The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือ ทนฺตมโน Full

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wonchai890, 2020-08-07 00:44:13

หนังสือ ทนฺตมโน Full

หนังสือ ทนฺตมโน Full

เน้อื ธรรมท่หี ลวงพอ่ สดุ ใจรวบรวมไว้

100

หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน

วดั ปา่ บา้ นตาด จ.อดุ รธานี

เนื้อธรรมท่หี ลวงพอ่ สดุ ใจรวบรวมไว้

101

102

หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน

วัดป่าบา้ นตาด จ.อุดรธานี

ค ติ ธ ร ร ม
และพระธรรมเทศนา

หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน

103

คติธรรม
หลวงพอ่ สุดใจ ทนฺตมโน

“โลกนม้ี นั เปน็ โลกทไ่ี มเ่ ทยี่ งนะ มกี ฎของไตรลกั ษณ์ คอื อนจิ จงั ทกุ ขงั อนตั ตา
เขา้ บงั คบั บญั ชาอยตู่ ลอดเวลา แลว้ มนษุ ยเ์ ราแตล่ ะคน แตล่ ะคน ไมใ่ ชว่ า่ อายจุ ะ
ยนื ยาวอะไรนกั หนา แลว้ กบ็ อกไมใ่ หด้ ว้ ยวา่ คนแกจ่ ะตอ้ งตายกอ่ นวยั เดก็ เสมอไป
เพราะอาจเกิดอุบัติเหตุท�ำให้เสียชีวิตลง เกิดโรคภัยไข้เจ็บเข้ามาเบียดเบียน
ทำ� ใหต้ ายกอ่ นวยั อนั ควร ทา่ นจงึ สอนวา่ อยา่ ประมาทในคณุ งามความดี อยา่ คดิ วา่
ทำ� นอ้ ยนดิ มนั จะไมใ่ หผ้ ล เมอ่ื ทำ� อยบู่ อ่ ยๆ มนั กจ็ ะตดิ เปน็ นสิ ยั แลว้ สงิ่ เหลา่ นแี้ หละ
ทจ่ี ะชกั นำ� เราใหพ้ ้นทุกข์ไปภายในวนั หนงึ่ แน่นอน”

“พิจารณาสิ่งทั้งหลายลงไปสู่ไตรลักษณ์จนกระท่ังถึงสุดท้าย ที่มัน
ถอดถอนไดส้ ดุ “หมดกเิ ลส” และไอค้ วามทกุ ขข์ องใจทมี่ นั หมดกเิ ลสแลว้ มนั หา
อะไรเทยี บไม่ได้นะ แล้วกจ็ ะสามารถร้ไู ดด้ ว้ ยตนเองได้ว่า... “จะไม่กลบั มาเกิด
อกี แลว้ ”

104

หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน

วดั ป่าบา้ นตาด จ.อดุ รธานี

“ใหต้ งั้ หนา้ ตงั้ ตาภาวนากนั วนั ทงั้ วนั อยา่ ปลอ่ ยใหม้ นั ไหลไปเรอื่ งของกเิ ลส
กิเลสไม่พาคนให้ดีน่ะ...มีแต่จะดึงคนให้ต่�ำลง ไม่เหมือนธรรม ธรรมประพฤติ
เอาอกเอาใจในธรรมมากขึ้นเพยี งไร ธรรมจะเป็นของเบา แลว้ ก็ดึงเราให้สูงขึ้น
ไม่เหมือนกิเลส กเิ ลสเปน็ ของหนัก มนั มีแต่จะกดถ่วงเราใหต้ ่ำ� ลงทง้ั น้นั แหละ”

(หลวงพอ่ สดุ ใจ ทนตฺ มโน เทศนอ์ บรมครั้งสดุ ท้าย ๑๙ ตลุ าคม ๒๕๖๒)

“ถา้ เรานงั่ อยู่ มคี นเดนิ มาดา่ เรา เราจะโกรธมย้ั คนทวั่ ไปทไี่ มไ่ ดร้ บั การฝกึ
อบรมจติ ใจมา ยอ่ มมคี วามโกรธเปน็ ธรรมดา แตค่ นไดร้ บั การฝกึ ฝนมาจะไมโ่ กรธ
กลับสงสารว่าเขาไม่เคยเจอความสุขท่ีแท้จริง เขาน่าสงสาร ถ้าเรารักตัวเอง
เราจะไม่ส่งจติ ออกไปโกรธ แตจ่ ะมีสตริ กั ษาจิตใจใหม้ คี วามสุข สงบเยน็ ”

105

ทางเดนิ จงกรมหลวงพ่อสดุ ใจ

106

หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน

วัดปา่ บา้ นตาด จ.อดุ รธานี

พระธรรมเทศนา
หลวงพอ่ สดุ ใจ ทนฺตมโน

เทศน์อบรม ณ วดั ป่าบ้านตาด อ.เมือง จ.อุดรธานี
วันที่ ๑๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ตอนเยน็ (วันกรานกฐิน)

วดั เรามนั กเ็ หมือนมงี านอยูต่ ลอดเวลานน่ั ละ ออกพรรษาแลว้ ถา้ ใครอยากจะไปเที่ยววิเวกกไ็ ปได้
คอื พระเราถา้ จะอยู่ อยไู่ ปวนั หนง่ึ ๆ แบบฆราวาสเขา มนั กไ็ มไ่ ดน้ ะ นบั วนั ภาระมนั จะมมี ากขน้ึ ตามพรรษา
ที่มากขึน้ ตามไปดว้ ย หนา้ ทข่ี องเราทจ่ี ะต้องปฏบิ ัตติ อ่ ตัวเราเอง อยา่ งนอ้ ยใหม้ คี วามสงบเป็นทพ่ี ึ่งของใจ
มันกอ็ ยู่ได้ ถา้ ไม่มีเลยนี่ เรากจ็ ะคว้าเอาเรือ่ งของทางโลกมาปฏิบตั ิกัน

ในสายตาของครบู าอาจารยก์ จ็ ะมองเหน็ วา่ มนั ไมเ่ ปน็ การดเี ลยทจี่ ะเปน็ อยา่ งนน้ั พระพทุ ธเจา้ ออกบวช
ก็มงุ่ เพ่อื ท่จี ะช�ำระกิเลสซงึ่ มอี ยูใ่ นจิตใจของพระองคท์ า่ นใหอ้ อกไปใหห้ มด ท่านให้เห็นอะไร ก็ไมว่ า่ ตน้ ไม้
ใบหญา้ หรือคน ท่านกจ็ ะตีเขา้ มาหาตัวเป็นธรรมเสมอวา่ โลกนเ้ี ป็นโลกท่ไี มเ่ ท่ียงนะ มกี ฎของไตรลักษณ์
คอื อนจิ จงั ทกุ ขงั อนตั ตา เขา้ บงั คบั บญั ชาอยตู่ ลอดเวลา และมนษุ ยเ์ ราแตล่ ะคนๆ ไมใ่ ชว่ า่ อายจุ ะยนื ยาว
อะไรหนกั หนา และกบ็ อกไมไ่ ดด้ ว้ ยวา่ คนแกจ่ ะตอ้ งตายกอ่ นคนวยั เดก็ เสมอไป เพราะวา่ อาจจะเกดิ อบุ ตั เิ หตุ
เกิดโรคภยั ไข้เจ็บน่นั ละมาเบียดเบียน ทำ� ให้ตายก่อนถงึ เวลาอนั ควร ท่านจึงสอนใหว้ ่าอยา่ ประมาทเรือ่ ง
คณุ งามความดอี ะไรตา่ งๆ ตอ้ งพยายามสะสมไว้ แมแ้ ตเ่ พยี งนอ้ ยนดิ เรากอ็ ยา่ ไปคดิ วา่ มนั จะไมม่ ผี ล ทำ� มากๆ เขา้
มนั เปน็ การฝกึ นสิ ยั ของพวกเราใหเ้ ชอ่ื ตอ่ อรรถตอ่ ธรรม และสงิ่ เหลา่ นแ้ี หละทจ่ี ะชกั นำ� เราไปใหพ้ น้ ทกุ ขใ์ น
วันหนึง่ ไดแ้ นน่ อน

ทำ� อะไรกพ็ ยายามเอาใหจ้ รงิ ใหจ้ งั พอมาปฏบิ ตั ทิ างดา้ นธรรมะ มนั กจ็ ะเอานสิ ยั อนั นนั้ ละมาใช้ แลว้ คน
ทจ่ี รงิ จงั คอื วา่ มกี ารตง้ั สติ ความรอู้ ยกู่ บั สติ ไมใ่ หค้ ลาดเคลอ่ื นไปไหน จติ ทมี่ นั เคยฟงุ้ ซา่ นอยา่ งไรกต็ ามที
มนั จะตอ้ งสงบลงไดอ้ ยา่ งแนน่ อน เมอ่ื จติ เรามคี วามสงบ เพยี งครง้ั แรกเทา่ นน้ั แหละ มนั กจ็ ะตน่ื เตน้ แลว้ และ
ยงิ่ สงบเขา้ ไปหลายครงั้ หลายหน ไอค้ วามสวา่ งกระจา่ งแจง้ มนั กจ็ ะเกดิ ขนึ้ เราถงึ จะเรยี กวา่ จติ เรมิ่ จะสมั ผสั
กับธรรมแล้ว ต่อจากน้ันความท่ีเคยขี้เกียจขี้คร้านในการท่ีจะท�ำความพากความเพียรมันก็ค่อยหมดไปๆ
แลว้ เรากจ็ ะมองเหน็ วา่ เออ ไอต้ วั ขเี้ กยี จขค้ี รา้ นเนย่ี มนั เปน็ ตวั กเิ ลสโดยแทเ้ ลย ซง่ึ แตก่ อ่ นเรากไ็ มเ่ คยคดิ
เคยนกึ พอจติ มนั เจรญิ ขน้ึ มนั มคี วามสงบอยขู่ องมนั เปน็ ปกตนิ ี่ พอเวลาเดนิ จงกรมมนั กจ็ ะขยนั เดนิ เดนิ ไป
บางทคี ิดว่ามันแคค่ รึง่ ช่ัวโมงหรอื ช่ัวโมง โนน้ มนั ปาเขา้ ไปสามชั่วโมงหรือสี่ชั่วโมงกม็ ี

107

จากนน้ั มโี อกาสกก็ า้ วขน้ึ ทางปญั ญา พจิ ารณาสงิ่ ทง้ั หลายลงในไตรลกั ษณ์ จนกระทง่ั ถงึ สดุ ทา้ ยของมนั
ทมี่ นั ถอดถอนได้ ไอเ้ รอ่ื งความสขุ ของจติ ใจทม่ี นั เจรญิ แลว้ มนั หาอะไรเทยี บไมไ่ ดน้ ะ แลว้ กส็ ามารถทจี่ ะรู้
ตวั เองไดว้ ่าจะไมก่ ลับมาเกดิ อีกแล้ว
วันน้ีกใ็ หก้ �ำลงั ใจกนั เพยี งยอ่ ๆ เท่านี้ละนะ เสียงก็ไมค่ อ่ ยมี

108

หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน

วดั ป่าบ้านตาด จ.อุดรธานี

พระธรรมเทศนา
หลวงพอ่ สุดใจ ทนฺตมโน

เทศน์อบรมพระ - ฆราวาส (ครงั้ สุดทา้ ย) ณ วัดปา่ บ้านตาด อ.เมอื ง จ.อดุ รธานี
วันที่ ๑๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ตอนเยน็ (วนั กรานกฐิน)

นีก่ อ็ อกพรรษาแลว้ เราจะอยู่ท่ีไหนกต็ าม ทง้ั พระเรา ทง้ั ญาติโยม ฆราวาสทีม่ าปฏบิ ัตธิ รรม กใ็ ห้
แสวงหาทส่ี งบสงดั ภาวนาใหเ้ หมอื นกบั อยใู่ นเขตเขา้ พรรษา เพราะชวี ติ ของคนเรามนั ไมแ่ นน่ อน แกล่ งไปทกุ วนั
ความตายจะมาเยอื นถงึ เมอ่ื ไหรก่ ไ็ ม่มีใครทราบได้แหละ เพอ่ื ความไมป่ ระมาท เรากต็ อ้ งภาวนาไปเร่ือยๆ
การกระทำ� อยูส่ มำ่� เสมอ มันกจ็ ะชว่ ยท�ำให้จิตมที ีย่ ดึ ท่ีเกาะ ทย่ี ดึ ท่เี กาะกค็ อื การภาวนาของเราน่ันแหละ
ทำ� ไปๆ แลว้ จติ มนั กจ็ ะสงบรม่ เยน็ ลงเอง ผลเรม่ิ มปี ระจกั ษพ์ ยานวา่ การภาวนาของเรา ถา้ ทำ� จรงิ จงั ผลกจ็ ะ
เกิดขึ้นจริงเหมือนกัน เพราะธรรมเป็นของจริงอยู่แล้ว

เมอื่ ปฏบิ ตั ไิ ปๆ จติ สงบรวมไดเ้ หมอื นมนั จะมกี ำ� ลงั ทจี่ ะทำ� ใหย้ ง่ิ ไปกวา่ นน้ั วริ ยิ ะ ความพากเพยี ร มนั ก็
จะเกิดตามๆ กนั มา เหมือนพวกเศรษฐีเค้า เคา้ พอใจในการนับเงนิ นับสมบัตอิ ะไรของเค้านเี่ ปน็ ประจ�ำวนั
ทำ� ๆ ไป โอ้ เพลนิ ไป เคา้ เพลนิ ในรายไดข้ องเคา้ สว่ นของเรากม็ นั เพลนิ ไปอกี อยา่ งหนงึ่ เพลนิ ในความสงบ
ในธรรมน่ี มนั จะมีแรงจงู ใจให้เกดิ ความขยันหมั่นเพียรข้ึนเอง การภาวนามนั ถงึ จะกา้ วหน้าไปได้

เอาละ เอาเพียงแคน่ ี้นะ

พดู ทา้ ยเทศน์

ใหต้ ง้ั หนา้ ตง้ั ตาภาวนากนั วนั ทงั้ วนั อยา่ ปลอ่ ยใหม้ นั ไหลไปเรอ่ื งของกเิ ลส กเิ ลสมนั ไมพ่ าคนใหด้ นี ะ
สะสมเขา้ ไปมากๆ มแี ตจ่ ะดงึ คนใหต้ ำ่� ลง ไมเ่ หมอื นธรรม ธรรมประพฤติ เอาอกเอาใจในธรรมมากขนึ้ เพยี งไร
ธรรมจะเปน็ ของเบา และกด็ งึ เราใหส้ งู ขน้ึ ไมเ่ หมอื นกเิ ลส กเิ ลสมนั ของหนกั มนั มแี ตจ่ ะกดถว่ งเราใหต้ ำ�่ ลง
เท่าน้ันแหละ

แลว้ การอยรู่ ว่ มกนั เปน็ จำ� นวนมากกใ็ หร้ ะมดั ระวงั เรอื่ งกริ ยิ ามารยาท ไมง่ นั้ มนั เกดิ การทะเลาะเบาะแวง้ กนั
ขึ้นมา มันเสียชอ่ื นักปฏิบตั ินะ คือถา้ ทกุ คนตงั้ อกต้งั ใจประพฤตธิ รรมแลว้ มันก็จะไม่มีเรือ่ งมีราวอะไรกัน
เทา่ ไหร่ ทกุ สง่ิ ทกุ อยา่ งมนั กใ็ หอ้ ภยั กนั ได้ ถา้ เราจะคดิ วา่ เราถกู แตเ่ พยี งผเู้ ดยี ว มนั กท็ ะเลาะกนั วนั ยงั คำ�่ ละ่

109

110

หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน

วัดป่าบ้านตาด จ.อุดรธานี

หนงั สอื หลักของใจ
และพระธรรมเทศนา

หลวงตามหาบัว ญาณสมฺปนฺโน

111

เดมิ การจดั พมิ พก์ ณั ฑเ์ ทศนต์ า่ งๆ ของพอ่ แมค่ รอู าจารย์
หลวงตามหาบวั ฯ ในชว่ งแรกๆ หลวงพอ่ สดุ ใจ ทนตฺ มโน จดั พมิ พ์
เต็มท้ังกัณฑ์ ต่อมาหลวงพ่อพิจารณาอย่างลึกซึ้งว่า บางคน
ไมช่ อบอา่ นยาวๆ บางคนชอบธรรมะสน้ั ๆ ซงึ่ คดั ลอกตดั ตอนมา
และมอี บุ ายอยา่ งไรในการเอาสง่ิ ทตี่ ดั ตอนมาผกู โยงเปน็ ประวตั ิ
นา่ อา่ นและชวนตดิ ตามตอ่ เนอื่ ง หลวงพอ่ จงึ เรม่ิ คน้ ควา้ เรยี บเรยี ง
ผูกรอ้ ยบทธรรมทคี่ ดั ลอกมาเขา้ ไวด้ ้วยกัน
นบั เปน็ มรดกธรรมลำ�้ คา่ เลม่ หนงึ่ ของวดั ปา่ บา้ นตาด เราจะ
ไดอ้ า่ นตง้ั แตอ่ งคห์ ลวงตาเรม่ิ บวช บำ� เพญ็ เพยี ร จนบรรลธุ รรม
และการอบรมธรรม จนถึงภารกิจตอ่ โลก การติดตอ่ เช่ือมโยง
เรยี งรอ้ ยนล้ี ะเอยี ดลอองดงามมาก ถา้ ไมใ่ ชผ่ รู้ ธู้ รรมและมวี ริ ยิ ะยง่ิ
ยากจะทำ� ออกมาได้ หากหลวงพอ่ สดุ ใจไดท้ ำ� ถวายบชู าคณุ องค์
หลวงตาด้วยใจของท่าน
หนงั สือหลกั ของใจมีผู้ตดิ ตามและสนใจมากมาย มีการ
จดั พมิ พอ์ กี หลายครง้ั และภายหลงั มศี ษิ ยผ์ หู้ นงึ่ ขอพมิ พก์ ณั ฑช์ อื่
วา่ นตถฺ ทิ านิ ปนุ พภฺ โว และงานของหลวงตา ผนวกเขา้ ในทา้ ยเลม่
อกี สองกณั ฑด์ งั ปรากฏ หลกั ของใจจงึ เปน็ ทพ่ี ง่ึ ของศษิ ยผ์ ไู้ ดฟ้ งั
ได้อา่ นตลอดมา

112

หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน

วัดปา่ บา้ นตาด จ.อดุ รธานี

หนงั สือหลักของใจ

รวบรวมจากเทศนข์ องทา่ นอาจารยพ์ ระมหาบวั ญาณสมปฺ นฺโน
วัดป่ าบา้ นตาด จงั หวัดอุดรธานี

113

114

หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน

วัดป่าบา้ นตาด จ.อุดรธานี

115

ค�ำนำ�

โลกเราทกุ วนั นีม้ แี ตค่ วามว่นุ วาย หาความสงบสุขมิได้ ทงั้ นี้เพราะมนุษย์สว่ นใหญ่ปลอ่ ยใจไปตาม
อำ� นาจของราคะ โลภะ โทสะ โมหะ ใจไมม่ หี ลกั มเี กณฑ์ ทา่ นอาจารยพ์ ระมหาบวั าณสมปฺ นโฺ น ไดเ้ ทศน์
เกีย่ วกับเร่ืองนี้ไวว้ ่า
“ธรรมดาของจติ ทมี่ กี เิ ลส พอมอี ะไรมายวั่ นดิ ๆ สง่ เสรมิ นดิ ๆ มนั เปน็ บา้ ไปทนั ทที นั ควนั ทเี ดยี วแหละ
นไ่ี มว่ า่ ใจใคร วา่ ใหใ้ จเราใจทา่ นทอ่ี ยดู่ ว้ ยกนั และรอู้ ยดู่ ว้ ยกนั นแ่ี หละ มนั ลมื ตวั ตรงนี้ เพราะจติ ไมม่ หี ลกั ….”

(เข้าสู่แดนอวกาศของจติ ของธรรม หนา้ ๓๓)

“…ถา้ ใจมหี ลกั มเี กณฑ์ การปฏบิ ตั ยิ อ่ มมหี ลกั มเี กณฑ์ ใจเปน็ หลกั ใหญข่ องการปฏบิ ตั ิ ถา้ จติ มหี ลกั แลว้
เป็นยังไงกไ็ มห่ วนั่ ไม่ไหว
เราจึงถือหลักใจเป็นส�ำคัญ ข้อปฏิบัติถ้าใจไม่มีหลักก็หาหลักเกณฑ์ไม่ได้ ถ้าใจเป็นหลักอยู่แล้ว
การปฏบิ ัติยอ่ มเปน็ หลกั เป็นเกณฑ์สม�่ำเสมอ จติ มหี ลกั ย่อมไมฝ่ า่ ฝืนเหตผุ ลอรรถธรรม…”

(รากแกว้ ของศาสนา หน้า ๑๕๖)

“…ผนู้ ำ� ทม่ี ใี จเปน็ หลกั และแนะนำ� สง่ั สอนผมู้ าอยอู่ าศยั ดว้ ยการอบรมใหก้ ารศกึ ษากเ็ ปน็ หลกั เปน็ เกณฑ์
ทแ่ี น่ใจตายใจได้ ถา้ หลกั ใจไม่มี คนอน่ื ก็ไม่เกิดประโยชน์ ตวั เองกไ็ ม่เกิดประโยชน์ นอกจากนั้น ยังจะเป็น
ความเสอ่ื มเสยี แกต่ นเองอกี ไมใ่ ชข่ องดี ผนู้ ำ� คนอนื่ ตวั เองตอ้ งมหี ลกั เกณฑเ์ ครอ่ื งนำ� ทาง คนอน่ื จงึ จะได้
รบั ประโยชนด์ ้วย…”

(ศาสนธรรมปลุกคนใหต้ ่นื หนา้ ๑๔๕)

“…ครบู าอาจารยอ์ งคใ์ ดทที่ า่ นดำ� เนนิ มาเปน็ สรณะของพวกเราในวงปจั จบุ นั นี้ กไ็ ดเ้ คยศกึ ษากบั ทา่ น
มาพอประมาณ องคใ์ ดกเ็ ดนตายกนั ทง้ั นนั้ ฟงั แลว้ ลมื ไมล่ ง เพราะเปน็ อบุ ายทเี่ ดด็ ๆ เผด็ ๆ รอ้ นๆ ทท่ี า่ นนำ� มาใช้
กิเลสไม่ตาย ท่านกต็ าย น่ัน ฟงั ซิ แต่สุดท้ายกเิ ลสตาย ทา่ นยัง ครองวิมตุ ติธรรม วมิ ตุ ติจิต ภายในจติ ใจ
เพราะความผาดโผนโจนทะยานกบั กเิ ลส ทา่ นไมม่ คี วามทอ้ ถอยออ่ นแอ ทอ้ แทเ้ หลวไหลเหมอื นเราๆ ทา่ นๆ
ทเี่ ป็นอยู่เวลานี้ ให้ยึดมาเปน็ หลกั เปน็ เกณฑ์ ถา้ เราอยากชนะ…”

(ก้าวเดินตามหลกั ศาสนธรรม หน้า ๓๓๗)

116

หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน

วดั ป่าบ้านตาด จ.อุดรธานี

ทา่ นอาจารยไ์ ดบ้ ำ� เพญ็ เพยี รโดยไมท่ อ้ ถอย ยอมสละตาย ไมย่ อมแพก้ เิ ลส โดยใชอ้ บุ ายตา่ งๆ ตอ่ สู้
จนกระทงั่ ไดม้ าอบรมสงั่ สอนศษิ ยอ์ ยู่ ณ วดั ปา่ บา้ นตาดในปจั จบุ นั น้ี ทา่ นไดเ้ ทศนอ์ บรมสงั่ สอนทงั้ พระภกิ ษุ
สามเณรและฆราวาส ซงึ่ ไดม้ กี ารถอดเทปและนำ� บางสว่ นมาจดั พมิ พเ์ ปน็ หนงั สอื จำ� นวนถงึ ๒๓ เลม่ แจกจา่ ย
ใหบ้ รรดาสานศุ ษิ ยไ์ ดศ้ กึ ษาเปน็ เวลานานเกอื บ ๔๐ ปแี ลว้ บรรดาศษิ ยจ์ งึ มคี วามคดิ ทจี่ ะรวบรวมเทศนข์ อง
ทา่ นอาจารย์ และคดั สว่ นทเี่ ปน็ เรอื่ งราวเกย่ี วกบั การบำ� เพญ็ ความเพยี รของทา่ นอาจารย์ อนั ประกอบดว้ ย
ศรทั ธา วริ ยิ ะ สติ สมาธิ และปญั ญา มาประมวลกนั เปน็ เรอ่ื ง “หลกั ของใจ” เพอ่ื ศษิ ยท์ งั้ หลายจกั ไดศ้ กึ ษา
และยดึ ถอื เปน็ แบบอยา่ ง เพอื่ สรา้ งหลกั ของใจทม่ี นั่ คงและใหม้ สี ตแิ ละกำ� ลงั ใจเขม้ แขง็ ตอ่ สกู้ บั กเิ ลสในยาม
ที่เกิดความออ่ นแอ ท้อแท้เบือ่ หน่าย หรือเพลิดเพลนิ ไปตามอ�ำนาจของกิเลส
การจดั ทำ� หนงั สอื เลม่ น ้ี สำ� เรจ็ ไดด้ ว้ ยความอนเุ คราะหข์ องทา่ นพระสดุ ใจ ทนตฺ มโน วดั ปา่ บา้ นตาด
จังหวัดอดุ รธานี ไดส้ ละเวลาอันมคี า่ ของท่านใหค้ ำ� แนะน�ำ ปรกึ ษา รวบรวมบางตอน และเขียนเพิ่มเตมิ
บางตอนให้ ตรวจแกไ้ ขและตง้ั ชอื่ หวั ขอ้ บางหวั ขอ้ ให้ จงึ กราบขอบพระคณุ ทา่ นพระสดุ ใจ ทนตฺ มโน ไว้ ณ
ที่นด้ี ้วย
เน่ืองจากการจัดท�ำหนงั สือนใ้ี ช้วิธคี ัดเอาบางตอนจากหนงั สือเทศน์ของท่านอาจารย์หลายๆ เล่ม
มาปะตดิ ปะตอ่ เรยี งลำ� ดบั เอาตามความเขา้ ใจของผรู้ วบรวมเอง ดงั นน้ั จงึ อาจมขี อ้ ผดิ พลาดได้ หากมสี งิ่ ใด
ผิดพลาดและไม่เหมาะสม ผรู้ วบรวมจัดพิมพข์ อกราบขอขมาตอ่ ท่านอาจารย์พระมหาบวั าณสมปฺ นโฺ น
ท่ีเคารพบูชาย่งิ ของบรรดาศษิ ย์ไว้ ณ ทนี่ ้ดี ้วย และผู้รวบรวมขอน้อมรบั ผิดน้ีไวแ้ ตผ่ ู้เดยี ว
ศิษย์ทง้ั หลายขอถวายอานสิ งสข์ องการจัดพิมพห์ นงั สอื นเ้ี ปน็ พทุ ธบูชา ธรรมบชู า สงั ฆบูชา และ
เพ่ือบูชาพระคุณของท่านอาจารย์พระมหาบัว าณสมปฺ นโฺ น ผู้ได้อุทิศกายใจและถวายชีวิตเพ่ือเผยแผ่
ศาสนธรรมขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอย่างไม่เห็นแก่ความเหนื่อยยากมาเป็นเวลานานเกือบ
๔๐ ปแี ลว้ ขอทา่ นอาจารยเ์ จรญิ ดว้ ยอายุ วรรณะ สขุ ะ พละ ยงิ่ ยนื นาน อยเู่ ปน็ หลกั ใจและรม่ โพธร์ิ ม่ ไทร
แก่บรรดาศษิ ยท์ ี่หวังยดึ เหนยี่ วเกี่ยวเกาะในพระธรรมค�ำสอนของพระพทุ ธเจ้าตลอดชั่วนริ นั ดร์

คณะผจู้ ัดพิมพ์

สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๓

117

คำ� ชแี้ จง

ก่อนที่ทา่ นจะอ่านเร่อื งราวในหนังสือเลม่ น้ี คณะผจู้ ดั ท�ำขอชแี้ จงว่า การนำ� เอาเทศน์เกย่ี วกับการ
บำ� เพญ็ เพยี รของทา่ นอาจารยพ์ ระมหาบวั าณสมปฺ นโฺ น มาเรยี บเรยี งจดั ทำ� หนงั สอื เลม่ นี้ มวี ตั ถปุ ระสงค์
เพอ่ื ใหท้ า่ นผอู้ า่ นเกดิ แรงบนั ดาลใจทจ่ี ะประกอบความเพยี รในทางธรรมอยา่ งจรงิ จงั ไมท่ อ้ ถอย เชน่ เดยี วกบั
ทา่ นอาจารย์ ตลอดจนไดท้ ราบอบุ ายวธิ ีฝึกจติ บังคับใจเพือ่ ใหไ้ ด้แนวทางการตอ่ สกู้ ิเลสเทา่ นัน้

อยา่ งไรกต็ าม ทา่ นอาจารยไ์ ดเ้ ทศนเ์ ตอื นไวว้ า่ การประกอบความเพยี รนน้ั เปน็ เรอ่ื งเฉพาะตน จะให้
เหมอื นครบู าอาจารยท์ า่ นใดทา่ นหนงึ่ ทกุ อยา่ งไมไ่ ด้ ผปู้ ฏบิ ตั จิ ะตอ้ งใชว้ จิ ารณญาณของตนเองวา่ ควรจะหนกั
จะเบาอย่างไรจงึ จะเหมาะสมกับตน

“…ธรรมะพระพทุ ธเจา้ เปน็ อยา่ งนนั้ นะถงึ จะแกก้ เิ ลสได้ ไมใ่ ชว่ า่ จะจำ� มาจากโนน้ จากนอ้ี ะไร ถงึ จะจำ�
จากครบู าอาจารยเ์ ทา่ ไรกเ็ ปน็ แนวทางตา่ งหาก สว่ นเจา้ ของทจี่ ะทำ� ใหเ้ กดิ มขี องเจา้ ของตอ้ งเปน็ เงอ่ื นหนง่ึ ๆ
ของอบุ ายสตปิ ญั ญาของเจา้ ของทจี่ ะผลติ ขน้ึ มาคดิ ขน้ึ มาใหเ้ ปน็ สมบตั ขิ องเจา้ ของ ถงึ จะแกก้ เิ ลสเจา้ ของ
ได้นะ นีเ่ ป็นแนวทางต่างหากทคี่ รูบาอาจารย์สอนน่ี ใหจ้ �ำเอาไว้เฉยๆ แต่เวลาเป็นหน้าที่ของตวั เองแลว้
มนั เปน็ เรอ่ื งของตวั เองทจ่ี ะผลติ จะคน้ ขนึ้ มาทกุ สง่ิ ทกุ อยา่ งใหเ้ ปน็ วงปจั จบุ นั ใหเ้ ปน็ สมบตั ขิ องเจา้ ของและ
แกก้ ิเลสเจา้ ของได้ เป็นผลขึน้ มาในขณะน้นั ใหจ้ �ำใหด้ ี…”

(รากแกว้ ของศาสนา หน้า ๑๖๗)

“…ความเพียรจึงควรให้มีเปน็ บทเปน็ บาทเปน็ จังหวะ ท่ีควรจะหนักใหห้ นกั นอกจากเร่อื งวา่ เบานะ่
มันเป็นของมันเองละ ควรจะหนักก็ให้มันหนักบ้าง นักประกอบความพากเพียรให้ได้เห็นความอัศจรรย์
อยา่ ใหม้ แี ตค่ รบู าอาจารยท์ า่ นพดู ทา่ นอธบิ ายเรอ่ื งธรรมเรอ่ื งความมคี วามเปน็ ของทา่ นหรอื ของธรรมใหฟ้ งั
เพยี งเท่าน้ัน ให้ปรากฏในจติ ใจของเราประจกั ษ์เอง มนั ถงึ เชอ่ื อย่างลึก เชอื่ อยา่ งฝงั ใจ ถา้ เราได้เห็นได้รู้
โดยลำ� พงั ตนเองแลว้ เรยี กวา่ สนทฺ ฏิ €ฺ โิ ก ประจกั ษ ์ หรอื ปจจฺ ตตฺ ํ เวทติ พโฺ พ ประจกั ษภ์ ายในแลว้ จะไมม่ วี นั ลมื เลย
นกี่ ารประกอบความพากเพยี ร…”

(ความลกึ ลับซบั ซอ้ นของจิตวญิ ญาณ หน้า ๒๙๗)

“…การอดอาหารตอ้ งใหร้ จู้ กั เจา้ ของนะ ธาตขุ นั ธข์ องเจา้ ของ ตอ้ งรเู้ องนะ ใหค้ นอน่ื ไปบอกไปแนะ
ไมเ่ หมาะ คอื การอดอาหารนม้ี นั เปน็ อบุ ายชว่ ย เปน็ วธิ กี ารหนง่ึ ทจี่ ะชว่ ยการแกก้ เิ ลสใหง้ า่ ยขน้ึ แตไ่ มใ่ ชเ่ ปน็
เรอื่ งแกก้ เิ ลส คอื เวลาไมอ่ ดอาหารมนั เปน็ อยา่ งหนง่ึ การภาวนามนั ไมส่ ะดวก จติ มนั คกึ มนั คะนอง นล่ี ะสำ� คญั
กว่าเพื่อน คือธาตุขันธ์มนั มกี ำ� ลงั และกายมันก็เป็นเคร่อื งสง่ เสริมจิตให้คกึ คะนองได้ เม่อื มีกำ� ลังแลว้

118

หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน

วดั ป่าบ้านตาด จ.อุดรธานี

มนั กไ็ ปหมนุ จติ นน่ั แหละทำ� ใหค้ กึ คะนองได้ แลว้ ภาวนาใหส้ งบมนั ไมย่ อมสงบ มนั ดนิ้ รน เราจงึ ตอ้ งพกั อาหาร
เพอ่ื ใหอ้ าหารนอ้ ยลงไป เมอ่ื อาหารนอ้ ยลงไป รา่ งกายนมี่ นั กไ็ มห่ นนุ จติ ไมก่ วนจติ จติ มนั กไ็ มด่ ดี ไมด่ นิ้ มาก
เหมือนตอนที่ธาตุขนั ธ์มีก�ำลัง ทนี ้กี ารภาวนากค็ ่อยสงบตัวลงไปไดง้ า่ ย นี่เหน็ ชัด เพราะฉะนั้นจงึ ตอ้ งได้
อดบ่อยๆ เพ่ือให้ภาวนาละเอียดเขา้ ไปๆ ช่วยการภาวนาของเราดว้ ยการอดอาหาร นี่พดู ถงึ เรือ่ งจิตท่ียัง
ไมส่ งบ มันสงบได้ง่ายกว่ากนั ถ้าจติ สงบแลว้ กส็ งบไดด้ ี ถา้ ออกทางด้านปัญญามันก็คล่องตัว นนั่ มนั เปน็
อย่างน้ันนะ
เมอื่ การอดจะมากไป เรากต็ อ้ งรจู้ กั เราเอง การผอ่ นผนั สนั้ ยาวในตวั เอง จะใหค้ นอน่ื ไปบอกมนั ไม่
ถกู นะ เจ้าของตอ้ งรใู้ นเจ้าของเอง จะสมกับว่าปฏิบตั เิ พอ่ื ความฉลาด หาความฉลาด กต็ ้องให้รูว้ ิธีใดกด็ ี
มนั อยกู่ ับตัวแทๆ้ นี่ อบุ ายวธิ ีเหล่าน้ี ถา้ มนั จะหนักมากไป เรากผ็ อ่ นมันไดน้ ่…ี ”

(ความลกึ ลบั ซบั ซ้อนของจิตวิญญาณ หน้า ๒๐๘)

119

สารบัญ

บทที่
๑. ยดึ มน่ั ในพลธรรม ๕ (หน้า ๑๒๒ ถึง ๑๒๗)
จรงิ จงั ตง้ั แตเ่ ปน็ ฆราวาส / ตง้ั สจั อธษิ ฐาน / ความสงสยั / กติ ตศิ พั ทข์ องทา่ นพระอาจารยม์ น่ั /

ไดเ้ ห็นทา่ นพระอาจารย์มัน่ / ม่งุ ออกปฏบิ ัติกรรมฐาน / ไม่ยอมทำ� ลายสจั จะ / สุบินนิมิต /
จิตสงบ / จิตเส่ือม

๒. บทธรรมครัง้ แรก (หนา้ ๑๒๘ ถึง ๑๓๗)
ไดอ้ ยกู่ ับทา่ นพระอาจารยม์ ัน่ / หายสงสยั เรอ่ื งมรรคผลนิพพาน / สุบินนิมิตอีกครงั้ / ปรึกษา

ครอู าจารย์ / ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั ใหก้ �ำลังใจ / สมาทานธดุ งควัตร / ไม่ฉันช้อน

๓. ก�ำลังใจและอุบายแนะนำ� ของครอู าจารย์ (หนา้ ๑๓๘ ถงึ ๑๔๖)
สภาวะจิตเส่ือม / ทุกขห์ นัก / ทา่ นพระอาจารย์ม่นั ให้อบุ าย / ไม่ถอย จึงตั้งหลักได้ / ควบคุม

รักษาจิต / ระลึกถงึ พระคุณของท่านพระอาจารย์มั่น

๔. เรง่ ความเพียร (หนา้ ๑๔๗ ถงึ ๑๕๙)
ภาวนาตลอดรงุ่ / ทกุ ขเวทนาใหญแ่ ละอบุ ายพจิ ารณา / ปญั ญาตอ้ งเปน็ ปจั จบุ นั ไมใ่ ชส่ ญั ญาอดตี /

ความรสู้ กึ อศั จรรย์ / ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั ใหก้ ำ� ลงั ใจอกี ครงั้ / ถกู เตอื น / ตดิ สมาธิ / มารผจญ-
ธรรมชว่ ย

๕. ฝกึ จิตบังคบั ใจ (หนา้ ๑๖๐ ถงึ ๑๗๒)
ตอ่ สกู้ บั กเิ ลส / ถกู จรติ กบั อดอาหาร / ไมฉ่ นั นม / บงั คบั ตวั เอง / ภาวนาอยา่ งเดยี ว / อยลู่ ำ� พงั /

อยู่ทแ่ี ร้นแค้น / อยสู่ ถานท่นี า่ กลวั / ไม่อยูใ่ นสถานท่ีท่ีเคยชิน / คยุ้ เขยี่ หากเิ ลส

๖. มีสมาธิใชป้ ญั ญา (หนา้ ๑๗๓ ถึง ๑๙๔)
ตดิ สมาธิ / สุขในสมาธเิ หมอื นเนือ้ ตดิ ฟนั / ปญั ญาเร่มิ ก้าว / ต�ำหนสิ มาธวิ ่านอนตายอยู่เฉยๆ /

หลงสงั ขาร / กรรมฐาน ๔๐ เปน็ ไดท้ ง้ั อารมณแ์ หง่ สมถะและวปิ สั สนา / ทา่ นอาจารยม์ น่ั เพยี บทางขนั ธ-์
ทา่ นเพยี บทางจติ / จติ ทำ� งานไมห่ ยดุ / เหน็ กายดว้ ยความจรงิ / ขดุ คยุ้ กเิ ลส : พจิ ารณาอสภุ ะ /
ผลจากการพจิ ารณาอสภุ ะ / จติ อวชิ ชา / กำ� หนดรอู้ าการของจติ อยา่ หลงตามจติ / ธรรมสงั เวช
และอบุ ายธรรม / เพือ่ ความไม่ประมาท / ทุกขห์ นักอกี ครง้ั

120

หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน

วดั ปา่ บ้านตาด จ.อุดรธานี

๗. ธรรมเฉลย-ธรรมอศั จรรย์ (หน้า ๑๙๕ ถึง ๒๑๐)
งงกบั ปญั หา / ปว่ ยหนกั อกี ครงั้ / แกไ้ ดด้ ว้ ยอรยิ สจั / ยอ้ นกลบั วดั ดอยฯ / ไมส่ งวนจติ / เกดิ ความ

สลดสงั เวช / ป่วยหนักอีก / ความคิดเม่ือไปเยี่ยมพระป่วย
๘. ผ้พู าดำ� เนิน (หนา้ ๒๑๑ ถึง ๒๒๘)
ความสำ� คญั ของครบู าอาจารย์ / กวา่ จะเปน็ วดั ปา่ บา้ นตาด / มาตาปติ อุ ปุ ฏั ฐานธรรม / ใหก้ ารอบรม

พระเณรและฆราวาส / เรมิ่ ตน้ ตั้งแตส่ มาธภิ าวนา / ส�ำหรับผทู้ ยี่ ังต้งั หลักไม่ได้ / ยากทสี่ ุดคอื
การฝึกคนให้ดี ไม่ลบู หน้าปะจมกู
๙. ธรรมและวินัยเหนอื สิง่ อน่ื ใด (หนา้ ๒๒๙ ถงึ ๒๕๑)
เขม้ งวดดา้ นจติ ตภาวนา / วดั เปน็ สถานทส่ี งบสงดั / วดั ไมเ่ อนไปตามโลก / มธี ดุ งควตั รประจำ� ใจ /
ยินดใี นเสนาสนะปา่ / สลั เลขธรรม / ปจั จัย ๔ / เครอื่ งใชไ้ มส้ อย / สง่ิ กอ่ สรา้ ง / ไม่สงั่ สม /
ธรรมอยู่ทค่ี วามสม่ำ� เสมอ-เสมอภาค / การช่วยโลก
๑๐. หลวงตาของเรา (หนา้ ๒๕๒ ถงึ ๒๗๘)
ภารกจิ / ธาตขุ นั ธแ์ ละภารกจิ / บำ� เพญ็ สาธารณกศุ ล / การนมิ นตท์ า่ นไปเทศน์ / การขอถา่ ยภาพ /
เรอื่ งทอ่ี บรมสง่ั สอน / การเดนิ บณิ ฑบาต / การทำ� ความเพยี รอยา่ งจรงิ จงั / การฝกึ ทรมานตวั เอง /
เรยี นแลว้ ตอ้ งนำ� มาปฏบิ ตั ิ / อยา่ วา่ ผอู้ น่ื จงดตู วั เอง / การไปการมาของพระเณร / ไมอ่ ยากใหพ้ ระ
เณรไปไหนมาไหน / ไมท่ ำ� ความคนุ้ เคย ใหม้ สี ตธิ รรม / มสี ตไิ มเ่ กย่ี วเกาะ / สถานทท่ี ค่ี วรอยคู่ วรไป /
สอนตนให้ได้เสียก่อน / อยา่ ลืมตัว / อยา่ ตดิ ในลาภสกั การะ / เตือนไว้ลว่ งหนา้
ค�ำปรารภของหลวงตา (หนา้ ๒๗๙)
๑๑. นตถฺ ทิ านิ ปนุ พฺภโว (หน้า ๒๘๒ ถงึ ๒๘๗)
๑๒. งานของหลวงตา (หนา้ ๒๘๙ ถงึ ๒๙๔)

121

-๑-
ยึดมัน่ ในพลธรรม ๕

ธรรมทท่ี า่ นพระอาจารยม์ นั่ สงั่ สอนไวแ้ กบ่ รรดาศษิ ยอ์ ยเู่ สมอ ไดแ้ ก่ พลธรรม ๕ คอื ศรทั ธา วริ ยิ ะ
สติ สมาธิ ปญั ญา โดยใหเ้ หตุผลว่า
“… ผูไ้ ม่ห่างเหินจากธรรมเหลา่ น้ี ไปอยทู่ ี่ไหนก็ไมข่ าดทนุ และลม่ จม เป็นผูม้ ีความหวังความเจริญ
ก้าวหนา้ ไปโดยล�ำดบั …”

(ประวัตทิ ่านพระอาจารยม์ ่นั ภรู ทิ ตั ตเถระ หน้า ๗๓)

เมอื่ ไดอ้ า่ นเทศนข์ องทา่ นอาจารยพ์ ระมหาบวั าณสมปฺ นโฺ น ซงึ่ ทา่ นไดแ้ สดงไวใ้ นโอกาสและสถานที่
ตา่ งๆ เปน็ เวลาเกอื บ ๔๐ ปมี าแลว้ กพ็ อจะประมวลไดว้ า่ ทา่ นอาจารยพ์ ระมหาบวั าณสมปฺ นโฺ น ดำ� เนนิ
ชีวติ ของทา่ นโดยยดึ มนั่ ในพลธรรม ๕ น้ี อยา่ งเดด็ เดย่ี วจรงิ จงั ดังได้รวบรวมเรื่องราวไวด้ ังนี้

จริงจังตงั้ แตเ่ ป็นฆราวาส

“…แต่วา่ เรามนั นสิ ัยจรงิ จังแต่เป็นฆราวาสมาแลว้ เวลาบวชกต็ ้ังใจบวชเอาบญุ เอากุศลจริงๆ และ
พรำ�่ สอนตวั เองวา่ บดั นเี้ ราบวชแลว้ พอ่ แมไ่ มไ่ ดม้ าคอยตดิ สอยหอ้ ยตาม คอยตกั คอยเตอื นเราอกี เหมอื นแต่
กอ่ นแลว้ นะ แมเ้ วลานอนหลบั กไ็ มม่ ใี ครมาปลกุ นะ แตบ่ ดั นน้ั มากท็ ำ� ความเขา้ ใจกบั ตวั เองราวกบั วา่ อตตฺ า หิ
อตฺตโน นาโถ นะ อย่างน้ันแหละ
แตก่ อ่ นเราจะไปไหนแตเ่ ชา้ ๆ สว่ นมากมแี ตบ่ อกแมใ่ หป้ ลกุ วา่ พรงุ่ นเี้ ชา้ จะออกไปธรุ ะแตเ่ ชา้ แมก่ ป็ ลกุ
แตเ่ ชา้ แลว้ กไ็ ป แลว้ กล็ ม้ นอนตมู เหมอื นตาย ทอดอาลยั หมด เพราะคดิ แลว้ วา่ แมจ่ ะปลกุ ไมส่ นใจเรอื่ งการ
ตน่ื นอน พอถงึ เวลาแมก่ ป็ ลกุ เอง ทนี แ้ี มค่ งจะเหน็ อยา่ งนน้ั จงึ เปน็ หว่ งในเวลาไปบวช เพราะผดิ กนั กบั พชี่ าย
สำ� หรบั พชี่ ายว่าพร่งุ นเ้ี ชา้ ใหแ้ ม่ปลุก แต่แมย่ งั ไม่ไดป้ ลกุ เขากลบั ต่นื เสียก่อน ไปก่อนแลว้
พอก้าวออกจากบ้านเข้าวัดก็เตือนตัวเองทันที เอาละนะ ท่ีน่ีไม่มีใครจะตามแนะน�ำตักเตือนเรา
ตลอดถงึ การหลบั การตน่ื ไมม่ ใี ครปลกุ ละนะ เราตอ้ งเปน็ เราเตม็ ตวั ตง้ั แตบ่ ดั นไี้ ปไมห่ วงั พง่ึ พอ่ แมด่ งั แตก่ อ่ น
อกี แลว้ เรยี นหนงั สือตีสองบา้ งตสี ามบ้างเป็นประจ�ำ ตหี า้ บา้ งเปน็ บางคืน ตีห้ากส็ ว่าง เดือนมิถนุ ายน

122

หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน

วดั ปา่ บ้านตาด จ.อดุ รธานี

กรกฎาคม พอสวา่ งกล็ งทำ� วตั รแตเ่ ชา้ กอ่ นแลว้ จงึ คอ่ ยออกบณิ ฑบาต มนั ตน่ื ทนั ทำ� วตั รเชา้ ดซู ิ ผมกแ็ ปลก
เหมอื นกนั นะ มนั ตงั้ ทา่ ของมนั อยา่ งจรงิ จงั ไมเ่ คยพลาดเลย จะนอนตสี องตสี ามตสี ่ี เรอ่ื งทำ� วตั รนนั้ ทนั ทกุ วนั
ในเวลาพรรษานต้ี ง้ั สจั อธษิ ฐานไวเ้ ลยวา่ จะไมใ่ หข้ าดทง้ั เชา้ ทงั้ เยน็ การทำ� วตั ร และกราบเรยี นทา่ นพระครู
ไวด้ ว้ ยหากวา่ ท่านสงั่ ใหเ้ ราไปในท่ีนมิ นต์วา่ ใหท้ ่านรอจนเรากลบั มาถึงค่อยท�ำวตั ร เราขอทา่ นไว้อย่างนน้ั
นหี่ มายถงึ ทำ� วตั รสว่ นรวม สว่ นทก่ี ฏุ เิ ราทำ� อกี ทหี นง่ึ นเ่ี ราอธษิ ฐานไวเ้ ปน็ สว่ นรวม ทำ� วตั รสว่ นรวมไมใ่ หข้ าด
ทั้งเช้าและเยน็ ในพรรษา…”

(เขา้ สู่แดนนพิ พาน หน้า ๑๑๘–๑๑๙)

ตัง้ สัจอธิษฐาน

ท่านได้เล่าตอ่ ไปว่า พอบวชแลว้ กลับไม่คิดจะสกึ เพราะมีความซาบซงึ้ ในธรรมะของพระพุทธเจ้า
“…เวลาบวชแลว้ กต็ งั้ หนา้ ตงั้ ตาปฏบิ ตั ิ ตงั้ หนา้ ตง้ั ตาเรยี นหนงั สอื นเ่ี ลา่ เปน็ คตใิ หห้ มเู่ พอื่ นฟงั เรอื่ ง
ความจรงิ จงั เรยี นๆ จรงิ ๆ ไมถ่ อย แตส่ ำ� คญั ทเ่ี รยี นธรรมะไปตรงไหนมนั สะดดุ ใจ เอะ๊ ๆ ชอบกลๆ เขา้ ไป
เรอ่ื ยๆ ธรรมกเ็ ขา้ กบั เราซง่ึ เปน็ คนจรงิ อยแู่ ลว้ ไดง้ า่ ย ธรรมะเปน็ ของจรงิ อยแู่ ลว้ กบั นสิ ยั จรงิ กเ็ ลยเขา้ กนั
ได้สนทิ เอ๊ะ ชอบกลๆ
เวลาอา่ นพทุ ธประวตั แิ ละอา่ นสาวกประวตั เิ ขา้ ไปอกี โอโ้ ฮ ทนี ใ้ี จหมนุ ตวิ้ ๆ นน่ั แลเรอื่ งทจี่ ะอยไู่ ปได้
เรอ่ื งภายนอกกค็ อ่ ยจดื ไปจางไปๆ เรอื่ งธรรมะกห็ มนุ ตวิ้ ๆ ดดู ดม่ื เขา้ ไปเรอื่ ยๆ จนกระทงั่ ไดต้ ง้ั สจั อธษิ ฐาน
เวลาเรยี นหนงั สอื วา่ จบเปรยี ญสามประโยคแลว้ เราจะออกปฏบิ ตั โิ ดยถา่ ยเดยี วเทา่ นน้ั ไมม่ ขี อ้ แมไ้ มม่ เี งอื่ นไข
เพราะอยากพน้ ทกุ ขเ์ หลอื กำ� ลงั พดู งา่ ยๆ อยากเปน็ พระอรหนั ตน์ นั่ เอง เหน็ พระพทุ ธเจา้ กเ็ ปน็ พระอรหนั ต์
สาวกทง้ั หลายออกมาจากสกลุ ตา่ งๆ สกลุ พระราชา มหาเศรษฐี กฎุ มุ พี พอ่ คา้ ประชาชน ตลอดคนธรรมดา
องคไ์ หนออกมาจากสกลุ ใดกไ็ ปบำ� เพญ็ ในปา่ ในเขา หลงั จากไดร้ บั พระโอวาทจากพระพทุ ธเจา้ แลว้ เดย๋ี วองคน์ นั้
ส�ำเร็จพระอรหันต์อยทู่ ่ีน่นั องค์นนั้ ส�ำเรจ็ อย่ใู นปา่ นนั้ อยูใ่ นเขาลูกนนั้ อย่ใู นทำ� เลน้ี มีแต่ทส่ี งบสงดั
การประกอบความพากเพยี รของทา่ นทำ� อยา่ งเอาจรงิ เอาจงั เปน็ เนอ้ื เปน็ หนงั เอาเปน็ เอาตายเขา้ วา่
จรงิ ๆ ทา่ นไมท่ ำ� เหลาะๆ แหละๆ เลน่ ๆ ลบู ๆ คลำ� ๆ เหมอื นอยา่ งเราทงั้ หลายทำ� กนั ผลของทา่ นแสดงออกมา
เป็นความอัศจรรย์ เปน็ พระอรหันตว์ ิเศษๆ นลี่ ะมนั ถงึ ใจ…”

(เข้าสู่แดนนิพพาน หนา้ ๑๑๙–๑๒๐)

123

ความสงสัย

“…เกดิ ความเชอื่ เลอื่ มใสขน้ึ มาและคดิ อยากบำ� เพญ็ ตนใหเ้ ปน็ เชน่ นน้ั ดว้ ย แตว่ ธิ บี ำ� เพญ็ เพอ่ื เปน็ เชน่ นน้ั
จะบำ� เพญ็ อยา่ งไร? ธรรมคอื ปฏปิ ทาเครอื่ งดำ� เนนิ ซงึ่ จะชกั จงู จติ ใจใหเ้ ปน็ ไปเพอื่ ธรรมขน้ั สงู คอื การตรสั รู้
เหมอื นอย่างพระพุทธเจา้ และสาวกทง้ั หลายน้นั บดั นจ้ี ะสามารถผลติ ผลให้เปน็ เชน่ น้นั ไดห้ รอื ไม่ หรือจะ
เปน็ โมฆะและกลายเปน็ ความลำ� บากแกต่ นผปู้ ฏบิ ตั ไิ ปเปลา่ ๆ หรอื หากจะมผี ลเชน่ นน้ั อยอู่ ยา่ งสมบรู ณต์ าม
สวากขาตธรรมทตี่ รสั ไวช้ อบแลว้ นเ้ี ปน็ ความสงสยั เบอื้ งตน้ แตค่ วามเชอื่ วา่ พระพทุ ธเจา้ ตรสั รกู้ ด็ ี พระสาวก
ตรสั รูเ้ ปน็ พระอรหันตก์ ด็ ี รสู้ ึกเชอ่ื มน่ั อย่างเต็มใจตามวิสัยของปุถุชน
สงิ่ ทเี่ ปน็ อปุ สรรคแกต่ นอยใู่ นระยะเรมิ่ ตน้ นก้ี ค็ อื ความสงสยั วา่ ปฏปิ ทาทเ่ี ราดำ� เนนิ ตามทา่ นจะบรรลุ
ถงึ จดุ ท่ีท่านบรรลุหรอื ไม่ หรอื วา่ ทางเหลา่ นี้จะกลายเปน็ ขวากเปน็ หนามไปเสียหมด หรือจะกลายเปน็ อ่นื
จากนยิ ยานกิ ธรรม ทงั้ ๆ ทพี่ ระพทุ ธเจา้ และสาวกทง้ั หลายดำ� เนนิ ไปตามทางสายนแี้ ลว้ ถงึ แดนแหง่ ความเกษม
น่ีเปน็ ความสงสยั ปฏปิ ทาฝา่ ยเหตุ ฝ่ายผลก็ให้มคี วามสงสยั ว่าเวลาน้มี รรคผลนพิ พานจะมีอยู่เหมอื นคร้ัง
พุทธกาลหรือไม่ ความสงสยั ท่ีฝังอยู่ภายในใจทงั้ นี้ไม่สามารถจะระบายใหผ้ ้หู นง่ึ ผใู้ ดฟงั ได้ เพราะเข้าใจว่า
จะไมม่ ีใครสามารถแก้ไขความสงสยั นี้ให้สิ้นซากไปจากใจได…้ ”

(แวน่ ดวงใจ หน้า ๒๒๑)

กติ ตศิ พั ทข์ องทา่ นพระอาจารยม์ ัน่

“….นลี่ ะจงึ เปน็ เหตใุ หม้ คี วามสนใจและมงุ่ หวงั ทจี่ ะพบทา่ นพระอาจารยม์ น่ั อยเู่ สมอ แมจ้ ะยงั ไมเ่ คย
พบเห็นท่านมาก่อนเลยก็ตาม แต่เคยได้ยินกิตติศัพท์กิตติคุณของท่านฟุ้งขจรมาจากจังหวัดเชียงใหม่
เปน็ เวลานานแลว้ วา่ ทา่ นเปน็ พระสำ� คญั รปู หนง่ึ โดยมากผทู้ ม่ี าเลา่ เรอื่ งของทา่ นใหฟ้ งั นนั้ จะไมเ่ ลา่ ธรรมขน้ั
อรยิ ภมู ธิ รรมดา แตจ่ ะเลา่ ถงึ ขนั้ พระอรหตั ภมู ขิ องทา่ นทงั้ นนั้ จงึ เปน็ เหตใุ หม้ น่ั ใจวา่ เมอ่ื เราไดศ้ กึ ษาเลา่ เรยี น
ใหเ้ ตม็ ภมู คิ ำ� สตั ยข์ องตนทตี่ งั้ ไวแ้ ลว้ อยา่ งไรเราจะตอ้ งพยายามออกปฏบิ ตั แิ ละไปอยสู่ ำ� นกั ของทา่ น และ
ศกึ ษาอบรมกบั ท่าน เพือ่ จะตดั ขอ้ ขอ้ งใจสงสยั ท่ีฝังใจอย่ขู ณะนใี้ หจ้ งได้…”

(แว่นดวงใจ หน้า ๒๒๑–๒๒๒)

124

หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน

วัดป่าบา้ นตาด จ.อดุ รธานี

ไดเ้ หน็ ทา่ นพระอาจารยม์ ัน่

“…พอเดนิ ทางไปถงึ จงั หวดั เชยี งใหม่ กเ็ ผอญิ ทา่ นพระอาจารยม์ นั่ ถกู ทา่ นเจา้ คณุ ธรรมเจดยี ์ จงั หวดั
อดุ รธานี อาราธนานมิ นตท์ า่ นใหไ้ ปพกั จำ� พรรษาอยทู่ จี่ งั หวดั อดุ รธานี ทา่ นกำ� ลงั เดนิ ทางออกจากทวี่ เิ วกมา
พกั อยทู่ ว่ี ดั เจดยี ห์ ลวง จงั หวดั เชยี งใหม่ ไลเ่ ลยี่ กนั กบั ทางนไ้ี ปถงึ พอไดท้ ราบวา่ ทา่ นมาพกั อยทู่ ว่ี ดั เจดยี ห์ ลวง
เทา่ น้นั กเ็ กิดความยินดเี ป็นลน้ พน้ ตอนเชา้ ไปบิณฑบาตกลับมาได้ทราบจากพระเลา่ ใหฟ้ งั วา่ เช้านี้ท่าน
พระอาจารยม์ นั่ ออกบณิ ฑบาตสายนแ้ี ละกลบั มาทางเดมิ ดงั นกี้ ย็ งิ่ เปน็ เหตใุ หม้ คี วามสนใจใครอ่ ยากจะพบ
เหน็ ทา่ นมากขนึ้ จะไมพ่ บซง่ึ ๆ หนา้ กต็ าม แตข่ อใหพ้ บเหน็ ทา่ นจะเปน็ ทพ่ี อใจ กอ่ นทที่ า่ นจะออกเดนิ ทางไป
จงั หวดั อุดรธานี

พอวนั รงุ่ ขน้ึ เชา้ กอ่ นทา่ นออกบณิ ฑบาต เรากร็ บี ไปบณิ ฑบาตแตเ่ ชา้ กอ่ นทา่ น แลว้ กลบั มาถงึ กฎุ กี ค็ อย
สงั เกตตามเสน้ ทางท่ีท่านจะผ่านมาตามท่ไี ด้สอบถามกบั พระไวแ้ ลว้ ไม่นานกเ็ ห็นทา่ นมา จึงรบี เข้าไปใน
หอ้ งกุฎี แลว้ ค่อยสอดสา่ ยตาออกดูทา่ นภายในหอ้ งอย่างลบั ๆ ดว้ ยความหิวกระหายอยากพบท่านมาเป็น
เวลานาน ก็ไดเ้ หน็ ทา่ นมาจรงิ ๆ เกิดความเลอื่ มใสในทา่ นขน้ึ อยา่ งเตม็ ที่ในขณะนนั้ วา่ เราไมเ่ สยี ทที เี่ กิดมา
เปน็ มนษุ ย์ทั้งชาติ ไดเ้ หน็ พระอรหันตใ์ นคราวนีเ้ สียแล้ว ท้ังๆ ท่ไี ม่มีใครบอกว่าทา่ นพระอาจารยม์ ่นั เป็น
พระอรหนั ต์ แตใ่ จเรามนั หยง่ั เชอื่ แนว่ แนล่ งไปอยา่ งนนั้ พรอ้ มทง้ั ความปตี ยิ นิ ดจี นขนพองสยองเกลา้ อยา่ ง
บอกไมถ่ กู ในขณะทไี่ ดเ้ หน็ ทา่ น ทงั้ ๆ ทท่ี า่ นกไ็ มไ่ ดม้ องเหน็ เราดว้ ยตาเนอ้ื คราวนนั้ ทา่ นพกั อยทู่ วี่ ดั เจดยี ห์ ลวง
ไมก่ ีว่ นั กอ็ อกเดินทางมาจังหวดั อดุ รธานีกบั คณะลกู ศษิ ยข์ องท่าน…”

(แว่นดวงใจ หนา้ ๒๒๒)

มงุ่ ออกปฏิบัติกรรมฐาน

“….ความสตั ยท์ เี่ คยตงั้ ตอ่ ตนเองนนั้ คอื ฝา่ ยบาลขี อใหจ้ บเพยี งเปรยี ญ ๓ ประโยคเทา่ นน้ั สว่ นนกั ธรรม
แมจ้ ะไมจ่ บชนั้ กไ็ มถ่ อื เปน็ ปญั หา พอสอบเปรยี ญได้ ๓ ประโยคแลว้ จะออกปฏบิ ตั โิ ดยถา่ ยเดยี ว จะไมย่ อม
ศกึ ษาและสอบประโยคตอ่ ไปเปน็ อนั ขาด นเ่ี ปน็ คำ� สตั ยท์ เี่ คยตง้ั ไว้ ฉะนนั้ การศกึ ษาเลา่ เรยี นจงึ มงุ่ เพอื่ เปรยี ญ
๓ ประโยค แตจ่ ะเปน็ กรรมดหี รอื กรรมชวั่ อยา่ งไรกไ็ มท่ ราบได้ การสอบเปรยี ญตกอยถู่ งึ ๒ ปี ปที ส่ี ามจงึ
สอบได้ แมฝ้ ่ายนักธรรมทเ่ี รยี นและสอบยังไม่จบชั้นกพ็ ลอยได้ตามกันไปจนจบชนั้ เพราะเรียนและสอบ
ควบกนั ไป…”

(แว่นดวงใจ หนา้ ๒๒๒)

125

ไมย่ อมท�ำลายสัจจะ

“…เราพยายามเรยี นหนงั สอื อยทู่ ว่ี ดั เจดยี ห์ ลวง พอสอบเปรยี ญไดก้ เ็ ขา้ ไปกรงุ เทพฯ เพอ่ื มงุ่ หนา้ ออก
ปฏบิ ตั กิ รรมฐานตามคำ� สตั ยท์ ตี่ ง้ั ไว้ แตถ่ กู ผใู้ หญส่ ง่ั ใหอ้ ยทู่ น่ี นั่ ดว้ ยความเมตตาหวงั อนเุ คราะหท์ างดา้ นปรยิ ตั ิ
พยายามหาทางหลกี ออกเพอ่ื ปฏบิ ตั ติ ามความตงั้ ใจและคำ� สตั ยท์ ต่ี ง้ั ไวแ้ ลว้ เพราะคดิ วา่ คำ� สตั ยไ์ ดส้ น้ิ สดุ แลว้
ในขณะทส่ี อบเปรยี ญได้ เราจะเรยี นและสอบประโยคต่อไปอีกไมไ่ ดโ้ ดยเดด็ ขาด ตามปกตนิ สิ ัยรักความ
สตั ยม์ าก ถา้ ไดต้ ง้ั คำ� สตั ยล์ งคราวไหนแลว้ จะไมย่ อมทำ� ลายคำ� สตั ยน์ น้ั แมช้ วี ติ กไ็ มร่ กั เทา่ คำ� สตั ย์ นอี่ ยา่ งไร
จะพยายามออกปฏบิ ตั ใิ หจ้ นได้ เผอญิ ในระยะนน้ั พระผใู้ หญท่ เี่ ปน็ อาจารยถ์ กู นมิ นตไ์ ปตา่ งจงั หวดั เรากพ็ อมี
โอกาสปลกี ตวั ออกจากกรงุ เทพฯ ไดใ้ นเวลานนั้ หากวา่ ทา่ นยงั อยทู่ น่ี น้ั จะหาทางออกยาก เพราะทา่ นกเ็ ปน็
เจ้าบญุ เจา้ คณุ เหนอื กระหม่อมเราอยู่ อาจจะเกรงอกเกรงใจท่านและหาทางออกได้ยาก…”

(แวน่ ดวงใจ หนา้ ๒๒๒–๒๒๓)

สบุ นิ นมิ ิต

“…พอเหน็ เปน็ โอกาสดตี อนกลางคนื กเ็ ขา้ นงั่ ตงั้ สจั จาธษิ ฐานขอบนั ดาลจากพระธรรม เพอ่ื เปน็ การ
สนบั สนนุ ความแนใ่ จในการออกคราวน้ี เมอ่ื ทำ� วตั รสวดมนตเ์ สรจ็ แลว้ ในคำ� อธษิ ฐานนนั้ มคี วามมงุ่ หมายวา่ ถา้ จะ
ไดอ้ อกปฏบิ ตั กิ รรมฐานตามทไี่ ดต้ ง้ั คำ� สตั ยโ์ ดยความสะดวกดว้ ย ออกไปแลว้ จะไดส้ มความปรารถนาดว้ ย
ขอใหน้ มิ ิตทีแ่ ปลกประหลาดแสดงข้ึนในคืนวันนี้ จะแสดงข้นึ ทางด้านภาวนาหรอื ดา้ นความฝนั กไ็ ด้ แต่ถา้
จะไมไ่ ดอ้ อกปฏิบัติกด็ ี ออกไปแล้วไม่สมหวงั ก็ดี นมิ ติ ทแ่ี สดงขน้ึ มานั้น ขอจงแสดงเหตทุ ไ่ี มส่ มหวังและ
ไมเ่ ปน็ ทพี่ อใจ แตถ่ า้ เปน็ ดว้ ยความสมหวงั เมอื่ ออกไปแลว้ ขอใหเ้ ปน็ นมิ ติ ทแี่ ปลกประหลาดและอศั จรรยย์ งิ่
แสดงข้นึ มาในคนื วันน้ี

จากน้ันกน็ ั่งภาวนาต่อไป กไ็ ม่ปรากฏวา่ มนี ิมติ ใดๆ มาผ่านในระยะทีน่ ง่ั อยูเ่ ป็นเวลานาน ก็หยุด
และพกั ผ่อน ขณะท่ีหลับลงไปปรากฏว่าได้เหาะขน้ึ ไปบนอากาศสงู และในขณะทีเ่ หาะนัน้ ได้เหาะข้นึ จาก
พระนครหลวง แตไ่ มใ่ ชพ่ ระนครหลวงกรงุ เทพฯ เรา จะเปน็ นครหลวงอะไรกไ็ มท่ ราบ กวา้ งสดุ สายหสู ายตา
และเป็นนครหลวงท่ีสวยงามมาก เหาะรอบพระนครนั้นสามรอบแล้วก็กลับลงมา พอกลับมาถึงท่ีก็ตื่น
ขนึ้ มา เปน็ เวลาสน่ี าฬกิ าพอดี จงึ รบี ลกุ จากทน่ี อนดว้ ยความรสู้ กึ อม่ิ เอบิ ภายในอกในใจ เพราะขณะทเ่ี หาะไป
รอบๆ พระนครหลวงนัน้ ได้เห็นสิง่ ท่ีแปลกประหลาดและอศั จรรยห์ ลายประการ ซงึ่ ไมส่ ามารถจะนำ� มา
พรรณนาให้ฟังโดยท่ัวถึงได้ ขณะท่ีตื่นขึ้นมาก็ตื่นด้วยความย้ิมแย้มแจ่มใสและยินดีในนิมิตเป็นอันมาก
ทง้ั เกดิ ความคดิ ขนึ้ ในเวลานน้ั วา่ อยา่ งไรเราตอ้ งสมหวงั แนน่ อน เพราะนมิ ติ ประเภทอศั จรรยเ์ ชน่ น้ี เราไมเ่ คย
ปรากฏตง้ั แตก่ าลไหนๆ มา เพง่ิ จะมาปรากฏในคนื วนั นเ้ี ทา่ นนั้ ทง้ั สมกบั เจตนาทเี่ ราตงั้ ไวใ้ นคำ� อธษิ ฐานดว้ ย

126

หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน

วดั ปา่ บ้านตาด จ.อดุ รธานี

คนื นรี้ สู้ กึ เปน็ ของอศั จรรยย์ งิ่ ในนมิ ติ ของเรา พอฉนั จงั หนั เสรจ็ กถ็ อื โอกาสเขา้ ไปนมสั การกราบลาพระมหาเถระ
ทเี่ ปน็ ผใู้ หญ่ในวัดน้ัน ท่านก็ยินดอี นุญาตให้ไปได…้ .” (รวมเวลาศกึ ษาทางปริยัติอยู่ ๗ พรรษา)

(แวน่ ดวงใจ หนา้ ๒๒๓–๒๒๔)

จิตสงบ

“…ตอนปฏบิ ตั ทิ แี รกกเ็ อาจรงิ เอาจงั และนสิ ยั เรามนั จรงิ ดว้ ยไมใ่ ชเ่ ลน่ ๆ หยอกๆ ถา้ ปกั ลงตรงไหนแลว้
ต้องเป็นอยา่ งนั้น พอออกปฏบิ ตั ิแล้ว มหี นงั สอื ปาฏโิ มกข์พกเล่มเดียวเท่าน้นั ติดย่ามไป คราวนจ้ี ะเอาให้
เตม็ เมด็ เต็มหนว่ ยเต็มเหตเุ ต็มผล เอาเป็นเอาตายเขา้ วา่ เลย อยา่ งอนื่ ไมห่ วังท้งั หมด หวังความพน้ ทกุ ข์
อยา่ งเดยี วเทา่ นนั้ จะพน้ ทกุ ขใ์ นชาตนิ แี้ นน่ อน ขอแตท่ า่ นผหู้ นงึ่ ผใู้ ดไดช้ แ้ี จงใหเ้ ราทราบเรอ่ื งมรรคผลนพิ พาน
วา่ มอี ยู่จรงิ เทา่ นนั้ เราจะมอบกายถวายชีวติ ตอ่ ทา่ นผู้น้นั และมอบกายถวายชวี ติ ต่ออรรถต่อธรรมดว้ ย
ขอ้ ปฏบิ ตั อิ ยา่ งไมใ่ หม้ อี ะไรเหลอื หลอเลย ตายกต็ ายไปกบั ขอ้ ปฏบิ ตั ิ ไมไ่ ดต้ ายดว้ ยความถอยหลงั จติ ปกั ลง
เหมอื นหินหัก
ออกมาทแี รกกม็ าจำ� พรรษาโคราช อำ� เภอจกั ราช (ปนี น้ั เปน็ พรรษาที่ ๘) กเ็ รง่ ความเพยี รตง้ั แตม่ าถงึ
ทแี รก ไมน่ านจติ กไ็ ดค้ วามสงบ เพราะทำ� ทง้ั วนั ทงั้ คนื ไมย่ อมทำ� งานอะไรทง้ั นน้ั นอกจากงานสมาธภิ าวนา
เดนิ จงกรมอย่างเดยี ว ตามประสาของคนล้มลุกคลกุ คลานนนั่ แหละ จิตก็สงบได้ ก็เร่งใหญ่เลย…”

(เขา้ สู่แดนอวกาศของจติ ของธรรม หน้า ๖๐)

จิตเส่ือม

“…ระยะตอ่ มาพระผใู้ หญจ่ ะใหเ้ ขา้ ไปเรยี นหนงั สอื ทก่ี รงุ เทพฯอกี และทา่ นอตุ สา่ หเ์ มตตาตามมาสง่ั
แล้วก็เลยไปต่างจงั หวดั ขากลบั มาทา่ นจะให้ไปกรุงเทพฯ ด้วย เราร้สู กึ อดึ อดั ใจ จากน้ันเราก็เดินทางมา
จงั หวดั อดุ รธานี เพอ่ื ตามหาทา่ นพระอาจารยม์ นั่ ใจทมี่ คี วามเจรญิ ในทางดา้ นสมาธิ กป็ รากฏวา่ เสอ่ื มลงที่
บา้ นตาดซง่ึ เปน็ บา้ นเกดิ ของตน การเสอื่ มทง้ั นเ้ี นอ่ื งจากทำ� กลดคนั หนง่ึ เทา่ นนั้ และการมาอยบู่ า้ นตาดกย็ งั
ไมถ่ งึ เดอื นเตม็ จติ รสู้ กึ เขา้ สมาธไิ มค่ อ่ ยสนทิ ดเี หมอื นทเ่ี คยเปน็ มา บางครง้ั เขา้ สงบได้ แตบ่ างครง้ั เขา้ ไมไ่ ด้
พอเหน็ ท่าไม่ดี จะฝนื อยู่ไปก็ตอ้ งขาดทนุ จงึ รีบออกจากท่ีน้นั ทนั ที ตอนนนั้ สมาธกิ ็ดไี มใ่ ช่เล่นเหมือนกันนะ
แนน่ ปง๋ึ เลยเทยี ว เรม่ิ แนใ่ จวา่ มรรคผลนพิ พานมแี ลว้ เพราะจติ แนน่ ปง๋ึ ไมส่ ะทกสะทา้ นกบั อะไร แมข้ นาดนนั้
กย็ ังเสื่อมไดแ้ ค่ท�ำกลดคันเดียวเทา่ น้นั …”

(แว่นดวงใจ หนา้ ๒๒๔)

127

-๒-
บทธรรมครงั้ แรก

การเสาะแสวงหาครบู าอาจารยข์ องทา่ นอาจารยน์ น้ั ทา่ นไดเ้ สาะหามามาก แตผ่ ลสดุ ทา้ ยทา่ นกไ็ ด้
ท่านพระอาจารย์มน่ั มาเป็นครอู าจารย์ ท่านได้เทศนไ์ วว้ า่
“…การที่เสาะแสวงหาครูหาอาจารย์ท่ีเป็นที่แน่ใจและปรากฏเป็นความอบอุ่นข้ึนมาภายในตนน้ัน
เปน็ สงิ่ ทหี่ าไดย้ าก เสาะแสวงเสยี แทบลม้ แทบตาย ดไี มด่ ไี มเ่ จอ เลยลม้ เหลวไปเฉยๆ ตอ่ หนา้ ตอ่ ตาเรา เพราะ
สงิ่ ตอบแทนความมงุ่ หวงั ของเราความมงุ่ หมายของเราไมม่ ี ถงึ มเี รากไ็ มพ่ บไมเ่ จอทา่ นเสยี ผลประโยชนน์ ้ี
กล็ ม้ เหลวไปได ้ ดงั ทผ่ี มไดเ้ คยพดู เสมอวา่ เสาะแสวงหาครหู าอาจารยน์ น้ั ผมนะ่ เสาะแสวงหามากตอ่ มาก
เพราะเราไมไ่ ดต้ ง้ั ความมงุ่ หมายไวอ้ ยา่ งธรรมดาๆ แมจ้ ะตวั เทา่ หนนู กี้ ต็ าม การตง้ั ความมงุ่ หมายไวภ้ ายใน
ใจน้ี ตัง้ ไวอ้ ย่างสงู สดุ ทีเดียว คอื วมิ ตุ ตหิ ลดุ พน้ เทา่ นัน้ …”

(แสวงโลก แสวงธรรม หน้า ๑๘๔)

“…ผมนจ่ี ะวา่ นกั ลา่ อาจารยก์ ถ็ กู มนั เขา้ หมด ทง้ั ปรยิ ตั ิ ทงั้ ปฏบิ ตั ิ เพราะฉะนน้ั ถงึ พดู ได้ เรอื่ งปรยิ ตั ิ
กพ็ ดู ได้ เรอ่ื งปฏบิ ตั กิ พ็ ดู ได้ เพราะเคยเขา้ เคยอยทู่ ง้ั นน้ั ไมว่ า่ วดั ราษฎรว์ ดั หลวงอะไร วดั ใหญว่ ดั นอ้ ย ไดไ้ ป
อยหู่ มดกร็ ซู้ ิ ออกมาทางปา่ กเ็ หมอื นกนั สำ� นกั ไหนผมกไ็ ป ครบู าอาจารยย์ ง่ิ มชี อื่ โดง่ ดงั เทา่ ไรยงิ่ บกุ เขา้ ไป…”

(แสวงโลก แสวงธรรม หนา้ ๓๙๐)

เมอ่ื ไดพ้ บทา่ นพระอาจารยม์ น่ั ครงั้ แรก และไดฟ้ งั บทธรรมจากทา่ นพระอาจารยม์ นั่ ครงั้ แรก กเ็ กดิ
ความเชือ่ เลือ่ มใสทันที เร่อื งนท้ี า่ นไดเ้ ล่าไว้ดังนี้

ไดอ้ ยกู่ ับทา่ นพระอาจารยม์ ัน่ (ในพรรษาที่ ๙)

“…การจากนครราชสีมามาจังหวัดอุดรคราวน้ี จุดประสงค์ก็เพ่ือจะมาให้ทันท่านพระอาจารย์มั่น
ซ่งึ จ�ำพรรษาอยู่ทีว่ ดั ปา่ โนนนิเวศน์ อดุ รธานี แต่กม็ าไมท่ ันท่าน เพราะทา่ นถูกนมิ นตไ์ ปจงั หวัดสกลนคร
เสยี กอ่ น จงึ เลยไปพกั อยทู่ ว่ี ดั ทงุ่ สวา่ ง จงั หวดั หนองคาย ประมาณสามเดอื นกวา่ พอถงึ เดอื นพฤษภาคม ๒๔๘๕
(พรรษาที่ ๙) กอ็ อกเดนิ ทางจากหนองคายไปจงั หวดั สกลนคร และเดนิ ทางตอ่ ไปถงึ วดั ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั
ท่ตี ง้ั อยู่บา้ นโคก ตำ� บลตองโขบ อ�ำเภอเมอื ง จังหวดั สกลนคร พอไปถงึ วดั พบท่านกำ� ลังเดนิ จงกรมอยู่

128

หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน

วดั ป่าบา้ นตาด จ.อุดรธานี

เวลาโพลเ้ พล้ (จวนมดื ) ทา่ นกถ็ ามวา่ “ใครมา” กก็ ราบเรยี นถวายทา่ น จากนน้ั ทา่ นกอ็ อกจากทางจงกรม
ขึ้นไปบนศาลา เพราะท่านพักอยู่ในห้องบนศาลาน้ัน ท่านก็ทักทายปราศรัยด้วยความเมตตาและเอ็นดู
คนทแ่ี สนโงไ่ ปหาทา่ น…”

(แวน่ ดวงใจ หนา้ ๒๒๔)

ทา่ นอาจารยไ์ ด้เลา่ วา่ เป็นจังหวะเหมาะพอดีท่ที ่านจะไดอ้ ยู่กบั หลวงป่มู นั่

“… พอไปถงึ หลวงปู่มนั่ เทา่ นนั้ ละ ไมอ่ ยากได้ยินเลยคำ� ทีว่ ่าทีน่ เ่ี ต็มแลว้ รับไม่ได้แล้ว กลวั ว่าหวั อก
จะแตก ถึงขนาดนัน้ เรายงั ไมล่ มื นะ ค�ำพดู ของท่าน คำ� นนั้ เปน็ สดๆ รอ้ นๆ ว่า ‘น่พี อดนี ะน่ี เม่ือวานนี้
ทา่ นเนตรไปจากนี้ แลว้ วนั นท้ี า่ นมหากม็ า ไมเ่ ชน่ นนั้ กไ็ มไ่ ดอ้ ยู่ กฏุ ไิ มว่ า่ ง’ นนั่ ฟงั ซิ ทา่ นพดู อยู๋ มนั เสยี วจะตาย
เขา้ ถึงหวั ตับโน่นนะ่ ทั้งๆ ทจี่ ะไดอ้ ยอู่ ย่นู ะ ฟงั ซิ…”

(ความลกึ ลบั ซบั ซ้อนของจิตวญิ ญาณ หนา้ ๓๔๐)

“…และทา่ น (พระอาจารย์มนั่ ) ไดแ้ สดงธรรมใหฟ้ ัง ในบทธรรมท่ีท่านแสดงให้ฟงั ในคืนวนั ทไ่ี ปถงึ
ทแี รกนน้ั จะนำ� ใจความยอ่ เทา่ ทจี่ ำ� ไดม้ าเลา่ ใหท้ า่ นผฟู้ งั ทราบ และเปน็ บทธรรมทฝี่ งั ลกึ อยภู่ ายในใจจนบดั นวี้ า่
‘ทา่ นมหากน็ บั วา่ เรยี นมาพอสมควร จนปรากฏนามเปน็ มหา ผมจะพดู ธรรมใหฟ้ งั เพอื่ เปน็ ขอ้ คดิ แตอ่ ยา่ เขา้ ใจ
วา่ ผมประมาทธรรมของพระพทุ ธเจ้านะ เวลาน้ธี รรมท่ีทา่ นเรยี นมาได้มากไดน้ อ้ ย ยงั ไม่อำ� นวยประโยชน์
ใหท้ า่ นสมภมู ทิ เ่ี ปน็ เปรยี ญ นอกจากจะเปน็ อปุ สรรคตอ่ การภาวนาของทา่ นในเวลานเ้ี ทา่ นน้ั เพราะทา่ นจะอด
เปน็ กงั วลและน�ำธรรมที่เรยี นมานั้นเข้ามาเทียบเคียงไม่ได้ในขณะท่ที ำ� ใจให้สงบ

ดังนั้นเพ่ือความสะดวกในเวลาจะทำ� ความสงบใหแ้ กใ่ จ ขอใหท้ า่ นทจ่ี ะท�ำใจให้สงบยกบชู าไว้ก่อน
ในบรรดาธรรมทที่ า่ นไดเ้ รยี นมา ตอ่ เมอ่ื ถงึ กาลทธ่ี รรมซง่ึ ทา่ นเรยี นมาจะวง่ิ เขา้ มาประสานกนั กบั ทางดา้ น
ปฏบิ ตั แิ ละกลมกลนื กนั ไดอ้ ยา่ งสนทิ ทงั้ เปน็ ธรรมแบบพมิ พ์ ซงึ่ เราควรจะพยายามปรบั ปรงุ จติ ใจใหเ้ ปน็ ไป
ตามนนั้ ธรรมทง้ั สองคอื ปรยิ ตั แิ ละปฏบิ ตั จิ ะวง่ิ เขา้ ประสานกนั เอง แตเ่ วลานผ้ี มยงั ไมอ่ ยากจะใหท้ า่ นเปน็
อารมณก์ บั ธรรมทท่ี า่ นเลา่ เรยี นมา อยา่ งไรจติ จะสงบลงไดห้ รอื จะใชป้ ญั ญาคดิ คน้ ในขนั ธ์ กข็ อใหท้ า่ นทำ� อยู่
ในวงกายนก้ี อ่ น เพราะธรรมในตำ� ราทา่ นชเ้ี ขา้ มาในขนั ธท์ งั้ นน้ั แตห่ ลกั ฐานของจติ ยงั ไมม่ ี จงึ ไมส่ ามารถนำ�
ธรรมทเ่ี รยี นมาจากตำ� ราน้อมเขา้ มาเป็นประโยชนแ์ ก่ตนได้ และยังจะกลายเปน็ สัญญาอารมณค์ าดคะเน
ไปท่ีอื่น จนกลายเปน็ คนไมม่ หี ลัก เพราะจิตติดปรยิ ตั ิในลกั ษณะไมใ่ ชท่ างของพระพุทธเจ้า ขอให้ท่านน�ำ
ธรรมทผี่ มพดู ใหฟ้ งั ไปคดิ ดู ถา้ ทา่ นตงั้ ใจปฏบิ ตั ไิ มท่ อ้ ถอย วนั หนงึ่ ขา้ งหนา้ ธรรมทกี่ ลา่ วนจ้ี ะประทบั ใจทา่ น
แน่นอน’…”

(แว่นดวงใจ หน้า ๒๒๔–๒๒๕)

129

หายสงสัยเร่อื งมรรคผลนพิ พาน

“…เรารสู้ กึ เกดิ ความเชอื่ เลอ่ื มใสทา่ นทนั ทที ไี่ ดเ้ หน็ องคข์ องทา่ นชดั เจนในคนื วนั นน้ั เพราะทง้ั ความเชอ่ื
ในธรรมทท่ี า่ นเมตตาแสดงใหฟ้ งั และทา่ นกอ็ นเุ คราะหร์ บั ไวใ้ หอ้ ยใู่ นสำ� นกั ของทา่ นตลอดมา เรากอ็ ยกู่ บั ทา่ น
ด้วยความพอใจจนบอกไม่ถกู แต่อยูด่ ว้ ยความโงเ่ งา่ อย่างบอกไมถ่ ูกอกี เหมอื นกัน เฉพาะองคท์ ่านร้สู กึ มี
เมตตาธรรมานุเคราะหท์ กุ ครง้ั ท่เี ข้าไปหา”

(แว่นดวงใจ หนา้ ๒๒๕)

“… ทา่ นชแ้ี จงแสดงเรอื่ งอะไร ไมว่ า่ ดทู า่ นทางตาฟงั ทา่ นทางหู อะไรไมม่ คี ลาดมเี คลอ่ื นจากหลกั ธรรม
หลกั วนิ ยั พดู อะไรตรงไปตรงมาเปง๋ ๆ ใจออกอทุ านวา่ โอโห นล่ี ะอาจารยข์ องเรา การแสดงเรอ่ื งมรรคผล
นพิ พาน ไมร่ ูท้ า่ นเอามาจากไหน ไมไ่ ดม้ ีคำ� ว่าเหน็ จะ-เห็นจะ เพราะถอดออกมาจากใจท่านแทๆ้ ทที่ า่ นรู้
ทา่ นเหน็ ทา่ นปฏบิ ตั มิ าอยา่ งไร เหมอื นอยา่ งวา่ นน่ี า่ ๆ อยอู่ ยา่ งนน้ั เหน็ หรอื ไมเ่ หน็ รหู้ รอื ไมร่ ู้ นน่ี า่ มรรคผล
นพิ พานอยทู่ ไี่ หน อยทู่ น่ี ๆ่ี จติ มนั กฝ็ งั ลกึ ฝงั จรงิ ๆ เหมอื นกบั ทา้ ทายอยตู่ ลอดเวลา ในการแสดงดว้ ย ทา้ ทาย
ความจริงจงั ของท่าน ท้าทายดว้ ยความจรงิ ของธรรมดว้ ย
ความจรงิ จงั ของทา่ นกห็ มายถงึ ทา่ นเปน็ ผรู้ ผู้ เู้ หน็ เอง ไมใ่ ชผ่ อู้ น่ื ผใู้ ดเปน็ ผเู้ หน็ แลว้ ทา่ นหยบิ ยมื มาพดู
มาเทศนใ์ หเ้ ราฟงั ทา่ นเปน็ ผรู้ เู้ องเหน็ เองในธรรมทง้ั หลาย เวลามาแสดงใหเ้ ราฟงั จงึ ถงึ ใจ พอเขา้ ถงึ ใจแลว้ ทนี ี้
เราจะจรงิ ไหม มรรคผลนพิ พานจะสงสยั อกี ไหมทน่ี ่ี ไมม่ ที างสงสยั หมดแลว้ เรอ่ื งมรรคผลนพิ พานยงั มอี ยู่
หรอื ไม่น้ัน เปน็ อนั ว่าหมดปญั หาแล้วโดยประการทงั้ ปวง ไมม่ ีเหลืออย่แู ม้เปอร์เซ็นตเ์ ดยี วเลย เชือ่ แนว่ ่า
มรรคผลนพิ พานมอี ยรู่ อ้ ยเปอรเ์ ซน็ ต์ เอาละทนี เ้ี รายอ้ นมาถามตวั เองวา่ จะจรงิ ไหม จรงิ ซี ไมจ่ รงิ ใหต้ ายเสยี
อยา่ อยหู่ นักศาสนาและหนักแผน่ ดินต่อไป ต้งั แตบ่ ัดน้นั มาก็ฟดั กนั ใหญ่เลย…”

(เขา้ สูแ่ ดนนิพพาน หน้า ๑๒๐–๑๒๑)

“…จากนน้ั มากต็ ง้ั สจั อธษิ ฐาน หากวา่ ทา่ นยงั มชี วี ติ อยตู่ ราบใดแลว้ เราจะไมห่ นจี ากทา่ น จนกระทงั่ วนั
ทา่ นลว่ งไปหรอื เราลว่ งไป แตก่ ารไปเทย่ี วเพอ่ื ประกอบความพากเพยี รตามกาลเวลานนั้ ขอไปตามธรรมดา
แต่ถอื ท่านเปน็ หลัก เหมือนกับว่าบ้านเรือนอยู่กบั ทา่ น ไปท่ีไหนต้องกลับมาหาท่าน…”

(เข้าสแู่ ดนอวกาศของจิตของธรรม หนา้ ๖๑)

130

หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน

วัดปา่ บา้ นตาด จ.อดุ รธานี

สบุ ินนิมติ อีกครงั้

“… ความฝนั เรากไ็ มล่ มื ความฝนั นกี้ เ็ คยเลา่ ใหห้ มเู่ พอื่ นฟงั แลว้ แตก่ ร็ สู้ กึ วา่ มนั ดดู ดมื่ พอใหพ้ ดู ไดอ้ กี
ไปอยู่กบั ท่าน พอตง้ั สัจอธษิ ฐานแลว้ ด้วยความลงใจของเรา เชือ่ ตอ่ ทา่ นเต็มเมด็ เตม็ หนว่ ยหาท่ีแยง้ ไม่ได้
ไมว่ ่าท่านจะแสดงออกมาภายนอกภายใน ตรงกบั หลักธรรมหลกั วนิ ยั เปง๋ ๆ ไมม่ ีอ้อมค้อม จึงได้ปลงใจ
อธษิ ฐานวา่ จะอยกู่ บั ทา่ น หากวา่ ทา่ นยงั มชี วี ติ อยจู่ นกระทง่ั ปา่ นนี้ ผมกย็ งั ไมห่ นี ผมตอ้ งอยกู่ บั ทา่ น แตก่ าร
ไปเทีย่ วทนี่ ัน่ ที่นก่ี เ็ ปน็ ธรรมดาดังทค่ี ิดไว้

ไปอยกู่ บั ทา่ นไดป้ ระมาณสกั ๔-๕ คนื เทา่ นนั้ กระมงั ความฝนั นกี้ เ็ ปน็ ความฝนั เรอื่ งอศั จรรยเ์ หมอื นกนั
ฝนั วา่ ไดส้ ะพายบาตร แบกกลด ครองผา้ ดว้ ยดไี ปตามทางอนั รกชฏั สองฟากทางแยกไปไหนไมไ่ ดม้ แี ตข่ วาก
แตห่ นามเตม็ ไปหมด นอกจากจะพยายามไปตามทางทเี่ ปน็ เพยี งดา่ นๆ ไปอยา่ งนนั้ แหละ รกรงุ รงั หากพอ
รเู้ งอ่ื นพอเปน็ แถวทางไป พอไปถงึ ทแี่ หง่ หนง่ึ กม็ กี อไผห่ นาๆ ลม้ ทบั ขวางทางไว้ หาทางไปไมไ่ ด้ จะไปทางไหน
กไ็ ปไมไ่ ด้ มองดสู องฟากทางกไ็ มม่ ที างไป เอ นเ่ี ราจะไปยงั ไงนา เสาะทนี่ น่ั เสาะทน่ี ไ่ี ปกเ็ ลยเหน็ ชอ่ ง ชอ่ งท่ี
ทางเดนิ ไปตรงนัน้ แหละ เป็นช่องนิดหนอ่ ยพอทีจ่ ะบกึ บึนไปใหห้ ลวมตัวกบั บาตรลกู หน่ึงพอไปได้

เมอ่ื ไมม่ ที างไปจรงิ ๆ กเ็ ปลอื้ งจวี รออก มนั ชดั ขนาดนนั้ นะความฝนั เหมอื นเราไมไ่ ดฝ้ นั เปลอ้ื งจวี ร
ออกพบั เกบ็ อยา่ งทเี่ ราพบั เกบ็ เอามาวางนแี้ ล เอาบาตรออกจากบา่ เจา้ ของกค็ บื คลานไปแลว้ กด็ งึ สายบาตร
ไปด้วย กลดกด็ งึ ไปไว้ทีพ่ อเอือ้ มถึง พอบนึ ไปได้กล็ ากบาตรไปด้วย ลากกลดไปดว้ ย แล้วกด็ งึ จีวรไปดว้ ย
บนึ ไปอยอู่ ยา่ งนน้ั แหละ ยากแสนยาก พยายามบกึ บนึ กนั อยนู่ น้ั เปน็ เวลานาน พอดเี จา้ ของกพ็ น้ ไปได้ เดย๋ี ว
กค็ ่อยดงึ บาตรไป บาตรกพ็ น้ ไปได้ แลว้ ก็ดงึ กลดไป กลดก็พ้นไปได้ พยายามดงึ จวี รไป จีวรกพ็ ้นไปได้
พอพน้ ไปไดห้ มดแลว้ กค็ รองผา้ มนั ชดั ขนาดนน้ั นะความฝนั ครองจวี รแลว้ กส็ ะพายบาตร นกึ ในใจวา่ เราไป
ได้ละที่นี่ ก็ไปตามด่านนนั่ แหละ ทางรกมาก พอไปประมาณสกั ๑ เส้นเทา่ นั้น สะพายบาตร แบกกลด
ครองจีวรไป

ตามองไปขา้ งหน้าเป็นที่เว้งิ วา้ งหมด คือขา้ งหน้าเป็นมหาสมทุ ร มองไปฝัง่ โน้นไม่มี เห็นแตฝ่ ง่ั ท่ี
เจา้ ของยนื อยเู่ ทา่ นน้ั และมองเหน็ เกาะหนง่ึ อยโู่ นน้ ไกลมาก มองสดุ สายตาพอมองเหน็ เปน็ เกาะดำ� ๆ นแี่ หละ
น่ีเราจะไปเกาะนั้น พอเดินลงไปฝ่งั นั้น เรอื ไมท่ ราบมาจากไหน เราก็ไม่ได้กำ� หนดว่าเรอื ยนตเ์ รือแจวเรอื
พายอะไร เรอื มาเทยี บฝง่ั เรากข็ นึ้ นงั่ เรอื คนขบั เรอื เขากไ็ มไ่ ดพ้ ดู อะไรกบั เรา พอลงไปนงั่ เรอื แลว้ กเ็ อาบาตร
เอาอะไรลงวางบนเรอื เรอื กบ็ งึ่ พาไปโนน้ เลยนะโดยไมต่ อ้ งบอก มนั อะไรกไ็ มท่ ราบ บงึ่ ๆๆ ไปโนน้ เลย ไมร่ สู้ กึ วา่
มภี ยั มอี ันตรายมีคลน่ื อะไรท้ังน้นั แหละ ไปแบบเงยี บๆ ครเู่ ดยี วเท่านัน้ กถ็ ึง เพราะเปน็ ความฝันน่ี

พอไปถึงเกาะนั้นแล้ว เราก็ขนของออกจากเรือแล้วข้ึนบนฝั่ง เรือก็หายไปเลย เราไม่ได้พูดกัน
สกั คำ� เดียวกบั คนขับเรือ เรากส็ ะพายบาตรขึ้นไปบนเกาะนั้น พอปนี เขาขึ้นไปๆ กไ็ ปเห็นท่านอาจารย์ม่นั

131

กำ� ลังน่ังอย่บู นเขาบนเตียงเลก็ ๆ ก�ำลังนัง่ ตำ� หมากจอ๊ กๆ อยู่ พรอ้ มกับมองมาดเู ราทกี่ ำ� ลังปนี เขาข้ึนไป
หาทา่ น ‘อา้ ว ทา่ นมหามาไดย้ งั ไงน่ี ทางสายนใี้ ครมาไดเ้ มอ่ื ไหร่ ทา่ นมหามาไดย้ งั ไงกนั ’ ‘กระผมนงั่ เรอื มา
ขน้ึ เรอื มา’ ‘โอโ้ ฮ ทางนมี้ นั มายากนา ใครๆ ไมก่ ลา้ เสย่ี งตายมากนั หรอก เอา้ ถา้ อยา่ งนน้ั ตำ� หมากใหห้ นอ่ ย’
ทา่ นกย็ น่ื ตะบนั หมากให้ เรากต็ ำ� จอ๊ กๆๆ ได้ ๒-๓ จอ๊ ก เลยรสู้ กึ ตวั ตน่ื แหม เสยี ใจมาก อยากจะฝนั ตอ่ ไปอกี
ให้จบเรือ่ งคอ่ ยตน่ื กย็ งั ด…ี ”

(เขา้ ส่แู ดนอวกาศของจิตของธรรม หน้า ๖๑–๖๒)

ปรึกษาครูอาจารย์

“…พอตน่ื เชา้ มากเ็ ลยไปเลา่ ความฝนั ใหท้ า่ นฟงั ทา่ นพดู ทำ� นายไดด้ มี าก ‘เออ้ ทฝี่ นั นเ้ี ปน็ มงคลอยา่ งยง่ิ
แล้วนะ นี้เป็นแบบเป็นฉบับในปฏิปทาของท่านไม่เคล่ือนคลาดนะ ให้ท่านด�ำเนินตามปฏิปทาที่ท่านฝันน้ี
เบือ้ งต้นจะยากลำ� บากที่สดุ นะ’ ทา่ นว่าอยา่ งน้ัน ‘ทา่ นตอ้ งเอาให้ดี ทา่ นอยา่ ท้อถอย เบ้ืองตน้ นล้ี �ำบาก
ดทู า่ นลอดกอไผ่มาทั้งกอ นน่ั แหละล�ำบากมากตรงน้นั เอาใหด้ ี อย่าถอยหลงั เป็นอันขาด พอพ้นจากน้ัน
ไปแลว้ กเ็ ว้ิงว้างไปไดส้ บายจนถงึ เกาะ’ ทา่ นว่าอยา่ งน้นั ‘อันนัน้ ไมย่ าก ตรงน้ีตรงยากนา’

เราฟงั เราฟงั จรงิ ๆ นมี่ นั ถงึ ใจๆ เปน็ กบั ตายทา่ นอยา่ ถอยตรงน้ี ครง้ั แรกนยี้ ากทสี่ ดุ พอดกี บั ตอนจติ
เจรญิ จติ เสอื่ ม ตอนนน้ั แหละมนั ยากจนจะเอาหวั ฟาดใสภ่ เู ขาไปโนน้ แนะ่ มนั โมโห เจรญิ แลว้ กเ็ สอื่ มๆ ทา่ นก็
แนะไวอ้ ย่างนน้ั ‘พอพ้นจากนแี้ ลว้ ทา่ นจะไปด้วยความสะดวกสบายไมม่ อี ปุ สรรคอนั ใดเลย มีเทา่ นน้ั แหละ
เบอ้ื งต้นเอาให้ดอี ย่าถอยนะ’ ทา่ นว่าอยา่ งน้ี ‘ถา้ ถอยตรงนไ้ี ปไมไ่ ดน้ ะ เอ้า เป็นกเ็ ป็น ตายกต็ าย ฟาดมัน
ใหไ้ ดต้ รงนนี้ ะ่ ในนมิ ติ บอกแลว้ วา่ ไปไดน้ ่ี มนั จะยากแคไ่ หน มนั กไ็ ปไดน้ ี่ อยา่ ถอยนะ’ จำ� ไดฝ้ งั ใจ ดใี จพอใจ
ถึงไดด้ �ำเนินตามนัน้ เรือ่ ยมา…”

(เข้าสแู่ ดนอวกาศของจิตของธรรม หนา้ ๖๒–๖๓)

ทา่ นพระอาจารยม์ ัน่ ให้ก�ำลงั ใจ

“…กลางวนั วนั หนงึ่ ซง่ึ เราไปถงึ ใหมๆ่ กำ� ลงั กลวั ทา่ นเปน็ กำ� ลงั เผอญิ เอนกายลงเลยเคลม้ิ หลบั ไป ขณะท่ี
เคล้ิมหลบั ไปนนั้ ปรากฏว่าทา่ นมาดุใหญว่ า่ ‘ทา่ นมานอนเหมือนหมอู ย่ทู �ำไมทนี่ ี่ เพราะทน่ี ีม่ ิใช่โรงเล้ยี งหมู
ผมจงึ ไมส่ ง่ เสรมิ พระทมี่ าเรยี นวชิ าหมู เดยี๋ ววดั นจี้ ะกลายเปน็ โรงเลย้ี งหมไู ป ดงั น’้ี เสยี งทา่ นเปน็ เสยี งตะโกน
ดุดา่ ขเู่ ข็ญใหเ้ รากลวั เสยี ด้วย จึงสะดุง้ ตน่ื ทงั้ หลบั และโผลห่ นา้ ออกมาประตมู องหาทา่ น ทั้งตัวสนั่ ใจส่ัน
แทบเปน็ บา้ ไปในขณะนนั้ เพราะปกตกิ ก็ ลวั ทา่ นแทบตง้ั ตวั ไมต่ ดิ อยแู่ ลว้ แตบ่ งั คบั ตนอยกู่ บั ทา่ นดว้ ยเหตผุ ล

132

หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน

วัดป่าบ้านตาด จ.อุดรธานี

ทเ่ี หน็ วา่ ชอบธรรมเทา่ นน้ั แถมทา่ นยงั นำ� ยาปราบหมมู ากรอกเขา้ อกี นกึ วา่ สลบไปในเวลานนั้ พอโผลห่ นา้
ออกมามองโน้นมองนี้ ไม่เหน็ ทา่ นมายนื อยู่ตามที่ปรากฏ จงึ ค่อยมลี มหายใจข้ึนมาบา้ ง

พอไดโ้ อกาสจงึ ไปกราบเรยี นความเปน็ ไปถวายทา่ น ทา่ นแกเ้ ปน็ อบุ ายปลอบโยนดมี าก แตเ่ ราคดิ วา่
ไมค่ อ่ ยดนี กั ในบางตอนซงึ่ อาจทำ� ใหค้ นนอนใจประมาท เมอ่ื ไดร้ บั คำ� ปลอบโยนทเี่ คลอื บดว้ ยนำ้� ตาลเชน่ นน้ั
ทา่ นอธบิ ายนมิ ติ ใหฟ้ งั วา่ ‘เรามาหาครอู าจารยใ์ หมๆ่ ประกอบกบั มคี วามระวงั ตง้ั ใจมาก เวลาหลบั ไปทำ� ให้
คดิ และฝนั ไปอยา่ งนนั้ เอง ทที่ า่ นไปดวุ า่ เราเหมอื นหมนู นั้ เปน็ อบุ ายของพระธรรมทา่ นไปเตอื น ไมใ่ หเ้ รานำ�
ลัทธินสิ ัยของหมมู าใช้ในวงของพระและพระศาสนา โดยมากคนเราไมค่ อ่ ยคำ� นึงถงึ ความเปน็ มนุษย์ของ
ตวั วา่ มคี ณุ คา่ เพยี งไร เวลาอยากทำ� อะไรทำ� ตามใจชอบ ไมค่ ำ� นงึ ถงึ ความผดิ ถกู ชว่ั ดี จงึ เปน็ มนษุ ยเ์ ตม็ ภมู ิ
ได้ยาก ท่โี บราณท่านวา่ มนษุ ยข์ าดตาเต็งตาช่งั ไม่เต็มบาทน้นั คือไม่เตม็ ตามภูมิของมนษุ ยน์ ัน่ เอง เพราะ
เหตแุ หง่ ความไมร่ สู้ กึ ตวั วา่ เปน็ มนษุ ยท์ ม่ี คี ณุ สมบตั สิ งู กวา่ สตั ว์ จงึ ทำ� ใหม้ นษุ ยเ์ ราตำ�่ ลงทางความประพฤติ
จนกลายเปน็ คนเสยี หายทไ่ี มม่ อี ะไรวดั ระดบั ได้ เหลอื แตร่ า่ งความเปน็ มนษุ ย์ เจา้ ตวั ยงั ไมร่ วู้ า่ ตนไดเ้ สยี ไปแลว้
เพราะเหตนุ นั้ ๆ ผ้ทู ี่ควรจะมสี ตปิ ัญญาพจิ ารณาตามไดบ้ ้าง

พระธรรมทา่ นมาสง่ั สอนดังท่ที า่ นปรากฏนน้ั เป็นอบุ ายท่ชี อบธรรมดีแลว้ จงน�ำไปเปน็ คตเิ ตอื นใจ
ตวั เอง เวลาเกดิ ความเกยี จครา้ นขน้ึ มาจะไดน้ ำ� อบุ ายนน้ั มาใชเ้ ตอื นสตกิ ำ� จดั มนั ออกไป นมิ ติ เชน่ นเ้ี ปน็ ของดี
หายาก ไมค่ อ่ ยปรากฏแกใ่ ครงา่ ยๆ ผมชอบนมิ ติ ทำ� นองนม้ี าก เพราะจะพลอยไดส้ ตเิ ตอื นตนมใิ หป้ ระมาท
อยเู่ นอื งๆ ความเพยี รจะไดเ้ รง่ รบี จติ ใจจะไดส้ งบอยา่ งรวดเรว็ ถา้ ทา่ นมหานำ� อบุ ายทพี่ ระธรรมทา่ นมาเทศน์
ให้ฟงั ไปปฏิบัติอยเู่ สมอๆ ใจท่านจะสงบไดเ้ ร็ว ดไี ม่ดอี าจถึงธรรมก่อนพวกท่ีปฏบิ ัตมิ ากอ่ นเหลา่ น้ดี ้วยซำ้�
นมิ ิตที่เตอื นท่านมหานน้ั ดมี าก มิใชน่ มิ ิตที่สาปแชง่ แบง่ เวรในทางไมด่ ี

เรามาอยกู่ บั ครอู าจารยอ์ ยา่ กลวั ทา่ นเกนิ ไป ใจจะเดอื ดรอ้ นนงั่ นอนไมเ่ ปน็ สขุ ผดิ ถกู ประการใด ทา่ นจะ
สงั่ สอนเราไปตามจารตี แหง่ ธรรม การกลวั ทา่ นอยา่ งไมม่ เี หตผุ ลนน้ั ไมเ่ กดิ ประโยชนอ์ ะไรเลย จงกลวั บาป
กลวั กรรมทจ่ี ะนำ� ทกุ ขม์ าเผาลนตนใหม้ ากกวา่ กลวั อาจารย์ ผมเองมไิ ดเ้ ตรยี มรบั หมคู่ ณะไวเ้ พอ่ื ดดุ า่ เฆยี่ นตี
โดยไม่มีเหตผุ ลทคี่ วร การฝกึ ทรมานตัวกท็ ำ� ไปตามคลองธรรมทที่ า่ นแสดงไว้ การอบรมสง่ั สอนหมู่คณะ
กจ็ ำ� ตอ้ งดำ� เนนิ ไปตามหลกั ธรรมคอื เหตผุ ล ถา้ ปลกี แวะจากทางนนั้ ยอ่ มเปน็ ความผดิ ไมเ่ กดิ ประโยชนท์ งั้
สองฝา่ ย ฉะนั้นนิมนตอ์ ยเู่ ยน็ ใจและประกอบความเพียรให้เป็นชนิ้ เป็นอนั อยา่ ลดละทอ้ ถอยความเพียร
ธรรมเป็นสมบัติกลางและเป็นสมบัติของทุกคนท่ีใคร่ต่อธรรม พระพุทธเจ้ามิได้ผูกขาดไว้แก่ผู้หนึ่งผู้ใด
โดยเฉพาะ ต่างมีสิทธิครอบครองเป็นเจ้าของได้ด้วยการปฏิบตั ดิ ขี องตนดว้ ยกัน

อยา่ ลมื นมิ ติ อนั ดงี ามซง่ึ เปน็ มงคลอยา่ งนไี้ ปเสยี จงระลกึ ถงึ อยเู่ สมอ ลทั ธนิ สิ ยั หมจู ะไดห้ า่ งไกลจาก
พระเรา มรรคผลนิพพานจะนบั วนั ใกล้เขา้ มาทุกเวลานาที แดนแห่งความพน้ ทุกขจ์ ะปรากฏเฉพาะหน้าใน
วันหรอื เวลาหน่งึ แนน่ อนหนีไมพ่ ้น ผมยินดแี ละอนโุ มทนาด้วยนิมิตท่านมหาอย่างจริงใจ แมผ้ มส่งั สอนตัว

133

ผมเองก็สง่ั สอนแบบเผ็ดร้อนทำ� นองน้เี หมอื นกนั และชอบได้อบุ ายต่างๆ จากอุบายเชน่ นเี้ สมอมา จงึ จำ�
ตอ้ งใชว้ ธิ แี บบนบี้ งั คบั ตวั ตลอดมา แมบ้ างครงั้ ยงั ตอ้ งสง่ั สอนหมคู่ ณะโดยวธิ นี เี้ หมอื นกนั ’ นเี้ ปน็ คำ� อธบิ าย
แก้นิมิตท่ีท่านใช้ปลอบโยนเด็กท่ีเร่ิมฝึกหัดใหม่ๆ กลัวจะเสียใจและท้อถอยปล่อยวางความเพียรเวียนไป
เปน็ มิตรกบั หมู ท่านจงึ หาอบุ ายสอนแบบนี…้ ”

(ประวัตทิ า่ นพระอาจารยม์ นั่ ภรู ิทตั ตเถระ หนา้ ๒๓๙–๒๔๑)

สมาทานธุดงควตั ร

ทา่ นอาจารยไ์ ดอ้ ยกู่ บั ทา่ นพระอาจารยม์ นั่ เปน็ เวลา ๘ ปี จนกระทง่ั ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั มรณภาพไป
ไดเ้ หน็ ปฏปิ ทาการดำ� เนินของทา่ นพระอาจารย์ม่ันและไดย้ ึดถือเปน็ แบบฉบบั

“…พอ่ แมค่ รอู าจารยม์ นั่ เรานเี้ ปน็ ยงั ไง ทา่ นเดนิ ตามนอ้ี ยา่ งราบรน่ื สมำ่� เสมอหาทตี่ อ้ งตไิ มไ่ ดเ้ ลยนะ
เทา่ ทผี่ มไปอยกู่ บั ทา่ นเปน็ เวลา ๘ ปี จนกระทง่ั ทา่ นมรณภาพไป มแี ตท่ ถี่ งึ ใจๆๆ ปฏปิ ทาเครอื่ งดำ� เนนิ ทเี่ หน็ อยู่
ดว้ ยตาของเรานกี้ ม็ อี ยใู่ นแบบในฉบบั มใี นตำ� รบั ตำ� ราอยแู่ ลว้ คา้ นไดท้ ไ่ี หน ทา่ นดำ� เนนิ อยา่ งนอ้ี ยใู่ นขอ้ นนั้ ๆๆ
น่ัน มันเห็นอีกแหละ….”

(กา้ วเดินตามหลกั ศาสนธรรม หน้า ๒๐๔)

“…พอไปอยกู่ บั ทา่ นปแี รกกเ็ หน็ ทา่ นพดู ถงึ เรอ่ื งธดุ งควตั ร เพราะทา่ นเครง่ ครดั ในธดุ งควตั รมากมาตาม
นสิ ยั มกี ารรับอาหารเท่าทีบ่ ณิ ฑบาตไดม้ าเป็นต้น จากนัน้ มาเรากส็ มาทานธุดงคเ์ ปน็ ประจ�ำในหน้าพรรษา
ไมเ่ คยลดละเลย สมาทานธุดงค์ขอ้ ฉันของทไ่ี ดม้ าในบาตรเท่านัน้ ใครจะเอาอาหารมาใส่บาตรนอกจาก
อาหารในบาตรของตัวแล้วเปน็ ไมร่ ับไม่สนใจ ต้ังแต่บัดน้นั มาเรือ่ ยไม่เคยลดละ คนเดียวเรากท็ �ำของเรา
ไมใ่ หข้ าดแม้แตป่ เี ดยี ว

ปีจ�ำพรรษาบา้ นนามน ทา่ นหดู ตี าดีทา่ นฉลาด จอมปราชญ์ในสมัยปจั จุบัน ใครจะไปเกง่ กว่าทา่ น
อาจารยม์ นั่ เลา่ การสมาทานธดุ งคท์ า่ นกร็ วู้ า่ เราไมร่ บั อาหารทต่ี ามมาทหี ลงั แตบ่ ทเวลาทา่ นจะใสบ่ าตรเรา
ทา่ นกพ็ ดู เปน็ เชงิ วา่ ‘ขอใสบ่ าตรหนอ่ ยทา่ นมหา นเ่ี ปน็ สมณบรโิ ภค’ ทา่ นวา่ อยา่ งนน้ั ‘นเ่ี ปน็ เครอ่ื งบรโิ ภคของ
สมณะ ขอนมิ นต์รบั เถอะ’ ก็หมายความวา่ ท่านเป็นผู้ใสเ่ องน่นั แล

บางครงั้ กม็ คี ณะศรทั ธาทางจงั หวดั หนองคายบา้ งและทส่ี กลนครบา้ ง ทอ่ี นื่ ๆ บา้ ง ไปใสบ่ าตรทา่ น
และพระในวดั บา้ นนามน อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั สกลนคร นานๆ มไี ปทหี นง่ึ เพราะแตก่ อ่ นรถราไมม่ ี ตอ้ งเดนิ
ดว้ ยเท้า แต่เขาไปดว้ ยเกวียน จ้างล้อจา้ งเกวยี นไป เขาไปพกั เพยี งคนื สองคนื และไม่ไดพ้ ักอยู่ในวดั กบั
พระทา่ น พากนั ไปพกั อยกู่ บั กระทอ่ มนาของโยมแพง ตอนเชา้ ทำ� อาหารบณิ ฑบาต เสรจ็ แลว้ กม็ าถวายพระ

134

หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน

วดั ป่าบา้ นตาด จ.อดุ รธานี

ในวดั นนั้ เขาไมไ่ ดไ้ ปดกั ใสบ่ าตรนอกวดั เรากไ็ มก่ ลา้ รบั กลวั ธดุ งคข์ าด เดนิ ผา่ นหนมี าเลย สำ� หรบั ทา่ นกร็ บั ให้
เพราะสงสารเขาเท่าทสี่ งั เกตดู

อาหารกเ็ หลอื จากใสบ่ าตรมากมายนำ� ขนึ้ มาบนศาลาอยา่ งนนั้ แล เปน็ หมกเปน็ หอ่ และผลไมต้ า่ งๆ นะ่
เรากไ็ มร่ บั สง่ ไปไหนกห็ ายเงยี บๆ ไมม่ ใี ครรบั จะมรี บั บา้ งเพยี งองคส์ ององค์ ผดิ สงั เกตศรทั ธาเขาไมน่ อ้ ย
สว่ นเราไมก่ ลา้ รบั เพราะกลวั ธดุ งคข์ อ้ นขี้ าด หลายวนั ตอ่ มาทา่ นกข็ อใสบ่ าตรเรา โดยบอกวา่ นเ้ี ปน็ สมณบรโิ ภค
ขอใสบ่ าตรหนอ่ ย แลว้ ทา่ นกใ็ สบ่ าตรเรา ทา่ นใสเ่ องนะ ถา้ ธรรมดาแลว้ โถ…ใครจะมาใสเ่ ราไดว้ ะ สำ� หรบั
เราเองกลวั ธุดงค์จะขาด หรืออย่างน้อยไมส่ มบูรณ์ ความจรงิ ทา่ นคงเหน็ วา่ นม่ี ันเป็นทิฐแิ ฝงอยกู่ บั ธุดงค์
ทตี่ นสมาทานนน้ั ทา่ นจงึ ชว่ ยดดั เสยี บา้ งเพอ่ื ใหเ้ ปน็ ขอ้ คดิ หลายแงห่ ลายกระทง ไมเ่ ปน็ ลกั ษณะเถรตรงไป
ถ่ายเดียว ทา่ นจึงหาอบุ ายต่างๆ สอนเราท้ังทางออ้ มและทางตรง

เฉพาะเราเถรตรง มคี วามคดิ ความมงุ่ หมายอยา่ งนนั้ จงึ ไมย่ อมใหใ้ ครมาใสบ่ าตรอนั เปน็ การทำ� ลาย
ธุดงค์เราได้เลย นอกจากทา่ นอาจารย์มน่ั ผ้ทู ่ีเราเคารพเลื่อมใสเต็มหวั ใจเท่านั้น จงึ ยอมลงและยอมใหใ้ ส่
บาตรตามกาลอนั ควรของทา่ นเอง เราเองมคี วามหนกั แนน่ ในใจวา่ จะไมย่ อมใหธ้ ดุ งคน์ บี้ กพรอ่ งแมน้ ดิ หนง่ึ
ซงึ่ เปน็ ทร่ี ะแคะระคายภายในใจ ตอ้ งสมบรู ณท์ ง้ั ธดุ งคท์ เ่ี ราไดท้ ำ� ลงไปและจติ ใจทม่ี งุ่ มน่ั อยแู่ ลว้ แตเ่ พราะ
ความเคารพเลอ่ื มใสทา่ น ความรกั ทา่ น ทงั้ ๆ ทไ่ี มส่ บายใจกย็ อมรบั นแี่ ลทว่ี า่ หลกั ใจกบั หลกั ปฏบิ ตั ิ กย็ อมรบั
ว่าถูกในความจริงจังที่ปฏิบัตินี่ แต่มันก็ไม่ถูกส�ำหรับธรรมที่สูงและละเอียดกว่านั้น เล็งดูเราเล็งดูท่าน
มองเราและมองทา่ นนน้ั ผดิ กนั อยมู่ าก อยา่ งทา่ นอาจารยม์ น่ั ทา่ นมองอะไร ทา่ นมองตลอดทวั่ ถงึ และพอเหมาะ
พอสมทกุ อยา่ งภายในใจ ไมเ่ หมอื นพวกเราทมี่ องหนา้ เดยี วแงเ่ ดยี วแบบโงๆ่ ไมม่ องดว้ ยปญั ญาเหมอื นทา่ น
เราจึงยอมรบั ตรงน้ัน นี้พูดการปฏบิ ัตธิ รรมอยบู่ ้านนามนกบั ทา่ นอาจารยม์ นั่

ทนี พี้ ดู ถงึ บา้ นหนองผอื นาใน เวลามาอยบู่ า้ นหนองผอื เรากส็ มาทานธดุ งควตั รอยา่ งนน้ั อกี อยทู่ ไี่ หน
ก็ตาม เรื่องธุดงควัตรนี้เราจะต้องเอาหัวชนอย่างไม่ถอยเลย ยืนกระต่ายขาเดียวไม่ยอมให้ขาดได้เลย
บณิ ฑบาตมาแลว้ กร็ บี จดั ปบุ๊ ปบ๊ั จะเอาอะไรกเ็ อาเสยี นดิ ๆ หนอ่ ยๆ เพราะการฉนั ไมเ่ คยฉนั ใหอ้ มิ่ ในพรรษา
ไมเ่ คยใหอ้ ม่ิ เลย โดยกำ� หนดใหต้ วั เองวา่ เอาเพยี งเทา่ นน้ั ๆ สกั ๖๐% หรอื ๗๐% เชน่ ๑๐๐% เราหกั ไวเ้ สยี
๓๐% หรอื ๔๐% ซง่ึ คดิ วา่ พอดี เพราะอยกู่ บั หมเู่ พอ่ื นหลายองคด์ ว้ ยกนั ถา้ จะอดกไ็ มส่ ะดวก เพราะการงาน
ในวงหมคู่ ณะเกย่ี วขอ้ งกนั อยเู่ สมอ เราเองกเ็ หมอื นเปน็ ผใู้ หญค่ นหนง่ึ อยา่ งลบั ๆ ทง้ั ทไี่ มแ่ สดงตวั ทงั้ นเ้ี กย่ี วกบั
การคอยสอดสอ่ งดแู ลความสงบเรยี บรอ้ ยของหมคู่ ณะภายในวดั พรรษากไ็ มม่ าก สบิ กวา่ พรรษาเทา่ นนั้ แหละ
แต่รสู้ กึ ว่าทา่ นอาจารย์ใหญท่ า่ นเมตตาไวใ้ จในการช่วยดูแลพระเณรอยา่ งลับๆ เชน่ กัน

เวลาเขา้ พรรษากต็ า่ งองคต์ า่ งสมาทานธดุ งคก์ นั ทงั้ วดั ครนั้ สมาทานแลว้ ไมก่ ว่ี นั กล็ ม้ ไปๆ นก่ี ส็ อ่ แสดง
ใหเ้ หน็ ความจรงิ จงั หรอื ความลม้ เหลวของหมคู่ ณะ กย็ ง่ิ ทำ� ใหเ้ รามคี วามระมดั ระวงั และขะมกั เขมน้ ในหนา้ ที่
และธุดงค์ของเรามากขึ้น เม่ือได้เห็นอาการของหมู่เพ่ือนเป็นอย่างนี้ ท�ำให้เกิดความอิดหนาระอาใจไป

135

หลายแงห่ ลายทางเกยี่ วกบั หมคู่ ณะ จติ ใจยงิ่ ฟติ ตวั เอง ปลกุ ใจตวั เองใหแ้ ขง็ ขนั และยอ้ นมาถามตวั เองบา้ ง
วา่ ไงเราจะไมล่ ม้ ไมเ่ หลวไปละหรอื เมอื่ เหตกุ ารณร์ อบขา้ งเปน็ ไปอยา่ งน้ี กไ็ ดร้ บั คำ� ตอบอยา่ งมนั่ ใจวา่ จะเอา
อะไรมาให้ลม้ ให้เหลวไหลวะ กต็ วั ใครตวั เรานี่ ประกอบกบั นสิ ัยเราเป็นอย่างน้มี าดงั้ เดิมอยแู่ ล้ว ทำ� อะไร
ตอ้ งจริงทง้ั นัน้ ถา้ ลงได้ทำ� แล้วตอ้ งจริง ท�ำเลน่ ไมเ่ ป็น เรานจี่ ะลม้ ไม่ได้ นอกจากตายเสยี เท่าน้นั กส็ ดุ วิสยั
ใครจะมาใสบ่ าตรเราไมไ่ ดเ้ ปน็ อนั ขาด ฟงั ซวิ ่า เปน็ อันขาด ความรู้สึกเปน็ อยา่ งไรในเวลานัน้

ฉะนน้ั ความเปลย่ี นแปลงของหมเู่ พอ่ื นจงึ เปน็ ราวกบั แสดงธรรมเทศนากณั ฑห์ นงึ่ ใหเ้ ราฟงั อยา่ งถงึ ใจ
จำ� ไมล่ มื จนบดั น้ี พอบณิ ฑบาตกลบั มาแลว้ มอี ะไรกร็ บี จดั ๆ ใสบ่ าตร เสรจ็ แลว้ กร็ บี ไปจดั อาหารเพอ่ื ใสบ่ าตร
ทา่ นอาจารย์ หอ่ นนั้ หรอื หอ่ นที้ เี่ หน็ วา่ เคยถกู กบั ธาตขุ นั ธท์ า่ น เรารแู้ ละเขา้ ใจกร็ บี จดั ๆ อนั ไหนควรแยกออก
อนั ไหนควรใสก่ จ็ ดั ๆ เสรจ็ แลว้ ถงึ จะมาทนี่ ง่ั ของตน ตาคอยดู หคู อยสงั เกต ฟงั ทา่ นจะวา่ อะไรบา้ งขณะกอ่ น
ลงมือฉนั

บาตรเราพอจดั เสรจ็ แลว้ กเ็ อาตง้ั ไวล้ บั ๆ ทางดา้ นหลงั ขา้ งฝาตดิ กบั ตน้ เสา เอาฝาปดิ ไวอ้ ยา่ งดดี ว้ ย
เอาผา้ อาบนำ้� ปดิ อกี ชน้ั หนงึ่ ดว้ ยเพอื่ ไมใ่ หใ้ ครไปยงุ่ ไปใสบ่ าตรเรา เวลานน้ั ใครจะมาใสบ่ าตรเราไมไ่ ด้ กำ� ชบั
ก�ำชาไว้อย่างเดด็ ขาด แตเ่ วลาทา่ นจะใสบ่ าตรเรา ท่านกม็ ีอบุ ายของท่าน เวลาเราจดั อะไรของทา่ นเสรจ็
เรยี บรอ้ ยแลว้ มานง่ั ประจำ� ท่ี ใหพ้ รเสรจ็ ตอนทำ� ความสงบพจิ ารณาปจั จเวกขณะนน่ั แล ทา่ นจะเอาตอนเรมิ่
จะฉนั ทา่ นเตรยี มของใสบ่ าตรไวแ้ ตเ่ มอ่ื ไรกไ็ มร่ แู้ หละ แตท่ า่ นไมใ่ สซ่ ำ้� ๆ ซากๆ น่ี ทา่ นกร็ เู้ หมอื นกนั ทา่ นเหน็
ใจเรา บทเวลาท่านจะใส่ท่านพดู วา่ ‘ทา่ นมหาขอใส่บาตรหน่อยๆ ศรทั ธามาสายๆ’ ท่านว่าอยา่ งนนั้ พอว่า
อย่างนนั้ มอื ทา่ นถงึ บาตรเราเลยนะ ตอนเราเอาบาตรมาวางขา้ งหนา้ แลว้ ก�ำลังพิจารณาอาหารนี่แหละ
เราเองกไ็ มท่ ราบจะทำ� อยา่ งไรเพราะความเคารพ จำ� ตอ้ งปลอ่ ยตามความเมตตาของทา่ น เราใหใ้ สเ่ ฉพาะทา่ น
เท่าน้นั นานๆ ทา่ นจะใสท่ หี นึ่ง ในพรรษาหน่ึงๆ จะมเี พียง ๓ ครงั้ หรือ ๔ ครง้ั เป็นอยา่ งมาก ทา่ นไม่ใส่
ซำ้� ๆ ซากๆ เพราะท่านฉลาดมาก คำ� ว่ามชั ฌิมาในทกุ ด้านจึงยกให้ทา่ นโดยหาท่ีต้องติไมไ่ ด้

นเ่ี รารักษาของเราอย่างนนั้ เรอื่ ยมาจนกระทัง่ บัดนี้ สว่ นพระเณรไม่ได้เร่อื งลม้ เหลวไปหมด จงึ ท�ำ
ใหค้ ดิ คดิ อยไู่ มห่ ยดุ เกย่ี วกบั หมคู่ ณะ เอ…จติ ใจมนั เปน็ ยงั ไงพระเราน ่ี จงึ หาหลกั เกณฑไ์ มไ่ ด ้ ลม้ เหลวๆ ไป
อยา่ งนนั้ จะเอาอะไรเปน็ หลกั อนั มนั่ คงในอนาคต เมอื่ ปจั จบุ นั เปน็ ความลม้ เหลวอยแู่ ลว้ ทำ� ใหค้ ดิ เรอ่ื งเหลา่ น้ี
ภายในใจอยไู่ มห่ ยุด จนถงึ หม่คู ณะในปจั จุบนั ทอี่ ยูก่ บั เราเวลานี้

ฉะน้ันหลักปฏิบตั ธิ ดุ งควัตรจึงเปน็ ส่ิงสำ� คัญมาก การฉนั ในบาตร คนจำ� นวนมากตลอดถึงพระเรา
ยงั ไมเ่ หน็ คณุ คา่ ของการฉนั ในบาตร นอกจากไมเ่ หน็ คณุ คา่ ธดุ งคข์ อ้ นแ้ี ลว้ ยงั อาจเหน็ ไปวา่ ไมเ่ หมาะไมส่ วยงาม
ทงั้ ในสว่ นเฉพาะและสงั คมทว่ั ไป เนอ่ื งจากอาหารตอ้ งรวมกนั ทงั้ คาวทง้ั หวานในบาตรใบเดยี ว และยงั อาจ
เหน็ เปน็ ของนา่ เกลยี ดสกปรกมมู มามไปกไ็ ด้ ซง่ึ เปน็ ความคดิ เหน็ ของกเิ ลสลบลา้ งธรรมของจรงิ ธดุ งคท์ งั้
๑๓ น้ี ผู้จะเหน็ คุณคา่ มีนอ้ ย ท้งั ๆ ท่ธี ุดงค์ทงั้ ๑๓ ข้อเป็นเครื่องชำ� ระกิเลสของพระเราท้งั นัน้ นัน่ เอง ผูจ้ ะ

136

หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน

วัดปา่ บ้านตาด จ.อดุ รธานี

พลชี ีพพลีดวงใจเพื่อบชู าพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ก็ปฏบิ ัติตามธรรมท่ีทรงสอนไว้ สว่ นผจู้ ะพลีชพี
พลีดวงใจเพ่อื บูชากเิ ลสวัฏฏ์ กป็ ฏิบตั ิตามความเห็นของกเิ ลส…”

(เขา้ ส่แู ดนนิพพาน หนา้ ๑๗–๒๐)

ไมฉ่ ันช้อน

“…คดิ ดู ผมเคยฉนั ชอ้ นเมอ่ื ไร เวลาผมไปอยทู่ นี่ น่ั ทา่ นกร็ คู้ วามตงั้ ใจของผมมขี นาดไหน ทา่ นรอู้ ยา่ ง
เตม็ ใจ เราต้งั ใจขนาดไหน เราก็รู้เตม็ ใจของเรา ทา่ นก็ร้เู ตม็ ใจ

ทนี พ้ี อ่ แมค่ รอู าจารยท์ า่ นกร็ วู้ า่ ผมไมฉ่ นั ชอ้ น เวลาผมออกจากทา่ นไปเทย่ี วทไี่ หนๆ ทง้ั ๆ ทท่ี า่ นกร็ วู้ า่
ผมไปดว้ ยความตงั้ ใจอย่างเตม็ ทเี่ ตม็ ฐาน ไปทรมานอย่ตู ามป่าตามเขาลูกไหนๆ ท่านก็รู้ แลว้ ทา่ นท�ำไมพดู
ขน้ึ มาวา่ ‘ทา่ นมหานานมานกั ไปหลายวนั แลว้ มวั ไปซดซา้ ยซดขวาอยทู่ ไ่ี หนกนั ’ นน่ั ฟงั ซิ ทา่ นตหี นา้ ผากพระ
ตกี ระบาลพระรไู้ หม พระองคด์ อื้ ๆ มนั มที แ่ี สดงใหท้ า่ นเหน็ ทา่ นไมพ่ ดู ตรงๆ ถา้ พดู ตรงๆ มนั จะเจบ็ มากไป
กิเลสตัวดือ้ ของพระจะเกิดขนึ้ มา แลว้ จะเปน็ บาปแกต่ ัวเอง ท่านจึงหาอบุ ายพดู อย่างน้นั ว่า ทา่ นมหานี่ไป
ซดซ้ายซดขวาอยทู่ ีไ่ หนนา ไมเ่ ห็นมา ท้ังๆ ทที่ า่ นกร็ ู้ว่าเราต้งั ใจขนาดไหน เราไมเ่ คยแตะชอ้ นเลย ท่านกร็ ู้
แตท่ ำ� ไมทา่ นพดู อยา่ งนนั้ กค็ อื ทา่ นสอนหมสู่ อนคณะในวงนนั้ นน่ั เอง เวลาขากลบั มา พระกเ็ ลา่ ใหเ้ ราฟงั จน
ไดแ้ หละ ทา่ นพดู เรอ่ื งอะไรเกย่ี วกบั เรา พระจะตอ้ งเลา่ ใหฟ้ งั หมดบรรดาอบุ ายของทา่ นอาจารยม์ น่ั เพราะ
ผมเคยไดย้ นิ ทา่ นพดู ถงึ เรอื่ งการฉนั ชอ้ น ทา่ นวา่ พระกรรมฐานฉนั ชอ้ นดแู ลว้ มนั ขวางตาขวางใจ สะดดุ ใจทนั ที
ทา่ นวา่ มนั เหมอื นพระเจา้ ชขู้ นุ นาง การฉนั เพอื่ ความเหน็ ภยั จะหาอะไรมาเปน็ ความสะดวกสบาย มาโกเ้ ก๋
อยา่ งนั้น มันขดั กนั กบั ความเหน็ ภัยในการฉัน
โดยหลกั ฐานพยานทพ่ี ระพทุ ธเจา้ ทรงแสดงวา่ ปฏสิ งขฺ า โยนโิ ส ปณิ ฑฺ ปาตํ ปฏเิ สวามฯิ นน่ั ฉนั พอยงั
อตั ภาพใหเ้ ปน็ ไปเทา่ นนั้ ไมไ่ ดม้ อี ะไรกบั รสกบั ชาติ ไมไ่ ดไ้ ปดดู ดมื่ ไปสนใจอะไรกบั สงิ่ เหลา่ นน้ั ฉนั พอยงั ชวี ติ
ใหเ้ ปน็ ไปในวันหนึง่ เพ่ือระงบั เวทนาความทุกขใ์ นธาตุในขันธไ์ ปเท่าน้นั การเอาชอ้ นมาซดโฮกๆๆ มันก็เปน็
การส่งเสริมกิเลส เปน็ พระเจ้าชไู้ ปละซิ ท่านวา่ องคท์ า่ นเอง ทา่ นกไ็ ม่ฉนั ชอ้ นด้วย

เราฟงั ทา่ น ฟงั ดว้ ยความสนใจจรงิ ๆ ไมส่ กั แตว่ า่ ฟงั ทา่ นวา่ อะไรมนั เยมิ้ ๆ เขา้ ไปในหวั ใจ มนั ถงึ ใจเลย
เคยพูดให้หมเู่ พ่ือนฟังเสมอ อยกู่ ับทา่ นถึงแปดปี ไม่เคยมีความเคยชนิ กับท่านเลย ทา่ นจะพดู ทีเลน่ ทจี รงิ
มนั กจ็ บั ปับ๊ ๆๆ ตลอดเวลาเหมือนเทป…”

(เขา้ สู่แดนอวกาศของจิตของธรรม หน้า ๓๔–๓๕)

137

-๓-
กำ� ลังใจและอุบายแนะนำ� ของครอู าจารย์

ก�ำลังใจเป็นสิ่งส�ำคัญมากในการบ�ำเพ็ญคุณงามความดี และยิ่งได้รับอุบายจากครูบาอาจารย์ที่
ประพฤตปิ ฏบิ ตั ถิ กู ตอ้ งดว้ ยแลว้ กจ็ ะเปน็ พลงั เสรมิ การบำ� เพญ็ เพยี รของลกู ศษิ ย์ ทา่ นอาจารยไ์ ดเ้ ทศนเ์ กย่ี วกบั
เร่ืองน้ีไว้ว่า

“…อะไรจะไปเหนอื กำ� ลงั ใจไมม่ โี ลกน้ี ถา้ ลงไดบ้ รรจตุ วั เตม็ ทไี่ มว่ า่ ทางฝา่ ยดฝี า่ ยชวั่ มนั ทำ� ใหแ้ หลก
ไดเ้ หมอื นกนั ทางชวั่ กแ็ หลกไดเ้ ลย ไมไ่ ดว้ ติ กวจิ ารณก์ บั บาปกบั บญุ คณุ โทษอะไรเลย ถา้ ลงกเิ ลสตวั นมี้ นั ถงึ
ใจแลว้ ทางธรรมกเ็ หมอื นกนั ธรรมกถ็ งึ ใจทจ่ี ะปราบกเิ ลส อตตฺ า หเว ชติ ํ เสยโฺ ย การชนะตนนน้ั แลประเสรฐิ
นลี่ ะตรงนอ้ี นั หนงึ่ กบั เอกญจฺ เชยยฺ มตตฺ าน,ํ ส เว สงคามชตุ ตฺ โม การชำ� นะตนนนั้ แลประเสรฐิ สดุ นม่ี นั
ถึงใจ

ก�ำลงั ของใจเป็นสำ� คัญนะการประกอบความพากเพียร เมอ่ื ก�ำลงั ใจความมงุ่ มัน่ ของใจมีมากแลว้
มันจะหมุนๆ ตัว ถ้าย่ิงได้รับอุบายจากครูจากอาจารย์ท่ีท่านแสดงถูกต้องแม่นย�ำต่ออรรถต่อธรรม
ตอ่ ความจรงิ เพอื่ ฆา่ กเิ ลสทกุ ประเภทดว้ ยแลว้ นน่ั แหละยงิ่ ถงึ ใจ มนั ดดี ผงึ ๆๆ เลย เพราะฉะนนั้ การไดย้ นิ
ไดฟ้ งั จงึ เปน็ สง่ิ สำ� คญั มากทเี ดยี ว เราไมล่ มื เราไดฟ้ งั ธรรมกบั พอ่ แมค่ รบู าอาจารย์ วนั ไหนทา่ นจะประชมุ น้ี
มนั กระหยม่ิ เหมอื นจะไดเ้ หาะจะบนิ โนน่ นะ่ ขอ้ ขอ้ งใจตรงไหนๆ ทม่ี อี ยภู่ ายในใจจะตอ้ งมากระจายกนั วนั น้ี
ความหมายวา่ งนั้ นะ ทจี่ ะไดฟ้ งั ไดต้ อ่ ผลประโยชนต์ อ่ ไปอกี กม็ ี สง่ิ ทยี่ งั ขดั ยงั ขอ้ งอยภู่ ายในใจวนั นจ้ี ะตอ้ งถกู
เปดิ เผยดว้ ยธรรมของทา่ นทง้ั นน้ั แนะ่ เพราะมนั เคยเปน็ อยา่ งนนั้ นี่ พอเทศนไ์ ปถงึ จดุ ของเราแลว้ มนั จอ่ ๆๆ
พอไปถงึ นน่ั พบั๊ ทา่ นผา่ นผงึ เลย เพราะทา่ นผา่ นไปแลว้ น่ี ทา่ นรแู้ ลว้ ผา่ นผงึ เรากโ็ ดดผงึ ไปตาม ไดก้ า้ วหนง่ึ
สองกา้ วกเ็ อา ฟงั เทศนแ์ ตล่ ะครง้ั ๆ นี่ ทลี ะกา้ วสองกา้ วไปเรอื่ ย แลว้ กเ็ พมิ่ เตมิ กนั ไปเรอื่ ยๆ นก่ี ารฟงั เทศน์
จึงเป็นของส�ำคญั มากนะ…”

(แสวงโลกแสวงธรรม หนา้ ๓๘๘)

เมอื่ ทา่ นเดนิ ทางจากนครราชสมี าไปอดุ รธานี เพอ่ื ตามหาทา่ นพระอาจารยม์ นั่ และปรากฏวา่ ความ
เจรญิ ในทางดา้ นสมาธขิ องทา่ นเสอื่ มลงทบ่ี า้ นตาด ซง่ึ เปน็ บา้ นเกดิ ของทา่ น ทา่ นไดอ้ ธบิ ายภาวะจติ เสอื่ มไว้
วา่ เปน็ ภาวะทจ่ี ติ รสู้ กึ เขา้ สมาธไิ มค่ อ่ ยสนทิ ดเี หมอื นทเ่ี คยเปน็ มา บางครง้ั เขา้ สงบได้ แตบ่ างครง้ั เขา้ ไมไ่ ด้

138

หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน

วดั ปา่ บา้ นตาด จ.อุดรธานี

ดงั นน้ั ทา่ นจงึ รบี ออกเดนิ ทางไปขออยกู่ บั ทา่ นพระอาจารยม์ นั่ จนไดพ้ บและไดอ้ ยจู่ ำ� พรรษาดว้ ยทบี่ า้ นโคก
จังหวดั สกลนคร
การแก้ไขภาวะจติ เสือ่ มของท่าน อาศยั ก�ำลงั ใจความมงุ่ มั่นของใจ และไดร้ บั อุบายจากท่านพระ-
อาจารย์มั่น จงึ สามารถเรยี กจติ ให้กลบั คืนมาได้ เร่อื งน้ไี ด้รวบรวมจากเทศน์ต่างๆ ของท่านไว้ดังน้ี

สภาวะจติ เส่อื ม

“…การบำ� เพญ็ อยกู่ บั ทา่ นในระยะนนั้ กม็ แี ตค่ วามเจรญิ กบั ความเสอ่ื มภายในใจ ไมค่ อ่ ยสงบอยคู่ งท่ี
เป็นเวลานาน พรรษาแรกทีอ่ ยูก่ ับทา่ นเปน็ พรรษาที่ ๙ เพราะ ๗ พรรษาศกึ ษาทางปริยัติ เร่ิมออกปฏิบตั ิ
ไดข้ ึน้ มาจ�ำพรรษาทนี่ ครราชสีมา ๑ พรรษา ในพรรษาแรกทีจ่ ำ� อย่กู บั ท่าน (พรรษาท่ี ๙) มแี ตค่ วามเจรญิ
กบั เสอ่ื มทางด้านสมาธิ ออกพรรษาแล้วก็ขนึ้ บนเขา…”

(แว่นดวงใจ หน้า ๒๒๕)

“…ตอนทจ่ี ติ มนั ยงั ไมไ่ ดเ้ รอ่ื งไดร้ าวมนั ฝนื เราอยา่ งหนกั ทง้ั ๆ ทเ่ี ราตงั้ อกตง้ั ใจขนาดนนั้ ยงั เปน็ ได้ กเิ ลส
มนั ถอยใครเมอื่ ไร พอจากทา่ นอาจารยม์ นั่ ไปได้ ๒-๓ วนั จติ มนั ดดี มนั ดน้ิ หาเขยี งสบั ยำ� เพอ่ื เปน็ อาหารกเิ ลส
อยา่ งเหน็ ไดช้ ดั ถงึ ทราบไดช้ ดั วา่ ออ๋ นมี่ นั กาจบั ภเู ขาทอง…วา่ เจา้ ของ อยกู่ บั ครบู าอาจารยจ์ ติ สงบรม่ เยน็
พอออกจากท่านมาแล้วไมไ่ ดเ้ รอื่ งไดร้ าว ท�ำความเพียรก็เดนิ ไปเฉยๆ ไมม่ ีอบุ ายอะไรทจ่ี ะแกก้ ิเลสได้สัก
ตวั เดยี ว มแี ตค่ วามฟงุ้ ซา่ นภายในใจ นบั วนั รนุ แรงขนึ้ ทกุ วนั ๆ อยหู่ า่ งทา่ นไมไ่ ดถ้ า้ เปน็ อยา่ งน้ี เรารแู้ ลว้ นหี่ นจี าก
ครูบาอาจารย์ไม่ได้ เมื่อเป็นแบบน้ี เรารีบกลบั คืนไปหาท่านทนั ที แตเ่ ดชะบญุ เวลากลับคนื ไป ท่านไม่เคย
ตำ� หนติ เิ ตยี น ทา่ นไมเ่ คยขบั ไลไ่ สสง่ เลย ความจรงิ เรากไ็ ปภาวนา คดิ วา่ ประมาณเดอื นนนั้ เดอื นนก้ี จ็ ะกลบั มา
แต่มันไม่ทันถึงเดอื นน้ันเดอื นนนี้ น่ี า ไฟนรกในใจมันเผาขน้ึ มาก่อน น่กี ็ต้องรีบกลบั มา…”

(เข้าสูแ่ ดนนพิ พาน หน้า ๑๕๔–๑๕๕)

“ประมาณสองเดอื นกวา่ กลบั ลงมาหาทา่ นอกี จติ กม็ เี จรญิ กบั เสอ่ื มอยเู่ ชน่ นน้ั โดยพจิ ารณาหาสาเหตุ
กไ็ ม่ทราบว่าเสื่อมเพราะเหตใุ ด ทง้ั ๆ ทต่ี ง้ั ใจบำ� เพ็ญอยอู่ ยา่ งเต็มก�ำลัง บางคนื ไมย่ อมหลบั นอนตลอดรุ่ง
เพราะกลวั จติ จะเสอ่ื ม ถงึ อยา่ งนนั้ กย็ งั เสอ่ื มได้ เฉพาะอยา่ งยง่ิ เวลาจติ เรมิ่ กา้ วเขา้ สคู่ วามสงบ ความเพยี ร
กย็ ง่ิ รบี เรง่ เพราะกลวั จติ จะเสอ่ื มดงั ทเี่ คยเปน็ มา แมเ้ ชน่ นน้ั กย็ งั ฝนื เสอ่ื มไปได้ ตอ่ มากเ็ จรญิ ขนึ้ อกี แลว้ ก็
เส่อื มลงอีก ความเจริญของจติ น้นั อยู่คงที่ไดเ้ พียง ๓ วัน จากน้นั ก็เสือ่ มลงตอ่ หน้าตอ่ ตา…”

(แว่นดวงใจ หน้า ๒๒๕)

139

“…กเ็ สอื่ มมาตง้ั แตต่ น้ เดอื นอา้ ย เดอื นยป่ี กี ลาย จนถงึ เดอื นอา้ ยเดอื นยขี่ า้ งหนา้ และถงึ เดอื นเมษายน
นมี่ นั ยังไม่เจริญนะ เจรญิ ขึ้นไปถึงทแี่ ล้วเส่ือมลงๆ เปน็ ปีแนะ่ …”

(เข้าสูแ่ ดนอวกาศของจติ ของธรรม หนา้ ๖๓)

ทกุ ขห์ นกั

“…ผมเปน็ หว่ งหมเู่ พอื่ นมากในการประพฤตปิ ฏบิ ตั ธิ รรม อยากใหร้ ใู้ หเ้ หน็ เพราะการแสดงธรรมให้
หมเู่ พอื่ นฟงั ตงั้ แตต่ น้ จนถงึ ปจั จบุ นั น้ี ไมเ่ คยสงั่ สอนดว้ ยความเลอ่ื นลอยเลย สง่ั สอนดว้ ยความถงึ จติ ถงึ ใจ
ดว้ ยเจตนาทมี่ คี วามเมตตาสงสาร อยากใหห้ มเู่ พอ่ื นไดร้ ไู้ ดเ้ หน็ ทกุ สงิ่ ทกุ อยา่ งบรรดาทตี่ นรตู้ นเหน็ และตน
แสดงออกนน้ั ๆ เหมอื นกบั ตนทไ่ี ดป้ รากฏมา การแสดงธรรมแกห่ มเู่ พอื่ นทง้ั หลายนี้ ผมไมไ่ ดแ้ สดงดว้ ยความ
ดน้ เดา ผมเรยี นตามตรงในฐานะทห่ี มเู่ พอื่ นมาอาศยั ผม ผมมคี วามรสู้ กึ เปน็ เหมอื นอวยั วะเดยี วกนั จงึ ไมม่ ี
ปดิ บงั ลลี้ บั ไดร้ เู้ หน็ อยา่ งใดๆ กน็ ำ� มาสอนจนไมม่ อี ะไรเหลอื แลว้ ภายในพงุ นไ้ี มม่ เี หลอื ไดแ้ สดงออกมาอยา่ ง
หมดเปลอื กทีเดยี ว ไมม่ คี วามรสู้ ึกแม้นิดหน่งึ ทีจ่ ะเป็นการโออ้ วดต่อหม่เู พ่อื น แสดงตามสิ่งท่ีปรากฏ เชน่
การประพฤติปฏบิ ัติ เคยประพฤตปิ ฏิบัติอยา่ งใดหนกั เบามากน้อยขนาดไหน ได้ฝกึ ฝนทรมานตนหนักเบา
มากน้อยเพียงไร กไ็ ด้น�ำมาส่ังสอนหมเู่ พ่อื นหรือมาเล่าให้หมเู่ พ่อื นฟงั เพอื่ เป็นคตเิ ครอ่ื งเตือนใจ เพื่อเปน็
กำ� ลงั ทางดา้ นปฏบิ ตั เิ รอื่ ยมาตามโอกาสอนั ควร ตลอดถงึ ผลทปี่ รากฏเรมิ่ แรกตง้ั แตจ่ ติ เรมิ่ เปน็ สมาธคิ อื ความ
สงบเยน็ ใจกไ็ ดเ้ ลา่ ใหฟ้ งั จติ เสอื่ มลงไปมากนอ้ ยเพยี งใดกไ็ ดเ้ ลา่ ใหฟ้ งั เพอ่ื เปน็ คตทิ งั้ นน้ั ทงั้ ความเจรญิ และ
ความเสื่อม ความเสื่อมก็เป็นอาจารย์ได้เป็นอย่างดี ผู้ที่ได้ยินได้ฟังจากความเสื่อมของเราท่ีได้แสดงให้
ฟงั แลว้ จะไดต้ งั้ สตสิ ตงั ระมดั ระวงั อยา่ ใหจ้ ติ ของตนเสอ่ื ม ซงึ่ เปน็ การลำ� บากมากในการทจี่ ะฟน้ื ฟจู ติ ใจใหม้ ี
ความเจรญิ รงุ่ เรอื งข้ึนมาตามเดิมและย่งิ กว่าน้ันได้ เราไดเ้ คยเปน็ มาแลว้

จติ เสอื่ มเพยี งเขา้ สมาธไิ ดบ้ า้ งไมไ่ ดบ้ า้ ง ซงึ่ แตก่ อ่ นเขา้ ไดส้ นทิ กำ� หนดเมอื่ ไรไดท้ กุ ครง้ั ๆ ไมเ่ คยเสยี
สกั ครั้งเลย แตเ่ วลาจติ เร่ิมเส่อื มเท่านน้ั เรารูส้ ึกตัวว่าจิตเขา้ ไดบ้ า้ ง ไม่ได้บ้าง รีบโดดหนที นั ที แม้เช่นน้นั
ยังเสอ่ื มเป็นเวลาตง้ั ปี เข้าสคู่ วามสงบไม่ได้ดูซิ จติ เสอื่ มเพียงเทา่ นั้นพยายามฟื้นฟูฉดุ ลากให้ขนึ้ มา ยังฝนื
เสอ่ื มถงึ ขนาดปกี วา่ ยงั ไมส่ ามารถฟน้ื ขน้ึ ไดเ้ ตม็ เมด็ เตม็ หนว่ ยดงั ทเี่ คยเปน็ มานน้ั เลย จงึ ไดเ้ หน็ โทษแหง่ ความ
เสอ่ื มนอี้ ยา่ งถงึ ใจ เหตใุ ดจงึ วา่ เหน็ โทษอยา่ งถงึ ใจ เพราะเราเสยี อกเสยี ใจเพราะความเสอ่ื มแหง่ จติ นม้ี าก
จรงิ ๆ ในชวี ติ นแ้ี นใ่ จวา่ จะลมื เรอื่ งนนั้ ไมล่ ง เพราะทำ� ใหเ้ ราเจบ็ ชำ้� ใจมากแทบไมม่ โี ลกอยเู่ พราะความเสยี ใจ
เพราะความเสียดาย…”

(เขา้ สูแ่ ดนนพิ พาน หนา้ ๕๒)

140

หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน

วัดปา่ บา้ นตาด จ.อดุ รธานี

“…จติ เสอื่ มนที้ กุ ขม์ ากจรงิ ๆ จนหาประมาณไมไ่ ดเ้ ลย ไมม่ วี นั ลมื แมแ้ ตท่ กุ วนั นย้ี งั ไมล่ มื จะวา่ อะไรกนั
เพราะมนั ถงึ ใจจรงิ ๆ จนกลายเปน็ สจั ธรรมขน้ึ มา ดว้ ยจำ� ความทวี่ า่ จติ เสอ่ื มนน้ั ไมล่ มื มนั กลายเปน็ สจั ธรรม
ขน้ึ มา ไม่ใชค่ วามจำ� เสียแล้ว มันเป็นความจรงิ ข้ึนมากับตวั เอง

นคี่ วามเคยี ดแคน้ นถ้ี งึ ใจจรงิ ๆ ไมล่ มื จนกระทง่ั ปจั จบุ นั น้ี เพราะความเสยี ใจ ความเสยี ดาย คอื เสยี ใจนี้
เกดิ มาจากความเสยี ดายทจ่ี ติ เสอ่ื ม จติ เสอ่ื มนรี้ อ้ นมากจรงิ ๆ นะ ผภู้ าวนายงั ไมเ่ คยเหน็ ยงั ไมเ่ คยเปน็ สมาธิ
ไม่เคยสงบ ยงั พอเป็นพอไป ผู้ท่เี ห็นความสงบของจิตจนกระทั่งถงึ แน่นป๋ึงนี่ ผมเปน็ จริงๆ นะ จติ นแ้ี นน่
เหมอื นภเู ขาเลยทเี ดยี ว ทง้ั ๆ ทจ่ี ติ มกี เิ ลสอยนู่ น้ั แหละ พลงั ของสมาธมิ กี ำ� ลงั มากเหมอื นกบั เปน็ หนิ ทงั้ แทง่
แตค่ รน้ั แลว้ เพราะความไมร่ อบคอบไมฉ่ ลาดในการรกั ษาจติ ประเภทนน้ี น่ั เอง จงึ ทำ� ใหค้ อ่ ยเสอ่ื มลงๆ โดย
เจ้าตัวไม่รู้ นนั่

เมอื่ เสอื่ มลงไปๆ กลบั เอาคนื มาไมไ่ ด้ เพยี งแตว่ า่ เขา้ ไดบ้ า้ ง คอื เขา้ สมาธสิ งบไดบ้ า้ ง ไมไ่ ดบ้ า้ งเทา่ นน้ั
ก็รตู้ วั วา่ นๆ่ี จติ ของเราจะเสอ่ื มแลว้ รบี ออกบำ� เพญ็ เอาเตม็ เมด็ เตม็ หนว่ ย ถึงขนาดนนั้ มันกเ็ หยยี บหวั เอา
ต่อหนา้ ต่อตา จนปีกว่าๆ นั่น ฟงั ซิ จติ ถึงได้ก้าวหนา้ …”

(ความลึกลบั ซับซอ้ นของจิตวญิ ญาณ หนา้ ๑๓๗)

“…ขน้ั ทยี่ งั ลม้ ลกุ คลกุ คลานกเ็ หมอื นอยา่ งเราๆ ทา่ นๆ ทง้ั หลายทปี่ ฏบิ ตั อิ ยนู่ แี้ ล เอาเกอื บเปน็ เกอื บตาย
กใ็ หม้ นั เหยยี บเอาๆ อยนู่ นั้ เหมอื นกลงิ้ ครกขน้ึ บนจอมปลวก กลง้ิ ขน้ึ ไปมนั กก็ ลงิ้ ทบั หวั เราลงมาตอ่ หนา้ ตอ่ ตา
เพราะเราไม่มีก�ำลังสามารถต้านทานมันไว้ได้ นี่กิเลสซ่ึงเป็นเหมือนครกก็เหมือนกัน เวลามีอ�ำนาจมาก
มันกลิง้ ทบั เราอยา่ งน้นั เหมือนกนั

ผมเคยเปน็ มาแลว้ ทั้งนั้น ไม่ใชเ่ อามาคยุ อวดหมูเ่ พื่อนนะ ผมพูดไปตามความจรงิ …”

(ความลึกลับซบั ซอ้ นของจติ วิญญาณ หนา้ ๒๕)

“…เพราะฉะนน้ั เวลาจติ เสอ่ื มจากสมาธิ มนั ถงึ จะเปน็ จะตายจรงิ ๆ เพราะทกุ ขม์ ากน่ี ผมเปน็ อยา่ งนน้ั
ทกุ ขใ์ นเพศของนกั บวชนนี้ อกจากประกอบความเพยี รเรยี นหนงั สอื แลว้ ยงั ทกุ ขเ์ พราะจติ เสอื่ มเขา้ อกี โอโ้ ห
ไมไ่ ดล้ มื กระทง่ั ทกุ วนั นี้ เพราะเราเคยเหน็ คณุ คา่ ของสมาธทิ แ่ี นน่ ปง๋ึ ๆ มาแลว้ และกเ็ สอ่ื มเอาชนดิ ไมม่ อี ะไร
ตดิ เนือ้ ติดตวั เลย มแี ต่ฟนื แตไ่ ฟเผาหัวใจตลอดเวลา ท้ังวันทัง้ คืน ทง้ั ยืนทงั้ เดิน ท้งั นั่งทั้งนอน จะไม่ทกุ ข์
ไดย้ งั ไง ทกุ ขเ์ พราะอยากไดส้ มาธนิ น้ั กลบั คนื มา ไมไ่ ดส้ มใจมนั กท็ กุ ข์ นอกจากกเิ ลสมนั ยว่ั ดว้ ยวธิ ตี า่ งๆ อกี
ดว้ ยแลว้ มนั ยงั จะลากลงนรกอเวจที งั้ เปน็ อกี ดว้ ย กม็ นั ทกุ ขม์ หนั ตทกุ ขจ์ รงิ ๆ เพราะความอาลยั เสยี ดายสมาธิ
สมาบัติท่เี ส่ือมไป อยากได้กลับคืนมาอย่างเดิม แตไ่ ม่สมหวัง จะไม่เป็นมหนั ตทกุ ขอ์ ยา่ งไรคนเรา ในชวี ติ
ของนกั บวชก็มคี ราวที่จติ เสือ่ มนน่ั แลท่ีทุกขม์ ากที่สดุ ส�ำหรับผมนะ่ …”

(เขา้ สูแ่ ดนอวกาศของจติ ของธรรม หนา้ ๒๗๙)

141

“…บางทนี ำ�้ ตารว่ งกดั ฟนั …แตก่ อ่ นจติ เขา้ ไดส้ นทิ ๆ เหมอื นหนิ นะ เวลาจติ เปน็ สมาธแิ นน่ เหมอื นหนิ
สดุ ทา้ ยมนั กม็ าเสอื่ มเพราะความไมร่ อบคอบของตวั เอง ไมร่ จู้ กั วธิ รี กั ษา… ทนี เี้ สอ่ื มไปแลว้ ตตี อ้ นขน้ึ มาไมไ่ ด้
กลบั ตวั ไมไ่ ด้ เจรญิ ขน้ึ แลว้ เสอ่ื มลงๆ มแี ตเ่ คยี ดแตแ่ คน้ เหมอื นกบั วา่ สเู้ สอื ดว้ ยกำ� ปน้ั นน้ั เอง เคยี ดกเ็ คยี ด
แคน้ กแ็ คน้ เคยี ดแคน้ ใหเ้ สอื แตเ่ วลาสู้ สมู้ นั ไมไ่ ด้ เรามแี ตก่ ำ� ปน้ั มนั มที ง้ั เลบ็ มที งั้ เขย้ี ว มนั กดั เอาๆ ตะปบ
เอาเลอื ดสาดๆ เรามแี ตก่ ำ� ป้นั สมู้ ันไม่ได้ แต่แค้น เคียดแคน้ พอข้นึ หัวมนั ไดแ้ ล้วเอาเลย เอาอีกแลว้ ทน่ี ่ี
เทียบเขา้ อกี เป็นข้ออุปมาหนึง่ เหมือนกับชา้ งเม่ือขน้ึ ตะพองมนั ไดแ้ ลว้ ขอกระหน�ำ่ ลงไปเลย

เราจงึ ได้เชอ่ื เรื่องพระโคธกิ ะ ทา่ นเจรญิ ฌานมาถึง ๕ หน ๖ หน เสอื่ มแล้วเจรญิ เสอ่ื มแลว้ เจรญิ
ครงั้ ท่ี ๖ ดวู า่ ยงั งนั้ นะถา้ จำ� ไมผ่ ดิ แต่ ๕ นแี้ นแ่ ลว้ ครง้ั ท่ี ๖ ยงั มสี งสยั อยหู่ นอ่ ย พระโคธกิ ะนมี่ ใี นประวตั ใิ น
ธรรมบท ซง่ึ เปน็ หลกั สตู รการเรยี นของเปรยี ญ ๓ ประโยคนนั่ นะ่ พระโคธกิ ะนฌ้ี านทา่ นเจรญิ สมาธสิ มาบตั ิ
เจรญิ แลว้ เสอื่ มๆ ถงึ ๕ หน จนกระทง่ั ถงึ จะฆา่ ตวั ตาย นน่ั พจิ ารณาซิ เราไมต่ อ้ งเอาไปมากกวา่ นน้ั หรอก
เราบอกจนถึงจะฆ่าตวั ตายนี้ก็ถึงจดุ อันสมบูรณ์แล้ว

เราเปน็ อยา่ งนนั้ จรงิ ๆ เวลามนั เสอ่ื มลงไปความเคยี ดแคน้ นี้ แหม… ทกุ ข์ ทกุ ขแ์ สนสาหสั ไมม่ อี ะไรทกุ ข์
ยงิ่ กวา่ ในหวั ใจเรานะ ไมม่ อี ะไรทกุ ขย์ ง่ิ กวา่ สมาธเิ สอื่ ม แตก่ อ่ นไมไ่ ดส้ มาธิ จติ ไมเ่ ปน็ สมาธมิ นั กเ็ ทยี บกนั ได้
กบั คนทเี่ ขาหาเชา้ กนิ เยน็ นน่ั แหละ เขาไมเ่ คยมเี งนิ หมน่ื เงนิ แสนเงนิ ลา้ น เขาจะเอาอะไรมาเสยี ใจเพราะความ
ลม่ จมของเงนิ หมน่ื เงนิ แสนเงนิ ลา้ นเลา่ เขาหาเชา้ กนิ เยน็ เขาสบายกวา่ คนมเี งนิ แสนเงนิ ลา้ นทลี่ ม่ จมไปดว้ ย
เหตกุ ารณอ์ นั ใดอนั หนง่ึ ผนู้ นั้ จะรอ้ นมากทสี่ ดุ นกี่ เ็ หมอื นกนั คนทไ่ี มเ่ คยเจอสมาธกิ จ็ ะเอาอะไรมาเดอื ดรอ้ น
นี่เคยเจอเคยเป็นมาแล้ว

เวลาจติ เสอื่ มนี้ แหม รอ้ นเปน็ ฟนื เปน็ ไฟ อยไู่ หนหาความสะดวกสบายไมไ่ ด้ แตด่ อี ยา่ งหนง่ึ ทนี่ า่ ชม
กค็ อื ว่าไม่ถอย จะเอาใหไ้ ด้ๆ เคียดแค้นๆ เพือ่ สู้…”

(ความลึกลับซบั ซอ้ นของจิตวิญญาณ หนา้ ๒๕–๒๖)

“…นลี่ ะ เสยี ใจขนาดไหนจิตเส่ือม ฟงั ซิ จนกระทงั่ ชีวติ ก็ไม่เสยี ดายหรอื ตายเลยดีกว่า…”

(เข้าสู่แดนอวกาศของจิตของธรรม หน้า ๒๘๑)

“…เคยี ดแคน้ ในทางธรรมจะเปน็ อะไรไป เคยี ดแคน้ ทางโลกเปน็ กเิ ลส เคยี ดแคน้ ดว้ ยอรรถดว้ ยธรรม
เปน็ ธรรม ไมง่ น้ั ไมท่ นั กเิ ลส กำ� ลงั ของจติ ดา้ นธรรมะไมม่ ี สกู้ เิ ลสไมไ่ ด้ กเิ ลสมกี ำ� ลงั ธรรมะไมม่ กี ำ� ลงั สกู้ นั ไมไ่ ด้
ความเคียดแค้นของกเิ ลสมาแบบหนงึ่ ความเคยี ดแค้นของธรรมเป็นอกี แบบหนง่ึ ฆา่ กเิ ลสน่นั มันแกก้ นั
อยา่ งน้ี เชน่ วา่ มรรคแกส้ มทุ ยั ชะลา้ งสมทุ ยั เปน็ อยา่ งน้ี ธรรมะแกก้ เิ ลสแกอ้ ยา่ งนี้ ใหท้ า่ นทง้ั หลายเขา้ ใจนะ
นพ้ี ดู ดว้ ยความแนใ่ จทเี ดยี ว ไมไ่ ดม้ คี วามสงสยั ในการปฏบิ ตั ขิ องตวั เอง เพราะไดผ้ า่ นมาแลว้ เปน็ อยา่ งน…้ี ”

(ความลกึ ลบั ซับซ้อนของจิตวญิ ญาณ หน้า ๒๖–๒๗)

142

หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน

วัดปา่ บ้านตาด จ.อดุ รธานี

ทา่ นพระอาจารยม์ ัน่ ให้อุบาย

“…เมอ่ื ไปหาทา่ น (พระอาจารยม์ น่ั ) ซง่ึ เปน็ ขณะทจ่ี ติ กำ� ลงั เจรญิ แลว้ เสอื่ ม เสอ่ื มแลว้ กลบั เจรญิ และ
เปน็ ขณะทก่ี ำ� ลงั ไดร้ บั ความทกุ ขร์ อ้ นและกระวนกระวายมาก ทา่ นกม็ อี บุ ายสงั่ สอนแบบอนโุ ลมไปตามทำ� นองนี้
เหมือนกัน คือเวลาไปกราบทา่ น ท่านถามว่าจิตเปน็ อย่างไร ถ้าเปน็ ขณะทจี่ ิตกำ� ลงั เจริญ กเ็ รยี นทา่ นว่า
ระยะนกี้ ำ� ลงั เจริญ ทา่ นก็ให้อบุ ายว่า ‘น่ันดแี ล้ว จงพยายามใหเ้ จริญมากๆ จะไดพ้ น้ ทกุ ข์เร็วๆ’ ถ้าเวลาจติ
ก�ำลงั เส่ือมไปหาท่าน ทา่ นถามว่าจติ เปน็ อยา่ งไรเวลาน้ี เราเรยี นท่านตามตรงวา่ วันนจี้ ิตเสอื่ มไปเสียแลว้
ไมม่ รี อ่ งรอยแหง่ ความสขุ เหลอื อยเู่ ลย ทา่ นแสดงเปน็ เชงิ เสยี ใจไปดว้ ยวา่ ‘นา่ เสยี ดาย มนั เสอื่ มไปทไี่ หนกนั นา
เอาเถอะ ทา่ นอยา่ เสยี ใจ จงพยายามทำ� ความเพยี รเขา้ มากๆ เดยี๋ วมนั จะกลบั มาอกี แนๆ่ มนั ไปเทย่ี วเฉยๆ
พอเราเร่งความเพยี รมันก็กลับมาเอง หนีจากเราไปไมพ่ น้
เพราะจติ เปน็ เหมอื นสนุ ขั นน่ั แล เจา้ ของไปไหนมนั ตอ้ งตดิ ตามเจา้ ของไปจนได้ นถ่ี า้ เราเรง่ ความเพยี ร
เขา้ ใหม้ าก จิตกต็ ้องกลบั มาเอง ไมต่ อ้ งติดตามมนั ใหเ้ สยี เวลา มันหนไี ปไหนไมพ่ น้ เราแน่ๆ จงพยายามท�ำ
ความเพยี รเขา้ ใหม้ ากเชยี ว มนั จะกลบั มาในเรว็ ๆ นแ่ี ล ไมต่ อ้ งเสยี ใจใหม้ นั ไดใ้ จ เดยี๋ วมนั วา่ เราคดิ ถงึ มนั มาก
มนั จะไมก่ ลบั มา จงปลอ่ ยความคดิ ถงึ มนั เสยี แลว้ ใหค้ ดิ ถงึ พทุ โธตดิ ๆ กนั อยา่ ลดละ พอบรกิ รรมพทุ โธถยี่ บิ
ตดิ ๆ กนั เขา้ มนั วงิ่ กลบั มาเอง คราวนแี้ มม้ นั กลบั มากอ็ ยา่ ปลอ่ ยพทุ โธ มนั ไมม่ อี าหารกนิ เดย๋ี วมนั กว็ งิ่ กลบั
มาหาเรา จงนกึ พทุ โธเพอื่ เปน็ อาหารของมนั ไวม้ ากๆ เมอ่ื มนั กนิ อมิ่ แลว้ ตอ้ งพกั ผอ่ น เราสบายขณะทมี่ นั พกั
สงบตวั ไมว่ งิ่ วนุ่ ขนุ่ เคอื งเทย่ี วหาไฟมาเผาเรา ทำ� จนไลม่ นั ไมย่ อมหนไี ปจากเรา นนั่ แลพอดกี บั ใจตวั หวิ โหย
อาหารไมม่ วี นั อมิ่ พอ ถา้ อาหารพอกบั มนั แลว้ แมไ้ ลห่ นไี ปไหนมนั กไ็ มย่ อมไป ทำ� อยา่ งนนั้ แล จติ เราจะไมย่ อม
เสอื่ มตอ่ ไป คอื ไมเ่ สอ่ื ม เมอ่ื อาหารคอื พทุ โธพอกบั มนั จงทำ� ตามแบบทสี่ อนน้ี ทา่ นจะไดไ้ มเ่ สยี ใจเพราะจติ
เสอ่ื มแล้วเส่ือมเล่าอกี ต่อไป’
นกี่ เ็ ปน็ อกี อบุ ายหนง่ึ ทท่ี า่ นสอนคนทแี่ สนโง่ แตด่ ไี ปอยา่ งหนง่ึ ทเี่ ชอื่ ทา่ นตามแบบโงข่ องตน ไมเ่ ชน่ นนั้
คงจะวงิ่ ตามหาใจดวงเสื่อมแลว้ เสือ่ มเลา่ ไมม่ ีวันเจอและหยุดได้…”

(ประวัติทา่ นพระอาจารยม์ นั่ ภูริทัตตเถระ หน้า ๒๔๑)

143

ไมถ่ อย จงึ ตงั้ หลกั ได้

ในภาวะจติ เสอื่ มเชน่ นี้ ท่านอาจารย์มคี วามเด็ดเดยี่ ว ไม่ถอย เพอื่ ใหไ้ ดส้ มาธกิ ลับคนื มา

“…หลังจากไดอ้ บุ ายอันแยบคายจากทา่ นอาจารยม์ ่นั จึงนำ� มาตัง้ เปน็ ขอ้ สังเกตข้ึน แล้วกต็ ้งั คำ� มั่น
สัญญาขึ้นอีกวา่ ถงึ อย่างไรเราจะตอ้ งน�ำบทบรกิ รรมมาก�ำกับจิตทุกเวลา ไมว่ า่ เข้าสมาธอิ อกสมาธิ ไมว่ า่
จะไปทไ่ี หน อยทู่ ใี่ ด แมท้ ส่ี ดุ ปดั กวาดลานวดั หรอื ทำ� กจิ วตั รตา่ งๆ จะไมย่ อมใหส้ ตพิ ลง้ั เผลอจากคำ� บรกิ รรม
คือพุทโธ เพราะชอบนำ� เอาบทพุทโธมาเปน็ คำ� บรกิ รรมภาวนา คราวนเ้ี วลาภาวนาจิตสงบลงไป หากวา่
ความสงบนนั้ ยังจะนกึ คำ� บริกรรมคือ “พุทโธ” ได้อยู่ จะไม่ยอมปลอ่ ยวางคำ� บริกรรมนั้น แล้วจติ จะเสือ่ ม
ไปไดใ้ นทางใด จะต้องร้กู ันในตอนนี้

พอตงั้ ขอ้ สงั เกตและตงั้ คำ� มน่ั สญั ญาไวแ้ ลว้ กเ็ รม่ิ บรกิ รรมภาวนาดว้ ยบทพทุ โธ เมอื่ บรกิ รรมตามนน้ั
จติ กล็ งสคู่ วามสงบได้ และไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ตา่ งจากทเี่ คยเปน็ มาขณะทจี่ ติ เวน้ จากคำ� บรกิ รรม จะเวน้ เฉพาะ
ขณะทจี่ ติ เขา้ สคู่ วามสงบอยา่ งสนทิ ขณะนนั้ จะนกึ พทุ โธหรอื ไมก่ ต็ าม แตค่ วามรทู้ อี่ ยใู่ นความสงบนน้ั ปรากฏ
เป็นพทุ โธตายตวั อยู่แล้ว และไมม่ ีความปรุงแต่งอะไรทัง้ นัน้ ตอนนหี้ ยุดคำ� บริกรรม พอจติ จะเรม่ิ ขยบั ตวั
ถอนข้นึ มา คอื มีอาการกระเพื่อมนิดๆ ก็รบี จบั คำ� บรกิ รรมอดั เขา้ ไปทันทเี พอื่ ใหจ้ ติ ตดิ อยู่กับคำ� บริกรรม

ทำ� เชน่ นน้ั พรอ้ มทัง้ ตัง้ ความสงั เกตว่าจิตจะมีความเสอื่ มไดต้ อนไหน และทอดอาลยั ในความเส่อื ม
กบั ความเจรญิ ของจติ จติ จะเสอ่ื มหรอื เจรญิ ไปถงึ ไหนกต็ าม แตค่ ำ� บรกิ รรมในระยะนจ้ี ะไมย่ อมปลอ่ ยวาง
แมจ้ ติ จะเสอื่ มกย็ อมใหเ้ สอื่ มไป เพราะการตง้ั ความอยากไวว้ า่ ไมใ่ หจ้ ติ เสอ่ื มไป แตก่ เ็ สอื่ มไปไดท้ ง้ั ๆ ทไี่ มอ่ ยาก
ใหเ้ สื่อม บัดนี้ความเส่อื มและความเจริญนัน้ เราทอดธุระเสียแล้ว จะบงั คบั จติ ใหม้ ีความร้สู ึกอยกู่ ับพุทโธ
อยา่ งเดยี ว เสอ่ื มกบั เจรญิ เราจะพยายามใหร้ อู้ ยกู่ บั ใจทม่ี พี ทุ โธกำ� กบั นเ้ี ทา่ นนั้ ใหร้ กู้ นั ทนี่ แ่ี ละเหน็ ประจกั ษ์
กนั ทนี่ ่ี จะมัน่ ใจอยทู่ ่ีน่ีแหง่ เดยี ว เส่อื มกบั เจรญิ ไมต่ ้องไปสนใจ

ในระยะตอ่ มาจติ ทเี่ คยเจรญิ และเสอ่ื มเปน็ ลำ� ดบั มากเ็ ลยไมเ่ สอื่ ม จงึ เปน็ เหตใุ หร้ เู้ รอ่ื งราวของจติ วา่
อ้อ จิตที่เคยเสือ่ มบ่อยๆ น้นั เส่อื มเพราะขาดค�ำบรกิ รรม สติคงจะเผลอจากจติ ไปในระยะนัน้ แน่นอน
แตน่ ั้นมาก็ตง้ั คำ� บริกรรมมาเป็นลำ� ดับ ไปไหน มาไหน อยทู่ ใ่ี ด ไม่ยอมใหเ้ ผลอ เปน็ กับตายจะไมย่ อมให้
เผลอจากพุทโธ จิตจะเสือ่ มไปไหนกใ็ ห้ร้กู ันท่ีนี่เทา่ นั้น ไมย่ อมรบั รไู้ ปทางอ่ืน จติ กเ็ ลยต้งั หลักลงได้ เพราะ
ค�ำบริกรรมคือพทุ โธ…”

(แว่นดวงใจ หนา้ ๒๒๖)

144

หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน

วดั ป่าบา้ นตาด จ.อดุ รธานี

ควบคมุ รักษาจิต

“…ทีน้ีพอจิตน้ีเริ่มเจริญขึ้นมาด้วยอุบายต่างๆ ท่ีเราทุ่มเทลงน้ันแล้ว จึงขนาบกันใหญ่ให้สมใจ
ทเ่ี คยี ดแคน้ อยเู่ ปน็ แรมปี ไมย่ อมใหเ้ สอื่ มได้ จนถงึ กบั วา่ เอา้ ถา้ จติ เราจะเสอ่ื มลงไปแมแ้ ตน่ อ้ ยเพยี งไรกต็ าม
ขอใหเ้ ราตายเสยี กอ่ น จติ นจ้ี งึ จะเสอื่ มได้ ถา้ เรายงั ไมต่ าย จติ นจ้ี ะเสอ่ื มไปไมไ่ ด้ คำ� ทพ่ี ดู อยา่ งนเี้ หมอื นกบั
พดู ดว้ ยความอาฆาตมาดรา้ ยตอ่ กเิ ลสตวั ทำ� ใหจ้ ติ เราเสอ่ื ม พดู ดว้ ยการประกนั ตวั การรบั รองตวั พดู ดว้ ย
ความเข็ดหลาบอย่างถงึ ใจ ประทบั ใจ

หลังจากนั้นจิตจึงเป็นเหมือนนักโทษถูกคุมแจตลอดเวลา ไม่ยอมให้พรากสายตา คือสติไปได้
ไมเ่ พยี งแตว่ า่ พดู เฉยๆ ความระมดั ระวงั ตวั นรี้ ะมดั ระวงั มากยงิ่ กวา่ ครงั้ ใดๆ ทผ่ี า่ นมา นบั แตไ่ ดท้ ราบเรอ่ื ง
จิตเสื่อมน้ันแล้ว ไดส้ อนตนให้รใู้ หเ้ ข็ดหลาบอยา่ งถึงใจ การระมดั ระวังก็ระมดั ระวงั อยา่ งถึงใจ เวลาจิต
เจรญิ ขน้ึ มาเตม็ ภมู ไิ มป่ รากฏวา่ เสอ่ื มอกี แลว้ กข็ ยบั ความเพยี รลงใหเ้ ตม็ ท่ี เอา้ ตายกต็ าย ราวกบั วา่ กดั เขย้ี ว
กดั ฟนั ใสก่ นั นนั่ แล เพราะความเคยี ดแคน้ อยา่ งถงึ ใจ นค่ี อื ความเคยี ดแคน้ ใหต้ นเอง หรอื เคยี ดแคน้ ใหก้ เิ ลส
ทดี่ ดั สนั ดานตน ความเคยี ดแคน้ ประเภทนค้ี อื มชั ฌมิ าปฏปิ ทาทเ่ี ดด็ กบั กเิ ลสคอู่ ริ จงึ ไมจ่ ดั วา่ เปน็ กเิ ลส (แตจ่ ดั
เป็นมรรคของธรรมป่า พระปา่ )

(เข้าสแู่ ดนนพิ พาน หนา้ ๕๓)

“…ในชวี ติ ของผมหรอื ในการปฏบิ ตั ขิ องผมกม็ พี รรษานน้ั นน่ั ละ คอื พรรษา ๙ กบั พรรษา ๑๐ เอากนั
อยา่ งหนักมากทเี ดยี ว พอสมาธไิ ด้ท่แี ล้ว กไ็ ด้บอกกับตัวเอง พดู กบั ตัวเองเลยทเี ดยี วภายในจติ ใจนี้แหละ
ไม่ได้พูดออกมาออกปากป้างๆ แปง้ ๆ อะไร ไดต้ ัดสนิ ใจกับตัวเอง เรียกวา่ ท�ำความเข้าใจกบั เราว่า ถ้าจิต
ของเราไดเ้ สอื่ มคราวนแี้ ลว้ เราตอ้ งตายเทา่ นนั้ เปน็ อยา่ งอน่ื ไปไมไ่ ด้ นนู่ นะ่ ฟงั ซิ นล่ี ะทำ� ใหเ้ ชอื่ พระโคธกิ ะนะ่
มันจะตายแนๆ่ ไมท่ ราบวา่ จะตายดว้ ยแบบไหน ผมกไ็ มร่ ูน้ ะ แต่มันจะเป็นอยา่ งอืน่ ไปไมไ่ ด้ถ้าลงไดเ้ สอ่ื ม
คราวนี้

เพราะฉะนน้ั เวลาจติ ไดก้ า้ วเขา้ สคู่ วามปกตขิ องตนไมเ่ สอ่ื มแลว้ จงึ เอากนั ใหญเ่ ลยทน่ี ี่ กระหนำ่� ใหญเ่ ลย
จะเป็นจะตายก็ เอ้า ตาย แตจ่ ติ นเ้ี สื่อมไมไ่ ดๆ้ มันเหมือนกบั นักโทษครุโทษ ผูต้ อ้ งหาครโุ ทษถูกบงั คบั
บบี กนั ตลอดมานน่ั แล จติ มนั จะคดิ ไปไหน นน่ั เวลานงั่ ไดห้ ามรงุ่ หามคำ่� กเ็ พราะอนั นเี้ องพาใหผ้ มเปน็ ไปไดน้ ะ
นง่ั หามรงุ่ หามคำ�่ ตลอดรงุ่ ๆ ไมร่ กู้ คี่ นื ๆ แตไ่ มไ่ ดต้ ดิ กนั ดงั ทเี่ คยเลา่ ใหฟ้ งั นน่ั นะ นเี่ พราะความเคยี ดแคน้ …”

(ความลกึ ลบั ซบั ซอ้ นของจิตวญิ ญาณ หน้า ๒๖)

145

“…พอจากนน้ั จติ เปน็ สมาธแิ ลว้ จติ ไมเ่ สอื่ มละ ทนี เ้ี รอ่ื งความเสอื่ มนนั้ มนั เปน็ ครเู อกทเี ดยี ว จะเสอ่ื ม
ต่อไปอีกไม่ได้เป็นอันขาดว่าอย่างนั้นเลย ถ้าเส่ือมเมื่อไรเราต้องตาย เราจะทนอยู่ในโลกแบกกองทุกข์
แห่งความเสื่อมนต้ี ่อไปอีกไม่ได้ เพราะเราเคยเสือ่ มมาแล้ว ทกุ ขแ์ สนสาหสั เป็นเวลาปกี ว่า ไมม่ ีทุกขอ์ ันใด
ที่จะแผดเผายิ่งกว่าความทุกข์เพราะจิตเสื่อม หากยังจะเสื่อมต่อไปอีกได้แล้วเราต้องตายอย่างเดียว
เท่านั้น เพราะฉะน้นั การระมัดระวังเจา้ ของจากนัน้ ไปแล้ว จงึ เขม้ งวดกวดขนั ท่สี ุด ไม่ยอมใหเ้ สือ่ มไดจ้ ติ
กเ็ จริญเรือ่ ยๆ…”

(เข้าสู่แดนอวกาศของจิตของธรรม หนา้ ๖๓)

“…ต่อมาก็เป็นพรรษาที่สองท่ีไปอยู่กับท่าน ก่อนจะเข้าพรรษาจิตก็รู้สึกสงบดีและแนบสนิทใน
ทางสมาธิ ความเสอ่ื มไม่ปรากฏ แต่ค�ำบรกิ รรมยงั ไมย่ อมลดละ จนถึงกับนง่ั ภาวนาได้แตห่ ัวคำ�่ ตลอดรุ่ง
โดยไม่เปลี่ยนเปน็ อริ ยิ าบถอื่น…”

(แว่นดวงใจ หนา้ ๒๒๖–๒๒๗)

“…จากนั้นมาก็เข้มงวดกวดขันน่ะซิ ไปไหนเหมือนกับนักโทษเหมือนผู้ต้องหาด้วยการควบคุมจิต
ดวงนี้ การรักษาต้องครอบอยงู่ ้นั เลยมันจงึ ไม่เสอื่ ม เสอ่ื มไมไ่ ด้และกจ็ รงิ ด้วย รักษามันตลอด ไม่คนุ้ กับ
อะไรทงั้ นนั้ แลว้ จติ กไ็ มเ่ สอ่ื ม เพราะมนั รตู้ งั้ แตน่ ง่ั ตลอดรงุ่ อยแู่ ลว้ ทวี่ า่ เออ้ ตอ้ งอยา่ งนซี้ นิ ะ ทนี ไี้ มเ่ สอื่ มๆ
ตง้ั แตน่ งั่ ตลอดรงุ่ คนื แรกเลยนะ มนั ไดห้ ลกั เกณฑข์ น้ึ มา เหมอื นกบั วา่ จติ ปนี ตกๆ พอจติ เขา้ ไปถงึ ทก่ี กึ๊ เลย
กท็ ราบทีนไี้ มต่ ก หมายความวา่ ปนี ข้ึนไปตกลงๆ พอไปถงึ ท่ีเกาะติดปั๊บ เออ้ ตอ้ งอย่างน้ีซิ ทนี ้ไี มเ่ สอ่ื ม
มนั แนใ่ จแลว้ ถงึ ขนาดนน้ั กย็ งั ไมน่ อนใจ เชอ่ื นนั้ กเ็ ชอ่ื แตค่ วามทเ่ี คยเขด็ นม้ี นั กถ็ งึ ใจเหมอื นกนั จติ กไ็ มเ่ คย
เสื่อมอกี ตง้ั แต่น้ันมา…”

(เขา้ ส่แู ดนอวกาศของจติ ของธรรม หนา้ ๒๘๑)

ระลึกถึงพระคุณของทา่ นพระอาจารยม์ นั่

“…ผมไปอยทู่ ไี่ หนถา้ ไมไ่ ดก้ ราบทา่ นอาจารยม์ นั่ แลว้ นอนไมไ่ ด้ อยทู่ ไ่ี หนกเ็ หมอื นกนั แมท้ ส่ี ดุ จะเดนิ
จงกรมกต็ อ้ งหนั หนา้ ไปไหวท้ า่ นเสยี กอ่ น ถา้ มรี ปู ทา่ นเปน็ ทห่ี มายของสมมตุ ิ กก็ ราบไหวร้ ปู ของทา่ น หากไมม่ ี
อะไรเลย กเ็ อาคณุ ธรรมของทา่ นประกอบเรอื่ งของสมมตุ นิ อ้ มนมสั การไป พระคณุ ของทา่ นไมม่ วี นั จดื จาง
ประหน่ึงวา่ ท่านไม่ได้ล่วงลบั ไป ธรรมชาติอันหน่งึ เปน็ อย่างน้นั เหมือนกบั ดูเราอยู่ตลอดเวลา…”

(เขา้ สู่แดนอวกาศของจิตของธรรม หนา้ ๒๘)

146

หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน

วัดปา่ บา้ นตาด จ.อดุ รธานี

-๔-
เร่งความเพยี ร

ท่านอาจารย์ส่งเสรมิ และใหก้ �ำลังใจแก่ศิษยผ์ ้ปู ฏิบตั ิธรรม ให้เอาความเพยี รชนะความเกยี จครา้ น
ออ่ นแอ ทา่ นสอนไว้วา่

“…ความข้ีเกียจขี้คร้านอ่อนแอเหล่านี้เป็นเรื่องของกิเลสท้ังมวล จงพากันทราบไว้ ความมักง่าย
ความโยกคลอนเอนเอยี ง มแี ตก่ เิ ลสตบตอ่ ยใหเ้ อนใหเ้ อียงให้ลม้ ลุกคลุกคลานท้งั นั้น ไม่ใชธ่ รรมเป็นผพู้ า
ใหเ้ ปน็ เชน่ นนั้ จงพากนั ทราบวา่ เวลานก้ี เิ ลสกำ� ลงั ทำ� งานในตวั เราอยา่ งออกหนา้ ออกตา ซงึ่ ๆ หนา้ นกั ปฏบิ ตั ิ
คอื เราแตล่ ะรายๆ จงทราบไวเ้ สยี แตบ่ ดั นี้ อยา่ เขา้ ใจวา่ กเิ ลสไมไ่ ดท้ ำ� งานบนหวั ใจเราในขณะทก่ี ำ� ลงั ประกอบ
ความเพยี รจะฆา่ มัน ในขณะเดียวกันน้ันกเิ ลสกฆ็ ่าธรรมและฆา่ ตวั เราไปด้วยในตัวโดยไม่ร้สู กึ

อุบายของธรรมท่ีจะให้ทราบกลอุบายของกิเลสจึงต้องใช้ความพยายามอย่างย่ิง ในข้ันเร่ิมแรก
สำ� คญั มาก เพราะงานยงั ไมเ่ คยเหน็ ผลพอจะเพมิ่ กำ� ลงั ใจใหเ้ ขม้ แขง็ ในความเพยี ร อยา่ หวง อยา่ หว่ ง อยา่
เสยี ดาย กเิ ลสไมไ่ ดใ้ หส้ ารคณุ อนั ใดแกเ่ รา ความขเี้ กยี จความออ่ นแอไมใ่ หส้ ารประโยชนอ์ นั ใด เราเคยขเ้ี กยี จ
เคยออ่ นแอมามากและนานเพยี งไรแลว้ จงเอามาบวกลบคณู หารกนั เพอื่ ทดสอบผลไดผ้ ลเสยี ของตวั กบั กเิ ลส
นกั ปฏบิ ตั ไิ มค่ ดิ ไมเ่ ทยี บเคยี งเหตผุ ลตน้ ปลายใหร้ ดู้ รี ชู้ วั่ รหู้ นกั รเู้ บาในสง่ิ เหลา่ นแ้ี ลว้ จะดำ� เนนิ ธรรมเพอื่ ความ
สงบเยน็ ใจไปไมไ่ ด้ จงึ ควรคดิ แตบ่ ดั นี้ อยา่ ใหเ้ สยี เวลำ่� เวลาตายเปลา่ ๆ ไมเ่ กดิ ประโยชน์ ผา้ เหลอื งอยทู่ ไ่ี หนกม็ ี
ตลาดรา้ นคา้ ยง่ิ ไมอ่ ด นนั้ เปน็ เครอื่ งหมายของเพศนกั บวช ไมใ่ ชเ่ ปน็ ผฆู้ า่ กเิ ลส นอกจากความเพยี รของเราเอง
จงเป็นผู้หนักแนน่ ในความพากเพียร เพอื่ หักกงกรรมของวัฏจักรให้ขาดสะบนั้ ลงจากใจจะหายห่วง

เราไดด้ ำ� เนนิ มาเตม็ สตกิ ำ� ลงั ความสามารถแลว้ จงึ กลา้ พดู ไดอ้ ยา่ งเตม็ ปากวา่ ไมม่ งี านใดทจ่ี ะลำ� บาก
ยากเยน็ เขญ็ ใจถงึ เปน็ ถงึ ตาย ยงิ่ กวา่ งานตอ่ สกู้ บั กเิ ลสเพอื่ ชยั ชนะ งานนเี้ ปน็ งานทห่ี นกั มากสำ� หรบั เราผเู้ ปน็
คนหยาบ แตใ่ ครจะหยาบกต็ ามละเอยี ดกต็ ามพงึ ทราบวา่ ความขเี้ กยี จความมกั งา่ ยออ่ นแอไมใ่ ชธ่ รรม ไมใ่ ช่
ทางแกก้ ิเลส อย่าหวงเอาไว้ มนั เปน็ เรื่องของกเิ ลสล้วนๆ เพือ่ พอกพนู ทุกขไ์ ม่สงสยั

ใครจะหยาบละเอยี ดแคไ่ หน นสิ ยั วาสนามมี ากมนี อ้ ยเพยี งไร จงยกตนใหเ้ หนอื กเิ ลสประเภทตา่ งๆ
ดว้ ยความเพยี ร จะจดั วา่ เปน็ ผมู้ วี าสนาบารมเี ตม็ หวั ใจดว้ ยกนั หากไมม่ คี วามเพยี รเปน็ เครอ่ื งแก้ อยา่ งไรก็
นอนกอดวาสนาทเ่ี ต็มไปด้วยกิเลสตวั หย่งิ ๆ อย่นู ่นั แล บางกฟ็ าดมนั ลงไปให้แหลกละเอยี ด หนากฟ็ าดมัน
ลงไปใหแ้ หลกเหมอื นกนั หมด จะสมนามวา่ เปน็ นกั รบนกั ปฏบิ ตั เิ พอ่ื กำ� จดั สงิ่ ทเ่ี ปน็ ขา้ ศกึ ออกจากใจโดยแท…้ ”

(เข้าสแู่ ดนนพิ พาน หน้า ๒๒๖–๒๒๗)

147

สำ� หรับท่านอาจารยเ์ องนัน้ ท่านเลา่ ให้พระเณรของวัดป่าบ้านตาดฟังว่า

“…สำ� หรบั ผมเองทไ่ี ดม้ าแสดงใหเ้ พอื่ นฝงู ฟงั นี้ ถา้ จะพดู วา่ อำ� นาจวาสนาของเราหยาบ นสิ ยั วาสนา
ของเราหยาบ อย่างนี้ผมกย็ อมรบั …”

(ผูบ้ ชู าตถาคต หนา้ ๔๐)

“…แต่มดี ีอย่างหนึง่ ถงึ จะวา่ นิสยั วาสนาหยาบกต็ าม แตค่ วามไม่ถอยนน้ั รู้สกึ วา่ เด่นอยตู่ ลอดเวลา
ยังไงก็ไม่ถอย ไม่ได้ด้วยวิธีนี้จะเอาวิธีน้ัน ไม่ได้ด้วยวิธีนั้นจะเอาวิธีนี้ มีแต่จะเอาๆ ค�ำว่าจะถอยไม่มี
นดี้ อี ยา่ งหนง่ึ ถา้ วา่ หยาบกน็ า่ ชมตรงนี้ หากวา่ อนั นมี้ ลี ดหยอ่ นลงไป ความทว่ี า่ จะเอานถ้ี อยหลงั กรดู ลงไป
แล้วเสรจ็ ไปไมร่ อดเลย นีไ่ ม่ถอย…”

(ผู้บูชาตถาคต หน้า ๔๕)

ทา่ นอาจารยเ์ ลา่ วา่ ในพรรษาทส่ี องของการไปอยกู่ บั ทา่ นพระอาจารยม์ นั่ (คอื พรรษาท่ี ๑๐) ทา่ นได้
หักโหมเร่งความเพยี ร โดยถือเอาการนัง่ ภาวนาตลอดรงุ่ เปน็ สำ� คญั มากกวา่ อิริยาบถอ่ืน

ภาวนาตลอดรุ่ง

“…ในพรรษาทสี่ องของการไปอยกู่ บั ทา่ นพระอาจารยม์ นั่ รสู้ กึ วา่ การนง่ั ภาวนาตลอดรงุ่ จะถอื เปน็ สำ� คญั
มากกวา่ อริ ยิ าบถอน่ื ในการบำ� เพญ็ ตอ่ จากนนั้ มากค็ อ่ ยผอ่ นลงบา้ ง เพราะเหน็ วา่ ธาตขุ นั ธเ์ ปน็ เครอ่ื งมอื สำ� หรบั ใช้
ยอ่ มมกี ารชำ� รดุ ไดเ้ มอื่ ไมร่ จู้ กั ประมาณ แตก่ ารเรง่ ความเพยี รดว้ ยวธิ นี งั่ ตลอดรงุ่ น้ี รสู้ กึ วา่ ใจมกี ำ� ลงั มากกวา่
วธิ อี น่ื ๆ การรเู้ รอ่ื งของทกุ ขเวทนาทแ่ี สดงขน้ึ ในขณะนง่ั นานๆ เชน่ นน้ั กร็ ไู้ ดช้ ดั ในระยะนง่ั ตลอดรงุ่ นน้ั เอง…”

(แว่นดวงใจ หนา้ ๒๒๗)

“…วดั บา้ นนามนเปน็ วดั ทรี่ ะลกึ ในชวี ติ และความเพยี รสำ� หรบั ผม เพราะตงั้ แตเ่ ราบวชมา การหกั โหมทงั้
รา่ งกายและจติ ใจไปพรอ้ มๆ กนั กม็ พี รรษานนั้ ในชวี ติ ของเรา คอื พรรษาที่ ๑๐ ความเพยี รและความหกั โหม
มนั เรม่ิ มาตง้ั แตย่ งั ไมเ่ ขา้ พรรษาเดอื นเมษายนและพฤษภาคมนะ่ มาจากพระธาตพุ นมกบั พอ่ แมค่ รอู าจารย์
ทา่ นไปเผาศพพอ่ แม่ครอู าจารย์เสารก์ ลบั มา ก็ไปรบั ท่านมาดว้ ยกัน ก็เขา้ มาอยู่บา้ นนามน จำ� พรรษาทนี่ ่นั
มนั หมนุ ตว้ิ ๆ เรมิ่ แตโ่ นน่ แลว้ สมาธเิ รมิ่ แนน่ ไมเ่ สอ่ื มอกี มาแตเ่ ดอื นเมษายน แตน่ ไ้ี มเ่ กย่ี วกบั สมาธิ แตเ่ ปน็ ปญั ญา
ในเวลาจนตรอก มันเปน็ ปัญญาสายฟา้ แลบ สติปญั ญากับกเิ ลสราวกับมดั คอติดกนั ไม่ใชป้ ัญญาไดย้ ังไง
เวลามนั จะตาย มันจนตรอกจนมุมก็ต้องใช้ปัญญาซิ เวลารขู้ ้ึนมามนั ก็รู้ด้วยปญั ญา

เปน็ พรรษาทห่ี นกั มากในชวี ติ ของนกั บวช ผมหนกั มากพรรษานนั้ แตไ่ มไ่ ดส้ นใจวา่ เปน็ ภาระหนกั มากนะ
เพราะความมงุ่ มน่ั มาก มนั จำ� ไมล่ มื กลางวนั ไมน่ อน เดนิ จงกรม หมากพลไู มแ่ ตะเลยในสามเดอื น ทง้ิ เลย

148

หลวงพ่อสุดใจ ทนฺตมโน

วดั ปา่ บา้ นตาด จ.อดุ รธานี

พอหลงั ออกพรรษาแลว้ ไปที่ไหน แต่ก่อนมันมีหมากพลูเตม็ ไปหมดนี่ เขาเอามาถวายก็ฉันไปอย่างน้ันเอง
เลยฉนั มาเรอื่ ยๆ ปนี น้ั มนั หกั โหมเตม็ ท่ี ทงิ้ หมดเรอื่ งหมากเรอ่ื งอะไรไมเ่ อา มนั เปน็ กงั วล ไมเ่ อาทงิ้ หมดเลย
จิตเปน็ เหมือนหนิ สมาธิแนน่ ปึง๋ เหมอื นหิน แต่มันไมใ่ ช้ปญั ญานะ่ ซิ ถ้าใชป้ ญั ญามันก็จะไปรวดเรว็ กว่าน้นั
มนั เพลนิ กินเพลนิ นอนอย่กู บั สมาธนิ นั้ เสีย มนั ขี้เกียจ มันสบายไมย่ ่งุ กับอะไร จิตอ่มิ ตัวของมนั อ่มิ ตวั ใน
ขั้นสมาธนิ ะ ไมใ่ ชอ่ ่มิ ตวั ด้วยการหลุดพ้นโดยประการทัง้ ปวงแลว้ มนั อ่ิมตวั ในสมาธิไม่ยุ่งกบั อารมณ์อะไร
รูปเสยี งอะไรๆ ไม่ยุ่ง สบายอยู่น้นั แบบหมไู ด้เขยี ง ไมไ่ ด้คดิ วา่ เขียงคอื ทีร่ องสับยำ� หมูเลย…”

(เข้าส่แู ดนอวกาศของจติ ของธรรม หน้า ๔๓๔–๔๓๖)

“…ในพรรษานน้ั ผมไมน่ อนกลางวนั นะ กลางวนั ผมไมเ่ คยจำ� วดั เลย นอกจากคนื ไหนผมนง่ั ตลอดรงุ่
ผมกพ็ ักนอนกลางวนั ถ้าธรรมดาแลว้ เปน็ ไม่พักใหเ้ ลย ปนี น้ั หรอื พรรษาน้ันความเพยี รหักโหมท่สี ุดในชวี ติ
ของเราทเี่ ปน็ นกั บวช กเ็ ปน็ พรรษาทสี่ บิ นนั่ หกั โหมมากทเี ดยี วเกย่ี วกบั รา่ งกายหกั โหมมาก จติ หกั โหมมาก
พอๆ กนั …”

(เข้าสูแ่ ดนอวกาศของจิตของธรรม หน้า ๒๗๕–๒๗๖)

“…ทวี่ า่ เกดิ ความอาจหาญในเรอ่ื งความเปน็ ความตาย อะไรมนั ตาย พจิ ารณาจนกระทง่ั หาสง่ิ ทตี่ าย
ไมไ่ ดเ้ ลย นม้ี นั กลวั อะไร มนั กลวั ตาย หอื โกหกกนั นน่ั เวลาพจิ ารณาลงไป ดนิ กเ็ ปน็ ดนิ นำ�้ เปน็ นำ�้ ลมเปน็ ลม
ไฟเป็นไฟ ใจทกี่ ลัวตาย มนั กไ็ มต่ าย มันย่ิงเด่น ยงิ่ เหน็ ชัด มนั ตายได้ยังไง มนั สง่าผ่าเผย รู้เด่น นม่ี ันตาย
ไดย้ งั ไง โกหกกัน นล่ี ะพรรษานีเ้ อากันอยา่ งเตม็ เหนีย่ วเลย หักโหมร่างกายหักโหมมากจริงๆ กลางวันไม่
นอนเลย เวน้ แตว่ นั ไหนเรานงั่ สมาธติ ลอดรงุ่ วนั นนั้ จะยอมพกั กลางวนั ให้ ถา้ วนั ไหนทำ� ความเพยี รธรรมดา
กลางวนั ไมพ่ กั ใหเ้ ลย ไมน่ อนกลางวนั ในพรรษานน้ั ถงึ วา่ หกั โหมมาก เวลาทเี่ ราไมค่ ดิ จะตอ่ สมู้ นั นงั่ ฉนั จงั หนั
ตอ้ งไดพ้ ลกิ นง่ั ขดั สมาธฉิ นั ไมไ่ ดเ้ พราะเจบ็ กน้ มาก นม่ี นั ไมล่ มื คอื เรานง่ั ขดั สมาธกิ ลางคนื เหมอื นกบั มนั พอง
หมดกน้ เรา กระดกู เหมอื นจะแตกทกุ ขอ้ ทกุ ทอ่ น กระดกู มนั ตอ่ กนั ตรงไหน แมแ้ ตข่ อ้ มอื กเ็ หมอื นมนั จะขาด
จากกนั ทุกขเวทนาเวลาข้นึ มนั ขึ้นหมดทุกสงิ่ ทุกอย่างทุกแง่ทกุ มุมในรา่ งกาย…”

(เข้าสแู่ ดนอวกาศของจติ ของธรรม หน้า ๔๓๕)

“…ตอนตอ่ สกู้ บั ทกุ ขเวทนานนั้ บงั คบั มนั ทกุ ดา้ น หกั โหมรา่ งกาย นง่ั ฉนั จงั หนั ตอนเชา้ ไดน้ งั่ พบั เพยี บ
ขออภยั กน้ เหมอื นกบั พองไปหมด นงั่ ขดั สมาธไิ มไ่ ด้ คอื ตอนนน้ั ตอนเราไมฝ่ นื เราไมบ่ งั คบั ปลอ่ ยธรรมดาจงึ นงั่
ไมไ่ ด้ ตอนนนั้ เราไมต่ ง้ั ใจจะทนกบั มนั จะสกู้ บั มนั เราจะสกู้ บั รสอาหารตา่ งหาก เราจะขนึ้ สรู้ สอาหารตา่ งหาก
เราไมท่ นกับมัน จึงต้องน่งั พับเพยี บฉันจงั หัน นห่ี มายถงึ วนั ทีห่ กั โหมกันเตม็ ทีจ่ ิตลงไม่ไดง้ า่ ย มันแพท้ าง
รา่ งกายมาก แตถ่ า้ วนั ไหนทพ่ี จิ ารณาตดิ ปบ๊ั ๆ เกาะตดิ ปบ๊ั ๆ อยา่ งงน้ั มนั กธ็ รรมดา นงั่ ตลอดรงุ่ เวลาเทา่ กนั
กต็ าม ไมม่ อี ะไรชอกชำ้� ภายในรา่ งกายเลย พอลกุ ขน้ึ กไ็ ปเลยธรรมดาๆ เหมอื นเรานง่ั สามสชี่ ว่ั โมงเปน็ ประจำ�
ตามความเคยชนิ

149


Click to View FlipBook Version