The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Brands Summer Camp ปีที่ 27 วิชาชีววิทยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by BS_Library, 2019-12-12 10:36:42

Brands Summer Camp ปีที่ 27 วิชาชีววิทยา

Brands Summer Camp ปีที่ 27 วิชาชีววิทยา

Keywords: ชีววิทยา

2) ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมชี วี ติ กับสภาวะแวดลอ้ มทางชวี ภาพ (Biotic Factors)

รูปแบบ ลกั ษณะ ตวั อย่างความสมั พนั ธ์
ความสัมพันธ์
ภาวะพ่งึ พา (+, +) เป็นรูปแบบความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิต 2 ชนิด - ไลเคนส์
(Mutualism) ท่ีอยู่ร่วมกันโดยต่างฝ่ายต่างได้ประโยชน์ ซึ่งถ้า - โพรโทซวั ในลาํ ไส้ปลวก
แยกออกจากกนั จะเกิดการตาย - แบคทเี รยี E. coli ในลําไส้ใหญ่
ภาวะได้ประโยชน์
รว่ มกัน (+, +) เป็นรูปแบบความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิต 2 ชนิด ของคน
(Protocooperation) ที่อยู่ร่วมกันโดยต่างฝ่ายต่างได้ประโยชน์ แต่ก็ - นกเอ้ยี งกบั ควาย
ภาวะเกอ้ื กลู (+, 0) สามารถแยกกนั อยไู่ ด้โดยไม่มกี ารตายเกิดขึน้ - ดอกไมก้ ับแมลง
(Commensalism) เป็นรูปแบบความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด - มดดาํ กบั เพลี้ย
ท่ีอยู่ร่วมกันโดยมีฝ่ายหน่ึงได้ประโยชน์ แต่อีก - ดอกไม้ทะเล (ซีแอนีโมน)ี กบั
ภาวะล่าเหยอื่ (+, -) ฝ่ายไม่ได-้ ไม่เสยี ประโยชน์
(Predation) เป็นรูปแบบความสัมพันธ์ที่สิ่งมีชีวิตหนึ่งเป็น ปลาการต์ นู
ผู้ล่า (Predator) จับส่ิงมีชีวิตท่ีเป็นเหย่ือ (Prey) - เหาฉลามกบั ฉลาม
ภาวะปรสติ (+, -) กินเป็นอาหาร โดยผู้ล่าได้ประโยชน์ เหย่ือเสีย - งกู ินกบ
(Parasitism) ประโยชน์ (ตาย) - นกกินงู
เป็นรูปแบบความสัมพันธ์ท่ีส่ิงมีชีวิตชนิดหน่ึง
ภาวะแขง่ ขัน (-, -) อาศัยอยู่กับสิ่งมีชีวิตอีกชนิดหน่ึง โดยผู้อาศัย - กาฝากกบั ต้นไม้
(Competition) (Parasite) ได้ประโยชน์ แต่ผู้ถูกอาศัย (Host) - พยาธติ วั ตืดในอวยั วะทางเดนิ
เสียประโยชน์
เป็นรูปแบบความสัมพันธ์ที่สิ่งมีชีวิตทั้ง 2 ฝ่าย อาหารของสตั ว์
ต่างแก่งแย่งชิงปัจจัยบางอย่างที่มีอยู่อย่าง - เหากับหัวคน
จํากดั ภ า ว ะ แ ข่ ง ขั น เ พื่ อ ใ ห้ ไ ด้ ม า เ พ่ื อ
อาหารของกลมุ่ สัตว์

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27 _________________________________วิทยาศาสตร์ ชีววิทยา (49)

F) การถา่ ยทอดพลงั งาน (Energy Flow)
การถ่ายทอดพลังงานในระบบนเิ วศ มลี กั ษณะการถา่ ยทอด 2 แบบ คือ โซ่อาหาร และสายใยอาหาร
1) โซ่อาหาร (Food Chain) หมายถงึ การบริโภคกนั เปน็ ขนั้ ๆ ของสงิ่ มชี วี ิต (Trophic Level)
• โซ่อาหารแบง่ ออกเปน็ 4 แบบ ดังน้ี
1. โซอ่ าหารแบบผู้ลา่ (Predator food chain หรอื Grazing food chain) มีผู้ลา่ อยู่ในโซอ่ าหาร
2. โซ่อาหารแบบปรสิต (Parasitic food chain) มปี รสติ อยู่ในโซอ่ าหาร
3. โซ่อาหารแบบซากอินทรีย์/ย่อยสลาย (Detritus food chain) มีผู้บริโภคซาก หรือ

ผยู้ ่อยสลายอินทรยี สาร
4. โซ่อาหารแบบผสม (Mixed chain) เปน็ โซอ่ าหารหลายๆ แบบผสมอย่ใู นสายเดยี วกนั

• ตัวอยา่ งโซอ่ าหาร

ภาพแสดงโซ่อาหาร
การถ่ายทอดพลังงานจะเร่ิมจากผู้ผลิตดึงพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้สร้างอาหาร จากน้ัน
พลังงานจะถ่ายทอดผ่านการกินไปเป็นทอดๆ ผู้บริโภคจะได้พลังงานเพียง 10% จากอาหารท่ีบริโภค เรียกว่า
“กฎ 10%” พลังงานส่วนที่เหลือจาก 10% จะถูกใช้ไปในกระบวนการหายใจ และการขับถ่าย และกลับคืนสู่
ส่ิงแวดล้อมในรปู พลังงานความร้อน ผู้บรโิ ภคข้ันสุดทา้ ย คอื ผู้ย่อยสลายอินทรยี สาร (Decomposer)
2) สายใยอาหาร (Food Web)
• หมายถงึ ความสัมพนั ธร์ ะหว่างโซ่อาหารหลายๆ โซอ่ าหารในระบบนิเวศท่มี คี วามซับซ้อน
• ผู้บรโิ ภคแต่ละชนดิ ไม่ได้กนิ อาหารชนดิ เดยี ว และไม่ไดเ้ ป็นอาหารของสัตวช์ นดิ เดยี ว
• ตวั อย่างสายใยอาหาร

ภาพแสดงสายใยอาหาร

วิทยาศาสตร์ ชวี วิทยา (50) _________________________________โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปีที่ 27

G) พีระมิดนิเวศ (Ecological Pyramid)
ในลักษณะของสามเหล่ียมพีระมิดของสิง่ มีชวี ิต (Ecological Pyramid) แบง่ ได้ 3 ประเภทตามหน่วย

ที่ใชว้ ดั ปริมาณของลําดบั ขัน้ ในการกิน
1. พีระมิดจาํ นวน (Pyramid of Number) เป็นพรี ะมดิ ท่ีบอกจาํ นวนสิง่ มีชีวิตในแต่ละลาํ ดับขั้นเชิง

อาหารในหน่วยต้นหรือตวั ตอ่ หนว่ ยพน้ื ทห่ี รือปรมิ าตร
2. พรี ะมิดมวลชีวภาพ (Pyramid of Biomass) เป็นพีระมิดแสดงปริมาณส่ิงมีชีวิตในแต่ละลําดับ

ข้นั เชิงอาหารในหน่วยนาํ้ หนักแห้งหรือจาํ นวนแคลอรตี อ่ หน่วยพ้ืนท่ีหรือปรมิ าตร
3. พีระมิดพลังงาน (Pyramid of Energy) เป็นพีระมิดแสดงปริมาณสิ่งมีชีวิตโดยบอกเป็นอัตรา

การถ่ายทอดพลังงาน หรืออัตราผลิตของแต่ละลําดับขั้นเชิงอาหารในหน่วยของพลังงานต่อหน่วยพ้ืนท่ีหรือ
ปรมิ าตรต่อหน่วยเวลา

พลังงานท่ีผู้บริโภคนําไปสร้างเน้ือเย่ือของตนเองจึงเหลือเพียง 10% (กฎ 10% ของการถ่ายทอด
พลงั งานในโซ่อาหาร) ของพลังงานศักยท์ ้ังหมดในส่งิ มีชีวิตท่เี ป็นอาหารของตนเอง

Pyramid of Energy Pyramid of Biomass Pyramid of Numbers

แผนภาพพรี ะมิดนเิ วศแบบต่างๆ

การถ่ายทอดสารปนเป้ือนในโซ่อาหารและสายใยอาหาร : การสะสมสารเคมี / สารมลพิษผ่านการกิน
ตอ่ กนั ในสายใยอาหาร (Food Web)

โดยความเข้มขน้ ของสารเคมีทเ่ี กิดการสะสมนจ้ี ะเพมิ่ ขน้ึ เรอ่ื ยๆ (Biomagnification) ตามลําดับขั้นอาหาร
(Tropic Level)

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27 _________________________________วทิ ยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (51)

H) วฏั จักรของสารในระบบนิเวศ
การหมุนเวียนของสารเคมีอย่างสลับซับซ้อน ซ่ึงอาจเกิดจากสารหน่ึงเปลี่ยนแปลงเป็นอีกสารหนึ่ง

มกี ารหมนุ เวยี นในระบบของส่ิงมีชวี ิตไปเรอ่ื ยๆ จนสดุ ทา้ ยจะหมนุ เวียนกลับมาอยใู่ นสภาพเดมิ แบง่ เปน็ 2 ลักษณะ คือ
1) วัฏจกั รของสารท่ีมีการหมนุ เวยี นผ่านบรรยากาศ เช่น ออกซิเจน คารบ์ อน น้าํ ไนโตรเจน เปน็ ตน้
2) วฏั จกั รของสารที่มกี ารหมนุ เวียนโดยไมผ่ า่ นบรรยากาศ เชน่ ฟอสฟอรัส กํามะถนั แคลเซยี ม เปน็ ตน้
วฏั จกั รที่น่าสนใจ มีดงั น้ี
1. วฏั จกั รของนา้ํ (Water Cycle)

ภาพวฏั จกั รของนาํ้ (Water Cycle)
นาํ้ จากแหล่งนํา้ ตา่ งๆ เชน่ แมน่ ํ้า ทะเล ลําคลองจะระเหยเป็นไอนํ้าสู่บรรยากาศ ไอนํ้าในบรรยากาศ
เม่ือมีจํานวนมากขึ้น ความชื้นก็มาก ทําให้รวมตัวกันเป็นเมฆตกลงมาเป็นฝน เมื่อฝนตกลงมา น้ําส่วนใหญ่จะ
ไหลลงสู่แหล่งนํ้าต่างๆ แต่นํ้าบางส่วนก็ยังถูกเก็บไว้ใต้ดิน พืชดึงมาใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ส่วน
สัตว์จะได้รับนํ้าโดยตรงจากแหล่งนํ้า หรือจากการบริโภคพืชเป็นอาหาร น้ําจากแหล่งนํ้ากลับคืนสู่บรรยากาศ
ของโลกในรปู แบบไอนาํ้ อกี คร้ังหนึง่ จากการระเหย
2. วัฏจักรคาร์บอน (Carbon Cycle) เนื่องจากคาร์บอนเป็นองค์ประกอบหลักที่สําคัญของ
อินทรียสารในสิ่งมีชีวิต อีกท้ังยังเป็นองค์ประกอบหลักของสารอนินทรีย์ที่มีความจําเป็นต่อการดํารงชีวิต เช่น
แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ โดยข้ันตอนการหมนุ เวยี นของคาร์บอนมดี ังนี้
คาร์บอนในชั้นบรรยากาศจะอยู่ในรูปแบบของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ซ่ึงได้มาจาก
กระบวนการหายใจของสิ่งมีชีวิต และกระบวนการเผาไหม้ต่างๆ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จะถูกพืชนําไปใช้ใน
กระบวนการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงเพอื่ สรา้ งอาหาร จึงเป็นเหตใุ ห้เกิดการถ่ายทอดคาร์บอนไปยังส่ิงมีชีวิตอ่ืนๆ ท่ีกินพืช
และกินสัตว์ต่อกันเป็นทอดๆ พืช และสัตว์จะปลดปล่อยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออกมาสู่บรรยากาศในกระบวนการ
หายใจขณะยังมีชีวิต เม่ือพืชและสัตว์ตายลงจะถูกผู้ย่อยสลายอินทรียสาร เช่น จุลินทรีย์เปลี่ยนสารประกอบ
อินทรยี ์ในรา่ งกายหรือในซากให้เปน็ แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดป์ ลดปลอ่ ยกลับคืนสบู่ รรยากาศอีกครัง้

วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (52) _________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปีท่ี 27

3. วฏั จักรไนโตรเจน (Nitrogen Cycle) แก๊สไนโตรเจน (N2) มีสัดส่วนในอากาศประมาณร้อยละ 70
แต่สิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่ไม่สามารถดึงแก๊สไนโตรเจนในอากาศมาใช้ประโยชน์ได้ทันที จะต้องแปลงให้อยู่ในรูปของ

สารประกอบไนโตรเจนในรูปอื่นก่อน โดยส่ิงมีชีวิตต้องการธาตุไนโตรเจน พืชส่วนใหญ่จะได้รับธาตุไนโตรเจน
ในรูปแบบของไนเตรต (NO-3 ) และเกลือแอมโมเนีย (NH3 / NH+4 ) จากดิน มีพืชบางชนิดเท่านั้นท่ีจะนําธาตุ
ไนโตรเจนจากอากาศท่ีอย่ใู นรูปของแก๊สไนโตรเจนมาใช้ได้ พืชจําพวกน้ีต้องมีแบคทีเรียจําพวก Nitrogen fixing

bacteria ทส่ี ามารถจับแกส๊ ไนโตรเจนในอากาศมาใชไ้ ด้
NO-2 NO-3
ดงั สมการนี้ : N2

Nitrogen fixing bacteria เช่น ไรโซเบียม (Rhizobium) ที่อยู่ร่วมกับพืชตระกูลถั่วที่ปมรากถั่ว
พืชจะดูดซึมสารประกอบไนโตรเจนมาใช้สังเคราะห์เป็นโปรตีน และใช้ในการเจริญเติบโต เมื่อพืชและสัตว์ตายลง
ผูย้ ่อยสลายอินทรยี สารจะย่อยสลายซากพืช และซากสัตวไ์ ดส้ ารประกอบไนเตรตทบั ถมอย่ใู นดิน และพืชสามารถ
นาํ กลบั มาใชไ้ ดใ้ หม่ วนเปน็ วัฏจกั ร

โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27 _________________________________วิทยาศาสตร์ ชีววิทยา (53)

ภาพวัฏจกั รไนโตรเจน (Nitrogen Cycle)

จาํ พวกของแบคทีเรียในวฏั จกั รไนโตรเจน NO-2 NO-3
NH3
• Nitrogen fixing bacteria สามารถเปลย่ี น N2 N2 NH+4

• Ammonifying bacteria สามารถเปลย่ี นสารประกอบ N2
• Denitrifying bacteria สามารถเปล่ยี น NO-2 , NO-3 , NH+4

I) ประชากร (Population)

กลุ่มของส่ิงมีชีวิตท่ีเป็นชนิด (Species) เดียวกัน อาศัยอยู่ในแหล่งที่อยู่ (Habitat) เดียวกัน ในช่วง

เวลาเดยี วกัน

ความหนาแน่นของประชากร (Population Density) : เป็นคุณสมบัติท่ีเกี่ยวกับขนาดของประชากร

หากไมส่ มดุลกบั ส่งิ แวดลอ้ มจะก่อใหเ้ กิดปญั หาตา่ งๆ ตามมาเปน็ ลกู โซ่ สามารถวัดความหนาแน่นประชากรได้ดงั นี้

• ความหนาแน่นของประชากร (บนบก) = จาํ นวนสมาชิกของประชากร
พน้ื ทข่ี องแหล่งท่อี ยู่

• ความหนาแนน่ ของประชากร (ในน้ํา) = จาํ นวนสมาชิกของประชากร
ปรมิ าตรของแหลง่ ทอี่ ยู่

การเปล่ยี นแปลงขนาดของประชากร คือ การเปล่ียนแปลงจํานวนของประชากรในพื้นท่ีใดพื้นที่หนึ่ง
ในช่วงเวลาทีร่ ะบุไว้ สิ่งท่มี ีผลตอ่ ขนาดของประชากรมี 4 ปัจจัย ดงั น้ี

1. การเกิด (Natality) หมายถึง ความสามารถที่จะถา่ ยทอดพันธกุ รรมใหม้ ีจาํ นวนมากข้ึน
2. การตาย (Mortality) หมายถงึ การตายของประชากรในประชากรกลุม่ หนึ่งๆ
3. การอพยพเข้า (Immigration) หมายถงึ การเคลื่อนยา้ ยเขา้ มาอยู่ในกลมุ่
4. การอพยพออก (Emigration) หมายถึง การเคล่อื นย้ายออกไปจากกลมุ่

การอพยพ (Migration) หมายถึง การออกไปจากกลุ่มของสัตว์บางชนิดอย่างช่ัวคราวตามฤดูกาล
และจะกลบั เข้ามาเมอื่ ส่งิ แวดลอ้ มในถิน่ ท่ีอยู่อาศัยของมันกลับคนื เขา้ ส่สู ภาวะตามปกติ โดยมีสาเหตุของการอพยพ
เชน่ หลีกเลีย่ งจากสภาพอากาศ และฤดกู าลท่ีไม่เหมาะสม เพือ่ หาแหลง่ สบื พันธใ์ุ นการขยายเผ่าพนั ธ์ุ เปน็ ต้น

วทิ ยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (54) _________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27

อัตราการเปล่ยี นแปลงของประชากร
1. อัตราการเพิ่มของประชากร = อัตราการเกิดมาก + อัตราการอพยพเขา้ มาก
2. อัตราการลดของประชากร = อตั ราการตายมาก + อัตราการอพยพออกมาก

แผนผงั แสดงปัจจยั ท่มี ีผลต่อความหนาแนน่ ของประชากร

รูปแบบการเพิ่มของประชากร
1. เป็นการเพิ่มประชากร โดยท่ีสมาชิกของประชากรน้ันมีการสืบพันธุ์เพียงคร้ังเดียว (Single
Reproduction) ประชากรมีความสามารถในการเพิ่มประชากรในระยะแรกได้อย่างรวดเร็ว มีจํานวนลูกมากต่อ
การผลติ หนึ่งคร้ัง และสามารถผลติ ลูกได้ เมอ่ื นํามาเขียนกราฟจะได้กราฟแบบเอกซ์โพเนนเชียล (Exponential)
คอื มีอัตราการเกิดสูงกวา่ อตั ราการตายมาก
2. เป็นการเพมิ่ ประชากร โดยสมาชิกของประชากรนั้นมีโอกาสในการสืบพนั ธ์ไุ ด้หลายคร้ังในช่วงชีวิต
(Multiple Reproduction) จะผลิตลูกหลานได้จํานวนน้อยต่อการผลิตหนึ่งครั้ง และมีวัฏจักรชีวิตค่อนข้าง
ยาวนาน ตวั ออ่ นจะได้รับการดูแลเปน็ อย่างดแี ละมอี ัตราการตายต่ํา เช่น สุนัข ชา้ ง มา้ คน ฯลฯ
เม่อื นาํ การเจริญลักษณะนี้มาเขยี นกราฟจะไดก้ ราฟแบบลอจิก (Logistic) หรือในกรณีของสิ่งมีชีวิตท่ี
เป็นกราฟแบบเอกซ์โพเนนเชียล (Exponential) ในช่วงแรกให้กราฟออกมาเป็นรูป J-shape ในขณะที่สมาชิก
ของประชากรเพิม่ ขน้ึ เร่ือยๆ สง่ ผลให้เกดิ ความหนาแน่นมากขึ้น การแก่งแย่งเพื่อให้ได้มาซ่ึงปัจจัยพ้ืนฐานท่ีมีอยู่
อย่างจาํ กัด (K) มสี งู ขึ้น จนถึงจุดสูงสดุ ทีส่ ภาพพ้นื ท่ีนนั้ ๆ รับได้ ณ เวลาน้ันอัตราการเกิดจะค่อยๆ ลดลงในขณะ
ทีอ่ ตั ราการตายเพิม่ ข้ึนจนในท่สี ดุ เท่ากับอัตราการเกิด หรือท่ีเรียกว่า จุดสมดุล การเพิ่มประชากรเป็นแบบ Logistic
ซ่งึ กราฟมกั เปลย่ี นเปน็ รูป S-shape

จาํ นวนประชากร (พนั ตัว)

70

60

50

40 ระยะท่ีมกี ารเพม่ิ ของประชากรอย่างรวดเร็ว

30

20 ระยะท่ีมีการเพมิ่ ของประชากร
อย่างชา้ ๆ
10

0 รุ่น
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

กราฟแบบเอกซโ์ พเนนเชียล (Exponential)

โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 _________________________________วิทยาศาสตร์ ชีววิทยา (55)

จํานวนเซลลย์ ีสต์ ระยะที่มีอตั ราการเพ่ิมประชากรคงท่ี

700
600 ระยะที่มีอัตราการเพิ่มประชากรชา้ ลง
500
400 ระยะที่มีอัตราการเพ่ิมประชากรอย่างรวดเรว็
300
200 ระยะที่มอี ัตราการเพ่ิมประชากรอย่างชา้ ๆ
100

0 เวลา (ชว่ั โมง)
2 4 6 8 10 12 14 16 18

การเพิ่มประชากรเปน็ แบบ Logistic

สิ่งมชี ีวิตแตล่ ะชนิดมแี บบแผนการรอดชีวิตของประชากร ซึ่งขึ้นอยู่กับช่วงอายุขัย (Life Span) ของ
สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด ส่ิงมีชีวิตบางชนิด เช่น แมลงมีช่วงอายุขัยสั้น แต่ในสัตว์ขนาดใหญ่ เช่น ช้างและคนมีช่วง
อายขุ ยั ยาวนานเฉลย่ี 70-120 ปี

การรอดชีวิตของประชากร
ตลอดชว่ งอายขุ ยั ของส่ิงมีชวี ติ แตล่ ะชนดิ จะมีอัตราการอยู่รอดในช่วงอายุขัยต่างๆ ไม่เหมือนกัน การรอด
ชีวิตของประชากรในชว่ งวยั ต่างๆ กัน ทาํ ใหค้ วามหนาแนน่ ของของประชากรท่อี ยูใ่ นวยั ตา่ งๆ แตกต่างกันดว้ ย

การรอดชวี ติ ตอ่ 1,000 หนว่ ย

1,000 รูปแบบท่ี 1

100 รปู แบบท่ี 2
10 รปู แบบที่ 3

0 รอ้ ยละของอายุขยั
25 50 75 100

กราฟการรอดชีวติ ของประชากรสิ่งมีชวี ิต

กราฟการรอดชวี ติ ของประชากรจะมอี ยู่ 3 รปู แบบ คือ
รูปแบบท่ี 1 สิ่งมีชีวิตมีอัตราการรอดชีวิตสูงในวัยแรกเกิดและจะคงท่ีเม่ือโตข้ึน หลังจากนั้นอัตรา
การรอดชวี ติ จะตาํ่ เมื่อสูงวยั ขึ้น สิง่ มีชีวิตดังกล่าว เช่น มนษุ ย์ ชา้ ง มา้ สุนขั เปน็ ตน้
รปู แบบท่ี 2 ส่งิ มีชวี ิตมอี ัตราการรอดชีวิตทีเ่ ท่ากันในทกุ วัย เชน่ ไฮดรา นก เต่า เปน็ ตน้
รูปแบบที่ 3 ส่ิงมีชีวิตมีอัตราการรอดชีวิตตํ่าในระยะแรกของช่วงชีวิต หลังจากนั้นเม่ืออายุมากขึ้น
อตั ราการรอดชีวติ จะสงู เชน่ ปลา หอย และสัตวไ์ ม่มีกระดูกสนั หลังสว่ นใหญ่ เป็นตน้

วทิ ยาศาสตร์ ชีววิทยา (56) _________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27

J) การเปลย่ี นแปลงแทนที่ของกลุ่มสงิ่ มชี ีวติ ในระบบนิเวศ (Ecological Succession)
การเปลี่ยนแปลงแทนท่ีของกลุ่มสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ หมายถึง การแทนที่ของกลุ่มส่ิงมีชีวิตเป็น

ยุคๆ จากยุคแรกจนถงึ ยคุ สงั คมสิง่ มชี วี ิตข้ันสุด (Climax Community) เนื่องจากสง่ิ แวดล้อมเปลีย่ นแปลงไป
การเปลีย่ นแปลงแทนท่ีแบง่ ตามลักษณะการเกดิ ออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
1. การเปลี่ยนแปลงแทนท่ีแบบปฐมภูมิ (Primary Succession) คือ การเปลี่ยนแปลงแทนที่

ของกลุ่มส่ิงมีชวี ิตในสถานท่ีทีไ่ มม่ สี ่งิ มชี ีวติ ใดอาศัยอยู่ก่อนเลย

ภาพแสดงการเปล่ียนแปลงแทนที่แบบปฐมภมู ิ
2. การเปล่ยี นแปลงแทนทแี่ บบทตุ ิยภูมิ (Secondary Succession) คือ การเปลี่ยนแปลงแทนที่
ของกลุ่มสิ่งมีชีวิตในบริเวณท่ีเคยมีส่ิงมีชีวิตอาศัยอยู่ก่อนแต่ถูกทําลายด้วยปัจจัยบางอย่าง เช่น นํ้าท่วมนานๆ
ไฟไหม้ป่า เป็นตน้
มนุษย์กบั สภาวะแวดล้อมและทรพั ยากรธรรมชาติ
สภาวะแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาซึ่งเป็นปกติ แต่ถ้าหากมีการเปล่ียนแปลงไปมากจนเป็น
อันตรายตอ่ การดาํ รงชีวติ ในด้านใดด้านหนึง่ แล้ว จนถงึ เป็นอันตรายต่อสงิ่ มชี วี ิตจะเรยี กวา่ มลพิษ (Pollution)
มลพษิ ทางน้ํา
วิธกี ารตรวจนํ้าเสยี ทําได้ 2 วิธหี ลกั ดงั น้ี
1. วัดปริมาณแบคทีเรยี โคลฟิ อร์ม
2. วดั ปริมาณแกส๊ ออกซิเจนในน้ําซงึ่ ทาํ ได้ 3 วธิ ีดงั นี้
2.1 วัดค่า DO (Dissolved Oxygen) คือ ปริมาณ O2 ท่ีละลายในน้ํา ถ้า DO น้อยกว่า 3 mg/lit
แสดงว่า น้าํ เสยี
2.2 วัดคา่ BOD (Biochemical Oxygen Demand) คอื ปริมาณ O2 ในน้ําท่ีจุลินทรีย์ต้องการใช้ใน
การยอ่ ยสลายสารอินทรีย์ ถ้าค่า BOD มากกวา่ 100 mg/lit แสดงว่า น้ําเสีย
2.3 วดั ค่า COD (Chemical Oxygen Demand) คือ ปรมิ าณ O2 ที่ใช้ในการสลายสารอินทรีย์ในน้ํา
โดยใชส้ ารเคมี เช่น โพแทสเซยี มไดโครเมต เป็นต้น
มลพิษทางอากาศ
อากาศทม่ี สี ว่ นประกอบเปลย่ี นแปลงไปจากปกตมิ สี าเหตุหลายประการ สาเหตุสาํ คัญ เช่น การปล่อยสาร
ต่างๆ เข้าสู่ชั้นบรรยากาศของโรงงานอุตสาหกรรมหรือบริเวณที่มีการก่อสร้าง ซ่ึงอาจทําให้มีสารเจือปนอยู่ใน
อากาศปริมาณมากจนก่อใหเ้ กิดผลเสียต่อการดาํ รงชีวิตของคน สตั ว์ พืช รวมถงึ ส่งิ มีชวี ติ ชนดิ อ่นื ในบริเวณน้ัน

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปีที่ 27 _________________________________วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (57)

ปรากฏการณ์เรือนกระจก (Greenhouse Effect) คือ ปรากฏการณ์ที่แก๊สเรือนกระจกในบรรยากาศมี
ปรมิ าณมากเกนิ ไป ซ่ึงแกส๊ เหล่านัน้ จะดดู ซบั ความร้อนและคายความร้อนคืนสโู่ ลกจงึ ทําใหโ้ ลกมอี ณุ หภมู สิ งู ข้ึน

แก๊สเรือนกระจกที่สําคัญ เช่น แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) แก๊สมีเทน (CH4) ออกไซด์ของไนโตรเจน
และไอนาํ้ (H2O) แกส๊ เหล่าน้ีมคี วามสามารถในการเกบ็ กักความรอ้ นได้ดี

การทําลายโอโซนในบรรยากาศ
การลดลงของโอโซน (O3) ในบรรยากาศจะส่งผลให้รังสีอัลตราไวโอเลต (UV) จากดวงอาทิตย์ส่องผ่าน
มายงั โลกได้มากขนึ้ และสาร CFC เป็นสาเหตุสาํ คัญในการทาํ ลายโอโซน
ขา่ วลา่ มาแรง!! หลัก 5R ลดขยะและมลพิษ
1. Reduce คือ การลดปรมิ าณขยะ โดยลดการใชผ้ ลิตภัณฑ์ท่ีมีบรรจภุ ัณฑส์ น้ิ เปลือง
2. Reuse คือ การนํามาใช้ซาํ้ เชน่ ขวดแกว้ กล่องกระดาษ กระดาษพิมพ์หน้าหลงั เป็นต้น
3. Repair คอื การซ่อมแซมแกไ้ ขสงิ่ ของต่างๆ ให้สามารถใชง้ านต่อได้
4. Reject คือ การหลกี เล่ยี งใชส้ ่ิงที่ก่อให้เกิดมลพิษ
5. Recycle คือ การแปรสภาพและหมนุ เวียนนํากลับมาใชไ้ ดใ้ หม่ โดยนําไปผา่ นกระบวนการผลติ ใหม่อีกคร้งั

วทิ ยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (58) _________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปที ี่ 27

แบบฝก หัด

LESSON 1 เซลล

1. ออรแ์ กเนลล์ใดในเซลลพ์ ชื ทไี่ มพ่ บดเี อ็นเอ (O-NET’52)
1) นวิ เคลยี ส
2) แวควิ โอล
3) คลอโรพลาสต์
4) ไมโทคอนเดรยี

2. เซลล์ท่มี ีส่วนประกอบดงั ตอ่ ไปนี้ : ดเี อ็นเอ ไรโบโซม เย่อื หุ้มเซลล์ เอนไซมแ์ ละไมโทคอนเดรียเป็นเซลล์ของ
ส่งิ มีชีวิตในข้อใด (O-NET’53)
1) แบคทเี รีย
2) พชื เท่าน้ัน
3) สัตวเ์ ทา่ นน้ั
4) อาจเปน็ ไดท้ ัง้ พชื หรือสัตว์

3. ขอ้ ใดเรยี งลําดบั ระยะการแบ่งเซลลแ์ บบไมโทซิสไดถ้ ูกต้อง
I.

II.

III.

IV.

1) I., II., III., IV.
2) III., II., I., IV.
3) IV., II., I., III.
4) II., I., IV., III.

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27 _________________________________วทิ ยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (59)

4. เม่อื เสรจ็ สิน้ การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสในร่างกายของเพศชายแล้วเซลล์ท่ีเกิดขึ้นจะมีรูปแบบโครโมโซมดัง
ข้อใด
1) 44 + XX
2) 44 + XY
3) 22 + X
4) 22 + Y

5. โครงสรา้ งของเซลล์ 4 ชนดิ ในนํา้ เป็นดงั น้ี (O-NET’49)

ชนิดส่งิ มชี ีวติ ผนงั เซลล์ โครงสรา้ งของเซลล์ นิวเคลียส
แวควิ โอล คลอโรฟิลล์
ก 9 -
ข -9
ค - 9- 9
ง 9
- 99
-
9 --

สิง่ มชี ีวติ ในข้อใดอยู่ในอาณาจกั รมอเนอรา
1) ก และ ง
2) ข และ ค
3) ค และ ง
4) ข และ ง

6. เซลล์ต่อมไรท้ อ่ ทําหนา้ ท่สี งั เคราะห์ฮอร์โมนสาํ หรบั ส่งไปยงั สว่ นต่างๆ ของร่างกายจะมีออร์กาแนลล์ใดมาก
(O-NET’53)
1) แวควิ โอล
2) ไลโซโซม
3) ไมโทคอนเดรีย
4) รา่ งแหเอนโดพลาสซึม

วิทยาศาสตร์ ชวี วิทยา (60) _________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27

LESSON 2 การเคล่ือนทขี่ องสารผา นเซลล

1. เม่ือนํากระเพาะปัสสาวะของสกุ รมาบรรจุสารละลายนํ้าตาล รัดปลายท้ังสองด้านให้แน่นและนําไปช่ังนํ้าหนัก
จากน้นั จงึ นาํ ไปแชใ่ นน้ํากล่นั และชัง่ น้าํ หนักเปน็ ระยะๆ กราฟใดแสดงการเปล่ียนแปลงน้ําหนักของกระเพาะ
ปัสสาวะไดถ้ กู ตอ้ ง (O-NET’52)

นํ้าหนกั (กรัม)

1)

เวลา (ชม.)

นํ้าหนกั (กรัม)

2)

เวลา (ชม.)

น้ําหนัก (กรัม)

3)

เวลา (ชม.)

น้ําหนัก (กรัม)

4)

เวลา (ชม.)

2. เม่ือหยดนํ้าเกลือลงบนสไลด์ท่ีมีใบสาหร่ายหางกระรอกอยู่จะสังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลงของเซลล์คล้าย
กับที่เกดิ ข้ึนเมอื่ หยดสารใดมากท่ีสุดและเกิดเร็วที่สุด (O-NET’53)
1) น้าํ กลั่น
2) นา้ํ เชือ่ ม
3) นํา้ นมสด
4) แอลกอฮอล์

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 _________________________________วิทยาศาสตร์ ชีววิทยา (61)

3. ลอกผิวใบว่านกาบหอยแล้วแช่ลงในสารละลายนา้ํ ตาลกลูโคส เมื่อนาํ มาช่องด้วยกลอ้ งจลุ ทรรศนเ์ ห็นลักษณะ
ดังภาพ (O-NET’49)

ผนงั เซลล์

เย่ือหมุ้ เซลล์

นิวเคลียส

สารละลายกลโู คสนเ้ี ป็นสารละลายประเภทใด เมอ่ื เทียบกับสารละลายในเซลล์ผวิ ใบ
1) สารละลายไฮโพโทนคิ
2) สารละลายไฮเพอรโ์ ทนคิ
3) สารละลายไอโซโทนคิ
4) อาจเปน็ ขอ้ 2) หรือ 3) ก็ได้

4. การหลั่งเพปซิโนเจนออกจากเซลลผ์ นงั กระเพาะอาหารอาศัยกระบวนการใด (O-NET’48)
1) กระบวนการการแพร่
2) กระบวนการเอกโซไซโทซสี
3) การลาํ เลยี งแบบฟาซลิ เิ ทต
4) การลําเลยี งแบบใชพ้ ลงั งาน

LESSON 3 ภาวะธาํ รงดลุ

1. ข้อใดแสดงสภาวะของเลือดในคนก่อนและหลงั การออกกาํ ลังกายใหม่ๆ ไม่ถูกตอ้ ง (O-NET’52)

คา่ ทีว่ ดั ก่อนออกกําลงั กาย หลังออกกําลงั กาย

1) คา่ pH ของเลอื ด 7.4 7.8
2) ความเข้มขน้ ของออกซิเจน (หน่วย/ซม.3) 30 20
3) ความเขม้ ข้นของคารบ์ อนไดออกไซด์ (หน่วย/ซม.3) 60 65
4) ความเขม้ ขน้ ของกรดแลกตกิ (หน่วย/ซม.3) 15 35

วทิ ยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (62) _________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ี่ 27

2. พจิ ารณาแผนภาพข้างล่างที่แสดงกลไกการรกั ษาสมดุลอณุ หภมู ใิ นร่างกายมนุษย์ (O-NET’52)

อากาศหนาว อากาศร้อน

อณุ หภมู ขิ องร่างกายลดลง ก อุณหภูมิของร่างกายเพม่ิ ข้ึน ข

กระตุ้น กระตุ้น
ไฮโพทาลามสั

เสน้ ขนลกุ ชัน ค เส้นขนเอนราบ ฉ
เส้นเลือดฝอยหดตัว ง เสน้ เลือดฝอยขยายตัว ช
อัตราเมแทบอลิซมึ ลดลง จ อตั ราเมแทบอลิซึมเพ่มิ ขึ้น ซ

การตอบสนองในขอ้ ใดไม่ถูกต้อง
1) ก. และ ข.
2) ค. และ ฉ.
3) ง. และ ช.
4) จ. และ ซ.

3. สัตว์ในข้อใดตอ่ ไปนมี้ ีอณุ หภูมริ า่ งกายในสภาวะปกตสิ ูงทส่ี ดุ (O-NET’52)
1) อูฐ
2) ช้าง
3) แมว
4) นกกระจบิ

4. เหตุใดผู้ดื่มเครื่องด่มื ผสมแอลกอฮอลจ์ ึงมักปสั สาวะบ่อยกว่าปกติ (O-NET’53)
1) ไตทาํ งานอย่างมปี ระสทิ ธิภาพสงู ขน้ึ
2) การหล่งั ฮอร์โมนวาโซเพรสซนิ ลดลง
3) แอลกอฮอลเ์ ปน็ พษิ ตอ่ รา่ งกายจงึ ถกู กําจัดทิ้งอย่างรวดเรว็
4) ร่างกายควบคุมการทํางานของกล้ามเนอ้ื กระเพาะปสั สาวะไมไ่ ด้

5. การดม่ื น้ําสม้ เป็นปริมาณมากทาํ ใหเ้ ลอื ดมสี ภาวะเปน็ กรดจริงหรือไม่ เพราะเหตุใด (O-NET’53)
1) เปน็ กรดจรงิ เพราะวติ ามนิ ซลี ะลายน้าํ ได้
2) เป็นกรดจรงิ เพราะนา้ํ สม้ มรี สเปรี้ยวและมีปรมิ าณกรดสูง
3) ไม่เป็นกรดเพราะเลอื ดมีสมบัตเิ ปน็ สารละลายบัฟเฟอร์
4) ไม่เปน็ กรดเพราะร่างกายจะไดร้ บั อันตรายได้หากเลอื ดมสี ภาวะเป็นกรด

โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปีที่ 27 _________________________________วทิ ยาศาสตร์ ชวี วิทยา (63)

6. โครงสร้างของส่ิงมีชีวติ ในขอ้ ใดตอ่ ไปน้ที ี่ไม่ได้ทาํ หน้าท่ีป้องกนั การสูญเสียน้ําจากร่างกาย (O-NET’51)
1) ขนนก
2) เกล็ดปลา
3) ผนังลาํ ตัวแมลง
4) เย่ือหมุ้ เซลลพ์ ารามีเซียม

7. สารใดไมพ่ บในปัสสาวะคนปกติ
1) โปรตีน
2) ยเู รยี
3) ยรู กิ
4) เกลอื โซเดยี ม

LESSON 4 ภูมคิ มุ กันรางกาย

1. อวัยวะในขอ้ ใดต่อไปนไ้ี มเ่ ป็นสว่ นหนึง่ ของระบบนาํ้ เหลอื งในร่างกายมนษุ ย์ (O-NET’52)
1) มา้ ม
2) ทอนซลิ
3) ตอ่ มไทมัส
4) ตอ่ มหมวกไต

2. เมือ่ เชื้อโรคเขา้ สู่รา่ งกายคน รา่ งกายจะมีปฏกิ ริ ิยาตอบสนองโดยสร้างสารใดมาตอ่ สู้ (O-NET’53)
1) เซร่มุ
2) แอนติเจน
3) ทอกซอยด์
4) แอนติบอดี

3. หลกั การทาํ งานของวคั ซนี คืออะไร
1) ใช้ทอกซนิ กระตุ้นการสร้างเซลล์พลาสมา
2) ใชท้ อกซินกระตนุ้ การสรา้ งเซลล์ทผี ู้ช่วย
3) ใช้เชื้อโรคทแ่ี ข็งแรงกระตนุ้ การสรา้ งเซลลเ์ มมเมอรี
4) ใช้เชือ้ โรคทีต่ ายแลว้ กระตุ้นการสรา้ งเซลล์เมมเมอรี

4. วัคซีนกับเซรุ่มต่างกันอย่างไร
1) วคั ซนี เปน็ ภูมิคมุ้ กนั ก่อเอง เซร่มุ เป็นภมู คิ ุ้มกันทีร่ บั มา
2) เซรุ่มเปน็ ภูมิคุ้มกันท่กี ่อเอง วัคซีนเปน็ ภูมิคมุ้ กนั ทีร่ บั มา
3) วคั ซนี และเซรุ่มเป็นภูมิคุ้มกนั ทีก่ ่อเอง
4) วัคซนี และเซรุม่ เปน็ ภมู ิคมุ้ กันทร่ี ับมา

วทิ ยาศาสตร์ ชวี วิทยา (64) _________________________________โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปที ่ี 27

5. ขอ้ ใดกล่าวถูกต้อง
1) เชื้อเอดส์เกิดจากไวรสั จงึ ไมส่ ามารถผลิตวัคซีนป้องกนั ได้
2) วคั ซนี และ เซรุ่ม ท่ีผลติ จากเชือ้ โรคเดียวกนั ตอ้ งใช้ค่กู ัน
3) วัคซีนใหผ้ ลตอ่ รา่ งกายนอ้ ยกว่าเซรุ่ม แตภ่ ูมคิ ุม้ กนั ของโรคได้นานกวา่ เซรุ่ม
4) วคั ซนี และเซร่มุ มีกรรมวิธผี ลิตเหมอื นกนั แตม่ ีปฏกิ ริ ยิ าในรา่ งกายทต่ี ่างกัน

LESSON 5 พันธศุ าสตร

1. ลกั ษณะทางพนั ธุกรรมในข้อใดต่อไปนีถ้ กู ควบคุมด้วยยนี บนออโตโซม (O-NET’52)
ก. ผมหยิก
ข. ฮโี มฟเิ ลีย
ค. หม่เู ลือด AB
ง. ตาบอดสี

1) ก. และ ข.
2) ค. และ ง.
3) ก. และ ค.
4) ข. และ ง.
2. ถ้าแม่มหี มเู่ ลือด AB และลูกมหี ม่เู ลือด Aพอ่ จะมหี ม่เู ลอื ดใดได้บ้าง (O-NET’52)
1) A หรอื O
2) A หรอื AB
3) A หรอื B หรอื AB
4) A หรอื B หรอื AB หรือ O
3. ถ้าสงิ่ มชี วี ิตไม่เกิดมวิ เทชันเลยอาจจะเกิดเหตุการณ์ใดตอ่ ไปนี้ (O-NET’52)
1) ส่ิงมชี วี ิตบางชนดิ อาจสูญพนั ธุ์
2) จํานวนประชากรของส่ิงมีชีวิตจะคงท่ี
3) จํานวนเผ่าพันธขุ์ องสิ่งมีชีวติ จะเทา่ เดิม
4) สง่ิ มีชีวิตในอดตี และปจั จุบันไมแ่ ตกต่างกัน
4. เทคโนโลยีชวี ภาพในข้อใดถือวา่ เปน็ เทคโนโลยที ่เี ก่าแก่ท่ีสุด (O-NET’52)
1) เทคโนโลยีการหมกั
2) เทคโนโลยกี ารถา่ ยยีน
3) เทคโนโลยีการผสมเทยี ม
4) เทคโนโลยีการผลติ วคั ซนี

โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปที ่ี 27 _________________________________วทิ ยาศาสตร์ ชวี วิทยา (65)

5. สมบตั ขิ องฝา้ ยบที ี (BT) คอื ข้อใด (O-NET’52)
1) ตา้ นทานยาปราบวชั พืชในไรฝ่ ้าย
2) ปลกู ไดใ้ นพน้ื ทที่ ่ีมีความแหง้ แลง้
3) ต้านทานหนอนเจาะสมอฝ้าย
4) ตา้ นทานโรคฝา้ ยท่ีเกิดจากเช้ือไวรสั

6. วิธกี ารขยายพนั ธมุ์ ะม่วงพนั ธด์ุ ใี นขอ้ ใดท่ีทําให้มโี อกาสเกดิ การกลายพันธุส์ งู ท่สี ดุ (O-NET’52)
1) ติดตา
2) ตอ่ กงิ่
3) ตอนกิง่
4) เพาะเมล็ด

7. ขอ้ ใดไม่ถูกตอ้ งเก่ยี วกับดีเอ็นเอ (O-NET’53)
1) ดเี อน็ เอพบไดใ้ นคลอโรพลาสต์
2) ดีเอ็นเอทําหนา้ ท่ีกําหนดชนดิ ของโปรตีน
3) สิง่ มชี วี ิตแตล่ ะชนิดมปี รมิ าณดเี อน็ เอไมเ่ ทา่ กัน
4) ไนโตรเจนเบสชนดิ กวานนี และไซโทซีนจะจับคกู่ ันด้วยพนั ธะคู่เสมอ

8. ถา้ พ่อมีหมู่เลือด B แม่มีหมู่เลือด A และมีลูกชายที่มีหมู่เลือด O โอกาสท่ีจะได้ลูกสาวท่ีมีหมู่เลือด O เป็น
เทา่ ใด (O-NET’53)
1) 1/2
2) 1/4
3) 1/8
4) 1/16

9. ข้อใดจัดเปน็ ส่งิ มีชวี ิตดดั แปลงพันธุกรรม (O-NET’53)
1) แตงโมไม่มเี มลด็
2) กล้วยไมท้ ไี่ ดจ้ ากการเพาะเล้ียงเนือ้ เย่ือ
3) แบคทีเรยี ทสี่ ามารถผลิตฮอร์โมนอินซูลิน
4) กลว้ ยไม้พันธใ์ุ หม่ทีไ่ ดจ้ ากการฉายรงั สีแกมมา

10. หลกั ฐานในขอ้ ใดที่ไม่สามารถใช้ตรวจหาฆาตกรโดยใช้ลายพมิ พ์ดเี อ็นเอ (O-NET’53)
1) เส้นผม
2) ลายนว้ิ มือ
3) คราบอสจุ ิ
4) คราบเลอื ด

วิทยาศาสตร์ ชีววิทยา (66) _________________________________โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปที ่ี 27

LESSON 6 ความหลากหลายทางชีวภาพ

1. ข้อใดสนบั สนุนคํากลา่ วท่ีวา่ “ระบบนเิ วศปา่ ฝนเขตร้อน มีความหลากหลายทางชวี ภาพสูงท่สี ดุ ” (O-NET’52)
1) ป่าลมุ่ นํา้ อะเมซอนในอเมริกาใตเ้ ป็นถนิ่ กําเนดิ ของปลาปิรนั ยา
2) ป่าฝนเขตรอ้ นมีฝนตกหนกั ความช้นื สูง และอุณหภูมิเฉลี่ย 25-27°C
3) ผนื ปา่ ภาคใตข้ องไทยมพี ืชเถาวัลย์ชอื่ ย่านลิเภากระจายอยู่ทวั่ ไปถงึ 200000 ตน้
4) อุทยานแห่งชาติเขาสกจังหวัดสุราษฎร์ธานี มีสัตว์เล้ียงลูกด้วยนม 93 ชนิด นก 153 ชนิด
สตั ว์เล้อื ยคลาน 69 ชนดิ และสัตว์สะเทนิ น้ําสะเทนิ บก 27 ชนดิ

2. ข้อใดไมน่ ับวา่ เปน็ ส่วนหนง่ึ ของความหลากหลายทางชวี ภาพ (O-NET’53)
1) ความหลากหลายของสปชี ีส์
2) ความหลากหลายของพนั ธกุ รรมในส่งิ มีชวี ติ
3) ความหลากหลายของแหลง่ ท่ีอยขู่ องส่ิงมชี ีวิต
4) ความหลากหลายของสารเคมีต่างๆ รอบสิ่งมชี ีวิต

3. ข้อใดต่อไปนี้ในการจัดจําแนกทสี่ มาชิกมีความใกล้ชิดกนั มากทสี่ ุด
1) คลาส (Class)
2) วงศ์ (Family)
3) อนั ดบั (Order)
4) ไฟลัม (Phylum)

LESSON 7 ระบบนิเวศ

1. แบคทเี รียEscherichia coliท่อี าศยั ในลําไส้คนมคี วามสมั พันธแ์ บบเดียวกับส่ิงมชี ีวิตในขอ้ ใด (O-NET’52)
1) ดอกไม้กับแมลง
2) กลว้ ยไม้บนตน้ ไม้ใหญ่
3) พยาธใิ บไม้ในตบั กบั มนษุ ย์
4) แหนแดงกบั ไซยาโนแบคทีเรีย

2. ภาพพรี ะมิดนี้แสดงถึงจาํ นวนของสิ่งมชี วี ิตในโซอ่ าหารใด

1) หญา้ → กระต่าย → งู → เหย่ียว
2) หญา้ → ตก๊ั แตน → แมงมมุ → กบ
3) ต้นไม้ → เพลยี้ → ดว้ งเตา่ ลาย → นก
4) ตน้ ไม้ → หนอนผเี สอื้ → แตนเบยี น → ผู้ยอ่ ยสลายอนิ ทรียสาร

โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27 _________________________________วิทยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (67)

3. วฏั จักรของสารใดในระบบนเิ วศทมี่ คี วามสมั พันธก์ บั การเกดิ ฝนกรดมากท่สี ดุ (O-NET’52)
1) คาร์บอน
2) กาํ มะถัน
3) แคลเซียม
4) ไฮโดรเจน

4. ดัชนีทีแ่ สดงว่านํ้าในแหลง่ น้าํ ธรรมชาติมีคุณภาพดคี ือข้อใด (O-NET’52)
1) น้าํ ทม่ี คี า่ OD สูง
2) น้ําทมี่ ีค่า COD สูง
3) นํา้ ทม่ี คี า่ BOD ต่ํา
4) นา้ํ มีอณุ หภูมิสูงและมีค่า DO ตา่ํ

5. ข้อใดตอ่ ไปนี้กลา่ วไม่ถกู ต้องเก่ียวกบั ภาวะโลกร้อน (O-NET’52)
1) ภาวะโลกร้อนมผี ลน้อยมากตอ่ การอย่รู อดของสิ่งมชี ีวติ ในมหาสมุทร
2) ภาวะโลกรอ้ นทาํ ใหบ้ รเิ วณท่ีชุ่มชน้ื มีฝนตกมากขน้ึ และเกิดพายรุ ุนแรง
3) ภาวะโลกร้อนทาํ ให้เกิดความแหง้ แล้งจนอาจทําใหบ้ างพ้นื ทก่ี ลายเป็นทะเลทราย
4) ภาวะโลกรอ้ นทาํ ให้สารประกอบมีเทนเยือกแขง็ ท่ีฝังตัวอยู่ในชน้ั น้าํ แข็งหลอมเหลวและระเหยเป็นแก๊สมากขน้ึ

6. วิธีการในข้อใดทีใ่ ชค้ วบคุมโรคไวรัสในพชื ไดผ้ ลดที ี่สุด (O-NET’53)
1) การเผาทําลายพืช
2) การฉดี วคั ซนี
3) การใชย้ าปฏชิ วี นะ
4) การเพ่มิ ไนโตรเจนในดิน

7. ในระบบนิเวศซึ่งประกอบด้วย เหยี่ยว งู กระรอก หญ้า และตั๊กแตน สิ่งมีชีวิตในข้อใดมีมวลชีวภาพน้อย
ทีส่ ดุ (O-NET’53)
1) งู
2) เหย่ียว
3) หญ้า
4) กระรอกและตั๊กแตน

8. กระบวนการเปล่ยี นแปลงแทนทแี่ บบใดนาํ ไปสู่การเกิดระบบนเิ วศหลังจากการระเบิดของภเู ขาไฟบนเกาะหนึ่ง
(O-NET’53)
1) แบบปฐมภูมิ
2) แบบทุตยิ ภูมิ
3) แบบตติยภมู ิ
4) แบบจตุรภมู ิ

วิทยาศาสตร์ ชีววิทยา (68) _________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27

9. ทรัพยากรท่เี กดิ ขน้ึ ทดแทนใหมไ่ ด้ในข้อใดทม่ี นุษยน์ ํามาใชป้ ระโยชนม์ ากทส่ี ดุ ในปจั จุบัน (O-NET’53)
1) พลังงานน้าํ
2) พลงั งานลม
3) พลังงานจากคลื่น
4) พลงั งานแสงอาทิตย์

10. เม่ือมสี ารประกอบไนเตรตและฟอสเฟตสะสมอยใู่ นแหลง่ นาํ้ เปน็ ปริมาณมากปรากฏการณใ์ ดจะเกดิ ข้ึนเป็น
อันดบั แรก (O-NET’53)
1) ปริมาณแพลงก์ตอนสัตว์จะเพิม่ ขน้ึ
2) จํานวนของแพลงกต์ อนพืช สาหรา่ ย และพชื นาํ้ จะเพิม่ ขน้ึ
3) สารพิษตกคา้ ง เช่น สารกําจัดแมลง จะมปี ริมาณการสะสมสูงขน้ึ
4) ปรมิ าณสตั วน์ าํ้ เชน่ ปลา สตั ว์ไมม่ กี ระดกู สนั หลงั อืน่ ๆ จะเพิ่มขึน้

11. เม่ือนาํ เนือ้ เย่ือของส่งิ มีชวี ิตทอี่ าศัยอยใู่ นสระน้ําทว่ั ไปมาตรวจหาปริมาณสารกําจดั แมลงชนิดหน่ึงที่ปนเปื้อน
อยใู่ นนาํ้ พบวา่ มกี ารสะสมของสารนี้สูงสุดในปลาซอ่ นเสมอ แสดงวา่ ปลาซอ่ นเป็น (O-NET’49)
1) ผบู้ ริโภคพืชลาํ ดบั แรกของโซ่อาหาร
2) ผบู้ ริโภคท้งั สัตวแ์ ละพืช
3) ผบู้ รโิ ภคสตั ว์ลําดับแรกของโซ่อาหาร
4) ผู้บริโภคสัตวล์ ําดบั สดุ ทา้ ยของโซ่อาหาร

12. สายใยอาหารขา้ งล่างน้ี ค และ ง เป็นสง่ิ มีชีวติ กล่มุ ใด (O-NET’48)



แสง ก คง

1) ผู้ผลิต และ ผูบ้ ริโภค
2) ผู้บริโภคทง้ั พชื และสัตว์ และ ผู้ยอ่ ยสลายอนิ ทรยี สาร
3) ผู้บริโภคพชื และ ผูบ้ ริโภคสตั ว์
4) ผบู้ ริโภคทั้งพชื และสัตว์ และ ผบู้ ริโภคสตั ว์

โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปที ่ี 27 _________________________________วิทยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (69)

เฉลยแบบฝก หดั

LESSON 1 เซลล

1. 2) 2. 4) 3. 4) 4. 2) 5. 1) 6. 4)

LESSON 2 การเคลือ่ นทข่ี องสารผานเซลล

1. 3) 2. 2) 3. 2) 4. 2)

LESSON 3 ภาวะธาํ รงดลุ

1. 1) 2. 4) 3. 4) 4. 2) 5. 3) 6. 4) 7. 1)

LESSON 4 ภมู คิ มุ กันรางกาย

1. 4) 2. 4) 3. 4) 4. 1) 5. 1)

LESSON 5 พนั ธศุ าสตร

1. 3) 2. 4) 3. 1) 4. 1) 5. 3) 6. 4) 7. 4) 8. 3) 9. 3) 10. 2)

LESSON 6 ความหลากหลายทางชีวภาพ

1. 4) 2. 4) 3. 2)

LESSON 7 ระบบนเิ วศ

1. 4) 2. 3) 3. 2) 4. 3) 5. 1) 6. 1) 7. 3) 8. 1) 9. 1) 10. 2)
11. 4) 12. 4)

————————————————————

วิทยาศาสตร์ ชีววิทยา (70) _________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27

สถิติขอ้ สอบ PAT2 ย้อนหลงั ม.ี ค. 54
ต.ค. 54
พันธุศาสตร์ มี.ค. 55
ระบบนิเวศ ต.ค. 55
การถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธุกรรม ม.ี ค. 56
การสังเคราะห์ดว้ ยแสง ม.ี ค. 57
เนื้อเย่อื และโครงสรา้ งพืชดอก เม.ย. 57
การศึกษาทางชวี วทิ ยาและกลอ้ งจุลทรรศน์ พ.ย. 57
ความหลากหลายของส่งิ มชี วี ติ
ฮอร์โมนพืชและการตอบสนองของพชื
ววิ ัฒนาการ
ระบบหมุนเวียนเลือด น้าํ เหลืองและภูมิคมุ้ กัน
ประชากร
การแบ่งเซลล์
ระบบขบั ถา่ ยและการรกั ษาสมดุล
เซลล์และการลาํ เลยี งสารเข้า-ออกเซลล์
ระบบสืบพนั ธ์ุ
ระบบประสาท
การสืบพนั ธ์ุของพชื ดอก
ระบบต่อมไร้ท่อ
การหายใจ
ทรพั ยากรธรรมชาติ
การเคลื่อนที่
เคมีพื้นฐานของสงิ่ มีชีวิตและสารชีวโมเลกลุ
พฤติกรรม
การสร้างพลงั งานในสง่ิ มชี วี ติ
นิยามของสิง่ มชี ีวิต

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27 _________________________________วิทยาศาสตร์ ชวี วิทยา (71)

วทิ ยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (72) _________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 _________________________________วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (73)

วทิ ยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (74) _________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 _________________________________วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (75)

วทิ ยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (76) _________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 _________________________________วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (77)

วทิ ยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (78) _________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 _________________________________วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (79)

วทิ ยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (80) _________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 _________________________________วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (81)

วทิ ยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (82) _________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 _________________________________วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (83)

วทิ ยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (84) _________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 _________________________________วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (85)

วทิ ยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (86) _________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 _________________________________วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (87)

วทิ ยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (88) _________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 _________________________________วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (89)

วทิ ยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (90) _________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 _________________________________วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (91)

วทิ ยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (92) _________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 _________________________________วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (93)

วทิ ยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (94) _________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27

————————————————————
โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27 _________________________________วทิ ยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (95)

แบบฝก หัด

1. ขอ้ ใดไมใ่ ชส่ ่วนประกอบของโครโมโซม
1) ดเี อ็นเอ
2) ฮีสโทน
3) นวิ คลโี อโซม
4) ไรโบโซม

2. ภาพโครงสรา้ งสว่ นหน่งึ ของดีเอน็ เอ

AT
CG
GC

สญั ลักษณ์ และ คืออะไร ตามลาํ ดบั
1) ฟอสเฟต และเบส
2) ฟอสเฟต และนิวคลโี อไทด์
3) น้ําตาล และเบส
4) นาํ้ ตาล และฟอสเฟต
3. ข้อใดไม่ถูกต้อง
1) เกลียวค่ขู องสายพอลินิวคลโี อไทดเ์ วียนขวาตามเขม็ นาฬิกา
2) เบสคู่สมในสายพอลนิ วิ คลีโอไทดย์ ึดกันดว้ ยพนั ธะไฮโดรเจน
3) ถา้ เปรยี บโครงสร้างของสายดเี อน็ เอเปน็ บนั ไดเวียน ราวบันไดเกดิ จากไนโตรจนี ัสเบสจับกบั หมฟู่ อสเฟต
4) โครงสร้างของเบสพิวรีนเป็นวงแหวนท่ีประกอบด้วยคาร์บอนและไนโตรเจน 2 วง แต่เบสไพริมิดีน

มวี งแหวนดงั กล่าว 1 วง
4. การทดลองของวัตสัน DNA สายหนึ่งมีลําดับเบสดังนี้ 5′ AACGGGTTTAGTCGT 3′ ลําดับเบสท่ีเป็นคู่สม

(complementary) คือข้อใด
1) 5′ TTGCCCAAATCAGCA 3′
2) 5′ ACGACTAAACCCGTT 3′
3) 3′ ACGACTAAACCCGTT 5′
4) 3′ AACGGGTTTAGTCGT 5′

วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (96) _________________________________โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27

5. นายณเดชน์ได้เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างการจําลองตัวของดีเอ็นเอ (DNA replication) และการ
ถอดรหสั (transcription) ข้อสรุปใดของนายณเดชนผ์ ดิ

การจาํ ลองตัวของดเี อน็ เอ การถอดรหัส

ใช้ดีเอ็นเอทั้งสองสายเป็นดีเอ็นเอแม่แบบ ใชด้ ีเอ็นเอเพยี งสายเดียวเปน็ แมแ่ บบ และเกดิ
1) (DNA template) และเกิดการจําลองตัว การถอดรหัสเพยี งบางสว่ นของโมเลกลุ ดเี อน็ เอ

ตลอดความยาวของโมเลกุลดเี อ็นเอ

เมื่อสน้ิ สดุ กระบวนการจะได้ดเี อน็ เอสายคู่ เม่อื ส้นิ สุดกระบวนการจะไดอ้ ารเ์ อน็ เอสายเดี่ยว
2) 2 โมเลกลุ ทีเ่ หมอื นกนั ทุกประการ 1 โมเลกุล

3) เปน็ กระบวนการทีเ่ กดิ ขึ้นในนวิ เคลยี ส เป็นกระบวนการที่เกิดขนึ้ ในไซโทพลาซึม

4) เกิดข้ึนกับเซลล์ที่สามารถแบ่งตัวได้ และเกิด เกดิ ขึน้ กับเซลล์ทุกชนดิ และเกดิ ขน้ึ ได้ตลอดเวลา
เฉพาะเวลาทีเ่ ซลลก์ าํ ลังจะแบ่งตัว

6. ในกระบวนการสงั เคราะห์โปรตนี ถ้าดเี อ็นเอแมแ่ บบมลี าํ ดบั เบส ดังน้ี
5′ - TACTTATATACTACAAAGCCGATCGGGCATCTG - 3′
ขอ้ ใดคอื จํานวนกรดอะมโิ นของสายพอลเิ พปไทด์ท่ีสรา้ งได้
1) 3
2) 7
3) 8
4) 11

7. ถ้า mRNA สายหนงึ่ มลี ําดับนวิ คลีโอไทดเ์ ปน็ 5′ AUGACUCGAUAACUG 3′ ข้อใดถกู ตอ้ ง
1) ดเี อน็ เอสายแมพ่ มิ พม์ ีลาํ ดบั นิวคลีโอไทดเ์ ปน็ 5′ AUGACUCGAUAACUG 3′
2) แอนติโคดอนมลี ําดบั นวิ คลีโอไทดเ์ ป็น 5′ AUGACUCGAUAACUG 3′
3) โปรตนี ทไ่ี ดม้ ีกรดอะมิโน 3 ตวั
4) ข้อ 2) และ 3) ถกู

8. จากแผนภาพต่อไปน้ี

A
DNA B RNA C พอลิเพปไทด์

A, B และ C คืออะไรตามลาํ ดบั
1) RNA พอลเิ มอเรส DNA ไลเกส ไรโบโซม
2) RNA พอลิเมอเรส DNA พอลิเมอเรส อาร์เอน็ เอ
3) DNA พอลเิ มอเรส DNA ไลเกส อาร์เอน็ เอ
4) DNA พอลเิ มอเรส RNA พอลิเมอเรส ไรโบโซม

โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปที ี่ 27 _________________________________วิทยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (97)

9. ถ้าโมเลกุลของ RNA มีนิวคลีโอไทด์ 5 ชนิด และรหัสพันธุกรรมประกอบด้วย 4 นิวคลีโอไทด์ เมื่อเรียง
สลับกนั แลว้ จะได้รหสั พันธุกรรมท้ังหมดกี่รหสั
1) 64
2) 120
3) 625
4) 1024

10. ดีเอ็นเอสายคู่โมเลกลุ หนง่ึ ซงึ่ ชว่ งหนึ่งของยนี 1 ยีน มีลําดับเบสดงั น้ี
5′ .......... C C A T G T T A 1,000 C G T G A A .......... 3′
3′ .......... G G T A C A A T คเู่ บส G C A C T T .......... 5′

หากให้ดีเอ็นเอสายล่างเป็นดีเอ็นเอแม่แบบ (DNA template) เมื่อเกิดกระบวนการถอดรหัส (transcription)
และแปลรหัส (translation) จะได้สายพอลเิ พปไทดท์ ม่ี กี รดอะมิโนกโ่ี มเลกลุ
1) 335
2) 336
3) 337
4) 338
11. การเปล่ยี นแปลงใดมีผลทาํ ใหล้ กั ษณะฟีโนไทปเ์ ปล่ยี นไป
1) การเติมเบส 3 ตวั หน้าตาํ แหนง่ เร่มิ ตน้ ของการถอดรหสั
2) การเติมลาํ ดบั เบสสาํ หรบั กรดอะมโิ นฮีสทดิ ีนหนา้ ตาํ แหน่งโพรโมเตอร์
3) การเติมเบส 3 ตวั หนา้ หลงั ตาํ แหนง่ เรมิ่ ตน้ ของการถอดรหัส (transcription)
4) การเตมิ ลาํ ดับเบสสาํ หรบั กรดอะมโิ นฮสี ทดิ ีนหลงั ตาํ แหนง่ สุดท้ายของการถอดรหสั
12. การเปล่ยี นแปลงระดบั ยีนแบบใดทอ่ี าจไม่มีผลตอ่ การเปล่ียนลกั ษณะฟีโนไทป์
1) การเปลย่ี นแปลงเบส 1 ตวั ในสายดีเอน็ เอ
2) การเอาลําดบั เบส 1 โคดอน ออกจากยีน
3) การเตมิ เบส 1 ตัว ลงไปในสายดเี อน็ เอ
4) การเพ่มิ ลาํ ดับเบส 1 โคดอน ในยีน
13. ข้อใดถกู ต้องเมือ่ กล่าวถงึ รคี อมบแิ นนทพ์ ลาสมดิ (recombinant plasmid)
1) สามารถสร้างโปรตนี ไดใ้ นเซลล์เจา้ บา้ นทกุ ชนดิ
2) มีชนิ้ สว่ นของ DNA สายผสมแทรกอยู่ในพลาสมิด
3) มีชนิ้ ส่วนของโปรตนี สายผสมแทรกอยู่ในพลาสมิด
4) สามารถเพิ่มจํานวนได้เม่ืออยใู่ นเซลลเ์ จา้ บา้ นทุกชนดิ

วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (98) _________________________________โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27


Click to View FlipBook Version