The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือแนวทางการขับเคลื่อนโครงการการจัดการศึกษาเพื่อการมีงานทำในศตวรรษที่ 21

การจัดการศึกษาเพื่อการมีงานทำ

แนวทางการขบั เคลื่อนโครงการจดั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานเพ่อื การมงี านทําในศตวรรษท่ี 21 กลุมนเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศกึ ษา สพม.2

คาํ นํา

การจัดทําโครงการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานเพ่ือการมีงานทําในศตวรรษท่ี 21 เปนภารกิจสําคัญของ
สถานศึกษาที่จะบริหารจัดการใหเกิดการดําเนินการพัฒนาคุณภาพกระบวนการเรียนรู และสงเสริมการจัด
หลักสูตรทักษะอาชีพ ควบคูไปกับวิชาสามัญ ท่ีตองเรงปรับหลักสูตรสถานศึกษาใหมีแผนการเรียนและรายวิชา
เพม่ิ เติมใหรองรบั สมรรถนะทางสาขาวชิ า และสาขาวิชาชพี ตามเสนทางการศึกษาสูอาชีพของนักเรยี น สรา งระบบ
การสงตอสถานศึกษา และสถาบันการศึกษาสายอาชีพ และสายสามัญ รวมถึง สถาบันการศึกษาเฉพาะทางดาน
อาชีพ โดยเฉพาะการสรางสมรรถนะดานอาชีพสําหรับผูเรียนระดับมัธยมศึกษาที่ประสงคไมเรียนตอ และออกไป
ประกอบอาชีพในสถานประกอบการ หรือกลุมอาชีพอิสระ ใหตรงความตองการพฒั นาคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจ
ของประเทศ ตอบสนองนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และรองรับกรอบยุทธศาสตร
ชาติระยะ ๒๐ ป ยุทธศาสตรที่ ๒ ดานพัฒนาคุณภาพผูเรียนและสงเสริมการจัดการศึกษา เพื่อสรางขีด
ความสามารถในการแขงขัน

เอกสาร “คูมือแนวทางการขับเคลื่อนโครงการขับเคลื่อนการจัดการศึกษาเพ่ือการมีงานทําในศตวรรษท่ี
21” เปนส่ือที่จะชวยใหเห็นแนวทางการบริหารจัดการการดําเนินงานและตัวอยางรายวิชาเพ่ิมเติมที่รองรับ
สมรรถนะทางสาขาวชิ าและสาขาวิชาชีพ กระบวนการเรียนการสอนที่มุงเนน ใหผูเ รียนสรา งองคความรูดว ยตนเอง
ตามเสนทางการศึกษาสูอาชีพของนักเรียน เน้ือหาสาระที่จัดนําเสนอในเอกสารจึงมีท้ังสวนของหลักการ แนวคิด
และตัวอยางการนําไปปฏิบัติซึ่งสถานศึกษา ครู และผูเกี่ยวของ สามารถศึกษาเรียนรูและนําไปปรับใชกับบริบท
ของสถานศกึ ษา ลงสูการปฏิบัตใิ นช้ันเรียนไดอยางหลากหลายเหมาะสม

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 ขอขอบคุณ คณะทํางานกลุมนิเทศ ติดตาม และ
ประเมินผลการจัดการศึกษา รวมทั้งผูบริหาร คณะครู และผูทรงคุณวุฒิทุกทานที่มีสวนรวมจัดทําเอกสาร “คูมือ
แนวทางการขับเคล่ือนโครงการขับเคล่ือนการจัดการศึกษาเพ่ือการมีงานทําในศตวรรษท่ี 21” เลมน้ีจนเสร็จ
สมบูรณ หวังวาเอกสารฉบับน้จี ะกอใหเกิดประโยชนตอสถานศึกษาและหนวยงาน ตลอดจนผูที่สนใจเร่ืองการจดั
การศกึ ษาเพ่อื การมงี านทาํ

(ดร.รัตติมา พานชิ อนุรกั ษ)
ผูอาํ นวยการสาํ นักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษาเขต 2

แนวทางการขับเคล่อื นโครงการจัดการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานเพ่อื การมีงานทาํ ในศตวรรษท่ี 21 กลุม นิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การศึกษา สพม.2

คาํ ชแ้ี จง

เอกสาร “คูมือแนวทางการขับเคลื่อนโครงการจัดการศึกษาเพื่อการมีงานทําในศตวรรษท่ี 21” จดั ทําขึ้น
ภายใตโครงการการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานเพ่ือการมีงานทําในศตวรรษที่ 21 ประกอบดวย เนื้อหาท้ังหมด
๘ ตอน ไดแก

1. บทนํา
2. การจัดการศกึ ษาระดับมธั ยมศึกษาในศตวรรษที่ 21
3. รปู แบบการจัดหนวยฐานสมรรถนะอาชีพระยะสัน้ ในระดับมธั ยมศึกษาตอนตน
4. รปู แบบการจัดการศกึ ษาเรยี นรวมหลักสตู รอาชวี ศกึ ษาและมัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ทวศิ กึ ษา)
5. รูปแบบกลุมความถนัดทางสาขาวชิ าและอาชีพในการเรียนตอระดบั อุดมศึกษา
6. รูปแบบการเรียนรกู ารเปน ผูป ระกอบการธรุ กิจพอเพียง
7. รูปแบบการเรยี นรูหนวยบรู ณาการ 8 กลุมสาระการเรยี นรู
8. เกณฑก ารประเมินผลโครงการจดั การศึกษาขัน้ พนื้ ฐานเพ่ือการมงี านทําในศตวรรษท่ี 21
เอกสารดังกลาวจัดทําขึ้นเพ่ือใชเปนแนวทางการบริหารจัดการการดําเนินงานและตัวอยางรายวิชา
เพิ่มเติมที่รองรับสมรรถนะทางสาขาวิชาและสาขาวิชาชีพ ซ่ึงสถานศึกษาสามารถศึกษาคนควาไดทั้งเอกสารและ
ดาวนโหลดทางสือ่ อิเลก็ ทรอนิกสที่กลมุ นิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจัดการศึกษาจัดทําข้ึน

กลุมงานพัฒนาหลักสูตรการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานและกระบวนการเรยี นรู
กลุมนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศึกษา

แนวทางการขบั เคล่อื นโครงการจัดการศึกษาขนั้ พ้นื ฐานเพอื่ การมีงานทําในศตวรรษท่ี 21 กลุมนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจดั การศึกษา สพม.2

สารบญั 1
3
คํานํา 8
คําชแี้ จง 49
สารบญั 80
ตอนที่ 1 บทนาํ 152
176
ตอนที่ 2 การจัดการศึกษาระดบั มัธยมศกึ ษาในศตวรรษท่ี 21 213
220
ตอนที่ 3 รปู แบบสมรรถนะอาชีพระยะสนั้ 221
ตอนที่ 4 รูปแบบทวิศึกษา 222
223
ตอนท่ี 5 รปู แบบเตรยี มความถนัดเฉพาะทางกลมุ สาขาวิชาชีพอุดมศึกษา
ตอนท่ี 6 รปู แบบการเรยี นรูการเปน ผปู ระกอบการธุรกจิ พอเพยี ง

ตอนท่ี 7 รปู แบบการเรียนรูหนว ยบูรณาการ 8 กลมุ สาระการเรียนรู
ตอนที่ 8 เกณฑก ารประเมนิ ผลโครงการจัดการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานเพ่อื การมีงานทําในศตวรรษท่ี 21
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก

รปู ภาพกิจกรรม
รายชอ่ื คณะผูจัดทํา

แนวทางการขบั เคลื่อนโครงการจดั การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานเพ่ือการมงี านทาํ ในศตวรรษที่ 21 กลุม นิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา สพม.2



บทนํา

ในระยะทีผ่ า นมา ประเทศไทยไมเ คยมกี ารกําหนดวิสัยทัศน เปาหมาย และยทุ ธศาสตรใ นระยะยาว สง ผล
ใหการบริหารประเทศข้ึนอยูกับนโยบายของรัฐบาลในขณะน้ันเปนหลัก ความเจริญกาวหนาของประเทศไมมี
ความตอเนื่อง ออนไหวตามกระแสการเมืองและไมมีเสถียรภาพทางการบริหารประเทศ จนวันที่ 6 กรกฎาคม
พ.ศ. 2561 สภานิติบัญญัติแหงชาติ(สนช.) มีมติเอกฉันท 179 เสียง เห็นชอบรางยุทธศาสตรชาติ
สง นายกรฐั มนตรที ลู เกลา ฯภายใน 20 วัน มีผลบังคบั ใช 20 ป

ยุทธศาสตรชาติ 20 ป เปนการวางแผนการพัฒนาประเทศในระยะยาว โดยมีวิสยั ทัศน คอื “ประเทศไทย
มีความม่ันคง มั่งคั่ง ย่ังยืน เปนประเทศพัฒนาแลว ดวยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”หรอื
เปนคติพจนประจําชาติวา “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” จากกรอบยุทธศาสตรชาติ 20 ป สํานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐานจึงไดมีการจัดทําโครงการหลายโครงการ เพื่อสนองภาพประเทศไทยในอนาคต ซึ่งหน่ึงใน
โครงการท่ีถกู กลาวถงึ มากทสี่ กุ คอื โครงการจัดการศึกษาข้นั พืน้ ฐานเพอ่ื การมีงานทาํ ในศตวรรษท่ี 21

สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาทั้งเขต 1 และ เขต 2 สนองนโยบายจากสํานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยเรงปรับหลักสูตรสถานศึกษาใหมีแผนการเรียนและรายวิชาเพ่ิมเติมให
รองรับสมรรถนะทางสาขาวิชา และสาขาวิชาชีพ เรงดําเนินการพัฒนาคุณภาพกระบวนการเรียนรู สงเสริม
หลักสูตรทักษะอาชีพ ควบคูไปกับวิชาสามัญ โรงเรียนในสังกัดเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาเขต 2 จึงไดรวมกนั
จัดทําคูมือ แนวทางการจัดทําหลักสูตรการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเพ่ือการมีงานทําในศตวรรษที่ 21 ข้ึน โดย
คํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล เน้ือหาสาระและกิจกรรมตองสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของ
ผูเรยี น ยึดหลกั วา ผูเรยี นทุกคนมคี วามสามารถเรียนรแู ละพฒั นาตนเองได และถอื วา ผูเรยี นมีความสาํ คัญท่ีสุด

ความรูเรื่องเกี่ยวกับตนเอง และความสัมพันธของตนเองกับสังคม จึงเปนความรูที่สําคัญมากที่สุดที่
สาํ นักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาเขต 2 ใหค วามสาํ คญั ดังที่ รองศาสตรจารย ดร.สุกรี เจริญสุข ไดกลาวไว
ในหนังสือช่ือ EDUCATION FOR SUSTAINABLE DEVELOPMENT วา การพัฒนาประเทศตองอาศัยการศึกษา
และการศึกษาท่ีแทจริงตองสอนเนื้อหาความเปนฉันใหผูเรียน เพราะความเปนฉันจะเปนถุงทองของสังคม
เมอ่ื ผเู รียนรจู ักความเปน ฉันแลว ใหเ อากระบวนการศึกษามาจัดการทําความเปน ฉนั ใหโ ลกไดร จู กั ขายความเปน ฉนั
เชดิ ชูความเปนฉนั และทําความเปน ฉันใหเปนสนิ คา แลว จงึ นํารายไดม าพฒั นาตอ ยอดความรใู นความเปน ฉัน

ผเู รยี นแตล ะคนตองรจู ักตนเอง สามารถวางเสนทางการเรยี นรูสูอาชีพผา นครูแนะแนวและครทู ี่ปรึกษา ครู
ทกุ คนจงึ ตองมขี อ มลู สารสนเทศดา นตางๆ เพื่อใหผ ูเ รยี นเลอื กและตดั สนิ ใจเรยี นรตู ามความถนัด ความสามารถและ
บุคลิกภาพของแตละคน ซึ่งจะสงผลใหผูเรียนเรียนดวยความสุข และมีโอกาสในการประสบความสําเร็จทางการ
เรยี นในเสน ทางของตนเองได โครงการจดั การศกึ ษาข้นั พื้นฐานเพ่ือการมงี านทําในศตวรรษท่ี 21 จงึ เนนใหผ ูเ รียน
มองตนเองผานแฟมสะสมผลงาน (Portfolio) ซึ่งเปนการรวบรวมขอมูลตางๆของผูเรียนจากความคาดหวัง
แรงจูงใจ สมรรถนะของผูเรียน การฝกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ การเรียนรูจาก
ประสบการณจรงิ การฝกปฏิบัตงิ าน และสาระความรดู านตา ง ๆ ทีไ่ ดส ดั สว นสมดลุ กัน ทั้งคณุ ธรรม คานิยมท่ีดีงาม
และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคไ วในทุกรายวิชา

แนวทางการขับเคลอ่ื นโครงการจัดการศึกษาขนั้ พ้นื ฐานเพ่อื การมงี านทําในศตวรรษที่ 21 กลมุ นิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สพม.2



วัตถุประสงคของการจัดทําโครงการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานเพื่อการมีงานทําในศตวรรษท่ี 21 เพ่ือ
สงเสริมการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาเพ่ือการมีงานทํา แผนการเรียน กระบวนการจัดการเรียนรู และการวัด
ประเมินผลเพ่ือรองรับความสนใจทางสาขาวิชาและสาขาวิชาชีพของผูเรียน และความตองการอาชีพของ
ประเทศชาติ โดยมตี วั ช้ีวัดระดบั กจิ กรรมทเี่ ปน จดุ มุงหมายสูความสําเรจ็ ของการศึกษาขัน้ พื้นฐานเพื่อการมีงาน
ทําในศตวรรษที่ 21 ดงั นี้

1.โรงเรียนมีหลักสูตรสถานศึกษา และแผนการเรียนที่สอดคลองกับสารสนเทศ ความตองการสาขา
วิชาชพี ในพ้ืนท่ีจงั หวดั

2.ครูผูสอนรายวิชาพ้ืนฐาน 8 กลุมสาระการเรียนรู มีการจัดกิจกรรมการเรียนรูตามมาตรฐานการเรยี นรู
และตัวชวี้ ดั ทีบ่ รู ณาการอาชีพตามบรบิ ทพื้นท่ี

3.ครูผูสอนรายวิชาเพ่ิมเติม และการศึกษาคนควาอิสระ จัดทําหนวยการเรียนรูฐานสมรรถนะตามสาขา
วชิ าชีพ ที่สอดคลอ งกบั เสนทางการศกึ ษาตอ สกู ารประกอบอาชีพ (Career Path) ของผูเรยี น

4.ครูผูสอนรายวิชาเพ่ิมเติมที่เปนรายวิชาความถนัดทางสาขาวิชา/วิชาชีพ พัฒนา/ใชเครื่องมือวัดความ
ถนดั (Measurement aptitude) เพ่ือใหข อ มลู ปอนกลบั แกผูเรียนเกย่ี วกับการศกึ ษาตอ และการประกอบอาชีพ

5.โรงเรียนมีส่ือ อุปกรณ ครุภัณฑ ส่ิงอํานวยความสะดวกเปนไปตามมาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียน
มัธยมศกึ ษา และมีระดับคุณภาพการใชงานเปน ไปตามเกณฑม าตรฐานการปฏิบัตงิ านโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา

6.ผูเรียนมีผลงานเชิงนวัตกรรมการแกปญหาความตองการของชุมชน หรือผลงานเชิงนวัตกรรมรูปแบบ
ผลิตภัณฑ สนิ คา และบรกิ าร ผานเกณฑม าตรฐานคุณภาพการแสดงและประชนั ผลในระดบั จงั หวัด

แนวทางการขับเคลื่อนโครงการจดั การศึกษาขน้ั พื้นฐานเพือ่ การมงี านทําในศตวรรษท่ี 21 กลุม นิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา สพม.2



การจดั การศกึ ษาระดบั มธั ยมศกึ ษาในศตวรรษท่ี 21

แนวทางการดาํ เนนิ โครงการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานเพื่อการมีงานทําในศตวรรษที่ 21

ภาวะเศรษฐกิจไทยท่ขี ยายตัวในระดับตาํ่ ในชว งหลายปท ี่ผานมา กอ ใหเกิดประเด็นถกเถยี งซง่ึ หัวขอ หนึ่งท่ี
ถูกกลาวถงึ บอ ยครัง้ นั่นคือ “การติดกับดกั รายไดป านกลาง (Middle Income Trap) ของไทย” หรอื หมายถงึ การ
ท่ีไทยหยุดชะงักอยูในกลุมประเทศรายไดปานกลางมาเปนเวลานาน ซ่ึงสะทอนวาพัฒนาการทางเศรษฐกิจมี
ขอจํากัด เชน ความพรอมดานเทคโนโลยีของไทยอยูในระดับปานกลาง สวนหน่ึงจากความพรอมดานทรัพยากร
มนุษยท ่ีไมเพยี งพอท้ังดา นคุณภาพและปริมาณ ทําใหค วามสามารถในการดูดซบั เทคโนโลยจี ากตางชาตไิ มดีนัก ซ่ึง
สงผลตอเนื่องใหระดับนวัตกรรมโดยรวมของไทยอยูตํ่ากวาประเทศพัฒนาแลวมาก ยิ่งไปกวาน้ัน ยังถูกเหนี่ยวร้งั
เพิ่มดวยปญหาดานการศึกษา สะทอนจากการศึกษาเฉลี่ยของประชากรไทยท่ีอยูเพยี งระดับมัธยมตน ซ่ึงตางจาก
ประเทศพฒั นาแลว ท่ีการศกึ ษาเฉลีย่ อยูร ะดับมธั ยมปลายข้นึ ไป ทําใหพ ัฒนาการดานนวัตกรรมและเทคโนโลยีของ
ประเทศเปนไปอยางชาๆ จากพ้ืนฐานดานคุณภาพของทรัพยากรมนุษยท่ีไมเอ้ืออํานวย เขตพ้ืนที่การศึกษา
มัธยมศึกษาเขต 2 จงึ เสนอรูปแบบ ESCAPE ใหเ ปนแนวทางการดําเนินโครงการจัดการศึกษาข้นั พน้ื ฐานเพือ่ การมี
งานทําในศตวรรษที่ 21 ซึ่งเปนสัญลักษณในการกาวขามกับดักรายไดปานกลาง (Middle Income Trap) ของ
ไทย ดังมขี น้ั ตอนดังน้ี

1. E : Establishment คือ การสรา งเครือขายความรว มมือสถานประกอบการและจดั ทําสารสนเทศดาน
อาชพี ลักษณะอาชีพในพนื้ ทท่ี องถ่นิ มี 3 ข้นั ตอน คือ

1) PLAN ขัน้ วางแผน ไดแ ก

แนวทางการขับเคลือ่ นโครงการจดั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานเพ่อื การมีงานทาํ ในศตวรรษท่ี 21 กลุมนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษา สพม.2



1.1 แตงต้ังคณะกรรมการขับเคล่ือนโครงการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเพ่ือการมีงานทําใน
ศตวรรษที่ 21 ภายในโรงเรียน

1.2 ศึกษาขอมูลเพ่ือจัดทําคลังสารสนเทศเก่ียวกับความตองการสาขาวิชา และสาขาวิชาชีพ
ระดับประเทศ ระดบั จงั หวดั และ ระดับทอ งถ่นิ

1.3 วเิ คราะหบริบทสภาพแวดลอมภายในทองถนิ่ มขี อมลู แหลง เรียนรูทเ่ี ปน สถานประกอบการ
กลุมอาชพี อิสระ ปราชญชาวบาน เพอ่ื สงเสริมกระบวนการจดั การเรียนรขู องโรงเรียน

2) DO ขั้นปฏิบัติ ไดแ ก
2.1 จัดทําคลังขอมูลสารสนเทศในลักษณะของขอมูลอิเล็กทรอนิกส โดยรวบรวมขอมูลจาก

กรมการจัดหางาน/จัดหางานจังหวัด สํานักงานสงเสริมสังคมแหงการเรียนรูและคุณภาพเยาวชน (สสค.) สถาบัน
ระหวางประเทศเพ่ือการคาและพัฒนา (องคการมหาชน) สํานักงานคณะกรรมการการสงเสริมการศึกษาเอกชน/
การสงเสริมการศกึ ษาเอกชนนอกระบบ สาํ นักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา/สถานศึกษาในสังกดั กรมพฒั นา
ฝมือแรงงาน/สํานักงานแรงงานจังหวัด สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย/กศน.
จงั หวดั สาํ นักงานคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา/มหาวทิ ยาลัย

2.2 จดั ทําบันทึกความรว มมือระหวางโรงเรียนกับสถานประกอบการ กลมุ อาชีพอสิ ระ สถาบัน
อาชีวศกึ ษาและอุดมศึกษา ตลอดจนสถานศึกษาตอ เฉพาะทาง

3) SEE ขั้นสะทอ นผล ไดแ ก
3.1 โรงเรียนสรางการรับรูตอ ครู นักเรียนและผูปกครองเก่ียวกับคลังขอมูลสารสนเทศดาน

อาชพี และบันทึกความรวมมือของโรงเรียน เพื่อใหเกดิ ความเขา ใจ และความพรอมตอการเปลยี่ นแปลงดานอาชีพ
ในโลกแหงศตวรรษที่ 21 ซงึ่ เปน ทม่ี าของโครงการจัดการศึกษาขั้นพน้ื ฐานเพ่ือการมงี านทําในศตวรรษท่ี 21 โดย
นักเรียนเปนผูกําหนดเสนทางการศึกษาสูอาชีพ (Career Path) ดวยตนเอง ตามความสนใจ ความถนัด และ
บคุ ลิกภาพของแตล ะบุคคล

2. S : School คือ การสงเสริมพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาเพอ่ื การมงี านทํา และจัดรายวิชาเพื่อรองรบั
ความตองการสาขาวิชาชพี มี 3 ขน้ั ตอน คือ

1) PLAN ข้นั วางแผน ไดแ ก
1.1 ศกึ ษาขอมูลทีเ่ ก่ยี วของกับการจัดทาํ หลกั สูตรสถานศึกษาเพอ่ื การมีงานทาํ เชน ยุทธศาสตร

ชาติ 20 ป แผนการศกึ ษาแหง ชาติ 20 ป หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พ.ศ.2551 (ฉบับปรบั ปรุง
2560) แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติ ฉบับท่ี 12 แผนพฒั นาการศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ ฉบับท่ี
12 พระราชบัญญตั ิการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไขเพม่ิ เติม (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบบั ท่ี 3)
พ.ศ. 2553 เปน ตน

1.2 นําขอมูลจากการวิจัยหลักสูตรสถานศึกษาท่ีใชในปกอน มาศึกษา วิเคราะห เพื่อพัฒนา
ปรับปรงุ ใหสอดคลอ งกบั บริบทและสถานการณปจจุบัน

แนวทางการขับเคลื่อนโครงการจัดการศึกษาขน้ั พื้นฐานเพื่อการมีงานทาํ ในศตวรรษที่ 21 กลมุ นิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษา สพม.2



1.3 จัดทําขอมูลสารสนเทศท่ีเกี่ยวของกับครู เชน คุณวุฒิ ความสามารถพิเศษ ผลงานทาง
วชิ าการ วิธีการจดั การเรียนการสอนทถี่ นดั เปน ตน

2) DO ขัน้ ปฏิบตั ิ ไดแก
2.1 จัดทํารางหลักสูตรสถานศึกษาและแผนการเรียนเพื่อการมีงานทํา ดวยความรวมมือกัน

ขององคคณะแมน าํ้ 5 สาย ไดแ ก ผูบรหิ าร ครู นักเรยี น ผูป กครอง และผเู ชีย่ วชาญดานหลกั สูตรภายนอก
3) SEE ขั้นสะทอ นผล ไดแก
3.1 รับฟงเสยี งสะทอ นของรางหลักสตู รสถานศกึ ษาและแผนการเรยี นเพือ่ การมีงานทาํ จากองค

คณะแมน าํ้ 5 สาย
3.2 นําขอคิดเห็นที่ไดจากองคคณะแมนํ้า 5 สาย มาพัฒนา ปรับปรุง เพื่อใหไดหลักสูตร

สถานศึกษาและแผนการเรียนเพือ่ การมงี านทําฉบับจริง
3.3 เผยแพรหลกั สตู รสถานศึกษาและแผนการเรยี นเพ่อื การมีงานทํา
3.4 จัดทําแผนงาน โครงการ กิจกรรมในแผนปฏิบัติราชการท่ีสอดรบั กบั หลักสูตรสถานศึกษา

และแผนการเรียนเพ่อื การมงี านทํา
3. C : Career Path คือ การจัดกระบวนการแนะแนว(ครูทุกคน)ใหนักเรียนวางแผนการเรียน และ

กําหนดเสน ทางสูอาชีพ มี 3 ข้นั ตอน คอื
1) PLAN ขั้นวางแผน ไดแ ก
1.1 กลุมแนะแนวของโรงเรียนจัดตั้งศูนยใหคําปรกึ ษาเฉพาะดานสาขาวิชา และสาขาวิชาชีพ

เพ่อื การมงี านทาํ
1.2 โรงเรียนจัดกิจกรรมใหนักเรียนไดเขาไปใชศูนยใหคําปรึกษาเฉพาะดานสาขาวิชา และ

สาขาวิชาชีพเพือ่ การมีงานทาํ
1.3 โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนรูลักษณะอาชีพในฝนผานคายวิชาการ การทัศนศึกษา

การฝกงาน การบําเพ็ญประโยชนส าธารณะ เพอื่ ใหน ักเรียนไดม ปี ระสบการณต รงทางอาชีพ
2) DO ขน้ั ปฏิบัติ ไดแก
2.1 นักเรียนเลือกเรียนรายวิชาเพิ่มเติมอาชีพระยะสั้นและกิจกรรมพัฒนาผูเรียนในระดับ

มัธยมศึกษาตอนตน และเลือกเรียนรายวิชาตามแผนการเรียนกลุมความถนัดทางสาขาวิชา และสาขาวิชาชีพ
แผนการเรียนเฉพาะทางดานกีฬา ดานสุนทรียภาพ แผนการเรียนรวมหลักสูตรทวิศึกษา และกิจกรรมพัฒนา
ผเู รยี น ปลูกฝง คณุ ลกั ษณะและจริยธรรมอาชีพตามกลมุ ถนดั ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

3) SEE ขั้นสะทอนผล ไดแ ก
3.1 นักเรียนสามารถวางเปาหมายและเสนทางการเรียนในสาขาวิชา และสาขาวิชาชีพตาม

ความสนใจและความถนัด รวมถึงสถาบันการศึกษาตอในระดับท่ีสูงข้ึน หรือ กําหนดอาชีพการทํางานกรณีไม
ศึกษาตอ

แนวทางการขับเคลอื่ นโครงการจัดการศึกษาขนั้ พน้ื ฐานเพ่ือการมีงานทําในศตวรรษท่ี 21 กลุมนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา สพม.2



3.2 นักเรียนเขียนบทความแสดงการรับรูความสามารถท่ีเช่ืองโยงกับความคาดหวังท่ีเกิดการ
ยอมรบั ในแฟมสะสมผลงาน (Portfolio)

3.3 นักเรียนมีโครงรางผลงานนวัตกรรมเชิงธุรกิจ กอนเขากระบวนการจัดการเรียนรูแบบ
บูรณาการของโรงเรยี น

4. A : Activity คอื การจดั กิจกรรมการเรียนรใู หสอดคลอ งกับเปา หมายแผนการเรยี น และกจิ กรรมเสริม
ประสบการณอ าชีพ

5. P : Professional Learning Community คือ การนเิ ทศชว ยเหลือพาทํา
โดยข้ันท่ี 4 และ ข้ันท่ี 5 เปนข้ันท่ีตองทําควบคูกันไป ไมสามารถแยกออกจากกันได เพราะการทํางาน
แบบมชี ุมชนแหง การเรยี นรทู างวิชาชีพ ทาํ ใหเกดิ การรวมพฒั นากระบวนการจัดการเรียนรู ของ 5 องคค ณะ ไดแ ก
ผูสอน (Model teacher) , ศึกษานิเทศก/อาจารยมหาวิทยาลัย (Expert) , หัวหนากลุมสาระ (Mentor) , ครูที่
สอนรว มวชิ าหรอื รวมระดบั ช้นั (Buddy) , ผูบ ริหาร (Administrator)
1) PLAN ขนั้ วางแผน ไดแ ก

1.1 5 องคคณะ รวมกันจัดทําหนวยการเรียนรูและแผนการจัดการเรียนรูบูรณาการ โดยนํา
ขอ มลู การวเิ คราะหผ ูเรียนเปน รายบคุ คลเปนสว นหน่งึ ในการจดั ทํากจิ กรรมในหนว ยการเรียนรู

1.2 ผสู อน (Model teacher) จดั เตรยี มสอ่ื อุปกรณ สถานท่ี สําหรับการจัดการเรียนรู
1.3 ศึกษานิเทศก/อาจารยมหาวิทยาลัย (Expert) , หัวหนากลุมสาระ (Mentor) , ครูที่สอน
รวมวิชาหรือรวมระดับชั้น (Buddy) , ผูบริหาร (Administrator) รวมกันจัดทําแบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียน
สําหรับสังเกตการเรียนรูของนักเรียนในชั้นเรียน และ วางแผนการสังเกตพฤติกรรมนักเรียนเปนรายกลุมตาม
แผนผังทไ่ี ดร ว มกนั กําหนดไว
2) DO ข้ันปฏบิ ตั ิ ไดแก
2.1 ผูสอน (Model teacher) จัดกระบวนการจัดการเรียนรูใหนักเรียนตามแผนการจัดการ
เรียนรทู ่ี 5 องคค ณะ ไดรวมกนั จดั ทําขึ้น โดยวดั และประเมินผลตามสภาพจริง ผานชิน้ งานภาระงานโครงงานหรือIS
2.2 ศึกษานิเทศก/อาจารยมหาวิทยาลัย (Expert) , หัวหนากลุมสาระ (Mentor) , ครูท่ีสอน
รวมวชิ าหรือรวมระดับชน้ั (Buddy) , ผบู รหิ าร (Administrator) รว มกนั สงั เกตพฤติกรรมนักเรียนท่ีตอบสนองตอ
กระบวนการจดั การเรยี นรตู ามแผนการจัดการเรียนรูท ี่ 5 องคคณะ ไดร ว มกนั จัดทาํ ขน้ึ
3) SEE ข้นั สะทอ นผล ไดแ ก
3.1 นักเรียนสะทอนความคิดเห็น ประเมินความพึงพอใจจากกิจกรรมการจัดการเรียนรูราย
ช่วั โมง ผา นระบบอเิ ล็กทรอนิกส
3.2 ผูสอน (Model teacher) สะทอนจุดท่ีประสบความสําเร็จในการสอน และจุดท่ีตอง
ปรับปรงุ ในการจดั กจิ กรรมในครง้ั ตอ ไป
3.3 ผสู อน (Model teacher) วิเคราะหผ ลการวัดและประเมินผล KPA จากชิ้นงาน ภาระงาน
โครงงาน หรือ IS ของนกั เรยี น

แนวทางการขับเคลือ่ นโครงการจดั การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานเพ่อื การมีงานทําในศตวรรษท่ี 21 กลุมนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา สพม.2



3.4 ศึกษานิเทศก/อาจารยมหาวิทยาลัย (Expert) , หัวหนากลุมสาระ (Mentor) , ครูที่สอน
รว มวชิ าหรือรว มระดับชน้ั (Buddy) , ผบู ริหาร (Administrator) สะทอนความคิดเหน็ ในประเดน็ ตาง ๆ ตามแบบ
สังเกตพฤตกิ รรมนักเรยี น

3.5 นาํ สิ่งทไี่ ดจากการสะทอ นความคิดเห็นบนั ทึกลง Log Book
6. E : Evaluation คือ การกาํ กับตดิ ตามประเมนิ ผล โครงการและการดําเนนิ งาน
1) PLAN ข้ันวางแผน ไดแก

1.1 ศกึ ษาเกณฑก ารประเมนิ โครงการจัดการศึกษาขน้ั พ้นื ฐานเพ่ือการมงี านทําในศตวรรษที่ 21
2) DO ขั้นปฏิบัติ ไดแ ก

2.1 ตดิ ตาม และ ประเมนิ ผลโครงการเปนระยะอยา งสมาํ่ เสมอ
2.2 จดั แสดงนิทรรศการและประกวดโครงงานของนกั เรยี น/วจิ ัยของครู เพือ่ หา Best Practice
ของโรงเรยี น เผยแพรส สู าธารณชนและรายงานผลตอ สํานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาเขต 2
2.3 นาํ Best Practice ของโรงเรยี น สง ประกวดในระดบั จงั หวดั /ประเทศ/นานาชาติ
3) SEE ขนั้ สะทอนผล ไดแ ก
3.1 ผลการประเมินโครงการจดั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐานเพ่ือการมงี านทาํ ในศตวรรษท่ี 21

แนวทางการขับเคล่อื นโครงการจัดการศึกษาขน้ั พืน้ ฐานเพือ่ การมงี านทาํ ในศตวรรษท่ี 21 กลุมนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา สพม.2



รูปแบบการจดั หนว ยฐานสมรรถนะอาชีพระยะสนั้ ในระดบั มัธยมศึกษาตอนตน

กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและปฏิรูปการศึกษาตามแผนพัฒนา
การศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – พ.ศ.2564) เพอื่ ลดความเหล่ือมล้ําทางการศึกษา
แกผูเรียน และ ประชาชนทุกคน โดยกลไกการขับเคล่ือนปฏิรูปการศึกษาใหบรรลุผลตามเปาหมาย ตองอาศัย
ความรวมมือจากทุกหนวยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ทั้งในระดับสวนกลาง ระดับภูมิภาค และระดับ
สถานศึกษา ซ่ึงรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ และคณะกรรมการขับเคล่ือนการปฏิรูปการศึกษาของ
กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดแนวทางในการปฏิรูปการศึกษาไวหลายประเด็น เชน การสรางการเขาถึงโอกาส
ทางการศึกษา นักเรียนทุกระดับชั้นตองไดรับโอกาสทางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานตามสิทธิที่กําหนดไว โดยมีแนวทาง
และวิธีในการดาํ เนนิ โครงการ เชน การจดั กิจกรรมสง เสรมิ การเรียนรู ฝกอบรมทักษะอาชีพระยะสน้ั เพ่อื สนับสนุน
นักเรียนใหมีโอกาสในการเรียนรตู ามความสนใจ และ ความถนัดของตนเอง

การผลติ และพฒั นากําลังคนตอ งรองรับการพัฒนาประเทศและเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษรวมทงั้ โครงการ
ลงทุนขนาดใหญของรัฐบาล โดยกระทรวงศึกษาธิการริเริ่มจัดทําฐานขอมูลความตองการดานแรงงาน รวมกับ
หนว ยงานภาครฐั และเอกชน จากน้ันจงึ ไดจดั ลําดับความสําคัญเรงดว นในการเลือกผลิตและพัฒนาครูผูสอน และ
สถานศกึ ษา ใหต รงกับทิศทางความตองการดานแรงงานตามขอ มูลที่มี เนนการการศึกษาตามความถนดั และความ
เปนเลิศของแตละสถานศึกษา ที่สําคัญคือ การบูรณาการการเรยี นรคู วบคูกบั การทํางาน การพัฒนาหลักสูตรและ
กระบวนการเรียนรูในปจจุบันจึงตองคํานึงถึงการทํางานในอนาคตของผูเรียน โดยผูเรียนตองสามารถเลือกเรียน
รายวิชาท่ีสงเสริมเสนทางสูอาชีพของตนเองไดอยางแทจริง ผูเรียนตองมีความสุขในการเรียนรู ไดรับการพัฒนา
ครอบคลุมใน 4 ดาน คือ Head Heart Hand และHealth เหมาะสมตามวัย สามารถแสวงหาองคความรูไดดวย
ตนเองสอดคลองกบั บริบทในปจ จบุ นั มีความรู มคี า นยิ มท่ถี ูกตองตามคา นิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ

จากเหตุผลขางตนจึงเกิดการจัดการศึกษารูปแบบสมรรถนะอาชีพระยะสั้นขึ้น โดยใหนักเรียนระดับ
มัธยมศึกษาตอนตนไดรูจักลักษณะ อาชีพตาง ๆ ในทองถ่ิน แลวเลือกเรียนหนวยฐานสมรรถนะอาชีพระยะสั้นที่
ตนเองสนใจ เพื่อนําไปสูการคนพบ ตัวตนวามีความถนัดและบุคลิกภาพเหมาะสมกับสมรรถนะอาชีพใด ซ่ึงจะ
สงผลตอการตัดสินใจของนักเรียน ในการเรียนตอในระดับที่สูงข้ึนที่อาจจะเปนการเรียนในสายอาชีพหรือสาย
สามัญตอในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ก็จะเลือกแผนการเรียนในกลุมสาขาความถนัดเพื่อเรียนตอ
ระดับอุดมศึกษาไดตรงกับความถนัดและบุคลิกภาพของนักเรียน ซึ่งลักษณะการจัดวิชาอาชีพ จะกําหนดรายวชิ า
ตามสาขาวิชาชีพ 5 ประเภท คือ อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม เกษตรกรรม ศิลปกรรม และคหกรรม โดยกําหนด
เปนหนวยฐานสมรรถนะอาชีพระยะส้ัน ไดหลายหนวยสมรรถนะเพื่อใหนักเรียนไดรูจักและเรียนรูไดอยาง
หลากหลาย
แนวทางการพัฒนาจัดทาํ หนว ยฐานสมรรถนะอาชีพระยะสน้ั

แนวทางการพัฒนาจัดทําหนวยฐานสมรรถนะอาชีพระยะส้ัน เพื่อเตรียมผูเรียนในระดับมัธยมศึกษา
ตอนตน เขาสูอ าชพี ในอนาคต ทาํ ใหผ เู รยี นไดส ัมผสั งานอาชพี ประเภทตา งๆ ทราบความตองการของตลาดแรงงาน

แนวทางการขบั เคล่อื นโครงการจัดการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานเพื่อการมีงานทําในศตวรรษที่ 21 กลุมนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา สพม.2



และเลือกอาชีพตามความถนัดและความสนใจของตนเองที่สอดคลองกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมของทองถิ่น มี
เจตคติที่ดแี ละมีคุณธรรมในการประกอบอาชพี โดยมแี นวทางในการจัดการเรยี นการสอน ๕ รปู แบบ ดงั นี้

1. ทํางานระหวางเรยี น
การทาํ งานระหวา งเรียนเปน รูปแบบการจดั การเรยี นการสอนวิชาอาชพี ตามหลกั สตู รหรอื ตามสภาพอาชีพ
ทองถ่ิน โดยเนนกระบวนการทํางานที่ไดผลผลิตออกสูการจําหนาย การจัดการเรียนการสอนใหจัดระยะเวลา
สําหรบั การเรียนทฤษฎีความรูของตวั ชวี้ ัดรายวิชาที่จําเปนและสําคญั โดยระยะเวลาชว งเชา โรงเรียนจัดการเรียน
การสอนหนว ยเรียนรบู รู ณาการรปู แบบหนว ยฐานสมรรถนะอาชพี ระยะส้ัน ทใ่ี ชส มรรถนะงานของรายวชิ าเพิ่มเติม
เปนฐานแลวนําตัวชี้วัดรายวิชาพ้ืนฐานทุกกลุมสาระการเรียนรูมาบูรณาการ กับกระบวนการและข้ันตอนของ
สมรรถนะงาน สว นชวงบายใหนักเรียนไปเรียนรูกบั สถานประกอบการ กลมุ อาชพี อิสระ หรอื วิทยากรทอ งถ่ิน การ
จัดตารางสอนจึงตองจัดเปนไปตามกระบวนการทํางาน และมีการกําหนดชวงเวลาติดตามวัดผลของกระบวนการ
เปนระยะ ๆ ท่ีโรงเรียน หรือสถานที่ฝกประสบการณ ตามความเหมาะสม ขอสําคัญตองทําคูมือและขอตกลงกับ
สถานประกอบการ กลุมอาชีพอสิ ระ หรอื วิทยากรทอ งถนิ่
2. โรงงานในโรงเรียน
โรงงานในโรงเรียนเปนรูปแบบที่มุงเนนการฝกทักษะ การผลิต การจําหนายและการจัดการ
จากการปฏิบัติงานในโรงฝกงานของโรงเรียนท่ีมีสภาพการผลิต จําหนายหรือบริการ อยูเปนประจํา และมีรายได
ตามสภาพเศรษฐกิจของทองถ่ิน ซ่ึงจะทําใหนักเรียนไดมีประสบการณตรง ในการฝกทักษะอาชีพและทักษะ
การจัดการอาชีพในสถานประกอบการ รูปแบบน้ีจะเหมือนกับรูปแบบแรกแตกตางกันตรงที่นักเรียนไดฝกทักษะ
สมรรถนะงานในโรงฝก งานของโรงเรยี นไมไ ดอ อกไปท่ีสถานประกอบการ กลมุ อาชพี อิสระนอกโรงเรยี น
3. การประกอบอาชีพอสิ ระระหวางเรยี น
การประกอบอาชีพอิสระระหวางเรยี นเปนรูปแบบที่มุงสงเสริมและพัฒนาอาชีพในทองถ่ิน ซ่ึงจะมีผลตอ
การพัฒนาเศรษฐกจิ ของทองถิน่ โดยเปด โอกาสใหผ ูเรียนเสนอโครงการอาชีพอิสระและประกอบอาชพี น้นั ระหวาง
เรียน ทาํ ใหน ักเรยี นมปี ระสบการณใ นการประกอบอาชีพอสิ ระและเหน็ ชองทางในการพัฒนาอาชีพตอไป รปู แบบน้ี
เหมาะสําหรับกลุมนักเรียนท่ีเสี่ยงออกกลางคัน หรือกลุมท่ีจบภาคบังคับไมตองการเรียนตอ การจัดกระบวนการ
เรียนรูใหจัดระยะเวลาสําหรับการเรียนทฤษฎีความรูของตัวช้ีวัดรายวิชาตองรูท่ีจําเปนและสําคัญแบบ Block
Course ระยะเวลาประมาณไมเกิน 1 เดือน ระยะเวลาที่เหลือใหจัดกระบวนการเรียนรูแบบหนวยเรียนรู
บูรณาการรูปแบบหนวยฐานสมรรถนะอาชีพระยะสั้นรวมกันเปนสาขาวิชาชีพที่ประเมินผลเปนหนวยกิตของ
รายวชิ าเพิ่มเติม สวนรายวชิ าพ้ืนฐานของทกุ กลมุ สาระการเรียนรูใหนาํ ตัวชวี้ ดั รายวิชาไปบูรณาการกับกระบวนการ
และขั้นตอนการทํางานของสมรรถนะงานของรายวิชาเพิ่มเติม การวัดผลอิงมาตรฐานและตวั ช้ีวดั ใหทําตามสภาพ
จริงโดยประเมินผลเวลาและระดับผลการเรียนเปนหนวยกติ ดังนั้นนักเรียนจะไดไปเรียนรูกบั สถานประกอบการ
กลุมอาชีพอิสระ หรือธุรกิจชุมชน SMEs แบบเต็มเวลา หรือท่ีเรียกวา “โรงเรียนในโรงงาน” ซ่ึงเปนการจัดการ

แนวทางการขบั เคล่ือนโครงการจัดการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานเพื่อการมีงานทําในศตวรรษท่ี 21 กลมุ นเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา สพม.2

๑๐

เรียนการสอนรูปแบบ ทวิภาคีน้ันเอง การจัดตารางสอนใหจัดเปนไปตามกระบวนการทํางาน นักเรียนจะไดฝก
ประสบการณทํางานแบบจริง และไดคาตอบแทนตามขอตกลงในรูปแบบทําสัญญาระหวางนักเรียน โดยการ
ยนิ ยอมของผปู กครองกับสถานประกอบการ กลมุ อาชีพอสิ ระ หรอื ธุรกจิ ชุมชน SMEs โดยมีครูในนามสถานศึกษา
เปนพยานและผูรับรอง และใหมีการกําหนดชวงเวลาติดตามวัดผลของกระบวนการเปนระยะ ๆ ที่โรงเรียน หรือ
สถานท่ีฝก ประสบการณ ตามความเหมาะสม ขอสําคัญตอ งทําคูมอื และขอตกลงกับสถานประกอบการ กลุมอาชีพ
อิสระ หรอื ธรุ กิจชุมชน SMES

4. หนง่ึ คน หนง่ึ สมรรถนะอาชีพ
หนึ่งคน หนึ่งสมรรถนะอาชีพ เปนอยางนอย เปนการเปดหลักสูตรวิชาชีพระยะส้ันใหผูเรียนไดเรียนตาม
ความถนัด โดยทําความรวมมือกับสถานศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สถานประกอบการ
กลมุ อาชพี อสิ ระ จดั ทาํ เอกสารคูมอื แนวทางการจัดการเรยี นรู แบบฝก และถอดประสบการณทีเ่ ชอื่ มโยงกบั รายวิชา
เพิ่มเติมหลักสูตรสถานศึกษาข้ันพื้นฐานในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน โรงเรียนกําหนดรหัสวิชา คําอธิบาย
รายวชิ า ผลการเรียนรูทต่ี รงกับเรือ่ งทถี่ อดประสบการณ พรอมท้งั จดั ทํานํ้าหนักเวลาและสาระสําคัญรายวิชาท่ีเปน
ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ กําหนดรายวิชาเพ่ิมเติมเปนรายวิชาสะสมหนวยกิตเตรียมอาชีวศึกษา (Pre -
Vocational Education : Pre - Ved) ตามความรวมมือกับสถาบันในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการ
อาชวี ศึกษา เพ่อื นําไปเทยี บโอนหนวยกิตในรายวชิ ากลุม ทักษะวิชาชีพตามประเภทวิชาชีพและสาขาวิชาชีพในการ
เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายตามโครงการเรียนรวมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย
(ทวศิ ึกษา) โดยอาจใชแนวทางการบริหารจัดการกจิ กรรมลดเวลาเรยี น เพม่ิ เวลารู มาวางแผนจัดการเรยี นการสอน
5. โครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพเปนรูปแบบท่ีเหมาะสําหรับนักเรียนมุงเรียนตอมัธยมศึกษาตอนปลายสายวิชาการเพื่อ
เตรยี มตวั เรียนตอมหาวทิ ยาลยั สายวจิ ยั หรอื มหาวทิ ยาลยั สายเทคโนโลยี (สายปฏบิ ัติการ) นักเรยี นจะเรยี นรายวชิ า
ที่เปนศาสตรพ้ืนฐานของ STEM ในรายวิชาเพิ่มเติม และเรียนรูเปนผูประกอบการรูปแบบโครงงานตาม
กระบวนการ Project - Based Learning ที่มีการสํารวจปญหาความตองการของชุมชนในกลุมผูผลิต ผูบริโภค
ผูจัดจําหนาย เพื่อถอดประสบการณความรู ตามกระบวนการทํางานจริงท่ีใชอยู และทําการประยุกตตอยอดดว ย
ทฤษฎีความรูจากเทคโนโลยีใหม หรือทฤษฎี ความรูอ่ืน เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ สินคา และบริการ เชิงนวัตกรรม
มกี ารทดสอบ พิสจู น จนใชไดจรงิ มกี ารหาชอ งทางอันหลากหลายในการส่อื สาร นาํ เสนอไปถงึ กลุมเจาของปญหา
และความตองการใหรบั รู ประเมินคุณคาของผลิตภัณฑ สินคา และบริการ เชิงนวัตกรรม และหาชองทางรับหรอื
นาํ สง ไปใชไ ดจรงิ การจดั การเรียนการสอนใหจัดระยะเวลาสําหรับการเรียนทฤษฎีความรูของตัวช้ีวัดรายวิชาตองรู
ที่จําเปนและสําคัญในชวงเชา สวนชวงบายจัดการเรียนการสอนหนวยเรียนรูบูรณาการโครงงาน ดังน้ันการจัด
ตารางสอนจึงตองจัดตามกระบวนการของโครงงานหรือวิจัย และมีการกําหนดชวงเวลาติดตาม วัดผลของ
กระบวนการเปน ระยะ ๆ ตามสภาพจริง

แนวทางการขบั เคล่ือนโครงการจดั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานเพือ่ การมีงานทําในศตวรรษท่ี 21 กลุม นเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจดั การศกึ ษา สพม.2

๑๑

ตัวอยา งการจัดหนวยฐานสมรรถนะอาชีพระยะส้นั งานยอ ย
ภารกจิ ผลการเรยี นรู

การสืบคนและสรุปองค อธิบายความรู หลักกระบวนการเพาะ ผงั มโนทัศน สรุปองคค วามรู เรือ่ งเหด็
ความรู เหด็ นางฟา ตามมาตรฐานความปลอดภยั
ในการทาํ งาน

การเขียนโครงการเพาะเห็ด วิเคราะห วางแผน การเพาะเห็ดนางฟา 1. การเขยี นโครงงานเพาะเหด็ นางฟา
นางฟา (PBL) 2. ปฏทิ ินวางแผนการทาํ งาน

การเพาะและดแู ลเห็ด จดั กระบวนการเพาะเห็ดนางฟาตาม 1. การเตรียมวสั ดุอุกปกรณก อนเชือ้ เห็ด
นางฟา ขนั้ ตอนกระบวนการทํางาน 2. วิธกี ารบมกอนเช้ือเห็ด
3. วธิ กี ารเปดดอกเหด็
4. วิธกี ารรดนํ้า/ดูแลรักษา

การจดั การผลผลติ เก็บผลผลิต และจําหนายเหด็ นางฟาสด 1. การเกบ็ ผลผลิตเห็ดนางฟา สดไดถ ูกวธิ ี
ดวยทกั ษะกระบวนการจัดการผลผลิต 2. การจาํ หนา ยเหด็ นางฟาดวยทกั ษะ
กระบวนการจดั การ
3. การจัดทําบญั ชรี ายรบั -รายจาย และ
สรุปผลการดําเนินโครงการ

การแปรรปู ผลิตภณั ฑ 1. แปรรปู แหนมเห็ด 1. การเตรียมวสั ดุเชน เครื่องปรุงรส/เห็ด
แหนมเหด็ 2. ออกแบบผลติ ภัณฑแหนม และ 2. การเตรียมอุปกรณเ ชน กาละมัง/ทัพพ/ี
การจัดจําหนา ย มีด/ภาชนะบรรจุ/หนงั ยาง
3. การทาํ แหนมเหด็
4. การออกแบบบรรจุผลติ ภณั ฑแหนมเหด็ /
ฉลากสินคา

การแปรรปู ผลติ ภณั ฑ 1. แปรรูปนํ้าพรกิ เห็ด 1. การเตรยี มวัสดุเชน เครอ่ื งปรุงชุดนาํ้ พริก /
นาํ้ พรกิ เหด็ 2. ออกแบบผลติ ภณั ฑน ้ําพรกิ เหด็ และ ผักสด
จัดจําหนา ย 2. การเตรียมอปุ กรณเชน ครก ทพั พี มดี
3. การทํานํ้าพรกิ เห็ด
4. การบรรจุผลติ ภัณฑน ้าํ พรกิ เหด็ /ฉลากสินคา

แนวทางการขบั เคลื่อนโครงการจัดการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานเพื่อการมีงานทําในศตวรรษท่ี 21 กลมุ นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศกึ ษา สพม.2

๑๒

ภารกิจ ผลการเรยี นรู งานยอย (จดุ ประสงคน ําทาง)

การแปรรูปผลติ ภัณฑ 1. แปรรปู เห็ดสวรรค 1. การเตรียมวสั ดเุ ชนเครือ่ งปรงุ รสเชน
เห็ดสวรรค 2. ออกแบบผลติ ภัณฑเ หด็ สวรรคแ ละจดั กระเทยี ม/รากผกั ชี
จาํ หนา ย 2. การเตรียมอปุ กรณเ ชน กระทะ /ครก/
ทพั พ/ี มีด/ถาด
3. การทาํ เหด็ สวรรค
4. การบรรจุผลติ ภัณฑเ ห็ดสวรรค/ฉลาก
สนิ คา

การแปรรปู ผลติ ภณั ฑ 1. แปรรปู ไอศกรีมเหด็ 1. การเตรยี มวัสดเุ ชนเคร่อื งปรุงเชน นม/เห็ด/
ไอศกรมี เห็ด 2. ออกแบบผลิตภัณฑไ อศกรมี เหด็ และ น้ําตาล
จดั จาํ หนาย 2. การเตรียมอปุ กรณเชน เครื่องปน ไอศกรีม
3. การทําไอศกรีมเห็ด
4. การบรรจผุ ลิตภัณฑไ อศกรีมเหด็ /ฉลาก
สินคา

การแปรรูปผลิตภัณฑคกุ กี้ 1. แปรรูปคุกกเ้ี ห็ด 1. การเตรยี มวสั ดุเชนแปง /ผงฟ/ู ไข/นา้ํ ตาล
เหด็ 2. ออกแบบผลติ ภัณฑคุกกี้เห็ดและจัด 2. การเตรยี มอปุ กรณเชนชามผสม/
จําหนาย เคร่ืองอบ/เครื่องปน
3. การทาํ คกุ กเี้ ห็ด
4. การบรรจผุ ลิตภัณฑคกุ ก้ีเห็ด/ฉลากสนิ คา

แนวทางการขบั เคลือ่ นโครงการจดั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐานเพอื่ การมีงานทาํ ในศตวรรษที่ 21 กลุมนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษา สพม.2

๑๓

การวเิ คราะหผ ลการเรยี นรู

หนว ยฐานสมรรถนะ เชฟเหด็ นางฟา 1-6
กลมุ สาระการเรียนรู การงานอาชพี ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที่ 1-3 เวลา 6-8 ชว่ั โมงตอฐานสมรรถนะ

ขอที่ ผลการเรียนรู การวเิ คราะหตวั ชวี้ ัด เจตคติ
1. อธบิ ายหลกั การกระบวนการเพาะเหด็ นางฟา โดย ความสามารถ ทกั ษะ
(K) กระบวนการ(P) คุณลักษณะ(A)
ตระหนกั ถงึ การมีมาตรฐานความปลอดภัยในการ 
ทํางานและใฝเรียนรดู วยทกั ษะการแสวงหาความรู
2. วิเคราะหวางแผนการเพาะเหด็ นางฟาดว ยความ 
มงุ มั่นในการทํางานตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง 
3. เพาะเห็ดนางฟาตามขัน้ ตอนกระบวนการทํางาน 
ดวยทักษะการทํางานรว มกัน
4. จดั การผลผลิตเห็ดนางฟาดว ยทกั ษะการจัดการโดย 
ใชพลังงาน ทรพั ยากร ในการทาํ งานอยางคมุ คา 
และยัง่ ยืน เพอื่ การอนรุ ักษส ิง่ แวดลอม 
5. ออกแบบผลผลิตแหนมเหด็ นางฟาและจัดจําหนา ย 
6. ออกแบบผลผลิตนา้ํ พริกเห็ดนางฟา และจัดจําหนา ย 
7. ออกแบบผลผลิตเหด็ สวรรคและจดั จาํ หนา ย
8. ออกแบบผลผลิตไอศครมี เหด็ และจัดจําหนาย
9. ออกแบบผลผลิตคกุ กี้เห็ดและจดั จําหนาย

แนวทางการขับเคลื่อนโครงการจดั การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานเพอื่ การมีงานทําในศตวรรษท่ี 21 กลมุ นิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา สพม.2

๑๔

คําอธบิ ายรายวิชา

หนวยฐานสมรรถนะ เชฟเห็ดนางฟา 1-6
กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชพี ชั้นมธั ยมศึกษาปท ่ี 1-3 เวลา 6-8 ช่ัวโมงตอฐานสมรรถนะ
ศึกษา อธิบาย วิเคราะห การเพาะเห็ดและแปรรูปเห็ดสูอาชีพงานเกษตรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง เขาใจ กระบวนการทํางานทั่วไปในการผลิต การวิเคราะหวางแผน การถนอมและแปรรูปผลผลิต
การออกแบบบรรจุภัณฑและการดําเนินการทางธุรกิจทางการตลาด การวางแผนการทํางานผลิตและจัดการแปร
รปู ผลผลิต ออกแบบบรรจภุ ัณฑอยางสรา งสรรค
โดยใชกระบวนการและทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแกปญหา ทักษะการทํางานรวมกัน และ
ทกั ษะการแสวงหาความรู เพื่อใหง านสําเรจ็ ตามเปา หมายสอู าชีพ
เกิดเจตคติท่ีดีตองานอาชีพโดยมีคุณลักษณะของผูเรียนในดานการใฝเรียนรู คนพบความสามารถ
ความถนัด และความสนใจงานอาชีพของตนเองอยางสรางสรรค มีลักษณะนิสัยท่ีมีคุณธรรม ความมุงม่ันใน
การทํางานดวยจิตสํานึกในการใชพลังงานทรัพยากรและส่ิงแวดลอมอยางคุมคา ในการสรางผลงานสูอาชีพ
โดยนอ มนาํ เอาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนแนวทางในการดาํ รงชีวิตอยา งพอเพยี ง
ผลการเรยี นรู
1. อธบิ ายหลักการกระบวนการเพาะเห็ดนางฟาโดยตระหนกั ถงึ การมีมาตรฐานความปลอดภยั ในการทํางาน
และใฝเรยี นรูดว ยทักษะการแสวงหาความรู
2. วิเคราะหวางแผนการเพาะเห็ดนางฟาดวยความมุงมั่นในการทํางานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
3. เพาะเห็ดนางฟา ตามขน้ั ตอนกระบวนการทํางาน ดวยทกั ษะการทํางานรว มกนั
4. จัดการผลผลิตเห็ดนางฟาดว ยทกั ษะการจัดการโดยใชพ ลังงาน ทรพั ยากร ในการทาํ งานอยา งคมุ คาและ
ยัง่ ยนื เพ่อื การอนุรกั ษส ิง่ แวดลอม
5. ออกแบบผลผลิตแหนมเหด็ นางฟา และจัดจาํ หนาย
6. ออกแบบผลผลิตนาํ้ พรกิ เห็ดนางฟาและจดั จําหนาย
7. ออกแบบผลผลติ เห็ดสวรรคและจัดจําหนาย
8. ออกแบบผลผลิตไอศครีมเห็ดและจัดจําหนาย
9. ออกแบบผลผลติ คุกกเ้ี ห็ดและจัดจาํ หนา ย
รวม 9 ผลการเรยี นรู

แนวทางการขับเคลื่อนโครงการจัดการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานเพือ่ การมงี านทาํ ในศตวรรษท่ี 21 กลุมนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษา สพม.2

๑๕

โครงสรางหนวยฐานสมรรถนะ

หนวยฐานสมรรถนะ เชฟเหด็ นางฟา 1-6
กลุม สาระการเรยี นรู การงานอาชีพ ช้นั มัธยมศึกษาปท่ี 1-3 เวลา 6-8 ชั่วโมงตอฐานสมรรถนะ

ชือ่ หนว ยการเรยี นรู ผลการเรยี นรู สาระสาํ คญั จาํ นวน น้ําหนัก
ชัว่ โมง คะแนน
หนว ยฐานสมรรถนะที่ 1 อธบิ ายหลักการ เห็ดนางฟาเปนอาหารท่ีมีคุณคาทาง
การเพาะเหด็ นางฟา กระบวนการเพาะเหด็ อาหารสูง และสามารถเพาะปลูกได 8 25
นางฟา โดยตระหนักถึง งาย ตามขั้นตอนเพาะเล้ียงประกอบ
การมมี าตรฐาน กับวธิ ีการเก็บผลผลติ เพอ่ื นํามาแปรรปู
ความปลอดภัยใน โครงการ “project” เปนการวางแผน
การทาํ งานและใฝเรยี นรู ง า น ท่ี จั ด ทํ า ข้ึ น อ ย า ง ร อ บ ค อ บ เ ป น
ดวยทกั ษะการแสวงหา ระบบพรอ มกับมแี นวทางการเพาะเห็ด
ความรู นางฟา เพื่อใหบ รรลุวตั ถุประสงคตาม
วเิ คราะหว างแผน เ ป า ห ม า ย ด ว ยห ลั ก ป รั ชญ าขอ ง
การเพาะเห็ดนางฟา ดวย เศรษฐกิจพอเพียง
ความมุงม่ันใน การเพาะเห็ดนางฟามีข้นั ตอน ที่สําคัญ
การทํางานตามหลกั คอื การเตรยี มโรงเรอื น การทํากอนเช้ือ
ปรัชญาของเศรษฐกจิ การหยอดเชือ้ และบมเช้ือเห็ด การเก็บ
พอเพียง เ กี่ ย ว แ ล ะ ท ร า บ ป ญ ห า ที่ พ บ ใ น
การเพาะเห็ด
เพาะเห็ดนางฟาตาม
ข้นั ตอนกระบวนการ ก า ร จั ด ก า ร ผ ล ผ ลิ ต เ ป น สิ่ ง ที่ จ ะ ต อ ง คํ า นึ ง ถึ ง ก า ร ใ ช
ทํางาน ดวยทักษะ วิทยาการหลังการเกบ็ เกี่ยวท่ีเหมาะสมกับผลผลติ แตละ
การทํางานรวมกนั ชนิดซ่ึงรวมถึง การจัดการการตลาด ท่ีเปนการดําเนิน
กิจกรรมตาง ๆ ดานธุรกิจ ซึ่งจะตองมีการวางแผน
จัดการผลผลติ เหด็ การผลิต การจดบันทึก คํานวณคาใชจาย การกําหนด
นางฟา ดวยทกั ษะ ราคาขายและ การจัดจําหนาย ตลอดจนการดําเนิน
การจดั การโดยใช กิจการทุกอยางเพ่ือสนองความตองการ และบริการ
พลงั งาน ทรพั ยากร ใน ใหแ กผูซอื้ หรือผบู ริโภคพอใจ ทั้งในเรื่องราคาและบริการ
การทํางานอยา งคุมคา โดยยึดหลกั การมีคุณธรรมของผูป ระกอบการทีด่ ี
และยัง่ ยนื เพื่อ
การอนุรกั ษสง่ิ แวดลอม

แนวทางการขบั เคลอ่ื นโครงการจัดการศึกษาขน้ั พ้นื ฐานเพื่อการมีงานทําในศตวรรษที่ 21 กลมุ นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศกึ ษา สพม.2

ชอ่ื หนว ยการเรยี นรู ผลการเรยี นรู สาระสําคญั จาํ นวน ๑๖
ชว่ั โมง
หนว ยฐานสมรรถนะที่ 2 ออกแบบ การแปรรปู เห็ดนางฟาเปน ผลิตภณั ฑ นํ้าหนกั
เชฟแหนมเห็ดนางฟา ผลติ ภัณฑแหนม แหนมเห็ดและจัดจาํ หนายได 6 คะแนน
หนวยฐานสมรรถนะที่ 3 เห็ดนางฟา และจัด การแปรรูปเหด็ นางฟา เปนผลิตภัณฑ
เชฟนาํ้ พรกิ เหด็ นางฟา จาํ หนาย นํา้ พรกิ เห็ดและจัดจําหนา ยได 15
หนว ยฐานสมรรถนะท่ี 4 ออกแบบ การแปรรปู เห็ดนางฟาเปน ผลิตภัณฑ
ผลิตภัณฑนาํ้ พริก เหด็ สวรรคแ ละจดั จําหนา ยได 6 15
เชฟเห็ดสวรรค เหด็ นางฟาและจัด
จําหนา ย 6 15
ออกแบบ
ผลิตภัณฑเ ห็ด
สวรรคแ ละจดั
จําหนาย

หนว ยฐานสมรรถนะท่ี 5 ออกแบบ การแปรรูปเหด็ นางฟา เปนผลิตภณั ฑ 6 15
เชฟไอศครมี เห็ด ผลิตภัณฑไอศกรีม ไอศกรีมเหด็ และจดั จําหนา ยได
เหด็ และจัด
จาํ หนา ย

หนว ยฐานสมรรถนะที่ 6 ออกแบบ การแปรรปู เหด็ นางฟาเปนผลิตภณั ฑ 6 15
เชฟคุกกเี้ ห็ด ผลติ ภัณฑค ุก ก้เี หด็ คกุ กีเ้ ห็ดและจัดจําหนายได
และจดั จําหนา ย

แนวทางการขบั เคลอ่ื นโครงการจัดการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานเพอื่ การมงี านทาํ ในศตวรรษที่ 21 กลมุ นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา สพม.2

๑๗

ตัวอยาง
การวเิ คราะหห นว ยการจดั การเรยี นรทู ี่ 1 เรือ่ ง การเพาะเหด็ นางฟา

หนว ยฐานสมรรถนะ เชฟเหด็ นางฟา 1-6
กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชพี ชน้ั มัธยมศึกษาปท ่ี 1-3 เวลา 6-8 ช่วั โมงตอ ฐานสมรรถนะ

1. ชอื่ หนวยการเรียนรู
การเพาะเห็ดนางฟา

2. ผลการเรยี นรู
1. อธิบายหลักการกระบวนการเพาะเหด็ นางฟาโดยตระหนักถงึ การมีมาตรฐานความปลอดภยั ในการทํางาน

และใฝเรียนรดู วยทกั ษะการแสวงหาความรู
2. วิเคราะหวางแผนการเพาะเห็ดนางฟาดวยความมุงม่ันในการทํางานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพยี ง
3. เพาะเห็ดนางฟาตามข้ันตอนกระบวนการทาํ งาน ดวยทักษะการทํางานรว มกนั
4. จดั การผลผลติ เห็ดนางฟาดวยทกั ษะการจัดการโดยใชพลังงาน ทรัพยากร ในการทํางานอยางคุมคาและ

ยั่งยนื เพอื่ การอนรุ กั ษส ่งิ แวดลอม
3.สาระสาํ คัญ/ความคดิ รวบยอด

เห็ดนางฟาสามารถเพาะปลูกไดงาย ตามขั้นตอนเพาะเลี้ยง ซึ่งตองมีการวางแผนงานท่ีจัดทําข้ึนอยาง
รอบคอบเปนระบบ โดยข้ันตอนท่ีสําคัญคือการเตรียมโรงเรือน ซ่ึงจะตองมี การวางแผน การผลิต การจดบันทึก
คาํ นวณคา ใชจ าย การกําหนดราคาขายและ การจดั จําหนาย
4. สาระการเรยี นรู

เห็ดนางฟา เปน อาหารทม่ี คี ุณคาทางอาหารสงู และสามารถเพาะปลกู ไดงา ย ตามขน้ั ตอนเพาะเลยี้ ง
ประกอบกบั วิธกี ารเกบ็ ผลผลิตเพื่อนาํ มาแปรรูป ซึ่งตองมกี ารวางแผนงานท่จี ดั ทําขนึ้ อยางรอบคอบเปน ระบบพรอม
กบั มแี นวทางการเพาะเห็ดนางฟา เพือ่ ใหบรรลุวัตถุประสงคต ามเปา หมายดวยหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ขัน้ ตอนที่สาํ คญั คอื การเตรียมโรงเรอื น การทํากอนเช้อื การหยอดเช้ือและบม เชือ้ เห็ด การเกบ็ เก่ียวและทราบปญ หา
ทีพ่ บในการเพาะเห็ด และการจดั การผลผลติ เปนสิ่งทีจ่ ะตอ งคํานึงถงึ การใชวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวท่เี หมาะสม
กับผลผลิตแตล ะชนิดซง่ึ รวมถึงการจัดการการตลาด ทเ่ี ปนการดําเนนิ กจิ กรรมตา ง ๆ ดานธุรกิจ ซง่ึ จะตอ งมี
การวางแผน การผลติ การจดบนั ทกึ คาํ นวณคาใชจาย การกําหนดราคาขายและ การจัดจําหนาย ตลอดจนการ
ดําเนนิ กจิ การทุกอยางเพ่ือสนองความตอ งการ และบรกิ ารใหแกผ ูซ อื้ หรอื ผูบริโภคพอใจ ทง้ั ในเรอ่ื งราคาและ
บริการโดยยดึ หลกั การมคี ุณธรรมของผปู ระกอบการท่ีดี

แนวทางการขบั เคล่อื นโครงการจดั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐานเพื่อการมงี านทาํ ในศตวรรษท่ี 21 กลุมนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา สพม.2

๑๘

5. สมรรถนะสําคัญของผูเ รียน

1. ความสามารถในการสือ่ สาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแกป ญ หา
4. ความสามารถในการใชทักษะชวี ติ
5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี
6. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค

1. ซ่อื สตั ยสจุ รติ
2. มวี ินยั
3. ใฝเรียนรู
4. มุงม่ันในการทาํ งาน
5. มีจิตสาธารณะ
7. ช้ินงาน/ภาระงาน

ใบงานท่ี 1 สรุปองคความรเู รื่องเห็ด
ใบงานท่ี 2 การเขียนโครงการ
ใบงานท่ี 3 การเพาะและดแู ลเห็ดนางฟา
ใบงานที่ 4 การจัดการผลผลิต

8. การวัดและประเมินผล

สิ่งทีต่ อ งการวัดและประเมนิ ผล วิธีวัดและประเมินผล เคร่อื งมอื วดั และประเมินผล
หลักการกระบวนการเพาะเห็ดนางฟา การทดสอบ แบบทดสอบ
การวางแผนการเพาะเห็ดนางฟา การตรวจผลงาน แบบประเมินผลงาน
การเพาะเห็ดนางฟา การตรวจผลงาน แบบประเมนิ ผลงาน
การจดั การผลผลติ เหด็ นางฟา

แนวทางการขบั เคลอ่ื นโครงการจัดการศึกษาขนั้ พน้ื ฐานเพ่อื การมีงานทําในศตวรรษท่ี 21 กลมุ นเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศกึ ษา สพม.2

๑๙

เกณฑการประเมินผลตามสภาพจริง ( Rubrics )

รายการประเมิน 4 ระดับคะแนน 1
การนาํ เสนอ 32
ผังมโนทัศน ตรงประเด็นครอบคลมุ ไมตรงประเด็น
การเขียนโครงการ เนือ้ หาและเปน ลาํ ดบั ตรงประเดน็ แตไ ม ไมค อยตรงประเด็น รายละเอยี ดนอ ยลําดับ
ตามขน้ั ตอน ขัน้ ตอนทีช่ ดั เจน ครอบคลมุ เนอ้ื หาและ รายละเอียดเน้อื หา ข้ันตอนสว นใหญไ ม
เขยี นโครงการไดค รบ เปน ลาํ ดับข้ันตอน คอ นขางนอย ลาํ ดับ ถกู ตอง
ทักษะกระบวนการ สมบรู ณต ามหลกั การ ถกู ตอ งเพียงบางสวน ข้นั ตอนถูกตอ งเพียง เขียนโครงการไดไม
ทํางานรว มกนั อยางถกู ตอง เนื้อหา สมบรู ณต ามหลักการ
ทกั ษะการจัดการ ชดั เจนถกู ตอ ง 9 บางสว น อธิบายนาํ เสนอ
ทักษะการ ขน้ั ตอนและอธิบาย เขียนโครงการไดค รบ เขียนโครงการไดตาม โครงการไมไ ด
แกป ญหา นําเสนอโครงการได ตามหลกั การอยาง หลักการ 9 ข้ันตอน ปฏบิ ัตไิ มไดค รบทัง้ 4
และทักษะการ ชดั เจน ถกู ตอ ง ถูกตอ ง 9 ข้ันตอน และอธิบายนําเสนอ ทักษะ เปน โครงการ
แสวงหาความรู ปฏิบัตไิ ดค รบทั้ง 4 และอธิบายนาํ เสนอ โครงการได PBLทีส่ ามารถปฏิบตั ิ
จนไดผลผลิต ทักษะ เปน โครงการ โครงการไดช ัดเจน ไดจรงิ แตมีขอสงั เกต
PBLทด่ี ีสามารถปฏบิ ตั ิ ถกู ตอง และตองปรับปรงุ เพ่ือ
เจตคตทิ ่ีดีตองาน ไดจริงจนบรรลุ สรา งผลผลติ ไปสู
อาชพี วัตถปุ ระสงค ทีต่ ้ังไว ปฏบิ ตั ไิ ดครบทง้ั 4 ปฏิบตั ิไดครบทั้ง 4 แนวทางอาชีพ
และสรางผลผลติ อยา ง ทกั ษะ เปน โครงการ ทักษะ เปน โครงการ
มคี วามคดิ สรางสรรค PBLท่ดี ีสามารถปฏบิ ัติ PBLทีด่ ีสามารถปฏบิ ัติ ต้ังใจปฏบิ ตั หิ นา ทแี่ ต
เปนประสบการณไ ปสู ไดจ ริงจนบรรลุ ไดจรงิ จนบรรลุ ไมครบทุกงาน
แนวทางอาชีพท่ีตน วัตถปุ ระสงค ทต่ี ัง้ ไว วัตถปุ ระสงค ทีต่ ้ังไว
ถนัดสนใจจนประสบ และสรา งผลผลิตอยาง และสรา งผลผลติ ได
ความสําเร็จในการทาํ มีความคดิ สรางสรรค เพ่ือ เปนแนวทางไปสู
อาชีพน้นั ๆอยาง เปนประสบการณไ ปสู อาชีพทีต่ นถนดั และ
ตอเนื่องได แนวทางอาชีพที่ตน สนใจ
ต้งั ใจและรบั ผิดชอบ ถนดั และสนใจ
ในการปฏิบัตหิ นาท่ที ่ี
ไดรบั มอบหมายให ตั้งใจและรบั ผิดชอบ ตง้ั ใจและรับผิดชอบ
สําเรจ็ มีการปรบั ปรุง ในการปฏิบตั ิหนาท่ีที่ ในการปฏิบตั ิหนา ทท่ี ี่
และพัฒนาการทาํ งาน ไดรับมอบหมาย ให ไดร บั มอบหมาย
ใหด ีข้ึน สําเรจ็

แนวทางการขบั เคลื่อนโครงการจดั การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานเพ่อื การมีงานทาํ ในศตวรรษที่ 21 กลุมนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจดั การศกึ ษา สพม.2

๒๐

9. กจิ กรรมการเรยี นรู
1. สบื คน ขอมูลและสรุปองคความรู
2. ฝกปฏบิ ัตกิ ารเขยี นโครงการ PBL
3. ฝก ปฏบิ ัติการเพาะเห็ดนางฟา
4. ฝกปฏบิ ตั ิการจัดการผลผลติ

10. สอื่ และแหลง เรียนรู
1. ใบความรแู ละใบงาน
2. เห็ดนางฟา
3. วสั ดุ อุปกรณก ารเพาะเห็ดนางฟา

แนวทางการขบั เคลอ่ื นโครงการจัดการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานเพอื่ การมงี านทําในศตวรรษท่ี 21 กลุมนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา สพม.2

๒๑

แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ 1

หนวยท่ี 1 การเพาะเห็ดนางฟา เร่ือง การเพาะเห็ด
ชนั้ มธั ยมศึกษาปท ี่ 1 – 3 เวลาเรียน 2 ชวั่ โมง/คาบ

1. ผลการเรยี นรู

อธบิ ายหลักการกระบวนการเพาะเหด็ นางฟา โดยตระหนกั ถงึ การมีมาตรฐานความปลอดภัยในการทํางานและ
ใฝเ รียนรูดว ยทักษะการแสวงหาความรู

2. จดุ ประสงคก ารเรยี นรู

ดา นความรู (K)
- อธบิ ายความหมายความสาํ คญั และประโยชนข องเห็ดนางฟา
- อธิบายขั้นตอนการเพาะเห็ดนางฟาได
- อธบิ ายการแปรรูปผลผลติ เหด็ นางฟา ได

ดานทกั ษะ/กระบวนการ (P)
- ใชเทคโนโลยีเพื่อแสวงหาความรู

ดานเจตคติ/คุณลกั ษณะ (A)
- ตระหนกั ถึงการมมี าตรฐานความปลอดภัยในการทํางาน

3. สาระการเรียนรู

ดชั นีมวลกาย เปนคา ทอ่ี าศยั ความสมั พันธระหวา งนาํ้ หนกั ตัวและสว นสงู ซึ่งไดจ ากการวดั สวนสูงและชงั่
นํ้าหนกั เพอ่ื เปนตัวชวี้ ดั สภาวะความสมดลุ ของนํา้ หนกั รา งกาย โดยคํานวณไดจ ากการใชนา้ํ หนักตัวเปน กโิ ลกรมั
และหารดวยสว นสูงทีว่ ัดเปนเมตรยกกําลงั สองและนาํ ไปเทียบกบั คา มาตรฐานเพอ่ื ประเมนิ ภาวะสขุ ภาพ

4. สมรรถนะสําคญั ของผเู รยี น

- ความสามารถในการส่ือสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการแกปญหา
- ความสามารถในการใชทักษะชีวติ

5. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค

- ซ่ือสตั ยส ุจรติ
- มวี นิ ยั

แนวทางการขับเคลอื่ นโครงการจดั การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานเพอ่ื การมีงานทาํ ในศตวรรษที่ 21 กลุมนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจดั การศึกษา สพม.2

๒๒

- ใฝเรยี นรู
- มงุ ม่ันในการทาํ งาน
- มจี ติ สาธารณะ
6. สาระสาํ คัญ/ความคิดรวบยอด

เห็ดนางฟาเปนอาหารทางเลือกท่ีมีคุณคาทางอาหารสูงที่ผูบริโภคในปจจุบันมีความนิยมซื้อหาเพื่อนํามา
ประกอบอาหาร และสามารถเพาะปลูกดูแลกอนเชื้อที่เกษตรกรบมเพาะมาแลวไดงายข้ึน เพียงมีความรูความ
เขาใจขั้นตอนกระบวนการเพาะเลี้ยงและดูแล โดยคํานึงถึงดานสถานท่ีใหเหมาะสมในการวางกอนเช้ือ ดูแลรดน้าํ
ประกอบกับวิธีการเก็บผลผลิตเพื่อนาํ มาแปรรปู จึงจําเปนตองใฝเรียนรูดวยทักษะแสวงหาความรูจากแหลงตา งๆ
เพอื่ ประกอบการพิจารณาวิเคราะหว างแผนการทาํ งานอยางเปนขน้ั ตอนเพ่อื ใหไดผลผลิตทีส่ มบรู ณ
7. กระบวนการจดั การเรยี นรู

ขั้นนํา
- นกั เรยี นทดสอบกอนเรยี น
- นกั เรยี นแบง กลุม ๆ ละ 4 - 5 คน ใหได 8 กลุม แลวใหคิดผลิตภัณฑจ ากเห็ดนางฟาใหไดมากท่ีสดุ
ภายในเวลา 5 นาที กลุมไหนตอบไดม ากท่ีสดุ ครูมอบรางวัลใหก ลุมนัน้
ขั้นสอน
- นกั เรยี นกลุม ท่ี 1 -2 ศกึ ษา ใบความรู ท่ี 1 เร่อื ง เหด็ นางฟา
- นักเรยี นกลุมที่ 3 -4 ศกึ ษา ใบความรูที่ 2 เรื่อง การเขียนโครงการ(PBL)
- นกั เรยี นกลมุ ที่ 5 -6 ศกึ ษา ใบความรูที่ 3 เร่อื ง การเพาะเห็ดนางฟา
- นกั เรียนกลมุ ท่ี 7 -8 ศกึ ษา ใบความรูท่ี 4 เร่ือง การจัดการผลผลิต
- นกั เรยี นแตล ะกลุมศกึ ษาใบความรแู ลวเขยี นแผนผังมโนทัศนสรปุ องคค วามรทู ก่ี ลมุ ตนเองได
- นกั เรยี นแตล ะกลุมออกมานําเสนอองคค วามรทู ีก่ ลมุ ของตนเองได
- นักเรียนลงมือปฏิบัติตามข้ันตอนท่ีกําหนด โดยครูติดตามการปฏิบัติงานเปนระยะและใหคําแนะนํา
โดยใชแ หลง เรยี นรตู างๆ
ขนั้ สรปุ
- นกั เรยี นสรุปรายงานการปฏิบัติงาน
- นกั เรยี นทดสอบหลงั เรียน

8. วัสดุ อุปกรณ สอ่ื และแหลง เรียนรู

- เหด็ นางฟา
- ผลติ ภัณฑแ ปรรปู จากผลผลติ เห็ดนางฟา
- ใบงานและใบความรู
- แบบทดสอบกอน-หลังเรียน

แนวทางการขบั เคลื่อนโครงการจดั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐานเพื่อการมีงานทําในศตวรรษท่ี 21 กลมุ นเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจดั การศึกษา สพม.2

๒๓

9. การวัดและประเมนิ ผล

ส่งิ ท่ีตองการวัดและประเมินผล วิธวี ัด เครอื่ งมอื วดั เกณฑก ารประเมิน
ดา นความรู (K)
- หลักกระบวนการเพาะเหด็ การทดสอบ แบบทดสอบ ผลคะแนนตงั้ แต60%
ดา นทกั ษะ/กระบวนการ (P) ข้ึนไปถือวา ผา นเกณฑ
- ทําผังมโนทัศน
การตรวจผลงาน แบบประเมนิ ผลงาน เกณฑก ารประเมนิ
ตามสภาพจรงิ ตั้งแตระดบั ดี(2)ขน้ึ ไป
ถอื วาผานเกณฑ

ดานเจตคต/ิ คณุ ลกั ษณะ (A) การสงั เกต แบบสังเกต เกณฑก ารประเมิน
- ใฝเรยี นรู มุงมน่ั การทํางาน พฤติกรรมในการ พฤติกรรมในการ ต้ังแตระดับด(ี 2)ขึ้นไป
ทํางาน
ทาํ งาน ถอื วาผา นเกณฑ

10. บันทึกหลงั การจดั การเรยี นรู

....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
11. ความคดิ เหน็ ของผูบริหาร

....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

แนวทางการขบั เคลือ่ นโครงการจัดการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานเพือ่ การมีงานทําในศตวรรษที่ 21 กลุมนเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจดั การศึกษา สพม.2

๒๔

แผนการจดั การเรยี นรทู ่ี 2

หนวยท่ี 1 การเพาะเหด็ นางฟา เร่ือง โครงการเพาะเหด็ สูอาชีพ
ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 1 – 3 เวลาเรยี น 2 ชั่วโมง/คาบ

1. ผลการเรียนรู

วเิ คราะหว างแผนการทํางานการเพาะเห็ดสอู าชีพดวยความมงุ ม่ันในการทาํ งานตามหลกั ปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงได

2. จุดประสงคก ารเรียนรู

ดา นความรู (K)
- จําแนกแผนการทํางาน การเพาะเห็ดสอู าชีพ
- เขียนโครงการเพาะเห็ดสอู าชพี (PBL)

ดานทกั ษะ/กระบวนการ (P)

- ปฏิบตั ิงานโครงการเพาะเห็ดสอู าชพี (PBL)
ดา นเจตคต/ิ คณุ ลกั ษณะ (A)

- ทํางานดว ยความมงุ มัน่ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงได

3. สาระการเรียนรู

- กระบวนการเขียนโครงการเพาะเห็ดนางฟา 9 ขั้นตอน
- ข้นั ตอนการเพาะเห็ดนางฟา

4. สมรรถนะสาํ คญั ของผเู รยี น

- ความสามารถในการส่ือสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการแกปญ หา
- ความสามารถในการใชท กั ษะชวี ติ

5. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค

- ซื่อสตั ยส ุจริต
- มีวนิ ัย

แนวทางการขับเคลือ่ นโครงการจดั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐานเพื่อการมงี านทําในศตวรรษที่ 21 กลุมนเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศกึ ษา สพม.2

๒๕

- ใฝเรียนรู
- มุงม่ันในการทาํ งาน
- มีจิตสาธารณะ

6. สาระสําคัญ/ความคดิ รวบยอด
โครงการ “project” เปนแผนงานที่จัดทําขึ้นอยางรอบคอบ เปนระบบ พรอมกับมีแนวทางปฏิบัติ

เพื่อใหบรรลุวัตถปุ ระสงคต ามเปาหมายของแผนงานทไ่ี ดก ําหนดไว โดยใชท รพั ยากรในการดาํ เนินงานอยางคุมคา
มจี ดุ เริม่ ตน และจดุ สิ้นสดุ อยางชัดเจน มพี ้ืนทใี่ นการดาํ เนนิ งานและมบี ุคคลากร หรอื หนว ยงานรบั ผิดชอบ

7. กระบวนการจัดการเรยี นรู
ขนั้ นํา
- นักเรียนและครรู ว มทบทวนภาระงานทมี่ อบหมายในคาบเรียนทแี่ ลว โดยใชใบความรูท่ี 2 เรอ่ื ง การ

เขยี นโครงการ Project ใหนักเรียนตรวจสอบความสมบรู ณข องภาระงานกอ นสง เพื่อขออนุมตั ิโครงการ
ข้ันสอน
- นกั เรียนแตละกลุม สง โครงการเพื่อขออนมุ ตั ิดาํ เนนิ งาน
- นักเรียนวางแผนเตรียมวัสดุอุปกรณ สถานทใ่ี นการทําโครงการเพาะเหด็
- นักเรียนปฏิบัติโครงการตามแผนทกี่ าํ หนดไว ครูตดิ ตามการปฏิบัติงาน และใหคาํ แนะนาํ
ข้นั สรปุ
- รวมกันสรุปบันทึกรายงานการปฏิบัติงาน จดบันทึกแลกเปล่ียนขอคิดเห็นปญหาอปุ สรรคในการทํางาน

เพื่อนําไปเปนขอมูลในการนําเสนอผลการดําเนินงานและ เพ่ือสรุปการประเมินผลการปฏิบัติงานของกลุมใน
คาบเรยี นตอไป

- เสนอแนะใหนักเรยี นศึกษาขอมูลการจัดการผลผลิตและเพิ่มมูลคาของผลผลิตในรูปแบบตางๆ เชนการ
แปรรปู เหด็

8. วสั ดุ อปุ กรณ สือ่ และแหลงเรียนรู

- ใบงานท่ี 2 โครงการเพาะเห็ดสูอาชีพ( PBL)
- ใบความรู ที่ 2 เรอ่ื ง การเขยี นโครงการ (PBL)
- วสั ดุ อุปกรณการเพาะเหด็ นางฟา

แนวทางการขับเคลือ่ นโครงการจัดการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานเพอื่ การมงี านทําในศตวรรษท่ี 21 กลมุ นิเทศ ติดตามและประเมินผลการจดั การศึกษา สพม.2

๒๖

9. การวัดและประเมนิ ผล

ช้นิ งาน/ภาระงาน/รองรอยหลกั ฐาน วธิ วี ดั เครอื่ งมอื เกณฑ

โครงการเพาะเหด็ สูอ าชพี (PBL) ประเมนิ ผลตามสภาพ แบบประเมินผลตาม เกณฑการผานต้งั แตร ะดับ
จรงิ (Rubrics) สภาพจริง (Rubrics) คณุ ภาพดี (2)ข้นึ ไป

ใบงานท่ี 2 ตรวจผลงาน แบบประเมินผลงาน เกณฑก ารผานต้งั แตร ะดบั
ตามสภาพจรงิ คุณภาพดี (2)ขนึ้ ไป
โครงการเพาะเหด็ สอู าชพี ( PBL)

การใฝค วามรแู ละความมงุ มัน่ ใน ประเมนิ พฤติกรรมใน แบบประเมิน เกณฑการผานตัง้ แตระดบั
การทํางาน การทํางาน พฤติกรรมในการทาํ งาน คณุ ภาพดี (2)ขนึ้ ไป

10. บนั ทกึ หลังการจัดการเรยี นรู
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

11. ความคดิ เห็นของผบู รหิ าร
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

แนวทางการขับเคลือ่ นโครงการจัดการศกึ ษาขนั้ พื้นฐานเพอ่ื การมงี านทาํ ในศตวรรษท่ี 21 กลุมนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สพม.2

๒๗

หนว ยท่ี 1 การเพาะเห็ดนางฟา แผนการจดั การเรยี นรทู ่ี 3 เร่อื ง การเพาะเห็ดสูอาชพี
ชนั้ มธั ยมศึกษาปที่ 1 – 3 เวลาเรยี น 2 ชว่ั โมง/คาบ

1. ผลการเรียนรู
เพาะเห็ดนางฟา ตามขนั้ ตอนกระบวนการทํางาน ดวยทักษะการทํางานกลุม รวมกนั ได

2. จุดประสงคก ารเรยี นรู
ดา นความรู (K)
-ปฏิบัติการเพาะเหด็ นางฟาได
ดานทกั ษะ/กระบวนการ (P)
-ปฏบิ ัติดูแลเห็ดนางฟาได

3. สาระการเรยี นรู
- ขน้ั ตอนการเพาะเห็ดนางฟา
- ขนั้ ตอนการดแู ลเห็ดนางฟา

4. สมรรถนะทส่ี าํ คัญของผูเรยี น
- ความสามารถในการส่อื สาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการแกปญ หา
- ความสามารถในการใชทักษะชีวิต
- ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี

5. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค
- ใฝเรียนรู
- มงุ มน่ั ในการทํางาน
- อยูอ ยางพอเพยี ง

6. สาระสาํ คญั /ความคิดรวบยอด
การเพาะเห็ดนางฟา จําเปน ตอ งมขี ัน้ ตอนการเพาะเหด็ และดูแลรักษา ท่ีสาํ คญั คือการเตรยี มโรงเรือน การ

ทาํ กอนเชอื้ การหยอดเช้ือและบม เชื้อเหด็ การเกบ็ เก่ยี วและทราบปญหาท่ีพบในการเพาะเห็ด

แนวทางการขบั เคลือ่ นโครงการจัดการศึกษาขน้ั พื้นฐานเพอื่ การมีงานทาํ ในศตวรรษที่ 21 กลุมนเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจดั การศึกษา สพม.2

๒๘

7. กระบวนการเรียนรู
ขน้ั นํา
- ครแู จงจดุ ประสงคก ารเรยี นรู (Construction) ทบทวนความรูในใบความรทู ี่ 3 เรือ่ ง การเพาะและดแู ล

เหด็ นางฟา
ข้ันสอน
- (Participation) ใหน ักเรยี นแบง กลุม ๆละ 4 - 5 คน(กลมุ เดิม) แลว มอบหมายงานใหแตล ะกลมุ ศกึ ษา

ใบงานที่ 3 เรื่อง การเพาะเหด็ นางฟา
- (Process + Product)นกั เรยี นลงมือปฏิบัติตามข้ันตอน การเพาะเห็ดนางฟา ครตู ิดตามการปฏิบตั ิงาน

และใหค าํ แนะนํา
ข้ันสรุป

- (Interaction) รวมกันอภปิ รายสรุปบนั ทกึ รายงานการปฏบิ ัติงาน จดบนั ทึกแลกเปลย่ี นขอคิดเหน็
ปญหาอปุ สรรคในการทํางานเพอื่ นาํ ไปเปน ขอ มูลในการนาํ เสนอผลการดาํ เนนิ งานและ เพื่อสรปุ การ ประเมนิ ผล
การปฏิบตั ิงาน

- (Application) เสนอแนะใหนักเรียนหม่นั ดแู ลผลผลิตและบันทกึ ปญ หาท่ีอาจเกิดข้นึ กบั กอนเช้ือเห็ดของ
ตนเอง เพอื่ นํามาแกไขพัฒนางาน

8. สอื่ การเรยี นรู
- ใบความรูที่ 3 เรื่องการเพาะเหด็
- ใบงานท่ี 3 เรอ่ื ง การเพาะเห็ด

9. การวัดและประเมินผล วธิ วี ดั เครือ่ งมอื เกณฑ
ผลการเรียนการเรียน ถาม-ตอบ คําถาม ผา น-ไมผา น
(K:Knowledge)
ตรวจผลงาน แบบประเมินผลงานตาม เกณฑก ารประเมนิ
หลกั กระบวนการเพาะเหด็ สภาพจรงิ ตงั้ แตระดับด(ี 2)ข้ึนไป
นางฟา ตามมาตรฐานความ
ถือวาผานเกณฑ
ปลอดภัยในการทํางาน สังเกตพฤติกรรมใน แบบสงั เกตพฤติกรรมใน เกณฑก ารประเมิน
(P:Process) กรทาํ งาน การทาํ งาน ตัง้ แตร ะดบั ดี(2)ข้นึ ไป
การเพาะเห็ด
ถอื วา ผา นเกณฑ
คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค
(A:Affective)

ใฝเรียนรู มงุ มัน่ การทาํ งาน

แนวทางการขับเคลอ่ื นโครงการจดั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐานเพ่ือการมีงานทําในศตวรรษที่ 21 กลมุ นเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศกึ ษา สพม.2

๒๙

10. บันทึกหลังการจดั การเรยี นรู
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
11. ความคิดเห็นของผูบรหิ าร
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

แนวทางการขบั เคลือ่ นโครงการจดั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานเพ่ือการมงี านทาํ ในศตวรรษท่ี 21 กลุมนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การศึกษา สพม.2

แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ 4 ๓๐

หนว ยท่ี 1 การเพาะเห็ดนางฟา เรอ่ื ง การจัดการผลผลิต
ช้นั มัธยมศึกษาปท ี่ 1 – 3 เวลาเรียน 2 ชั่วโมง/คาบ

1. ผลการเรียนรู

จําหนายผลผลติ เห็ดนางฟา ดว ยทักษะกระบวนการการจดั การผลผลิต

2. จดุ ประสงคการเรียนรู

ดานความรู (K)
- การเกบ็ ผลผลิตเห็ดฟา สด
- การทาํ บัญชรี ายรบั -รายจาย

ดา นทกั ษะ/กระบวนการ (P)

- จดั การเก็บผลผลิตเห็ดฟาสดไดถ ูกวธิ ี
- จาํ หนายผลผลติ เหด็ นางฟา ดวยทกั ษะกระบวนการจัดการ
- จดั ทําบญั ชรี ายรับ-รายจาย และสรุปผลการดาํ เนินงานโครงการ
ดานเจตคต/ิ คณุ ลักษณะ (A)
- ทาํ งานดวยความมุง ม่ันตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงได

3. สาระการเรียนรู

- การเกบ็ ผลผลิตเห็ดฟา สดไดถ กู วิธี
- การจําหนา ยผลผลิตเหด็ นางฟาดว ยทกั ษะกระบวนการจดั การ
- การจัดทําบัญชรี ายรับ-รายจา ย และสรุปผลการดําเนินงานโครงการ

4. สมรรถนะสําคัญของผูเรยี น

- ความสามารถในการส่ือสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการแกปญ หา
- ความสามารถในการใชท กั ษะชวี ติ

แนวทางการขบั เคลอื่ นโครงการจดั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐานเพ่ือการมีงานทําในศตวรรษที่ 21 กลมุ นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศกึ ษา สพม.2

๓๑

5. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค

- ซ่ือสตั ยส ุจรติ
- มีวินัย
- ใฝเรยี นรู
- มุง มนั่ ในการทํางาน
- มจี ติ สาธารณะ

6. สาระสาํ คญั /ความคิดรวบยอด
การจัดการผลผลติ เปน ส่ิงทจ่ี ะตอ งคาํ นงึ ถึงการใชว ิทยาการหลงั การเกบ็ เก่ยี วทเี่ หมาะสมกับผลผลิตแตละ

ชนดิ ซึ่งรวมถงึ การจดั การการตลาด ท่ีเปนการดาํ เนินกจิ กรรมตาง ๆ ดา นธรุ กิจ ซึ่งจะตองมกี ารวางแผนการผลิต
การจดบันทึก คํานวณคาใชจาย การกําหนดราคาขายและ การจัดจําหนาย ตลอดจนการดําเนินกิจการทุกอยาง
เพ่ือสนองความตองการ และบริการใหแกผูซ้ือหรือผูบริโภคพอใจ ทั้งในเร่ืองราคาและบริการโดยยึดหลักการมี
คณุ ธรรมของผปู ระกอบการทด่ี ี

7. กระบวนการจัดการเรยี นรู
ข้ันนาํ
- นกั เรยี นและครรู วมทบทวนความรใู นใบความรูที่ 4 เร่อื งการจัดการผลผลิต
ขนั้ สอน
- นกั เรียนแบงกลุมๆ ละ 4 - 5 คน(กลุมเดิม) แลว มอบหมายงานใหแตละกลุม ศกึ ษาใบงานท่ี 4 เรื่อง

การจัดการผลผลิต แลวชว ยกนั สรุปขัน้ ตอนวธิ ีการทาํ งาน
- นกั เรียนลงมอื ปฏิบตั ิตามขั้นตอน ตามแผนโครงการ ครตู ิดตามการปฏบิ ัติงาน และใหคําแนะนํา
ขน้ั สรปุ
- นักเรียนรวมกันอภิปรายสรุปบันทึกรายงานการปฏิบัติงาน จดบันทึกแลกเปลี่ยนขอคิดเห็นปญหา

อุปสรรคในการทํางานเพ่ือนําไปเปนขอมูลในการนําเสนอผลการดําเนินงานและ เพื่อสรุปการ ประเมินผล
การปฏิบตั ิงาน

- นักเรยี นนาํ ผลผลิตของตนเองออกจําหนา ย เพือ่ เพิ่มรายไดใ หแกตนเองและชวยแบง เบาภาระผูปกครอง

8. วสั ดุ อปุ กรณ ส่ือ และแหลง เรียนรู
- ใบความรูที่ 4 เรื่อง การจดั การผลผลิต
- ใบงานที่ 4 เร่ือง การจดั การผลผลติ

แนวทางการขับเคล่ือนโครงการจดั การศึกษาขนั้ พื้นฐานเพอ่ื การมงี านทาํ ในศตวรรษที่ 21 กลมุ นเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศกึ ษา สพม.2

9. การวัดและประเมินผล วธิ วี ัด เคร่อื งมอื ๓๒
ผลการเรียนการเรยี น ถาม-ตอบ คาํ ถาม
(K:Knowledge) เกณฑ
ตรวจผลงาน ผา น-ไมผ า น
หลักกระบวนการจดั การผลผลติ
เพาะเหด็ นางฟา แบบประเมนิ ผลงานตาม เกณฑการประเมิน
(P:Process) สภาพจริง ตั้งแตร ะดับด(ี 2)ขนึ้ ไป
การจดั การผลผลิต
ถอื วาผา นเกณฑ

คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค สงั เกตพฤติกรรมใน แบบสงั เกตพฤตกิ รรมใน เกณฑก ารประเมนิ
(A:Affective) กรทาํ งาน การทาํ งาน ตัง้ แตร ะดบั ดี(2)ขน้ึ ไป

ใฝเรยี นรู มุงมั่นการทาํ งาน ถือวา ผานเกณฑ

10. บันทกึ หลังการจัดการเรยี นรู
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

11. ความคดิ เหน็ ของผูบริหาร
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

แนวทางการขบั เคลือ่ นโครงการจัดการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานเพ่ือการมงี านทําในศตวรรษท่ี 21 กลุมนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สพม.2

๓๓

ใบความรทู ่ี 1
เรื่องเหด็ นางฟา

"เหด็ นางฟา" เปนชื่อที่เรียกในประเทศไทย แตบ างคนกเ็ รยี กเห็ดชนดิ นี้วา "เห็ดแขก" ทีเ่ ปนเชนนั้นเพราะมีถ่นิ
กําเนิดมาจากเทือกเขาหิมาลัย ในประเทศอินเดยี มกั พบบนตอไมเ นือ้ ออนที่กาํ ลงั ผุ เปนเห็ดท่ีขน้ึ ตามธรรมชาติ

ลกั ษณะของดอกเห็ดนางฟา คลา ยกบั ดอกเห็ดเปา ฮื้อ และดอกเหด็ นางรม เพยี งแตสีของขอบดอกเห็ด
นางฟา จะมีสอี อน และบางกวาเหด็ นางรม และมกี านทอี่ ยูตรงกลางดอกมากกวาดอกเปาฮื้อ

การออกดอกของเห็ดนางฟา จะออกเปน กระจุกแนน มกี านดอกส้นั มสี ขี าวเมอ่ื ตอนเปนดอกเห็ดออน
และมสี ขี าวอมนํา้ ตาลออน เมื่อเติบโตเปน ดอกเห็ดแก จัดเปน เหด็ ท่มี ีเสนใยคอนขา งละเอยี ดเลยทีเดียว

แนวทางการขับเคลื่อนโครงการจดั การศึกษาขนั้ พื้นฐานเพือ่ การมงี านทาํ ในศตวรรษท่ี 21 กลุมนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจดั การศกึ ษา สพม.2

๓๔

"เหด็ นางฟา " พืชเศรษฐกจิ ตอบรับกระแสรักษสุขภาพ
เหด็ นางฟา จัดเปนพชื / เหด็ เศรษฐกิจ ทาํ รายไดใ หแกผ ปู ลูกเปน อยา งมาก เปนเห็ดท่ีเพาะไดง าย มรี ะยะเวลา
เติบโตเร็ว ออกดอกเห็ดเปนจาํ นวนมาก อกี ท้ังใชเงินลงทนุ ไมส งู การคนื ทนุ จงึ รวดเร็ว จึงคุมคา แกการลงทนุ เปน
อยา งย่งิ

สวนในดานของความนยิ ม เหด็ นางฟา สามารถนาํ มาปรุงอาหารไดหลากหลายชนิด ทั้งยํา ตม ผดั หรอื แมแ ตเ ปน
เครอ่ื งเคียงในเมนแู กงตางๆ อีกทั้งนําไปแปรรูปเปน เห็ดอบแหง ปรงุ รสตางๆ ไดต ามใจชอบ จงึ ไมแปลกใจทเี่ ห็ด
นางฟา จะเปนเหด็ โปรดของคนทวั่ ไป โดยเฉพาะคนรกั ษส ขุ ภาพ เพราะเจาเห็ดนางฟามสี รรพคุณดี มีประโยชนต อ
รา งกายมากอยา งคาดไมถึงกันเลยทเี ดยี ว

“เหด็ นางฟา ” นามเพราะ สรรพคณุ เปน ยา มีคุณคาทางสารอาหาร
เห็ดนางฟา น้ันจดั อยูใ นกลมุ เดียวกับเห็ดนางรมและเหด็ เปา ฮื้อ เพราะมลี ักษณะคลา ยๆ กัน แถมเปน เหด็ ทีม่ รี าคา
ไมแพงและมีขายอยทู ่วั ไป หลายคนอาจชอบกนิ เพราะมีรสชาตทิ ี่อรอ ยและถกู ปากแลว ยงั มีคุณสมบัตเิ ปนยา
สมุนไพรอนั หลากหลายในการชวยรักษารางกายใหหายจากโรคภัยตา งๆ อกี ดวย

เห็ดนางฟามสี รรพคุณเดน คอื ชว ยในการไหลเวียนของเลอื ด สามารถบรรเทาและปองกันโรคหวดั หากกนิ เปน
ประจาํ จะทาํ ใหระบบภูมิคมุ กนั สมบูรณแข็งแรงสงผลใหการตดิ เชอ้ื ตางๆ ลดลง รกั ษาโรคเลือดออกตามไรฟนหรอื
โรคในชองปาก นอกจากน้ชี วยลดโอกาสการเกิดโรคมะเรง็ และลดไขมันในเลอื ดไดเปนอยา งดี

ในดานของคณุ คา ทางสารอาหารนนั้ กม็ ีมากกวาผักบางชนดิ ดว ยซํ้า เหด็ นางฟา 100 กรัม มพี ลงั งานถงึ 33 กโิ ล
แคลอรี นํ้า 90 กรัม รวมทง้ั อุดมไปดวยไขมัน เสนใยอาหาร โปรตีน คารโบไฮเดรต แรธ าตุตา งๆ อยางแคลเซียม
เหล็ก ฟอสฟอรัส ไนอาซิน หรอื วิตามนิ จาํ พวกวติ ามนิ บี วิตามินซี เปนตน

แนวทางการขบั เคลือ่ นโครงการจดั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานเพ่ือการมงี านทําในศตวรรษที่ 21 กลุมนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษา สพม.2

๓๕

11 สรรพคณุ ของเหด็ นางฟา ประโยชนในการรักษาโรค
1. ประโยชนข องเห็ดนางฟา มวี ติ ามนิ อยูหลายชนิด แตวิตามนิ ซเี ปน วติ ามนิ ท่ีมีสูงมาก ดังนน้ั เห็ดนางฟา จงึ มีสวน
ชว ยในการปองกันโรคหวดั หรืออาการเกี่ยวกับไขห วัดไดด ี และชว ยปอ งกนั อาการเลือดออกตามไรฟน และโรค
เหงอื กไดดีอกี ดว ย

2. เหด็ นางฟา มปี ระสทิ ธิภาพในการตอ ตา นอนุมูลอิสระและตา นทานการเกิดโรคมะเรง็ เนอ่ื งจากเห็ดนางฟา เปน
แหลง รวมของแรธาตทุ ่ีสาํ คญั ตอรา งกายอยาง ซลี เี นยี ม และมีสารสาํ คญั ชื่อวา อลั ฟากลูแคน ซึ่งจะชวยปอ งกัน
ไมใหเ ซลลถูกทําลายจนกลายเปน เนือ้ รา ยไดเ ปน อยา งดี

3. สรรพคณุ เห็ดนางฟาชว ยลดความเส่ียงการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจอดุ ตนั ลดน้ําตาลในเลือด ลดระดบั ของ
คอเลสเตอรอลและไขมันในเลือดลงใหอ ยูในระดบั ปกติได

4. เห็ดนางฟา มีสารอาหารอยา งโปรตีนสูงกวาเนือ้ สตั ว จึงมีคุณสมบัติในการชว ยซอมแซมสวนทีส่ ึกหรอตา งๆ ของ
รางกาย แถมยงั มีรสชาติคลายเน้ือสัตวและไมเหนยี วดว ย ทําใหเปน ผลดตี อ ระบบยอยอาหารไมต อ งทาํ งานหนกั

5. ประโยชนของเหด็ นางฟาชวยบํารุงหวั ใจและสวนตางๆ ที่เก่ียวขอ งกับหวั ใจ ทําใหหัวใจทํางานไดดขี ึน้ เนอ่ื งจาก
ในเหด็ นางฟาเปน แหลง ของโพแทสเซยี มดวย ซึง่ มีสว นชวยใหก ารเตนของหวั ใจเปนปกติ ทาํ ใหนํ้าในรา งกายมคี วาม
สมดลุ กลา มเนอ้ื และระบบประสาทในรา งกายทาํ งานไดอ ยางมีประสิทธิภาพ และการไหลเวียนของเลือดกด็ ตี ามไป
ดวย

6. เห็ดนางฟามีคุณสมบัติในการสรางเสริมและกระตนุ การทาํ งานของภมู คิ ุมกันในรา งกายใหแข็งแรง ชวยลดความ
เสีย่ งท่ีจะเกิดโรคหรืออาการเจ็บปวยตางๆ และปองกนั เช้ือโรคไมใ หเ ขามาภายในรา งกายไดง าย

7. เหด็ นางฟา ยังเปนแหลง รวมของวิตามินและกรดอะมโิ นทีจ่ าํ เปนหลายชนิด โดยเฉพาะวติ ามินรวมหรอื ไรโบฟ
ลาวินและไนอาซนิ ซึ่งมีหนาทส่ี าํ คัญในการควบคุมการทํางานของระบบยอ ยอาหาร ปองกนั และรักษาโรคกระเพาะ
อาหาร

8. ประโยชนเห็ดนางฟาทานเพื่อควบคุมนํ้าหนักได เห็ดนางฟาน้นั เหมาะกับกลมุ คนทีต่ อ งการลดนาํ้ หนักหรือ
ควบคมุ นํา้ หนัก เพราะนอกจากจะมโี ปรตนี สูงแลว ยงั อุดมไปดวยเสนใยอาหารอยมู าก

แนวทางการขบั เคล่ือนโครงการจัดการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานเพื่อการมงี านทาํ ในศตวรรษท่ี 21 กลมุ นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจดั การศกึ ษา สพม.2

๓๖

9. สรรพคุณเห็ดนางฟาชวยปรบั ลดความดัน เห็ดนางฟามีคณุ สมบัติเดนอีกขอ คอื ชวยปรบั สภาพความดนั โลหิตให
อยใู นภาวะปกตไิ ดด ี มีความสามารถชวยลดความดันโลหิตสูงได และยงั ชว ยปรบั ความเขมขน ของไขมันในเลือดไดด ี
อกี ดว ย

10. เห็ดนางฟา มีสรรพคุณชว ยลดอาการอักเสบตางๆ ในรา งกายไดดี

11. ประโยชนเ ห็ดนางฟา ชวยบาํ รุงระบบและเซลลประสาท ปองกันการเกิดอาการของโรคอลั ไซเมอรใ หนอยลง

จะเหน็ ไดชัดเจนวา เหด็ นางฟา นนั้ มีสรรพคณุ เปนยาทีช่ ว ยในการปอ งกนั และรกั ษาโรคตางๆ ไดอยา งดี
เยี่ยม หากไดก ินเปนประจํากเ็ ช่ือวา เห็ดนางฟา จะชว ยดูแลสขุ ภาพของเราไดเ ปน อยางดี ซ่ึงปจจุบนั ก็มวี างขายอยู
ทัว่ ไป ราคากถ็ ูกดวย และจะนํามาใชประกอบการอาหารก็ไดหลากหลาย อาทิ ตม ยํา ชุบแปงทอด ผัดผัก และยาํ ...
เห็ดนางฟาจงึ ถือเปนทงั้ อาหารและยาท่ีเราทกุ คนไมค วรพลาดจรงิ ๆ

อางอิงจาก goo.gl/j8Aigq

แนวทางการขบั เคลอ่ื นโครงการจดั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐานเพื่อการมงี านทําในศตวรรษที่ 21 กลมุ นเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจดั การศึกษา สพม.2

๓๗

ใบความรทู ่ี 2
เรื่อง การเขยี นโครงการ(Project)

ข้นั ตอนการทาํ โครงการ มีดังน้ี
1.ชื่อโครงการ ตอ งเปน ชื่อทีเ่ หมาะสม ชัดเจน ดึงดดู ความสนใจ และเฉพาะเจาะจงวา จะทําอะไร
2.หลักการและเหตุผล เปนการแสดงถงึ ปญ หาความจําเปน ผูเ ขยี นโครงการตอ งพยายามหาเหตุผลตางๆเพื่อ
แสดงใหผูพิจารณาโครงการเหน็ ความจําเปน และความสําคัญของโครงการ เพ่อื ท่จี ะสนับสนนุ ตอ ไป
3.วตั ถุประสงค/ เปาหมาย เปนการแสดงถึงความตอ งการท่ีจะกระทาํ ส่งิ ใดสง่ิ หนงึ่ การเขียนวัตถปุ ระสงคตอง
เขียนใหตรงกบั ปญ หาวา ระบไุ วเพื่อแสดงใหเห็นถงึ จุดมุงหมายที่จะแกป ญ หาน้นั ๆและตอ งกําหนดวัตถปุ ระสงคใ น
สงิ่ ทเี่ ปน ไปได สามารถวดั ได
4.วิธดี ําเนินการ แสดงขน้ั ตอนภารกิจที่จะตอ งทําใหก ารดาํ เนนิ งานตามโครงการและระยะเวลาในการปฏิบัติแต
ละข้ันตอน เพอื่ เปนแนวทางในการพจิ ารณาความเปนไปไดข องโครงการ
5.ระยะเวลาและสถานที่ดําเนนิ การ เปนการระบเุ วลาท่ีเริม่ ตน และส้ินสุดโครงการและสถานท่ีทจ่ี ะทําโครงการ
เพ่อื สะดวกในการพจิ ารณาและตดิ ตามผลของโครงการ
6.งบประมาณ แสดงยอดรวมงบประมาณทัง้ หมดที่ใชในการดําเนินโครงการแหลง ทมี่ าและแยกรายละเอยี ด
คา ใชจายทชี่ ัดเจนวาเปน คาใชจายอะไรบา ง
7.ผรู ับผดิ ชอบโครงการ ตองระบุชื่อผูที่ทําโครงการ
8.ผลทค่ี าดวาจะไดร ับ เปน การระบปุ ระโยชนท่ีคิดวาจะไดจ ากความสาํ เร็จเม่ือส้นิ สุดโครงการ เปนการระบุวา
ใครจะไดรบั ผลประโยชนแ ละผลกระทบหรือมีการเปลย่ี นแปลงในเรือ่ งอะไรทัง้ เชงิ คุณภาพและปริมาณและตอ ง
สอดคลอ งกบั วตั ถุประสงค
9.การประเมนิ ผลโครงการ เปนการระบุวา หากไดมีการดาํ เนนิ โครงการแลว จะมกี ารตดิ ตามดูผลไดอ ยา งไร
เมอื่ ใด

แนวทางการขบั เคลอ่ื นโครงการจัดการศึกษาขน้ั พ้นื ฐานเพื่อการมีงานทาํ ในศตวรรษท่ี 21 กลมุ นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศกึ ษา สพม.2

๓๘

ใบความรทู ่ี 3
เรื่องการเพาะเหด็ นางฟา

ขนั้ ตอนการเพาะเหด็ นางฟา
ข้นั ตอนท่ี 1 การเตรียมโรงเรือนสําหรับเพาะเหด็ นางฟา

การเตรียมโรงเรือนสําหรับเพาะเห็ดนางฟา
สําหรับโรงเรอื นเพาะเห็ดนางฟา นนั้ ควรมขี นาด 2 x 15 x 2 (กวาง x ยาว x สูง) เมตร ซ่งึ จะวางกอ นเชือ้
เหด็ นางรม และเห็ดนางฟา ไดประมาณ 4,000 กอน โรงเรือนควรเปน แบบทส่ี รางงา ย ลงทนุ นอ ย และวสั ดทุ จี่ ะ
นํามาสรา งเปน โรงเรอื นนน้ั จะตอ งหางา ยทีม่ ีอยใู นทอ งถน่ิ เปนวัสดทุ ่มี าจากธรรมชาติ เชน ฟาง, หญา แฝก, ไมไผ
เปน ตน สาํ หรับการสรางโรงเรือนใหเ หมาะสมนัน้ ควรสรา งในทเ่ี ยน็ ชื้นและสะอาดปราศจากศตั รูของเห็ดที่จะเขามา
รบกวน หลังคามงุ จากหรอื แฝก แลวคลมุ ทบั ดวยสะแลนอกี 1 ช้ิน การคลมุ หลงั คาขึ้นอยกู บั ชนดิ ของเห็ดดว ย เพ่อื
ปองกนั ลม ลมแรง ลมคอย ลมหนาว ลมแหง แลง สภาพลม สภาพอากาศ มผี ลกระทบตอการออกดอกของเห็ดได
เชนเดียวกัน ปด ประตูดวยกระสอบปา นหรอื แผนยาง ปพู นื้ ดวยทราย เพอื่ เกบ็ ความชื้น ทิศทางลม กอมสี ว นสาํ คัญ
ในการโรงเพาะเห็ด ตองดทู ศิ ทางของลมเหนอื ลมใต เพอ่ื ปองกนั การพัดพาเชื้อโรค ที่จะมีผลตอ กอนเห็ด และการ
ออกดอกของเหด็

แนวทางการขับเคล่ือนโครงการจัดการศึกษาขน้ั พื้นฐานเพื่อการมีงานทําในศตวรรษที่ 21 กลุมนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจดั การศึกษา สพม.2

๓๙

การสรา งโรงเรอื นเพาะเห็ดนางฟา ขนาด 2 x 15 x 2 มที ั้งหมด 4 ดา นดว ยกัน ซึ่งแตละดานสามารถเกบ็ กอนเช้อื
เห็ดนางรม และเห็ดนางฟาไดถ ึง 1,000 กอน ซงึ่ การทําโรงเรือนในลกั ษณะน้ี ใชพนื้ ท่รี วมแลว แคประมาณ 60
ตารางเมตรเทา นั้น วสั ดุในการทํางานกใ็ ชท ่ีมอี ยูตามธรรมชาติ เชน ไมไ ผ ไมย คู า หรอื อ่ืน ๆ ตวั เสากอ็ าจจะใชไมท่ี
มีขนาดใหญเ พือ่ ความแข็งแรงของโรงเรือน หลงั คาก็ใชห ญา แฝก ซง่ึ เปน วัสดทุ เี่ หมาะกับการทาํ โรงเรือนเปนอยา งดี
เนอ่ื งจากสามารถกกั เก็บความรอนช้ืนไดดี เปนภูมอิ ากาศทเ่ี หด็ นางรม และเหด็ นางฟา ชอบ
ขน้ั ตอนที่ 2 การทํากอ นเชอ้ื เพาะเห็ดนางฟา

วิธกี ารทํากอนเช้อื เพาะเหด็ นางรม และเหด็ นางฟา
การทํากอนเช้อื เพาะเห็ดนางฟานัน้ จําเปนตองหาวสั ดุอปุ กรณท่ตี อ งเตรยี มดงั นี้ ไดแ กข ี้เลอื่ ยยางพาราหรือข้ี

เลื่อยไมเ นื้อออน แตในทางปฏิบัตนิ ั้นขเ้ี ล่อื ยยางพาราจะใหผ ลดที ่ีสุด จากนนั้ ก็หาสวนผสมตางๆเพือ่ ใหไ ดค ุณคาทาง
อาหารมากยิ่งขน้ึ และสตู รการทํากอ นเชือ้ เห็ดนางรม และเห็ดนางฟามสี วนผสมหลกั ๆดังนี้

แนวทางการขับเคลื่อนโครงการจัดการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานเพ่อื การมงี านทาํ ในศตวรรษท่ี 21 กลุมนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การศึกษา สพม.2

๔๐

- ข้ีเลอ่ื ยยางพาราแหง สนิท 100 กิโลกรมั
- ราํ ละเอียด 6 – 8 กโิ ลกรมั
- ขา วโพดปน 3 – 5 กโิ ลกรัม
- ปนู ยบิ ซัม 1 กิโลกรมั
- หนิ ปนู หรือผงชอลก 1 กโิ ลกรมั
- ดเี กลอื 0.2 กิโลกรัม
- น้ํา 80 กิโลกรมั
- EM 1 ลิตร
เมื่อหาสว นผสมมาครบแลว กท็ ําการตากและกองขี้เลื่อยยางพาราไวประมาณ 7 วนั จากน้นั คอยทําการผสม
โดยการเติมนํา้ ลงประมาณ 70 เปอรเซนต ทดสอบโดยการกําสวนผสมถา มนี าํ้ ซึมตามงามมอื แสดงวาการผสมน้ี
ผสมนํา้ มากเกินไปแตถ า เม่อื บบี แลวข้ีเล่ือยแตกเปน 3 กอนแสดงวาการผสมใชไ ดเ รียกวาพอดีแลวแตถาวาถา กํา
แลวแบมอื ออกแลวข้ีเลื่อยจับตวั ไมเ ปนกอนแสดงวาเติมน้ํานอยจนเกนิ ไป เมือ่ ผสมเขากันไดทแี่ ลว ก็ทําการกรอกใส
ถงุ เพาะเห็ด ใสใหไดน ํ้าหนกั ประมาณ 800 – 900 กรมั หลงั จากนน้ั กท็ ําการรวบปากถุงกระทงุ กับพืน้ ใหแนน
พอประมาณหลังจากน้นั กท็ ําการใสคอขวด
ข้ันตอนที่ 3 การหยอดเชือ้ และบม เช้อื เห็ดนางฟา
การหยอดเชือ้ และบม เช้ือเห็ดนางฟา
เมื่อทาํ กอ นเช้ือเสรจ็ แลว เราก็จะนํากอ นเช้ือทไ่ี ดทาํ การหยอดเชือ้ และบม เชอ้ื เหด็ นางรม และเหด็ นางฟา
ตามลาํ ดับ โดยกอ นอน่ื กอนเชื้อทไ่ี ดน นั้ เรากจ็ ะนาํ มาทาํ การน่งึ เพ่ือฆาเชอ้ื ถามีหมอ นึ่งความดันอยแู ลว กใ็ หน งึ่ ท่ี
ความดัน 25 ปอนดต อตารางนวิ้ โดยทาํ การนึง่ ทร่ี ะยะเวลาประมาณ 1 – 2 ชัว่ โมง ถา ไมม หี มอนึ่งความดนั อาจใช
หมอ นงึ่ จากถังนาํ้ มัน 200 ลิตร แทนก็ได แตจะตองทาํ การนึง่ ประมาณ 3 คร้งั โดยทาํ การนง่ึ ทีอ่ ุณหภูมิ 100
อาศาเซลเซียส น่ึงท่ีระยะเวลาประมาณ 2-3 ชว่ั โมง และทาํ การนง่ึ ทัง้ หมด 3 คร้งั เมื่อผานขัน้ ตอนการนึ่งฆา เช้อื
เรียบรอ ยแลว เรากจ็ ะทําการหยอดเชือ้ เหด็ ลงสกู อนเชื้อ เช้ือเห็ดจากเมล็ดขาวฟา งควรหยอดเชือ้ ลงประมาณ 20
– 25 เมลด็ เมื่อหยอดเชอื้ ลงสกู อ นเชอื้ เหด็ เสร็จแลว ใหท ําการปด ปากถุงกอ นเช้อื ใหเรยี บรอ ย หลงั จากทําการ
หยอดเชือ้ ลงในกอนเช้อื เสรจ็ เราก็จะทาํ การบมเชื้อเหด็ ในอกี ข้นั ตอนหนง่ึ โดยการบมเชอ้ื นัน้ ตองนํากอนไปบม ไวท ี่
ระยะเวลาประมาณ 20-25 วนั กรรมวธิ ีการบมกไ็ มยุง ยากอะไร เพยี งแตต อ งเก็บใหเปน ระเบียบ ไมถกู แดด ไมถ กู
ฝน ลมไมโ กรกไมมแี มลง ไมม หี นู อากาศถา ยเทไดสะดวก

แนวทางการขับเคลือ่ นโครงการจัดการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานเพอื่ การมีงานทําในศตวรรษท่ี 21 กลุมนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจดั การศึกษา สพม.2

๔๑

ขน้ั ตอนท่ี 4 การเกบ็ เก่ียวผลผลิตเหด็ นางฟา
การเกบ็ เกย่ี วผลผลิตเหด็ นางรม และเห็ดนางฟา

หลงั จากที่ไดเราทาํ การบมเชอ้ื เห็ดนางรม และเห็ดนางฟา เรียบรอ ยแลว กเ็ ปน ชวงระยะเวลาของการเปด
ดอกและทาํ การเก็บเกี่ยวผลผลิตเหด็ นางรม และเหด็ นางฟาจะออกดอกเมอื่ มีความชื้นสูงพออากาศไมรอ นมาก
เมือ่ ถูกเหนี่ยวนําดว ยอากาศเย็นตอนกลางคืนก็จะออกดอกไดด ี เทคนิคทท่ี ําใหอ อกดอกสมํ่าเสมอและดอกใหญ
สามารถทําไดด ังน้ี เม่อื เก็บดอกเสร็จตองทําความสะอาดหนากอนเชื้อโดยเขีย่ เศษเห็ดออกใหหมด งดใหน ํา้ สกั 3
วัน เพอ่ื ใหเชื้อฟกตัวแลวกก็ ลับมาใหนํา้ อกี ตามปกตเิ ห็ดกจ็ ะเกิดเยอะเหมอื นเดิมหรอื เมอ่ื เก็บดอกเห็ดเสรจ็ ก็ทํา
ความสะอาดหนากอ นเชอ้ื เหมือนเดมิ แลวรดั ปากถุงไมใ หอากาศเขาทิง้ ระยะเวลาประมาณ 2 – 3 วัน ใหน าํ้ ปกติ
หลังจากนัน้ กเ็ ปด ปากถงุ ก็จะเกดิ ดอกที่สมา่ํ เสมอเปนการเหนี่ยวนาํ ใหออกดอกพรอมกนั เม่ือเหด็ ออกดอกและบาน
จนไดข นาดท่ีตองการแลว ใหเก็บดอกโดยจับท่ีโคนดอกทงั้ ชอ โยกซา ยขวา-บนลา ง แลว ดึงออกจากถงุ เห็ด ระวงั
อยา ใหป ากถุงเห็ดบาน ถาดอกเห็นโคนขาดติดอยูใหแคะออกทงิ้ ใหสะอาดเพ่อื ปอ งกนั การเนาเสีย เปนสาเหตุทําให
เกิดหนอนจากการวางไขข องแมลงได การดูลกั ษณะดอกเหด็ ท่ีควรเก็บ คือดอกไมแก หรือออ นจนเกินไป ดูทข่ี อบ
ดอกยงั งุม อยคู ือดอกทเ่ี หมาะแกก ารเกบ็ เกีย่ ว ถาขอบยกขนึ้ แสดงวาแกแ ลว ดอกเห็ดท่ีแกจ ดั และออกสปอรเ ปน ผง
ขาวดา นหลงั ดอกเหด็ ตองรีบเก็บออก เพราะสปอรจะเปน ตัวชักนาํ ใหแมลงเขา มาในโรงเรือนเพาะเห็ดนางรม และ
เหด็ นางฟา ได
ข้ันตอนท่ี 5 ปญ หาทพี่ บในการเพาะเหด็ นางฟา
ปญหาทพี่ บในการเพาะเห็ดนางรม และเห็ดนางฟา
เราสามารถวิเคราะหป ญหาในการเพาะเหด็ นางรม และเหด็ นางฟา ออกมาได 7 ขอ หลัก ๆ ดังนี้

1. เชอ้ื ในถงุ ไมเดิน
สาเหตุ ขณะหยอดเชอื้ ถงุ กอนเชอ้ื รอ นเกิน เชอื้ ออนแอเกินไป และลืมหยอดเชอื้
วิธแี กไข ตั้งกอนเช้อื ใหเยน็ อยา งนอย 24 ชง่ั โมง คัดเชอื้ ออ นแอท้ิง กอ นหยอดเชอ้ื ขณะหยอด

เช้อื ตอ งมสี ติ และสมาธแิ นน แน
2. หนอนแมลงหวก่ี นิ เสนใย
สาเหตุ แมลงหว่ีไขไ วท ่ฝี าจุกหรือสําลี
วธิ ีแกไข ตรวจสอบสุขภาพอนามยั ของโรงเรือน จกุ สาํ ลี ตองนึ่งฆาเชื้อ สาํ ลีตองอดุ ใหแ นน ปด

กระดาษใหส นทิ อยาใหมีชอ ง
3. เชื้อเดิน แตหยดุ มีกลิน่ บูด มีน้าํ เมือก มีสเี หลอื ง เขยี ว หรือสดี ํา
สาเหตุ มีราหรือแบคทีเรยี ปนเปอ น นงึ่ ฆา เชือ้ ไมห มด นึ่งฆาเชือ้ ดแี ตกระบวนการลดความรอน

และเปด หมอน่งึ ไมถ กู ตอง เชือ้ เห็ดที่ใชไมมคี ุณภาพ วธิ ีการหยอดเชอ้ื ไมด ี บม ถุงกอ นเชอ้ื หนาแนน เกินไปทําใหการ
ระบายอากาศไมด ี มีคารบอนไดออกไซคมาก

วิธแี กไข ใหท บทวนสาเหตหุ ลกั ของการปนเปอ น ตรวจกระบวนการนงึ่ เรอื่ ง เวลา อณุ หภูมิ
จาํ นวนกอ น ไลอ ากาศในหมอน่ึง คอยๆลดความรอน อยาเปด หมอ น่ึงอยา รวดเรว็ ตรวจดจู กุ สําลวี าแนน หรือไม ใช
เชอื้ เหด็ ทีบ่ ริสุทธ์ิ อบรมวิธีการปลอดเช้ือ และปรับปรุงวธิ ที ํางาน หองบม เชอื้ ควรมอี ุณหภมู ิ 25 – 30 องศา
เซลเซยี ส ปรับปรงุ เรื่องสขุ อนามัยฟารม

แนวทางการขับเคล่ือนโครงการจัดการศึกษาขนั้ พื้นฐานเพื่อการมีงานทําในศตวรรษท่ี 21 กลุมนเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศกึ ษา สพม.2

๔๒

4. เชอ้ื เดนิ เตม็ กอน แตไมออกดอก
สาเหตุ เชือ้ เปนหมัน เช้อื ไมด ี สภาพแวดลอ มในโรงเรือนไมเหมาะสม มสี ่ิงปนเปอ น เชน รา ไร

แบคทีเรยี หนอน และมกี ารใชส ารเคมีมากเกนิ ไป
วิธีแกไ ข จดั หาเชือ้ ใหม จัดสภาพในโรงเรือนใหเ หมาะสม จัดสขุ อนามยั ฟารม แสง อุณหภูมิ

ความชื้น การถา ยเทอากาศ และไมค วรใชส ารเคมีกาํ จัดแมลง
5. เกดิ ดอกเหด็ แตกานยาวหมวกดอกไมแผอ อก
สาเหตุ แสงไมเ พยี งพอและมคี ารบ อนไดออกไซคม ากเกินไป
วิธแี กไ ข ปรับแสงใหม ากขนึ้ จัดใหอากาศถา ยเทไดด ีขน้ึ
6. เกิดหนอ มากแตด อกกลับเติบโตนอย
สาเหตุ เชื้อออนแอ เงื่อนไขเหมาะแกการเกิดหนอ ไมเ หมาะแกก ารพัฒนาของดอก ขาด

ออกซเิ จนและแสง อาหารในกอนเช้ือไมเพยี งพอหรอื ไมม ีคุณภาพ เชอื้ ท่ีใชไมด ี มีคุณภาพต่ํา มีจุลินทรยี ตา งๆ
รบกวน การถายเทอากาศไมดี ความช้ืนสูงเกินไปและรดน้าํ มากเกนิ ไป เกิดจากการใชสารเคมใี นชว งเปด ดอก
การแกไข เปลีย่ นเชอ้ื ใหม ปรบั เง่ือนไขของการเกดิ ดอก เพ่ิมการถา ยเทอากาศ เพม่ิ ชองแสง

ตรวจสอบคุณภาพของวัตถดุ ิบ ใชเช้อื ทม่ี ีอัตราการเดินเสนใยดี ปรบั โรงเรอื นไมใ หเหมาะกบั
จุลินทรีย เพมิ่ การถายเทอากาศ ลดความชืน้ ลง ควรเลกิ ใชส ารเคมีในชวงเปดดอก

7. เกิดดอกเพียงรุนเดยี วรุนตอไปไมเกดิ
สาเหตุ อาหารในกอนเช้ือไมเพยี งพอ เกดิ การปนเปอ น การจัดโรงเรอื นไมด ี เชื้อไมด ี
การแกไ ข ปรบั สตู รอาหารใหม จัดการเร่อื งสขุ อนามยั ฟารม ปรบั เร่อื งแสง อณุ หภมู ิ ความช้ืน ขูด

ลอกผิวสว นที่ปากถงุ ออก ปรับปรุงวิธกี ารจัดการและเอาใจใสมากขึน้ เปลี่ยนเชอื้ ใหม
# เพิ่มเติม : เห็ดเปน พืชท่ีมีการตอบสนองตอ สภาพแวดลอมและสิ่งเราภายนอกอยา งรวดเร็ว ฉะนั้น

ปญหาทีพ่ บถาไดร บั การแกไขที่ถกู ตอ งและทนั ทวงที ก็จะทาํ ใหเหด็ นางฟา เจริญเตบิ โตไดดขี น้ึ และ เปน เหด็ ท่ีมี
คณุ ภาพ

อางองิ จาก goo.gl/asNFDDcontent

แนวทางการขับเคลอื่ นโครงการจัดการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานเพือ่ การมงี านทําในศตวรรษท่ี 21 กลุมนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สพม.2

๔๓

ใบความรทู ่ี 4
เรื่อง การจดั การผลผลติ

เห็ดเปน อาหารประเภทโปรตนี ท่ดี ี สามารถใชแทนเนอื้ สัตวสาํ หรับคนท่ีงดกนิ เนอ้ื สัตว นอกจากนน้ั เหด็ ยัง
มีคณุ คาทางอาหารมากมายไมวา จะเปน การปองกันโรคมะเรง็ โรคหัวใจ ลดคลอเรสเตอรอลในเสน เลือด หรอื ยงั
ชว ยในระบบขบั ถา ย เพราะเห็ดมีสารอาหารท่พี บไดส ูงกวาเนอื้ สตั วบางชนดิ เชน สารเบตา -กลแู คน ไฟเบอร
กรดอะมิโน จงึ ทาํ ใหเหด็ เปน ท่ตี อ งการของผูบ ริโภค แตเหด็ เปน ผลผลติ ที่มอี ายคุ อนขางสั้น ตองมีการเก็บเกี่ยว การ
เกบ็ รกั ษา รวมถงึ การถนอม เพ่อื ใหส ามารถใชเ หด็ ไดประโยชนส งู สุด และในกรณีท่เี ห็ดมีปรมิ าณมากเกนิ กวาตลาด
จะรบั ได การเกบ็ รกั ษาและการถนอมไวอยา งเดยี วคงไมพอ จงึ ตองแปรรูปเหด็ เปน ผลิตภัณฑเพื่อเปนการเพม่ิ มูลคา
ใหแกเ หด็ น้ันๆ และตอยอดอาชพี การเพาะเห็ดของเกษตรกร

การแปรรปู เห็ดเปน ผลติ ภัณฑ 5 ชนดิ ไดแก ขาวเกรียบเห็ด เหด็ สมุนไพร เห็ดสวรรค ลกู ช้ินเห็ด และ
แหนมเห็ด

ความรทู ักษะตางๆในการแปรรูปมี ดงั นี้

1. การคดั เลอื กวัตถุดบิ
2. กรรมวธิ กี ารแปรรปู
3. การบรรจผุ ลติ ภัณฑ
4. มาตรฐานการพัฒนาผลิตภัณฑเห็ดแปรรปู เพอ่ื การจําหนา ย
5. การสรางตลาดและการหาตลาดใหม

แตล ะผลิตภัณฑม ียอดขาย ดังน้ี ขาวเกรยี บเหด็ รอยละ 40 เหด็ สมนุ ไพร รอ ยละ 30 เหด็ สวรรค รอยละ
15 ลูกชน้ิ เหด็ รอ ยละ 10 และแหนมเห็ด รอ ยละ 5
ผลติ ภัณฑเ ห็ดแปรรปู ท้งั 5 ชนิด ยงั มีอนาคตท่ีสดใส แตเพื่อความม่ันคงและย่ังยืนก็ควรสรา งแนวทางการพฒั นา
อาชพี เชน การเพมิ่ ผลิตภัณฑใหมทตี่ อบสนองตลาด การปรบั ปรุงบรรจภุ ัณฑใ หมใหด ึงดดู ความสนใจของผบู รโิ ภค
เปน ตน
อา งองิ จาก goo.gl/9xvvBn

แนวทางการขบั เคล่ือนโครงการจัดการศึกษาขนั้ พืน้ ฐานเพอื่ การมีงานทาํ ในศตวรรษที่ 21 กลุมนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา สพม.2

๔๔

ใบงานท่ี 1
เร่ือง สรปุ องคค วามรเู ร่ืองเหด็

ผลการเรยี นรู นกั เรยี นมคี วามรูค วามเขา ใจหลักการกระบวนการเพาะเหด็ นางฟา โดยตระหนักถึงการมมี าตรฐาน
ความปลอดภยั ในการทํางานและใฝเรยี นรู ดว ยทกั ษะการแสวงหาความรไู ด
คําชแ้ี จง ใหนกั เรียนทุกกลุม สรุปองคความรูท่ีได จากการศึกษาใบความรเู ร่ืองเหด็ ที่ 1-4 แลว นาํ องคค วามรู
ออกแบบเปน ผงั มโนทัศนและใหตัวแทนกลุมนาํ เสนอหนาชนั้ เรียน

ผังมโนทัศนเ รอื่ ง……………….กลมุ ท…่ี ……..เลขท…่ี ………….

แนวทางการขบั เคล่อื นโครงการจดั การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานเพอ่ื การมงี านทาํ ในศตวรรษท่ี 21 กลุมนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศกึ ษา สพม.2

๔๕

ใบงานที่ 2
เร่ือง การเขียนโครงการเพาะเหด็ สูอ าชีพ (PBL)

ผลการเรยี นรู นกั เรียนสามารถวิเคราะห วางแผนโครงการเพาะเหด็ นางฟาดว ยความมงุ ม่นั ในการทํางาน

คาํ ช้แี จง ใหน ักเรยี นเขียนโครงการ(PBL) การเพาะเห็ดนางฟา กลุมละ 1 โครงการตามลําดับข้ันตอน
การเขียนโครงการ

1.ชอ่ื โครงการ …………………………………………………………………………………………………………………………..
2.หลักการและเหตุผล ……………………………………………………………….……………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….......................................................
3.วัตถปุ ระสงค/ เปา หมาย …………………………………………………………..…………………………………..…………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………....
4.วิธดี ําเนนิ การ ……………………………………………………………………………………………………………….…………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….………..
…………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………......
5.ระยะเวลาและสถานทดี่ ําเนนิ การ ……………………………………………………………………………………………..
6.งบประมาณ …………………………………………..…………………………………………………..…………………………….
7.ผูร บั ผดิ ชอบโครงการ …………………………………………………………………………………………………..……………
8.ผลทีค่ าดวาจะไดร ับ ………………………………………………………………..…………….………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………..
9.การประเมินผลโครงการ…………………………………………………………………….………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แนวทางการขับเคล่อื นโครงการจดั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานเพื่อการมงี านทําในศตวรรษท่ี 21 กลุมนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา สพม.2

๔๖

ใบงานที่ 3
เร่อื ง การเพาะและดแู ลเหด็ นางฟา

ผลการเรียนรู นักเรยี นสามารถเพาะเห็ดนางฟาตามข้ันตอนกระบวนการทํางาน ดวยทกั ษะการทํางานรวมกัน ได
คาํ ชี้แจง ใหน กั เรยี นปฏบิ ตั กิ ารเพาะเหด็ นางฟา กลุม ละ 20 กอน ตาม Project ท่วี างแผนไวในใบงานที่ 2
1. ใหน ักเรยี นเขยี นข้ันตอนการเพาะเห็ดนางฟา พรอ มตดิ รปู ภาพ และอธิบายกระบวนการทํางานประกอบ
ตามลาํ ดับ

………………………
………………………
………………………

………………………
………………………

………………………
………………………
………………………

แนวทางการขับเคลื่อนโครงการจดั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐานเพื่อการมีงานทาํ ในศตวรรษที่ 21 ………………………
………………………

กลมุ นเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษา สพม.2


Click to View FlipBook Version