The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 เทอม 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by yameen, 2022-05-13 03:37:11

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 เทอม 1

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 เทอม 1

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 สารรอบตัว ให้ 3 คะแนน
แผนฯ ท่ี 6 สมบัตขิ องสารบรสิ ทุ ธแ์ิ ละสารผสม ให้ 2 คะแนน
ให้ 1 คะแนน
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
พฤติกรรมทป่ี ฏิบตั ชิ ดั เจนและสม่ำเสมอ
พฤตกิ รรมทปี่ ฏิบตั ิชัดเจนและบ่อยคร้ัง
พฤติกรรมท่ีปฏิบัติบางครง้ั

เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ

14-15 ดีมาก

11-13 ดี

8-10 พอใช้

ต่ำกวา่ 8 ปรับปรงุ

117

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3 หน่วยของส่งิ มชี วี ิต
แผนฯ ท่ี 1 เซลล์ของสิ่งมชี วี ติ

แผนจัดการเรยี นรทู้ ี่ 1

กลุม่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ รายวิชา วิทยาศาสตร์
ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1

เรอ่ื ง เซลล์ของสิ่งมชี วี ติ เวลา 5 ชัว่ โมง

1. มาตรฐานการเรยี นรู้

ว 1.2 เข้าใจสมบตั ขิ องส่งิ มีชีวติ หน่วยพน้ื ฐานของสงิ่ มีชวี ติ การลำเลียงสารเขา้ และออกจากเซลล์
ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงาน
สัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงาน
สมั พนั ธ์กนั รวมท้งั นำความรู้ไปใช้ประโยชน์

2. ตวั ช้วี ัด

ว 1.2 ม.1/2 ใช้กลอ้ งจุลทรรศน์ใชแ้ สงศึกษาเซลลแ์ ละโครงสรา้ งตา่ ง ๆ ภายในเซลล์
ว 1.2 ม.1/3 อธบิ ายความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่างกับการทำหน้าทขี่ องเซลล์
ว 1.2 ม.1/4 อธิบายการจัดระบบของสิง่ มีชีวิต โดยเริ่มจากเซลล์ เน้อื เย่ือ อวยั วะ ระบบอวัยวะจนเป็น

ส่ิงมชี วี ิต

3. จุดประสงค์การเรียนรู้

1. อธบิ ายความสัมพนั ธ์ระหว่างรปู รา่ งของเซลลต์ อ่ การทำหน้าทข่ี องเซลล์ได้ (K)
2. อธบิ ายการจัดระบบของสง่ิ มีชีวิตได้ (K)
3. ใชง้ านกล้องจุลทรรศนแ์ บบใชแ้ สงตามข้นั ตอนทถี่ กู ต้องได้ (P)
4. ปฏิบัติตามขนั้ ตอนการใช้งานกล้องจลุ ทรรศนแ์ บบใช้แสงได้ (A)

4. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรียนรทู้ อ้ งถิน่
พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศกึ ษา
สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
- เซลล์เปน็ หนว่ ยพ้ืนฐานของสง่ิ มีชีวิต ส่ิงมีชีวิตบาง

ชนิดมีเซลล์เพียงเซลล์เดียว เช่น อะมีบา พารามี
เซยี ม ยสี ต์ บางชนิดมีหลายเซลล์ เช่น พชื สัตว์
- เซลล์ของสิ่งมีชีวิตมรี ูปร่างลักษณะท่ีหลากหลาย
และมีความเหมาะสมกับหน้าที่ของเซลล์นั้น เช่น
เซลลป์ ระสาทส่วนใหญ่มเี ส้นใยประสาทเป็นแขนง
ยาว นำกระแสประสาทไปยังเซลล์อ่ืน ๆ ที่อยูไ่ กล
ออกไป เซลล์ขนรากเป็นเซลล์ผิวของรากที่มีผนงั

132

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 หนว่ ยของส่งิ มชี วี ิต สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถิ่น
แผนฯ ท่ี 1 เซลล์ของส่ิงมีชีวติ พจิ ารณาตามหลักสูตรของสถานศกึ ษา

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง
เซลล์และเยื่อหุ้มเซลล์ยื่นยาวออกมา ลักษณะ
คล้ายขนเส้นเลก็ ๆ เพื่อเพิม่ พืน้ ท่ีผิวในการดูดน้ำ
และแรธ่ าตุ
- พชื และสตั วเ์ ปน็ สง่ิ มชี ีวติ หลายเซลล์มีการจดั ระบบ
โดยเริ่มจากเซลล์ไปเป็นเนื้อเยื่อ อวัยวะ ระบบ
อวัยวะ และสิ่งมีชวี ิต ตามลำดับ เซลล์หลายเซลล์
มารวมกันเป็นเนื้อเยื่อ เนื้อเยื่อหลายชนิดมา
รวมกันและทำงานร่วมกันเป็นอวัยวะ อวัยวะต่าง
ๆ ทำงานร่วมกัน

5. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด

เซลล์ (cell) เปน็ หน่วยพ้นื ฐานท่ีเล็กทส่ี ุดของสิง่ มีชีวติ ท้งั สงิ่ มชี ีวติ เซลลเ์ ดียวและสง่ิ มชี ีวิตหลายเซลล์
ซึ่งเซลล์แต่ละชนิดจะมีรูปร่างและลักษณะที่แตกต่างกัน โดยทั่วไปเซลล์ของสิ่งมีชีวิตจะมีขนาดเล็กไม่
สามารถมองเห็นไดด้ ว้ ยตาเปล่า จึงตอ้ งใชก้ ลอ้ งจุลทรรศนใ์ นการศกึ ษารูปร่างและลักษณะของเซลล์

6. สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น

1. ความสามารถในการสอื่ สาร
2. ความสามารถในการคิด

1) ทกั ษะการสงั เกต
2) ทกั ษะการระบุ
3) ทักษะการเปรยี บเทียบ
4) ทกั ษะการจำแนกประเภท
5) ทักษะการสำรวจ
3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

7.คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

1. มีวนิ ัย
2. ใฝเ่ รยี นรู้
3. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน

133

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 3 หนว่ ยของสิ่งมีชีวติ
แผนฯ ท่ี 1 เซลล์ของสิ่งมชี วี ติ

8. คำถามสำคญั

1. เซลล์คอื อะไร
2. จงบอกความแตกต่างของส่ิงมีชวี ิตเซลลเ์ ดียวและสิ่งมชี ีวิตหลายเซลล์
3. เซลลท์ ีมขี นาดใหญท่ ่สี ุดในร่างกายมนษุ ยค์ ือเซลล์ใด

9. กจิ กรรมการเรยี นรู้

วิธีสอนการสอน: แบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model)

ชว่ั โมงท่ี 1

ขั้นนำ

ขั้นท่ี 1 กระตนุ้ ความสนใจ (Engage)
1. ครูใหน้ ักเรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 หน่วยของสิ่งมีชีวิต เพ่ือวัดความรู้เดิม
ของนกั เรียนกอ่ นเข้าสูบ่ ทเรยี น
2. ครูตั้งคำถามเพ่อื กระตนุ้ ความคดิ ของนักเรียน โดยมีแนวคำถามดงั นี้
• สิง่ ทีเ่ ลก็ ทสี่ ุดในรา่ งกายของเราคืออะไร
(แนวคำตอบ: เซลล์ เปน็ หนว่ ยที่เล็กที่สุดในรา่ งกายของส่ิงมีชวี ติ ทกุ ชนดิ )
• เซลล์ประกอบดว้ ยโครงสรา้ งพนื้ ฐานใดบา้ ง
(แนวคำตอบ: อยทู่ ีด่ ลุ ยพนิ ิจของครูผสู้ อน)
• เพราะเหตใุ ดนิ้วมือจึงเหย่ี ว เม่อื แชน่ ้ำเป็นเวลานาน
(แนวคำตอบ: อยทู่ ี่ดลุ ยพนิ จิ ของครผู สู้ อน)

ขั้นสอน

ขัน้ ที่ 2 สำรวจค้นหา (Explore)
1. ครถู ามคำถามเพอ่ื ทบทวนความรเู้ ดิม โดยมีแนวคำถามดังน้ี
• สิ่งมชี วี ติ แตกตา่ งจากสงิ่ ไมม่ ชี ีวิตอย่างไร เพราะเหตุใดจึงเปน็ เชน่ นัน้
(แนวคำตอบ: ส่ิงมีชีวติ สามารถเจรญิ เติบโต เคลื่อนไหว หายใจ ขับถ่าย สืบพันธุ์ และตอบสนองต่อสิ่ง
เรา้ ได้ สว่ นส่ิงไม่มชี วี ติ ไม่มคี ุณสมบัตขิ องลักษณะดงั กล่าว เพราะสิง่ มีชีวิตทุกชนิดล้วนประกอบไปด้วย
เซลลท์ ีเ่ ปน็ หนว่ ยพ้นื ฐานให้สง่ิ มีชีวติ ดำเนนิ กจิ กรรมตา่ ง ๆ เพอ่ื ใชใ้ นการดำรงชีวิต)
2. ครูถามคำถามเพื่อโยงเข้าสู่หัวข้อที่จะเรียนว่า ร่างกายของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีโครงสร้างและ
จำนวนเซลลใ์ นการดำรงชีวติ เหมอื นกันหรือไม่
(แนวคำตอบ: ร่างกายของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีโครงสร้าง และจำนวนเซลล์ในการดำรงชีวิตไม่
เหมือนกนั )

134

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 3 หน่วยของส่งิ มชี ีวติ
แผนฯ ท่ี 1 เซลล์ของสงิ่ มีชีวติ

3. ครใู หน้ ักเรยี นศึกษาวดี ิทัศน์การเคลื่อนทขี่ องพารามีเซียมกับการเคลื่อนทข่ี องสัตว์ แล้วให้นักเรียน
ร่วมกันอภิปรายเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างส่ิงมชี ีวิตท้ังสองชนิด ในประเดน็ ของจำนวนเซลล์
และการทำงานรว่ มกันของเซลล์ทม่ี ีผลต่อการเคล่อื นท่ี

4. ครูให้นักเรียนศึกษา เรื่อง ประเภทเซลล์ของสิ่งมีชีวติ ในหัวข้อสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว และยกตัวอย่าง
ภาพสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวจากหนังสือเรียนสัมฤทธิ์มาตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน่วยการ
เรียนร้ทู ี่ 2 หนว่ ยของสิง่ มชี ีวติ

ช่ัวโมงท่ี 2

ข้ันท่ี 2 สำรวจค้นหา (Explore)
5. ครูถามคำถามเพื่อโยงเข้าสู่หัวข้อถัดไปว่า เซลล์ต่าง ๆ ที่อยู่บนร่างกายของเรามีรูปร่างและหน้าที่
เหมอื นกนั หรอื ไม่ อยา่ งไร
(แนวคำตอบ: เซลลบ์ นร่างกายมนุษย์มรี ปู ร่างแตกตา่ งกันตามความเหมาะสมกบั หน้าท่ีการทำงานของ
เซลล์แต่ละชนิด เช่น เซลลก์ ลา้ มเนือ้ เกยี่ วข้องกับการเคล่ือนที่ เซลล์รบั แสงในดวงตา เปน็ ตน้ )
6. ครูให้นักเรียนศึกษาตัวอย่างสิง่ มีชีวิตหลายเซลล์ เช่น พืช สัตว์ เป็นต้น โดยให้นักเรียนศึกษาขนาด
และรูปรา่ งของเซลล์จากหนังสือเรียนสัมฤทธม์ิ าตรฐานวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2
หน่วยของส่งิ มชี วี ติ หรอื จากแหล่งเรียนรูต้ ่าง ๆ เช่น อินเทอร์เนต็
7. ครูให้นักเรียนจับกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ร่วมกันยกตัวอย่างเซลล์ของสิ่งมีชีวิตมา 10 ชนิด พร้อม
อธบิ ายความสัมพันธร์ ะหวา่ งรูปร่างกบั หน้าที่ของเซลล์ชนดิ นั้น แลว้ ส่งตัวแทนออกมานำเสนอหน้าชั้น
เรยี น

ชั่วโมงที่ 3

ขน้ั ท่ี 2 สำรวจค้นหา (Explore)
8. ครถู ามคำถามเกริน่ นำเขา้ สหู่ วั ขอ้ ทีจ่ ะเรียนวา่ เราจะศกึ ษารูปรา่ งและลักษณะเซลลข์ องส่ิงมีชีวิตเซลล์
เดยี ว และเซลล์ของสิ่งมชี วี ติ หลายเซลล์ไดอ้ ย่างไร
(แนวคำตอบ: การศึกษาเซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว และเซลล์ของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ต้องอาศัย
กล้องจลุ ทรรศน์เข้ามาช่วยในการศกึ ษา)
9. ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยการเล่าประวัติของรอเบิรต์ ฮุค พอสังเขป พร้อมทั้งอธิบายเพิม่ เติมเกี่ยวกบั
กลอ้ งจุลทรรศน์ท่ีรอเบิร์ต ฮคุ เป็นผผู้ ลติ ข้นึ เพื่อใช้ในการศกึ ษาเซลล์ จากนัน้ ครูตง้ั คำถามเพื่อกระตุ้น
ความสนใจของนักเรียนวา่ เซลลท์ ี่รอเบริ ต์ ฮุค ค้นพบมลี กั ษณะอยา่ งไร
(แนวคำตอบ: รอเบิร์ต ฮุค ใช้กล้องจุลทรรศน์ส่องดูไม้คอร์กที่เฉือนบาง ๆ และพบช่องขนาดเล็ก
จำนวนมาก เรยี กชอ่ งเหลา่ น้ีวา่ เซลล์ (cell) แต่เซลลท์ รี่ อเบริ ต์ ฮคุ เห็นนนั้ เป็นเซลลท์ ่ตี ายแลว้ เพราะ
ภายในไม่มีองคป์ ระกอบทม่ี ชี วี ิตอยู่มเี พียงผนังเซลล์เรียงตดิ กันเปน็ ชอ่ งสเ่ี หล่ยี ม)

135

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 3 หนว่ ยของสง่ิ มชี วี ิต
แผนฯ ที่ 1 เซลล์ของส่ิงมีชีวติ

10. ครอู ธิบายส่วนประกอบของกลอ้ งจลุ ทรรศนจ์ ากหนงั สือเรียนสัมฤทธิ์มาตรฐานวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 หนว่ ยของส่ิงมีชีวติ หรือสแกน QR Code เร่ือง กล้องจุลทรรศน์ในหนังสอื เรียน
สมั ฤทธ์มิ าตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 หน่วยของสงิ่ มีชวี ิต

11. ครูสาธิตการใช้งานกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงตามขั้นตอนที่ถูกต้อง จากหนังสือเรียนสัมฤทธิ์
มาตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 2 หนว่ ยของส่ิงมชี ีวิต

12. ครูแจกใบงานที่ 2.1.1 เร่ือง เซลล์ของส่งิ มชี ีวติ แล้วใหน้ กั เรียนศกึ ษาคำช้แี จงในใบงาน
13. ครูให้นักเรียนจับกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ฝึกปฏิบัติใช้งานกล้องจุลทรรศน์ โดยใช้สไลด์ตัวอย่างท่ี

จัดเตรียมไวแ้ ล้ว ได้แก่ พารามีเซียม ยูกลีนา เซลล์เม็ดเลือดแดง เซลล์อสุจิ เซลล์ประสาท เซลล์คมุ
เป็นต้น โดยแต่ละกลุ่มจะได้รับสไลด์ตัวอย่างที่แตกต่างกัน จากนั้นครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสังเกต
รูปร่าง แล้ววาดภาพและบรรยายลักษณะและหน้าทีข่ องเซลล์ แต่ละชนิดลงในใบงานที่ 2.1.1 เรื่อง
เซลลข์ องส่ิงมีชีวิต

ช่ัวโมงท่ี 4

ข้ันท่ี 3 อธบิ ายความรู้ (Explain)
14. ครูสุ่มเลือกนักเรยี น 4 คน ออกมานำเสนอใบงานที่ 2.1.1 เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต หน้าช้ันเรียนโดย
นักเรยี นแตล่ ะคนนำเสนอในหัวข้อ ดังนี้
• นักเรียนคนท่ี 1 นำเสนอข้ันตอนการใชก้ ลอ้ งจุลทรรศน์
• นักเรียนคนท่ี 2 นำเสนอความแตกต่างระหว่างสง่ิ มีชีวติ เซลล์เดียวกบั ส่งิ มชี ีวิตหลายเซลล์
• นักเรียนคนที่ 3 และ 4 นำเสนอความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่างของเซลล์ต่อการทำหน้าที่ของ
เซลล์จากสไลด์ตวั อยา่ ง
15. ครูอธิบายเพ่ิมเติมเพ่ือเสรมิ ความเขา้ ใจหลังจากนักเรียนแต่ละคนนำเสนอ

ชว่ั โมงที่ 5

ขน้ั ท่ี 4 ขยายความเขา้ ใจ (Expand)
16. ครูให้นกั เรยี นศึกษาเนือ้ หาเร่อื ง รูปรา่ งของเซลล์ โดยใหน้ ักเรยี นเปรียบเทียบความแตกตา่ งของรปู ร่าง
ของเซลลร์ ะหว่างเซลล์สตั ว์และเซลล์พชื จากในหนงั สอื เรียนสมั ฤทธิม์ าตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หน่วยของสิ่งมีชีวิต หรือสแกน QR Code เรื่อง ประเภทของสิ่งมีชีวิต ใน
หนงั สือเรยี นสัมฤทธม์ิ าตรฐานวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 2 หนว่ ยของสิ่งมชี ีวติ
17. ครใู หน้ ักเรยี นทำ Exercise 1.1 ในหนงั สอื เรียนสัมฤทธม์ิ าตรฐานวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน่วยการ
เรยี นรู้ท่ี 2 หนว่ ยของสิ่งมีชีวิต

136

หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 3 หน่วยของสิ่งมีชวี ิต
แผนฯ ท่ี 1 เซลล์ของส่ิงมชี ีวติ

ขนั้ สรุป

ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครตู รวจใบงานท่ี 2.1.1 เร่ือง เซลล์ของสงิ่ มีชีวิต
2. ครตู รวจ Exercise 1.1 ในหนังสือเรียนสมั ฤทธม์ิ าตรฐานวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 2
หน่วยของสงิ่ มชี วี ติ
3. ครปู ระเมินพฤติกรรมการทำงานรายกลุ่มจากการศกึ ษาองคป์ ระกอบและการใชง้ านของกล้องจุลทรรศน์
4. ครปู ระเมินการนำเสนอใบงาน โดยใช้แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน

10. การวัดและประเมนิ ผล

รายการวดั วธิ กี าร เครือ่ งมอื เกณฑ์การประเมนิ

10.1 การประเมินกอ่ นเรยี น - แบบทดสอบก่อนเรยี น - ประเมนิ ตามสภาพจริง

- แบบทดสอบกอ่ นเรียน - ตรวจแบบทดสอบ - ใบงานที่ 2.1.1 - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
- Exercise 2.1 - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 ก่อนเรียน - แบบประเมินการ - ระดบั คณุ ภาพ 2 ผ่าน

หนว่ ยของสง่ิ มีชวี ติ นำเสนอผลงาน เกณฑ์
- แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคณุ ภาพ 2 ผา่ น
10.2 ประเมนิ ระหว่างการ การทำงานรายกลุ่ม เกณฑ์
- แบบประเมนิ - ระดบั คุณภาพ 2 ผ่าน
จดั กิจกรรมการเรียนรู้ คณุ ลกั ษณะ เกณฑ์
1) เซลล์ของสิง่ มีชีวิต - ตรวจใบงานที่ 2.1.1 อนั พงึ ประสงค์
- ประเมนิ ตามสภาพจริง
- ตรวจ Exercise 2.1 - แบบทดสอบกอ่ นเรียน

2) การนำเสนอผลงาน - ประเมินการนำเสนอ

ผลงาน

3) พฤติกรรมการทำงาน - สังเกตพฤตกิ รรม

รายกลุ่ม การทำงานรายกล่มุ

4) คุณลักษณะอันพงึ - สงั เกตความมวี ินัย

ประสงค์ ใฝเ่ รยี นรู้ และมุ่งมัน่

ในการทำงาน

7.1 การประเมนิ กอ่ นเรียน

- แบบทดสอบก่อนเรยี น - ตรวจแบบทดสอบ

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 ก่อนเรยี น

หน่วยของสิง่ มีชีวติ

137

หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 3 หนว่ ยของส่ิงมีชวี ิต
แผนฯ ที่ 1 เซลล์ของส่ิงมีชวี ิต

11. ส่ือ/แหล่งการเรยี นรู้

11.1 สอ่ื การเรียนรู้
1) หนังสอื เรยี นสัมฤทธม์ิ าตรฐานวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 2 หนว่ ยของสง่ิ มีชีวติ
2) ใบงานท่ี 2.1.1 เร่ือง เซลล์ของสงิ่ มีชีวิต
3) QR Code เรอ่ื ง กลอ้ งจลุ ทรรศน์
4) QR Code เร่อื ง ประเภทของสงิ่ มีชวี ติ
5) กลอ้ งจุลทรรศน์
6) สไลดส์ งิ่ มีชีวิตตวั อย่าง เชน่ พารามเี ซียม ยกู ลนี า เซลล์เม็ดเลือดแดง เซลล์อสุจิ เป็นต้น

11.2 แหล่งการเรยี นรู้
1) ห้องปฏบิ ัติการวิทยาศาสตร์
2) อนิ เทอรเ์ น็ต

138

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 3 หนว่ ยของสง่ิ มีชีวิต
แผนฯ ที่ 1 เซลล์ของส่งิ มชี วี ิต

ใบงานที่ 2.1.1

เร่อื ง เซลลข์ องสง่ิ มีชีวติ

คำช้ีแจง จงวาดภาพเซลล์ หรือส่ิงมีชวี ิตภายใตก้ ลอ้ งจุลทรรศน์ และอธิบายลักษณะหรอื หน้าท่ีของเซลล์
สง่ิ มชี วี ิตชนิดนน้ั ลงในตารางให้สมบูรณ์

ภาพท่เี หน็ ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ ประเภทของเซลล์ ลักษณะ/หนา้ ทขี่ อง
(เซลล/์ สง่ิ มชี วี ติ ) เซลล์
ภาพวาดรปู ร่างของเซลล์ ชอ่ื

139

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 3 หน่วยของสิง่ มีชีวติ
แผนฯ ท่ี 1 เซลล์ของสง่ิ มีชวี ิต

ใบงานที่ 2.1.1 เฉลย

เรื่อง เซลล์ของสิ่งมชี ีวติ

คำชีแ้ จง จงวาดภาพเซลล์ หรอื สง่ิ มีชีวิตภายใต้กลอ้ งจลุ ทรรศน์ และอธิบายลักษณะหรือหน้าทีข่ องเซลล์
สิ่งมีชีวติ ชนิดนั้นลงในตารางใหส้ มบรู ณ์

ภาพทเี่ หน็ ภายใตก้ ล้องจุลทรรศน์ ประเภทของเซลล์ ลกั ษณะ/หนา้ ทข่ี อง
(เซลล/์ ส่งิ มชี วี ิต) เซลล์
ภาพวาดรูปรา่ งของเซลล์ ช่อื

พารามีเซยี ม ส่งิ มีชีวติ เซลล์เดียว เซลล์มีรูปร่างคล้าย
รองเท้าและมีขนเล็ก ๆ
ยกู ลีนา สิ่งมชี ีวติ เซลล์เดียว รอบเซลล์

เซลล์เมด็ เลอื ด เซลล์ของสิง่ มีชีวติ เซลล์มีลักษณะคล้ายกับ
แดง หลายเซลล์ รูปกระสวยปลายหัวและ
ท้ายแหลม มีขนยาว 1
เซลล์อสจุ ิ เซลลข์ องส่งิ มชี วี ิต เสน้
หลายเซลล์ เซลล์มีลักษณะเป็นทรง
กลม ตรงกลางมีรอยบุ๋ม
เพื่อทำหน้าที่จั บกับ
ออกซเิ จน
เซลล์มีลักษณะคล้าย
ลูกอ๊อด มีส่วนหัว ลำตัว
และหางซึ่งใช้ในการ
เคลอ่ื นท่ีไปหาเซลลไ์ ข่

เซลลป์ ระสาท เซลล์ของสิง่ มชี วี ติ เซลล์มีลักษณะเป็นแฉก
หลายเซลล์ ทำหน้าที่รับส่งกระแส
ประสาท

เซลลค์ ุม เซลล์ของส่งิ มีชวี ติ เซลล์มีลักษณะคล้ายเมลด็
หลายเซลล์ ถั่ว 1 คู่ ประกบกันตรง
กลางมีช่องว่างเรียกว่า
ปากใบ

140

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 หน่วยของส่ิงมีชวี ติ
แผนฯ ท่ี 1 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต

12. ความเหน็ ของผู้บริหารสถานศกึ ษาหรอื ผู้ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย

ขอ้ เสนอแนะ

ลงชอื่ .................................
( ................................ )

ตำแหนง่ .......

13. บันทึกผลหลงั การสอน

 ดา้ นความรู้

 ดา้ นสมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน

 ดา้ นคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์

 ด้านความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์

 ดา้ นอ่ืน ๆ (พฤตกิ รรมเดน่ หรอื พฤตกิ รรมทมี่ ีปัญหาของนกั เรียนเปน็ รายบุคคล (ถา้ มี))

 ปัญหา/อุปสรรค
 แนวทางการแก้ไข

141

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 3 หน่วยของสงิ่ มีชวี ิต
แผนฯ ที่ 2 สว่ นประกอบของเซลล์

แผนจัดการเรียนรู้ท่ี 2

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์
ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 1

เรอ่ื ง สว่ นประกอบของเซลล์ เวลา 3 ชัว่ โมง

1. มาตรฐานการเรียนรู้

ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์
ความสัมพนั ธ์ของโครงสรา้ งและหน้าทขี่ องระบบตา่ ง ๆ ของสัตวแ์ ละมนษุ ยท์ ี่ทำงานสัมพนั ธก์ ัน
ความสมั พันธ์ของโครงสร้างและหนา้ ทข่ี องอวัยวะต่าง ๆ ของพืชทท่ี ำงานสมั พันธก์ นั รวมทงั้ นำ
ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

2. ตัวช้วี ัด

ว 1.2 ม.1/1 เปรียบเทียบรูปร่างและโครงสรา้ งของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ รวมทั้งบรรยายหน้าที่ของผนงั
เซลล์ เยอ่ื ห้มุ เซลล์ ไซโทพลาซึม นวิ เคลยี ส แวคิวโอล ไมโทคอนเดรยี และคลอโรพลาสต์

3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. บรรยายหนา้ ท่อี งคป์ ระกอบของเซลล์ได้ (K)
2. เปรยี บเทยี บรูปรา่ งและโครงสร้างของเซลล์พืชและเซลล์สตั ว์ได้ (P)
3. มีความตัง้ ใจในการทำกิจกรรมกลุ่มและตัง้ ใจในการทำการทดลองวิทยาศาสตร์ (A)

4. สาระการเรียนรู้ สาระการเรยี นรทู้ ้องถน่ิ
พจิ ารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา
สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง
- โครงสร้างพื้นฐานที่พบทั้งในเซลล์พืชและเซลล์

สัตว์ และสามารถสังเกตได้ด้วยกล้องจุลทรรศน์
ใช้แสง ได้แก่ เยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม และ
นวิ เคลียส โครงสรา้ งทพี่ บในเซลลพ์ ืชแต่ไม่พบใน
เซลล์สัตว์ ไดแ้ ก่ ผนงั เซลลแ์ ละคลอโรพลาสต์
- โครงสร้างตา่ ง ๆ ของเซลลม์ หี น้าทีแ่ ตกต่างกัน
• ผนังเซลล์ ทำหน้าทใ่ี หค้ วามแข็งแรงแก่เซลล์

142

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 หนว่ ยของสิ่งมชี ีวิต สาระการเรียนรู้ท้องถิน่
แผนฯ ที่ 2 ส่วนประกอบของเซลล์ พจิ ารณาตามหลักสตู รของสถานศึกษา

สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
• เย่ือหุ้มเซลล์ ทำหน้าทหี่ ่อหุ้มเซลล์ และควบคมุ
การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์
• นิวเคลียส ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของ
เซลล์
• ไซโทพลาซึม มอี อร์แกเนลล์ท่ที ำหนา้ ท่ีแตกต่างกนั
• แวคิวโอล ทำหนา้ ท่ีเกบ็ นำ้ และสารตา่ ง ๆ
• ไมโทคอนเดรีย ทำหน้าที่เกี่ยวกับการสลาย
สารอาหารเพือ่ ให้ไดพ้ ลังงานแกเ่ ซลล์
• คลอโรพลาสต์เป็นแหล่งที่เกิดการสังเคราะห์ด้วย
แสง

5. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด

เซลล์สิ่งมีชีวิตมีส่วนประกอบพื้นฐานสำคัญ 3 ส่วน ได้แก่ เยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม และนิวเคลียสแต่
เซลล์พชื และเซลล์สัตว์จะมบี างส่วนประกอบท่ีแตกต่างกัน เชน่ เซลล์พชื จะมผี นงั เซลล์ห่อหุ้มเย่ือหุ้มเซลล์อีก
ชั้นหนึง่ และมคี ลอโรพลาสต์ ทำหนา้ ทสี่ ร้างอาหารใหแ้ ก่เซลล์ ซ่ึงทง้ั ผนงั เซลล์และคลอโรพลาสต์จะไม่พบใน
เซลล์สัตว์

6. สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน

1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด

1) ทักษะการสงั เกต
2) ทกั ษะการระบุ
3) ทักษะการเปรียบเทียบ
4) ทกั ษะการรวบรวมขอ้ มลู
5) ทักษะการจำแนกประเภท
3. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต

143

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 3 หน่วยของสงิ่ มชี วี ติ
แผนฯ ที่ 2 ส่วนประกอบของเซลล์

7.คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

1. มวี ินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน

8. คำถามสำคัญ

1. ส่วนประกอบของเซลลม์ โี รงสร้างพนื้ ฐานทเี่ หมอื นกัน 3 ส่วน แลว้ แต่ส่วนน้นั มีอะไรบ้าง
2. ไซโทพลาซมึ ส่วนทห่ี อ่ หมุ้ เซลล์ และนิวเคลียสคอื อะไร
3. ผนงั เซลลพ์ บได้ในเซลล์ชนิดใด

9. กจิ กรรมการเรยี นรู้

วธิ ีสอนการสอน: แบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model)

ชว่ั โมงท่ี 1

ขัน้ นำ

ขน้ั ท่ี 1 กระตุ้นความสนใจ (Engage)
1. ครูต้งั คำถามกระต้นุ ความคดิ ของนักเรยี น โดยมแี นวคำถาม ดงั น้ี
• เซลลพ์ ชื และเซลล์สัตวม์ ลี ักษณะเหมอื นหรอื ตา่ งกนั อย่างไร แลว้ ให้นักเรียนชว่ ยกนั ระดมความคดิ ใน การ
ตอบคำถาม
(แนวคำตอบ: เซลล์พืชและเซลล์สัตว์จะมีโครงสร้างพื้นฐานสำคญั 3 ส่วนที่เหมือนกัน คือ ส่วนที่ห่อหมุ้
เซลล์ ไซโทพลาซึม และนิวเคลียส แต่แตกต่างกันท่ีรูปร่างของเซลล์ ซึ่งเซลลพ์ ืชจะมีรูปร่างเหลีย่ ม ส่วน
เซลล์สัตว์จะมีรปู ร่างกลม)

ขั้นสอน

ขั้นที่ 2 สำรวจคน้ หา (Explore)
1. ครูให้นักเรียนศึกษาแผนภาพโครงสร้างของเซลล์สิ่งมีชีวิตทั้งเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ จากหนังสือเรียน
สมั ฤทธมิ์ าตรฐานวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 2 หนว่ ยของสงิ่ มีชีวิต จากน้นั ครูอธิบาย
เพมิ่ เติมเก่ยี วกับโครงสรา้ งพนื้ ฐานสำคัญของเซลล์สิ่งมชี วี ิตพอสงั เขป

144

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หนว่ ยของส่งิ มีชวี ิต
แผนฯ ที่ 2 สว่ นประกอบของเซลล์

2. ครูให้นักเรียนดูภาพความแตกต่างระหว่างเซลลพ์ ืชและเซลล์สัตว์ โดยมีตัวอย่างบัตรภาพเซลลพ์ ืชและ
เซลลส์ ัตว์ ดงั น้ี

3. จากนั้นครถู ามคำถาม โดยมแี นวคำถาม ดังน้ี
• ถา้ เซลล์ไม่มีนิวเคลยี ส ส่งิ มชี ีวิตจะสามารถดำรงชวี ติ ได้ตามปกตหิ รือไม่

(แนวคำตอบ: เนื่องจากนิวเคลยี สทำหน้าที่ควบคุมกจิ กรรมตา่ ง ๆ ของเซลล์ ซึ่งหากเซลล์สิง่ มีชีวิต ไม่มี
นิวเคลียส พบว่า ถ้าเป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เซลล์จะไม่สามารถดำรงชีวิตได้ เนื่องจากไม่มีนิวเคลียส
ควบคุมกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นภายในเซลล์ แต่ถ้าเป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ หากเซลล์ไม่มีนิวเคลยี สจะ
ยังคงสามารถดำรงชีวิตได้อยา่ งปกติ เนอ่ื งจากร่างกายของส่งิ มีชวี ิตหลายเซลล์ประกอบด้วยเซลล์จำนวน
มาก หากบางเซลล์ไม่มีนิวเคลียส เซลล์อื่น ๆ ที่มีลักษณะหรือหน้าที่เหมือนกัน จะสามารถทำหน้าที่
ทดแทนเซลล์ที่ไม่มีนวิ เคลยี สได)้

ชั่วโมงท่ี 2

ขั้นท่ี 2 สำรวจคน้ หา (Explore)
4. ครูใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบสี่สหาย มาจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน
เพื่อทำกิจกรรมรูปร่างและส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ในหนังสือเรียนสัมฤทธิ์มาตรฐาน
วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 หน่วยของสิ่งมีชีวติ โดยมีจุดประสงค์เพื่อสามารถเตรียม
สไลด์สดของเซลล์พชื และเซลล์สัตว์ เพื่อนำมาศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์ได้ และเพื่อเปรยี บเทียบความ
แตกต่างระหวา่ งเซลลพ์ ชื กับเซลล์สัตวไ์ ด้
5. จากนั้นให้นกั เรียนสง่ ตัวแทนกลุม่ ออกมารับวัสดุอุปกรณ์การทดลองกิจกรรมรูปร่างและส่วนประกอบ
ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ จากนัน้ ใหแ้ ตล่ ักลุม่ ลงมือทำการทดลอง โดยมรี ายละเอียดดงั น้ี
สมาชิก 2 คน : ศกึ ษาสไลดข์ องเซลลพ์ ืช เช่น เซลล์ใบสาหร่ายหางกระรอก เซลล์เยื่อหอม เปน็ ตน้
สมาชิก 2 คน : ศกึ ษาสไลดข์ องสง่ิ มชี วี ติ หลายเซลล์ เช่น เซลล์เยอื่ บุข้างแก้ม เป็นต้น

145

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 หนว่ ยของส่ิงมีชวี ิต
แผนฯ ท่ี 2 ส่วนประกอบของเซลล์

6. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเปรียบเทียบเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ที่สังเกตเห็นภายใต้กล้องจุลทรร ศน์ และ
อภิปรายผลร่วมกันว่า เซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีส่วนประกอบใดที่เหมือนกัน และส่วนประกอบใดที่
แตกต่างกัน และอธิบายหน้าทขี่ องส่วนประกอบต่าง ๆ ของเซลล์ พร้อมท้ังตอบคำถามท้ายกิจกรรมลงใน
ใบบนั ทึกผลการทดลอง เรือ่ ง รูปรา่ งและส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลลส์ ตั ว์

ขั้นที่ 3 อธิบายความรู้ (Explain)
7. ครูส่มุ เลือกนกั เรยี น 2-3 กลุม่ ออกมานำเสนอขอ้ มูลการเปรียบเทียบเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ และอธิบาย
หนา้ ท่ขี องส่วนประกอบต่าง ๆ ของเซลล์ และตอบคำถามท้ายกจิ กรรมโดยมีแนวคำตอบ ดังน้ี
• เซลล์เย่ือหัวหอมแดงและเซลลใ์ บสาหร่ายหางกระรอกมลี ักษณะอยา่ งไร และมสี ว่ นประกอบสำคัญใดบา้ ง
(แนวคำตอบ: เซลลข์ องพชื ทั้ง 2 ชนิด มลี กั ษณะเป็นเหลี่ยม ผนังด้านนอกหนาทำให้เซลล์มคี วามแข็งแรง
สว่ นประกอบท่สี ำคญั ของเซลล์เยื่อหอมหัวแดงท่ีสงั เกตได้ คือ นิวเคลยี ส ไซโทรพลาซึม เยือ่ หุ้มเซลล์และ
ผนงั เซลล์ สว่ นเซลล์ใบสาหร่ายหางกระรอกประกอบด้วยนิวเคลียส ไซโทพลาซมึ คลอ-โรพลาสต์ เย่ือหุ้ม
เซลล์ และผนงั เซลล์)
• เซลล์เย่ือบขุ า้ งแก้มมลี ักษณะอยา่ งไร และมีสว่ นประกอบสำคัญใดบา้ ง
(แนวคำตอบ: เซลล์เยื่อบุขา้ งแกม้ มีรูปรา่ งค่อนข้างกลม ผนังบางจึงทำให้มีรูปร่างไม่แน่นอน ซึ่งต่างจาก
เซลล์เยื่อหอมหัวแดงและเซลล์ใบสาหร่ายหางกระรอกอยา่ งชัดเจน ส่วนประกอบที่สังเกตเห็นได้ชัดเจน
ได้แก่ นวิ เคลียส ไซโทพลาซึม และเยื่อหมุ้ เซลล)์
• ส่วนประกอบใดที่พบเฉพาะในเซลล์ใบสาหร่ายหางกระรอก และเพราะเหตุใดจึงไม่พบส่วนประกอบ
ดังกล่าวในเซลลเ์ ย่อื หวั หอมแดง และเซลลเ์ ยอื่ บุขา้ งแกม้
(แนวคำตอบ: ส่วนประกอบที่พบเฉพาะในเซลล์ใบสาหร่ายหางกระรอก คือ คลอโรพลาสต์ ซึ่งมีลกั ษณะ
เปน็ เมด็ เล็ก ๆ สเี ขยี ว โดยสาเหตุทีไ่ มพ่ บคลอโรพลาสต์ในเซลล์ชนดิ อ่ืน เน่ืองจากคลอโร-พลาสต์มีหน้าท่ี
หลักในการสังเคราะห์ด้วยแสง จึงพบเฉพาะในเซลล์พชื และพบเฉพาะในสว่ นของพชื ท่ีมีสีเขยี วเท่านั้น)
• สว่ นประกอบใดทพี่ บได้ทง้ั ในเซลล์พชื และเซลล์สตั ว์ และส่วนใดทพี่ บไดเ้ ฉพาะในเซลล์พชื เท่านน้ั
(แนวคำตอบ: ส่วนประกอบทพ่ี บไดท้ งั้ ในเซลลพ์ ืชและเซลล์สตั ว์ ได้แก่ นวิ เคลยี ส ไซโทพลาซมึ และเยื่อหุ้ม
เซลล์ ส่วนประกอบที่พบเฉพาะในเซลล์พชื เทา่ นนั้ ได้แก่ คลอโรพลาสต์และผนงั เซลล์)
• ในการศกึ ษารปู รา่ งและส่วนประกอบของเซลล์ เพราะเหตใุ ดจึงตอ้ งหยดสารละลายไอโอดนี ลงบนสไลด์
(แนวคำตอบ: เพ่ือทำให้สามารถมองเห็นสว่ นประกอบและรูปร่างของเซลลไ์ ดช้ ดั เจนยิ่งข้นึ )
8. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายผลจากการทำกิจกรรม และเฉลยคำตอบจากคำถามท้ายกิจกรรมใน
หนงั สอื เรยี นสมั ฤทธ์มิ าตรฐานวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 หน่วยของสิง่ มชี ีวิต ดงั นี้

146

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 3 หน่วยของสิง่ มชี วี ิต
แผนฯ ท่ี 2 สว่ นประกอบของเซลล์

“จากการทดลอง พบว่า เซลล์พืชและเซลล์สตั ว์มีความแตกต่างกันท้ังรปู ร่างและส่วนประกอบบางอย่าง
แมแ้ ต่เซลล์พชื เชน่ กัน แต่เปน็ เซลล์ตา่ งชนิดกัน กม็ ีสว่ นประกอบบางอย่างที่แตกตา่ งกัน ท้ังนส้ี ว่ นประกอบ
และรูปรา่ งของเซลลแ์ สดงให้เห็นถึงบทบาทและหนา้ ทขี่ องเซลลแ์ ตล่ ะชนิดทแ่ี ตกตา่ งกนั ไป”

ชวั่ โมงท่ี 3

ขัน้ ที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Expand)
9. ครูต้ังคำถามเพ่อื ตอ่ ยอดการทำกิจกรรมว่า นอกจากรูปร่างของเซลลท์ ี่แตกตา่ งกนั แลว้ นักเรยี นคดิ ว่า เซลล์
พชื และเซลล์สัตวม์ อี ะไรท่แี ตกต่างกนั
(แนวคำตอบ: เซลลพ์ ชื จะพบผนงั เซลลแ์ ละคลอโรพลาสต์ ส่วนในเซลล์สตั วจ์ ะพบเพยี งเซนทริโอล)
10. ครใู ห้นักเรยี นร่วมกันสรปุ และทำแผ่นพบั เรอ่ื ง เซลลพ์ ชื และเซลลส์ ตั ว์ ในประเดน็ ตา่ ง ๆ ดงั นี้
• โครงสร้างและหนา้ ที่ ส่วนประกอบต่าง ๆ ของเซลล์ และความแตกต่างระหว่างเซลล์พืชและเซลล์
สตั ว์
11. ครูให้นักเรียนทำ Exercise 1.2 ในหนังสือเรียนสัมฤทธิ์มาตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน่วยการ
เรียนร้ทู ี่ 2 หนว่ ยของสิ่งมีชีวิต

ขน้ั สรุป

ขั้นท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูตรวจ Exercise 1.2 ในหนังสือเรียนสัมฤทธิ์มาตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หนว่ ยของสง่ิ มีชีวิต
2. ครูประเมนิ การทำกิจกรรม เรอ่ื ง รูปรา่ งและสว่ นประกอบของเซลล์พืชและเซลลส์ ัตว์ โดยใช้แบบประเมิน
การปฏบิ ัตกิ าร
3. ครูประเมินพฤติกรรมการทำงานกล่มุ

147

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 หน่วยของสงิ่ มีชีวิต
แผนฯ ที่ 2 ส่วนประกอบของเซลล์

10. การวัดและประเมนิ ผล

รายการวัด วธิ ีวัด เครอื่ งมอื เกณฑก์ ารประเมิน

10.1 การประเมินระหวา่ ง - Exercise 1.2 -ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
- แบบประเมนิ ชิ้นงาน - ระดบั คุณภาพ 2
การจัดกจิ กรรม ผา่ นเกณฑ์
- แบบประเมนิ - ระดับคุณภาพ 2
1) เซลล์พชื และเซลล์ - ตรวจ Exercise 1.2 การปฏบิ ัติการ ผ่านเกณฑ์
- ระดับคณุ ภาพ 2
สัตว์ - ประเมนิ แผน่ พบั เร่อื ง - แบบสงั เกตพฤติกรรม ผ่านเกณฑ์
การทำงานรายกลุ่ม - ระดบั คุณภาพ 2
เซลล์พืชและเซลลส์ ัตว์ ผ่านเกณฑ์
- แบบประเมนิ
2) การปฏิบัติการ - ประเมินการปฏบิ ตั ิการ คณุ ลกั ษณะอันพึง
ประสงค์
3) พฤติกรรมการทำงาน - สงั เกตพฤตกิ รรม

รายกลมุ่ การทำงานรายกลุ่ม

4) คุณลักษณะอันพึง - สังเกตความมีวนิ ัย

ประสงค์ ใฝเ่ รียนรู้ และม่งุ มน่ั

ในการทำงาน

11. สื่อ/แหลง่ การเรยี นรู้

11.1 สื่อการเรยี นรู้
1) หนงั สือเรยี นสัมฤทธ์ิมาตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 2 หน่วยของสง่ิ มีชวี ิต
2) วัสดอุ ปุ กรณ์การทดลองกจิ กรรมรูปร่างและส่วนประกอบของเซลล์พชื และเซลล์สตั ว์
3) ใบบันทึกผลการทดลอง เร่อื ง รปู ร่างและส่วนประกอบของเซลล์พชื และเซลลส์ ัตว์
4) บัตรภาพเซลลพ์ ืชและเซลลส์ ตั ว์

11.2 แหล่งการเรียนรู้
- หอ้ งปฏิบัตกิ ารวทิ ยาศาสตร์

148

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 3 หน่วยของส่งิ มีชวี ิต
แผนฯ ที่ 2 ส่วนประกอบของเซลล์

ใบบันทึกผลการทดลอง

เรื่อง รูปร่างและสว่ นประกอบของเซลล์พชื และเซลล์สตั ว์
จุดประสงค์
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
ระบุปัญหา
....................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
สมมติฐาน
....................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
ตารางบันทกึ ผลการทดลอง

ส่วนประกอบของเซลลท์ ่ีสังเกตเหน็
เซลล์ทศ่ี ึกษา ลักษณะของเซลล์ ผนังเซลล์ เยือ่ หุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม นิวเคลยี ส คลอโรพลาสต์
เซลลเ์ ยือ่ หอม

หัวแดง
เซลลใ์ บ
สาหร่ายหาง
กระรอก
เซลล์เยื่อบุข้าง
แกม้

อภปิ รายผลการทดลอง

..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

149

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 หน่วยของสิง่ มีชวี ติ
แผนฯ ที่ 2 สว่ นประกอบของเซลล์

บัตรภาพเซลล์พชื และเซลลส์ ตั ว์



150

หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 3 หนว่ ยของส่งิ มีชวี ติ
แผนฯ ท่ี 2 สว่ นประกอบของเซลล์

12. ความเหน็ ของผูบ้ ริหารสถานศึกษาหรอื ผทู้ ไ่ี ดร้ ับมอบหมาย

ขอ้ เสนอแนะ

ลงชอื่ .............................................
(................................................ )

ตำแหน่ง .............................................

.

13. บนั ทกึ ผลหลังการสอน

 ดา้ นความรู้

 ด้านสมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน

 ด้านคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

 ด้านความสามารถทางวิทยาศาสตร์

 ด้านอื่น ๆ (พฤตกิ รรมเดน่ หรอื พฤตกิ รรมทม่ี ปี ัญหาของนกั เรยี นเปน็ รายบุคคล (ถ้าม)ี )

 ปญั หา/อุปสรรค
 แนวทางการแกไ้ ข

151

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 3 หน่วยของสง่ิ มีชวี ติ
แผนฯ ท่ี 3 การแพรแ่ ละออสโมซสิ

แผนจดั การเรียนรูท้ ่ี 3

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ รายวชิ า วิทยาศาสตร์
ระดับช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 1

เร่อื ง การแพร่และออสโมซิส เวลา 4 ชว่ั โมง

1. มาตรฐานการเรียนรู้

ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์
ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าท่ีของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษยท์ ่ีทำงานสัมพนั ธ์กัน
ความสัมพนั ธ์ของโครงสร้างและหน้าท่ีของอวยั วะต่าง ๆ ของพชื ทที่ ำงานสมั พนั ธ์กัน รวมท้งั นำ
ความรูไ้ ปใช้ประโยชน์

2. ตวั ช้วี ัด

ว 1.2 ม.1/5 อธิบายกระบวนการแพร่และออสโมซิสจากหลักฐานเชิงประจักษ์ และยกตัวอย่างการแพร่และการ
ออสโมซิสในชีวิตประจำวัน

3. จุดประสงค์การเรียนรู้

1. อธบิ ายกระบวนการแพร่และออสโมซสิ ได้ (K)
2. อธบิ ายความแตกตา่ งของการแพร่และออสโมซสิ ได้ (K)
3. ใช้งานอุปกรณท์ างวทิ ยาศาสตร์ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง (P)
4. รับผดิ ชอบต่อหน้าทแ่ี ละงานที่ได้รบั มอบหมาย (A)

4. สาระการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ท้องถิ่น
พจิ ารณาตามหลักสูตรของสถานศกึ ษา
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
- เซลล์มีการนำสารเข้าสู่เซลล์เพื่อใช้ในการ

เจริญเติบโต การแบ่งเซลล์ การสืบพันธุ์ และมี
การขจัดสารบางอย่างที่เซลล์ไม่ต้องการออก
นอกเซลล์ การนำสารเข้าและออกจากเซลล์ มี
หลายวิธี เช่น การแพร่ ซึ่งเป็นกระบวนการ
เคลื่อนที่ของอนุภาคสารจากบริเวณที่มีความ
เข้มข้นสูงไปสู่บริเวณที่มีความเข้มข้นต่ำ และ

152

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 หน่วยของสงิ่ มชี วี ติ สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถ่นิ
แผนฯ ท่ี 3 การแพร่และออสโมซสิ พจิ ารณาตามหลกั สูตรของสถานศึกษา

สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ออสโมซิสซึ่งเป็นกระบวนการเคลื่อนที่ของ
โมเลกุลน้ำจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของ
สารละลายต่ำไปสู่บริเวณที่มีความเข้มข้นของ
สารละลายสงู

5. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด

เซลล์ของส่ิงมชี ีวิตต้องมีกระบวนการนำสารเขา้ และออกจากเซลล์ เพื่อใชใ้ นกระบวนการดำรงชีวิตของ
เซลล์ เช่น การแพร่เป็นกระบวนการเคลื่อนที่ของอนุภาคสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นสูงไปสู่บริเวณที่มี
ความเข้มข้นต่ำ หรือการออสโมซิสเป็นกระบวนการเคลือ่ นที่ของโมเลกุลน้ำจากบรเิ วณที่มีความเข้มข้นของ
สารละลายต่ำไปสบู่ ริเวณทีม่ คี วามเข้มข้นความเขม้ ข้นของสารละลายสูง เปน็ ตน้

6. สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น

1. ความสามารถในการสอ่ื สาร
2. ความสามารถในการคิด

1) ทกั ษะการสงั เกต
2) ทักษะการระบุ
3) ทักษะการเปรียบเทยี บ
4) ทักษะการเชอ่ื มโยง
5) ทกั ษะการรวบรวมขอ้ มลู
3. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต

7.คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์

1. มวี ินัย
2. ใฝเ่ รียนรู้
3. ม่งุ ม่นั ในการทำงาน

153

หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 3 หนว่ ยของสงิ่ มชี ีวติ
แผนฯ ที่ 3 การแพร่และออสโมซสิ

8. คำถามสำคญั

1. การแพร่คอื อะไร
2. การออสโมซิสคืออะไร
3. การแพร่และการออสโมซิสมีความแตกต่างกันอยา่ งไร

9. กจิ กรรมการเรยี นรู้

วธิ ีสอนการสอน: แบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model)

ชว่ั โมงที่ 1

ข้ันนำ

ขั้นที่ 1 กระตนุ้ ความสนใจ (Engage)
1. ครถู ามคำถามเพ่อื กระตุ้นความสนใจและทบทวนความรูข้ องนักเรียน โดยมีแนวคำถาม ดงั นี้
• พชื สามารถดดู นำ้ และแรธ่ าตุจากดินเขา้ สูล่ ำตน้ ผ่านอวัยวะใด
(แนวคำตอบ: พืชจะดูดน้ำและแร่ธาตุจากดินเข้าสู่ลำต้นผ่านทางราก ซึ่งมีท่อลำเลียงน้ำ หรือไซเล็ม
(xylem) ทำหนา้ ทใี่ นการลำเลียงนำ้ และแร่ธาต)ุ
• เซลล์พชื และเซลลส์ ตั วแ์ ตกตา่ งกนั อยา่ งไร
(แนวคำตอบ: เซลล์พชื จะพบผนงั เซลล์และคลอโรพลาสต์ สว่ นในเซลล์สัตว์จะพบเพยี งเซนทรโิ อล)
• ส่วนประกอบใดที่พบได้ท้ังในเซลลพ์ ชื และเซลลส์ ัตว์ และส่วนใดทพี่ บไดเ้ ฉพาะในเซลลพ์ ชื เท่านัน้
(แนวคำตอบ: สว่ นประกอบทพี่ บไดท้ ั้งในเซลล์พชื และเซลล์สตั ว์ ไดแ้ ก่ นวิ เคลียส ไซโทพลาซึมและเยื่อหุ้ม
เซลล์ ส่วนประกอบทพี่ บเฉพาะในเซลล์พชื เทา่ น้ัน ไดแ้ ก่ คลอโรพลาสตแ์ ละผนงั เซลล์)

ขัน้ สอน

ขนั้ ท่ี 2 สำรวจคน้ หา (Explore)
1. ครใู หน้ ักเรียนศึกษาหลกั การแพร่และตวั อยา่ งการแพรท่ เี่ กิดขึน้ ในชวี ติ ประจำวันและในสงิ่ มชี ีวิต
2. ครูให้นักเรียนศึกษากระบวนการแพร่ของสารผ่านเข้าและออกจากเซลล์ เมื่อความเข้มข้นของสาร
ภายนอกและภายในเซลล์แตกต่างกัน รวมถึงปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่ของสาร ในหนังสือเรียนสัมฤทธิ์
มาตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 2 หนว่ ยของสิ่งมชี วี ิต จากนั้นครูอธิบายเพมิ่ เตมิ
3. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน เพื่อทำกิจกรรม การแพร่ของสาร ตามหนังสือเรียนสัมฤทธ์ิ
มาตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หน่วยของสง่ิ มีชีวิต โดยมจี ดุ ประสงค์เพ่ือทดลอง

154

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 หน่วยของสงิ่ มชี ีวติ
แผนฯ ท่ี 3 การแพรแ่ ละออสโมซสิ

และอธิบายการเคลื่อนที่ของอนุภาคขณะเกิดการแพร่ แล้วให้นักเรียนสังเกตและบันทึกผลที่ได้จาก
กิจกรรมลงในใบบนั ทึกผลการทดลอง เร่ือง การแพร่ของสาร
4. นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มลงมือทำการทดลอง โดยใหต้ วั แทนของแต่ละกลมุ่ ออกมารับวสั ดุอุปกรณ์กิจกรรมการ
แพร่ของสาร จากนั้นให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทำการทดลองตามขั้นตอนในหนังสือเรียนสัมฤทธิม์ าตรฐาน
วทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 หนว่ ยของส่ิงมีชวี ิต

ช่ัวโมงท่ี 2

ข้นั ที่ 3 อธบิ ายความรู้ (Explain)
5. ครูสุ่มเลือกนักเรียน 2-3 กลุ่ม ออกมานำเสนอผลการอภิปรายจากกิจกรรมการแพร่ของสาร และตอบ
คำถามท้ายกจิ กรรม
6. นักเรียนและครรู ว่ มกันอภปิ รายผลจากการทำกิจกรรม และเฉลยคำตอบของคำถามท้ายกิจกรรมโดยมีแนว
คำตอบดงั นี้
• เมื่อหย่อนเกรด็ ด่างทบั ทิมลงในน้ำเกดิ การเปลย่ี นแปลงอย่างไร
(แนวคำตอบ: เมื่อหย่อนเกร็ดด่างทับทมิ ลงในน้ำจะเห็นสีม่วงกระจายออกจากเกรด็ ดา่ งทบั ทิม และเมื่อ
เกร็ดด่างทับทิมตกลงถึงก้นบีกเกอร์ น้ำบริเวณบีกเกอร์จะเป็นสีม่วง เมื่อทิ้งไว้สักครู่สีม่วงจะกระจาย
ออกไปโดยรอบ จนในทีสุดน้ำทั้งบีกเกอร์มีสีม่วงสม่ำเสมอกัน เนื่องจากมีการเคลื่อนที่ของอนุภาคด่าว
ทบั ทิมจากบริเวณทีม่ ีความเข้มสูงไปยงั บรเิ วณที่มีความเขม็ ตำ่ จนกระท่งั ทั้งสองบรเิ วณมีความเข้มข้นของ
อนุภาคเท่ากัน)
• ในชวี ิตประจำวัน นักเรียนคิดว่ามีเหตกุ ารณ์ใดบ้างทมี่ ีการเคลอื่ นที่ของอนุภาคแบบเดียวกับการเคล่ือนที่
ของอนุภาคดา่ งทับทมิ
(แนวคำตอบ: 1. การใส่ผงกาแฟลงในน้ำรอ้ น การใสเ่ กลือลงน้ำ หรอื การใส่น้ำตาลลงในนำ้
2. การฟงุ้ กระจายของนำ้ หอมในอากาศ
3. การแพร่ของแก๊สหงุ ตม้ ทรี่ ่ัวไหลออกจากแกส๊
4. การแพร่ของสีชาจากถงุ ชาในน้ำร้อน)

ขน้ั ท่ี 4 ขยายความเขา้ ใจ (Expand)
7. ครใู ห้นักเรยี นทำ Exercise 2.1 ในหนงั สอื เรยี นสัมฤทธ์ิมาตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หนว่ ยการเรียนรู้
ท่ี 2 หนว่ ยของส่งิ มชี ีวติ

155

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 3 หนว่ ยของส่งิ มชี ีวิต
แผนฯ ที่ 3 การแพร่และออสโมซสิ

ชวั่ โมงท่ี 3

ขน้ั ที่ 2 สำรวจค้นหา (Explore)
8. ครูทบทวนความร้เู ดมิ จากชวั่ โมงทแี่ ลว้ เกี่ยวกบั กระบวนการแพร่ของสาร พอสังเขป
9. ครูให้นักเรียนศึกษาหลักการออสโมซิสและตัวอย่างการออสโมซิสที่เกิดขึ้นในสิ่งมีชีวิตและใน
ชีวติ ประจำวัน รวมถงึ ปัจจัยที่มผี ลต่อการออสโมซิสของนำ้ ในหนังสอื เรยี นสัมฤทธ์ิมาตรฐานวิทยาศาสตร์
ม.1 เลม่ 1 หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 2 หนว่ ยของส่งิ มชี วี ติ จากน้ันครอู ธิบายเพ่มิ เติม
10. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ทำกิจกรรม การแพร่ผ่านเยื่อเลือกผ่าน โดยมีจุดประสงค์เพ่อื
ทดลองและอธิบายการเคลื่อนที่ของอนุภาคน้ำขณะเกิดออสโม ตามหนังสือเรียนสัมฤทธิ์มาตรฐาน
วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 หนว่ ยของสิง่ มีชวี ติ แล้วใหน้ ักเรยี นสงั เกตและบันทกึ ผลที่ได้
จากกจิ กรรมลงในใบบนั ทึกผลการทดลอง เรือ่ ง การแพร่ผา่ นเยือ่ เลือกผา่ น
11. ครใู ห้นกั เรียนสง่ ตัวแทนกลุ่มออกมารบั วสั ดุอปุ กรณก์ จิ กรรมการแพร่ผ่านเย่ือเลอื กผา่ น จากนนั้ ให้แต่ละ
กลุ่มทำการทดลอง ตามขั้นตอนในหนังสือเรียนสัมฤทธิ์มาตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน่วยการ
เรยี นรทู้ ี่ 2 หนว่ ยของส่ิงมีชวี ิต

ข้นั ที่ 3 อธิบายความรู้ (Explain)
12. ครูสุ่มเลือกกลุ่มนักเรียน 2-3 กลุ่ม ออกมานำเสนอผลจากการทำกิจกรรม เรื่อง การแพร่ผ่านเย่ือ เลือก
ผา่ น แลว้ ใหน้ ักเรียนตอบคำถามทา้ ยกิจกรรม โดยมแี นวคำถาม ดังน้ี
• ระดับสารละลายในหลอดแก้วตั้งแต่เริ่มจนจบกิจกรรมมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร เพราะเหตุใดจึงเป็น
เช่นนั้น
(แนวคำตอบ: ระดับสารละลายในนำ้ ตาลในหลอดแก้วจะค่อย ๆ สูงขึน้ เนื่องจากน้ำในบีกเกอร์แพร่เข้าสู่
ถงุ เซลโลเฟน ส่งผลให้สารละลายในถุงมปี ริมาตรมากขน้ึ )
• หากต้ังชุดการทดลองไวน้ านกว่า 5 นาที นกั เรียนคดิ ว่าระดบั ของสารละลายนำ้ ตาลในหลอดแก้วจะเป็น
อยา่ งไร และความเข้มขน้ ของสารละลายน้ำตาลในถงุ เซลโลเฟนจะมีค่ามากหรือน้อยกว่า 20 % w/v
(แนวคำตอบ: หากตัง้ ชุดการทดลองไว้นานกวา่ 5 นาที ระดับสารละลายนำ้ ตาลในหลอดแกว้ จะสูงขึน้ เรื่อย
ๆ ความเข้มข้นของสารละลายน้ำตาลในถุงเซลโลเฟนจะลดลงน้อยกว่า 20 % และหากตั้งไว้นาน ๆ
สารละลายอาจล้นออกจากหลอดแก้ว หรอื อยู่ในระดับคงที่)
• หากทำการทดลองใหม่ โดยเปลยี่ นแปลงความเขม้ ขน้ ของสารละลายน้ำตาลในถงุ เซลโลเฟน นกั เรียนคิด
วา่ ระดบั สารละลายน้ำตาลในหลอดแก้วจะมีการเปล่ยี นแปลงหรอื ไม่ อยา่ งไร

156

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 3 หน่วยของสง่ิ มชี ีวติ
แผนฯ ที่ 3 การแพร่และออสโมซิส

(แนวคำตอบ: หากเพ่ิมความเขม้ ขน้ ของสารละลายน้ำตาลในถงุ เซลโลเฟน ระดบั ของสารละลายนำ้ ตาลใน
หลอดแกว้ จะเพ่ิมขน้ึ สงู อยา่ งรวดเรว็ กว่าเมอ่ื ใชส้ ารละลายนำ้ ตาลความเขม้ ข้นต่ำ)
13. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายถึงการออสโมซิสของนำ้ ในสารละลายซูโครสผ่านเยือ่ เลือกผา่ น
สาเหตทุ ที่ ำใหร้ ะดับของเหลวในหลอดแก้วเพิ่มข้นึ และส่งิ ที่สังเกตได้จากกจิ กรรม

ขน้ั ที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Expand)
14. ครูถามคำถามนกั เรยี นวา่ การแพรแ่ ละการออสโมซสิ มีความแตกต่างกันอยา่ งไร
(แนวคำตอบ: การแพร่ เป็นการเคลอ่ื นทขี่ องอนภุ าคสาร จากบรเิ วณทมี่ คี วามเขม้ ขน้ ของสารละลายสูงไป
ตำ่ แตก่ ารออสโมซิสเป็นการเคล่ือนทีข่ องโมเลกลุ น้ำ จากบรเิ วณทมี่ ีความเข้มขน้ ของสารละลายต่ำไปสงู )
15. ครใู ห้นกั เรียนแบ่งกลุม่ กล่มุ ละ 4-5 คน จัดทำรายงาน เรื่อง การแพร่และการออสโมซสิ และยกตัวอย่าง
การแพรแ่ ละการออสโมซสิ ในชีวิตประจำวัน มาอย่างนอ้ ย 5 เหตุการณ์ และอธิบายความสอดคล้องของ
เหตุการณ์ท่เี กดิ ข้ึนกับหลักการของการแพร่และการออสโมซสิ ลงในเล่มรายงาน

ช่ัวโมงท่ี 4

ขัน้ ที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Expand)
16. ครูให้นักเรียนตรวจสอบตนเองด้วยการทำ Thinking skills ในหนังสอื เรยี นสัมฤทธมิ์ าตรฐานวทิ ยาศาสตร์
ม.1 เลม่ 1 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 หน่วยของสง่ิ มชี ีวิต
17. ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบพัฒนาผู้เรียนในหนังสือเรียนสัมฤทธิ์มาตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 หนว่ ยของส่งิ มชี วี ติ
18. ครใู ห้นกั เรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 หนว่ ยของสิ่งมีชีวติ

ขน้ั สรุป

ข้ันท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูตรวจ Exercise 2.1 ในหนังสือเรียนสัมฤทธิ์มาตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หนว่ ยของสง่ิ มชี วี ติ
2. ครตู รวจสอบผลจากการทำรายงานในหัวขอ้ เรื่อง การแพร่และการออสโมซิส
3. ครูตรวจแบบทดสอบพัฒนาผู้เรยี นในหนังสือเรียนสัมฤทธิ์มาตรฐานวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน่วยการ
เรยี นรู้ที่ 2 หน่วยของสิ่งมีชวี ิต
4. ครูตรวจแบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 2 หนว่ ยของสิง่ มชี ีวิต

157

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หนว่ ยของสงิ่ มชี ีวิต
แผนฯ ท่ี 3 การแพรแ่ ละออสโมซสิ

10. การวัดและประเมนิ ผล

รายการวดั วธิ ีวัด เคร่ืองมือ เกณฑก์ ารประเมนิ

10.1 การประเมินระหวา่ ง

การจดั กิจกรรม

1) การลำเลยี งสารเข้า - ตรวจ Exercise 2.1 - Exercise 2.1 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

และออกจากเซลล์ - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบพัฒนา - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

พัฒนาผ้เู รียน ผู้เรยี น

- ประเมินรายงาน เรื่อง - แบบประเมนิ ช้ินงาน - ระดบั คณุ ภาพ 2

การแพรแ่ ละการออสโมซิส ผา่ นเกณฑ์

2) การปฏบิ ัติการ - ประเมนิ การปฏิบตั ิการ - แบบประเมนิ - ระดบั คุณภาพ 2

การปฏบิ ตั ิการ ผ่านเกณฑ์

3) พฤติกรรมการทำงาน - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม - ระดบั คณุ ภาพ 2

รายกลุ่ม การทำงานรายกลุ่ม การทำงานรายกล่มุ ผ่านเกณฑ์

4) คณุ ลกั ษณะอนั พึง - สงั เกตความมวี นิ ยั - แบบประเมินคุณลกั ษณะ - ระดบั คณุ ภาพ 2

ประสงค์ ใฝเ่ รยี นรู้ และมงุ่ มัน่ อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์

ในการทำงาน

10.2 การประเมินหลังเรียน

- แบบทดสอบหลังเรยี น - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบหลงั เรยี น - ประเมนิ ตามสภาพจริง

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 หลงั เรยี น

หนว่ ยของส่ิงมชี ีวติ

11. สอื่ /แหลง่ การเรยี นรู้

11.1 ส่อื การเรียนรู้
1) หนังสอื เรียนสมั ฤทธิ์มาตรฐานวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 หน่วยของส่ิงมชี ีวิต
2) วัสดุอุปกรณก์ ิจกรรมการแพรข่ องสาร
3) วสั ดุอุปกรณ์กิจกรรมการแพร่ผา่ นเยื่อเลอื กผ่าน
4) ใบบันทกึ ผลการทดลอง เรอ่ื ง การแพรข่ องสาร
5) ใบบันทึกผลการทดลอง เรอื่ ง การแพรผ่ า่ นเยอ่ื เลอื กผา่ น

11.2 แหล่งการเรียนรู้
- หอ้ งปฏบิ ัติการวิทยาศาสตร์

158

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หนว่ ยของสงิ่ มชี วี ติ
แผนฯ ท่ี 3 การแพรแ่ ละออสโมซสิ

ใบบันทึกผลการทดลอง

เร่อื ง การแพร่ของสาร
จดุ ประสงค์
....................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
ระบุปัญหา
....................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
สมมติฐาน
....................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................

บันทึกผลการทดลอง ภาพการเปล่ยี นแปลงสีของสารละลายบกี เกอร์

ก่อนหยอดเกร็ดด่างทบั ทิม เมอื่ หยอ่ นเกรด็ ด่างทับทิม หลังย่อนเกรด็ ด่างทบั ทมิ

อภปิ รายผลการทดลอง

..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

159

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 3 หน่วยของสง่ิ มชี วี ิต
แผนฯ ท่ี 3 การแพร่และออสโมซิส

ใบบันทึกผลการทดลอง

เร่อื ง การแพร่ผา่ นเย่อื เลอื กผา่ น
จุดประสงค์
....................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
ระบปุ ญั หา
....................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
สมมติฐาน
....................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................

บนั ทึกผลการทดลอง
....................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................... ..................................................
....................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................

อภิปรายผลการทดลอง

..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
.................................................................. ......................................................................................
.............................................................................................................................................................

160

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 หนว่ ยของสิง่ มชี วี ิต
แผนฯ ที่ 3 การแพรแ่ ละออสโมซสิ

12. ความเหน็ ของผบู้ ริหารสถานศกึ ษาหรือผ้ทู ีไ่ ดร้ ับมอบหมาย

ข้อเสนอแนะ

ลงชอื่ .............................................
(................................................ )

ตำแหน่ง .............................................

13. บันทึกผลหลังการสอน

 ดา้ นความรู้

 ดา้ นสมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น

 ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

 ดา้ นความสามารถทางวิทยาศาสตร์

 ดา้ นอนื่ ๆ (พฤตกิ รรมเดน่ หรอื พฤตกิ รรมทมี่ ีปัญหาของนกั เรยี นเปน็ รายบุคคล (ถ้าม)ี )

 ปญั หา/อุปสรรค
 แนวทางการแก้ไข

161

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 หนว่ ยของสิง่ มชี ีวติ
แผนฯ ที่ 3 การแพร่และออสโมซสิ

เกณฑก์ ารประเมนิ การปฏิบตั ิการ

ประเด็นที่ประเมิน 4 ระดับคะแนน 1
ทำการทดลองตาม
4. การปฏบิ ัติการ ขั้นตอน และใชอ้ ปุ กรณ์ 32 ตอ้ งให้ความช่วยเหลอื
ทดลอง ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง ทำการทดลองตาม ตอ้ งใหค้ วามชว่ ยเหลอื อยา่ งมากในการทำการ
ขนั้ ตอน และใชอ้ ุปกรณ์ บา้ งในการทำการ ทดลอง และการใช้
ได้อย่างถูกต้อง แต่อาจ ทดลอง และการใช้ อุปกรณ์
ตอ้ งได้รับคำแนะนำบา้ ง อปุ กรณ์

5. ความ มคี วามคลอ่ งแคลว่ มีความคล่องแคลว่ ขาดความคล่องแคลว่ ทำการทดลองเสรจ็ ไม่
คลอ่ งแคลว่ ในขณะทำการทดลอง ในขณะทำการทดลอง ทันเวลา และทำ
ในขณะ ในขณะทำการทดลอง แตต่ อ้ งได้รับคำแนะนำ จึงทำการทดลองเสร็จ อุปกรณเ์ สียหาย
ปฏบิ ตั กิ าร โดยไม่ตอ้ งไดร้ บั คำ บา้ ง และทำการทดลอง ไม่ทนั เวลา
ชี้แนะ และทำการ เสร็จทันเวลา ตอ้ งให้ความชว่ ยเหลอื
6. การบันทกึ สรุป ต้องให้คำแนะนำในการ อยา่ งมากในการบนั ทึก
และนำเสนอผล ทดลองเสร็จทันเวลา บันทึกและสรปุ ผลการ บนั ทึก สรปุ และ สรปุ และนำเสนอผล
การทดลอง ทดลองไดถ้ กู ตอ้ ง แต่ นำเสนอผลการทดลอง การทดลอง
บนั ทกึ และสรุปผลการ การนำเสนอผลการ
ทดลองไดถ้ ูกตอ้ ง รดั กมุ ทดลองยังไมเ่ ปน็
นำเสนอผลการทดลอง ข้นั ตอน
เปน็ ขนั้ ตอนชดั เจน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ

11-12 ดีมาก

9-10 ดี

6-8 พอใช้

ตำ่ กวา่ 6 ปรับปรงุ

162

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 3 หนว่ ยของสงิ่ มีชวี ติ
แผนฯ ที่ 3 การแพรแ่ ละออสโมซสิ

แบบประเมินช้นิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)

แบบประเมินผงั มโนทศั น์

คำชี้แจง ให้ผสู้ อนประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน แลว้ ขีด ✓ลงในช่องท่ีตรงกบั ระดบั คะแนน

ลำดับที่ รายการประเมิน 4 ระดบั คะแนน 1
รวม 32

1 ความสอดคล้องกบั จดุ ประสงค์
2 ความถกู ต้องของเนอ้ื หา
3 ความคดิ สรา้ งสรรค์
4 ความตรงต่อเวลา

ลงช่ือ ................................................... ผู้ประเมนิ
................./................../..................

เกณฑ์การประเมนิ แผน่ พับ

ประเด็นทปี่ ระเมนิ 4 ระดับคะแนน 1
32 ผลงานไมส่ อดคลอ้ งกบั
5. ความ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคลอ้ งกบั ผลงานสอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงค์
จุดประสงคเ์ ปน็ สว่ น จดุ ประสงคบ์ างประเดน็
สอดคลอ้ งกับ จุดประสงค์ทุกประเด็น ใหญ่ เน้ือหาสาระของผลงาน
เนอ้ื หาสาระของผลงาน เนือ้ หาสาระของผลงาน ไม่ถกู ตอ้ งเป็นส่วนใหญ่
จดุ ประสงค์ ถกู ต้องเปน็ ส่วนใหญ่ ถูกต้องบางประเดน็

6. ความถกู ต้อง เนอ้ื หาสาระของผลงาน

ของเน้อื หา ถูกตอ้ งครบถ้วน

7. ความคดิ ผลงานแสดงถึงความคิด ผลงานแสดงถึงความคดิ ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไมม่ ีความ
สรา้ งสรรค์ สร้างสรรค์ แปลกใหม่ สรา้ งสรรค์ แปลกใหม่ แต่ยังไมม่ ีแนวคิดแปลก น่าสนใจ และไมแ่ สดง
และเปน็ ระบบ แต่ยงั ไม่เปน็ ระบบ ใหม่ ถึงแนวคิดแปลกใหม่
8. ความตรงต่อ
เวลา ส่งชิ้นงานภายในเวลาท่ี สง่ ชน้ิ งานช้ากว่าเวลาที่ สง่ ช้นิ งานชา้ กวา่ เวลาท่ี สง่ ชิน้ งานชา้ กวา่ เวลาที่
กำหนด กำหนด 1 วนั กำหนด 2 วนั กำหนด 3 วนั ขน้ึ ไป

163

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 3 หนว่ ยของสิ่งมชี วี ิต
แผนฯ ท่ี 3 การแพร่และออสโมซิส

เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ

14-16 ดีมาก

11-13 ดี

8-10 พอใช้

ตำ่ กว่า 8 ปรับปรงุ

164

หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 3 หนว่ ยของส่ิงมีชวี ิต
แผนฯ ท่ี 3 การแพร่และออสโมซิส

แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน

คำชแ้ี จง : ใหผ้ ้สู อนประเมนิ การนำเสนอผลงาน แลว้ ขดี ✓ลงในชอ่ งที่ตรงกบั ระดบั คะแนน

ลำดบั ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน 1
32

1 ความถูกตอ้ งของเน้อื หา  

2 ภาษาทใี่ ชเ้ ข้าใจงา่ ย  

3 ประโยชนท์ ไ่ี ด้จากการนำเสนอ 

4 วธิ กี ารนำเสนอผลงาน 

5 ความสวยงามของผลงาน 

รวม

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมนิ
.............../................/................

เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน
ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ สมบูรณช์ ดั เจน ให้ 2 คะแนน
ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมนิ เป็นส่วนใหญ่ ให้ 1 คะแนน
ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ บางส่วน

เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพ

ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ

14-15 ดมี าก

11-13 ดี

8-10 พอใช้

ต่ำกวา่ 8 ปรับปรงุ

165

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 3 หนว่ ยของสิง่ มชี ีวติ
แผนฯ ท่ี 3 การแพร่และออสโมซิส

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล

คำช้แี จง : ใหผ้ สู้ อนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในช่องทต่ี รงกบั

ระดบั คะแนน

ลำดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดับคะแนน 1
32

1 การแสดงความคดิ เหน็  

2 การยอมรับฟงั ความคิดเห็นของผู้อน่ื  

3 การทำงานตามหน้าทีท่ ไี่ ด้รับมอบหมาย  

4 ความมนี ้ำใจ  

5 การตรงต่อเวลา  

รวม

ลงชอ่ื ................................................... ผู้ประเมนิ
................/.............../................

เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน
ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครัง้ ให้ 1 คะแนน
ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบางครง้ั

เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ

ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ

14-15 ดีมาก

11-13 ดี

8-10 พอใช้

ตำ่ กว่า 8 ปรับปรงุ

166

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 3 หน่วยของส่งิ มีชีวติ
แผนฯ ที่ 3 การแพรแ่ ละออสโมซิส

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายกลมุ่

คำชี้แจง : ให้ผสู้ อนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ✓ลงในช่องท่ตี รงกับ

ระดบั คะแนน

ลำดับ ชอ่ื –สกุล การแสดง การยอมรบั การทำงาน ความมี การมี รวม
ท่ี ของ ความ ฟังคนอ่ืน ตามทีไ่ ดร้ ับ นำ้ ใจ สว่ นร่วมใน 15
คิดเห็น มอบหมาย การปรับปรงุ คะแนน
นกั เรยี น 321 31 ผลงานกลมุ่
321 321
3 21

2

เกณฑก์ ารให้คะแนน ลงช่อื ................................................... ผู้ประเมิน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่ำเสมอ ................/.............../...............
ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบอ่ ยครงั้
ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั ให้ 3 คะแนน
ให้ 2 คะแนน
ให้ 1 คะแนน

167

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 3 หนว่ ยของสิ่งมชี วี ิต
แผนฯ ท่ี 3 การแพร่และออสโมซิส

เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ

14-15 ดีมาก

11-13 ดี

8-10 พอใช้

ตำ่ กว่า 8 ปรับปรงุ

168

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 3 หน่วยของส่งิ มชี วี ติ
แผนฯ ที่ 3 การแพรแ่ ละออสโมซิส

แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์

คำช้แี จง : ให้ผสู้ อนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในชอ่ งท่ตี รงกบั ระดับ

คะแนน

คุณลกั ษณะ รายการประเมิน ระดบั คะแนน
อันพงึ ประสงค์ด้าน 321

9. รักชาติ ศาสน์ 1.1 ยนื ตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาตไิ ด้

กษัตริย์ 1.2 เข้ารว่ มกจิ กรรมทส่ี ร้างความสามัคคี ปรองดอง และเป็นประโยชน์ตอ่

โรงเรียน

1.3 เข้ารว่ มกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบตั ิตามหลกั ศาสนา

1.4 เข้ารว่ มกิจกรรมทเี่ ก่ยี วกับสถาบันพระมหากษัตรยิ ต์ ามท่โี รงเรยี นจดั ขึ้น

10. 2.1 ใหข้ ้อมลู ทถ่ี กู ต้องและเปน็ จริง ซื่

อสตั ย์ สุจรติ 2.2 ปฏบิ ตั ิในสงิ่ ทถ่ี ูกตอ้ ง

11. มีวนิ ยั 3.1 ปฏบิ ตั ิตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบังคับของครอบครัว

รบั ผดิ ชอบ มีความตรงตอ่ เวลาในการปฏิบตั กิ จิ กรรมตา่ ง ๆ ในชวี ติ ประจำวนั

12. ใฝเ่ รียนรู้ 4.1 รู้จักใชเ้ วลาว่างให้เปน็ ประโยชนแ์ ละนำไปปฏิบตั ไิ ด้

4.2 รจู้ กั จัดสรรเวลาใหเ้ หมาะสม

4.3 เช่อื ฟังคำสัง่ สอนของบดิ า-มารดา โดยไม่โต้แย้ง

4.4 ตั้งใจเรยี น

13. อยู่อย่าง 5.1 ใช้ทรัพย์สนิ และสิ่งของของโรงเรยี นอยา่ งประหยดั

พอเพียง 5.2 ใช้อุปกรณ์การเรยี นอย่างประหยดั และรคู้ ุณคา่

5.3 ใชจ้ ่ายอย่างประหยัดและมีการเก็บออมเงนิ

14. มุ่งม่ันในการ 6.1 มีความต้งั ใจและพยายามในการทำงานทไ่ี ด้รับมอบหมาย

ทำงาน 6.2 มคี วามอดทนและไมท่ ้อแทต้ ่ออุปสรรคเพ่ือให้งานสำเร็จ

15. รกั ความเปน็ 7.1 มจี ิตสำนึกในการอนรุ ักษว์ ฒั นธรรมและภูมปิ ญั ญาไทย

ไทย 7.2 เห็นคณุ ค่าและปฏบิ ัติตนตามวฒั นธรรมไทย

16. มจี ิตสาธารณะ 8.1 รู้จกั ชว่ ยพอ่ แม่ ผูป้ กครอง และครูทำงาน

8.2 รู้จักการดแู ลรกั ษาทรพั ย์สมบัตแิ ละส่ิงแวดล้อมของหอ้ งเรียนและ

โรงเรยี น

ลงชอ่ื ................................................... ผู้ประเมนิ

169

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 3 หนว่ ยของสิ่งมชี วี ิต ................/.............../................
แผนฯ ที่ 3 การแพร่และออสโมซสิ
ให้ 3 คะแนน
เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 2 คะแนน
พฤตกิ รรมทปี่ ฏบิ ตั ชิ ัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 1 คะแนน
พฤตกิ รรมทปี่ ฏิบัติชดั เจนและบ่อยครง้ั
พฤตกิ รรมที่ปฏบิ ตั บิ างครง้ั

เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ

14-15 ดีมาก

11-13 ดี

8-10 พอใช้

ต่ำกว่า 8 ปรบั ปรุง

170

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 4 การดำรงชีวติ ของพืช
แผนฯ ที่ 1 การสังเคราะหด์ ้วยแสง

แผนจดั การเรยี นรูท้ ี่ 1

กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์
ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 1

เรื่อง การสังเคราะหด์ ้วยแสง เวลา 4 ชวั่ โมง

1. มาตรฐานการเรยี นรู้

ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมชี ีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเขา้ และออกจากเซลล์
ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหนา้ ที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนษุ ย์ที่ทำงานสัมพนั ธ์
กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กัน
รวมทงั้ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

2. ตัวช้วี ัด

ว 1.2 ม.1/6 ระบุปจั จยั ท่จี ำเปน็ ในการสงั เคราะห์ด้วยแสงและผลผลิตทเ่ี กดิ ขนึ้ จากการสงั เคราะห์ด้วยแสง โดย ใช้
หลักฐานเชงิ ประจักษ์

ว 1.2 ม.1/7 อธิบายความสำคญั ของการสังเคราะหด์ ้วยแสงของพชื ตอ่ สิง่ มชี ีวติ และสิง่ แวดล้อม
ว 1.2 ม.1/8 ตระหนกั ในคุณค่าของพืชทีม่ ีต่อสงิ่ มีชีวิตและส่ิงแวดล้อม โดยการร่วมกันปลูก และดูแลรักษา

ต้นไม้ในโรงเรียนและชุมชนตน้ ไมใ้ นโรงเรยี น

3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

1. ระบปุ ัจจัยท่ีจำเป็นในการสงั เคราะหด์ ้วยแสงและผลลิตทเี่ กดิ ขึน้ จากการสังเคราะห์ดว้ ยแสง (K)
2. อธบิ ายความสำคัญของการสังเคราะห์ดว้ ยแสงของพืชต่อส่งิ มชี ีวติ และส่งิ แวดลอ้ มได้ (K)
3. สามารถออกแบบสภาวะแวดล้อมท่ีเหมาะสมตอ่ การปลูกตน้ ไม้ได้ (P)
4. ตระหนักในคุณค่าของพชื ทีม่ ตี ่อสงิ่ มชี ีวิตและสิ่งแวดล้อม (A)

4. สาระการเรียนรู้ สาระการเรยี นรูท้ ้องถน่ิ
พจิ ารณาตามหลกั สูตรของสถานศกึ ษา
สาระการเรยี นร้แู กนกลาง
- กระบวนการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงของพืชทีเ่ กิดข้ึนใน

คลอโรพลาสต์ จำเป็นต้องใช้แสง คลอโรฟิลล์
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และนำ้ ผลผลิตที่ได้จาก

192

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 4 การดำรงชีวิตของพืช สาระการเรียนร้ทู ้องถ่นิ
แผนฯ ท่ี 1 การสังเคราะห์ดว้ ยแสง พจิ ารณาตามหลกั สตู รของสถานศกึ ษา

สาระการเรียนรู้แกนกลาง
การสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่ น้ำตาล และแก๊ส
ออกซเิ จน
- การสังเคราะห์ด้วยแสงเป็นกระบวนการที่สำคัญ
ต่อสิ่งมีชีวิต เพราะเป็นกระบวนการเดียวท่ี
สามารถนำพลังงานแสงมาเปลี่ยนเป็นพลังงานใน
รูปสารประกอบอินทรยี ์ และเก็บสะสมในรูปแบบ
ต่าง ๆ ในโครงสรา้ งของพืช พืชจงึ เปน็ แหล่งอาหาร
และพลังงานที่สำคัญของสิ่งมีชีวติ อื่นนอกจากนี้
ก ร ะ บวน ก าร ส ั ง เคร าะ ห ์ ด ้ วยแสง ย ั ง เป็ น
กระบวนการหลักในการสร้างแก๊สออกซิเจนให้กับ
บรรยากาศเพื่อให้สิ่งมีชีวิตอื่นใช้ในกระบวนการ
หายใจ

5. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด

กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (photosynthesis) เป็นกระบวนการผลิตอาหารของพืช โดยพืชจะใช้
สารคลอโรฟิลล์ที่อยู่ในใบดูดกลืนพลังงานแสงจากดวงอาทิตย์มาเปลี่ยนให้เป็นพลังงานเคมีในรูปของ
สารอินทรีย์จำพวกน้ำตาล โดยมีน้ำและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เป็นสารตั้ง และได้ผลิตภัณฑ์เป็นน้ำตาล
กลโู คส น้ำ และแกส๊ ออกซเิ จน ซ่ึงส่งิ มีชวี ิตนำแก๊สออกซเิ จนมาใช้ในกระบวนหายใจ

6. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

1. ความสามารถในการส่ือสาร
2. ความสามารถในการคิด

1) ทกั ษะการสังเกต
2) ทักษะการระบุ
3) ทักษะการเปรียบเทียบ
4) ทกั ษะการสรุปยอ่
5) ทกั ษะการรวบรวมขอ้ มลู
6) ทกั ษะการให้เหตผุ ล
3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

193

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 4 การดำรงชีวติ ของพืช
แผนฯ ท่ี 1 การสงั เคราะห์ด้วยแสง

7.คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

1. มวี นิ ยั
2. ใฝเ่ รียนรู้
3. มงุ่ ม่ันในการทำงาน

8. คำถามสำคัญ

1. การสงั เคราะหด์ ้วยแสงมีความสำคญั อย่างไรต่อการดำรงชวี ิต
2. ปจั จยั ท่จี ำเป็นตอ่ กระบวนการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง
3. จงบอกความสำคัญของกระบวนการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงตอ่ สง่ิ มีชวี ติ และสิ่งแวดลอ้ ม

9. กิจกรรมการเรียนรู้

วธิ ีสอนการสอน: แบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model)

ช่วั โมงท่ี 1

ข้ันนำ

ขนั้ ท่ี 1 กระตุ้นความสนใจ (Engage)
1. ครูใหน้ กั เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี นหน่วยการเรียนรทู้ ี่ 3 การดำรงชีวิตของพืช เพือ่ วัดความรู้เดิมของ
นักเรยี นก่อนเข้าสบู่ ทเรยี น
2. ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องที่จะเรียนวันนี้ โดยนำ ต้นไม้ขนาดเล็ก เช่น ต้น
กระบองเพชรและขวดโหลที่มีปลากัดมาให้นักเรยี นเปรียบเทียบความแตกต่างในการดำรงชีวติ ระหวา่ ง
พืชกับสตั ว์ แลว้ ถามคำถาม โดยมีแนวคำถาม ดงั น้ี
• พืชดำรงชวี ิตอยไู่ ดอ้ ยา่ งไร โดยไม่มีการเคลือ่ นท่ี
(แนวคำตอบ: พืชจะใชส้ ว่ นประกอบตา่ ง ๆ เชน่ ใบ ทำหนา้ ทสี่ งั เคราะหด์ ้วยแสงเพ่ือผลติ อาหารให้กบั พืช
ราก ทำหนา้ ที่ดูดนำ้ และแร่ธาตุซง่ึ เป็นสารต้งั ต้นในการผลิตอาหารของพืช และอาศยั เนอื้ เย่ือลำเลียงท่ีอยู่
ภายในราก ลำตน้ และใบช่วยลำเลียงอาหารไปยังส่วนตา่ งของพชื เพื่อใช้ในการเจรญิ เตบิ โต ดังนนั้ พืชจึง
เป็นสิ่งมชี ีวติ ทีส่ ามารถสร้างอาหารเองได้ ซึ่งแตกต่างจากสิ่งมชี ีวิตอืน่ ท่ีจำเป็นต้องมีการเคลื่อนที่เพ่อื หา
อาหาร เป็นตน้ )
• การสังเคราะห์ดว้ ยแสงสำคัญต่อสง่ิ มชี ีวิตอยา่ งไร
(แนวคำตอบ: พจิ ารณาจากคำตอบของนักเรียน)

194

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 4 การดำรงชวี ติ ของพืช
แผนฯ ท่ี 1 การสังเคราะหด์ ว้ ยแสง

ขนั้ สอน

ขั้นที่ 2 สำรวจค้นหา (Explore)
1. ครถู ามคำถามเพื่อกระตุ้นความคิดนกั เรียน โดยมแี นวคำถามดังน้ี
• พชื ใชก้ ระบวนการใดในการสร้างอาหาร
(แนวคำตอบ: กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง)
2. ครูถามคำถามเพอื่ โยงเขา้ สูห่ วั ข้อทจ่ี ะเรียน แลว้ ใหน้ ักเรยี นระดมความคดิ ในการตอบคำถามดงั น้ี
• อาหารของพืชคืออะไร
(แนวคำตอบ: นำ้ ตาล)
• พืชหาอาหารไดอ้ ย่างไร
(แนวคำตอบ: พืชใช้รากในการดูดซึมน้ำและแร่ธาตุที่อยู่ในดิน เพื่อเป็นสารตั้งต้นให้กับกระบวนการ
สังเคราะหด์ ้วยแสงท่ีใช้ในการผลิตอาหารของพชื )
3. ครูให้นักเรียนจับกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ศึกษาเรื่อง การสังเคราะห์ด้วยแสง จากหนังสือเรียนสัมฤทธ์ิ
มาตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การดำรงชีวิตของพชื แล้วให้นักเรียนทำใบ
งานที่ 3.1.1 เรื่อง การสังเคราะห์ดว้ ยแสงของพชื

ข้นั ที่ 3 อธบิ ายความรู้ (Explain)
4. ครูให้นักเรยี นส่งตัวแทนกลุ่ม 4-5 คน ออกมานำเสนอใบงานท่ี 3.1.1 เรื่อง การสังเคราะหด์ ้วยแสงของพชื

ข้ันท่ี 4 ขยายความเข้าใจ (Expand)
5. ครูมอบหมายให้นักเรียนทำ Exercise 1.1 จากหนังสือเรียนสัมฤทธิ์มาตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 3 การดำรงชวี ิตของพืช

ชัว่ โมงที่ 2

ข้นั ที่ 2 สำรวจค้นหา (Explore)
6. ครูถามคำถามทบทวนความรู้ โดยมแี นวคำถาม ดังนี้
• พืชใชส้ ่วนใดในการสังเคราะหด์ ้วยแสง
(แนวคำตอบ: ใบ ลำต้น และรากพืชที่มีสเี ขยี ว)

195

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 4 การดำรงชวี ติ ของพืช
แผนฯ ท่ี 1 การสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง

7. ครูเกร่ินนำว่าพชื ส่วนใหญจ่ ะใช้ใบในการสังเคราะห์แสง จากนัน้ ครูนำใบไมต้ ัวอย่างมาให้นักเรยี น พจิ ารณา
และอภปิ รายลกั ษณะของใบไมร้ ว่ มกนั

8. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่ม โดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาเซลล์ใบไม้ในแต่ละชั้นและมี
ความสัมพนั ธอ์ ย่างไรต่อกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง จากหนังสอื เรยี นสมั ฤทธม์ิ าตรฐานวิทยาศาสตร์
ม.1 เลม่ 1 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 3 การดำรงชีวิตของพืช

• กลมุ่ ที่ 1 ศกึ ษาเรอื่ ง เซลล์ของใบไมช้ น้ั ที่ 1
• กลุ่มท่ี 2 ศกึ ษาเรอ่ื ง เซลล์ของใบไม้ช้ันที่ 2
• กลุ่มท่ี 3 ศกึ ษาเรอ่ื ง เซลลข์ องใบไมช้ ั้นท่ี 3
• กล่มุ ที่ 4 ศึกษาเรอ่ื ง เซลล์ของใบไม้ชัน้ ท่ี 4
9. ครูใหน้ ักเรียนจับกลุ่มใหม่ 4 คน โดยสมาชกิ ในกลุ่มประกอบด้วยสมาชิกทีม่ าจากกลุ่มที่ 1 2 3 และ 4 มา

สรุปและอภิปรายความสมั พนั ธ์ระหว่างเซลล์ของใบไม้ในแตล่ ะชั้นกบั กระบวนการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงลงใน
กระดาษ A4 เร่ือง โครงสร้างและหนา้ ทข่ี องเซลล์ใบไม้

ขัน้ ที่ 3 อธิบายความรู้ (Explain)
10. ครใู ห้นกั เรยี นสง่ ตัวแทนกลุ่มออกมานำเสนอโครงสรา้ งและหนา้ ท่ขี องเซลลใ์ บไม้

ข้ันที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Expand)
11. ครูมอบหมายการบา้ นใหน้ กั เรยี นทำ Exercise 1.1 ในหนงั สือเรยี นสัมฤทธม์ิ าตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่
1 หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 3 การดำรงชีวิตของพืช

ชว่ั โมงที่ 3

ข้ันที่ 2 สำรวจคน้ หา (Explore)
12. ครูถามคำถามเกริ่นนำก่อนเข้าสู่บทเรียนว่า นักเรียนคิดว่ามีปัจจัยใดบ้างที่สำคัญต่อกระบวนการ
สงั เคราะห์ด้วยแสงของพืช
(แนวคำตอบ: แสง สารคลอโรฟิลล์ นำ้ และแกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์)
13. ครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมูล เรื่อง ปัจจัยที่สำคัญต่อกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง จากหนังสือเรียน
สมั ฤทธิม์ าตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 3 การดำรงชวี ิตของพชื
14. ครูให้นักเรียนจับกลุ่มเดิมที่เคยแบ่งจากชั่วโมงท่ีแล้ว ศึกษาและทำกิจกรรม เรื่อง ปัจจัยบางประการที่
จำเป็นต่อกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง จากหนังสือเรียนสัมฤทธิ์มาตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 3 การดำรงชวี ิตของพืช โดยมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาความสำคัญของคลอโรฟิลล์ แสง

196

หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 4 การดำรงชีวิตของพืช
แผนฯ ท่ี 1 การสงั เคราะห์ดว้ ยแสง

และแก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ต่อกระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสงของพชื แลว้ บนั ทกึ ผลลงในใบบันทึกผล
การทดลอง เรือ่ ง ปัจจยั บางประการทีจ่ ำเป็นต่อกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
15. จากนัน้ ใหต้ ัวแทนแต่ละกล่มุ สง่ ตัวแทนออกมารับวสั ดุปกรณ์กิจกรรม เร่ือง ปจั จยั บางประการที่จำเป็น
ต่อกระบวนการสังเคราะหด์ ้วยแสง

ขน้ั ที่ 3 อธบิ ายความรู้ (Explain)
16. ครูสุม่ ตัวแทนของแตล่ ะกลุ่มออกมานำเสนอผลท่ไี ด้จากการทำกิจกรรม
17. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายผลของที่เกิดขึ้นจากกิจกรรม เรื่อง ปัจจัยบางประการที่จำเป็นต่อ
กระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง
18. ครใู ห้นกั เรียนตอบคำถามท้ายกจิ กรรม และครูเฉลยคำตอบ ดังน้ี
• เพราะเหตใุ ดก่อนการทดลองตอ้ งเกบ็ ผักบงุ้ ไว้ในห้องมืด 1 คืน
(แนวคำตอบ: เพ่ือไม่ให้ใบผักบุ้งสังเคราะห์แสงได้น้ำตาลเป็นผลิตภัณฑ์ ซึ่งจะสะสมไว้ในรูปของแป้ง
ส่งผลกระทบตอ่ การทดลอง)
• เมื่อทดสอบดว้ ยสารละลายไอโอดีนกบั ใบผกั บุง้ ทงั้ 3 ใบ ให้ผลตา่ งกันหรือไม่ อย่างไร
(แนวคำตอบ: ใหผ้ ลแตกตา่ งกนั ผักบ้งุ ใบท่ี 1 และ ใบที่ 2 จะเปลี่ยนสารละลายไอโอดนี จากสีน้ำตาล เป็น
สีนำ้ เงินเข้ม แต่ผกั บุ้งใบที่ 3 จะไมเ่ ปลยี่ นแปลงสสี ารละลายไอโอดนี )
• หากทดสอบใบผักบุ้งด้วยสารละลายไอโอดีน แล้วสารละลายไอโอดีนเปลี่ยนเป็นสีน้ำเงิน จะสรุปผล
กจิ กรรมอย่างไร
(แนวคำตอบ: แปง้ ทำใหส้ ารละลายไอโอดีนเปลยี่ นเปน็ สนี ้ำเงนิ แสดงใหเ้ หน็ วา่ ใบผักบุ้งทไี่ ดร้ ับแสงจะเกิด
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงไดน้ ้ำตาลกลโู คสเป็นผลิตภณั ฑ์ ซ่งึ จะเกบ็ สะสมไวใ้ นรูปของแป้ง)

ข้นั ที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Expand)
19. ครูให้นักเรียนศกึ ษาผลของอณุ หภูมิต่อกระบวนการสังเคราะหด์ ว้ ยแสงของพืช จากหนังสือเรียนสัมฤทธ์ิ
มาตรฐานวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3 การดำรงชวี ติ ของพชื เพ่อื ขยายความเข้าใจของ
นกั เรยี นวา่ มหี ลายปัจจยั ทีม่ คี วามเกยี่ วขอ้ งกบั กระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสงของพืช
20. ให้นักเรียนทำ Exercise 1.1 ในหนงั สอื เรียนสมั ฤทธ์ิมาตรฐานวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หน่วยการเรียนรู้ท่ี
3 การดำรงชวี ติ ของพชื
21. ครูมอบหมายให้นักเรยี นทำรายงาน เรอื่ ง ปจั จยั ท่จี ำเป็นต่อกระบวนการสังเคราะหด์ ้วยแสง

197

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 4 การดำรงชีวิตของพืช
แผนฯ ท่ี 1 การสงั เคราะหด์ ้วยแสง

ชั่วโมงที่ 4

ขน้ั ที่ 2 สำรวจคน้ หา (Explore)
22. ครูถามคำถามเกรน่ิ นำกอ่ นทำกจิ กรรม ดงั นี้
• ผลผลิตท่ีเกดิ ขึน้ จากกระบวนการสังเคราะหด์ ้วยแสงของพืชมีอะไรบา้ ง
(แนวคำตอบ: น้ำตาลกลูโคส แก๊สออกซเิ จน น้ำ)
• แกส๊ ออกซเิ จนมคี วามสำคญั อย่างไรต่อส่งิ มชี ีวติ
(แนวคำตอบ: สิง่ มชี ีวิตส่วนใหญ่นำแกส๊ ออกซเิ จนไปใช้ในกระบวนการหายใจ)
23. ครใู หน้ กั เรียนจบั กลุม่ กลมุ่ ละ 5-6 คน ศึกษาขนั้ ตอนการทำกจิ กรรม แกส๊ ทไ่ี ด้จากกระบวนการสงั เคราะห์
ด้วยแสง ใหแ้ ต่ละกลุม่ ศึกษาจากหนังสอื เรียนสัมฤทธมิ์ าตรฐานวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หนว่ ยการเรียนรู้
ที่ 3 การดำรงชีวิตของพืช โดยมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาแก๊สที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
จากนนั้ ครอู ธิบายข้นั ตอนการทำกจิ กรรมอยา่ งละเอยี ด
24. ครูให้นกั เรียนแต่ละกลุ่มวางแผนกำหนดหน้าที่ของสมาชิกภายในกลุ่ม จากนั้นส่งตัวแทนกลุม่ มารบั วสั ดุ
อุปกรณ์กิจกรรม เรื่อง แก๊สที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง แล้วลงมือปฏิบัติกิจกรรม เรื่อง
แก๊สท่ีได้จากกระบวนการสงั เคราะหด์ ้วยแสง แลว้ บนั ทกึ ผลลงในใบบันทกึ ผลการทดลอง เรื่อง แก๊สที่ได้
จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
25. ครูใหน้ ักเรียนสืบค้นประโยชน์และความสำคญั ของต้นไม้ จากหนังสือเรียนสัมฤทธ์มิ าตรฐานวิทยาศาสตร์
ม.1 เลม่ 1 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3 การดำรงชีวิตของพืช

ขนั้ ที่ 3 อธิบายความรู้ (Explain)
26. ครสู มุ่ ตวั แทนกลุ่มของแตล่ ะกล่มุ ออกมานำเสนอผลของกจิ กรรม
27. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายผลของที่เกิดขึ้นจากกิจกรรม เรื่อง ผลผลิตที่เกิดจากกระบวนการ
สังเคราะห์ด้วยแสง
28. ครูให้นกั เรยี นตอบคำถามท้ายกจิ กรรม โดยมีแนวคำถามดังน้ี
• ผลการทดลองทงั้ สองเหมือนกันหรอื แตกตา่ งกนั อยา่ งไร
(แนวคำตอบ: ต่างกนั อา่ งน้ำทีว่ างไว้กลางแดด ระดับน้ำในหลอดทดลองจะตำ่ กว่าอา่ งนำ้ ที่วางไว้ ในห้อง
มืด)
• สาเหตุทีท่ ำใหร้ ะดบั น้ำในหลอดทดลองลดลงคอื อะไร เพราะเหตุใด

198

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 4 การดำรงชวี ิตของพืช
แผนฯ ที่ 1 การสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง

(แนวคำตอบ: แกส๊ ออกซิเจน เน่อื งจากแก๊สออกซเิ จนทีเ่ กดิ จากกระบวนการสงั เคราะหด์ ้วยแสงมา แทนที่
น้ำทำใหร้ ะดับน้ำในหลอดทดลองตำ่ ลง)
• แกส๊ ที่ไดจ้ ากการทดลองคืออะไร มีวิธีทดสอบอย่างไร
(แนวคำตอบ: แก๊สออกซิเจน ตรวจสอบด้วยการนำก้านธูปที่ติดไฟไปใกล้กับบริเวณท่ีเกิดแก๊ส หาก เป็น
แก๊สออกซเิ จนบริเวณปลายธูปไฟจะลุกมากข้ึน เนื่องจากแกส๊ ออกซเิ จนมีสมบัตชิ ว่ ยใหไ้ ฟตดิ )

ขนั้ ท่ี 4 ขยายความเข้าใจ (Expand)
29. ครูให้นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญของต้นไม้ โดยให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่ม ทำกิจกรรมที่
ช่วยอนุรักษ์ต้นไม้ และตระหนักถึงความสำคัญของต้นไม้ เช่น ทำโปสเตอร์รณรงค์ การปลูกป่า ทำใบ
ความรู้ประโยชน์ที่ได้จากต้นไม้ ไปปลูกป่า หรือช่วยกันปลูกต้นไม้ภายในโรงเรียน เป็นต้น และออกมา
นำเสนอแนวทางการอนรุ กั ษต์ ้นไม้ทแี่ ตล่ ะกลุ่มปฏบิ ตั ิ หนา้ ช้นั เรยี น
30. ครูให้นักเรียนทำ Exercise 1.1 ในหนังสือเรียนสัมฤทธิ์มาตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน่วยการ
เรียนรทู้ ่ี 3 การดำรงชวี ิตของพชื
31. ครูใหน้ ักเรยี นทำรายงาน เรอ่ื ง ผลผลิตทีเ่ กดิ จากกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง

ขั้นสรุป

ขัน้ ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3 การดำรงชวี ติ ของพชื
2. ครตู รวจ Exercise 1.1 ในหนงั สือเรยี นสัมฤทธ์ิมาตรฐานวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 3 การ
ดำรงชวี ิตของพชื
3. ครตู รวจใบงานที่ 3.1.1 เรอื่ ง การสังเคราะห์ดว้ ยแสงของพชื
4. ครปู ระเมินรายงาน เรอื่ ง ปจั จยั ที่จำเป็นตอ่ กระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง โดยใชแ้ บบประเมนิ ชิน้ งาน
5. ครูประเมนิ รายงาน เรือ่ ง ผลผลติ ที่เกดิ จากกระบวนการสังเคราะหด์ ้วยแสง โดยใช้แบบประเมนิ ชิ้นงาน
6. ครูประเมินการทำกิจกรรม เรื่อง ปัจจัยที่จำเป็นตอ่ กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง โดยใช้แบบประเมิน
การปฏบิ ัตกิ าร
7. ครูประเมนิ การทำกจิ กรรม เรอ่ื ง ผลผลิตทเ่ี กิดจากกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง โดยใช้แบบประเมินการ
ปฏิบตั ิการ
8. ครปู ระเมนิ พฤตกิ รรมการทำงานรายกลุ่มจากการศึกษาและการทำใบงานที่ 3.1.1 เรื่อง การสังเคราะห์ด้วย
แสงของพชื
9. ครูประเมนิ การนำเสนอใบงานโดยใชแ้ บบประการนำเสนอผลงาน

199

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 4 การดำรงชวี ิตของพืช
แผนฯ ท่ี 1 การสงั เคราะห์ดว้ ยแสง

10. ครูประเมินการนำเสนอแนวทางการอนรุ ักษ์ตน้ ไมโ้ ดยใช้แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน

10. การวดั และประเมินผล

รายการวัด วิธีการ เครอื่ งมือ เกณฑ์การประเมนิ

10.1 การประเมนิ กอ่ นเรยี น - ประเมนิ ตามสภาพจริง

- แบบทดสอบก่อนเรียน - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบก่อนเรยี น - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 ก่อนเรยี น - ระดับคุณภาพ 2 ผา่ น
เกณฑ์
การดำรงชวี ิตของพืช
- ระดับคณุ ภาพ 2 ผา่ น
10.2 ประเมนิ ระหว่างการ เกณฑ์

จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
- ระดบั คณุ ภาพ 2 ผ่าน
1) การสงั เคราะห์ดว้ ยแสง - ตรวจใบงานที่ 3.1.1 - ใบงานท่ี 3.1.1 เกณฑ์
- ระดับคณุ ภาพ 2 ผา่ น
ของพชื - ประเมินรายงาน เรือ่ ง - แบบประเมินชิ้นงาน เกณฑ์
ปัจจยั บางประการท่ี - ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ น
เกณฑ์
จำเป็นต่อกระบวนการ - ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา่ น
เกณฑ์
สังเคราะหด์ ว้ ยแสง

- ประเมินรายงาน เร่ือง - แบบประเมนิ ชน้ิ งาน

ผลผลติ ท่เี กิดจาก
กระบวนการสังเคราะห์
ด้วยแสง

- ตรวจ Exercise 1.1 - Exercise 1.1

2) การนำเสนอผลงาน - ประเมินการนำเสนอ - แบบประเมินการ

ผลงาน นำเสนอผลงาน

3) พฤติกรรมการทำงาน - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม

รายกลมุ่ การทำงานรายกลุ่ม การทำงานรายกลุ่ม

4) การปฏบิ ัติการ - ประเมนิ การ - แบบประเมนิ

ปฏิบตั ิการ การปฏิบัติการ

5) คณุ ลกั ษณะอันพงึ - สังเกตความมวี นิ ัย - แบบประเมนิ

ประสงค์ ใฝเ่ รียนรู้ และมุ่งมั่น คุณลักษณะ

ในการทำงาน อันพึงประสงค์

200

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 4 การดำรงชีวิตของพืช
แผนฯ ท่ี 1 การสังเคราะหด์ ้วยแสง

11. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้

11.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรยี นสมั ฤทธม์ิ าตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 3 การดำรงชวี ิตของพชื
2) วสั ดอุ ุปกรณ์กิจกรรม เรอื่ ง ปจั จัยบางประการทีจ่ ำเปน็ ตอ่ กระบวนการสังเคราะหด์ ว้ ยแสง
3) วัสดุอุปกรณก์ จิ กรรม เรอ่ื ง แกส๊ ที่ไดจ้ ากกระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสง
4) ใบงานที่ 3.1.1 เร่ือง การสงั เคราะห์ด้วยแสงของพชื
4) ใบบนั ทึกผลการทดลอง เร่อื ง ปจั จัยบางประการท่ีจำเปน็ ต่อกระบวนการสังเคราะหด์ ว้ ยแสง
5) ใบบนั ทกึ ผลการทดลอง เร่ือง แกส๊ ที่ได้จากกระบวนการสงั เคราะหด์ ้วยแสง
6) ต้นไม้ขนาดเลก็
7) ขวดโหล
8) ปลากดั

11.2 แหลง่ การเรยี นรู้
- ห้องปฏบิ ตั ิการวทิ ยาศาสตร์

201


Click to View FlipBook Version