The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Brands Summer Camp ปีที่ 27 วิชาชีววิทยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by BS_Library, 2019-12-12 10:36:42

Brands Summer Camp ปีที่ 27 วิชาชีววิทยา

Brands Summer Camp ปีที่ 27 วิชาชีววิทยา

Keywords: ชีววิทยา

14. เทคนิคการสร้าง DNA สายผสมให้ได้ส่ิงมีชีวิตที่ต้องการ ภายหลังการใช้เอนไซม์ตัดจําเพาะในการตัดสาย
DNA แลว้ สามารถใช้เอนไซม์ใดเร่งปฏิกิริยาการสร้างพันธะโคเวเลนต์ระหว่าง DNA 2 โมเลกุล ให้เช่ือมต่อ
กันได้
1) DNA ไลเกส
2) DNA ไพรเมส
3) DNA เฮลิเคส
4) DNA พอลิเมอเรส

15. ขอ้ ใดถูก
1) การโคลนยนี คือ การเพม่ิ ดีเอน็ เอสว่ นที่ตอ้ งการใหม้ จี าํ นวนมากและเหมอื นกับดเี อน็ เอตน้ แบบ
2) การโคลนยนี นยิ มใชพ้ ลาสมดิ ของแบคทีเรยี ซง่ึ เปน็ ดเี อน็ เอท่อี ยู่บนโครโมโซมของแบคทเี รีย
3) การโคลนยีนในแบคทีเรียนิยมใช้ยีนที่ต้านทานยาปฏิชีวนะที่อยู่บนโครโมโซมของแบคทีเรียเป็น
เครอ่ื งหมาย
4) การโคลนยนี ภายนอกเซลลโ์ ดยไมใ่ ชแ้ บคทีเรยี สามารถเพิ่มจาํ นวนดเี อน็ เอได้ด้วยวิธีอเิ ลก็ โทรโฟรีซสิ

16. ปานเทพและปานอัปสรเก็บตัวอย่างน้ําและดินจากพ้ืนที่ป่าแห่งหนึ่งไปตรวจในห้องปฏิบัติการ พบว่านํ้ามี
ความเป็นกรดสูงมาก และพบว่าดินมีปริมาณอินทรียสารสูงและมีสารประกอบ pyrite อยู่มาก พ้ืนท่ีป่าที่
ปานเทพและปานอัปสรทาํ การสํารวจเป็นพ้ืนท่ปี า่ ในข้อใด
1) ปา่ พรุ (peat swamp forest)
2) ปา่ ชายเลน (mangrove forest)
3) ปา่ ดบิ ชน้ื (tropical rainforest)
4) ป่าดบิ แล้ง (dry evergreen forest)

17. การสาํ รวจปา่ แห่งหนึ่ง พบองคป์ ระกอบทางกายภาพและทางชวี ภาพดังแสดงในตาราง

องคป์ ระกอบทางชวี ภาพ ตน้ พลวง ต้นมะขามป้อม เห็ดเผาะ ก้งิ กา่

องคป์ ระกอบทางกายภาพ อณุ หภมู สิ ูงและแสงแดดจดั ในเวลากลางวนั
ดินเปน็ ดนิ ร่วนปนทราย

ระบบนเิ วศทมี่ ีลกั ษณะดังกล่าวพบได้ในภาคใดของประเทศไทย
A. ภาคเหนอื
B. ภาคกลาง
C. ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื
D. ภาคตะวันออก
E. ภาคใต้

1) A., B., C.
2) A., C., D.
3) A., B., C., D.

4) A., B., C., D., E.

โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 _________________________________วทิ ยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (99)

18. ระบบนิเวศแบบใดทีไ่ ม่พบในประเทศไทย
1) ปา่ สน
2) ป่าผลดั ใบในเขตอบอนุ่
3) ท่งุ หญ้าสะวนั นา
4) ทนุ ดรา

19. เราใชป้ จั จยั ใดเปน็ เกณฑใ์ นการแบ่งไบโอมบนบกเปน็ ไบโอมแบบตา่ งๆ กัน
1) ความสูงจากระดบั นา้ํ ทะเล
2) อุณหภูมแิ ละความชน้ื เฉลี่ย
3) ปรมิ าณแสงและอุณหภมู เิ ฉลย่ี
4) เขตละติจดู

20. ลักษณะของความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสงิ่ มชี ีวิตในขอ้ ใดที่แตกต่างจากขอ้ อ่ืนๆ
1) ค้างคาวผสมเกสรให้ตน้ กล้วย
2) โพรโทซัวย่อยเซลลูโลสใหป้ ลวก
3) ราและสาหร่ายอย่รู ่วมกันเปน็ ไลเคน
4) ปะการังสรา้ งคารบ์ อนไดออกไซดใ์ หซ้ แู ซนเทลล่ี

21. ไมคอร์ไรซาเป็นราทอ่ี ยรู่ ว่ มกนั แบบภาวะพึ่งพากนั กับรากพืช ไมคอร์ไรซาช่วยเพิม่ ความสามารถในการดูดซึมน้ํา
และแร่ธาตุของรากพืชจากดินโดยได้นํ้าตาลและกรดอะมิโนท่ีพืชผลิตขึ้นเป็นการตอบแทน และเน่ืองจากมี
ผลการศึกษาช้ินหนึ่ง พบว่าฝนกรดมีผลกระทบทําให้การเจริญเติบโตของไมคอร์ไรซาลดลง ดังนั้นถ้าดิน
มคี ่า pH เท่ากบั 7 พืช และไมคอร์ไรซาจะได้รบั ผลกระทบอย่างไร
1) ไม่มผี ลกระทบตอ่ ทัง้ พชื และไมคอร์ไรซา
2) พืชเจรญิ เติบโตลดลง แตไ่ มคอรไ์ รซาไม่ไดร้ ับผลกระทบ
3) ไมคอร์ไรซาเจรญิ เตบิ โตลดลง แตพ่ ืชไมไ่ ดร้ บั ผลกระทบ
4) ทงั้ พชื และไมคอรไ์ รซาเจรญิ เตบิ โตลดลง

22. ข้อใดต่อไปน้กี ล่าวถกู ต้อง
1) มดดํากบั เพล้ีย เปน็ ภาวะได้ประโยชนร์ ่วมกัน
2) แบคทีเรียในลาํ ไสใ้ หญ่ของคน เปน็ ภาวะเกอ้ื กูล
3) ปูเสฉวนกับซีแอนีโมนี เปน็ ภาวะพึง่ พา
4) ปลาฉลามกบั เหาฉลาม เป็นภาวะปรสติ

วิทยาศาสตร์ ชีววิทยา (100) ________________________________โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปีท่ี 27

23. ความสมั พนั ธร์ ะหว่างแบคทีเรยี A และ B ในตารางเหมอื นกบั ความสมั พันธใ์ นข้อใด

แบคทีเรยี สารทต่ี อ้ งการในการเติบโต สารที่สังเคราะหไ์ ด้
A lysine riboflavin
B lysine
riboflavin

1) bacteria - phage
2) ปลวก - โพรโตซัว
3) ปลา - แพลงกต์ อน
4) หนู - Leptospira

24. แบคทีเรียในลําไส้ปลวก Microcerotermes sp. อาศัยและเจริญอยู่ในลําไส้ปลวกโดยย่อยสลายลิกโน
เซลลูโลสในเยอื่ ไม้ที่ปลวกกนิ เข้าไป แบคทีเรยี ชนดิ น้ีและปลวกมคี วามสัมพนั ธก์ นั แบบใด
1) ภาวะปรสติ
2) ภาวะอิงอาศัย
3) ภาวะพึ่งพากนั
4) การได้ประโยชนร์ ่วมกนั

25. อะไรเปน็ สาเหตสุ ําคญั ทสี่ ุดท่ที าํ ให้โซอ่ าหารส่วนใหญม่ ลี าํ ดบั ขน้ั การกินอาหารไมเ่ กนิ 4 หรือ 5 ช้นั
1) อตั ราการสังเคราะห์ด้วยแสงของผผู้ ลติ ถกู จาํ กัดโดยอตั ราการย่อยสลายของผู้ยอ่ ยสลาย
2) ผบู้ รโิ ภคลาํ ดบั สุดทา้ ยของโซอ่ าหารเปน็ สัตว์กนิ เน้ือขนาดใหญท่ ไี่ มม่ ีสัตวอ์ นื่ ลา่ เปน็ อาหาร
3) ประสทิ ธิภาพของการถา่ ยทอดพลงั งานในแตล่ ะลาํ ดับขนั้ การกินอาหารมคี า่ ตา่ํ กว่า 100% มาก
4) สัตว์สว่ นใหญ่โดยเฉพาะแมลงเปน็ ผูบ้ ริโภคปฐมภมู ทิ กี่ ินพชื จงึ เหลือผ้บู รโิ ภคท่เี น้อื สัตวจ์ าํ นวนน้อยชนดิ

26. ถ้าพิจารณาเฉพาะเรอ่ื งของการกินอาหารใน food web ขา้ งล่างน้ี
นก A นก B

ตัวอ่อนแมลง แมลง หอยทาก ไส้เดือนดิน ทากเปลือย

เปลือกไม้ ดอกไม้ ใบไม้

หากเกิดการเปลี่ยนแปลงหายไปของประชากรผู้บริโภคปฐมภูมิบางชนิด นก A หรือนก B จะมีโอกาสอยู่
รอดมากกวา่ กัน และเพราะเหตใุ ด
1) นก A มโี อกาสอยรู่ อดมากกวา่ เพราะในการดาํ รงชวี ิตไม่จําเปน็ ตอ้ งอาศยั อาหารหลายชนดิ
2) นก A มีโอกาสอยู่รอดมากกว่าเพราะอย่ใู นลาํ ดบั ขัน้ ในโซ่อาหารท่ีสูงกวา่ นก B
3) นก B มโี อกาสอยู่รอดมากกว่าเพราะกินเหยือ่ ทส่ี ่วนใหญ่มพี ลงั งานมาก
4) นก B มโี อกาสอย่รู อดมากกวา่ เพราะกนิ อาหารไดห้ ลากหลายกวา่

โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปีที่ 27 _______________________________ วิทยาศาสตร์ ชีววิทยา (101)

27. การสํารวจระบบนเิ วศท้องถ่นิ แห่งหน่งึ พบส่งิ มชี ีวิตหลากหลายชนดิ มาก การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
ท้องถ่นิ น้ี จะมลี กั ษณะเปน็ แบบใดมากทส่ี ุด
1) สายใยอาหารซบั ซอ้ น
2) หว่ งโซ่อาหารส่วนใหญ่เรมิ่ ตน้ ดว้ ยผู้ย่อยสลายสารอนิ ทรีย์
3) พลังงานหมนุ เวียนในระบบนเิ วศทอ้ งถ่ินหมนุ เวยี นเปน็ เวลานาน
4) โซอ่ าหารสว่ นใหญป่ ระกอบดว้ ยสมาชกิ มากกวา่ 5 ชนดิ

28. วัฏจกั รของสารใดตอ่ ไปน้ตี า่ งจากขอ้ อืน่
1) คารบ์ อน
2) ไนโตรเจน
3) ฟอสฟอรัส
4) น้ํา

29. แผนภาพข้างล่างแสดงกระบวนการเกิดกลุม่ สิ่งมชี ีวิตข้นึ ในบริเวณหน่ึงตั้งแต่ยังไม่มีสิ่งมีชีวิตในบริเวณนั้นเลย
แล้วเปล่ียนแปลงไปตามลําดบั จนกระท่ังไดส้ งั คมสมบรู ณ์ (climax community)
มอสและไลเคน → กลมุ่ สง่ิ มีชีวติ A → กลุม่ สงิ่ มชี ีวิต B → กล่มุ สิ่งมีชวี ิต C → สังคมสมบรู ณ์
ลาํ ดบั การเกดิ กลุ่มสิ่งมีชวี ิตในข้อใดถอื ไดว้ ่าเกดิ การเปลยี่ นแปลงแทนทแ่ี บบปฐมภมู ขิ นึ้ ในบริเวณนัน้ แล้ว
1) เมอ่ื มมี อสและไลเคนเกิดขน้ึ กถ็ ือได้ว่าเกิดการเปลย่ี นแปลงแทนทขี่ ้นึ ในบรเิ วณนั้นแล้ว
2) เมื่อเกิดการเปลีย่ นแปลงจากมอส และไลเคนไปจนเป็นกลุม่ ส่งิ มีชวี ติ กลมุ่ อื่นใดก็ได้ถอื วา่ เกิดการเปล่ยี นแปลง
แทนท่ีข้ึนในบรเิ วณนน้ั แล้ว
3) เมอื่ เกิดการเปลี่ยนแปลงตง้ั แต่มอส และไลเคนไปจนเป็นกลุม่ สงิ่ มชี วี ิตสมบูรณเ์ ท่านั้นจึงจะถือได้ว่าเกิด
การเปล่ียนแปลงแทนที่ขนึ้ ในบริเวณน้ันแลว้
4) เมอ่ื สังคมสมบรู ณ์ถูกทาํ ลายแลว้ เกดิ การเปลี่ยนแปลงใหม่ต้ังแต่กลุ่มสิ่งมีชีวิต A ไปจนเป็นสังคมสมบูรณ์
อกี ครั้ง จงึ จะถอื ได้วา่ เกิดการเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบปฐมภูมขิ ึน้ ในบริเวณน้นั แล้ว

30. เมอ่ื เกิดการเปลี่ยนแปลงแทนท่ีแบบปฐมภูมิบนพื้นลาวาจากภูเขาไฟ สิ่งมีชีวิตท่ีจะเข้ามาอยู่ในพ้ืนท่ีน้ันได้
เปน็ กลมุ่ แรกคอื ขอ้ ใด
1) มอสและไลเคน
2) สาหร่ายและเห็ดรา
3) หญ้าและวชั พืช
4) ไม้ล้มลกุ

วิทยาศาสตร์ ชวี วิทยา (102) ________________________________โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปีที่ 27

เฉลย

1. 4) 2. 4) 3. 3) 4. 2) 5. 3) 6. 3) 7. 3) 8. 4) 9. 3) 10. 2)
11. 3) 12. 1) 13. 2) 14. 1) 15. 1) 16. 4) 17. 3) 18. 1) 19. 3) 20. 4)
21. 2) 22. 1) 23. 1) 24. 1) 25. 2) 26. 3) 27. 3) 28. 4) 29. 1) 30. 3)

————————————————————

โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปีที่ 27 _______________________________ วิทยาศาสตร์ ชีววิทยา (103)

วทิ ยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (104) ________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27

ความรูพ ้ืนฐานทางชีววทิ ยา

บทนาํ เกย่ี วกับชีววทิ ยา (Introduction to Biology)

ชีววทิ ยา (Biology) มาจากรากศัพทภ์ าษากรกี คือ คาํ วา่ bios ซงึ่ แปลวา่ ชวี ิต และ logos แปลวา่
วิทยาศาสตร์ หรอื ความรู้ ดังนัน้ ชวี วทิ ยาจงึ เปน็ วทิ ยาศาสตรส์ าขาหนึ่งที่ศกึ ษาเก่ียวกบั ส่ิงมชี วี ิตในแงม่ ุมตา่ งๆ
ทงั้ ในแงข่ องโครงสร้าง การทาํ งาน การสบื พนั ธ์ุ การเจริญเตบิ โต ววิ ฒั นาการ ความสมั พนั ธ์ของส่ิงมีชวี ิตกบั
สง่ิ แวดลอ้ มภายนอก รวมไปถึงการจัดจาํ แนกสงิ่ มชี ีวิตออกเป็นกล่มุ ต่างๆ ด้วยเหตุนชี้ วี วิทยาจึงจดั เป็นวิชาทีม่ ี
การศึกษาในมุมมองทก่ี วา้ งและประกอบดว้ ยสาขาวชิ ายอ่ ยๆ จาํ นวนมาก
ตัวอย่างสาขาตา่ งๆ ของชีววิทยาทนี่ า่ สนใจ เช่น

1. สตั ววิทยา (Zoology) – ศกึ ษาเกย่ี วกบั สัตว์
2. พฤกษศาสตร์ (Botany) – ศกึ ษาเกี่ยวกบั พืช
3. พันธุศาสตร์ (Genetics) – ศกึ ษาเกีย่ วกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
4. อนกุ รมวิธาน (Taxonomy) – ศึกษาเกยี่ วกับการจัดจําแนกสง่ิ มีชวี ิต
5. กายวภิ าคศาสตร์ (Anatomy) – ศกึ ษาเกย่ี วกับโครงสร้างต่างๆ ของสงิ่ มชี วี ิต
6. สรรี วทิ ยา (Physiology) – ศึกษาเกีย่ วกับการทาํ งานของโครงสร้างตา่ งๆ ในสิ่งมีชีวติ
7. นิเวศวทิ ยา (Ecology) – ศกึ ษาความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมชี ีวิตกับส่งิ แวดลอ้ ม

ลักษณะของสิ่งมีชวี ติ (Characteristics of Life)

เราสามารถแยกออกได้วา่ แบคทีเรยี มะมว่ ง กระตา่ ย เป็นสงิ่ มชี ีวติ ขณะที่กอ้ นหนิ รถยนตไ์ มใ่ ชส่ ่งิ มชี วี ติ
แต่การให้นิยามของส่ิงมีชีวิต (Living Organism) ในทางชวี วิทยาไมส่ ามารถทาํ ไดด้ ้วยการใหค้ วามหมาย
ท่ีครอบคลุมในหนง่ึ ประโยค นกั ชีววิทยาจึงเลือกใช้ลักษณะรว่ มกันหลายๆ ลกั ษณะของส่งิ มีชีวิตในการพจิ ารณา
วา่ เป็นสิ่งมีชีวติ หรอื ไม่ ลกั ษณะของสงิ่ มีชวี ิตมีหลายประการ ตวั อยา่ งเช่น

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27 _______________________________ วิทยาศาสตร์ ชีววิทยา (105)

1. สิ่งมีชวี ิตประกอบขึ้นจากเซลล์ซง่ึ เปน็ หน่วยพน้ื ฐานของสิ่งมชี วี ติ
2. สง่ิ มชี วี ิตมีการจัดระบบภายในร่างกาย (Organization)
3. สิ่งมีชีวิตมีกลไกในการรักษาดุลยภาพภายในรา่ งกายและมีความต้องการพลงั งาน
4. สง่ิ มชี ีวิตมีการตอบสนองต่อส่ิงเร้า (Respond to stimuli)
5. ส่ิงมชี วี ติ มีการสบื พนั ธ์ุ (Reproduction)
6. ส่งิ มีชวี ติ มีการเติบโต (Growth) และการเจรญิ (Development)
7. ส่งิ มชี วี ิตมีการถา่ ยทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรม (Genetic Inheritance)
8. ส่ิงมีชีวิตมีการวิวฒั นาการ (Evolution) เมอ่ื อยู่ในสภาพแวดลอ้ มทีเ่ ปลย่ี นแปลงไป

การจัดลําดับข้ันในทางชวี วทิ ยา (Biological Organization)
วทิ ยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (106) ________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27

กระบวนการทางวิทยาศาสตร (Scientific Process)

เนื่องจากวิชาชวี วิทยาจดั เปน็ วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งทีส่ ําคัญ ดงั นน้ั การเขา้ ใจถึงระเบยี บและวิธกี ารศึกษา
ทางวทิ ยาศาสตรจ์ งึ มีความจาํ เปน็ ตอ่ การศกึ ษาทางชีววทิ ยา กระบวนการการสืบสวนอยา่ งมีระบบตา่ งๆ ผา่ นการ
สงั เกตและการตง้ั คําถามนี้ เรียกวา่ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Method) ซ่ึงประกอบข้ึนด้วย
ข้ันตอนตา่ งๆ

การสงั เกต (Observation)

การตงั้ คาํ ถาม (Asking question)

การต้งั สมมติฐาน (Hypothesis formulation)

การตรวจสอบสมมตฐิ าน (Hypothesis testing)

การสรปุ ผลการทดลอง (Conclusion)
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Process)
ตัวแปร (Variables) ของการทดลองสามารถแบ่งออกไดเ้ ปน็ 3 ชนดิ คือ
1. ตวั แปรต้น (Independent Variables) – ตัวแปรทเ่ี ป็นอสิ ระในการทดลอง ซึง่ โดยท่วั ไปมกั จะเปน็
ตวั แปรที่นกั วิทยาศาสตรส์ นใจจะศึกษาผลท่ีเกดิ ขนึ้ จากตัวแปรตน้ ชนิดน้ี
2. ตวั แปรตาม (Dependent Variables) – ตัวแปรท่เี ปลีย่ นแปลงไปตามตวั แปรต้น
3. ตวั แปรควบคมุ (Controlled Variables) – ตัวแปรทีใ่ ช้ในการควบคุมการทดลองให้คงที่ เพ่ือทีจ่ ะ
สามารถเปรียบเทียบความแตกตา่ งของปจั จัยต่างๆ ได้อย่างรดั กุมมากขน้ึ

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27 _______________________________ วทิ ยาศาสตร์ ชวี วิทยา (107)

ตัวอยา่ งเช่น การศกึ ษาผลของปยุ๋ ชนดิ A B และ C ท่มี ผี ลตอ่ ความสูงเฉล่ียของตน้ ถว่ั เขยี วเมอ่ื เพาะเป็น
เวลา 30 วนั จากการทดลองน้ีจะพบว่าตัวแปรต้นของการทดลอง คือ ชนิดของปุ๋ย เน่ืองจากนกั วทิ ยาศาสตร์
สามารถปรับเปลย่ี นและจดั การตวั แปรเหล่านไ้ี ด้ (Manipulation) สว่ นความสงู เฉล่ยี ของตน้ ถ่ัวเขียวเมอ่ื เพาะ
เป็นเวลา 30 วนั จะเปน็ ตวั แปรตามของการทดลอง สาํ หรับตวั แปรควบคมุ ของการทดลองนี้อาจจะเป็นปัจจยั
อื่นๆ ทนี่ อกเหนือจากปยุ๋ ตวั อยา่ งเชน่ ชนิดของพนั ธุถ์ ัว่ เขียว แหล่งทม่ี าของดนิ ปรมิ าณนาํ้ หรือปรมิ าณแสง เปน็ ต้น
ซง่ึ ปจั จยั เหลา่ นี้จําเปน็ จะต้องควบคุมใหใ้ กล้เคยี งหรอื เหมอื นกนั มากท่สี ดุ เพอ่ื ใหส้ ามารถเปรียบเทยี บผลของปุ๋ย
ไดเ้ หมาะสมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทีส่ ุด

กลองจลุ ทรรศน (Microscope)

กล้องจุลทรรศน์ (Microscope) เปน็ เครอ่ื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการศกึ ษาเซลล์ เนอ้ื เยอ่ื หรือสงิ่ มชี วี ติ ขนาดเล็ก
แบ่งออกเปน็ 2 แบบ ตามแหลง่ กาํ เนิดแสง คอื

1. กลอ้ งจลุ ทรรศน์แบบใชแ้ สง (Light microscope)
2. กล้องจลุ ทรรศน์อิเลก็ ตรอน (Electron microscope) – กล้องจุลทรรศนท์ ่มี ีกาํ ลังขยายสูง

1.1 กล้องจุลทรรศนอ์ เิ ลก็ ตรอนแบบส่องกราด (SEM)
- ภาพทเ่ี ห็นเป็นภาพ 3 มติ ิ นิยมใช้ในการศึกษาพืน้ ผวิ ของเซลลห์ รือโครงสร้างตา่ งๆ

1.2 กล้องจุลทรรศนอ์ ิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน (TEM)
- ภาพที่เห็นเป็นภาพ 2 มติ ิ นิยมใช้ในการศกึ ษาโครงสรา้ งภายในของเซลล์

ข้อสังเกตเพิม่ เตมิ เกีย่ วขอ้ งกับกลอ้ งจุลทรรศนแ์ บบใชแ้ สง
- กาํ ลงั ขยายของกลอ้ งจลุ ทรรศน์ = กาํ ลังขยายของเลนสใ์ กลต้ า × กาํ ลงั ขยายของเลนสใ์ กลว้ ัตถุ
- กําลงั ขยายภาพเพิ่มขน้ึ มุมมองของภาพจะแคบลง แตถ่ า้ กําลังขยายภาพลดลง มมุ มองของภาพจะ
กว้างขึน้ ดังน้ันเม่อื ต้องการคํานวณภาพทีเ่ กดิ จากกล้องจุลทรรศนจ์ ึงต้องใช้บญั ญตั ิไตรยางศส์ ่วนกลับในการคดิ
- ภาพท่ีเกิดข้ึนจากกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงจะมีลักษณะกลับซ้ายเป็นขวา กลับบนเป็นล่าง ดังนั้น
ถ้าเล่ือนสไลด์ไปทางขวาภาพที่เห็นในกล้องจุลทรรศน์ก็จะเล่ือนไปทางซ้าย ทํานองเดียวกันถ้าเล่ือนสไลด์ไป
ทางดา้ นบนภาพท่ีเห็นจะเลอื่ นมาด้านล่าง
- กล้องจุลทรรศน์สเตอริโอ (Stereomicroscope) เป็นกล้องจุลทรรศน์ที่มีกําลังขยายต่ํากว่า
กลอ้ งจุลทรรศน์แบบใชแ้ สงธรรมดา ภาพท่เี ห็นจะเปน็ ภาพเสมอื นหัวตั้งและเป็นภาพสามมิติ จึงเหมาะกับการใช้
ในการผา่ ตดั สตั วห์ รือสง่ิ มชี ีวิตขนาดเล็ก

วทิ ยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (108) ________________________________โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปที ่ี 27

โครงสร้างของกล้องจุลทรรศน์แบบใชแ้ สง
โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปีที่ 27 _______________________________ วทิ ยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (109)

แนวขอ สอบ

ความรพู ื้นฐานทางชวี วิทยา

จงเลือกคาํ ตอบท่ีถกู ตอ้ งทสี่ ุด

1. ส่วนทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การเกิดภาพของกลอ้ งจุลทรรศน์แบบใชแ้ สงคือขอ้ ใด
ก. เลนส์รวมแสง
ข. เลนส์ใกล้ตา
ค. ปุม่ ปรบั ภาพ
ง. ลํากล้อง

1) ก. และ ข.
2) ข. และ ค.
3) ค. และ ง.
4) ก. และ ง.
2. จากภาพ

ชุดการทดลองใดท่ีตอ้ งการทดสอบวา่ นาํ้ และออกซิเจนเป็นปจั จยั ทีม่ ีผลตอ่ การงอกเมล็ดหรอื ไม่ ตามลําดับ
1) ก. กับ ข. และ ก. กบั ค.
2) ก. กับ ข. และ ก. กบั ง.
3) ก. กับ ค. และ ก. กบั จ.
4) ก. กับ ง. และ ก. กบั จ.

วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (110) ________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27

3. ส่ิงทกี่ ลอ้ งจลุ ทรรศน์ใชแ้ สงแบบสเตอริโอแตกตา่ งจากกล้องจลุ ทรรศนใ์ ชแ้ สงแบบธรรมดา คอื ข้อใด
ก. ใช้ศกึ ษาได้ท้ังวัตถุโปรง่ แสงและทึบแสง
ข. เลนส์ใกลว้ ัตถุมกี ําลงั ขยายนอ้ ยกว่า 4X
ค. ภาพทเ่ี หน็ เปน็ ภาพ 3 มิติ และเป็นภาพจริง

1) ก.
2) ก. และ ข.
3) ข. และ ค.
4) ก., ข. และ ค.
4. วธิ กี ารศึกษาเซลลแ์ ละการใชอ้ ปุ กรณ์ในการศกึ ษา ขอ้ ใดใชไ้ ด้อยา่ งเหมาะสมท่ีสดุ
1) เตรยี มตัวอย่างสด (Wet Mount) ของโปรโตซวั ส่องด้วยกลอ้ งจุลทรรศน์แบบใชแ้ สง (Light Microscope)
2) ตัดภาคตัดขวางรังไข่พืชดอกเพื่อศกึ ษาสณั ฐานวิทยา ด้วยกลอ้ งจอมดื (Dark-field Microscope)
3) เกล่ียบาง (Smear) จุลนิ ทรีย์บนสไลด์ ส่องด้วยกลอ้ งจุลทรรศน์สเตริโอ (Stereomicroscope)
4) เกลย่ี บาง (Smear) เซลล์เม็ดเลือด สอ่ งดว้ ยกลอ้ งฟลูออเรสเซนส์ (Fluorescence Microscope)

โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ี่ 27 _______________________________ วทิ ยาศาสตร์ ชวี วิทยา (111)

NOTE

วทิ ยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (112) ________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ่ี 27

การประสานงานในรา งกาย

บทนาํ เร่ืองระบบประสาท (Introduction to Nervous System)

ระบบท่ีทาํ หน้าที่หลักในการควบคมุ การทาํ งานของร่างกายให้เกิดข้ึนได้อย่างสมบูรณ์ มี 2 ระบบ คอื

1. ระบบประสาท (Nervous System) ระบบประสานงาน (Coordinating System)
2. ระบบต่อมไร้ทอ่ (Endocrine System)

ความแตกตา่ งของการตอบสนองของระบบประสาทกบั ระบบตอ่ มไร้ทอ่ สามารถสรุปไดด้ งั ตาราง

ขอ้ เปรยี บเทียบ ระบบประสาท ระบบตอ่ มไร้ทอ่
รูปแบบการสอื่ สาร กระแสไฟฟา้ และสารเคมี สารเคมี
ความเร็วในการตอบสนอง ตอบสนองต่อสง่ิ เร้ารวดเรว็
ระยะเวลาในการตอบสนอง ตอบสนองเป็นระยะเวลาสั้น ตอบสนองต่อสงิ่ เรา้ ชา้
สารเคมีที่ใชใ้ นการสอื่ สาร ตอบสนองเปน็ ระยะเวลานานกว่า
สารสอื่ ประสาท
ฮอรโ์ มน

การตอบสนองตอ่ สิง่ เร้าของระบบประสาท (Reflex Arc) สามารถสรุปไดด้ ังนี้

แผนภาพสรปุ การตอบสนองตอ่ สิง่ เรา้ ของระบบประสาท
โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27 _______________________________ วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (113)

เซลลประสาท (Neuron)

เซลล์ประสาท (Neuron) เป็นเซลล์ท่ีทําหนา้ ท่หี ลักในระบบประสาท ประกอบด้วยตวั เซลล์ (Cell Body
หรือ Soma) ซึง่ ทําหน้าที่ในการควบคมุ การทาํ งานภายในเซลลป์ ระสาทและสรา้ งสารสื่อประสาท (Neurotransmitter)
และสว่ นที่เปน็ แขนงย่ืนออกจากตัวเซลล์ (Processes) ซ่งึ มี 2 ชนดิ คอื เดนไดรต์ (Dendrite) เปน็ สว่ นท่ี
ทาํ หน้าที่ในการรบั กระแสประสาทเขา้ มาภายในตวั เซลล์ ขณะทส่ี ว่ นของแอกซอน (Axon) จะเก่ยี วขอ้ งกับการ
เกดิ กระแสประสาทและส่งกระแสประสาทตอ่ ไปยังเซลลอ์ ่ืนๆ บรเิ วณปลายสดุ ของแอกซอนจะมีลักษณะโป่งออก
เปน็ กระเปาะ เรียกวา่ Synaptic Terminal ซึ่งเปน็ บรเิ วณทเ่ี กดิ การไซแนปส์ไปยงั เซลล์ถดั ไป

แอกซอนของเซลลป์ ระสาทในสตั วม์ ีกระดกู สนั หลังจะสามารถแบ่งออกไดเ้ ป็น 2 รูปแบบหลกั คอื
1. แอกซอนทไ่ี มม่ ีเยื่อหมุ้ ไมอลี ิน (Nonmyelinated Axon)
2. แอกซอนท่ีมีเยื่อหุ้มไมอีลิน (Myelinated Axon) – สง่ กระแสประสาทไดเ้ รว็ กวา่

โครงสรา้ งของเซลล์ประสาทหลายข้วั ในร่างกาย
เซลล์ประสาทสามารถแบ่งออกได้เปน็ 3 ชนดิ ตามรูปรา่ ง คอื
1. เซลลป์ ระสาทขัว้ เดยี ว (Pseudounipolar Neuron)

- มแี ขนงแยกออกมาจากตวั เซลล์เพียง 1 อันแล้วจึงคอ่ ยแยกออกไปเป็น Dendrite และ Axon
- พบในเซลล์ประสาทรบั ความรสู้ กึ ท่อี ยู่ในปมประสาทรากบนไขสนั หลงั (Dorsal Root Ganglion)
2. เซลลป์ ระสาทสองข้ัว (Bipolar Neuron)
- มแี ขนงแยกออกมาจากตัวเซลล์ 2 อนั คือ Dendrite และ Axon อย่างละ 1 อนั
- พบในเซลล์ในชนั้ เรตนิ า (Retina) ในตา เซลล์รบั กล่นิ (Olfactory Cell) ในโพรงจมกู
3. เซลล์ประสาทหลายข้วั (Multipolar Neuron)
- เซลล์ประสาทที่พบมากในร่างกายมี Dendrite แยกออกมาจาํ นวนมาก โดยทวั่ ไปมักมี 1 Axon
- พบในระบบประสาทส่วนกลางเปน็ หลกั (สมองและไขสนั หลัง)

วิทยาศาสตร์ ชีววิทยา (114) ________________________________โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปีที่ 27

ชนดิ ของเซลลป์ ระสาทแบบต่างๆ (แบง่ ตามรูปรา่ ง)

ศักยไฟฟา เยื่อเซลล (Membrane Potential)

เซลล์สัตว์ทุกชนิดมีความแตกต่างของประจุไฟฟ้าระหว่างภายในเซลล์กับภายนอกเซลล์ ทั้งน้ีเน่ืองจาก
องค์ประกอบของของเหลวภายในเซลล์และภายนอกเซลล์มีปริมาณไอออนแต่ละชนิดที่แตกต่างกันออกไป
ตัวอย่างเช่น ในสภาวะปกติเซลล์ประสาทจะมี Na+ อยู่ด้านนอกเซลล์มากกว่าภายในเซลล์ และจะมี K+
อยภู่ ายในเซลล์มากกว่าภายนอกเซลล์ ดังนั้นโดยทั่วไป Na+ จึงมีแนวโน้มจะแพร่เข้ามาภายในเซลล์ ขณะที่ K+
มีแนวโน้มที่จะแพร่ออกนอกเซลล์ ผ่านทางโปรตีนบนเยื่อหุ้มเซลล์ที่มีลักษณะเป็นช่อง (Passive Channel)
อย่างไรก็ตามเซลลป์ ระสาทสามารถรกั ษาความเขม้ ข้นไอออนน้ไี ด้โดยอาศัยการทาํ งานของ Na-K Pump ในการ
ปั๊มเอา Na+ ออกไปภายนอกเซลล์ และนํา K+ เข้ามาสะสมไว้ภายในเซลล์ในสัดส่วน 3Na+ : 2K+ ผ่านการใช้
พลงั งานในรปู ของ ATP (Active transport)

ในสภาพปกติท่ีเซลล์ประสาทไม่ถูกกระตุ้นจะมีศักย์ไฟฟ้าเยื่อเซลล์ในระยะพัก (Resting Membrane
Potential) ประมาณ -70 mV โดยภายในเซลล์จะมีค่าเป็นลบเมื่อเทียบกับภายนอกเซลล์ ท้ังนี้เพราะเหตุผล
2 ประการ คอื

1. K+ ทอี่ ยู่ภายในเซลล์จะรั่วออกนอกเซลล์ผา่ นทาง K+ Leak Channel ซึง่ มจี ํานวนมากกว่า Na+
Passive Channel ทใี่ ห้ Na+ จากภายนอกไหลเข้ามาในเซลล์ ดังนนั้ เมื่อคดิ สุทธิแลว้ เซลลจ์ งึ มกี ารสญู เสีย
ประจุบวกไปจาก K+ มาก จงึ ทําใหภ้ ายในเซลล์มีประจุเปน็ ลบ

2. โปรตีนและกรดนวิ คลีอิกทอ่ี ยู่ภายในเซลล์มปี ระจเุ ป็นลบและไม่สามารถเคล่ือนออกไปนอกเซลล์ได้ จงึ ส่งผล
ใหภ้ ายในเซลลม์ ปี ระจุเป็นลบเม่ือเทยี บกบั ภายนอกเซลล์

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 _______________________________ วิทยาศาสตร์ ชีววิทยา (115)

สภาพของแอกซอนเซลลป์ ระสาทในระยะพกั (Resting Membrane Potential)

การสงกระแสประสาทภายในเซลล (Action Potential)

กระแสประสาท (Action Potential หรือ Nerve Impulse) มขี ้ันตอนการเกดิ สรปุ ได้ดังนี้
1. ในสภาวะปกตทิ ยี่ งั ไม่มสี ิ่งเรา้ มากระต้นุ ประตูโซเดยี ม (Sodium Channel) และประตูโพแทสเซยี ม
(Potassium Channel) ปดิ มเี พยี ง Passive Channel ท่ีเปิดอยู่ ดังทีไ่ ด้กล่าวมาแลว้ ในตอนต้น ดงั นัน้
ไอออนของ Na+ และ K+ จะอยูใ่ นสภาวะสมดุล
2. สิง่ เร้าท่ีมากระตุน้ เซลลป์ ระสาทเม่ือมีความแรงถงึ ระดับ threshold level จะกระต้นุ ใหเ้ ซลลป์ ระสาท
เกิดการ Depolarization ขน้ึ โดยทําใหป้ ระตูโซเดียม (Sodium Channel) เปิด สง่ ผลให้ Na+ จากภายนอกเซลล์
ไหลเขา้ มาภายในเซลลป์ ระสาทมากข้ึน ภายในเซลล์ประสาทจึงมีประจุเปน็ บวกเมอ่ื เทยี บกบั ภายนอกเซลล์
3. หลงั จากที่ประตโู ซเดยี มเปดิ ไปสักพักก็จะปิดลง ขณะท่ีประตูโพแทสเซยี ม (Potassium Channel)
จะเปิดแทน ทําให้ K+ ท่ีมมี ากอยู่ในเซลล์เกดิ การไหลออกนอกเซลลม์ ากขน้ึ ภายในเซลลจ์ งึ มีความเป็นลบมากขึ้น
เรยี กระยะนีว้ ่า Repolarization
4. เนือ่ งจากประตโู พแทสเซยี มปิดชา้ กวา่ ประตูโซเดยี ม ดงั นน้ั จงึ ทําใหเ้ ซลล์ประสาทสูญเสยี K+ ออกไป
มากกวา่ ปกติ และทาํ ให้ศกั ยไ์ ฟฟ้าภายในเซลล์มคี า่ เป็นลบมากกวา่ ในระยะพกั เรียกระยะนี้ว่า Hyperpolarization
แตใ่ นทา้ ยที่สุดศักยไ์ ฟฟ้าเยือ่ เซลลจ์ ะกลบั เขา้ สู่สภาวะพักใหม่อกี ครัง้ เน่อื งจาก Na-K Pump ท่ีทาํ งานอยู่
ตลอดเวลาจะปรับความเข้มขน้ ของไอออนใหเ้ ขา้ ส่สู ภาวะสมดุลได้

วิทยาศาสตร์ ชวี วิทยา (116) ________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ่ี 27

การเปลี่ยนแปลงของไอออนตา่ งๆ ขณะเกดิ การสง่ กระแสประสาท
ขอ้ สังเกตเพิ่มเตมิ : Na-K Pump จะทาํ งานตลอดเวลารวมถึงขณะท่ีเกิดการสง่ กระแสประสาท (Action
Potential)
ปจั จยั ท่มี ีผลตอ่ ความเร็วในการส่งกระแสประสาท
1. เสน้ ผา่ นศนู ย์กลางของแอกซอน

- แอกซอนทม่ี ีขนาดเสน้ ผ่านศูนย์กลางใหญ่จะมคี วามเรว็ ในการสง่ กระแสประสาทมาก
2. การมีและการไม่มีเย่ือหุ้มไมอลี ิน

- แอกซอนที่มเี ยือ่ ห้มุ ไมอลี นิ หมุ้ (Myelinated Axon) จะมคี วามเร็วในการสง่ กระแสประสาทมากกวา่
แอกซอนที่ไมม่ เี ยื่อหุ้มไมอีลนิ (Nonmyelinated Axon)

3. ระยะหา่ งระหวา่ ง Node of Ranvier ในแอกซอนทมี่ ีเยื่อหุ้มไมอลี นิ
- ระยะหา่ งระหวา่ ง Node of Ranvier ยงิ่ มาก ความเรว็ ในการส่งกระแสประสาทยง่ิ เพมิ่ มากขึน้

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27 _______________________________ วิทยาศาสตร์ ชวี วิทยา (117)

การไซแนปส (Synapse)

เมื่อกระแสประสาทเคล่ือนมายังบรเิ วณปลายสุดของแอกซอน และจะสง่ ตอ่ ไปยงั เซลลถ์ ดั ไป กระบวนการสง่
กระแสประสาทระหว่างเซลล์นี้ เรียกว่า การไซแนปส์ (Synapse) ซึง่ จะมอี งคป์ ระกอบสาํ คัญสามสว่ น คอื
เซลล์ประสาทกอ่ นการไซแนปส์ (Presynaptic Cell) ช่องวา่ งท่เี กดิ การไซแนปส์ (Synaptic Cleft) และ
เซลล์ประสาทหลงั การไซแนปส์ (Postsynaptic Cell) ซ่ึงอาจจะเป็นเซลลป์ ระสาทหรือเซลลก์ ล้ามเนอื้ หรอื
ตอ่ มไร้ทอ่ ก็ได้ การไซแนปส์สามารถเกิดขึ้นได้ 2 แบบหลัก คือ การไซแนปส์ไฟฟา้ (Electrical Synapse) และ
การไซแนปส์เคมี (Chemical Synapse) สรุปไดด้ งั ตาราง

ขอ้ เปรียบเทยี บ การไซแนปส์ไฟฟา้ การไซแนปส์เคมี
เซลลท์ พ่ี บในรา่ งกาย เซลลก์ ล้ามเนื้อหวั ใจ กลา้ มเน้ือเรียบ เซลล์ประสาททั่วไปในรา่ งกาย
บรเิ วณทเี่ กดิ การไซแนปส์
ตัวกลางในการสง่ สัญญาณ บริเวณ Gap Junction บริเวณ Synaptic Cleft
สญั ญาณประสาทส่งตอ่ ได้โดยตรง ส่งสญั ญาณผ่านสารส่อื ประสาท
ข้อดี
ข้อเสีย เกดิ ขน้ึ ได้รวดเร็ว การควบคุมมีประสิทธิภาพดี
การควบคุมมีประสิทธิภาพตํา่ เกดิ ขนึ้ ไดช้ ้า

ขน้ั ตอนของการเกดิ การไซแนปส์เคมี (Chemical Synapse) ผา่ นสารสอ่ื ประสาท

ตวั อย่างของสารสอ่ื ประสาท เช่น อะซีติลโคลีน (acetylcholine) ซงึ่ มีบทบาทในการกระตุ้นการทาํ งาน
ของกล้ามเนอ้ื ยดึ กระดกู แตจ่ ะมีผลยับยง้ั การเตน้ ของหัวใจ ขณะทนี่ อร์เอพเิ นฟรนิ (norepinephrine) จะมผี ล
ต่อการกระตนุ้ อตั ราการเตน้ ของหัวใจ หรอื ในกรณขี องเอนดอร์ฟิน (endorphine) ซ่งึ เป็นสารส่ือประสาททช่ี ว่ ย
ใหร้ ่างกายมีความสขุ มากขน้ึ ลดความเจ็บปวด ดงั น้นั จะเห็นได้วา่ ชนดิ ของสารสอ่ื ประสาทและชนดิ ของเซลล์
ทเี่ ป็น postsynaptic cell จะมผี ลตอ่ การตอบสนองของ postsynaptic cell ได้

วทิ ยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (118) ________________________________โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27

ระบบประสาทในสัตวก ลมุ ตา งๆ

1. ไนดาเรีย (Cnidaria) มรี ะบบประสาทประกอบดว้ ยเซลลป์ ระสาทเช่ือมตอ่ กนั เปน็ ร่างแห (Nerve Net)
ใชก้ ารสง่ กระแสประสาทแบบ Electrical Synapse ไมม่ ีศนู ย์กลางการควบคมุ การทาํ งาน

2. เอไคโนเดริ ม์ (Echinoderm) ระบบประสาทมศี นู ยก์ ลางการทํางานอยทู่ ีว่ งแหวนประสาท (Nerve Ring)
และเช่ือมต่อกบั เสน้ ประสาทหลักทีแ่ ยกออกมาตามแขนดาวทะเล (Radial Nerve)

3. หนอนตวั แบน (Flatworm) เร่มิ มีการรวมกลุม่ ของเซลลป์ ระสาทเป็นปมประสาท (Ganglion) บรเิ วณหวั
มีเสน้ ประสาท 2 เส้นหลกั ตามแนวยาวของลาํ ตวั (Longitudinal Nerve Cord) และมีเสน้ ประสาท Transverse
Nerve ลอ้ มรอบ เรยี กระบบประสาทแบบนี้ว่าเป็นแบบขน้ั บันได (Ladder-Type Nervous System)

4. แอนเนลดิ (Annelid) และอาร์โทรพอด (Arthropod) มีการพัฒนาของสมองมากขึ้น และมปี ม
ประสาทอยตู่ ามบรเิ วณขอ้ ปลอ้ งต่างๆ ของร่างกาย

5. มอลลสั ก์ (Mollusk) กลมุ่ ทไี่ ม่ค่อยมีการเคลอ่ื นท่จี ะมีระบบประสาทท่ยี งั ไมพ่ ฒั นาดี ขณะที่กลุม่ ท่มี ี
การเคล่อื นทมี่ าก เชน่ หมกึ ซึง่ มีการดาํ รงชีวิตแบบผู้ล่าจะมกี ารพัฒนาของสมองและอวัยวะรับสมั ผสั ดีมาก

6. สตั วม์ ีกระดกู สนั หลัง (Vertebrate) การพฒั นาของระบบประสาทส่วนกลาง (สมอง) ดีมากและ
มเี ส้นประสาทเป็นท่อกลวงอยทู่ างดา้ นหลงั (Dorsal Hollow Nerve Cord)

ระบบประสาทในสตั ว์กลมุ่ ต่างๆ

โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27 _______________________________ วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (119)

ภาพรวมของระบบประสาทมนุษย (Overview of Human Nervous System)

ระบบประสาท

ระบบประสาทส่วนกลาง ระบบประสาทรอบนอก

สมอง ไขสันหลงั ส่วนท่ีทําหน้าท่ีรับความรู้สึก ส่วนท่ีทําหนา้ ที่ตอบสนอง

ระบบประสาทโซมาติก ระบบประสาทอัตโนวตั ิ

ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก ระบบประสาทซิมพาเทติก

ระบบประสาทสว นกลาง (Central Nervous System : CNS)

สมองมนษุ ย์ (รวมถึงสตั วม์ กี ระดกู สนั หลัง) แบ่งออกไดเ้ ปน็ 3 สว่ น คอื
1. สมองสว่ นหนา้ (Forebrain) – ซรี บี รัม (Cerebrum) ทาลามสั (Thalamus) ไฮโพทาลามสั
(Hypothalamus) และออลแฟคทอรีบลั บ์ (Olfactory Bulb)
2. สมองส่วนกลาง (Midbrain) – ออพติก โลบ (Optic Lobe) ในสัตวม์ กี ระดกู สันหลงั ทม่ี วี ิวฒั นาการตา่ํ
3. สมองสว่ นหลัง (Hindbrain) – ซรี เี บลลัม (Cerebellum) พอนส์ (Pons) และเมดัลลา (Medulla)
บทบาทของสมองส่วนต่างๆ สามารถสรปุ ไดด้ งั ตารางต่อไปน้ี

สว่ นของสมอง บทบาทและหนา้ ท่ี
Cerebrum ส่วนทม่ี ีขนาดใหญท่ ี่สดุ แบ่งออกเป็นสมองซีกซา้ ยและขวา มบี ทบาทดังนี้
1. การเรยี นรู้ (Learning) – ความคดิ ความจาํ ความสามารถในเชิงวเิ คราะห์
Olfactory Bulb 2. การรับความรู้สกึ (Sensation) – การมองเหน็ การดมกลิน่ การได้ยิน การสมั ผสั
Hypothalamus 3. การควบคุมการทํางานของกล้ามเนอ้ื (Muscle Movement) การพูด
4. เกีย่ วขอ้ งกับอารมณ์และความรู้สกึ (Emotion)
Thalamus
เกีย่ วขอ้ งกับการดมกล่ิน ในปลาจะพฒั นาดแี ต่ในมนษุ ยส์ มองส่วนนจี้ ะลดรปู ไป

1. ควบคุมอุณหภูมิในร่างกาย (Thermoregulation) และความเข้มข้นของเลอื ด
2. ควบคุมความดนั เลือด (Blood Pressure) และการเตน้ ของหัวใจ
3. ควบคมุ ความตอ้ งการพื้นฐาน เช่น การกระหายนา้ํ ความหิว ความตอ้ งการทางเพศ
4. สร้างฮอรโ์ มนประสาท (Neurohormone) เชน่ ADH หรือ Oxytocin เป็นตน้

ศนู ยร์ วบรวมกระแสประสาทท่เี ข้ามาในสมอง แลว้ กระจายไปยังสว่ นตา่ งๆ ของ
สมอง (สตั วเ์ ล้ยี งลกู ด้วยนม – สญั ญาณประสาทจาก Olfactory Receptor
จะไม่ผ่านทาลามัส)

วทิ ยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (120) ________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปีท่ี 27

ส่วนของสมอง บทบาทและหน้าที่
Midbrain (optic lobe) สัตวม์ กี ระดูกสนั หลังทม่ี วี วิ ฒั นาการตาํ่ – เกย่ี วข้องกบั การมองเห็น
Cerebellum มนษุ ย์ – เก่ยี วขอ้ งกับการเคลอื่ นไหวของลูกตา และการเปิด-ปดิ ของรมู ่านตา
Pons
1. ประสานงานการเคลอ่ื นไหวที่ละเอียดออ่ นของร่างกายให้ราบรื่นและเทีย่ งตรง
Medulla oblongata 2. ควบคมุ การทรงตวั ของรา่ งกาย (balancing)

1. ควบคุมการเค้ียว การหลง่ั นาํ้ ลาย และการเคลอื่ นไหวของใบหน้า
2. ควบคมุ การหายใจ ทํางานร่วมกับสมองสว่ นเมดัลลา
3. ทางผ่านของกระแสประสาทระหวา่ ง Cerebrum, Cerebellum และไขสันหลัง

1. ควบคมุ การเต้นของหัวใจและความดันเลอื ด
2. ควบคมุ การหายใจ (Respiratory Center)
3. ควบคุมการกลืน การจาม การสะอกึ และการอาเจยี น
4. บริเวณที่ไขวก้ นั ในการควบคมุ ของสมองแตล่ ะซกี

* กา้ นสมอง (Brain Stem) ประกอบด้วย เมดลั ลา พอนส์ และสมองสว่ นกลาง
สมองสว่ นหลัง (Hindbrain) ประกอบด้วย เมดลั ลา พอนส์ และซีรีเบลลมั

โครงสร้างของสมองส่วนตา่ งๆ
โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ี่ 27 _______________________________ วทิ ยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (121)

ไขสันหลัง (Spinal Cord) เป็นส่วนหน่ึงของระบบประสาทส่วนกลางท่ีอยู่ต่อมาจากสมองส่วนเมดัลลา
เร่ิมตั้งแต่กระดูกสันหลังท่ีคอข้อแรก ไปจนถึงกระดูกสันหลังท่ีบริเวณเอวคู่ท่ีสอง ส่วนปลายจะเรียวเล็กลง
เหลือเพียงเยื่อหุ้มไขสันหลัง บทบาทของไขสันหลังนอกเหนือจากการรับสัญญาณแล้วส่งไปยังสมองเพ่ือ
ประมวลผลก่อนจะนําสัญญาณกลับมาส่ังการต่อไปแล้ว ไขสันหลังยังมีบทบาทต่อการตอบสนองแบบรีเฟล็กซ์
(Spinal Reflex) ซ่งึ เปน็ การตอบสนองแบบทไี่ มต่ อ้ งผา่ นสมองใช้เพยี งแค่ไขสันหลงั ในการตอบสนองเท่าน้ัน

การตอบสนองแบบรีเฟล็กซท์ ่ีงา่ ยท่ีสดุ คือ Knee-Jerk Reflex ซงึ่ อาศัยเซลลป์ ระสาทเพยี งสองเซลล์
เทา่ น้ัน คือ เซลล์ประสาทรบั ความรูส้ กึ (Sensory neuron) บนปมประสามรากบนไขสนั หลัง กบั เซลล์ประสาทส่ังการ
(Motor Neuron) นอกจากนีย้ ังมกี ารตอบสนองแบบรเี ฟล็กซ์อกี แบบหนง่ึ คือ การดงึ มือหนขี องร้อนหรือ
การดงึ มอื ออกจากวตั ถทุ นั ทีทเี่ กดิ อนั ตราย วงจรรีเฟลก็ ซ์สว่ นนจี้ ะประกอบด้วยเซลลป์ ระสาท 3 เซลล์ คอื เซลล์
ประสาทรบั ความรู้สึก เซลลป์ ระสาทประสานงาน และเซลล์ประสาทส่งั การ ในการทาํ ใหร้ ่างกายเกิดการดงึ มือ
ออกจากวตั ถทุ เ่ี ปน็ อนั ตรายไดท้ นั ที

ระบบประสาทรอบนอก (Peripheral Nervous System : PNS)

เส้นประสาทสมองของมนุษย์ทัง้ 12 คู่ สามารถแบง่ ออกได้เปน็ 3 กล่มุ ตามหน้าที่ คือ
1. เสน้ ประสาทสมองท่ีทําหน้าทรี่ ับความรสู้ กึ (Sensory Nerve) : เส้นประสาทสมองคทู่ ่ี I, II, VIII
2. เสน้ ประสาทสมองทท่ี ําหนา้ ท่สี ัง่ การ (Motor Nerve) : เส้นประสาทสมองคูท่ ่ี III, IV, VI, XI, XII
3. เสน้ ประสาทสมองทท่ี ําหน้าท่ีรบั ความรู้สกึ และส่งั การ (Mixed Nerve) : เสน้ ประสาทสมองค่ทู ี่ V,

VII, IX, X
ตารางสรุปเส้นประสาทสมองและหน้าท่ี

C.N. เสน้ ประสาทสมอง ชนิดเสน้ ประสาท บทบาทหน้าท่ี

I Olfactory Sensory การดมกล่นิ

II Optic Sensory การมองเห็น
III Oculomotor Motor การเคล่อื นไหวของลูกตา

IV Trochlear Motor การเคลอ่ื นไหวของลูกตา

V Trigeminal Mixed การรบั รูแ้ ละตอบสนองของใบหนา้ และฟัน

VI Abducens Motor การเคลื่อนไหวของลูกตา
VII Facial Mixed การรบั รส การหล่ังน้าํ ลาย การเคลื่อนไหวใบหนา้

VIII Auditory Sensory การได้ยินเสียง การทรงตัวของร่างกาย

IX Glossopharyngeal Mixed การรับรส การหล่งั นาํ้ ลาย การควบคุมการกลนื

X Vagus Mixed การรบั รแู้ ละตอบสนองของอวัยวะในร่างกาย
XI Accessory Motor การเคล่ือนไหวของไหล่

XII Hypoglossal Motor การเคลอ่ื นไหวของลนิ้

* เส้นประสาทไขสันหลัง (Spinal Nerve) ของมนษุ ยม์ ี 31 คู่

วิทยาศาสตร์ ชวี วิทยา (122) ________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27

ระบบประสาทรอบนอก (Peripheral Nervous System)

ความแตกต่างของระบบประสาทซมิ พาเทตกิ และพาราซิมพาเทติกสามารถสรุปไดด้ งั ตารางต่อไปนี้

ระบบประสาทแบบซิมพาเทตกิ ระบบประสาทแบบพาราซมิ พาเทตกิ

Preganglionic neuron สนั้ Preganglionic neuron ยาว

Postganglionic neuron ยาว Postganglionic neuron ส้นั

Autonomic ganglion อยู่ใกล้ระบบประสาทส่วนกลาง Autonomic ganglion อยูใ่ กล้หรอื อยู่ในหน่วยตอบสนอง

สารสอ่ื ประสาท Autonomic ganglion – Acetylcholine สารสื่อประสาท Autonomic ganglion – Acetylcholine
สารสอื่ ประสาทที่หน่วยตอบสนอง – Norepinephrine สารสื่อประสาทที่หน่วยตอบสนอง – Acetylcholine

ตอบสนองตอ่ รา่ งกายในภาวะเครียด ตอบสนองตอ่ รา่ งกายในภาวะพัก

การควบคุมการทาํ งานของระบบประสาท Sympathetic และ Parasympathetic จะแตกต่างกันออกไป
ดังตาราง

หน่วยปฏบิ ัติงาน ระบบประสาทซมิ พาเทตกิ ระบบประสาทพาราซมิ พาเทติก

หวั ใจ เต้นเร็วและแรงข้ึน เตน้ ออ่ นและชา้ ลง

แรงดนั เลอื ด เพม่ิ ข้ึน ลดลง

รมู ่านตา ขยาย หดตัว
กระเพาะปสั สาวะ คลายตวั ไมข่ บั ปสั สาวะ หดตัวขบั ปัสสาวะ
การทํางานของกระเพาะและลาํ ไส้
กล้ามเนือ้ เรียบรอบหลอดลมและขัว้ ปอด ลดลง เพมิ่ ขนึ้
ตอ่ มหมวกไตช้นั ใน คลายตัว หดตวั
กระตนุ้ การหลง่ั Epinephrine
ตอ่ มเหงื่อ กระต้นุ การหลั่งเหงื่อ -
ตอ่ มนํา้ ลาย สรา้ งนํ้าลายสว่ นข้นเพิ่ม
การทาํ งานของระบบสบื พนั ธุ์ Ejaculation & Orgasm -
สรา้ งนา้ํ ลายสว่ นใสเพิ่ม

Erection

อวัยวะรบั สัมผสั และการรับความรูสึก

(Sense Organs and Sensory Receptor)

ในมนษุ ยเ์ ซลล์ทีท่ าํ หนา้ ทใี่ นการรบั ความรสู้ กึ อาจอยใู่ นโครงสรา้ งเฉพาะที่เรยี กวา่ อวยั วะรบั สัมผสั (Sense
Organs) ตวั อย่างเช่น เซลลร์ บั แสงในชัน้ เรตินาของตา หรอื เซลลร์ บั แรงกลภายในหู เซลล์รบั ความรสู้ ึก
(Sensory Receptor) เหล่าน้สี ามารถแบ่งออกไดเ้ ป็นหลายกลมุ่ ตามชนิดของสงิ่ เร้าที่มากระต้นุ ดงั น้ี

1. Mechanoreceptor – รบั รูพ้ ลงั งานกล และเปลยี่ นใหอ้ ย่ใู นรปู ของกระแสประสาท
2. Photoreceptor – รบั รพู้ ลังงานแสง และเปล่ียนให้อยู่ในรปู ของกระแสประสาท
3. Chemoreceptor – รับรูส้ ารเคมี และเปลี่ยนให้อยู่ในรูปของกระแสประสาท
4. Thermoreceptor – รับรพู้ ลังงานความร้อน และเปลี่ยนให้อยใู่ นรปู ของกระแสประสาท

โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27 _______________________________ วทิ ยาศาสตร์ ชีววิทยา (123)

หู (Ear)

หูจัดเปน็ อวยั วะหลักทภ่ี ายในมี Mechanoreceptor ท้ังสว่ นท่เี กยี่ วข้องกบั การไดย้ ินเสียงและการทรงตัว
ของรา่ งกาย โครงสรา้ งของหูมนษุ ย์สามารถแบง่ ออกไดเ้ ปน็ 3 สว่ น คือ

1. หูสว่ นนอก (Outer Ear) ประกอบดว้ ย ใบหู (Pinna) อยดู่ ้านนอกสดุ เสียงจะเดนิ ทางเข้ามาภายในรหู ู
(Auditory Canal) ดา้ นในสุดของหูส่วนนอกจะเป็นเยือ่ แก้วหู (Tympanic Membrane) ซึง่ จะเปล่ยี นพลังงาน
เสยี งใหอ้ ย่ใู นรปู ของพลังงานกลโดยการส่นั ภายในรูหจู ะมีการสรา้ งไขมัน (Wax) ออกมาดกั จบั ส่งิ แปลกปลอม
รวมถงึ ป้องกันการตดิ เชือ้ ซง่ึ เมื่อไขมันเหล่าน้ีแห้งลงจะกลายเป็นขีห้ ู

2. หสู ่วนกลาง (Middle Ear) ประกอบด้วย กระดูกหสู ามชน้ิ คอื กระดูกค้อน (Malleus) อยตู่ อ่ จาก
เยื่อแกว้ หูโดยตรง กระดกู ท่ัง (Incus) และกระดกู โกลน (Stapes) อยู่ตดิ กบั ส่วนของหูชั้นใน ซึ่งเมื่อเย่อื แก้วหู
เกดิ การส่นั กระดูกท้ังสามช้นิ นก้ี จ็ ะสนั่ และทาํ หนา้ ทใ่ี นการขยายของเสียงใหส้ งู ขึ้นประมาณ 22 เท่า ก่อนเข้าสู่
หูช้นั ในต่อไป นอกจากน้ียงั มสี ว่ นของทอ่ ยสู เตเชียน (Eustachian tube) ทําหน้าทใ่ี นการปรบั ความดันของสว่ น
ท่ีอยู่หลังเย่ือแกว้ หใู หเ้ ทา่ กับความดันบรรยากาศภายนอก

3. หสู ่วนใน (Inner Ear) แบ่งออกเป็นสองส่วนหลกั ตามหน้าท่ีและการตอบสนอง คอื
3.1 สว่ นทที่ ําหนา้ ทใ่ี นการฟงั เสียง ประกอบดว้ ย ทอ่ คอเคลีย (Cochlea) ซง่ึ ขดเป็นรูปกน้ หอย

ภายในมขี องเหลวทจี่ ะเกดิ การสน่ั สะเทือนเมือ่ มีการเปลีย่ นแปลงของแรงกลขน้ึ ทําให้ของเหลวภายในเกิดการ
หมุนวนและทําให้เซลลร์ ับความรสู้ ึกชนดิ ที่มขี น (Hair Cell) ท่อี ยภู่ ายใน Organ of Corti เกดิ การเปลย่ี นแปลง
และสง่ สญั ญาณประสาทไปยังสมองได้ผา่ นทางเสน้ ประสาทสมองคู่ที่ VIII (Auditory Nerve)

3.2 สว่ นที่ทําหนา้ ท่ีในการทรงตัว ประกอบดว้ ยท่อ Semicircular Canal ซ่ึงเปน็ ท่อครึ่งวงกลม 3
ท่อที่เรยี งตวั ตัง้ ฉากกนั ภายในมขี องเหลวท่ีเรียกว่า Endolymph อยู่ เมอื่ รา่ งกายเกดิ การเปล่ียนแปลงตาํ แหน่ง
ส่วนของ Endolymph จะเกิดการเคลอ่ื นไหว และทําใหเ้ ซลล์ขนรับความรู้สึก (Hair Cell) เกดิ การโบกพัดขึ้น
ทําให้เกิดการส่งกระแสประสาทไปยังสมองไดผ้ ่านทางเสน้ ประสาทสมองคู่ท่ี VIII (Auditory Nerve)

โครงสร้างของหสู ่วนตา่ งๆ ในมนษุ ย์

วทิ ยาศาสตร์ ชวี วิทยา (124) ________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ่ี 27

ตา (Eye)

ตา (Eye) เปน็ อวยั วะหลักทม่ี ี Photoreceptor อยูภ่ ายในสาํ หรับใชใ้ นการตรวจจบั แสง โครงสรา้ งตามนษุ ย์
ประกอบดว้ ย 3 ชน้ั ตามโครงสร้างทางเน้ือเย่อื คือ

1. ช้นั สเคลอรา (Sclera) – ชั้นที่อยู่นอกสุดของลกู ตา
- ชน้ั ท่มี ลี กั ษณะเหนียวแขง็ ประกอบดว้ ยเส้นใยคอลลาเจนจํานวนมาก
- ด้านหน้าสดุ ของชนั้ สเคลอราจะมีลกั ษณะใส เรยี กวา่ กระจกตา (Cornea)
- การผา่ ตดั เปลย่ี นถา่ ยนัยนต์ า คอื การลอกและเปล่ียนถ่ายส่วนของกระจกตา

2. ช้ันคอรอยด์ (Choroid) – ชัน้ ทีอ่ ยตู่ รงกลางของลูกตา
- ชัน้ ทมี่ ีหลอดเลือดและเสน้ ประสาทมาหล่อเล้ียงจํานวนมาก
- บรเิ วณด้านหนา้ จะมกี ารเปลีย่ นแปลงเป็นมา่ นตา (Iris) ซงึ่ มรี งควัตถุอยูท่ าํ ใหเ้ หน็ ตาเป็นสีตา่ งๆ
ตรงกลางเปน็ รทู ่ีใหแ้ สงเขา้ ไปภายในลกู ตาได้ เรียกวา่ รมู ่านตา (Pupil) ใชใ้ นการปรับปริมาณแสง

3. ชน้ั เรตินา (Retina) – ช้ันท่อี ยู่ในสดุ ของลูกตา เป็นบรเิ วณท่ีมเี ซลลร์ ับแสงอยู่
- ประกอบขน้ึ จากเซลล์ที่รับแสง (Photoreceptor) ซงึ่ มี 2 ชนดิ คอื
1. เซลลร์ ูปแทง่ (Rod Cell) – ไวต่อการรับแสงสว่าง ถึงแมจ้ ะอยใู่ นท่ีทีม่ แี สงนอ้ ย แตแ่ ยกสไี มไ่ ด้
2. เซลลร์ ปู กรวย (Cone Cell) – ไวตอ่ การรับแสงน้อยกวา่ แต่จะใชแ้ ยกความแตกตา่ งของสไี ด้

บรเิ วณ Fovea คอื บรเิ วณท่แี สงตกกระทบมากทส่ี ดุ เหน็ ภาพชัดทีส่ ุด พบเฉพาะเพียงเซลลร์ ูปกรวย
(Cone Cell) เทา่ น้นั ขณะทีบ่ รเิ วณ Blind Spot คือ บรเิ วณทีเ่ ม่อื แสงตกบริเวณน้ีจะไม่สามารถเห็นภาพได้
เนื่องจากไมม่ เี ซลล์รับแสงอย่แู ละเปน็ บรเิ วณมี เสน้ ประสาทสมองคูท่ ่ี II (Optic Nerve) อยู่ ซึ่งเส้นประสาท
สมองคนู่ ้ีจะทําหน้าท่เี กย่ี วข้องกับการสง่ กระแสประสาทจากเซลล์รบั แสงไปยังสมอง

โครงสรา้ งของนยั น์ตามนุษย์

โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปีท่ี 27 _______________________________ วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (125)

การปรับปริมาณแสงที่เข้าสู่ลูกตาจะสามารถทําได้โดยการควบคุมผ่านการเปลี่ยนแปลงขนาดรูม่านตา
จากการทาํ งานของกล้ามเน้ือเรียบสองช้ัน โดยช้ันนอกจะเป็นกล้ามเนื้อแนวรัศมี (Radial Muscle) และด้านใน
จะเป็นกล้ามเน้ือวง (Circular Muscle) ซ่งึ กล้ามเน้ือทงั้ สองอันนจ้ี ะทํางานตรงขา้ มกนั ดังน้ี

- ถ้าแสงสว่างภายนอกมาก รูม่านตาจะหดแคบลง เพ่อื ลดปรมิ าณแสงทีเ่ ข้าส่ชู น้ั เรตินาของตา
กลา้ มเนอ้ื วง (Circular Muscle) ที่อยูด่ ้านในหดตวั กลา้ มเนื้อแนวรศั มี (Radial Muscle) ทอ่ี ยู่

ดา้ นนอกคลายตัว
- ถ้าแสงสว่างภายนอกน้อย รูมา่ นตาจะกว้างขึน้ เพ่ือเพิม่ ปริมาณแสงทเ่ี ข้าสู่ช้ันเรตินาของตา
กลา้ มเน้ือวง (Circular Muscle) ที่อยดู่ ้านในคลายตวั กลา้ มเนื้อแนวรศั มี (Radial Muscle) ทอ่ี ยู่

ด้านนอกหดตัว

แผนภาพแสดงการปรบั ขนาดของรมู า่ นตาในสภาวะแสงทต่ี ่างกนั โดยการทาํ งานของกลา้ มเนอ้ื เรยี บ
การปรับรูปร่างของเลนส์ตาจะมีผลต่อการหักเหแสงท่ีเข้ามาภายในตาให้ตกกระทบลงบนเรตินา

(Retina) ไดอ้ ย่างเหมาะสมโดยไมต่ กใกลห้ รอื ไกลเกนิ ไป ดังน้นั เมือ่ วัตถุอยู่ในตาํ แหน่งท่ีต่างกันออกไป เลนส์จึงมี
การปรับเปลี่ยนรูปร่าง ซ่ึงการเปล่ียนแปลงจะขึ้นกับกล้ามเน้ือยึดเลนส์ (Ciliary Muscle) ที่อยู่ทางด้านนอก
เรยี งเปน็ วง และเอ็นยึดเลนส์ (Suspensory Ligament) การเปลย่ี นแปลงสรปุ ได้ดงั น้ี

- เมอ่ื วตั ถอุ ยู่ใกล้ – เลนส์จะตอ้ งโปง่ ออกเพ่อื ปรบั ให้แสงตกใกล้มากข้ึน
กล้ามเนอื้ ยดึ เลนส์ (Ciliary Muscle) จะหดตัว ขณะท่เี อน็ ยึดเลนส์ (Suspensory Ligament) จะหย่อน

- เม่ือวัตถุอยู่ไกล – เลนส์จะต้องแฟบแบนลงเพอื่ ปรบั ใหแ้ สงตกไปไกลข้นึ
กล้ามเน้ือยดึ เลนส์ (Ciliary Muscle) จะคลายตัว ขณะทเ่ี อ็นยึดเลนส์ (Suspensory Ligament) จะตงึ

วทิ ยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (126) ________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ่ี 27

การปรบั ขนาดของเลนสเ์ พอ่ื ใหเ้ หมาะสมกบั ตําแหนง่ ของวัตถุ

การทํางานของเซลล์รับแสงรูปแท่ง (Rod Cell) และเซลล์รับแสงรูปกรวย (Cone Cell)
โครงสรา้ งภายในเซลล์รูปแท่ง (Rod Cell) จะประกอบด้วยแผ่นท่มี ีลักษณะคล้ายเหรยี ญเรียงซอ้ นกนั
เปน็ ตงั้ ๆ โดยเมมเบรนของแตล่ ะเหรยี ญจะประกอบดว้ ย สารสมี ว่ งแดงทีเ่ รียกว่า Rhodopsin ซ่งึ จะประกอบข้ึน
จากโปรตีน Opsin อยรู่ วมกบั สารที่เรยี กวา่ เรตินาล (Retinal) ในสภาวะท่ไี มม่ แี สงเรตินาลจะอย่ใู นรปู ของ
cis-Retinal ซ่ึงจะอยูร่ วมกบั โปรตีน Opsin ตามปกติ แต่เม่ือมแี สงมากระตนุ้ โมเลกุลของเรตนิ าลจะเปลี่ยนไป
อยูใ่ นรูปของ trans-Retinal ซึง่ จะแยกออกจากโปรตนี Opsin และเกิดการสง่ สญั ญาณไปยงั เสน้ ประสาทสมอง
คู่ท่ี II (Optic Nerve) เพื่อประมวลผลต่อไป เมื่อไม่มีแสงโมเลกลุ ของ Retinal จะเปลยี่ นกลับและอยูร่ วมกับ
โปรตนี Opsin ใหก้ ลับมาอยใู่ นรูปของ Rhodopsin ใหมอ่ ีกครงั้
เซลลร์ ูปกรวย (Cone Cell) ในมนุษยแ์ บ่งได้เปน็ 3 ชนิด ตามแมส่ ีของแสง คือ เซลล์รูปกรวยทไี่ วต่อแสง
สีน้าํ เงิน เซลลร์ ูปกรวยท่ไี วตอ่ แสงสีแดง และเซลลร์ ูปกรวยทไี่ วต่อแสงสเี ขียว การทีเ่ ราสามารถเห็นสตี า่ งๆ ได้
มากกวา่ 3 สี เพราะเกิดจากการตอบสนองท่ไี ม่เทา่ กันของเซลล์รปู กรวยแตล่ ะชนดิ ทําให้เกดิ การผสมรวมแสง
เปน็ สีต่างๆ ขึน้

ตารางสรปุ ความแตกต่างของเซลลร์ ูปแท่งและเซลลร์ ูปกรวย

ลกั ษณะเปรยี บเทยี บ เซลล์รูปแท่ง (Rod Cell) เซลลร์ ปู กรวย (Cone Cell)
ความสามารถในการรบั แสง ไวตอ่ แสง ไมไ่ วต่อแสง
ภาพท่ีเกิดขึ้นจากการมองเห็น
ภาพไม่มีสี รายละเอียดภาพไมช่ ดั เจน ภาพมีสเี หน็ รายละเอยี ดภาพ
รงควตั ถภุ ายใน โรดอปซนิ (Rhodopsin) ไอโอดอปซนิ (Iodopsin)
ปรมิ าณท่พี บ 125 ล้านเซลล์ / ตา 1 ขา้ ง 4.5 ลา้ นเซลล์ / ตา 1 ขา้ ง
ชนิดของเซลล์รบั แสง 1 ชนดิ 3 ชนิด ตามแมส่ ขี องแสง

ความผิดปกติของการมองเหน็ สรปุ ได้ดงั น้ี
1. สายตาสน้ั – แสงตกกระทบก่อนถึงชนั้ เรตนิ า – ใช้แว่นสายตาท่ที าํ จากเลนส์เว้า
2. สายตายาว – แสงตกกระทบหลังช้ันเรตินา – ใชแ้ ว่นสายตาทที่ าํ จากเลนสน์ นู
3. สายตาเอยี ง – กระจกตามคี วามโคง้ ไมส่ มาํ่ เสมอ – ใช้แวน่ สายตาทีท่ ําจากเลนสท์ รงกระบอก
4. ตาบอดสี – ความผดิ ปกตจิ ากเซลล์รูปกรวยของสบี างชนดิ ทําใหแ้ ยกความแตกตา่ งของสไี ดไ้ ม่ชัดเจน

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปที ี่ 27 _______________________________ วิทยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (127)

จมกู และการดมกล่ิน (Olfaction)

การดมกลิน่ ของมนษุ ยจ์ ะเกดิ ขน้ึ ในโพรงจมูก โดยจะมเี ซลลท์ เ่ี รียกว่า Olfactory Receptor Cell ทําหน้าท่ี
ในการเป็น Chemoreceptor สําหรับตรวจจับโมเลกลุ ของกลิน่ ตา่ งๆ (มี cilia ยืน่ ออกมาเพื่อเพ่มิ ประสิทธภิ าพ
ในการสมั ผัสกบั โมเลกลุ ของกลน่ิ ) ก่อนจะส่งกระแสประสาทตอ่ ไปยังเส้นประสาทสมองคู่ที่ I (Olfactory Nerve)
แลว้ สง่ ไปยงั Olfactory Bulb ตอ่ ไป

โครงสรา้ งของจมกู กับการดมกล่นิ

ล้ินและการรับรส (Gustation)

การรับรสของมนุษยจ์ ะเกิดขึ้นทบ่ี รเิ วณลิ้น โดยลน้ิ จะมปี ุ่มรบั รส (Papilla) จาํ นวนมากท่ีนนู ขน้ึ มา
ภายในแต่ละป่มุ รบั รสประกอบไปด้วยกลมุ่ เซลล์ทเ่ี รยี งตัวกนั คลา้ ยกับกลบี ผลสม้ เรยี กว่า Taste Bud ซ่งึ ภายใน
Taste Bud นี้จะมเี ซลล์ Taste Cell ทําหนา้ ทเ่ี ป็น Sensory Receptor ในการรับรสตา่ งๆ

ถา้ เปน็ รสเค็ม Taste Cell จะตรวจจบั จาก Na+ รสหวานจะตรวจจับได้จากนํ้าตาลโมเลกลุ เดีย่ ว รสเปรยี้ ว
ตรวจจบั ได้จาก H+ และรสขมจากสารบางอย่าง เชน่ นิโคตนิ ดังน้ันจะเห็นไดว้ า่ การรบั รสของมนุษยน์ ั้น
ไม่ได้เปน็ ไปตามแผนทีแ่ บง่ บริเวณล้นิ เป็นส่วนต่างๆ รบั รสเฉพาะตา่ งกันไป อย่างที่เคยเข้าใจกันมานาน

วิทยาศาสตร์ ชวี วิทยา (128) ________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปที ่ี 27

โครงสร้างของล้นิ ปุม่ รับรส และเซลลร์ ับรส

ผิวหนังและการรบั สมั ผสั

ผวิ หนังนอกเหนือจากจะทําหน้าท่ีในการปกคลมุ ผวิ แลว้ ยังมี Sensory Receptor ท่ที าํ หนา้ ทใ่ี นการรบั
แรงกล (Mechanoreceptor) หลายชนดิ รวมถึงมี Thermoreceptor ทําหนา้ ทีใ่ นการรบั อุณหภมู ดิ ้วย โดยอาจ
เปน็ เพียงแคป่ ลายประสาท (Free Nerve Ending) หรืออาจจะพฒั นาเปน็ โครงสร้างเฉพาะ ตัวอย่างเชน่
Pacinian Corpuscle ท่อี ยลู่ ึกลงไปในผวิ หนงั ทําหน้าท่ใี นการรับแรงกดลึก ขณะท่เี ดนไดรตข์ องปลายประสาท
(Free Nerve Ending) จะรับแรงกดเบาๆ เปน็ ตน้ โครงสร้างของตวั รบั แรงกล (Mechanoreceptor) ชนดิ ตา่ งๆ
สามารถสรุปไดด้ งั ภาพ

โครงสรา้ งของ Mechanoreceptor ชนิดตา่ งๆ บนผวิ หนัง
โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปีท่ี 27 _______________________________ วทิ ยาศาสตร์ ชีววิทยา (129)

ตอมไรทอ และฮอรโ มน (Endocrine System and Hormones)

ฮอร์โมน (Hormone) เป็นสารท่ีสร้างขึน้ จากตอ่ มไร้ท่อและถูกส่งไปยังอวยั วะเปา้ หมาย (Target Organ)
ผา่ นทางระบบหมนุ เวียนเลือด โดยตอ่ มไร้ทอ่ (Endocrine Gland) คือ ต่อมที่ทาํ หน้าท่ใี นการสรา้ งฮอร์โมน
ไม่มที ่อในการหลง่ั สารออกนอกต่อม แต่จะมีหลอดเลือดมาล้อมรอบแทนเพือ่ ให้ฮอรโ์ มนทถี่ กู สรา้ งข้นึ สามารถ
เขา้ สกู่ ระแสเลอื ดและลาํ เลยี งไปยงั อวยั วะต่างๆ ได้ ตอ่ มไร้ทอ่ ในรา่ งกายสามารถแบ่งออกไดเ้ ป็น 2 กลมุ่ หลกั คือ

1. ต่อมไร้ท่อจาํ เปน็ (Essential Endocrine Gland) เป็นตอ่ มไร้ทอ่ ที่รา่ งกายไมส่ ามารถขาดได้ ถ้าขาด
จะทําใหเ้ สียชวี ติ ในทนั ที ได้แก่ ตอ่ มพาราไทรอยด์ ต่อมหมวกไตช้นั นอก และตบั อ่อน

2. ต่อมไรท้ ่อไม่จาํ เป็น (Nonessential Endocrine Gland) เป็นตอ่ มไรท้ อ่ ทเี่ มอ่ื รา่ งกายขาดจะไม่
เสียชีวิตในทันที แต่อาจทาํ ใหเ้ กดิ ความผดิ ปกตแิ ละเสยี ชีวิตได้ในภายหลงั ตวั อย่างเช่น ต่อมใต้สมอง ตอ่ มหมวก-
ไตชนั้ ใน ต่อมไทรอยด์ และตอ่ มไร้ท่ออ่ืนๆ ในรา่ งกาย

ฮอรโ์ มนสามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็น 3 กลุม่ หลักตามโครงสร้างทางชีวเคมี คอื
1. ฮอรโ์ มนท่เี ป็นอนพุ นั ธ์ของกรดอะมิโน ตัวอยา่ งเชน่ ฮอรโ์ มนไทรอกซนิ เอพเิ นฟรนิ และนอรเ์ อพเิ นฟรนิ
2. ฮอร์โมนท่ีเป็นเพปไทด์ขนาดใหญ่ ตวั อย่างเช่น ADH ออกซโิ ทซิน อนิ ซลู ิน กลูคากอน
3. ฮอรโ์ มนทีเ่ ป็นลพิ ดิ (สเตยี รอยด)์ ตวั อย่างเช่น ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตชัน้ นอก ฮอรโ์ มนเพศ
ฮอร์โมนทีเ่ ปน็ Steroid และฮอร์โมนไทรอกซิน จะแพรผ่ า่ นเยอ่ื หมุ้ เซลลโ์ ดยตรงและเข้าไปจบั กับตัวรบั
ทอ่ี ยูภ่ ายในเซลล์ (Intracellular Receptor) ขณะทฮ่ี อรโ์ มนขนาดใหญอ่ นื่ ๆ จะไม่สามารถแพร่ผา่ นเยอ่ื หมุ้ เซลล์
ไดโ้ ดยตรงจะต้องจบั กับตวั รบั ท่ีอยบู่ นเยอ่ื หุม้ เซลล์ (Membrane Receptor) แล้วจงึ เกดิ การสง่ สัญญาณทาํ ให้
เซลล์ตอบสนองไดต้ ่อไป

ความผดิ ปกตขิ องฮอรโ์ มนสามารถเกดิ ไดจ้ าก 3 สาเหตหุ ลกั คือ
1. การหล่ังฮอรโ์ มนออกจากต่อมไร้ทอ่ น้อยกวา่ ปกติ (Hyposecretion)
2. การหล่งั ฮอรโ์ มนออกจากตอ่ มไรท้ อ่ มากกวา่ ปกติ (Hypersecretion)
3. การหล่งั ฮอรโ์ มนออกจากต่อมไร้ทอ่ ปกติ แตเ่ กดิ ความผิดปกติทตี่ ัวรับบนอวยั วะเป้าหมาย
ตัวอย่างเช่น โรคเบาหวานชนดิ ท่ี II (Type II Diabetes Mellitus)

ตารางสรุปความผดิ ปกตขิ องรา่ งกายท่ีเกิดจากการหล่งั ฮอร์โมนผดิ ปกติ

ฮอร์โมน การหลงั่ ฮอรโ์ มนน้อยเกินไป การหลง่ั ฮอร์โมนมากเกินไป

Growth hormone Dwarfism (เด็ก) Gigantism (เด็ก)
Cortisol Simmon’s disease (ผ้ใู หญ่) Acromegaly (ผใู้ หญ)่

Addison’s disease Cushing’s syndrome

Thyroxine Cretinism (เดก็ ) Toxic goiter (คอพอกเป็นพิษ)
Insulin Myxedema (ผ้ใู หญ่) - คอพอก Hypoglycemia (นา้ํ ตาลในเลือดตาํ่ )

เบาหวาน (Diabetes mellitus)

PTH (parathormone) Hypoparathyroidism Hyperparathyroidism
ADH เบาจืด (Diabetes insipidus) -

วิทยาศาสตร์ ชีววิทยา (130) ________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27

ต่อมไร้ทอ่ และอวยั วะในร่างกายทม่ี กี ารผลิตและหล่ังฮอร์โมน

บทบาทและหน้าที่ของตอ่ มไรท้ ่อและฮอรโ์ มนตา่ งๆ ในร่างกาย

ต่อมไร้ท่อและฮอรโ์ มน อวยั วะเปา้ หมาย บทบาทและหนา้ ที่

ไฮโพทาลามัส ต่อมใต้สมองสว่ นหน้า ควบคมุ การหล่งั ฮอรโ์ มนของต่อมใตส้ มองส่วนหนา้
Releasing Hormone
Inhibiting Hormone

ไฮโพทาลามัส (ผลติ ฮอรโ์ มน) มดลกู *ฮอรโ์ มนประสาท (Neurohormone)
ต่อมใต้สมองส่วนหลัง (หลัง่ ) ต่อมนํา้ นม
กระตุ้นการบบี ตัวของมดลกู ขณะคลอด
Oxytocin กระตุ้นการหลัง่ นาํ้ นมเขา้ สูท่ อ่ น้ํานม

Antidiuretic hormone (ADH) ไต (Collecting Ducts) กระตนุ้ การดูดน้าํ กลับท่ที อ่ หนว่ ยไต

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปีท่ี 27 _______________________________ วิทยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (131)

ต่อมไร้ท่อและฮอรโ์ มน อวัยวะเปา้ หมาย บทบาทและหนา้ ท่ี

ต่อมใตส้ มองส่วนหนา้ ส่วนต่างๆ ของรา่ งกาย กระตุ้นการเจริญเตบิ โตของกระดกู
Growth hormone (GH) กระตนุ้ การเตบิ โตของรา่ งกายโดยเพมิ่ การสังเคราะห์
โปรตนี
กระต้นุ การเพิ่มระดับนํา้ ตาลในเลอื ด
และกระตนุ้ การสลายไขมนั

Prolactin ตอ่ มนาํ้ นม กระต้นุ การผลติ น้ํานม (Lactation)
และกระต้นุ การเจรญิ ของเตา้ นม

Thyroid-stimulating ตอ่ มไทรอยด์ กระตุน้ การหล่ังฮอรโ์ มนจากต่อมไทรอยด์
hormone (TSH) กระต้นุ การเพิม่ ขนาดของต่อมไทรอยด์

Adrenocorticotropic ตอ่ มหมวกไตชน้ั นอก กระตนุ้ การหล่งั ฮอร์โมนคอรต์ ซิ อล (Cortisol)
hormone (ACTH) จากต่อมหมวกไตชน้ั นอก (Adrenal cortex)

Gonadotropic hormone กระตนุ้ การเจริญของเซลลฟ์ อลลเิ คิล (Follicular cell)
FSH (follicle stimulating เพศหญิง - รงั ไข่ กระตุน้ การสรา้ งและหลง่ั ฮอรโ์ มนอีสโตรเจน (Estrogen)
hormone) จากรงั ไข่

เพศชาย – หลอดสรา้ ง กระตุ้นการสร้างเซลล์อสุจิ (Spermatogenesis)
อสุจิในอณั ฑะ

LH (Luteinizing hormone) เพศหญงิ - รังไข่ กระตุ้นการตกไขใ่ นรอบเดือน (Ovulation)
เพศชาย - อณั ฑะ กระตนุ้ การเจรญิ ของคอร์ปัส ลเู ทียม (Corpus Luteum)
กระตนุ้ การสร้างและหล่งั ฮอร์โมนอีสโตรเจน (Estrogen)
และฮอรโ์ มนโปรเจสเตอโรน (Progesterone)

กระตนุ้ การสร้างและหลัง่ ฮอร์โมนเทสโทสเตอโรน
(Testosterone)

วทิ ยาศาสตร์ ชีววิทยา (132) ________________________________โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปที ี่ 27

ต่อมไร้ท่อและฮอร์โมน อวัยวะเป้าหมาย บทบาทและหนา้ ท่ี

ต่อมไทรอยด์ ส่วนต่างๆ ของร่างกาย กระตุน้ อตั ราเมแทบอลซิ ึมภายในรา่ งกาย
Thyroxine (T4) and กระตนุ้ การเกดิ เมแทบอลิซึมของคารโ์ บไฮเดรต โปรตีน
Triiodothyronine (T3) และไขมัน

Calcitonin กระดกู ลดระดบั Ca2+ ในเลือด โดยการยับยั้งการสลาย Ca2+
ไต (ทอ่ หนว่ ยไต)
ต่อมพาราไทรอยด์ จากกระดกู
Parathyroid hormone ลดระดับ Ca2+ ในเลือด โดยการยับยง้ั การดูดกลบั
Ca2+ จากหน่วยไต
Islets of Langerhans
Insulin กระดกู ไต และลําไส้เล็ก เพ่ิมระดบั Ca2+ ในเลือด โดยการกระตุน้ การสลาย
Ca2+ จากกระดกู
เพม่ิ ระดบั Ca2+ ในเลือด โดยการกระตุน้ การดดู ซมึ
Ca2+ กลบั ทไี่ ต
เพมิ่ ระดบั Ca2+ ในเลือด โดยการกระตนุ้ การดดู Ca2+

จากลําไส้เล็ก

ส่วนตา่ งๆ ของรา่ งกาย ลดระดบั นาํ้ ตาลกลูโคสในเลอื ด

Glucagon ตับ เพมิ่ ระดับนํา้ ตาลกลโู คสในเลือด

ตอ่ มหมวกไตชัน้ ใน กล้ามเนื้อลาย กล้ามเน้ือ ชว่ ยทาํ ให้รา่ งกายตอบสนองตอ่ ความเครยี ดระยะสน้ั ได้
Epinephrine and หัวใจ หลอดเลือด ตับ เพิม่ อตั ราการเต้นของหวั ใจ ความดนั เลือด และ metabolic
Norepinephrine เนือ้ เย่อื สะสมไขมนั rate
กระตุน้ การสลายไขมัน (lipolysis)
กระตุน้ การเพ่มิ ระดับนา้ํ ตาลกลูโคสในเลือด

โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปีท่ี 27 _______________________________ วทิ ยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (133)

ต่อมไร้ทอ่ และฮอร์โมน อวัยวะเปา้ หมาย บทบาทและหน้าท่ี

ตอ่ มหมวกไตชน้ั นอก หน่วยไต รักษาสมดลุ ความเขม้ ข้นของโซเดียมและโพแทสเซยี ม
Mineralocorticoids กระตุน้ การดูด Na+ กลบั ทท่ี ่อหน่วยไต
(aldosterone) กระตุ้นการขบั K+ ออกจากร่างกายท่ที อ่ หน่วยไต

Glucocorticoids (cortisol) สว่ นต่างๆ ของร่างกาย เพ่มิ ระดับน้ําตาลกลโู คสในเลอื ด
กระตุน้ การสลายไขมนั (Lipolysis)
กระตุ้นการสลายโปรตีนและการนํากรดอะมิโนไปใช้
ภายในเซลล์
ชว่ ยทาํ ใหร้ ่างกายตอบสนองต่อความเครียดระยะยาวได้

Sex Hormone (androgen) สว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกาย ควบคมุ การทาํ งานของระบบสบื พนั ธ์ุ แตม่ ีบทบาทเล็กนอ้ ย
ตอ่ มไพเนยี ล
ไฮโพทาลามสั เกี่ยวขอ้ งกบั นาฬกิ าชีวิต (Biological Clock)
Melatonin ยับยง้ั การเจรญิ เตบิ โตของระบบสบื พนั ธ์ใุ นมนุษย์
เกยี่ วข้องกบั การเปล่ียนสผี วิ ในสัตว์มีกระดูกสนั หลงั
รังไข่ บางชนดิ
Estrogen (estradiol)
ส่วนตา่ งๆ ของรา่ งกาย ทาํ ให้เกดิ การเจริญและพัฒนา Sex Characteristics
และมดลกู ในเพศหญิง
กระตุ้นการสรา้ งเนือ้ เยอื่ ในมดลูกสาํ หรับการต้ังครรภ์
กระตุน้ การเจรญิ ของเตา้ นม (Breast Development)
กระตุ้นการเขา้ สู่วัยสาว (Female Puberty)

Progesterone มดลูก กระต้นุ การสรา้ งตวั ของเนอ้ื เยอื่ ในมดลกู สาํ หรับการ
ต้งั ครรภ์

วทิ ยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (134) ________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปีที่ 27

ต่อมไร้ท่อและฮอรโ์ มน อวัยวะเปา้ หมาย บทบาทและหนา้ ที่

อณั ฑะ สว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกาย ทาํ ใหเ้ กิดการเจรญิ และพัฒนา Sex Characteristics
Testosterone สว่ นของระบบสืบพนั ธ์ุ ในเพศชาย
กระตุ้นการสร้างเซลล์สืบพนั ธเุ์ พศผู้ (Spermatogenesis)
รก (placenta) กระตุ้นการเข้าสูว่ ยั หน่มุ (Male Puberty)
Estrogen
โครงสรา้ งระบบสืบพนั ธ์ุ กระตนุ้ การสร้างเนื้อเยอ่ื ในผนงั มดลูกเพือ่ รกั ษาสภาพให้

เพศหญิง เหมาะสมกับการตั้งครรภ์

Human Chorionic รก (Placenta) รกั ษาโครงสร้างของคอรป์ ัสลเู ทยี ม (Corpus Luteum)
Gonadotropin (hCG) ขณะตัง้ ครรภ์

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27 _______________________________ วิทยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (135)

NOTE

วทิ ยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (136) ________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ่ี 27

การสืบพนั ธแุ ละการเจรญิ ในสตั ว

การสืบพันธ์ุ (Reproduction) เป็นการเพม่ิ จาํ นวนของส่งิ มีชวี ติ ชนิดเดยี วกนั สามารถเกดิ ขึ้นได้ 2 แบบ
คอื การสบื พนั ธ์แุ บบไม่อาศัยเพศ (Asexual Reproduction) และ การสืบพนั ธุแ์ บบอาศัยเพศ (Sexual
Reproduction)

ขอ้ เปรียบเทยี บ การสืบพนั ธุ์แบบไม่อาศัยเพศ การสืบพันธแ์ุ บบอาศยั เพศ
จํานวนของสิ่งมีชวี ติ ทใ่ี หก้ าํ เนดิ พอ่ /แม่เพยี งตัวเดยี ว พ่อและแม่ (Parents)

กระบวนการสร้างเซลล์ ไม่มี (ยกเว้น Parthenogenesis) มี
สบื พันธ์ุ
เหมอื นกบั ส่ิงมีชวี ิตท่ีใหก้ ําเนิด มคี วามแปรผันทางพันธุกรรม
ลักษณะทางพันธุกรรมของลกู ไม่มี มี
การปฏิสนธิ
การเพิ่มจํานวนเกิดขนึ้ ได้ ลกู ท่ีเกดิ ขึน้ อยู่ในสภาพแวดล้อม
ขอ้ ดี อยา่ งรวดเร็ว ที่มกี ารเปลย่ี นแปลงมากได้

ขอ้ เสยี สตั วต์ ้องอยู่ในสภาพแวดลอ้ ม ต้องใช้พลงั งานในการสืบพันธุม์ าก
ที่มกี ารเปล่ยี นแปลงเพียงเลก็ น้อย

การสืบพนั ธแ์ุ บบไม่อาศยั เพศ (Asexual Reproduction)
1. การเพิ่มจาํ นวนออกเป็นสอง (Binary Fission) เปน็ การเพิม่ จาํ นวนจากเซลลท์ ใ่ี ห้กําเนิด 1 เซลล์เป็น
เซลลล์ กู สองเซลล์ทมี่ ีขนาดเท่ากนั ตัวอย่างเช่น การแบง่ ตัวออกเป็นสองในอะมบี า พารามีเซียม
2. การแตกหนอ่ (Budding) เป็นการเพมิ่ จํานวนโดยการสร้างเซลลล์ กู ออกมาจากพอ่ /แม่ โดยหนอ่
(Bud) ท่ีเกิดขนึ้ จะมีขนาดเล็กกวา่ ตวั อย่างเชน่ การแตกหน่อของไฮดรา
3. การงอกใหม่ (Regeneration) เปน็ การทช่ี นิ้ ส่วนของรา่ งกายเกิดการขาดออกไปแลว้ มีการพฒั นาเปน็
สงิ่ มชี ีวิตตัวใหม่ได้ ตวั อยา่ งเชน่ การงอกใหม่ในพลานาเรีย การงอกใหมใ่ นดาวทะเล
4. การเกดิ พารท์ ีโนเจเนซสิ (Parthenogenesis) เป็นการเจรญิ ของเซลล์ไข่ (Egg : n) เปน็ ตัวเตม็ วัยได้
โดยท่ีไม่ต้องได้รบั การปฏสิ นธิจากตวั ผู้ ตัวอยา่ งเชน่ การเกดิ Parthenogenesis ในผงึ้ โดยถา้ ไข่เจริญแบบ
Parthenogenesis จะได้เป็นผง้ึ เพศผู้ (Drone) แตถ่ ้าไขไ่ ดร้ ับการผสมกับ sperm กจ็ ะเจริญไปเป็นผ้งึ งานเพศเมีย
(Worker) และถ้าผึง้ เพศเมียเหลา่ นี้ไดร้ ับฮอรโ์ มนทเ่ี หมาะสมกอ็ าจจะพัฒนาไปเป็นราชินีผึง้ (Queen) ไดต้ อ่ ไป
สตั ว์ไมม่ ีกระดกู สันหลังหลายชนดิ จะมอี วัยวะของทงั้ สองเพศในตวั เดยี วกนั เรียกว่า กะเทย (Hermaphrodite)
อยา่ งไรก็ตามสตั วเ์ หลา่ นจี้ ะมแี นวโนม้ ในการเกิดการปฏสิ นธขิ า้ มตัว (Cross Fertilization) เพ่ือเพมิ่ ความหลากหลาย
ทางพนั ธุกรรมใหก้ บั ลกู ท่เี กิดขน้ึ ยกเวน้ ในกลมุ่ ของพยาธิตัวตืดทจี่ ะสามารถเกดิ การปฏสิ นธิในตวั เองได้ (Self
Fertilization)

โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 _______________________________ วิทยาศาสตร์ ชีววิทยา (137)

การสบื พนั ธุ์แบบอาศยั เพศ (Sexual Reproduction)
การปฏสิ นธิ (Fertilization) เป็นกระบวนการทม่ี กี ารรวมกนั ของเซลล์สืบพันธเ์ุ พศผูแ้ ละเซลลส์ บื พันธ์ุ
เพศเมีย ซึ่งมี 2 รปู แบบหลัก คอื
1. การปฏสิ นธภิ ายนอกรา่ งกาย (External Fertilization) สัตว์จะมกี ารปล่อยเซลล์สืบพนั ธ์อุ อกมา
ภายนอก และมกี ารปฏิสนธเิ กดิ ขึ้นภายนอกร่างกาย พบได้เฉพาะในสตั วท์ อี่ ยูใ่ นน้ํา
2. การปฏิสนธิภายในรา่ งกาย (Internal Fertilization) สัตว์เพศผู้จะมีการปล่อยเซลล์สืบพนั ธ์ุเข้าไป
ผสมกบั เซลลส์ บื พันธุเ์ พศเมียในร่างกาย พบได้ในปลากระดกู ออ่ นบางชนดิ และสัตวม์ กี ระดูกสนั หลังท่ีอยูบ่ นบก
ส่วนใหญ่

การสรา งเซลลส บื พนั ธุ (Gametogenesis)

การสร้างเซลล์สบื พนั ธ์ุเพศผู้ (Spermatogenesis) และเพศเมยี (Oogenesis)
วทิ ยาศาสตร์ ชวี วิทยา (138) ________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27

โครงสรา งของระบบสืบพันธุเ พศชาย (Male Reproductive System)

ระบบสืบพันธเ์ุ พศชายประกอบด้วยส่วนตา่ งๆ ดงั น้ี
1. อัณฑะ (Testis) โครงสร้างทเ่ี ปน็ อวยั วะหลักในการสร้างอสุจแิ ละการสรา้ งฮอร์โมนเพศชาย โดย
อัณฑะจะอย่ภู ายในถุงหมุ้ อณั ฑะ (Scrotum) ซ่ึงทําหนา้ ทช่ี ว่ ยในการปรับอณุ หภมู ิภายในอัณฑะให้คงทเ่ี หมาะสม
ตอ่ การสรา้ งอสจุ ิ (อณุ หภมู ใิ นอณั ฑะต่ํากว่าอณุ หภูมิรา่ งกายเล็กนอ้ ย) ภายในอณั ฑะประกอบดว้ ยสว่ นตา่ งๆ ดงั น้ี

1.1 หลอดสรา้ งอสุจิ (Seminiferous Tubule) ทอ่ ขนาดเลก็ ขดอยู่ ภายในประกอบด้วยเซลลต์ า่ งๆ ดงั น้ี
- เซลลท์ ่เี กีย่ วข้องกับการสรา้ งเซลลอ์ สจุ ิ
- เซลลเ์ ซอร์โทไล (Sertoli Cell) เปน็ เสมือนเซลลพ์ ่เี ล้ยี ง
- เซลลเ์ ลย์ดกิ (Leydig Cell หรือ Interstitial Cell) เป็นเซลลท์ ่ีสรา้ งฮอรโ์ มน Testosterone

1.2 หลอดเก็บอสจุ ิ (Epididymis) บรเิ วณที่เก็บพักอสจุ แิ ละกระตุ้นการทาํ งานของเซลล์อสุจิ
2. ทอ่ นาํ อสุจิ (Vas Deferens) – ท่อท่ีทําหนา้ ท่ใี นการนาํ อสจุ ิใหเ้ คลื่อนไปยังภายนอกรา่ งกาย
3. ต่อมตา่ งๆ ภายในระบบสบื พันธ์เุ พศชาย มดี งั นี้

3.1 ต่อมสร้างนา้ํ เล้ยี งอสุจิ (Seminal Vesicle) ทาํ หน้าทสี่ รา้ งและหล่ังของเหลวท่ีมสี เี หลอื งออ่ น
ประกอบดว้ ย เมอื ก วติ ามินซี กรดอะมิโน นา้ํ ตาล Fructose ซง่ึ จดั เป็นแหลง่ พลังงานของเซลล์อสุจิ

3.2 ตอ่ มลกู หมาก (Prostate Gland) ทําหนา้ ที่สร้างและหลงั่ ของเหลวทม่ี ีสมบัติเป็นเบส เพื่อทําให้
ช่องคลอดของเพศหญงิ ซงึ่ มีสภาพเปน็ กรดเปลีย่ นสภาพเปน็ กลาง

3.3 ตอ่ มคาวเปอร์ (Cowper’s Gland) หรอื Bulbourethral Gland ทาํ หนา้ ท่สี ร้างและหลง่ั
ของเหลวใสก่อนการหล่ังจริง (Pre-Ejaculate Fluid) สารนจี้ ะทาํ หนา้ ที่ลดความเป็นกรดภายในท่อปสั สาวะของ
ผ้ชู ายหล่อลนื่ ทอ่ ปัสสาวะ ซง่ึ ของเหลวท่หี ล่งั ออกมาพรอ้ มของเหลวจากต่อมนี้อาจจะมีเซลลอ์ สจุ ิอยู่ดว้ ย

4. องคชาติ (Penis) เปน็ อวัยวะหลักที่เกี่ยวขอ้ งกบั การมเี พศสมั พันธซ์ ง่ึ จะใชใ้ นการสอดใส่เขา้ ไปในช่อง
คลอดเพ่ือให้อสุจสิ ามารถเคลอ่ื นเขา้ ไปปฏสิ นธิได้ ภายในองคชาตจิ ะประกอบดว้ ยทอ่ รวมระหว่างทอ่ ปัสสาวะและ
ทอ่ อสจุ ิ (Urethra) องคชาติจะเกิดการแข็งตัวเมอ่ื มีเลือดเขา้ ไปคัง่ สะสมในชั้นกลา้ มเนอื้ ท่มี ลี กั ษณะคลา้ ยฟองนํา้

โครงสรา้ งของระบบสบื พนั ธุเ์ พศชาย (Male Reproductive System)

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27 _______________________________ วิทยาศาสตร์ ชวี วิทยา (139)

โครงสรา งของระบบสบื พันธุเ พศหญงิ (Female Reproductive System)

ระบบสืบพันธุเ์ พศหญงิ ประกอบด้วยสว่ นต่างๆ ดังนี้ (โครงสรา้ งภายใน)
1. รงั ไข่ (Ovary) เกยี่ วขอ้ งกบั การสรา้ งไข่และการสร้างฮอร์โมนเพศหญิง (เทยี บไดก้ ับอณั ฑะ)
2. มดลูก (Uterus) เกี่ยวข้องกับการฝงั ตวั ของเอ็มบริโอ โดยเอ็มบรโิ อจะเขา้ มาฝงั ตวั ที่ผนังมดลูกช้นั ใน
(Endometrium) ถา้ หากไม่มีการปฏสิ นธิเกดิ ข้นึ ผนงั มดลกู ชั้นในจะหลดุ ลอกออกมาเป็นประจําเดือน
3. ท่อนําไข่ (Oviduct) หรอื ปกี มดลูก (Uterine Tube) บรเิ วณทเ่ี กิดการปฏสิ นธขิ นึ้ และนาํ พาไข่หรือ
เอ็มบริโอมาฝงั ตัวทบ่ี ริเวณมดลูก โดยจะมีเซลลท์ ่ีมีซิเลียคอยโบกพัด
4. ปากมดลกู (Cervix) บริเวณมดลกู ตอนล่างที่ตดิ กบั ช่องคลอด มีลักษณะเป็นปากแคบเข้าหากนั
5. ช่องคลอด (Vagina) สว่ นปลายสดุ ของระบบสืบพันธเุ์ พศหญงิ บริเวณท่รี องรบั การสอดใส่ขององคชาติ

โครงสร้างและส่วนประกอบต่างๆ ของมดลูก

โครงสรา้ งของระบบสบื พนั ธ์ุเพศหญิง
วทิ ยาศาสตร์ ชวี วิทยา (140) ________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปีที่ 27

ฮอรโ์ มนกับระบบสบื พนั ธ์ุเพศหญิง
การทํางานของฮอร์โมนในระบบสบื พันธ์ุเพศหญิงจะมคี วามสลบั ซบั ซอ้ นมากกวา่ ในเพศชาย เน่อื งจากใน
เพศหญิงมีรอบเดือน (Menstruation) ซึง่ เกดิ จากการทาํ งานร่วมกันของฮอรโ์ มน 5 ชนดิ คอื GnRH, FSH, LH,
Estrogen และ Progesterone อย่างมรี ูปแบบที่สมั พนั ธ์กนั โดยผู้หญงิ เรมิ่ มปี ระจาํ เดือนคร้งั แรก (Menarche)
เมอ่ื อายุประมาณ 11-12 ปี หลงั จากนัน้ จะมีประจาํ เดอื นไปเรอื่ ยๆ จนอายปุ ระมาณ 50 ปี ประจาํ เดอื นจะหมดไป
แล้วเขา้ สู่ระยะวัยทอง (Menopause)
รอบเดือนของผหู้ ญงิ จะเร่มิ ตน้ จากการทสี่ มองส่วนไฮโพทาลามสั หลงั่ ฮอรโ์ มน GnRH ออกมากระตุน้
ต่อมใต้สมองส่วนหนา้ ให้สร้างและหลัง่ ฮอรโ์ มน FSH ออกมา ซึ่งฮอรโ์ มน FSH นี้จะไปกระต้นุ ฟอลลิเคิล
(Follicle) ภายในรังไข่ให้เกดิ การพฒั นาขน้ึ เมื่อฟอลลเิ คลิ เจริญมากข้ึนฟอลลเิ คิลเหลา่ น้ีจะสร้างฮอร์โมนเอสโตรเจน
(Estrogen) ออกมาเพิ่มขนึ้ จนกระท่ังสูงเพียงพอทจี่ ะไปกระตุ้นตอ่ มใต้สมองส่วนหนา้ ใหห้ ลัง่ ฮอร์โมน LH ออกมา
ซง่ึ ปรมิ าณ LH ท่สี งู มากนีก้ จ็ ะทาํ ให้เซลล์ Secondary Oocyte หลดุ ออกจากรงั ไข่ เกดิ การตกไข่ (Ovulation) ข้นึ
หลงั จากที่ไข่ตกไปแลว้ ส่วนของฟอลลิเคลิ เดิมจะเปลี่ยนไปเปน็ กลมุ่ เนือ้ เย่อื สเี หลอื งที่เรียกว่า คอรป์ สั ลเู ทียม
(Corpus Luteum) ซ่ึงทําหน้าท่ีในการสร้างและหลั่งฮอร์โมน Progesterone และ Estrogen โดยฮอร์โมน
ทั้งสองชนิดนี้จะกระตุ้นการเจริญของเย่ือบุผนังมดลูกช้ันใน (Endometrium) ถ้าหากไข่หลุดออกไปแต่ไม่ได้รับ
การปฏิสนธิ ส่วนของ Corpus Luteum จะฝ่อไป และทําให้เยื่อบุผนังมดลูกชั้นในเกิดการหลุดลอกออกไป
กลายเปน็ ประจําเดอื น (Menstruation) และมกี ารเจริญของฟอลลเิ คลิ ใหม่อีกคร้ัง

การเปล่ียนแปลงของระดบั ฮอร์โมนเพศหญงิ กบั การเจริญของไข่และเยือ่ บผุ นงั มดลกู ในรอบเดือน

โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปีท่ี 27 _______________________________ วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (141)

การเจริญของสัตว (Animal Development)

การเจรญิ ของสตั วป์ ระกอบดว้ ย 4 กระบวนการ คือ
1. การแบง่ เซลล์ (Cell Division) – การเพม่ิ จาํ นวนเซลลส์ าํ หรับการเจรญิ ของเอ็มบรโิ อ
2. การขยายขนาดของเซลล์ (Cell Expansion)
3. การเปลีย่ นแปลงรปู รา่ งของเซลล์เพื่อทําหนา้ ทีเ่ ฉพาะ (Cell Differentiation)
4. การรวมกลุม่ กนั ของเซลลเ์ พ่อื สรา้ งเปน็ เนื้อเยือ่ และอวยั วะ (Morphogenesis)
ขนั้ ตอนของการเจริญในสัตวป์ ระกอบดว้ ยขั้นตอนยอ่ ยๆ ดังนี้
1. การปฏิสนธิ (Fertilization) เป็นกระบวนการรวมกันของเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเซลล์สืบพันธุ์
เพศเมีย เซลล์ไข่ท่ีได้รับการปฏิสนธิ (Fertilized Egg) เรียกว่า ไซโกต (Zygote) ถ้าไซโกตเริ่มแบ่งเซลล์จะถือว่า
ได้เข้าส่รู ะยะเอม็ บริโอ (Embryo)
2. การคลีเวจ (Cleavage) เป็นการเพิ่มจํานวนเซลล์ของไซโกตจากการแบ่งเซลล์แบบไมโตซิส ทําให้มี
จํานวนเซลลม์ ากขนึ้ แต่ขนาดของเซลลจ์ ะลดลง ส่งผลให้ขนาดเอ็มบริโอโดยรวมมีขนาดเท่าเดิม เน่ืองจากเซลล์
แต่ละเซลล์ไม่มีการขยายขนาดของเซลล์ ในมนุษย์เมื่อเอ็มบริโอเข้าสู่ระยะคลีเวจจะเกิดการแบ่งเซลล์จํานวนมาก
เกิดเป็นเอ็มบรโิ อทีม่ ลี ักษณะคลา้ ยลกู น้อยหนา่ เรียกว่า มอรลู า (Morula)
3. การบลาสทเู ลชนั (Blastulation) เปน็ กระบวนการทเี่ ซลล์ของเอม็ บริโอมกี ารจดั เรยี งตัวเปน็ ชัน้ อยู่รอบนอก
ตรงกลางมีลกั ษณะเป็นช่องทม่ี ขี องเหลวบรรจอุ ยู่ เรียกวา่ Blastocoel สําหรบั ให้เซลล์สามารถเกดิ การเคล่ือนที่
ได้ในมนุษย์เอ็มบรโิ อทอี่ ยใู่ นระยะบลาสทูลาจะเรยี กว่า Blastocyst ซึง่ เปน็ ระยะทีเ่ กดิ การฝงั ตวั ในผนงั มดลูกช้ันใน
(Endometrium)
4. การแกสทรูเลชนั (Gastrulation) เปน็ กระบวนการท่ีเซลลใ์ นเอม็ บรโิ อมกี ารจัดเรยี งเป็นชัน้ ตา่ งๆ (Germ
Layers) 3 ชัน้ คอื ช้นั เอกโตเดิร์ม (Ectoderm) ช้นั มโี ซเดิร์ม (Mesoderm) และช้ันเอนโดเดิรม์ (Endoderm)
ตามลาํ ดับ จากด้านนอกเข้าสดู่ า้ นใน ซ่ึงชนั้ เน้อื เยอ่ื แต่ละชน้ั น้ีจะมกี ารพัฒนาเปล่ียนเปน็ อวยั วะตา่ งๆ ในร่างกาย
ดงั ตาราง

ชั้นเนื้อเยอ่ื อวัยวะและเนือ้ เยือ่ ท่ีเจริญเม่ือเปน็ ตวั เตม็ วัย
ชน้ั เอกโตเดริ ์ม (Ectoderm)
ชัน้ หนังกาํ พรา้ ของผวิ หนงั เซลล์เยอ่ื บผุ วิ ในปากและทวารหนกั ระบบประสาท
ชั้นมโี ซเดริ ์ม (Mesoderm) ส่วนของกระจกตาและเลนสต์ า เซลล์รับความรสู้ กึ ในผวิ หนงั

ชนั้ เอนโดเดริ ม์ (Endoderm) ระบบโครงกระดูกและกลา้ มเนื้อ ระบบหมนุ เวยี นเลอื ด ระบบขับถ่าย ระบบ
สืบพนั ธุ์ (ยกเวน้ เซลล์ทเ่ี กย่ี วข้องกับการสรา้ งเซลลส์ บื พนั ธ์)ุ เย่ือบุชอ่ งตา่ งๆ

เซลล์บุผวิ ในระบบทางเดนิ อาหารและระบบทางเดนิ หายใจ ตับ ตบั ออ่ น
ต่อมไทรอยดแ์ ละต่อมพาราไทรอยด์ ต่อมไทมัส ท่อปัสสาวะ กระเพาะ
ปัสสาวะ และระบบสบื พันธุ์

การเคลอ่ื นท่ีของเซลลใ์ นระยะแกสตรูลา จะนําไปสกู่ ารพฒั นาช่องภายในทเ่ี รียกวา่ Archenteron (ซง่ึ จะ
พฒั นาต่อไปเปน็ ท่อของระบบทางเดินอาหาร) บรเิ วณชอ่ งเปิดของ Archenteron นจ้ี ะเรยี กวา่ Blastopore

วิทยาศาสตร์ ชวี วิทยา (142) ________________________________โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปีท่ี 27

5. ออร์แกโนเจเนซิส (Organogenesis) เป็นกระบวนการทเ่ี นอ้ื เยอ่ื ทง้ั 3 ชน้ั ของเอม็ บริโอมีการ
เปลี่ยนแปลงเป็นอวยั วะตา่ งๆ ระบบแรกท่มี ีการพัฒนา คอื ระบบประสาท (Nervous System)

แผนภาพสรปุ การเจริญและวงชวี ิตของกบ
สัตว์กลุ่มแอมนิโอต (Amniotes) คือ สัตว์มีกระดูกสันหลังกลุ่มที่มีการสร้างโครงสร้างพิเศษสําหรับ
ห่อหุ้มตัวอ่อน (Extraembryonic Membrane) ได้แก่ สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ปีก สัตว์เล้ียงลูกด้วยนม ซึ่งมี
โครงสรา้ งหลายอย่างทพ่ี ฒั นาขึน้ สามารถสรุปดงั นี้
1. ถุงไข่แดง (Yolk Sac) ภายในบรรจไุ ขแ่ ดง (Yolk) ซึ่งถูกใชเ้ ปน็ อาหารเล้ียงตวั อ่อนขณะเจรญิ อยู่ภายในไข่
2. ถุงนาํ้ คร่ํา (Amnion) ภายในมขี องเหลวบรรจุ เรียกว่า นํ้าครํ่า (Amniotic Fluid) ทําหน้าที่ในการ
ปอ้ งกนั การกระทบกระเทอื นและปอ้ งกันไม่ให้เอ็มบริโอแห้งจนเกดิ การขาดน้าํ ขน้ึ
3. ถงุ แอลแลนทอยส์ (Allantois) เปน็ ส่วนท่อี ยชู่ ิดติดกบั คอเรยี น พรอ้ มกบั มหี ลอดเลอื ดฝอยอยโู่ ดยรอบ
ทาํ หนา้ ทีใ่ นการเก็บของเสียประเภทกรดยูรกิ เอาไว้ รวมถึงการแลกเปลย่ี นกา๊ ซ
4. คอเรยี น (Chorion) เปน็ เมมเบรนส่วนทอี่ ยู่นอกสุดและอยูต่ ิดกับเปลือกไข่ทําหนา้ ทใ่ี นการแลกเปล่ยี นกา๊ ซ
5. เปลอื กไข่ (Shell) ช่วยในการปอ้ งกนั อนั ตรายและป้องกนั การสูญเสยี นาํ้ ของเซลล์ไข่

โครงสรา้ งของ Extraembryonic Membrane ในสัตวม์ กี ระดกู สนั หลงั กลมุ่ Amniotes

โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปที ี่ 27 _______________________________ วทิ ยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (143)

ขอ้ ควรทราบเพ่มิ เติมเกยี่ วกบั การเจริญในมนุษย์
- การปฏสิ นธิของมนุษยจ์ ะเกิดข้ึนทบ่ี รเิ วณทอ่ นําไข่ (Oviduct) หรอื ปีกมดลกู เมอ่ื เกิดการปฏิสนธิไซโกต
จะเกดิ การคลีเวจเพม่ิ จาํ นวนเซลลเ์ ป็นมอรูลา และบลาสทูลาตามลาํ ดับ ในประมาณวนั ที่ 7 เอม็ บรโิ อในระยะ
Blastula (เรยี กว่า Blastocyst) จะมีการสรา้ งถุงคอเรียนขน้ึ ลอ้ มรอบ และเกิดการฝงั ตัวท่ผี นงั มดลกู ชัน้ ใน
โดยสว่ นของ Trophoblast จะมกี ารเจรญิ ต่อไปเป็นรก (Placenta) ถ้าเอ็มบรโิ อไปฝงั ตวั ทบี่ ริเวณอนื่ นอกจาก
มดลูกถือวา่ เป็นการท้องนอกมดลูก ซึ่งอาจจะเปน็ อนั ตรายกับแมไ่ ด้
- รก (Placenta) เปน็ โครงสรา้ งทเี่ กิดข้นึ จากถุงคอเรยี น (Chorion) ของลกู และเนอ้ื เยอ่ื ของผนงั
มดลกู ชน้ั ในของแม่ ทําหนา้ ทีเ่ ก่ียวข้องกบั การแลกเปลยี่ นแกส๊ สารอาหาร และของเสียตา่ งๆ นอกจากนี้รกยัง
ทําหนา้ ท่ใี นการสรา้ งฮอรโ์ มน hCG (Human Chorionic Gonadotropin) ทจี่ ะรกั ษาสภาพของ Corpus luteum
ให้คงอยู่ สําหรบั การสร้างฮอร์โมน Progesterone และ Estrogen เพอื่ ป้องกันไมใ่ หผ้ นงั มดลูกชัน้ ในหลุดออกไป
เมื่อเอม็ บรโิ อฝังตัวแลว้
- เมื่อเอ็มบรโิ อมอี ายุประมาณ 8 สปั ดาหจ์ ะมีการพัฒนาอวัยวะตา่ งๆ จนครบ เรียกเอม็ บริโอตัง้ แต่ระยะ
8 สัปดาหข์ ึน้ ไปว่า ฟีตัส (Fetus)

การปฏิสนธแิ ละเอม็ บรโิ อในระยะแรกของมนุษย์

วิทยาศาสตร์ ชีววิทยา (144) ________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27

แนวขอ สอบ

เรื่อง การประสานงานในรา งกาย

จงเลือกคําตอบท่ถี กู ตอ้ งทสี่ ดุ

1. เมือ่ เซลลป์ ระสาทถูกกระตนุ้ เหตุการณ์แรกทีเ่ กิดขึ้นคือข้อใด
1) เกิดแอกชันโพเทนเชียล
2) เกดิ การหลั่งสารสื่อประสาท
3) Na+ ไหลเขา้ ไปในเซลล์
4) K+ ไหลออกนอกเซลล์

2. ขอ้ ใดไม่ถกู ต้อง
ก. เส้นประสาทสมองคู่ท่ี 1 ของคน ทําหนา้ ที่รบั ความรสู้ ึกจากจมกู
ข. ออพติกโลบของคนไม่ได้ทําหนา้ ที่รบั รู้การมองเหน็ โดยตรง
ค. เซรีเบลลัมเป็นส่วนของกา้ นสมอง ทาํ หน้าท่ีควบคุมการทรงตัว
ง. เมดัลลาออบลองกาตา ทาํ หน้าทรี่ ่วมกับพอนส์ ในการควบคมุ อณุ หภูมิของร่างกาย

1) ก. และ ข.
2) ข. และ ค.
3) ค. และ ง.
4) ก. และ ง.
3. ภาวะที่มี Ca2+ ในเลือดสงู จะมผี ลให้เกดิ เหตุการณใ์ ด

ก. กระตุ้นการหล่ังพาราทอร์โมน
ข. กระตุ้นการหลง่ั แคลซิโทนนิ
ค. ลดอัตราการดูดซมึ Ca2+ จากลาํ ไสเ้ ขา้ สหู่ ลอดเลือดฝอย
ง. เพิ่มอัตราการดดู ซมึ Ca2+ จากลาํ ไสเ้ ขา้ ส่หู ลอดเลอื ดฝอย
1) ก. และ ข.
2) ข. และ ค.
3) ค. และ ง.
4) ก. และ ง.

โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ี่ 27 _______________________________ วิทยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (145)

4. ขอ้ ความใดไม่เปน็ จรงิ
ก. โดยทั่วไปผชู้ ายไมส่ ามารถสร้างฮอร์โมนเพศหญิงได้
ข. ตอ่ มใต้สมองสว่ นหลังเป็นต่อมไร้ท่อทีไ่ มไ่ ด้สรา้ งฮอร์โมน
ค. ฮอรโ์ มนจากตอ่ มไพเนยี ลของคนหล่ังมากในที่มดื
ง. คนท่ีไมไ่ ด้รบั ไอโอดีนติดต่อกนั เปน็ เวลานาน อาจเกิดโรคคอหอยพอกและตาโปน

1) ก. และ ข.
2) ข. และ ค.
3) ค. และ ง.
4) ก. และ ง.

5. ข้อความใดไมถ่ ูกต้อง
1) กระบวนการสรา้ งเซลลไ์ ข่ เรมิ่ ตั้งแต่เป็นทารกในครรภ์
2) การตกไข่ หมายถงึ การท่ีโอโอไซตร์ ะยะทส่ี องหลุดจากฟอลลเิ คลิ เข้าสูท่ อ่ นําไข่
3) หลงั จากปฏสิ นธิ จะไดไ้ ซโกตซ่ึงเคลอื่ นทีไ่ ปฝังตัวที่ผนงั มดลูกทนั ที
4) รก ประกอบด้วยเน้อื เยอ่ื ช้นั เอนโดมเี ทรยี มของแมแ่ ละคอเรียนของลกู

6. ลกั ษณะการเจรญิ เติบโตของเอม็ บริโอของคน ข้อใดถกู ต้อง
1) เอม็ บริโอทีเ่ คลอื่ นท่ีมาฝงั ตัวท่ผี นงั มดลูก อย่ใู นระยะแกสทรูลา
2) เมื่อเอม็ บริโอฝังตัวทผ่ี นังมดลกู แล้ว จะสรา้ งถุงคอเรียนล้อมรอบซ่ึงถงุ นจ้ี ะเป็นส่วนของรก
3) เม่อื เอ็มบริโออายุได้ 8 สัปดาห์ แขนและขาจงึ เร่ิมปรากฎชัดเจน
4) เอม็ บรโิ ออายปุ ระมาณ 3 เดอื น มีอวัยวะทุกอยา่ งครบ เรยี กวา่ ฟตี สั

7. จดุ บอดหมายถึงบรเิ วณใดของเรตนิ า
1) บรเิ วณท่ไี มม่ ีเซลล์รปู กรวย
2) บรเิ วณที่ไมม่ ีเซลล์รปู แท่ง
3) บริเวณที่ไมม่ ีเซลลร์ ับแสง
4) บริเวณที่แสงตกไม่ถึง

8. สัตว์ในขอ้ ใดทร่ี ะยะเอ็มบรโิ อมีการสรา้ งถุงแอลแลนทอยส์และถุงนท้ี ําหนา้ ท่อี ะไร
1) กบ แลกเปลีย่ นแกส๊ กับภายนอก
2) ไก่ เก็บสะสมอาหารและของเสียพวกกรดยูรกิ
3) กบ เก็บสะสมอาหารและแลกเปลย่ี นแก๊ส
4) ไก่ แลกเปลยี่ นแก๊สและเก็บของเสียพวกกรดยูริก

9. คําในข้อใดมคี วามเก่ยี วข้องกันนอ้ ยทสี่ ุด
1) ตอ่ มพาราไทรอยด์ แคลเซยี ม กระดูก
2) ต่อมใตส้ มองส่วนหลงั โพรเจสเทอโรน มดลกู
3) ลาํ ไสเ้ ลก็ ซคี รที ิน ตับอ่อน
4) ตอ่ มหมวกไต แอลโดสเตอโรน ไต

วทิ ยาศาสตร์ ชีววิทยา (146) ________________________________โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปีท่ี 27

10. สมองส่วนใดของคน เมอ่ื ถูกทาํ ลายแลว้ มีผลทาํ ใหก้ ารควบคุมการหายใจผิดปกติ
ก. เมดลั ลาออบลองกาตา
ข. พอนส์
ค. เซรีบรมั

1) ก.
2) ก. และ ข.
3) ข. และ ค.
4) ก., ข. และ ค.
11. มา่ นตา เปน็ ส่วนใดของนัยนต์ าคน
1) สเคลอรา
2) เรตนิ า
3) โครอยด์
4) กลา้ มเนื้อยึดเลนส์
12. การทํางานและการหล่งั สารสือ่ ประสาทของระบบประสาทอตั โนวัตชิ นิดซิมพาเทติกในขอ้ ใดถกู ตอ้ ง

ก. นําคําสั่งกระตนุ้ ต่อมนา้ํ ลายให้หล่งั น้าํ ลาย
ข. นําคาํ สงั่ ให้กระเพาะปัสสาวะบีบตัว
ค. เซลล์ประสาทกอ่ นไซแนปส์ หลั่งแอซิตลิ โคลนี มายงั เซลล์ประสาทหลังไซแนปส์
ง. เซลลป์ ระสาทหลงั ไซแนปส์ หลั่งนอรเ์ อพิเนฟรนิ มาควบคุมการบีบตัวของกลา้ มเนอ้ื หัวใจ
1) ก. และ ข.
2) ข. และ ค.
3) ค. และ ง.
4) ก. และ ง.
13. กระบวนการในขอ้ ใด ทาํ ใหไ้ ด้เซลล์ใหม่ซง่ึ มจี ํานวนชุดของโครโมโซมเท่าเซลลเ์ ดมิ
1) Fertilization, Binary Fission
2) Regeneration, Mitosis
3) Conjugation, Parthenogenesis
4) Mitosis, Meiosis

โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปที ี่ 27 _______________________________ วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (147)

14. ข้อใดกลา่ วถึงโครงสรา้ งและการทาํ งานขององคป์ ระกอบของอวัยวะรบั ความรสู้ กึ ของคนได้ถกู ตอ้ งMembrane potential, V (mV)
ก. กระจกตาเปน็ ส่วนของผนงั ลกู ตาชัน้ โครอยด์ ทาํ หนา้ ทช่ี ่วยหักเหแสงผา่ นเลนสต์ า
ข. การรับรสเกิดจากการกระตุน้ เซลลร์ ับรสในต่มุ รับรส ซง่ึ จะเกดิ กระแสประสาทไปตามเสน้ ประสาทm
สมองคู่ที่ 7 และ 9 จนถึงสมอง
ค. หนว่ ยรับความรูส้ ึกเจ็บปวด เป็นปลายประสาทเดนไดรตท์ ่แี ทรกอยใู่ นช้นั หนงั กาํ พร้า
ง. ท่อยูสเตเชียน เชื่อมระหว่างหูส่วนกลางและคอหอย ทําหน้าที่ปรับความดันอากาศระหว่าง
หสู ว่ นกลาง และหูส่วนในให้เทา่ กัน

1) ก. และ ข.
2) ข. และ ค.
3) ค. และ ง.
4) ก., ค. และ ง.

15. จากกราฟ Action Potential ของเซลลป์ ระสาท ตอ้ งกระตนุ้ เซลล์ประสาทด้วยความแรงเทา่ ใดจงึ จะเกดิ
Action Potential หรือการส่งกระแสประสาทขน้ึ ได้

+50 3
2

0 14

-50 0
-70

-90 5

012345
เวลา (ms)

1) 70 mV
2) 50 mV
3) 40 mV
4) 20 mV

16. อวัยวะในข้อใดมีเซลลท์ ําหนา้ ทเ่ี ปน็ ส่วนหนง่ึ ของระบบประสาท
1) ตับอ่อน
2) ตอ่ มหมวกไต
3) ต่อมพาราไทรอยด์
4) ตอ่ มใต้สมองสว่ นหนา้

วิทยาศาสตร์ ชวี วิทยา (148) ________________________________โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปีที่ 27


Click to View FlipBook Version