The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชีวประวัติ หลวงปู่สวาท ปัญญาธโร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wonchai890, 2021-10-02 00:33:13

ชีวประวัติ หลวงปู่สวาท ปัญญาธโร

ชีวประวัติ หลวงปู่สวาท ปัญญาธโร

องค์สมเด็จสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงตรัสเอาไว้ว่า ดูกรพุทธบริษัท ๔
ถึงจะเป็นคฤหบดี ผู้มีสมบัติอันมหาศาล จะสามารถท�ำกิจการได้
เงินมามากมายก่ายกอง กองตั้งแต่พ้ืนแผ่นดินโลกอันน้ีจนถึงโลก
พระอาทติ ย์ เราตถาคตตรสั วา่ เศษขยะของโลก กองมตู รคถู ของโลก
เท่านัน้

จ�ำเอาไว้น่ะ ค�ำเตือนของพระพุทธเจ้าตรัสเอาไว้ ล้วนแต่เป็นกอง
มูตรคูถทั้งน้ัน เป็นของเหม็นสาปสางทั้งน้ัน มันเป็นของที่
มีอยูใ่ นโลกอันนี้ วนั เดอื น คืน หรือปี มีอยแู่ ล้วฉันใด อันเป็นเร่อื ง
อจินไตย ทุกส่ิงอย่างมันก็อยู่ในหลักของธรรมชาติทุกสิ่งอย่างเลย
ไมม่ ใี ครแบกไปไดห้ รอก เหน็ คนตายแลว้ แบกไปไดไ้ หม จำ� ค�ำเตอื น
ของหลวงปู่เอาไว้น่ะ

พระครกู ติ ติปัญญาคุณ
(หลวงป่สู วาท ปญั ญาธโร)



ค�ำปรารภผูจ้ ัดพมิ พ์

คณะศษิ ยไ์ ดข้ อโอกาสหลวงปจู่ ดั ทำ� ประวตั ขิ ององคท์ า่ น และหลวงปไู่ ดอ้ นญุ าตใหจ้ ดั ทำ� ได้
ทางคณะศษิ ย์ไดข้ อโอกาสสัมภาษณ์หลวงปู่ เมอื่ วนั ที่ ๔ กนั ยายน ๒๕๖๔ ซึง่ วนั นั้นหลวงปู่
ไดเ้ มตตาเลา่ เรอื่ งราวขององคท์ า่ นหมดทกุ เรอื่ งอยา่ งลกึ ซงึ้ และละเอยี ดออ่ น จนทางคณะศษิ ย์
ไม่อาจจะบรรยายให้ถูกต้องได้ครบถ้วน และด้วยน�้ำเสียงขององค์หลวงปู่นั้นเบาและส่ันตาม
อาการของโรคทก่ี ำ� ลงั คกุ คามองคท์ า่ นอยู่ หลวงปทู่ า่ นใชข้ นั ตเิ หลอื กำ� ลงั นอนไมไ่ ด้ ไดแ้ ตน่ ง่ั
ฟุบหนา้ ลงบนทน่ี อน สง่ิ น้นั คือองค์หลวงปไู่ ดแ้ สดงธรรมอันวิเศษสดุ ในวาระสดุ ท้าย สิน้ โลก
เหลอื ธรรม ใหล้ กู ศิษยไ์ ด้พบได้เหน็ โดยไม่ตอ้ งบอกตอ้ งสอน

ดงั ธรรมทหี่ ลวงปทู่ ไ่ี ดแ้ สดงตามสถานที่ต่างๆ ใหเ้ ปน็ ที่ประจกั ษ์แกพ่ ุทธบรษิ ทั ท้ังหลาย
ธรรมทท่ี า่ นแสดงนน้ั เดด็ เดีย่ ว กล้าหาญ ปลุกจติ ใหก้ เิ ลสสะดงุ้ ใหพ้ ุทธบริษทั ท้ังหลายท่กี �ำลัง
หลบั ไหล ได้เวลาตื่น จิตตืน่ ต่นื มาฟงั อรรถฟังธรรม ที่ไมเ่ คยไดย้ นิ ไดฟ้ ังมาก่อนกไ็ ด้ยินไดฟ้ งั
ในครานี้ จนบอกไดเ้ ลยวา่ ยามทอ่ี งคห์ ลวงปแู่ สดงธรรม ไมม่ ใี ครสามารถนง่ั หลบั ได้ คยุ ได้ ตา่ งคน
ตา่ งฟงั อยา่ งใจจดใจจอ่ บรรยากาศราวกบั อยใู่ นปา่ ชา้ ดว้ ยเสยี งอนั สยบฟา้ สยบดนิ ดว้ ยเสยี ง
อนั หา้ วหาญ ดว้ ยเสยี งประดจุ ดงั สายฟา้ ฟาดลงมาทใ่ี จ และเหมอื นหอกหลาวอนั แหลมคมทจ่ี ะ
ทม่ิ ตำ� ใหก้ เิ ลสทนี่ อนตมมานานแสนกปั แสนกลั ปอ์ ยใู่ นใจ กระเทอื นเลอื นลน่ั สะดงุ้ ตนื่ ใหไ้ ดม้ ารบั
รสแห่งพระธรรมเทศนา แลว้ น้อมน�ำมาขัดเกลากเิ ลสในใจตน

พระธรรมเทศนาขององคท์ า่ นหลวงปสู่ วาท ปัญญาธโร นนั้ ได้ประจักษใ์ หร้ ู้ ให้เขา้ ใจ
ให้ถึงใจเป็นอยา่ งยิ่ง ด้วยอรรถปฏสิ ัมภิทาญาณอนั แยบคาย ทุกพยางค์ ทุกอกั ขระ จ�ำแนก
แตกออกได้อย่างกว้างขวางจนเข้าใจ ผู้ท่ีไม่เคยได้ยินได้ฟัง เม่ือจักได้สดับรับฟังแล้วไซร้
เสมอื นตกอยูใ่ นห้วงแห่งความสขุ สงบดว้ ยเสียงอรรถเสยี งธรรม เป็นท่อี ศั จรรยใ์ จย่งิ แกผ่ ทู้ ไ่ี ด้
สดับรับฟังในพระธรรมเทศนาน้ัน ทางคณะศิษยานุศิษย์จึงได้จัดท�ำหนังสือน้ีขึ้นเพื่อเผยแผ่
ค�ำสอนขององค์หลวงปู่ใหพ้ ทุ ธศาสนิกชนท้ังหลายได้นำ� มาเปน็ แนวทางในการปฏิบตั ิต่อไป

ชมรมพทุ ธศาสนา
โรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจา้ สริ ิกติ ์ิ กรมแพทย์ทหารเรอื จังหวัดชลบุรี

คณะศิษยานุศิษยห์ ลวงปูส่ วาท ปญั ญาธโร

3

สารบัญ

สงั เขปประวตั ิ พระครูกติ ตปิ ญั ญาคุณ (หลวงปู่สวาท ปญั ญาธโร) ๗

พระธรรมเทศนา พระครกู ิตติปัญญาคุณ (หลวงปู่สวาท ปัญญาธโร) ๔๗

งานประชุมเพลิงหลวงปคู่ �ำผิว สภุ โณ ตอนที่ ๑ ๔๙

งานประชุมเพลงิ หลวงปคู่ ำ� ผิว สภุ โณ ตอนที่ ๒ ๕๐

งานประชุมเพลงิ หลวงปคู่ ำ� ผวิ สุภโณ ตอนท่ี ๓ ๕๒

งานประชมุ เพลงิ หลวงปคู่ �ำผวิ สภุ โณ ตอนท่ี ๔ ๕๓

งานประชุมเพลิงหลวงปู่คำ� ผิว สุภโณ ตอนท่ี ๕ ๕๔

ในงานพระราชทานเพลงิ ศพหลวงปเู่ ปลี่ยน ปัญญาปทโี ป ตอนท่ี ๑ ๕๖

งานพระราชทานเพลงิ ศพหลวงปู่เปลย่ี น ปญั ญาปทีโป ตอนท่ี ๒ ๕๗

งานพระราชทานเพลงิ ศพหลวงป่เู ปลย่ี น ปญั ญาปทีโป ตอนที่ ๓ ๕๙

งานพิธีพระราชทานเพลิงสรีระสังขารหลวงปู่เปลยี่ น ปญั ญาปทโี ป ตอนที่ ๔ ๖๑

งานพระราชทานเพลิงศพหลวงป่เู ปลย่ี น ปัญญาปทีโป ตอนท่ี ๕ ๖๓

งานพระราชทานเพลงิ ศพหลวงปู่เปล่ียน ปญั ญาปทีโป ตอนที่ ๖ ๖๕

เณรนอ้ ยนะ่ เพราะการศกึ ษาก็น้อย แค่ช้ัน ป.๔ ๖๖

มสี ตสิ ัมปชญั ญะ รตู้ ัวตวั อยูห่ รอื เปล่า ๖๘

กพ็ ากนั สวดอยธู่ ัมมจกั ฯ ๗๐

ธรรมะสะดุง้ กิเลส ๑ ๗๒

ธรรมะสะดุ้งกิเลส ๒ ๗๓

ธรรมะสะด้งุ กิเลส ๓ ๗๔

อย่าพากนั นอ้ ยเนือ้ ตำ�่ ใจเด้อเฮด็ ไปโลด ๗๖

ในสมยั นน้ั มพี ระมหาเถระถามพระพทุ ธเจา้ ว่า ๗๘

เปน็ ผหู้ ญงิ กบ็ รรลุธรรมได ้ ๘๐

บญุ มนั อยู่ทีไ่ หน ๘๑

เด็กนอ้ ยประธานใหญ ่ ๘๓

ธรรมะจากรวงขา้ ว ๘๕

ท่ีๆ ทกุ คนมานใ้ี ห้ระวังนะ่ ใจน่ะ ๘๗

ทุกคนท�ำแล้วต้องได้ คนอ่ืนจะไดแ้ ทนไดไ้ มม่ ี ๘๘

ส�ำคญั อยูต่ รงนี ้ ๙๐

นรกเขาเปิดคอยอย่นู ะ่ ๙๒

ธรรมะจากเรอ่ื งโรคระบาด (โรคระบาด COVID ๑๙) ๙๔

เรื่องเลา่ สมยั หลวงปตู่ อ้ื ๙๖

โรค ๑๖ ประการ ๙๗

เหน็ ยาแก้โรคหรอื ยงั ๙๙

เรอื่ ง อานุภาพแห่งพุทโธ ๑๐๑

“ไม่มอี ะไรจะเกนิ พุทธคุณ ธรรมคุณ สงั ฆคุณ ๑ ๑๐๓

“ไมม่ ีอะไรจะเกินพทุ ธคณุ ธรรมคุณ สังฆคุณ ๒ ๑๐๔

บคุ คลใดท่ไี ม่รจู้ กั ทุกข์ บคุ คลนั้นยงั ไมเ่ ข้าถงึ ๑๐๖

อยา่ หนีจากมลู และเหตสุ ทิ เี่ รยี กวา่ เหตุปจั จโย ๑๐๘

หลวงปูเ่ จ้าขา หนูฟงั เทศนห์ ลวงปูต่ นื่ ตกใจหมดเลยเจา้ คะ ๑๑๐

เรื่องยมทตู ยมทูตเขาตามดพู วกเราอยทู่ ุกเวลา ทุกลมหายใจเลย ๑๑๒

เรอ่ื งยมทูต ยมทตู เขาตามดพู วกเราอยทู่ กุ เวลา ๑๑๔

ทำ� ดีได้ดีมีทไ่ี หน ท�ำช่วั ไดด้ มี ีถมไป ๑๑๕

เหตเุ กิดของนะโม นะโมคืออะไร ๑๑๖

“สงสยั นิมนต์พระมาผดิ วัด” ๑๑๗

ผทู้ อ่ี ยากจะฟังก็ฟงั หรอื สนใจในการฟังก็ฟงั ๑๑๙

หลวงปู่ไมม่ ีปฏิปทาการบอกบญุ เรย่ี ไรร้อยเปอร์เซ็นต ์ ๑๒๑

มีใครบ้างไมต่ ายนะ่ มีใครเปน็ อมตะ ๑๒๓

พรปีใหม่และธรรมะเตอื นสต ิ ๑๒๔

ยานยนตก์ ับทางโค้ง ๑๒๖

ธรรมะสวสั ดใี นวันปีใหมไ่ ทย ๑๒๘

เคยได้ยินเสียงทพิ ย์ไหม ๑๓๐

ธรรมะยามเชา้ ๑๓๓

อปุ าทาน แปลว่า ความเข้าไปยดึ ถอื ๑๓๕

นำ้� ใจสำ� คัญนะ ๑๓๗

แสดงพระธรรมเทศนาโยมแม่ทวี ศรีสลวย ๑๔๐

โยมแม่พระอาจารยส์ มุห์สุชิน ปรปิ ณุ โณ

พระพุทธเจ้าจึงตรัสวา่ ทกุ ขเ์ ป็นของทนไดย้ าก ๑๕๐

โอวาทเขา้ สู่มรรคเขา้ สู่พระนิพพาน ๑๕๔

โอวาทถึงพระครสู มุหส์ ชุ นิ ปริปุณโณ วดั ธรรมสถติ จ.ระยอง ๑๕๕

พระเจ้ากนษิ กะ ๑๕๖



สังเขปประวัติ

พระครกู ิตติปญั ญาคณุ
(หลวงปู่สวาท ปญั ญาธโร)

วัดโปง่ จันทร์ อ.เขาคิชฌกฏู จ.จนั ทบรุ ี

“ไมต่ ้องหว่ งฉัน
ฉนั จะทำ� ในสงิ่ ท่ีทุกคนจะตอ้ งยกย่อง
เพราะเป็นสงิ่ ท่ีฉันไดไ้ ตรต่ รองแล้ว

ฉันจะไปบวช”

พระครกู ิตตปิ ญั ญาคณุ
(หลวงป่สู วาท ปัญญาธโร)

ชาติก�ำเนิด

พระครกู ติ ตปิ ญั ญาคณุ (หลวงปสู่ วาท ปญั ญาธโร) เกดิ เมอ่ื วนั ท่ี ๒๑ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๘๙
ท่ีบา้ นเลขท่ี ๑๓๑ หมู่ ๒ ต.หนองบัว อ.บ้านฝาง จ.ขอนแกน่

โยมบิดาชื่อ คุณพ่อใบ ขอ้ ตุย่ โยมมารดาช่อื คณุ แมส่ าย ขอ้ ตุ่ย

ท่านเปน็ บุตรคนที่ ๓ มีพน่ี อ้ งร่วมบดิ ามารดา ๘ คน
๑. นางสาวทองใส ขอ้ ตุ่ย (เสยี ชีวติ ) ๒. นายสมยั ข้อตุย่
๓. หลวงปสู่ วาท ปัญญาธโร ๔. นายฉลาด ข้อตยุ่
๕. นายกาศ ข้อตุ่ย ๖. นางนาง ขอ้ ตุย่
๗. นางอารรี ักษ์ ขอ้ ตุย่ ๘. นายสาละ ข้อตุ่ย

โยมพ่อใบ ขอ้ ตุ่ย โยมแมส่ าย ข้อตุ่ย

หลวงปู่สวาท กับพี่น้องรว่ มบิดามารดา (จากซา้ ยไปขวา)
นายสาละ ขอ้ ตุ่ย นางอารีรกั ษ์ ขอ้ ต่ยุ นางนาง ข้อตยุ่

นายกาศ ขอ้ ตยุ่ นายสมัย ขอ้ ตยุ่

9

การศึกษา

ท่านเรียนจบช้ันประถมปีท่ี ๔ ที่โรงเรียนบ้านฝางวิทยาคาร จากน้ันท่านได้ไปเรียน
ต่อระดบั มธั ยมต้น หรือ ม.๖ (สมัยน้ันระดับมธั ยมตน้ เทียบเทา่ กับชั้น ม.๖ ในสมัยปัจจุบนั )
ที่โรงเรียนสขุ รฐั วิทยา (บ้านทมุ่ ) ซึง่ เปน็ โรงเรียนราษฎร์ ทอ่ี ยู่หา่ งจากบา้ นฝางประมาณ ๘
กิโลเมตร

เดก็ ชายสวาท ขณะทกี่ ำ� ลงั เรยี นหนงั สอื อยนู่ ้นั เปน็ เดก็ ทเี่ รยี นเกง่ มคี วามจำ� ดมี าก และ
เป็นความหวังของโยมพ่อและโยมแม่ ส่วนโยมพ่อนั้น ทา่ นเป็นหมอแพทย์แผนไทย และเปน็
แพทยแ์ ผนโบราณประจำ� ทอ้ งถน่ิ ในการชว่ ยเหลอื คนเจบ็ ไขไ้ ดป้ ว่ ยในสมยั นนั้ โยมพอ่ และโยมแม่
ไดเ้ หน็ ความฉลาดเฉลยี วและความสามารถของลกู คนนี้ จงึ หารอื กนั และสง่ ไปเรยี นตอ่ ในระดบั
มธั ยมตน้ ทโ่ี รงเรยี นสขุ รฐั วทิ ยาซงึ่ เปน็ โรงเรยี นราษฎร์ และเปน็ โรงเรยี นทม่ี ชี อื่ เสยี งในสมยั นน้ั
หวังจะให้ลูกได้เรียนมีความรู้และเป็นที่พ่ึงของครอบครัวและสร้างช่ือเสียงให้กับวงศ์ตระกูล
ตอ่ ไป เดก็ ชายสวาทกไ็ มไ่ ดท้ ำ� ใหบ้ พุ การผี ดิ หวงั ตงั้ ใจเรยี นจนจบการศกึ ษา และเรยี นไดค้ ะแนน
ดเี ย่ียมจนจบการศึกษา

หลวงปไู่ ดเ้ มตตาเลา่ วา่ ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั สมยั นน้ั ไดม้ าตดิ ตอ่ ใหไ้ ปเปน็ ครู ซงึ่ อาชพี ครู
ขณะนนั้ ขาดแคลนมาก บางทา่ นจบเพยี งประถมปที ี่ ๔ กส็ ามารถเปน็ ครไู ดแ้ ลว้ แตค่ า่ ตอบแทน
หรือเงินเดือนครูสมัยน้ันไม่มาก แต่ก็ต้องยอมรับว่าครูสมัยนั้นถึงจะไม่ได้จบปริญญาเหมือน
สมยั น้ี แตก่ ส็ อนลกู ศษิ ยล์ กู หาไดเ้ กง่ จรงิ จนลกู ศษิ ยร์ นุ่ หลงั ๆ ทผี่ ลติ ออกไป บา้ งกจ็ บปรญิ ญาเอก
เปน็ ดอกเตอร์ เปน็ อธบิ ดกี ม็ ี แตท่ ลี่ กู ศษิ ยส์ มยั นน้ั จะไมล่ มื เลย กค็ อื พษิ สงของไมเ้ รยี ว ทคี่ ณุ ครู
สมยั นั้นฝากไว้ตามกน้ ของลกู ศิษย์ ไมว่ ่าหญิงหรือวา่ ชาย ผดิ กบั สมัยนซี้ ง่ึ ไมส่ ามารถตสี ัง่ สอน
ศิษย์ได้แลว้ และภาษิตท่ีวา่ “รักวัวใหผ้ กู รักลกู ใหต้ ”ี กจ็ �ำกันไม่ไดแ้ ลว้ และใชไ้ มไ่ ด้แล้วดว้ ย

เดก็ ชายสวาทจะชว่ ยโยมพอ่ โยมแมท่ ำ� นาและดแู ลนอ้ งๆ มคี วามสามารถพเิ ศษ เชน่ การ
เปา่ พลุ (ใชไ้ มซ้ างทำ� ใหก้ ลวงยาวประมาณเมตรกวา่ ๆ แลว้ ใสล่ กู ดอกปลายแหลม เลง็ เปา้ หมาย
กลั้นหายใจเตม็ ปอดแล้วเปา่ ออกไป ไมเ่ คยพลาดเปา้ เลย เช่น กบตามท้องท่งุ นา)

เดก็ ชายสวาทไดเ้ ลน่ ฟตุ บอลกบั เพอ่ื นๆ เกดิ อบุ ตั เิ หตุ ขอ้ เทา้ พลกิ ไดร้ บั บาดเจบ็ อยา่ งมาก
ได้รบั การรกั ษาตามแพทยแ์ ผนไทยจนเห็นได้ดังปจั จบุ ัน

10

เหตกุ ารณ์ตดั สนิ ใจบวชเปน็ สามเณร

ปี พ.ศ. ๒๕๐๖ ด้วยวัย ๑๘ ปี เพิ่งจะเรียนจบ เป็นช่วงหวั เลี้ยวหัวต่อของชวี ิตว่าจะเลือก
ทางเดนิ ทางใด จะรับราชการครู หรอื จะทำ� ไรไ่ ถนาช่วยโยมพ่อโยมแม่ และคอยดแู ลน้องๆ
ทา่ นไตรต่ รอง ในทา่ มกลางการสอบถามการตดั สนิ ใจของญาตพิ นี่ อ้ ง ทา่ นกใ็ หค้ ำ� ตอบดว้ ยเสยี ง
อนั ดงั ชดั เจน ฉะฉานมน่ั คง ตามอปุ นสิ ยั ของทา่ นวา่ “ไมต่ อ้ งหว่ งฉนั ฉนั จะทำ� ในสงิ่ ทท่ี กุ คนจะ
ตอ้ งยกย่อง เพราะเปน็ ส่ิงทีฉ่ นั ได้ไตรต่ รองแลว้ ฉนั จะไปบวช ชดั เจน หนักแน่น”
โยมพอ่ ไดพ้ าบตุ รชายเขา้ กรงุ เทพฯ ครงั้ แรกคดิ จะใหบ้ วชทวี่ ดั บรมนวิ าส แตไ่ มส่ ะดวกเพราะ
ระยะทางนนั้ ไกลกนั มาก และเปน็ หว่ งลกู ชายไมอ่ ยากใหอ้ ยไู่ กล จงึ ขอใหบ้ วชอยวู่ ดั ใกลๆ้ บา้ นกอ่ น
และในวนั ท่ี ๒๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๐๗ อายุได้ ๑๙ ปี จึงบวชเป็นสามเณร ณ วัดป่าสงั เวช-
ธรรมาราม (ปัจจบุ ันคอื วดั ศรีประทมุ วนาราม) อ.บา้ นฝาง จ.ขอนแก่น

สามเณรสวาท ข้อตุ่ย

11

วนั บวชเปน็ สามเณร ในวนั น้ันกำ� ลงั มกี ารเผาศพบนกองฟอนกลางแจง้ พระครปู ัญญา-
วรากร เจา้ อาวาสไดเ้ ดนิ มาหา แลว้ ถามนายสวาทวา่ “จะบวชไหม” ทา่ นตอบฉะฉานวา่ “บวชครบั ”
ไมม่ กี ารลงั เลสงสยั แตป่ ระการใด ศพทก่ี ำ� ลงั ถกู เผา คนกช็ ว่ ยกนั งดั ชว่ ยกนั เผา เวลากเ็ รมิ่ คลอ้ ย
ต่�ำลงมาเรือ่ ยๆ พระครูปญั ญาวรากรก็จดั การบวชให้ขณะน้นั ตรงนนั้ ต่อหน้าไฟที่ก�ำลังลุก
เผาไหม้รา่ งกายอันไรว้ ญิ ญาณ นายสวาทจงึ ได้บวชเปน็ สามเณรโดยมีกองฟอนที่ก�ำลังลกุ ไหม้
โชตชิ ว่ งตอ่ หนา้ หลงั จากเปน็ สามเณรแลว้ คนกเ็ รมิ่ ทยอยกลบั จนหมด เหลอื แตร่ า่ งอนั ไรว้ ญิ ญาณ
ทไี่ ฟกำ� ลงั ลกุ ไหมน้ น้ั พระครปู ญั ญาวรากรจงึ ใหส้ ามเณรสวาททำ� การชว่ ยเผารา่ งนน้ั ๆ ใหห้ มดไป
เหลือแต่สามเณรสวาทผ้เู ดยี วท่ีก�ำลังทำ� หน้าทตี่ ามทท่ี า่ นเจา้ อาวาสสั่ง
คณะศิษย์ : “หลวงปู่กลวั ไหมครับ เพราะไม่มใี ครอยเู่ ลย”
หลวงปู่ : “มนั กม็ บี า้ งนะ ยง่ิ ค�่ำลงมืดลง แหม มนั วังเวงมากขึ้น” ท่านกห็ ัวเราะ

วนั ที่ ๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๘ ทา่ นไดญ้ ตั ตเิ ปน็ พระภกิ ษสุ งฆ์ ทวี่ ดั มหาชยั บา้ นโคกกลาง
ต.วังชยั อ.นำ้� พอง จ.ขอนแก่น โดยมี พระครูปญั ญาวรากร เจา้ คณะอำ� เภอนำ้� พอง เป็นพระ
อุปชั ฌาย์ พระครูมหาโส ปภากโร วัดป่ามหาวนั เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระครูมหาพรมา
คณุ ชาโต วดั มหาชยั เปน็ พระอนสุ าวนาจารย์ ไดร้ บั ฉายาวา่ ปญั ญาธโร แปลวา่ ผทู้ รงไวซ้ ง่ึ
ปญั ญา

หนังสือสทุ ธิ หลวงปสู่ วาท ปญั ญาธโร

12

พรรษาที่ ๑ วดั มหาชัย ไดศ้ กึ ษาปริยตั ธิ รรม ขอ้ วัตร วินัยตา่ งๆ จนสอบได้นกั ธรรมตรี
วนั หนงึ่ ทา่ นเดนิ ไปภายในวดั ไปพบพระใหมแ่ ละสามเณรกำ� ลงั เตะตะกรอ้ ทา่ นจงึ พดู ออกไปวา่
“ครบู าอาจารยท์ า่ นนำ� พาใหท้ ำ� กนั อยา่ งนร้ี ”ึ ดว้ ยเสยี งอนั เดด็ เดยี่ วและเดด็ ขาด เทา่ นน้ั เอง ตา่ งคน
ต่างหนหี ายไปฉับพลัน และไมพ่ บเหน็ เล่นกนั อกี เลย

พรรษาที่ ๒ ไดศ้ กึ ษานกั ธรรมโท ทงั้ นกั ธรรมตรแี ละนกั ธรรมโท ทา่ นไดอ้ าศยั การทอ่ งจำ�
เปน็ สว่ นใหญ่ ครน้ั จำ� ไดก้ น็ ำ� ขอ้ ธรรมวนิ ยั ตา่ งๆ มาวเิ คราะห์ เพอื่ ใหเ้ ขา้ ใจถอ่ งแทล้ กึ ซง้ึ ถงึ แกน่
ของธรรมะและเจตนาในการบญั ญตั สิ กิ ขาบทตา่ งๆ ในขณะเรยี นนกั ธรรมโท พระอาจารยก์ ใ็ ห้
ท่านไปสอนนักธรรมตรแี ก่พระสงฆ์บวชใหม่ ทา่ นจึงสอบนกั ธรรมโทไดอ้ กี

พรรษาท่ี ๓ ศกึ ษานกั ธรรมเอก พระอาจารยก์ ใ็ หท้ า่ นไปสอนนกั ธรรมโทใหก้ บั คณะสงฆ์
และให้ค�ำแนะนำ� ในการศึกษานกั ธรรมเอกแก่หม่คู ณะท่ีกำ� ลังศึกษาร่วมกนั

พรรษาที่ ๔ พ.ศ. ๒๕๑๑ ไปจำ� พรรษาทว่ี ดั ธรรมมงคล เขตพระโขนง กบั หลวงปวู่ ริ ยิ งั ค์
สริ นิ ธโร (สมเดจ็ พระญาณวชโิ รดม) หลวงปวู่ ริ ยิ งั คไ์ ดแ้ นะนำ� วธิ กี ารปฏบิ ตั จิ นทา่ นมคี วามกา้ วหนา้
ข้ึนมากในทางปฏบิ ตั ิ

พรรษาท่ี ๕ ได้เดนิ ทางมาจำ� พรรษที่วดั เทพพทิ กั ษ์ปุณณาราม ต.กลางดง อ.ปากช่อง
จ.นครราชสีมา ซง่ึ ขณะนัน้ หลวงปู่เมตตาหลวง พระญาณสทิ ธาจารย์ (สงิ ห์ สุนทโร) ก�ำลัง
เดนิ ทางมากอ่ สรา้ งหลวงพอ่ ขาว หรอื หลวงพอ่ ใหญ่ พระพทุ ธรปู ปนู ปน้ั ขนาดใหญ่ หนา้ ตกั กวา้ ง
๒๗ เมตร สงู ๔๕ เมตร เฉพาะพระเกศสงู ๗ เมตร พระกรรณยาว ๖.๘๐ เมตร ทา่ นเลา่ วา่
เฉพาะจมูกนน้ั ใหญ่เทา่ กับถงั ๒๐๐ ลิตร ท่านเปน็ พระหน่มุ รา่ งกายแข็งแรง รว่ มกบั พระเณร
และชาวบา้ นช่วยสร้างเพ่อื เป็นบารมีในการไดช้ ่วยหลวงพอ่ ครูอาจารย์ สรา้ งถาวรวตั ถไุ วใ้ น
พุทธศาสนา พระพุทธรปู นี้ตง้ั อยู่เชิงเขาสเี สียดอา้ สร้างดว้ ยคอนกรีตเสรมิ เหลก็ น�้ำหนักรวม
ประมาณ ๓,๐๐๐ ตนั สรา้ งเสรจ็ วนั ท่ี ๒๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๑๒ ภายในกลวงบรรจไุ ปดว้ ยพระธาตุ
พระเคร่ือง และปณิธานวตั รของผสู้ รา้ ง คา่ ใชจ้ ่าย พลเอกพงษ์ ปุณณกนั ต์ เป็นหัวแรงใหญ่
จนเป็นผลสำ� เรจ็ และมพี ระนามเป็นทางการวา่ พระพุทธสกลสีมามงคล

หลวงปเู่ ลา่ วา่ ทา่ นไดเ้ ดนิ ทางจากภเู ขาสเี สยี ดอา้ ซงึ่ เปน็ ทต่ี ง้ั หลวงพอ่ ขาวน้ี เดนิ ไปตาม
ยอดเขาขา้ มไปอกี ๓ ลกู พบสถานทท่ี เี่ ปน็ สปั ปายะเหมาะแกก่ ารภาวนา เรยี กวา่ “ถำ�้ หนองประด”ู่
เปน็ ท่อี ากาศถ่ายเทไดส้ ะดวก เงียบสงบ ภาวนาแล้วจติ สงบ เหมาะแกก่ ารภาวนามาก

13

ในขณะจ�ำพรรษาท่วี ัดกลางดงนี้ ไดศ้ กึ ษาปริยัติคอื นกั ธรรมเอกไปด้วย สอบอยูถ่ ึง ๗ ปี
จงึ สอบได้ และสอบได้ทวี่ ดั วชิราลงกรณ์ ในปี พ.ศ. ๒๕๑๗ และตอ่ มาพระภิกษุ สามเณร และ
แมช่ ี ทหี่ ลวงปไู่ ดส้ อนธรรมให้ กส็ อบนกั ธรรมเอกไดห้ ลายรปู เปน็ มหากห็ ลายรปู จนถงึ ป.ธ.๘
กม็ ี บางรปู สอบ ป.ธ.๙ อยหู่ ลายปกี ส็ อบไมไ่ ด้ จงึ มาปรารภใหห้ ลวงปทู่ ราบวา่ ทอ้ ใจ ทอ้ ถอยแลว้
หลวงปกู่ ห็ วั เราะและวา่ “แลว้ มนั ตายเสยี เมอ่ื ไร ตอ่ ไปกต็ อ้ งได้ ดแี นน่ มนั่ คงด”ี นเี้ ปน็ อกี วธิ หี นงึ่
ท่ีท่านใหก้ �ำลังใจตอ่ ลูกศิษย์

14

คาถาเมตตาหลวง

ส่ิงหนงึ่ ที่หลวงปูน่ �ำมาจากวัดเทพพทิ กั ษป์ ุณณาราม และใช้เผยแผแ่ กล่ ูกศษิ ย์ท่บี วชทว่ี ัด
โปง่ จนั ทรม์ าตลอด คอื “คาถาเมตตาหลวง” ซง่ึ เปน็ คาถาทหี่ ลวงปเู่ มตตาหลวงไดร้ บั การถา่ ยทอด
มาจากหลวงปขู่ าว อนาลโย และองคห์ ลวงปขู่ าวไดบ้ อกกบั หลวงปเู่ มตตาหลวงวา่ เปน็ คาถาของ
หลวงปมู่ ่ัน ภูรทิ ัตโต ใช้เป็นบทเจรญิ เมตตา

คาถาเมตตาหลวงนี้เป็นการเจริญกรรมฐาน ชนิดมีอานิสงส์ท�ำให้จิตตั้งม่ันถึงระดับ
อปั ปนาสมาธิ คือ เมตตา กรุณา และมุทติ า จติ จะสามารถในระดบั ฌาน ๓ ส่วนอุเบกขานนั้
จติ จะสามารถตัง้ มนั่ ในระดบั ฌาน ๔

ในกรรมฐาน ๔๐ นั้น ท่านเรียกการเจริญกรรมฐานแบบนี้ว่า พรหมวิหาร ๔ หรือ
อัปปมัญญา ๔

อนง่ึ การเจรญิ กรรมฐานน้ี พระพทุ ธองคไ์ ดท้ รงแสดงอานสิ งสไ์ วว้ า่ เอกาทะสานสิ งั สา ๙
ปาฏกิ ังขาฯ ตอ้ งหวงั ไดอ้ านิสงส์ ๑๑ ประการคือ

๑. ย่อมหลบั เป็นสุข

๒. ย่อมต่ืนเป็นสุข

๓. ย่อมไมฝ่ ันลามก

๔. ย่อมเปน็ ทรี่ กั แก่มนุษยท์ ั้งหลาย

๕. ยอ่ มเป็นท่ีรกั แก่อมนษุ ยท์ ้ังหลาย

๖. เทวดาทงั้ หลายย่อมรกั ษา

๗. ไฟ ยาพษิ หรือศาสตรา ยอ่ มไมก่ ล้�ำกรายได้

๘. จิตยอ่ มตงั้ มน่ั โดยเร็ว

๙. สหี น้ายอ่ มผอ่ งใส

๑๐. เปน็ ผไู้ มห่ ลงใหลท�ำกาละ

๑๑. เมือ่ ไมแ่ ทงตลอดคณุ อนั ยิ่งใหญ่ ยอ่ มเปน็ ผเู้ ข้าถงึ พรหมโลก

ซงึ่ บทสวดคาถาเมตตาหลวงน้ี จะเปน็ บทสวดชว่ งสดุ ทา้ ยของบทสวดมนตท์ ำ� วตั ร เมอื่ สวดจบ
กจ็ ะเปน็ การนงั่ แผเ่ มตตาแกส่ รรพสตั วท์ ง้ั หลายทวั่ จกั รวาลไมม่ ปี ระมาณ แมแ้ ตผ่ ทู้ แี่ ผเ่ มตตาเอง
จะรู้สกึ ชมุ่ ชนื่ ใจ เป็นสขุ ใจ เกดิ ปีตใิ จเช่นกัน

15

สวดปาฏิโมกข์

ในระหวา่ งจ�ำพรรษาทีก่ ลางดง หลวงปู่กต็ งั้ ใจชว่ ยงานแบ่งเบาภาระงานครบู าอาจารย์
ปี พ.ศ. ๒๕๑๗ พรรษาท่ี ๑๐ ทา่ นเรม่ิ ทอ่ งจำ� สวดปาฏโิ มกขอ์ ยา่ งหนกั เปน็ เวลา ๒๐ วนั จงึ จำ�
ไดอ้ ยา่ งแมน่ ยำ� จงึ ขอสวดในพรรษานนั้ เอง หลวงปเู่ มตตาหลวงทา่ นมฉี ายาวา่ ศษิ ยป์ าฏโิ มกข์
ทา่ นสวดเกง่ มาก เมอื่ หลวงปสู่ วดไดแ้ ลว้ หลวงปเู่ มตตาหลวงจงึ มอบใหส้ วดทกุ พรรษา และทกุ ครง้ั
ทห่ี ลวงปสู่ วาทไปกราบเยยี่ มพอ่ แมค่ รอู าจารยเ์ พอื่ ฟงั ธรรมหาแนวทางปฏบิ ตั ิ ทา่ นมกั จะสวด
ปาฏโิ มกขถ์ วายเสมอ เชน่ หลวงปสู่ มิ พทุ ธาจาโร หลวงปชู่ อบ ฐานสโม หลวงปแู่ หวน สจุ ณิ โณ
หลวงปูห่ ลยุ หลวงปู่ค�ำดี ฯลฯ
ปี พ.ศ. ๒๕๑๔ ไดม้ โี อกาสกราบหลวงปแู่ หวน สจุ ณิ โณ วดั ดอยแมป่ ง๋ั จ.เชยี งใหม่ เพอ่ื แสดง
มทุ ติ าจติ ในโอกาสวนั คลา้ ยวนั เกดิ ของหลวงปทู่ กุ ปี จนถงึ พ.ศ. ๒๕๒๑ ไดจ้ ำ� พรรษาทว่ี ดั ดอยแมป่ ง๋ั
แตก่ ย็ งั ไปๆ มาๆ กบั วัดเทพพทิ กั ษ์ปณุ ณาราม

หลวงปสู่ พุ จน์ ฐติ พั พโต กับหลวงปสู่ วาท ปัญญาธโร

16

สร้างวดั โป่งจนั ทร์

พ.ศ. ๒๕๒๕ ขณะทา่ นจ�ำพรรษาทว่ี ัดดอยแมป่ ๋งั ได้มคี ณุ ยายชลี �ำจวน พร้อมพรรคพวก
ซงึ่ เปน็ ผทู้ ศี่ รทั ธาในพทุ ธศาสนาอยา่ งมาก ทา่ นเปน็ คนชาวจนั ทบรุ ี ไดข้ อถวายทด่ี นิ เพอ่ื สรา้ งวดั
ของตนเองจำ� นวน ๔๕ ไร่ ในการถวายทดี่ นิ ครง้ั นไี้ ดก้ ลา่ วถวายตอ่ หนา้ หลวงปแู่ หวน สจุ ณิ โณ
หลวงปแู่ หวนจงึ บอกใหห้ ลวงปสู่ วาทรบั ไว้ แลว้ หลวงปสู่ วาทกบ็ อกวา่ จะขอเดนิ ทางไปดทู ด่ี นิ กอ่ น
วา่ เหมาะสมจะสรา้ งวัดไหม

เมอื่ เดนิ ทางมาดู สถานทนี่ น้ั เปน็ ปา่ รอ้ นชน้ื มสี ตั วป์ า่ อาศยั อยบู่ า้ ง เปน็ สถานทส่ี ปั ปายะ
เงยี บสงบ เปน็ ทศิ ตะวันตก เปน็ ท่ลี ่มุ ยาวลงมาทางทิศใต้ มลี ำ� รางและหนองน�ำ้ ขัง นำ�้ ไมแ่ ห้ง
ตลอดปี ในอดตี จะมสี ตั วป์ า่ ลงมากนิ นำ้� และกนิ ดนิ ซงึ่ มแี รธ่ าตชุ นดิ หนง่ึ เรยี กวา่ ดนิ โปง่ จนเปน็
ทม่ี าของช่อื วัดในภายหลังวา่ “วัดโป่งจนั ทร”์

เมอ่ื หลวงปสู่ วาทไดม้ าดทู ด่ี นิ จงึ เกดิ ความพงึ พอใจ ตามทคี่ ณุ แมช่ มี คี วามประสงคจ์ ะถวาย
จึงน�ำข้อมูลการตรวจสอบทด่ี ินไปกราบเรียนให้หลวงป่แู หวนทราบ

ต้นปี พ.ศ. ๒๕๒๖ หลวงป่สู วาทและสหธรรมิก พระภกิ ษุ สามเณร ๙ รปู ไดเ้ ดนิ ทางมา
จันทบุรี มายังบา้ นน้ำ� ขนุ่ เพอ่ื ลงมอื มาสรา้ งวัด ดงั น้ี
๑. หลวงปสู่ วาท ปญั ญาธโร ๒. หลวงพอ่ พยนต์ ปญั ญาธโร
๓. หลวงพอ่ แสง เกสโล ๔. พระอาจารยธ์ ีรพล ชานวโร
๕. พระอาจารย์วไิ ล (ลาสิกขา) ๖. พระอาจารย์ถม (ลาสิกขา)
๗. สามเณร ๓ รูป

เม่ือลงมาอยู่ครั้งแรก หลวงปู่บอกว่าล�ำบากมาก เดินบิณฑบาตวันแรกได้ข้าวองค์ละ
ทพั พเี ดยี ว คงเกยี่ วกบั ยงั ไมม่ ชี าวบา้ นทราบวา่ มพี ระมาปกั กลดและมาสรา้ งวดั ในพนื้ ที่ หลวงปู่
บอกวา่ กเ็ อานำ้� เปลา่ ใสแ่ ละฉนั พอประทงั ชวี ติ ไป ตอ่ มากป็ ระสานงานกบั ผใู้ หญบ่ า้ น ชอื่ ผใู้ หญ่
สำ� เภา ซงึ่ เปน็ ผใู้ หญบ่ า้ นในในขณะนน้ั และมคี ณะญาตโิ ยมในบรเิ วณใกลเ้ คยี ง ชว่ ยประชาสมั พนั ธ์
บอกกันปากต่อปากว่าจะมีการสร้างวัดข้ึนบริเวณนี้ ซ่ึงต่อมาอาหารบิณฑบาตก็พอสมควร
แต่สมัยนั้นหมู่บ้านบริเวณใกล้สถานท่ีตั้งวัดก็พอมีแต่ไม่มากนัก ส่วนใหญ่ก็จะท�ำไร่มัน
สำ� ปะหลงั บา้ ง ปลกู ยางพาราบา้ ง ปลกู ผลไมบ้ า้ ง แลว้ แตท่ ำ� เลชว่ งทดี่ นิ ของใครอยใู่ กลน้ ำ้� กป็ ลกู
ผลไม้ ของใครไกลนำ�้ หรอื ไมม่ นี ำ�้ กป็ ลกู ยางพารา หรอื ปลกู มนั สำ� ปะหลงั ไป สว่ นทไ่ี มม่ ที ดี่ นิ หรอื
ไม่มีทุนทรพั ย์ ก็ออกรบั จา้ งรายวนั ไป เช่น รับจ้างถากหญา้ ถางปา่ ขดุ ดนิ เป็นต้น

17

เม่อื ลงมือกอ่ สร้างครงั้ แรก กต็ ัดไมท้ ำ� เปน็ กฏุ ิขนาดหลังเล็กๆ พออยูอ่ าศัยได้ กอ่ สร้าง
โรงครวั และใชเ้ ปน็ กฏุ ทิ พี่ กั ของคณุ แมช่ ลี ำ� จวน ผถู้ วายทด่ี นิ และคณุ แมช่ ี ซงึ่ อาศยั อยเู่ ปน็ เพอ่ื นกบั
คณุ แมช่ ลี ำ� จวน และยงั ชว่ ยกนั หงุ หาอาหารไวเ้ ปน็ อาหารบณิ ฑบาตเสรมิ จากอาหารทบ่ี างครง้ั
ไมพ่ อฉนั เพราะเหตผุ ลทกี่ ลา่ วมาขา้ งตน้ เมอื่ เรม่ิ กอ่ สรา้ งและมชี าวบา้ นทราบขา่ ว กเ็ รม่ิ มชี าวบา้ น
ที่อยู่ใกล้เคียงเริ่มสละเวลามาช่วยในการก่อสร้างบ้าง หลวงปู่สวาทนั้นท่านเป็นผู้น�ำในการ
กอ่ สรา้ งดว้ ยความขยนั หมนั่ เพยี ร เรยี กวา่ บญุ หนกั แตค่ รอู าจารย์ ภกิ ษุ สามเณรทตี่ ดิ ตาม กท็ ราบ
นสิ ยั ของทา่ นดี ไมม่ ใี ครเอย่ ปาก เหนอ่ื ยอยา่ งไรกไ็ มบ่ น่ คงเตม็ ใจปลมื้ ใจไปกบั หลวงปู่ ชว่ ยกนั
กอ่ สรา้ งเสนาสนะอยา่ งเตม็ ที่ สว่ นโยมทมี่ าชว่ ยกจ็ ะมาชว่ ยกนั เลอ่ื ยไมบ้ า้ ง ขดุ สระนำ้� บา้ ง ชว่ ยใน
การก่อสร้างบ้าง

พอเยน็ พระภกิ ษุ สามเณร และแมช่ ี กจ็ ะมารว่ มกนั ทำ� วตั รสวดมนต์ เสรจ็ แลว้ กแ็ ยกยา้ ยกนั
กลบั กฏุ ใิ ครกฏุ มิ นั เพอื่ นง่ั สมาธิ เดนิ จงกรมตอ่ ไป เพราะในสมยั นนั้ วดั ยงั ไมม่ ไี ฟฟา้ ใช้ คงใชแ้ ต่
ตะเกยี งน้ำ� มันกา๊ ดหรอื เทียนเลก็ ๆ อาศยั เปน็ แสงสว่างพอส่องทางไดเ้ ท่านน้ั พอตื่นเช้าก็ออก
บณิ ฑบาต กลบั มาหลงั จากฉนั ภตั ตาหารแลว้ กเ็ รมิ่ ทำ� งานกอ่ สรา้ งตอ่ เรมิ่ สรา้ งอาคารหลงั แรกนนั้
อยบู่ นเนนิ ดา้ นทศิ เหนอื ของพระอโุ บสถ ปจั จบุ นั เปน็ อาคารไม้ ๒ ชน้ั กวา้ งประมาณ ๖ วา ยาว
๘ วา ชนั้ บนใชเ้ ปน็ ทพี่ กั ของพระภกิ ษุ สามเณร ชนั้ ลา่ งใชเ้ ปน็ ทสี่ วดมนต์ ทำ� วตั ร ทำ� กจิ ของสงฆ์
ชว่ งเชา้ ใชเ้ ปน็ สถานทฉี่ นั ภตั ตาหาร และใชเ้ ปน็ ทที่ ำ� บญุ ในวนั พระ หรอื เมอ่ื มศี รทั ธาญาตโิ ยมมาใช้
สถานที่ทำ� บญุ ศาลาหลังนีต้ อ่ มาภายหลังต้องรอ้ื ส่วนบนออก ๑ ชน้ั เพราะปลวกเขา้ ทำ� ลาย
แตด่ ว้ ยความเสยี ดาย หลวงปใู่ หค้ งชนั้ ลา่ งของศาลาไว้ สว่ นชน้ั บนนนั้ เทปนู ทำ� เปน็ ดาดฟา้ ปจั จบุ นั
ยงั อยู่ แตพ่ ระสงฆไ์ มค่ อ่ ยชอบอยู่ บน่ วา่ อากาศอบั ลมถา่ ยเทไมส่ ะดวก เพราะวา่ ปา่ ลอ้ มรอบ คงใช้
ประโยชน์เปน็ ท่ีพกั ช่ัวคราวของพระสงฆใ์ นชว่ งงานวนั คล้ายวันเกดิ หรือทพ่ี กั ศรทั ธาญาติโยม
ในชว่ งมงี านกฐินหรอื ผ้าปา่ ใหญ่ๆ เท่านน้ั

สร้างโรงครวั

เมอื่ สรา้ งศาลาอเนกประสงคห์ ลังนี้แลว้ ก็ลงมาก่อสร้างโรงครวั ดา้ นล่างใกลก้ ับแอ่งน้�ำ
ดา้ นทศิ ตะวนั ตกใกลก้ บั โปง่ ทสี่ ตั วล์ งมากนิ นำ้� และกำ� หนดใหเ้ ปน็ เขตทพี่ กั ของแมช่ ี ทพี่ กั อบุ าสกิ า
และทพ่ี กั โยมที่เปน็ สุภาพสตรี

สร้างกุฏิสงฆ์

เมื่อด�ำเนินการก่อสร้าง ช่วงน้ันได้มีคณะศิษย์ซึ่งเป็นศิษย์เก่าสมัยอยู่กลางดง และอยู่
ดอยแมป่ ง๋ั ซงึ่ เหน็ ปฏปิ ทาในการปฏบิ ตั ขิ องหลวงปสู่ วาท และเคยปวารณาขอเปน็ โยมอปุ ฏั ฐากไว้
คุณโยมทา่ นนี้ชือ่ คณุ โยมกมิ จู แซล่ มิ้ หรอื โยมจิตตมิ า สขุ ศรวี รรณ ซ่ึงเปน็ ผู้ท่ีไดร้ บั สัมปทาน

18

บัตรในการจัดการบริหารตลาดหมอชิต หรือตลาดขนส่งสายเหนือในขณะนน้ั ไดเ้ หน็ ความ
มงุ่ มน่ั ในการกอ่ สรา้ งวดั จงึ ชกั ชวนหมคู่ ณะและครอบครวั เพอ่ื นๆ มาชว่ ยหลวงปสู่ วาทกอ่ สรา้ ง
โดยจดั เปน็ ผา้ ปา่ สามคั คบี า้ ง เปน็ กฐนิ สามคั คบี า้ ง หาเจา้ ภาพโดยตรงบา้ ง มาเปน็ เจา้ ภาพในการ
กอ่ สรา้ ง ไดก้ อ่ สรา้ งกฏุ สิ งฆข์ นาด ๒.๕๐ เมตร x ๕ เมตร เปน็ กฏุ ชิ น้ั ครง่ึ มที างเดนิ จงกรมทกุ หลงั
รวม ๗ หลงั แตล่ ะหลงั อยู่หา่ งกนั พอสมควร เหมาะแกพ่ ระสงฆ์ทม่ี าอาศยั เพราะออกแบบให้
อยอู่ งคเ์ ดยี ว เหมาะแกก่ ารภาวนามาก และระหวา่ งศาลาการเปรยี ญมที างเดนิ เปน็ ทางลาดดว้ ย
ปนู ซีเมนต์ กว้างประมาณ ๑ เมตร เช่อื มโยงติดตอ่ ท�ำให้สะดวกเวลาเดนิ ปลอดภยั จากสตั ว์
เลอื้ ยคลานพอสมควร สว่ นการสรา้ งนนั้ หลวงปพู่ าลกู ศษิ ยแ์ ละครอู าจารยช์ ว่ ยกนั สรา้ ง นบั วา่
นา่ อนุโมทนากับทางเจา้ ภาพมา ณ ทนี่ ี้
สรา้ งวิหารจิตตมิ า
เม่ือมีคณะสงฆ์มาอยู่ร่วมกันมากขึ้น ก็มีปัญหาอีกอย่างหน่ึง นอกจากกุฏิท่ีอาศัยและ
ศาลาการเปรยี ญทท่ี ำ� บญุ แลว้ คอื สถานทที่ ำ� สงั ฆกรรม ทำ� กจิ ของสงฆใ์ นชว่ งเขา้ พรรษา คอื การ
ลงอุโบสถ ฟังการแสดง การสวดบรรยายโอวาทปาฏิโมกข์ แต่ด้วยข้อจ�ำกัดทางทุนทรัพย์
หลวงปสู่ วาทจงึ ดำ� รจิ ะกอ่ สรา้ งวหิ ารขน้ึ เพอ่ื ใชป้ ระโยชนแ์ ทนอโุ บสถ ซงึ่ คณะศรทั ธาโดยเฉพาะ
คณะของคุณโยมกิมจู แซล่ ิ้ม และครอบครัว ไดช้ กั ชวนหมู่คณะมาทอดกฐินสามคั คแี ละผ้าป่า
ไดน้ ำ� ปจั จยั มาสนบั สนนุ การกอ่ สรา้ ง ทงั้ จดั ซอ้ื วสั ดแุ ละจา้ งคนมาชว่ ยครอู าจารยใ์ นการกอ่ สรา้ ง
ซง่ึ กแ็ ลว้ เสรจ็ และทำ� การจดั หาพระประธานปางไพรพี นิ าศหลอ่ ดว้ ยทองเหลอื ง ขนาดหนา้ ตกั
กวา้ ง ๓ ศอก ๑ คบื สงู ๖ ศอก โดยหลอ่ สำ� เรจ็ จากกรงุ เทพฯ คา่ กอ่ สรา้ งประมาณ ๓ ลา้ นบาท
นบั วา่ เปน็ วหิ ารทง่ี ดงามมากทงั้ ภายนอกและภายใน ทางวดั ไดใ้ ชป้ ระโยชนม์ านานตดิ ตอ่ กนั ๒๗ ปี
จนถงึ ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ คณะกรรมการวดั เหน็ วา่ วหิ ารเรม่ิ ชำ� รดุ มากเพราะไมห้ กั หลน่ ใส่ และปลวก
เขา้ ท�ำลายวสั ดสุ ว่ นทที่ �ำด้วยไมช้ ำ� รดุ เสียหาย จงึ ปฏสิ ังขรณเ์ ปล่ียนวสั ดุเปน็ เหลก็ และซ่อมแซม
จนแลว้ เสรจ็ ใชง้ บประมาณ ๖๐๐,๐๐๐ บาท (หกแสนบาทถว้ น) จงึ ไดก้ ลบั มาสวยงามเหมอื นเดมิ
และไดท้ �ำการฉลองในวนั ท่ี ๒๑ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๕๕ นับเปน็ ถาวรวตั ถสุ �ำคญั อกี ชิ้นหนง่ึ
ของวดั โปง่ จนั ทร์
สรา้ งกฏุ ิเจ้าอาวาส
หลงั จากการสรา้ งและฉลองวหิ ารแลว้ ยงั มปี จั จยั เหลอื อกี จำ� นวนหนงึ่ ทำ� ใหค้ ณะศษิ ยจ์ าก
กรงุ เทพฯ ได้ปรึกษาหารือกนั วา่ น่าจะสร้างกุฏิสงฆ์อีกหน่งึ หลงั ให้ใหญ่พอสมควรเพือ่ ใช้เปน็
กฏุ เิ จา้ อาวาส และมหี อ้ งพกั หลายๆ หอ้ งเพอื่ ตอ้ นรบั พระอาคนั ตกุ ะทม่ี าเยยี่ มเยยี น และสามารถใช้
เป็นที่พกั ของคณะสงฆใ์ นช่วงทมี่ าพักจำ� พรรษารว่ มกันหลายรปู ซ่ึงตอ่ มาก็สร้างแลว้ เสร็จ

19

ตง้ั วดั – ต้ังเจ้าอาวาส
เม่อื การก่อสร้างเสนาสนะต่างๆ แล้วเสร็จเปน็ รปู ธรรม เชน่ ศาลาการเปรยี ญ โรงครวั
กฏุ สิ งฆ์ วหิ าร ถาวรวตั ถอุ นื่ แลว้ จงึ สมควรขอตง้ั วดั ใหถ้ กู ตอ้ ง ซง่ึ ไดร้ บั ความชว่ ยเหลอื อยา่ งดี
จากคณุ โยมอำ� พร สัจจาสัย พีช่ ายของคณุ แม่ชสี ปุ ราณี คุณโยมอมั พรน้ีท่านรบั ราชการเป็น
นายกเทศมนตรเี ทศบาลเมอื งจนั ทบรุ ี ทา่ นจงึ มคี วามรใู้ นการดำ� เนนิ การตา่ งๆ ในการขอตง้ั วดั
อกี อยา่ งหนงึ่ ทา่ นกม็ ศี รทั ธาในพระพทุ ธศาสนาและชว่ ยนอ้ งสาวในการทำ� บญุ อนั เปน็ มหากศุ ล
ยง่ิ ใหญใ่ นครัง้ นี้ วนั ที่ ๑๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๒๙ กไ็ ด้รับอนุญาตในการก่อต้งั วดั โดยใช้ช่ือว่า
วดั โป่งจันทร์ เดิมตง้ั อย่หู มู่ ๙ ต�ำบลตะเคียนทอง อ�ำเภอมะขาม จังหวดั จันทบรุ ี ปัจจบุ นั ได้มี
การแบง่ แยกตำ� บลและหมบู่ า้ นใหม่ วดั โปง่ จนั ทรจ์ งึ ตง้ั อยหู่ มทู่ ี่ ๒ ตำ� บลคลองพลู อำ� เภอเขาคชิ ฌกฏู
จงั หวดั จนั ทบรุ ี นบั ไดว้ า่ ความศรทั ธาอนั แรงกลา้ ของผทู้ อี่ ทุ ศิ ถวายทดี่ นิ ผทู้ ดี่ ำ� เนนิ การกอ่ ตงั้ วดั
สว่ นทเ่ี ปน็ คฤหสั ถญ์ าตโิ ยมตา่ งๆ ทงั้ สว่ นทบี่ รจิ าคทรพั ย์ ผทู้ สี่ ละแรงงาน สละแรงกาย ความมงุ่ มน่ั
ตง้ั ใจของหลวงปู่สวาท ปัญญาธโร และคณะสงฆ์ ซึง่ ประกอบไปด้วยพระภกิ ษุผู้เป็นพระเถระ
ครูบาอาจารย์ สามเณร แม่ชี ซงึ่ กเ็ สยี สละทง้ั ก�ำลงั กาย ก�ำลงั ทรพั ย์ กอ่ สร้างถาวรวตั ถุต่างๆ
ดงั ไดก้ ลา่ วถงึ และอธบิ ายไวแ้ ลว้ ในเบอื้ งตน้ ไวใ้ นพระพทุ ธศาสนา เปน็ พทุ ธบชู า ธรรมบชู า สงั ฆบชู า
ยอ่ มไดอ้ านสิ งส์ตามท่ีทกุ ทา่ นปรารถนา
แลว้ ในวนั ท่ี ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๒ หลวงปสู่ วาท ปญั ญาธโร กไ็ ดร้ บั การแตง่ ตง้ั เปน็ เจา้ อาวาส
ดูแลวัดโปง่ จันทร์อย่างเป็นทางการ
สรา้ งศาลาพักใจ ศาลาอโุ บสถ
ปี พ.ศ. ๒๕๓๖ ดว้ ยคณะสงฆ์ พระภกิ ษุ สามเณร ทมี่ าจำ� พรรษาทว่ี ดั โปง่ จนั ทร์ ตา่ งกบ็ น่ วา่
ในชว่ งฤดฝู นอากาศดา้ นบนเนนิ ซง่ึ เปน็ ปา่ และเปน็ ทต่ี งั้ ของกฏุ ติ า่ งๆ นน้ั มคี วามชนื้ สงู ลมถา่ ยเท
ไมส่ ะดวก พระภกิ ษุ สามเณร ทสี่ ขุ ภาพไมด่ มี กั จะมอี าการไขห้ วดั บา้ ง ปว่ ยเรอื้ รงั บา้ ง และชกุ ชมุ
ไปดว้ ยยงุ ปา่ แตไ่ ขม้ าลาเรยี นนั้ เบาลงกวา่ แตก่ อ่ น ไมเ่ หมอื นชว่ งกอ่ สรา้ งวดั ใหมๆ่ คงเปน็ เพราะ
ทางราชการได้ก่อตั้งหน่วยมาลาเรียข้ึนกระจายอยู่ทั่วไปท่ีบ้านทุ่งจันด�ำก็มี และห่างจากวัด
เพยี ง ๒ กโิ ลเมตรเท่านน้ั เม่ือครอู าจารยต์ ่างบ่นตรงกันเชน่ นี้ หลวงปสู่ วาทจงึ ดำ� ริท่จี ะสรา้ ง
ศาลาขน้ึ ๑ หลงั เปน็ ศาลาอเนกประสงค์ ท่านก็หารอื กับครูอาจารยท์ อี่ ยู่รว่ มกัน และทา่ นก็
บอกวา่ มศี าลาหลงั หนง่ึ ถกู กบั กเิ ลสทา่ น แตท่ า่ นตอ้ งเขา้ ไปกรงุ เทพฯ เพอื่ ไปขอแบบมาศกึ ษาดู
ซงึ่ เมอื่ ทา่ นเขา้ ไปกรงุ เทพฯ กไ็ ดแ้ บบพมิ พเ์ ขยี วมา ศาลาทเี่ ปน็ ตน้ แบบนช้ี อื่ ศาลา “พระราชศรทั ธา”
วดั ปทมุ วนาราม ของพระอาจารยม์ หาถาวร จติ ตถาวโร แตใ่ นแบบนนั้ มขี นาดใหญเ่ หมาะมาก
แตส่ รา้ งเปน็ ๒ ชนั้ มชี น้ั ตำ�่ กวา่ ระดบั ดนิ ดว้ ย งบประมาณนนั้ สงู มาก ซงึ่ หลวงปสู่ วาททา่ นกจ็ ะ
ตดั ชนั้ ตำ่� กวา่ ระดับดินออกเพอื่ ใหเ้ หมาะสมกบั งบประมาณ

20

กอ่ นทจ่ี ะกอ่ สรา้ งศาลาอเนกประสงคน์ ้ี มคี วามจำ� เปน็ ตอ้ งปรบั ทถี่ มทซี่ งึ่ ตอ้ งใชง้ บประมาณ
มากพอสมควร ซง่ึ สถานทที่ จ่ี ะตง้ั ศาลานอ้ี ยทู่ ศิ ใตข้ องเนนิ ทต่ี งั้ วดั มสี ระนำ้� ขนาดใหญพ่ อสมควร
สำ� หรบั สระนำ้� นต้ี อ้ งขอกลา่ วถงึ พระในชว่ ยปลายปที ผ่ี า่ นมาวา่ ไดเ้ กดิ ภยั แลง้ ในจงั หวดั จนั ทบรุ ี
ซง่ึ ทางวดั กน็ ำ้� แหง้ ขาดแคลนเชน่ กนั บงั เอญิ ปนี น้ั หลวงปสู่ วาทไดพ้ บกบั พระอาจารยจ์ นั ทร์ คเวสโก
วัดปา่ ชัยรงั สี จังหวัดสมทุ รสาคร หลวงปูไ่ ดเ้ ลา่ ถึงความแห้งแล้งทเ่ี กดิ จากภัยแล้งให้ท่านฟงั
ซงึ่ พระอาจารยจ์ นั ทรท์ า่ นมพี รรษานอ้ ยกวา่ แตก่ ค็ นุ้ เคยกนั เปน็ อยา่ งดี กร็ บั ปากวา่ จะประสาน
งานกบั ลกู ศษิ ยล์ กู หาทอี่ ยใู่ นหนว่ ยงานทจ่ี ะสามารถชว่ ยเหลอื บรรเทาทกุ ขใ์ หท้ างวดั ไดใ้ หท้ ราบ
ซงึ่ ตอ่ มากไ็ ดร้ บั งบสนบั สนนุ จากกรมชลประทานใหง้ บมาขดุ สระนำ้� ใหว้ ดั โปง่ จนั ทร์ ทำ� ใหช้ ว่ ย
บรรเทาทกุ ข์และใชป้ ระโยชน์ได้จนถึงปจั จบุ ัน

ขา้ งสระนำ้� ของเนนิ วดั นเี้ องคอื จะทำ� การกอ่ สรา้ งศาลาอเนกประสงค์ แตก่ ย็ งั มปี ญั หาคอื
สถานทตี่ ำ�่ มนี ำ้� ขงั ในฤดฝู น จำ� เปน็ ตอ้ งถมทดี่ นิ จงึ นำ� รถแมคโครมาเกลยี่ ดนิ ทข่ี า้ งสระนำ้� ใหเ้ รยี บ
แต่ขาดดนิ อกี เปน็ จ�ำนวนมากหลายรอ้ ยเท่ียว ก็พอดีโครงการท�ำฝายกัน้ น้�ำคลองทรายซง่ึ อยู่
หา่ งจากวดั ประมาณ ๘๐๐ เมตร ไดร้ บั งบประมาณในการกอ่ สรา้ งฝาย และในการกอ่ สรา้ งจะ
ตอ้ งขดุ ดนิ และยา้ ยดนิ ออกจากตวั ฝายเปน็ จำ� นวนมาก กค็ อื วา่ เปน็ โชคดขี องทางวดั ไดด้ นิ มาถมท่ี
ทัง้ ๆ ทีง่ บประมาณจะจดั ซอ้ื ดนิ กไ็ ม่มี ถอื ว่าเปน็ เร่ืองแปลกดี

เมื่อปรับดินได้ดีเหมาะแก่การก่อสร้างแล้ว หลวงปู่สวาทจึงก�ำหนดสถานท่ีท่ีท�ำการ
กอ่ สร้างศาลาอเนกประสงค์หลงั นี้ โดยก�ำหนดความยาว ๕๖ x ๒๘ เมตร ที่ผงั และก�ำหนด
พธิ วี างศลิ าฤกษใ์ นปี พ.ศ. ๒๕๓๗ และไดร้ บั ความเมตตาอธษิ ฐานเจมิ แผน่ ศลิ าฤกษ์ โดยหลวงปู่
สมชาย ฐติ วริ โิ ย เข้าอาวาสวัดเขาสุกิม

21

เมื่อได้ก�ำหนดเวลาอันเป็นมงคลแล้ว หลวงปู่สวาทจึงก�ำหนดงานวางศิลาฤกษ์การ
ก่อสรา้ งศาลาอเนกประสงคข์ ้ึน โดยได้เรียนเชญิ บอกราษฎรใ์ นพน้ื ที่ ลูกศษิ ย์ลูกหาทีอ่ ยู่ใกล้
อยไู่ กล มารว่ มทำ� บญุ ซง่ึ งานกล็ ลุ ว่ งไปดว้ ยดี แตไ่ ดป้ จั จยั เพยี งเลก็ นอ้ ยเทา่ นนั้ แตท่ า่ นกไ็ มแ่ สดง
อาการทอ้ ถอยแตอ่ ยา่ งไร มอี ยคู่ รงั้ หนงึ่ ทา่ นชวนผเู้ ขยี นลงมาดสู ถานท่ี ขณะทที่ า่ นยนื พจิ ารณาอยู่
ผเู้ ขยี นกน็ งั่ ลงพจิ ารณาสถานทส่ี รา้ งศาลาบา้ ง จติ ของผเู้ ขยี นกจ็ นิ ตนาการคดิ วา่ รบั ปากครบู าอาจารย์
แลว้ วา่ จะชว่ ยทา่ นสรา้ ง แต่ แหมทำ� ไมทา่ นสรา้ งใหญถ่ งึ ขนาดนี้ เราจะมกี ำ� ลงั ชว่ ยทา่ นไหวหรอื ไม่
ขณะทค่ี ดิ อยนู่ นั้ หลวงปกู่ ป็ รารภขน้ึ วา่ “อยา่ ไปคดิ อะไรมากเลยโยม ทำ� ไปหวั เราะไปเดยี๋ วกเ็ สรจ็ ”
ผเู้ ขยี นกเ็ รยี นกบั ทา่ นวา่ ผเู้ ขยี นมกี ำ� ลงั นอ้ ย บารมนี อ้ ย ตอ้ งอาศยั แตบ่ ารมหี ลวงปเู่ ทา่ นน้ั ศาลา
หลังน้ีถงึ จะเสรจ็ หลวงปกู่ ็ดักวาระจติ ของผูเ้ ขียนอยู่ เร่อื งดักวาระจติ นี้ ตอ้ งขอเรยี นเพ่ิมเตมิ
สกั หน่อย

ในวาระกำ� ลงั ดำ� เนนิ การกอ่ สรา้ งศาลาอเนกประสงคน์ เ้ี อง พอดใี นชว่ งพรรษามพี ระภกิ ษุ
บวชใหม่ ซงึ่ เดมิ กอ่ นบวชนน้ั ทา่ นรบั ราชการครอู ยทู่ โ่ี รงเรยี นสวนกหุ ลาบวทิ ยาลยั ทา่ นมาบวช
ทว่ี ดั โปง่ จนั ทรโ์ ดยการลาบวช ๑๒๐ วนั เมอื่ บวช ทา่ นกไ็ ดป้ ฏบิ ตั นิ งั่ สมาธิ เดนิ จงกรม โดยเครง่ ครดั
และท่านก็เรียนรู้เรว็ คงเป็นดว้ ยภูมิปัญญาของทา่ น หลังจากออกพรรษาแล้ว ท่านก็มศี รทั ธา
จะกอ่ สรา้ งกฏุ สิ งฆไ์ ว้ ๑ หลงั เพอ่ื เปน็ อนสุ รณ์ เมอ่ื ออกพรรษา ทา่ นกจ็ ดั ทอดผา้ ปา่ โดยชกั ชวน
คณะศรทั ธาอาจารยท์ เ่ี ปน็ เพอื่ นเปน็ หมคู่ ณะของทา่ นนำ� มารว่ มบญุ ในครงั้ นกี้ ไ็ ดป้ จั จยั จำ� นวนหนงึ่
มาสนับสนุน อีกทางหน่ึงน้ันก็มีลูกศิษย์ของหลวงปู่สวาทได้ถวายไม้ขนุนป่าต้นใหญ่มากให้
แปรรปู มาสรา้ งวดั จากการชว่ ยกนั หลายฝา่ ย กฏุ หิ ลงั นก้ี ส็ รา้ งแลว้ เสรจ็ กฏุ นิ ถ้ี า้ เดนิ จากอโุ บสถขน้ึ
ไปบนเนนิ จะอยดู่ า้ นขวามอื ทา่ น เสาและฝาจะขดี ลายคลา้ ยตน้ ไมธ้ รรมชาติ ตวั ผเู้ ขยี นชอบเรยี กวา่
กฏุ ไิ มซ้ งุ กฏุ นิ อ้ ยในปา่ ใหญ่ ตอ่ มาครอู าจารยช์ ว่ ยกนั ปน้ั พระพทุ ธรปู ไว้ ๑ องค์ ปน้ั ดว้ ยปนู ลกั ษณะ
เหมอื นหลวงพอ่ ขาว วดั กลางดง กฏุ นิ เี้ หมาะ มที างเดนิ จงกรมในตวั พรอ้ ม กฏุ หิ ลงั นผี้ เู้ ขยี นมสี ว่ น
ช่วยครอู าจารยเ์ หมอื นกัน จงึ เลา่ ไดถ้ งึ ความเป็นมา และก็มีเรื่องแปลกเรอ่ื งหน่ึง คอื หลังจาก
สรา้ งกฏุ แิ ล้วเสรจ็ คงคา้ งแคก่ ารทาสยี อ้ มสีกฏุ เิ ท่านั้น กุฏิจะสมบูรณแ์ ละสวยงามท่สี ดุ ดังนัน้
เม่อื สบโอกาสเพื่อความสมบูรณ์ ผู้เขยี นกเ็ รยี นถามหลวงป่วู า่ “หลวงปู่ไม่ทาสีกฏุ ิหลังนี้หรือ”
หลวงปบู่ อกวา่ “คงไมท่ าหรอก เพราะชา่ งเขาประเมนิ แลว้ วา่ คา่ ใชจ้ า่ ยประมาณ ๖๐,๐๐๐ บาท
ซึ่งตอนน้ีปัจจัยทางวัดก็ไม่มี หรือท่ีพอมีก็ต้องเก็บไว้ด�ำเนินการก่อสร้างศาลาใหญ่ท่ีก�ำลัง
ด�ำเนินการอย”ู่

ผเู้ ขยี นกน็ ง่ั นกึ ในใจวา่ เงนิ จำ� นวน ๖๐,๐๐๐ บาท น้ี เดยี๋ วผเู้ ขยี นจะลองหารอื คณุ โยมวดั ที่
ผเู้ ขยี นคนุ้ เคยสกั สองทา่ น โดยรว่ มกนั นำ� ปจั จยั คนละ ๒๐,๐๐๐ บาท ไปจา้ งชา่ งใหม้ าทาสใี หเ้ สรจ็
หลงั จากนนั้ ถงึ ฤดทู อดกฐนิ ถา้ ทางวดั มรี ายไดม้ าก คอ่ ยนำ� มาใชค้ ณุ โยมทงั้ ๒ ทา่ น และผเู้ ขยี น

22

ถา้ รายไดน้ อ้ ยกไ็ มเ่ ปน็ ไร เอาไวก้ อ่ น ขณะทคี่ ดิ อยนู่ เี้ อง หลวงปกู่ ท็ กั ขนึ้ วา่ “ไมไ่ ดห้ รอกโยม เปน็ พระ
เปน็ สงฆไ์ ปตดิ หนโ้ี ยมไมไ่ ดห้ รอก” แลว้ กย็ กนทิ านชาดกในเรอ่ื งพระพทุ ธเจา้ วา่ สมยั หนง่ึ มมี านพ
คนหน่ึงได้เป็นสหธรรมิก เป็นเพื่อนกับพราหมณ์ ที่ต่อมาได้ประสูติและส�ำเร็จเป็นสัมมา-
สมั พทุ ธเจา้ มานพหนมุ่ นไ้ี ดย้ มื เงนิ ของพระพทุ ธเจา้ ไป ๑๖ กษาปณ์ ซงึ่ ตอ่ มามานพนไี้ ดเ้ สยี ชวี ติ
ซงึ่ พระพทุ ธเจ้าที่เปน็ พราหมณก์ ไ็ ดอ้ ธษิ ฐานและอโหสิกรรมใหแ้ ล้ว สำ� หรับหน้สี ินทตี่ ดิ คา้ งกนั
โดยกล่าวยกให้เลยไม่ตอ้ งคนื หลวงปูเ่ ลา่ วา่ ขนาดยกใหแ้ ลว้ อีกชาติหน่งึ ทพ่ี ระพทุ ธเจ้าเป็น
พระเวสสนั ดร มานพหนมุ่ กม็ าเกดิ เปน็ ชา้ งซอื้ ชา้ งนา เชลย ซง่ึ พระพทุ ธเจา้ กม็ อบใหเ้ จา้ เมอื งที่
ยกทัพมาขอชา้ งไฟ เพอ่ื ให้เมอื งของตนฝนตกตอ้ งตามฤดกู าล อกี ชาติหนึ่งกม็ าเกิดเป็นม้าช่ือ
กณั ฑกะ ใหพ้ ระพุทธเจ้าซึง่ เปน็ เจ้าชายสิทธัตถะขี่ไปและไปปลงผมที่แม่นำ้� เนรญั ชรา ทา่ นว่า
“นกี่ ารตดิ หนมี้ อี นั ตรายอยา่ งน้ี อาตมาไมเ่ อาหรอก ไมเ่ ปน็ ไร กฏุ กิ ใ็ ชก้ ารไดแ้ ลว้ เกดิ ประโยชนแ์ ลว้ ”
ทำ� เอาผเู้ ขยี นหนา้ แตกชนดิ หมอไมร่ บั เยบ็ ไปเลย นก่ี แ็ ปลก หลวงปรู่ ไู้ ดย้ งั ไง แถมดกั เสยี ลกู ศษิ ย์
หนา้ จอ๋ ยไปเลย ตอ่ มากฏุ หิ ลงั นก้ี ใ็ ชเ้ ปน็ กฏุ ติ อ้ นรบั พระอาคนั ตกุ ะหลายครงั้ เชน่ หลวงปคู่ ำ� พอง
ตสิ โส วดั ถำ�้ กกดู่ และหลวงปอู่ น่ื ๆ ปจั จบุ นั ใชเ้ ปน็ กฏุ สิ งฆส์ ำ� หรบั พระจำ� พรรษา ทยี่ กขน้ึ มาเพราะ
กฏุ หิ ลงั นสี้ รา้ งควบคไู่ ปกบั การกอ่ สรา้ งศาลาหลงั ใหญ่ (พระอโุ บสถ) การกอ่ สรา้ งศาลานี้ ตอ่ มา
หลวงปู่ได้ต้ังช่ือวา่ ศาลาพกั ใจ หลวงป่บู อกวา่ “ใครทไี่ ม่สบายใจใหม้ าท่ีศาลาหลังนีม้ าท�ำบุญ
มาปฏบิ ตั ธิ รรม มาถอื ศลี มาภาวนา กจ็ ะทำ� ใหใ้ จทโี่ ลดแลน่ ไปตามกเิ ลสทงั้ ปวงไดพ้ กั ผอ่ นบา้ ง”
การกอ่ สร้างศาลาพักใจนี้ หลวงปไู่ ด้ชักชวนและน�ำพระภิกษุ สามเณร คุณแมช่ ี และมีศรทั ธา
ญาตโิ ยมในหมบู่ า้ นและหมบู่ า้ นใกลเ้ คยี ง เชน่ บา้ นตาเลยี ว มาชว่ ยบา้ งในบางโอกาส แตส่ ว่ นใหญ่
แลว้ หลวงปูแ่ ละพระภิกษุสามเณรที่จำ� พรรษาจะทำ� กนั เอง มีคณะชา่ งทเ่ี ป็นลูกศษิ ยล์ ูกหาจาก
จงั หวดั กาฬสนิ ธม์ุ าชว่ ยบา้ งในชว่ งเสรจ็ จากการทำ� นา สว่ นปจั จยั ในการจดั ซอ้ื วสั ดนุ น้ั ทา่ นกส็ ง่
ขา่ วไปยงั ลกู ศษิ ยล์ กู หาเกา่ ๆ จดั เปน็ กองกฐนิ บา้ ง ผา้ ปา่ บา้ ง มาทอดถวาย ปไี หนไดม้ ากกส็ รา้ งมาก
ปไี หนไดน้ อ้ ยกส็ รา้ งนอ้ ย หมดปจั จยั ทเี่ ปน็ ทนุ กห็ ยดุ ไมย่ อมไปตดิ หนใ้ี ครหรอื เซน็ ขอใคร หรอื
ร้านคา้ ไหนก่อน ท้งั ๆ ที่รา้ นค้ากบ็ อกว่าหลวงปเู่ อาไปกอ่ นก็ได้ ท่านกไ็ ม่เอาถือเปน็ เอกสิทธ์ิ
ของทา่ น ไมม่ วี า่ ไมม่ บี น่ โดยเฉพาะอาหาร การฉนั ทา่ นประหยดั ไวเ้ พอ่ื การกอ่ สรา้ งจรงิ ๆ แมแ้ ต่
อาหาร มแี ตต่ ำ� สม้ กบั ขา้ วเหนยี ว อาหารอนื่ ปลาเคม็ เพยี งเลก็ นอ้ ยทา่ นกฉ็ นั แลว้ เบอ้ื งหลงั ความ
เหนด็ เหน่อื ยของพอ่ แมค่ รูอาจารย์ คณะสงฆ์ และสามเณร รวมท้งั แมช่ ที กุ รปู สบงจีวรทม่ี แี ต่
คราบปนู ซเี มนต์ ชดุ ขาวของคณุ แมช่ กี ลายเปน็ สาวผสมปนู ซเี มนต์ ทา่ มกลางคำ� สงั่ ของหลวงปู่
ทบ่ี อกวา่ “คืนน้ีบุกให้สว่างเลย ได้บญุ หลาย”

นบั เปน็ สงิ่ ทแี่ ปลกเหมอื นกนั ยามทตี่ ดิ ขดั ดา้ นงบประมาณในการกอ่ สรา้ ง กม็ เี หตมุ ปี จั จยั
มผี มู้ าบรจิ าคสนบั สนนุ ชว่ ยเหลอื เองทงั้ ทห่ี ลวงปไู่ มไ่ ดอ้ อกปาก การกอ่ สรา้ งกแ็ ลว้ เสรจ็ ประมาณ

23

พ.ศ. ๒๕๔๘ สามารถใชป้ ระโยชนไ์ ด้ ขาดเพยี งพระประธาน ซง่ึ หลวงปตู่ ง้ั ใจจะสรา้ งเปน็ พระพทุ ธรปู
ปนู ปัน้ ขนาดหนา้ ตกั ๙ ศอก ไวส้ กั การบูชาในศาลาและอาสนะสงฆ์เท่าน้นั การก่อสรา้ งใชง้ บ
ประมาณ ๑๖ ลา้ นบาท

สร้างพระประธาน

ในระหวา่ งทศี่ าลาสรา้ งใกลแ้ ลว้ เสรจ็ นน้ั การดำ� เนนิ การสรา้ งพระประธานกเ็ รม่ิ ดำ� เนนิ การ
โดยคณะศษิ ยข์ องหลวงปซู่ ง่ึ รบั ราชการเปน็ ปลดั อำ� เภอ และมหี มคู่ ณะเปน็ ชา่ งจากกรมศลิ ปากร
ไดอ้ อกแบบพระพทุ ธรปู ขนาดหนา้ ตกั ๙ นวิ้ ใหเ้ ปน็ ตน้ แบบ ซง่ึ ตน้ แบบนนั้ งามมาก สรา้ งดว้ ย
เนอ้ื สมั ฤทธ์ิ มอบใหว้ ดั ๑ องค์ และหลอ่ เอาไวเ้ อง และแบบเรซนิ่ มอบใหว้ ดั มาอกี ๑ องค์ สำ� หรบั
ถอดแบบในการกอ่ สรา้ งพระประธาน และในปนี น้ั เองในการทอดกฐนิ สามคั คี ในฎกี าบอกบญุ
ระบุไว้ว่าจะหาทุนก่อสรา้ งพระประธาน ก็มีศรทั ธาญาติโยมและศษิ ย์มาร่วมด้วยชว่ ยกนั กไ็ ด้
ปจั จยั พอสมควร จงึ ดำ� เนนิ การจดั หาชา่ งมาดำ� เนนิ การกอ่ สรา้ ง แตก่ ส็ รา้ งไมส่ ำ� เรจ็ โดยเปลยี่ น
รา่ งถงึ ๒ ชดุ เพราะชา่ งเคยแตป่ น้ั พระเลก็ ๆ สว่ นชา่ งทเี่ ปน็ ผอู้ อกแรงเทปนู กอ่ สรา้ งกเ็ คยแตย่ กบา้ น
จงึ ท�ำไม่สำ� เรจ็

ตอ่ มาพระอาจารยว์ เิ ชยี ร ธเนสโก พระเถระซงึ่ จำ� พรรษาทวี่ ดั ไดน้ ำ� แบบเรซน่ิ ทช่ี า่ งมอบให้
มาถอดแบบและกอ่ สรา้ งเองจนสำ� เรจ็ ไปถงึ บา่ กพ็ อดมี คี ณุ โยมจากรา้ นทองแกง่ หางแมว มากราบ
หลวงปู่ เหน็ เขา้ จงึ เกิดศรทั ธา และขออนุญาตหลวงปู่สร้างต่อใหแ้ ล้วเสร็จ คุณโยมทา่ นนีเ้ ป็น
ลกู ศษิ ยห์ ลวงปฟู่ กั วดั เขานอ้ ยสามผาน ไดข้ ออนญุ าตทำ� ผา้ ปา่ สรา้ งพระประธานขน้ึ โดยกราบ
เรียนขอให้หลวงปู่ฟักเป็นประธานฝ่ายสงฆ์ ซึ่งหลวงปู่ฟักก็อนุญาต การทอดผ้าป่าสามัคคี
จงึ เกิดขน้ึ ท่ีวัดโปง่ จันทร์ โดยมวี ตั ถุประสงค์ในการสร้างพระประธานขนาดหนา้ ตกั ๙ ศอก
การทอดผา้ ปา่ ครง้ั นไี้ ดเ้ งนิ หรอื ปจั จยั มากนบั ลา้ นบาท หลงั ทอดผา้ ปา่ เสรจ็ มคี ณุ โยมทเี่ ปน็ ศษิ ย์
ไปตดิ ตอ่ นายชา่ งซง่ึ ปน้ั พระพทุ ธรปู อยทู่ ว่ี ดั ทา่ ซงุ จงั หวดั อทุ ยั ธานี มาปน้ั พระพทุ ธรปู ตอ่ ในสว่ น
ของรายละเอียดต่างๆ เช่น เศยี ร และองค์พระพทุ ธรปู ฐานบัวต่างๆ จนพระพุทธรูปแลว้ เสรจ็
สวยงาม พอเหมาะกบั ศาลา ซง่ึ ตอ่ มาหลวงปไู่ ดเ้ ขา้ ไปกราบเรยี นขอประทานนามจากองคส์ มเดจ็
พระญาณสงั วร สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก ทว่ี ดั บวรนเิ วศวหิ าร ซง่ึ กไ็ ดร้ บั ความ
เมตตาอยา่ งเหลอื ลน้ พระองคไ์ ดต้ งั้ ชอื่ ใหน้ ามวา่ “พระพทุ ธบารมจี นั ทบรุ ปี ระชานาถ” และได้
ประทานอนญุ าตใหป้ ระดษิ ฐานพระนามาภไิ ธยยอ่ ญสส. ไวท้ ผี่ า้ ทพิ ยข์ องพระพทุ ธรปู และทส่ี ำ� คญั
ไดท้ รงมอบพระบรมสารรี กิ ธาตใุ ห้ ๕ พระองค์ พรอ้ มตลบั แกว้ ใหป้ ระดษิ ฐานไวบ้ นพระเมาลขี อง
พระพทุ ธรปู

24

หลังจากได้รับพระนามและประทานพระบรมสารีริกธาตุแล้ว หลวงปู่สวาทก็ได้จัดงาน
ฉลองพระประธานเพ่ือให้ศรัทธาญาติโยมท่ีร่วมท�ำบุญกันในครั้งนั้นได้ภาคภูมิใจได้ปล้ืมใจ
ในบุญกุศลท่ีทุกคนได้สร้างพระประธาน และได้ท�ำพิธีประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุไว้บน
พระเมาลี กระท�ำพธิ เี บกิ เนตร นับเปน็ มหากุศลสำ� หรบั ทกุ คนทุกท่าน ท้ังทีเ่ ปน็ พระสงฆ์และ
ฆราวาส ทช่ี ่วยกันจนการกอ่ สรา้ งพระประธานครงั้ นี้แลว้ เสร็จสมบูรณ์ ขออนุโมทนา

25

เลื่อนสมณศักด์ิ รบั พระราชทานวิสุงคามสมี า

เมอ่ื การกอ่ สรา้ งพระประธานแลว้ เสรจ็ สมบรู ณ์ กน็ บั วา่ ศาลาหลงั นส้ี มบรู ณแ์ ลว้ ตวั ผเู้ ขยี น
และคณะกรรมการเห็นความสมบูรณ์ของศาลาพักใจแล้ว ก็เกิดความคิดว่า จงใช้ศาลา
อเนกประสงคห์ ลงั นเี้ ปน็ อโุ บสถไดห้ รอื ไม่ จงึ ไปกราบเรยี นถามหลวงปู่ หลวงปกู่ บ็ อกวา่ ทา่ นจะ
ไปกราบเรียนถามเจ้าคณะจังหวัดและผู้รู้ต่อไป ซึ่งต่อมาก็ทราบว่าไม่ผิดระเบียบแต่อย่างไร
จงึ ดำ� เนนิ การทำ� เรอื่ งขอพระราชทานเขตวสิ งุ คามสมี า ขนาดกวา้ ง ยาว ๔๐ x ๘๐ เมตร ดว้ ยผลงาน
ของหลวงปสู่ วาทกเ็ ปน็ ทป่ี ระจกั ษแ์ กค่ ณะสงฆใ์ นทป่ี ระชมุ สงฆ์ ซง่ึ มเี จา้ คณะจงั หวดั จนั ทบรุ เี ปน็
ประธาน ต่างเห็นสมควรให้หลวงปู่สวาทด�ำเนินเรื่องเพ่ือยื่นขอสมณศักด์ิเป็นขั้นตอนต่อไป
ซึง่ ต่อมาในวนั ท่ี ๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ ก็ได้รบั โปรดเกล้าใหร้ บั สมณศักดิเ์ ป็นพระครชู ้ันโท
ทพ่ี ระครกู ติ ตปิ ญั ญาคณุ และหลงั จากนน้ั เพยี งเดอื นเศษ คอื วนั ท่ี ๑๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙ กม็ ี
พระบรมราชโองการโปรดเกลา้ ใหว้ ดั โปง่ จนั ทรไ์ ดร้ บั พระราชทานวสิ งุ คามสมี า นำ� ความปลม้ื ใจ
มายงั หมศู่ ษิ ยเ์ ปน็ อยา่ งยง่ิ เพราะครอู าจารยท์ เี่ คารพกไ็ ดเ้ ลอ่ื นสมณศกั ด์ิ และศาลาทกี่ อ่ สรา้ งมา
อย่างเหนื่อยยากกเ็ ล่อื นเป็นพระอุโบสถ นบั วา่ ไดโ้ ชคสองช้ันเลยทเี ดียว

26

ปดิ ทอง ฝงั ลูกนิมิต ผูกสมี า

เม่อื ได้รับพระราชทานเขตวสิ งุ คามสมี าแลว้ หลวงปกู่ ็ให้ดำ� เนนิ การทำ� ความสะอาดทาสี
อโุ บสถ ปรบั ปรงุ ใหส้ ะอาดสะอา้ น และดำ� เนนิ การจดั หาลกู นมิ ติ จำ� นวน ๙ ลกู ซงึ่ เปน็ หนิ แกรนติ
อย่างดี และในเดอื นกมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๑ และปี พ.ศ. ๒๕๕๒ หลวงปกู่ ็ใหจ้ ดั งานปิดทอง
ลูกนมิ ิตขน้ึ ในวดั บนอโุ บสถ โดยจดั ปีละ ๗ วนั เท่านั้น ทา่ นให้เหตุผลวา่ “วดั ของเราเป็นวดั ป่า
ทนุ ทรพั ยใ์ นการจดั งานปดิ ทองฝงั ลกู นมิ ติ ผกู สมี าซง่ึ เปน็ งานใหญต่ อ้ งใชท้ นุ มาก โดยเฉพาะดา้ น
ประชาสมั พันธ์ การปรบั ปรุงสถานท่ี การเตรยี มการต้อนรับพระเถระ อาหารขบฉนั อาหาร
การกนิ ของฆราวาสญาติโยมท่ีมาชว่ ยงาน ตอ้ งใชท้ นุ นับลา้ นบาท เราคงหาไม่ได้ ครนั้ จะไป
หยบิ ยมื ผอู้ น่ื กไ็ มใ่ ชว่ สิ ยั ของอาตมา” ดงั นน้ั เพอ่ื เปน็ การเตรยี มความพรอ้ มของคณะกรรมการ
เราดว้ ย และเปน็ การแสวงหาทนุ สะสมไวบ้ า้ งเพอื่ เวลาจดั งานจรงิ จะไดไ้ มอ่ ดึ อดั จงึ เหน็ สมควรให้
คณะกรรมการจดั งานปดิ ทองลกู นมิ ติ ขนึ้ ลว่ งหนา้ สกั ๒ ปี เพอ่ื เตรยี มความพรอ้ มดงั ไดก้ ลา่ วมา
ครน้ั เมอื่ ถงึ เดอื นกมุ ภาพนั ธซ์ งึ่ เปน็ ชว่ งตรษุ จนี วดั ตา่ งๆ ทนุ ทรพั ยพ์ รอ้ มแลว้ กจ็ ะจดั งานปดิ ทอง
ฝงั ลกู นมิ ติ ผกู สมี าขน้ึ ซงึ่ วดั โปง่ จนั ทรก์ จ็ ดั เชน่ กนั มกี ารประชาสมั พนั ธบ์ า้ งเลก็ นอ้ ย เพราะทนุ นอ้ ย
กพ็ อมรี ายไดบ้ ้างหลักแสนบาทในแต่ละปี

และในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ หลงั จากจดั งานแลว้ ทางวดั กไ็ ดท้ ำ� เรอ่ื งเสนอตอ่ เจา้ คณะจงั หวดั จนั ทบรุ ี
ผา่ นไปยงั เจา้ คณะภาค เพอ่ื ขออนญุ าตจดั งานปดิ ทองฝงั ลกู นมิ ติ ผกู สมี าขน้ึ ทว่ี ดั โปง่ จนั ทร์ ซงึ่ กไ็ ด้
รบั อนญุ าตตามคำ� ขอ ดงั นน้ั ในวนั ที่ ๑๒ – ๒๑ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๕๓ ทางวดั โปง่ จนั ทรจ์ งึ จดั งาน
ปดิ ทองฝงั ลกู นมิ ติ ผกู สมี าขนึ้ ซงึ่ กไ็ ดร้ บั ความรว่ มมอื จากคณะกรรมการฝา่ ยสงฆ์ คณะกรรมการ
ฝา่ ยคฤหสั ถ์ ศษิ ยานศุ ษิ ยข์ องหลวงปู่ และชาวบา้ นบรเิ วณใกลเ้ คยี งเปน็ อยา่ งดี ทำ� ใหก้ ารจดั งาน
ครง้ั นสี้ ำ� เรจ็ เปน็ อยา่ งดี และมรี ายไดส้ ว่ นหนง่ึ หลงั จากหกั คา่ ใชจ้ า่ ยแลว้ ไวบ้ ำ� รงุ วดั และเปน็ ทนุ
มลู นธิ ขิ องวดั ตอ่ ไป ตวั ผเู้ ขยี นเองนน้ั เมอื่ ถงึ ชว่ งทเ่ี จา้ ภาพตดั หวายนมิ ติ นน้ั นำ้� ตาแหง่ ความปตี ิ
กไ็ หลซมึ ออกมานองหนา้ ๑๖ ปแี หง่ ความหลงั ทร่ี บั ปากครอู าจารยใ์ นการชว่ ยสนบั สนนุ ในการ
สรา้ งศาลาพกั ใจหลงั น้ี ปจั จบุ นั เมอื่ ไดร้ บั วสิ งุ คามสมี าและไดป้ ดิ ทองฝงั ลกู นมิ ติ ตดั ลกู นมิ ติ แลว้
เสยี งลนั่ ระฆงั ฆอ้ งฉบั ใหส้ ญั ญาณวา่ การสรา้ งศาลาอโุ บสถหลงั นสี้ มบรู ณแ์ ลว้ สจั จะวาจาทเี่ คย
ให้ไว้แกห่ ลวงปู่ซ่ึงเปน็ ครอู าจารยน์ ้ันสำ� เร็จแล้ว

27

แม่นมิ ิต
“ใครเคยเหน็ เคยไดย้ นิ แตล่ กู นมิ ติ ถา้ อยากเหน็ แมน่ มิ ติ ใหม้ าดทู วี่ ดั โปง่ จนั ทรเ์ ดอ้ ” เปน็ คำ� พดู
ของหลวงปสู่ วาททพี่ ดู ไปกห็ วั เราะไป จรงิ ๆ แลว้ แมน่ มิ ติ กค็ อื ซมุ้ เสมาทตี่ งั้ ปดิ ปากหลมุ หรอื อยู่
เหนอื หลมุ ลกู นมิ ติ นน่ั เอง แตข่ องวดั โปง่ จนั ทรน์ น้ั จะใชห้ นิ ธรรมชาตจิ ากจงั หวดั สระบรุ ี ตดั เปน็
เหลย่ี ม มอี ยู่ ๘ เหลย่ี ม และมสี ว่ นแหลมคมอยู่ ๑๒ แหลม ความกวา้ งประมาณ ๒ เมตร นำ�้ หนกั
๓ ตนั ตง้ั ปดิ หลมุ ลกู นมิ ติ ดา้ นบนสดุ มเี สมาแกะดว้ ยหนิ ทาสที องทง้ั แมน่ มิ ติ และเสมา ซง่ึ กด็ ยู งิ่ ใหญ่
และสวยงามแปลกตาดี รับกบั อโุ บสถท่ีมขี นาดใหญ่ จงึ ขออนโุ มทนากับเจา้ ภาพแม่นิมิตหรือ
ซมุ้ เสมาทุกท่าน

28

พระพุทธรูปปางคนั ธราช

พระพทุ ธรูปปางคันธราชองคน์ ้ี ได้ถกู สรา้ งข้ึนตามแบบโบราณ คือแบบปูนป้ันก่อดว้ ย
อิฐทั้งองค์ ซ่ึงเปน็ ปางคนั ธราชแบบปนู ปัน้ ทีใ่ หญท่ ่สี ุดในประเทศไทย ดา้ นบนบรรจพุ ระบรม-
สารีริกธาตุ และอัฐิธาตุของพ่อแม่ครูอาจารย์สายหลวงปู่ม่ันอีกหลายองค์ มีพลอยนิลแท้ๆ
ในจังหวดั จันทบุรีอกี เปน็ หลายตัน (โดยเริ่มบรรจจุ ากด้านฐานพระข้ึนมา)
และยงั มพี ระเครอ่ื ง พระพทุ ธรปู บชู า อกี จำ� นวนมาก ทค่ี ณะลกู ศษิ ยแ์ ละสาธชุ นทม่ี คี วาม
ศรทั ธานำ� มาถวายหลวงปูเ่ พื่อบรรจุด้านบนขององค์พระใหญ่นด้ี ้วย
พระเถระองคส์ ำ� คญั ๆ กเ็ มตตามารว่ มแผบ่ ารมแี ละรว่ มบรรจพุ ระบรมสารรี กิ ธาตุ พลอย และ
ลกู แกว้ ใหอ้ กี หลายองคค์ รบั นบั เปน็ มงคลอยา่ งยง่ิ หากเราไดไ้ ปกราบไหวส้ กั การบชู า ณ สถานที่
อนั เปน็ มงคลแห่งนี้ครบั  
โดยใต้ฐานทำ� เปน็ พพิ ิธภณั ฑ์ ดา้ นลา่ งมีประดบั ดว้ ยหินเรืองแสงท�ำให้เกดิ ความสวยงาม
อยา่ งมาก (เวลาทห่ี นิ ชนดิ นโ้ี ดนแสงแดดหรอื โดนแสงไฟ หนิ ชนดิ นก้ี จ็ ะเกบ็ พลงั งานไว้ แลว้ เวลา
ทเ่ี ราปดิ ประตทู างเขา้ เพอื่ ใหเ้ กดิ ความมดื กจ็ ะมแี สงออกจากหนิ ชนดิ น)ี้ และมบี รรจพุ ระทแี่ กะ
สลักจากหินมงคลต่างๆ และพระหยก รวมเปน็ ท้งั หมด ๕๖ องค์ (องคเ์ ท่ากับคนจริง)

29

ประมวลภาพหลวงปสู่ วาท ปัญญาธโร กับพอ่ แม่ครบู าอาจารย์

30

31

32

33

คนไขใ้ นพระบรมราชานุเคราะห์

พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ฯ ทรงรบั พระครกู ติ ตปิ ญั ญาคณุ (หลวงปสู่ วาท ปญั ญาธโร)
วดั โปง่ จนั ทร์ อ.เขาคชิ ฌกฏู จ.จนั ทบรุ ี เปน็ คนไขใ้ นพระบรมราชานเุ คราะห์ โดยผอู้ ำ� นวยการ
สำ� นกั งานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ มอบหมายให้ ผอ.สนง.ขอนแกน่ เขา้ กราบนมสั การแจง้ ถงึ
พระกระแสรับสง่ั ดังกล่าว เมื่อวนั ที่ ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ.​ ๒๕๖๔ เวลา ๑๐.๑๐ น.

34

งานสงเคราะหโ์ ลก

หลวงป่สู วาท ปญั ญาธโร เมตตามอบเงินสนบั สนุนใหแ้ กโ่ รงพยาบาลดงั ต่อไปนี้
วนั ที่ ๔ กนั ยายน ๒๕๖๔ มอบเงนิ ใหโ้ รงพยาบาลศรนี ครนิ ทร์ จงั หวดั ขอนแกน่ จำ� นวน
๑,๙๐๐,๐๐๐ บาท และมอบใหโ้ รงพยาบาลบา้ นฝาง จงั หวดั ขอนแกน่ จำ� นวน ๑๐๐,๐๐๐ บาท
วนั ท่ี ๑๑ กนั ยายน ๒๕๖๔ มอบเงนิ ใหโ้ รงพยาบาลสมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ กรมแพทย์
ทหารเรือ จังหวัดชลบรุ ี จำ� นวน ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท

35

ปรารภเตรยี มงานวาระสุดท้าย

วนั ที่ ๕ สงิ หาคม ๒๕๖๔ หลวงปสู่ วาท ปญั ญธโร ไดป้ รารภกบั คณะศษิ ยผ์ ใู้ กลช้ ดิ ใหเ้ ตรยี ม
เมรุสำ� หรับใช้ในวาระสดุ ทา้ ยเพอ่ื ความไมป่ ระมาท โดยรูปแบบเดียวกบั ท่ใี ช้ในงานถวายเพลิง
สรรี ะสงั ขารหลวงปแู่ บน ธนากโร วดั ดอยธรรมเจดยี ์ อ.โคกศรสี พุ รรณ จ.สกลนคร และหลวงปู่
สมภาร ปญั ญวโร วดั ปา่ วเิ วกพฒั นาราม อ.พรเจรญิ จ.บงึ กาฬ ไดป้ ระสานงานกบั พอ่ แมค่ รบู าอาจาย์
ทเี่ คยอยรู่ ว่ มสำ� นกั ครบู าอาจารยเ์ ดยี วกนั และเคารพในองคท์ า่ น อาทิ หลวงพอ่ สธุ รรม สธุ มั โม
วดั ปา่ บา้ นตาด จ.อดุ รธานี หลวงพอ่ โสม จติ ตโสภณ วดั พระบาทภพู านคำ� จ.ขอนแกน่ หลวงตา
สมหมาย อตั ตมโน วดั สนั ตกิ าวาส จ.อดุ รธานี หลวงพอ่ สชุ นิ ปรปิ ณุ โณ วดั ธรรมสถติ ย์ จ.ระยอง
หลวงพอ่ บญุ มี ธมั มรโต วดั ปา่ ศรทั ธาถวาย จ.อดุ รธานี พระอาจารยส์ ามดง จนั ทโชโต วดั อรญั -
พรหมาราม จ.นครราชสมี า พระอาจารยพ์ รสนั ต์ มหนั ตปญั โญ เจา้ อาวาสวดั ศรปี ระทมุ วนาราม
จ.ขอนแกน่ พระอาจารย์นธิ ิ โสภณสโี ล วดั เกาะทอง จ.ขอนแก่น พระอาจารย์สงบ กสุ ลจิตโต
วัดป่าสขุ ใจ จ.สมทุ รปราการ เป็นต้น โดยมอบใหพ้ ระอาจารย์ประวิทย์ ยตโิ ก วดั ปา่ ดอยเตา่
อ.กมุ ภวาปี จ.อดุ รธานี และทมี งานเปน็ ผดู้ ำ� เนนิ งาน สว่ นระบบงานไฟฟา้ -นำ้� ประปา มอบหมายให้
พระอาจารยก์ ศุ ล (อ.แปะ๊ ) พทุ ธสโร วดั ดอยเทพนมิ ติ (ถำ�้ เกยี ) อ.หนองววั ซอ จ.อดุ รธานี โดยสถานที่
จดั งาน ณ วัดศรีประทุมวนาราม ต.บา้ นฝาง อ.บ้านฝาง จ.ขอนแก่น

หลวงปูส่ วาทเมตตามาตรวจสถานทบี่ ริเวณที่จะใช้กอ่ สรา้ งเมรชุ ่ัวคราว ณ วัดศรปี ระทมุ วนาราม จ.ขอนแกน่

36

โอวาทครงั้ สดุ ท้าย วนั ท่ี ๔ กันยายน ๒๕๖๔

หลวงปู่ : “โยมพอ่ (ร.อ.ชมุ พร ดำ� รงศภุ สนุ ทร วนั ขอทำ� ประวตั ิ อนญุ าตใหท้ ำ� ) ตงั้ แตเ่ รา
บวชมา เราเพงิ่ จะเหน็ พระมอี ยู่ ๒ รปู เทา่ นน้ั นะ คอื พระอาจารยส์ ธุ รรม สธุ มั โม และพระอาจารย์
สชุ นิ ปรปิ ณุ โณ ทเี่ วลาแสดงธรรมนน้ั สามารถนำ� ขอ้ ธรรมนนั้ ๆ แลว้ จำ� แนกแตกขยายออกมา
ไดอ้ ยา่ งกวา้ งขวาง ชดั เจนทกุ ถอ้ ยคำ� ทกุ อกั ขระและพยญั ชนะ ซงึ่ หาไดย้ ากยงิ่ สมกบั เปน็ มหาบณั ฑติ
นลี่ ะ่ ทีเ่ รยี กว่าผมู้ ีอรรถปฏสิ มั ภิทาญาณ นลี่ ่ะมี ๒ องค์น้ีเท่าน้นั ตง้ั แตป่ ่บู วชมา”
ร.อ.ชมุ พร : “หลวงปคู่ รบั วนั ทห่ี ลวงปไู่ ดว้ างธรุ ะและวางการคนื สขุ ใหก้ บั ทกุ ขน์ น้ั มนั เปน็
อย่างไรครบั ”
หลวงปู่ : “โอย้ ๆ โยมพอ่ เอย๋ เรานบี้ วชมาตงั้ นานเพงิ่ จะรตู้ วั เองนะวา่ ตดิ สขุ มารว่ ม ๓๐ ปี โหๆ
มนั นานมากเสยี เวลามากเลย กวา่ จะรตู้ วั วา่ ทผ่ี า่ นมาเราตดิ สขุ นเ่ี อง ปนี นั้ ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ เรากำ� ลงั
สร้างพระพุทธรูปปางคันธราช และก�ำลังท�ำพิพิธภัณฑ์พระแกะสลักจากหินแม่น�้ำโขงน้ัน
กำ� ลงั ทำ� ไป จติ กพ็ จิ ารณาไปถงึ คณุ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ทพ่ี ระองคท์ รงพระเมตตาแกม่ วลมนษุ ย์
หาประมาณไมไ่ ด้ และในวาระทพี่ ระพทุ ธองคท์ รงคนื สขุ ใหก้ บั ทกุ ขน์ นั้ มนั แนบชดิ ตดิ กนั แทบจะ
ไมร่ เู้ ลยวา่ มนั เปน็ คนละตวั กนั ดว้ ยพระบารมขี องพระองคจ์ งึ เหน็ สขุ และทกุ ข์ พระองคจ์ งึ คนื สขุ
ให้กบั ทกุ ขไ์ ปน้ันละ่ ”
ร.อ.ชมุ พร : “แลว้ ตวั สขุ กบั ทกุ ขน์ นั้ มนั แนบชดิ ตดิ กนั มนั เหมอื นตวั เดยี วกนั ใชไ่ หมครบั ”
หลวงปู่ : “ใช่ๆ เลย มนั คือตวั เดียวกัน เมือ่ เราเหน็ ตามพระพทุ ธองคเ์ ชน่ นนั้ อ๋อๆ โถๆ
นีเ่ รามาติดสขุ ตงั้ ๓๐ กวา่ ปีมาอยา่ งน้นั รึเน่ีย แหมๆ มันมาหลอกให้เราหลงคดิ ไป”
ร.อ.ชมุ พร : “แล้วปคู่ ืนสขุ ให้กับทุกข์อย่างไรครบั ”
หลวงปู่ : “เรากพ็ จิ ารณาตามทเ่ี ราทำ� ดมี าตลอด เราหลงในการทำ� ดี เราคดิ วา่ ดแี ลว้ เราจงึ
วางธรุ ะทงั้ หมด พอใจแลว้ ทำ� ดพี อแลว้ เมอื่ เราวางธรุ ะลง แตเ่ ราวางธาตขุ นั ธข์ องเราพรอ้ มไปดว้ ย
เราจึงกระจา่ งใจเรา”

37

แถลงการณ์อาพาธ
พระครูกติ ติปัญญาคณุ (หลวงป่สู วาท ปญั ญาธโร)

วนั น้ี ๒๓ กนั ยายน ๒๕๖๔ หลวงปสู่ วาท ปญั ญธโร มอี าการไข้ งว่ งซมึ ออ่ นเพลยี ฉนั อาหาร
ไมไ่ ด้ คณะศษิ ยผ์ ดู้ แู ลไดป้ รกึ ษากบั ทมี แพทยผ์ ถู้ วายรกั ษาองคห์ ลวงปู่ เหน็ สมควรนมิ นตอ์ งคท์ า่ น
มาเพอื่ ตรวจทโี่ รงพยาบาลศรนี ครนิ ทร์ โดยการตรวจเลอื ด และเอกชเรยค์ อมพวิ เตอร์ (CT Scan)
ผลปรากฏวา่ พบการตดิ เชอื้ และพบกอ้ นเนอ้ื ทป่ี อดโตขนึ้ ปดิ หลอดลม ทำ� ใหป้ อดแฟบลง ทมี แพทย์
ไดถ้ วายยาปฏชิ วี นะทกุ ๖ ชว่ั โมง หลงั จากองคท์ า่ นรบั ยา ๔๘ ชว่ั โมง คณะแพทยผ์ ถู้ วายการรกั ษา
จะประเมนิ อาการอาพาธอกี ครงั้ หนง่ึ คาดวา่ จะใชเ้ วลาพกั รกั ษาทห่ี ออภบิ าลสงฆ์ ตกึ สว. ชนั้ ๑๐
ระยะหน่งึ จึงจะสามารถกลบั ไปพักฟืน้ ทีว่ ัดได้

วนั น้ี ๒๔ กนั ยายน ๒๕๖๔ อาการหลวงปเู่ รมิ่ ทรดุ หนกั ลง คณะศษิ ยผ์ ดู้ แู ลไดป้ รกึ ษาทมี แพทย์
ผ้ถู วายการรกั ษา เห็นสมควรนำ� องค์ท่านกลับท่ีวดั ศรปี ระทุมวนาราม อ.บ้านฝาง จ.ขอนแกน่
ในวนั เสารท์ ่ี ๒๕ กันยายน ๒๕๖๔ เวลา ๐๙.๐๐ น. (โดยประมาณ) ตามความประสงค์ของ
องคท์ า่ น

วนั ที่ ๒๕ กนั ยายน ๒๕๖๔ เนอื่ งดว้ ยพระครกู ติ ตปิ ญั ญาคณุ (หลวงปสู่ วาท ปญั ญาธโร)
อาพาธด้วยโรคมะเร็งปอดระยะแพร่กระจายไปที่สมอง ได้เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาล
ศรนี ครนิ ทร์ ตงั้ แตเ่ ดอื นกรกฎาคม ๒​๕๖๔ คณะแพทยไ์ ดถ้ วายการรกั ษาโดยการผา่ ตดั กอ้ นเนอ้ื งอก
ในสมอง ใสส่ ายระบายน�้ำในโพรงสมอง และฉายแสงบริเวณก้อนเน้ืองอกในสมอง โดยการ
ฉายแสงไดเ้ สรจ็ สนิ้ การรกั ษาในวนั ที่ ๑๐ กนั ยายน ๒๕๖๔ อยา่ งไรกต็ าม ในวนั ท่ี ๒๓ กนั ยายน ๒๕๖๔
หลวงปมู่ อี าการทรดุ ลง โดยมอี าการไข้ หอบเหนอ่ื ย ทางคณะแพทยไ์ ดท้ ำ� การตรวจรกั ษาเพมิ่ เตมิ
พบวา่ มะเรง็ ปอดลกุ ลามมากขนึ้ มภี าวะปอดตดิ เชอ้ื ปอดแฟบ และนำ้� ในเยอื่ หมุ้ หวั ใจ ซงึ่ สาเหตเุ กดิ
จากมะเร็งปอดระยะแพร่กระจาย ดว้ ยระยะของโรคทีเ่ ป็นมากขน้ึ ไม่ตอบสนองต่อการรักษา
องคห์ ลวงปู่ ญาติ และศษิ ยานศุ ษิ ย์ จงึ มคี วามประสงคท์ จ่ี ะรกั ษาอยา่ งประคบั ประคองเพอ่ื บรรเทา
อาการหอบเหนอ่ื ยและความเจบ็ ปวด ทว่ี ดั ศรปี ระทมุ วนาราม ชว่ งสดุ ทา้ ยองคห์ ลวงปไู่ ดล้ ะสงั ขาร
อย่างสงบเมื่อเวลา ๑๑.๒๒ น. ของวนั ที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๖๔

38

กำ� หนดการพธิ ีิบ�ำเพ็ญกุศลสรรี สังขาร
พระครูกิตติปัญญาคุณ (หลวงปู่สวาท ปญั ญาธโร)

พธิ บี ำ� เพญ็ กศุ ลสรรี สงั ขาร พระครกู ติ ตปิ ญั ญาคณุ (หลวงปสู่ วาท ปญั ญาธโร ) อดตี เจา้ อาวาส
วดั โปง่ จนั ทร์ อ.เขาคชิ ฌกฏู จ.จนั ทบรุ ี ณ วดั ศรปี ระทมุ วนาราม ต.บา้ นฝาง อ.บา้ นฝาง จ.ขอนแกน่

วันเสารท์ ี่ ๒๕ กันยายน ๒๕๖๔
๑๕.๐๐ น. เคลอ่ื นสรีรสังขารจากกุฎไิ ปยังศาลาการเปรียญ
๑๕.๓๐ น. สรงนำ�้ สรรี สังขาร (ภายใน)
๑๘.๓๐ น. ทำ� วตั รสวดมนตเ์ ย็น
๑๙.๐๐ น. แสดงพระธรรมเทศนา โดยหลวงพอ่ สวสั ด์ิ ปยิ ธัมโม วัดป่าคขู าด จ.มหาสารคาม

วันอาทิตย์ที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๖๔
๐๗.๐๐ น. ถวายภตั ตาหาร
๑๓.๐๐ น. สรงน้ำ� สรีรสังขาร
๑๖.๐๐ น. บรรจสุ รีรสงั ขาร
๑๘.๓๐ น. ทำ� วตั รสวดมนตเ์ ยน็
๑๙.๐๐ น. แสดงพระธรรมเทศนา โดยหลวงพอ่ คำ� สด อรุโณ วดั ปา่ บ้านเพ่ิม จ.อุดรธานี

วนั จันทรท์ ่ี ๒๗ กันยายน ๒๕๖๔
๑๘.๓๐ น. ท�ำวัตรสวดมนต์เย็น
๑๙.๐๐ น. แสดงพระธรรมเทศนา โดยหลวงพอ่ เยอื้ น ขนั ตพิ โล วดั เขาศาลาอตุลฐานะจาโร
จ.สรุ นิ ทร์

วันอังคารที่ ๒๘ กนั ยายน ๒๕๖๔
๑๘.๓๐ น. ท�ำวัตรสวดมนตเ์ ย็น
๑๙.๐๐ น. แสดงพระธรรมเทศนา โดยหลวงพ่อวโิ รจน์ ฉนั ทกโร วัดภูวังงาม จ.อุดรธานี

วนั พธุ ท่ี ๒๙ กันยายน ๒๕๖๔
๑๘.๓๐ น. ทำ� วัตรสวดมนตเ์ ยน็
๑๙.๐๐ น. แสดงพระธรรมเทศนา โดยพระวิมลธรรมภาณ (หลวงพอ่ ส�ำเนา ธมั มสีโล)
วัดท่งุ ศรีสองเมอื ง จ.นครพนม

39

วนั พฤหัสบดีที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๔
๑๘.๓๐ น. ท�ำวตั รสวดมนต์เยน็
๑๙.๐๐ น. แสดงพระธรรมเทศนา โดยหลวงพอ่ สุบรรณ์ สริ ิธโร วัดถ�ำ้ ผาเก้ิง จ.ขอนแก่น

วันศกุ ร์ที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๔
๑๘.๓๐ น. ท�ำวัตรสวดมนตเ์ ยน็
๑๙.๐๐ น. แสดงพระธรรมเทศนา โดยหลวงพอ่ โสภณ โอภาโส วัดบึงลฏั ฐิวัน จ.อยุธยา

วนั เสาร์ท่ี ๒ ตุลาคม ๒๕๖๔
๑๘.๓๐ น. ท�ำวตั รสวดมนต์เยน็
๑๙.๐๐ น. แสดงพระธรรมเทศนา โดยหลวงปทู่ องอนิ ทร์ กตปุญโญ วดั ป่ากงุ จ.ร้อยเอด็

วันอาทติ ยท์ ี่ ๓ ตลุ าคม ๒๕๖๔
๑๘.๓๐ น. ท�ำวตั รสวดมนตเ์ ย็น
๑๙.๐๐ น. แสดงพระธรรมเทศนา โดยหลวงตาสมหมาย อตั ตมโน วดั สนั ตกิ าวาส จ.อดุ รธานี
พระอาจารย์ชัยนาด (น้อย) อโสโก วดั ปา่ เขาผา จ.เพชรบรู ณ์

วันจันทร์ท่ี ๔ ตุลาคม ๒๕๖๔
๑๘.๓๐ น. ท�ำวตั รสวดมนต์เยน็
๑๙.๐๐ น. แสดงพระธรรมเทศนา โดย หลวงพ่อนิพนธ์ อภิปสันโน วดั ปา่ ศาลาน้อย จ.เลย

วันอังคารที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๖๔
๑๘.๓๐ น. ทำ� วตั รสวดมนตเ์ ย็น
๑๙.๐๐ น. แสดงพระธรรมเทศนา โดยหลวงพ่อปฐม ธมั มธีโร วัดป่าศรีวลิ ยั จ.สกลนคร

วันพุธท่ี ๖ ตุลาคม ๒๕๖๔
๑๘.๓๐ น. ทำ� วัตรสวดมนตเ์ ย็น
๑๙.๐๐ น. แสดงพระธรรมเทศนา โดยหลวงพ่อเฉลมิ ธมั มวโร วดั ปา่ ภแู ปกญาณสัมปันโน
จ.เลย

วันพฤหสั บดที ี่ ๗ ตลุ าคม ๒๕๖๔
๑๘.๓๐ น. ท�ำวัตรสวดมนต์เยน็
๑๙.๐๐ น. แสดงพระธรรมเทศนา โดยหลวงตาศริ ิ อนิ ทสริ ิ วดั ถำ้� ภผู าแดงผานมิ ติ จ.ขอนแกน่

40

วนั ศกุ รท์ ี่ ๘ ตลุ าคม ๒๕๖๔
๐๗.๐๐ น. ถวายภตั ตาหาร
๐๙.๐๐ น. เคล่ือนสรรี สังขารไปยงั เมรุ
๑๘.๓๐ น. ท�ำวัตรสวดมนต์เย็น
๑๙.๐๐ น. แสดงพระธรรมเทศนา โดยหลวงพอ่ สธุ รรม สธุ มั โม วดั ป่าบา้ นตาด จ.อดุ รธานี
หลวงพ่อสามดง จันทโชโต วัดอรัญพรหมาราม จ.นครราชสมี า
หลวงพอ่ ชายแดน สลี สุทโธ วดั สามัคคบี ญุ ญาราม จ.ล�ำปาง

วนั เสารท์ ่ี ๙ ตลุ าคม ๒๕๖๔
๐๗.๐๐ น. ถวายภัตตาหาร
๑๓.๐๐ น. สวดมาตกิ าบงั สกลุ จำ� นวน ๒๐๐ รูป
๑๔.๐๐ น. แสดงพระธรรมเทศนา โดยหลวงปู่บญุ มา คมั ภีรธมั โม วดั ปา่ สีห์พนมประชาราม
จ.สกลนคร
๑๕.๐๐ น. ถวายเพลงิ สรีรสงั ขาร
๑๘.๓๐ น. ท�ำวัตรสวดมนตเ์ ย็น
๑๙.๐๐ น. แสดงพระธรรมเทศนา (จะแจ้งใหท้ ราบอีกคร้งั )

วันอาทิตย์ท่ี ๑๐ ตุลาคม ๒๕๖๔
๐๖.๐๐ น. เก็บอัฐิ
๐๖.๓๐ น. พระสงฆ์ออกรบั บิณฑบาต (ภายในวดั )
๐๗.๐๐ น. เจรญิ พระพุทธมนต์ฉลองอฐั ิ พิจารณาผา้ บังสกลุ พระสงฆ์ให้พร เสรจ็ พธิ ี

41

พระครกู ติ ติปัญญาคณุ (หลวงปูส่ วาท ปญั ญาธโร)
ละสงั ขาร ตรงกับวนั เสาร์ท่ี ๒๕ กนั ยายน ๒๕๖๔
ณ วดั ศรีประทุมวนาราม อ.บา้ นฝาง จ.ขอนแกน่

สิริอายุ ๗๕ ปี ๑๐ เดือน ๕ วนั ๕๕ พรรษา

42

43

44

45



พระธรรมเทศนา

พระครูกติ ติปัญญาคุณ
(หลวงปู่สวาท ปัญญาธโร)

วัดโป่งจันทร์ อ.เขาคชิ ฌกฏู จ.จันทบรุ ี

47

“สรณะไม่ไดอ้ ยบู่ นทอ้ งฟ้านะ
องคส์ รณะ ทพี่ ึง่

ก็คือตัวเรานีแ่ หละเป็นทพี่ ง่ึ นะ”

พระครกู ติ ติปญั ญาคณุ
(หลวงปูส่ วาท ปญั ญาธโร)

งานประชุมเพลิงหลวงปูค่ ำ� ผิว สุภโณ

ตอนท่ี ๑

ญาตธิ รรมทเ่ี ป็นนักปฏบิ ัติที่เปน็ ผู้แสวงธรรม หรอื หลวงปคู่ รูบาอาจารยพ์ ระคณาจารย์
ลว้ นแตเ่ ปน็ ปราชญเ์ ปน็ บณั ฑติ ผมไมใ่ ชน่ กั เทศน์ ไมใ่ ชเ่ ปน็ ปราชญเ์ ปน็ บณั ฑติ แตผ่ มเปน็ เณรนอ้ ย
ความรูก้ ็มีแค่ ป.๔ อโหสใิ หด้ ้วยนะ่ ถ้าผมพดู ไปผดิ ไป วันน้ไี ดม้ ายกพระสัจธรรมคำ� สอนของ
พระพุทธเจ้า เรามาอะไรกัน เราถามกนั คยุ กนั ตรงน้ีกอ่ น
มางานศพหลวงปู่ค�ำผิวครับ ถ้าพระตอบหรือญาติธรรมตอบ ก็คงจะตอบค�ำนี้กันแน่
มาทำ� ไม/มาฌาปนกจิ /มาวางดอกไม/้ มากราบ/มาคารวะ/บา้ งก็มาทำ� บุญครบั นเี่ ป็นคำ� ตอบ
ถูก ไมผ่ ิดหรอก แต่ถา้ พดู รวมๆ ล่ะ เรามาน้กี ็เพอ่ื ปลงนะ่ “ปลงสังขาร” ปลงยงั ไง “ไม่ใช่
วา่ มาเอาดอกไม้จันทน์และก็จุดไฟเผาร่างของหลวงปคู่ ำ� ผวิ มันไมใ่ ช่”
คำ� วา่ “ปลง” ตวั น้ี คอื ใหเ้ ราปลงชวี ติ ปลงจติ ใจของเรา ปลงรา่ งของเรา ปลอ่ ยวางรา่ ง
ของเรา วนั หนง่ึ ขา้ งหนา้ เรากต็ อ้ งนอนในโลงอยา่ งนเี้ หมอื นกนั “ใหเ้ ขา้ ใจสิ ทเี่ รามานไ้ี มใ่ ชว่ า่
มาเพ่อื สนกุ ”
“ใหเ้ รามาปลงสงั ขารตัวเองส”ิ
ยังงั้นเมื่อคร้ังพุทธกาล พระองค์สมเด็จสัมมาสัมพุทธเจ้าจะพาพระภิกษุเข้าไปยังสุสาน
ซากศพท่นี อนตายเกลอื่ นกลาดในปา่ ชา้ ก็เพื่อจะให้ไปปลง
“ชวี ติ ของเรากเ็ หมอื นกนั นนั้ แหละภกิ ษ”ุ พระพทุ ธเจา้ ทรงตรสั อยา่ งนน้ี ะ่ จะนอนทงิ้ ซาก
สงั ขารอยา่ งนแี้ หละ ไมม่ ใี ครหนพี น้ หรอก ใหภ้ กิ ษไุ ดไ้ ปปลงอยา่ งนน้ั นะ่ นก้ี เ็ หมอื นกนั เรากม็ า
ปลงไมใ่ ชเ่ หรอ แลว้ จติ ของเราจะปลงไหม หรอื ยงั ลมื ตวั เอง หลงตวั เองอยู่ วา่ กยู งั แขง็ แรงอยโู่ วย้
กยู ังเปน็ หน่มุ อยอู่ กี กจู ะไม่แก่ กูจะไมเ่ จบ็ กูจะไม่ตาย ยังคดิ อยา่ งน้นั อกี อยู่เหรอ
มสี ตดิ บู า้ งสิ โน้นน่ะ อยู่บนเมรุโนน้ น่ะ ปลงตวั เองบา้ งสิ

ในงานพิธีพระราชทานเพลิงพระครูภาวนาปัญญาโสภณ (หลวงปคู่ �ำผวิ สุภโณ) ณ เมรุช่วั คราว วัดป่าศรีวไิ ล

49


Click to View FlipBook Version