The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 เทอม 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by yameen, 2022-05-13 03:37:11

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 เทอม 1

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 เทอม 1

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 สารรอบตัว
แผนฯ ท่ี 4 ธาตกุ มั มนั ตรังสี

• ธาตกุ ัมมนั ตรงั สี คืออะไร
(แนวคำตอบ: ธาตุกัมมันตรังสี คือ ธาตุที่มีเลขอะตอมสูงกว่า 83 ซึ่งสามารถแผ่รังสีได้อย่างต่อเนื่อง
เนื่องจากนิวเคลียสภายในอะตอมของธาตุไม่เสถียร จึงตอ้ งมกี ารเปลี่ยนแปลงไปเป็นธาตุที่มีความเสถียร
มากขึ้นโดยการสลายตวั แลว้ ปล่อยอนภุ าคภายในนวิ เคลียส)
• กมั มนั ตภาพรงั สีมีกี่ประเภท อะไรบา้ ง
(แนวคำตอบ: มี 3 ประเภท ไดแ้ ก่ อนุภาคแอลฟา อนภุ าคบีตา และรังสแี กมมา)
• อนภุ าคแต่ละประเภทเกิดข้ึนไดอ้ ย่างไร และมลี กั ษณะอย่างไร
(แนวคำตอบ: อนุภาคแอลฟา เกิดจากนิวเคลียสไม่เสถียร แล้วปล่อยอนุภาคที่มีโปรตอนและนิวตรอน
ออกมาอยา่ งละ 2 อนุภาค อนุภาคบีตาเกิดจากนิวเคลียสมจี ำนวนอนภุ าคโปรตอนและอนุภาคนิวตรอน
แตกต่างกัน ทำให้มีการสลายอนุภาคโปรตอนหรือนิวตรอนส่วนเกินแล้วแผ่รังสีบีตาออกมา รังสีแกมมา
เกิดจากนวิ เคลยี สไดร้ ับพลังงานกระตุน้ สูงทำให้ปลอดปลอ่ ยพลงั งานออกมาในรูปของคล่นื แม่เหล็กไฟฟา้ )
• ความสามารถในการทะลทุ ะลวงของรังสีแตล่ ะประเภทเปน็ อย่างไร
(แนวคำตอบ: อนุภาคแอลฟามอี ำนาจทะลุทะลวงต่ำ ไม่สามารถทะลผุ ่านแผ่นกระดาษบาง ๆ ได้ อนุภาค
บีตาสามารถทะลุผา่ นแผน่ กระดาษบาง ๆ ได้ แตไ่ ม่สามารถทะลผุ า่ นแผนอะลูมิเนยี มหนา 2 มิลลเิ มตรได้
รงั สีแกมมาสามารถทะลุทะลวงผ่านแผ่นกระดาษและแผ่นอะลมู ิเนียมหนา 2 มิลลเิ มตรได้ แตไ่ ม่สามารถ
ทะลุผ่านแท่งตะก่วั หนา 10 เซนติเมตรได)้

ชวั่ โมงท่ี 2

ข้ันท่ี 2 สำรวจค้นหา (Explore)
6. ครูถามนักเรียนเพิ่มเตมิ ว่า จากการศึกษาลักษณะของธาตุกัมมันตรังสี นักเรียนคิดว่าธาตุกัมมันตรังสีมี
ประโยชน์ต่อสิ่งมีชีวติ หรือไม่ อยา่ งไร
(แนวคำตอบ: พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน ตัวอย่างเช่นใช้ใน
โรงไฟฟ้านวิ เคลยี ร์ ใช้ในการตรวจหาโรค ใชป้ รบั ปรงุ พันธ์ุสงิ่ มีชวี ิต เปน็ ต้น)
7. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุม่ สุม่ จับฉลากหัวขอ้ เก่ียวกบั การนำความรเู้ กี่ยวกบั ธาตุกัมมันตรังสีไปใช้ประโยชน์
ดงั นี้

หวั ขอ้ ที่ 1 : การนำความรู้เกยี่ วกับธาตกุ มั มนั ตรังสีไปใชด้ า้ นอตุ สาหกรรม
หัวข้อที่ 2 : การนำความรู้เก่ยี วกับธาตกุ มั มันตรงั สไี ปใช้ด้านการแพทย์
หัวข้อที่ 3 : การนำความรู้เกย่ี วกับธาตุกัมมนั ตรังสไี ปใชด้ า้ นการเกษตร
หัวขอ้ ท่ี 4 : การนำความรเู้ กี่ยวกับธาตกุ มั มันตรังสไี ปใชด้ ้านธรณวี ิทยา

67

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 สารรอบตวั
แผนฯ ท่ี 4 ธาตุกมั มันตรงั สี

8. ครูถามนักเรียนว่า นอกจากธาตุกัมมันตรังสีจะสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้แล้ว ธาตุกัมมันตรังสีจะ
กอ่ ให้เกดิ โทษตอ่ สิง่ มชี ีวิตอย่างไรบ้าง
(แนวคำตอบ: พิจารณาตามคำตอบของนกั เรยี น โดยให้อยู่ในดุลยพนิ ิจของครผู ู้สอน ตัวอย่างเช่น ทำให้
ส่งิ มชี วี ติ เกดิ การกลายพันธุ์ ทำใหม้ นษุ ยเ์ ปน็ โรคมะเร็ง เปน็ ตน้ )

9. ครูให้นักเรียนศึกษาผลของกัมมันตรังสีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ในหนังสือเรียนสัมฤทธิ์มาตรฐาน
วทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 สารรอบตวั หรอื จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ เชน่ อนิ เทอร์เน็ต
แล้วให้แต่ละกลุ่มรว่ มกันนำเสนอและอภปิ ราย

ข้นั ที่ 3 อธบิ ายความรู้ (Explain)
10. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอเกี่ยวกับการนำความรู้เกี่ยวกับธาตุกัมมันตรังสีไปใช้ประโยชน์
จากน้นั ใหน้ ักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ บันทึกคำตอบลงในใบงานท่ี 1.4.2 เร่อื ง ธาตกุ ัมมนั ตรงั สี (ตอนท่ี 2)
11. นักเรยี นและครูร่วมกันแสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกับประโยชนท์ ี่ได้รบั จากการทำกิจกรรม และการนำความรู้
ท่ีได้ไปใช้ประโยชน์

ข้นั ท่ี 4 ขยายความเขา้ ใจ (Expand)
12. ครูทบทวนความเขา้ ใจของนักเรยี นโดยการใชแ้ นวคำถาม ดังน้ี
• ธาตกุ ัมมนั ตรงั สี คืออะไร
(แนวคำตอบ: ธาตกุ มั มนั ตรังสี คือ ธาตุท่สี ามารถแผร่ งั สีได้อยา่ งต่อเน่อื ง เนอื่ งจากนวิ เคลยี สภายในอะตอม
ของธาตไุ ม่เสถียร จงึ ตอ้ งมกี ารเปลย่ี นแปลงไปเป็นธาตุทม่ี ีความเสถียรมากขึ้นโดยการสลายตัวแล้วปล่อย
อนภุ าคภายในนวิ เคลยี ส)
• ธาตกุ มั มนั ตรังสีสามารถแผ่รงั สีได้ก่ปี ระเภท อะไรบา้ ง
(แนวคำตอบ: 3 ประเภท ไดแ้ ก่ อนุภาคแอลฟา อนุภาคบตี า และรังสีแกมมา)
• รงั สแี ตล่ ะประเภทเกดิ ขึน้ ไดอ้ ย่างไร
(แนวคำตอบ: อนุภาคแอลฟาเกดิ จากอนภุ าคโปรตอนและอนุภาคนิวตรอนหลุดมาจากนิวเคลยี สอย่างละ
2 อนุภาค อนุภาคบีตาลบเกิดจากนิวเคลียสมีนิวตรอนมากกว่าโปรตอน อนุภาคบีตาบวกเกิดจาก
นวิ เคลยี สมีโปรตอนมากกวา่ นิวตรอน และรงั สแี กรมมาเกดิ จากนวิ เคลียสมีพลังงานสูงทำใหไ้ ม่เสถียร)
• ธาตุกัมมันตรังสีมปี ระโยชนอ์ ย่างไรบา้ ง
(แนวคำตอบ: มีประโยชน์ในดา้ นการเกษตร การแพทย์ อุตสาหกรรม และธรณวี ิทยา เป็นตน้ )
• โทษของธาตกุ ัมมนั ตรงั สมี ีอะไรบ้าง
(แนวคำตอบ: ทำให้เกดิ การกลายพนั ธ์ุของส่งิ มีชีวิต ทำใหเ้ กดิ โรคมะเร็ง เปน็ ตน้ )

68

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 สารรอบตวั
แผนฯ ที่ 4 ธาตุกัมมันตรงั สี

• ธาตุกมั มันตรังสีสามารถแผร่ ังสีได้กป่ี ระเภท อะไรบา้ ง
(แนวคำตอบ: 3 ประเภท ไดแ้ ก่ อนภุ าคแอลฟา อนุภาคบตี า และรังสีแกมมา)

• รงั สีแตล่ ะประเภทเกดิ ข้นึ ได้อย่างไร
(แนวคำตอบ: อนภุ าคแอลฟาเกิดจากอนุภาคโปรตอนและอนภุ าคนวิ ตรอนหลดุ มาจากนิวเคลยี สอยา่ งละ 2
อนภุ าค อนภุ าคบีตาลบเกดิ จากนวิ เคลียสมนี ิวตรอนมากกว่าโปรตอน อนุภาคบตี า บวกเกดิ จากนิวเคลียส
มโี ปรตอนมากกวา่ นวิ ตรอน และรงั สีแกรมมาเกิดจากนวิ เคลยี สมพี ลงั งานสูงทำใหไ้ ม่เสถียร)
• ธาตุกมั มนั ตรงั สมี ีประโยชน์อย่างไรบ้าง
(แนวคำตอบ: มปี ระโยชน์ในด้านการเกษตร การแพทย์ อุตสาหกรรม และธรณีวทิ ยา เปน็ ตน้ )
• โทษของธาตกุ ัมมันตรงั สีมีอะไรบ้าง
(แนวคำตอบ: ทำให้เกิดการกลายพนั ธุข์ องสงิ่ มีชีวิต ทำให้เกิดโรคมะเร็ง เปน็ ต้น)
• จากภาพใหน้ กั เรยี นวาดลกู ศรแทนอนภุ าคของธาตุกมั มันตรังสีท่มี ีอำนาจทะลลุ วงผา่ นวัสดุต่าง ๆ ดงั น้ี

(แนวคำตอบ: กระดาษ A4 อะลูมเิ นยี ม คอนกรีต

แกมมา (γ)
บีตา (β)

แอลฟา (α)

กระดาษ A4 อะลมู เิ นียม คอนกรตี )

• จงยกตัวอย่างประโยชน์ของธาตุกัมมันตรงั สที นี่ ำไปใชใ้ นดา้ นต่าง ๆ

(แนวคำตอบ: ดา้ นเกษตรกรรม ด้านอตุ สาหกรรม ดา้ นการแพทย์ เปน็ ต้น)

• ในการคำนวณหาอายุของวัตถโุ บราณและโครงกระดูก ตอ้ งใชธ้ าตกุ มั มนั ตรงั สีชนดิ ใด

(แนวคำตอบ: คาร์บอน-14 (C-14), โพแทสเซียม (K-40), ยเู รเนียม (U-238))

13. ใหน้ กั เรยี นทำ Exercise 3.3 ในหนังสอื เรยี นสมั ฤทธ์ิมาตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ท่ี

1 สารรอบตวั

69

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 สารรอบตัว
แผนฯ ท่ี 4 ธาตุกมั มันตรังสี

ขัน้ สรุป

ข้นั ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครตู รวจใบงานท่ี 1.4.1 เรอื่ ง ธาตุกมั มันตรงั สี (ตอนท่ี 1)
2. ครตู รวจใบงานที่ 1.4.2 เรอ่ื ง ธาตกุ มั มันตรังสี (ตอนที่ 2)
3. ครูตรวจ Exercise 3.3 ในหนังสือเรียนสัมฤทธิ์มาตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
สารรอบตวั
4. ครูประเมินพฤติกรรมการทำงานรายกลมุ่ จากการทำใบงานและการศึกษาประโยชน์ของธาตุกมั มนั ตรงั สี
5. ครูประเมนิ การนำเสนอใบงานที่ 1.4.1 เรื่อง ธาตุกัมมันตรังสี (ตอนที่ 1) และใบงานที่ 1.4.2 เรื่อง ธาตุ
กัมมันตรงั สี (ตอนท่ี 2) โดยใช้แบบประเมินการนำเสนอผลงาน

10. การวดั และประเมินผล

รายการวดั วธิ ีวัด เครอื่ งมอื เกณฑก์ ารประเมิน

10.1 การประเมินระหวา่ ง

การจัดกจิ กรรม

1) ธาตกุ ัมมันตรังสี - ตรวจใบงานที่ 1.4.1 - ใบงานที่ 1.4.1 - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

- ตรวจใบงานที่ 1.4.2 - ใบงานที่ 1.4.2 - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

- ตรวจ Exercise 3.3 - Exercise 3.3 - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์

2) การนำเสนอผลงาน - ประเมินการนำเสนอ - แบบประเมินการ - ระดับคุณภาพ 2

ผลงาน นำเสนอผลงาน ผา่ นเกณฑ์

3) พฤตกิ รรมการทำงาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม - ระดับคณุ ภาพ 2

รายกลุ่ม การทำงานรายกลุม่ การทำงานรายกลมุ่ ผา่ นเกณฑ์

4) คุณลกั ษณะอนั พงึ - สังเกตความมีวนิ ัย - แบบประเมนิ คณุ ลักษณะ - ระดับคุณภาพ 2

ประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ และมงุ่ มนั่ อนั พึงประสงค์ ผา่ นเกณฑ์

ในการทำงาน

70

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 สารรอบตวั
แผนฯ ที่ 4 ธาตุกมั มันตรงั สี

11. สือ่ /แหลง่ การเรยี นรู้

11.1 ส่ือการเรยี นรู้
1) หนังสอื เรยี นสัมฤทธ์มิ าตรฐานวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 สารรอบตัว
2) ใบงานท่ี 1.4.1 เรือ่ ง ธาตุกัมมนั ตรงั สี (ตอนที่ 1)
3) ใบงานที่ 1.4.2 เร่ือง ธาตุกัมมนั ตรังสี (ตอนท่ี 2)
4) วีดที ัศน์ เรอ่ื ง ผลกระทบนิวเคลยี รฟ์ ุกุชิมะ
แหลง่ ท่ีมา https://www.youtube.com/watch?v=TIHc2v-zoec
5) แบบจำลองนวิ เคลยี สของอะตอม 3 นิวเคลยี ส

11.2 แหล่งการเรียนรู้
1) หอ้ งปฏบิ ัติการวิทยาศาสตร์
2) อินเตอรเ์ น็ต

71

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 สารรอบตัว
แผนฯ ที่ 4 ธาตกุ ัมมนั ตรงั สี

ใบงานที่ 1.4.1

เร่อื ง ธาตกุ มั มนั ตรังสี

คำชีแ้ จง ให้นกั เรียนแต่ละกลุ่มศกึ ษาเกีย่ วกับเรื่อง ธาตุกมั มันตรงั สี แลว้ ตอบคำถามเกยี่ วกบั แบบจำลองนวิ เคลียสของธาตุ

กมั มนั ตรังสที ่ีครูนำเสนอ

นวิ เคลียสของ กัมมันตภาพรังสี ประจุ/การเบ่ียงเบนของ เหตุผล (ทสี่ นับสนนุ ว่า

ธาตกุ ัมมนั ตรังสี ที่แผ่ออกมา กมั มันตภาพรังสใี นสนามไฟฟา้ นิวเคลียสแผร่ ังสีชนิดน้ัน ๆ )

1.

2.
3.
4.

คำถามหลงั กิจกรรม
1. ธาตุกมั มันตรังสี คอื อะไร
..............................................................................................................................................................................
2. แบบจำลองนิวเคลียสที่ 2 และ 3 จะมกี ารเปลีย่ นแปลงอยา่ งไรเมอ่ื แผร่ ังสแี ลว้
..............................................................................................................................................................................
3. แบบจำลองนวิ เคลียสที่ 4 จะมกี ารเปลยี่ นแปลงเลขมวลและเลขอะตอมหรอื ไม่หลังจากมีการแผร่ ังสแี ล้ว
..............................................................................................................................................................................
4. กัมมันตภาพรังสแี ตล่ ะประเภทมีความสามารถในการทะลทุ ะลวงเป็นอย่างไร

..............................................................................................................................................................................

72

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 สารรอบตัว เฉลย
แผนฯ ท่ี 4 ธาตกุ ัมมันตรงั สี

ใบงานที่ 1.4.1

เร่ือง ธาตกุ มั มันตรงั สี

คำชีแ้ จง ให้นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ ศึกษาเกย่ี วกบั เรื่อง ธาตุกมั มันตรังสี แลว้ ตอบคำถามเกยี่ วกบั แบบจำลองนิวเคลยี ส

ของธาตกุ มั มันตรังสที ี่ครนู ำเสนอ

นิวเคลียสของธาตุ กมั มันตภาพรงั สี ประจุ/การเบยี่ งเบนของ เหตผุ ล (ทส่ี นบั สนุนวา่

กมั มนั ตรังสี ที่แผอ่ อกมา กัมมนั ภาพรงั สใี นสนามไฟฟา้ นวิ เคลยี สแผร่ งั สีชนิดนัน้ ๆ )

1. นิวเคลยี สมขี นาดใหญ่มาก และ

อนุภาคแอลฟา ประจบุ วก/เบีย่ งเบนเข้าหาขว้ั ปลอ่ ยอนุภาคโปรตอนและ
ลบ นิวตรอนออกมาอยา่ งละ 2

อนุภาค

2. อนภุ าคเบตาบวก ประจบุ วก/เบี่ยงเบนเขา้ หาขัว้ นิวเคลียสมีอนภุ าคโปรตอน

หรือโพสิตรอน ลบ มากกว่านิวตรอน

3. อนุภาคเบตาลบ ประจุลบ/เบีย่ งเบนเข้าหา นิวเคลียสมีอนภุ าคนวิ ตรอน

หรืออเิ ลก็ ตรอน ข้ัวบวก มากกว่าโปรตอน

4. นิวเคลยี สได้รบั พลงั งานจึงทำให้
ไมเ่ สถียร
รังสีแกรมมา ไม่มีประจ/ุ ไมเ่ บย่ี งเบน

คำถามหลังกจิ กรรม
1. ธาตุกัมมนั ตรงั สี คืออะไร

ธาตุที่มนี วิ เคลียสภายในอะตอมไม่เสถยี ร ทำใหเ้ กดิ การสลายตัวแลว้ ปลอ่ ยรังสอี อกมา
2. แบบจำลองนิวเคลยี สที่ 2 และ 3 จะมีการเปล่ยี นแปลงอยา่ งไรเมอ่ื แผร่ ังสแี ล้ว

แบบจำลองนิวเคลยี สท่ี 2 อนุภาคโปรตอน 1 อนุภาคจะสลายและปลอ่ ยโพสิตรอนออกมา
แบบจำลองนวิ เคลยี สท่ี 3 อนภุ าคนวิ ตรอน 1 อนภุ าคจะสลายและปล่อยอิเลก็ ตรอนออกมา
3. แบบจำลองนิวเคลียสที่ 4 จะมีการเปลย่ี นแปลงเลขมวลและเลขอะตอมหรือไม่หลงั จากมีการแผ่รังสีแลว้
ไม่มีการเปลีย่ นแปลงเลขมวลและเลขอะตอม เนอ่ื งจากรังสีแกมมาเป็นคล่ืนแมเ่ หล็กไฟฟ้า
4. กมั มันตภาพรงั สีแต่ละประเภทมคี วามสามารถในการทะลทุ ะลวงเปน็ อยา่ งไร
อนุภาคแอลฟา ไมส่ ามารถทะลุผา่ นแผ่นกระดาษบาง ๆ ได้
อนุภาคเบตา ไมส่ ามารถทะลุผา่ นแผ่นอะลมู เิ นียมหนา 2 มิลลเิ มตรได้
รงั สแี กมมา ไม่สามารถทะลุผา่ นแท่งตะก่ัวหนา 10 เซนติเมตรได้

73

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 สารรอบตัว
แผนฯ ท่ี 4 ธาตุกมั มนั ตรังสี

ใบงานที่ 1.4.2

เรือ่ ง ธาตกุ ัมมันตรงั สี (ตอนท่ี 2)

คำชี้แจง ใหน้ กั เรยี นแต่ละกลมุ่ ศึกษาเก่ียวกับประโยชน์ของธาตุกัมมันตรงั สี แล้วตอบคำถามลงในใบงาน

การใชป้ ระโยชนด์ า้ นอุตสาหกรรม

ช่อื ธาตุกัมมนั ตรงั สี/กมั มนั ตภาพรังสี ประโยชน์

การใช้ประโยชน์ดา้ นการแพทย์ ประโยชน์
ชอื่ ธาตกุ ัมมนั ตรงั ส/ี กมั มนั ตภาพรังสี

การใชป้ ระโยชน์ดา้ นการเกษตร ประโยชน์
ช่อื ธาตกุ ัมมนั ตรังสี/กมั มันตภาพรงั สี

การใช้ประโยชนด์ า้ นธรณวี ิทยา ประโยชน์
ชื่อธาตุกัมมนั ตรงั สี/กมั มันตภาพรงั สี

74

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 สารรอบตวั
แผนฯ ที่ 4 ธาตกุ ัมมนั ตรงั สี

ใบงานที่ 1.4.2 เฉลย

เรอื่ ง ธาตุกัมมันตรังสี (ตอนที่ 2)

คำชีแ้ จง ใหน้ ักเรยี นแต่ละกลุ่มศึกษาเกย่ี วกับประโยชน์ของธาตุกัมมันตรังสี แลว้ ตอบคำถามลงในใบงาน

การใชป้ ระโยชนด์ า้ นอตุ สาหกรรม

ชอื่ ธาตุกัมมนั ตรังส/ี กมั มันตภาพรังสี ประโยชน์

การใชป้ ระโยชนด์ า้ นการแพทย์ ประโยชน์
ชื่อธาตกุ มั มนั ตรังสี/กมั มันตภาพรังสี

การใชป้ ระโยชน์ดา้ นการเกษตร ประโยชน์
ช่อื ธาตกุ มั มนั ตรงั ส/ี กมั มนั ตภาพรังสี

การใชป้ ระโยชนด์ า้ นธรณีวทิ ยา ประโยชน์
ช่ือธาตุกมั มนั ตรังสี/กมั มันตภาพรังสี

75

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 สารรอบตัว
แผนฯ ที่ 4 ธาตกุ ัมมันตรงั สี

12. ความเหน็ ของผบู้ ริหารสถานศกึ ษาหรอื ผทู้ ่ีได้รบั มอบหมาย

ข้อเสนอแนะ

ลงชอ่ื .................................
( ................................ )

ตำแหน่ง .......

13. บันทกึ ผลหลงั การสอน

 ด้านความรู้

 ด้านสมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียน

 ด้านคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

 ด้านความสามารถทางวิทยาศาสตร์

 ดา้ นอ่นื ๆ (พฤตกิ รรมเดน่ หรอื พฤติกรรมทมี่ ีปัญหาของนกั เรยี นเป็นรายบุคคล (ถ้ามี))

 ปัญหา/อุปสรรค
 แนวทางการแก้ไข

76

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 1 สารรอบตวั
แผนฯ ที่ 5 สารผสม

แผนจัดการเรียนร้ทู ี่ 5

กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ รายวิชา วิทยาศาสตร์
ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1
เรื่อง สารผสม เวลา 5 ชว่ั โมง

1. มาตรฐานการเรยี นรู้

ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ
โครงสร้างและแรงยึดเหนีย่ วระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาตขิ องการเปลี่ยนแปลง สถานะ
ของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกิดปฏกิ ิริยาเคมี

2. ตวั ชว้ี ัด

ว 2.1 ม.1/4 เปรียบเทียบจุดเดือด จุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์และสารผสม โดยการวัดอุณหภูมิ เขียน
กราฟ แปลความหมายขอ้ มลู จากกราฟหรอื สารสนเทศ

ว 2.1 ม.1/5 อธิบายและเปรยี บเทียบความหนาแนน่ ของสารบริสุทธ์ิและสารผสม
ว 2.1 ม.1/6 ใช้เครอื่ งมือวัดมวลและปริมาตรของสารบรสิ ุทธแ์ิ ละสารผสม

3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

1. อธิบายความหนาแนน่ ของสารบริสุทธิ์และสารผสมได้ (K)
2. เปรยี บเทียบจุดเดือด จดุ หลอมเหลวของสารบริสทุ ธแิ์ ละสารผสมได้ (P)
3. เปรยี บเทยี บความหนาแน่นของสารบริสทุ ธิ์และสารผสมได้ (P)
4. ใช้เครื่องมือวัดมวลและปรมิ าตรของสารบรสิ ทุ ธ์ิและสารผสมได้ (P)
5. ยกตวั อย่างสารแขวนลอย คอลลอยด์ และสารละลายที่พบในชีวติ ประจำวันได้ (A)

4. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรียนรทู้ ้องถนิ่
พจิ ารณาตามหลักสูตรของสถานศกึ ษา
สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

- สารบริสุทธิ์ประกอบด้วยสารเพียงชนิดเดียว
ส่วน สารผสมประกอบด้วยสารตั้งแต่ 2 ชนิด
ขึ้นไปสารบริสุทธิ์แต่ละชนิดมีสมบัติบาง
ประการที่เป็นค่าเฉพาะตัว เช่น จุดเดือดและ
จุดหลอมเหลวคงที่ แต่สารผสมมีจุดเดอื ดและ

77

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 สารรอบตวั สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถน่ิ
แผนฯ ที่ 5 สารผสม พจิ ารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา

สาระการเรียนรู้แกนกลาง
จุดหลอมเหลวไม่คงที่ ขึ้นอยู่กับชนิดและ
สดั ส่วนของสารทผี่ สมอยดู่ ้วยกนั
- สารบริสุทธิ์แต่ละชนิดมีความหนาแน่น หรือ
มวลต่อ หนึง่ หนว่ ยปริมาตรคงท่ี เปน็ ค่าเฉพาะ
ของสารนั้น ณ สถานะและอุณหภูมิหนึ่ง แต่
สารผสมมคี วามหนาแน่นไม่คงท่ีขึ้นอยู่กับชนิด
และสดั สว่ นของสารทผ่ี สมอยดู่ ว้ ยกัน

5. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด

สารผสมเกิดจากสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมาผสมกัน โดยสารผสมบางชนิดผสมเป็นเน้ือเดียวกัน เรียกวา่
สารละลาย ซึ่งประกอบด้วยตัวละลายและตัวทำละลาย ซึ่งตัวทำละลายจะมีปริมาณมากกว่า และมีสถานะ
เดยี วกบั สารละลาย นอกจากนสี้ ารผสมบางชนดิ ผสมไมเ่ ปน็ เนื้อเดียวกัน เรียกวา่ สารเนื้อผสม ซงึ่ มี 2 ประเภท
ได้แก่ สารแขวนลอย และคอลลอยด์

6. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น

1. ความสามารถในการสอ่ื สาร
2. ความสามารถในการคดิ

1) ทกั ษะการสังเกต
2) ทกั ษะการระบุ
3) ทกั ษะการสำรวจ
4) ทักษะการจดั กลุม่
5) ทกั ษะการจำแนกประเภท
6) ทักษะการเปรียบเทยี บ
7) ทกั ษะการเชอ่ื มโยง
8) ทกั ษะการสรปุ ยอ่
3. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต

78

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 สารรอบตวั
แผนฯ ที่ 5 สารผสม

7.คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์

1. มวี ินัย
2. ใฝเ่ รยี นรู้
3. มุ่งมั่นในการทำงาน

8. คำถามสำคัญ

1. สารผสมคอื อะไร
2. จงบอกความแตกต่างของสารละลาย สารแขวนลอย และคอลลอยด์
3. สารละลายทุกชนดิ ประกอบด้วยองค์ประกอบใดบ้าง

9. กจิ กรรมการเรียนรู้

วธิ ีสอนการสอน: แบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model)

ช่วั โมงที่ 1

ข้ันนำ

ขน้ั ท่ี 1 กระตุ้นความสนใจ (Engage)
1. ครูนำตัวอย่างสารมา 3 ชนิด ได้แก่ น้ำแดง น้ำนม น้ำโคลน แล้วให้นักเรียนเปรียบเทียบความเหมอื น
และความแตกต่างของสารท้ังสามชนิด
2. ครเู กรนิ่ นำถามคำถามนกั เรียนว่า สารผสม คืออะไร และให้นักเรยี นยกตัวอย่างสารผสมทน่ี ักเรียนรู้จักมา
คนละชนิด

ข้ันสอน

ข้ันที่ 2 สำรวจค้นหา (Explore)
1. ครูให้นักเรยี นจับคูศ่ ึกษา เร่ือง สารละลาย จากหนังสือเรยี นสมั ฤทธิม์ าตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 สารรอบตัว
2. ครูใหน้ ักเรียนแบง่ กลุม่ กลุ่มละ 4-5 คนเพื่อทำการทดลองกิจกรรมองค์ประกอบของสารละลาย
3. ครูเตรยี มวัสดุอุปกรณ์การทดลอง เรื่อง องค์ประกอบของสารละลาย โดยมีจุดประสงค์เพ่อื ทดลองและ
อธิบายองคป์ ระกอบของสารละลายและอธิบายวิธีตรวจสอบองค์ประกอบของสารละลาย จากในหนังสือ
เรยี นสัมฤทธิม์ าตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 สารรอบตวั ใหก้ บั แตล่ ะกล่มุ ดังน้ี

79

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 สารรอบตวั
แผนฯ ที่ 5 สารผสม

• สารละลายนำ้ เกลอื น้ำเชื่อม และน้ำอัดลมทไี่ ม่มสี ี
• จานหลมุ โลหะ
• ตะเกยี งแอลกอฮอล์
4. จากนนั้ ครใู ห้นักเรยี นลงมอื ทดลองตามข้นั ตอนจากในหนงั สอื เรียนสัมฤทธิ์มาตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม
1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สารรอบตัว และเขียนผลการทดลองลงในใบบันทึกผลการทดลอง เรื่อง
องค์ประกอบของสารละลาย
5. ครูถามคำถามทา้ ยการทดลองเพอ่ื ทดสอบความรู้ของนกั เรียน โดยมีแนวคำถามดังน้ี
• เราสามารถตรวจสอบองค์ประกอบของสารทน่ี ำมาทดลองไดอ้ ย่างไร
(แนวคำตอบ: วิธีตรวจสอบสารองค์ประกอบของสารละลายสามารถทำได้หลายวิธี เช่น การระเหยแหง้
หรือการกล่นั ซ่ึงสามารถตรวจสอบได้ว่าสารละลายแต่ละชนดิ มอี งค์ประกอบเพยี งชนิดเดยี วหรือมากกว่า
หนึง่ ชนิด แต่จะไดเ้ ฉพาะตัวละลายที่ระเหยยาก)
• ในกรณีท่ีนำสารละลายตัวอยา่ งมาระเหยแห้งแล้ว พบว่าไม่มตี ะกอนตกคา้ งอยู่บนหลุมโลหะ สามารถสรุป
ได้หรอื ไม่ว่าสารตวั อย่างนนั้ มอี งคป์ ระกอบเพียงชนิดเดยี ว เพราะเหตุใด
(แนวคำตอบ: ยังไม่สามารถสรุปได้ว่าสารนั้นมีองค์ประกอบเพียงชนิดเดียว เนื่องจากสารตัวอย่างอาจ
ประกอบด้วยสารทร่ี ะเหยง่ายเมื่อไดร้ ับความรอ้ น เช่น แกส๊ ของเหลว ซึง่ เมือ่ นำไประเหยแห้งจะไม่เหลือ
สารใด ๆ เลย)
• จงอธิบายความแตกตา่ งระหว่างการหลอมเหลวกับการละลาย
(แนวคำตอบ: การหลอมเหลวเป็นการเปลี่ยนสถานะของสารจากของแข็งเป็นของเหลว แต่ยังคงเปน็ สาร
ชนดิ เดมิ โดยสารต้องได้รบั ความรอ้ นจนกระทง่ั ถึงอณุ หภมู หิ นึ่ง ท่ีเรยี กวา่ จดุ หลอมเหลว ซงึ่ เป็นค่าเฉพาะ
ของสารแต่ละชนิด ส่วนการละลายเกิดจากสารชนิดหนึ่ง (ตัวถูกละลาย) แตกตัวออกเป็นอนุภาคเล็ก ๆ
และแทรกตัวในสารอกี ชนิดหนึ่ง (ตัวทำละลาย) กลายเป็นสารชนิดใหม่ หรือมีคุณสมบัติแตกต่างไปจาก
เดมิ โดยตัวถูกละลายจะเปล่ียน หรอื ไมเ่ ปล่ียนสถานะ ข้นึ อยู่กับสถานะของตวั ทำละลาย

ขน้ั ที่ 3 อธบิ ายความรู้ (Explain)
6. ครูถามคำถามเพ่ือทดสอบความเขา้ ใจของนักเรียน และอธบิ ายคำตอบ ดงั น้ี
• หลังจากเติมเกลือลงไปในน้ำ นักเรียนคดิ วา่ เกลือหายไปไดอ้ ย่างไร
(แนวคำตอบ: อนุภาคของเกลือแตกตัว และละลายในน้ำ โดยการละลายเป็นสมบัติเฉพาะของสารข้นึ อยู่
กับสภาพการละลายของสารแต่ละชนิด ซ่งึ สารบางชนดิ ไม่ละลายนำ้ เช่น นำ้ มนั เปน็ ตน้ )
• สารที่ไดห้ ลังจากเตมิ เกลือลงไป เรียกว่าอะไร
(แนวคำตอบ: สารละลาย)

80

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 สารรอบตัว
แผนฯ ท่ี 5 สารผสม

• จากการทดลองนักเรยี นคดิ ว่าสารใดเป็นตวั ละลาย และสารใดเป็นตัวทำละลาย
(แนวคำตอบ: น้ำเป็นตัวทำละลาย และเกลือเป็นตัวละลาย)

• จากการทดลองสารละลายท่ีไดม้ คี ณุ สมบัตแิ ตกตา่ งจากสารต้งั ตน้ อยา่ งไร
(แนวคำตอบ: สารละลายท่ีได้มสี มบตั ิเปน็ ของเหลว นำไฟฟา้ ได้ และจัดว่าเปน็ สารผสมทเี่ กิดจากสสารต้งั 2
ชนิดมาผสมกันเป็นเนื้อเดียว ขณะสารตั้งต้น เช่น เกลือแกงมีสมบัติเป็นของแข็งไม่นำไฟฟ้า ส่วนน้ำมี
สมบัติเป็นของเหลวนำไฟฟ้าได้ ซ่ึงสารตัง้ ต้นท้งั สองจดั วา่ เปน็ สารประกอบ เปน็ ตน้ )
• นักเรยี นคิดว่าสารประกอบแตกต่างอย่างไรกบั สารละลาย
(แนวคำตอบ: สารประกอบเกิดจากธาตุ ต้ังแต่ 2 ชนิดมารวมกันทางเคมีกลายเป็นสารชนิดใหม่ที่มี
คุณสมบัตแิ ตกตา่ งไปจากธาตเุ ดมิ ที่มาเป็นองค์ประกอบ ซึ่งจัดว่าเป็นสารบริสทุ ธ์ิ แต่สารละลายเกิดจาก
สารตงั้ แต่ 2 ชนดิ มาผสมกนั เป็นเน้อื เดียวกัน ซง่ึ จดั ว่าเป็นสารไมบ่ ริสุทธ)์ิ

ชวั่ โมงท่ี 2

ข้ันท่ี 2 สำรวจค้นหา (Explore)
7. ครใู ห้นกั เรยี นสืบคน้ เร่อื ง ส่วนประกอบ ตวั ทำละลาย และตัวทำละลายของสารละลายบางชนดิ เพื่อใช้เป็น
ความรู้ในการทำกจิ กรรม เรื่อง การละลายของสาร ตามหนังสือเรียนสัมฤทธิม์ าตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1
เล่ม 1 หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 สารรอบตัว
8. ครูให้นกั เรยี นแบง่ กลุม่ กลุ่มละ 5-6 คน เพ่อื ทำกจิ กรรมการละลายของสาร โดยมจี ุดประสงค์เพื่อทดลอง
และอธิบายการละลายของตัวละลายชนิดเดียวกันในตัวทำละลายต่างชนิดกัน และการละลายของตัว
ละลายต่างชนิดกันในตัวทำละลายชนิดเดียวกัน จากในหนังสือเรียนสัมฤทธิม์ าตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1
เลม่ 1 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 สารรอบตัว
9. จากนั้นให้นักเรียนส่งตัวแทนกลุ่มออกมารับวัสดุอุปกรณ์การทดลองกิจกรรมการละลายของสาร โดยมี
อุปกรณ์ดงั นี้
• สารต่าง ๆ ได้แก่ น้ำตาลทราย นำ้ น้ำมันพชื และเอทานอล
• หลอดทดลอง 4 หลอด
• ชอ้ นตักสารเบอร์ 1
10. ใหน้ ักเรยี นลงมอื ทำการทดลองตามข้ันตอนจากในหนังสอื เรียนสมั ฤทธ์มิ าตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 สารรอบตวั และบันทึกผลการทดลองลงในใบบนั ทกึ ผลการทดลองเรื่อง การละลาย
ของสาร

81

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 1 สารรอบตวั
แผนฯ ท่ี 5 สารผสม

ขนั้ ท่ี 3 อธิบายความรู้ (Explain)
11. ครูถามคำถามทา้ ยการทดลองเพื่อทดสอบความรขู้ องนกั เรยี น โดยมีแนวคำถามดังนี้
• สารละลายหลอดทดลองที่ 1 และ 2 สารใดเปน็ ตัวทำละลาย และสารใดเป็นตัวถูกละลาย
(แนวคำตอบ: หลอดทดลองที่ 1 น้ำเป็นตัวทำละลาย และน้ำตาลทรายเปน็ ตวั ทำละลาย
หลอดทดลองที่ 2 ไม่สามารถบอกได้ เนื่องจากน้ำตาลทรายไม่สามารถละลายในเอทา-
นอลได้ จึงไม่มสี ารละลายเกดิ ขึ้นในหลอดทดลองนี้)
• ลักษณะของสารกอ่ นและหลงั การละลายในหลอดทดลองที่ 1 และ 2 เหมอื นหรือต่างกนั อย่างไร
(แนวคำตอบ: หลอดทดลองที่ 1 กอ่ นและหลังการละลายไมแ่ ตกต่างกนั ภายในหลอดยงั คงมีของเหลวใส
ไม่มีสี
หลอดทดลองที่ 2 ก่อนและหลังการละลายแตกต่างกัน เพราะน้ำตาลทรายที่ใส่ไปไม่
ละลายในเอาทานอล หลังการละลายจึงไดส้ ารเนอ้ื ผสมของน้ำตาลทรายและเอทานอล)
• ตวั ละลายชนดิ เดยี วกันละลายในน้ำและในเอทานอลได้เหมือนกันหรอื ไม่
(แนวคำตอบ: ตวั ละลายชนดิ เดยี วกนั อาจละลายในน้ำและในเอทานอลได้แตกต่างกนั ทงั้ นขี้ ้ึนอยู่กับชนิด
ของสารท่ีเป็นตวั ละลาย)
• เอทานอลและนำ้ มันพืชละลายในน้ำเหมอื นหรอื ต่างกนั อย่างไร
(แนวคำตอบ: ละลายได้ต่างกัน โดยเอาทานอลรวมตัวจนเป็นเนือ้ เดียวกบั น้ำ ขณะที่น้ำมันพืชและน้ำไม่
รวมตวั กนั )

ช่ัวโมงท่ี 3

ขั้นท่ี 4 อธบิ ายความรู้ (Explain)
12. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คนเพื่อทำการสืบค้นวิธีการคำนวณสารละลายจากแหลง่ การเรียนรู้

ต่าง ๆ เชน่ อินเทอรเ์ น็ต
13. จากนั้นครูสอนการคำนวณสารละลายในหนว่ ยร้อยละโดยมวล ร้อยละโดยปริมาตร และร้อยละโดยมวล

ตอ่ ปรมิ าตร เป็นความรู้เพิ่มเติม โดยมีตวั อย่าง ดังน้ี
• สารละลายเอทานอล มีเอทานอล 25 cm3 และน้ำกลั่น 75 cm3 อยากทราบว่าสารละลายเอทานอลมี

ความเข้มข้นร้อยละเท่าใด
วธิ ที ำ ปริมาตรสารละลาย = ปริมาตรตวั ทำละลาย + ปริมาตรตัวถกู ละลาย

= 75 + 25 cm3
= 100 cm3
สารละลาย 100 cm3 มเี อทานอล 25 cm3

82

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 สารรอบตัว
แผนฯ ท่ี 5 สารผสม

สารละลาย 100 cm3 มีเอทานอล 25 x 100 cm3
100
สารละลายมคี วามเขม้ ขน้ ร้อยละ 25 โดยปริมาตร

14. ครูสุ่มนกั เรียนออกมาทำโจทย์หนา้ ชน้ั เรียน โดยมแี นวคำถาม ดงั น้ี

• สารละลาย ค ประกอบด้วยสาร ก 40 กรมั สาร ข 80 กรมั สารละลายมีความเข้มข้นเทา่ ใดโดยมวล

(แนวตอบ: 33.33 กรัม)

• สารละลายกรดซัลฟิวริกมีน้ำกลั่น 75 cm3 กรดซัลฟิวรกิ 5 cm3 สารละลายจะมีความเข้มข้นเท่าใดโดย

ปริมาตร

(แนวตอบ: 6.25 กรัม)

ช่วั โมงที่ 4

ขัน้ ที่ 2 สำรวจคน้ หา (Explore)
15. ครูให้นักเรียนศึกษาเนื้อหา เรื่อง สารแขวนลอยและคอลลอยด์ ในหนังสือเรียนสัมฤทธิ์มาตรฐาน
วิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สารรอบตวั
16. ครูเตรยี มวสั ดุอุปกรณ์ เร่ือง สารผสม ให้นักเรยี นศึกษา เรอื่ ง สารผสม จากฐานกจิ กรรม ดงั น้ี
• ฐานท่ี 1 เตรยี มน้ำโคลน 500 mL ในบีกเกอรข์ นาด1000 ml
เตรยี มน้ำนม 500 mL ในบีกเกอรข์ นาด1000 ml
• ฐานท่ี 2 ปรากฏการณท์ ินดอลล์
เตรยี มนำ้ นมผสมนำ้ ให้มปี รมิ าตร 300 ml ในบีกเกอร์ขนาด 500 ml
เตรยี มน้ำเกลอื ใหม้ ปี ริมาตร 300 ml ในบีกเกอรข์ นาด 500 ml
ไฟฉาย 1 กระบอก
• ฐานท่ี 3 อิมลั ช่ัน
เตรยี มนำ้ มนั พชื น้ำส้มสายชู และไขแ่ ดงใสล่ งในหลอดทดลองอย่างละหลอด
17. ครูแจกใบงานที่ 1.5.1 เรื่อง สารผสม จากนั้นให้นักเรียนจับกลุ่ม 3 คน โดยให้สมาชิกภายในกลุ่มทำ
กิจกรรมฐานต่อไปน้ี
• สมาชกิ คนท่ี 1 ทำกิจกรรมฐานที่ 1 เรอ่ื ง ความแตกตา่ งของสารเน้ือผสม
• สมาชกิ คนท่ี 2 ทำกจิ กรรมฐานที่ 2 เรอ่ื ง ปรากฏการณท์ นิ ดอลล์
• สมาชิกคนที่ 3 ทำกิจกรรมฐานที่ 3 เรื่อง อิมัลชัน โดยให้สมาชิกคนที่ 3 ของแต่ละกลุ่มออกมารับหลอด
ทดลอง 1 หลอด และหลอดดูดสาร เพ่ือใชท้ ำกิจกรรม
18. ครใู หน้ ักเรียนทำกจิ กรรมฐานตามขั้นตอนและบันทึกผลลงในใบงานท่ี 1.5.1 เรือ่ ง สารผสม

83

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 สารรอบตวั
แผนฯ ที่ 5 สารผสม

ขน้ั ท่ี 3 อธิบายความรู้ (Explain)
19. ครูให้สมาชิกภายในกลุ่มนำผลการทดลองที่บันทึกลงในใบงานมาแลกเปลี่ยนข้อมูลและอธิบายผลจาก
กิจกรรมฐานใหส้ มาชกิ ภายในกลุ่มเขา้ ใจ
20. ครูสมุ่ ตวั แทนกลมุ่ 1 คน ออกมาสรุปผลจากใบงานที่ 1.5.1 เร่ือง สารผสม
21. ครูถามคำถามเพ่ือทดสอบความเขา้ ใจของนกั เรียน ดังนี้
• สารผสมทุกชนดิ จัดเปน็ สารเน้ือผสม นกั เรยี นเหน็ ดว้ ยกับขอ้ ความนห้ี รือไม่ อย่างไร
(แนวคำตอบ: ไม่ สารผสม เกิดจากสารตั้งแต่ 2 ชนิดมาผสมกัน บางชนิดผสมกันเป็นเนื้อเดียวกัน เช่น
สารละลาย บางชนดิ ผสมไมเ่ ป็นเนอื้ เดียวกัน (สารเน้อื ผสม) เชน่ สารแขวนลอย และคอลลอยด์ เป็นตน้ )
• สารแขวนลอย ต่างจากคอลลอยดอ์ ยา่ งไร
(แนวคำตอบ: เมื่อตั้งสารแขวนลอยทิ้งไว้จะตกตะกอน ส่วนคอลลอยด์เมื่อตั้งทิ้งไว้จะไม่ตกตะกอน
เนื่องจากอนภุ าคของสารแขวนลอยด์มขี นาดใหญ่กว่าคอลลอยด์)
• ปรากฏการณท์ นิ ดอลล์ คืออะไร
(แนวคำตอบ: ปรากฏการณ์ที่เกิดจากการหักเห และการกระเจิงของแสง เมื่อฉายแสงให้กับสาร
แขวนลอย หรือคอลลอยด์จะเหน็ เป็นลำแสงส่องผา่ นสารชนิดดังกล่าว)
• อิมัลชนั่ และ อิมัลซไิ ฟเออรม์ ีความเกี่ยวขอ้ งกนั อยา่ งไร
(แนวคำตอบ: อิมัลชัน คอื สารผสมที่เกดิ จากของเหลวตัง้ แต่ 2 ชนิดทไี่ มล่ ะลายซึง่ กันและกนั และ อิมัลซิ
ไฟเออร์ คือ ตวั ประสานให้ของเหลว 2 ชนดิ ท่ีไม่ละลายซ่ึงกนั และกันหรืออมิ ลั ชนั มาผสมรวมกันได)้

ขั้นท่ี 4 ขยายความเข้าใจ (Expand)
22. ครใู หน้ กั เรียนรวบรวมขอ้ มูลเร่อื ง สารบรสิ ุทธิแ์ ละสารผสม โดยทำในรปู แบบแผนผังมโนทัศน์ท่ีเข้าใจง่าย
และสวยงาม ลงในกระดาษ A4 จากนั้นให้นักเรียนสรุปว่า สารบริสุทธิ์และสารผสมมีความแตกต่างกนั
อย่างไร

ขนั้ สรปุ

ข้นั ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูตรวจใบงานที่ 1.5.1 เรื่อง สารผสม
2. ครูประเมนิ ผงั มโนทศั น์ เรื่อง สารบรสิ ุทธ์แิ ละสารผสม
3. ครูประเมนิ พฤติกรรมการทำงานรายบคุ คลจากการสืบคน้ และศึกษา เรอื่ ง สารละลาย
4. ครูประเมนิ พฤติกรรมการทำงานรายกลุ่มจากการทำกจิ กรรรมฐาน เร่อื ง สารผสม
5. ครูประเมินผลการนำเสนอใบงาน เร่ือง สารผสม โดยใชแ้ บบประเมินการนำเสนอผลงาน

84

หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 สารรอบตัว
แผนฯ ที่ 5 สารผสม

10. การวดั และประเมนิ ผล

รายการวดั วิธีวดั เครื่องมือ เกณฑก์ ารประเมิน

10.1 การประเมินระหว่าง

การจดั กจิ กรรม

1) สารผสม - ตรวจใบงานท่ี 1.5.1 - ใบงานท่ี 1.5.1 - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์

- ประเมนิ ผงั มโนทัศน์ - แบบประเมินชิน้ งาน - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์

2) การนำเสนอผลงาน - ประเมนิ การนำเสนอ - แบบประเมนิ การ - ระดับคณุ ภาพ 2

ผลงาน นำเสนอผลงาน ผา่ นเกณฑ์

3) พฤตกิ รรมการทำงาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดบั คุณภาพ 2

รายกลุ่ม การทำงานรายกลมุ่ การทำงานรายกล่มุ ผ่านเกณฑ์

4) คุณลักษณะอนั พงึ - สังเกตความมวี ินยั - แบบประเมินคณุ ลักษณะ - ระดบั คณุ ภาพ 2

ประสงค์ ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งมนั่ อันพงึ ประสงค์ ผา่ นเกณฑ์

ในการทำงาน

11. ส่อื /แหลง่ การเรียนรู้

11.1 ส่อื การเรียนรู้
1) หนงั สอื เรยี นสัมฤทธมิ์ าตรฐาน วิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 สารรอบตวั
2) วสั ดอุ ุปกรณ์ เร่อื ง องค์ประกอบของสารละลาย
3) วัสดุอุปกรณ์ เร่ือง การละลายของสาร
4) วสั ดอุ ปุ กรณ์ เรอื่ ง สารผสม
5) ใบงานท่ี 1.5.1 เรอื่ ง สารผสม
6) ใบบันทกึ ผลการทดลอง เรือ่ ง องค์ประกอบของสารละลาย
7) ใบบนั ทึกผลการทดลอง เร่อื ง การละลายของสาร
8) ตัวอยา่ งสาร (นำ้ แดง น้ำนม นำ้ โคลน)
9) กระดาษ A4

11.2 แหล่งการเรียนรู้
1) หอ้ งปฏิบัตกิ ารวิทยาศาสตร์
2) อนิ เทอรเ์ น็ต

85

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 สารรอบตวั
แผนฯ ท่ี 5 สารผสม

ใบงานที่ 1.5.1

เรือ่ ง สารผสม

คำชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนทำกิจกรรมฐานตอ่ ไปนี้
ฐานท่ี 1 สารใดเป็นสารแขวนลอย
ขั้นตอนการทดลอง : สังเกตตะกอนท่เี กดิ ขน้ึ จากบกี เกอรท์ ีม่ นี ำ้ โคลน และบีกเกอร์ทมี่ นี ้ำนม

สาร ลักษณะทสี่ งั เกตได้จาก

จากการทดลองสารชนดิ ใดเปน็ สารแขวนลอย เพราะเหตุใด

น้ำโคลนเป็นสารแขวนลอย เนือ่ งจากอนภุ าคของสารในน้ำโคลนมีขนาดใหญ่ เม่ือต้ังทงิ้ ไว้อนภุ าคจะตกตะกอน

ฐานท่ี 2 ปรากฏการณท์ ินดอลล์

ขัน้ ตอนการทดลอง : นำไฟฉายมาส่องสารผสมท่ีเตรียมไว้ในบกี เกอร์ สงั เกตลำแสงทสี่ อ่ งผ่านผสม

สาร ลกั ษณะทสี่ ังเกตไดจ้ าก

นำ้ นมผสมนำ้ เหน็ ลำแสงส่องผา่ นสาร

น้ำเกลือ ไม่เหน็ ลำแสง

จากการทดลองสารชนดิ ใดเปน็ คอลลอยด์ เพราะเหตใุ ด

น้ำนมผสมน้ำเป็นสารผสมประเภทคอลลอยด์ เพราะแสงท่ีสอ่ งผา่ นสารผสมเกิดการกระเจิงของแสง ซ่งึ

จากการทดลองนำ้ เกลือเป็นสารผสมประเภทใด

นำ้ เกลอื เปน็ สารละลาย เนื่องจากน้ำเกลอื เปน็ สารผสมเน้ื อเดยี ว

จากการทดลองนกั เรยี นมีวิธีแยกน้ำกลัน่ กบั นำ้ เกลืออย่างไร

นำสารทง้ั สองไปหาจุดเดอื ด และจดุ หลอมเหลว โดยสารบริสุทธ์จิ ะมจี ุดเดอื ดคงท่ี และมจี ดุ เดือดต่ำกว่า

ฐานที่ 3 อิมลั ชัน

ขั้นตอนการทดลอง : 1. หยดน้ำมันพืชและน้ำสม้ สายชลู งในหลอดทดลอง

2. เขย่าหลอดทดลอง สงั เกตและบนั ทึกผล

3. หยดไขแ่ ดงลงในหลอดทดลองขอ้ 2. สังเกตและบันทกึ ผล

ลักษณะสารก่อนหยดไขแ่ ดง ลักษณะสารหลงั หยดไข่แดง

เกิดการแยกชน้ั ระหว่างนำ้ มันกับน้ำส้มสายชู นำ้ มนั และนำ้ ส้มสายชูผสมเป็นเน้อื เดยี วกนั

นำ้ เกลือ ไมเ่ หน็ ลำแสง

ไข่แดงจัดเป็นสารประเภทใด ทำหนา้ ที่อย่างไร

ไข่แดงเปน็ อิมลั ซิไฟเออร์ ทำหนา้ ทเ่ี ปน็ ตวั ประสานใหน้ ำ้ มนั รว มกับ

86

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 สารรอบตัว
แผนฯ ที่ 5 สารผสม

คำถามทา้ ยกจิ กรรม
1. สารผสมทุกชนดิ จดั เปน็ สารเนื้อผสม นักเรียนเห็นดว้ ยกับขอ้ ความน้ีหรอื ไม่ อยา่ งไร

ไม่ สารผสม เกดิ จากสารตัง้ แต่ 2 ชนดิ มาผสมกนั บางชนดิ ผสมกนั เป็นเนื้อเดยี วกนั เชน่ สารละลาย บาง
ชนิดผสมไม่เปน็ เนอ้ื เดียวกัน (สารเนอื้ ผส....ม) เชน่ สารแขวนลอย และคอลลอยด์ เป็.....................นต้น.............
2. สารแขวนลอย ตา่ งจากคอลลอยด์อย่างไร

ไม่ สารผสม เกิดจากสารตั้งแต่ 2 ชนิดมาผสมกัน บางชนิดผสมกนั เป็นเน้อื เดียวกัน เชน่ สารละลาย บาง
ชนิดผสมไมเ่ ป็นเนื้อเดยี วกัน (สารเนอ้ื ผส....ม) เช่น สารแขวนลอย และคอลลอยด์ เป็.....................นตน้ .............
3. ปรากฏการณท์ นิ ดอลล์ คืออะไร

ไม่ สารผสม เกดิ จากสารตงั้ แต่ 2 ชนิดมาผสมกัน บางชนิดผสมกันเป็นเนอื้ เดียวกัน เชน่ สารละลาย บาง
ชนดิ ผสมไม่เป็นเนื้อเดยี วกนั (สารเน้อื ผส....ม) เชน่ สารแขวนลอย และคอลลอยด์ เป็.....................นต้น..............
4. อิมัลชัน และ อมิ ลั ซไิ ฟเออรม์ คี วามเกีย่ วขอ้ งกนั อยา่ งไร

ไม่ สารผสม เกดิ จากสารตง้ั แต่ 2 ชนดิ มาผสมกนั บางชนิดผสมกนั เปน็ เนอ้ื เดยี วกัน เช่น สารละลาย บาง
ชนดิ ผสมไมเ่ ป็นเนือ้ เดียวกนั (สารเนอ้ื ผส....ม) เชน่ สารแขวนลอย และคอลลอยด์ เป็.....................นต้น.............
รวมกนั ได้

87

หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 1 สารรอบตัว เฉลย
แผนฯ ท่ี 5 สารผสม

ใบงานที่ 1.5.1

เร่ือง สารผสม

คำชแ้ี จง ให้นักเรยี นทำกิจกรรมฐานต่อไปนี้

ฐานท่ี 1 สารใดเปน็ สารแขวนลอย

ข้ันตอนการทดลอง : สังเกตตะกอนทเ่ี กดิ ขึ้นจากบีกเกอรท์ ีม่ นี ำ้ โคลน และบกี เกอรท์ ม่ี ีน้ำนม

สาร ลกั ษณะทสี่ งั เกตไดจ้ าก

นำ้ โคลน เกิดตะกอน

นำ้ นม ไมเ่ กิดตะกอน

จากการทดลองสารชนดิ ใดเปน็ สารแขวนลอย เพราะเหตุใด

น้ำโคลนเป็นสารแขวนลอย เนอ่ื งจากอนุภาคของสารในน้ำโคลนมขี นาดใหญ่ เมื่อต้ังทิ้งไวอ้ นุภาคจะตกตะกอน

ฐานท่ี 2 ปรากฏการณท์ นิ ดอลล์

ขั้นตอนการทดลอง : นำไฟฉายมาสอ่ งสารผสมทีเ่ ตรียมไว้ในบกี เกอร์ สังเกตลำแสงทส่ี ่องผ่านผสม

สาร ลักษณะทส่ี งั เกตไดจ้ าก

น้ำนมผสมน้ำ เห็นลำแสงส่องผ่านสาร

นำ้ เกลือ ไม่เห็นลำแสง

จากการทดลองสารชนิดใดเปน็ คอลลอยด์ เพราะเหตุใด

นำ้ นมผสมนำ้ เปน็ สารผสมประเภทคอลลอยด์ เพราะแสงทีส่ อ่ งผา่ นสารผสมเกิดการกระเจิงของแสง

จากการทดลองนำ้ เกลือเป็นสารผสมประเภทใด

นำ้ เกลอื เป็นสารละลาย เนอื่ งจากน้ำเกลือเปน็ สารผสมเน้อื เดยี ว

จากการทดลองนักเรยี นมวี ธิ แี ยกนำ้ กลน่ั กบั น้ำเกลอื อยา่ งไร

นำสารท้ังสองไปหาจดุ เดอื ด และจดุ หลอมเหลว โดยสารบรสิ ุทธจ์ิ ะมจี ุดเดอื ดคงที่ และมจี ุดเดอื ดตำ่ กวา่ สารไมบ่ รสิ ทุ ธิ์ ส่วน
จดุ หลอมเหลวของสารบริสทุ ธิ์จะสูงกวา่ และช่วงการหลอมเหลวจะแคบกว่าสารไม่บรสิ ุทธ์ิ

ฐานที่ 3 อมิ ัลช่ัน

ขั้นตอนการทดลอง : 1. หยดนำ้ มนั พืชและนำ้ ส้มสายชลู งในหลอดทดลอง

2. เขยา่ หลอดทดลอง สังเกตและบนั ทกึ ผล

3. หยดไขแ่ ดงลงในหลอดทดลองขอ้ 2. สังเกตและบันทกึ ผล

ลักษณะสารกอ่ นหยดไข่แดง ลักษณะสารหลังหยดไข่แดง

เกดิ การแยกช้นั ระหวา่ งนำ้ มันกบั น้ำสม้ สายชู นำ้ มนั และนำ้ สม้ สายชผู สมเปน็ เนอ้ื เดยี วกนั
นำ้ เกลอื ไม่เห็นลำแสง

ไขแ่ ดงจดั เป็นสารประเภทใด ทำหนา้ ที่อยา่ งไร

ไขแ่ ดง เปน็ อมิ ัลซไิ ฟเออร์ ทำหนา้ ท่ีเปน็ ตวั ประสานให้นำ้ มนั รวมกบั นำ้ ส้มสายชูได้

88

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 สารรอบตัว
แผนฯ ที่ 5 สารผสม

คำถามทา้ ยกจิ กรรม
1. สารผสมทุกชนดิ จดั เปน็ สารเนอ้ื ผสม นกั เรียนเหน็ ด้วยกบั ขอ้ ความนห้ี รือไม่ อย่างไร

ไม่ สารผสม เกิดจากสารตั้งแต่ 2 ชนดิ มาผสมกัน บางชนดิ ผสมกนั เป็นเนื้อเดียวกัน เชน่ สารละลายบางชนดิ
ผสมไมเ่ ปน็ เนอ้ื เดยี วกัน (สารเนอ้ื ผสม) เชน่ สารแขวนลอย และคอลลอยด์ เปน็ ต้น
2. สารแขวนลอย ต่างจากคอลลอยด์อยา่ งไร

เมอื่ ตั้งสารแขวนลอยท้งิ ไว้จะตกตะกอน สว่ นคอลลอยด์ เมอื่ ต้ังทิ้งไว้จะไมต่ กตะกอน เนอื่ งจากอนุภาคของ
สารแขวนลอยด์มีขนาดใหญก่ ว่าคอลลอยด์
3. ปรากฏการณ์ทนิ ดอลล์ คืออะไร

ปรากฎการณ์ที่เกิดจากการหักเห และการกระเจิงของแสง เมื่อฉายแสงให้กับสารแขวนลอย หรือ
คอลลอยดจ์ ะเหน็ เปน็ ลำแสงส่องผา่ นสารชนิดดังกล่าว
4. อมิ ลั ชัน และ อมิ ัลซิไฟเออรม์ ีความเก่ียวข้องกันอยา่ งไร

อิมลั ชัน คือ สารผสมท่ีเกิดจากของเหลวตงั้ แต่ 2 ชนดิ ทไี่ มล่ ะลายซึง่ กนั และกนั และอมิ ลั ซไิ ฟเออร์ คือ ตัว
ประสานให้ของเหลว 2 ชนดิ ทไ่ี ม่ละลายซ่งึ กันและกนั หรอื อมิ ลั ชันมาผสมรวมกนั ได้

89

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 สารรอบตวั
แผนฯ ที่ 5 สารผสม

ใบบันทึกผลการทดลอง

เรอื่ ง องคป์ ระกอบของสารละลาย
จุดประสงค์
....................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................

ระบุปัญหา

....................................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................................

สมมตฐิ าน

....................................................................................................................................................................................

................................................................................................................... ................................................................

....................................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................................

ตารางบันทกึ ผลการทดลอง

ของเหลวตัวอย่าง ลกั ษณะของเหลวท่สี ังเกตได้ ผลท่ีสังเกตได้เม่ือให้ความร้อนจนแหง้

นำ้ เช่อื ม ........................................................ ........................................................

........................................................ .......................................................

น้ำเกลือ ........................................................ ........................................................

........................................................ ........................................................

นำ้ อดั ลม ........................................................ ........................................................
........................................................ ........................................................

90

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 สารรอบตวั
แผนฯ ท่ี 5 สารผสม

อภิปรายผลการทดลอง

..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

91

หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1 สารรอบตัว
แผนฯ ที่ 5 สารผสม

ใบบันทกึ ผลการทดลอง

เร่อื ง การละลายของสาร
จดุ ประสงค์
....................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................

ระบปุ ัญหา
....................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................... .............................................
สมมติฐาน
....................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................

ตารางบันทกึ ผลการทดลอง ผลท่ีสงั เกตไดเ้ มื่อละลายในตวั ทำละลาย
ตวั ละลาย
นำ้ (หลอดทดลองที่ 1) เอทานอล (หลอดทดลองท่ี 2)
น้ำตาลทราย
....................................................... .......................................................
ตัวทำละลาย
....................................................... .......................................................
น้ำตาลทราย
ผลทสี่ งั เกตได้เมื่อละลายในตวั ทำละลาย

เอทานอล (หลอดทดลองท่ี 3) นำ้ มันพชื (หลอดทดลองที่ 4)

....................................................... .......................................................

....................................................... .......................................................

92

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 สารรอบตวั
แผนฯ ที่ 5 สารผสม

อภิปรายผลการทดลอง

..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

93

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 สารรอบตวั
แผนฯ ท่ี 5 สารผสม

12. ความเหน็ ของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาหรอื ผู้ท่ไี ด้รบั มอบหมาย

ข้อเสนอแนะ

ลงช่ือ .................................
( ................................ )

ตำแหน่ง .......

13. บนั ทึกผลหลังการสอน

 ดา้ นความรู้

 ด้านสมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียน

 ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

 ดา้ นความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์

 ด้านอ่ืน ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรอื พฤตกิ รรมทม่ี ปี ญั หาของนกั เรยี นเป็นรายบุคคล (ถ้ามี))

 ปญั หา/อุปสรรค
 แนวทางการแก้ไข

94

หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 สารรอบตัว
แผนฯ ที่ 6 สมบตั ิของสารบริสุทธแ์ิ ละสารผสม

แผนจัดการเรยี นรู้ท่ี 6

กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ รายวชิ า วิทยาศาสตร์
ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1

เร่ือง สมบัติของสารบริสุทธ์แิ ละสารผสม เวลา 5 ช่วั โมง

1. มาตรฐานการเรยี นรู้

ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ
โครงสร้างและแรงยดึ เหน่ยี วระหวา่ งอนภุ าค หลกั และธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง สถานะ
ของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี

2. ตวั ช้ีวัด

ว 2.1 ม.1/4 เปรียบเทยี บจดุ เดือด จดุ หลอมเหลวของสารบริสทุ ธิ์และสารผสม โดยการวดั อณุ หภูมิ เขียน
กราฟ แปลความหมายข้อมลู จากกราฟหรือสารสนเทศ

ว 2.1 ม.1/5 อธิบายและเปรยี บเทียบความหนาแน่นของสารบรสิ ทุ ธ์แิ ละสารผสม
ว 2.1 ม.1/6 ใช้เคร่อื งมอื วัดมวลและปริมาตรของสารบริสุทธิ์และสารผสม

3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1) อธิบายความหนาแนน่ ของสารบรสิ ทุ ธิ์และสารผสมได้ (K)
2) เปรยี บเทยี บจดุ เดือด จดุ หลอมเหลวของสารบริสุทธแิ์ ละสารผสมได้ (P)
3) เปรยี บเทยี บความหนาแนน่ ของสารบริสุทธ์ิและสารผสมได้ (P)
4) ใชเ้ คร่ืองมอื วัดมวลและปรมิ าตรของสารบริสทุ ธ์แิ ละสารผสมได้ (P)
5) มีความต้งั ใจในการทำกิจกรรมกลุ่มและตัง้ ใจในการทำการทดลองทางวิทยาศาสตร์ (A)

4. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถิ่น
พจิ ารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา
สาระการเรียนร้แู กนกลาง
- สารบริสุทธิ์ประกอบด้วยสารเพียงชนิดเดียว ส่วน

สารผสมประกอบด้วยสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป สาร
บริสุทธิ์แต่ละชนิดมีสมบัติบางประการที่เป็นค่า
เฉพาะตัว เช่น จุดเดือดและจุดหลอมเหลวคงที่ แต่
สารผสมมีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวไม่คงที่ ขึ้นอยู่
กบั ชนิดและสัดส่วนของสารท่ผี สมอยดู่ ว้ ยกนั

95

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สารรอบตัว สาระการเรียนรู้ท้องถ่ิน
แผนฯ ท่ี 6 สมบตั ขิ องสารบริสุทธิ์และสารผสม พิจารณาตามหลักสตู รของสถานศึกษา

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
- สารบริสุทธ์ิแต่ละชนิดมคี วามหนาแน่น หรือมวลต่อ

หนึ่งหน่วยปริมาตรคงท่ีเป็นค่าเฉพาะของสารน้ัน ณ
สถานะและอุณหภูมิหนึ่ง แต่สารผสมมีความ
หนาแนน่ ไม่คงท่ขี น้ึ อยูก่ บั ชนดิ และสดั ส่วนของสารที่
ผสมอยู่ด้วยกันระหว่างอนุภาคน้อยที่สุด อนุภาค
เคลอ่ื นท่ไี ดอ้ ยา่ งอสิ ระทกุ ทศิ ทาง ทำให้มีรูปร่างและ
ปรมิ าตรไม่คงท่ี

5. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด

สารผสมเกิดจากสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมาผสมกัน โดยสารผสมบางชนิดผสมเป็นเนื้อเดียวกัน เรียกว่า
สารละลาย ซึ่งประกอบด้วยตัวละลายและตัวทำละลาย ซึ่งตัวทำละลายจะมีปริมาณมากกว่าและมีสถานะ
เดยี วกบั สารละลาย นอกจากนส้ี ารผสมบางชนิดผสมไมเ่ ป็นเนื้อเดียวกนั เรียกวา่ สารเนื้อผสม ซ่งึ มี 2 ประเภท
คือ สารแขวนลอยและคอลลอยด์

6. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น

1. ความสามารถในการส่ือสาร
2. ความสามารถในการคดิ

1) ทักษะการสังเกต
2) ทกั ษะการระบุ
3) ทกั ษะการสำรวจ
4) ทักษะการจดั กลุ่ม
5) ทกั ษะการจำแนกประเภท
6) ทักษะการเปรียบเทียบ
7) ทกั ษะการเช่ือมโยง
8) ทักษะการสรุปย่อ
3. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต

96

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 สารรอบตวั
แผนฯ ท่ี 6 สมบัติของสารบริสุทธ์ิและสารผสม

7.คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

1. มีวนิ ยั
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน

8. คำถามสำคญั

1. จดุ เดอื ดและจดุ หลอมเหลวมีความแตกตา่ งกันอยา่ งไร
2. สารบรสิ ุทธิ์มคี วามหนาแน่นคงท่ี แต่สารผสมมีความหนาแน่นไมค่ งที่ ขน้ึ อยู่กบส่งิ ใดทีเ่ ปน็ องคป์ ระกอบ
3. อุณหภมู ขิ องสารทีเ่ ปลี่ยนแปลงไป จะสง่ ผลให้ความหนาแนน่ ของสารเกดิ อะไรขน้ึ

9. กิจกรรมการเรียนรู้

วิธีสอนการสอน: แบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model)

ชว่ั โมงที่ 1

ขั้นนำ

ข้ันท่ี 1 กระตุ้นความสนใจ (Engage)
1. ครทู บทวนความรูเ้ ดิมของนักเรียน เรอ่ื ง สารผสม โดยการใชก้ จิ กรรม ดังนี้
• ครตู ดิ บตั รคำหัวข้อต่าง ๆ ทบ่ี นกระดานดังนี้
สารละลาย สถานะสารละลาย สถานะตวั ละลาย สถานะตวั ทำละลาย

ของแข็ง ของแขง็ แกส๊

• ให้นักเรยี นแบ่งกลมุ่ กลุ่มละ 4-5 คน จากนัน้ ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มสง่ ตัวแทนออกมารับใบกิจกรรม เรือ่ ง สถานะ

และองคป์ ระกอบของสารละลายและชดุ บตั รคำท่ีมีหวั ข้อดงั น้ี

อากาศ นำ้ เชอื่ ม นำ้ อดั ลม

อะมัลกมั นาก ไอนำ้ ในอากาศ

• จากนั้นให้แต่ละกลุ่มช่วยกันระดมความคิดว่าจากสารละลายที่แต่ละกลุ่มได้รับมานั้นมีสถานะของ
สารละลาย สถานะตวั ละลาย และสถานะตัวทำละลายทต่ี ิดไว้บนกระดานเป็นแบบใด เมอื่ ทำเสร็จแล้วให้
แต่ละกลุ่มนำใบกจิ กรรมมาสง่ ครทู หี่ นา้ ช้ันเรยี น

97

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 สารรอบตัว
แผนฯ ท่ี 6 สมบัตขิ องสารบริสุทธ์แิ ละสารผสม

• นักเรียนและครูรว่ มกนั เฉลยคำตอบจากกิจกรรม โดยมีแนวคำตอบดังนี้

สารละลาย สถานะสารละลาย สถานะตัวละลาย สถานะตวั ทำละลาย

อากาศ แกส๊ แก๊ส แกส๊

นำ้ เชอ่ื ม แกส๊ ของเหลว แกส๊

นำ้ อดั ลม ของเหลว แก๊ส ของเหลว

อะมัลกัม ของเหลว ของแขง็ ของเหลว

นาก ของแขง็ ของเหลว ของแขง็

ไอน้ำในอากาศ ของแข็ง ของแข็ง ของแข็ง

2. ครนู ำแกว้ มา 2 ใบ โดยใบหนึ่งใส่น้ำเกลือ และอีกใบหนง่ึ ใสน่ ้ำธรรมดา จากนน้ั ครูหยอ่ นลูกปัดลงในแก้วที่

มีน้ำเกลือและน้ำธรรมดา จากนั้นครูให้นักเรียนเปรียบเทียบผลที่เกิดขึ้น เพื่อให้นักเรียนเห็นถึงความ

แตกต่างของสารบรสิ ุทธ์กิ บั สารผสม

ขั้นสอน

ขน้ั ท่ี 2 สำรวจค้นหา (Explore)
1. ครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมูล จากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ตหรือศึกษาจากหนังสือ
เรียนสัมฤทธิ์มาตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สารรอบตัว ว่าเพราะเหตุใด
ลูกปัดจงึ จมในนำ้ เกลอื แตก่ ลบั ลอยในน้ำธรรมดา เพอ่ื เกริ่นนำให้เรียนรจู้ กั ความหนาแนน่ จำเพาะของสาร
ซง่ึ เปน็ สมบัตทิ างกายภาพ
2. ครูเกริ่นนำวา่ สารบริสุทธ์ิและสารผสมมีสมบัติทางกายภาพ เช่น จุดเดือด จุดหลอมเหลว ความหนาแนน่
ท่แี ตกตา่ งกนั
3. ครูให้นักเรียนศึกษา เรื่อง สมบัติของสารบริสุทธิ์และสารผสม ในหนังสือเรียนสัมฤทธิ์มาตรฐาน
วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 สารรอบตวั

ขนั้ ท่ี 3 อธิบายความรู้ (Explain)
4. ครูสุ่มเรียกนักเรียนออกมาอธิบายผลจากการสืบค้นข้อมูลหน้าช้ันเรียน
5. ครูเฉลยคำตอบ และเพิ่มเติมความรู้ให้กับนักเรียนว่า เพราะเหตุใดลูกปัดจึงลอยในน้ำทะเล แต่กลับ
จมในนำ้ ธรรมดา
(แนวคำตอบ: เพราะ น้ำเกลือ เป็นสารผสม ที่ความหนาแน่นมากกว่าน้ำธรรมดาซึ่งเป็นสารบริสุทธิ์ จึง
เป็นเหตุลกู ปดั ลอยในนำ้ ได้)

98

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 สารรอบตวั
แผนฯ ที่ 6 สมบตั ขิ องสารบรสิ ุทธ์แิ ละสารผสม

ชวั่ โมงที่ 2

ขน้ั ท่ี 2 สำรวจค้นหา (Explore)
6. ครใู ห้นักเรยี นแต่ละคนศกึ ษาเนือ้ หาเรอ่ื ง สมบัติของสารบริสุทธ์แิ ละสารผสม จากในหนังสือเรียนสัมฤทธิ์
มาตรฐานวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 สารรอบตัว หรือจากแหล่งการเรยี นร้ตู ่าง ๆ เช่น
อนิ เทอรเ์ นต็
7. ใหน้ ักเรยี นแบ่งกล่มุ กลมุ่ ละ 5-6 คน เพือ่ ทำกิจกรรมการตรวจสอบสารบริสทุ ธ์ิและสารละลาย จากน้ันให้
แต่ละกล่มุ สง่ ตัวแทนออกมารับวสั ดุอุปกรณ์กิจกรรมการตรวจสอบสารบรสิ ทุ ธิ์และสารละลาย จากนั้น
ให้แตล่ ะกลมุ่ ทำการทดลองตามขั้นตอนจากใบกิจกรรม เรื่อง การตรวจสอบสารบรสิ ทุ ธิแ์ ละสารละลาย
8. ให้แตล่ ะกลุ่มสง่ ตัวแทนออกมานำเสนอผลจากการทำกิจกรรมการตรวจสอบสารบริสุทธิ์และสารละลาย

ชั่วโมงท่ี 3

ข้ันที่ 2 สำรวจคน้ หา (Explore)
9. ครูให้นกั เรยี นแบ่งกลมุ่ (กลุ่มเดิม) เพ่อื ศกึ ษากจิ กรรมการตรวจสอบสารบริสุทธิแ์ ละสารละลายใน ตอนท่ี 2
โดยทค่ี รูอธิบายขั้นตอนการทดลองอยา่ งละเอยี ด
10. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมารับวัสดุอุปกรณ์กิจกรรมการตรวจสอบสารบริสุทธิ์และ
สารละลาย จากนั้นให้แต่ละกลุ่มมำการทดลองตามขั้นตอนจากใบกิจกรรม เรื่อง การตรวจสอบสาร
บริสุทธ์แิ ละสารละลาย

ชั่วโมงที่ 4

ขั้นที่ 3 อธิบายความรู้ (Explain)
11. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานำเสนอผลจากกิจกรรม การตรวจสอบสารบริสุทธิ์และ
สารละลาย ท้ังในตอนที่ 1 และตอนท่ี 2
12. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายผลจากการทำกิจกรรมการตรวจสอบสารบริสุทธิ์และสารละลาย ดังนี้
“จากกิจกรรมการหาจุดเดือดของเอทานอล และสารละลายกรเี ซอรอลในเอทานอล พบว่าเอทานอลซึ่ง
เป็นสารบริสุทธิ์จะมีจุดเดือดเท่ากบั 78oC เมื่อเทีบกับสารละลายกลีเซอรอลในเอาทายนอลซึ่งเป็นสาร
ผสมจะมีจุดเดือดประมาณ 80oC เน่ืองจากสารบริสทุ ธแ์ิ ต่ละชนิดยิอมมสี มบัติเฉพาะของสาร เมื่อนำสาร
อน่ื มาผสม หรอื ตัวละลายซง่ึ มจี ุดเดอื ดตำ่ หรือสูงกว่าสารบิสุทธ์ิท่เี ปน็ ตัวทำละลายมาผสม จะส่งผลให้สาร
ละลาบมีจุดเดือดสูงขึ้นน แต่ทั้งนี้ขึ้นอยูก่ ับสมบัติของสารที่นำมาผสม และปริมาณของสารทีน่ ำมาผสม
หรอื ตวั ละลาย

99

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 1 สารรอบตวั
แผนฯ ที่ 6 สมบตั ขิ องสารบรสิ ทุ ธิแ์ ละสารผสม

จากกจิ กรรมการหาจดุ หลอมเหลวของแนฟทาลนี และสารละลายกรดเบนโซอกิ ในแนฟทาลีน พบวา่
แนฟทาลีนซึ่งเป็นสารบริสุทธิ์จะมีช่วงการหลอมเหลวเท่ากับ 1 oC และมีจุดหลอมเหลวเท่ากับ 78.7oC
เมอ่ื เทียบกบั สารละลายกรดเบนโซอกิ ในแนฟทาลนี ซงึ่ เป็นสารผสมจะมีชว่ งการหลอมเหลวเทา่ กับ 3.5oC
ซงึ่ กว้างกว่าสารบริสุทธ์ิ จะมจี ดุ หลอมเหลวประมาณ 74.6 oC ซ่งึ ตำ่ กวา่ สารบริสุทธิ์

ดังนั้น สารบริสุทธิ์จะมีจุดเดือดคงที่ และต่ำกว่าสารผสม ในทางกลับกันจุดหลอมเหลวของสาร
บริสุทธิ์จะสงู กวา่ สารผสม แตม่ ีชว่ งการหลอมเหลวแคบกว่าสารผสม”
13. นักเรียนและครรู ว่ มกันตอบคำถามทา้ ยกิจกรรม โดยมแี นวคำถาม ดังนี้
• เพราะเหตใุ ดถึงไม่ให้ความรอ้ นแก่หลอดทดลองในตอนที่ 1 และหลอดคะปลิ ลารีในตอนท่ี 2 โดยตรง
(แนวตอบ: เพราะ การให้ความรอ้ นโดยตรงแกห่ ลอดทดลอง และหลอดคะปิลลารีจะทำให้อ่าน อุณหภูมิ
ของจดุ เดอื ด และจดุ หลอมเหลวของสารไม่ทัน)
• จดุ เดอื ดของเอทานอลกบั สารละลายกรเี ซรอลในเอทานอลแตกต่างกันหรอื ไมอ่ ยา่ งไร
(แนวตอบ: แตกต่างกนั เพราะ เอทานอลเป็นสารบริสทุ ธิ์จะมีจดุ เดือดคงทแ่ี ละตำ่ กว่าสารผสม โดยกลีเซ
อรอลท่ผี สมกบั เอทานอลซ่ึงเปน็ สารไม่บริสทุ ธ์ิ หรือสารผสมจะมจี ุดเดอื ดทส่ี ูงกว่า)
• จดุ หลอมเหลวของแนฟทาลนี กบั สารละลายกรดเบนโซอกิ ในแนฟทาลีนแตกตา่ งกันหรือไม่ อย่างไร
(แนวตอบ: แตกตา่ งกัน เพราแนฟทาลีนเป็นสารบรสิ ุทธิจ์ ะมจี ุดหลอมเหลวสงู กว่าสารผสม โดยสารละลาย
เบนโซอิคในแนฟทาลนี ซ่ึงเปน็ สารไมบ่ รสิ ทุ ธ์ิ หรอื สารผสมจะมจี ดุ หลอมเหลวตำ่ กวา่ )

ช่วั โมงท่ี 5

ขัน้ ที่ 4 ขยายความรู้ (Expand)
14. ครูให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาเรื่อง สมบัติของสารบริสุทธิ์และสารผสม ในหนังสือเรียนสัมฤทธิ์มาตรฐาน
วทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 สารรอบตวั เพ่อื ขยายความใจวา่ เพราะเหตุใดสารบริสุทธิ์จึง
มจี ดุ เดือดต่ำกว่าสารผสม และสารบริสุทธม์ิ ีจุดหลอมเหลวสงู กวา่ สารผสม
15. ครูให้นักเรียนทำ Thinking Skills Activity ในหนังสือเรียนสัมฤทธิ์มาตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 สารรอบตัว
16. ครูใหน้ กั เรียนทำแบบทดสอบพฒั นาผเู้ รียน หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 สารรอบตัว
17. ครใู ห้นกั เรยี นทำแบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1 สารรอบตัว

100

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 สารรอบตวั
แผนฯ ท่ี 6 สมบัตขิ องสารบริสทุ ธ์ิและสารผสม

ขน้ั สอน

ข้ันที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูตรวจแบบทดสอบพฒั นาผูเ้ รยี นหนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 สารรอบตวั
2. ครูประเมินผลงานจากการทำกจิ กรรม Thinking Skills Activity
3. ครปู ระเมินผลการทำกิจกรรมการตรวจสอบสารบริสุทธแิ์ ละสารละลายโดยใช้แบบประเมินการปฏบิ ตั กิ าร
4. ครูประเมนิ ผลการทำงานกล่มุ จากการทำกิจกรรมการตรวจสอบสารบรสิ ทุ ธ์ิและสารละลาย
5. ครูตรวจแบบทดสอบหลงั เรยี นหน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 สารรอบตัว

10. การวัดและประเมินผล

รายการวดั วิธีวดั เครื่องมือ เกณฑ์การประเมนิ

10.1 การประเมินระหวา่ ง

การจัดกจิ กรรม

1) สมบตั ขิ องสารบรสิ ุทธ์ิ - ตรวจ Thinking - Thinking Skills Activity - ร้อยละ 60 ผ่าน

และสารผสม Skills Activity เกณฑ์

- ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบพัฒนา

พัฒนาผ้เู รยี น ผู้เรยี น - ร้อยละ 60 ผ่าน

เกณฑ์

2) พฤติกรรมการทำงาน - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม - ระดับคณุ ภาพ 2

รายกลุ่ม การทำงานรายกลุ่ม การทำงานรายกลุ่ม ผ่านเกณฑ์

3) พฤตกิ รรมการ - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบประเมนิ การ - ระดับคณุ ภาพ 2

ปฏบิ ตั กิ าร การปฏบิ ตั กิ าร ปฏิบัตกิ าร ผา่ นเกณฑ์

4) คุณลกั ษณะอันพึง - สังเกตความมวี นิ ยั - แบบประเมนิ - ระดับคณุ ภาพ 2

ประสงค์ ใฝเ่ รียนรู้ และมุง่ ม่ัน คุณลักษณะอันพึง ผา่ นเกณฑ์

ในการทำงาน ประสงค์

10.2 การประเมินหลงั เรียน

- แบบทดสอบหลงั เรยี น - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบหลงั เรยี น - ประเมินตามสภาพ
จริง
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 หลังเรยี น

เร่ือง สารรอบตัว

101

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 สารรอบตัว
แผนฯ ที่ 6 สมบตั ิของสารบริสทุ ธ์ิและสารผสม

11. ส่อื /แหลง่ การเรยี นรู้

11.1 สื่อการเรยี นรู้
1) หนังสอื เรยี นสัมฤทธิ์มาตรฐานวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 สารรอบตวั
2) วัสดอุ ุปกรณ์กจิ กรรมการตรวจสอบสารบริสทุ ธิแ์ ละสารละลาย
3) ใบกิจกรรม เร่ือง สถานะและองคป์ ระกอบของสารละลาย
4) ใบกิจกรรม เรอ่ื ง การตรวจสอบสารบริสทุ ธแ์ิ ละสารละลาย
5) บัตรคำ

11.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องปฏบิ ตั ิการวทิ ยาศาสตร์
2) อินเทอรเ์ น็ต

102

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 1 สารรอบตัว
แผนฯ ที่ 6 สมบัติของสารบริสทุ ธิ์และสารผสม

ใบกจิ กรรม เร่ือง สถานะและองค์ประกอบของสารละลาย
ชอ่ื กลมุ่ .................................................................................................................................................

สารละลาย สถานะสารละลาย สถานะตัวละลาย สถานะตวั ทำละลาย

อากาศ

น้ำเชื่อม

น้ำอดั ลม

อะมลั กมั

นาก

ไอน้ำในอากาศ

103

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 สารรอบตัว
แผนฯ ท่ี 6 สมบัติของสารบริสทุ ธิ์และสารผสม

ใบกิจกรรม เรื่อง การตรวจสอบสารบรสิ ุทธิ์และสารละลาย

ชอื่ กลมุ่ .................................................................................................................................................

วสั ดุอุปกรณ์ 7. แทง่ แก้วคนสาร
1. บีกเกอรข์ นาด 100 ml 8. ดา้ ย
2. หลอดทดลองขนาดเลก็ 9. เอทานอล
3. เทอรม์ อมิเตอร์ 10. สารละลานกรเี ซอรอลในเอทานอล
4. ตะเกยี งแอลกอฮอล์ 11. แนฟทาลีนบริสทุ ธบ์ิ ดละเอยี ด
5. ขาตง้ั และดา้ มจับ 12. สละลายกรดเบนโซอกิ ในแนฟทาลีน
6. หลอดคะปลิ ลารี

วธิ ีการทดลอง

ตอนที่ 1 การหาจดุ เดือดของเอทานอล และสารละลายกรีเซอรอลในเอทานอล

1. ใช้ด้ายพนั หลอดทดลองขนาดเลก็ ติดกบั เทอรม์ อมิเตอร์ โดยให้กน้ หลอดทดลองอยู่ในระดบั เดยี วกัน
2. เทน้ำลงในบีกเกอร์ใหม้ ีความสงู 2 ใน 3 ของบีกเกอร์ แลว้ นำไปวางบนตะแกรงจากนน้ั นำหลอดทดลองจาก

ขอ้ 1. ยึดกบั ดา้ มจับ โดยใหเ้ ทอรม์ อนเิ ตอรต์ ั้งตรงและไม่สมั ผสั กบั ก้นบกี เกอร์
3. ใส่เอทานอล 5 หยด ลงในหลอดทดลอง จากนั้นหย่อนหลอดคะปลิ นารีท่ีหลอมปลายดา้ นหนึง่ ประมาณ

0.5 cm ลงไปโดยให้ด้านที่หลอมปิดจมุ่ อยใู่ นเอทานอลจากนัน้ จุดตะเกียงแอลกอฮอล์
4. ใชแ้ ท่งแก้วคนสารตลอดเวลา ขณะตม้ นำ้ ในบกี เกอร์ เมื่อสังเกตเหน็ ฟองแก๊สปดุ ออกมาเปน็ สายจากหลอด

คะปลิ ลาลี หยุดใหค้ วามรอ้ นสังเกตและบันทกึ อณุ หภูมขิ ณะมแี กส๊ ฟองสุดทา้ ยปดุ ออกมา
5. ทำการทดลองเช่นเดียวกับขอ้ 1.-3. โดยใช้สารละลายกลีเซอรอลในเอทานอลเขม้ ข้น 2 mol/kg แทนเอ

ทานอลบรสิ ทุ ธิ์

ตอนที่ 2 การหาจกุ หลอมเหลวของแนฟทาลีน และสารละลายกรดเบนโซอกิ ในแนฟทาลีน

1. บรรจุแนฟทาลนี บริสทุ ธิล์ งไปในหลอดคะปลิ ลารที ีห่ ลอมจนปลายดา้ นหน่ึงปดิ ให้สงู ประมาณ 0.2 cm
2. ใช้ดา้ ยพันหลอดคะปิลลารยี ดึ กับเทอรม์ อมเิ ตอร์แล้วจมุ่ ลงในบีเกอร์ ซ่ึงบรรจุ ุน้ำประมาณ 2 ใน 3 ส่วน
3. ต้มน้ำในบีกเกอร์แล้วใช้แท่งแก้วคนสารคนตลอดเวลา สังเกตการณ์เปลี่ยนแปลงในหลอดคะปิลลารี

บันทกึ อุณหภูมิเมอื่ สารในหลอดคะปิลลารเี ริม่ หลอมเหลว และหลอมเหลวหมด
4. ทำการทดลองเช่นเกียวกับข้อ 1.-3. โดยใช้สารละลายกรดเบนโซอิกในแนฟทาลีนเข้มข้น 0.5 mol/kg

แทนแนฟทาลีนบริสุทธ์ิ

104

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 สารรอบตวั
แผนฯ ที่ 6 สมบตั ขิ องสารบรสิ ทุ ธแ์ิ ละสารผสม

อภิปรายผลการทดลอง

..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

105

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 1 สารรอบตัว
แผนฯ ที่ 6 สมบัติของสารบรสิ ทุ ธ์ิและสารผสม

บัตรคำ 

สารละลาย
สถานะสารละลาย
สถานะตัวละลาย
สถานะตัวทำละลาย

ของแขง็
ของเหลว

แก๊ส
อากาศ
นำ้ เช่อื ม
นำ้ อัดลม
อะมลั กมั
นาก
ไอนำ้ ในอากาศ

106

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 สารรอบตวั
แผนฯ ที่ 6 สมบัติของสารบรสิ ุทธแ์ิ ละสารผสม

12. ความเหน็ ของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาหรือผทู้ ี่ได้รับมอบหมาย

ข้อเสนอแนะ

ลงชอ่ื .................................
( ................................ )

ตำแหนง่ .......

13. บันทึกผลหลังการสอน

 ดา้ นความรู้

 ดา้ นสมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น

 ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์

 ดา้ นความสามารถทางวิทยาศาสตร์

 ดา้ นอน่ื ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรอื พฤตกิ รรมทม่ี ปี ญั หาของนักเรียนเปน็ รายบุคคล (ถ้ามี))

 ปญั หา/อุปสรรค
 แนวทางการแก้ไข

107

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 สารรอบตัว
แผนฯ ที่ 6 สมบตั ิของสารบริสุทธแ์ิ ละสารผสม

แบบประเมินการปฏิบัติการ

คำชแ้ี จง : ใหผ้ ู้สอนประเมินการปฏิบตั กิ ารของนักเรยี นตามรายการท่กี ำหนด แล้วขีด ✓ ลงในช่องท่ตี รงกับ
ระดบั คะแนน

ลำดบั ท่ี รายการประเมิน 4 ระดับคะแนน 1
32

1 การปฏบิ ตั กิ ารทดลอง

2 ความคลอ่ งแคล่วในขณะปฏิบัติการ

3 การนำเสนอ

รวม

ลงชอ่ื ................................................... ผู้ประเมนิ
................./................../..................

108

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 สารรอบตวั
แผนฯ ที่ 6 สมบตั ิของสารบรสิ ทุ ธ์แิ ละสารผสม

เกณฑ์การประเมนิ การปฏิบัติการ

ประเดน็ ท่ีประเมนิ 4 ระดบั คะแนน 1
32
ต้องให้ความชว่ ยเหลือ
1. การปฏบิ ัติการ ทำการทดลองตาม ทำการทดลองตาม ตอ้ งใหค้ วามช่วยเหลอื อยา่ งมากในการทำการ
ทดลอง และการใช้
ทดลอง ขน้ั ตอน และใชอ้ ุปกรณ์ ขัน้ ตอน และใชอ้ ุปกรณ์ บา้ งในการทำการ อุปกรณ์

ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง แต่อาจ ทดลอง และการใช้
ตอ้ งไดร้ ับคำแนะนำบ้าง อปุ กรณ์

2. ความ มีความคลอ่ งแคลว่ มคี วามคล่องแคลว่ ขาดความคล่องแคล่ว ทำการทดลองเสรจ็ ไม่
คล่องแคลว่ ในขณะทำการทดลอง ในขณะทำการทดลอง ในขณะทำการทดลอง ทันเวลา และทำ
ในขณะ แต่ตอ้ งได้รบั คำแนะนำ จึงทำการทดลองเสร็จ อปุ กรณ์เสียหาย
ปฏิบัติการ โดยไม่ต้องได้รบั คำ บ้าง และทำการทดลอง ไมท่ ันเวลา
ชีแ้ นะ และทำการ เสร็จทันเวลา ตอ้ งใหค้ วามชว่ ยเหลอื
3. การบนั ทึก สรปุ ทดลองเสรจ็ ทันเวลา ต้องให้คำแนะนำในการ อย่างมากในการบนั ทึก
และนำเสนอผล บนั ทกึ และสรุปผลการ บันทึก สรุป และ สรุป และนำเสนอผล
การทดลอง บนั ทกึ และสรปุ ผลการ ทดลองไดถ้ ูกตอ้ ง แต่ นำเสนอผลการทดลอง การทดลอง
ทดลองได้ถูกตอ้ ง รัดกุม การนำเสนอผลการ
นำเสนอผลการทดลอง ทดลองยังไมเ่ ปน็
เปน็ ขั้นตอนชัดเจน ขน้ั ตอน

เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ

11-12 ดีมาก

9-10 ดี

6-8 พอใช้

ต่ำกว่า 6 ปรับปรุง

109

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 สารรอบตวั
แผนฯ ท่ี 6 สมบตั ขิ องสารบริสทุ ธ์ิและสารผสม

แบบประเมนิ ช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด)

แบบประเมินผังมโนทัศน์

คำช้แี จง ให้ผู้สอนประเมินชน้ิ งาน/ภาระงาน แล้วขดี ✓ลงในช่องทีต่ รงกบั ระดับคะแนน

ลำดับที่ รายการประเมิน 4 ระดับคะแนน 1
รวม 32

1 ความสอดคล้องกับจดุ ประสงค์
2 ความถูกตอ้ งของเนือ้ หา
3 ความคดิ สรา้ งสรรค์
4 ความตรงตอ่ เวลา

ลงช่อื ................................................... ผู้ประเมนิ
................./................../..................

เกณฑ์การประเมนิ แผ่นพบั

ประเด็นที่ประเมนิ 4 ระดบั คะแนน 1
32 ผลงานไมส่ อดคล้องกับ
1. ความ ผลงานสอดคลอ้ งกบั ผลงานสอดคลอ้ งกับ ผลงานสอดคล้องกบั จดุ ประสงค์
จุดประสงค์เป็นส่วน จุดประสงค์บางประเด็น
สอดคล้องกบั จุดประสงคท์ ุกประเดน็ ใหญ่ เน้อื หาสาระของผลงาน
เน้อื หาสาระของผลงาน เน้ือหาสาระของผลงาน ไม่ถกู ต้องเปน็ สว่ นใหญ่
จุดประสงค์ ถูกตอ้ งเปน็ ส่วนใหญ่ ถูกตอ้ งบางประเด็น

2. ความถกู ตอ้ ง เน้ือหาสาระของผลงาน

ของเน้อื หา ถูกต้องครบถว้ น

3. ความคดิ ผลงานแสดงถึงความคดิ ผลงานแสดงถึงความคิด ผลงานมคี วามนา่ สนใจ ผลงานไมม่ ีความ
สร้างสรรค์ สรา้ งสรรค์ แปลกใหม่ สร้างสรรค์ แปลกใหม่ แต่ยังไม่มีแนวคิดแปลก น่าสนใจ และไม่แสดง
และเปน็ ระบบ แต่ยังไม่เป็นระบบ ใหม่ ถึงแนวคิดแปลกใหม่
4. ความตรงตอ่
เวลา ส่งช้ินงานภายในเวลาท่ี ส่งชิ้นงานชา้ กว่าเวลาท่ี ส่งช้นิ งานช้ากว่าเวลาท่ี ส่งชิน้ งานชา้ กวา่ เวลาที่
กำหนด กำหนด 1 วนั กำหนด 2 วนั กำหนด 3 วนั ขน้ึ ไป

110

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 สารรอบตัว
แผนฯ ที่ 6 สมบตั ขิ องสารบริสทุ ธแ์ิ ละสารผสม

เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ

14-16 ดีมาก

11-13 ดี

8-10 พอใช้

ตำ่ กว่า 8 ปรับปรงุ

111

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 สารรอบตัว
แผนฯ ท่ี 6 สมบตั ขิ องสารบรสิ ุทธแ์ิ ละสารผสม

แบบประเมินการนำเสนอผลงาน

คำชแี้ จง : ให้ผู้สอนประเมนิ การนำเสนอผลงาน แลว้ ขีด ✓ลงในชอ่ งท่ตี รงกับระดบั คะแนน

ลำดบั ท่ี รายการประเมิน ระดับคะแนน 1
32

1 ความถูกต้องของเนอ้ื หา  

2 ภาษาท่ใี ช้เขา้ ใจง่าย  

3 ประโยชนท์ ีไ่ ด้จากการนำเสนอ 

4 วิธกี ารนำเสนอผลงาน 

5 ความสวยงามของผลงาน 

รวม

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมนิ
.............../................/................

เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน
ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมินสมบรู ณช์ ดั เจน ให้ 2 คะแนน
ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินเปน็ สว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน
ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมินบางสว่ น

เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ

ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ

14-15 ดมี าก

11-13 ดี

8-10 พอใช้

ตำ่ กว่า 8 ปรับปรงุ

112

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 1 สารรอบตัว
แผนฯ ท่ี 6 สมบตั ขิ องสารบริสทุ ธ์ิและสารผสม

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล

คำชแี้ จง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในช่องทต่ี รงกบั

ระดบั คะแนน

ลำดบั ที่ รายการประเมนิ ระดับคะแนน 1
32

1 การแสดงความคดิ เหน็  

2 การยอมรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของผูอ้ ่นื  

3 การทำงานตามหน้าทท่ี ไ่ี ดร้ บั มอบหมาย  

4 ความมนี ำ้ ใจ  

5 การตรงตอ่ เวลา  

รวม

ลงชอ่ื ................................................... ผู้ประเมนิ
................/.............../................

เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน
ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครง้ั ให้ 1 คะแนน
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง

เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ

ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ

14-15 ดีมาก

11-13 ดี

8-10 พอใช้

ตำ่ กว่า 8 ปรับปรงุ

113

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 1 สารรอบตัว
แผนฯ ท่ี 6 สมบัติของสารบริสทุ ธแ์ิ ละสารผสม

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายกลมุ่

คำชี้แจง : ใหผ้ สู้ อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แลว้ ขดี ✓ลงในชอ่ งทีต่ รงกับ

ระดบั คะแนน

ลำดบั ชือ่ –สกลุ การแสดง การยอมรับ การทำงาน ความมี การมี รวม
ท่ี ของ ความ ฟงั คนอื่น ตามที่ได้รับ น้ำใจ สว่ นรว่ มใน 15
คิดเห็น มอบหมาย การปรับปรุง คะแนน
นกั เรียน 321 31 ผลงานกลุม่
321 321
3 21

2

เกณฑ์การใหค้ ะแนน ลงช่อื ................................................... ผู้ประเมิน
ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมอยา่ งสมำ่ เสมอ ................/.............../...............
ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบอ่ ยครัง้
ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั ให้ 3 คะแนน
ให้ 2 คะแนน
ให้ 1 คะแนน

114

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 สารรอบตัว
แผนฯ ที่ 6 สมบตั ขิ องสารบริสทุ ธแ์ิ ละสารผสม

เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ

14-15 ดีมาก

11-13 ดี

8-10 พอใช้

ตำ่ กว่า 8 ปรับปรงุ

115

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 สารรอบตวั
แผนฯ ท่ี 6 สมบัติของสารบริสทุ ธิแ์ ละสารผสม

แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

คำช้ีแจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แลว้ ขดี ✓ลงในชอ่ งทตี่ รงกับระดับ

คะแนน

คณุ ลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดับคะแนน
อันพึงประสงค์ดา้ น 321

1. รักชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาตไิ ด้

กษตั ริย์ 1.2 เข้ารว่ มกจิ กรรมท่ีสรา้ งความสามคั คี ปรองดอง และเป็นประโยชน์ตอ่

โรงเรียน

1.3 เขา้ รว่ มกจิ กรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ปฏบิ ตั ติ ามหลกั ศาสนา

1.4 เข้ารว่ มกิจกรรมที่เก่ียวกบั สถาบนั พระมหากษตั รยิ ต์ ามทโ่ี รงเรียนจัดขึน้

2. ซอื่ สัตย์ สุจริต 2.1 ให้ข้อมูลทถี่ ูกต้องและเป็นจรงิ

2.2 ปฏิบัตใิ นสง่ิ ท่ีถูกตอ้ ง

3. มีวนิ ยั รับผดิ ชอบ 3.1 ปฏบิ ตั ิตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ขอ้ บงั คับของครอบครวั

มคี วามตรงต่อเวลาในการปฏิบัตกิ จิ กรรมต่าง ๆ ในชวี ิตประจำวนั

4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 รู้จกั ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์และนำไปปฏบิ ตั ไิ ด้

4.2 รู้จักจัดสรรเวลาใหเ้ หมาะสม

4.3 เช่ือฟังคำสัง่ สอนของบิดา-มารดา โดยไม่โตแ้ ยง้

4.4 ตัง้ ใจเรียน

5. อยู่อยา่ งพอเพียง 5.1 ใช้ทรัพยส์ นิ และสิ่งของของโรงเรียนอย่างประหยดั

5.2 ใชอ้ ปุ กรณ์การเรยี นอย่างประหยัดและร้คู ุณคา่

5.3 ใช้จ่ายอยา่ งประหยัดและมกี ารเกบ็ ออมเงนิ

6. ม่งุ ม่ันในการ 6.1 มีความต้งั ใจและพยายามในการทำงานทไ่ี ด้รบั มอบหมาย

ทำงาน 6.2 มคี วามอดทนและไมท่ อ้ แท้ต่ออุปสรรคเพอ่ื ใหง้ านสำเรจ็

7. รกั ความเป็นไทย 7.1 มีจิตสำนกึ ในการอนรุ กั ษว์ ัฒนธรรมและภูมิปญั ญาไทย

7.2 เหน็ คุณคา่ และปฏบิ ตั ิตนตามวัฒนธรรมไทย

8. มีจิตสาธารณะ 8.1 ร้จู ักชว่ ยพอ่ แม่ ผู้ปกครอง และครูทำงาน

8.2 รจู้ ักการดแู ลรักษาทรัพยส์ มบัติและสิง่ แวดลอ้ มของห้องเรยี นและ

โรงเรยี น

ลงช่ือ ................................................... ผู้ประเมนิ
................/.............../................

116


Click to View FlipBook Version