วันท่ี ๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๓ ขณะทอ่ี งค์หลวงตาอายไุ ด้ ๘๗ ปี องคท์ า่ นไดเ้ ขยี นพนิ ัยกรรมไว้
ขอ้ ความในพนิ ัยกรรมนน้ั องค์ท่านได้แต่งตง้ั ให้หลวงพอ่ สดุ ใจ ทนฺตมโน เปน็ ผู้จดั การมรดก
หลงั จากทอ่ี งคห์ ลวงตาไดเ้ ขา้ สอู่ นปุ าทเิ สสนพิ พานในวนั ท่ี ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๔ แลว้ ทางวดั ปา่ -
บ้านตาดจึงได้มีการแต่งตั้งหลวงพ่อสุดใจเป็นเจ้าอาวาสวัดป่าบ้านตาดองค์ท่ี ๒ ต่อจากองค์หลวงตา
เม่ือวันที่ ๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
พนิ ยั กรรมขององค์หลวงตามหาบัว าณสมฺปนโฺ น
50
หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน
วัดป่าบ้านตาด จ.อุดรธานี
ใบตราต้งั ตำ� แหน่งเจา้ อาวาส วัดเกษรศีลคุณ (วดั ป่าบา้ นตาด) จ.อุดรธานี
51
งานพระราชทานเพลิงสรีรสงั ขาร
องคห์ ลวงตามหาบัว าณสมฺปนโฺ น
52
หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน
วดั ป่าบา้ นตาด จ.อดุ รธานี
เมอ่ื หลวงพอ่ มารบั ตำ� แหนง่ เจา้ อาวาสวดั ปา่ บา้ นตาดแลว้ ภารกจิ ตา่ งๆ ทอ่ี งคห์ ลวงตาเคยดำ� เนนิ ไว้
เชน่ มลู นธิ เิ สยี งธรรมเพอื่ ประชาชน และการบรหิ ารจดั การตา่ งๆ ภายในวดั ปา่ บา้ นตาด หลวงพอ่ กไ็ ดเ้ ขา้ มา
บรหิ ารดแู ลแทนอยา่ งเตม็ ท่ี และตอ่ มากม็ งี านใหมเ่ พม่ิ ขน้ึ คอื งานกอ่ สรา้ งพพิ ธิ ภณั ฑธ์ รรมเจดยี ์ ถงึ แมท้ า่ น
จะอาพาธดว้ ยโรคพาร์กนิ สนั ทำ� ใหธ้ าตุขนั ธไ์ ม่คอ่ ยแข็งแรงและอ่อนกำ� ลงั ลง แต่องค์ท่านก็ไมเ่ คยแสดง
ความออ่ นแอใหเ้ หน็ ทา่ นยงั คงมุ่งม่ันท่ีจะดแู ลรักษามรดกธรรมตา่ งๆ ขององคห์ ลวงตาไวอ้ ยา่ งสดุ ก�ำลัง
ความสามารถ
โครงการกอ่ สร้างพพิ ธิ ภัณฑ์ธรรมเจดีย์ ณ วัดปา่ บา้ นตาด จ.อุดรธานี
สถานีวทิ ยแุ ละโทรทัศน์ มูลนิธิเสียงธรรมเพ่ือประชาชน ณ วัดปา่ บ้านตาด จ.อดุ รธานี
53
หลวงพอ่ สดุ ใจอ้มุ บาตรหลวงตามหาบวั เดินรับบิณฑบาตต้งั แตเ่ มอ่ื ครง้ั องคห์ ลวงตายงั ครองธาตขุ ันธ์
จวบจนองค์หลวงตาละขนั ธ์จากไปแล้ว หลวงพ่อสุดใจกย็ งั คงอ้มุ บาตรองคห์ ลวงตาเดินรับบิณฑบาตจนถึงวาระสุดทา้ ยขององค์ทา่ น
54
หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน
วัดปา่ บา้ นตาด จ.อุดรธานี
ตามรอยปฏปิ ทาองคห์ ลวงตา
หลวงพอ่ สดุ ใจเปน็ ผรู้ กั ษาปฏปิ ทา ตลอดถงึ ขอ้ วตั รตา่ งๆ ทอ่ี งคห์ ลวงตาเคยพาดำ� เนนิ มาโดยตลอด
นบั ตง้ั แตว่ นั ทอี่ งคท์ า่ นมารบั ตำ� แหนง่ เจา้ อาวาส จนถงึ วนั ทจ่ี ากไป สงิ่ ทพี่ ระเณรและญาตโิ ยมจะเหน็ จนคนุ้ ตา
แมใ้ นยามทอี่ าพาธ กค็ อื การรกั ษาขอ้ วตั ร ปดั กวาด ถศู าลา ตลอดจนถงึ การออกรบั บณิ ฑบาต แมธ้ าตขุ นั ธ์
จะไมเ่ ออ้ื อำ� นวยกต็ าม
ลูกศิษย์เคยกราบขอเมตตาหลายครั้งให้องค์ท่านใช้รถวีลแชร์ออกรับบิณฑบาตแทนการเดิน
เพอ่ื ถนอมธาตขุ นั ธไ์ วน้ านๆ แตอ่ งคท์ า่ นกป็ ฏเิ สธ หลวงพอ่ ไมเ่ คยแสดงความออ่ นแอใหเ้ หน็ เลยแมแ้ ตน่ อ้ ย
มแี ตค่ วามเขม้ แขง็ เดด็ เดย่ี ว สมกบั ทอ่ี งคห์ ลวงตาเนน้ อบรมพระเณรเสมอในเรอ่ื งนี้ ซงึ่ หลวงพอ่ กไ็ ดด้ ำ� เนนิ
รอยตามและเปน็ คติตวั อย่างทีด่ ี
55
56
หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน
วดั ปา่ บ้านตาด จ.อุดรธานี
57
พระอดุ มญาณโมลี (หลวงปูจ่ นั ทร์ศรี จนทฺ ทโี ป) กบั หลวงพ่อสดุ ใจ ทนฺตมโน
หลวงปู่บุญมี ปริปณุ โฺ ณ กบั หลวงพ่อสดุ ใจ ทนตฺ มโน
หลวงป่ลู ี กุสลธโร กบั หลวงพ่อสดุ ใจ ทนตฺ มโน
58
หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน
วดั ป่าบา้ นตาด จ.อดุ รธานี
หลวงปู่ปญั ญาวฑั โฒ กบั หลวงพ่อสดุ ใจ ทนฺตมโน
หลวงป่อู นุ่ หลา้ ติ ธมโฺ ม กับหลวงพอ่ สดุ ใจ ทนตฺ มโน
หลวงพอ่ อนิ ทรถ์ วาย สนตฺ สุ สฺ โก หลวงพอ่ สธุ รรม สธุ มโฺ ม หลวงพอ่ สดุ ใจ ทนตฺ มโน
59
บนั ทึกการอาพาธ
หลวงพอ่ สดุ ใจเรม่ิ อาพาธดว้ ยโรคพารก์ นิ สนั และเขา้ รบั การรกั ษาทโี่ รงพยาบาลจฬุ าลงกรณค์ รงั้ แรก
เมอ่ื วนั ท่ี ๒ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๒ โดยมศี าสตราจารยน์ ายแพทยร์ งุ่ โรจน์ พทิ ยศริ ิ เปน็ แพทยป์ ระจำ� องคท์ า่ น
ตลอดระยะเวลาท่ีผ่านมา หลวงพ่อต้องใช้ความพยายามรักษาประคับประคองธาตุขันธ์มาโดยตลอด
เนือ่ งจากโรคพาร์กินสนั ทำ� ให้องค์ท่านมีปัญหาในการทรงตวั การเดิน การเคลื่อนไหว ตลอดถึงการพูด
เสียงพดู ที่เบา และบางครัง้ ไม่มีเสียง จงึ เปน็ เหตุหนงึ่ ทท่ี ำ� ใหอ้ งค์ท่านไมค่ ่อยพูด การรักษาอาการโรคนี้
แพทยแ์ นะนำ� วา่ จะตอ้ งมกี ารฉนั ยาเปน็ ประจำ� ทกุ วนั และตอ้ งมกี ารทำ� กายภาพบำ� บดั รว่ มดว้ ย ดงั นน้ั จงึ มี
นกั กายภาพบ�ำบัดทท่ี างโรงพยาบาลศนู ยอ์ ุดรธานีสง่ มาทำ� กายภาพถวายหลวงพอ่ เป็นประจำ� ทุกอาทติ ย์
นอกเหนือจากโรคพาร์กินสันแล้ว หลวงพ่อยังมีโรคลิ้นหัวใจร่ัว แพทย์ประจ�ำองค์ท่านท่ีรักษาคือ
รองศาสตราจารยน์ ายแพทยว์ สนั ต์ อทุ ยั เฉลมิ การรกั ษาโรคลน้ิ หวั ใจรว่ั ซงึ่ เกดิ จากการเสอ่ื มสภาพของอวยั วะ
ตามอายขุ ยั จึงรกั ษาโดยการฉันยาเปน็ ประจำ� และตรวจร่างกายตามแพทยน์ ดั
การดแู ลธาตขุ นั ธข์ องหลวงพอ่ ซง่ึ ตอ้ งดแู ลปฏบิ ตั อิ ยา่ งใกลช้ ดิ ไปตามสมมตุ ิ เพอ่ื ใหอ้ งคท์ า่ นสามารถ
ประคองธาตขุ นั ธไ์ ปไดอ้ ยา่ งดที สี่ ดุ สว่ นธรรมภายในทอ่ี งคท์ า่ นใชค้ อื ธรรมโอสถ ซง่ึ เปน็ เครอื่ งประสานดว้ ย
องคท์ า่ นเองนนั้ มคี วามสำ� คญั อยา่ งยงิ่ ทที่ ำ� ใหส้ ามารถควบคมุ อาการของโรคใหเ้ ปน็ ปกติ สามารถทจี่ ะปฏบิ ตั ิ
ศาสนกิจต่างๆ ไปไดด้ ว้ ยดี
ในช่วงท่ีหลวงพ่อยังครองธาตุขันธ์ องค์ท่านจะเข้ารับการตรวจรักษาธาตุขันธ์จากแพทย์ประจ�ำ
องค์เป็นประจำ� สม�ำ่ เสมอ โดยได้รับการดูแลรกั ษาเอาใจใส่เปน็ อยา่ งดีจากคณะแพทยแ์ ละเจ้าหน้าทีข่ อง
โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์ คณะศิษย์ต้องกราบขอบพระคณุ เปน็ อยา่ งสงู ไว้ ณ ทีน่ ี้
นอกจากคณะแพทย์และเจ้าหน้าท่ีโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
ทีช่ ่วยดแู ลองคห์ ลวงพอ่ แลว้ ยงั มีทา่ นเจา้ คณุ วรี ะ (วีระ อภิวโี ร)
วดั บวรนเิ วศวหิ าร ทค่ี อยดแู ลเอาใจใส่ ตลอดถงึ ใหค้ ำ� ปรกึ ษาแนะนำ�
ตลอดมา ในระหว่างท่ีหลวงพ่อเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาล
จฬุ าลงกรณ์ ต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ จนถึงวนั ท่ีทา่ นละขนั ธ์จากไป
ทา่ นเจา้ คณุ ฯ จะมากราบเยย่ี มหลวงพอ่ เกอื บทกุ ครงั้ และคอยอำ� นวย
ความสะดวกทกุ อยา่ ง ทำ� ให้หลวงพ่อไดร้ ับการรกั ษาพยาบาลอยา่ ง
ดีท่ีสดุ คณะศษิ ย์กราบขอบพระคุณเปน็ อย่างสูง ไว้ ณ ทีน่ ี้ หลวงพ่อสดุ ใจ ทนตฺ มโน กับทา่ นเจ้าคุณวีระ (วีระ อภวิ โี ร)
60
หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน
วดั ป่าบ้านตาด จ.อดุ รธานี
หลวงพ่อสดุ ใจ ทนฺตมโน ขณะรักษาอาการอาพาธที่โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์ กรงุ เทพฯ
61
การสงเคราะห์โลก
หลวงพอ่ สดุ ใจไดด้ ำ� เนนิ รอยตามปฏปิ ทาองคห์ ลวงตาเกยี่ วกบั การสงเคราะหโ์ ลกในดา้ นตา่ งๆ เชน่
โรงพยาบาล สถานท่รี าชการ และวัดต่างๆ ที่มาขอความเมตตาจากองค์ทา่ น ดงั รายการต่อไปน้ี
๑. โรงพยาบาล
- โรงพยาบาลคา่ ยประจักษ์ศลิ ปาคม บรจิ าคเคร่ืองมือตา มลู คา่ ๑,๑๐๐,๐๐๐ บาท
- โรงพยาบาลขอนแก่น บริจาครถรับส่งผู้ป่วย มลู ค่า ๔๐๐,๐๐๐ บาท
- มลู นธิ ิหออภิบาลสงฆ์หลวงปมู่ ัน่ พระภกิ ษอุ าพาธ มูลคา่ ๑๕๐,๐๐๐ บาท
- โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ตกึ พระภกิ ษสุ งฆอ์ าพาธ มูลค่า ๑,๒๒๘,๙๒๐ บาท
62
หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน
วดั ปา่ บ้านตาด จ.อุดรธานี
63
๒. สถานทีร่ าชการ
- อาคารอเนกประสงค์ “ญาณสัมปนั โนนสุ รณ”์ กองพันทหารอากาศโยธนิ กองบนิ ๒๓ มลู คา่
๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท
- กลมุ่ งานจราจรตำ� รวจภธู รจังหวดั อดุ รธานี มูลค่า ๑,๔๐๐,๐๐๐ บาท
- ศูนย์วิทยรุ ม่ โพธ์ทิ อง สภ.อ.เมอื งอดุ รธานี มลู ค่า ๒๐๔,๕๘๘ บาท
- ปรับปรงุ อาคารศูนย์วทิ ยุ ๑๙๑ สภ.อ.เมอื งอุดรธานี มลู ค่า ๙๐๐,๐๐๐ บาท
- ตำ� รวจรถไฟ มูลค่า ๒๐๐,๐๐๐ บาท
- ซ่อมแซมโรงอาหารกองบนิ ๒๓ มลู ค่า ๗๐๐,๐๐๐ บาท
- สปก. สถานีตำ� รวจชมุ ชนบา้ นตาด มูลคา่ ๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท
- โรงเรียนอดุ รธรรมานุสรณ์ มลู ค่า ๑,๑๕๐,๐๐๐ บาท
๓. วดั ต่างๆ
- วดั โพธสิ มภรณ์ มลู คา่ ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท
- วัดป่าจงเจริญาณสมปฺ นฺโน จ.เชียงราย มูลคา่ ๕๐๐,๐๐๐ บาท
- วดั ป่าเป้า จ.เชยี งใหม่ มลู ค่า ๑๐๐,๐๐๐ บาท
- อนสุ รณ์สถานชาติภมู อิ งค์หลวงตา มลู คา่ ๑,๓๗๖,๒๗๔ บาท
- เจดีย์ศรีพระธรรมวิสทุ ธิมงคล (วดั ปา่ ดอยลับงา) มูลค่า ๓๐๐,๐๐๐ บาท
- ศาลาวัดป่าชมุ ชนโคกใหญ่ จ.ขอนแกน่ มูลคา่ ๑๐๐,๐๐๐ บาท
64
หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน
วัดปา่ บ้านตาด จ.อุดรธานี
กอ่ นทหี่ ลวงพอ่ จะละขนั ธไ์ มน่ าน ทว่ั โลกประสบกบั โรคไวรสั โคโรนาสายพนั ธใ์ุ หม่ (โควดิ -๑๙) ระบาด
แม้แตใ่ นประเทศไทยก็ไดร้ ับผลกระทบ จงึ ท�ำให้โรงพยาบาลตา่ งๆ ประสบปญั หาขาดแคลนอปุ กรณท์ าง
การแพทยท์ จ่ี ะใหค้ วามชว่ ยเหลอื แกผ่ ปู้ ว่ ยโรคระบาดน้ี ดว้ ยเหตนุ ้ี องคท์ า่ นจงึ ไดเ้ มตตาใหค้ วามชว่ ยเหลอื
โรงพยาบาลตา่ งๆ ดังต่อไปน้ี
- โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์ บรจิ าคเงินจำ� นวน ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท
มอบชุด PPE จ�ำนวน ๒,๐๐๐ ชดุ
- โรงพยาบาลศูนย์อดุ รธานี มอบชุด PPE จ�ำนวน ๑๐๐ ชุด
มอบชดุ Isolating gown จ�ำนวน ๑,๐๐๐ ชุด
ช่วงโรคโควิด-๑๙ ระบาดในประเทศไทย
หลวงพ่อสดุ ใจเมตตาบรจิ าคปัจจยั และอุปกรณท์ างการแพทย์ใหก้ ับโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
65
ชว่ งโรคโควิด-๑๙ ระบาดในประเทศไทย
หลวงพอ่ สุดใจเมตตาบริจาคปัจจัยและอุปกรณ์ทางการแพทยใ์ ห้กับโรงพยาบาลศนู ย์อดุ รธานี
66
หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน
วัดป่าบา้ นตาด จ.อดุ รธานี
ตน้ ไมข้ องหลวงพอ่
หลวงพอ่ สดุ ใจมตี น้ ไมช้ นดิ หนง่ึ ทอี่ งคท์ า่ นใหค้ วามสนใจเปน็ อยา่ งมาก นนั่ คอื ตน้ ตะโก ซงึ่ หลวงพอ่
น�ำมาปลกู ไวอ้ ยู่ขา้ งทางจงกรมบรเิ วณกุฏขิ ององค์ทา่ น หลวงพอ่ เก็บพันธข์ุ องตน้ ตะโกนำ� มาจากบ้านเกิด
ขององคท์ า่ นทสี่ มทุ รปราการ นำ� มาเพาะพนั ธ์ุ รดนำ้� ดว้ ยความเอาใจใสเ่ ปน็ อยา่ งมาก องคท์ า่ นมกั จะปรารภ
ถึงต้นตะโกให้ลูกศิษย์ฟังอยเู่ สมอๆ และบางคร้ังก็พาไปเยี่ยมชมตน้ ตะโก
ตน้ ตะโกเปน็ ไมย้ นื ตน้ และใหผ้ ล สามารถรบั ประทานได้ องคท์ า่ นเลา่ วา่ ลกู ตะโกเกบ็ ไวใ้ หส้ ตั วท์ อ่ี ยู่
บรเิ วณนั้นกนิ เปน็ อาหาร
หลวงพ่อไดเ้ พาะพันธต์ุ น้ ตะโกไว้เป็นจำ� นวนมาก เพือ่ จะใหน้ �ำไปปลกู บริเวณพพิ ธิ ภณั ฑ์ธรรมเจดยี ์
องคท์ า่ นใหค้ วามสนใจออกไปตรวจดอู ยบู่ อ่ ยๆ ในวนั ทอี่ งคท์ า่ นจะละขนั ธจ์ ากไป หลงั จากฉนั เสรจ็ และกลบั
จากศาลา หลวงพ่อก็ยังไดเ้ ดินไปดตู ้นตะโกนเี้ ป็นครง้ั สุดท้ายกอ่ นจะกลบั ขึ้นพักบนกฏุ ิ
ต้นตะโกท่ีหลวงพ่อใหล้ กู ศิษย์เพาะพนั ธไุ์ ว้
67
68
หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน
วดั ปา่ บา้ นตาด จ.อุดรธานี
ปั จฉิมโอวาท
วนั ท่ี ๒๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ เวลาประมาณ ๑๗.๐๐ น. กอ่ นทห่ี ลวงพอ่ จะละขนั ธเ์ พยี งวนั เดยี ว
มโี ยมสง่ แผน่ เงนิ เพอื่ จะใหอ้ งคท์ า่ นเมตตาอธษิ ฐานจติ เพอ่ื นำ� ไปหลอ่ พระพทุ ธรปู พอกราบเรยี นองคท์ า่ นให้
รบั ทราบ หลวงพ่อตอบกลับมาทนั ทีว่า “เราไมเ่ คยท�ำ บอกเขาไปว่าเราสนใจแต่ความพ้นทุกข์” จงึ เปน็
โอวาทธรรมครง้ั สดุ ทา้ ยทห่ี ลวงพอ่ ไดป้ รารภไวใ้ หเ้ ปน็ ขอ้ คดิ สำ� หรบั นกั ปฏบิ ตั ทิ ง้ั หลาย และเปน็ การตอกยำ้� ถงึ
วัตรปฏิบตั ิของท่านท่ีไดด้ ำ� เนนิ มาตลอดในเพศบรรพชติ ด้วยความสง่างาม
วันที่ ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ เวลา ๑๓.๓๗ น. เกิดเหตไุ ฟไหมก้ ุฏหิ ลวงพอ่ แมพ้ ระเณรและ
ญาตโิ ยมจะพยายามชว่ ยกนั ดบั ไฟอยา่ งสดุ กำ� ลงั แลว้ แตไ่ ฟทลี่ กุ โหมอยา่ งรนุ แรง ประกอบกบั อากาศทร่ี อ้ น
และกฏุ เิ ปน็ ไมซ้ ง่ึ เปน็ เชอื้ เพลงิ อยา่ งดี ในเวลาเพยี งไมน่ าน ไฟกไ็ ดล้ กุ ลามเขา้ ไปถงึ ในหอ้ งพกั ขององคท์ า่ น
พระไดพ้ ยายามชว่ ยกนั ตดั เหลก็ ดดั บรเิ วณหนา้ ตา่ งหอ้ งพกั เพอื่ จะนำ� รา่ งหลวงพอ่ ออกมา และไดร้ บี นำ� สง่ ไปท่ี
โรงพยาบาล แตไ่ ปไดเ้ พยี งระหวา่ งทาง หลวงพอ่ กไ็ ดล้ ะขนั ธจ์ ากไป จากนน้ั จงึ ไดน้ ำ� สรรี สงั ขารขององคท์ า่ น
กลบั มาวัดปา่ บา้ นตาด
หลวงพอ่ สุดใจ ทนฺตมโน ไดเ้ ขา้ สอู่ นปุ าทิเสสนพิ พาน ขณะอายไุ ด้ ๗๖ ปี พรรษา ๔๖
ศิษยข์ อนอ้ มกราบบูชาวิสทุ ธธิ รรมของหลวงพ่อสดุ ใจ ผเู้ ป็นนักรบธรรม ได้แสดงความเดด็ เดย่ี ว
กล้าหาญ ไมห่ ว่นั ไหวแมก้ �ำลงั เผชิญหนา้ กบั ความตาย สมกับทอ่ี งคท์ า่ นได้เคยเมตตาสง่ั สอนลกู ศิษย์ไว้วา่
“ใหห้ มน่ั ทำ� ความดเี อาไวเ้ รอื่ ยๆ เปน็ นสิ ยั เมอื่ ถงึ วนั สดุ ทา้ ยของชวี ติ เรากจ็ ะไมก่ ลวั ตาย เพราะเรารแู้ ลว้ วา่
เมื่อตายแล้วเราจะไปอยู่ทีไ่ หน เพราะฉะน้นั ไมต่ อ้ งกลัวตาย”
69
สรรี สงั ขารของหลวงพ่อสุดใจไดต้ ้งั บ�ำเพญ็ กศุ ลอยทู่ ีศ่ าลาใหญ่วดั ป่าบา้ นตาด และมตขิ องคณะสงฆ์
ได้ก�ำหนดวนั พระราชทานเพลิงสรรี สงั ขาร ในวนั ที่ ๒๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๓
70
หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน
วัดป่าบา้ นตาด จ.อดุ รธานี
งานพระราชทานเพลงิ สรีรสงั ขาร
หลวงพอ่ สดุ ใจ ทนฺตมโน
วันที่ ๒๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ เวลา ๑๕.๓๐ น. สมเด็จพระเจา้ นอ้ งนางเธอ เจา้ ฟ้าจุฬาภรณ-
วลยั ลกั ษณ์ อคั รราชกมุ ารี กรมพระศรสี วางควฒั น วรขตั ยิ ราชนารี โปรดใหน้ ายชวชั อรรถยกุ ติ รองประธาน
สถาบนั วจิ ยั จฬุ าภรณ์ ฝา่ ยวเิ ทศสมั พนั ธ์ เปน็ ผแู้ ทนพระองคใ์ นพธิ พี ระราชทานเพลงิ สรรี สงั ขารศพ หลวงพอ่
สดุ ใจ ทนตฺ มโน อดีตเจา้ อาวาสวัดเกษรศีลคุณ (วัดป่าบา้ นตาด) อ.เมอื ง จ.อดุ รธานี ณ วัดเกษรศลี คณุ
ในการนน้ี ายชวชั อรรถยกุ ติ ผแู้ ทนพระองค์ ขน้ึ ยงั จติ กาธาน ทอดผา้ ไตรพระราชทาน สมเดจ็ พระเจา้ -
นอ้ งนางเธอ เจา้ ฟา้ จฬุ าภรณวลยั ลกั ษณ์ อคั รราชกมุ ารี กรมพระศรสี วางควฒั น วรขตั ยิ ราชนารี จำ� นวน ๕ ไตร
ถวายพระเถระผใู้ หญ่ ประกอบดว้ ย พระเทพสารเมธี รกั ษาการเจา้ คณะภาค ๘ ประธานฝา่ ยสงฆ,์ พระราช-
รตั นาลงกรณ์ วดั โพธชิ์ ยั จ.หนองคาย, พระราชวสิ ทุ ธมิ ณุ ี วดั เขาศาลาอตลุ ฐานะจาโร จ.สรุ นิ ทร,์ พระราชโกศล
วดั โพธิสมภรณ์ จ.อุดรธานี และพระโสภณพุทธิธาดา วัดศรนี คราราม จ.อดุ รธานี
71
พธิ ีพระราชทานเพลิงสรรี สงั ขารหลวงพอ่ สดุ ใจ ทนตฺ มโน
72
หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน
วดั ป่าบา้ นตาด จ.อดุ รธานี
ครบู าอาจารยท์ ่มี ารว่ มงานพธิ พี ระราชทานเพลงิ สรรี สงั ขารหลวงพอ่ สดุ ใจ ทนฺตมโน
73
หลวงปูบ่ ุญมา คมภฺ รี ธมฺโม หลวงป่อู นิ ตอง สุภวโร
หลวงปู่เสถยี ร คณุ วโร หลวงปสู่ วาท ปญฺาธโร
หลวงพอ่ อนิ ทร์ถวาย สนตฺ ุสฺสโก หลวงปไู่ ม อินทฺ สิริ
74
หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน
วัดป่าบ้านตาด จ.อุดรธานี
หลวงปคู่ ลาด ครธุ มฺโม หลวงพ่อเติมศกั ดิ์ ยตุ ตฺ ธมฺโม หลวงพอ่ บญุ ทัน ติ สีโล
หลวงตาสมหมาย อตตฺ มโน หลวงพ่อสชุ นิ ปรปิ ณุ ฺโณ หลวงปบู่ ุญหลน่ั กนโฺ ตภาโส
หลวงพอ่ บุญมี ธมมฺ รโต หลวงพอ่ นพิ นธ์ อภิปสนฺโน หลวงพ่อมานะ เทวธมโฺ ม
75
76
หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน
วดั ปา่ บา้ นตาด จ.อดุ รธานี
หลวงพอ่ สธุ รรม สุธมฺโม
แสดงธรรมเน่ืองในงานบ�ำเพญ็ กศุ ลสรรี สงั ขารหลวงพอ่ สดุ ใจ ทนฺตมโน
ในคืนวันที่ ๒๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๓
(ทา้ ยเทศน์).....เพราะฉะน้นั ปัญญานแ้ี ล จะเปน็ เครอื่ งมือกรยุ ทางแผว้ ถางทางใหพ้ วกเราเดนิ ไปได้
เดนิ ไปสจู่ ดุ หมายปลายทางถงึ ซง่ึ ความพน้ ทกุ ขไ์ ด้ เพราะฉะนน้ั พระอาจารยส์ ดุ ใจนน้ั หรอื ครบู าอาจารยท์ กุ ทา่ น
ทุกองค์ ผู้มีศิษยานุศิษย์ ล้วนแต่ปรารถนาให้ศิษยานุศิษย์ของตนเองมุ่งเน้นมุ่งม่ันต่อข้อปฏิบัติให้
หนกั แน่นมัน่ คงอยู่ในศีล สมาธิ ปัญญา ถา้ พวกเราทา่ นทั้งหลายมีแสดงออกถึงความกตญั ญูกตเวทีทม่ี ี
ต่อท่านพระอาจารย์สดุ ใจแล้ว พวกเรากค็ วรทจ่ี ะนอ้ มน�ำเอาปฏปิ ทาทัง้ หลายทท่ี ่านไดป้ ระพฤตปิ ฏิบัตมิ า
และเปน็ แบบอยา่ งแบบฉบบั ใหพ้ วกเราไดเ้ หน็ หรอื ไดย้ นิ ไดฟ้ งั มา นอ้ มนำ� มาประพฤตปิ ฏบิ ตั เิ พอื่ แสดงตวั ของ
ตนเองวา่ เราเป็นศิษยม์ ีครู ทา่ นเป็นครูของเราได้อย่างแท้จริง เราจะเดินไปตามรอยของครูอยา่ งมัน่ คง
ไมห่ วน่ั ไหวเอนเอยี งไปกบั สงิ่ ทม่ี ายวั่ ยหุ รอื แยกแยะหรอื ชกั จงู ใหเ้ ราออกนอกลนู่ อกทาง ออกไปจากเสน้ ทาง
ของขอ้ ปฏิบตั ทิ ั้งหลายเหล่านี้ เราจะมคี วามหนกั แนน่ มัน่ คงอยู่ในศลี สมาธิ ปัญญา อยู่ในปฏปิ ทาของ
ครบู าอาจารย์ เมอื่ เรามคี วามหนกั แนน่ มนั่ คงอยอู่ ยา่ งนแี้ ลว้ นแ่ี ลเปน็ การแสดงออกถงึ ความกตญั ญกู ตเวที
ต่อครูบาอาจารยไ์ ด้อยา่ งแทจ้ ริง
และการอบรมจติ ใจของพวกเรานเ่ี องทจ่ี ะนำ� พาสขุ มาสตู่ วั ของเราไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ ดงั เชน่ พระพทุ ธเจา้
ได้ทรงกลา่ วในภาษติ วา่ “จิตตฺ ํ ทนฺตํ สุขาวหํ” จิตทีอ่ บรมดแี ลว้ ยอ่ มน�ำสขุ มาสู่ตน เพราะฉะนัน้ จติ ทีน่ �ำ
ทกุ ขม์ าสตู่ นนน้ั กเ็ พราะจติ นนั้ ไมไ่ ดร้ บั การอบรมดว้ ยอรรถดว้ ยธรรมนน่ั เอง เพราะฉะนนั้ เมอ่ื จติ ทไ่ี ดอ้ บรม
ดว้ ยอรรถดว้ ยธรรมนนั้ จงึ เปน็ จติ ทจ่ี ะนำ� สขุ มาสชู่ วี ติ ของพวกเราไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ และเมอ่ื ชวี ติ ของพวกเรา
เราไดอ้ บรมดว้ ยอรรถดว้ ยธรรมแลว้ ความเปน็ ผมู้ อี รรถมธี รรมนแ่ี หละจะเปน็ บคุ คลผสู้ รา้ งแกน่ สารสาระ
ประโยชน์ข้ึนมาแก่ตัวของตัวเองและตอ่ สังคมไดอ้ ยา่ งประเสรฐิ ท่ีสดุ
ดังท่ีเราเห็นชัดเจนว่า ทา่ นพระอาจารยส์ ดุ ใจน้นั เมอ่ื ทา่ นได้บวชข้ึนมา มาอยกู่ ับครูบาอาจารย์
ท่านพยายามพากเพียรศึกษาในข้อปฏิบัติจากครูบาอาจารย์ ถอดแบบถอดปฏิปทามาจากครูบาอาจารย์
มุ่งเน้นลงไปในการอบรม ในการประพฤติปฏิบัติ จนกระทั่งท่านมีหลักจิตหลักใจพอเพียงต่อตัวของ
ตวั เองแลว้ สามารถทจ่ี ะสรา้ งประโยชนใ์ หแ้ กส่ งั คมภายนอก ทา่ นกพ็ ากเพยี รไมไ่ ดน้ อนใจ ทา่ นพยายามทจ่ี ะ
สรา้ งประโยชนแ์ กน่ สารสาระใหแ้ กส่ งั คมอยา่ งแทจ้ รงิ ดงั เชน่ เราเหน็ ผลงานของทา่ นวา่ ธรรมะขององค์
หลวงตาทท่ี า่ นไดแ้ สดงเปน็ ธรรมเทศนามากมายกา่ ยกอง ลว้ นแตม่ ที า่ นพระอาจารยส์ ดุ ใจถอดออกมาเปน็
77
ตวั หนงั สอื มาเป็นหนังสอื มากมายก่ายกอง ใหพ้ วกเราท่านทงั้ หลายได้อ่านได้ศึกษา กระจายไปท่ัวทกุ หน
ทกุ แห่ง เปน็ ประโยชนต์ อ่ สงั คมชาวพุทธ ต่อนักปฏบิ ตั ิไปท่วั ทุกหนทกุ แหง่ หรอื ท่ัวโลกก็วา่ ได้ นี่แลเป็น
ส่ิงที่ท่านพระอาจารย์สุดใจได้สร้างประโยชน์ให้เกิดขึ้นมาต่อตนเองและต่อสังคมอย่างย่ิง เพราะฉะน้ัน
พระอาจารยส์ ดุ ใจนนั้ จงึ เปน็ บคุ คลผสู้ มบรู ณอ์ ยใู่ นอรรถในธรรมของพระพทุ ธเจา้ ไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ ดงั เชน่
พระพทุ ธเจา้ ไดท้ รงแสดงธรรมไวใ้ นปจั ฉมิ โอวาทเตอื นสาวกทง้ั หลายวา่ “วะยะธมั มา สงั ขารา อปั ปะมาเทนะ
สมั ปาเทถะ” ทา่ นบอกวา่ “สงั ขารทงั้ หลายมคี วามเสอื่ มสนิ้ ไปเปน็ ธรรมดา ทา่ นทงั้ หลายจงยงั ประโยชนต์ น
และประโยชนท์ า่ นใหถ้ งึ พรอ้ มดว้ ยความไมป่ ระมาทเถดิ ” นแ่ี ลเปน็ ปจั ฉมิ โอวาททพี่ ระพทุ ธเจา้ ไดท้ รงแสดง
ไวใ้ นครงั้ สดุ ทา้ ยกอ่ นทพ่ี ระองคจ์ ะปรนิ พิ พานไป เพราะฉะนนั้ บคุ คลผทู้ ม่ี คี ณุ คา่ อยา่ งแทจ้ รงิ นนั้ กค็ อื บคุ คล
ผทู้ ่ีสรา้ งประโยชน์แกน่ สารสาระขึ้นมาแก่ตนเองและตอ่ สังคมทัว่ ไปได้อยา่ งไมป่ ระมาท ไม่นอนใจ
ทา่ นพระอาจารยส์ ดุ ใจนนั้ จงึ เปน็ บคุ คลผสู้ มบรู ณอ์ ยใู่ นปจั ฉมิ โอวาทของพระพทุ ธเจา้ ไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ
เพราะทา่ นไมไ่ ดน้ อนใจในความเปน็ อยขู่ องทา่ นเลยวา่ ชวี ติ ของทา่ นจะอยไู่ ดย้ าวนานขนาดไหน แตท่ า่ นทราบ
ชดั เจนวา่ สงั ขารทง้ั หลายมคี วามเสอ่ื มสน้ิ ไปเปน็ ธรรมดา แมว้ นั นยี้ งั ไมถ่ งึ วนั สดุ ทา้ ย แตอ่ าจจะถงึ วนั สดุ ทา้ ย
ในวนั ขา้ งหนา้ ในวนั พรงุ่ น้ี หรอื นาทขี า้ งหนา้ ชว่ั โมงขา้ งหนา้ กไ็ ด้ เพราะฉะนนั้ ทา่ นจงึ เปน็ บคุ คลผไู้ มป่ ระมาท
ไมน่ อนใจ รีบเรง่ ขวนขวายในการสร้างประโยชน์ตนและประโยชน์ท่านอยา่ งแท้จริง
เพราะฉะนนั้ พวกเราทา่ นทงั้ หลาย เมอ่ื เราไดค้ รบู าอาจารยม์ าเปน็ แบบฉบบั แลว้ เรากค็ วรทจ่ี ะถอด
แบบของครบู าอาจารยเ์ อาน�ำไปประพฤติปฏิบัติ พวกเราก็จะเปน็ บคุ คลผูม้ คี ุณคา่ ได้อยา่ งแทจ้ รงิ เพราะ
บุคคลผู้มีคุณค่าไม่ใช่เพียงแค่ได้อัตภาพในความเกิดมาเป็นมนุษย์เท่าน้ัน แต่บุคคลผู้จะมีคุณค่าได้อย่าง
แทจ้ รงิ นนั้ กเ็ พราะการไดน้ ำ� อตั ภาพในความเปน็ มนษุ ยข์ องตนนน้ั แล มาสรา้ งประโยชนใ์ หเ้ กดิ ขน้ึ ใหก้ บั ตนเอง
และประโยชนต์ ่อสงั คมนน้ั แล จงึ เปน็ เครอ่ื งชถี้ ึงความเป็นบคุ คลผ้มู คี ณุ ค่าอันแทจ้ ริง
เพราะฉะนน้ั เราทา่ นทง้ั หลาย เมอ่ื เราเปน็ บคุ คลผมู้ คี รมู อี าจารย์ เรากค็ วรทจี่ ะเดนิ ตามรอยของครบู า-
อาจารย์ เรากจ็ ะเปน็ บคุ คลผมู้ คี ณุ คา่ ดงั เชน่ ครบู าอาจารยไ์ ดอ้ ยา่ งสมบรู ณอ์ ยา่ งแทจ้ รงิ ไมเ่ ปน็ ทส่ี งสยั เลย
เพราะฉะนนั้ ในวนั นที้ พ่ี วกเราไดม้ าปรารภถงึ การละสงั ขารของทา่ นพระอาจารยส์ ดุ ใจ ซง่ึ เปน็ เรอ่ื งที่
เหนอื ความคาดหมายหรอื ยงั ไมท่ นั ตงั้ ตวั ของพวกเรา แตก่ เ็ ปน็ ธรรมดา หรอื เปน็ สงิ่ ทรี่ ทู้ ราบดอี ยแู่ ลว้ ตาม
หลกั ธรรมวา่ สงั ขารทงั้ หลายมคี วามเสอ่ื มสนิ้ ไปเปน็ ธรรมดา เพราะโลกอนจิ จงั เมอื่ มอี บุ ตั เิ กดิ ขนึ้ มาแลว้
กม็ คี วามแตกดบั แตแ่ มค้ วามแตกดบั จะมาเยอื นทา่ น จะมาในสภาพฐานะใดกต็ าม เมอื่ ทา่ นไดส้ รา้ งคณุ งาม
ความดีไว้ ดังเช่นที่ท่านพูดอยู่เสมอ ท่านแสดงต่อศิษยานุศิษย์อยู่เสมอว่า “ให้หมั่นท�ำความดีอยู่เป็น
เนอื งนิตย์ เมื่อเราท�ำความดีอยู่เป็นเนอื งนติ ยแ์ ล้ว เรากไ็ มก่ ลัวความตาย เพราะเราทราบดอี ยู่แล้ววา่
ขา้ งหนา้ เราจะไปทใ่ี ด”
78
หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน
วัดป่าบา้ นตาด จ.อุดรธานี
เพราะฉะนนั้ พระอาจารยส์ ดุ ใจนน้ั ทา่ นเปน็ บคุ คลผไู้ ดส้ รา้ งความดมี าอยา่ งสมบรู ณแ์ ลว้ แมค้ วามตายนน้ั
จะมาถงึ ทา่ นในอริ ยิ าบถใด ในสภาพฐานะกริ ยิ าใด อาการใดกต็ าม มนั กเ็ ปน็ เพยี งแคก่ ริ ยิ า แตก่ เ็ สมอกนั ท่ี
ความตาย
ความตายนั้นจะตายด้วยกริ ยิ าอาการใดกต็ าม ไม่สามารถแปรเปลีย่ นคนดใี หก้ ลายเป็นคนเลวได้
หรอื ไมส่ ามารถแปรเปลย่ี นคนเลวให้เปน็ คนดีได้ คนดจี ะตายในสภาพใดก็ตาม ก็ยงั เป็นคนดอี ย่ตู ราบนน้ั
คนเลวจะตายอยใู่ นสภาพใด กย็ ังเปน็ คนเลวอยตู่ ราบนั้น เปรยี บประดุจเหมอื นเศรษฐี เมือ่ เขาอยู่ในบ้าน
เขาเปน็ เศรษฐอี ยูใ่ นบ้าน เขาเดินออกจากบา้ นในเวลาใดขณะใด เขาก็ยงั เปน็ เศรษฐอี ยู่ ก็ไม่ใช่ว่าเศรษฐี
เดินออกจากบ้านแลว้ จะเปน็ คนทุกข์คนจนไปได้ เป็นไปไมไ่ ด้ เศรษฐีเดนิ ออกจากบา้ น เขากเ็ ป็นเศรษฐี
คนจนอยใู่ นบา้ นเปน็ คนจน เขาเดนิ ออกจากบา้ น เขากเ็ ปน็ คนจน ไมใ่ ชว่ า่ คนจนเดนิ ออกจากบา้ นแลว้ จะเปน็
เศรษฐี ก็เป็นไปไม่ได้ เพราะฉะนั้นความตายน้ีก็เช่นเดียวกัน ความตายน้ันไม่สามารถแปรเปล่ียนคนดี
ใหเ้ ปน็ คนเลวได้ หรอื คนเลวใหเ้ ปน็ คนดไี ด้ เปน็ คนดจี ะตายอยอู่ ริ ยิ าบถใด กริ ยิ าใดกต็ าม กย็ งั เปน็ คนดอี ยู่
ตราบนัน้
เพราะฉะนนั้ พระอาจารยส์ ดุ ใจทา่ นจะละขนั ธใ์ นสภาพใดกต็ าม กล็ ะขนั ธใ์ นสภาพของคนดอี ยนู่ นั้ เอง
ความดีของท่านทีท่ ่านได้ประพฤตปิ ฏิบัตแิ ละได้สรา้ งประโยชน์ข้นึ มาต่อพวกเราชาวพทุ ธทว่ั ไปนั้น จะเป็น
อานุภาพนำ� พาท่านไปสคู่ วามพ้นทุกขถ์ ึงทีส่ ุดได้อยา่ งแทจ้ ริงอย่างไม่เป็นที่สงสยั ….
79
ประมวลภาพอัฐิธาตุและตูบ้ ริขาร
หลวงพอ่ สดุ ใจ ทนฺตมโน
80
หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน
วดั ป่าบ้านตาด จ.อดุ รธานี
ทนั ตธาตุ เกสา อฐั ธิ าตุ
เกสาหลวงพ่อสุดใจ
ซ่งึ ปลงทโี่ รงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
เมือ่ วนั ที่ ๓ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๒
ได้แปรจากเสน้ ผมเปน็ ผงสดี ำ�
81
82
หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน
วดั ป่าบา้ นตาด จ.อุดรธานี
รายการสงเคราะห์เป็นการสาธารณประโยชน์
โดยจัดสรรจากเงินบรจิ าคในงานพระราชทานเพลิงสรรี สังขารหลวงพอ่ สุดใจ ทนฺตมโน
๑. ถวายพระสงฆแ์ ละคา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั งานพระราชทานเพลงิ ศพ หลวงพอ่ สดุ ใจ ทนตฺ มโน จำ� นวน
๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท
๒. พิพธิ ภณั ฑ์ธรรมเจดีย์ จำ� นวน ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท
๓. มลู นธิ เิ สยี งธรรมเพื่อประชาชนในพระอุปถัมภฯ์ จ�ำนวน ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท
๔. ธนาคารแห่งประเทศไทย คลังหลวง (ทุนส�ำรองเงนิ ตรา) จ�ำนวน ๒,๕๐๐,๐๐๐ บาท
๕. โรงพยาบาลศริ ริ าช โควิด-๑๙ จ�ำนวน ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท
๖. โรงพยาบาลศรีนครนิ ทร์ ขอนแกน่ จ�ำนวน ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท
๗. โรงพยาบาลศนู ยอ์ ุดรธานี รถพยาบาล จำ� นวน ๒,๕๐๐,๐๐๐ บาท
๘. โรงพยาบาลกองบิน ๒๓ รถพยาบาล จำ� นวน ๒,๕๐๐,๐๐๐ บาท
๙. โรงเรียนบ้านตาด รถ ๖ ลอ้ รบั นักเรยี น จำ� นวน ๑,๗๖๐,๐๐๐ บาท
๑๐. ปรับปรงุ ระบบไฟฟา้ วัดป่าบา้ นตาด จ�ำนวน ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท
รวมทัง้ ส้นิ ๒๐,๒๖๐,๐๐๐ บาท
ท้ังนเี้ พอื่ บชู าคณุ ความดอี ย่างไม่มปี ระมาณของหลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน
83
84
หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน
วดั ปา่ บา้ นตาด จ.อุดรธานี
ผู้ รั ก ษ า ม ร ด ก ธ ร ร ม
องคห์ ลวงตา
หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน
85
กุฏหิ ลวงพอ่ สดุ ใจ ทนตฺ มโน (ก่อนไฟไหม)้
86
หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน
วัดป่าบา้ นตาด จ.อุดรธานี
“กฏุ เิ จ้าอาวาสวัดป่ าบา้ นตาด”
กุฏนิ ้เี ปน็ ทงั้ ท่ีพักจ�ำวัดและทีท่ ำ� งานของพระอาจารย์สดุ ใจ ทนฺตมโน เจ้าอาวาสองคป์ จั จบุ ันของ
วัดป่าบ้านตาด ผู้ซ่ึงหลวงตามหาบวั าณสมฺปนโฺ น ไว้วางใจมาก
และ ณ ทนี่ เ้ี อง ทเ่ี ปน็ เบอื้ งหลงั การผลติ สอื่ ธรรมะทม่ี คี ณุ ปู การอยา่ งมาก ไมว่ า่ พระธรรมเทศนาของ
หลวงตามหาบวั ในยคุ ตน้ ๆ และการบนั ทกึ เสยี งอา่ นหนงั สอื ธรรมะทส่ี ำ� คญั ๆ เชน่ ประวตั ทิ า่ นพระอาจารย์
มนั่ ภรู ทิ ตั ตฺ เถร ปฏิปทาพระกรรมฐานสายท่านพระอาจารย์มนั่ และพระอานนท์พทุ ธอนุชา (ผลงานของ
อาจารยว์ ศนิ อินทสระ) เป็นต้น ซง่ึ แพร่หลายออกไปอยา่ งกวา้ งขวางและเกดิ ประโยชน์อย่างมากมาย
วัดใหญ่โตและมีบทบาทส�ำคัญอย่างวัดป่าบ้านตาด คงมีน้อยคนนักที่จะรู้ว่ากุฏิเจ้าอาวาสเล็ก
เพยี งเทา่ น้ี แถมยังเปน็ ทที่ �ำงานเสียมากกวา่ จะเป็นทพี่ ักผ่อนหาความสขุ ความสบายสว่ นตวั
พระอาจารยส์ ุดใจทา่ นสมกบั เปน็ พระสมณศากยบตุ ร ผอู้ ทุ ิศตนเพื่อพระศาสนาโดยแท้
“พอ”
87
หนงั สอื “หลักของใจ” จดั พมิ พ์คร้งั แรกเดอื นสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๓
88
หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน
วดั ป่าบา้ นตาด จ.อุดรธานี
ผูร้ ักษามรดกธรรมองคห์ ลวงตา
นอกจากการถอดกัณฑ์เทศน์ขององค์หลวงตาเพ่ือจัดพิมพ์เป็นหนังสือ ทั้งเทศน์อบรมพระและ
ฆราวาสแลว้ หลวงพอ่ ยงั เคยเรยี บเรยี งหนงั สอื ไวอ้ กี เลม่ หนงึ่ ชอื่ หนงั สอื วา่ “หลกั ของใจ” ซง่ึ จดั พมิ พเ์ มอื่
เดอื นสงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๓๓ เปน็ หนงั สอื ทอ่ี งคท์ า่ นไดค้ ดั เลอื กกณั ฑเ์ ทศนข์ ององคห์ ลวงตามหาบวั าณสมปฺ นโฺ น
มาเรยี บเรยี ง ทำ� ให้ผู้อา่ นเกิดแรงบนั ดาลใจและมกี �ำลงั ใจทีจ่ ะประกอบความพากเพียรเพอ่ื ต่อสกู้ ับกิเลส
หนงั สอื เล่มนไี้ ด้รบั ความสนใจเป็นอย่างมากในสมยั น้นั มาจนถงึ ปัจจบุ ัน
นอกจากเรอ่ื งหนงั สอื แลว้ หลวงพอ่ ตอ้ งการทจี่ ะโปรดโยมแมข่ องทา่ นซงึ่ อา่ นหนงั สอื ไมอ่ อก ใหไ้ ด้
รบั ฟงั อรรถธรรม องคท์ า่ นจงึ ไดอ้ า่ นพระธรรมบทของอาจารยว์ ศนิ อนิ ทสระ (จำ� นวน ๓๐๑ ตอน) บนั ทกึ
เสียงลงในเทปคาสเซ็ท และสง่ ไปให้โยมแมท่ ่ีบ้านฟัง องคท์ ่านเล่าว่าไมไ่ ดค้ ิดวา่ จะไดร้ บั ความสนใจอยา่ ง
แพร่หลายในเวลาต่อมา ตอนท่ีบันทึกเสียงก็ไม่ได้ใช้เคร่ืองมือทันสมัยอะไร ใช้เพียงเคร่ืองบันทึกเสียง
ธรรมดาๆ จงึ ท�ำให้มเี สียงนก เสียงไก่ เสยี งธรรมชาติรอบๆ บรเิ วณนน้ั แทรกเข้ามาด้วย เพราะตั้งใจวา่
จะอา่ นใหโ้ ยมแมฟ่ งั คนเดยี ว ซงึ่ เสยี งอา่ นพระธรรมบทของหลวงพอ่ ไดก้ อ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ กผ่ ไู้ ดย้ นิ ไดฟ้ งั
อย่างกว้างขวาง ดว้ ยเหตุมาจากโยมแมเ่ ลยทเี ดยี ว
89
ในภายหลังองค์ท่านยังได้อา่ นและบันทึกเสยี งไว้อีกหลายเร่ืองดังน้ี
- ประวัตทิ ่านพระอาจารย์ม่ัน ภรู ิทัตตะเถระ
- ปฏปิ ทาพระธุดงคกรรมฐาน สายทา่ นพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต
- ประวตั หิ ลวงปขู่ าว อนาลโย
- อนั ชนกชนนนี ้ีรกั เจา้ เทยี บเทา่ ชีวาก็ว่าได้
- พทุ ธโอวาทก่อนปรินพิ พาน
- หลักกรรมและการเวียนว่ายตายเกิด
- ใต้ร่มกาสาวพสั ตร์
- ความมหศั จรรยแ์ ห่งอุโบสถศีล
- พระอนาคตวงศ์
- ลีลาวดี
- โอวาทสขี่ องทา่ นเหลีย่ วฝา่ น
- อริยสจั
- หนี้ชีวิต
ฯลฯ
90
หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน
วัดปา่ บ้านตาด จ.อดุ รธานี
ในชว่ งทธี่ าตขุ นั ธห์ ลวงพอ่ ยงั แขง็ แรง ไมม่ อี าพาธรบกวน องคท์ า่ นไดม้ สี ว่ นสำ� คญั ในการเผยแผธ่ รรมะ
ทกุ ขน้ั ทกุ ภมู แิ หง่ ธรรมขององคห์ ลวงตา และธรรมะอนื่ ๆ ทอี่ งคท์ า่ นนำ� มาอา่ นบนั ทกึ เสยี งไว้ เพอ่ื ประโยชนแ์ ก่
ผสู้ นใจใครใ่ นธรรมจะไดน้ ำ� ไปศกึ ษาและปฏบิ ตั ติ ามกำ� ลงั ความสามารถของตน จนเกดิ ผลประจกั ษด์ ว้ ยตวั เอง
เปน็ มรดกธรรมทีห่ ลวงพอ่ ฝากเอาไว้
91
บนั ทึกจากลายมอื ของหลวงพอ่
92
หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน
วดั ป่าบ้านตาด จ.อุดรธานี
ท�ำรา้ ยผู้ไมท่ �ำร้ายตอบย่อมถึงฐานะ ๑๐
ดว้ ยเหตุนีพ้ ระมุนีศรสี รรเพ็ชญ์
จงึ ทรงเทศนามาใหเ้ หน็
เร่อื งผลกรรมทำ� ไม่ดมี อี นั เปน็
ตามกฎเกณฑส์ บิ ประการท่านว่ามา
ผูค้ ิดร้ายตอ่ ใครท่ีไม่คดิ
ประทษุ ฐจ์ ติ ต่อตวั ช่วั หนกั หนา
ยอ่ มจกั พงึ ถงึ เหตเุ วทนา
อันแรงกล้าชอกช้ำ� ระกำ� ใจ
ถึงความเส่อื มผสมใสไ่ ม่ผิดแผก
ถึงความแตกแหง่ สรรี ท์ า่ นชี้ไข
จักเจบ็ ไขไ้ ดป้ ระสบพบทกุ ข์ภัย
จติ นัน้ ไซร้ฟ้งุ ซา่ นปานบา้ บอ
อนง่ึ พระราชะจะกร้วิ โกรธ
จักถูกโทษกล่าวตู่ร้ไู ว้หนอ
พวกญาติวงศพ์ งศ์เผา่ ท้งั เหล่ากอ
ไม่ตดิ ต่อชว่ ยเหลอื เป็นเยือ่ ใย
โภคทรัพย์ยับย่อยพลอยเหลวแหลก
เคราะหจ์ ะแทรกซึมซ้�ำเหมือนน�ำ้ ไหล
ทงั้ จะถึงทรยคุ เรือนถกู ไฟ
ตายแล้วไปส่แู ควน้ แดนโลกนั ต์
93
พราหมณจ์ ึงเรียกภรรยาใหม้ ายล ที่มณฑลพุทธบาทศาสดา
พราหมณีมคี วามรดู้ ูรอยบาท พิเคราะหค์ าดครวญใครไ่ ม่กงั ขา
ครน้ั ไดแ้ ลแน่ใจไมผ่ ดิ ตา ออกวาจาแถลงให้แจ้งใจ
อันรอยเท้าเชน่ นี้มลี กั ษณะ ผ้สู ละโลกียวิสยั
ไมเ่ ก่ียวขอ้ งครองคกู่ ับผู้ใด ไม่เสพในกามคุณเมถนุ ธรรม
อนั รอยเท้าเจ้าราคะจะกระหย่ง คนทีค่ งโทสะจะเหยียบย่�ำ
น้ำ� หนักอยู่สน้ เท้าเราควรจำ� คนท่กี ำ� โมหะจะหนักปลาย
คนท่ีปราศราคะละกเิ ลส พึงสงั เกตรุ อยนเ้ี ปน็ ท่ีหมาย
ไม่มีผิดมีพลาดข้าอาจทาย เหน็ ไดง้ า่ ยแก่ตาว่ารอยนี้
ฝ่ายพราหมณ์ผัวหวั เสยี ฟงั เมยี บอก แกตะคอกขู่ว่าน่าบัดสี
เหมือนจระเขใ้ นตมุ่ กลุ้มสน้ิ ด ี หรือโจรใี นเรือนกเ็ หมอื นกัน
เราสลัดตดั พรากจากเมถนุ ไม่พอกพูนกามกจิ คิดลว่ งข้าม
นางตัณหาอรดีทีว่ ่างาม ทั้งนงรามราคาหนา้ นวลใย
เรายงั ไมห่ ลงเลห่ เ์ สน่หา ไม่เหน็ ว่ามดี ที ่ตี รงไหน
ธิดาท่านนั้นหนาอยา่ วา่ ไร ไม่ท�ำใจของฉนั ส่นั สะเทอื น
เต็มไปดว้ ยของบดู มูตรและกรีส ใยจะคดิ ตดิ ใจให้เปรอะเป้อื น
ใจเรานแี้ น่วแน่ไม่แชเชอื น ไม่เขยอ้ื นขยบั รบั รู้ไว้
เราไม่อยากถูกตอ้ งของบูดเนา่ แม้แต่เทา้ ก็ไมค่ ิดสะกิดได้
จงจดจ�ำค�ำเราเข้าใส่ใจ เปน็ ทางให้พ้นกิเลสเดชของมาร
เหตฉุ ะนีพ้ ุทธภควา จึงตรัสว่าความรกั สมคั รใจ
เกิดด้วยเหตสุ องประการทา่ นแถลง บอกให้แจ้งเร่ืองจิตพสิ มัย
คอื เคยอยู่ร่วมกนั แตบ่ รรพไกล ท้งั ยังได้เอ้อื เฟอื เจือจนุ กนั
ในสมัยปจั จุบนั นนั้ อกี หน่ึง เปรียบดงั ซ่งึ อบุ ลในชลขัณฑ์
อาศยั น�้ำและเปอื กตมผสมพนั ธ ์ จึงชชู ันในดอกออกมากมี
94
หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน
วัดป่าบ้านตาด จ.อุดรธานี
อธิกรณเ์ กิดที่ไหนไมส่ งบ ไมค่ วรหลบลับหนา้ ล่าหลกี หนี
ใหส้ งบเสียก่อนจรจงึ ด ี ในพวกน้ีใครเล่าเขาดา่ ทอ
คำ� ลว่ งเกนิ ท้งั หมดต้องอดกลั้น ถา้ ไหวหวั่นมนั มักจะกลา้ หนอ
เหมือนชา้ งศึกฝกึ สู้รู้กระทำ� ลกู ศรต�ำทิม่ แทงแข็งอดทน
ไมถ่ อยหลงั ประดงั หน้าหาขา้ ศึก เพราะได้ฝกึ ไวด้ จี งึ มผี ล
คนส่วนมากยากฝกึ สำ� นึกตน เพราะเป็นคนทุศลี จนชนิ ชา
95
96
หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน
วดั ปา่ บ้านตาด จ.อดุ รธานี
ราชบรุ ษุ ย่อมหาพาหนะ ฝกึ จนละดรุ า้ ยไม่ขายหนา้
เม่ือปรากฏในที่มีบรรดา ชนเขา้ มาชมุ นมุ ประชมุ กนั
พาหนะพระราชาชา้ งมา้ ตน้ ย่อมฝกึ ฝนนิสสยั ใหแ้ ข็งขัน
รบู้ อกเดนิ บอกหยดุ จุดส�ำคญั ฝึกจนมันรฟู้ งั ค�ำสั่งคน
ถา้ มนษุ ยอ์ ดกล้ันไมห่ วัน่ หวาด บริภาษด่าทอไมย่ ่อย่น
ไดช้ อื่ วา่ ฝกึ ใจใหอ้ ดทน จดั เป็นชนประเสรฐิ เลศิ วไิ ล
อศั ดรอาชาไนยทั้งสินธพ หากได้อบรมหดั ดัดนสิ ัย
ย่อมประเสริฐเลศิ ล้นเป็นพน้ ไป ช้างแม้ได้ฝึกฝนจนช�ำนาญ
นบั เป็นสัตวจ์ ดั ว่าดเี ปน็ ทส่ี ดุ แต่มนุษย์ฝกึ ตนจนพน้ ผ่าน
จากความชว่ั ท่ัวไปไม่เป็นพาล บริหารกายใจใหง้ ดงาม
ย่อมประเสรฐิ เลศิ กว่าบรรดาสตั ว์ ทไ่ี ดห้ ดั ฝกึ ฝนคนไมห่ ยาม
จงจดจ�ำใสใ่ จใครค่ รวญความ พยายามฝกึ หัดจดั เปน็ คุณ
อันบาปกรรมจำ� ไวห้ นาอย่าดูหมิน่
มันไมส่ น้ิ ง่ายๆ คลา้ ยกับหนาม
ถึงเลก็ นอ้ ยหน่อยนิดคดิ ใหง้ าม
พยายามอย่าตอ่ เปน็ ขอ้ ควร
อนั วา่ สตั ว์เดรัจฉานการสตั ย์ซื่อ
มันนับถือผมู้ คี ณุ มนญุ หมาย
ไมท่ รยศคดคดิ จติ ทำ� ลาย
ผเู้ ปน็ นายเลย้ี งดูรบู้ ญุ คณุ
สว่ นบรรดามนุษยไ์ มย่ ดุ สัตย์
ลิ้นสะบดั ปลนิ้ ปลอ้ นคอ่ นจะวุ่น
ใจกับปากยากจะตรงพางงงุน
คอยพอกพนู ความชว่ั กล้ัวราคี
97
ขอ้ ธรรมของหลวงพอ่
นานมากแล้ว หลวงพอ่ สดุ ใจ ทนตฺ มโน
มีเมตตาส่งข้อมูลอันเป็นประโยชน์ย่ิงต่อชน
ทง้ั ปวงมาให้ ขอ้ มลู ทท่ี า่ นกรณุ าคน้ ควา้ รวบรวม
มาน้ี มีคุณค่ามิใช่ต่อใจของชาววัด หากเป็น
ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ซึ่งบ่งบอกถึงที่มาที่ไป
ของพิธีธรรมที่คนรุ่นหลังปฏิบัติสืบทอดกันมา
การทอดผา้ ปา่ กด็ ี กฐนิ กด็ ี เราคดิ กนั แตว่ า่ ทำ� กนั
เพื่อบญุ กุศล แตม่ กั ไม่รู้วา่ มที ่ีมาทีไ่ ปอยา่ งไร
หลายสิบปีมาแล้ว ข้อมลู ที่สง่ มาเกบ็ ไว้
ในแฟม้ ใตห้ ้ิงพระ ต่อมามศี ิษย์ผู้มกี ุศลเจตนาได้
รวบรวมประวตั แิ ละขอ้ ธรรมของทา่ นจดั พมิ พข์ น้ึ
เพ่ือให้คนรุ่นหลังทราบว่าท่านมีคุณานูประการ
ต่อพระศาสนานับแต่บวชมา บางทเี วลาเราฟัง
เทศน์ อา่ นธรรมะของพอ่ แมค่ รอู าจารยห์ ลวงตา
เราซาบซ้ึงในธรรม แต่เรานึกไม่ออกเลยว่า
หลวงพ่อนั่งหน้าโตะ๊ เล็กๆ บนพนื้ กระดานในกฏุ ิ
หลังเก่าๆ ทงั้ วันท้งั คนื ถอดเทป จดจาร พิมพ์
ถอ้ ยธรรมอนั ทรงคณุ มาเปน็ เวลานานถงึ สามสบิ สส่ี บิ ปี สงั ขารรา่ งกายรว่ งโรยลงเปน็ ลำ� ดบั การแตกดบั ของ
สังขารเปน็ ไปตามสภาวธรรม หากจิตอันผ่องแผ้วอันยังกศุ ลประโยชนย์ ิ่งจากเน้อื ธรรมท่ีทา่ นรวบรวมไว้
จักปรากฏตอ่ โลกอีกนบั นานไป
98
หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน
วดั ปา่ บ้านตาด จ.อุดรธานี
99