The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นางรัชฎาภรณ์ ปัญญานวล ได้รับรางวัลคุรุสภา ระดับดีเด่น ประจำปี 2563 นำเสนอบทความในวารสาร 129 ปี กระทรวงศึกษาธิการผลงานปรากฎในหน้าที่ 210 - 211

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by งานวิจัยและพัฒนา, 2021-05-08 03:55:20

วารสาร 129 ปีกระทรวงศึกษาธิการ

นางรัชฎาภรณ์ ปัญญานวล ได้รับรางวัลคุรุสภา ระดับดีเด่น ประจำปี 2563 นำเสนอบทความในวารสาร 129 ปี กระทรวงศึกษาธิการผลงานปรากฎในหน้าที่ 210 - 211

ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผลการดำ� เนินงาน YouTube Channel ของส�ำนักงาน ก.ค.ศ. เป็นช่องทาง
บทความวิชาการ เพื่อเป็นการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ บริการบนอินเทอร์เน็ต น�ำเสนอในรูปคลิปส้ัน (วีดิทัศน์
เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากร สร้างการรับรู้) น�ำเสนอในรูปแบบเสียง (Podcast: ก.ค.ศ.
ทางการศึกษาให้แก่ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา Let’s Listen) ผ่านโปรแกรม Adobe Flash สามารถเผยแพร่
และประชาชนท่วั ไป ไฟล์วิดีโอ คลิปส้ัน เกี่ยวกับข่าวสาร ความเคล่ือนไหว
ผลการด�ำเนินงานของส�ำนักงาน ก.ค.ศ. ท�ำให้ข้าราชการครู
และบคุ ลากรทางการศกึ ษาและประชาชนทว่ั ไป ทราบถงึ กจิ กรรม
ข่าวความเคลื่อนไหวเก่ียวกับการบริหารงานบุคคลฯ ได้อย่าง
รวดเร็ว ทันสถานการณ์และเป็นช่องทางแสดงความคิดเห็น
ในเรื่องท่อี ยู่ในความสนใจของตนเองได้

Page Facebook สำ� นกั งานคณะกรรมการขา้ ราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษา เป็นช่องทางบริการบนอินเทอร์เน็ต
ประเภทหนึ่ง ใช้ในการน�ำเสนอข่าวสารความเคลื่อนไหว
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่เป็นสมาชิก
ได้รับทราบข้อมูลข่าวสารได้รวดเร็วและท่ัวถึงผ่านระบบ iOS
android, Smartphone เป็นต้น โดยข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษา สามารถถามตอบหรือแสดงความคิดเห็น
ในเรอ่ื งทอี่ ยใู่ นความสนใจของตนเองได้ ทำ� ใหเ้ กดิ การแลกเปลยี่ น
ความคดิ เหน็ และเปน็ การรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของสำ� นกั งาน ก.ค.ศ.
เพอ่ื พัฒนาการด�ำเนินงานให้มปี ระสิทธิภาพ

ส�ำหรับการด�ำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
ส�ำนักงาน ก.ค.ศ. มีแนวทางการด�ำเนินงานในเชิงรุก เพ่ือให้
เป็นไปตามนโยบาย ๕ คานงัด ในการขับเคลื่อนการบริหาร
งานบคุ คลของขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ในสว่ นท่ี
เกี่ยวข้องให้แล้วเสร็จและบรรลุตามวัตถุประสงค์ เพื่อให้ระบบ
การบรหิ ารงานบคุ คลของขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับ มีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผล
ลดความเหลื่อมล�ำ้ ทางการศึกษา เกดิ ประโยชนก์ บั ขา้ ราชการครู
และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ซง่ึ ถอื เปน็ กลไกสำ� คญั ในการยกระดบั
คณุ ภาพการศกึ ษาไดอ้ ยา่ งเตม็ ศกั ยภาพ นำ� ไปสกู่ ารจดั การศกึ ษา
ของชาตทิ ม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ เกดิ ประสทิ ธผิ ลอยา่ งเปน็ รปู ธรรมตอ่ ไป

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชีวติ วิถีใหม่ 147



สำ�นักงานสง่ เสรมิ
การศกึ ษานอกระบบ
และการศึกษาตามอธั ยาศยั

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

148 การศึกษาไทย ในชวี ิตวถิ ีใหม่

แนวทางการด�ำ เนนิ การ
จัดการศกึ ษา

ในยุคปัจจบุ นั กบั ชีวิตวิถีใหม่
(New Normal)

เรยี นผา่ นทางชอ่ งดิจทิ ัลทีวี
เรยี นผ่านทางอินเทอร์เนต็ แอปพลิเคชัน
และการเรยี นทางไกล เรียนแบบพบกลุ่ม

ชว่ งการแพร่ระบาดของ COVID-19 การจัดการศึกษาและการจัดการเรยี นรู้ กศน.
ของส�ำนกั งาน กศน. การจัดการศึกษาและการจัดการเรียนรู้ กศน.

ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(COVID-19) ส�ำนักงาน กศน. ได้มีแนวทางการด�ำเนินการ (COVID-19) ส�ำนักงาน กศน. ได้มีการจัดการเรียนการสอน
จัดการศึกษาในช่วงการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสฯ ดังกล่าว ๓ แนวทาง ดังน้ี
เพ่ือให้หน่วยงาน สถานศึกษาในสังกัดส�ำนักงาน กศน. ใช้เป็น
แนวปฏิบัติในการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน ๑. ON-AIR Education เรียนผ่านทางช่องดิจิทัลทีวี
และการรับมือเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส DTV 52 และเรียนผ่านช่อง ETV โดยครูต้นแบบที่ได้รับ
โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ในสถานศกึ ษาทส่ี อดคลอ้ งกบั บรบิ ท การคัดเลือก โดยการรับชมผ่านช่องทาง ดาวเทียม (Satellite)
และสามารถน�ำไปใช้เป็นแนวปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกัน ทั้งนี้ ผ่านระบบ KU-Band ระบบเคเบิ้ลทีวี (Cable TV)
ส�ำนักงาน กศน. ได้จัดท�ำแนวทางการด�ำเนินการจัดการศึกษา โดยใช้ TV+กลอ่ งรบั สญั ญาณเคเบลิ้ ทวี ี ระบบดจิ ทิ ลั (DIGITAL TV)
ในชว่ งการแพรร่ ะบาดของเชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ดงั นี้ รบั ชมผา่ น Smart TV หรอื TV+กลอ่ งรับสัญญาณดจิ ิทลั ทวี ี

๒. ONLINE Education เรียนผ่านทางอินเทอร์เน็ต
แอปพลิเคชัน และการเรียนทางไกล โดยเลือกเรียนได้ตาม
ความสนใจและความสะดวก แบ่งการจัดการศึกษาออกเป็น
สายสามัญและสายอาชีพ โดยสามารถรับชมผ่านคอมพิวเตอร์
แอปพลิเคชัน และมือถือทุกระบบ ผ่าน Application กศน.
ออนไลน์ สถาบันการศึกษาทางไกล

๓. ON-SITE Education เรียนแบบพบกลมุ่ เรยี นรู้โดย
การพบกลุ่มท่ีสถานศึกษาหรือพื้นที่ที่ปลอดภัยภายใต้เงื่อนไข
ศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา ๒๐๑๙ (ศบค.) จงั หวัด

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชีวติ วิถีใหม่ 149

รายงานผลการดำ�เนินงาน
ตามยทุ ธศาสตร์และจุดเนน้ การด�ำ เนนิ งาน

ส�ำ นักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

• โครงการพัฒนาสื่อการเรียนออนไลน์ หลักสูตร ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร (Communicative Approach)
การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอรเ์ พ่อื งานอาชีพ ของครูในสังกัดส�ำนักงาน กศน. กลุ่มเป้าหมาย คือ ครู กศน.
จ�ำนวน ๑๐๐ คน โดยมีผลการด�ำเนินงานดังน้ีคือ ส�ำนักงาน
ส�ำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา กศน. จัดอบรม ๒ หลักสูตร คือ ๑) หลักสูตรการเขียนแผน
ตามอธั ยาศยั (สำ� นกั งาน กศน.) ไดด้ ำ� เนนิ การพฒั นาสอื่ การเรยี นรู้ การจัดการเรียนรู้ในสาระความรู้พื้นฐาน รายวิชาภาษาอังกฤษ
แบบออนไลน์ หลักสูตรการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ณ โรงเรียนล�ำปลายมาสพัฒนา จังหวัดบุรีรัมย์ ๒) หลักสูตร
เพอ่ื งานอาชพี เพ่ือสง่ เสริมการเรียนรแู้ บบออนไลนต์ ามนโยบาย การพฒั นาทักษะในการสือ่ สารภาษาอังกฤษ และการจดั กจิ กรรม
ของกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี การเรยี นรภู้ าษาองั กฤษ มคี รู กศน. เขา้ รบั การฝกึ อบรม เปน็ จำ� นวน
สารสนเทศเขา้ สตู่ ลาดแรงงาน โดยเฉพาะพนื้ ทเี่ ขตสง่ เสรมิ ระเบยี ง ท้ังส้ิน ๙๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๐ ของครู กศน. ทั่วประเทศ
เศรษฐกจิ พเิ ศษภาคตะวนั ออก (EEC) โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ศกึ ษา สามารถจัดกระบวนการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร
วิเคราะห์ ออกแบบโครงสร้างหลักสูตรการพัฒนาโปรแกรม ได้อย่างสอดคล้องกับบริบทของผู้เรียน ท้ังน้ี ส�ำนักงาน กศน.
คอมพวิ เตอรเ์ พอ่ื งานอาชพี สำ� หรบั เรยี นรแู้ บบออนไลน์ ออกแบบ ได้มีติดตามประเมินผลการอบรมครู กศน. ต้นแบบการสอน
กระบวนการเรียนรู้ให้มีเน้ือหาเหมาะสมกับนักเรียนนักศึกษา ภาษาองั กฤษเพื่อการสอ่ื สาร (Boot Camp) ประจำ� ปงี บประมาณ
บุคคลทั่วไปและผู้พิการทางการได้ยิน ตลอดจนเพื่อพัฒนา พ.ศ. ๒๕๖๓
สอื่ รปู แบบ รปู ภาพ คลปิ อาร์ต คลิปเสียง วิดีโอ ให้กลุ่มเป้าหมาย
สามารถน�ำความรู้ไปประกอบอาชีพหรือพัฒนาทักษะ การเขียน • โครงการสง่ เสรมิ พฒั นาทกั ษะการฟงั การพดู ภาษาไทย
โปรแกรมให้ดีข้ึนทันกับยุคสมัยปัจจุบัน โดยมีผลการด�ำเนินงาน เพ่ือการส่ือสารส�ำหรับผู้ใหญ่บนพ้ืนที่สูง ตามพระราชด�ำริ
ดังน้ี คือ ส�ำนักงาน กศน. ด�ำเนินการจัดท�ำระบบสื่อการเรียน สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
การสอนออนไลน์ท่ีได้ตามมาตรฐาน SCORM (Shareable สยามบรมราชกมุ ารี
Content Object Reference Model) ไม่น้อยกว่า ๓๐ เร่ือง
สำ� หรบั กลมุ่ เปา้ หมาย นกั ศกึ ษา กศน. ผสู้ ำ� เรจ็ การศกึ ษาระดบั ปวช. โครงการสง่ เสริมพฒั นาทกั ษะการฟงั การพดู ภาษาไทย
ปวส.ท่ตี ้องการเพ่มิ ทกั ษะด้านดิจทิ ัล ผู้พกิ ารทางการได้ยนิ ทั้งน้ี เพื่อการสื่อสารส�ำหรับผู้ใหญ่บนพื้นที่สูง ตามพระราชด�ำริ
การจัดท�ำระบบดังกล่าว อยู่ระหว่างรอส่งมอบงานให้แล้วเสร็จ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
ในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สยามบรมราชกมุ ารี มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ สง่ เสรมิ และพฒั นาทกั ษะ
การฟัง พูด ภาษาไทย เพื่อการสื่อสารให้ผู้ใหญ่บนพื้นที่สูงที่ยัง
• โครงการพัฒนาทักษะครู กศน. ต้นแบบการสอน ฟัง - พูดภาษาไทยเพื่อการสื่อสารไม่ได้ สามารถใช้ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษเพอื่ การสอื่ สาร เพอ่ื การสอื่ สารกบั คนในชมุ ชนและนอกชมุ ชนไดโ้ ดยไมอ่ าย ไมก่ ลวั
ด้วยวิธีธรรมชาติในชีวิตประจ�ำวันแบบไร้กระบวนท่าของครู
ส�ำนักงาน กศน. ได้ด�ำเนินโครงการพัฒนาทักษะครู ผู้ช่วยครูท่ีเป็นบุตรหลาน ญาติพ่ีน้อง เพื่อนบ้าน และผู้น�ำ
กศน. ตน้ แบบ การสอนภาษาองั กฤษเพอื่ การสอื่ สาร (Boot Camp) กลมุ่ ตา่ ง ๆ ในชมุ ชน ผสมผสานกบั การใชเ้ ทคโนโลยที ม่ี ใี นชมุ ชน
ประจำ� ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ มีวัตถุประสงคเ์ พือ่ ๑) พฒั นา ดว้ ยมกี ารขยายผลการดำ� เนนิ งานตอ่ เนอื่ งใน ๕ จงั หวดั ภาคเหนอื
และยกระดับความสามารถทางภาษาอังกฤษของครูในสังกัด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ ตาก เชียงราย น่าน และแม่ฮ่องสอน
ส�ำนักงาน กศน. และ ๒) พัฒนาการออกแบบการเรียนการสอน

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

150 การศึกษาไทย ในชวี ิตวิถีใหม่

โดยมีผลการด�ำเนินงาน ดังนี้ ๑) ประชาชนบนพ้ืนท่ีสูงผ่าน ของกลมุ่ เปา้ หมายทผ่ี า่ นการอบรม ตามโครงการมคี วามรพู้ น้ื ฐาน
การพัฒนาทกั ษะการฟัง - พดู ภาษาไทย เพอื่ การสอื่ สาร จำ� นวน ภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ และสามารถน�ำไป
๑๔,๒๕๕ คน จากจ�ำนวน ผู้เข้ารับการพัฒนา ๑๔,๔๙๓ คน ประยุกต์ใช้ในการด�ำเนินชีวิต ทั้งน้ี สถาบัน กศน. ภาคทุกแห่ง
และพนื้ ทสี่ ามารถดำ� เนนิ โครงการขยายผลการสง่ เสรมิ และพฒั นา ไดล้ งพนื้ ทตี่ ิดตามผลการด�ำเนินงานโครงการ
ทักษะการฟัง - พูดภาษาไทยเพ่ือการสื่อสาร ส�ำหรับผู้ใหญ่
บนพนื้ ทสี่ งู จำ� นวน ๕ จงั หวดั ๔๖ อำ� เภอ ๖๗๐ ศศช. ๒) ครสู งั กดั • โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชน
ส�ำนักงาน กศน. จ�ำนวน ๘๑๘ คน ผ่านการอบรม หลักการ การส่งเสริมอาชีพเพื่อสร้างงานและผลผลิตท่ีมีคุณภาพ
และวิธีการส่งเสริมการรู้ภาษาไทยเพื่อการส่ือสารส�ำหรับผู้ใหญ่ ให้แกป่ ระชาชนอยา่ งทว่ั ถงึ และทุกระดบั ช้ัน การปฏริ ปู การศกึ ษา
บนพน้ื ทส่ี งู หลกั จติ วทิ ยาผใู้ หญแ่ ละการเรยี นรขู้ องผใู้ หญ่ เทคนคิ เพื่อเสริมสร้างให้คนไทยสามารถเรียนรู้ตามศักยภาพของตนเอง
และวธิ กี ารจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ และพฒั นาทกั ษะการฟงั - พดู ภาษาไทย เป็นผู้มีคุณธรรม มีทักษะอาชีพ ซึ่งจะช่วยลดความเหลื่อมล�้ำ
เพื่อใหม้ คี วามรู้ ความเข้าใจ เจตคตทิ ี่ดี และเหมาะสมกับความต้องการตามบริบทของพ้ืนท่ี โครงการ
ฝกึ อาชพี ชมุ ชน เพอ่ื ใหป้ ระชาชนนำ� ความรทู้ ไ่ี ดร้ บั ไปประกอบอาชพี
• โครงการคลงั ความรู้ กศน. เพอ่ื การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ เสริมสร้างรายได้ น�ำความรู้ไปพัฒนาตนเองและครอบครัว
(Thailand Knowledge Portal : TKP) ใหด้ ำ� รงชวี ติ ในสงั คมอยา่ งมคี วามสขุ สอดคลอ้ งตามหลกั ปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง และเพื่อเพิ่มโอกาสประชาชนได้รับ
สำ� นกั งาน กศน. โดยสถาบนั การศกึ ษาทางไกล ไดท้ ดลอง การฝกึ อาชพี ในการรวมกลมุ่ ตอ่ ยอดและพฒั นาอาชพี ระดบั ชมุ ชน
น�ำร่องโครงการจัดการความรู้ชุมชน โดยใช้ Google Apps โดยมผี ลการดำ� เนนิ งาน คอื ดำ� เนนิ การจดั ฝกึ อาชพี ใหแ้ กป่ ระชาชน
ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในระดับต�ำบล ซ่ึงจะเป็นประโยชน์ มีผู้ลงทะเบียนเรียนและผ่านการฝึกอาชีพ จ�ำนวนทั้งสิ้น
ต่อการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ๖๔๖,๙๙๗ คน จำ� แนกกลมุ่ เปา้ หมายตามหลกั สตู รของสถานศกึ ษา
ไดด้ ำ� เนนิ โครงการคลงั ความรู้ กศน. เพอื่ การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ กศน.ดงั น้ี ๑)กลมุ่ สนใจหลกั สตู ร๑-๓๐ชว่ั โมงจำ� นวน๔๒๒,๔๗๖คน
(Thailand Knowledge Portal : TKP) เพอื่ พฒั นาใหบ้ คุ ลากร กศน. ๒)ชน้ั เรยี นวชิ าชพี หลกั สตู ร๓๑ชว่ั โมงขนึ้ ไปจำ� นวน๒๒๔,๕๒๑คน
ตำ� บลจดั ทำ� คลงั ความรู้ กศน. โดยใหส้ ถาบนั กศน. ภาคเป็นฐาน โดยผู้ท่ีผ่านการอบรม ร้อยละ ๓๙.๔๗ มีรายได้เพิ่มขึ้นจาก
สามารถจัดการระบบข้อมูลชุมชน จัดท�ำคู่มือการด�ำเนินงาน การพัฒนาอาชีพตามโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน จ�ำนวน
เพื่อน�ำมาพัฒนาคลังความรู้ กศน. ให้เกิดประสิทธิภาพต่อไป ๒๕๕,๓๓๘ คน สามารถจำ� แนกไดต้ ามการนำ� ความรทู้ ไ่ี ดร้ บั ไปใช้
โดยมีผลการด�ำเนินงานดังน้ี คือ ส�ำนักงาน กศน. ได้อบรม ดา้ นตา่ ง ๆ ดงั น้ี ๑) สามารถนำ� ความรไู้ ปใชเ้ พอื่ ตอ่ ยอดอาชพี เดมิ
บคุ ลากร กศน. ต�ำบลทว่ั ประเทศ ใหส้ ามารถจดั ทำ� คลังความรูไ้ ด้ จำ� นวน ๗๓,๘๑๗ คน ๒) สามารถนำ� ประกอบอาชพี ใหมไ่ ด้ จำ� นวน
มีผู้เข้ารับอบรมท้ังสิ้น จ�ำนวน ๘๔๐ คน และมีการจัดท�ำคู่มือ ๗๑,๘๐๙ คน และ ๓) สามารถน�ำไปสร้างรายได้เสริม จ�ำนวน
บริหารจัดการแอปพลเิ คชนั ของ google จำ� นวน ๔ เลม่ ๑๐๙,๗๑๒ คน
ทง้ั น้ี ส�ำนักงาน กศน. มีการจัดท�ำฐานข้อมูลผลิตภัณฑ์
• โครงการภาษาตา่ งประเทศเพอ่ื การสอื่ สารดา้ นอาชพี สินค้าดเี ด่นระดบั จงั หวัด และผลิตภัณฑส์ นิ คา้ พรเี ม่ียมจากผู้ผ่าน
โครงการภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ การอบรมโครงการศูนย์ฝกึ อาชพี ชุมชน ประจ�ำปี ๒๕๖๓ ได้เปน็
ประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ เพอ่ื ฝกึ อบรมภาษาตา่ งประเทศ ๑) ผลติ ภณั ฑ์สนิ คา้ ดเี ด่นระดับจังหวดั จ�ำนวน ๗๗๐ ผลิตภัณฑ์
เพื่อการส่ือสารด้านอาชีพให้กับประชาชน และให้ประชาชน ๒) ผลติ ภณั ฑส์ นิ ค้าพรีเมย่ี ม จ�ำนวน ๒๓๑ ผลิตภณั ฑ์
มีความรู้พ้ืนฐานภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ • โครงการน้อมน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ในการด�ำเนินชีวิตได้ โดยมี เพอ่ื เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพประชาชน จงั หวดั ชายแดนใตส้ กู่ ารพฒั นา
ผลการด�ำเนินงาน คือ ส�ำนักงาน กศน. แจ้งแนวทาง ทย่ี งั่ ยนื
การด�ำเนินงานโครงการภาษาต่างประเทศเพ่ือการสื่อสาร กลมุ่ ศนู ยจ์ งั หวดั ชายแดนใต้ ไดน้ อ้ มนำ� หลกั ปรชั ญาของ
ด้านอาชีพ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ไปยังส�ำนักงาน เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาในการด�ำเนินงานตามแนวทาง
กศน. จังหวัดทุกแห่ง/ กทม. โดยสถานศึกษาจัดฝึกอบรม พระราชดำ� รสั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งทพี่ ระบาทสมเดจ็
ภาษาต่างประเทศเพื่อการส่ือสารด้านอาชีพให้กับประชาชน พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร
ในรปู แบบออนไลนท์ เี่ ปน็ ไปตามแนวทางทส่ี ำ� นกั งาน กศน. กำ� หนด
มปี ระชาชนผา่ นการอบรม จำ� นวนทง้ั สนิ้ ๑๖,๑๘๑ คน โดยรอ้ ยละ ๗๐

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชวี ติ วถิ ีใหม่ 151

ได้พระราชทานให้กับประชาชนทุกคน เป็นกรอบแนวคิดช้ีน�ำ ท่ีประสบความส�ำเร็จนอกพ้ืนที่ เพื่อน�ำความรู้และประสบการณ์
ในทางปฏบิ ตั ดิ า้ นเกษตรทฤษฎใี หมท่ เี่ ปน็ รปู ธรรมในการดำ� เนนิ ชวี ติ ทไี่ ดร้ บั มาพฒั นางานของตนเอง ครอบครวั และชมุ ชน มผี เู้ ขา้ รว่ ม
ตามวิถีชีวิตแห่งการด�ำรงชีพที่สมบูรณ์ที่ยึดทางสายกลาง กิจกรรม จ�ำนวนท้ังสิ้น ๓๑๐ คน ได้แก่ ประชาชน ๕ จังหวัด
โดยมปี ระชาชน เยาวชน นกั ศกึ ษา กศน. ในพน้ื ทจ่ี งั หวดั ชายแดน ชายแดนภาคใต้ จ�ำนวน ๑๙๐ คน ผู้น�ำปราชญ์ด้านเกษตร
ภาคใต้ โดยมผี ลการด�ำเนินงาน ดงั นี้ ๑) จัดอบรมเชงิ ปฏิบัติการ จ�ำนวน ๙๕ คน และ ครู ศฝช.ปัตตานี จ�ำนวน ๒๕ คน
การจดั กระบวนการเรยี นรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ให้กบั กล่มุ เปา้ หมาย จำ� นวนทั้งสิ้น ๑๕๐ คน ได้แก่ ปราชญ์ผนู้ �ำ • โครงการศนู ยด์ จิ ทิ ลั ชมุ ชน
ดา้ นเกษตร จำ� นวน ๙๕ คน ผู้บริหาร นกั เรียน และผู้ปกครอง สำ� นกั งาน กศน. ไดด้ ำ� เนนิ โครงการเพอื่ พฒั นาศกั ยภาพ
โรงเรยี นตำ� รวจตระเวนชายแดน จำ� นวน ๓๒ คน ครู ศฝช. ปตั ตานี ให้แก่บุคลากรในสังกัดส�ำนักงาน กศน. โดยจัดอบรมวิทยากร
จ�ำนวน ๒๓ คน ๒) จัดอบรมขยายผลการจดั กระบวนการเรียนรู้ แกนนำ� ดา้ นดจิ ทิ ลั ระดบั จงั หวดั (ครู ก.) ในหลกั สตู รการคา้ ออนไลน์
ดา้ นอาชพี ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ในระดบั พน้ื ท่ี ทงั้ เร่ือง การพัฒนาผลิตภัณฑ์และการออกแบบบรรจุภัณฑ์
๑๙ อ�ำเภอ ใน ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้ และภายในบริเวณ และจัดอบรมขยายผลหลักสูตร Digital Literacy และหลักสูตร
ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนปัตตานี การพัฒนาผลิตภัณฑ์และการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ให้แก่
ใหก้ บั กลุ่มเปา้ หมาย จำ� นวนทงั้ สิน้ ๑,๔๐๐ คน ได้แก่ ประชาชน ประชาชนในพื้นท่ี กศน.ต�ำบลท่ัวประเทศ ให้ได้รับการส่งเสริม
๕ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ จำ� นวน ๗๖๐ คน นักเรยี น ผ้ปู กครอง การใช้เทคโนโลยี มีทักษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และสามารถ
โรงเรยี น ตชด. จำ� นวน ๖๔๐ คน ๓) พฒั นาแหลง่ เรยี นรดู้ า้ นอาชพี น�ำเทคโนโลยีดิจิทัลมาเป็นช่องทางเผยแพร่และจ�ำหน่าย
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีกลุ่มเป้าหมาย ผลิตภัณฑ์ สร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับสินค้าและบริการของชุมชน
ในพ้ืนท่ี ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้ จ�ำนวน ๑๓๖ แห่ง ได้แก่ เพื่อเพ่ิมรายได้ให้กับตนเองและชุมชนผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลได้
ศูนย์เรียนรู้เกษตรธรรมชาติฯ จ�ำนวน ๑๙ แห่ง แหล่งเรียนรู้ โดยมผี ลการดำ� เนนิ งาน ดงั นี้ ๑) จดั อบรมหลกั สตู รการคา้ ออนไลน์
เศรษฐกิจพอเพียงของผนู้ ำ� ปราชญ์ด้านเกษตร จ�ำนวน ๙๕ แหง่ เร่ือง การพัฒนาผลิตภัณฑ์และการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ให้กับ
แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน ตชด. จ�ำนวน ๑๖ แห่ง แหล่งเรียนรู้ วทิ ยากรแกนน�ำดา้ นดิจิทัล ระดับจังหวดั (ครู ก.) จ�ำนวน ๔ รุ่น
ภาคีเครือข่าย จ�ำนวน ๕ แห่ง แหล่งเรียนรู้ศาสตร์พระราชา จ�ำนวนทง้ั ส้ิน ๑๕๖ คน ๒) จัดอบรมหลกั สตู ร Digital Literacy
ศฝช. ปัตตานี จ�ำนวน ๑ แห่ง ๔) จัดอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และหลักสูตรการค้าออนไลน์ เรื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑ์และ
ด้านเศรษฐกิจพอเพียงที่ประสบความส�ำเร็จนอกพื้นท่ี ในพื้นท่ี การออกแบบบรรจุภัณฑ์ ให้กับประชาชนในพ้ืนท่ี กศน. ต�ำบล
๕ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ เพอ่ื เปดิ โลกทศั นแ์ ลกเปลยี่ นประสบการณ์ ทั่วประเทศ จ�ำนวน ๒๒๗,๒๙๗ คน ท�ำให้ประชาชนสามารถ
ดา้ นการเรยี นรหู้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งจากแหลง่ เรยี นรู้ นำ� ความรมู้ าพฒั นาผลติ ภณั ฑแ์ ละบรรจภุ ณั ฑส์ นิ คา้ เพอื่ นำ� มาขาย
ผ่านชอ่ งทางออนไลนไ์ ด้

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

152 การศึกษาไทย ในชวี ติ วิถีใหม่



ส�ำ นักงานคณะกรรมการ
สง่ เสริมสวสั ดกิ ารและสวสั ดิภาพครู

และบุคลากรทางการศึกษา

การจัดสวัสดิการและสวสั ดิภาพ

“เพอ่ื เพ่อื นครู”

ครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษา เป็นผู้มบี ทบาท ครู อาจารย์
ส�ำคัญในการจัดการศกึ ษา เพ่อื สร้างพลเมอื ง ของประเทศให้เป็น และบุคลากรทางการศึกษา
มนุษย์ท่ีสมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา และคุณธรรม
การจดั สวสั ดกิ ารและสวสั ดภิ าพ “เพอ่ื เพอ่ื นคร”ู เปน็ การสรา้ งขวญั เป็นผู้มบี ทบาทสำ�คญั
และก�ำลังใจให้แก่ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ในการจดั การศึกษา
จงึ มคี วามสำ� คญั ควบคกู่ บั การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา สำ� นกั งาน เพอ่ื สรา้ งพลเมอื งของประเทศ
คณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากร ให้เปน็ มนุษย์ทส่ี มบูรณ์ ทั้งร่างกาย
ทางการศึกษา (สกสค.) มีภารกิจหลัก ในการจัดสวัสดิการ จติ ใจ สตปิ ัญญา และคุณธรรม
และสวสั ดภิ าพใหแ้ กค่ รแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา จงึ ไดด้ ำ� เนนิ งาน
ส�ำคัญ ดังน้ี
๑. งานด้าน ช.พ.ค. - ช.พ.ส. :

เ ป ็ น กิ จ ก า ร ฌ า ป น กิ จ ส ง เ ค ร า ะ ห ์ ใ น ส� ำ นั ก ง า น
คณะกรรมการ สกสค. เพื่อเป็นการกุศลเป็นหลักประกัน
ความมั่นคงของครอบครัว ซึ่งจัดเป็นสวัสดิการช่วยสงเคราะห์
ครอบครัวของสมาชิกท่ีถึงแก่ความตายให้ได้รับการช่วยเหลือ
จากเพ่ือนสมาชิกด้วยกัน โดยท�ำการสงเคราะห์ซ่ึงกันและกัน
ในการจัดการศพ มิได้ประสงค์จะหาก�ำไร ในการบริหารกิจการ
มกี ารกระจายอำ� นาจในเชงิ พน้ื ที่ ไดแ้ ก่ สำ� นกั งาน สกสค. จงั หวดั
และสำ� นักงาน สกสค. กรุงเทพมหานคร รวม ๗๗ แหง่ ทำ� หน้าที่
ใหบ้ ริการและดูแลสมาชกิ ช.พ.ค. - ช.พ.ส. ใหไ้ ดร้ ับความสะดวก
และรวดเรว็

นอกจากนั้น ยังได้น�ำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาพัฒนางาน
ให้บริการสมาชิกให้รับความพึงพอใจสูงสุด โปร่งใส รวดเร็ว
และเป็นธรรม ซ่ึงจะทำ� ให้กิจการ ช.พ.ค. - ช.พ.ส. มีความยั่งยนื
และสามารถดูแลสวัสดิการด้านการฌาปนกิจสงเคราะห์ให้แก่
ครูและบุคลากรทางการศึกษา ตลอดจนครอบครัวของสมาชิก
ปัจจุบันมีสมาชิก ช.พ.ค. จ�ำนวน ๙๕๐,๙๓๖ คน และสมาชิก
ช.พ.ส. จำ� นวน ๓๙๔,๖๔๘ คน (ขอ้ มลู ณ เดอื นกนั ยายน ๒๕๖๓)
ในรอบปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ดำ� เนนิ การจา่ ยเงนิ คา่ จดั การศพ
และเงินสงเคราะห์ครอบครัวให้แก่ครอบครัวสมาชิก ช.พ.ค.
จำ� นวน ๗,๓๖๔ ราย และ ช.พ.ส. จำ� นวน ๓,๘๔๗ ราย รวมเป็น
จ�ำนวน ๑๑,๒๑๑ ราย

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

154 การศึกษาไทย ในชีวติ วิถีใหม่

นอกจากน้ี เพ่ือเป็นการสร้างขวัญก�ำลังใจให้แก่สมาชิก รามาธบิ ดี โรงพยาบาลธรรมศาสตร ์ โรงพยาบาลพระมงกฎุ เกลา้
ยงั ไดจ้ ดั โครงการสวสั ดกิ าร ๔๐/๗๕ เพอ่ื ชว่ ยเหลอื สมาชกิ ช.พ.ค. โรงพยาบาลต�ำรวจ โรงพยาบาลวชิระ โรงพยาบาลทหารผา่ นศึก
- ช.พ.ส. ท่ีมีอายุการเป็นสมาชิกต่อเน่ืองต้ังแต่ ๔๐ ปีขึ้นไป และสถาบนั โรคผวิ หนงั มาใหบ้ รกิ ารตรวจรกั ษา เปดิ ทำ� การทกุ วนั
และสมาชิกท่ีมีอายุครบ ๗๕ ปีบริบูรณ์ขึ้นไป โดยจะช่วยเหลือ ในเวลาราชการ และปดิ ทำ� การ ในวนั หยดุ ราชการ และวนั นกั ขตั ฤกษ์
ด้านเงินสงเคราะห์รายศพตั้งแต่สมาชิกเข้าโครงการฯ จนถึงแก่ ทผี่ า่ นมามผี มู้ าใชบ้ รกิ ารของโรงพยาบาลครเู พม่ิ ขนึ้ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
ความตาย และจะหกั เงนิ คนื จากเงนิ สงเคราะหค์ รอบครวั ทที่ ายาท ในรอบปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ใหบ้ ริการดา้ นสขุ ภาพอนามัย
ของสมาชกิ จะได้รับ ขณะน้ีมีสมาชิก ช.พ.ค. - ช.พ.ส. ได้ขอรบั แก่ผูร้ บั บรกิ าร จ�ำนวน ๘๖,๙๘๗ ราย
สวสั ดกิ ารจากโครงการฯ ช.พ.ค. จำ� นวน ๘,๕๘๒ ราย และ ช.พ.ส. ๓. งานด้านการบรกิ ารทพ่ี ัก :
จ�ำนวน ๑,๕๘๖ ราย รวมท้ังสิ้นจ�ำนวน ๑๐,๑๖๘ ราย (ข้อมูล
ณ เดือนกันยายน ๒๕๖๓) เป็นการจัดสวัสดิการด้านท่ีพักให้แก่ครูและบุคลากร
๒. งานดา้ นโรงพยาบาลครู : ทางการศึกษาทั้งรายบุคคลและหมู่คณะ ที่มาติดต่อราชการ
ประชุม หรือทัศนศึกษา ดูงานของกลุ่มนักเรียน นักศึกษา
เป็นการจัดสวัสดิการด้านสุขภาพอนามัย เพ่ือให้ครู มาอย่างต่อเนื่อง โดยมีห้องพักไว้บริการจ�ำนวน ๒๔๐ ห้อง
และบุคลากรทางการศึกษา ข้าราชการและประชาชนท่ัวไป ภายใต้การบริหารจัดการท่ีดีและได้มาตรฐาน รวมถึงการสร้าง
มีสุขภาพร่างกายและจิตใจท่ีดี ป้องกันความเจ็บป่วยและลด ความพงึ พอใจใหแ้ กผ่ รู้ บั บรกิ าร ซง่ึ เปน็ การจดั สวสั ดกิ ารทต่ี อบสนอง
ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล โดยบริการตรวจรักษาพยาบาล ความต้องการและลดภาระค่าใช้จ่ายในด้านท่ีพักช่ัวคราว
ผู้ที่เจ็บป่วยเล็กน้อยไม่ค้างคืนหรือผู้ป่วยโรคเร้ือรังท่ีต้องใช้ยา มคี วามปลอดภัย และราคาถกู
ต่อเนื่องให้ได้รับความสะดวก ข้าราชการสามารถเบิกค่ารักษา
พยาบาลได้ ผ่านระบบเบิกจ่ายตรงฯ นอกจากนั้น ยังจัดให้มี ท้ังน้ี จากข้อมูลสถิติในปีที่ผ่านมา พบว่า จ�ำนวน
บริการเชิงรุกโดยมีการจัดหน่วยออกตรวจสุขภาพประจ�ำปีให้แก่ ผู้มาใช้บริการเพิ่มขึ้น และมีความพึงพอใจต่อการให้บริการ
ครูและบุคลากรทางการศึกษาทั่วประเทศ เป็นการพฒั นารูปแบบ เปน็ อยา่ งดี แสดงใหเ้ หน็ ไดว้ า่ มกี ารพฒั นาคณุ ภาพการใหบ้ รกิ าร
การจัดสวัสดิการ สวัสดิภาพเพ่ือคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน ส�ำหรับ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง มกี ารนำ� ขอ้ เสนอแนะจากการใหบ้ รกิ ารในปที ผี่ า่ นมา
การใหบ้ รกิ ารรกั ษาพยาบาล : การตรวจวนิ จิ ฉยั โรคเพอ่ื การรกั ษา ปรับปรุงเพ่ือรองรับความต้องการของครูและบุคลากร
และฟน้ื ฟสู มรรถภาพใหส้ มบรู ณแ์ ขง็ แรง การบรกิ ารดา้ นเวชกรรม ทางการศึกษา ซ่ึงจะส่งผลท�ำให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา
โรคทวั่ ไปโรคเฉพาะทาง ทนั ตกรรม  การแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ มคี วามสะดวกสบายมากขนึ้ เพอื่ ใหค้ รแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
การตรวจสุขภาพประจ�ำปี การเสริมสร้างสุขภาพ การเผยแพร่ ไดร้ ับความสะดวกในการจองหอ้ งพกั หอพัก สกสค. มากยงิ่ ขนึ้
ข้อมูลข่าวสารด้านวิชาการ แก่ครูและบุคลากรทางการศึกษา จึงได้พัฒนาระบบการจองหอ้ งพกั หอพกั สกสค. แบบออนไลน์
ขา้ ราชการ และประชาชนทวั่ ไป  ปจั จบุ นั มแี พทยผ์ เู้ ชยี่ วชาญเฉพาะ โดยเร่ิมใชเ้ มอ่ื วนั ที่ ๑ เมษายน ๒๕๖๓ ซึง่ ในรอบปงี บประมาณ
ทางจากโรงพยาบาลศริ ริ าช โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์ โรงพยาบาล พ.ศ. ๒๕๖๓ มีผู้เขา้ รับบริการห้องพกั จ�ำนวน ๑๑๐,๙๖๗ ราย

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชีวติ วิถีใหม่ 155



สถาบันส่งเสรมิ
การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สสวท.

สูค่ วามปกตใิ หมท่ างการศึกษา

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิถีใหม่ โดยเน้นการผลิตสื่อในรูปแบบดิจิทัลให้หลากหลาย
(สสวท.) ได้ด�ำเนินงานภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติที่มุ่งยกระดับ เพิ่มเติมจากส่ือสิ่งพิมพ์ เช่น เกม วีดิทัศน์การสอนออนไลน์
ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยการพัฒนา และเพอ่ื เพม่ิ ชอ่ งทางในการเขา้ ถงึ แหลง่ เรยี นรู้ นอกจากนี้ ยงั ไดจ้ ดั ทำ�
และสร้างก�ำลังคนให้มีความรู้ และทักษะด้านวิทยาศาสตร์ Project 14 ซ่ึงเป็นการพัฒนาคลิปการเรียนรู้ด้วยตนเอง
คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการ ผา่ นระบบออนไลนก์ ลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ และกลมุ่ สาระ
ดำ� รงชีวิตประจำ� วัน และการประกอบอาชีพสูก่ ารสรา้ งนวตั กรรม การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ระดบั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ -
เพอื่ ใหม้ ที กั ษะทพ่ี รอ้ มสำ� หรบั ศตวรรษที่ ๒๑ สอดคลอ้ งกบั นโยบาย มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖ ตามหนงั สอื เรยี นของ สสวท. สำ� หรบั ภาคเรยี นท่ี ๑
เรง่ ด่วนของรฐั บาล “การเตรียมคนไทยสศู่ ตวรรษที่ ๒๑” และภาคเรียนที่ ๒ ให้มีคุณภาพและสอดรับกับแนวทางการจัด
การเรียนรู้ของ สสวท. โดยจุดเดน่ ของ Project 14 คือ นกั เรียน
การด�ำเนินงานตามชีวิตวิถีใหม่อันเนื่องมาจาก สามารถเรียนรู้ไดท้ กุ ที่ ทกุ เวลา กำ� หนดการเรยี นรไู้ ดด้ ้วยตนเอง
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ เน้นความเข้าใจ และเช่ือมโยงชีวิตจริง โดยจัดท�ำและเผยแพร่
(COVID-19) ได้ปรับเปลี่ยนการด�ำเนินงานตามความปกติใหม่ คลปิ ตา่ ง ๆ ผา่ นทางเวบ็ ไซต์ เฟซบกุ๊ และยทู ปู ตงั้ แตเ่ ดอื นมถิ นุ ายน
(New Normal) และสามารถก้าวผ่านข้อจ�ำกัดต่าง ๆ ได้อย่าง ๒๕๖๓แลว้ กวา่ ๑,๐๐๐คลปิ ขณะน้ีสสวท.ยงั คงดำ� เนนิ การผลติ คลปิ
รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ ด้วยการวางแผนการบริหารจัดการ Project 14 อย่างต่อเนื่อง ถึงแมว้ ่าโรงเรียนสามารถจดั การเรียน
และน�ำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการท�ำงาน ซ่ึงในด้านการศึกษา การสอนไดต้ ามปกตแิ ลว้ ทงั้ น้ี เพอื่ ใหเ้ ปน็ สอื่ การเรยี นรแู้ บบดจิ ทิ ลั
ก็ต้องปรับตัวเช่นเดียวกัน วิถีการเรียนรู้ในแบบห้องเรียนปกติ ท่ีมีคุณภาพ และมีเน้ือหาครบทุกตัวชี้วัดตรงตามหลักสูตร
ภายใต้ความปกติใหม่ทางการศึกษาไม่ได้เป็นแค่การเรียนรู้ และได้เริ่มเผยแพร่คลิปการสอนของภาคเรียนที่ ๒ ต้ังแต่เดือน
แบบออนไลน์ผ่านดิจิทัลแพลตฟอร์มต่าง ๆ เท่าน้ัน ท�ำให้ครู ธนั วาคม ๒๕๖๓ เปน็ ต้นไป
และบุคลากรทางการศึกษามีการปรับตัวเพื่อให้สามารถใช้
เทคโนโลยีในกระบวนการจัดการเรียนรู้เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพ จากการใชบ้ ริการ Project 14 พบวา่ ครู นกั เรียน และ
ในการจดั การเรยี นการสอนสำ� หรบั ความปกตใิ หมท่ างการศกึ ษาได้ ผู้ปกครองต่างเห็นว่าคลิปการสอนท่ี สสวท. เผยแพร่เป็นส่ือ
โดยให้ความส�ำคัญต่อการเรียนรู้ที่เช่ือมโยงกับความสนใจของ การเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพ มีเน้ือหาถูกต้อง ผู้เรียนสามารถเข้าใจ
นกั เรยี น และการด�ำรงชีวิตประจำ� วนั รวมท้งั ส่งเสริมให้นักเรียน เนอ้ื หาไดง้ า่ ย และชดั เจน ใชภ้ าษาและการนำ� เสนอทส่ี อดคลอ้ งกบั
สามารถเรียนรู้ได้เต็มตามศักยภาพ ได้พัฒนาทักษะท่ีจ�ำเป็น วยั ของผเู้ รยี น ครู และนกั เรยี นสามารถนำ� ไปใชป้ ระกอบการเรยี น
ในศตวรรษที่ ๒๑ โดยมเี ปา้ ประสงคเ์ พอื่ ยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษา การสอนตามวตั ถปุ ระสงค์ นอกจากนี้ ครบู างทา่ นยงั ไดน้ ำ� แนวคดิ
สร้างความเสมอภาคทางการศึกษา มุ่งความเป็นเลิศ และสร้าง จากคลปิ ของ สสวท. ไปใชเ้ ปน็ ตน้ แบบในการสรา้ งคลปิ สอื่ การสอน
ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ รวมท้ังขับเคล่ือน หรอื แนวทางการสอนของครไู ดอ้ กี ดว้ ย นอกจากนนั้ ยงั ไดน้ ำ� คลปิ
การศึกษาดว้ ยเทคโนโลยี และนวัตกรรม ประกอบด้วย ของ Project 14 เขา้ ระบบ DEEP เพอื่ ใหค้ รู และนกั เรยี นสามารถ
การยกระดบั คุณภาพการเรยี นรู้ เข้าถึงคลิป Project 14 ได้อย่างสะดวก และน�ำไปใช้ประโยชน์
ไดอ้ ยา่ งแพร่หลาย
• พัฒนาหลักสูตร ส่ือ และกระบวนการจัดการเรียนรู้
วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยคี รบ ๑๒ ชนั้ ปี ใหเ้ ปน็ สอื่ • พฒั นาชดุ สอื่ สมบรู ณแ์ บบวชิ าวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์
สมัยใหม่ ใช้งานได้อย่างหลากหลาย ตอบสนองต่อการเรียนรู้ และเทคโนโลยี เน่ืองในโอกาสท่ีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า
กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
มีพระชนมพรรษา ๖๕ พรรษา ร่วมกับส�ำนักงานคณะกรรมการ

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชวี ติ วถิ ีใหม่ 157

การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน (สพฐ.) เพอื่ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการจดั การเรยี นรู้
และยกระดับคุณภาพการศึกษาให้กับโรงเรียนในถิ่นทุรกันดาร
โรงเรยี นขยายโอกาสทางการศกึ ษา โรงเรยี นในโครงการพระราชดำ� รฯิ
และโรงเรียนพระปริยัติธรรม โดยเน้นสมรรถนะและการเรียนรู้
แบบบูรณาการที่สอดคล้องกับบริบทและชีวิต ค�ำนึงถึงศักยภาพ
ความต้องการและความแตกต่างของผู้เรียน มีการออกแบบให้มี
องค์ประกอบครบถ้วน ต้ังแต่จุดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรม
การเรยี นรู้ รวมทงั้ การวดั และประเมนิ ผลทสี่ ะทอ้ นถงึ ความสำ� เรจ็
ของผูเ้ รียน

• ส่งเสริมการเรียนภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding)
โดยการพฒั นาหลกั สตู ร สอ่ื และกระบวนการเรยี นรสู้ าระเทคโนโลยี
(วิทยาการค�ำนวณ) พัฒนาหลักสูตรการเรียนรู้ปัญญาประดิษฐ์
พัฒนาครูผู้น�ำวิทยาการค�ำนวณหลักสูตร Coding for Teacher
(C4T) พัฒนาครูด้าน Coding ข้ันสูง (C4T Plus) และอบรม
ผู้บริหารสถานศึกษา เพ่ือเป็นผู้น�ำด้านการขับเคลื่อนวิทยาการ
ค�ำนวณ หลักสูตร Coding for School Director (C4S)
น�ำไปส่กู ารพัฒนาผเู้ รยี นใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจ มที กั ษะการคิด
เชิงค�ำนวณ การคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาอย่างเป็นข้ันตอน และ
เป็นระบบสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร และความรดู้ จิ ทิ ลั ในการแกป้ ญั หา
ที่พบในชีวิตจริงได้อย่างสร้างสรรค์ พัฒนาทักษะการคิดข้ันสูง
ที่ท�ำให้สามารถรับมือกับปัญหาที่มีความซับซ้อนการขับเคล่ือน
การเรียนวิชาวิทยาการค�ำนวณในโรงเรียนจึงมีความส�ำคัญ
ตอ่ การสร้างสมรรถนะของนักเรยี นไทยในศตวรรษท่ี ๒๑

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

158 การศึกษาไทย ในชวี ิตวิถีใหม่

• พลิกโฉมการพัฒนาครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี และสามารถน�ำความรไู้ ปใช้จัดการเรียนการสอน
เทคโนโลยี และสะเต็มศึกษา ผ่านระบบการอบรมแบบออนไลน์ ของโรงเรยี นไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ไดแ้ ก่ พฒั นาการจดั การเรยี นรู้
รว่ มกบั การอบรมแบบพบหนา้ (Face to Face) และระบบทางไกล ตามโครงการในพระราชด�ำริ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
DLTV ซงึ่ มผี ลสมั ฤทธท์ิ เี่ หน็ ไดช้ ดั เจน และสามารถสรา้ งความยงั่ ยนื วชิ าเทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ� นวณ) พฒั นาครใู นโรงเรยี นวงั ไกลกงั วล
ทางวิชาการ คือ ครูมพี ่ีเลีย้ งทางวชิ าการ และครูแกนน�ำในพืน้ ที่ และโรงเรียนในพ้ืนท่ีใกล้เคียงในการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
รวมทง้ั ครปู ระจำ� การวชิ าวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยี คณิตศาสตร์ และวิทยาการค�ำนวณ ระดับประถมศึกษาและ
ระดับชั้นประถมศึกษา - มัธยมศึกษาตอนปลาย และครูปฐมวัย มธั ยมศึกษาตอนปลาย รวมทัง้ พฒั นาครูต�ำรวจตระเวนชายแดน
ท่ีได้รับการพัฒนา ส่งผลให้ครูเกิดความเข้มแข็งทางวิชาการ (ตชด.) เพ่ือการจัดการเรียนรู้ ตามแนวโครงการพระราชด�ำริ
เพ่ือเพ่ิมทักษะสมรรถนะในการจัดการเรียนการสอนให้ก้าวทัน บ้านนักวทิ ยาศาสตร์นอ้ ย และแนวทางสะเตม็ ศึกษา
ตามความปกติใหม่บนฐานสมรรถนะท่ีสอดรับการเรียนรู้ การม่งุ ความเป็นเลิศ
ในศตวรรษท่ี ๒๑ และสรา้ งขีดความสามารถ
การสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา ในการแข่งขนั ของประเทศ

• ยกระดบั โรงเรยี นคณุ ภาพดา้ นวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ • ผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีตามมาตรฐาน สสวท. (โรงเรียนคุณภาพ SMT และคณิตศาสตร์ ใหม้ ีศักยภาพสูงทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
ตามมาตรฐาน สสวท.) ใหไ้ ดค้ ณุ ภาพตามเกณฑม์ าตรฐานของ สสวท. และคอมพิวเตอร์ ระดับปริญญาโท ส�ำหรับสอนวิชาฟิสิกส์ เคมี
ต้ังแต่ระดับประถมศึกษาตอนต้นจนถึงระดับมัธยมศึกษา ชีววิทยา คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ เพ่ือเป็นก�ำลังส�ำคัญ
ตอนปลายของทุกสังกัด ให้นักเรียนมีโรงเรียนดีใกล้บ้าน ในการพัฒนาการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
ครอบคลมุ ทกุ อำ� เภอ ผา่ นการเรียนรวู้ ถิ ใี หม่แบบออนไลน์ และเทคโนโลยีในโรงเรยี น

• เพิ่มศักยภาพครูตามโครงการในพระราชด�ำริ • พัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทาง
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้มีนักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย
สยามบรมราชกุมารี โดยสนับสนุนและส่งเสริมทางวิชาการ ศักยภาพสูง เพอื่ เป็นฐานรองรบั การพฒั นา สรา้ งองค์ความรทู้ าง
ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ให้แก่ครูผู้สอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีใหม่ สร้างผลงานวจิ ยั และนวัตกรรม
โรงเรียนในท้องถิ่นทุรกันดาร เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ ท่ีเปน็ ประโยชนต์ อ่ การเพิม่ ศักยภาพของประเทศ
เกิดความตระหนกั ในการจัดการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชีวิตวิถีใหม่ 159

Project 14 Project 14 Project 14 DLTV
เรียนรู้ทางไกลผา่ นโทรทศั น์
Project 14 Plus ทาง DLTV

เรียนไดท้ ุกทท่ี กุ เวลา ครจู ัดการเรียนการสอนออนไลน์
ผ่านเวบ็ ไซตแ์ ละโทรศัพทม์ ือถือ ผา่ นแอปพลิเคชนั Project14+ by IPST
และเว็บไซต์
เว็บไซต์ http://proj14.ipst.ac.th https://classroom.proj14.ipst.ac.th
YouTube IPST Proj14
Facebook https://www.facebook.com/ipstproj14

• ส่งเสริมผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขันคณิตศาสตร์ การขับเคลื่อนการศึกษาด้วยเทคโนโลยี
วทิ ยาศาสตรโ์ อลมิ ปกิ ระหวา่ งประเทศ เพอ่ื ผลกั ดนั ใหเ้ ยาวชนไทย และนวัตกรรมสู่ความปกติใหม่ทางการศกึ ษา
แสดงความสามารถเต็มตามศักยภาพ และผลิตบุคลากรที่มี
ความสามารถพิเศษทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ปฏิบัติ • พัฒนาศูนย์เรียนรู้ดิจิทัลระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์
งานวิจัยและพัฒนาวิชาการด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี สสวท. (IPST Learning Space)
และเทคโนโลยี เพ่ือให้เป็นแหล่งเรียนรู้ออนไลน์ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
และเทคโนโลยี ท่สี ามารถเข้าถงึ สือ่ และองค์ความร้ขู อง สสวท.
• พฒั นาอจั ฉรยิ ภาพทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ ไดอ้ ยา่ งสะดวก ทกุ ที่ ทกุ เวลา ประกอบดว้ ย ๓ ระบบ ไดแ้ ก่ ระบบ
เพ่ือให้นักเรียนมีศักยภาพทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ อบรมครู ระบบการสอบออนไลน์ และระบบคลังความรู้ สามารถ
อยา่ งเขม้ ขน้ ใชค้ วามรคู้ วามสามารถตอ่ ยอดสโู่ ครงการทางวชิ าการ เขา้ ถึงผา่ นเวบ็ ไซต์ https://learningspace.ipst.ac.th
อืน่ ๆ ในระดับช้ันที่สูงข้ึนและสรา้ งแรงบนั ดาลใจใหก้ บั นักเรยี น
• วจิ ยั และพฒั นาระบบแพลตฟอรม์ ดจิ ทิ ลั เพอื่ การเรยี นรู้
• สนับสนุนทุนการศึกษานักเรียน นักศึกษา และครู โครงการ Project 14 เพอ่ื พฒั นาระบบจดั การเรยี นรแู้ บบออนไลน์
ให้เป็นทรัพยากรบุคคลท่ีมีค่าของประเทศในด้านวิทยาศาสตร์ (Learning Management System) สอื่ สนบั สนนุ การเรยี นการสอน
คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ให้ศึกษาต่อเนื่องอย่างเต็มตาม ทเี่ นน้ ความเขา้ ใจ เชอื่ มโยงชวี ติ จรงิ สะดวกในการเขา้ ถงึ และใชง้ าน
ศกั ยภาพเปน็ รายบคุ คล และสอู่ าชพี นกั วทิ ยาศาสตร์ นกั วจิ ยั และ สอดคลอ้ งกบั ตวั ชวี้ ดั กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ และกลมุ่ สาระ
ครวู ิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ซงึ่ เป็นสาขาสำ� คัญ การเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
อยา่ งยง่ิ ต่อการพฒั นาประเทศต่อไป

การเตรียมคนไทย
ส่ศู ตวรรษท่ี ๒๑

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

160 การศึกษาไทย ในชีวติ วถิ ีใหม่

สสวท. ได้ด�ำเนินงานอย่างต่อเน่ืองผ่านองค์ความรู้ การเพม่ิ ศักยภาพครู
และประสบการณ์ที่หลากหลาย เพ่ือขับเคล่ือนการยกระดับ ใหม้ สี มรรถนะของครยู คุ ใหม่
การศึกษาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีของไทย ส�ำ หรับการเรียนรศู้ ตวรรษท่ี ๒๑
สู่ชีวิตวิถีใหม่ทางการศึกษา โดยปรับเปล่ียนการด�ำเนินงาน
ตามชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) และน�ำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ รวมทง้ั โครงการอ่ืน ๆ
ในการทำ� งาน เพอ่ื ยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษา สรา้ งความเสมอภาค เพอ่ื ชว่ ยขยายผล
ทางการศึกษา มุ่งความเป็นเลิศ และสร้างขีดความสามารถ
ในการแข่งขันของประเทศ รวมท้ังขับเคล่ือนการศึกษาด้วย ส่กู ารพฒั นานกั เรียนไทย
เทคโนโลยีและนวัตกรรม โดยมิได้มุ่งหวังเพียงให้นักเรียนเรียน ใหม้ ีความสามารถพ้ืนฐาน
เพอื่ จบหลกั สตู ร หรอื สำ� เรจ็ การศกึ ษาเพยี งเทา่ นน้ั แตต่ อ่ ยอดความรู้
สู่การประยุกต์ใช้ในการท�ำงานได้ ซ่ึงเป็นแนวทางในการสร้าง ในสังคมยคุ ดิจทิ ัล
แรงงานทมี่ ศี ักยภาพในอนาคต เพื่อรองรับศตวรรษท่ี ๒๑

นอกจากนี้ ยงั ไดพ้ ฒั นาเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื ทเ่ี ขม้ แขง็ อยา่ งเป็นรูปธรรม
จากหน่วยงานภาครัฐและเอกชนท้ังในประเทศ ต่างประเทศ
และหน่วยงานระดับนานาชาติ เพื่อผลักดัน ขับเคล่ือน
สู่การพฒั นาการศกึ ษาวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยี
ซ่ึงหลายโครงการท่ี สสวท. ได้ร่วมริเริ่มด�ำเนินการร่วมกับ
หน่วยงานเครอื ขา่ ยอย่างไม่หยุดนงิ่ เช่น การพฒั นาและสง่ เสรมิ
การใช้เคร่ืองมือในการสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัย เนื่องจาก
การเรียนรู้ปรับเปลี่ยนจากเดิมท่ีเคยเน้นเน้ือหาวิชาไปเป็น
การเรียนรู้ฐานสมรรถนะ การเพ่ิมศักยภาพครูให้มีสมรรถนะ
ของครยู คุ ใหมส่ ำ� หรบั การเรยี นรศู้ ตวรรษที่ ๒๑ รวมทง้ั โครงการอน่ื ๆ
เพื่อช่วยขยายผลสู่การพัฒนานักเรียนไทยให้มีความสามารถ
พน้ื ฐานในสงั คมยคุ ดจิ ทิ ลั เพอื่ รองรบั ศตวรรษที่ ๒๑ อยา่ งเปน็ รปู ธรรม
เพ่ือ “สร้างเด็กฉลาดรู้ ครูคุณภาพสูง ยกระดับการศึกษาไทย
แข่งขนั ไดด้ ้วยฐานสมรรถนะ”

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชวี ิตวิถีใหม่ 161



โรงเรียนมหิดลวทิ ยานสุ รณ์

“COVID-19”

จากวิกฤตสู่การปลดลอ็ กเส้นทางแห่งการเรยี นรู้

โรงเรียนมหดิ ลวทิ ยานสุ รณ์

เมือ่ ครูไมส่ ามารถจดั การเรียนการสอนทีโ่ รงเรียนได้... การเตรยี มการในช่วงเรมิ่ ตน้
เมอื่ นกั เรยี นไมส่ ามารถเขา้ หอพกั และเรยี นรทู้ โี่ รงเรยี นได.้ .. ระบบออนไลน์ คอื ตวั เลอื กสำ� คญั ในการนำ� มาใชบ้ รหิ าร
“เทคโนโลย”ี จงึ ถกู นำ� มาเปน็ สอ่ื กลางในการพฒั นา
รปู แบบการศกึ ษาเพ่ือตอบโจทยป์ ญั หาดงั กล่าว จดั การเรียนการสอน และการท�ำงานของบุคลากร ซ่ึงไม่ใชเ่ พียง
การเปล่ียนเอกสารจากกระดาษมาเป็นไฟล์ดิจิทัล แต่เป็น
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ การปรบั รปู แบบการดำ� เนนิ การในหลาย ๆ ดา้ น เพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ ง
(COVID-19) โรงเรยี นมหดิ ลวทิ ยานสุ รณ์ (มวส.) ตอ้ งปดิ การเรยี น กับบริบทและข้อจ�ำกัดของเทคโนโลยี เพื่อให้แน่ใจว่าทุกคน
การสอน กระทบตอ่ การจดั การเรยี นการสอนของครแู ละการเรยี น มีความพร้อมในการปรับเปล่ียน โรงเรียนจึงได้สนับสนุน
ของนกั เรยี นโดยตรง แตท่ วา่ ในสภาวะวกิ ฤตตรงกบั ชว่ งปดิ ภาคเรยี น เครื่องมือในการด�ำเนินกิจกรรมท้ัง Hardware และ Software
จงึ ทำ� ใหม้ ีเวลาในการวางแผนตงั้ รบั ท้ังในเรอ่ื งการบรหิ ารจัดการ โดยให้บุคลากรและนักเรียนได้ยืมคอมพิวเตอร์ส�ำหรับใช้
และการจัดการเรยี นการสอน ในการเรียนการสอนและการทำ� งานออนไลน์ เตรียมความพรอ้ ม
บุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเฉพาะครูผู้สอนที่จ�ำเป็น

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชวี ิตวิถีใหม่ 163

เม่อื ครูไม่สามารถ

จัดการเรยี นการสอนท่ีโรงเรียนได้...

เมอ่ื นักเรียนไมส่ ามารถ

เขา้ หอพกั และเรยี นรทู้ ่โี รงเรียนได้...
“เทคโนโลยี” จงึ ถูกน�ำ มาเป็น
ส่อื กลางในการพฒั นา

รูปแบบการศึกษาเพือ่ ตอบโจทย์

ปญั หาดงั กล่าว

จะต้องเรยี นรู้ ฝึกฝน และพัฒนาทักษะ (Skill) สำ� หรบั การจดั ท�ำ ตามหลักสูตรของโรงเรียน ท่ีมุ่งเน้นให้นักเรียนลงมือปฏิบัติ
ส่ือการสอนและการปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดการเรียนการสอน วิเคราะห์ สืบเสาะในส่ิงท่ีสงสัย ดังนั้น ครูในแต่ละสาขาวิชา
ท้ังหมดน้ี ผู้บริหารโรงเรียนได้วางแผนและสนับสนุนการบริหาร จงึ ไดม้ กี ารประชมุ แลกเปลย่ี นเรยี นรรู้ ว่ มกนั (PLC) เพอ่ื ออกแบบ
งานและการจัดการศึกษาภายใต้สภาวะวิกฤตร่วมกับบุคลากร ลักษณะกิจกรรมท่ีเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ
ในหลาย ๆ ส่วนงาน โดยเฉพาะบุคลากรทางด้านเทคโนโลยี ขณะทเี่ รยี นออนไลนอ์ ยทู่ บี่ า้ นผา่ นสอื่ การสอนและใบงานทเ่ี ตรยี มไว้
สารสนเทศ ต้องท�ำงานอย่างหนักในช่วงระยะเวลาอันสั้น โดยครูได้น�ำส่ือการเรียนรู้ทั้งที่จัดท�ำข้ึนเอง และแหล่งเรียนรู้
เพ่ือให้ภาพรวมขององค์กรเดินหน้าต่อไปได้ ซ่ึงมีการวางระบบ จากภายนอก มารวบรวมไวท้ ่ี Google Classroom เพอื่ เปน็ ชอ่ งทาง
และถ่ายทอดความรู้ด้านเทคโนโลยีให้กับนักเรียนและบุคลากร ให้นกั เรียนได้ศึกษาค้นควา้ ด้วยตนเองอีกทางหนงึ่
ในเรือ่ งของ
การด�ำเนินงานในภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓
• การใช้ Google Meet ในการประชุมและการสอน โรงเรียนได้ด�ำเนินการตามแผนท่ีวางไว้ โดยได้เปิดภาคเรียน
ออนไลน์ ในชว่ งเดอื นมถิ นุ ายน และจดั การเรยี นการสอนผา่ นระบบออนไลน์
ซึ่งช่วงเวลาน้ีเป็นช่วงของการฝึกฝนฝีมือและเทคนิคการสอน
• การใช้ Google Classroom ให้เป็นแหล่งสืบค้น ผ่านระบบออนไลน์ของครู หลังจากท่ีได้พัฒนาและเตรียมการ
ส่ือการเรียนรแู้ ละใบงานของนกั เรยี น มาตลอดระยะเวลา ๒ เดอื น เพอ่ื ใหพ้ รอ้ มและทนั ตอ่ กำ� หนดเวลา
เปดิ ภาคเรยี น ซง่ึ ในชว่ งแรกของการจดั การเรยี นการสอน การใชง้ าน
• การบันทึกการสอนด้วย Microsoft PowerPoint, ผา่ นบรกิ ารของ G-Suite อาจจะตดิ ขดั บา้ ง แตเ่ มอ่ื ผา่ นไปสกั ระยะ
OBS studio พบวา่ การเรยี นการสอนในลกั ษณะน้ี นกั เรยี นจะมเี วลาในการเรยี นรู้
ด้วยตนเองผ่านสื่อในรูปแบบใหม่ ๆ และนักเรียนได้น�ำความรู้
• การตัดต่อวดิ ีโอด้วย Video Editor App (for PC), เหล่านั้นมาอภิปราย แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพ่ือนและครู
Adobe Premiere ในชนั้ เรยี นดงั เชน่ การเรยี นทโี่ รงเรยี น เพยี งแตเ่ ปลยี่ นบรรยากาศ
จากในห้องเรียนมาเป็นผ่าน Google Meet แทน ทั้งนี้
• การสรา้ งภาพกราฟิก จาก Microsoft PowerPoint, ตลอดช่วงเวลาทจี่ ดั การเรียนในรปู แบบดังกลา่ ว ได้เปดิ โอกาสให้
Adobe Photoshop และ Adobe Illustrator นักเรียนสะท้อนข้อคิดเห็นมาโดยตลอดเพ่ือน�ำมาปรับปรุง
และพฒั นารูปแบบใหด้ ียิ่งข้นึ
• การอบรมสง่ ผลใหค้ รผู สู้ อนสามารถออกแบบกจิ กรรม
และรูปแบบการเรียนการสอนได้อย่างหลากหลาย รวมไปถึง
ผลิตและสรา้ งสรรค์สอ่ื การสอนได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพย่งิ ข้ึน

การเรียนออนไลน์ที่ต้องเพ่งหน้าจอคอมพิวเตอร์อยู่
ตลอดเวลา อาจไม่ตอบโจทย์การพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

164 การศึกษาไทย ในชวี ติ วิถีใหม่

สถานการณค์ ล่คี ลาย การเรียนท่โี รงเรียน (Onsite) น้ี เน้นออกแบบกิจกรรม
แม้ในช่วงเดือนกรกฎาคม สถานการณ์เริ่มคล่ีคลาย การเรียนการสอนในหัวข้อที่ต้องลงมือปฏิบัติท่ีโรงเรียน
ภายในหอ้ งเรียนแบ่งนักเรียน ๑ หอ้ ง จำ� นวน ๒๔ คน ออกเป็น
โรงเรียนต่าง ๆ กลับมาเปิดสอนอีกคร้ัง แต่โรงเรียนมหิดล ๒ หอ้ งเรยี นยอ่ ย เพ่อื ใหม้ ีการเวน้ ระยะห่างในห้องเรียน มีระบบ
วิทยานุสรณ์ก็ยังไม่สามารถให้นักเรียนกลับมาเรียนท่ีโรงเรียนได้ การติดตาม (Tracking) นักเรียนที่ดี ก�ำหนดให้นักเรียนปฏิบัติ
เนื่องจากโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์เป็นโรงเรียนประจ�ำ การน�ำ ตามมาตรการเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing)
นักเรียนท่ีมาจากหลากหลายจังหวัดมาอาศัยอยู่รวมกัน อย่างเคร่งครัด ห้ามออกนอกบริเวณโรงเรียนในช่วงท่ีเรียน
อาจก่อให้เกิดความเสี่ยงของการระบาดของเช้ือโรคได้ โรงเรียน ท่ีโรงเรียนเน้นการใช้อุปกรณ์และสิ่งของส่วนตัว พร้อมทั้ง
จึงยังคงต้องด�ำเนินการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์ สวมหน้ากากอนามัยและหม่ันล้างมือเป็นประจ�ำ เป็นแนวทาง
ซึ่งตารางสอนออนไลน์ของนักเรียนน้ัน จะมีทั้งช่วงเวลา ปอ้ งกันและเตรยี มความพร้อมหากเกดิ การแพร่ระบาดของโรค
การเข้าเรียนใน Google Meet กับครูผู้สอน และช่วงเวลาของ
การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Self-Study) ผ่านส่ือที่ครูผลิต การลงมือพัฒนาส่ือการเรียนการสอนและการสอน
และรวบรวมไว้ใหใ้ น Google Classroom ออนไลน์ตั้งแต่เดือนพฤษภาคมเป็นต้นมา ส่งผลให้ครูสั่งสม
ประสบการณ์และเทคนิคในการจัดการเรียนการสอนพอสมควร
ในเดอื นสงิ หาคมสถานการณต์ า่ ง ๆ เรมิ่ คลคี่ ลาย โรงเรยี น เม่ือโรงเรียนจะต้องให้บริการอบรมความรู้ทางวิชาการให้แก่
จงึ ไดจ้ ดั ใหน้ กั เรยี นเขา้ มาเรยี นทโี่ รงเรยี น (Onsite) เพอื่ รว่ มกจิ กรรม บุคลากรทางการศึกษาในโครงการต่าง ๆ ทั้งการพัฒนาครู
ที่จ�ำเป็นตอ้ งลงมือปฏิบตั ิ (Hand On) ทีละระดับช้ัน ดังน้ี ของกลุ่มโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัยและ
โรงเรยี นในสังกัด สพฐ. ทม่ี คี วามรว่ มมอื ทางวชิ าการกับโรงเรียน
• นกั เรียนระดบั ชั้น ม.๔ ต้งั แตว่ ันท่ี ๒ จนถึงวันท่ี ๒๒ มหดิ ลวิทยานุสรณ์ หรอื การอบรมความรู้ทางวิชาการและการใช้
สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ เทคโนโลยสี ารสนเทศ สำ� หรบั ครผู สู้ อนและบคุ ลากรในสถานศกึ ษา
มีการน�ำองค์ความรู้ท่ีมีมาผสานกับประสบการณ์การจัดรูปแบบ
• นักเรียนระดับชั้น ม.๕ ตั้งแต่วันท่ี ๓๐ สิงหาคม
จนถึงวนั ท่ี ๑๒ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๓

• นักเรียนระดับชั้น ม.๖ ตั้งแต่วันท่ี ๒๐ กันยายน
จนถงึ วันท่ี ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๓

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชวี ติ วิถีใหม่ 165

การแพร่ระบาดของ

โรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙

(COVID-19)
คือ “วิกฤต” หรือ “โอกาส”

อยู่ท่มี มุ มอง แต่สำ�หรับ

โรงเรียนมหิดลวทิ ยานสุ รณ์

เราเปลยี่ น “วกิ ฤต” น้ี ให้เปน็ โอกาส

การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ถ่ายทอดเทคนิคและแนวทาง วกิ ฤตหวนกลับมา
การจัดกิจกรรมผ่านระบบออนไลน์ และการพัฒนาส่ือการสอน ในช่วงปลายเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ จัดการเรียน
ใหก้ บั เพอื่ นครดู ว้ ยกนั
ในรูปแบบออนไลน์ (Online) โดยมีก�ำหนดกลับเข้ามาเรียน
ในภาคเรยี นที่ ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ จำ� นวนผตู้ ดิ เชอื้ โรค ทโ่ี รงเรยี นอกี ครง้ั ในวนั ท่ี ๑๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๔ การแพรร่ ะบาด
COVID-19 ลดลง โรงเรียนจัดการเรียนการสอนในรูปแบบ ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ระลอกใหม่
Hybrid โดยจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน ควบคู่ไปกับ ที่ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ท�ำให้โรงเรียนตัดสินใจจัดการเรียน
การให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Self-Study) การสอนเป็นรูปแบบออนไลน์ เปลี่ยนจากการมาโรงเรียน
ซึ่งภาคเรียนนี้โรงเรียนวางแผนให้นักเรียนได้มีโอกาสเรียนรู้ เปน็ การเรียนในทีพ่ กั ผา่ น Google Meet อกี ครัง้ การปรับเปลีย่ น
ทางวิชาการและทักษะที่จ�ำเป็นต่อการด�ำรงชีวิตท่ีโรงเรียน ในคร้ังน้ี ครูผู้สอนและนักเรียนต่างรับมือได้เป็นอย่างดี เพราะมี
มากยงิ่ ขนึ้ ซง่ึ ตลอดชว่ งเวลาทนี่ กั เรยี นพกั อยใู่ นโรงเรยี น นกั เรยี น บทเรียนจากประสบการณ์ที่ผ่านมา ท�ำให้สามารถเตรียมตัวได้
ไมไ่ ดร้ บั อนญุ าตใหอ้ อกไปภายนอกโรงเรยี น เปน็ อกี หนงึ่ มาตรการ ในระยะเวลาอันสั้น โดยครูได้ปรับแผนการสอนและรูปแบบ
ปอ้ งกันการตดิ เชือ้ COVID-19 แต่หากมีกรณจี �ำเปน็ ต้องออกไป กิจกรรมที่เอ้ือให้นักเรียนได้เรียนรู้และลงมือปฏิบัติจากอุปกรณ์
ภายนอกโรงเรียน นักเรียนจะต้องขออนุญาตเป็นรายกรณีไป ท่บี า้ นได้
แตร่ ปู แบบการจัดการเรยี นการสอนของครู การพฒั นาสมรรถนะ
ของนักเรียนได้ปรับเปล่ียนผ่านการจัดการเรียนการสอนและ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
การประเมินผลท่ีหลากหลายมีการออกแบบลักษณะการสอน (COVID-19) คอื “วิกฤต” หรือ “โอกาส” อยู่ทม่ี มุ มอง แตส่ �ำหรับ
เฉพาะวิชา เนน้ การประเมินผลผ่านกระบวนการคิดวิเคราะห์และ โรงเรียนมหดิ ลวิทยานสุ รณ์ เราเปล่ียน “วิกฤต” น้ี ให้เปน็ โอกาส
สงั เคราะหจ์ ากกจิ กรรมมากกวา่ การประเมนิ ผา่ นขอ้ สอบกลางภาค
และปลายภาค โอกาส...ของการเพิ่มพูนทักษะและความสามารถ
ของบคุ ลากรให้มศี กั ยภาพยิ่งขึ้น

โอกาส...ของการปรับเปลี่ยนรูปแบบการท�ำงาน
ให้สอดคลอ้ งกับเทคโนโลยแี ละสงั คมท่ีเปลยี่ นไป

โอกาส...ของการพฒั นารปู แบบการจดั การเรยี นการสอน
รูปแบบใหมข่ องโรงเรยี นและของประเทศ

“วิกฤต” คือ ตัวเร่งโอกาสให้เกิดขึ้นและพัฒนาองค์กร
ให้ขบั เคล่ือนไปข้างหน้า

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

166 การศึกษาไทย ในชีวิตวถิ ีใหม่

๑๐

ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา

คุรสุ ภาพัฒนาส่อู งค์การแห่งการเรยี นรู้
ผปู้ ระกอบวชิ าชพี มจี ิตวญิ ญาณความเป็นครู

มีความรู้ ความสามารถท่ีแทจ้ ริง

สำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา (คส.) ดำ� เนนิ งานตามบทบาท การพัฒนา
ภารกิจของคุรุสภา ในฐานะสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
ตามพระราชบญั ญตั สิ ภาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรฐานวิชาชีพทางการศกึ ษา
เพอ่ื เปน็ หลกั ประกนั ใหส้ งั คมวา่ ผู้ประกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา และการคัดกรองคนเข้าสวู่ ชิ าชพี
มีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ และจรรยาบรรณของวิชาชีพ
อย่างแท้จริง ภายใต้กรอบมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา ด�ำเนินงานตามภารกิจส�ำคัญและเป็นอ�ำนาจหน้าท่ี
สู่คุณภาพการจัดการศึกษาและคุณภาพผู้เรียน สอดคล้องกับ ของคุรุสภา เพื่อการยกระดับคุณภาพการผลิตและคัดกรอง
การปฏิรูปประเทศ ด้วยการตอบสนองนโยบายปฏิรูปการศึกษา ผู้ต้องการเข้าสู่วิชาชีพทางการศึกษา เพื่อให้ได้ผู้มีจิตวิญญาณ
ในการพัฒนาระบบการผลิตและพัฒนาครูท่ีมีคุณภาพและมี ของความเป็นครูและมีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริงเข้าสู่
จิตวิญญาณของความเป็นครู เพราะครูเป็นหัวใจส�ำคัญของ วชิ าชีพ โดยด�ำเนนิ งานผา่ นกระบวนการตา่ ง ๆ ดังนี้
การปฏริ ูปการศกึ ษาเพ่อื พฒั นาประเทศ
การรับรองปรญิ ญา และประกาศนียบัตร
ตลอดระยะเวลาปี ๒๕๖๓ ทผ่ี า่ นมา ครุ สุ ภารว่ มกบั เครอื ขา่ ย ตามมาตรฐานวิชาชพี
ไดด้ ำ� เนนิ งานภายใตน้ โยบาย “ครุ สุ ภาพฒั นาสอู่ งคก์ ารแหง่ การเรยี นรู้
ผปู้ ระกอบวชิ าชพี มจี ติ วญิ ญาณความเปน็ ครู มคี วามรู้ ความสามารถ ด�ำเนินงานเพื่อให้ผู้ส�ำเร็จการศึกษาในหลักสูตร
ที่แท้จริง” และท่ามกลางสถานการณ์การแพร่ระบาดของ ปริญญา หรือประกาศนียบัตรที่คุรุสภารับรอง เป็นผู้มีความรู้
โรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ไดม้ กี ารพฒั นาระบบ และมีสมรรถนะทางวิชาชีพตามมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา
การท�ำงานและระบบการให้บริการเพ่ืออ�ำนวยความสะดวก ท่คี รุ สุ ภาก�ำหนดโดยมีเกณฑ์ในการพิจารณารบั รองปรญิ ญา และ
แกส่ มาชกิ โดยใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศทำ� ใหเ้ กดิ การดำ� เนนิ ชวี ติ ประกาศนียบัตรทางการศึกษา จากมาตรฐาน ๓ ด้าน ได้แก่
ในรูปแบบใหม่ (New Normal) ข้ึน เพ่ือการพัฒนาศักยภาพ มาตรฐานหลักสูตร มาตรฐานการผลิต และมาตรฐานบัณฑิต
และสมรรถนะ ของครูท่ีส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียนให้สามารถ ตามประกาศครุ สุ ภา เรอื่ ง การรบั รองปรญิ ญาและประกาศนยี บตั ร
พัฒนา อยา่ งเตม็ ศักยภาพและเปน็ กำ� ลังของชาติในอนาคต ทางการศกึ ษาเพอื่ การประกอบวชิ าชพี พ.ศ. ๒๕๕๗ ในรอบปี ๒๕๖๓
มีจ�ำนวนสถาบันและหลักสูตรท่ีได้รับ การรับรองปริญญา
และประกาศนยี บตั รทางการศกึ ษาจากครุ สุ ภา รวม ๑๑๗ หลกั สตู ร

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

168 การศึกษาไทย ในชีวิตวิถีใหม่

สำ� หรบั หลกั สตู รผลติ ครใู นระดบั ปรญิ ญาตรี (หลกั สตู ร ๔ ป)ี การรับรองคุณวฒุ ิการศกึ ษาเพือ่
ของสถาบันผลิตครูท่ีได้ปรับเปล่ียนหลักสูตรตามประกาศ การประกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา
กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี
สาขาครศุ าสตรแ์ ละสาขาศกึ ษาศาสตร์ (หลกั สตู ร ๔ ป)ี พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นการเปิดโอกาสให้บุคคลท่ีไม่มีคุณวุฒิปริญญา
และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง มาตรฐานคุณวุฒิระดับ ทางการศกึ ษาทคี่ รุ สุ ภารบั รอง และเปน็ ความตอ้ งการของหนว่ ยงาน
ปรญิ ญาตรี สาขาครศุ าสตรอ์ ตุ สาหกรรม (หลกั สตู ร ๔ ป)ี พ.ศ. ๒๕๖๒ ผู้ใช้ผู้ประกอบวิชาชีพ สามารถด�ำเนินการขอรับรองคุณวุฒิ
คุรุสภาได้ก�ำหนดหลักเกณฑ์การรับรองปริญญาดังกล่าว การศึกษาเพ่ือการประกอบวิชาชีพได้ตามหลักเกณฑ์ท่ีคุรุสภา
ตามประกาศคุรุสภา เรื่อง การรับรองปริญญาตามมาตรฐาน ก�ำหนด ในรอบปี พ.ศ. ๒๕๖๓ มีหนว่ ยงานทางการศกึ ษาเสนอ
วชิ าชพี หลกั สตู ร ๔ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ สำ� หรบั ดำ� เนนิ การรบั รองปรญิ ญา ขอรับรองคุณวุฒิการศึกษาของบุคลากรในสังกัด เพื่อขอรับ
ในหลักสูตรดังกล่าว และได้เตรียมปรับเปล่ียนรูปแบบและ ใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ดังน้ี
กระบวนการรับรองปริญญาและประกาศนียบัตรทางการศึกษา
โดยน�ำเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้ในขั้นตอนการเสนอ
ขอรบั รองปรญิ ญาฯ ของสถาบนั อดุ มศกึ ษา และกระบวนการพจิ ารณา
ของคณะอนุกรรมการที่เก่ียวข้อง เพื่อให้การด�ำเนินการรับรอง
ปริญญาฯ เป็นไปด้วยความรวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วน
ลดการใช้ทรพั ยากร และมีขอ้ มลู สารสนเทศทเ่ี ป็นปัจจุบัน



กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชวี ิตวถิ ีใหม่ 169

การทดสอบและประเมนิ สมรรถนะ การพัฒนา
ทางวชิ าชพี ครู ตามมาตรฐานวิชาชีพ งานใบอนญุ าต
เพอ่ื การออกใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพครู
ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
เป็นกระบวนการคัดกรองผู้เข้าสู่วิชาชีพครูระบบใหม่
ที่เริ่มบังคับใช้กับผู้ส�ำเร็จการศึกษาในหลักสูตรปริญญา ครุ สุ ภาไดป้ รับเปลีย่ นกระบวนการให้บรกิ าร
หรอื ประกาศนยี บตั รทางการศกึ ษาทคี่ รุ สุ ภารบั รอง และเขา้ ศกึ ษา ด้านใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา
ตง้ั แตป่ กี ารศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๒ เปน็ ตน้ ไป รวมถงึ ผมู้ คี ณุ วฒุ ปิ รญิ ญา เป็นการใหบ้ ริการผ่านระบบอิเล็กทรอนกิ ส์
สาขาอ่ืนท่ีผ่านการรับรองความรู้และประสบการณ์วิชาชีพครู (e-Service)
ตามมาตรฐานวิชาชีพ หรือผ่านการรับรองคุณวุฒิการศึกษา
เพ่ือการประกอบวิชาชีพครู จะต้องผ่านการทดสอบและประเมิน เพื่อลดความเสี่ยงการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส
สมรรถนะทางวชิ าชพี ครู ตามมาตรฐานวชิ าชพี เพอื่ ขอรบั ใบอนญุ าต โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) โดยส�ำนักงานเลขาธิการ คุรุสภา
ประกอบวิชาชีพองค์ประกอบการทดสอบและประเมินสมรรถนะ จึงได้ออกประกาศฯ เพื่ออ�ำนวยความสะดวกแก่ประชาชน
ทางวิชาชีพครูมี ๒ ส่วน ได้แก่ ๑) การทดสอบและประเมิน และผูป้ ระกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา ดงั น้ี
สมรรถนะทางวิชาชีพครู ด้านความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ
และ ๒) การประเมนิ สมรรถนะทางวชิ าชพี ครู ดา้ นการปฏบิ ตั งิ าน ประการแรก การให้บริการด้านใบอนุญาตประกอบ
และการปฏิบัติตน ผู้ขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู วิชาชีพ ให้บริการผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์) จ�ำนวน ๓ ระบบ
จะต้องเป็นผู้ผ่านเกณฑ์การทดสอบและประเมินสมรรถนะ ประกอบด้วย ๑. ด�ำเนินการด้วยตนเอง (KSP Self-service)
ทางวชิ าชพี ครทู งั้ ๒ สว่ น จงึ จะขอรบั ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ครู ๒. ดำ� เนนิ การผา่ นสถานศกึ ษา (KSP School) และ ๓. ดำ� เนนิ การ
ต่อไปได้ ผ่านสถาบันผลิตครูที่คุรุสภารับรอง (KSP Bundit) ได้ตลอด
๒๔ ชวั่ โมง ผา่ นทางเวบ็ ไซตข์ องครุ สุ ภา www.ksp.or.th และจะไมม่ ี
การทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู บรกิ ารผา่ นชอ่ งทางไปรษณียแ์ ละเคาน์เตอร์บรกิ ารอกี ต่อไป
ด้านความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ ตามมาตรฐานวิชาชีพครู
เรม่ิ ดำ� เนนิ การครงั้ แรกระหวา่ งวนั ท่ี ๒๐ - ๒๑ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๔ ประการท่ี ๒ ผู้ท่ีได้รับการอนุมัติใบอนุญาตประกอบ
มสี นามสอบจำ� นวน ๖ แหง่ ทว่ั ประเทศ โดยผเู้ ขา้ รบั การทดสอบฯ วิชาชีพ สามารถพิมพ์ส�ำเนาใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
ได้แก่ ผู้เข้าศึกษาในหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู และใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี อเิ ลก็ ทรอนกิ สผ์ า่ นระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
และปริญญาโททางการศึกษา (วิชาชีพครู) ที่คุรุสภารับรอง (e-Service) และสามารถตรวจสอบหรอื พสิ จู นใ์ บอนญุ าตประกอบ
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ รวมจำ� นวน ๗,๒๖๓ คนทว่ั ประเทศ และกำ� หนด วิชาชพี ทีค่ ุรุสภาอนุมัติผ่าน QR Code จากเวบ็ ไซตข์ องครุ สุ ภา
จัดการทดสอบฯ คร้ังตอ่ ไป ภายในเดอื นตลุ าคม ๒๕๖๔
ประการที่ ๓ การติดตอ่ สอบถามการดำ� เนินการเกย่ี วกับ
การก�ำหนดระดับคุณภาพของมาตรฐาน ค�ำขอทุกประเภท สามารถติดต่อผ่านระบบโทรศัพท์อัตโนมัติ
ในการประกอบวชิ าชีพครู Call Center ทหี่ มายเลข ๐ ๒๓๐๔ ๙๘๙๙ หรอื จดุ บรกิ ารงานครุ สุ ภา
ณ สำ� นกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั ทกุ จงั หวดั (ยกเวน้ กรงุ เทพมหานคร)
จัดท�ำและน�ำเสนอ ร่าง การก�ำหนดระดับคุณภาพ
ของมาตรฐานในการประกอบวชิ าชพี ครตู ามมาตรฐานวชิ าชพี ครู
ตอ่ คณะกรรมการมาตรฐานวชิ าชพี และคณะอนกุ รรมการทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
เพอ่ื พจิ ารณากอ่ นดำ� เนนิ การจดั ทำ� หลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเครอื่ งมอื
ประเมนิ ตามระดบั คณุ ภาพดงั กลา่ วตอ่ ไป ทง้ั นี้ การประเมนิ ระดบั
คณุ ภาพดังกลา่ ว มวี ัตถปุ ระสงค์ ๓ ประการ คอื ๑) เพอ่ื พฒั นา
สมรรถนะของผู้ประกอบวิชาชีพครู และพัฒนาวิชาชีพครู
๒)เพอื่ การตอ่ อายใุ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ครูและ๓)เพอ่ื เชอ่ื มโยง
การใช้ผลการประเมินระดับคุณภาพกับการประเมินวิทยฐานะ
สายงานสอน

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

170 การศึกษาไทย ในชวี ติ วิถีใหม่

การพัฒนางานให้บริการ การตรวจสอบสถานะการพิมพ์ใบอนญุ าต
โดยเร่งด�ำเนินการแจ้งประชาสัมพันธ์ถึงหน่วยงาน ประกอบวชิ าชพี และการแสดงใบอนุญาต
อิเลก็ ทรอนิกส์
ท่ีเก่ียวข้อง เร่ือง ก�ำหนดแบบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
ทางการศกึ ษาพ.ศ.๒๕๖๓และขอ้ บงั คบั ครุ สุ ภาวา่ ดว้ ยการจดทะเบยี น เพอื่ มใิ หผ้ ไู้ ดร้ บั ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา
เปน็ สมาชกิ ครุ สุ ภา พ.ศ. ๒๕๖๓ โดยประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา ประสบปญั หาในการนำ� ใบอนญุ าตอเิ ลก็ ทรอนกิ สไ์ ปใชห้ รอื อา้ งองิ
เรียบร้อยแล้ว มสี าระสำ� คญั ดังน้ี ในการติดต่อหน่วยงานของภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง
สามารถตรวจสอบได้ตลอดเวลา ผ่านระบบ KSP e-Service
๑) ประกาศคณะกรรมการคุรุสภาเรื่องก�ำหนดแบบ ซึ่งสามารถตรวจสอบได้ทั้งสถานะการย่ืนค�ำขอข้ึนทะเบียน
ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๓ กำ� หนดให้ ตอ่ อายุและการอนมุ ตั ิ ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษาเป็นใบอนุญาตแบบ
อิเล็กทรอนิกส์ ที่ผู้ย่ืนค�ำขอสามารถพิมพ์ใบอนุญาตได้จาก การพัฒนาระบบบริการและกระจายงานใบอนุญาต
ระบบสารสนเทศของสำ� นกั งานเลขาธิการคุรสุ ภา หรือแสดงผ่าน ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาออกไปยังจุดบริการคุรุสภาใน
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ท่ีสามารถแสดงข้อมูลและภาพใบอนุญาต ส�ำนักงานศึกษาธิการจังหวัด จ�ำนวน ๗๖ จุดบริการ ให้บริการ
ทัง้ ด้านหน้าและดา้ นหลงั อยา่ งครบถว้ น ถกู ต้อง ทั้งน้ี ไดก้ ำ� หนด ๔ งาน ดังนี้ ๑) งานข้ึนทะเบียนรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
ให้ผู้ย่ืนค�ำขอข้ึนทะเบียนหรือต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ๒) งานตอ่ อายใุ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ๓) งานใบแทนใบอนญุ าต
ทางการศึกษา ที่ได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการมาตรฐาน ประกอบวชิ าชพี และ ๔) งานใบอนญุ าตปฏบิ ัติการสอน
วชิ าชพี ตงั้ แตว่ นั ที่ ๑๖ ตลุ าคม ๒๕๖๓ เปน็ ตน้ ไป จะไดร้ บั ใบอนญุ าต
รปู แบบ “ใบอนญุ าตอเิ ล็กทรอนกิ ส”์

๒) ข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยการจดทะเบียนเป็นสมาชิก
คุรสุ ภา พ.ศ. ๒๕๖๓ กำ� หนดใหใ้ บอนญุ าตใชเ้ ปน็ หลกั ฐานแสดง
การเป็นสมาชิกสามัญซ่ึงระบุประเภทและเลขที่สมาชิกไว้ใน
ใบอนญุ าต เลขทสี่ มาชกิ เปน็ เลขเดยี วกบั บตั รประจำ� ตวั ประชาชน
ส�ำหรบั ผู้มีสัญชาติไทย และเลขประจำ� ตัว ๑๓ หลกั ทีส่ �ำนกั งาน
เลขาธิการ ครุ สุ ภาออกให้สำ� หรับผูไ้ ม่มีสญั ชาติไทย

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชวี ติ วิถีใหม่ 171

การสง่ เสริม ยกย่องและผดุงเกียรติ

ผ้ปู ระกอบวิชาชีพทางการศกึ ษาให้มคี ุณภาพ
เพ่อื การประกอบวิชาชีพอย่างต่อเน่ือง

การพฒั นาวชิ าชพี ทางการศกึ ษาเปน็ กระบวนการเรยี นรู้
ของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาอย่างต่อเน่ืองในช่วงท่ี
ด�ำรงวิชาชีพ เพ่ือให้เกิดความมั่นใจว่าครู ผู้บริหารสถานศึกษา
ผบู้ รหิ ารการศกึ ษา และศกึ ษานเิ ทศกม์ คี วามรทู้ กั ษะและสมรรถนะ
ทจ่ี ำ� เปน็ สำ� หรบั การปฏบิ ตั กิ ารสอนและการปฏบิ ตั งิ านตามวชิ าชพี
ท่ามกลางการเปล่ียนแปลงของสังคม เศรษฐกิจ และเทคโนโลยี
อย่างรวดเร็วทีม่ ีผลกระทบต่อการเรยี นรแู้ ละการเรียนการสอน
การประชมุ ทางวิชาการของคุรุสภาออนไลน์
ประจ�ำปี ๒๕๖๓ KSP Webinar 2020

ในหวั ขอ้ New Learning in Disruptive Era : การเรยี นรู้
ใหมใ่ นยคุ พลกิ ผนั จากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้
ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภา
ไดป้ รบั รปู แบบการประชมุ ทางวชิ าการของครุ สุ ภา ประจำ� ปี ๒๕๖๓
เป็นรูปแบบออนไลน์ โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมผ่านทาง Webinar
จ�ำนวน ๖,๕๓๐ คน และมีผู้รับชมย้อนหลังผ่าน Facebook
จำ� นวน ๓๐,๐๐๐ ครง้ั และ YouTube จำ� นวน ๒,๕๙๑ ครงั้ นอกจากน้ี
มกี ารประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร (Workshop) ทางวชิ าชพี และเทคโนโลยี
เพ่ือการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล ส�ำหรับครูเป็นการพัฒนาตนเอง
ผ่านหลักสูตรต่าง ๆ ในรูปแบบออนไลน์ จ�ำนวน ๘ หลักสูตร
โดยมผี ลู้ งทะเบียนเขา้ ร่วม จำ� นวน ๑๗,๕๑๗ คน
งานเครือข่ายพฒั นาวิชาชีพครูและบคุ ลากร
ทางการศกึ ษาแบบชุมชนแหง่ การเรียนรู้
ทางวชิ าชพี : PLC ประจ�ำปี ๒๕๖๓

ด้วยการขยายความร่วมมือทางวิชาการ นับเป็นปีที่ ๒
กับหน่วยงานภาคเอกชน บริษัท เชฟรอนประเทศไทยส�ำรวจ
และผลติ จ�ำกัด ผ่านศูนย์ภูมิภาคว่าด้วยสะเต็มศึกษาของซีมีโอ
บรษิ ทั วสิ ดอมไวด์ จำ� กดั และบรษิ ทั เอดู พารค์ จำ� กดั โดยไดข้ ยาย
เปา้ หมายการพฒั นา เปน็ ๙ เปา้ หมาย และสนบั สนุนเครือข่ายฯ
จ�ำนวน ๑๓๒ เครือข่าย ครอบคลุม ๔๘ จังหวัด นอกจากน้ี
ได้มีการคัดเลือกนวัตกรรมท่ีเป็นแนวปฏิบัติท่ีดีของเครือข่าย
ทจ่ี ดั กจิ กรรมพฒั นาวชิ าชพี แบบชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชพี
จากทง้ั หมด ๑๓๒ เครือขา่ ย ได้เครือข่ายฯ ทีผ่ ่านการคดั เลือก

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

172 การศึกษาไทย ในชีวติ วิถีใหม่

การยกยอ่ ง
และผดุงเกยี รติ

ผ้ปู ระกอบวิชาชพี ทางการศึกษา

เพอ่ื เปน็ ขวญั กำ� ลงั ใจแกผ่ ปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา งานประกาศเกยี รติคุณครูอาวุโส
และเป็นต้นแบบของครูดีที่สร้างแรงบันดาลใจแก่ผู้ร่วมวิชาชีพ โดยยกย่องเชิดชูเกียรติผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
และสงั คมใหเ้ ปน็ ทป่ี ระจกั ษ์ และไดร้ บั การยกยอ่ งจากสาธารณชน
เป็นแบบอย่างท่ีดีต่อคน ในสังคม สร้างความเช่ือม่ันในวิชาชีพ ทปี่ ฏบิ ตั หิ นา้ ทเ่ี ปน็ เวลาไมน่ อ้ ยกวา่ ๓๐ ปี จนอายคุ รบ ๖๐ ปบี รบิ รู ณ์
และเป็นการยกระดับวชิ าชีพครูทางหนงึ่ โดยดำ� เนนิ การคัดเลือก ซ่ึงเป็นผู้มีประวัติชีวิตการงานดีตลอดมา มีความประพฤติ
ใหไ้ ดร้ บั รางวลั ตา่ ง ๆ ของครุ ุสภา จ�ำนวน ๕ รางวลั และประกาศ เปน็ แบบอยา่ งทด่ี ตี ามจารตี ของครเู พอื่ รบั พระราชทานเครอื่ งหมาย
รายชอื่ ผทู้ ไ่ี ดร้ บั รางวลั ไปเมอ่ื วนั ที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๖๔ ในงานวนั ครู เชดิ ชเู กยี รตปิ ระกาศนยี บตั รและเงนิ ชว่ ยเหลอื จากพระบาทสมเดจ็
ครงั้ ที่ ๖๕ พ.ศ. ๒๕๖๔ ดงั นี้ พระเจ้าอยู่หัว หรือผู้แทนพระองค์ ซึ่งประกาศรายช่ือครูอาวุโส
ประจำ� ปี ๒๕๖๑ - ๒๕๖๓ ดงั นี้ ๑) ครอู าวโุ ส ประจำ� ปี ๒๕๖๑ จำ� นวน
• รางวัลครูภาษาไทยดีเด่น เพื่อรับเข็มเชิดชูเกียรติ ๑๓,๖๕๑ คน ๒) ครูอาวุโส ประจ�ำปี ๒๕๖๒ จ�ำนวน ๑๑,๖๗๒ คน
จารึกพระนามาภไิ ธยย่อ สธ จำ� นวน ๘ คน และ ๓) ครูอาวุโส ประจ�ำปี ๒๕๖๓ จ�ำนวน ๙,๒๘๓ คน
ทั้งน้ี ได้คัดเลือกครูอาวุโสท่ีสมควรได้รับความช่วยเหลือ
• รางวลั ครภู าษาฝรง่ั เศสดเี ดน่ เพอ่ื รบั เขม็ เชดิ ชเู กยี รติ ทางการเงนิ ครอู าวโุ ส ประจำ� ปี ๒๕๖๑ - ๒๕๖๓ จำ� นวนปลี ะ ๓๐ คน
จารึกพระนามาภไิ ธยยอ่ กว ในปี ๒๕๖๓ รวม ๙๐ คน คนละ ๒๐,๐๐๐ บาท

• รางวลั คุรุสภา จ�ำนวน ๒๗ คน ประกอบด้วย “ระดับ
ดเี ดน่ ” จำ� นวน ๙ คน และ “ระดบั ดี” จำ� นวน ๑๘ คน การจดั งานวันครู ครัง้ ท่ี ๖๔ พ.ศ. ๒๕๖๓

• รางวลั ครูผู้สอนดเี ด่น จ�ำนวน ๒๓ คน ประกอบดว้ ย ในหัวข้อ "โลกก้าวไกล ครูไทยก้าวทัน สร้างสรรค์
“ระดบั ดเี ด่น” จำ� นวน ๙ คน และ “ระดบั ด”ี จำ� นวน ๑๔ คน คณุ ภาพเดก็ ไทย" โดยสว่ นกลางจดั งานเมอื่ วนั ที่ ๑๖ - ๑๗ มกราคม
๒๕๖๓ ณ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร มนี ายกรฐั มนตรี (พลเอก ประยทุ ธ์
• รางวลั คุรสุ ดดุ ี จ�ำนวน ๙๗๒ คน จนั ทรโ์ อชา) เปน็ ประธาน ในพธิ ี มผี ูร้ ่วมงาน จ�ำนวน ๓,๐๗๐ คน
ส่วนภูมิภาค จัดงาน ณ สถานที่ที่ส�ำนักงานศึกษาธิการจังหวัด
ก�ำหนด มผี รู้ ว่ มงาน จ�ำนวน ๒๙๒,๖๒๒ คน

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชวี ติ วิถีใหม่ 173

การเสรมิ สรา้ งการพัฒนาวิชาชีพ ว่า “Teacher Professional Development Institute”
ทางการศกึ ษากับองคก์ รวชิ าชีพ ใชค้ ำ� ยอ่ วา่ “TPDI” ในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สถาบนั ครุ พุ ฒั นา
ในตา่ งประเทศ ได้ด�ำเนินการเก่ียวกับการรับรองหลักสูตรเพื่อการพัฒนาครู
และบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน มาอย่างต่อเนื่อง
ได้ด�ำเนินโครงการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบวิชาชีพ โดยได้ก�ำหนด ให้มีการติดตาม และประเมินผลการจัดอบรม
ทางการศึกษา ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยความร่วมมือของ ในหลักสูตรท่ีสถาบันคุรุพัฒนารับรอง โดยต้ังแต่ปีงบประมาณ
ส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภา ร่วมกับ National Institute for พ.ศ.๒๕๖๑-๒๕๖๔มผี ผู้ า่ นการพฒั นาในหลกั สตู รทสี่ ถาบนั ครุ พุ ฒั นา
School Teachers and Staff Development (NITS) ประเทศ รับรองกว่า ๔๐๐,๑๔๙ คน จาก ๗,๐๕๖ รนุ่ จากหลักสูตรทไ่ี ด้รับ
ญ่ีปุ่น สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา การรับรอง ๔,๖๗๑ หลกั สูตร
และสถาบนั วจิ ยั และพฒั นาวชิ าชพี ครู สำ� หรบั อาเซยี น มหาวทิ ยาลยั
ขอนแก่น จ�ำนวน ๓๔ คน ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา ปงี บประมาณ จำ�นวนครู จ�ำ นวนทเ่ี ปิด
จำ� นวน ๒๘ คน และศึกษานิเทศก์ จำ� นวน ๖ คน ที่เขา้ อบรม อบรม
พ.ศ. ๒๕๖๑
สถาบันครุ ุพฒั นา พ.ศ. ๒๕๖๒ (คน) (รนุ่ )
จั ด ตั้ ง ขึ้ น ต า ม ร ะ เ บี ย บ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร คุ รุ ส ภ า พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๔ ๒๙๗,๖๕๖ ๔,๗๙๕
ว่าด้วยการจัดตั้งสถาบันคุรุพัฒนา พ.ศ. ๒๕๖๐ และ ฉบับที่ ๒ ๕๓,๙๐๖ ๑,๐๐๕
พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นสถาบันวิชาการชั้นสูง ในก�ำกับของคุรุสภา รวม ๑๗,๔๘๓ ๖๒๔
เป็นส่วนงานหนึ่งของส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภา ตามระเบียบ ๓๑,๑๐๔ ๖๓๒
คุรุสภา ว่าด้วยการจัดแบ่งส่วนงาน และขอบเขตหน้าที่
ของสว่ นงานในสำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา พ.ศ. ๒๕๖๐ มสี ถานะ ๔๐๐,๑๔๙ ๗,๐๕๖
เทยี บเทา่ สำ� นกั ใชค้ ำ� ยอ่ วา่ “สคพ.” และใหม้ ชี อ่ื เรยี กภาษาองั กฤษ

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

174 การศึกษาไทย ในชีวติ วถิ ีใหม่

การก�ำ กบั ดแู ล

การปฏิบัตติ ามมาตรฐานวิชาชีพ
และจรรยาบรรณของวชิ าชพี

ด ้ ว ย ก า ร พั ฒ น า เ ค รื อ ข ่ า ย จ ร ร ย า บ ร ร ณ วิ ช า ชี พ ๑) กิจกรรมส่งเสริมกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้
เพอ่ื เสรมิ สรา้ งจติ วญิ ญาณแหง่ ความเปน็ ครู ปรบั ปรงุ การดำ� เนนิ งาน ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาจรรยาบรรณวิชาชีพผ่านระบบเทคโนโลยี
เกี่ยวกับการพิจารณาการประพฤติผิดจรรยาบรรณวิชาชีพ สารสนเทศ (Ethics in Professional Learning Community :
ของผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา โดยการแกไ้ ขและออกขอ้ บงั คบั E-PLC) มสี ถาบนั อุดมศกึ ษาเขา้ ร่วมกจิ กรรม จำ� นวน ๒๒ แหง่
ว่าด้วยการพิจารณาการประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพ ทัว่ ประเทศ มีผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรมพฒั นา จ�ำนวน ๑๖,๘๔๘ คน
(ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๓ ให้เหมาะสมกับสภาวการณ์ปัจจุบัน
โดยมีสาระส�ำคัญในส่วนของการลดระยะเวลาการสอบสวน ๒) กจิ กรรมผลติ สอื่ เพอ่ื สง่ เสรมิ จรรยาบรรณของวชิ าชพี
และมีการเพ่ิมหมวดความผิดท่ีปรากฏชัดแจ้ง ท้ังไม่ร้ายแรง ในหลากหลายรูปแบบ รวมถึงการส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วม
และร้ายแรง นอกจากนี้ยังสร้างความตระหนัก ความเป็นผู้มี ของนักเรียน นักศึกษาในการถ่ายทอดมุมมองท่ีมีต่อกระบวน
จิตวิญญาณในการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา อันจะน�ำมา จรรยาบรรณของผปู้ ระกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา ในหลากหลาย
ซ่ึงเกียรติและศักดิ์ศรีแห่งวิชาชีพ โดยการเผยแพร่และสร้าง รปู แบบ เชน่ การจดั ประกวดภาพยนตรส์ นั้ ในหวั ขอ้ เรอื่ ง “ครดู .ี .ทรี่ กั ”
ความเข้าใจด้วยกรณีตัวอย่าง ค�ำวินิจฉัยช้ีขาดคณะกรรมการ ภายใตแ้ นวคิด “ครูที่มหี ัวใจ รักเด็ก” มผี ลงานทีช่ นะการประกวด
มาตรฐานวิชาชีพ กรณีมีผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ๑๒ เรอื่ ง มยี อดรบั ชม ๒๔,๐๐๐ ครงั้ การผลติ สอื่ ในรปู แบบคลปิ วดิ โี อ
ประพฤตผิ ดิ จรรยาบรรณของวชิ าชพี ผา่ นทางเวบ็ ไซตข์ องครุ สุ ภา เร่ือง “อยู่ไกลเขา แต่รู้ทันเขา” เพ่ือเสริมสร้างความตระหนัก
www.ksp.or.th ในจรรยาบรรณของวิชาชีพครู ด้านจรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ
การส่งเสริมจรรยาบรรณวชิ าชพี การจัด “โครงการจรรยาบรรณสู่ครูดี...เพ่ือเด็กดี” ผ่านกิจกรรม
“คารวะครูผู้สร้าง ผู้น�ำทางชีวิต” ซึ่งเป็นการรณรงค์ผ่านส่ือ
คุรุสภาด�ำเนินการเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ สังคมออนไลน์ให้ทุกภาคส่วนได้มีส่วนร่วมในการแสดงออก
และความตระหนกั ในการประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ น ตามจรรยาบรรณของ ตอ่ การระลกึ ถงึ พระคณุ ของครแู ละเปน็ กำ� ลงั ใจใหก้ บั ครแู ละบคุ ลากร
วิชาชีพใหแ้ ก่ผปู้ ระกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษาผา่ นกจิ กรรม ดงั นี้ ทางการศกึ ษา เปน็ ต้น

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชวี ติ วถิ ีใหม่ 175

การพฒั นา
ระบบบริหารจัดการ

โดยใช้เทคโนโลยที ี่เหมาะสม 

สนับสนุนการให้บริการงานตามภารกิจของคุรุสภา การพัฒนาการส่ือสารครุ สุ ภา
โดยยึดหลักธรรมาภิบาลในการส่งมอบคุณค่าท่ีสนองตอบต่อ มุ่งส่อู งค์กรดจิ ิทลั
ความต้องการ และความคาดหวังให้แก่ผู้รับบริการ และสังคม
ยกระดับความรู้พนักงานเจ้าหน้าที่ ต่อยอดประสิทธิภาพ มุ่งพัฒนาช่องทางการสื่อสารและส่ือประชาสัมพันธ์
การให้บริการ ให้มีความคล่องตัว สะดวกรวดเร็ว ด้วย KSP ใหส้ อดรบั กบั การเปลย่ี นแปลงดงั กลา่ วผา่ นสอื่ ออนไลนเ์ พมิ่ มากขนึ้
e-Service พฒั นาระบบสารสนเทศเพอื่ รองรบั ภารกจิ การดำ� เนนิ งาน เช่น การผลิตสื่อ Motion Infographic การท�ำคลิปวิดีโอ
ของคุรุสภา เช่น ระบบสารสนเทศประเมินเพ่ือรับใบอนุญาต ภาพ Infographic และถ่ายทอดสดออนไลน์ เป็นต้น นอกจากน้ี
ประกอบวชิ าชพี ครู ระบบสารสนเทศเพอ่ื การบรหิ ารจดั การ (MIS) ยงั พฒั นาอตั ลกั ษณแ์ ละภาพลกั ษณ์ ดว้ ยการจดั ทำ� คมู่ อื การสอ่ื สาร
เพ่ิมประสิทธิภาพด้านระบบเครือข่ายด้วยการจัดหาครุภัณฑ์ ภาพลกั ษณข์ องสำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา เพอื่ การสรา้ งอตั ลกั ษณ์
คอมพิวเตอร์และเครือข่าย ประสานการเช่ือมโยงแลกเปล่ียน สำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภาทป่ี รากฏ ตอ่ สายตาผปู้ ระกอบวชิ าชพี
ข้อมูลของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาระหว่างหน่วยงาน ทางการศึกษา บุคคลต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง และประชาชนท่ัวไป
รวมถึงการศึกษาและรวบรวมข้อมูลด้านเทคโนโลยีท่ีหลากหลาย รวมถึงท�ำกิจกรรมการด้านความรับผิดชอบต่อสังคม กิจกรรม
เชน่ ระบบโครงขา่ ยในการเกบ็ บญั ชธี รุ กรรมออนไลน์ (Block chain) จติ อาสาอย่างต่อเนอ่ื ง
ระบบปญั ญาประดษิ ฐ์ (Artificial Intelligence : AI) ระบบฐานขอ้ มลู
ขนาดใหญ่ (Big data) เพอื่ นำ� เทคโนโลยดี งั กลา่ วมาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์
รองรบั การดำ� เนนิ งานในดา้ นตา่ ง ๆ ของสำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา
ม่งุ สู่การเป็นครุ สุ ภายคุ “Smart Digital”

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

176 การศึกษาไทย ในชีวติ วิถีใหม่

พลกิ โฉมวารสารของคุรุสภา หอสมุดครุ ุสภา (e-Library)
มงุ่ เขา้ ฐาน TCI ศู น ย ์ ร ว ม แ ห ล ่ ง ค ว า ม รู ้ เ ฉ พ า ะ ท า ง ด ้ า น วิ ช า ชี พ
และสง่ เสริมองค์ความรู้พฒั นาวชิ าชีพ
ทางการศกึ ษา มงุ่ หวงั การสรา้ งสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ เพอื่ สง่ เสรมิ
ได้ด�ำเนินการผลิตและเผยแพร่วารสารของคุรุสภา สนับสนุน และพัฒนาวิชาชีพทางการศึกษา เปิดให้บริการ
เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ในรูปแบบห้องสมุดระบบอิเล็กทรอนิกส์ผ่านทางเว็บไซต์หอสมุด
จ�ำนวน ๒ เลม่ ด้วยกัน ดงั นี้ ครุ สุ ภา และมกี ารเชอ่ื มโยงกบั ระบบสบื คน้ หอ้ งสมดุ อตั โนมตั ิ PMB
ที่สามารถสืบค้นข้อมูลฐานข้อมูลต่างประเทศ และระบบสืบค้น
๑) วารสารวิทยาจารย์ (Journal of Teachers’ GURU Search อกี ทงั้ จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ โดยหอสมดุ ครุ สุ ภา
Professional Development) เปน็ วารสารทางวชิ าการและวชิ าชพี รว่ มกบั มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ จดั กจิ กรรมเสวนา “ครุ สุ ภาพาTalk:
ของครุ ุสภา ท่เี ผยแพรม่ ายาวนานถงึ ๑๒๐ ปี ปัจจุบัน ได้พัฒนา ครูยุคใหม่ เรียนรู้ใช้ ไอทีใกล้ตัว” เพ่ือเป็นการส่งเสริมให้มี
รูปแบบเป็นวารสารเพ่ือการพัฒนาวิชาชีพครู โดยเผยแพร่ การแลกเปล่ียนเรียนรู้ สร้างความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการปรับ
แบบรูปเล่มและทางช่องทางออนไลน์ มีนักวิชาการ นักคิด วธิ กี ารจัดการเรียนยคุ ใหม่ใหเ้ ท่าทนั กบั สถานการณใ์ นปัจจุบนั
นักเขียน ส่งบทความมาตีพิมพ์อย่างกว้างขวาง เพื่อเผยแพร่
องคค์ วามรแู้ ละนวตั กรรมทางการศกึ ษา ในยคุ ดจิ ทิ ลั ไดอ้ ยา่ งสะดวก ส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภามีความมุ่งมั่นพัฒนางาน
รวดเรว็ ครุ สุ ภา เพอ่ื รว่ มขบั เคลอื่ นนโยบายรฐั บาลและกระทรวง ศกึ ษาธกิ าร
“ปลดล็อก ปรับเปล่ียน เปิดกว้าง” ในการส่งเสริม สนับสนุน
๒) วารสารครุ สุ ภาวทิ ยาจารย์ JOURNAL OF TEACHER เช่ือมโยงการผลิต คัดกรองและพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพ
PROFESSIONAL DEVELOPMENT เป็นวารสารที่ตีพิมพ์ ทางการศกึ ษามจี ติ วญิ ญาณความเปน็ ครู มคี วามรคู้ วามสามารถ
บทความวิชาการและบทความวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อการศึกษา ท่ีแท้จริง ตามมาตรฐานวิชาชีพ และจรรยาบรรณของวิชาชีพ
แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า วิ ช า ชี พ ค รู แ ล ะ บุ ค ล า ก ร ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า เพ่อื ร่วมยกกำ� ลังสองการศึกษาไทยสูค่ วามเป็นเลศิ
ทางด้านวิทยาศาสตร์ ด้านสังคมศาสตร์ ด้านครุศาสตร์
และดา้ นอกั ษรศาสตร์ ซง่ึ เปน็ องคค์ วามรใู้ หมท่ กี่ อ่ ใหเ้ กดิ ประโยชน์
การเปล่ยี นแปลง สร้างความตระหนกั ให้ความสำ� คญั กบั นักเรยี น
ครู และการศึกษา วารสารคุรุสภาวิทยาจารย์ จัดท�ำผ่านระบบ
ThaiJO มเี ปา้ หมายใหว้ ารสารเขา้ สฐู่ านขอ้ มลู ของศนู ยด์ ชั นอี า้ งองิ
วารสารไทย (Thai Journal Catation Index-TCI) ซ่ึงเป็นฐาน
ข้อมูลวารสารงานวิจัยท่ีได้รับการยอมรับท้ังในระดับประเทศ
และสากล

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชวี ิตวถิ ีใหม่ 177

๑๑

สถาบนั ทดสอบ
ทางการศกึ ษาแหง่ ชาติ

(องค์การมหาชน)

สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การ
มหาชน) (สทศ.) ได้ด�ำเนินงานตามพันธกิจโดยสอดคล้องกับ
ยทุ ธศาสตรช์ าติ เปา้ หมายของแผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ
วัตถุประสงค์ของแผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา นโยบาย
ของรัฐบาล แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา และประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายและจุดเน้นของกระทรวง
ศึกษาธกิ าร ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕

การพฒั นาและเสริมสรา้ ง B-NET) ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ผมู้ สี ทิ ธส์ิ อบ ๖,๔๑๖ คน ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ผมู้ สี ทิ ธส์ิ อบ
๒,๘๐๖ คน) ๕) การทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ ดา้ นอาชวี ศกึ ษา
ในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ดำ� เนนิ การจดั การทดสอบ (Vocational National Educational Test : V-NET) ปกี ารศกึ ษา
ทางการศึกษาระดับชาติ และประเมินผลการจัดการศึกษา ๒๕๖๒ (ระดับ ปวช.๓ มีสิทธิ์สอบ ๑๕๖,๔๑๑ คน ระดบั ปวส.๒
ตามหลกั สตู รไดค้ รบทกุ หลกั สตู ร ไดแ้ ก่ ๑) การทดสอบทางการศกึ ษา ผมู้ สี ทิ ธส์ิ อบ ๑๓๕,๖๒๔ คน) รวมผมู้ สี ทิ ธสิ์ อบทกุ ประเภทการสอบ
ระดบั ชาตขิ ้ันพ้ืนฐาน (Ordinary National Educational Test : ๒,๓๙๑,๕๕๙ คน
O-NET) ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ (ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ ผมู้ สี ทิ ธสิ์ อบ
๗๘๖,๑๘๕ คน ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ผมู้ สี ทิ ธสิ์ อบ ๗๑๖,๓๗๓ คน ในการด�ำเนินการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖ ผมู้ สี ทิ ธสิ์ อบ ๓๗๘,๑๒๘ คน) ๒) การทดสอบ ได้ด�ำเนินการตามมาตรฐานการทดสอบทางการศึกษา ๕
ทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอิสลามศึกษา (Islamic National มาตรฐาน เพ่ือให้การทดสอบมีมาตรฐาน โปร่งใส และยุติธรรม
Educational Test : I-NET) ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ (ระดบั อิสลาม ประกอบด้วย ๑) มาตรฐานการบรหิ ารการทดสอบ ๒) มาตรฐาน
ศึกษาตอนต้น ผู้มีสิทธ์ิสอบ ๓๔,๒๐๔ คน ระดับอิสลามศึกษา บุคลากรด้านการทดสอบ ๓) มาตรฐานการพัฒนาแบบทดสอบ
ตอนกลาง ผมู้ สี ทิ ธสิ์ อบ ๒๓,๒๕๗ คน ระดบั อสิ ลามศกึ ษาตอนปลาย ๔) มาตรฐานการพิมพ์ข้อสอบ การตรวจ การให้คะแนน
ผมู้ สี ทิ ธสิ์ อบ ๑๑,๕๐๒ คน) การทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ และการประมวลผล และ ๕) มาตรฐานการรายงานผล
ด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (Non-Formal National และการน�ำผลไปใช้
Educational Test : N-NET) คร้ังท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๒
(ระดบั ประถมศกึ ษา ผ้มู ีสิทธ์สิ อบ ๘,๖๒๔ คน ระดับมธั ยมศึกษา ภายหลังการทดสอบ จะประกาศผลสอบและวิเคราะห์
ตอนต้น ผู้มสี ทิ ธสิ์ อบ ๕๔,๐๕๔ คน ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ค่าสถิติพื้นฐานตามตัวแปรที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา ได้แก่
ผูม้ สี ทิ ธ์ิสอบ ๗๗,๙๗๕ คน) การทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ ขนาดโรงเรยี น ทตี่ งั้ เขตพนื้ ท่ี จงั หวดั สงั กดั ภมู ภิ าคและภาพรวม
ดา้ นพระพทุ ธศาสนา (Buddhism National Educational Test : ประเทศ ในแต่ละประเภทการสอบ ท้ังรูปแบบกราฟ แผนที่
รายงานผลคะแนนทง้ั ระดบั บคุ คล/นกั เรยี น สถานศกึ ษา เขตพนื้ ท่ี
การศกึ ษา และศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั จำ� แนกตามกลมุ่ สาระ รายสาระ
รายมาตรฐานการเรยี นรู้ และยงั มใี บรายงานผลการทดสอบระดบั
สถานศึกษา ๖ ฉบับ พร้อมทั้งมีระบบรายงานผลอัตโนมัติ
(Reporting services system : RPS) ทแ่ี ตล่ ะหนว่ ยงานสามารถ
ดงึ ข้อมลู ผลการทดสอบผา่ นทางเว็บไซต์ เพือ่ ใหส้ ถานศกึ ษา ครู
นักเรียน ต้นสังกัด ได้น�ำผลการวิเคราะห์คะแนนในด้านต่าง ๆ
ไปใช้ปรับปรุง พัฒนา และวางแผนการจัดการเรียนการสอน
ของโรงเรยี นในแตล่ ะรายวชิ าใหม้ ผี ลสัมฤทธิด์ ีย่งิ ขึน้

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชีวติ วถิ ีใหม่ 179

นอกจากน้ี ยังพัฒนาข้อสอบรูปแบบอัตนัยมาใช้ ๒. พัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนเช่ือมโยงหลาย
ในการทดสอบ O-NET ชั้น ป.๖ วิชาภาษาไทย โดยใหเ้ ขยี นเรื่อง ทักษะวัดและประเมินผล กระบวนการความคิดของนักเรียน
จากภาพ เพื่อวัดสาระการเขียน มาตรฐานการเรียนรู้ ท.๒.๑ ฝกึ ฝนการเขยี น การจบั ประเดน็ การสรปุ ความ และการจบั ใจความ
ตามตัวช้ีวัด ป.๖/๒ เขียนสื่อสาร โดยใช้ค�ำได้ถูกต้อง ชัดเจน ส�ำคัญ
และเหมาะสม และตัวช้ีวัด ป.๖/๘ เขียนเรื่องตามจินตนาการ
และสร้างสรรค์ เป็นการประเมินความสามารถในการน�ำเสนอ ๓. การใช้ภาษาไทยท่ีถูกต้อง เป็นพ้ืนฐานส�ำคัญในการ
ความคิดส�ำคัญ การเช่ือมโยงความคิดออกมาในรูปแบบของ พฒั นาศกั ยภาพของผเู้ รยี นไปยงั วชิ าอนื่ ประเมนิ ศกั ยภาพการใช้
การเขยี น และ เขียนสรปุ ใจความสำ� คัญของบทอา่ น เพอื่ วัดสาระ ภาษาไทย สาระการอา่ น สาระการเขยี น เชน่ การสะกดคำ� การสอ่ื สาร
การเขยี น มาตรฐานการเรยี นรู้ ท.๒.๑ ตวั ชวี้ ดั ป.๖/๒ เขยี นสอื่ สาร การใชค้ ำ� และการแตง่ ประโยค เปน็ ตน้ รวมถงึ วดั ทกั ษะทส่ี อดคลอ้ ง
โดยใชค้ ำ� ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ชดั เจน และเหมาะสม และตวั ชวี้ ดั ป.๖/๕ กับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานในสาระการอ่าน
เขียนสรุปความจากเร่ืองท่ีอ่าน โดยผู้เข้าสอบต้องอ่านบทอ่าน และสาระการเขียน ท�ำให้นักเรียนและโรงเรียนน�ำผลสอบไปใช้
ท่ีก�ำหนดให้แล้วเรียงล�ำดับความคิด เชื่อมโยงความคิดและ วางแผนการเรยี นการสอนให้ดยี งิ่ ข้นึ
น�ำเสนอความคิดโดยใช้ภาษาของตนเองได้ ซึ่งผลที่ได้จาก
การตอบข้อสอบรูปแบบอัตนัยดังกล่าว สามารถวัดและประเมิน ๔. ครูผู้สอนภาษาไทยได้รับการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับ
ความรู้ความสามารถการใช้ภาษาไทยของนักเรียน ชั้น ป.๖ หลกั การตรวจขอ้ สอบอตั นยั มาตรฐานการตรวจ และเกณฑก์ ารตรวจ
ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ขอ้ สอบอตั นยั เพอื่ เปน็ ผตู้ รวจขอ้ สอบอตั นยั โดย สทศ. จดั ประชมุ
ประโยชน์ท่ีได้จากการน�ำรูปแบบข้อสอบอตั นยั เชิงปฏบิ ตั กิ าร เรื่อง “การตรวจข้อสอบอตั นยั ส�ำหรบั ผู้สอนวิชา
มาใช้ในการสอบ O-NET วิชาภาษาไทย ภาษาไทย” ท้ังนี้ หากครูมีคุณสมบัติการเป็นผู้ตรวจอัตนัย
และสอบผ่านเกณฑ์ที่ก�ำหนดจะได้รับคัดเลือกให้เป็นผู้ตรวจ
๑. โรงเรียนสามารถประยุกต์ใช้ข้อสอบอัตนัยไปใช้ ข้อสอบอัตนัยในแต่ละปีการศึกษา ซึ่งในปัจจุบันมีครูเครือข่าย
ในการประเมินเพื่อการพัฒนา (Formative Assessment) ส�ำหรับเป็นครูผู้ตรวจอัตนัย จ�ำนวน ๔,๐๕๔ คน โดยใน
และการประเมนิ เพอื่ สรปุ ผลการเรยี นรู้ (Summative Assessment) ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ได้จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการฯ
มากย่ิงขึ้น ท�ำให้นักเรียนได้พัฒนาและฝึกฝนทักษะการอ่าน จดั อบรมครผู ู้ตรวจข้อสอบอตั นัย จ�ำนวน ๔ รนุ่ รวม ๔๖๔ คน
การเขยี น และการคดิ วเิ คราะห์ การเชอื่ มโยงความคดิ การบรู ณาการ ครอบคลุม ๔ ภูมิภาคท่ัวประเทศ ซึ่งครูที่ได้เข้าร่วมประชุม
ความคิดออกมาในรปู แบบการเขยี น เชิงปฏิบัติการตรวจอัตนัย สามารถน�ำความรู้ท่ีได้รับไปใช้
ในการวางแผนและปรับวิธีการเรียนและการขยายผลในโรงเรียน
ของตนเองและโรงเรยี นใกล้เคียงท่ีสนใจได้

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

180 การศึกษาไทย ในชีวิตวิถีใหม่

การสรา้ งโอกาส วัดสมรรถนะครูทางด้านการวัดและประเมินผล คร้ังท่ี ๒/๒๕๖๓
และความเสมอภาคทางการศึกษา ผู้มีสิทธิ์สอบ ๔๕๖ คน โดยด�ำเนินการทดสอบด้วยระบบดิจิทัล
ณ ศูนย์การทดสอบทางการศึกษาแบบดจิ ทิ ลั ๑๐ ศูนย์
พัฒนาระบบเทคโนโลยีการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาติและระดับสถานศึกษา (เป้าหมายให้มีนวัตกรรมด้าน ดังนั้น การประเมินสมรรถนะบุคคลตามมาตรฐาน
Software และ Hardware) พฒั นาศกั ยภาพและทกั ษะของบคุ ลากร สมรรถนะความสามารถด้านการใช้ดิจิทัล (Digital Literacy)
ทางการศึกษาในการใช้คอมพิวเตอร์และส่ืออิเล็กทรอนิกส์ บนระบบดิจิทัลให้แก่สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน)
เพื่อการทดสอบและประเมินผลทางการศึกษา (เป้าหมาย จ�ำนวน ๑๐ ครั้ง มสี นามสอบท่ใี หบ้ รกิ าร จ�ำนวน ๓ แหง่ ได้แก่
ให้บุคลากรทางการศึกษามีศักยภาพในการบริหารการทดสอบ ๑) สทศ. (อาคารพญาไทพลาซ่า) ๒) ศูนย์เครือข่าย สทศ.
ดว้ ยระบบการจัดสอบด้วยระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ หรอื E-Testing) ประจ�ำมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และ
รวมทั้งพัฒนาระบบการจัดสอบด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ๓) ศนู ยเ์ ครอื ขา่ ย สทศ. ประจำ� มหาวทิ ยาลยั บรู พา โดยมผี เู้ ขา้ รบั
การบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศ เพ่ือเตรียมความพร้อม การประเมนิ ฯ รวมจ�ำนวน ๑,๐๐๐ คน และโรงเรียนมธั ยมวดั สิงห์
เข้าสู่ยุค Digital Education (เป้าหมายเพื่อเพ่ิมสนามสอบ จำ� นวน ๕๐ คน รวม ๑,๐๕๐ คน สง่ เสรมิ สนบั สนนุ โรงเรยี นนำ� รอ่ ง
ส�ำหรับการจัดสอบด้วยระบบ E-Testing และบริการจัดการ พ้ืนท่ีนวัตกรรมการศึกษา ให้สอดคล้องพระราชบัญญัติพ้ืนที่
ระบบบริการขอ้ มูลการทดสอบ) นวตั กรรมการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๒

ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ด�ำเนินการทดสอบด้วยระบบ สทศ. ได้น�ำผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
อิเล็กทรอนิกส์ (E-Testing) จ�ำนวน ๒ ประเภทการทดสอบ ขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) มาเป็นส่วนส�ำคัญในการพัฒนาคุณภาพ
ได้แก่ ๑) การทดสอบ N-NET ๒/๒๕๖๒ ผ้มู สี ิทธิ์สอบ ๑๗๖ คน การเรียนการสอนของโรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดน (ตชด.)
และ O-NET ม.๓ ผูม้ สี ิทธิส์ อบ ๖๙๒ คน และ ๒) การทดสอบ ผ่านโครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า
ทางการศกึ ษาแบบดจิ ทิ ลั (Digital Testing) ได้แก่ การทดสอบ กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
B-NET ในสนามสอบมหาวทิ ยาลัยขอนแก่น และ สทศ. (อาคาร
พญาไทพลาซ่า) มีจ�ำนวนผู้มีสิทธ์ิสอบ ๖๒๗ คน การทดสอบ

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชวี ิตวถิ ีใหม่ 181

เตรยี มความพรอ้ ม

เข้าสู่ยุค
Digital Education

เน่ืองในพระชนมพรรษา ๖๕ พรรษา โดยน�ำผลการทดสอบ เขา้ มามสี ว่ นชว่ ยในการพฒั นาหลกั สตู รบรู ณาการรว่ มกบั โครงการ
ระดบั ชาตขิ น้ั พนื้ ฐาน (O-NET) และระบบการทดสอบทางการศกึ ษา พระราชด�ำริของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ
แบบดิจิทัล (National Digital Testing Platform) ไปใช้ในการ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี โดยลงพื้นท่ีเพ่ือให้
ยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดน ค�ำแนะน�ำและเป็นพี่เลี้ยง (Coaching) ให้กับครูโรงเรียนต�ำรวจ
เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้โรงเรียน ตชด. น�ำผลการทดสอบ ตระเวนชายแดนในการจัดการเรียนการสอนทั้ง ๔ วิชา ได้แก่
ระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) มาใช้ในการออกแบบการจัด ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ รวมถงึ
การเรียนการสอน และการวัดและประเมินผล โดยบูรณาการ ก�ำกบั และตดิ ตามผลการใช้หลกั สูตรบูรณาการฯ ทพ่ี ฒั นาขึ้น
รว่ มกบั โครงการตามพระราชดำ� รขิ องสมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้
กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ในการดำ� เนนิ โครงการไดใ้ ชก้ ระบวนการวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร
เพอื่ ยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษา ตลอดจนรองรบั การเปน็ สนามสอบ (Action Research) ประกอบด้วย ๑) การวางแผน (Plan)
ด้วยระบบดิจิทัล (National Digital Testing Platform) โดย ๒) การปฏิบัติ (Action) ๓) การสังเกต (Observe)
ประสานความรว่ มมอื จากอาจารยม์ หาวทิ ยาลยั ในพน้ื ท่ี ๔ ภมู ภิ าค และ ๔) การสะทอ้ นผล (Reflect) มาช่วยขับเคลือ่ นการพัฒนา
๕ มหาวิทยาลัย ประกอบด้วย ๑) ร.ร.ตชด.บ้านหนองแขม หลักสูตรบูรณาการร่วมกับโครงการพระราชด�ำริของสมเด็จ
จ.เชียงใหม่ ๒) ร.ร.ตชด.บ้านชายควน จ.สงขลา ๓) ร.ร.ตชด. พระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ
ค็อกนิสไทย จ.สกลนคร ๔) ร.ร.ตชด.นเรศวรป่าละอู สยามบรมราชกมุ ารี ทปี่ ฏบิ ตั ติ ามวงจรการวจิ ยั อยา่ งนอ้ ย ๒ วงรอบ
จ.ประจวบครี ขี นั ธ์ และ ๕) ร.ร.มธั ยมพระราชทานนายาว จ.ฉะเชงิ เทรา อันจะน�ำมาซึ่งหลักสูตรบูรณาการฯ ที่มุ่งเน้นการศึกษาเชิงพ้ืนท่ี
และการขยายสนามสอบระบบดิจิทัล ส่งผลให้ผู้มีส่วนร่วม
ในโครงการได้ร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และพัฒนาให้นักเรียน
มคี วามรแู้ ละทกั ษะ ในศตวรรษท่ี ๒๑ ครมู ที กั ษะในการจดั การเรยี น
การสอน และการวัดและประเมินผลที่สอดคล้องกับบริบทของ
โรงเรยี นตำ� รวจตระเวนชายแดน อกี ทง้ั สรา้ งเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื
การใช้ระบบดิจิทัลในการจัดการเรียนการสอน และการวัด
และประเมินผล ตลอดจนสร้างโอกาสและความเสมอภาค
ทางการศกึ ษา

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

182 การศึกษาไทย ในชวี ติ วถิ ีใหม่

๑๒

ส�ำ นกั งานลกู เสอื แหง่ ชาติ

การขับเคลอื่ น

กจิ การลกู เสือไทยในยุคปัจจุบนั กับชีวติ วิถใี หม่
(New Normal) ของสำ�นักงานลูกเสือแห่งชาติ

ในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สำ� นกั งานลกู เสอื แหง่ ชาติ การน�ำกระบวนการลูกเสือมาแก้ปัญหาเยาวชนและ
(สลช.) ไดน้ ำ� กระบวนการลกู เสอื มาเปน็ ตวั ขบั เคลอื่ นในการเรง่ รดั สงั คม โดยสรา้ งจติ สำ� นกึ ใหเ้ ยาวชนเปน็ คนทม่ี คี วามรแู้ ละเปน็ คนดี
พัฒนาคุณภาพของเยาวชนไทย เพ่ือสร้างคุณภาพความเป็น มีระเบียบวินัย มีความเป็นผู้น�ำผู้ตามท่ีดี รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็น
พลเมอื งในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ เ์ ปน็ ประมขุ ประโยชน์ ไม่ติดยาเสพติด เลน่ การพนนั รวมทงั้ การฟื้นฟูลูกเสอื
และเสรมิ สรา้ งทกั ษะชีวติ คุณธรรม จริยธรรม พฒั นาบคุ ลกิ ภาพ วิสามัญในสถานศึกษาอาชีวศึกษา และ กศน.การฟื้นฟูบุคลากร
สขุ ภาพ ตลอดจนการเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพของนกั เรยี นและเยาวชน ผู้ใหญ่โดยเฉพาะบุคลากรทางการลูกเสือ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
ไทยให้เป็นบุคคลท่ีมีคุณค่าท้ังต่อตนเอง ครอบครัว สังคมและ ให้เป็นแนวร่วมในการพัฒนาเยาวชน เป็นการกระตุ้นใหเ้ ยาวชน
ประเทศชาติ โดยส่งเสริมให้สถานศึกษาท่ัวประเทศจัดกิจกรรม บุคคลท่ัวไป หน่วยงานท้ังภาครัฐและเอกชนเข้ามามีส่วนร่วม
ลูกเสือ เนตรนารี ควบคู่กับการเรียนการสอนในด้านวิชาการ พรอ้ มทง้ั ใหม้ กี ารพฒั นาปรบั ปรงุ บรบิ ททเี่ กย่ี วขอ้ ง เชน่ คา่ ยลกู เสอื
เช่น ส่งเสริมและพัฒนาเยาวชนโดยใช้กฎและค�ำปฏิญาณของ ที่มีอยู่ทั่วประเทศให้เป็นศูนย์ปฏิบัติการทางการลูกเสือและ
ลูกเสือ สร้างความตระหนักความรับผิดชอบต่อตนเองและ แหลง่ เรยี นรสู้ ำ� หรบั เดก็ เยาวชน และประชาชน โดยจดั กจิ กรรมดงั น้ี
การมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้อ่ืนตามอุดมการณ์ของลูกเสือ การจดั งานวนั สมเดจ็ พระมหาธรี ราชเจา้
ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ได้ขยายผลโครงการลูกเสือมัคคุเทศก์
ก า ร ฝ ึ ก อ บ ร ม ลู ก เ สื อ มั ค คุ เ ท ศ ก ์ ทุ ก จั ง ห วั ด ทั่ ว ป ร ะ เ ท ศ วนั ที่ ๒๕ พฤศจกิ ายนของทกุ ปี เปน็ วนั คลา้ ยวนั สวรรคต
โดยได้ปรับรูปแบบสู่การเรียนออนไลน์ ออนแอร์ และออนไซต์ ของพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ
พร้อมน�ำแพลตฟอร์ม และแอปพลิเคชันทันสมัย มาประยุกต์ใช้ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว “วันสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า”
ตามมาตรการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส ซงึ่ เปน็ วนั สาํ คญั ของคณะลกู เสอื แหง่ ชาติ บรรดาลกู เสอื เนตรนารี
โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) อย่างเหมาะสม ในขณะเดียวกัน บุคลากรทางการลูกเสือ และพสกนิกรชาวไทยทั้งปวง ลูกเสือ
ก็ยังคงคุณภาพมาตรฐานตามวิธีปฏิบัติและแนวทางของ ทุกหน่วยเหล่า ได้น้อมสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณ และ
กระบวนการลูกเสอื แสดงความกตัญญูกตเวทิตาธรรม ด้วยการร่วมวางพวงมาลา
และถวายราชสดุดี ณ สถานท่ีอันศักดิ์สิทธิ์ และเชิญชวนลูกเสือ
เนตรนารี บุคลากรทางการลูกเสือประกอบพิธีถวายราชสดุดี
และร่วมปฏิบัติกิจกรรมบําเพ็ญประโยชน์โดยพร้อมเพรียงกัน
ท่ัวราชอาณาจักร ซึ่งเป็นประเพณีของลูกเสือที่ปฏิบัติมาอย่าง
ต่อเน่ือง เพ่ือถวายเป็นราชสักการะแด่พระผู้พระราชทานกําเนิด
ลกู เสอื ไทย เมอ่ื วนั ที่ ๑ กรกฎาคม ๒๔๕๔ โดยมพี ระราชประสงค์
เพ่ือฝึกอบรมเด็กและเยาวชนของชาติ ให้เป็นพลเมืองดี
เหน็ แกป่ ระโยชนข์ องประเทศชาตเิ ปน็ สาํ คญั ดงั่ พระราชดาํ รสั ทว่ี า่
“ข้าไม่ต้องการตําราเรียนท่ีเดินได้ ท่ีข้าอยากได้น้ันคือ เยาวชน
ท่ีเปน็ สภุ าพบุรษุ ซอ่ื สัตย์สุจรติ มีอุปนิสัย ใจคอดี”

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

184 การศึกษาไทย ในชวี ติ วถิ ีใหม่

กิจการลูกเสือไทย ได้ดําเนินการมาเป็นเวลา ๑๐๙ ปี การจดั งานวันคลา้ ยวนั สถาปนา
และเปน็ กจิ การทน่ี บั ไดว้ า่ มคี วามเจรญิ รงุ่ เรอื ง และพฒั นากา้ วหนา้ คณะลกู เสือแหง่ ชาติ
ยง่ิ ขนึ้ ปจั จบุ นั เปน็ ทปี่ ระจกั ษแ์ ลว้ วา่ กจิ การลกู เสอื เปน็ กระบวนการ
ที่ส�ำคัญในการพัฒนาเยาวชน ให้เป็นพลเมืองดีด้วยระบบ เนอ่ื งจากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั
อย่างมีคุณค่า คือสร้างเยาวชนให้มีระเบียบวินัย รู้จักเสียสละ โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ส�ำนักงานลูกเสือแห่งชาติเห็นว่า
รจู้ ักพ่ึงตนเอง บำ� เพญ็ ประโยชนเ์ พ่ือส่วนรวม และชว่ ยเหลอื ผอู้ ืน่ เพ่ือความปลอดภัยต่อสุขภาพของผู้เข้าร่วมงาน ลดความเสี่ยง
ทุกเม่ือ เป็นการวางฐานอนาคตให้เกิดความแข็งแกร่งม่ันคง ของการแพร่ระบาดกระจายของโรค COVID-19 ท่ีไม่สามารถ
เป็นเกราะก�ำบังในการเผชิญปัญหาและอุปสรรค หากเยาวชน คาดคะเนความรนุ แรงจากการแพรร่ ะบาดของโรค ดงั นน้ั จงึ ของด
ปฏิบัติตนตามกฎและค�ำปฏิญาณของลูกเสืออย่างเคร่งครัด การจัดงานวันคล้ายวันสถาปนาคณะลูกเสือแห่งชาติ ประจ�ำปี
เปรียบเสมือนเคร่ืองเตือนใจให้มุ่งมั่นต่อการท�ำความดี พ.ศ. ๒๕๖๓ เพอ่ื นอ้ มรำ� ลกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ พระบาทสมเดจ็
ด้วยหลักคุณธรรม จริยธรรม สร้างความสมานฉันท์ และ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระผู้พระราชทานก�ำเนิดลูกเสือไทย
ดำ� เนินชีวติ อย่างพอเพยี ง และแสดงความจงรักภักดีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ประมุขของคณะลูกเสือแห่งชาติ ส�ำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
พิธีถวายราชสดุดี และถวายบังคมพระราชานุสาวรีย์ ขอความร่วมมือให้ส�ำนักงานลูกเสือจังหวัดจัดกิจกรรมลูกเสือ
พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั เนอ่ื งในงาน “วนั สมเดจ็ บ�ำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม ท้ังในท้องถ่ินและระดับประเทศ
พระมหาธรี ราชเจา้ ” หรอื วนั คลา้ ยวนั สวรรคตของพระบาทสมเดจ็ เนอื่ งในวนั คลา้ ยวนั สถาปนาคณะลกู เสอื แหง่ ชาติ ประจำ� ปี ๒๕๖๓
พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อให้ลูกเสือ เนตรนารี น้อมร�ำลึก โดยมีบุคลากรทางการลูกเสือ ลูกเสือ เนตรนารี และสมาชิก
ในพระมหากรุณาธิคุณ และแสดงความกตัญญูกตเวทิตาธรรม ผู้บ�ำเพ็ญประโยชน์เข้าร่วมกิจกรรมท่ัวประเทศ จ�ำนวน
โดยประกอบพธิ ถี วายบงั คม และถวายราชสดดุ ี แดพ่ ระผพู้ ระราชทาน ๙๐,๗๐๐ คน
กำ� เนดิ ลกู เสอื ไทย โดยพรอ้ มเพรยี งกนั ทวั่ ประเทศ และเพอื่ ใหล้ กู เสอื
เนตรนารี กระท�ำตนใหเ้ ปน็ ประโยชน์รว่ มกัน อันน�ำมาซง่ึ ความมี
ระเบียบวินัย และความสามัคคีในหมู่คณะ ส�ำหรับในส่วนกลาง
จดั พธิ ใี นวนั ที่๒๕พฤศจกิ ายน๒๕๖๓ณบรเิ วณพระบรมราชานสุ าวรยี ์
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รชั กาลท่ี ๖ สวนลุมพินี
โดยมผี บู้ รหิ ารระดบั สงู ขา้ ราชการ ผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื และลกู เสอื
เนตรนารีจากหน่วยงานตา่ ง ๆ เข้าร่วมพิธี จำ� นวน ๒,๔๖๐คน

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชวี ิตวถิ ีใหม่ 185

การจัดงานวันเฉลมิ พระชนมพรรษา ลกู เสือมคั คเุ ทศก์
พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือโครงการลูกเสือ

เนอื่ งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษาพระบาทสมเดจ็ มัคคุเทศก์ (Guide Scout) กับกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
พระเจา้ อยหู่ วั ประมุขของคณะลูกเสือแห่งชาติ วนั อังคารท่ี ๒๘ สำ� หรบั ในปี ๒๕๖๓ ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ ๗๐ รนุ่ ๕,๘๐๐ คน โดยได้
กรกฎาคม ๒๕๖๓ เพอื่ เปน็ การแสดงความจงรกั ภกั ดี และสำ� นกึ ใน นอ้ มน�ำหลักสูตร จิตอาสา ๙๐๔ มาใชใ้ นโครงการฯ เพือ่ สืบสาน
พระมหากรณุ าธคิ ณุ จงึ ขอเชญิ ชวนลกู เสอื เนตรนารี ผบู้ งั คบั บญั ชา พระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งเป็นหนึ่งใน
ลกู เสอื ทกุ ประเภททกุ หมเู่ หลา่ ตลอดจนสมาชกิ ผบู้ ำ� เพญ็ ประโยชน์ กจิ กรรมลกู เสอื จติ อาสาตามพระราโชบายดา้ นการศกึ ษา เพอ่ื ชว่ ย
จัดกิจกรรมบ�ำเพ็ญสาธารณประโยชน์เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล สร้างศักยภาพ ระเบียบวินัย และปลูกจิตอาสาให้กับเยาวชน
ภายใตช้ ือ่ การจัดงาน “ลกู เสอื รวมใจ เทิดไท้องค์ราชัน” ระหวา่ ง อีกทั้งได้จัดต้ังหน่วยลูกเสือมัคคุเทศก์ โดยมุ่งหวังให้ลูกเสือ
วนั ที่ ๒๘ - ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓ พรอ้ มกันทว่ั ประเทศ เพ่อื ให้ มีบทบาทในการเป็นมัคคุเทศก์ เพื่อส่งเสริมการท่องเท่ียว
การจัดกิจกรรมเน่ืองในวันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จ ตลอดจนเป็นการปลูกฝังให้ลูกเสือเกิดความรัก ความภาคภูมิใจ
พระเจ้าอยู่หัว ประมุขของคณะลูกเสือแห่งชาติ โดยมีบุคลากร ในคุณค่าของท้องถิ่นของตน มีความรู้ ความเข้าใจ และเห็น
ทางการลูกเสอื ลูกเสอื เนตรนารี และสมาชกิ ผู้บ�ำเพญ็ ประโยชน์ ความสำ� คญั ของการทอ่ งเทย่ี ว พรอ้ มเปน็ สว่ นหนง่ึ ในการยกระดบั
เขา้ ร่วมกิจกรรมทวั่ ประเทศ จ�ำนวน ๖๑,๖๐๐ คน คุณภาพของการท่องเท่ียวของประเทศไทย ซ่ึงต่อไปการจัด
กิจกรรมลูกเสือควรได้รับการส่งเสริมอย่างจริงจัง ท้ังยังต้องเพ่ิม
ทักษะชีวิตให้มากย่ิงขึ้น เพื่อให้ลูกเสือไทยมีม่ันใจในตัวเอง
กล้าท่ีจะแสดงออก รวมท้ังใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร
และนำ� มาต่อยอดพฒั นาเป็นอาชพี ได้ในอนาคต

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

186 การศึกษาไทย ในชวี ิตวถิ ีใหม่

๑๓

สำ�นักงานรบั รองมาตรฐาน
และประเมนิ คณุ ภาพทางการศกึ ษา

(องคก์ ารมหาชน)

การด�ำ เนินงานของ
สำ�นกั งานรับรองมาตรฐาน
และประเมนิ คณุ ภาพทางการศกึ ษา
(องค์การมหาชน)

ท่ีเชือ่ มโยงกบั ศตวรรษที่ ๒๑
ภายใต้ชวี ิตวถิ ใี หม่ (New Normal)

ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติมตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
(ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๔๙ ใหม้ สี ำ� นกั งานรบั รองมาตรฐาน
และประเมินคุณภาพทางการศึกษา มีฐานะเป็นองค์การมหาชน
มีหน้าที่พัฒนาเกณฑ์ วิธีการ และท�ำการประเมินคุณภาพ
ภายนอก เพื่อตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษาอย่างน้อย
หน่ึงคร้ังในทุกห้าปี นับแต่ประเมินคร้ังสุดท้าย และเสนอผลต่อ
หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง และสาธารณชน ทั้งน้ี ตามมาตรา ๕๑
กรณีผลการประเมินภายนอกของสถานศึกษาไม่ได้มาตรฐานให้
สมศ. จัดท�ำข้อเสนอแนะการปรับปรุงแก้ไขต่อหน่วยงาน
ต้นสังกัด เพ่ือให้สถานศึกษาปรับปรุงแก้ไข ในการด�ำเนินการ
ประเมนิ คณุ ภาพภายนอก สมศ. มจี ดุ มงุ่ หมายหลกั เพอ่ื ประโยชน์
ในการสะท้อนผลการจัดการศึกษาและเสนอผลการประเมิน
ต่อหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง และสาธารณชน ซึ่งเป็นกลไกหน่ึง
ในการช่วยขับเคลือ่ นและพฒั นาระบบการศกึ ษาของชาติ

การประเมินคุณภาพภายนอกของส�ำนักงานรับรอง
มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)
(สมศ.) ยึดหลักการตามแผนปฏิรูปประเทศ การปฏิรูปการจัด
การเรยี นการสอนเพอื่ ตอบสนองการเปลยี่ นแปลงในศตวรรษท่ี ๒๑
และสนับสนุนนโยบายรัฐบาลในการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้
และการพัฒนาศักยภาพของคนไทยทุกช่วงวัย เน้นการพัฒนา
ระบบการให้บริการประชาชน หรือรัฐบาลดิจิทัล และแผนงาน
บรู ณาการในการบรหิ ารจดั การทมี่ งุ่ เนน้ ความเปน็ เลศิ และการสรา้ ง
ความร่วมมือทั้งในประเทศและต่างประเทศ เป็นกลไกท่ีส�ำคัญ
ในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของประเทศ

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

188 การศึกษาไทย ในชีวติ วถิ ีใหม่

การด�ำเนนิ การพฒั นา สมศ. เพ่ือพิจารณา) โดยยังคงหลักการเป็นการตรวจเย่ียม
ระบบการประเมินคุณภาพภายนอก สถานศึกษาโดยยึดหลักการเว้นระยะห่างทางสังคม (Social
และการท�ำงานในชวี ติ วิถีใหม่ (New Normal) Distancing) หลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้ชิดกัน ใช้หน้ากากอนามัย
และสวมถุงมือตลอดเวลา เน้นการตรวจหลักฐานท่ีไม่ใช่บุคคล
พัฒนาระบบและวิธีการประเมินคุณภาพภายนอก (ยกเว้นกรณีจ�ำเป็น) ตรวจหลักฐานตามตารางนัดหมาย
ให้เหมาะสมกับชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) โดยตระหนักถึง ไมม่ ีการประชมุ สรุปผลการประเมินดว้ ยวาจาทสี่ ถานศกึ ษา
ความส�ำคัญและด�ำเนินการตามนโยบายของรัฐบาลในการ
ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต วิธีการท�ำงาน เพื่อให้เกิดประสิทธิผลสูงสุด “แต่หากสถานการณ์การระบาดโรค COVID-19
ในการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกภายใตส้ ถานการณก์ ารแพรร่ ะบาด อยใู่ นสภาวะควบคมุ อยา่ งเครง่ ครดั สมศ. จะดำ� เนนิ การปรบั เปลย่ี น
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) การปรับวิธี การประเมินระยะท่ีสอง ให้เป็นการตรวจเย่ียมแบบ Online
การด�ำเนินงานยังคงไว้ซ่ึงหลักการในการประเมินท่ีมีคุณภาพ โดยการกำ� หนดรปู แบบ และวธิ กี ารใหผ้ ปู้ ระเมนิ ภายนอกประเมนิ
มหี ลกั การตามวชิ าการ มคี วามยดื หยนุ่ และการปรบั ตวั มกี ารคดิ ผา่ น Video Conference ไปยงั สถานศึกษาทยี่ นื่ คำ� ขอให้ สมศ.
อย่างมีวิจารณญาณในการแก้ปัญหาตามหลักการและทักษะ ลงพน้ื ทตี่ รวจเยยี่ ม โดยผปู้ ระเมนิ จะตรวจสอบหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์
การพัฒนาของศตวรรษที่ ๒๑ โดยเรียกระบบการประเมินน้ีว่า ทสี่ ถานศกึ ษาระบไุ วใ้ น SAR รวมทงั้ เอกสาร หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์
“การประเมินคุณภาพภายนอกภายใตส้ ถานการณ์ COVID-19” ท่ี ส อ ด ค ล ้ อ ง ต า ม เ ก ณ ฑ ์ ใ น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ก า ร ต ร ว จ เ ยี่ ย ม
ตามหลักเกณฑ์ท่ี สมศ. โดยผู้ประเมิน และสถานศึกษาจะมี
การประเมินคุณภาพภายนอก การตกลงร่วมกันตามที่แจ้งในตารางนัดหมายก่อนก�ำหนด
ภายใตส้ ถานการณ์ COVID-19 การลงพื้นที่ตรวจเยย่ี มแบบ Online”
แบ่งการประเมินออกเปน็ ๒ ระยะ ดงั น้ี การด�ำเนนิ การพฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ
และการใช้นวตั กรรมในการประเมินคุณภาพ
ระยะแรก เป็นการรับการประเมินคุณภาพภายนอก ภายนอกและการบริหารจัดการ
อยา่ งนอ้ ย ๑ ครง้ั ในทกุ ๕ ปี ตามมาตรา ๔๙ แหง่ พระราชบญั ญตั ิ ในศตวรรษที่ ๒๑ ของ สมศ.
การศกึ ษาแหง่ ชาติ การประเมนิ ระยะแรกนจ้ี ะเปน็ การประเมนิ จาก
ผลการวิเคราะห์รายงานประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ออกแบบและพัฒนานวัตกรรมและการใช้ระบบ
ซง่ึ สง่ ผา่ นหนว่ ยงานตน้ สงั กดั ตามกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพ เทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการเช่ือมโยงข้อมูลระหว่าง
การศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ผู้ประเมิน สมศ. จะพิจารณาจากสิ่งที่ สถานศึกษากับหน่วยงานต้นสังกัดในกิจกรรมการบริหารจัดการ
ปรากฏใน SAR และเอกสารประกอบทีแ่ นบมากับ SAR เท่านัน้ การประเมินคุณภาพภายนอก และสนับสนุนนโยบายรัฐบาล
(ในระยะน้ีจะไม่มีการขอเอกสารเพ่ิมเติมจากสถานศึกษา ศตวรรษท่ี ๒๑ ในการบริหารจัดการหน่วยงานภาครัฐเข้าสู่ยุค
เพอื่ เปน็ การลดภาระของสถานศึกษา) โดยผลการประเมิน SAR Digital 4.0 โดยไดพ้ ฒั นาระบบเทคโนโลยกี ารบรหิ ารจดั การเกย่ี วกบั
มีระดบั คุณภาพ ๓ ระดบั แยกเป็นรายมาตรฐาน (ตาม IQA) คือ การประเมนิ ดงั น้ี
“ด”ี “พอใช”้ และ “ปรบั ปรงุ ”

ระยะทสี่ อง การประเมนิ จากการตรวจเยยี่ ม (Site Visit)
เป็นไปตามความสมัครใจของสถานศึกษา มีระดับคุณภาพ
๕ ระดบั แยกเปน็ รายมาตรฐาน (ตาม IQA) คอื “ดเี ยยี่ ม” “ดมี าก”
“ด”ี “พอใช”้ และ “ปรบั ปรงุ ” ซง่ึ ในการประเมนิ ระยะทส่ี อง กำ� หนด
เง่ือนไข เพื่อให้สอดคล้องกับกฎกระทรวงการประกันคุณภาพ
การศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑ สถานศึกษาที่ไดร้ บั ผลการประเมิน SAR
แล้ว และหากต้องการให้ สมศ. ไปตรวจเยี่ยม สามารถย่นื คำ� รอ้ ง
มายงั สมศ. โดย สมศ. จะสง่ คณะผปู้ ระเมนิ ไปตรวจเยยี่ มสถานศกึ ษา
ตามวัน เวลาที่นัดหมาย ในช่วงเปิดภาคเรียน และมีก�ำหนด
ระยะเวลานอ้ ยสดุ ๑ วนั (ยกเวน้ กรณจี ำ� เปน็ ใหท้ ำ� เรอ่ื งเสนอมายงั

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชีวติ วถิ ีใหม่ 189

• E-SAR เป็นระบบท่ีใช้ในการเชื่อมโยงข้อมูลกับ • Business Intelligence (BI) เป็นแผนงาน
หน่วยงานต้นสังกัดต่าง ๆ ในการรับ-ส่งไฟล์รายงานประเมิน ในการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการสนับสนุน
ตนเอง (SAR) ของสถานศึกษาผ่านหน่วยงานต้นสังกัด ซ่ึงเป็น การวเิ คราะหข์ อ้ มูลเชงิ ลึก โดยจะวเิ คราะหข์ ้อมูลจาก ๑) ขอ้ มูล
ผรู้ วบรวม และสง่ รายชอ่ื สถานศกึ ษาทพี่ รอ้ มรบั การประเมนิ มายงั พ้ืนฐานของสถานศึกษา อาทิ จ�ำนวนผู้เรียน จ�ำนวนบุคลากร
สมศ. โดยระบบ E-SAR จะมกี ารเชอ่ื มโยงขอ้ มลู และไฟลเ์ อกสาร อัตราส่วนของจ�ำนวนผู้เรียนต่อจ�ำนวนครู ภาระงานสอนของครู
ตา่ ง ๆ กบั AQA Platform เพอื่ ใหผ้ ปู้ ระเมนิ สามารถตรวจประเมนิ โดยเฉลี่ยต่อสัปดาห์ ๒) ผลการประเมินคุณภาพภายนอก
SAR ของสถานศกึ ษาได้แบบ Online ด้านคุณภาพผู้เรียน ด้านการบริหาร ด้านจัดการเรียนการสอน
โดยนำ� เสนอขอ้ มลู จดุ เดน่ จดุ ทคี่ วรพฒั นา ขอ้ เสนอแนะตามนโยบาย
• Mobile Application เป็นระบบท่ีช่วยสนับสนุน จากหนว่ ยงานตน้ สงั กดั หรอื ภาครฐั ในแตล่ ะดา้ น และขอ้ เสนอแนะ
การทำ� งานของผปู้ ระเมนิ ภายนอกดว้ ยแนวคดิ ในการนำ� Platform ไปสู่การพัฒนาหรือแบบอย่างท่ีดีตามบริบทของสถานศึกษา
เทคโนโลยีมาใช้เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในกระบวนการประเมิน ซ่ึงเป็นแผนการด�ำเนินงานของ สมศ. ที่มีจุดมุ่งหมายไปสู่
ลดระยะเวลาในการลงพ้ืนที่ ไม่สร้างภาระแก่สถานศึกษา ศูนย์ความเป็นเลิศในการบริการข้อมูลจากการประเมินคุณภาพ
มีการ Check-in, Check-out และบันทึก Location ระหว่าง (Excellence Center of QA) และใชเ้ ปน็ ชอ่ งทางหนงึ่ ในการนำ� เสนอ
การลงพื้นที่ประเมิน การใช้เทคโนโลยี Voice to Text ข้อมูลการสะท้อนผลการจัดการศึกษาเพ่ือใช้เป็นข้อมูลประกอบ
ในการบนั ทกึ ข้อมูลภาคสนาม (Field note) การ Export ข้อมลู ในการบรหิ ารจดั การของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาในการพฒั นาตอ่ ไป
ในรูปแบบ Digital files เพื่อการวิเคราะห์และจัดท�ำรายงาน ซ่ึงคาดว่าจะแล้วเสร็จและพรอ้ มใชง้ านได้ภายในปี พ.ศ. ๒๕๖๕
การประเมินคุณภาพภายนอกฉบับสมบูรณ์

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

190 การศึกษาไทย ในชวี ติ วิถีใหม่

การด�ำเนินการการอบรมและพฒั นา การด�ำเนนิ การโครงการงานวิจัยของ สมศ.
ผู้ประเมนิ ภายนอกแบบ Online การสนบั สนนุ งานวจิ ยั เรอื่ ง “รปู แบบการประกนั คณุ ภาพ

น�ำระบบเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้และสนับสนุน การศึกษาเชิงรุกเพ่ือบริหารความเสี่ยงในศตวรรษท่ี ๒๑
การด�ำเนนิ งานในการพฒั นาบุคลากร ทดสอบสมรรถนะ ความรู้ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน” ซ่ึงเป็นการศึกษาความเส่ียง
และความสามารถในการใช้สื่อทางเทคโนโลยีทางการศึกษา และการบริหารความเส่ียงในประกันคุณภาพการศึกษาของ
ในการอบรม คดั เลอื ก พฒั นา และใหก้ ารรบั รองผปู้ ระเมนิ ภายนอก สถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ในศตวรรษที่ ๒๑ เพ่ือประโยชน์
โดยได้พัฒนาหลักสูตรอบรมและประเมินผลแบบ Online ในการส่งเสริมแนวทางการพัฒนารูปแบบการประกันคุณภาพ
ผา่ นระบบ Google Classroom ซง่ึ ถอื เปน็ การเตรยี มความพรอ้ ม เชงิ รกุ ของสถานศกึ ษา
เพื่อการเป็นผู้ประเมินให้มีพัฒนาการในการใช้เทคโนโลยี
ที่ทันสมัย และมีความพร้อมในการปฏิบัติงานรองรับการเป็น
บคุ ลากรภาครฐั ในยคุ Digital 4.0

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

การศึกษาไทย ในชีวิตวิถีใหม่ 191

การปฏิรปู การด�ำเนินการในการส่อื สารข้อมลู
การจัดการเรยี นการสอน สู่สาธารณะและความคาดหวัง
เพอ่ื ตอบสนองการเปลยี่ นแปลง ถึงประโยชนข์ องสาธารณชนทจ่ี ะได้รับ

ในศตวรรษท่ี ๒๑ ด�ำเนินการประเมินคุณภาพภายนอก ซ่ึงเป็นกลไก
และสนับสนุนนโยบายรฐั บาล การตรวจสอบและถ่วงดุล (Check & Balance) การด�ำเนินการ
ในการปฏิรูปกระบวนการเรยี นรู้ ของสถานศึกษา ตามนโยบายและเป้าประสงค์ของรัฐบาล
และสถานศึกษาที่จ�ำเป็นต้องตอบสนองต่อผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียน
และการพัฒนาศักยภาพ โดยสถานศกึ ษาไดร้ บั คำ� แนะนำ� ทเ่ี ปน็ รปู ธรรมเพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพ
ของคนไทยทุกช่วงวัย การศึกษา ในขณะทหี่ น่วยงานตน้ สังกดั และกระทรวงที่เก่ียวขอ้ ง
มีข้อมูลภาพรวมของระบบการศึกษาในแต่ละระดับ เพ่ือก�ำหนด
นโยบาย การวางแผน และการจดั บรกิ ารการศกึ ษา เพอ่ื สนบั สนนุ
ให้เกิดการยกระดบั และพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของประเทศ

การให้บริการข้อมูลผลการประเมินของสถานศึกษา
กับสังคมถือเป็นงานบริการสาธารณะ โดยผู้เรียน ผู้ปกครอง
และสาธารณชนมีข้อมูลเก่ียวกับคุณภาพของสถานศึกษา
เพ่ือประโยชน์ในการตัดสินใจ และการตรวจสอบข้อมูลคุณภาพ
ของสถานศึกษา ซึ่ง สมศ. มีช่องทางเทคโนโลยีการสื่อสารตา่ ง ๆ
ในการสื่อสารและบริการข้อมูลสู่สาธารณะ ได้แก่ โทรศัพท์
สอบถาม เขียนข้อความผ่าน E-mail การสืบค้นข้อมูลผ่านทาง
Website ติดตามข่าวสารและข้อมูลในรูปแบบ Multimedia
ผ่านทาง Facebook และ Line Official การอบรมพัฒนา
และเผยแพร่ความรู้แบบ Real-time information ผ่านทาง
Facebook live ซ่ึงช่องทางการสื่อสารข้อมูลต่าง ๆ ท้ังหมดนี้
เป็นยุทธศาสตร์การด�ำเนินงานของส�ำนักงานเพ่ือตอบสนอง
ต่อยุทธศาสตร์ชาติในการใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยส่งเสริม
และสนบั สนนุ การเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี ๒๑

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

192 การศึกษาไทย ในชวี ติ วิถีใหม่

ขอ้ มูลสถติ ิ

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

194 การศึกษาไทย ในชีวิตวถิ ีใหม่

ข้อมูลทางสถิติ ณ ปี ๒๕๖๓
กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี
การศึกษาไทย ในชีวิตวิถีใหม่ 195

กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒๙ ปี

196 การศึกษาไทย ในชีวิตวถิ ีใหม่


Click to View FlipBook Version