The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 เทอม 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by yameen, 2022-05-13 03:37:11

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 เทอม 1

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 เทอม 1

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1

รหัสวิชา ว21103 วิชาวิทยาศาสตร์ เทอม 1

โรงเรียนเดชะปัตตนยานุกูล

สำนักงานเขตพื้ นที่การศึกษามัธยมศึกษาปัตตานี

คำอธบิ ายรายวชิ า

ว21103 วทิ ยาศาสตร์ 1 กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์
ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 60 ชวั่ โมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ

ศึกษา วิเคราะห์ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สมบัติของสารบริสุทธิ์ การจำแนกและองค์ประกอบของสาร
บริสุทธิ์ เซลล์ การลำเลียงสารเข้าออกเซลล์ การสืบพันธุ์และขยายพันธุ์พืชดอก การสังเคราะห์ด้วยแสง การ
ลำเลยี งนำ้ ธาตุอาหาร และอาหารของพืช โดยใชก้ ารสบื เสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ ทักษะกระบวนการ
ทางวทิ ยาศาสตร์และทกั ษะการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 การสบื คน้ ขอ้ มูลและการอภปิ ราย เพอื่ เกดิ ความรู้ ความคิด
ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสิน การแก้ปัญหา การนำความรู้ไปใช้ใน
ชวี ิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และคา่ นยิ มทเี่ หมาะสม

ตวั ชวี้ ัด
ว 1.2 ม 1/1, ม 1/2, ม 1/3, ม 1/4, ม 1/5, ม 1/6, ม 1/7, ม 1/8, ม 1/9, ม 1/10, ม 1/11, ม 1/12,

ม 1/13, ม 1/14, ม 1/15, ม 1/16, ม 1/17, ม 1/18
ว 2.1 ม 1/1, ม 1/2, ม 1/3, ม 1/4, ม 1/5, ม 1/6, ม 1/7, ม 1/8
รวมทงั้ หมด 26 ตวั ชีว้ ัด

รหัสวชิ า ว21103 โครงสรา้ งรายวชิ า ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1
ปีการศกึ ษา 2564 จำนวน 1.5 หน่วยกิต
ผู้สอน นายอับดุลยามนี หะยขี าเดร์ ชื่อวชิ า วิทยาศาสตร์ 1
ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ชว่ั โมง

ที่ ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้/ สาระการเรียนรู้ เวลา น้ำหนกั
ตวั ชี้วัด (ช่วั โมง) คะแนน

1 เรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ - - ความหมายและความสำคญั ของวิทยาศาสตร์ 6 10

อยา่ งไร - กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

- ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

2 หน่วยพน้ื ฐานของ ว 1.2 - เซลล์ เป็นหน่วยพ้ืนฐาน ของสิง่ มีชวี ติ 12 15

สิ่งมชี วี ติ ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, - ประเภทของเซลล์ 20

ม.1/4, ม.1/5 - ลกั ษณะโครงสร้าง และหนา้ ทขี่ องเซลล์พชื และ 15

เซลล์สตั ว์ 35
20
3 การดำรงชวี ิตของพชื ว 1.2 - การสบื พันธแ์ุ ละขยายพนั ธพุ์ ชื ดอก 20 25
80
ม.1/6, ม.1/7, ม.1/8, - การสังเคราะห์ดว้ ยแสง 20
20
ม.1/9, ม.1/10, - การลำเลียงน้ำ ธาตอุ าหาร และอาหารของพชื 100

ม.1/11, ม.1/2,

ม.1/13, ม.1/14,

ม.1/15, ม.1/16,

ม.1/17, ม.1/18

4 สารบริสุทธ์ิ ว 2.1 - สมบัตขิ องสารบรสิ ุทธ์ิ 22

ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, - การจำแนกและองคป์ ระกอบของสารบรสิ ุทธ์ิ

ม.1/4, ม.1/5, ม.1/6,

ม.1/7, ม.1/8

กอ่ นกลางภาค 27

ระหว่างภาค สอบกลางภาค 1
หลงั กลางภาค 31

รวม 59

ปลายภาค สอบปลายภาค 1
รวม 1

รวม 60

โครงสร้างรายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 สารบญั

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 วิทยาศาสตร์คืออะไร 1
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 สารรอบตัว 36
47
• แผนการจดั การเรยี นรู้ ท่ี 1 : สารและการจำแนกสาร 63
• แผนการจดั การเรยี นรู้ ที่ 2 : การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ 77
• แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 3 : สารบรสิ ทุ ธ์ิ 95
• แผนการจัดการเรียนรู้ ท่ี 4 : ธาตุกมั มนั ตรงั สี
• แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 5 : สารผสม 132
• แผนการจดั การเรียนรู้ ท่ี 6 : สมบัตขิ องสารบริสุทธ์แิ ละสารผสม 142
152
หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 3 หน่วยของสงิ่ มชี ีวติ
192
• แผนการจัดการเรียนรู้ ท่ี 1 : เซลล์ของส่งิ มีชวี ติ 208
• แผนการจัดการเรยี นรู้ ท่ี 2 : ส่วนประกอบของเซลล์ 222
• แผนการจดั การเรยี นรู้ ที่ 3 : การลำเลียงสารเขา้ และออกจากเซลล์ 236
254
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 4 การดำรงชวี ติ ของพชื 262

• แผนการจดั การเรยี นรู้ ที่ 1 : การสังเคราะหด์ ว้ ยแสง
• แผนการจดั การเรียนรู้ ท่ี 2 : การลำเลียงสารในพืช
• แผนการจัดการเรยี นรู้ ท่ี 3 : การเจรญิ เติบโตของพืช
• แผนการจดั การเรียนรู้ ท่ี 4 : การสืบพนั ธุ์แบบอาศยั เพศของพชื
• แผนการจัดการเรยี นรู้ ท่ี 5 : การสบื พนั ธ์ุแบบไมอ่ าศยั เพศของพืช
• แผนการจัดการเรยี นรู้ ท่ี 6 : เทคโนโลยชี ีวิภาพของพืช

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 สารรอบตัว
แผนฯ ท่ี 1 สารและการจำแนกสาร

แผนจัดการเรยี นรทู้ ี่ 1

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ รายวชิ า วิทยาศาสตร์
ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1

เร่อื ง สารและการจำแนกสาร เวลา 4 ชว่ั โมง

1. มาตรฐานการเรยี นรู้

ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ
โครงสร้าง และแรงยึดเหนยี่ วระหว่างอนุภาค หลกั และธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง สถานะ
ของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี

2. ตัวชีว้ ัด

ว 2.1 ม.1/9 อธบิ ายและเปรยี บเทยี บการจัดเรียงอนภุ าค แรงยดึ เหนี่ยวระหวา่ งอนภุ าค และการเคลือ่ นท่ีของ
อนุภาคของสสารชนิดเดยี วกนั ในสถานะของแขง็ ของเหลว และแก๊ส โดยใชแ้ บบจำลอง

3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

1. อธิบายการจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค และการเคลื่อนที่ของอนุภาคของสารชนิด
เดียวกนั ในสถานะต่าง ๆ ได้ (K)

2. เปรียบเทยี บการจดั เรยี งอนุภาค แรงยดึ เหนยี่ วระหว่างอนภุ าค และการเคลอ่ื นที่ของอนภุ าคของสารชนิด
เดยี วกันในสถานะตา่ ง ๆ ได้ (P)

3. นำความรู้เกย่ี วกับสมบัตขิ องสารไปใช้ในชีวิตประจำวนั ได้ (A)

4. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นร้ทู ้องถ่นิ
พจิ ารณาตามหลกั สูตรของสถานศกึ ษา
สาระการเรยี นร้แู กนกลาง

- สสารทุกชนิดประกอบด้วยอนุภาค โดยสารชนิด
เดียวกันท่มี สี ถานะของแข็ง ของเหลว แก๊ส จะมี การ
จัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค การ
เคลื่อนที่ของอนุภาคแตกต่างกัน ซึ่งมีผลต่อรูปร่าง
และปริมาตรของสสาร

1

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 2 สารรอบตวั สาระการเรียนรทู้ อ้ งถ่นิ
แผนฯ ที่ 1 สารและการจำแนกสาร พิจารณาตามหลักสตู รของสถานศกึ ษา

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

- อนุภาคของของแข็งเรียงชิดกัน มีแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างอนภุ าคมากท่สี ุด อนภุ าคสนั่ อยู่กับที่ทำให้มี
รปู ร่างและปรมิ าตรคงท่ี
- อนุภาคของของเหลวอยู่ใกล้กัน มีแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างอนุภาคน้อยกว่าของแข็งแต่มากกว่าแก๊ส
อนุภาคเคลื่อนที่ได้แต่ไม่เปน็ อิสระเท่าแก๊ส ทำให้มี
รูปร่างไม่คงทแี่ ต่ปริมาตรคงที่

- อนุภาคของแก๊สอยู่ห่างกันมาก มีแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างอนุภาคน้อยที่สุด อนุภาคเคลื่อนท่ีได้อย่าง
อสิ ระทกุ ทิศทาง ทำให้มรี ปู ร่างและปรมิ าตรไมค่ งที่

5. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด

สารที่อยู่รอบตัวเราล้วนมีลักษณะเฉพาะตัวที่แตกต่างกัน สารบางชนิดสามารถสังเกตได้จากลักษณะ
ภายนอกของสารได้ เชน่ สี สถานะ เป็นต้น ซงึ่ เป็นสมบตั ทิ างกายภาพของสาร แตส่ มบัตบิ างชนิดของสารเกิด
จากการทำปฏิกิริยาเคมี ทำให้เกิดสารใหม่ท่มี อี งค์ประกอบแตกตา่ งไปจากเดมิ เช่น การเผาไหม้ การเกิดสนิม
เป็นต้น ซึ่งเป็นสมบัติทางเคมีของสาร การระบุว่าสารแตล่ ะชนิดเป็นสารประเภทใดจำเปน็ ต้องใช้สมบัติของ
สารมาวิเคราะห์ เช่น การใช้สถานะ การใช้เนือ้ สาร และการใช้ขนาดของอนุภาคมาเป็นเกณฑใ์ นการจำแนก
สาร

6. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น

1. ความสามารถในการสอื่ สาร
2. ความสามารถในการคิด

1) ทักษะการสังเกต
2) ทักษะการจดั กลมุ่
3) ทกั ษะการเปรียบเทียบ
4) ทักษะการจำแนกประเภท
5) ทกั ษะการสำรวจ
3. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ

2

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 สารรอบตัว
แผนฯ ที่ 1 สารและการจำแนกสาร

7.คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

1. มีวินยั
2. ใฝ่เรยี นรู้
3. มุ่งมั่นในการทำงาน

8. คำถามสำคัญ

1. สมบตั ิของสารคอื อะไร
2. สมบัติของสารมีกี่ประเภท แล้วมอี ะไรบ้าง
3. เกณฑก์ ารจำแนกสารมที ้ังหมดกเ่ี กณฑ์และมอี ะไรบา้ ง
4. นำ้ แขง็ น้ำ และไอน้ำ แตกตา่ งกันอย่างไร

9. กิจกรรมการเรียนรู้

วธิ ีสอนการสอน: แบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model)

ช่วั โมงท่ี 1

ข้นั นำ

ข้นั ที่ 1 กระตุ้นความสนใจ (Engage)
1. ครใู ห้นกั เรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี นหนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 1 สารรอบตัว
2. ครูตง้ั คำถาม เพื่อกระตนุ้ ความคิดของนักเรียน โดยมีแนวคำถามดงั น้ี
• การทำไอศกรมี กบั วทิ ยาศาสตรเ์ ก่ียวขอ้ งกันอย่างไร
(แนวคำตอบ: ครูพจิ ารณาคำตอบของนักเรยี น)
• สารที่อยรู่ อบตัวเรามีความแตกต่างกนั อยา่ งไร
(แนวคำตอบ: สารที่อยรู่ อบตวั เราบางชนดิ มสี มบตั ิทางกายภาพบางประการทเี่ หมือนและแตกต่างกนั เช่น
สถานะ การนำความร้อน การนำไฟฟา้ เป็นต้น แต่อย่างไรกต็ ามสารแต่ละชนิดย่อมลักษณะเฉพาะของ
สารแต่ละชนดิ น้นั ๆ เช่น สภาพการละลาย จุดเดอื ด จดุ หลอมเหลว ความหนาแน่นของสาร เปน็ ตน้ )

ขน้ั สอน

ข้นั ท่ี 2 สำรวจคน้ หา (Explore)
1. ครูถามตง้ั คำถาม เพ่ือกระตุ้นความคดิ ของนักเรยี น โดยมแี นวคำถามดังนี้

3

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 2 สารรอบตัว
แผนฯ ที่ 1 สารและการจำแนกสาร

• น้ำแขง็ น้ำ และไอน้ำ แตกตา่ งกันอยา่ งไร
(แนวคำตอบ: ครพู จิ ารณาคำตอบของนกั เรยี น)

2. ครใู หน้ กั เรียนแบ่งกลมุ่ ออกเป็น 4 กลุม่ โดยให้แต่ละกล่มุ ศกึ ษา เรอ่ื ง สมบตั ิของสาร จากหนังสือเรียน
สัมฤทธมิ์ าตรฐานวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 สารรอบตวั

3. ครูนำน้ำส้มสายชูใส่ลงในบีกเกอร์ A และน้ำใส่ลงในบีกเกอร์ B มาให้นักเรียนศึกษา และตอบคำถาม
ตอ่ ไปน้ี

• นกั เรียนคิดว่าสารในบีกเกอร์ A และ B เปน็ สารชนดิ เดยี วกนั หรอื ไม่
(แนวคำตอบ: พิจารณาคำตอบของนักเรยี น โดยใหอ้ ยูใ่ นดุลยพินจิ ของครูผูส้ อน)

4. ครใู หน้ ักเรยี นตรวจสอบสารในบีกเกอร์ A และ B แล้วถามคำถามนักเรียน ดังน้ี
• สาร A และ B ทน่ี ักเรยี นตรวจสอบ มีลักษณะอย่างไร

(แนวคำตอบ: สาร A และ B เป็นของเหลว ไม่มีสี แต่สาร A มีกลิ่นฉุน เมื่อทดสอบด้วยกระดาษลิตมัส
พบว่าสาร A มีฤทธ์ิเปน็ กรด สว่ นสาร B ไม่เปล่ยี นสกี ระดาษลิตมสั )
• นักเรยี นคดิ ว่าลกั ษณะใดเปน็ สมบัตทิ างกายภาพ
(แนวคำตอบ: สถานะของสาร สี กลิ่น เปน็ ต้น)
• นกั เรียนคิดวา่ ลักษณะใดเปน็ สมบัตทิ างเคมี
(แนวคำตอบ: ความเปน็ กรด-เบส เป็นต้น)
5. นักเรียนและครูร่วมกนั อภิปราย เรื่อง สมบัติของสาร โดยครูยกตวั อยา่ งให้นักเรยี นเห็นจากการนำสาร A
และ B ที่มีลักษณะภายนอกที่เหมือนกนั แต่ไมใ่ ช่สารเดียวกัน ดังนัน้ จึงจำเป็นตอ้ งอาศัยสมบัติของสารเข้า
มาตรวจสอบ จึงทำให้รู้วา่ สารท้งั สองเปน็ สารต่างชนดิ กัน
6. ครยู กตวั อยา่ งการจำแนกสารโดยใชส้ ถานะของสาร ซ่ึงเป็นสมบตั ิทางกายภาพมาให้นกั เรียนศกึ ษา โดยให้
นกั เรียนศึกษาในหนังสอื เรียนสมั ฤทธิม์ าตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1 สารรอบตัว
7. ครใู ห้นกั เรียนแต่ละกลุ่มศึกษา เรื่อง การจำแนกสารโดยใช้เนอื้ สารและอนภุ าคของสารเปน็ เกณฑ์ จากใน
หนังสอื เรียนสมั ฤทธม์ิ าตรฐานวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 สารรอบตวั
8. ครแู จกใบงานท่ี 1.1.1 เรื่อง การจำแนกสาร เพือ่ ใหแ้ ตล่ ะกลุม่ ร่วมกนั จำแนกสารจากภาพ แล้วบันทึกลง
ในใบงาน

ชั่วโมงที่ 2

ข้ันที่ 3 อธบิ ายความรู้ (Explain)
9. ครูทบทวนความรูเ้ รื่อง การจำแนกสารโดยใช้สถานะของสารเปน็ เกณฑ์ โดยการเปิดบัตรภาพจากนัน้ ให้
นกั เรยี นชว่ ยกนั จำแนกว่าเป็นสารชนดิ นนั้ มสี ถานะใดบ้าง

4

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 สารรอบตวั
แผนฯ ท่ี 1 สารและการจำแนกสาร

ภาพท่ี 1 ภาพท่ี 2 ภาพที่ 3

10. ครูตง้ั คำถามเพอื่ ทดสอบความเข้าใจของนกั เรยี น โดยมีแนวคำถามดังนี้

• เกณฑใ์ นการจำแนกสถานะของสารแบง่ ออกเปน็ กีป่ ระเภท แลว้ แตล่ ะประเภทมอี ะไรบา้ ง

(แนวคำตอบ: 3 ประเภท ได้แก่ ของแขง็ ของเหลว แก๊ส)

• จากภาพเป็นการจดั เรยี งอนุภาคของสารประเภทใด

ภาพที่ 1 ภาพท่ี 2 ภาพที่ 3

(แนวคำตอบ: ภาพที่ 1 มีสถานะเปน็ ของเหลว ภาพที่ 2 มสี ถานะเป็นของแข็ง และภาพท่ี 3 มสี ถานะเปน็ แก๊ส)

11. ครูสุ่มตวั แทนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอใบงานที่ 1.1.1 เร่อื ง การจำแนกสาร

12. ครเู สรมิ และเพ่ิมเตมิ ความรูใ้ ห้กับตัวแทนนักเรียนทอี่ อกมานำเสนอ

13. นักเรียนและครูร่วมกนั อภปิ รายสมบัตขิ องสาร การจำแนกสาร เปรียบเทยี บการจัดเรียงอนภุ าคและการ

เคล่ือนท่ีของสารทัง้ 3 สถานะ

ขัน้ ท่ี 4 ขยายความเข้าใจ (Expand)
14. ให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดใน Exercise 1.1 (ข้อ 1) ในหนังสือเรียนสัมฤทธิ์มาตรฐาน วิทยาศาสตร์ ม.1
เล่ม 1 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 สารรอบตวั

ชวั่ โมงท่ี 3

ขน้ั ที่ 2 สำรวจคน้ หา (Explore)
15. ครูให้นกั เรียนแบ่งกลมุ่ ออกเป็น 3 กลมุ่ โดยให้แตล่ ะกล่มุ ส่งตวั แทนออกมาจับสลากหวั ขอ้ กิจกรรม ดงั น้ี
•ของแขง็
•ของเหลว
•แก๊ส

5

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 สารรอบตัว
แผนฯ ท่ี 1 สารและการจำแนกสาร

16. ครใู ห้นักเรยี นแต่ละกลมุ่ ทำกิจกรรม เรอ่ื ง ของแขง็ ของเหลว และแกส๊ ในหนังสอื เรยี นสัมฤทธิ์มาตรฐาน
วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สารรอบตัว โดยมีจุดประสงค์เพื่อทดลองตรวจสอบการ
จัดเรียงตัวของอนุภาคของสารในสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊ส และใช้แบบจำลองการจัดเรียง
อนุภาคของสาร อธิบายสมบัติบางประการของสารในสถานะของแข็ง ของเหลว และแกส๊ จากนน้ั ให้แตล่ ะ
กลุ่มส่งตัวแทนมารบั วัสดอุ ุปกรณ์กิจกรรม เรื่อง ของแข็ง ของเหลว แก๊ส จากนั้นให้นักเรียนลงมอื ทำ
กิจกรรมภายใตห้ วั ข้อที่นกั เรียนจบั ฉลากได้

17 . ครใู ห้นักเรยี นทำกิจกรรม เรอ่ื ง ของแขง็ ของเหลว และแก๊ส ตามหนงั สือแล้วบันทกึ ผลกิจกรรม และตอบ
คำถามทา้ ยกิจกรรมลงในสมดุ ของตนเอง

ช่วั โมงท่ี 4

ข้นั ท่ี 3 อธบิ ายความรู้ (Explain)
18. ครูสมุ่ ตวั แทนกลุม่ ออกมารายงานผลจากการทำกิจกรรม เรอื่ ง ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส หนา้ ชน้ั เรียน
19. ครูเฉลยคำตอบจากคำถามท้ายกจิ กรรม ในหนงั สอื เรยี นสัมฤทธม์ิ าตรฐาน วทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หน่วย
การเรยี นรู้ที่ 1 สารรอบตัว ดังน้ี
• เม็ดโฟมท่ีบรรจุลงในขวดพลาสติกเตม็ ขวด ครึ่งขวด และ 1 ใน 4 ขวด เปรียบเสมือนกบั สถานะของสาร
ใดบา้ ง ตามลำดบั
(แนวคำตอบ: เปรยี บเสมือนกับสถานะของแขง็ ของเหลว แก๊ส ตามลำดับ)
• เมด็ โฟมที่บรรจุลงในขวดพลาสติกในปรมิ าณทแี่ ตกตา่ งกัน มกี ารเคลอื่ นท่ีแตกตา่ งกนั อยา่ งไร
(แนวคำตอบ: ขวดพลาสติกที่บรรจุเม็ดโฟมอยู่เต็มขวด เม็ดโฟมจะสั่น แต่ไม่เกิดการเคลื่อนที่ ขวด
พลาสติกที่บรรจุเม็ดโฟมอย่คู ร่ึงขวด เม็ดโฟมจะเคลือ่ นทไี่ ดเ้ ล็กนอ้ ยสว่ นขวดพลาสตกิ ทีบ่ รรจเุ มด็ โฟมอยู่ 1
ใน 4 ขวด เม็ดโฟมจะเคลอ่ื นทีไ่ ดอ้ ยา่ งอสิ ระ)
20. นกั เรยี นและครรู ่วมกันอภปิ รายเปรียบเทยี บ การจดั เรียงอนภุ าค และการเคลอื่ นที่ของสารทงั้ 3 สถานะ

ขัน้ ท่ี 4 ขยายความเขา้ ใจ (Expand)

21. ครูให้นักเรยี นแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน เพื่อศกึ ษาเน้ือหาเรือ่ ง การจำแนกสารโดยใช้เนื้อสารเป็นเกณฑ์
และการจำแนกสารโดยใช้ขนาดของอนภุ าคเป็นเกณฑ์ ในหนังสือเรียนสัมฤทธิม์ าตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1
เล่ม 1 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 สารรอบตัว

22. จากนนั้ ครูตั้งคำถามเพื่อทดสอบความรู้ของนกั เรยี น โดยการแขง่ ขันตอบคำถาม ซึ่งมรี ายละเอียด ดังนี้
• ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน เพื่อช่วยกันระดมความคิด โดยครูแจกกระดาษคำตอบจำนวน 7
แผ่น จากนัน้ ให้แตล่ ะกลุ่มเขยี นชือ่ กลุม่ ไวบ้ นหัวกระดาษด้านบนขวามือ

6

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 สารรอบตวั
แผนฯ ท่ี 1 สารและการจำแนกสาร

• ครูอ่านคำถามทีละขอ้ โดยให้นักเรียนแต่ละกลุม่ ตอบคำถามลงในกระดาษท่ีเตรียมไว้ แล้วส่งตัวแทนนำ
กระดาษคำตอบมาสง่ ท่ีหน้าชั้นเรยี น ทำเช่นน้จี นครบทกุ ขอ้ โดยจะมแี นวคำถาม ดงั น้ี
• น้ำเชื่อมจัดอยู่ในการจำแนกสารโดยใช้เนื้อสารเป็นเกณฑ์ โดยจะแบ่งสารออกได้เป็น 2 กลุ่ม
นำ้ เชอ่ื มจัดอยู่ในสารกลุ่มใด
(แนวคำตอบ: สารเนื้อเดยี ว)
• การจำแนกสารโดยใช้ขนาดของอนภุ าคเปน็ เกณฑ์ แบง่ สารออกได้เปน็ ก่กี ลมุ่
(แนวคำตอบ: 3 กลุ่ม ดงั น้ี สารแขวนลอย คอลลอยด์ และสารละลาย)

• ฝุน่ ควันในอากาศ ถา้ จำแนกสารโดยใชข้ นาดของอนภุ าคเปน็ เกณฑ์ จะอยใู่ นกลมุ่ ใด
(แนวคำตอบ: คอลลอยด์)
• สมบัตขิ องสาร แบ่งออกเป็นกี่ประเภท และแตล่ ะประเภทมอี ะไรบ้าง
(แนวคำตอบ: 2 ประเภทได้แก่ สมบัตทิ างกายภาพและสมบตั ทิ างเคมี)
• การละลายของนำ้
(แนวคำตอบ: 2 ประเภทได้แก่ สมบตั ทิ างกายภาพและสมบัติทางเคมี)
• “อนุภาคเรียงชดิ ตดิ กันอย่างเปน็ ระเบยี บ” เปน็ การจำแนกในสถานะใด
(แนวคำตอบ: สถานะของแขง็ )
• ถา้ จำแนกนำ้ เกลอื โดยใชข้ นาดของอนภุ าคเป็นเกณฑ์จะจัดอยูใ่ นกล่มุ ใด
(แนวคำตอบ: สารละลาย)
• ครเู ฉลยคำตอบที่ถูกต้องทลี ะขอ้ และรวบรวมคะแนนของนกั เรยี นแต่ละกล่มุ ไว้ทท่ีหนา้ ช้ันเรียนเพ่อื หาผูช้ นะ
23. ใหน้ กั เรียนทำใบงานที่ 1.1.2 เรือ่ ง สารรอบตวั โดยใหน้ กั เรียนกลับไปสำรวจสารรอบตัวภายในบ้านของ
นกั เรยี น แล้วจำแนกสารลงในใบงาน พรอ้ มตกแตง่ ใหส้ วยงาม
24. ครูให้นกั เรียนทำ Exercise 1.1 (ข้อ 2) ในหนังสือเรยี นสัมฤทธ์ิมาตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน่วย
การเรยี นรทู้ ี่ 1 สารรอบตัว

ข้ันสรปุ

ข้นั ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครตู รวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี นหนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 สารรอบตัว
2. ครูตรวจใบงานท่ี 1.1.1 เร่อื ง การจำแนกสาร
3. ครปู ระเมินการนำเสนอใบงานที่ 1.1.1 เรื่อง การจำแนกสาร โดยใชแ้ บบประเมนิ ผลงาน
4. ครูตรวจใบงานท่ี 1.1.2 เรอ่ื ง สารรอบตวั
5. ครปู ระเมนิ การทำกิจกรรม เรือ่ ง ของแขง็ ของเหลว และแกส๊ โดยใช้แบบประเมนิ การปฏิบตั กิ าร

7

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 สารรอบตวั
แผนฯ ท่ี 1 สารและการจำแนกสาร

6. ครปู ระเมินพฤติกรรมการทำงานกลุ่มจากการศกึ ษาและทำใบงาน เรอ่ื ง การจำแนกสาร

10. การวัดและประเมินผล

รายการวดั วิธีการ เคร่ืองมือ เกณฑ์การประเมนิ

10.1 การประเมนิ กอ่ นเรียน - แบบทดสอบก่อนเรยี น - ประเมินตามสภาพจริง
- แบบทดสอบก่อนเรยี น - ตรวจแบบทดสอบ
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 ก่อนเรยี น
สารรอบตวั

10.2 ประเมินระหว่างการจัด

กิจกรรมการเรยี นรู้

1) สารและการจำแนกสาร - ตรวจใบงานที่ 1.1.1 - เฉลยใบงานที่ 1.1.1 - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
- เฉลยใบงานที่ 1.1.2 - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
- ตรวจใบงานที่ 1.1.2 - Exercise 1.1 - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
- แบบประเมนิ การ - ระดับคณุ ภาพ 2
- ตรวจ Exercise 1.1 ผา่ นเกณฑ์
นำเสนอผลงาน - ระดับคณุ ภาพ 2
2) การนำเสนอผลงาน - ประเมนิ การเสนอ - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ผ่านเกณฑ์
การทำงานรายกลุ่ม
ผลงาน

3) พฤตกิ รรมการทำงาน - สงั เกตพฤตกิ รรม

รายกลุ่ม การทำงานรายกลมุ่

4) การปฏิบัตกิ าร - ประเมิน - แบบประเมนิ การ - ระดบั คณุ ภาพ 2
การปฏบิ ัติการ ปฏบิ ัติการ ผา่ นเกณฑ์

5) คณุ ลกั ษณะอนั พงึ - สงั เกตความมีวินัย - แบบประเมินคุณลกั ษณะ - ระดบั คณุ ภาพ 2
ประสงค์ ใฝเ่ รยี นรู้ และมุ่งมั่น
ในการทำงาน อันพงึ ประสงค์ ผ่านเกณฑ์

8

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 สารรอบตัว
แผนฯ ท่ี 1 สารและการจำแนกสาร

11. สือ่ /แหล่งการเรยี นรู้

11.1 ส่ือการเรียนรู้
1) หนังสือเรียนสมั ฤทธิม์ าตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1 สารรอบตวั
2) ใบงานที่ 1.1.1 เรอ่ื ง การจำแนกสาร
3) ใบงานที่ 1.1.2 เรอื่ ง สารรอบตัว
4) วสั ดอุ ปุ กรณ์กจิ กรรม ของแขง็ ของเหลว และแก๊ส
5) นำ้ ส้มสายชู
6) บกี เกอร์
7) บัตรภาพ
8) สลากหวั ข้อกิจกรรม

11.2 แหล่งการเรยี นรู้
- หอ้ งปฏิบัตกิ ารวิทยาศาสตร์

9

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 สารรอบตวั
แผนฯ ที่ 1 สารและการจำแนกสาร

ใบงานท่ี 1.1.1

เรื่อง การจำแนกสาร

คำชแ้ี จง : จงบนั ทึกชื่อสารจากภาพ และใชส้ มบัตทิ างกายภาพของสารเปน็ เกณฑใ์ นการจำแนกชนิดของสาร

โดยขดี เครอ่ื งหมาย ✓ ลงในช่องที่กำหนดให้

สมบัติทางกายภาพ

ชอ่ื สาร สถานะ เนอื้ สาร อนภุ าค

ของ ของ แกส๊ สาร สาร สาร สาร คอลลอยด์
แขง็ เหลว เนื้อเดยี ว เนอ้ื ผสม ละลาย แขวนลอย

10

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 สารรอบตวั
แผนฯ ท่ี 1 สารและการจำแนกสาร

ใบงานที่ 1.1.1 เฉลย

เรื่อง การจำแนกสาร

คำช้ีแจง : จงบนั ทกึ ชื่อสารจากภาพ และใชส้ มบตั ทิ างกายภาพของสารเป็นเกณฑ์ในการจำแนกชนิดของสาร

โดยขดี เครื่องหมาย ✓ ลงในช่องทก่ี ำหนดให้

สมบตั ิทางกายภาพ

ชื่อสาร สถานะ เนือ้ สาร อนภุ าค

ของ ของ แกส๊ สาร สาร สาร สาร คอลลอยด์
แขง็ เหลว เนื้อเดียว เน้อื ผสม ละลาย แขวนลอย

หมอก

ส้มตำ

น้ำผลไมป้ ั่น

น้ำเกลือ

แก๊สหุงต้ม

น้ำส้มสายชู

ทองคำขาว

แอลกอฮอลเ์ ช็ดแผล

กาแฟ

สลดั

นำ้ พริก

ควันทอ่ ไอเสยี

นำ้ แปง้

น้ำนม

นำ้ โคลน

11

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 สารรอบตวั
แผนฯ ที่ 1 สารและการจำแนกสาร

ใบงานที่ 1.1.2

เร่ือง สารรอบตัว

คำชี้แจง : ใหน้ ักเรียนสำรวจสิ่งแวดล้อมท่อี ย่รู อบตัวมา 2 ชนดิ และเปรยี บเทียบความแตกตา่ งของสาร
ตามหัวข้อทีก่ ำหนดให้

สถานที่สำรวจ:

สารชนดิ ที่ 1 สารชนดิ ที่ 2

สมบัติทางกายภาพ

สมบัตทิ างเคมี

12

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 สารรอบตวั
แผนฯ ที่ 1 สารและการจำแนกสาร

ใบงานที่ 1.1.2 เฉลย

เรอ่ื ง สารรอบตวั

คำช้แี จง : ให้นักเรียนสำรวจส่ิงแวดล้อมที่อยู่รอบตัวมา 2 ชนดิ และเปรียบเทียบความแตกต่างของสาร
ตามหวั ขอ้ ท่กี ำหนดให้

สถานที่สำรวจ: หอ้ งครัว (ตัวอย่างคำตอบ)

สารชนิดท่ี 1 สารชนิดที่ 2

ตวั อยา่ ง น้ำมะนาว ตัวอยา่ ง ทอ่ เหล็ก
สมบตั ทิ างกายภาพ
ของเหลว ของแข็ง
มีรสเปรยี้ ว นำความรอ้ น

สมบตั ทิ างเคมี นำไฟฟ้า
มฤี ทธ์เิ ป็นกรด
เกดิ สนมิ ได้

13

หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 2 สารรอบตวั
แผนฯ ท่ี 1 สารและการจำแนกสาร

บตั รภาพ

สลากหัวข้อกจิ กรรม 

ของแขง็
ของเหลว

แก๊ส

14

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 สารรอบตัว
แผนฯ ท่ี 1 สารและการจำแนกสาร

12. ความเหน็ ของผู้บริหารสถานศกึ ษาหรอื ผ้ทู ่ไี ดร้ บั มอบหมาย

ขอ้ เสนอแนะ

ลงชอื่ .................................
( ................................ )

ตำแหน่ง .......

13. บนั ทกึ ผลหลงั การสอน

 ดา้ นความรู้

 ด้านสมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน

 ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

 ด้านความสามารถทางวิทยาศาสตร์

 ดา้ นอื่น ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรอื พฤติกรรมทม่ี ีปัญหาของนกั เรียนเปน็ รายบคุ คล (ถา้ มี))

 ปญั หา/อุปสรรค
 แนวทางการแก้ไข

15

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 สารรอบตวั
แผนฯ ที่ 2 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ

แผนจัดการเรียนรูท้ ่ี 2

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ รายวิชา วทิ ยาศาสตร์
ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1

เร่ือง การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ เวลา 4 ชัว่ โมง

1. มาตรฐานการเรียนรู้

ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ
โครงสรา้ งและแรงยึดเหนีย่ วระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาตขิ องการเปลีย่ นแปลง สถานะ
ของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี

2. ตวั ชี้วัด

ว 2.1 ม.1/10 อธิบายความสมั พนั ธ์ระหว่างพลงั งานความร้อนกบั การเปล่ียนสถานะของสสาร โดยใช้หลกั ฐาน
เชงิ ประจักษ์ และแบบจำลอง

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. อธิบายความสัมพันธร์ ะหวา่ งพลงั งานความรอ้ นกับการเปลย่ี นสถานะของสสารได้ (K)
2. สามารถระบกุ ารเปลยี่ นแปลงสถานะของสสารท่อี ยูร่ อบตวั ได้ (P)
3. นำหลักการเปลย่ี นแปลทางกายภาพไปใชป้ ระโยชน์ได้ (A)

4. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ท้องถน่ิ
พจิ ารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา
สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

- ความร้อนมีผลต่อการเปล่ียนสถานะของสสาร เม่ือ
ใหค้ วามรอ้ นแก่ของแข็ง อนภุ าคของของแข็ง จะมี
พลังงานและอุณหภูมิเพิ่มขึ้นจนถึงระดับหนึ่ง ซ่ึง
ของแข็งจะใช้ความร้อนในการเปลี่ยนสถานะเป็น
ของเหลว เรียก ความร้อนที่ใช้ในการเปลี่ยน
สถานะจากของแข็งเป็นของเหลววา่ ความรอ้ นแฝง
ของการหลอมเหลว และอุณหภูมิขณะเปลี่ยน
สถานะจะคงทีเรยี กอณุ หภูมิน้ีว่าจุดหลอมเหลว

36

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 สารรอบตวั สาระการเรียนรทู้ อ้ งถน่ิ
แผนฯ ท่ี 2 การเปล่ียนแปลงทางกายภาพ พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศกึ ษา

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

- เมือ่ ใหค้ วามรอ้ นแกข่ องเหลว อนภุ าคของของเหลว
จะมีพลังงานและอณุ หภูมิเพ่ิมขึ้นจนถึงระดับหนึง่
ซึ่งของเหลวจะใช้ความร้อนในการเปลี่ยนสถานะ
เปน็ แก๊ส เรยี กความร้อนท่ีใช้ในการเปล่ียนสถานะ
จากของเหลว เป็นแก๊สว่า ความร้อนแฝงของการ
กลายเป็นไอ และอุณหภูมิขณะเปลี่ยนสถานะจะ
คงท่ี เรียกอุณหภูมนิ ีว้ า่ จุดเดอื ด

- เมื่อทำให้อุณหภูมิของแก๊สลดลงจนถึงระดับหนึ่ง
แก๊สจะเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว เรียกอุณหภมู ิ
นว้ี า่ จุดควบแนน่ ซึง่ มีอณุ หภูมิเดียวกบั จุดเดือดของ
ของเหลวนั้น

- เมื่อทำให้อุณหภูมิของของเหลวลดลงจนถึงระดับ
หน่งึ ของเหลวจะเปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง เรียก
อณุ หภมู ินีว้ า่ จดุ เยอื กแขง็ ซ่ึงมอี ุณหภูมิเดียวกับจุด
หลอมเหลวของของแขง็ นนั้

5. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด

สารที่อยู่รอบตัวเราล้วนมีสมบัติทางกายภาพ และสมบัติทางเคมีท่ีแตกต่างกัน ซึ่งอุณหภูมิภายนอกมีผลต่อ
สถานะของสาร ซง่ึ เป็นสมบตั ิทางกายภาพของสารอย่างหน่งึ เช่น นำ้ แข็ง (ของแขง็ ) เม่อื ไดร้ บั ความร้อนจะละลาย
กลายเปน็ นำ้ (ของเหลว) เมื่อน้ำได้รับความร้อนต่อเนื่องจะเดือด และระเหยกลายเปน็ ไอ (แก๊ส) เป็นต้น ซึ่งความ
ร้อนทีท่ ำให้ของแขง็ เปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว เรยี กวา่ ความรอ้ นแฝงของการหลอมเหลว และเรยี กความร้อนที่
ทำให้ของเหลวเปลย่ี นสถานะเปน็ แก๊สวา่ ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ

6. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน

1. ความสามารถในการส่ือสาร
2. ความสามารถในการคิด

1) ทกั ษะการสงั เกต
2) ทักษะการระบุ
3) ทักษะการนำความรู้ไปใช้

37

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 2 สารรอบตวั
แผนฯ ที่ 2 การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพ

4) ทักษะการเช่อื มโยง
5) ทกั ษะการจำแนกประเภท
3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ

7.คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

1. มีวินยั
2. ใฝเ่ รยี นรู้
3. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน

8. คำถามสำคญั

1. พลังงานความร้อนมผี ลตอ่ การเปล่ียนสถานะของสารอยา่ งไร
2. จงบอกความแตกต่างของการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและการเปล่ียนแปลงทางเคมี
3. ถา้ อุณหภูมเิ ปล่ียนแปลงไปจะทำให้สารเกดิ การเปลีย่ นแปลงสถานะหรือไม่

9. กจิ กรรมการเรียนรู้

วธิ ีสอนการสอน: แบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model)

ชว่ั โมงที่ 1

ขนั้ นำ

ขัน้ ท่ี 1 กระตุ้นความสนใจ (Engage)
1. ครูต้ังถามคำถามเพอื่ กระตุน้ ความคดิ ของนักเรียน โดยมีแนวคำถามดงั น้ี
• ก้อนน้ำแขง็ ท่ีวางทิง้ ไว้กลางแจ้งจะมกี ารเปล่ียนแปลงสถานะอย่างไร
(แนวคำตอบ: เปลยี่ นสถานะจากของแข็งเปน็ ของเหลว)
2. ครูกระตนุ้ ความสนใจของนักเรยี นดว้ ยการทดลองหนา้ ช้นั เรยี น เรอ่ื ง การเปลี่ยนแปลงสถานะของนำ้ โดย
ครเู ตรยี มวสั ดอุ ุปกรณ์ เรอ่ื ง การเปลย่ี นแปลงสถานะของนำ้ ดังน้ี
• น้ำแขง็ 1 ถงุ
• น้ำในบกี เกอร์
• ฮอทเพลท

38

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 สารรอบตวั
แผนฯ ท่ี 2 การเปลีย่ นแปลงทางกายภาพ

ขน้ั สอน

ขั้นท่ี 2 สำรวจคน้ หา (Explore)
1. ครูให้นักเรยี นศึกษา เร่ือง การเปลีย่ นแปลงสถานะของสาร ในหนังสอื เรยี นสัมฤทธ์มิ าตรฐานวิทยาศาสตร์
ม.1 เลม่ 1 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 สารรอบตัว
2. ครูสุม่ ตวั แทนนกั เรียนออกมาหน้าช้ันเรียน เพอื่ ทำกจิ กรรมตามขั้นตอน ดงั นี้
• เทน้ำแข็งลงในบีกเกอร์ จากนั้นให้ความร้อนด้วยฮอทเพลท จนกระทั่งน้ำแข็งละลาย จากนั้นให้ความ
ร้อนต่อไปจนกระทัง่ น้ำในบีกเกอรเ์ ดอื ดกลายเปน็ ไอนำ้
• นำบกี เกอร์ลงจากฮอทเพลท แล้วนำกระจกนาฬกิ ามาปิดปากบีกเกอรข์ ณะทนี่ ำ้ เดือด
3. ครใู หน้ ักเรยี นสังเกต และจดบันทึกการเปลี่ยนแปลงสถานะของนำ้ ลงในสมุดบนั ทกึ ของนกั เรยี น

ข้นั ท่ี 3 อธิบายความรู้ (Explain)
4. ครเู ขยี นคำถามท้ายกิจกรรมบนกระดาน ดงั นี้
• ความร้อนที่ใช้ในการเปลี่ยนสถานะของน้ำแข็งกลายเป็นน้ำเรียกว่าอะไร และอุณหภูมิที่ทำให้น้ำแข็ง
เปลี่ยนสถานะเรยี กวา่ อะไร
(แนวคำตอบ: ความรอ้ นแฝงของการหลอมเหลวทำให้น้ำแข็งเปล่ียนสถานะกลายเป็นน้ำ โดยอณุ หภูมิ ณ
จดุ นี้ เรยี กวา่ จุดหลอมเหลว)
• การเปลี่ยนสถานะของแก๊สกลายเป็นของเหลวเรียกว่าอะไร และอุณหภูมิที่ทำให้ไอน้ำเปลี่ยนสถานะ
เรยี กวา่ อะไร
(แนวคำตอบ: การควบแน่นทำให้แก๊สกลายเป็นของเหลว โดยอุณหภูมิ ณ จุดนี้ เรียกว่า จุดควบแน่นซึ่ง
เปน็ อุณหภูมิเดียวกบั จุดเดอื ด)
• หากนำน้ำไปแช่ในอณุ หภมู ิท่ี 0 องศาเซลเซียส จนน้ำกลายเป็นนำ้ แขง็ เรยี กอณุ หภูมินี้วา่ อะไร
(แนวคำตอบ: จุดเยือกแข็ง ซ่งึ เปน็ อุณหภมู เิ ดยี วกบั จุดหลอมเหลว)
6. จากน้นั ครูส่มุ ตัวแทน 4 คน ออกมาเสนอคำตอบท้ายกิจกรรมบนกระดานคนละข้อ
7. ครูเฉลยและอธบิ ายคำตอบบนกระดานทีถ่ กู ต้อง

39

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 สารรอบตวั
แผนฯ ที่ 2 การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพ

ชั่วโมงที่ 2

ข้นั ที่ 4 ขยายความเขา้ ใจ (Expand)
8. ครูให้นักเรียนศึกษาตัวอย่างการเปลี่ยนสถานะของน้ำในธรรมชาติ ในหนังสือเรียนสัมฤทธิ์มาตรฐาน
วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สารรอบตัว โดยครูให้นักเรียนสแกน QR Code การ
เปล่ยี นสถานะของน้ำในธรรมชาติ เพอื่ ขยายความเขา้ ใจของนกั เรยี น
9. ครูตั้งคำถามเพ่ือทดสอบความรู้ของนักเรียน โดยมแี นวคำถามดังน้ี
• การเกดิ สนมิ เป็นการเปล่ียนแปลงสถานะของสารแบบใด
(แนวคำตอบ: การเปล่ียนแปลงทางเคมี)
• จงยกตัวอย่างหน่วยท่ีใช้วัดพลงั งานความร้อน ในรูปแบบตา่ ง ๆ
(แนวคำตอบ: แคลอร่ี (Cal) หรือ จลู (J))
• เมอื่ น้ำในแหล่งน้ำได้รบั ความรอ้ นจากดวงอาทติ ย์ จะเกิดอะไรข้ึน
(แนวคำตอบ: น้ำจะระเหยกลายเปน็ ไอน้ำลอยขึ้นไปในอากาศ)
10. ครูให้นกั เรียนทำใบงานที่ 1.2.1 เรือ่ ง ความรอ้ นกบั การเปล่ยี นสถานะของสาร
11. ครูให้นักเรียนทำแบบฝึกหดั ใน Exercise 2.1 (ข้อ 1) ในหนังสือเรียนสัมฤทธิม์ าตรฐานวทิ ยาศาสตร์ ม.1
เล่ม 1 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 สารรอบตัว

ชวั่ โมงท่ี 3

ขั้นท่ี 2 สำรวจคน้ หา (Explore)
12. ครใู หน้ กั เรยี นจับแบ่งกลุม่ กลมุ่ ละ 5 คน ทำกิจกรรม เรื่อง อณุ หภูมิกับการเปลี่ยนสถานะ ในหนงั สอื เรียน
สมั ฤทธม์ิ าตรฐานวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 1 สารรอบตวั โดยมวี ัตถุเพอื่ ตรวจสอบการ
เปลีย่ นแปลงสถานะของสารเมื่ออุณหภมู เิ ปลี่ยนไป ซง่ึ สมาชกิ ในกลุ่มมีหนา้ ท่ี ดังน้ี
สมาชิกคนที่ 1 เตรียมวัสดุอุปกรณ์ เร่อื ง อุณหภมู ิกับการเปล่ียนสถานะ
สมาชกิ คนท่ี 2 และ 3 ทำการทดลอง
สมาชิกคนท่ี 4 บนั ทึกผลลงในใบบันทึกผลการทดลอง และนำข้อมูลมาแสดงเปน็ กราฟ
สมาชิกคนท่ี 5 นำเสนอผลท่ไี ด้จากกจิ กรรม เรื่อง อุณหภมู กิ บั การเปลี่ยนสถานะ

40

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 สารรอบตัว
แผนฯ ที่ 2 การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพ

ช่ัวโมงที่ 4

ขนั้ ท่ี 3 อธิบายความรู้ (Explain)
13. ครูให้สมาชิกคนที่ 5 ของแตล่ ะกลุม่ ออกมานำเสนอผลกิจกรรม เร่อื ง อณุ หภูมกิ บั การเปลี่ยนสถานะ และ
ชว่ ยเสรมิ และแกไ้ ขข้อมลู ใหถ้ กู ต้อง
14. นกั เรียนและครูร่วมกันอภปิ รายผลจากกิจกรรมดังนี้ “จากการทดลอง เอนำน้ำแขง็ ใส่ลงในนำ้ น้ำแข็งจะ
เร่มิ ละลาย แตอ่ ณุ หภมู ชิ ่วงแรกของการละลายจะยงั ไม่เปล่ียนแปลงจนกระทั่งนำ้ แขง็ ละลายหมด อุณหภูมิ
ยังคงอย่ทู ่ี 0o C เมอื่ ให้ความร้อนตอ่ ไป อณุ หภมู ขิ องน้ำจะสงู ข้ึนเรื่อย ๆ จนกระทัง่ เรม่ิ มไี อน้ำเกดิ ขึน้ แสดง
ว่าน้ำยังคงดูดความร้อนอย่างต่อเนื่องพลังงานความร้อนที่ดูดเข้ามามีผลทำให้น้ำเปลี่ยนสถานะจาก
ของแขง็ กลายเป็นของเหลว จนกระทง่ั เปลี่ยนสถานะเปน็ แก๊สในท่สี ุด”
15. ครูถามคำถามทา้ ยกจิ กรรม โดยมีแนวคำถาม ดงั น้ี
• เมื่อนำ้ มาผสมกับนำ้ แข็ง อุณหภมู ิของสารมีการเปลยี่ นแปลงอย่างไร
(แนวคำตอบ: น้ำและน้ำแข็งมีการเปลีย่ นแปลงอุณหภมู แิ ละสถานะ โดยขณะที่น้ำแขง็ กำลังหลอมเหลว
เป็นน้ำ นำ้ แขง็ จะเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็นของเหลว แตอ่ ณุ หภมู ิจะไมเ่ ปลย่ี นแปลง คือคงที่ที่ 0o C
จากนนั้ เมื่อนำ้ แข็งหลอมเหลวอณุ หภมู จิ ะสูงขึน้ เรื่อย ๆ จนเท่ากับอณุ หภูมิห้อง)
• หลงั จากให้ความรอ้ นแก่น้ำเปน็ เวลา 3 นาที น้ำในบีกเกอรม์ กี ารเปลีย่ นสถานะอย่างไร
(แนวคำตอบ: นำ้ จะเดือดกลายเปน็ ไอ ซง่ึ เป็นการเปลย่ี นสถานะจากของเหลวเป็นของแขง็ )

ข้ันที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Expand)
16. ครใู ห้นกั เรยี นทำแบบฝกึ หัดใน Exercise 2.1 (ขอ้ 1) ในหนังสอื เรียนสมั ฤทธ์มิ าตรฐานวทิ ยาศาสตร์ ม. 1
เล่ม 1 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 สารรอบตัว

ข้นั สรปุ

ขั้นท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูตรวจใบงานท่ี 1.2.1 เร่ือง ความรอ้ นกับการเปลย่ี นสถานะของสาร
2. ครูตรวจ Exercise 2.1 ในหนังสือเรียนสัมฤทธิ์มาตรฐานวิทยาศาสตร์ ม. 1 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1
สารรอบตวั
3. ครูประเมนิ ผลการทำกิจกรรม เรื่อง อณุ หภูมิกับการเปลยี่ นสถานะ โดยใชแ้ บบประเมนิ ปฏบิ ตั กิ าร
4. ครูประเมินผลการทำงานรายบุคคล จากการศึกษากิจกรรมการทดลองของตัวแทนนักเรียน เรื่อง การ
เปลย่ี นสถานะของนำ้ สังเกต และจดบนั ทึกการทดลอง และการตอบคำถามทา้ ยการทดลองจากโจทย์บน
กระดาน

41

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 2 สารรอบตัว
แผนฯ ท่ี 2 การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ

10. การวัดและประเมนิ ผล วิธวี ดั เครือ่ งมอื เกณฑ์การประเมนิ

รายการวัด

10.1 การประเมนิ ระหว่าง - ตรวจใบงานท่ี 1.2.1 - เฉลยใบงานท่ี 1.2.1 - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
การจดั กิจกรรม - Exercise 2.1 - Exercise 2.1 - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
- สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม - ระดบั คุณภาพ 2
1) การเปล่ียนแปลงทาง การทำงานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์
กายภาพ - ประเมินการปฏบิ ตั ิการ การทำงานรายบคุ คล - ระดบั คณุ ภาพ 2
- แบบประเมนิ การ ผา่ นเกณฑ์
2) พฤติกรรมการทำงาน - สงั เกตความมวี นิ ัย ปฏิบัติการ - ระดบั คุณภาพ 2
รายบคุ คล ใฝเ่ รียนรู้ และม่งุ มัน่ - แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑ์

3) การปฏบิ ัตกิ าร คณุ ลักษณะอนั พงึ
ประสงค์
4) คุณลกั ษณะอนั พงึ
ประสงค์

11. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้

11.1 สอื่ การเรียนรู้
1) หนังสอื เรยี นสมั ฤทธิม์ าตรฐานวทิ ยาศาสตร์ ม. 1 เลม่ 1 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 สารรอบตัว
2) ใบงานท่ี 1.2.1 เรื่อง ความร้อนกับการเปล่ียนสถานะของสาร
3) ใบบนั ทึกผลการทดลอง เรื่อง ความรอ้ นกบั การเปลีย่ นสถานะของสาร
4) วัสดอุ ปุ กรณ์ เรอื่ ง การเปลย่ี นแปลงสถานะของน้ำ
5) วสั ดอุ ปุ กรณ์ เรอ่ื ง อุณหภูมกิ ับการเปลี่ยนสถานะ
6) QR Code การเปล่ียนสถานะของนำ้ ในธรรมชาติ
7) กระจกนาฬิกา
8) บีกเกอร์
9) ฮอทเพลท

11.2 แหล่งการเรียนรู้
- หอ้ งปฏิบัติการวทิ ยาศาสตร์

42

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 สารรอบตวั
แผนฯ ท่ี 2 การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพ

ใบงานที่ 1.2.1

เร่ือง ความร้อนกบั การเปลี่ยนสถานะของสาร

คำช้ีแจง : จงศึกษาภาพ และนำคำทีก่ ำหนดให้เติมลงในตารางใหส้ มบูรณ์

ของแข็ง แก๊ส ของเหลว การระเหย
การควบแน่น การละลาย การแขง็ ตัว

DE

F G
A BC

ตวั อกั ษร หมายถึง

A 43
B
C
D
E
F
G

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 สารรอบตวั เฉลย
แผนฯ ที่ 2 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
การระเหย
ใบงานที่ 1.2.1

เรอ่ื ง ความรอ้ นกบั การเปล่ียนสถานะของสาร

คำชีแ้ จง : จงศกึ ษาภาพ และนำคำท่กี ำหนดใหเ้ ติมลงในตารางใหส้ มบรู ณ์

ของแขง็ แกส๊ ของเหลว
การควบแนน่ การละลาย การแขง็ ตวั

DE

F G C
A B

ตัวอักษร หมายถึง

A ของแข็ง
B ของเหลว
C
D แก๊ส
E การละลาย
F การระเหย
G การแข็งตวั
การควบแนน่

44

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 สารรอบตัว
แผนฯ ที่ 2 การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ

ใบบนั ทกึ ผลการทดลอง

เรื่อง ความร้อนกบั การเปล่ียนสถานะของสาร

ตารางบนั ทกึ ผลการทดลอง

เวลา (s) อณุ หภมู ิ (Co) การเปล่ียนแปลง

0

30

60

90

120

150

180

210

240

270

300

330

360

390

420

450

480

510

อภิปรายผลการทดลอง

......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
...................................................................................4..5.................................................................................
......................................................................................................................................................................

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 สารรอบตัว
แผนฯ ที่ 2 การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ

12. ความเห็นของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาหรือผู้ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย

ข้อเสนอแนะ

ลงช่ือ. .)
( .......

ตำแหนง่

13. บันทึกผลหลังการสอน

 ด้านความรู้

 ดา้ นสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น

 ด้านคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

 ดา้ นความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์

 ด้านอ่ืน ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรอื พฤตกิ รรมทม่ี ปี ัญหาของนักเรยี นเปน็ รายบคุ คล (ถ้าม)ี )

 ปัญหา/อุปสรรค
 แนวทางการแกไ้ ข

46

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 สารรอบตัว
แผนฯ ท่ี 3 สารบรสิ ุทธ์ิ

แผนจัดการเรียนรทู้ ี่ 3

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์
ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1

เรอื่ ง สารบรสิ ุทธิ์ เวลา 6 ชว่ั โมง

1. มาตรฐานการเรียนรู้

ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ
โครงสรา้ งและแรงยดึ เหนี่ยวระหวา่ งอนภุ าค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง สถานะ
ของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี

2. ตัวชวี้ ัด

ว 2.1 ม.1/1 อธิบายสมบัติทางกายภาพบางประการของธาตุโลหะ อโลหะ และกงึ่ โลหะ โดยใช้หลักฐานเชิง
ประจักษ์ที่ได้จากการสังเกต และการทดสอบ และใช้สารสนเทศที่ได้จากแหล่งข้อมูลต่าง
รวมทัง้ จดั กลุ่มธาตโุ ลหะ อโลหะ และก่งึ โลหะ

ว 2.1 ม.1/2 วิเคราะห์ผลจากการใช้ธาตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ และธาตุกัมมันตรังสี ที่มีต่อสิ่งมีชีวิต
สิ่งแวดลอ้ ม เศรษฐกจิ และสงั คม จากข้อมลู ทร่ี วบรวมได้

ว 2.1 ม.1/3 ตระหนักถึงคุณค่าของการใช้ธาตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ ธาตุกัมมันตรังสี โดยเสนอแนว
ทางการใช้ธาตุอย่างปลอดภยั และค้มุ ค่า

ว 2.1 ม.1/7 อธิบายเกีย่ วกบั ความสมั พันธ์ระหว่างอะตอม ธาตุ และสารประกอบ โดยใช้แบบจำลองและ
สารสนเทศ

ว 2.1 ม.1/8 อธิบายโครงสรา้ งอะตอมทป่ี ระกอบดว้ ยโปรตอน นวิ ตรอน และอเิ ลก็ ตรอน โดยใชแ้ บบจำลอง

3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. อธบิ ายความสมั พันธร์ ะหวา่ งอะตอม ธาตุ และสารประกอบ โดยใช้แบบจำลองได้ (K)
2. อธบิ ายโครงสรา้ งอะตอม โดยใช้แบบจำลองได้ (P)
3. อธบิ ายสมบตั ทิ างกายภาพบางประการของธาตุโลหะ อโลหะ และก่ึงโลหะได้ (P)
4. นำเสนอเกี่ยวกับสมบตั ขิ องสารประกอบได้ (P)
5. ตระหนกั ถึงคุณค่าของการใช้ธาตโุ ลหะ อโลหะ กึง่ โลหะ ธาตุ (A)

47

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1 สารรอบตวั สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถิ่น
แผนฯ ท่ี 3 สารบรสิ ทุ ธิ์ พิจารณาตามหลกั สูตรของสถานศกึ ษา

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรียนร้แู กนกลาง

- ธาตุแต่ละชนิดมีสมบัติเฉพาะตัวและมีสมบัติ
ทางกายภาพบางประการเหมือนกันและบางประการ
ต่างกัน ซึ่งสามารถนำมาจัดกลุ่มธาตุเป็นโลหะ อโลหะ
และกึ่งโลหะ ธาตุโลหะมีจุดเดือด จุดหลอมเหลวสูง มี
ผิวมันวาว นำความร้อน นำไฟฟ้า ดึงเป็นเส้น หรือตี
เป็นแผ่นบาง ๆ ได้ และมีความหนาแน่นทั้งสูงและต่ำ
ธาตุอโลหะ มจี ดุ เดือด จดุ หลอมเหลวต่ำ มีผวิ ไมม่ ันวาว
ไม่นำความร้อน ไม่นำไฟฟ้า เปราะแตกหักง่าย และมี
ความหนาแน่นต่ำ ธาตุกึ่งโลหะ มีสมบัติบางประการ
เหมอื นโลหะ และสมบตั บิ างประการเหมือนอโลหะ
- ธาตุโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ ที่สามารถแผ่รังสีได้
จดั เปน็ ธาตุกัมมนั ตรงั สี

- ธาตมุ ีทงั้ ประโยชนแ์ ละโทษ การใชธ้ าตโุ ลหะ อโลหะ ก่ึง
โลหะ ธาตุกัมมันตรังสี ควรคำนึงถึงผลกระทบต่อ
ส่งิ มชี ีวติ ส่งิ แวดลอ้ ม เศรษฐกจิ และสังคม
- สารบริสุทธิ์แบ่งออกเป็นธาตุและสารประกอบ
ธาตุประกอบด้วยอนุภาคที่เล็กที่สุดที่ยังแสดงสมบัติ
ของธาตุนั้นเรียกว่า อะตอม ธาตุแต่ละชนิด
ประกอบด้วยอะตอมเพียงชนิดเดียวและไม่สามารถ
แยกสลายเป็นสารอ่ืนได้ดว้ ยวิธีทางเคมี ธาตุเขียนแทน
ด้วยสัญลักษณ์ธาตุ สารประกอบเกิดจากอะตอมของ
ธาตุตั้งแต่ 2 ชนดิ ข้นึ ไปรวมตัวกนั ทางเคมีในอัตราส่วน
คงที่ มีสมบัติแตกต่างจากธาตุที่เป็นองค์ประกอบ
สามารถแยกเป็นธาตุได้ด้วยวิธีทางเคมีธาตุและ
สารประกอบสามารถเขียนแทนไดด้ ้วยสูตรเคมี

- อะตอมประกอบดว้ ยโปรตอน นวิ ตรอน และอิเล็กตรอน
โปรตอนมีประจุไฟฟ้าบวก ธาตุชนิดเดียวกันมีจำนวน
โปรตอนเทา่ กนั และเปน็ ค่าเฉพาะของธาตุน้ัน นวิ ตรอน

48

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 สารรอบตัว สาระการเรียนรทู้ ้องถิน่
แผนฯ ที่ 3 สารบริสุทธิ์ พจิ ารณาตามหลกั สตู รของสถานศึกษา

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
เป็นกลางทางไฟฟ้า ส่วนอิเล็กตรอนมีประจุไฟฟ้าลบ
เมอ่ื อะตอมมจี ำนวนโปรตอนเท่ากับจำนวนอิเล็กตรอน
จะเป็นกลาง ทางไฟฟ้า โปรตอนและนิวตรอนรวมกัน
ตรงกลางอะตอมเรียกว่า นิวเคลียส ส่วนอิเล็กตรอน
เคล่อื นทอี่ ยู่ในที่วา่ งรอบนวิ เคลยี ส

5. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด

สารที่อยู่รอบตัวล้วนประกอบด้วยธาตุและสารประกอบ ธาตุ เป็นสารที่ประกอบด้วยอะตอมเพียงชนดิ
เดียว เมื่อธาตุมากกว่า 1 ชนิดมารวมกันทางเคมีในอัตราส่วนโดยมวลคงที่ จะได้สารประกอบที่มีสมบัติ
แตกต่างจากธาตุที่เปน็ องคป์ ระกอบเดมิ ธาตแุ ละสารประกอบจึงจดั เป็นสารบริสุทธิ์

สารประกอบ คือ สารบริสุทธิ์ที่เกิดจากอะตอมของธาตุตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมารวมกันทางเคมี โดย
อตั ราสว่ นโดยมวลคงที่ และมสี มบัตขิ องสารแตกต่างไปจากสมบัตขิ องธาตุท่ีเป็นองค์ประกอบ ซ่งึ สามารถแยก
ออกเปน็ ธาตุไดด้ ้วยวิธกี ารทางเคมี

6. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น

1. ความสามารถในการส่ือสาร
2. ความสามารถในการคดิ

1) ทักษะการสงั เกต
2) ทกั ษะการระบุ
3) ทกั ษะการสำรวจ
4) ทักษะการสำรวจค้นหา
5) ทักษะการจำแนกประเภท
6) ทกั ษะการเปรียบเทียบ
7) ทกั ษะการนำความรูไ้ ปใช้
8) ทกั ษะการสรุปยอ่
9) ทักษะการรวบรวมข้อมลู
3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

49

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1 สารรอบตวั
แผนฯ ท่ี 3 สารบรสิ ทุ ธิ์

7.คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

1. มวี ินัย
2. ใฝเ่ รียนรู้
3. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน

8. คำถามสำคัญ

1. สารบรสิ ทุ ธคิ์ ืออะไร
2. สารประกอบคืออะไร
3. อะตอมประกอบไปดว้ ยอนุภาคมูลฐานใดบ้าง
4. ธาตใุ นตารางธาตสุ ามารถแบ่งออกไดก้ ่ีประเภท แล้วแตล่ ะประเภทมีอะไรบ้าง

9. กจิ กรรมการเรยี นรู้

วิธีสอนการสอน: แบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model)

ช่ัวโมงที่ 1

ขัน้ นำ

ขัน้ ท่ี 1 กระต้นุ ความสนใจ (Engage)
1. ครูต้ังคำถามเพื่อกระตุ้นความสนใจขอนักเรียน โดยมแี นวคำถาม ดังน้ี
• อากาศทีอ่ ยรู่ อบตัวของนกั เรยี นมธี าตุใดเป็นองคป์ ระกอบ
(แนวคำตอบ: ไนโตรเจน ออกซิเจน อาร์กอน คารบ์ อน เป็นต้น)
• ธาตุโลหะ อโลหะ และก่ึงโลหะ แตกต่างกันอยา่ งไร
(แนวคำตอบ: ครูพจิ ารณาคำตอบของนักเรยี น)

ข้ันสอน

ขั้นท่ี 2 สำรวจคน้ หา (Explore)
1. ครูให้นักเรยี นศกึ ษาเก่ียว เรือ่ ง สารบริสุทธิ์ จากหนงั สือเรียนสัมฤทธ์มิ าตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 สารรอบตัว
2. ครูเขียนคำถามบนกระดานให้นักเรยี นตอบคำถาม ดงั น้ี
• สารบริสุทธิ์ คืออะไร
(แนวคำตอบ: สารที่มีองค์ประกอบเพียงชนดิ เดียว มีสมบตั เิ ฉพาะทางกายภาพและสมบตั ิทางเคมี)

50

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 สารรอบตวั
แผนฯ ท่ี 3 สารบรสิ ทุ ธ์ิ

• เพราะเหตุใด ธาตจุ งึ จดั เป็นสารบริสทุ ธ์ิ
(แนวคำตอบ: เพราะธาตปุ ระกอบด้วยอะตอมเพียงชนิดเดยี ว ไมส่ ามารถแยกหรือสลายออกเปน็ สารอ่ืนได้
แตส่ ามารถทำปฏกิ ิริยากับสารอื่นแลว้ เกดิ เป็นสารใหมไ่ ด้)

• อะตอมคอื อะไร ประกอบไปด้วยอะไรบ้าง
(แนวคำตอบ: อะตอม คือ อนุภาคที่เล็กที่สุดของธาตุประกอบไปด้วยอนุภาคมูลฐาน คือ โปรตอน
นิวตรอน และอเิ ล็กตรอน)

3. ครูนำกอ้ นดินนำ้ มนั มาป้นั เปน็ ลูกทรงกลม 3 ลูก 3 สี ดงั น้ี
• ลกู แรก สีแดง คือ นิวตรอน
• ลกู ทสี่ อง สฟี ้า คอื โปรตอน
• ลูกทสี่ าม สีเหลือง คือ อเิ ล็กตรอน

4. ครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับแบบจำลองอะตอมของธาตุ หรือศึกษาจากหนังสือเรียนสัมฤทธิ์
มาตรฐานวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1 สารรอบตวั

ขัน้ ท่ี 3 อธบิ ายความรู้ (Explain)
5. ครูสุ่มตัวแทนนักเรียนออกมาสรา้ งและอธิบายแบบจำลองอะตอมโดยใช้ดินน้ำมันที่ครูเตรียมมา โดยใช้
ความรจู้ ากการสบื ค้นข้อมูลจากแหลง่ ขอ้ มูลต่าง ๆ เช่น อนิ เทอรเ์ น็ต
6. ครูตรวจแบบจำลองอะตอมที่นกั เรยี นปั้น และเพมิ่ เตมิ ขอ้ มลู ทน่ี ักเรยี นนำเสนอให้ถกู ตอ้ ง
7. ครยู กตวั อยา่ งแบบจำลองอะตอมของธาตบุ างชนิด เช่น คารบ์ อน ออกซิเจน เป็นตน้

ชว่ั โมงที่ 2

ขน้ั ที่ 2 สำรวจคน้ หา (Explore)
8. ครเู กรน่ิ นำว่า ธาตใุ นปจั จุบนั มีมากว่า 117 ชนิด แลว้ ถามคำถามนกั เรยี นวา่ เราจะรูไ้ ดอ้ ย่างไรว่าธาตแุ ต่ละ
ชนิดคือธาตใุ ด
(แนวคำตอบ: ใชส้ ญั ลกั ษณ์ธาตเุ ปน็ ตัวอกั ษรแทนช่ือธาตุ)
9. ครูให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาเรื่อง หลักการเขียนสัญลักษณ์ของธาตุ จากหนังสือเรียนสัมฤทธิ์มาตรฐาน
วทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 สารรอบตวั
10. ครนู ำตวั อยา่ งตารางธาตทุ ่แี สดงสัญลักษณ์นวิ เคลยี รข์ องธาตมุ าใหน้ ักเรยี นศกึ ษา
11. ครูให้นักเรียนศึกษา เรื่อง การเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ จากหนังสือเรียนสัมฤทธิ์มาตรฐาน
วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 สารรอบตวั

51

หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 สารรอบตัว
แผนฯ ที่ 3 สารบรสิ ทุ ธ์ิ

12. ครูให้นักเรียนศึกษาสมบัตขิ องธาตุในหนังสือเรียนสัมฤทธิ์มาตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน่วยการ
เรยี นรทู้ ่ี 1 สารรอบตัว

ตารางธาตตุ ัวอยา่ งทีม่ ีสัญลักษณน์ ิวเคลยี ร์ เลขมวล เลขอะตอม
ขนั้ ท่ี 3 อธิบายความรู้ (Explain)

13. ครูให้นกั เรียนออกมาเขียนสัญลกั ษณ์ของธาตุหน้าชน้ั เรียน และอธิบายหลักการเขียนสัญลักษณ์ของธาตุ
ชนดิ นัน้

14. ครูสมุ่ เรียกนกั เรียน 5 คน ออกมาตอบคำถามคนละข้อจากตารางธาตุ ตอ่ ไปน้ี
- จงหาสญั ลกั ษณธ์ าตุทองคำ และเขียนสญั ลกั ษณน์ วิ เคลียรข์ องธาตุ
- จงหาสัญลักษณธ์ าตุซีนอน และเขยี นสญั ลักษณ์นิวเคลยี ร์ของธาตุ
- จงหาสัญลกั ษณ์ธาตุเงนิ และเขยี นสัญลักษณ์นวิ เคลียร์ของธาตุ
- จงหาสญั ลกั ษณ์ธาตุปรอท และเขียนสัญลักษณน์ ิวเคลียร์ของธาตุ
- จงหาสญั ลักษณ์ธาตุสงั กะสี และเขยี นสัญลักษณน์ วิ เคลียร์ของธาตุ

15. นักเรยี นและครรู ว่ มกนั เฉลยคำตอบท่ถี ูกต้อง

52

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 สารรอบตวั
แผนฯ ที่ 3 สารบริสุทธ์ิ

ชว่ั โมงท่ี 3

ข้นั ท่ี 2 สำรวจคน้ หา (Explore)
16. ครถู ามถามคำถาม ต่อไปนี้
• แนวโน้มของธาตุในตารางสามารถแบ่งธาตุออกเปน็ กป่ี ระเภท และแตล่ ะประเภทมีลกั ษณะอย่างไร
(แนวคำตอบ: 3 ประเภท ดงั น้ี
- โลหะ: เปน็ ของแข็งที่อุณหภูมหิ ้อง ทผ่ี ิวของโลหะจะมันวาว นำไฟฟา้ และความรอ้ นไดด้ มี ีจุดเดือด จุด
หลอมเหลวสงู
- อโลหะ: มลี ักษณะตรงข้ามกับโลหะ
- กง่ึ โลหะ : ส่วนใหญเ่ ปน็ สารกง่ึ ตวั นำ โดยจะนำไฟฟา้ ได้ดกี ต็ ่อเมอื่ อุณหภูมสิ ูงกวา่ อณุ หภมู หิ ้อง)
17. ครเู ตรยี มวสั ดุอุปกรณ์การทดลอง เรอ่ื ง สมบัติของธาตุ ดงั น้ี
• ตะปเู หล็ก
• กำมะถนั
• กระดาษทราย
• สายไฟ
• ถา่ นไฟฉาย
• หลอดไฟ
จากน้นั ครูใหน้ กั เรยี นแต่ละกลมุ่ ทดสอบสมบตั ขิ องธาตุตามขั้นตอน ดังน้ี
• ใชก้ ระดาษทรายขัดผิวธาตุ แล้วสงั เกตความมนั วาว
• ให้นักเรียนตอ่ วงจรไฟฟ้า ดังภาพ แล้วสงั เกตความสวา่ งของหลอดไฟ

18. ครใู หน้ กั เรยี นตอบคำถามจากการทำกิจกรรม ต่อไปน้ี
• เมอ่ื ใช้กระดาษขัดผวิ ตะปูเหล็ก ผิวของตะปูเหลก็ มีลกั ษณะอย่างไร
(แนวคำตอบ: มีผวิ มนั วาว)

53

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 สารรอบตัว
แผนฯ ท่ี 3 สารบรสิ ุทธ์ิ

• เม่อื ใชก้ ระดาษขดั ผิวกำมะถัน กำมะถนั มลี กั ษณะอยา่ งไร
(แนวคำตอบ: ไม่เกดิ การเปลีย่ นแปลง)

• เม่ือนำตะปูเหล็ก ไปตอ่ กับวงจรไฟฟา้ หลอดไฟสว่างหรอื ไม่
(แนวคำตอบ: หลอดไฟสว่าง)

• เมอื่ นำกำมะถนั ไปตอ่ กบั วงจรไฟฟา้ หลอดไฟสว่างหรอื ไม่
(แนวคำตอบ: หลอดไฟไม่สวา่ ง)

ชวั่ โมงที่ 4

ขั้นท่ี 3 อธบิ ายความรู้ (Explain)
19. ครใู หน้ กั เรียนของแตล่ ะกลุ่มส่งตัวแทนออกมานำเสนอหน้าช้นั เรยี นวา่ ธาตุ 2 ชนิดจัดอย่ใู นกลุ่มใด เพราะ
เหตใุ ด
(แนวคำตอบ: ตะปูเหล็กจัดเป็นธาตโุ ลหะ เนื่องจากผวิ ของตะปูเหล็กมคี วามมนั วาว และเมื่อนำไปต่อกับ
วงจรไฟฟา้ พบว่า ตัวธาตนุ ำไฟฟ้าไดท้ ำให้หลอดไฟสวา่ ง ในทางกลับกันผิวของกำมะถันไมม่ ันวาว และไม่
นำไฟฟา้ จงึ จัดเป็นธาตอุ โลหะ)
20. ครตู ง้ั คำถามให้นักเรียนชว่ ยกันระดมความคิดตอบคำถาม ต่อไปนี้
• ธาตโุ ลหะและธาตอุ โลหะมสี มบัติเหมือนหรือแตกตา่ งกนั อย่างไร
(แนวคำตอบ: ธาตุโลหะจะมีผิวเป็นมันวาว นำไฟฟ้าและความร้อนได้ดี มีจุดเดือด จุดหลอมเหลวสูง
ในทางกลับกันธาตอุ โลหะจะมสี มบตั ติ รงข้าม)
• สมบัติของธาตุโลหะสามารถนำมาใช้ประโยชน์อะไรได้บา้ ง จงยกตวั อย่าง
(แนวคำตอบ: ธาตุโลหะนำไฟฟ้าไดด้ ี จึงนิยมนำมาทำสายไฟ เช่น ทองแดง นอกจากนโ้ี ลหะมีสมบัตใิ นการ
นำความรอ้ นได้ดี เช่น อะลูมิเนยี มนยิ มนำมาทำเปน็ ภาชนะหงุ ตม้ อาหาร เปน็ ต้น)
21. ให้นักเรียนแต่ละคนลงมือทำ Exercise 3.1 ในหนังสือเรียนสัมฤทธิ์มาตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1เล่ม 1
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 สารรอบตัว

ชั่วโมงที่ 5

ขน้ั ที่ 2 สำรวจคน้ หา (Explore)
22. ครถู ามคำถามทบทวนความรู้เดิมของนักเรียน ดังน้ี
• สารบรสิ ุทธิ์ คืออะไร
(แนวคำตอบ: สารบริสุทธิ์ คือ สารที่มีองค์ประกอบเพียงชนิดเดียว มีสมบัติเฉพาะทางกายภาพ และ
สมบัติทางเคมี)
• เพราะเหตุใด ธาตจุ งึ จดั เป็นสารบรสิ ทุ ธิ์

54

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 1 สารรอบตวั
แผนฯ ที่ 3 สารบรสิ ุทธ์ิ

(แนวคำตอบ: เพราะธาตุประกอบดว้ ยอะตอมเพยี งชนดิ เดยี ว ไมส่ ามารถแยกหรอื สลายออกเป็นสารอืน่ ได)้
23. ครเู กรน่ิ วา่ อะตอมของธาตสุ ามารถสร้างพันธะระหว่างกนั ได้ จากนนั้ นำเสนอแบบจำลองสารต่อไปน้ี

Mn Cl
O O Na

Na H CH K
O

24. ครถู ามนักเรียนเกยี่ วกบั แบบจำลองโครงสร้างสารทค่ี รูนำเสนอ ดงั น้ี
• สารทค่ี รแู สดงจัดเปน็ สารบรสิ ุทธ์ิหรือไม่ เพราะเหตุใด
(แนวคำตอบ: พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยูใ่ นดุลยพนิ ิจของครูผู้สอน ตวั อย่างเช่น จัดเป็น
สารบริสทุ ธิ์ เพราะมีการสร้างพันธะร่วมกัน เป็นต้น)
• สารท่คี รูแสดงมคี ณุ สมบตั แิ ตกตา่ งไปจากธาตทุ ีเ่ ปน็ องคป์ ระกอบของสารนั้นหรอื ไม่
(แนวคำตอบ: พจิ ารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยูใ่ นดลุ ยพนิ ิจของครผู ้สู อน ตัวอย่างเช่น แตกต่าง
เพราะธาตุต่างชนิดกนั ทำพันธะกัน เป็นต้น)

ชวั่ โมงที่ 6

25. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุม่ กลุ่มละ 5 คน จากนั้นใหน้ กั เรยี นส่งตัวแทนกลุ่มออกมารบั ใบงานท่ี 1.3.1 เรื่อง
สารประกอบ (ตอนท่ี 1)

26. ครูให้นักเรียนศึกษาเรื่อง สารประกอบ ในหนังสอื เรียนสัมฤทธ์ิมาตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน่วย
การเรียนรู้ที่ 1 สารรอบตัว หรือจากแหลง่ การเรยี นรู้อ่ืน ๆ จากนน้ั ให้นักเรียนบันทกึ ผลการสบื ค้นลงในใบ
งานท่ี 1.3.1 เร่ือง สารประกอบ (ตอนที่ 1)

ข้นั ท่ี 3 อธบิ ายความรู้ (Explain)
27. ครใู หน้ กั เรยี นแต่ละกล่มุ สง่ ตัวแทนออกมานำเสนอหน้าชน้ั เรยี น เกย่ี วกับการบนั ทึกผลการสืบค้นลงในใบ
งาน โดยนกั เรียนกลุ่มอ่ืนรว่ มกนั อภิปรายเก่ียวกับคำตอบของกลุม่ เพ่อื นทน่ี ำเสนอ
28. นกั เรยี นและครรู ่วมกนั อภิปรายและหาข้อสรุปจากกิจกรรม โดยครูถามคำถามนกั เรียน ดังนี้
• สารประกอบ คอื อะไร
(แนวคำตอบ: สารประกอบ คือ สารบริสุทธิ์ที่เกดิ จากอะตอมของธาตุตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมารวมกันทาง
เคมี)
• อตั ราสว่ นโดยมวลของธาตทุ รี่ วมกนั เป็นสารประกอบเป็นอยา่ งไร

55

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 สารรอบตวั
แผนฯ ที่ 3 สารบรสิ ุทธ์ิ

(แนวคำตอบ: อตั ราส่วนโดยมวลคงที)่
• สมบัติของสารประกอบเปล่ียนแปลงไปจากสมบตั ิของธาตทุ ี่เป็นองค์ประกอบเดิมหรอื ไม่
(แนวคำตอบ: สมบัตขิ องสารประกอบเปล่ยี นแปลงไปจากสมบตั ขิ องธาตทุ ี่เปน็ องค์ประกอบเดมิ )
• สารประกอบชนดิ ใดท่ีสามารถใช้สูตรโมเลกลุ ได้

(แนวคำตอบ: สารประกอบที่มธี าตอุ โลหะเปน็ องคป์ ระกอบเทา่ นั้น)

ขัน้ ที่ 4 ขยายความเขา้ ใจ (Expand)
29. ครูถามนักเรยี นวา่ นอกจากตัวอยา่ งแบบจำลองโมเลกลุ ของสารประกอบท่ีครูนำเสนอแล้ว นักเรียนคิดว่า
มีสารใดรอบตัวนักเรยี นทีเ่ ปน็ สารประกอบอีกบา้ ง
(แนวคำตอบ: พจิ ารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน ตวั อยา่ งเช่น ผงชูรส
น้ำ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เปน็ ต้น)
30. ครใู หน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ศึกษาค้นควา้ เกี่ยวกับสารประกอบที่อย่รู อบตวั นักเรียน แลว้ บนั ทกึ ผลการสืบค้น
ลงในใบงานที่ 1.3.2 เรือ่ ง สารประกอบ (ตอนท่ี 2)
31. ให้นักเรียนแต่ละคนลงมือทำ Exercise 3.2 ในหนังสือเรียนสัมฤทธิ์มาตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 สารรอบตัว

ข้นั ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูตรวจ Exercise 3.1 และ Exercise 3.2 ในหนังสือเรียนสัมฤทธิ์มาตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สารรอบตวั
2. ครูตรวจใบงานท่ี 1.3.1 เรอื่ ง สารประกอบ (ตอนท่ี 1)
3. ครูตรวจใบงานท่ี 1.3.2 เรอื่ ง สารประกอบ (ตอนท่ี 2)
4. ครูประเมนิ พฤติกรรมการทำงานกลุม่ จากการทำใบงานที่ 1.3.1 เร่ือง สารประกอบ (ตอนที่ 1) และใบงาน
ที่ 1.3.2 เรื่อง สารประกอบ (ตอนท่ี 2)
5. ครูประเมินการนำเสนอใบงานที่ 1.3.1 เรื่อง สารประกอบ (ตอนท่ี 1) และใบงานที่ 1.3.2 เรื่อง
สารประกอบ (ตอนที่ 2) โดยใช้แบบประเมินการนำเสนอผลงาน

56

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 สารรอบตัว
แผนฯ ท่ี 3 สารบรสิ ทุ ธ์ิ

10. การวดั และประเมินผล

รายการวดั วธิ วี ดั เคร่อื งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ

10.1 การประเมินระหว่าง

การจดั กิจกรรม

1) สารบรสิ ทุ ธ์ิ - ตรวจใบงานที่ 1.3.1 - ตรวจใบงานท่ี 1.3.1 - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

- ตรวจใบงานท่ี 1.3.2 - ตรวจใบงานท่ี 1.3.2 - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์

- ตรวจ Exercise 3.1 - Exercise 3.1 - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์

- ตรวจ Exercise 3.2 - Exercise 3.2 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

2) การนำเสนอผลงาน - ประเมินการนำเสนอ - แบบประเมินการ - ระดับคุณภาพ 2

ผลงาน นำเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์

3) พฤตกิ รรมการทำงาน - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม - ระดับคณุ ภาพ 2

รายกลุ่ม การทำงานรายกลุ่ม การทำงานรายกล่มุ ผ่านเกณฑ์

4) คุณลกั ษณะอนั พงึ - สังเกตความมีวนิ ยั - แบบประเมนิ คณุ ลักษณะ - ระดับคุณภาพ 2

ประสงค์ ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งม่นั อันพึงประสงค์ ผา่ นเกณฑ์

ในการทำงาน

11. สอ่ื /แหลง่ การเรียนรู้

11.1 สอ่ื การเรยี นรู้
1) หนงั สือเรยี นสมั ฤทธ์ิมาตรฐานวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 สารรอบตวั
2) ใบงานท่ี 1.3.1 เรอื่ ง สารประกอบ (ตอนที่ 1)
3) ใบงานที่ 1.3.2 เรือ่ ง สารประกอบ (ตอนท่ี 2)
4) วัสดอุ ุปกรณ์การทดลอง เรอ่ื ง สมบัตขิ องธาตุ
5) แบบจำลองอะตอมของธาตุ
5) แบบจำลองโครงสรา้ งของสาร

11.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องปฏิบัตกิ ารวิทยาศาสตร์
2) อินเตอร์เน็ต

57

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 1 สารรอบตัว
แผนฯ ท่ี 3 สารบริสทุ ธิ์

ใบงานท่ี 1.3.1

เร่อื ง สารประกอบ (ตอนท่ี 1)

คำชี้แจง ให้นกั เรียนศกึ ษาเกย่ี วกับสารประกอบ แลว้ บันทึกผลการสืบคน้ ลงในใบงาน

รปู โมเดลสารประกอบ ชอื่ สารประกอบ สมบตั ิของ สมบตั ขิ องธาตุท่เี ป็น
สารประกอบ องค์ประกอบ

Na H โซเดยี มไฮดรอกไซด์

O

O กรดคารบ์ อนิก

CH

Mn โพแทสเซยี มเปอร์-
O แมงกาเนต

K

Cl โซเดยี มคลอไรด์

Na

คำถามหลงั กจิ กรรม
1. สารประกอบ คอื อะไร
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
2. สารประกอบมสี มบัติเหมอื นกบั ธาตุท่เี ป็นองคป์ ระกอบของสารประกอบนั้นหรอื ไม่
...................................................................................................................................................................

58

หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 สารรอบตัว
แผนฯ ท่ี 3 สารบริสทุ ธ์ิ

ใบงานที่ 1.3.1

เรื่อง สารประกอบ (ตอนที่ 2)

คำชี้แจง จงเขียนชื่อและสูตรโมเลกุลของสารประกอบรอบตัวของนักเรียนมาอย่างน้อย 5 ชนิด พร้อมกับระบุ
ประโยชน์และโทษของสารประกอบชนดิ นั้น

ชื่อสารประกอบ สูตรโมเลกลุ ประโยชน์/โทษของสารประกอบ

NH2CONH2 N,H,C,O
H2SO4 H,S,O
Hl

Na2B4O7·10H2O C,O
CO2

C5H8NO4Na

59

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 สารรอบตัว
แผนฯ ที่ 3 สารบริสุทธ์ิ

ใบงานท่ี 1.3.1 เฉลย

เรื่อง สารประกอบ (ตอนท่ี 1)

คำช้ีแจง ใหน้ กั เรียนศกึ ษาเก่ียวกบั สารประกอบ แลว้ บนั ทึกผลการสืบคน้ ลงในใบงานตอนท่ี 1

รูปโมเดลสารประกอบ ชอื่ สารประกอบ สมบัตขิ อง สมบัตขิ องธาตทุ เี่ ป็น
สารประกอบ องคป์ ระกอบ

Na H โซเดยี มไฮดรอกไซด์
O กรดคาร์บอนิก
O
CH

Mn โพแทสเซียมเปอร์-
O แมงกาเนต

K โซเดยี มคลอไรด์

Cl
Na

คำถามหลังกจิ กรรม
1. สารประกอบ คืออะไร

สารประกอบ คือ สารบริสุทธิ์ที่เกิดจากอะตอมของธาตุตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมารวมกันทางเคมี โดยมี
อตั ราสว่ นโดยมวลคงท่ี
2. สารประกอบมสี มบัตเิ หมอื นกับธาตทุ เี่ ปน็ องค์ประกอบของสารประกอบนัน้ หรอื ไม่

สารประกอบมีสมบัติแตกต่างกับธาตุที่เป็นองค์ประกอบของสารประกอบนั้น เนื่องจากมีการสร้าง
พนั ธะระหว่างอะตอมทำให้กลายเปน็ โมเลกลุ ใหม่

60

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 1 สารรอบตัว
แผนฯ ท่ี 3 สารบรสิ ุทธิ์

ใบงานที่ 1.3.2 เฉลย

เรอ่ื ง สารประกอบ (ตอนท่ี 2)

คำชแ้ี จง จงเขยี นชื่อและสตู รโมเลกุลของสารประกอบรอบตัวของนกั เรยี นมาอย่างน้อย 5 ชนิด พรอ้ มกบั ระบุ
ประโยชนแ์ ละโทษของสารประกอบชนดิ นน้ั

ชอื่ สารประกอบ สูตรโมเลกุล ประโยชน์/โทษของสารประกอบ

ตัวอย่างคำตอบ Ca(OH)2 ประโยชน์
แคลเซยี มไฮดรอกไซด์ 1. ใชแ้ ก้ดนิ เปร้ียว
2. ใชท้ ำยาลดกรดในกระเพาะ
อาหาร
โทษ
1. เมื่ออยใู่ นรูปสารละลายจะมีฤทธิ์
เปน็ เบส กดั กร่อนผิวหนัง ก่อให้เกิด
การระคายเคือง

61

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 สารรอบตวั
แผนฯ ที่ 3 สารบรสิ ทุ ธิ์

12. ความเหน็ ของผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาหรอื ผทู้ ่ีได้รบั มอบหมาย

ขอ้ เสนอแนะ

ลงชอ่ื .................................
( ................................ )

ตำแหน่ง .......

13. บันทึกผลหลังการสอน

 ดา้ นความรู้

 ดา้ นสมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียน

 ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

 ด้านความสามารถทางวิทยาศาสตร์

 ดา้ นอน่ื ๆ (พฤตกิ รรมเดน่ หรอื พฤติกรรมทมี่ ีปัญหาของนกั เรียนเป็นรายบุคคล (ถ้ามี))

 ปัญหา/อุปสรรค
 แนวทางการแก้ไข

62

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 สารรอบตวั
แผนฯ ที่ 4 ธาตกุ มั มันตรงั สี

แผนจัดการเรยี นรทู้ ่ี 4

กลุม่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์
ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1

เร่อื ง ธาตกุ ัมมันตรังสี เวลา 2 ช่วั โมง

1. มาตรฐานการเรยี นรู้

ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ
โครงสรา้ งและแรงยึดเหน่ียวระหวา่ งอนภุ าค หลักและธรรมชาตขิ องการเปล่ียนแปลง สถานะ
ของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมี

2. ตัวชีว้ ัด

ว 2.1 ม.1/2 วิเคราะห์ผลจากการใช้ธาตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ และธาตุกัมมันตรังสี ที่มีต่อสิ่งมีชีวิต
สง่ิ แวดล้อม เศรษฐกิจ และสงั คม จากขอ้ มลู ท่รี วบรวมได้

ว 2.1 ม.1/3 ตระหนักถึงคุณค่าของการใช้ธาตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ ธาตุกัมมันตรังสี โดยเสนอแนว
ทางการใชธ้ าตุอยา่ งปลอดภัยและคุ้มค่า

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. อธบิ ายลักษณะของธาตุกมั มนั ตรงั สไี ด้ (K)
2. วเิ คราะหผ์ ลจากการใชธ้ าตุกมั มันตรังสี ต่อส่ิงมีชีวิต สง่ิ แวดล้อม เศรษฐกจิ และสงั คมได้ (P)
3. ตระหนักถงึ คุณคา่ ของการใชธ้ าตกุ มั มนั ตรงั สี (A)

4. สาระการเรียนรู้ สาระการเรยี นร้ทู ้องถ่ิน
พิจารณาตามหลกั สูตรของสถานศึกษา
สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

- ธาตุโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ ที่สามารถแผ่
รงั สไี ด้ จัดเปน็ ธาตุกัมมนั ตรงั สี

- ธาตุมีทั้งประโยชน์และโทษ การใช้ธาตุโลหะ
อโลหะ กึ่งโลหะ ธาตุกัมมันตรังสี ควร
คำนึงถึงผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิต สิ่งแวดล้อม
เศรษฐกิจและสงั คม

63

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 สารรอบตวั
แผนฯ ท่ี 4 ธาตุกมั มนั ตรงั สี

5. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด

ธาตบุ างชนดิ ที่มเี ลขอะตอมสูงกว่า 83 สามารถแผร่ ังสไี ดอ้ ย่างต่อเนื่อง เรยี กวา่ ธาตกุ ัมมนั ตรงั สี เกิดจาก
นิวเคลียสในอะตอมของธาตุไม่เสถียร จึงสลายตัวแล้วเปลี่ยนไปเป็นธาตุที่มีความเสถียรมากขึ้น และปล่อย
อนุภาคภายในนิวเคลียสออกมาในรูปของสี ซึ่งรังสีที่แผ่ออกมา เรียกว่า กัมมันตภาพรังสี ซึ่งมี 3 ประเภท
ไดแ้ ก่ อนภุ าคแอลฟา อนุภาคบีตา และรังสแี กมมา ซ่ึงกอ่ ให้เกิดประโยชนแ์ ละโทษตอ่ สงิ่ มชี วี ิต

6. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น

1. ความสามารถในการสอื่ สาร
2. ความสามารถในการคดิ

1) ทกั ษะการสงั เกต
2) ทกั ษะการระบุ
3) ทักษะการเปรียบเทยี บ
4) ทักษะการประเมนิ
5) ทักษะการวเิ คราะห์
3. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต

7.คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

1. มวี นิ ัย
2. ใฝ่เรยี นรู้
3. มุง่ มน่ั ในการทำงาน

8. คำถามสำคัญ

1. กมั มนั ตภาพรงั สีมกี ีป่ ระเภท แล้วมอี ะไรบา้ ง
2. อำนาจในการทะลุทะลวงของกมั มนั ตภาพรงั สที ัง้ 3 ประเภท มีลักษณะเป็นแบบใด
3. ธาตกุ มั มนั ตรังสีคอื อะไร
4. จงบอกประโยชน์ของธาตุกมั มนั ตรังสที นี ำไปใช้ประโยชนใ์ นด้านต่าง ๆ

64

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 สารรอบตัว
แผนฯ ที่ 4 ธาตุกมั มันตรงั สี

9. กิจกรรมการเรยี นรู้

วธิ ีสอนการสอน: แบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model)

ช่ัวโมงที่ 1

ขน้ั นำ

ขั้นท่ี 1 กระตุ้นความสนใจ (Engage)
1. ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียนเกี่ยวกับเรื่อง ธาตุกัมมันตรังสี โดยเปิดวีดีทัศน์ เรื่อง ผลกระทบ
นวิ เคลยี ร์ฟกุ ชุ ิมะ จากนั้นครูตง้ั คำถามจากวดี ที ัศน์ ดงั นี้
• ครูถามนักเรยี นว่า จากขา่ วผลกระทบนิวเคลยี ร์ฟุกชุ มิ ะเกิดการว่ั ไหลของสารใด
(แนวคำตอบ: สารกัมมนั ตรังส)ี
• ครูถามนักเรียนว่า สารกมั มนั ตรงั สสี ง่ ผลกระทบตอ่ สงิ่ มีชวี ิตอยา่ งไร
(แนวคำตอบ: พิจารณาตามคำตอบของนักเรยี น โดยให้อยู่ในดลุ ยพินิจของครผู ู้สอน ตัวอย่างเช่น ทำให้
เกดิ การกลายพนั ธ์ุ เป็นต้น)
2. ครถู ามนักเรียน โดยมแี นวคำถามดังน้ี
• นกั เรยี นคิดว่า ธาตุทเี่ ปน็ องคป์ ระกอบของสารกัมมันตรังสีมลี กั ษณะอยา่ งไร จงึ ทำให้เกิดผลกระทบต่าง ๆ
ตอ่ ส่ิงมีชีวิต
(แนวคำตอบ: พิจารณาตามคำตอบของนกั เรียน โดยให้อยูใ่ นดุลยพนิ ิจของครูผู้สอน ตวั อยา่ งเช่น ธาตุอาจ
มีการแผ่กระจายของรังสี เปน็ ต้น)

ขน้ั สอน

ขั้นท่ี 2 สำรวจคน้ หา (Explore)
1. ครูจัดเตรียมชุดแบบจำลองนิวเคลยี สของอะตอม 3 นิวเคลียส ได้แก่
1) นิวเคลียสขนาดใหญ่ที่มีจำนวนโปรตอนเท่ากับอิเล็กตรอน ครูจัดเตรียมโดยปั้นดินน้ำมันสีเขียวเป็น
กอ้ นกลม 6 ลกู แตล่ ะลกู แทนเป็นโปรตอน 1 อนุภาค และปัน้ ดนิ นำ้ มันสสี ้ม 6 ลกู แตล่ ะลูกแทนเป็น
นิวตรอน 1 อนภุ าค จากนั้นนำก้อนดินนำ้ มันมาติดกัน (อย่าตดิ แนน่ กันจนเกินไป)

65

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 สารรอบตัว
แผนฯ ที่ 4 ธาตกุ มั มนั ตรังสี

2) นิวเคลียสทมี่ จี ำนวนโปรตอนมากกว่านิวตรอน โดยครปู ัน้ ดินนำ้ มนั สเี ขียวเป็นก้อนกลม 3 ลกู และป้ัน
ดนิ น้ำมันสีสม้ 2 ลกู จากนนั้ นำก้อนดินน้ำมนั มาตดิ กัน (อยา่ ตดิ แน่นกนั จนเกินไป)

3) นิวเคลยี สท่ีมจี ำนวนนิวตรอนมากกว่าโปรตอน โดยครูปนั้ ดนิ นำ้ มนั สีเขยี วเปน็ กอ้ นกลม 2 ลกู และป้ัน
ดนิ นำ้ มันสีสม้ 3 ลกู จากนัน้ นำกอ้ นดินนำ้ มนั มาติดกัน (อย่าตดิ แน่นกนั จนเกินไป)

4) นวิ เคลียสขนาดปานกลางทไ่ี ดร้ ับพลงั งานกระตนุ้ โดยครูปัน้ ดินน้ำมันสีเขียวเปน็ กอ้ นกลม 2 ลูก และ
ปั้นดินน้ำมันสีส้ม 3 ลูก จากนั้นนำก้อนดินน้ำมันมาติดกัน (อย่าติดแน่นกันจนเกินไป) แล้ววางบน
เคร่ืองเขยา่ สารโดยใชค้ วามเรว็ ในการเขยา่ นอ้ ยท่สี ุด

2. ครูนำเสนอนิวเคลยี สของธาตกุ ัมมันตรังสีให้นักเรยี นดู แล้วดึงก้อนดินน้ำมันสีเขียวและสีเหลืองสี สีละ 2
ก้อนออกจากแบบจำลองนวิ เคลยี สขนาดใหญ่ จากน้ันครตู ั้งคำถามนักเรยี นว่า นวิ เคลยี สทคี่ รเู ตรยี มท้ัง 4
นวิ เคลยี ส ซึ่งเป็นนิวเคลียสของธาตกุ ัมมนั ตรงั สี จะมีการแผ่รงั สีชนิดใดออกมา เพราะเหตใุ ดจงึ คดิ เช่นนนั้

3. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ออกมารับใบงานที่ 1.4.1 เรื่อง ธาตุกัมมันตรังสี (ตอนที่ 1)
จากนั้นครูให้นักเรียน ศึกษาคำชี้แจงในใบงาน สืบค้นเกี่ยวกับธาตุกัมมันตรังสีในหนังสือเรียนสัมฤทธ์ิ
มาตรฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 1 สารรอบตัว แล้วตอบคำถามในใบงานที่ 1.4.1
เร่อื ง ธาตกุ ัมมนั ตรงั สี (ตอนท่ี 1)

ข้ันที่ 3 อธิบายความรู้ (Explain)
4. ครูให้ตวั แทนนกั เรยี นแต่ละกลมุ่ ออกมานำเสนอคำตอบในใบงานท่ี 1.4.1 เร่อื ง ธาตกุ ัมมนั ตรงั สี (ตอนท่ี 1)
หน้าชัน้ เรียน จากน้นั ครแู ละนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถกู ตอ้ งและความละเอยี ดของข้อมูลที่แต่ละ
กลุม่ นำเสนอหนา้ ชนั้ เรยี น
5. นกั เรียนและครรู ว่ มกันอภปิ รายและหาข้อสรปุ จากการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม โดยใชแ้ นวคำถามต่อไปน้ี

66


Click to View FlipBook Version