The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Brands Summer Camp ปีที่ 27 วิชาชีววิทยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by BS_Library, 2019-12-12 10:36:42

Brands Summer Camp ปีที่ 27 วิชาชีววิทยา

Brands Summer Camp ปีที่ 27 วิชาชีววิทยา

Keywords: ชีววิทยา

สุดยอดการติวสด

• พเิ ศษ เก็งขอสอบกวา 800 ขอ
• รวมสดุ ยอดตวิ เตอรชอ่ื ดังระดับประเทศ
• ติวเขม 8 วชิ า 6 วันเต็ม 4 ชองทาง วันท่ี 1-6 ตุลาคม 2558
1. ตวิ สด ณ อาคารจักรพนั ธเ พ็ญศริ ิ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร
และสงสญั ญาณผา นเครือขา ยนนทรีเนต็ www.ku.ac.th ไปยงั อีก
3 วิทยาเขต คอื นครปฐม ชลบุรี และสกลนคร
2. ตวิ พรอ มกันผานสัญญาณดาวเทยี ม
- ภาคเหนือ คณะเภสชั ศาสตร ม.เชียงใหม
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คณะเภสัชศาสตร ม.ขอนแกน
- ภาคใต คณะแพทยศาสตร ม.สงขลานครนิ ทร (หาดใหญ)

และมหาวิทยาลัยราชภัฏ จ.ยะลา
3. ตวิ ผา นสญั ญาณดาวเทยี มสามารถเขาดไู ดท ่ีชอ งทางการรับชมสถานีโทรทัศน

ดาวเทียม MCOT 1 (Live)
- กลอง GMM Z ชอ ง 279
- กลอง PSI ชอ ง 227
- กลอง True MPEG 4 ชอ ง 78
- กลอง True MPEG 2 ชอ ง 106
- กลอ ง CTH ชอ ง 180
- กลอง Sun Box ชอ ง 83
- กลอ ง Infosat ชอง 245
4. ตวิ ผานอนิ เตอรเนตท่ี https://www.facebook.com/BRANDSWorldThailand
5. ดยู อ นหลังผานทางสถานีวิทยโุ ทรทัศนก ารศกึ ษาทางไกลผานดาวเทียม สศทท.
วงั ไกลกงั วล ชอ ง สศทท.14 วนั ที่ 15-20 ตุลาคม 2558

รับรหสั เพื่อดาวนโหลดหนังสอื เก็งขอสอบ
แบรนดซ มั เมอรแ คมปไ ดท ี่

สอบครั้งสำคญั ...ทำใหเต็มท่ี สู สู



ชีววิทยาสําหรับปีน้ีมาในรูปแบบใหม่ กับการฝ่าด่านชีววิทยาสุดมัน การถอดเนื้อหาสุดหนัก คําศัพท์
สุดเยอะ ให้การเป็นรหัส (code) และ Tricks ให้จําง่ายขึ้น เร็วขึ้น สําหรับเตรียมเข้าห้องสอบ อ่านชีววิทยา
ตอ้ งมีทิศทาง เน้นหนกั จดุ เน้น ตามนี้ครับเดก็ ๆ

เร่ือง จดุ เนน้

Lesson 1 - เยอื่ หุ้มเซลล์ : ลกั ษณะ โครงสรา้ ง คุณสมบตั ิ
เซลล์ (THE CELL) - ออร์แกเนลล์ : ชอื่ รปู ร่าง จํานวนช้นั ของเยอื่ หุ้ม หน้าท่ี
- การเปรียบเทียบประเภทของเซลล์ : พืช สัตว์ แบคทีเรีย-สังเกตและจําแนกรูปภาพ
Lesson 2
การเคล่ือนทขี่ องสารผ่านเซลล์ การแบง่ เซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิส วา่ ภาพทก่ี าํ หนดอยูใ่ นระยะใด
(CELL TRANSPORTATION) - การลําเลียงแบบต่างๆ พร้อมดูรูปภาพประกอบ ทําความเข้าใจดีๆ รวมถึงพลังงาน

Lesson 3 (ATP) ที่ใชว้ า่ ใชห้ รอื ไมใ่ ช้
ภาวะธาํ รงดลุ (HOMEOSTASIS) - ดูการเปลี่ยนแปลงเม่ือนําเซลล์แช่ในสารละลาย Hypertonic Solution Hypotonic

Lesson 4 Solution และ Isotonic Solution
ภูมคิ ้มุ กันรา่ งกาย (IMMUNITY) - อวยั วะในการควบคุมน้ําของสิ่งมชี ีวิตชนดิ ตา่ งๆ
Lesson 5 - การทํางานของ ADH / ปัสสาวะ
พนั ธศุ าสตร์ (GENETICS) - ระบบบฟั เฟอร์
Lesson 6 - เปรียบเทียบ + กราฟเปรียบเทียบสัตวเ์ ลือดอุ่นและสตั วเ์ ลอื ดเยน็
ความหลากหลายทางชวี ภาพ - จําแนกภูมิคุ้มกันประเภทต่างๆ
(DIVERSITY OF LIFE) - แอนตเิ จน แอนตบิ อดี วัคซีน ทอกซอยด์ เซรุ่ม
Lesson 7 - เรื่องนี้เด็กๆ ต้องทําความเข้าใจทุกประเด็น และดูเป็นพิเศษ คือ การคํานวณหมู่เลือด
ระบบนเิ วศ (ECOSYSTEM)
ABO (ออกเยอะมากครบั )
- ความหลากหลายทางชวี ภาพท้ัง 3 ประเภท
- สิง่ มชี วี ติ ในอาณาจักรตา่ งๆ / ลกั ษณะเดน่

- พีระมิดทัง้ 3 แบบ
- ความสัมพนั ธ์ของสง่ิ มีชีวติ ในระบบนเิ วศ
- หลกั 5R ลดโลกร้อน

วทิ ยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (2) __________________________________โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27

LESSON 1 เซลล (THE CELL)

เม่ือเด็กๆ อ่านจบแต่ละด่านให้กากบาท เพื่อแสดงว่าภารกิจสําเร็จแล้ว จะได้มีกําลังใจนะครับเด็กๆ
ตอ้ งฝา่ ฝันแตล่ ะด่านจนสดุ ความสามารถนะครับ !!!

A) ทฤษฎีเซลล์ B) องคป์ ระกอบ C) แผนผงั D) ออร์แกเนลล์
พื้นฐานของเซลล์

E) จําแนกเซลล์ F) ตาราง G) การเปรียบเทียบ
โครงสร้างเซลล์ เซลล์พืชกับเซลลส์ ัตว์

H) การแบ่งเซลล์ I) ไมโทซสิ VS ไมโอซสิ

A) ทฤษฎีเซลล์ (Cell Theory) คือ…..???
ทฤษฎีเซลลก์ ล่าวไวว้ ่า “สิง่ มีชีวติ ประกอบดว้ ยเซลล์ 1 เซลล์ หรือมากกว่า ซ่ึงเซลล์เป็นหน่วยท่ีเล็กที่สุด

ของส่งิ มีชวี ิต และเซลลท์ ี่มีอยูเ่ ดมิ จะเป็นต้นกาํ เนิดของเซลลใ์ หมท่ จ่ี ะเกิดขนึ้ ”

B) องค์ประกอบพื้นฐานของเซลล์มอี ะไรบ้าง
1. เยื่อหุ้มเซลล์ (Plasma Membrane)
2. ไซโทพลาซึม (Cytoplasm)
3. ไรโบโซม (Ribosome)
4. โครโมโซม (Chromosome) / ดเี อน็ เอ (DNA)

สรา้ ง Code Ri Chro
Plas Cyt ไร โคร
พลาส ไซ

ภาพผู้ต้งั ทฤษฎเี ซลล์

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27 __________________________________วิทยาศาสตร์ ชวี วิทยา (3)

C) แผนผงั แสดงส่วนประกอบของเซลล์

Rough ส่วนท่ีหอ่ หุม้ เซลล์ เยื่อหมุ้ เซลล์
Endoplasmic (Plasma Membrane)
Mitochondrion Ribosome Reticulum
Cytoplasm ผนังเซลล์
Microtubules Plasma (Cell Wall)
(Part of Cytoskeleton) Membrane สารเคลือบเซลล์
Lysosome เยื่อหุ้มนิวเคลยี ส
นิวเคลียส (Nuclear Membrane) นิวคลโี อลสั (Nucleolus)
Smooth (Nucleus) สารในนิวเคลียส โครมาทิน (Chromatin)
Endoplasmic (Nucleoplasm) รา่ งแหเอนโดพลาสมิกเรติคลู มั (ER)
Reticulum Nucleus ไรโบโซม (Ribosome)
Nucleolus ไซโทชอล กอลจิบอดี (Golgi Body)
Free Ribosome Chromatin (Cytosol) ไมโทคอนเดรยี (Mitochondria)
Centriole Nuclear Pore ออรแ์ กเนลล์
Nuclear Envelope (Organelle) พลาสติด (Plastid)
Golgi Complex เซนทรโิ อล (Centriole)
ไลโซโซม (Lysosome)
ไซโทพลาซึม แวควิ โอล (Vacuole)
(Cytoplasm) ไซโทสเกเลตอน (Cytoskeleton)
เพอรอ์ อกซโิ ซม (Peroxisome)

ออรแ์ กเนลล์จาํ แนกตามจํานวนชน้ั ของเยอื่ หุม้ สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้

ออร์แกเนลลท์ ไ่ี ม่มเี ยื่อหมุ้ ออร์แกเนลลท์ ม่ี ีเยอ่ื หุม้

- ไรโบโซม RCC 1. ออร์แกเนลล์ท่มี ีเย่อื หุม้ ชัน้ เดียว เช่น
- เซนทรโิ อล - เอนโดพลาสมกิ เรติคูลมั (ร่างแหเอนโดพลาซึม)
- ไซโทสเกเลตอน - กอลจคิ อมเพล็กซ์
- ไลโซโซม
Code ลบั !! - แวควิ โอล

นิดนงึ นะบางคร้ังขอ้ สอบจะจัดนิวคลโี อลสั 2. ออรแ์ กเนลลท์ มี่ เี ยอ่ื หมุ้ 2 ช้นั ไดแ้ ก่
รวมในกลุม่ น้ดี ้วย - นิวเคลียส
- ไมโทคอนเดรยี
- คลอโรพลาสต์

วทิ ยาศาสตร์ ชวี วิทยา (4) __________________________________โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปที ี่ 27

E) จาํ แนกเซลลต์ ามเยื่อหุม้ นวิ เคลียส (Nuclear Membrane) สามารถแบ่งเซลล์ออกเป็น 2 ประเภท
คอื

1. เซลล์โพรแคริโอต (Prokaryote Cell) คือ เซลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส พบในส่ิงมีชีวิต
อาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) เช่น แบคทีเรีย สาหรา่ ยสเี ขยี วแกมนํา้ เงนิ

2. เซลล์ยูแคริโอต (Eukaryote Cell) คือ เซลล์ที่มีเย่ือหุ้มนิวเคลียส พบในส่ิงมีชีวิตทุกชนิด เช่น
สาหร่าย อะมีบา เห็ด ยีสต์ พชื สตั ว์ เป็นตน้

Prokaryotic Cell Structure

Cytoplasm

Nucleoid

Capsule
Cell Wall

MCyetmopblarasnmeic

Ribosomes

Pili Flagella
Figure 1

F) ตารางโครงสร้างเซลล์ของสิ่งมชี ีวติ จําพวกยูแคริโอตและหน้าท่ี อันนี้ตอ้ งแมน่ !!

ชอื่ โครงสรา้ ง รปู ร่าง ขอ้ มูลท่คี วรทราบ หนา้ ที่
1. ผนงั เซลล์
- อยู่ถัดจากเยื่อหุ้มเซลล์ออกไป - ปกปอ้ งและคาํ้ จนุ เซลล์
(Cell Wall) (ผนังเ ซล ล์ พ บ ที่ เซล ล์ข อ ง
ส่ิงมีชีวิตบางประเภท เช่น พืช
2. เยื่อหุ้มเซลล์ สาหร่าย เหด็ รา และแบคทเี รีย)
(Plasma
Membrane) - ยอมให้สารผ่านไดห้ มด (ซึง่ จะ
แตกตา่ งจากเยอ่ื หมุ้ เซลล์)

- ป ร ะ ก อ บ ด้ว ย ฟ อ ส โฟ ลิ พิ ด - ควบคมุ การผ่านเข้า-ออก
(Phospholipid) เรียงตัวกัน 2 ของสารระหว่างเซลล์
ชั้น และมีโปรตีนแทรกตวั อยู่ กับสงิ่ แวดล้อมภายนอก

- มีคณุ สมบตั เิ ป็นเยือ่ เลือกผ่าน - จดจําโครงสร้างของ
(Semipermeable Membrane) เซลลบ์ างชนิด

- ลั ก ษ ณ ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง เ ป็ น - ส่อื สารระหว่างเซลล์
Fuidmosaic Model

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปที ่ี 27 __________________________________วิทยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (5)

ชอื่ โครงสร้าง รูปรา่ ง ข้อมูลท่คี วรทราบ หนา้ ท่ี
3. นิวเคลียส
- เป็นโครงสร้างทม่ี ีเย่อื หุ้ม 2 ช้ัน - ควบคุมการสงั เคราะห์
(Nucleus)
และมีโครโมโซมอยู่ภายใน โปรตีนและการสบื พันธ์ุ
4. โครโมโซม
ของเซลล์

- เป็นแหล่งเกบ็ โครโมโซม

- ประกอบด้วยดเี อน็ เอ (DNA) - เป็นแหล่งเก็บข้อมูล
และโปรตนี ฮสี โตน (Histone ทางพันธุกรรมท่ีใช้เป็น
Protein) รหัส ใ น กร ะบ ว น กา ร
สังเคราะหโ์ ปรตีน

5. นิวคลีโอลสั - ควบคมุ การสังเคราะห์ rRNA - เปน็ แหล่งสังเคราะห์
(Nucleolus) rRNA และไรโบโซม

6. ไรโบโซม - มขี นาดเลก็ ประกอบดว้ ยโปรตีน - ส ร้ า ง ส า ร ป ร ะ เ ภ ท
(Ribosome)
และ RNA โปรตีนสําหรับใช้ภายใน
7. เอนโดพลาส-
มิกเรติคลู มั - มีทั้งไรโบโซมอิสระ (ลอยอยู่ใน เซลล์
(ER)
Reticulum) ไซโทพลาซึม) และไรโบโซม

ยึดเกาะ เช่น เกาะอยู่ที่เอนโด-

พลาสมกิ เรตคิ ูลัม (ER)
- โครงสร้างประกอบไปด้วย

หน่วยใหญ่ (Large Subunit)

และหนว่ ยเล็ก (Small Subunit)
- เซลล์โพรแคริโอตมีไรโบโซม

ขนาด 70S เซลล์ยูแคริโอตมี
ไรโบโซม ขนาด 80S

- เป็นระบบเยอ่ื หมุ้ ภายในเซลล์ - RER สร้างสารประเภท

มองดคู ล้ายรา่ งแห โปรตนี สําหรับส่งออกไป

- แบง่ ออกเป็น 2 ชนิด ดังน้ี ใช้ภายนอกเซลล์

1) เอนโดพลาสมิกเรติคลู มั ชนิด - SER สรา้ งสารประเภท

ผิวขรุขระ (RER) เปน็ ER ที่ ลิพดิ (Lipid) : สเตียรอยด์

มีไรโบโซมมาเกาะ (Steriod) และกําจดั

2) เอนโดพลาสมิกเรตคิ ูลมั ชนดิ สารพิษ
ผิวเรยี บ (SER) เป็น ER ท่ี
ไม่มไี รโบโซมเกาะ

วิทยาศาสตร์ ชีววิทยา (6) __________________________________โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27

ชื่อโครงสร้าง รูปร่าง ข้อมูลทีค่ วรทราบ หน้าท่ี
8. กอลจิคอม-
- มีลกั ษณะคล้ายถุงแบนๆ เรียง - สร้างเวสิเคิลหุ้มโปรตีน
เพล็กซ์
(Golgi ซ้อนกนั เปน็ ชน้ั ท่ี RER สร้างข้ึนแล้ว
Complex)
ลําเลียงไปยังเยื่อห้มุ เซลล์
9. ไลโซโซม เ พื่ อ ส่ ง โ ป ร ตี น อ อ ก ไ ป
(Lysosome)
นอกเซลล์
10. ไมโทคอน-
เดรีย - มลี ักษณะเปน็ ถุงกลมๆ เรียกว่า - ยอ่ ยสลายออรแ์ กเนลล์
เวสเิ คิล ซึ่งภายในมเี อนไซม์ท่ีใช้ และเซลลท์ เ่ี สื่อมสภาพ
11. คลอโร-
พลาสต์ สําหรับย่อยสารตา่ งๆ บรรจอุ ยู่ - ยอ่ ยสารตา่ งๆ ท่ีเซลล์
นําเข้ามาด้วยกระบวน
ก า ร เ อ น โ ด ไ ซ โ ท ซิ ส

(Endocytosis)

- มีเยือ่ หมุ้ 2 ชั้น - เปน็ แหล่งสร้างพลังงาน

- มีของเหลวอยู่ภายใน เรียกว่า ให้แก่เซลล์ (ไมโทคอน-

เมทริกซ์ (Matrix) ซ่ึงมีไรโบโซม เดรียสร้างพลังงานจาก

และ DNA ลอยอย่ใู นเมทรกิ ซ์ ก ร ะ บ ว น ก า ร ส ล า ย

- นักชีววิทยาต้ังสมมติฐานว่า สารอาหารภายในเซลล์
“ไม โทค อน เด รียน่า จะเป็ น แบบใชอ้ อกซเิ จนหรือ
แ บ ค ที เ รี ย ท่ี เ ข้ า ม า อ า ศั ย อ ยู่ ทเี่ รียกกนั ว่า การหายใจ

ภายในเซลล์ของส่ิงมีชีวิตใน ร ะ ดั บ เ ซ ล ล์ แ บ บ ใ ช้

อดีตกาลแล้วมวี ิวัฒนาการ ออกซเิ จน)

ร่วมกนั มาจนถงึ ปจั จบุ นั ”

- มเี ย่อื หุม้ 2 ชน้ั - เป็นแหล่งสร้างอาหาร

- มีของเหลวอยู่ภายใน เรียกว่า ก ลู โ ค ส ใ ห้ แ ก่ เ ซ ล ล์

สโตรมา (Stroma) ซึ่งมีไรโบโซม (คลอโรพลาสต์สร้าง

และ DNA ลอยอยู่ในสโตรมา อาหารจากกระบวนการ

- นักชีววิทยาตั้งสมมติฐานว่า สังเคราะห์ด้วยแสง)

“ค ล อ โ ร พ ล า ส ต์ น่ า จ ะ เ ป็ น

แ บ ค ที เ รี ย ท่ี เ ข้ า ม า อ า ศั ย อ ยู่

ภายในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตใน
อ ดี ต ก า ล แ ล้ ว มี วิ วั ฒ น า ก า ร
ร่วมกันมาจนถึงปจั จุบนั ”

โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปที ่ี 27 __________________________________วทิ ยาศาสตร์ ชวี วิทยา (7)

ชื่อโครงสร้าง รูปรา่ ง ข้อมูลท่คี วรทราบ หน้าท่ี
12. แวควิ โอล
vacuole - มีหลายชนดิ หลายขนาด หลาย 1) ฟูดแวคิวโอล ทําหน้าที่
(Vacuole) รูปร่างและมีหน้าที่แตกต่างกัน บ ร ร จุ อ า ห า ร แ ล ะ
Centriole Structure
13. เซนทริโอล Centriole Pair ออกไป เชน่ ฟดู แวควิ โอล ทํางานร่วมกับไลโซโซม
(Centriole)
เซนทรัลแวคิวโอล และคอน- เพื่อยอ่ ยอาหาร

แทร็กไทลแ์ วคิวโอล เป็นต้น 2) เซนทรัลแวคิวโอล ทํา
- แวคิวโอลแต่ละชนิดพบได้ใน หน้าท่ีเก็บสะสมสา ร

เซลล์ของส่ิงมีชีวิตท่ีจําเพาะ ต่างๆ เช่น สารอาหาร

เจาะจง สารสี สารพษิ เป็นตน้
3) คอนแทร็กไทลแ์ วคิวโอล

ทํ า ห น้ า ท่ี กํ า จั ด นํ้ า
ส่วนเกินออกจากเซลล์
ของส่ิงมีชีวิตเซลล์เดี่ยว

ท่ีอาศัยอยู่ในนํ้า เช่น
ยูกลีนา อะมีบา และ

พารามเี ซียม

- ประกอบดว้ ยไมโครทูบูล - สร้างเส้นใยสปินเดิลใน

เรียงตัวกันอย่างเป็นระเบียบ กระบวนการแบ่งเซลล์

มองดคู ลา้ ยทรงกระบอก 2 อนั

Microtubule
Triplet

Figure 1

14. ไซโทส- - มีลักษณะเป็นร่างแหของเส้นใย - ชว่ ยคํ้าจุนเซลล์
เกเลตอน
Plasma โปรตีน - ช่วยในการเคลื่อนที่ของ
Membrane
Endoplasmic Microtubule เซลล์
Reticulum Mitochondrion
Ribosomes
- ชว่ ยในการเคลอื่ นที่ของ

Microfilaments เวสิเคลิ ภายในเซลล์
and Intermediate

Filaments

วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (8) __________________________________โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27

G) การเปรียบเทียบระหว่างเซลล์พืชกบั เซลล์สตั ว์ (Comparison Of Plant & Animal Cells)

ภาพโครงสร้างและสว่ นประกอบของเซลลพ์ ืช ภาพโครงสร้างและส่วนประกอบของเซลล์สัตว์

ตารางเปรียบเทยี บโครงสรา้ งเซลลพ์ ืชและเซลล์สตั ว์

โครงสร้างภายนอก เซลล์พชื เซลล์สัตว์
1. ผนังเซลล์ (Plant Cell) (Animal Cell)
2. เยอ่ื หมุ้ เซลล์
3. แฟลกเจลลัมหรือซิเลยี มี ไม่มี
มี มี
โครงสรา้ งภายใน ไม่มี (ยกเว้นสเปริ ์มของพืชบางชนดิ ) มี (ในบางเซลล์)
1. นวิ เคลียส
2. ไรโบโซม มี มี
3. ไลโซโซม มี มี
4. เอนโดพลาสมกิ เรติคูลมั ไมม่ ี มี
5. กอลจิคอมเพล็กซ์ มี มี
6. แวควิ โอล มี มี
7. เซนทรโิ อล มี มี
8. ไซโทสเกเลตอน ไมม่ ี มี
9. ไมโทคอนเดรีย มี มี
10. คลอโรพลาสต์ มี มี
มี ไมม่ ี

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปีที่ 27 __________________________________วิทยาศาสตร์ ชีววิทยา (9)

H) การแบ่งเซลล์ (CELL DIVISION)
การเพ่ิมจํานวนเซลล์ของส่ิงมีชีวิต ผลของการแบ่งเซลล์ทําให้เซลล์มีขนาดเล็กลง ทําให้ส่ิงมีชีวิต

ชนดิ นั้นเจริญเติบโตหรอื สรา้ งเซลลส์ ืบพันธ์ุ
วัฏจักรของเซลล์ (Cell Cycle) คอื อะไร
วัฏจักรของเซลล์ คือ วงจรการเจริญเติบโตและการแบ่งเซลล์เพื่อสร้างเซลล์รุ่นใหม่ข้ึนมาทดแทน

เซลลร์ นุ่ เก่าทหี่ มดอายขุ ัยหรอื เสยี หายไป ซ่งึ พบในการแบง่ เซลลแ์ บบไมโทซสิ เท่าน้ัน
วัฏจกั รของเซลล์ประกอบด้วย 3 ระยะหลัก
1. ระยะอนิ เตอรเ์ ฟส (Interphase) มี 3 ระยะยอ่ ยตามลําดับ ดงั นี้
1.1 ระยะ G1 (First gap) เป็นระยะกอ่ นการสรา้ ง DNA ซ่ึงเซลล์มีการเจริญเติบโตเต็มที่ ระยะนี้

จะมีการสร้างสารบางอยา่ ง เพือ่ ใชส้ ร้าง DNA ในระยะต่อไป
1.2 ระยะ S (Synthesis) เป็นระยะที่มีการสงั เคราะห์ DNA หรอื มีการจําลองโครโมโซม อกี 1 เท่าตัว
1.3 ระยะ G2 (Second gap) เป็นระยะหลังสร้าง DNA ซึ่งเซลล์มีการเจริญเติบโต และ

เตรยี มพร้อมท่จี ะแบ่งโครโมโซม และไซโทพลาซึมตอ่ ไป
2. ระยะไมโทซิส (Mitosis) มี 4 ระยะยอ่ ยตามลําดับ ดงั นี้
2.1 โพรเฟส (Prophase)
2.2 เมทาเฟส (Metaphase)
2.3 แอนาเฟส (Anaphase)
2.4 เทโลเฟส (Telophase)
3. ระยะแบง่ ไซโทพลาซมึ (Cytokinesis)

เดก็ ๆ ต้องจาํ และเขา้ ใจภาพระยะต่างๆ
ใหไ้ ด้ รวมถึงเรยี งลาํ ดับไดด้ ้วยนะครับ

แผนภาพแสดงวฏั จกั รเซลล์

G0 คอื อะไรเอ่ย
ในเซลลบ์ างชนดิ จะมกี ารแบง่ ตัวอยตู่ ลอดเวลา เชน่ เซลลเ์ นือ้ เยื่อของพชื เซลลไ์ ขกระดกู เพื่อสร้าง
เม็ดเลือดแดง เซลล์เยื่อบุผิว ดังนั้นเซลล์พวกนี้จะอยู่ในวัฏจักรของเซลล์ตลอดเวลา แต่เซลล์อีกบางชนิดเมื่อมี
การแบ่งตัวเสร็จแล้วจะไม่มีการแบ่งตัวอีกต่อไป ได้แก่ เซลล์ประสาท โดยจะเข้าสู่ระยะ G0 อย่างถาวร
จนกระทั่งเซลล์ชราภาพ (Cell Aging) และตายไป (Cell Death) ในที่สุดหรืออาจกลับมาแบ่งตัวได้หากมี
การกระต้นุ เชน่ Parenchyma ของพืช

วทิ ยาศาสตร์ ชีววิทยา (10) _________________________________โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27

I) MITOSIS VS MEIOSIS

ลักษณะเปรียบเทยี บ ไมโทซิส ไมโอซสิ
1. วัตถุประสงคข์ องการแบ่ง เพื่อเพ่มิ จํานวนเซลล์ เพื่อลดจํานวนโครโมโซม
2. จํานวนคร้งั ในการแบ่งนวิ เคลียส
3. จาํ นวนเซลล์ลูกทไี่ ดต้ อ่ 1 เซลลแ์ ม่ 1 คร้ัง 2 ครง้ั
4. จาํ นวนโครโมโซมในนวิ เคลยี สของเซลล์ลกู 2 เซลล์ 4 เซลล์
5. ปรมิ าณดีเอน็ เอ (สารพันธุกรรม) เท่าเซลลแ์ ม่ เปน็ ครึ่งหนง่ึ ของเซลลแ์ ม่
6. ขอ้ มลู ทางพันธุกรรมของเซลล์ลกู เทา่ เซลล์แม่ เปน็ คร่งึ หนึ่งของเซลลแ์ ม่
7. ตัวอย่างแหล่งทีพ่ บ เหมือนกับเซลล์แมท่ กุ ประการ แตกต่างจากเซลล์แม่
ผวิ หนงั กระเพาะอาหาร อัณฑะ รังไข่ของคน อับเรณู
ไขกระดูก บรเิ วณเนอื้ เย่อื เจรญิ ของ และรังไข่ของพืชดอก
พืช (ปลายยอด ปลายราก)

ครอสซิงโอเวอร์ (Crossing Over) เป็นกระบวนการแลกเปลี่ยนยีน (สารพนั ธกุ รรม) ระหว่างโฮโมโลกัส
โครโมโซม (Homologous Chromosome) ซ่ึงจะเกิดขึ้นในระยะโพรเฟส I ของไมโอซิส ส่งผลต่อความ
หลากหลายของสงิ่ มชี ีวิตดว้ ยนะครับ

โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27 _________________________________วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (11)

LESSON 2 การเคลื่อนท่ขี องสารผานเซลล
(CELL TRANSPORTATION)

Lesson 2 แล้วนะครับ อย่าลืม!! เมื่อเด็กๆ อ่านจบแต่ละด่านให้กากบาทเรื่องน้ี ดูการลําเลียงแบบต่างๆ
พรอ้ มดรู ูปภาพประกอบ ทําความเข้าใจดีๆ รวมถึงพลังงาน (ATP) ท่ใี ช้วา่ ใชห้ รอื ไม่ใช้

การเปล่ียนแปลงเม่ือนําเซลล์แช่ในสารละลาย Hypertonic Solution Hypotonic Solution และ
Isotonic Solution

A B C D
ความรพู้ ้ืนฐาน โครงสร้าง แผนผัง การเคลือ่ นที่
เย่ือห้มุ เซลล์
ของสาร
แบบต่างๆ

F E
แรงดนั ออสโมตกิ สารละลาย
ไฮโพ-ไฮเพอร์-ไอโซ

A) ความรู้พ้ืนฐานเรื่องเย่ือหุ้มเซลล์ : เยื่อหุ้มเซลล์ (Plasma Membrane) เป็นโครงสร้างของเซลล์
ท่ีทาํ หน้าทค่ี วบคมุ การเคล่ือนทผี่ ่านเข้า-ออกของสารระหวา่ งภายในเซลล์กับส่งิ แวดลอ้ มภายนอก

B) โครงสรา้ งของเยอื่ หมุ้ เซลล์ มลี ักษณะดงั นี้
- ประกอบดว้ ยสารหลกั 2 ชนดิ คือ ฟอสโฟลพิ ดิ และโปรตีนโดยฟอสโฟลพิ ดิ
- จัดเรยี งตัวเปน็ 2 ชั้น ซง่ึ จะหันส่วนที่ไม่ชอบน้ํา (ส่วนหาง) เข้าหากัน และหันส่วนท่ีชอบน้ํา (ส่วนหัว)

ออกจากกัน โดยมีโมเลกลุ ของโปรตีนกระจายตัวแทรกอยรู่ ะหวา่ งโมเลกลุ ของฟอสโฟลพิ ดิ
- เยื่อหุม้ เซลลจ์ งึ มีคณุ สมบตั เิ ป็นเยื่อเลอื กผ่าน (Semipermeable Membrane)

ภาพแสดงโครงสรา้ งของเย่อื หุ้มเซลล์
วทิ ยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (12) _________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27

C) แผนผังนจี้ ะช่วยในการมองภาพรวมในเร่ืองน้คี รับ
แผนผังแสดงรูปแบบการเคลอื่ นทีข่ องสารเข้า-ออกเซลล์

การเคลอ่ื นท่ีของสารเข้า-ออกเซลล์

การเคล่อื นทีแ่ บบผา่ นเย่อื หมุ้ เซลล์ การเคลือ่ นทแี่ บบไมผ่ ่านเยอื่ หมุ้ เซลล์

การเคลอื่ นทแ่ี บบพาสซีฟ การเคล่ือนทแี่ บบแอกทีฟ เอนโดไซโทซิส เอกโซไซโทซสิ
(Passive Transport) (Active Transport) (Endocytosis) (Exocytosis)

1. การแพร่ (Diffusion) 1. ฟาโกไซโทซสิ (Phagocytosis)
2. การแพร่แบบฟาซิลิเทต 2. พิโนไซโทซสิ (Pinocytosis)
3. การนาํ สารเขา้ ส่เู ซลล์โดยอาศัยตวั รบั
(Facilitated Diffusion)
3. ออสโมซิส (Osmosis) (Receptor-Mediated Endocytosis)

D) การเคลื่อนท่ีของสารเขา้ -ออกเซลลม์ ี 2 รูปแบบ ได้แก่
1. การเคล่ือนที่แบบผ่านเย่ือหุ้มเซลล์ เป็นการเคลื่อนท่ีของสารผ่านฟอสโฟลิพิดหรือโปรตีนของ

เยือ่ หุม้ เซลล์ แบ่งออกเป็น 2 แบบ ดงั น้ี
1.1 การเคลอื่ นท่ีแบบพาสซฟี (Passive Transport) หมายถึง การเคลื่อนที่ของสารเข้า-ออก

เซลล์ โดยไม่ต้องใช้พลังงานซึ่งไอออน (Ion) และโมเลกุลของสารบางชนิดสามารถเคลื่อนที่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
จากบรเิ วณท่ีมคี วามเข้มขน้ มากไปยังบริเวณทม่ี ีความเข้มข้นน้อย

รปู แบบ ภาพประกอบ ตวั อยา่ งการเคล่ือนท่ขี องสาร

1. การแพร่ - การเคลื่อนท่ขี องแกส๊ ออกซิเจนและคารบ์ อนไดออกไซด์
(Diffusion) - การเคลอื่ นท่ีของแอลกอฮอล์

- การเคลือ่ นทข่ี องไอออนบางชนิด
เชน่ แคลเซียมไอออน (Ca2+)
คลอไรดไ์ อออน (Cl-), โซเดียมไอออน (Na+)
และโพแทสเซียมไอออน (K+)

โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27 _________________________________วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (13)

รูปแบบ ภาพประกอบ ตวั อยา่ งการเคล่ือนท่ขี องสาร
- การเคลอ่ื นทข่ี องกลโู คสเขา้ สูเ่ ซลล์
2. การแพร่
แบบฟาซลิ เิ ทต
(Facilitated
Diffusion)

3. ออสโมซสิ Aquaporin โมเลกุลนํ้า - การเคล่อื นท่ีของนํ้า
(การเคล่ือนท่ี
ของน้ําโดย
อาศัยโปรตีน
เฉพาะที่ชอื่ ว่า
Aquaporins)

1.2 การเคล่ือนที่แบบแอกทีฟ (Active Transport) หมายถึง การเคลื่อนที่ของสารเข้า-ออก
เซลลจ์ ากบรเิ วณทม่ี คี วามเข้มขน้ น้อยไปยังบริเวณทม่ี คี วามเข้มข้นมาก ซ่ึงตอ้ งใชพ้ ลงั งานในการเคลื่อนที่

รปู แบบ ภาพประกอบ ตัวอยา่ งการเคลือ่ นทข่ี องสาร

แอกทีฟทรานสปอร์ต - กระบวนการโซเดียมโพแทสเซยี มป๊มั
(Active Transport) ของเซลล์ประสาท

2. การเคลอ่ื นท่ีแบบไมผ่ า่ นเยื่อหุ้มเซลล์ เปน็ กระบวนการลําเลยี งสารท่ีมีขนาดโมเลกุลใหญ่ เข้า-ออก
เซลล์ โดยอาศยั โครงสร้างทเี่ รียกว่า “เวสิเคิล (Vesicle)”

รูปแบบ ภาพประกอบ ตัวอย่างการเคลอ่ื นที่ของสาร

เอกโซไซโทซิส - การหลงั่ เอนไซม์ของเซลล์ต่างๆ
(Exocytosis) - การหลง่ั เมือก
- การหล่งั ฮอรโ์ มน
- การหลั่งสารส่อื ประสาทของเซลล์ประสาท

วทิ ยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (14) _________________________________โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปีที่ 27

รปู แบบ ภาพประกอบ ตวั อยา่ งการเคลือ่ นทขี่ องสาร
ฟาโกไซโทซสิ - การกินแบคทีเรียของเซลล์
เอนโดไซโทซิส (Endocytosis) (Phagocytosis)
เม็ดเลอื ดขาวบางชนดิ
พิโนไซโทซิส - การกินอาหารของอะมบี า
(Pinocytosis)
- การนาํ สารอาหารเขา้ สู่เซลล์ไข่
ของมนุษย์

การนาํ สารเขา้ - การนําคอเลสเทอรอลเข้าสู่
เซลล์
สูเ่ ซลล์โดย

อาศยั ตัวรบั
(Receptor
Mediated
Endocytosis)

E) ความเข้มข้นของตัวละลาย (Solute) ท้ังหมดในสารละลาย เรียกว่า ความเข้มข้นออสโมติก

(Osmotic Concentration) ของสารละลาย ดังนั้นเราจึงแบ่งสารละลายออกเป็น 3 ประเภท ตามความ

เข้มข้นของตวั ละลาย

1. สารละลายไฮเพอร์โทนิก (Hypertonic Solution) หมายถึง สารละลายที่มีความเข้มข้นของ

ตัวละลายมากกวา่ ความเข้มขน้ ของสารละลายบรเิ วณขา้ งเคียง
2. สารละลายไฮโพโทนิก (Hypotonic Solution) หมายถึง สารละลายที่มีความเข้มข้นของ

ตวั ละลายนอ้ ยกวา่ ความเข้มขน้ ของสารละลายบรเิ วณข้างเคียง
3. สารละลายไอโซโทนกิ (Isotonic Solution) หมายถงึ สารละลายท่ีมีความเข้มข้นของตัวละลาย

เทา่ กบั ความเข้มขน้ ของสารละลายบรเิ วณขา้ งเคยี ง

ภาพการเปลยี่ นแปลงของเซลลส์ ัตว์และเซลล์พชื เมอ่ื อยใู่ นสารละลายแต่ละประเภท
โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปที ่ี 27 _________________________________วทิ ยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (15)

F) แรงดันออสโมติก (Osmotic Pressure) คือ แรงดันนํ้าสูงสุดของสารละลายใดๆ ณ จุดสมดุลของ
การออสโมซิส โดยแรงดันออสโมตกิ จะแปรผนั ตรงกบั ความเขม้ ขน้ ของสารละลาย กล่าวคือ สารละลายท่ีมีความ
เข้มข้นมากจะมแี รงดันออสโมติกสูง และสารละลายท่มี ีความเข้มข้นน้อยจะมแี รงดันออสโมติกต่ํา

NOTE

วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (16) _________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27

LESSON 3 ภาวะธํารงดลุ (HOMEOSTASIS)

ไหนลอง Check กนั หนอ่ ย B) การรักษาดลุ ยภาพ
ของกรด-เบส
A) การรักษาดลุ ยภาพ ในรา่ งกายมนุษย์
ของนํา้ และสารต่างๆ
ในรา่ งกายมนษุ ย์ C) การรักษาดุลยภาพ
ของน้ําและแร่ธาตุ
ในส่ิงมชี วี ติ อื่นๆ

D) การรักษาดลุ ยภาพ
ของอุณหภูมิ

ร่างกายของสัตว์

E) การรักษาดุลยภาพ
ของอณุ หภูมิ

ร่างกายของมนษุ ย์

LESSON นม้ี ี TRICK

นักเรยี นครบั เรอื่ งการรกั ษาดลุ ยภาพ จะสงั เกตได้วา่ เป็นคู่ตรงกันขา้ ม ดังนั้นวิธีการจําเวลาสอบนะครับ
แนะนําให้จาํ และทาํ ความเขา้ ใจอยา่ งใดอย่างหน่ึงให้แม่นๆ แล้วจําไว้ว่าอีกเหตุการณ์ตรงกันข้ามเพื่อป้องกัน
การสบั สน

โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 _________________________________วทิ ยาศาสตร์ ชีววิทยา (17)

A) การรักษาดุลยภาพของน้ําและสารต่างๆ ในร่างกายมนุษย์
รายละเอยี ดของการทาํ งานของไตและหน่วยไตเด็กๆ ไปตามในแบบเรียนนะครับ ครูขอเสนอเรื่องยอดฮิต

คือ การปัสสาวะและการดดู น้าํ กลับนะครับ
ฮอร์โมน (Antidiuretic Hormone : ADH) หรือเรียกอีกช่ือหน่ึงว่า วาโซเพรสซิน (Vasopressin)

เปน็ ฮอรโ์ มนสําคัญทท่ี ําหนา้ ทก่ี ระต้นุ การดูดน้ํากลับเข้าสรู่ ่างกายบรเิ วณท่อรวมของหน่วยไต

ตารางนีน้ ่าสนใจ

ครูกาแฟด่ืมน้ํามาก ฉ่เี ยอะ เขม้ ขน้ น้อย ADH มปี รมิ าณนอ้ ย
ครกู าแฟดม่ื น้ําน้อย ฉ่นี ดิ เดยี ว เข้มข้นมาก ดดู นาํ้ กลับปริมาณน้อย

ADH มปี ริมาณมาก
ดูดน้าํ กลับปริมาณมาก

B) การรักษาดุลยภาพของกรด-เบสในรา่ งกายมนุษย์
การเพม่ิ หรือลดอตั ราการหายใจ
ถา้ CO2 ในเลอื ดมปี รมิ าณมากจะส่งผลใหศ้ ูนย์ควบคุมการหายใจ ซ่ึงคือ สมองส่วนเมดัลลาออบลองกาตา

(Medulla Oblongata) ส่งกระแสประสาทไปควบคมุ ใหก้ ลา้ มเนื้อกะบังลมและกล้ามเน้ือยึดกระดูกซี่โครงทํางาน
มากขึ้นเพือ่ จะไดห้ ายใจออกถข่ี ้นึ

ระบบบัฟเฟอร์ (Buffer) คือ ระบบที่ทาํ ใหเ้ ลือดมีคา่ pH คงที่แม้ว่าจะมกี ารเพ่มิ ของสารท่ีมีฤทธิ์เป็น
กรดหรือเบส

การควบคมุ กรดและเบสของไต
ไต (Kidneys) สามารถปรับระดับกรดหรือเบสออกทางปัสสาวะได้มาก สามารถแก้ไขค่า pH ท่ี
เปลี่ยนแปลงไปมากใหเ้ ขา้ สู่ภาวะสมดลุ

C) การรักษาดุลยภาพของนา้ํ และแร่ธาตุในสงิ่ มชี วี ติ อน่ื ๆ

พารามเี ซียม (Paramecium) ใช้ Contractile Vacuole รกั ษาสมดุลของนา้ํ ในเซลล์
วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (18) _________________________________โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27

นกทะเล ใชต้ อ่ มนาสกิ หรือตอ่ มเกลือ (Nasal Salt Glands) รกั ษาสมดลุ ของเกลอื ในรา่ งกาย

ปลานํ้าเค็ม ปลาน้ําจดื

VS

ปลานํา้ เค็ม VS ปลานาํ้ จืด รักษาสมดุลอย่างไร
ปลานํา้ เค็ม (Osmotic Pressure ของของเหลวในรา่ งกายน้อยกว่าน้าํ ทะเล) : กลไกการรักษาสมดุล
คือ มีผิวหนังและเกล็ดป้องกันน้ําซึมออก ขับปัสสาวะน้อยและปัสสาวะมีความเข้มข้นสูง มีเซลล์ซึ่งอยู่บริเวณ
เหงอื กทาํ หนา้ ท่ขี บั แรธ่ าตุสว่ นเกินออกโดยวิธแี อกทฟี ทรานสปอร์ต ขบั แร่ธาตสุ ่วนเกนิ ออกทางทวารหนัก
ปลานํ้าจืด (Osmotic Pressure ของของเหลวในร่างกายมากกว่าน้ําจืด) : กลไกการรักษาสมดุล
คือ มีผิวหนงั และเกลด็ ป้องกันนํา้ ซึมเขา้ ขบั ปัสสาวะมากและปัสสาวะเจือจาง มีโครงสร้างพิเศษที่เหงือกทําหน้าที่
ดูดแร่ธาตกุ ลับคืนส่รู า่ งกาย

D) การรักษาดลุ ยภาพของอณุ หภมู ิร่างกายของสตั ว์
1. สัตว์เลือดเย็น (Poikilothermic Animal / Ectotherm) หมายถึง สัตว์ที่มีอุณหภูมิร่างกาย

ไม่คงที่ เพราะจะเปลี่ยนแปลงไปตามอุณหภูมิของสิ่งแวดล้อมภายนอก ตัวอย่างเช่น ไส้เดือนดิน หอย แมลง
ปลา สตั ว์สะเทนิ นํ้าสะเทินบก และสัตวเ์ ลื้อยคลาน

2. สัตวเ์ ลอื ดอนุ่ (Homeothermic Animal / Endotherm) หมายถึง สัตว์ท่ีมีกลไกรักษาอุณหภูมิ
ร่างกายให้คงทีไ่ มเ่ ปล่ียนแปลงไปตามอณุ หภูมขิ องส่ิงแวดล้อม ได้แก่ สัตว์ปกี และสัตว์เล้ยี งลกู ดว้ ยนม

โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ี่ 27 _________________________________วิทยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (19)

VS

กราฟแสดงความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งอณุ หภูมขิ องสิ่งแวดลอ้ มกบั อุณหภมู ขิ องร่างกาย
ในสตั ว์เลือดอุ่นและสตั ว์เลือดเยน็

E) การรกั ษาดลุ ยภาพของอณุ หภมู ริ า่ งกายของมนษุ ย์
ปจั จยั จากสิง่ แวดลอ้ ม

อณุ หภูมขิ องเลอื ด อณุ หภูมิของเลอื ด
สงู กว่า 37°C ตา่ํ กวา่ 37°C

กระตุ้นศูนย์ควบคมุ
ท่ีไฮโพทาลามสั

ลดอัตรา เพิ่มอตั รา
เมแทบอลซิ มึ เมแทบอลิซึม

หลอดเลอื ดขยายตวั หลอดเลอื ดหดตวั
ตอ่ มเหงอื่ สร้างเหงอื่ ต่อมเหงอ่ื ไมส่ รา้ งเหงอื่
ขนเอนราบ ขนลกุ รา่ งกายหนาวส่นั

เพ่ิมการระเหย ลดการระเหย
และการแผร่ ังสี และการแผร่ ังสี

อณุ หภมู ขิ องเลือด อณุ หภมู ิของเลอื ด
ลดลง เพิ่มขึ้น

อณุ หภูมิของเลือด
ปกติ 37°C

วทิ ยาศาสตร์ ชวี วิทยา (20) _________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปที ี่ 27

LESSON 4 ภูมิคมุ กันรา งกาย (IMMUNITY)

LESSON นพ้ี ักผอ่ น LESSON หนา้ CHECK กนั
1) ภูมิคุ้มกนั (Immunity) คอื ความสามารถของร่างกายในการตอ่ ตา้ นและกําจัดจุลินทรีย์ เช่น แบคทีเรีย
หรือส่ิงแปลกปลอมอ่ืนๆ ท่เี ขา้ ส่รู า่ งกาย

2) ภูมคิ ้มุ กนั รา่ งกายแบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท ดังนี้
1. ภูมคิ มุ้ กนั ทีม่ มี าแต่กําเนิด (Innate Immunity) ซึ่งประกอบด้วยกลไกภูมิคุ้มกันร่างกาย 2 ด่าน

ตามลําดับ ดงั น้ี
1.1 ระบบปกคลุมร่างกาย (ผวิ หนัง) จดั เป็นภูมคิ ุ้มกนั ด่านแรกสุดของร่างกาย
1.2 ภมู ิคุม้ กนั แบบไม่จาํ เพาะ (Nonspecific Immunity) เป็นภูมิคุม้ กันด่านที่สองของร่างกาย

2. ภูมคิ ุ้มกนั ทเ่ี กดิ ขน้ึ หลังกําเนิด (Acquired Immunity) ซ่ึงเป็นภูมิคุ้มกันด่านท่ีสาม (ด่านสุดท้าย)
ของร่างกายและจัดเป็นภูมคิ มุ้ กันแบบจําเพาะ (Specific Immunity)

3) เพ่ิมเตมิ ขยายความกนั หน่อย
1. ภูมิคุ้มกนั ทม่ี ีมาแตก่ าํ เนดิ (Innate Immunity)
1.1 ระบบปกคลุมร่างกาย (ผวิ หนัง)
- ต่อมผลิตนํ้ามันและต่อมเหง่ือจะหล่ังสารช่วยทําให้ผิวหนังมีค่า pH 3-5 ซ่ึงสามารถ

ยบั ยั้งการเจรญิ เตบิ โตของจลุ ินทรีย์หลายชนิดได้
- เหง่อื นา้ํ ตาและนํา้ ลายมไี ลโซไซม์ (Lysozyme) ซง่ึ สามารถทําลายแบคทเี รียบางชนดิ ได้
- ผิวหนังเป็นแหล่งที่อยู่ของแบคทีเรียและเช้ือราที่ไม่ก่อให้เกิดโรค ซึ่งช่วยป้องกันไม่ให้

แบคทเี รียท่ีก่อใหเ้ กดิ โรคเข้าไปในร่างกายได้ง่าย
- ผนังด้านในของอวัยวะทางเดินอาหาร อวัยวะหายใจ และอวัยวะขับถ่าย (ปัสสาวะ)

ประกอบด้วยเซลล์ทส่ี ามารถสร้างเมอื ก (Mucus) เพ่ือดักจับจุลินทรีย์ได้รวมถึงกรดไฮโดรคลอริกในกระเพาะอาหาร
ก็สามารถทําลายแบคทเี รยี บางชนดิ ได้

1.2 ภมู ิคุ้มกันแบบไมจ่ าํ เพาะ (Nonspecific Immunity)
- เม็ดเลือดขาว 3 ชนดิ ทเ่ี กี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกันแบบไมจ่ ําเพาะ มีดังน้ี
1. นิวโทรฟลิ (Neutrophil)
2. แมโครฟาจ (Macrophage)
3. Natural Killer Cell (NK Cell)
- การอักเสบเกิดโดยการหล่ังสารฮิสตามีน (Histamine) ซ่ึงจะทําให้เลือดไหลไปยังบริเวณ

ที่อักเสบมากข้นึ รวมทงั้ หลอดเลือดฝอยบริเวณดังกลา่ วจะยอมให้สารตา่ งๆ ผา่ นเข้าออกไดม้ ากข้นึ
- การเป็นไข้ (Fever) จะไปกระต้นุ การทาํ งานของเมด็ เลือดขาวกลุ่มฟาโกไซต์ (Phagocyte)

เพอื่ ไปยับยัง้ การเจริญเติบโตของจุลนิ ทรีย์น้ันๆ
- อินเทอร์เฟอรอน (Interferon) จะป้องกันการติดเช้ือจากไวรัส โดยการทําลาย RNA

ของไวรัสชนิดนั้นๆ

โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 _________________________________วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (21)

2. ภมู ิคุม้ กนั ทีเ่ กิดขนึ้ หลังกาํ เนิด (Acquired Immunity)
ภมู ิค้มุ กนั แบบจาํ เพาะ (Specific Immunity)
- เป็นการทํางานของเม็ดเลือดขาวกลุ่มลิมโฟไซต์ (Lymphocyte) โดยการสร้างแอนติบอดี

(Antibody) ซง่ึ เปน็ สารประเภทโปรตนี ขน้ึ มาต่อต้านเชื้อโรคหรือสง่ิ แปลกปลอม (Antigen) ที่เขา้ สรู่ า่ งกาย
- เม็ดเลอื ดขาวกลุ่มลิมโฟไซต์ (Lymphocyte) มีตัวรับอยู่บริเวณเยื่อหุ้มเซลล์ซ่ึงสามารถจดจํา

ชนดิ ของแอนติเจนได้และทาํ ให้เกิดภูมคิ ุ้มกนั แบบจําเพาะ
- อวัยวะที่ส่งเสริมระบบภูมิคุ้มกันแบบจําเพาะ ประกอบด้วยอวัยวะนํ้าเหลืองปฐมภูมิและ

อวยั วะนํา้ เหลอื งทุติยภมู ิ อวยั วะน้าํ เหลอื งปฐมภูมิทําหน้าท่ีสร้างเซลล์เม็ดเลือดขาว ได้แก่ ไขกระดูก (Bone Marrow)
ต่อมไทมัส (Thymus) อวัยวะนํ้าเหลืองทุติยภูมิทําหน้าท่ีกรองแอนติเจน (จุลินทรีย์ต่างๆ เช่น แบคทีเรีย)
ได้แก่ ม้าม (Spleen) ต่อมนํ้าเหลือง (Lymph Node) เน้ือเยื่อน้ําเหลืองท่ีเก่ียวข้องกับการสร้างเมือก
(Mucosal-Associated Lymphoid Tissue : MALT) ได้แก่ ต่อมทอนซิล ไส้ติ่ง และกลุ่มเซลล์ฟอลลิเคิลในช้ัน
เน้อื เยื่อเกยี่ วพนั ทอี่ ยู่ด้านใตข้ องชนั้ เนอ้ื เย่อื สร้างเมือก

4) ตรงน้ีต้องดดู ีๆ นะครบั
ภมู คิ ุม้ กันแบบจําเพาะแบง่ ออกเป็น 2 ประเภทตามแหล่งทีม่ าของแอนติบอดี ไดแ้ ก่
1. ภูมิคุ้มกันก่อเอง (Active Immunity) หมายถึง ภูมิคุ้มกันที่เกิดจากร่างกายสร้างแอนติบอดี

(Antibody) ขึ้นมาเอง โดยเป็นภมู คิ มุ้ กนั ระยะยาวซ่งึ ถกู กระตุ้นจากปัจจัยตอ่ ไปนี้
- การฉดี วคั ซีนปอ้ งกันโรคตา่ งๆ
- การฉดี ทอกซอยด์ (Toxoid) ป้องกันโรคบางชนิด
- การคลุกคลหี รอื ใกล้ชิดกับบคุ คลท่เี ป็นโรคนั้นๆ
ประเภทของวัคซนี
วคั ซีนแบง่ ออกเป็น 3 ประเภทตามวัตถดุ ิบ ดงั น้ี
1) เชอ้ื โรคท่ีตายแล้ว
2) เช้อื โรคท่ถี ูกทาํ ให้ออ่ นฤทธ์ิลง
3) สารพษิ จากเชื้อโรค (Toxoid) ซึ่งถกู ทาํ ให้หมดสภาพความเป็นพษิ แลว้

2. ภูมิคุ้มกันรับมา (Passive Immunity) หมายถึง ภูมิคุ้มกันท่ีเกิดจากร่างกายรับแอนติบอดี
(Antibody) จากภายนอกเข้ามาเพอื่ ต่อตา้ นเชื้อโรคทีเ่ ข้าส่รู ่างกายไดท้ ันที และเป็นภมู คิ ุ้มกันในระยะสั้น ตัวอย่าง
ภมู คิ ุม้ กนั รบั มา เชน่

- การฉีดเซร่มุ เพอ่ื รักษาโรคบางชนดิ เชน่ เซรุม่ ปอ้ งกันโรคพษิ สนุ ัขบ้า
- การดื่มนํา้ นมแม่ของทารก
- การไดร้ บั ภมู คิ ุ้มกนั จากแมข่ องทารกที่อยู่ในครรภ์

5) ระบบน้ําเหลือง (Lymphatic System)
หน้าท่ขี องระบบนาํ้ เหลอื ง
1. นาํ ของเหลวท่อี ยู่ระหว่างเซลลก์ ลบั เข้าสู่ระบบหมนุ เวยี นเลอื ด
2. ดดู ซึมสารอาหารประเภทไขมันบริเวณลาํ ไสเ้ ลก็
3. เปน็ ส่วนหน่งึ ของระบบภมู คิ มุ้ กันร่างกาย

วทิ ยาศาสตร์ ชีววิทยา (22) _________________________________โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปีท่ี 27

ส่วนประกอบของระบบนํา้ เหลือง ได้แก่
1. น้ําเหลอื ง
2. หลอดน้ําเหลือง
3. อวัยวะนํา้ เหลืองแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้

3.1 อวยั วะนา้ํ เหลืองปฐมภมู ิ ได้แก่ ไขกระดกู และต่อมไทมสั
3.2 อวัยวะนํา้ เหลอื งทุติยภูมิ ไดแ้ ก่ มา้ ม ต่อมนาํ้ เหลือง และต่อมทอนซิล
1. นา้ํ เหลือง (Lymph) คอื ของเหลวไม่มีสีที่ซึมผ่านผนังหลอดเลือดฝอยออกมาอยู่บริเวณช่องว่าง
ระหวา่ งเซลล์ ซ่งึ ของเหลวดังกล่าวจะเคล่ือนทเ่ี ข้าสูห่ ลอดนาํ้ เหลอื งต่อไป นํา้ เหลืองมีส่วนประกอบคล้ายคลึงกับ
เลือด แต่มีจํานวนและปรมิ าณโปรตนี น้อยกว่า รวมท้งั ไม่มเี ม็ดเลอื ดแดงและเกลด็ เลือด
นํ้าเหลืองจะไหลเข้าสู่หัวใจห้องบนขวาร่วมกับเลือดเสียจากส่วนต่างๆ ของร่างกาย ซ่ึงการไหลเวียน
ของนํ้าเหลืองภายในหลอดนํ้าเหลืองจะอาศัยการหดตัวของกล้ามเน้ือที่อยู่รอบๆ โดยภายในหลอดนํ้าเหลือง
จะมลี ิน้ กัน้ เพอื่ ควบคุมทศิ ทางการเคล่อื นทขี่ องนํ้าเหลืองให้ไปในทิศทางเดียวกนั

ภาพแสดงระบบนาํ้ เหลอื งของมนษุ ย์ (Lymphatic System of Human)

โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปีท่ี 27 _________________________________วทิ ยาศาสตร์ ชีววิทยา (23)

2. หลอดนํ้าเหลอื ง (Lymphatic Vessels)

หลอดนํ้าเหลืองมีหลายขนาด เป็นหลอดที่มีปลายด้านหน่ึงตัน หลอดน้ําเหลืองบริเวณอก

(Thoracic Duct) จะมีขนาดใหญ่ที่สุด ทําหน้าท่ีลําเลียงน้ําเหลืองไปยังหลอดเลือดดําบริเวณไหปลาร้า

(Subclavian Vein) เพ่ือส่งเข้าสู่หลอดเลอื ดดาํ ใหญ่ (Vena Cava) ตอ่ ไป

3. อวยั วะนํา้ เหลอื ง (Lymphoid Organs) แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท ดังน้ี

3.1 อวยั วะนาํ้ เหลอื งปฐมภูมิ ไดแ้ ก่ ไขกระดกู และตอ่ มไทมสั

1. ไขกระดูก (Bone Marrow) เป็นเนื้อเยื่อท่ีอยู่ในโพรงกระดูก ทําหน้าที่สร้างเซลล์

เมด็ เลอื ดขาวและเม็ดเลอื ดแดงรวมท้งั เกล็ดเลือดดว้ ย

2. ตอ่ มไทมสั (Thymus) เป็นอวัยวะนาํ้ เหลอื งทเ่ี ปน็ ตอ่ มไร้ท่อ (สร้างฮอร์โมนได้) อยู่ตรง

ทรวงอกรอบหลอดเลือดเอออร์ตา (Aorta) โดยหน้าท่ีของต่อมไทมัสสร้างและพัฒนาเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิด

ลิมโฟไซต์ (Lymphocyte) ลิมโฟไซต์ที่ไทมัสไม่สามารถต่อสู้กับเชื้อโรคท่ีเข้าสู่ร่างกายได้ แต่เม่ือโตเต็มท่ีจะเข้าสู่

ระบบหมุนเวียนเลือดเพือ่ ไปยงั อวัยวะน้ําเหลอื งอื่นๆ และสามารถต่อสู้กับเชอ้ื โรคได้

3.2 อวัยวะน้ําเหลอื งทตุ ยิ ภูมิ ได้แก่ ม้าม ต่อมน้ําเหลอื ง และต่อมทอนซลิ

1. ม้าม (Spleen) เป็นอวัยวะน้ําเหลืองท่ีมีขนาดใหญ่ที่สุด มีลักษณะนุ่มสีม่วงอยู่ในช่อง

ท้องด้านซ้ายใต้กะบังลมติดกับด้านหลังของกระเพาะอาหาร ภายในม้ามมีแมโครฟาจ (Macrophage) และ

เม็ดเลือดแดงอย่เู ป็นจาํ นวนมาก

มา้ มมีหนา้ ที่ ดงั น้ี

- กรองจุลินทรีย์ (แบคทเี รยี ) และสงิ่ แปลกปลอมออกจากเลือด

- สรา้ งและทาํ ลายเซลล์เมด็ เลือดขาว

- ทาํ ลายเซลล์เม็ดเลือดแดงที่หมดอายแุ ล้ว

- เป็นอวยั วะเกบ็ สาํ รองเลือดไว้ใชใ้ นยามฉุกเฉนิ เชน่ ภาวะทีร่ ่างกายสญู เสยี เลอื ดมาก

2. ตอ่ มนาํ้ เหลือง (Lymph Node) มีลักษณะคอ่ นขา้ งกลมมีหลากหลายขนาดกระจายตัว

อยู่ภายในหลอดน้ําเหลืองท่ัวร่างกาย พบมากตามบริเวณคอ รักแร้ และขาหนีบ เป็นต้น ซ่ึงภายในต่อม

นํ้าเหลืองจะพบเซลล์เม็ดเลือดขาวอยู่รวมกันเป็นกระจุกมีลกั ษณะคล้ายฟองนํา้

ต่อมนาํ้ เหลืองมีหน้าที่ ดังน้ี

- กรองเช้ือโรคหรือส่งิ แปลกปลอมออกจากนํา้ เหลือง

- ทําลายแบคทเี รยี และไวรัส Pharyngeal
3. ต่อมทอนซลิ (Tonsils) มีหนา้ ทปี่ กป้องไมใ่ หเ้ ช้ือโรค tonsil

หรือสง่ิ แปลกปลอมเขา้ สหู่ ลอดอาหารและกล่องเสยี งซึ่งมอี ยู่ 3 บริเวณ ดงั นี้ Palatine
- บริเวณเพดานปาก tonsil

- บริเวณคอหอย Lingual
- บรเิ วณลิ้น tonsil

S

RL

I

ภาพแสดงตาํ แหนง่ ของตอ่ มทอนซลิ ในมนุษย์

วทิ ยาศาสตร์ ชีววิทยา (24) _________________________________โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27

LESSON 5 พนั ธุศาสตร (GENETICS)

เร่ืองนเ้ี รอื่ งใหญ่ ตอ้ งให้ต้ังใจหนอ่ ยนะครบั คาํ ศัพท์เยอะแถมมคี ํานวณดว้ ย สู้ๆ ครบั

CHECK IN กันหนอ่ ย

A) เรยี นคาํ ศพั ท์กันก่อน
B) ยีน โครโมโซม ดีเอ็นเอ อาร์เอ็นเอ คืออะไร
C) การถา่ ยทอดลักษณะทางพันธกุ รรม : จากรนุ่ สรู่ ุน่
D) ความแปรผนั ทางพนั ธกุ รรม (Genetic Variation)
E) กฎของเมนเดล
F) การผสมโดยพจิ ารณาหนึ่งลกั ษณะ / การผสมโดยพิจารณาสองลกั ษณะ
G) ลักษณะเดน่ แต่ละระดับ
H) มัลติเปิลแอลลลี (Multiple Alleles)
I) การให้เลือด
J) พอลิยนี (Polygene)
K) การถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมทถี่ ูกควบคุมโดยยีนดอ้ ยบนออโตโซม และโครโมโซมเพศ
L) ความผดิ ปกติของคนจากจํานวน และรูปรา่ งโครโมโซม
M) เพดกิ รีหรอื พันธปุ ระวัติหรือพงศาวลี (Pedigree)
N) มิวเทชัน (Mutation)
O) พันธุวศิ วกรรม (Genetic Engineering)

A) เรยี นคาํ ศัพท์กันก่อน : คําศัพท์ท่เี กยี่ วขอ้ งกับการศึกษาการถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม
1. ยีน (Gene) หมายถึง หน่วยควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต ซ่ึงอยู่เป็นคู่และ

จะถา่ ยทอดจากพอ่ แม่ไปสู่ลกู โดยในทางพันธุศาสตรไ์ ด้มกี ารกําหนดสัญลกั ษณแ์ ทนยนี ไวห้ ลายแบบ
2. แอลลีล (Allele) หมายถึง แบบของยนี แต่ละยีนท่คี วบคุมลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม
3. โฮโมไซกัสยีน (Homozygous Gene) หมายถึง คู่ของยีนท่ีเหมือนกันอยู่ในตําแหน่งเดียวกันบน

โฮโมโลกัสโครโมโซม เพื่อควบคุมลักษณะของสิ่งมีชีวิต เช่น TT, tt, IAIA เป็นต้น โฮโมไซกัสยีนเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า
พนั ธุ์แท้ โฮโมไซกสั ยีนแบง่ ออกเป็น 2 แบบ ดงั น้ี

3.1 โฮโมไซกัสโดมิแนนท์ (Homozygous Dominance) หมายถึง คู่ของยีนเด่นท่ีเหมือนกัน
อยดู่ ้วยกันหรอื เรียกว่า เปน็ พนั ธ์แุ ท้ของลกั ษณะเด่น เช่น AA, TT เปน็ ต้น

3.2 โฮโมไซกัสรีเซสซีฟ (Homozygous Recessive) หมายถึง คู่ของยีนด้อยท่ีเหมือนกัน
อย่ดู ว้ ยกันหรอื เรียกว่า เปน็ พนั ธุ์แทข้ องลักษณะดอ้ ย เช่น aa, tt เป็นตน้

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 _________________________________วิทยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (25)

4. เฮเทอโรไซกัสยีน (Heterozygous Gene) หมายถึง คู่ของยีนที่ต่างกันอยู่ในตําแหน่งเดียวกัน
บนโฮโมโลกัสโครโมโซม เพ่ือควบคุมลักษณะของส่ิงมีชีวิต เช่น Tt, Rr เป็นต้น เฮเทอโรไซกัสยีน เรียกอีกอย่าง
หนึง่ ว่า พนั ทาง

5. ลักษณะเด่น (Dominance หรือ Dominant Trait) หมายถึง ลักษณะที่แสดงออกมาเม่ือมี
แอลลีลเด่นเพียง 1 แอลลีล ซึ่งจะพบในเฮเทอโรไซกัส หรือเมื่อมีแอลลีลเด่น 2 แอลลีล ซึ่งจะพบในโฮโมไซกัส-
โดมิแนนท์ (Homozygous Dominance)

6. ลักษณะด้อย (Recessive Trait) หมายถึง ลักษณะที่ถูกข่มเม่ืออยู่ในรูปของเฮเทอโรไซกัส
แตจ่ ะแสดงออกเมอื่ อยใู่ นรูปของโฮโมไซกัสรีเซสซฟี (Homozygous Recessive)

7. ฟีโนไทป์ (Phenotype) หมายถึง ลักษณะของสิ่งมีชีวิตท่ีสามารถสังเกตได้ด้วยประสาทสัมผัส
(ตา หู จมกู ล้นิ และผวิ หนงั ) เช่น สีผวิ ของคน จาํ นวนชั้นของหนงั ตา ลกั ษณะของเสน้ ผม หมู่เลอื ด เป็นต้น

8. จีโนไทป์ (Genotype) หมายถึง รูปแบบของคู่ยีน (คู่แอลลีล) หรือกลุ่มยีนท่ีควบคุมฟีโนไทป์
ต่างๆ เช่น จีโนไทป์ทค่ี วบคุมความยาวของลาํ ตน้ ถว่ั มไี ด้ 3 แบบ ได้แก่ TT, Tt และ tt

9. เซลล์รา่ งกาย (Somatic Cells) หมายถึง เซลล์ที่เป็นส่วนประกอบของเน้ือเย่ือและอวัยวะต่างๆ
ภายในร่างกาย (ยกเว้นเซลล์สืบพันธุ์) เช่น เซลล์หัวใจ เซลล์ตับ เซลล์เม็ดเลือดขาว เป็นต้น ซึ่งโดยท่ัวไปเป็น
เซลล์ท่ีมจี ํานวนโครโมโซมภายในนวิ เคลียสเทา่ กับ 2n (2 ชดุ โครโมโซม)

10.เซลล์สืบพันธุ์ (Sex Cells) หมายถึง เซลล์ทจ่ี ะเกิดการปฏสิ นธใิ นกระบวนการสืบพันธุ์ เช่น อสุจิ
(Sperm) ไข่ (Egg Cell) เปน็ ตน้ มีโครโมโซมเทา่ กับ n (1 ชดุ โครโมโซม)

11. โครโมโซมรา่ งกายหรือออโตโซม (Autosome) เป็นโครโมโซมที่เก่ียวขอ้ งกบั การควบคุมลักษณะ
ทั่วไปของรา่ งกายซง่ึ ไมเ่ ก่ียวข้องกับเพศ

12. โครโมโซมเพศ (Sex Chromosome) เป็นโครโมโซมท่ีกําหนดเพศและเก่ียวข้องกับการควบคุม
ลักษณะที่เกย่ี วเน่ืองกบั เพศ

B) ยีน โครโมโซม ดีเอ็นเอ อารเ์ อน็ เอ คอื อะไร
ยีน (Gene) คือ ส่วนหนึ่งของสายดีเอ็นเอ (DNA Segment) ท่ีทําหน้าที่ควบคุมลักษณะของ

สิง่ มีชวี ติ
โครโมโซม (Chromosome) คือ โครงสร้างที่อยภู่ ายในนิวเคลียส ประกอบด้วย DNA และโปรตีน

ภาพแสดงตาํ แหน่งของยนี ในสายดเี อ็นเอ

วทิ ยาศาสตร์ ชีววิทยา (26) _________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27

Chromosome
Nucleus Chromatid Chromatid

Telomere
Centromere

Cell Telomere

Base Pairs Histones

DNA (double helix)

ภาพแสดงองคป์ ระกอบของโครโมโซม

Satellite Shortarm
Centromere Centromere

Stalk

Long arm

Telocentric Acrocentric Submetacentric Metacentric

ภาพแสดงรูปร่างของโครโมโซม

โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปีที่ 27 _________________________________วิทยาศาสตร์ ชวี วิทยา (27)

คารีโอไทป์ (Karyotype) คือ การศึกษาโครโมโซมโดยใช้ภาพของโครโมโซมในระยะเมตาเฟสของไมโตซิส
มาเรียงกนั ตามความยาวและตาํ แหน่งของเซนโทรเมียร์ โดยจะเรียงจากใหญ่สดุ ไปจนถงึ เลก็ สุด

ภาพแสดงคารโี อไทปข์ องมนุษย์ปกติ

ดีเอน็ เอ (DNA) หมายถึง สารพันธุกรรมของส่ิงมีชีวิตและบางส่วนของ DNA แต่ละโมเลกุลทําหน้าที่
เปน็ ยีน (Gene) คอื สามารถควบคุมลกั ษณะทางพันธุกรรมของส่ิงมีชวี ิตได้

DNA เป็นกรดนิวคลีอิกชนิดหนึ่งมีโครงสร้างเป็นพอลิเมอร์ (Polymer) สายยาวประกอบด้วย
มอนอเมอร์ (Monomer) ที่เรียกว่า นิวคลีโอไทด์ ซ่ึงแต่ละนิวคลีโอไทด์ของดีเอ็นเอประกอบด้วยสาร 3 ชนิด
ดงั ตอ่ ไปน้ี

1. น้ําตาลเพนโทส (Pentose) ทีม่ ีชอื่ วา่ นํา้ ตาลดีออกซไี รโบส (Deoxyribose)
2. ไนโตรจนี ัสเบส (Nitrogenous Base หรือ N-Base)

มโี ครงสรา้ งเป็นวงแหวน (Ring)
แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท ดังนี้
2.1 เบสเพียวรนี (Purine) มี 2 ชนดิ คอื

กวานีน (Guanine) และอะดีนนี (Adenine)
2.2 เบสไพริมดิ ีน (Pyrimidine) มี 2 ชนิด คือ

ไซโทซีน (Cytosine) และไทมนี (Thymine)

คําศพั ทเ์ พ่ิมเตมิ ภาพแสดงสารท่เี ป็นองคป์ ระกอบของนวิ คลีโอไทด์
Nucleoside = นํา้ ตาล + เบส
Back bone = นํ้าตาล + หมฟู่ อสเฟต

วิทยาศาสตร์ ชวี วิทยา (28) _________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปที ่ี 27

3. หมฟู่ อสเฟต (Phosphate Group)

อยา่ เข้าใจผดิ นะครบั
เบสทง้ั 4 ชนดิ ที่พบในสายเกลียวคู่ DNA จะอยกู่ ันเปน็ ค่ๆู

โดยมีพันธะไฮโดรเจนยึดเหนีย่ วกนั ไวด้ งั นี้

A คู่ T ยดึ กนั ดว้ ย 2 พนั ธะไฮโดรเจน (ไมใ่ ช่ พันธะคู่ (Double Bond))
C คู่ G ยดึ กนั ดว้ ย 3 พนั ธะไฮโดรเจน (ไม่ใช่ พนั ธะสาม (Triple Bond))

Deoxyribonucleic Acid (DNA) Nucleotides

Sugar Nucleotide Sugar Guanine Cytosine
phosphate base pairs phosphate Thymine
backbone backbone Adenine

Hydrogen
bonds

Nucleotide Uracil

Base pair

Nucleic acid replaces Thymine in RNA

ภาพซา้ ยแสดงสายดเี อ็นเอ ภาพขวาแสดงเบสชนดิ ต่างๆ

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 _________________________________วิทยาศาสตร์ ชีววิทยา (29)

รู้จกั RNA กันสกั หนอ่ ย!!!
สายพอลิเมอร์ของนิวคลีโอไทด์ (Nucleotide) สายเด่ียว (Single Strand) ทําหน้าที่เหมือนแม่แบบ
(Template) สําหรับแปลข้อมูลจากยีนไปเป็นข้อมูลในโปรตีน แล้วขนย้ายกรดอะมิโนเข้าไปในออร์แกเนลล์
ไรโบโซม (Ribosome) ของเซลล์ เพื่อผลิตโปรตีน และแปลรหัส (Translation) เป็นข้อมูลในโปรตีน
ชนิดของอาร์เอ็นเอ (RNA) มีทัง้ หมด 3 ชนดิ คอื
1. เอม็ อาร์เอน็ เอ หรือเมสเซนเจอรอ์ ารเ์ อ็นเอ (Messenger RNA, mRNA)
2. ทอี ารเ์ อ็นเอ หรือทรานสเฟอรอ์ าร์เอน็ เอ (Transfer RNA, tRNA)
3. อาร์อารเ์ อน็ เอ หรอื ไรโบโซมอลอารเ์ อน็ เอ (Ribosomal RNA, rRNA)

ภาพแสดงสาย mRNA

ตารางเปรียบเทียบองค์ประกอบของ DNA และ RNA ของเซลล์ยูแครโิ อต

ข้อมลู เปรียบเทียบ DNA RNA

ตําแหนง่ ท่ีพบ ในนิวเคลยี ส ในไซโทพลาซมึ และในนวิ เคลียส
จาํ นวนสายโพลีนิวคลโี อไทด์ 2 1

นาํ้ ตาล Deoxyribose Ribose
ไนโตรจนี ัสเบส AGCT AGCU

วิทยาศาสตร์ ชวี วิทยา (30) _________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปีท่ี 27

C) การถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรม : จากรุ่นสรู่ ุ่น

ภาพวงจรชวี ติ ของมนุษย์
D) ความแปรผันทางพนั ธุกรรม (Genetic Variation)

สามารถจาํ แนกไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ
1. ลักษณะทางพันธุกรรมที่มีความแปรผันต่อเน่ือง (Continuous Variation) เป็นลักษณะ
ทางพันธกุ รรมทไ่ี มส่ ามารถแยกความแตกตา่ งได้อย่างชัดเจน เช่น สีผิว ความสูง นํ้าหนัก ไอคิวของคน ลักษณะ
เหล่านี้ถูกควบคุมด้วยยีนหลายคู่ ยีนจึงมีอิทธิพลต่อการควบคุมลักษณะดังกล่าวน้อย แต่ส่ิงแวดล้อมจะมี
อิทธิพลมาก
2. ลกั ษณะทางพนั ธุกรรมทีม่ ีความแปรผันไม่ต่อเน่อื ง (Discontinuous Variation) เปน็ ลักษณะ
ทางพันธุกรรมท่ีมีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน เช่น ความสามารถในการห่อลิ้น จํานวนชั้นของตา การถนัด
มือขวาหรอื มอื ซา้ ย
โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปที ี่ 27 _________________________________วิทยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (31)

มีลกั ย้มิ ไมม่ ีลกั ยิม้

ขวญั เวยี นขวา ขวญั เวียนซ้าย

หอ่ ลนิ้ ได้ ห่อลน้ิ ไม่ได้

กระดูกโคนน้วิ หัวแมม่ ือ กระดกู โคนนวิ้ หวั แม่มือ
กระดกไปมาได้ กระดกไปมาไม่ได้

แผนภาพแสดงลักษณะทางพนั ธุกรรมท่ีมคี วามแปรผันแบบไมต่ อ่ เน่อื ง

แผนภาพแสดงลักษณะทางพันธกุ รรมทมี่ คี วามแปรผนั แบบไม่ต่อเนอื่ งและแบบต่อเนื่อง
วทิ ยาศาสตร์ ชีววิทยา (32) _________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27

E) กฎของเมนเดล (Mendel’s Law)
เมนเดลทําการศึกษาการถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธุกรรมของถั่วลันเตา จนสามารถสรุปเป็นกฎ (Law)

ท่ใี ช้อธิบายกระบวนการถา่ ยทอดลักษณะทางพันธุกรรมได้ 2 ข้อ ดังน้ี
กฎขอ้ ที่ 1 กฎแหง่ การแยกตัว (Law of Segregation) สรุปได้จากการผสม โดยพิจารณา 1 ลักษณะ

กฎแห่งการแยกตวั มใี จความสําคญั สรปุ ได้ดงั นี้ ยนี ทอ่ี ยู่กันเป็นคู่จะแยกออกจากกันในระหว่างกระบวนการสร้าง
เซลล์สืบพันธุ์ (เกิดข้ึนในระยะแอนาเฟส I ของไมโอซิส) จึงทําให้เซลล์สืบพันธุ์แต่ละเซลล์มียีนควบคุมลักษณะ
นั้นๆ เพยี ง 1 แอลลลี

กฎข้อท่ี 2 กฎแห่งการรวมกลุ่มอย่างอิสระของยีน (Law of Independent Assortment) สรุปได้
จากการผสม โดยพจิ ารณา 2 ลกั ษณะ กฎแห่งการรวมกลุ่มอย่างอิสระของยีนมีใจความสําคัญสรุปได้ดังนี้ ยีนที่
แยกออกจากคู่ของมันจะไปรวมกลุ่มอย่างอิสระกับยีนอื่นๆ ที่แยกออกจากคู่เช่นเดียวกัน เพ่ือเข้าไปอยู่ในเซลล์
สบื พนั ธ์ุ

ภาพประกอบการอธบิ ายกฎขอ้ ที่ 1 และ 2 ของเมนเดล

โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปที ่ี 27 _________________________________วิทยาศาสตร์ ชีววิทยา (33)

F) การผสมโดยพิจารณาหน่ึงลักษณะ (Monohybrid Cross) และการผสมโดยพิจารณาสองลักษณะ
(Dihybrid Cross)

การผสมโดยพิจารณาหนึ่งลักษณะ (Monohybrid Cross) คือ การผสมระหว่างพ่อพันธ์ุและ
แม่พันธุ์โดยพจิ ารณาลักษณะทตี่ อ้ งการผสม 1 ลักษณะ เชน่ ตน้ แมพ่ นั ธ์ุดอกสแี ดงผสมกับต้นพ่อพันธ์ุดอกสีขาว
เปน็ ต้น

การผสมโดยพิจารณาสองลักษณะ (Dihybrid Cross) คือ การผสมระหว่างพ่อพันธุ์และแม่พันธุ์
โดยพิจารณาลักษณะท่ีต้องการผสม 2 ลักษณะ ควบคู่กัน เช่น ต้นสูงดอกสีม่วงผสมกับต้นเต้ียดอกสีขาว
(การผสมในตัวอยา่ งพจิ ารณา 2 ลักษณะ คือ ลักษณะความสูงของลําต้นและลกั ษณะของสดี อก)

G) ลักษณะเด่นแตล่ ะระดับ
1. ลักษณะเด่นสมบูรณ์ (Complete Dominance) หมายถึง การแสดงออกของลักษณะเด่นท่ีเกิด

จากการทยี่ ีนเด่นสามารถขม่ การแสดงออกของยีนดอ้ ยได้ 100% ทาํ ใหจ้ ีโนไทปท์ ี่เปน็ โฮโมไซกัสยีนของลักษณะเด่น
(Homozygous Dominance) และเฮเทอโรไซกสั ยีนมกี ารแสดงออกของฟโี นไทปท์ ีเ่ หมือนกนั

ดอกสแี ดง (RR) ดอกสขี าว (rr)

ดอกสีแดง (Rr) ทงั้ หมด

ภาพการถา่ ยทอดลักษณะเด่นแบบสมบรู ณ์

วิทยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (34) _________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปีท่ี 27

2. ลักษณะเด่นไม่สมบูรณ์ (Incomplete Dominance) หมายถึง การแสดงออกของลักษณะเด่น
เป็นไปไม่เต็ม 100% ทั้งน้ีเกิดจากการทํางานของยีนเด่นร่วมกับยีนด้อย เพราะยีนเด่นไม่สามารถข่มการแสดงออก
ของยีนด้อยได้ 100% จึงทําให้จโี นไทปท์ ่เี ปน็ เฮเทอโรไซกัสมลี กั ษณะคอ่ นไปทางโฮโมไซกสั ของลักษณะเดน่

ดอกสแี ดง (RR) ดอกสีขาว (rr)

ดอกสีชมพู (Rr) ทง้ั หมด

ภาพการถ่ายทอดลักษณะเดน่ แบบไม่สมบรู ณ์

3. ลักษณะเด่นร่วมกัน (Co-Dominance) หมายถึง การแสดงออกของลักษณะใดลักษณะหนึ่ง
ของสง่ิ มีชีวติ ทีเ่ กิดจากการทํางานรว่ มกนั ของยีนทคี่ วบคุมลกั ษณะเดน่ ทัง้ คู่ เนือ่ งจากไม่สามารถข่มกันและกันได้
เช่น หมเู่ ลอื ด AB ในคนท่ถี กู ควบคุมโดยจโี นไทป์ IAIB เป็นต้น

H) มัลตเิ ปลิ แอลลีล (Multiple Alleles)
มัลติเปิลแอลลีล คือ ยีนท่ีมีแอลลีลมากกว่า 2 แบบข้ึนไป ซ่ึงควบคุมลักษณะพันธุกรรมเดียวกัน

ตัวอยา่ งเช่น หม่เู ลือดระบบ ABO มยี นี ควบคมุ อยู่ 3 แอลลลี
หมเู่ ลือดระบบ ABO
แอลลีล (Allele) ท่ีควบคุมการแสดงออกของหมู่เลือดระบบ ABO มีท้ังหมด 3 แบบ ดังน้ี IA, IB

และ i ซงึ่ หนา้ ท่ขี องแอลลีลแต่ละแบบ คือ ควบคมุ การสรา้ งแอนติเจนทเี่ ยอ่ื ห้มุ เซลล์เม็ดเลอื ดแดง

ตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างหม่เู ลือด จโี นไทป์ แอนตเิ จนทผ่ี ิวเมด็ เลอื ดแดง
และแอนติบอดีในพลาสมาของหมูเ่ ลือดระบบ ABO

หมู่เลอื ด จีโนไทป์ แอนตเิ จนทผี่ ิวเม็ดเลือดแดง แอนติบอดใี นพลาสมา
A IAIA หรอื IAi A B
B IBIB หรอื IBi B A
AB ไมม่ ี
O IAIB A และ B
ไมม่ ี A และ B
ii

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 _________________________________วทิ ยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (35)

I) การใหเ้ ลือด
บคุ คลท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั การใหเ้ ลอื ด คือ ผู้ให้ (เลือด) และผู้รบั (เลอื ด) ซึง่ ในการใหเ้ ลอื ดผู้ทม่ี ีความเส่ียง

ตอ่ ชวี ติ คือ ผ้รู บั เพราะถ้าเลอื ดของผู้รับไม่สามารถเข้ากับเลือดของผู้ให้ได้ จะทําให้เซลล์เม็ดเลือดแดงของผู้รับ
จบั ตวั กนั เป็นกลมุ่ แล้วตกตะกอนอุดตันหลอดเลือด ซ่ึงจะนําไปสู่การเสียชีวิตได้ในท่ีสุด ดังน้ันผู้ให้และผู้รับควรมี
เลอื ดหมูเ่ ดยี วกันจงึ จะปลอดภัยที่สดุ

หลักการสาํ คัญในการใหแ้ ละรบั เลอื ดอย่างปลอดภัย คือ แอนติเจน (Antigen) ของผูใ้ ห้ตอ้ งไม่ตรง
กบั แอนตบิ อดี (Antibody) ของผู้รับ

O

AB AB

AB

แผนผังแสดงการใหเ้ ลือดในระบบ ABO

เทคนคิ การจําเด้อจา้ !!

ผใู้ ห้ → ผรู้ บั O ใจดี AB ใจรา้ ย O ผ้ใู หส้ ากล AB ผูร้ ับสากล

J) พอลยิ นี (Polygene)
พอลิยนี คอื กลุม่ ของยนี หรอื ยีนหลายๆ คู่ท่ีอยู่บนโครโมโซมคู่เดียวกันหรือต่างคู่กัน (ก็ได้) ทําหน้าที่

ร่วมกันในการควบคมุ ลักษณะพนั ธกุ รรมหนึง่ ๆ ของส่งิ มชี ีวติ ซง่ึ เปน็ ลกั ษณะทไี่ ม่สามารถสังเกตเห็นความแตกต่าง
ไดอ้ ย่างชัดเจน เช่น ลกั ษณะสีผวิ ของคน ความสงู สตปิ ัญญา โดยการแสดงออกของลักษณะเหลา่ นี้ จะขนึ้ อยู่กับ
อทิ ธิพลของสง่ิ แวดล้อมดว้ ย

K) การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมท่ีถูกควบคุมโดยยีนด้อยบนออโตโซม (Autosome) และ
โครโมโซมเพศ (Sex Chromosome)

ตวั อยา่ งลักษณะทางพันธุกรรมที่ถูกควบคุมโดยยีนดอ้ ยบนออโตโซม
1. อาการผวิ เผอื ก (Albino)
2. โรคธาลัสซีเมยี (Thalassemia)
3. โรคโลหติ จางชนิดซกิ เคลิ เซลล์ (Sickle Cell Anemia)

วทิ ยาศาสตร์ ชวี วิทยา (36) _________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27

ตวั อย่างลกั ษณะทางพันธกุ รรมทถ่ี กู ควบคมุ โดยยนี ดอ้ ยบนโครโมโซม X
1. โรคฮีโมฟเิ ลยี (Hemophilia)
2. โรคตาบอดสี (Color Blindness)
3. โรคกล้ามเนอื้ แขนขาลบี ชนิดดเู ชนน์ (Duchenne Muscular Dystrophy)

L) ความผิดปกติของคนจากจํานวน และรูปร่างโครโมโซม : คนปกติจะมีโครโมโซม 46 แท่ง เป็น
โครโมโซมร่างกาย 44 แท่ง โครโมโซมเพศ 2 แท่ง โดยโครโมโซม Y เป็นโครโมโซมแสดงออกลักษณะเพศชาย
เป็นยีนเดน่ จะแสดงออกเมื่อจับเข้าคกู่ บั โครโมโซม X ท้ังน้ี ถ้าเป็น “ผู้ชาย = 44 + XY” และหากเป็น “ผู้หญิง =
44 + XX”

1. ผิดปกติจากออโตโซม คือ โครโมโซมร่างกายมีจํานวนเกินมาจากข้ันตอนการแบ่งเซลล์หรือ
รปู ร่างผดิ ปกติ

2. ผิดปกติจากโครโมโซมเพศ คือ โครโมโซม X หรือ Y มีการเกินหรือขาด ทําให้เกิดโรคทาง
พันธกุ รรมตา่ งๆ

ประเภท สาเหตุ โครโมโซม กลุ่มอาการ ลกั ษณะเดน่ ท่สี ําคญั
พาเทาซินโดรม
ความผดิ ปกติ โครโมโซมเกนิ ค่ทู ่ี 13 เกนิ เอ็ดเวิร์ดซินโดรม ปากแหวง่ เพดานโหว่
ออโตโซม 45 + XX หรอื คูท่ ี่ 18 เกิน ดาวน์ซนิ โดรม อายสุ น้ั มาก
ค่ทู ่ี 21 เกิน คริดชู าต์ / แคทคราย
ความผดิ ปกติ 45 + XY เทอรเ์ นอร์ซนิ โดรม 90% เสยี ชีวติ กอ่ น 1 ขวบ
โครโมโซมเพศ ไคลนเ์ ฟลเตอรซ์ ินโดรม ระบบผดิ ปกติมาก
รูปร่างผดิ ปกติ คู่ที่ 5 แขน
ไมส่ มบูรณ์ ซูเปอร์เมน ปญั ญาอ่อน ค้วิ ห่าง
ทริปเปลิ เอ็กซ์ซนิ โดรม เส้นลายมอื ขนานกนั
โครโมโซม X ขาด : 44 + XO
เสียงร้องแหลมคล้าย
โครโมโซม X เกินในชาย แมวร้อง ศีรษะเล็ก
: XXY, XXXY
หญงิ เปน็ หมัน เตยี้
โครโมโซม Y เกนิ ในชาย : XYY คอเป็นแผง ไม่มีเตา้ นม

โครโมโซม X เกนิ ในหญิง : XXX ชายเปน็ หมัน ไม่สรา้ งอสุจิ
แถมมเี ต้านม

ชายลักษณะปกติ
สงู ใหญ่ นสิ ยั ก้าวร้าว

หญงิ ปกติ แต่มสี ติปัญญา
ตา่ํ กวา่ ท่วั ไป

โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ี่ 27 _________________________________วทิ ยาศาสตร์ ชวี วิทยา (37)

M) เพดกิ รีหรือพนั ธปุ ระวตั หิ รอื พงศาวลี (Pedigree)
เพดิกรี คือ แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ในการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของครอบครัวหรือ

ตระกลู หน่งึ ๆ

รนุ่ พ่อแม่ หญิงปกติ

ลกู รุ่นที่ 1 ชายปกติ
หญงิ เป็นโรค

ชายเปน็ โรค

ลกู รุ่นท่ี 2

ภาพเพดกิ รีการถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธุกรรม

N) มวิ เทชนั (Mutation)
มิวเทชัน คือ การเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นกับยีนหรือโครโมโซม ซึ่งจะก่อให้เกิดลักษณะทางพันธุกรรม

ทด่ี ีหรือไม่ดีก็ได้ มิวเทชันท่ีเกิดขึ้นกับยีน (Gene Mutation หรือ DNA Mutation) คือ การเปล่ียนแปลงของยีน
ใน DNA อยา่ งถาวร ซ่ึงจะสง่ ผลต่อการทํางานของยนี

O) พนั ธุวศิ วกรรม (Genetic Engineering)
พันธวุ ิศวกรรมเปน็ เทคนิคการสร้าง DNA สายผสม หรอื รีคอมบิแนนท์ดีเอ็นเอ (Recombinant DNA)

เพ่ือให้ได้ส่ิงมีชีวิตที่มีลักษณะตามต้องการ ซ่ึงเทคนิควิธีดังกล่าวจะต้องอาศัยเอนไซม์พ้ืนฐานสําคัญ 2 ชนิด
คอื เอนไซมต์ ดั จําเพาะ (Restriction Enzyme) และเอนไซมด์ ีเอ็นเอไลเกส (DNA Ligase Enzyme)

จเี อม็ โอ (GMOs)
จเี อม็ โอ หมายถึง ส่งิ มชี ีวติ ที่ผ่านกระบวนการตัดตอ่ ยนี แลว้ หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นสิ่งมีชีวิตท่ีมีดีเอ็นเอ
สายผสม (Recombinant DNA) อยู่ภายในเซลล์ ซ่ึงยีนที่ถูกใส่เข้าไปใน DNA ของสิ่งมีชีวิตเจ้าบ้าน (Host)
น้ันจะทาํ ใหส้ ิง่ มชี ีวติ ชนดิ น้นั ๆ มีลักษณะตามทีม่ นษุ ย์ตอ้ งการ

การโคลน (Cloning)
การโคลน หมายถึง การสร้างส่ิงมีชีวิต (ตัวหรือต้น) ใหม่ ซึ่งมีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือน
ส่ิงมีชีวติ ตน้ แบบทกุ ประการ เช่น การปกั ชํา การต่อก่งิ การทาบก่งิ การเพาะเลยี้ งเนอื้ เยอื่ เปน็ ตน้

วทิ ยาศาสตร์ ชีววิทยา (38) _________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27

ลายพิมพด์ เี อน็ เอ (DNA Fingerprint)
ลายพิมพ์ดีเอ็นเอ คือ รูปแบบของแถบดีเอ็นเอ ซ่ึงแสดงความแตกต่างของขนาดโมเลกุลดีเอ็นเอ
ในสิ่งมชี วี ิตแต่ละตัวหรือแต่ละบคุ คลได้ ดังน้ันลายพิมพ์ดีเอ็นเอจึงเป็นเอกลกั ษณ์ของแตล่ ะบคุ คล

ภาพแสดงการเตรียมลายพมิ พ์ดีเอน็ เอและภาพลายพมิ พ์ดเี อน็ เอทเี่ ตรียมได้
โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปที ี่ 27 _________________________________วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (39)

LESSON 6 ความหลากหลายทางชีวภาพ
(DIVERSITY OF LIFE)

LESSON นพ้ี ักผอ่ น พัก Check in ครคิ ริ ฟรุ้งฟริง้ !!
ความหลากหลายทางชีวภาพ คอื ความหลากหลายของสง่ิ มีชีวิตชนดิ ต่างๆ ในการดํารงชวี ิตอย่ใู นแหล่ง
ที่อยู่อาศัยเดยี วกันหรอื แตกต่างกัน ซงึ่ สิ่งมีชีวิตต่างชนิดกันจะมีความแตกต่างกันท้ังในด้านชนิดและจํานวนหรือ
แมเ้ ปน็ ส่งิ มชี ีวติ ชนดิ เดยี วกนั กอ็ าจมคี วามแตกตา่ งหลากหลายได้เชน่ กัน
ความหลากหลายทางชวี ภาพแบ่งออกเปน็ 3 ประเภท ดังน้ี
1. ความหลากหลายทางพนั ธกุ รรม (Genetic Diversity)
2. ความหลากหลายทางสปชี สี ์ (Species Diversity)
3. ความหลากหลายทางระบบนเิ วศ (Ecological Diversity)
อนุกรมวิธาน (Taxonomy หรอื Systematics) ซึ่งจะศกึ ษาในดา้ นตา่ งๆ 3 ลกั ษณะ ได้แก่
1. การจัดจําแนกสง่ิ มชี ีวิตออกเปน็ หมวดหมู่ในลาํ ดับขั้นตา่ งๆ (Classification)
2. การตรวจสอบหาชอื่ วทิ ยาศาสตรท์ ี่ถกู ต้องของสิ่งมีชีวติ (Identification)
3. การกาํ หนดช่ือทีเ่ ป็นสากลของหมวดหมแู่ ละชนดิ ของสงิ่ มชี วี ิต (Nomenclature)
1. การจดั หมวดหมขู่ องส่ิงมชี ีวิต (Classification)

ภาพแสดงการจัดหมวดหมู่ของสิง่ มชี ีวิต
การจัดจําแนกแบบ Domain โดยมีการจาํ แนกส่งิ มชี ีวิตออกเปน็ 3 โดเมน ไดแ้ ก่
1. Archaea (แบคทเี รยี โบราณ)
2. Bacteria/Eubacteria
3. Eukarya/Eukaryota

วทิ ยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (40) _________________________________โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปีท่ี 27

สปีชีส์ (Species) คือ กลมุ่ ส่งิ มชี ีวิตชนดิ เดยี วกันสามารถผสมพันธกุ์ ันแลว้ ไดล้ ูกทีไ่ มเ่ ป็นหมนั
สง่ิ มชี วี ติ แบง่ ออกเปน็ 5 อาณาจักร ตามลกั ษณะร่วมภายนอกและภายในเซลล์ ดังน้ี
1. อาณาจักรมอเนอรา (Monera Kingdom)
2. อาณาจกั รโพรทิสตา (Protista Kingdom)
3. อาณาจักรฟังไจ (Fungi Kingdom)
4. อาณาจกั รพชื (Plantae Kingdom)
5. อาณาจกั รสัตว์ (Animalia Kingdom)

แผนภาพแสดงการจดั จําแนกสง่ิ มีชีวิตเปน็ 5 อาณาจกั ร

ตารางเปรยี บเทยี บลักษณะของสิง่ มชี วี ติ 5 อาณาจกั ร

ลักษณะ มอเนอรา โพรทสิ ตา อาณาจกั ร พชื สัตว์
ฟงั ไจ
1. ไรโบโซม 3 3 3 3
2. นวิ เคลียส 2 3 (เหด็ รา ยสี ต)์ 3 3
3. ผนังเซลล์ 3 3 3 2
4. ดีเอน็ เอ 3 3 3 3 3
5. สิ่งมชี ีวติ สว่ นใหญ่ 3
3 3 3 2 2
มเี ซลลเ์ ดยี ว 3
6. สงั เคราะหด์ ว้ ยแสงได้ 3 3 3 2
7. คลอโรพลาสต์ 2 3 2 3 2

2
2

โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปที ่ี 27 _________________________________วิทยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (41)

2. การตรวจสอบหาช่ือวิทยาศาสตร์ (Identification) : ใช้ไดโคโตมัสคีย์ (Dichotomous Key)
3. การตงั้ ช่อื วิทยาศาสตร์ (Nomenclature) : ใช้ภาษาละตนิ เทา่ นั้น ยํา้ !! ละตินเท่านั้น ตามระบบการ
ต้ังช่ือแบบทวินาม (Binomial Nomenclature) ชื่อแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนหน้าและส่วนหลัง ส่วนหน้า
คอื Genus หรอื Generic Name ส่วนหลงั คือ Specific Epithet (ไมใ่ ช่ Species นะ หลายคนเข้าใจว่าคําหลัง
เปน็ Species) ทง้ั สองคาํ รวมกันจงึ จะเรยี กว่า Species หลักการเขียนมี 2 แบบใหญๆ่ ดังนี้

ช่อื วทิ ยาศาสตร์ของแมวบา้ น
1. Felis catus (ตวั เอียง)
2. Felis catus (ตัวตรงขีดเสน้ ใต้)
เลอื กเขยี นแบบใดแบบหนึง่ นะจะ๊
ไวรัส (Virus) ไม่มีลกั ษณะเป็นเซลล์ เนื่องจากไม่มีเย่ือหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม และไรโบโซม แต่เป็น
อนุภาคท่ีประกอบด้วยโปรตีน ซึ่งห่อหุ้มสารพันธุกรรมเอาไว้ ไวรัสมีขนาดเล็กมาก ซึ่งเราจะมองเห็นได้
โดยใช้กลอ้ งจุลทรรศนอ์ เิ ล็กตรอนเทา่ นนั้ ไวรัสสามารถเพมิ่ จาํ นวนตวั เองได้เมอื่ เขา้ ไปอยใู่ นเซลล์หรือร่างกาย
ของสงิ่ มีชีวิตชนดิ อนื่ ดังนัน้ ในสภาวะดังกลา่ วจึงถือว่าไวรสั เป็นสิ่งมีชีวิต ในทางตรงกันข้ามถ้าไวรัสไม่ได้
อยภู่ ายในเซลล์หรือรา่ งกายของส่ิงมีชีวิตชนิดอื่น ไวรัสก็ไม่สามารถเพ่ิมจํานวนตัวเองได้ ดังน้ันในสภาวะ
เชน่ นีจ้ ะถือวา่ ไวรัสไมใ่ ชส่ ่งิ มีชวี ิต

ภาพแสดงตวั อยา่ งและโครงสรา้ งของไวรสั

วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (42) _________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปีที่ 27

LESSON 7 ระบบนเิ วศ (ECOSYSTEM)

CHECK IN บทน้ตี บทา้ ย ใกลถ้ งึ เส้นชยั แลว้ ครับ
A) นิเวศวิทยาและระบบนเิ วศ

B) องค์ประกอบของระบบนิเวศ
C) ประเภทของระบบนเิ วศ

D) ชีวภมู ภิ าคหรือไบโอม (Biomes)
E) ความสมั พันธ์ในระบบนเิ วศ

F) การถา่ ยทอดพลังงาน (Energy Flow)
G) พรี ะมิดนิเวศ

H) วัฏจกั รของสารในระบบนเิ วศ
I) ประชากร

J) การเปล่ียนแปลงแทนที่ของกลมุ่ สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ

A) นิเวศวิทยา (Ecology) หมายถึง ศาสตร์ที่ศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิต และ
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสิง่ มชี ีวติ กบั สิ่งแวดล้อม ณ แหลง่ ท่ีอย่แู หล่งใดแหล่งหนึง่ เวลาใดเวลาหน่งึ

ระบบนิเวศ (Ecosystem) หมายถึง หน่วยของความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต และ
ศึกษาความสมั พนั ธร์ ะหว่างสง่ิ มชี ีวิตกับสิง่ แวดลอ้ ม ณ แหลง่ ท่ีอยูแ่ หลง่ ใดแหล่งหนึง่ เวลาใดเวลาหนงึ่

ภาพแสดงการจัดระบบของสง่ิ มชี ีวิต (Organization of Life)

โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปีท่ี 27 _________________________________วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (43)

B) องคป์ ระกอบของระบบนิเวศ
ในระบบนิเวศหน่งึ ๆ จะประกอบด้วย 2 สว่ นใหญ่ๆ คอื
1) องคป์ ระกอบท่ีไม่มีชีวติ (Abiotic Component) ได้แก่
1. อนินทรียสาร (Inorganic Substance) ประกอบด้วยสารอนินทรีย์ต่างๆ และแร่ธาตุ เช่น

คาร์บอน (C), ออกซเิ จน (O), ไนโตรเจน (N), นํา้ (H2O) และคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เป็นต้น
2. อินทรียสาร (Organic Substance) สารอินทรีย์ท่ีจําเป็นต่อสิ่งมีชีวิต เช่น โปรตีน

คาร์โบไฮเดรต ไขมัน และซากสิง่ มชี ีวิตเน่าเป่ือยทับถมกันในดิน (humus / ฮิวมสั ) เปน็ ตน้
ทั้งนรี้ วมถึงสภาพแวดล้อมทางกายภาพ เช่น อุณหภูมิ แสง อากาศ ความช้ืน ความเป็นกรด-เบส

เป็นต้น
2) องค์ประกอบท่มี ีชีวิต (Biotic Component) แบ่งเปน็ 3 ประเภท ดงั นี้
1. ผู้ผลิต (Producer) หมายถึง ส่ิงมีชีวิตที่สามารถนําพลังงานจากแสงอาทิตย์มาสังเคราะห์

อาหารขน้ึ เองได้ (Autotroph) ด้วยกระบวนการทเ่ี รียกว่า การสังเคราะห์ดว้ ยแสง (Photosynthesis) จากสารท่ี
มอี ยู่ตามธรรมชาติ ได้แก่ พชื แบคทีเรียบางชนิด (สาหร่ายสีเขยี วแกมนํ้าเงิน) สาหร่ายสีเขียว แพลงก์ตอนพืช

ภาพแสดงส่ิงมีชีวิตท่สี ามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้ (อาณาจกั รมอเนอรา)

Trick นดิ นงึ ไม่ไดม้ ีเฉพาะพืชนะครบั แบคทีเรียบางชนิด (สาหร่ายสีเขยี วแกมน้ําเงิน)

จัดอยใู่ นอาณาจกั รมอเนอรา สาหรา่ ยสเี ขยี ว จัดอยู่ในอาณาจกั รโพรทิสตา

วิทยาศาสตร์ ชีววิทยา (44) _________________________________โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปีท่ี 27

2. ผู้บริโภค (Consumer) หมายถึง สิ่งมีชีวิตทีไม่สามารถสร้างอาหารได้เอง (Heterothroph)
จึงจาํ เปน็ ต้องได้รบั อาหารโดยการกินสิ่งมชี วี ติ อ่นื ไดแ้ ก่

• ผู้บริโภคพืช (Herbivore) คือ ส่ิงมีชีวิตที่กินพืชเป็นอาหาร เช่น ช้าง ม้า โค กระต่าย
เป็นต้น

• ผ้บู รโิ ภคสัตว์ (Carnivore) คอื ส่งิ มีชวี ิตทก่ี นิ สัตวเ์ ปน็ อาหาร เชน่ เสือ สิงโต จระเข้ จ้ิงจก
นกเหยีย่ ว เปน็ ตน้

• ผู้บริโภคท่ีกินทั้งพืช และสัตว์ (Omnivore) เช่น มนุษย์ ไก่ นก แมว สุนัข สุกร เป็ด
นกเปด็ น้ํา เปน็ ต้น

• ผู้บริโภคซากอินทรีย์ (Detritivore) เช่น ไส้เดือน ก้ิงกือ ถ้ากินแต่ซากสัตว์ เรียกว่า
“Scavenger” เช่น นกแรง้

3. ผู้ย่อยสลาย (Decomposer) คือ สิ่งมีชีวิตท่ีไม่สามารถสร้างอาหารได้เอง แต่จะรับ
สารอาหารโดยการผลติ เอนไซม์ออกมาย่อยสลายซากของส่ิงมีชีวิตให้เป็นสารโมเลกุลเล็กแล้วจึงดูดซึมไปใช้ เช่น
ฟังไจ แบคทเี รยี

ภาพแสดง เห็ดทําหนา้ ทีเ่ ป็นผ้ยู อ่ ยสลายโดยการปล่อยเอนไซม์ออกมายอ่ ยสลายซากขอนไม้
C) ประเภทของระบบนิเวศ

จาํ แนกประเภทของระบบนเิ วศได้ดังนี้
1) ระบบนิเวศธรรมชาติ และใกล้ธรรมชาติ (Natural and Seminatural Ecosystems) : เป็น
ระบบนิเวศที่ต้องพ่ึงพลังงานจากดวงอาทิตย์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ ระบบนิเวศบนบก และระบบ
นเิ วศทางนา้ํ

1. ระบบนิเวศบนบก (Terrestrial Ecosystems) : เป็นระบบนิเวศท่ีปรากฏอยู่บนพ้ืนดิน ซ่ึง
แตกต่างกันไป โดยใช้ลักษณะเด่นของพืชเป็นหลัก โดยความแตกต่างของระบบนิเวศข้ึนอยู่กับอุณหภูมิ และ
ปริมาณนา้ํ ฝน

1.1 ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystems) : เป็นระบบนิเวศที่พื้นท่ีส่วนใหญ่ปกคลุมไป
ด้วยป่าไม้

1.2 ระบบนิเวศทุ่งหญ้า (Grassland Ecosystems) : เป็นระบบนิเวศที่พืชตระกูลหญ้าเป็น
พชื เด่น

โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปีท่ี 27 _________________________________วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (45)

1.3 ระบบนิเวศทะเลทราย (Desert Ecosystems) : เปน็ พนื้ ที่ที่มปี ริมาณฝนตกนอ้ ย

ภาพแสดงระบบนิเวศปา่ ไม้ (Forest Ecosystems) : ป่าดงดบิ
2. ระบบนิเวศทางนํ้า (Aquatic Ecosystems) : เป็นระบบนิเวศในแหล่งนํ้าต่างๆ ของโลก
มโี ครงสรา้ งหลัก คือ นาํ้

2.1 ระบบนิเวศน้ําจืด (Fresh water Ecosystems) : เป็นระบบนิเวศท่ีมีนํ้าจืดเป็น
องค์ประกอบหลัก

2.2 ระบบนิเวศนํ้ากร่อย (Estuarine Ecosystems) : ระบบนิเวศที่เกิดข้ึนระหว่างรอยต่อ
นํา้ จืดกบั น้ําเคม็ มกั เปน็ บริเวณที่เป็นปากแม่นํ้าต่างๆ จะมีตะกอนมากจึงมีป่าไม้กลุ่มป่าชายเลนข้ึน แต่บางพ้ืนท่ี
อาจเปน็ แหลง่ นา้ํ ขนาดใหญ่ เช่น ทะเลสาบสงขลาตอนกลางมลี กั ษณะเป็นทะเลสาบนา้ํ กรอ่ ยมีพืชน้าํ สลับป่าโกงกาง

2.3 ระบบนิเวศนํ้าเค็ม (Marine Ecosystems) : ระบบนิเวศท่ีมีน้ําเป็นนํ้าเค็ม มีทั้งที่เป็น
ทะเลปดิ และทะเลเปิด เน่อื งจากเปน็ หว้ งนา้ํ ขนาดใหญ่

ภาพแสดงระบบนเิ วศน้ําเคม็ (Marine Ecosystems)
วทิ ยาศาสตร์ ชวี วิทยา (46) _________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปที ่ี 27

2) ระบบนิเวศท่มี นษุ ยส์ ร้างขึน้
1. ระบบนิเวศเมือง และอุตสาหกรรม (Urbanindustrial Ecosystems) : เป็นระบบท่ีมนุษย์

สรา้ งขึน้ มาใหม่ และจําเปน็ ต้องพึ่งแหล่งพลงั งานเพ่ิมเติม อาทิ นํ้ามันเช้ือเพลิง พลังงานนิวเคลียร์ ยกตัวอย่าง
ระบบนเิ วศ เชน่ ระบบนิเวศชุมชนเมือง นคิ มอตุ สาหกรรม เป็นต้น

2. ระบบนิเวศเกษตร (Agricultural Ecosystems) : เป็นระบบนิเวศที่มนุษย์ปรับปรุง
เปล่ียนแปลงระบบนิเวศทางธรรมชาติขึ้นมาใหม่ ยกตัวอย่างระบบนิเวศ เช่น แหล่งเกษตรกรรม ตู้ปลา
อา่ งเลย้ี งปลา เป็นตน้

D) ชีวภมู ิภาคหรอื ไบโอม (Biomes)
ขอบเขตหรือบริเวณของสังคมส่ิงมีชีวิตขนาดใหญ่ ซึ่งมีลักษณะจําเพาะของลักษณะของส่ิงมีชีวิต

รวมทง้ั ลกั ษณะของภูมปิ ระเทศ และภูมอิ ากาศของแหล่งทอ่ี ยอู่ าศัยและองค์ประกอบของระบบนเิ วศ

ปา่ ดิบชน้ื ป่าผลัดใบในเขตอบอนุ่ ปา่ สน
(Tropical rain forest) (Temperate deciduous forest) (Coniferous forest)
9 ใกล้เขตเส้นศนู ย์สตู รของโลก 9 ปรมิ าณความชื้นเพียงพอ 9 ภูมิอากาศมีฤดูหนาวค่อนข้าง
9 ภูมิอากาศร้อนและชนื้ มฝี นตก 9 อากาศค่อนขา้ งเยน็ ในปา่ ชนดิ นี้ นาน อากาศเย็นและแห้ง พืช
ตลอดปี จําพวกสน
9 ป่าท่มี ีความอดุ มสมบูรณ์สูงมาก และต้นไมจ้ ะทิ้งใบหรือผลัดใบกอ่ น
ฤดูหนาว

ทงุ่ หญ้าเขตอบอุ่น
(Temperate grassland)
9 เหมาะสําหรับการทํากสิกรและ
ปศุสัตว์
9 ดนิ มีความอุดมสมบรู ณส์ งู มหี ญ้า
นานาชนดิ ข้ึนอยู่

สะวนั นา ทะเลทราย ทนุ ดรา
(Savanna) (Desert) (Tundra)
9 ภูมิอากาศรอ้ น พชื ท่ีข้ึนสว่ นใหญ่ 9 ปรมิ าณฝนตกเฉล่ยี นอ้ ยกวา่ 25 9 ฤดหู นาวค่อนข้างยาวนาน ฤดูรอ้ น
เป็นหญา้ และมตี ้นไมก้ ระจายเป็น เซนตเิ มตรตอ่ ปี ช่วงสั้น ชั้นของดินที่อยู่ตํ่ากว่า
หย่อมๆ ในฤดูร้อนมกั เกดิ ไฟป่า 9 พืชที่พบในไบโอมทะเลทรายนี้มี จากผิวดินชั้นบนลงไปจะจับตัว
การป้องกันการสูญเสียนํ้า โดยใบ เป็นนํา้ แข็งถาวร
ลดรูปเป็นหนาม ลําต้นอวบเก็บ 9 พบพืชและสัตว์อาศัยอยู่น้อย
สะสมนาํ้ นอกจากน้ียงั พบสิง่ มชี ีวติ ชัน้ ตาํ่

โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปีท่ี 27 _________________________________วิทยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (47)

ภาพแสดงแผนทช่ี ีวภมู ภิ าคหรือไบโอม (Biomes)

E) ความสัมพนั ธ์ในระบบนเิ วศ
ในสภาพแวดล้อมของแหลง่ ท่อี ยู่ต่างๆ จะมอี ิทธพิ ลก่อให้เกิดความสัมพันธ์กับส่ิงมีชีวิต แบ่งออกเป็น

2 ประเภท ดงั นี้
1) ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมชี วี ติ กบั สภาวะแวดล้อมทางกายภาพ (Physical Factors) ได้แก่
1. อุณหภมู ิ : เป็นปัจจยั สาํ คญั ที่ทําใหเ้ กดิ การจําศลี และการอพยพของสัตวห์ ลายชนิด ตัวอยา่ ง
• การจาํ ศีลในฤดหู นาว (Hibernation) เพอ่ื ลดอตั ราการใชเ้ มแทบอลิซึม เชน่ กบ
• การจาํ ศลี ในฤดรู ้อน (Aestivation) เปน็ การหลบหนีความร้อน และการออกหากินในเวลา

กลางคืน เช่น คา้ งคาว
• นอกจากนี้ อุณหภมู ยิ ังเป็นปัจจยั สาํ คัญทท่ี าํ ให้สิง่ มีชีวติ มีการปรับตวั ทางรูปร่าง ตัวอย่างเช่น

ต้นกระบองเพชรมีการเปลี่ยนใบเปน็ หนามเพอ่ื ลดการคายน้ํา
2. นํ้าและความช้นื : เป็นส่วนประกอบส่วนใหญ่ของส่ิงมชี ีวิต และเปน็ สิ่งจําเปน็ ตอ่ การดาํ รงชวี ิต

ของสงิ่ มชี วี ติ ทกุ ชนิด เพราะชว่ ยใหเ้ กิดปฏกิ ริ ิยาต่างๆ ในร่างกายของสงิ่ มชี ีวติ
3. แสงสวา่ ง : เปน็ ปจั จยั ทจ่ี ําเป็นต่อการสร้างอาหารของพืช เพราะมีอิทธิพลต่อการสังเคราะห์

ดว้ ยแสงของพชื สีเขยี ว

วทิ ยาศาสตร์ ชีววิทยา (48) _________________________________โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปีที่ 27


Click to View FlipBook Version