The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชีวประวัติ หลวงปู่สวาท ปัญญาธโร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wonchai890, 2021-10-02 00:33:13

ชีวประวัติ หลวงปู่สวาท ปัญญาธโร

ชีวประวัติ หลวงปู่สวาท ปัญญาธโร

พระพทุ ธเจ้าจึงตรัสวา่ ทุกขเ์ ป็นของทนไดย้ าก

ทไ่ี หนมที กุ ข์ เอาจติ ตงั้ ลงตรงนน้ั สิ เอาสตติ งั้ ลงตรงนน้ั “สติ อปุ ฏั ฐติ า” ในอายตนะ ๖ คอื
หู ตา จมกู ลน้ิ กาย ใจ มนั เจบ็ มนั ปวดตรงไหน ทกุ ขม์ นั อยตู่ รงไหน เอาสตพิ จิ ารณาไปตงั้ อยู่
ตรงนนั้ สิ อยากจะรขู้ องจรงิ นะ่ อยากจะเหน็ ของจรงิ เอาเขา้ ไปสิ มศี รทั ธาเชอ่ื มนั่ ไมต่ อ้ งกลวั
ตายหรอก ถ้าปฏิบัติจริงน่ะ อยากจะเห็นของจริงน่ะ มันเป็นแต่เพียงมายาอันหน่ึงเท่านั้น
มนั เกิดขึ้นแปบ๊ เดยี ว มนั ก็หายไปของมัน

การสรา้ งบารมถี า้ เราไมอ่ ดทนใครจะอดทน ขนั ติ ปะระมงั ตะโปตตี กิ ขา ละ่ “ขนั ต”ิ เปน็
“ตบะ” แลว้ เราเคยใชต้ บะไหม เวลานง่ั มนั เจบ็ มนั ปวด นงั่ ใหม้ นั เหนอื ความเจบ็ ความปวดไดไ้ หม
มันจะแตกก็ให้มนั แตกไปสิ ถ้าจะเห็นของจรงิ ท�ำจรงิ จริงไหม เรากล้าพดู ไหมว่าเราทำ� จรงิ
ท�ำเหยาะๆ แหยะๆ ไม่เอาจรงิ ไม่เอาจังนะ่

พระสัจธรรมจรงิ เห็นจริง เหนอื จรงิ มนั อย่เู หนอื ตายน่ะ

มนั รจู้ รงิ ไหม มนั เขา้ จรงิ ไหม ทำ� จติ ใหม้ นั สงบจรงิ หรอื ยงั ไมใ่ ชม่ าตง้ั ทา่ “จะเอาดๆี กจู ะเอา
ให้มันสงบ” มันถึง ๕ นาทีหรอื เปล่า มันไปไหนหมด “มันวงิ่ หนหี มด” มนั เข้าจริงไหม
มนั เหน็ จรงิ ไหม ถา้ ไมเ่ หน็ ของจรงิ จะไปปฏบิ ตั อิ ะไร หลอกลวงตวั เองหรอื เปลา่ ไมใ่ ชห่ ลอกลวง
ตวั เองน่ะ ไปหลอกลวงคนอนื่ อกี ข้อไหนละ่ ข้อหลอกลวงน่ะ มุสาใชไ่ หม น้หี รือนักหวงั ธรรม
นักปฏิบตั ธิ รรมน่ะ

การภาวนามนั เปน็ ปตั จตั ตงั รไู้ หม มนั เปน็ ของเฉพาะตน รเู้ ฉพาะตนสิ เขา้ ใจหรอื ไมเ่ ขา้ ใจ
ตวั เรารวู้ า่ เราโกหกตวั เองหรอื เปลา่ พอฟงั แลว้ มนั บอกตวั เองรู้ มนั รจู้ รงิ ไหม ไมใ่ ชว่ า่ ทำ� ตวั เอง
เปน็ ผรู้ เู้ พอ่ื ใหค้ นอน่ื ดแู ลว้ วา่ โอ้ คนนเ้ี ขารจู้ รงิ หนอ จะใหเ้ ขาคดิ อยา่ งนน้ั หรอ ไมอ่ ายทน่ี งั่ เหรอ
ไมอ่ ายลมหายใจ ไมอ่ ายไฟฟา้ บา้ งหรอ อายบา้ งสิ เปน็ มนษุ ยแ์ ทๆ้ วา่ เปน็ สตั วใ์ จสงู ยงั หลอกลวง
ตัวเอง หลวกลวงคนอืน่ อีก

เราทำ� ตดิ ต่อกนั อย่หู รอื ไม่ มสี ติพจิ ารณานกึ คดิ ไดถ้ กู ตอ้ งไหม ไม่ใช่ว่าเอากายตวั เองมา
ตง้ั ทนโทไ่ วเ้ หมอื นกบั ตอไม้ สว่ นจติ สว่ นใจมนั ไปอยไู่ หน นนั้ มนั ไมใ่ ชผ่ ฟู้ งั มนั นกั โกหก นกั หลอกลวง
มนั คดิ ถงึ ขา้ งนอก ออกนอกโลก ออกนอกวดั มนั ไปอยกู่ บั อะไรหมดละ่ จติ ใจของเราตอ้ งอยกู่ บั

150

ตัวเราเองสิ เรานั่งอยู่สภาพไหน อยู่ลักษณะไหน สติสัมปชัญญะอยู่พร้อมไหม เมื่อสติ
สมั ปชญั ญะอยพู่ รอ้ มกบั ตวั เรา มนั สงบตรงนี้ ตวั สมาธกิ เ็ กดิ อยตู่ รงนี้ เรารวู้ า่ มนั ไมเ่ คลอื่ นไปไหน
เราพจิ ารณาเขา้ ไปสูร่ ่างกาย มันก็เปน็ สมาธิ มนั กเ็ กิดปญั ญา

การรกั ษาใจมน่ั เรยี กวา่ สมาธิ การรกั ษาใหร้ อบรใู้ นกายสงั ขารคอื องคป์ ญั ญา การไมฆ่ า่ สตั ว์
ไมล่ กั ทรพั ย์ ไมป่ ระพฤตใิ นกาม วาจาไมใ่ หพ้ ดู เทจ็ พดู สอ่ เสยี ด คำ� หยาบ เพอ้ เจอ้ ใจไมล่ ะโมบ
ปองร้าย ใหเ้ หน็ ชอบตามคลองธรรม ให้เราปฏบิ ตั ิตรงน้ี

จติ มนั เปน็ ของเหมน็ รา่ งกายกเ็ ปน็ ของเหมน็ เบยี ดเบยี นกนั จนเนา่ เฟะ แตก่ ด็ แี ลว้ ละ่ ถา้ เรา
เหน็ ของเนา่ เฟะ เรากน็ ำ� มาพจิ ารณาสใิ หม้ นั เกดิ ความเบอื่ หนา่ ยขนึ้ มาสิ จะมาหลงมนั ทำ� ไมให้
เปน็ ตัวเป็นตนละ่ และเม่ือไหรจ่ ะละจะปลอ่ ยจะวางกันละ่ นักปฏบิ ตั ิ

ธรรมะโอวาทคำ� สอนของพระพทุ ธเจา้ มนั เปน็ นามธรรม มนั ละเอยี ดมาก มนั มหศั จรรยม์ าก
มนั อยภู่ ายในโนน้ แลว้ มาถอื เอาเปน็ ตวั เปน็ ตนอกี เหน็ ไหม “อทนิ นาทาน” เหน็ ไหมละ่ สดุ ทา้ ย
มนั กเ็ ละเทะเนา่ เปอ่ื ย ธาตมุ นั เปน็ ไปตามธาตุ สว่ นตวั เดยี วทเี่ หลอื คอื ตวั ผรู้ ู้ มนั ไมต่ าย มนั ไมส่ ลาย
เข้าใจไหมอย่างนี้น่ะ ทต่ี วั สลายคือตัวธาตุ

เรามาปฏบิ ตั ธิ รรมกอ็ ยา่ พากนั หลงเลย อยา่ บอกวา่ อนั นตี้ วั กู ของกู อยา่ เลยไมใ่ ช่ ปลอ่ ยเถอะ
วางเถอะ ละเถอะ จะแบกไปถงึ ไห จะหอบไปถงึ ไหน เมาจนหลงโลก เราหลงมากภ่ี พกช่ี าตแิ ลว้
ญาตธิ รรมเอ๋ย ยงั จะมาแบกว่า อนั น้กี ายกู ตัวกู อันนต้ี วั กอู กี เหรอ

จติ หรอื ใจของเราแทจ้ รงิ นี้ คอื ตวั ทไ่ี มต่ ายนี้ มาอาศยั ธรรมอนั น้ี กอ้ นพระธรรมคอื ตวั ตน
อนั เปน็ กายวตั ร อยา่ เบยี ดเบยี นกันสิ ทำ� ไมจึงเอาตัวเองมาเบยี นเบยี ด ทีม่ าอาศัยแลว้ ยังมา
เบยี นเบยี ดท�ำใหส้ กปรกท�ำไม มาส่งั ให้กายเราไปทำ� ในส่ิงท่ีไม่ดที �ำไม ท�ำไมถงึ ไม่สง่ั ไปทำ� ใน
สงิ่ ทดี่ ีจรงิ ไหม

กฏธรรมธาตนุ ถี้ า้ มนั จะมขี นึ้ มนั กม็ ขี องมนั เอง เมอื่ มนั มขี น้ึ มา มนั กต็ งั้ อยอู่ ยา่ งนี้ เมอ่ื มนั
จะเปล่ียนแปลง มันก็จะเปล่ียนแปลงของมันไปเอง ใครจะบัญชาใครจะบังคับมันได้ ก็คือ
ธรรมธาตกุ ค็ อื ตัวตนสกนธ์กายเรานี้ ท่เี รยี กวา่ ตวั ตนนวี้ ่า นาย ก ข ค ง อยู่นแี้ หละนี่

“สุสสสู งั ลภเต ปัญญงั ” ถา้ เรานั่งฟังแบบไม่มีสติสมั ปชญั ญะ ฟังกเ็ หมือนกับตอไม้
ฟงั อะไรละ่ ฟงั พระสจั ธรรม ฟงั ทไี่ หน กใ็ จเราฟงั ทก่ี ายของตนเองนสี้ ิ ตวั เราคอื ตวั พทุ ธะ ตวั ผรู้ ู้
ตวั ทไ่ี ม่ตาย พูดรวมกนั คือจติ ใจ จรงิ ๆ ตัวจติ ใจคือตัวกเิ ลส ตวั ผูร้ จู้ ริงๆ คือตวั พทุ ธะของเรา
อนั แท้จริงท่เี ป็นสรณะ ผรู้ ู้คอื ใจเราจริงๆ นน้ั มนั ไม่ตายหรอก

151

ปราชญแ์ ละบณั ฑติ ทา่ นแสดงธรรมอดั ไวใ้ นแผน่ ซดี ี ในแผน่ เทปนนั่ นะ่ เดยี๋ วนแี้ จกกนั ไปฟงั
กองทว่ มหัวแลว้ ใช่ไหม มนั ไม่ใช่เปดิ ฟงั ธรรมดาน่ะ เสยี บหฟู ังหลบั คากันเลยนะ่

“โอ้โห เข้าฌานไปเลยว่ะ”

ต่นื ขน้ึ มายังว่า “กฟู ังดีโว้ย กูหลับเลยวะ่ เห้อ ฟังจนหลับเพลินไปเลยวะ่ ”

แลว้ ยงั ไปโฆษณาอกี นะ่ วา่ “โอย้ กฟู งั อาจารยน์ นั้ เทศน์ หลวงปนู่ น้ั เทศนก์ ฟู งั จติ กเู ขา้ สมาธิ
หลบั ไปเลยไม่รู้ตวั ” ท่แี ทม้ นั หลบั เพราะการฟัง มันเหนื่อย

รหู้ รอื เปลา่ พดู อยา่ งนนั้ เปน็ การโกหกผดิ ศลี ขอ้ มสุ า ขอ้ ที่ ๔ หลอกตวั เองไมพ่ อ ไปหลอก
คนอนื่ อกี “สมั มาวาจา” “สมั มากมั มนั ตะ” “สมั มาอาชวี ะ” นะ่ เหน็ ไหม นน้ั เปน็ ศลี ใน “วสิ ทุ ธมิ รรคนะ่ ”
อย่าไปท�ำเลน่ ๆ อยา่ ไปพดู เล่นๆ

พวกทวยเทพเขากร็ ู้ “ทำ� ไมเปน็ มนษุ ยจ์ งึ ประมาทขนาดน้ี ฉนั เปน็ เทวดากย็ งั อยากมาเกดิ เปน็
มนษุ ย์ เมอื่ เปน็ มนษุ ยท์ ำ� ไมจงึ ปลอ่ ยโอกาสเปน็ มนษุ ยน์ ใี่ หส้ ญู หายไป ทำ� ไมไมบ่ ำ� เพญ็ เอา ทำ� ไม
ไมร่ บี สรา้ งเอา” ทวยเทพเขายงั พดู กนั อยคู่ ำ� นนี้ ะ “ถา้ ฉนั หมดบญุ ออกจากการเปน็ ทวยเทพแลว้
ขอใหฉ้ นั ไดเ้ กิดเปน็ มนษุ ย์เถิด” เขาปรารถนา แลว้ เมื่อเราเป็นมนษุ ยม์ าละ เราจะทำ� ใหต้ ัวเอง
ขาดทนุ หรอื ไดก้ �ำไร

ญาตธิ รรมทั้งหลายเคยเห็นตัวกิเลสหรอื ยัง เคยเห็นไหม ไหนวา่ เปน็ ญาติธรรมเป็นนัก
ปฏบิ ตั ิ จ�ำเอาไวน้ ่ะ ตวั กเิ ลสก็คือตัวจิตตัวใจของเรานั้นล่ะ คือตัวเหม็นน้ันนะ่

ทำ� ไมถงึ วา่ อยา่ งนนั้ จติ ของฉนั ไปเหน็ ไดย้ งั ไง ถงึ บอกวา่ มนั เปน็ ของเหมน็ มนั เหมน็ ยงั ไง
กจ็ ติ ทมี่ นั ปรงุ แตง่ จติ ทแี่ บกเอาไฟ เอาของสกปรกมาบงั คบั ธรรม มาบงั คบั กาย คอื “ตวั กเิ ลส”
นนั้ นะ่ จติ มนั มาสงั่ กายของเรา ตวั ของเรา อนั เปน็ พระคณุ ของพอ่ ของแมเ่ ราน้ี มาบญั ชากอ้ น
พระธรรม บญั ชาธาตุ ตัวตนสกุลกาย ที่สมมุติอยนู่ ้ี ถา้ จิตมันไม่ส่งั แล้วเราจะท�ำอะไรได้
จิตมันชี้แนะไปท�ำความดีความชั่วก็ได้เห็นไหม แล้วว่าการปฏิบัติ ปฏิบัติกันยังไงถึงไม่รู้ว่า
ไมเ่ หน็ วา่ ตวั กเิ ลสนน้ั คอื ตวั จติ ของตวั เอง ไมใ่ ชอ่ น่ื ไกล แลว้ จะไปรทู้ ไี่ หนทนี ้ี ถา้ ไมร่ กั ษาไมเ่ พยี ร
ไมพ่ ยายามศกึ ษาของเนา่ ของเหมน็ นี้ มนั จะเกดิ ความเบอื่ หนา่ ยไดย้ งั ไง นเ้ี หรอนกั ปฏบิ ตั ิ แลว้
มันจะเกดิ เความเบอื่ หนา่ ยขน้ึ เมือ่ ไหร่ มันมแี ตจ่ ะเกดิ ความหลงขึ้นมานะ่ ซิ จิตเรานแ้ี หละทีม่ นั
สร้างความหลงให้เราเพลดิ เพลนิ อยูน่ ้ี

ถ้าไม่มีศีลเป็นท่ีเริ่มต้นแล้วไม่ต้องถามหาหรอก ไม่ต้องถามหาสรรค์ ไม่ต้องถามหา
โภคทรัพย์ เพราะศีลนัน้ ล่ะเป็นฐานท่จี ะเข้าสูส่ วรรค์ เขา้ สพู่ รหมโลก จนถึงพระนพิ พาน ให้มี

152

สตสิ มั ปชญั ญะเปน็ องคป์ ญั ญาสิ ใหม้ นั รแู้ จง้ แทงเขา้ ไปตลอดสิ จงึ เรยี กวา่ เขา้ พระไตรสรณคมน์
ธรรมะนะ่ เปน็ เครอื่ งรกั ษาผปู้ ฏบิ ตั ธิ รรมไมใ่ หต้ กในทบี่ อด ถา้ เรารกั ษาธรรม คอื เราไมเ่ อากาย
ไปทำ� ชัว่ แล้วมนั ก็ดไี มใ่ ชเ่ หรอ จะไปดทู ่ีไหนดูธรรม ไปวงิ่ เอาสรรค์ช้ันเหวไหนน่ะ กต็ วั เรานี่
กายเราน่ี ตวั สมมตุ นิ ี่ ถา้ ผใู้ ดเหน็ ธรรมอยา่ งนแ้ี ลว้ บคุ คลใดเหน็ ธรรม บคุ คลนนั้ เชอื่ วา่ เหน็ เรา
ตถาคต ถา้ บคุ คลใดปฏิบัตธิ รรมแล้ว ก็เท่ากบั ได้ปฏบิ ัติเราตถาคต

อาสวะ กค็ อื ตวั กเิ ลส ตวั เปน็ มลทนิ มนั ลากคอเราอยทู่ กุ วนั นี้ มนั ปดิ บงั หปู ดิ บงั ตาเราอยู่
ทกุ วนั นี้ มนั ลากใหเ้ ราไปตดิ อยใู่ นเสยี ง ใหต้ าไปตดิ อยใู่ นรปู อนั น้ี ไปตดิ มนั ทำ� ไม เมอ่ื เราจะทำ�
จรงิ ๆ นะ่ ทำ� เถอะหมคู่ ณะสหธรรมกิ เอย๋ ดตู วั เราเอง ไมต่ อ้ งไปดคู นอน่ื หรอก เราคดิ อะไร ใจเรา
น่ะคิด คนอืน่ กเ็ ปน็ คนอ่นื สิ ไม่มีหรอกใครจะมารู้วา่ เราคดิ อะไร ตัวเรารู้ตวั เราทุกคน ไม่ว่า
ญาตธิ รรม ไมว่ า่ พระภกิ ษุ พอทำ� ไปกว็ า่ ตวั เองนท่ี ำ� เอาใหม้ นั ถงึ ทสี่ ดุ สิ ปลอ่ ยสิ ธาตขุ นั ธเ์ ราน่ี
ปลอ่ ยวางไปจรงิ ๆ ดสู ิ ปลอ่ ยใหเ้ หลอื แตค่ วามวา่ งธาตขุ นั ธน์ ่ี ใหม้ นั เปน็ ดนิ เปน็ นำ้� แยกออกดสู ิ
ฟงั จรงิ ทำ� จรงิ มี หรอื มนั ไมไ่ ดป้ ฏบิ ตั จิ รงิ มเี หรอมนั ไมถ่ งึ ขอใหญ้ าตธิ รรมจงกระทำ� จงปฏบิ ตั ิ
อยากจะได้บุญก็ให้พากันท�ำ

ฐานอนั เป็นทตี่ ้งั ของสติ ถ้าเราไม่กำ� หนดกายจะกำ� หนดที่ไหน ถา้ เราไมก่ �ำหนดดูเวทนา
จะไปกำ� หนดดทู ไ่ี หน ถา้ เราไมก่ ำ� หนดดจู ติ เราจะไปกำ� หนดดทู ไี่ หน ถา้ เราไมก่ ำ� หนดธรรมธาตุ
เหลา่ นใี้ ห้เปน็ ธรรมชาตแิ ล้ว จะไปดไู หน จะไปปฏิบัติท่ีไหนของใครของมนั นะ่

ปจั จตั ตงั เวทติ ัพโพ วญิ ญูหิติ วญิ ญูชน รู้เฉพาะตนเทา่ นน้ั

วนั นท้ี ห่ี ลวงปมู่ าพดู นี่ หวงั จะใหป้ ฏบิ ตั กิ นั จรงิ ๆ อยากใหท้ ำ� กนั จรงิ ๆ ใหม้ นั เหน็ กนั จรงิ ๆ
จะไม่ตอ้ งสงสยั อีก “เจบ็ ไขไ้ ด้ปว่ ยนะเบ่ือกันไหมลูก แตต่ ัวปูเ่ นย่ี เบอื่ กลบั ๆ เกิดๆ แลว้ ละ่ ”

ปี ๒๕๖๑ องคห์ ลวงปสู่ วาททา่ นเมตตาไปจำ� พรรษาทวี่ ดั สาขาของทา่ น (สำ� นกั สงฆเ์ ขานอ้ ย
เมตตาหลวง อ.วงั นำ�้ เยน็ จ.สระแกว้ ) มโี ยมมาขอใหท้ า่ นเปา่ หวั อยากใหห้ ายปว่ ยไขก้ ระเสาะ
กระแสะ หลวงปู่ท่านเลยเมตตาถามวา่ “เจบ็ ไข้ได้ป่วยนะเบอื่ กนั ไหมลูก แตต่ วั ปูเ่ นย่ี เบอื่ กลบั ๆ
เกดิ ๆ แลว้ ล่ะ” (แล้วท่านกข็ ำ� )

โอวาทค�ำสอนหลวงปู่สวาท ปัญญาธโร วัดปา่ โปง่ จันทร์ อ.เขาคิชฌกูฏ จ.จันทบุรี

153

โอวาทเขา้ สู่มรรคเขา้ สู่พระนิพพาน

ทำ� ไมถึงดูไมเ่ ห็นของจรงิ แมก้ ระทั่งวา่ ทกุ ข์
ปราชญ์และบณั ฑติ กว็ า่ “กำ� หนดร”ู้
กำ� หนดทไี่ หน
สมาธิคอื ตงั้ ใจมน่ั ต้ังใจมน่ั คอื ต้ังใจเจรญิ ฌาน
ฌาน แปลว่า การเพง่ การก�ำหนดรู้จงึ เรยี กวา่ ญาณ
ญาณวิสทุ ธิ มันจะเกดิ ความร้ดู ว้ ยปญั ญาของเราเองนนั่ ละ ท่ีเรามองดตู รงน่ันทที่ างเขา้
มันจะเกดิ ญาณขน้ึ มา ญาณตวั นัน้ คอื ความรู้ เปน็ ญาณวิสุทธิ คือจิตตวสิ ุทธิ ความหมดจด
แหง่ จติ
ทฏิ ฐิวสิ ทุ ธิ คือความหมดจดของทิฐิ
กังขาวติ รณวสิ ทุ ธิ คือ ความหมดจดแห่งญาณเปน็ เคร่ืองข้ามหลุดพ้นแหง่ ความสงสัย
มคั คามคั คญาณทัสสนวิสทุ ธิ ความหมดจดแห่งญาณเปน็ เครอ่ื งรูท้ างหรือมใิ ชท่ าง
ปฏปิ ทาญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณเปน็ เครื่องร้ทู างแห่งการปฏิบตั ิ
ทางนแ้ี น่นอนเปน็ เครอื่ งมชั ฌมิ าปฏปิ ทา ทางสายกลาง ในระหว่าง อสั สาสะ-ปสั สาสะ
ทกี่ �ำหนดญาณวสิ ุทธิ จงึ เป็นวสิ ทุ ธิญาณทส่ี ะอาดและบริสทุ ธ์ิ เปน็ ทางเดนิ ทจ่ี ะเข้าสมู่ รรคเข้า
สู่พระนิพพาน

โอวาทค�ำสอนหลวงป่สู วาท ปัญญาธโร วัดปา่ โปง่ จนั ทร์ อ.เขาคชิ ฌกูฏ จ.จนั ทบรุ ี

154

โอวาทถึงพระครูสมุห์สชุ ิน ปริปุณโณ วดั ธรรมสถิต จ.ระยอง

หลวงปสู่ วาท ปลม้ื ใจ ภมู ใิ จ ชนื่ ใจ ในพระอาจารยส์ มหุ ์
สุชิน วดั ธรรมสถติ
หลวงปเู่ คยพดู กบั ลกู ศษิ ยท์ ข่ี บั รถเอาไว้ ตอ้ งเอย่ ถา้ หลวงปู่
มาแสดงธรรมติดตอ่ กนั ถึง ๒ ครงั้ เว้นแค่วนั เดยี ว จะตอ้ งมี
ครงั้ ที่ ๓ บอกเอาไวล้ ว่ งหนา้ จะตอ้ งมคี รง้ั ที่ ๓ ตอนนงั่ รถมานะ่
ยงั ไม่ได้แสดงธรรมหรอก พอข้ึนรถเขาถงึ บอกไง
แตว่ า่ กไ็ มไ่ ดข้ ดั “ถา้ เปน็ อาจารยส์ ชุ นิ ” เพราะวา่ ทา่ นเคย
แสดงนำ�้ ใจออกใหเ้ หน็ แลว้ ปลมื้ ใจแลว้ ภมู ใิ จมาจนเทา่ ทกุ วนั นี้
คอื วนั ฉลองพระประธาน ทา่ นไปทำ� ใหส้ ดุ ปชู่ น่ื ใจมาก คอื บอก
ไมถ่ กู เลยวา่ ทา่ นมเี มตตาธรรม ทา่ นเมตตา นอ้ มนกึ ถงึ ตรงนนั้
แลว้ “โอ้ เราขดั ไมไ่ ด้ ยาก” เราตอ้ งปลอ่ ยทางนซี้ ะกอ่ น ตอ้ งไป
ทางโนน้
จงึ ตดั สนิ ใจวา่ บอกอาจารย์ “เดย๋ี วพรงุ่ นเ้ี จอกนั ทธี่ รรมสถติ
ทานข้าวกันทน่ี ูน่ ” แต่ไม่ได้นึกว่าจะได้มาให้ข้นึ ธรรมาสน์เป็น
คร้ังที่ ๓ เทา่ นั้นแหละวะ่

155

พระเจา้ กนิษกะ

พระเจา้ กนษิ กะเปน็ นดั ดาของพระเจา้ กทั พเิ สส ปฐมกษตั รยิ แ์ หง่ อาณาจกั รกษุ าณะ ไดค้ รอง
ราชย์ในปี พ.ศ. ๖๒๑ พระองค์มีความเลื่อมใสในพุทธศาสนามาก จนได้รับขนานนามว่า
“พระเจา้ อโศก องคท์ ี่ ๒” และทรงแผอ่ าณาจกั รกวา้ งไกลครอบคลมุ คนั ธาระ แคชเมยี ร์ สนิ ธุ
และมธั ยประเทศ (ปจั จบุ นั อยใู่ นเขตอหิ รา่ น อฟั กานสิ ถาน ปากสี ถาน เตริ ก์ เมนสิ ถาน และบางสว่ น
ของอนิ เดีย) ในสมยั น้พี ุทธศาสนามหายานแผ่ไปสู่เอเซียกลางและจนี อย่างรวดเรว็ วรรณคดี
ภาษาสันสกฤตได้เจริญรุ่งเรืองแทนภาษาบาลี พระภิกษุท่ีมีความรู้ในยุคนี้คือ ท่านปารศวะ
ท่านอศั วโฆษ ทา่ นวสมุ ติ ร เป็นต้น

ในดา้ นการแกะสลกั พทุ ธศลิ ปค์ นั ธาระ ซงึ่ เรมิ่ ตน้ ในสมยั พระเจา้ มลิ นิ ท์ กม็ คี วามเจรญิ อยา่ ง
ขดี สดุ ในสมยั พระองค์ พระองคท์ รงสรา้ งวดั วาอาราม เจดยี ว์ หิ าร อยา่ งมากมาย พระเหย้ี นจงึ
พระสงฆช์ าวจนี ผจู้ ารกิ สอู่ นิ เดยี เมอ่ื ราว พ.ศ. ๑๑๐๐ เมอื่ จารกิ ถงึ เมอื งปรุ ษุ ปรุ ะ เมอื งหลวงของ
พระองคจ์ งึ กลา่ ววา่ พระเจา้ กนษิ กะทรงสรา้ งวหิ ารหลงั หนง่ึ ทรงใหน้ ามวา่ “กนษิ กะมหาวหิ าร”
แมว้ า่ พระวหิ ารจะทรดุ โทรมลงแลว้ แตพ่ ระวหิ ารมศี ลิ ปะทงี่ ดงามยากทจี่ ะหาทใี่ ดเหมอื น และยงั
มพี ระภกิ ษอุ าศยั อยบู่ า้ ง ทง้ั หมดเปน็ พระนกิ ายหนี ยานหรอื เถรวาท พระเจา้ กนษิ กะครองราชย์
อยรู่ ะหวา่ งปี พ.ศ. ๖๒๑ - พ.ศ. ๖๔๔ รวมระยะเวลา ๒๓ ปี

พระองคเ์ ปน็ ผู้มชี ่อื เสียงในด้านกองทัพ ความสำ� เร็จทางดา้ นการเมอื ง และจิตวิญญาณ
บรรพบรุ ษุ ทเี่ ป็นผู้กอ่ ต้ังจักรพรรดิกุษาณะ คือ คุชลุ า กทั พเิ สส (Kujula Kadphises) พระเจา้
กนิษกะได้เปน็ ผปู้ กครองจกั รวรรดิบกั เตรีย ขยายออกตัง้ แต่ เทอร์ฟนั (Turfan) ในแอ่งทาริม
(Tarim Basin) ไปถงึ เมืองปาฏลบี ุตร บนทร่ี าบลุม่ แม่น้�ำคงคา เมอื งหลวงหลกั ของจักรวรรดิ
ของพระองคค์ อื เมอื งในบรุ ษุ ปรุ ะ (Puruṣapura) ในแควน้ คนั ธาระ และมเี มอื งใหญเ่ มอื งอนื่ อกี คอื
เมอื งกาปสิ ะ (Kapisa)

การพิชิตและการอุปถัมภ์พระพุทธศาสนาของพระองค์แสดงบทบาทอย่างส�ำคัญในการ
พฒั นาเสน้ ทางสายไหม และการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนามหายานจากแควน้ คนั ธาระผา่ นหบุ เขา
คาราโครัมไปถึงประเทศจีน นักวิชาการก่อนหน้าน้ีเช่ือว่าพระเจ้ากนิษกะเสด็จขึ้นสู่บัลลังก์
ในปี พ.ศ. ๖๒๑ และวนั ทน่ี ใี้ นปนี นั้ กถ็ กู ใชเ้ ปน็ ปเี รมิ่ ตน้ แหง่ ปฏทิ นิ ศกั ราช อยา่ งไรกต็ ามวนั ทนี่ ี้

156

ในตอนนไ้ี มไ่ ดร้ บั การถอื วา่ เปน็ วนั ทท่ี างประวตั ศิ าสตรข์ องการเสดจ็ ขนึ้ ครองราชยข์ องพระเจา้
กนษิ กะ ไมน่ านมานี้ ปี พ.ศ ๒๕๔๔ นกั วชิ าการชอ่ื วา่ Falk ไดก้ ะประมาณการวา่ พระเจา้ กนษิ กะ
เสดจ็ ข้ึนครองราชยใ์ นปี พ.ศ. ๖๖๖

ศิลปะคันธาระ ปรากฏข้ึนเมื่อชนชาติตีเถียนอพยพจากภาคกลางของทวีปเอเชียเข้า
ครอบครองดินแดนทางทศิ ตะวันตกเฉยี งเหนอื ของประเทศอินเดีย หรือประเทศปากีสถานใน
ปัจจุบนั และสถาปนาราชวงศ์กุษาณะ มพี ระเจา้ กนิษกะ (ราว พ.ศ. ๖๖๓-๗๐๕) เป็นประมขุ
และทรงเปน็ เอกอคั รศาสนปู ถมั ภกเชน่ เดยี วกบั พระเจา้ อโศกมหาราช ตา่ งกนั เพยี งพทุ ธศาสนาที่
พระเจา้ กนษิ กะทรงเลอ่ื มใสเปน็ ลทั ธมิ หายาน ซง่ึ เชอื่ กนั วา่ พระพทุ ธรปู ไดอ้ บุ ตั ขิ น้ึ ในรชั กาลของ
พระองคเ์ ปน็ คร้ังแรกดว้ ย

พนื้ ทที่ เ่ี ปน็ อาณาจักรของพระเจา้ กนิษกะเคยเป็นบรเิ วณท่ีชนชาตกิ รกี เขา้ มาครอบครอง
ตั้งแต่คร้ังพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชยกทัพเข้าไปรุกรานดินแดนแถบลุ่มแม่น้�ำสินธุ
(ประมาณ พ.ศ. ๒๑๗-๒๑๘) ตอ่ มาชาวโรมนั กไ็ ดต้ ามเขา้ มาคา้ ขาย เมอ่ื มกี ารสรา้ งพระพทุ ธรปู
ตามแบบศิลปะคนั ธาระขน้ึ จงึ เปน็ ไปไดว้ ่าชาวซิเถียนอาจใช้ชา่ งกรีกโรมันเลยก็เป็นได้

ดว้ ยเหตุน่พี ระพทุ ธรูปศลิ ปะคันธาระจงึ มีหนา้ ตาเปน็ ฝรั่ง

ชา่ งกรกี ชา่ งโรมนั สรา้ งพระพทุ ธรปู เปน็ รปู มนษุ ยข์ นึ้ หลงั จากพระพทุ ธเจา้ ปรนิ พิ นานไป
ประมาณ ๖๐๐ ปี แตค่ วามสามารถของชา่ งทำ� ใหค้ นทว่ั ไปยอมรบั ไดว้ า่ ประตมิ ากรรมทส่ี รา้ ง
ขึ้นเปน็ พระพทุ ธรปู เปน็ รปู ลกั ษณข์ องพระพทุ ธองคไ์ ด้ โดยใช้คุณลักษณะ ๓ ประการในการ
สรา้ งงาน คอื

๑. ใช้ความสุนทรียภาพตามแบบฝรั่ง กล่าวคอื พระนาสิกโดง่ พระโอษฐเ์ ลก็ พระขนง
วาดเป็นวงโค้งบรรจบกันเหนือดั้งพระนาสิก ส่วนใหญ่ครองจีวรโดยห่มคลุมบ่าทั้งสองข้าง
จีวรเปน็ ผา้ หนา เปน็ ริว้ ขนาดใหญ่ตามธรรมชาติ คล้ายการหม่ ผ้าของพวกโรมัน

๒. การกระทำ� ตามคมั ภรี ม์ หาบรุ ษุ ลกั ษณะ เชน่ มใี บหยู าน มอี ณุ าโลม (กลมุ่ ขนคว้ิ อยรู่ ะหวา่ ง
คว้ิ กลางหน้าผาก) และลายธรรมจักรบนฝา่ มอื ฯลฯ

องคห์ ลวงปสู่ วาท ปญั ญาธโร ไดก้ ลา่ ววา่ ในชาตหิ นงึ่ ไดเ้ กดิ มาเปน็ กษตั รยิ ์ ชอ่ื พระเจา้
กนษิ กะ

157

ถา้ มาเข้าวัดมาปฏบิ ตั ิ กาย วาจา ใจ
ใหม้ ันเปน็ บุญเปน็ กุศล มนั ก็บรสิ ุทธ์ิ
“กาย” บรสิ ทุ ธิ์สะอาด “กาย” กเ็ ป็นศีล
“วาจา” ถ้าหมดจดสะอาด “วาจา” ก็เป็นศีล
“ใจ” ถ้าเจรญิ ภาวนาให้สะอาดบริสทุ ธิ์ กเ็ ป็นวสิ ุทธมิ รรค
ในทางเดินอันแทจ้ รงิ แล้ว ใจเรากเ็ ปน็ ศีล
ศีลตัวน้ลี ะ่ ทีม่ ันนำ� ให้เราไปสวรรคน์ ะ

ไปสมู่ รรคผลนพิ พานนะ

หลวงปูส่ วาท ปญั ญาธโร



สังเขปประวัตแิ ละพระธรรมเทศนา

พระครกู ิตตปิ ัญญาคณุ (หลวงป่สู วาท ปัญญาธโร)

วดั โปง่ จันทร์ ต.คลองพลู อ.เขาคิชฌกฏู จ.จนั ทบุรี

ISBN : ๙๗๘-๖๑๖-๕๘๖-๖๑๘-๗
พิมพ์ครงั้ ท่ี ๑ : ตุลาคม ๒๕๖๔
จ�ำนวน : ๓,๒๐๐ เล่ม
ผูจ้ ัดพิมพ์ : คณะศษิ ยานุศิษย์
ผู้บันทกึ ประวัติ : ผู้ใหญ่บ้านประโลม วัดโป่งจันทร์ จ.จนั ทบรุ ี
ผถู้ อดเทปและเรียบเรียง : นายนรินทร์ ศรีสุทธ์ิ
ผู้เรียบเรยี งและตรวจทาน : ร.อ.ชมุ พร ดำ� รงศภุ สนุ ทร

พิมพ์ถวายเป็นธรรมทาน
ขอสงวนสิทธ์ิห้ามจำ� หน่าย

พมิ พ์ที่ : บริษัท ศลิ ปส์ ยามบรรจภุ ณั ฑแ์ ละการพิมพ์ จ�ำกัด
๖๑ ซ.เพชรเกษม ๖๙ ถ.เลียบคลองภาษเี จรญิ ฝง่ั เหนอื เขตหนองแขม กรงุ เทพฯ ๑๐๑๖๐
Tel. ๐-๒๔๔๔-๓๓๕๑-๒ Fax. ๐-๒๔๔๔-๐๐๗๘ E-mail: [email protected]


Click to View FlipBook Version