The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Brands Summer Camp ปีที่ 27 วิชาชีววิทยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by BS_Library, 2019-12-12 10:36:42

Brands Summer Camp ปีที่ 27 วิชาชีววิทยา

Brands Summer Camp ปีที่ 27 วิชาชีววิทยา

Keywords: ชีววิทยา

17. ขอ้ ใดเป็นสง่ิ จําเป็นสําหรับการหลั่งสารสื่อประสาททป่ี ลายแอกซอน
1) การเกดิ ดีโพลาไรเซชัน
2) การเกดิ ไฮเปอร์โพลาไรเซชนั
3) การทํางานของ Na+/K+ pump
4) การยับยง้ั การนาํ เขา้ Ca2+ ที่ปลายแอกซอน

18. กระบวนการหลง่ั สารสอื่ ประสาท Acetylcholine จากปลายประสาทสัง่ การ (Motor Neuron) เปน็ การ
เคลือ่ นยา้ ยสารแบบใด
1) เอกโซไซโทซสิ (Exocytosis)
2) การแพรแ่ บบธรรมดา (Simple Diffusion)
3) การแพรแ่ บบฟาซิลเิ ทต (Facilitated Diffusion)
4) การลําเลียงแบบใชพ้ ลังงาน (Active Transport)

19. ตอ่ มไร้ท่อใดต่อไปน้ี ถ้าถกู ทําลายจะทําใหเ้ สยี ชวี ิตได้ เพราะเหตุใด
1) ต่อมใต้สมองส่วนหนา้ เสยี ชีวิตเนอื่ งจากร่างกายเสยี นาํ้ ทําใหเ้ กดิ ภาวะขาดน้ํา
2) ต่อมหมวกไตสว่ นนอก เสียชีวติ เน่ืองจากหวั ใจเต้นเร็ว ความดนั เลอื ดสูง
3) ตอ่ มพาราไทรอยด์ เสยี ชวี ิตเนื่องจากกลา้ มเน้อื เกร็ง ชกั หัวใจเต้นอ่อน
4) ตอ่ มไทมสั เสยี ชีวิตเนอ่ื งจากกลา้ มเนือ้ อ่อนแรง ติดเชือ้

20. ขอ้ ใดตอ่ ไปนไ้ี ม่ถกู ต้อง
1) หลังจากเกดิ Action Potential ความต่างศักย์เยอ่ื ห้มุ เซลลก์ ลับสูร่ ะยะพกั ดว้ ยการทํางานของ Na-K pump
2) Axon ท่มี ีเส้นผา่ นศนู ยก์ ลางใหญ่ สามารถนํากระแสประสาทไดเ้ ร็วกวา่ Axon ทีม่ เี สน้ ผ่านศนู ย์กลางเลก็
3) การเกดิ Action Potential ที่ Node of Ranvier จะทําให้เกดิ Action Potential ไปส่ปู ลาย Axon เท่าน้นั
4) การเกิด Action Potential เป็นการเกิดแบบ all-or-none เท่านนั้

โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปีท่ี 27 _______________________________ วทิ ยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (149)

NOTE

วทิ ยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (150) ________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ่ี 27

การดาํ รงชวี ิตของพชื

ลักษณะของพืช

1. สิ่งมชี ีวติ หลายเซลล์ประเภทยูคารีโอต
2. มคี วามสามารถในการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง (Photosynthesis) มีรงควัตถทุ ่ีใช้ในการสังเคราะหด์ ้วยแสง
3. ผนงั เซลลเ์ ปน็ สารพวกเซลลูโลส (Cellulose)
4. วงชวี ติ แบบสลับ (Alternation of Generation หรือ Diplohaplontic Life Cycle)

วงชีวติ แบบสลบั ของพชื

เนอื้ เยอ่ื พชื (Plant Tissue) คอื กลมุ่ เซลลพ์ ชื ท่ีอยรู่ วมกนั อาจมรี ปู รา่ งเหมือนกนั หรอื แตกต่างกันกไ็ ด้
แต่จะอยู่รว่ มกันเพ่อื ทําหนา้ ทเี่ ฉพาะอย่างเดียวกนั แบ่งออกไดเ้ ปน็ 2 ประเภท คอื เนื้อเยือ่ เจริญ (Meristematic
Tissue) และเนอ้ื เยือ่ ถาวร (Permanent Tissue)

การจัดจําแนกประเภทของเน้อื เยื่อพืชสามารถสรุปไดด้ งั แผนผงั ต่อไปน้ี

เนื้ อ เย่ื อ พื ช

เนื้อเยื่อเจริญ เน้ื อ เย่ื อ ถ า ว ร

เน้ือเย่ือเจริญ ส่วนปลาย เน้ือเยื่อถาวรเชิงเดี่ยว เนื้ อ เยื่ อ ถ า ว ร เชิ ง ป ร ะ ก อ บ

เน้ื อ เย่ื อ เจ ริ ญ ด้ าน ข้ า ง Parenchyma Xylem Phloem

เนื้อเยื่อเจริญ ระหว่างข้อ Collenchyma Tracheid Sieve tube

Sclerenchyma Vessel Companion cell

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 _______________________________ วทิ ยาศาสตร์ ชวี วิทยา (151)

เน้อื เยอ่ื เจริญ (Meristematic Tissue)

เนอื้ เย่อื เจริญ (Meristematic Tissue) เป็นเนื้อเยอื่ ทีป่ ระกอบข้ึนจากเซลลท์ ย่ี ังสามารถแบง่ เซลล์ได้อยู่
แบง่ ออกไดเ้ ป็น 3 ชนดิ คือ

1. เนอ้ื เย่อื เจริญส่วนปลาย (Apical Meristem)
- พบในพชื ทุกชนดิ ทาํ ใหพ้ ืชมกี ารเติบโตในแนวสงู ขึ้น (Primary Growth)
- แบ่งออกเป็น 2 ชนดิ ขึ้นกบั ตําแหนง่ คือ เนื้อเย่อื เจรญิ ปลายราก (Root Apical Meristem) และ

เน้ือเย่อื เจรญิ ปลายยอด (Shoot Apical Meristem)
2. เน้อื เยอ่ื เจริญด้านขา้ ง (Lateral Meristem)
- พบในพชื ใบเลีย้ งคเู่ ป็นสว่ นใหญ่ ทําใหพ้ ืชมกี ารเตบิ โตในแนวด้านกว้าง (Secondary Growth)
- แบง่ ออกเปน็ 2 ชนดิ คอื Vascular Cambium สาํ หรับสร้างเนอื้ เยอ่ื ลําเลยี ง และ Cork

Cambium สําหรับสร้างเน้อื เยอื่ ในช้ัน Periderm (สว่ นหน่ึงของเปลือกไม)้
3. เนือ้ เยอื่ เจริญระหว่างขอ้ (Intercalary Meristem)
- พบในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ทาํ ใหพ้ ืชมีการเตบิ โตในแนวสงู ข้ึน (Primary Growth)

เน้ือเยือ่ ถาวร (Permanent Tissue)

เน้อื เยื่อถาวร (Permanent Tissue) เปน็ เนอื้ เยือ่ ท่ีประกอบข้ึนจากเซลลท์ ่ีไม่แบ่งเซลล์ อาจจะมีการ
เปลี่ยนแปลงรูปร่างเพื่อทําหน้าทีเ่ ฉพาะอยา่ งแล้ว แบ่งได้เปน็ 2 กลมุ่ หลกั คอื เนอ้ื เย่ือถาวรเชงิ เดีย่ ว
(Simple Tissue) ประกอบขึ้นจากเซลล์เพยี งชนิดเดยี ว ขณะทเ่ี นอื้ เยือ่ ถาวรเชิงประกอบ (Complex Tissue)
ประกอบขึ้นจากเซลลม์ ากกวา่ 1 ชนดิ เนอ้ื เยอ่ื ถาวรแตล่ ะชนิดสามารถสรุปไดด้ ังนี้

1. เนือ้ เย่ือพาเรงไคมา (Parenchyma)
- เนอื้ เยอื่ ถาวรทพ่ี บมากท่สี ดุ ในพืช และสามารถพบได้ในทกุ ส่วนของพชื
- เซลล์พาเรงไคมา (Parenchymal Cell) มผี นังเซลลแ์ บบปฐมภมู ิ (Primary Cell Wall) บาง สมาํ่ เสมอ
- เซลลพ์ าเรงไคมาเมือ่ เตบิ โตเตม็ ท่จี ะยงั คงมชี วี ติ สามารถดําเนนิ กจิ กรรมต่างๆ ได้
- หน้าที่ : เกี่ยวขอ้ งกับการสังเคราะห์ดว้ ยแสง สะสมอาหาร สร้างและหล่งั สารบางชนิด

2. เนื้อเย่ือคอลเลนไคมา (Collenchyma)
- เซลล์คอลเลนไคมา (Collenchymal Cell) มผี นงั เซลล์แบบปฐมภูมิ (Primary Cell Wall) หนา

และโดยทัว่ ไปมกั จะหนามากตามมุมเซลล์ (Angular Collenchyma)
- เซลลค์ อลเลนไคมาเมอื่ เติบโตเต็มที่จะยังคงมชี ีวิต สามารถดาํ เนนิ กิจกรรมต่างๆ ได้
- หน้าท่ี : ให้ความแขง็ แรงกับสว่ นของพืชทย่ี ังออ่ น เชน่ บริเวณก้านใบ เส้นกลางใบ ลาํ ตน้ พชื ล้มลุก

3. เน้ือเยอื่ สเคลอเรนไคมา (Sclerenchyma)
- เซลลส์ เคลอเรนไคมา (Sclerenchymal Cell) มผี นังเซลล์แบบทตุ ิยภูมิ (Secondary Cell Wall)

ท่เี ป็นสารพวกลิกนนิ (Lignin) เพ่ิมเข้ามา ทําให้เซลล์มีความแข็งมากขึน้
- เซลลส์ เคลอเรนไคมาเมื่อโตเต็มทีจ่ ะเปน็ เซลลท์ ี่ตายแล้ว
- หน้าท่ี : ใหค้ วามแขง็ แรงกับส่วนต่างๆ ของพชื
- แบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 ประเภท คอื สเคลอรีด (Sclereid) และไฟเบอร์ (Fiber)

วทิ ยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (152) ________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปที ี่ 27

เน้ือเย่ือพาเรงไคมา (Parenchyma) เน้อื เยื่อคอลเลนไคมา (Collenchyma)

เนอ้ื เยือ่ สเคลอเรนไคมา (Sclerenchyma) – Fiber เนอ้ื เยือ่ สเคลอเรนไคมา (Sclerenchyma) – Sclereid

เน้อื เย่อื ถาวรเชิงเดีย่ วชนิดต่างๆ ในพืช

4. เนอ้ื เยอื่ ลําเลียงนา้ํ (Xylem)
- เนอื้ เยื่อถาวรเชงิ ประกอบทม่ี ีเซลล์ 4 ชนดิ คอื Parenchyma, Fiber, เทรคดี (Tracheid) และ

เวสเซล (Vessel) โดยส่วนของ Tracheid และ Vessel จะเป็นสว่ นทที่ ําหนา้ ที่ลาํ เลียงนํา้ ได้ เรยี กรวมเซลล์
ทัง้ สองชนิดนว้ี ่า Tracheary Elements

- Tracheid เป็นเซลลท์ ่ีมีผนังเซลลแ์ บบทุตยิ ภูมิ (มีสารลิกนนิ พอก) ดังนั้นเมอื่ เติบโตเตม็ ที่เซลล์จะ
ไม่มชี ีวติ พบไดใ้ นพชื ทมี่ ที อ่ ลําเลียงทกุ ชนดิ ทาํ หน้าทใี่ นการลาํ เลียงนา้ํ และใหค้ วามแข็งแรงกบั พืช

- Vessel เปน็ เซลลท์ ีม่ ผี นงั เซลล์แบบทตุ ยิ ภูมิและเมอื่ เตบิ โตเต็มทเ่ี ซลล์จะตายเช่นเดยี วกับ Tracheid
แต่จะสามารถพบไดเ้ ฉพาะในพชื ดอก ทําหน้าท่ใี นการลําเลียงนา้ํ และให้ความแข็งแรงกับพืช แตล่ ะเซลล์ของ Vessel
เรียกวา่ Vessel Member ซ่ึงจะต่อกันดว้ ยแผ่นตะแกรง เรียก Perforation Plate

เนอื้ เยอื่ ลาํ เลียงนาํ้ – เทรคดี (Tracheid) เน้อื เย่อื ลาํ เลยี งน้าํ – เวสเซล (Vessel)

เนอ้ื เย่อื ลําเลยี งนํ้า (Tracheid และ Vessel)

โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 _______________________________ วิทยาศาสตร์ ชวี วิทยา (153)

5. เน้ือเยื่อลาํ เลียงอาหาร (Phloem)
- ประกอบด้วยเซลล์ 4 ชนิด คอื Parenchyma, Fiber, เซลล์ซฟี ทวิ บ์ (Sieve Tube Member)

และเซลลป์ ระกบ (Companion Cell) โดยซีฟทิวบ์จะเป็นกลุม่ เซลล์หลักท่ีทาํ หน้าท่ใี นการลาํ เลียงอาหาร
- Sieve Tube Member เปน็ เซลล์ท่ียงั มีชีวิตอยู่ มีผนังเซลลแ์ บบปฐมภมู ิ แตจ่ ะไมม่ ีนิวเคลยี สและ

ออร์แกเนลล์ตา่ งๆ มีรปู ร่างเป็นทรงกระบอก บริเวณหวั ท้ายเซลล์จะมแี ผน่ ตะแกรง เรียกวา่ Sieve Plate
- Companion Cell เปน็ เซลล์ขนาดเลก็ มีนวิ เคลียสใหญ่ ทาํ หน้าทีค่ วบคมุ การทํางานของ Sieve Tube

เน้อื เย่ือลาํ เลยี งอาหาร (ตดั ตามขวาง) เนื้อเยอื่ ลาํ เลียงอาหาร (ตดั ตามยาว)

เน้อื เยอื่ ลาํ เลียงอาหาร

ราก (Root)

ราก (Root) เปน็ อวยั วะท่มี ักเจริญอยู่ใต้ดนิ และมีทศิ ทางการเตบิ โตตามแรงดงึ ดูดโลก รากพชื ทําหน้าท่ี
หลกั คอื การดดู น้ําและเกลอื แร่จากในดนิ รวมถงึ ทําหน้าท่ีในการยึดและให้ความแข็งแรงกบั ลําตน้ พืช
โครงสรา้ งของรากตดั ตามยาว (Longitudinal Section) เรียงจากดา้ นล่างสดุ ขึ้นมาดา้ นบน แบง่ ได้ 4 บริเวณ คือ

1. หมวกราก (Root Cap) – ช่วยในการชอนไชของรากในดิน ป้องกนั อันตรายใหเ้ น้ือเยอ่ื เจริญปลายราก
2. บริเวณเซลลก์ าํ ลงั แบ่งตวั (Zone of Cell Division) – มีเนือ้ เย่อื เจริญปลายราก (Root Apical Meristem)
3. บริเวณเซลลข์ ยายตวั ตามยาว (Zone of Cell Elongation) – เซลลม์ กี ารสะสมสารและมขี นาดใหญข่ ้นึ
4. บริเวณเซลลเ์ ติบโตเต็มที่ (Zone of Cell Maturation) – เซลลบ์ างสว่ นอาจจะกลายเปน็ เซลลข์ นรากได้

โครงสร้างของรากพืชตัดตามยาว
วทิ ยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (154) ________________________________โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27

โครงสรา้ งของรากตัดตามขวาง (Cross Section) เรียงจากทางด้านนอกเข้ามาดา้ นใน แบ่งออกได้เป็น
3 ชนั้ คือ

1. ชนั้ เอพเิ ดอรม์ ิส (Epidermis) – ช้นั นอกสุดของราก
- ประกอบดว้ ย Epidermal Cell เรียงตัวเพียงชัน้ เดียว ไมม่ สี ารพวกคิวตินเคลือบ
- ในบรเิ วณทเ่ี ซลล์มีการเติบโตเตม็ ท่ีอาจจะมีการเปลย่ี นแปลงรูปรา่ งไปเป็นเซลล์ขนราก

2. ชน้ั คอร์เทก็ ซ์ (Cortex) – ช้นั ท่ีกว้างทสี่ ุดของราก
- ประกอบด้วยเนอ้ื เยือ่ Parenchyma เป็นหลักทาํ หน้าทใี่ นการสะสมอาหารจําพวกแป้ง (Storage

Parenchyma) แต่อาจจะพบเน้ือเย่ือ Collenchyma และ Sclerenchyma ได้
- ชนั้ ในสดุ ของ Cortex เรยี กวา่ Endodermis จะมีสารพวกซเู บอรนิ (Suberin) พอกเปน็ แถบ

เรยี กวา่ แถบแคสปาเรยี น (Casparian Strip) ทาํ หน้าทีเ่ กี่ยวข้องกับการควบคมุ การลําเลยี งนา้ํ เขา้ มาในราก
3. ชั้นสตีล (Stele) – ชนั้ ที่อยู่ในสดุ ของราก ประกอบดว้ ยสว่ นต่างๆ 3 ส่วน คือ
1. ชน้ั เพอรไิ ซเคิล (Pericycle) เป็นชน้ั นอกสุดของ Stele เกย่ี วข้องกบั การเกดิ รากแขนง (Lateral Root)
2. ทอ่ ลําเลยี งนา้ํ และอาหาร (Vascular Cylinder) มีท่อ Xylem อยตู่ รงกลาง และมี Phloem

แทรกอยู่โดยรอบ ถ้าเปน็ พืชใบเล้ียงคู่มกั จะมี Xylem ประมาณ 3-5 แฉก ขณะท่ีพชื ใบเลี้ยงเด่ียวจะมี Xylem
เป็นแฉกอยู่จํานวนมาก

3. ช้นั พิธ (Pith) สว่ นที่อยใู่ นสดุ ของราก เป็นเน้ือเย่อื Parenchyma และมักพบในรากพชื ใบเล้ียงเดี่ยว

โครงสร้างของรากพชื ใบเลย้ี งเด่ยี วและรากพชื ใบเล้ียงคู่ ตามลาํ ดับ
รากของพืชบางชนิดอาจจะมกี ารปรับเปลย่ี นไปเพื่อทําหน้าที่ต่างๆ ตัวอยา่ งเชน่
1. รากสะสมอาหาร ตวั อยา่ งเช่น หัวผกั กาด แครอท มันเทศ มนั แกว กระชาย มันสําปะหลัง
2. รากหายใจทีม่ ปี ลายรากโผล่ข้นึ มาเหนือดินและผิวนํา้ ตวั อยา่ งเช่น รากของต้นลาํ พู โกงกาง แสม
3. รากท่ชี ่วยในการคํ้าจุนลําตน้ พชื ตวั อย่างเชน่ รากตน้ เตยทะเล รากต้นไทร
4. รากท่สี ามารถสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง ตัวอยา่ งเช่น รากสีเขยี วของกลว้ ยไม้
5. รากท่ใี ชใ้ นการยดึ เกาะกับผนัง ตวั อยา่ งเช่น รากของตน้ พลู พรกิ ไทย พลดู ่าง
6. รากกาฝากทใี่ ชใ้ นการแทงเข้าไปแย่งนาํ้ และอาหาร ตวั อย่างเชน่ รากกาฝาก รากต้นฝอยทอง
7. รากพูพอน (Buttress Root) ในพืชที่มขี นาดใหญ่ ช่วยในการคํ้าจนุ
* รากพเิ ศษ (Adventitious Root) คือ รากสว่ นที่เจริญมาจากส่วนอน่ื ของพชื ทไี่ มใ่ ช่รากแก้ว เชน่ ลาํ ตน้ หรอื ใบ

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปีท่ี 27 _______________________________ วทิ ยาศาสตร์ ชวี วิทยา (155)

ลําตน (Stem)

ลําต้น (Stem) เป็นโครงสร้างที่อยู่เหนือดินของพืช มีลักษณะเป็นข้อปล้องซึ่งเห็นได้ชัดในพืชใบเลี้ยงเด่ียว
แต่ในพืชใบเล้ียงคู่อาจจะเห็นได้ไม่ชัดเจน ลําต้นมีหน้าที่หลักในการพยุงและชูใบสําหรับสังเคราะห์ด้วยแสง
รวมถึงการผลิดอกและการพัฒนาของผล นอกจากนี้ลําต้นยังทําหน้าท่ีเป็นตัวกลางสําหรับการลําเลียงนํ้าจาก
รากไปยอด และการลาํ เลียงอาหารไปยังสว่ นต่างๆ ของพชื ได้

โครงสร้างบริเวณปลายยอด (Shoot Structure) ประกอบด้วยสว่ นต่างๆ ดังนี้
1. เน้อื เยื่อเจรญิ ปลายยอด (Shoot Apical Meristem)
2. ใบแรกเกิด (Leaf Primordium) – ใบระยะแรก ยังไม่มกี ารเปลย่ี นแปลงรปู ร่างของเซลล์มาก
3. ใบออ่ น (Young Leaf) – ใบทเ่ี จรญิ มาจากใบแรกเกดิ ยงั มีความสามารถในการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ได้
4. ตาแรกเกดิ (Bud Primordium) – เจรญิ ตอ่ ไปเป็นตาขา้ ง (Axillary Bud) ซึง่ จะพฒั นาเป็นก่งิ ตอ่ ไปได้
5. ลาํ ต้นออ่ น (Young Stem)

โครงสร้างของปลายยอดพืช
โครงสรา้ งของลาํ ตน้ ตดั ตามขวาง (Cross Section) เรยี งจากทางดา้ นนอกเขา้ มาดา้ นใน แบง่ ออกไดเ้ ป็น
3 ชั้น คอื
1. ชัน้ เอพเิ ดอรม์ ิส (Epidermis) – ชั้นนอกสุดของลาํ ต้น

- โดยทัว่ ไปมักเรยี งตัวแถวเดียว ประกอบข้นึ จาก Epidermal Cell
- ด้านนอกของเอพเิ ดอรม์ สิ ในลาํ ตน้ จะมีสารควิ ตนิ (Cutin) เคลือบอยู่ อาจพบเซลล์คมุ (Guard Cell) ได้
2. ชนั้ คอร์เทกซ์ (Cortex) – ช้ันทอี่ ย่ถู ดั เขา้ มาจากช้นั เอพิเดอรม์ ิส
- ชัน้ คอรเ์ ทกซ์ในลาํ ต้นแคบมากเมอ่ื เทยี บกับในราก
- ประกอบด้วยเนือ้ เยอื่ Parenchyma ส่วนใหญ่ อาจพบเนอ้ื เย่อื Collenchyma และ Sclerenchyma ได้
3. ชนั้ สตีล (Stele) ของลาํ ต้นจะไม่สามารถแยกจากชนั้ คอรเ์ ทกซ์ชัดเจนเหมอื นในราก โดยทั่วไปชน้ั สตีล
จะกนิ บริเวณกว้างมากและกวา้ งท่ีสดุ ในลาํ ต้น ช้นั นี้ประกอบด้วยสว่ นหลกั ตา่ งๆ 3 สว่ น คือ

วทิ ยาศาสตร์ ชวี วิทยา (156) ________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27

1. มัดท่อลาํ เลียง (Vascular Bundle) ประกอบด้วยท่อ Xylem, Phloem และ Vascular
Cambium โดยในพชื ใบเล้ียงคมู่ ัดทอ่ ลําเลียงจะเรยี งเปน็ วงรอบลําตน้ โดยมที ่อ Xylem อย่ทู างดา้ นในและมี
ท่อ Phloem อย่ทู างด้านนอก นอกจากนใี้ นพืชใบเลยี้ งคูจ่ ะมี Vascular Cambium กั้นอยรู่ ะหว่างเน้ือเยือ่
ลําเลยี งทัง้ สอง ขณะที่ในพชื ใบเลย้ี งเดยี่ ว มัดทอ่ ลาํ เลยี งจะเรียงกระจายท่ัวลําต้น แตจ่ ะอยู่หนาแนน่ มากบริเวณ
ทใ่ี กล้กบั ชัน้ เอพิเดอร์มิส

2. วาสควิ ลารเ์ รย์ (Vascular Ray) หรอื พิธเรย์ (Pith Ray) เปน็ กลุ่มของเนือ้ เยอ่ื Parenchyma
ทอี่ ยู่ระหว่างแต่ละมัดของท่อลาํ เลยี ง เช่ือมระหวา่ งชน้ั คอร์เทกซ์กบั พิธ ส่วนของ Vascular Ray นีจ้ ะพบได้เฉพาะ
ในพชื ใบเลีย้ งคเู่ ท่าน้นั

3. พิธ (Pith) เป็นช้นั ในสุดของลาํ ตน้ พบไดท้ ้งั ในพชื ใบเลี้ยงค่แู ละพชื ใบเล้ียงเด่ยี ว ประกอบดว้ ย
เนอ้ื เยือ่ Parenchyma เป็นหลัก มีบทบาทหนา้ ทส่ี ะสมแป้งหรือสารต่างๆ เช่น ผลึกแทนนนิ (Tannin) ในพืช
ใบเล้ยี งคู่ทมี่ กี ารเตบิ โตทุติยภูมิ (Secondary Growth) ส่วนของพิธจะสลายไปกลายเป็นช่องกลวงที่เรยี กว่า Pith Cavity

ลําต้นของพืชใบเล้ยี งเดี่ยวและพชื ใบเลยี้ งคู่ ตามลาํ ดบั

โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปที ี่ 27 _______________________________ วทิ ยาศาสตร์ ชีววิทยา (157)

การเติบโตแบบทุตยิ ภูมิของลําต้น (Secondary Growth)
ในพชื ใบเล้ยี งคู่ทเี่ ปน็ ไมเ้ น้ือแขง็ (Woody Plant) ส่วนของรากและลาํ ต้นอาจจะมีการเจรญิ แบบทตุ ยิ ภูมิได้
ซ่งึ จะทําใหเ้ กดิ เติบโตเพอ่ื ขยายขนาดออกทางดา้ นขา้ ง โดยการเจริญเติบโตแบบนีจ้ ะเกดิ จากการแบ่งเซลล์ของ
เนื้อเยอ่ื เจรญิ ด้านขา้ ง 2 กลมุ่ คือ Vascular Cambium และ Cork Cambium ซึง่ เนอ้ื เยอื่ ท้ังสองจะมกี ารแบ่ง
เซลลแ์ ละเปลย่ี นแปลงไปเป็นเน้อื เย่อื แตล่ ะชนดิ ดงั ภาพ

การแบ่งเซลลข์ อง Vascular Cambium และ Cork Cambium เป็นเนื้อเยือ่ ต่างๆ
โดยปกตกิ ารแบ่งของ Vascular Cambium เพ่อื สร้าง Secondary Xylem จะเกดิ ได้ไวกวา่ การแบ่งเพื่อ
สรา้ ง Secondary Phloem ดังน้นั จงึ ทําใหเ้ น้อื ไม้ (Wood) ของไม้เน้อื แข็งประกอบขึ้นจาก Secondary Xylem
โดยเนอ้ื ไม้สามารถแบง่ ออกไดเ้ ปน็ 2 ประเภท คอื
1. แก่นไม้ (Heartwood) – เป็นเนอื้ ไม้สว่ นท่ีไม่ไดท้ ําหน้าทใ่ี นการลําเลียงนาํ้ มสี เี ขม้ อยู่ดา้ นในของเนือ้ ไม้
2. กระพไ้ี ม้ (Sapwood) – เนื้อไม้ส่วนทย่ี งั สามารถทําหน้าทีล่ ําเลียงนาํ้ ได้ มสี ีจาง อยดู่ า้ นนอกของเน้อื ไม้
ส่วนของเปลอื กไม้ (Bark) คือ สว่ นท่ีอยูถ่ ดั ออกมาจาก Vascular Cambium ท้ังหมด ไดแ้ ก่ Phloem
และเน้ือเย่อื ในกลุม่ Periderm (Cork และ Phelloderm)
วงปี (Annual Ring) เปน็ สว่ นของ Secondary Xylem ทีส่ ามารถใชใ้ นการคาดคะเนอายุของไม้ยืนตน้ ได้
โดยในหน่งึ รอบของวงปจี ะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คอื
1. Summer Wood หรือ Late Wood ซึง่ เปน็ Secondary Xylem ทีเ่ จรญิ ในช่วงท่ีนา้ํ น้อย เซลล์จงึ มี
ขนาดเลก็ แถบที่เกิดขึน้ จะมีสเี ขม้ ค่อนข้างแคบ
2. Spring Wood หรอื Early Wood ซึง่ จะเปน็ Secondary Xylem ทเ่ี จริญในชว่ งที่น้ํามาก เซลลม์ ี
ขนาดใหญ่ แถบทีเ่ กิดขึ้นจะมสี จี างกว่าคอ่ นข้างกวา้ ง

วิทยาศาสตร์ ชวี วิทยา (158) ________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27

ในหนึ่งวงปขี องพชื จึงประกอบดว้ ย Summer Wood และ Spring Wood อยา่ งละหน่งึ แถบ

การเจริญทตุ ิยภูมิของไม้เน้ือแข็ง

ลําต้นของพืชบางชนิดอาจจะมีการเปล่ยี นแปลงรปู รา่ งเพื่อไปทาํ หนา้ ทเี่ ฉพาะอย่างได้ ตัวอย่างเชน่
1. ลาํ ตน้ ของพืชบางชนดิ เปลีย่ นแปลงเป็นหนาม ตวั อยา่ งเช่น ส้มตา่ งๆ มะนาว เฟ่ืองฟา้
2. ลาํ ต้นของพชื บางชนิดเปลี่ยนไปเปน็ มือเกาะ ตวั อย่างเช่น พวงชมพู องนุ่ ตาํ ลงึ
3. ลาํ ต้นของพชื บางชนิดสามารถสังเคราะหด์ ว้ ยแสงได้ ตัวอยา่ งเช่น กระบองเพชร
4. ลําตน้ ของพืชบางชนิดช่วยในการพยุงตวั และลอยน้ําได้ ตวั อย่างเช่น สว่ นของนมผักกระเฉด
5. ลาํ ตน้ ของพชื บางชนิดอยใู่ ต้ดิน (Rhizome) ตัวอย่างเช่น ขิง ข่า พุทธรักษา
6. ลําตน้ ของพชื บางชนิดทาํ หนา้ ท่สี ะสมอาหาร (Tuber) ตัวอยา่ งเชน่ มันฝรั่ง แห้ว เผอื ก
ลาํ ตน้ สะสมอาหารจะแตกต่างจากรากสะสมอาหารตรงที่ลําต้นสะสมอาหารจะมตี า มีข้อปลอ้ ง และมีใบเกล็ด
คลุมตา

ใบ (Leaf)

ใบ (Leaf) จัดเป็นโครงสรา้ งทอ่ี ยู่เหนือดินเช่นเดียวกับลําต้น มีลกั ษณะเป็นแผ่นสีเขียวทําหนา้ ท่ีหลัก
เก่ยี วขอ้ งกับกระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสง รวมถึงเกี่ยวขอ้ งกับการคายนา้ํ และการแลกเปล่ียนแกส๊ ดว้ ย ใบพชื
แบ่งออกไดเ้ ป็น 2 กลุ่ม คอื

1. ใบเด่ยี ว (Simple Leaf)
- ใบท่ีมแี ผน่ ใบ 1 แผ่นติดอยู่บนกา้ น 1 กา้ น
- ตัวอย่างเชน่ ใบมะละกอ มะม่วง มะยม พริก ชมพู่ สาเก ตาํ ลงึ อ้อย ละหงุ่ มันสาํ ปะหลงั ลกู ใตใ้ บ

2. ใบประกอบ (Compound Leaf)
- ใบทม่ี ีแผน่ ใบหลายใบตดิ อยบู่ นก้าน 1 ก้าน เรียกแต่ละใบน้ีว่า ใบยอ่ ย (Leaflet)
- ตัวอย่างเชน่ ใบมะขาม มะพรา้ ว กุหลาบ ถัว่ กระถิน มะขาม กา้ มปู ชมพพู ันธท์ุ พิ ย์

โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปีที่ 27 _______________________________ วิทยาศาสตร์ ชีววิทยา (159)

ขอ้ สังเกตในการแยกใบเด่ียวกบั ใบประกอบ
1. ใบเดย่ี วแต่ละใบจะมีตา (Axillary Bud) อย่ทู ีซ่ อกกา้ น แตใ่ บยอ่ ย (Leaflet) จะไม่มตี าอยูท่ ่ซี อกก้าน
2. ใบย่อยของใบประกอบแต่ละใบจะเจริญและคลอ่ี อกพร้อมกนั ขนาดใบย่อยแต่ละใบจะใกลเ้ คียงกนั
3. ใบประกอบบนใบยอ่ ยจะเรียงตัวกันเป็น 2 แถวซา้ ยขวาเทา่ น้นั ไมม่ ีการเรียงตวั แบบสลับหรือรอบข้อ
โครงสร้างของใบตัดตามขวาง (Cross Section) ประกอบขึ้นจากบรเิ วณตา่ งๆ 3 บริเวณ ดังนี้
1. ช้นั เอพิเดอร์มิส (Epidermis) แบ่งออกไดเ้ ปน็ 2 ชัน้ ย่อย คอื

1.1 Upper Epidermis – มีสารควิ ตินเคลอื บหนาเปน็ ช้นั Cuticle และมกั มีเซลลค์ มุ จํานวนนอ้ ย
1.2 Lower Epidermis – มีสารควิ ตินเคลือบบาง และมกั จะมีเซลลค์ ุมจาํ นวนมาก
2. ช้ันมโี ซฟลิ ล์ (Mesophyll) แบง่ ออกได้เป็น 2 ช้นั ยอ่ ย คอื
2.1 Palisade Mesophyll – ประกอบข้ึนจากเนอื้ เยอื่ Parenchyma ชนดิ ทม่ี คี ลอโรพลาสต์
หนาแน่นมาก เปน็ บริเวณหลกั ท่เี กดิ การสงั เคราะห์ดว้ ยแสงสงู ทีส่ ุด
2.2 Sponge Mesophyll – ประกอบขึน้ จากเน้ือเยื่อ Parenchyma เช่นเดียวกับ Palisade
Mesophyll แต่จะมจี ํานวนคลอโรพลาสต์ตอ่ เซลลน์ ้อยกว่า มีการเรยี งตัวกนั อยา่ งหลวมๆ เกิดเป็นชอ่ งว่าง
ทําหน้าท่ีในการแลกเปล่ยี นแกส๊
3. มดั ทอ่ ลําเลยี ง (Vascular Bundle) หรือ เส้นใบ (Vein) โดยท่ัวไปมกั มที ่อ Xylem อยทู่ างดา้ นบน
สว่ นท่อ Phloem มักอยทู่ างดา้ นลา่ ง ในพืชใบเลย้ี งเดย่ี วอาจจะไมไ่ ด้เหน็ แยกช้ัน

โครงสรา้ งของใบตัดตามขวาง

วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (160) ________________________________โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27

ใบพืชบางชนิดอาจจะมีการเปล่ียนแปลงไปเพื่อทาํ หนา้ ทเี่ ฉพาะ ตัวอย่างเช่น
1. ใบของพชื บางชนิดเปลี่ยนเป็นหนามเพ่ือลดการคายนํ้า ตวั อย่างเชน่ ใบต้นกระบองเพชร
2. ใบของพืชบางชนิดทาํ หนา้ ท่ีในการสะสมนาํ้ หรืออาหาร ตัวอย่างเชน่ ใบว่านหางจระเข้
3. ใบของพืชบางชนิดมีก้านใบพองโตชว่ ยในการลอยนา้ํ ตัวอยา่ งเช่น ผักตบชวา
4. ใบของพชื บางชนดิ ทําหนา้ ทใี่ นการยึดเกาะและพยุงลาํ ตน้ ตัวอยา่ งเชน่ ดองดงึ ถว่ั ลนั เตา
5. ใบของพืชบางชนดิ เปลีย่ นแปลงไปสาํ หรบั จับแมลง ตัวอย่างเช่น หมอ้ ข้าวหมอ้ แกงลิง
6. ใบของพืชบางชนิดอาจจะทําหนา้ ที่ในการสืบพนั ธ์ุ ตัวอย่างเชน่ ใบตน้ ตายหงายเปน็

การลําเลียงน้าํ (Water Transport)

การลาํ เลียงน้าํ ของพชื เปน็ กระบวนการทส่ี ําคัญท่พี ืชจะสามารถนําน้ําทอี่ ยู่ในดินเข้ามาภายในพืช โดยจะ
เริ่มตั้งแตก่ ารนํานํา้ จากในดินเขา้ มาภายในราก จากน้นั จะเกดิ การลําเลียงตามท่อลําเลียงนาํ้ (Xylem) ข้ึนไปยงั ยอดพืช
กอ่ นจะเกดิ การคายน้ําออกไปทางปากใบของพชื ดังนน้ั จะเห็นได้ว่าการลาํ เลยี งน้ําของพืชจะเกดิ ข้ึนในทศิ ทางเดยี ว
เสมอ คือ จากรากขนึ้ ไปทางด้านบนของพชื ซ่งึ ในท่ีนี้จะอธิบายกลไกการลําเลยี งนํ้าในพืชเป็น 3 สว่ นหลกั คือ

1. การลาํ เลียงนํ้าจากในดินเข้าส่ทู ่อลาํ เลยี งในราก
2. การลาํ เลียงนาํ้ ภายในท่อลําเลียงจากรากไปยอด (ใบ)
3. การลาํ เลยี งนาํ้ จากใบออกสู่ส่ิงแวดล้อม – การคายน้าํ (Transpiration) และการเปิด-ปิดปากใบ
การลาํ เลียงนํ้าจากในดนิ เขา้ สทู่ ่อลําเลียงในราก
การดดู ซึมนาํ้ ในดนิ ของรากจะเกิดขึ้นมากท่ีสดุ ทบ่ี รเิ วณทเี่ ซลลเ์ ตบิ โตเตม็ ท่แี ลว้ (Zone Of Cell Maturation)
โดยเฉพาะในเซลล์ขนราก (Root Hair Cell) ซ่งึ จะมีการยืน่ เยือ่ หมุ้ เซลล์ออกไปภายในดนิ เดิมนักชีววิทยาเชื่อวา่
น้าํ เขา้ ส่รู ากพชื ด้วยการแพรแ่ บบธรรมดา (การออสโมซสิ ) แต่ปจั จบุ นั มีการคน้ พบโปรตนี ชนดิ หนึ่งที่อยู่บน
เยือ่ ห้มุ เซลลข์ องเซลล์ขนรากจาํ นวนมาก คือ โปรตีน Aquaporin ซ่งึ ทาํ หนา้ ที่ในการนาํ น้ําเข้าสภู่ ายในรากพืช
ผ่านกระบวนการลาํ เลียงแบบ Facilitated Diffusion เมือ่ นํ้าแพร่เข้ามาภายในรากพืชแล้วจะมีเส้นทาง 3 เสน้ ทาง
เพ่อื ไปยงั ทอ่ ลาํ เลยี งน้าํ (Xylem) ในช้นั สตีล (Stele) ต่อไป คือ
1. Transmembrane Route – การเคลือ่ นที่ของนํ้าผา่ นเย่อื ห้มุ เซลล์ของเซลล์ต่างๆ ในราก
2. Apoplast Route – การเคล่อื นท่ขี องนาํ้ ผ่านผนงั เซลลแ์ ละสว่ นทอ่ี ยู่นอกเซลล์ของเซลลต์ า่ งๆ ในราก
3. Symplast Route – การเคลื่อนท่ขี องน้ําผา่ นทางชอ่ งพลาสโมเดสมาตา (Plasmodesmata) บนผนังเซลล์
โดยทั่วไปเม่อื นาํ้ เขา้ มาสู่ภายในรากพชื แลว้ นํ้าจะสามารถเคล่ือนผา่ นวิธใี ดก็ได้ แต่เม่ือนาํ้ เคลอ่ื นผา่ นช้นั
Cortex มาจนถึงชนั้ เอนโดเดอรม์ สิ (Endodermis) ซงึ่ เซลล์จะถกู พอกไวด้ ว้ ยสารซูเบอรินเปน็ แถบไว้ เรยี กว่า
แถบแคสปาเรียน (Casparian Strip) น้าํ จึงไมส่ ามารถเคลื่อนทีผ่ า่ นชนั้ น้ีได้โดยวิธี Apoplast โมเลกลุ ของนํา้
และแร่ธาตตุ า่ งๆ จึงต้องผ่านดว้ ยวถิ ี Symplast เทา่ นั้น ซึง่ นกั พฤกษศาสตรเ์ ชอ่ื ว่ากระบวนการนีท้ ําให้พชื
สามารถควบคมุ อัตราการเคลอื่ นทข่ี องนํา้ รวมถงึ มีการคัดเลือกสารและแรธ่ าตตุ า่ งๆ ทจี่ ําเปน็ เข้าสภู่ ายท่อไซเล็มได้

โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27 _______________________________ วิทยาศาสตร์ ชวี วิทยา (161)

เสน้ ทางการลําเลียงน้าํ จากในดินเขา้ สู่ท่อลาํ เลยี งในรากพชื
การลาํ เลียงน้ําในท่อไซเลม็ จากรากไปยอด
เม่อื นํ้าเขา้ มาภายในทอ่ ไซเลม็ ในรากพชื แล้วนาํ้ จะตอ้ งถูกลาํ เลียงจากรากข้ึนไปยังยอดพชื โดยปัจจยั หลัก
ท่ีทาํ ใหน้ ้ําภายในต้นพืชสามารถเกดิ การลาํ เลยี งได้ คอื แรงดึงจากการคายน้ํา (Transpiration Pull) ซง่ึ เกดิ จาก
การคายนํ้า (Transpiration) ออกทางปากใบของพชื ประกอบกบั โมเลกุลของนํ้าภายในท่อลําเลียงไซเลม็ ท่ียดึ
เกาะกนั เองด้วยแรง 2 แรง คือ แรงโคฮชี ัน (Cohesion) ระหว่างโมเลกุลของนาํ้ กบั แรงยึดเหนยี่ วระหวา่ ง
โมเลกลุ ของน้ํากับผนงั ท่อลําเลยี ง เรียกว่า แรงแอดฮชี ัน (Adhesion) จงึ ทําให้เกดิ การดงึ นํา้ จากในดินเข้าสูร่ าก
เพอ่ื ทดแทนโมเลกุลน้าํ ทสี่ ญู เสียออกไปจากการคายนํ้าทางปากใบ แนวคิดท่อี ธบิ ายเก่ยี วกับการลําเลยี งน้าํ และ
แรธ่ าตุ (Xylem Sap) ภายในทอ่ ไซเล็มนี้ เรยี กวา่ Transpiration-cohesion-tension mechanism ดงั น้ัน
จงึ เห็นได้วา่ อัตราการลาํ เลียงนา้ํ ภายในท่อไซเล็มจะข้นึ อยู่กับอตั ราการคายนํ้าของพชื

วิทยาศาสตร์ ชีววิทยา (162) ________________________________โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปีที่ 27

กลไกการลาํ เลียงน้าํ ผ่าน Transpiration-cohesion-tension mechanism
พืชขนาดเล็กบางชนดิ ทีอ่ ยูใ่ นบริเวณทมี่ อี ากาศเย็นและความชืน้ ภายนอกสงู (อตั ราการคายน้ําตํ่า) ในช่วง
กลางคืนพชื จะไม่มกี ารคายนํ้าเกดิ ข้นึ เนื่องจากปากใบปิด แตจ่ ะยังคงมกี ารลําเลยี งแรธ่ าตตุ ่างๆ เข้าสู่รากพชื
เกิดขึน้ ตลอดเวลา ทําใหท้ อ่ ไซเล็มภายในรากมีความเขม้ ขน้ ของตัวละลายสูง นา้ํ จากภายนอกจึงออสโมซสิ เขา้ มา
อย่างต่อเนอ่ื งและเกิดเปน็ แรงดนั ข้นึ และแรงดนั นี้ทําใหน้ า้ํ ถกู ดันขนึ้ ไปทางดา้ นบนได้ นา้ํ และแรธ่ าตุ (Xylem Sap)
เหลา่ นี้จะถูกดันออกทางไฮดาโทด (Hydathode) ตรงบริเวณขอบใบเกดิ เปน็ หยดนํ้าออกมา เรียกกระบวนการ
สูญเสียน้าํ ในรูปหยดนา้ํ นี้วา่ กัตเตชนั (Guttation) และเรยี กแรงดันท่เี กดิ ข้ึนวา่ แรงดันราก (Root Pressure)
การกตั เตชันนไ้ี ม่สามารถเกดิ ขน้ึ หรอื ตรวจวัดได้ถ้าพชื เกดิ การคายนาํ้ ตามปกติ

โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปีที่ 27 _______________________________ วทิ ยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (163)

การลาํ เลยี งน้ําจากใบออกสู่ส่ิงแวดลอ้ ม : การคายนํ้า (Transpiration)
จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่า การคายนา้ํ (Transpiration) เปน็ กระบวนการทสี่ ําคัญท่ีช่วยใหพ้ ืชสามารถ
เกิดการลําเลยี งนํา้ จากในรากขนึ้ ส่ยู อดพืชได้ โดยการคายน้ําจะเป็นกระบวนการที่พืชสญู เสยี น้ําออกในรปู ของไอนา้ํ
(Water Vapour) ซงึ่ เกดิ ขึน้ ได้ 2 บรเิ วณในพชื คือ บริเวณปากใบ (Stoma) ท่ีใบพืชซ่งึ เป็นบริเวณหลกั ท่เี กิด
การคายนาํ้ อาจจะเกดิ ข้นึ ทลี่ ําตน้ ไดเ้ ชน่ กัน และบรเิ วณรอยแตกของเปลือกไม้ (Lenticel) ท่ีบริเวณลาํ ต้นของพชื
ใบเลยี้ งคทู่ ี่เปน็ ไมเ้ นื้อแขง็
การเปิด-ปดิ ของปากใบเพอ่ื ควบคุมการคายนา้ํ จะเกิดจากการเปลย่ี นแปลงของเซลล์คุม โดยการเปิดปากใบ
จะเกดิ ข้นึ เมอื่ มแี สงสนี ้ําเงนิ มากระต้นุ เซลล์คุม ทําให้เกดิ การป๊มั โปรตอน (H+) ออกจากเซลลค์ ุมและมีการปัม๊
K+ ที่อยูท่ ภี่ ายในเซลลข์ า้ งเคียงรอบเซลล์คุม (Subsidiary Cell) เข้าไปสะสมในเซลลค์ มุ สง่ ผลให้ความเข้มข้น
ของสารละลายภายในเซลลค์ ุมเพิ่มขึน้ ทําใหน้ ํา้ จากเซลลข์ ้างเคยี ง (Subsidiary Cell) เกิดการออสโมซิสเขา้ มา
ในเซลล์คมุ เซลลค์ มุ เต่งขึ้น (Turgid) และสง่ ผลให้ปากใบของพชื เปดิ ออกได้ในที่สุด นํา้ จงึ เกิดการแพร่ออกไปยงั
สิ่งแวดล้อมได้ ขณะเดยี วกนั แกส๊ CO2 กจ็ ะเขา้ มาภายในพืชเพอ่ื สงั เคราะห์ดว้ ยแสงต่อไป

ขน้ั ตอนการเปดิ ปากใบ (Stomatal Opening)

การทีเ่ ซลลค์ ุมเมอ่ื มนี ํ้าอยภู่ ายในเซลล์และเซลลเ์ ต่ง (Turgid) ทําใหป้ ากใบพืชเปิดออกไดน้ ้นั เกดิ จากการ
ท่ผี นงั เซลล์ทางด้านในของเซลล์คุม (ด้านทต่ี ดิ กับรูปากใบ) มีผนงั หนากว่าผนังเซลล์ที่อยทู่ างด้านนอกของเซลล์คุม
เมอื่ มนี ํ้าเขา้ มาสะสมภายในเซลล์คุมจนเตม็ ก็จะทาํ ให้เกดิ การโปง่ ออกของเซลล์คุม ปากใบพชื จงึ เปิดได้

ปจั จัยทม่ี ีผลตอ่ การคายนํา้ ของพืช
1. อณุ หภมู ิ – ถา้ อณุ หภมู ขิ องสงิ่ แวดล้อมสงู ขน้ึ จะทําให้อัตราการคายน้าํ ของพืชสงู ข้นึ
2. ความช้นื สัมพัทธใ์ นอากาศ – ถ้าความชน้ื สัมพัทธใ์ นอากาศสูง อตั ราการคายนา้ํ ของพืชจะตา่ํ ลง
3. ลม – ถ้าลมในสิ่งแวดลอ้ มแรง อตั ราการสญู เสยี นาํ้ ของพชื ทางปากใบก็จะเพมิ่ ขึน้
4. สภาพนา้ํ ในดนิ – ถา้ พชื อยูใ่ นภาวะขาดนํา้ (Water stress) ปากใบจะปดิ เพื่อลดการคายนํ้า
5. ความเข้มแสง – มีผลต่ออตั ราการสังเคราะห์ดว้ ยแสงและควบคมุ การเปิดปากใบของเซลล์คมุ ได้
6. ปรมิ าณแก๊ส CO2 ในใบ – ถ้าภายในใบมปี รมิ าณแกส๊ CO2 ตาํ่ ปากใบจะเปดิ เพื่อใหแ้ กส๊ CO2 เขา้ มา

วทิ ยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (164) ________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปีที่ 27

การลําเลียงอาหารในทอ โฟลเอ็ม (Phloem Translocation)

กลไกการลําเลียงอาหารในพืชจะเกิดข้ึนภายในท่อโฟลเอ็ม เรียกการลําเลียงนี้ว่า Phloem Translocation
ซึ่งการลําเลียงอาหารจะแตกต่างจากการลําเลียงนํ้า คือ การลําเลียงอาหารจะสามารถเกิดข้ึนได้หลายทิศทาง
การลําเลียงอาหารจะมีการลําเลียงจากบริเวณท่ีเป็นแหล่งสร้าง (Source) ซ่ึงมีปริมาณนํ้าตาลสูงไปยังแหล่งรับ
(Sink) ซ่ึงมีปริมาณนํา้ ตาลตา่ํ กวา่ โดยท่ัวไปใบจะทาํ หน้าท่ีเป็น Source ขณะท่ีรากจะทําหน้าท่ีเปน็ Sink

กลไกการลําเลยี งอาหารภายในทอ่ โฟลเอม็ จะเกดิ ขึ้นโดยเซลล์ที่ทําหน้าท่ีเป็น Source จะมีการส่งน้ําตาล
เข้าสู่เซลล์คอมพาเนียนและเซลล์ซีฟทิวบ์ตามลําดับ ซ่ึงเป็นกระบวนการที่จําเป็นจะต้องใช้พลังงานในรูปของ
ATP (Active Transport) ทาํ ให้ความเข้มข้นภายในเซลล์ซีฟทิวบเ์ พ่ิมขึ้น สง่ ผลใหน้ ํ้าจากทอ่ ไซเล็มที่อยู่ข้างเคียง
ออสโมซิสเข้ามาภายในเซลล์ซีฟทิวบ์ แรงดันน้ําท่ีอยู่ภายในท่อซีฟทิวบ์จึงดันให้น้ําและนํ้าตาลเกิดการแพร่ไปยัง
เซลล์ท่ีเป็น Sink ได้ เมื่อถึงบริเวณที่เป็น Sink ซ่ึงมีปริมาณน้ําตาลต่ํากว่า น้ําตาลจากภายในเซลล์ซีฟทิวบ์
จึงถูกนําเข้าไปยัง Sink Cell ต่อไป (Phloem Unloading) แนวคิดที่อธิบายการลําเลียงอาหารน้ี เรียกว่า
Pressure-flow hypothesis

การลาํ เลยี งน้าํ ตาลในทอ่ Phloem ตามแนวคดิ Pressure-flow hypothesis

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27 _______________________________ วทิ ยาศาสตร์ ชวี วิทยา (165)

ดอก (Flower)

ดอก (Flower) เป็นโครงสร้างท่ีสาํ คญั ในการสบื พนั ธุข์ องพืชดอก ดอกมีสว่ นประกอบตา่ งๆ 4 ชน้ั หลักดงั น้ี
1. ชัน้ กลีบเลี้ยง (Sepal) – ทาํ หน้าท่ีในการปอ้ งกนั อันตรายกับดอกตมู และชว่ ยลดการคายน้ําของดอก
2. ช้ันกลีบดอก (Petal) – โดยท่วั ไปมักมีสสี ันสวยงามสาํ หรบั ใชใ้ นการลอ่ แมลงมาช่วยในการถา่ ยละอองเรณู
3. ช้ันเกสรเพศผู้ (Stamen) – ทําหน้าที่ในการสรา้ งเซลล์สบื พนั ธเ์ุ พศผู้ ประกอบด้วยส่วนต่างๆ คอื

- อับเรณู (Anther) เปน็ บรเิ วณท่มี กี ารสร้างละอองเรณู (Pollen)
- ก้านชูเกสรเพศผู้ (Filament)
4. ช้ันเกสรเพศเมีย (Pistil) – ทําหนา้ ทใี่ นการสร้างเซลล์สบื พันธ์เุ พศเมยี ประกอบดว้ ยสว่ นต่างๆ คือ
- ยอดเกสรเพศเมีย (Stigma) บรเิ วณท่ีจบั กบั ละอองเรณทู ม่ี าตก มักมกี ารสรา้ งสารเหนียวคล้ายกาว
- กา้ นชูเกสรเพศเมีย (Style)
- รังไข่ (Ovary) เปน็ โครงสร้างเฉพาะท่ีภายในจะมกี ารสร้างออวลุ (Ovule)

โครงสร้างของดอก (Flower Structure)

วทิ ยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (166) ________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปีท่ี 27

การแบ่งประเภทของดอกไมส้ ามารถแบง่ ออกไดเ้ ปน็ หลายรูปแบบข้นึ อยกู่ ับเกณฑ์ที่ใช้ สรปุ ไดด้ ังนี้
1. การแบ่งประเภทของดอกตามองคป์ ระกอบของชน้ั ตา่ งๆ ทั้ง 4 ชน้ั สามารถแบง่ ออกไดเ้ ปน็ 2 กลมุ่ คอื

1.1 ดอกสมบรู ณ์ (Complete Flower) – ดอกที่ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบของดอกครบท้ัง 4 ชั้น
- ตัวอยา่ งเช่น ชบา พรู่ ะหง กหุ ลาบ ลลิ ล่ี พรกิ ตอ้ ยตงิ่ มะลิ

1.2 ดอกไมส่ มบูรณ์ (Incomplete Flower) – ดอกที่ประกอบดว้ ยองค์ประกอบของดอกไม่ครบทั้ง 4 ชน้ั
- ตวั อย่างเชน่ หญ้า หนา้ วัว ตาํ ลงึ มะละกอ ฟกั ทอง ขา้ วโพด

2. การแบง่ ประเภทของดอกตามองค์ประกอบของชั้นทมี่ ีการสร้างเซลลส์ บื พนั ธุ์ แบ่งไดเ้ ปน็ 2 กลุม่ คือ
2.1 ดอกสมบูรณเ์ พศ (Perfect Flower) – ดอกท่มี ีท้งั เกสรเพศผูแ้ ละเกสรเพศเมียอย่ใู นดอกเดียวกัน
- ตวั อยา่ งเช่น ชบา มะเขอื กหุ ลาบ
2.2 ดอกไม่สมบรู ณ์เพศ (Imperfect Flower) – ดอกทมี่ เี พียงเกสรเพศผู้หรือเกสรเพศเมยี อย่างใด

อยา่ งหนง่ึ
- ตัวอย่างเชน่ ฟกั ทอง แตงกวา มะเดือ่ มะยม หมาก ข้าวโพด

3. การแบ่งประเภทของดอกตามตาํ แหนง่ ของรังไข่เทียบกับฐานรองดอกแบ่งได้เปน็ 2 กลุม่ คอื
3.1 ดอกท่มี ีรังไข่อยเู่ หนือฐานรองดอก (Superior Ovary)
- ตัวอย่างเช่น ดอกมะเขอื จาํ ปี ย่หี ุบ บวั บานบรุ ี พริก ถั่ว มะละกอ
3.2 ดอกทีม่ รี งั ไข่อย่ใู ตฐ้ านรองดอก (Inferior Ovary)
- ตวั อยา่ งเชน่ ดอกฟักทอง แตงกวา บวบ ฝร่งั ทับทิม กล้วย พลับพลึง

4. การแบ่งประเภทของดอกตามจํานวนของดอกบนก้านชดู อกแบ่งได้เป็น 2 กล่มุ คอื
4.1 ดอกเด่ยี ว (Solitary Flower)
- ดอกที่มี 1 ดอกบนก้านชูดอก แตล่ ะดอกเจรญิ มาจากตาดอก
- ตวั อย่างเชน่ มะเขือเปราะ จําปี บวั กหุ ลาบ ชบา พูร่ ะหง
4.2 ชอ่ ดอก (Inflorescence)
- ดอกซ่งึ มีดอกย่อยมากกว่า 1 ดอกบนก้านชดู อก
- ตวั อย่างเช่น จามจุรี ทานตะวัน บานไม่รู้โรย กล้วยไม้ ขา้ ว กะเพรา มะลิ กล้วย

ช่อดอกบางชนิดอาจจะอยู่รวมกันบนฐานรองดอกเดียวกันทําให้ดูคล้ายกับดอกเดี่ยว ตัวอย่างเช่น
ดอกทานตะวัน ซึ่งประกอบด้วยดอกย่อย 2 ช้ัน คือ ดอกวงนอกซ่ึงอาจจะเป็นดอกสมบูรณ์เพศหรือ
ดอกไม่สมบรู ณ์เพศก็ได้ และดอกวงในซึ่งจะเปน็ ดอกสมบรู ณ์เพศ มกี ลีบดอกเช่อื มกันเปน็ รูปทรงกระบอก

โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปีที่ 27 _______________________________ วิทยาศาสตร์ ชวี วิทยา (167)

วงชวี ติ ของพืชดอก (Flowering Plant Life Cycle)

วงชวี ติ ของพชื ดอก
ขอ้ สงั เกต 1. Male Gametophyte ของพชื ดอก คอื ละอองเรณู (Pollen)

2. Female Gametophyte ของพืชดอก คือ ถงุ เอม็ บริโอ (Embryo Sac)
3. การปฏสิ นธใิ นพืชดอกเปน็ การปฏสิ นธซิ อ้ น (Double Fertilization)

ครั้งท่ี 1 sperm1 (n) + egg (n) → zygote (2n) → embryo (2n)
คร้ังที่ 2 sperm2 (n) + polar nuclei (2n) → endosperm (3n)

ผล (Fruit)

ผลของพชื ส่วนใหญ่จะเจรญิ มาจากสว่ นของผนงั รังไขท่ ไี่ ด้รบั ปฏิสนธิ ยกเว้นผลบางชนดิ อาจจะเจริญมา
จากฐานรองดอก ได้แก่ ชมพู่ แอปเปิล สาลี่ ฝรงั่ ผลโดยทัว่ ไปจะแบ่งออกไดเ้ ปน็ 3 กลุม่ ตามรูปแบบการเจรญิ
จากโครงสรา้ งดอก คอื

1. ผลเดี่ยว (Simple Fruit)
- ผลทเ่ี กิดมาจากรังไขเ่ พียง 1 รงั ไข่เท่าน้นั แต่อาจจะมี 1 ออวลุ (1 เมล็ด) หรือมากกวา่ 1 ออวลุ

(มากกวา่ 1 เมล็ด) โดยอาจเจริญมาจากดอกเดย่ี วหรอื ดอกชอ่ กไ็ ด้
- ตวั อย่างเชน่ มะม่วง ทเุ รียน ส้ม มะเขือเทศ องุ่น ลนิ้ จ่ี เงาะ ลาํ ไย

2. ผลกลมุ่ (Aggregate Fruit)
- ผลทีเ่ กดิ มาจากดอกเพียง 1 ดอก ท่ีมีรงั ไขอ่ ย่บู นฐานรองดอกมากกว่า 1 อนั รังไขแ่ ตล่ ะอัน

จะเจรญิ เปน็ ผลยอ่ ย 1 ผล ผลย่อยๆ อาจจะอย่รู วมกันหรอื แยกกันกไ็ ด้
- ตวั อย่างเช่น จําปี จาํ ปา กระดังงา การเวก นอ้ ยหน่า นมแมว สตรอเบอรี่ มณฑา

3. ผลรวม (Multiple Fruit)
- ผลที่เกิดมาจากชอ่ ดอก โดยแต่ละดอกจะเจรญิ เป็นผลยอ่ ยๆ จากนนั้ ผลยอ่ ยๆ แตล่ ะอนั จะเชอ่ื ม

ตดิ กันเปน็ ผลเดียวกัน
- ตัวอย่างเชน่ ยอ ขนุน สาเก ลูกยอ สับปะรด หม่อน มะเดื่อ

วิทยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (168) ________________________________โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27

เมลด็ (Seed)

เมล็ด (Seed) เป็นโครงสร้างท่ีพัฒนาขน้ึ มาจากส่วนของออวลุ (Ovule) ภายในรงั ไข่ เมล็ดประกอบดว้ ย
ส่วนต่างๆ ดังนี้

1. เปลอื กหุ้มเมล็ด (Seed Coat)
- สว่ นทอ่ี ยู่นอกสุดของเมลด็ ช่วยปอ้ งกนั อนั ตรายใหก้ บั ตน้ อ่อนและปอ้ งกันการสญู เสยี นํ้าไปภายนอก

2. เอนโดสเปริ ม์ (Endosperm)
- เนอื้ เยอ่ื ทมี่ กี ารสะสมอาหารสําหรบั การเจริญเติบโตของเอม็ บรโิ อในเมล็ด เจริญมาจาก Polar Nuclei

3. เอ็มบริโอ (Embryo) ส่วนทจี่ ะเจริญเป็นตน้ พชื ประกอบดว้ ย
- ใบเล้ยี ง (Cotyledon) ในพืชใบเลีย้ งคู่ (Dicots) จะมี 2 ใบ ขณะทีพ่ ืชใบเลยี้ งเดย่ี ว (Monocots)

จะมใี บเลี้ยงเพยี ง 1 ใบเทา่ น้นั เรียกว่า scutellum สําหรับใบเล้ียงของพชื บางชนิด เช่น พืชตระกลู ถ่ัว มะขาม
บวั จะมีการดดู Endosperm เข้าไปสะสม

- ส่วนท่ีอยูเ่ หนือใบเลี้ยง (Epicotyl) ส่วนนีจ้ ะเจรญิ ต่อไปเป็นสว่ นของลาํ ตน้ ใบ และดอกในพืช
- ส่วนท่ีอยใู่ ต้ใบเลยี้ ง (Hypocotyl) สว่ นนจ้ี ะอย่ใู ต้ใบเลีย้ ง
- รากแรกเกดิ (Radicle) ในพชื ใบเล้ยี งครู่ ากแรกเกิดจะเจรญิ ไปเปน็ รากแก้ว (Tap Root) แต่ใน
พชื ใบเล้ยี งเดยี่ วรากแรกเกดิ จะสลายตัวไป และมรี ากฝอย (Fibrous Root) พัฒนาขึ้นมาแทน

เมล็ดพืชบางชนดิ เชน่ เมล็ดถวั่ เมล็ดดอกทานตะวัน เม่ือโตเต็มท่ีจะไมม่ ีเอนโดสเปริ ม์ อย่ภู ายใน เรยี ก
เมลด็ แบบน้วี ่า Exalbuminous Seed ขณะท่ีถ้าเมล็ดพชื มีเอนโดสเปริ ์มสะสมอยภู่ ายในจะเรียกว่า Albuminous Seed

โครงสร้างของเมล็ดถว่ั เมลด็ ละห่งุ และเมล็ดขา้ วโพด

การวัดดชั นีการงอกของเมลด็ พนั ธ์ุจดั เปน็ หนึ่งในวธิ ีการวัดความแขง็ แรงของเมล็ดพนั ธุ์ โดยถา้ เมลด็ มี
ความแข็งแรงสงู คา่ ดชั นีการงอกของเมล็ดก็จะสูง สูตรในการคํานวณดชั นีการงอกของเมลด็ สามารถคาํ นวณไดด้ งั น้ี

จาํ นวนของเมลด็ ทง่ี อกในแต่ละวัน"

ดัชนีการงอกของเมล็ดพนั ธ์ุ = ผลบวกของ จํานวนวันหลงั เพาะ

โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปที ี่ 27 _______________________________ วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (169)

ฮอรโมนพชื (Plant Hormones)

ฮอรโ์ มนพชื (Plant Hormone) คือ สารเคมที ่พี ชื สร้างข้ึนจากบริเวณหนงึ่ แล้วถูกลําเลียงไปยังอกี บริเวณหนึ่ง
แล้วทําให้เกดิ การเปลย่ี นแปลงทางสรรี วิทยาข้นึ ฮอรโ์ มนพชื จะมปี รมิ าณตาํ่ มากในการกระตนุ้ ใหเ้ กิดการตอบสนองขึ้น
ฮอรโ์ มนพชื ชนิดตา่ งๆ สามารถสรปุ บทบาทและหน้าทไี่ ดด้ งั ตาราง

ฮอรโ์ มนพชื บทบาทหน้าที่

ออกซิน (Auxin) - กระตุ้นการขยายตวั ตามยาวของเซลล์
- การตอบสนองต่อแสงและแรงดึงดดู โลกของพชื
- กระตุ้นการเปลย่ี นแปลงรูปร่างของราก
- ยับยงั้ การเจริญของตาข้าง (Apical Dominance)
- ชะลอการหลุดร่วงของใบ
- พัฒนารังไข่เป็นผลโดยไมต่ ้องได้รบั การปฏสิ นธิ
- ถา้ ความเข้มขน้ ออกซนิ สูงจะยับยัง้ การขยายขนาดของเซลล์ราก
- กระตนุ้ การเปลย่ี นรปู รา่ งของเซลล์เปน็ ท่อลําเลียงใน Vascular Cambium

ไซโทไคนิน (Cytokinin) - กระตุ้นการแบ่งเซลล์
- กระตุน้ การเกิดตาข้าง
- ชะลอการสลายตวั ของคลอโรฟิลล์
- กระตนุ้ การงอกของเมล็ด
- กระตุ้นการลําเลยี งอาหารจากบรเิ วณ Source ไปยงั Sink

จบิ เบอเรลลนิ (Gibberellins) - กระตนุ้ ให้เซลลแ์ บ่งตัวและขยายตัวตามยาว
- กระตนุ้ การงอกของเมล็ด
- กระตุ้นการออกดอกของพชื บางชนิด
- พัฒนารงั ไข่เป็นผลโดยไม่ต้องไดร้ ับการปฏิสนธิ
- กระต้นุ การยดื ตัวของลําตน้ ในพืชต้นแคระ (Dwarfism)
- กระต้นุ ให้ชอ่ องนุ่ โปรง่ ทําให้ผลขององนุ่ มขี นาดใหญข่ นึ้

เอทลิ ีน (Ethylene) - เร่งการสุกของผลไม้ (Fruit Ripening)
- กระตนุ้ การหลุดร่วงของใบ
- กระตุน้ การออกดอกของพชื บางชนดิ

กรดแอบไซซกิ (Abscissic acid) - ยับย้งั การเจรญิ ของตา
- กระตุ้นการปดิ ปากใบ
- กระตุ้นการหลดุ รว่ งของใบ (ไมข่ นึ้ กบั ฮอรโ์ มนเอทิลนี )
- ยับย้งั การงอกของเมล็ด (กระตุ้นให้เกิดการพกั ตัวของเมลด็ )

วทิ ยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (170) ________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27

การเคลอ่ื นไหวของพชื (Plant Movements)

phototropism

การเคล่ือนไหวโดยมีทิศทาง gravitropism
สัมพนั ธ์กับส่ิงเรา้ chemotropism
hydrotropism
(Tropic movement)

การหุบบานของดอกบวั

การเคลื่อนไหวของพืช การหุบใบไมยราพ

การเคลื่อนไหวโดยแรงดันเต่ง การหุบของใบกาบหอยแครง
(turgor pressure)
การเคล่ือนไหวโดยมีทิศทาง
ไมส่ ัมพันธ์กบั ส่ิงเรา้ การเคลื่อนไหวโดยไม่ได้ใช้ การเกิด sleep movement
(Nastic Movement) แรงดันเต่ง (nutation movement) ของพืชตระกูลถ่ัว

การเปิด-ปดิ ปากใบ

โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ่ี 27 _______________________________ วทิ ยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (171)

แนวขอ สอบ

เร่อื ง การดํารงชีวิตของพืช

จงเลอื กคําตอบท่ีถูกตอ้ งทสี่ ดุ

1. ภาพโครงสรา้ งอวัยวะของพชื ดอกตดั ตามขวาง ศึกษาดว้ ยกลอ้ งจลุ ทรรศน์

ก. กข.

ค. ง.

จ. ฉ.

ภาพใดเป็นของพชื ใบเล้ียงคู่ 2) ข., ค. และ ง.
1) ก., ข. และ ค. 4) ก., จ. และ ฉ.
3) ค., ง. และ จ.

วิทยาศาสตร์ ชีววิทยา (172) ________________________________โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปีท่ี 27

2. เซลล์รูปรา่ งยาว ผนงั หนามีลวดลายรา่ งแหทีผ่ นังด้านข้างซงึ่ เกิดจากการพอกของสารลกิ นนิ ผนงั ด้าน

หวั ทา้ ยมรี ูทะลุ เซลลเ์ รียงตอ่ กนั ตามยาวคลา้ ยทอ่ คือข้อใด

1) ซฟี ทิวบ์ 2) เทรคีด 3) ไฟเบอร์ 4) เวสเซล

3. แผนภาพแสดงโครงสรา้ งของราก

บ ริ เว ณ ห ม ว ก ร า ก 4) D

จากภาพ การลําเลียงแบบอโพพลาส และซมิ พลาสเกิดมากท่ีบริเวณใด
1) A 2) B 3) C
4. ภาพปลายยอดพืช

จากภาพ เนื้อเยื่อตน้ กําเนิดใบ และเน้อื เยอื่ ต้นกาํ เนิดทอ่ ลาํ เลยี งคอื บริเวณใด ตามลําดบั

1) A และ B 2) A และ C 3) B และ C 4) C และ D

โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปีที่ 27 _______________________________ วทิ ยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (173)

5. ภาพลาํ ตน้ พืช

จากภาพ บรเิ วณใดเปน็ เนอื้ เยือ่ พาเรงคมิ า

1) B, C และ D 2) B และ F 3) D และ E 4) B, D และ F

6. ทดลองปลูกพืชในสารละลายที่มธี าตอุ าหารครบถว้ น แลว้ ใหส้ ารละลายคาร์บอนไดออกไซดท์ ีม่ ี 14C แกใ่ บท่ี

อยกู่ ลางๆ ลําต้น ดังภาพ

หลงั จากใหพ้ ชื ทดลองรับแสงเปน็ เวลา 2 ชั่วโมง แลว้ นาํ สว่ นต่างๆ ไปตรวจสอบหาสารประกอบพวก

คาร์โบไฮเดรตทส่ี ะสมอย่ใู นส่วนตา่ งๆ จะพบสารประกอบทมี่ ี 14C ทสี่ ่วนใดของพืช

1) ก และ ข 2) ค และ ง

3) ก, ข, ค, ง และ จ 4) จ

วทิ ยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (174) ________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปที ่ี 27

7. รากพืชดอก 2 ชนิดตดั ตามขวาง ศึกษาด้วยกลอ้ งจุลทรรศน์ มโี ครงสรา้ งดงั ภาพ ก. และ ภาพ ข.

ภาพ ก. ภาพ ข.

บริเวณท่ีลกู ศรชใ้ี นภาพ ก. และ ภาพ ข. คือขอ้ ใด ตามลําดบั

1) Primary Xylem และ Pith 2) Pith และ Primary Xylem

3) Pith และ Pith 4) Xylem และ Xylem

8. ภาพลําตน้ พืชยนื ต้นตัดตามขวางศกึ ษาดว้ ยกล้องจุลทรรศน์

จากข้อมลู ต่างๆ ในภาพ บอกใหท้ ราบในเรือ่ งใดบา้ งในแต่ละปี

ก. การเจริญของไซเล็ม ข. คณุ ภาพของเนื้อไม้

ค. ปรมิ าณความมากนอ้ ยของนา้ํ ฝน ง. ปัจจยั ภายนอกทมี่ ผี ลตอ่ การเจริญของเนอ้ื ไม้

1) ก. และ ข. 2) ก., ข. และ ค.

3) ข., ค. และ ง. 4) ก., ค. และ ง.

โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปีที่ 27 _______________________________ วทิ ยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (175)

9. เมอื่ ชาวสวนตัดก่ิงฤๅษผี สมเพื่อปักชําเตรียมไว้จาํ หน่าย ในระยะแรกๆ ของการปักชาํ พบวา่ กิ่งตดั มอี าการ
เหีย่ วในตอนบ่าย อาการเหยี่ วของกง่ิ ฤๅษผี สมเกิดจากสาเหตุใด
1) มีการคายน้าํ มากกวา่ การดูดน้าํ
2) กงิ่ ตัดยังดูดนํา้ ไม่ได้ เพราะยงั ไม่มรี าก
3) มกี ารใชน้ ํ้าปริมาณมากในการสลายอาหารระดบั เซลล์เพอ่ื สร้างราก
4) มกี ารใช้นาํ้ ปรมิ าณค่อนข้างมากในการสังเคราะหด์ ว้ ยแสงเพื่อสร้างอาหาร

10. ข้อใดไมถ่ ูกตอ้ ง เกี่ยวกบั การลําเลยี งในพชื
1) การลาํ เลียงนํ้าจากรากขน้ึ ไปสบู่ รเิ วณยอดของไมย้ ืนต้นขนาดใหญ่ เกย่ี วข้องกบั แรงดึงจากการคายน้าํ ที่ใบ
และแรงดนั รากมากท่สี ุด
2) การแพร่ของน้ําในไซเล็มเข้าสโู่ ฟลเอ็ม ทําให้เกดิ แรงดนั ทใ่ี ช้ในการลําเลียงสารอาหารในซฟี ทวิ บ์
3) การลําเลยี งธาตุอาหารแบบใชพ้ ลงั งาน ทําให้พืชสามารถสะสมธาตุอาหารสาํ คญั บางชนิดได้
4) การลําเลยี งนาํ้ และแรธ่ าตเุ ข้าสู่เอนโดเดอรม์ ิสเป็นแบบซิมพลาสเทา่ นัน้

11. ขอ้ ใดถูกตอ้ ง

1) ด้านบนของใบไมส้ เี ขยี วมสี เี ข้มกวา่ ดา้ นล่าง เพราะเซลลผ์ ิวมีคลอโรพลาสต์มากกวา่

2) การคายน้ําเป็นการสูญเสียน้าํ ของพืชสู่บรรยากาศในรูปไอนา้ํ ผา่ นปากใบ และในรูปหยดนาํ้ ผ่านไฮดาโทด
3) เมอ่ื ความเข้มแสงลดลง ปริมาณ K+ ในเซลล์คมุ ลดลง ทาํ ให้ความเตง่ ของเซลล์คมุ ลดลง ปากใบจงึ ปิด

4) เมอ่ื นาํ้ ในดินลดลง พชื เร่มิ ขาดน้ํา จึงสังเคราะหจ์ บิ เบอเรลลิน ทําใหป้ ากใบปดิ มีผลใหก้ ารคายนาํ้ ลดลง

12. ขอ้ ใดคือความแตกต่างทถี่ ูกต้องระหว่างแก่นไม้ (Heartwood) และกระพ้ี (Sapwood)
1) แกน่ ไม้ คอื ส่วนแกนกลางของลําต้นที่ทาํ หน้าทใี่ ห้ความแข็งแรง สว่ นกระพี้ คอื สว่ นรอบนอกของลําตน้
ทาํ หนา้ ท่ีลําเลียงนาํ้
2) แกน่ ไม้ ประกอบดว้ ยเซลล์ไฟเบอรใ์ ห้ความแขง็ แรงกับพชื สว่ นกระพี้ ประกอบด้วยเซลลท์ ่ีทําหนา้ ที่
ลําเลยี งน้ํา
3) แกน่ ไม้ คอื เนื้อเย่ือท่อลําเลียงนา้ํ ท่ไี ม่ทาํ หนา้ ท่ีลาํ เลียงนา้ํ อกี ต่อไป แตก่ ระพี้ คือ เน้ือเยอ่ื ทอ่ ลําเลียงน้ํา
ทย่ี ังคงทาํ หน้าทีล่ าํ เลยี งน้ําได้ตามปกติ
4) เซลล์ที่ทาํ หน้าท่ลี ําเลียงน้าํ ในกระพ้ีเปน็ เซลลท์ ่ยี งั คงมชี ีวิตจึงยงั ทาํ หน้าทีใ่ นการลาํ เลยี ง แตเ่ ซลลล์ าํ เลยี งนํา้
ในแก่นไม้เป็นเซลลท์ ่ตี ายแลว้ แก่นไมจ้ ึงหยุดทําหน้าท่ีในการลําเลยี ง

13. วงปขี องรากเกิดจากการแบง่ เซลล์แบบไมโตซสิ ของเนอื้ เยอื่ ชนิดใด

ก. แคมเบียม

ข. พาเรงไคมา

ค. เพริไซเคลิ

1) ก. 2) ก. และ ข.

3) ก. และ ค. 4) ก., ข. และ ค.

วทิ ยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (176) ________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27

พจิ ารณาโครงสร้างตอ่ ไปนี้ แลว้ ตอบคาํ ถามขอ้ 14-15

14. โครงสรา้ งใดตอ่ ไปนม้ี ีจาํ นวนชุดโครโมโซมเท่ากนั
1) D และ G
2) D และ I
3) A, D และ I
4) D, I และ G

15. โครงสร้างใดต่อไปนีท้ จี่ ะเจรญิ ต่อไปเปน็ เน้ือผล (Fruit)
1) F
2) G
3) H
4) I

16. พืชตระกูลถั่วชนิดหน่ึงมีจํานวนโครโมโซม 12 โครโมโซม เม่ือเซลล์หน่ึงของพืชชนิดน้ีมีการแบ่งเซลล์
แบบไมโอซิส โดย 3 เซลล์ท่ีได้จากการแบ่งจะสลายตัวไป เหลือเพียงเซลล์เดียวซึ่งจะมีการแบ่งเซลล์ต่อไป
แบบไมโทซิส 3 ครัง้ กลายเป็นถุงเอ็มบริโอ ถุงเอ็มบริโอนี้จะมีจํานวนนิวเคลียสเท่าใด และแต่ละนิวเคลียส
จะมีจํานวนโครโมโซมเทา่ ใด
1) ได้ 4 นวิ เคลียส แตล่ ะนิวเคลยี สมี 6 โครโมโซม
2) ได้ 8 นวิ เคลียส แตล่ ะนิวเคลยี สมี 6 โครโมโซม
3) ได้ 8 นิวเคลยี ส แตล่ ะนิวเคลียสมี 12 โครโมโซม
4) ได้ 8 นิวเคลยี ส มี 7 นวิ เคลียสทีม่ จี าํ นวนโครโมโซม 6 โครโมโซม และมี 1 นิวเคลยี ส มี 12 โครโมโซม

โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปีท่ี 27 _______________________________ วิทยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (177)

17. ขอ้ ใดทพี่ บว่ามีกระบวนการแบ่งนิวเคลียสแบบไมโอซิส
ก. ไมโครสปอโรไซตส์ รา้ งไมโครสปอร์
ข. การสรา้ งสเปริ ม์ ของละอองเรณู
ค. สปอรง์ อกเปน็ สปอโรไฟต์
ง. เมกะสปอร์เจริญเปน็ ถงุ เอ็มบรโิ อ

1) ก.
2) ก. และ ข.
3) ก. และ ค.
4) ข. และ ง.

18. เมล็ดขา้ วโพดบางชนดิ งอกไดท้ ัง้ ๆ ที่เมล็ดยังอยบู่ นต้น เมลด็ เหลา่ นน้ี า่ จะมฮี อรโ์ มนพืชชนดิ ใดต่อไปน้ี
ในระดับตํ่ากวา่ ปกติ
1) ออกซนิ
2) เอทิลีน
3) จิบเบอเรลลิน
4) กรดแอบไซซิก

19. พจิ ารณาแผนภาพแสดงโครงสรา้ งภายในของเมล็ดละหุ่งต่อไปนี้

โครงสร้างใดตอ่ ไปนีเ้ ทียบเท่าได้กับเนื้อเมล็ดถั่วลิสง
1) ก
2) ข
3) ค
4) ง

วิทยาศาสตร์ ชีววิทยา (178) ________________________________โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปีที่ 27

20. พิจารณาตารางแสดงการงอกเมล็ดพนั ธุ์ถ่วั เหลอื งทไี่ ด้มาจากแหล่งท่ีแตกต่างกนั 4 แหลง่ แหล่งละ 100 เมลด็

แหล่งเมลด็ พันธ์ุ วนั ท่ี 1 วนั ที่ 2 จํานวนเมล็ดทงี่ อกในแต่ละวนั วันที่ 7
0 0 วนั ที่ 3 วันที่ 4 วนั ท่ี 5 วนั ที่ 6 0
แหล่งท่ี 1 0 0 0
แหล่งท่ี 2 0 15 25 25 20 25 0
แหลง่ ที่ 3 0 0 40 20 30 10 0
แหล่งท่ี 4 30 40 10 0
45 25 25 0

ถ้าพิจารณาจากดชั นีการงอก ควรเลือกเมลด็ พนั ธ์ุถั่วเหลอื งจากแหล่งใดไปเพาะปลกู

1) แหล่งที่ 1 2) แหล่งที่ 2 3) แหลง่ ที่ 3 4) แหล่งท่ี 4

เฉลย

ความรพู น้ื ฐานทางชวี วิทยา

1. 1) 2. 2) 3. 2) 4. 1)

เรอ่ื ง การประสานงานในรางกาย

1. 3) 2. 3) 3. 2) 4. 4) 5. 3) 6. 2) 7. 3) 8. 4) 9. 2) 10. 4)
11. 3) 12. 3) 13. 2) 14. 2) 15. 4) 16. 2) 17. 1) 18. 1) 19. 3) 20. 3)

เรอ่ื ง การดาํ รงชีวิตของพชื

1. 1) 2. 4) 3. 4) 4. 3) 5. 2) 6. 3) 7. 4) 8. 4) 9. 1) 10. 1)
11. 3) 12. 3) 13. 3) 14. 2) 15. 1) 16. 2) 17. 1) 18. 4) 19. 2) 20. 3)

————————————————————

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 _______________________________ วทิ ยาศาสตร์ ชวี วิทยา (179)

NOTE

วทิ ยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (180) ________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ่ี 27

เก็งขอสอบ

ชุดท่ี 1

1. บริเวณของรา่ งกายทีใ่ ช้พลงั งานมากควรพบออรแ์ กเนลลใ์ ด
1) ร่างแหเอนโดพลาสซึม
2) ไรโบโซม
3) คลอโรพลาสต์
4) ไมโทคอนเดรีย
5) ขอ้ 2) และขอ้ 3) ถกู ต้อง

2. ขอ้ ใดกลา่ วถูกตอ้ ง
ก. เยอื่ หุม้ นวิ เคลียสพบในเทานา้ํ
ข. เซลลส์ าหร่ายสีเขียวแกมนํา้ เงนิ ไม่มีเยือ่ หุม้ เซลล์
ค. เซลล์ของสง่ิ มชี วี ติ ทุกชนดิ มเี ยอ่ื หมุ้ นิวเคลียส
ง. เซลลท์ กุ เซลลม์ เี ยือ่ ห้มุ เซลล์

1) ก. เท่าน้นั
2) ก. และ ง.
3) ข. และ ง.
4) ข., ค. และ ง.
5) ง. เท่านัน้
3. ข้อใดกลา่ วถงึ คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) ไม่ถูกตอ้ ง
1) มเี ย่อื หมุ้ สองชัน้
2) พบในเซลล์ส่งิ มีชวี ิตอาณาจกั รฟังไจ
3) มีของเหลวภายในเรยี กว่า สโตรมา
4) สามารถจาํ ลองตวั เองได้เนื่องจากมี DNA
5) เป็นออร์แกเนลล์ที่เกี่ยวขอ้ งกบั กระบวนการสงั เคราะหด์ ้วยแสง

โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27 _______________________________ วทิ ยาศาสตร์ ชวี วิทยา (181)

4. กําหนดให้เซลลแ์ ม่มโี ครโมโซมจาํ นวน 10 แทง่ เม่ือผา่ นกระบวนการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสแล้วจะไดเ้ ซลลล์ ูก
ก่ีเซลล์และแต่ละเซลลม์ โี ครโมโซมกแี่ ท่ง
1) 1 เซลล์ / 5 แทง่
2) 1 เซลล์ / 10 แท่ง
3) 2 เซลล์ / 5 แทง่
4) 2 เซลล์ / 10 แทง่
5) 1 หรอื 2 เซลล์ / 10 แท่ง

5. ข้อใดอธบิ ายเกีย่ วกับเยอ่ื หุ้มเซลล์ (Plasma Membrane) ได้ถกู ตอ้ ง
1) มีองค์ประกอบหลัก คือ ฟอสเฟตและลิพิด
2) สามารถใหส้ ารเขา้ -ออกไดท้ ุกประเภท
3) มีสารจาํ พวกคาร์โบไฮเดรตแทรก ซ่งึ ทาํ หน้าทีเ่ ป็นตวั ช่วยลําเลยี งสารเข้า-ออกเซลล์
4) ส่วนท่ีชอบน้ํา (Hydrophilic Head) เปน็ ส่วนที่ไม่มขี ัว้ สว่ นที่ไมช่ อบนาํ้ (Hydrophobic Tail) เปน็ ส่วน
ทีม่ ีขวั้
5) พบในส่งิ มีชีวติ อาณาจักรพืชและสัตวเ์ ทา่ นั้น

6.

กระบวนการใดสมั พนั ธก์ บั ภาพที่กาํ หนดให้
1) การนําสารพษิ ออกจากเซลลข์ องพารามีเซียม
2) การหล่งั เอนไซมจ์ ากกระเพาะอาหารของปลาทะเล
3) การทําลายแบคทีเรียของเม็ดเลือดขาว
4) การดดู ซึมนํา้ เขา้ สู่เซลล์
5) การรักษาสมดลุ ของนกทะเล
7. เดก็ ชายโกศยั นําชิน้ มะม่วงท่ีซอ้ื จากโรงเรยี นมาแชใ่ นนาํ้ เช่อื มทบ่ี ้าน เซลล์ของมะมว่ งควรมีลกั ษณะอยา่ งไร
เมือ่ เทยี บกับเซลล์ จัดเปน็ สารละลายประเภทใด
1) เซลลเ์ ตง่ สารละลายไฮโพโทนิก
2) เซลล์แตก สารละลายไฮเพอร์โทนกิ
3) เซลลเ์ หี่ยว สารละลายไฮเพอรโ์ ทนกิ
4) เซลลค์ งสภาพ สารละลายไฮโพโทนกิ
5) เซลล์คงสภาพ สารละลายไอโซโทนิก

วทิ ยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (182) ________________________________โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปีที่ 27

8. นายเกรยี งไกรทําการทดลองโดยนาํ เนอ้ื ปลาชนิดเดยี วกนั นาํ้ หนักเทา่ กัน ไปแชใ่ นสารละลายเปน็ เวลา 1 ช่วั โมง
นํามาช่ังนาํ้ หนักเปน็ ระยะๆ แล้วสรุปความสมั พนั ธ์ดงั กราฟ

น้าํ หนกั

เวลา

ถ้านาํ ผลการทดลองใดตอ่ ไปนม้ี าสรุปความสัมพันธ์เปน็ กราฟไดใ้ กล้เคียงกบั สารข้างตน้
1) นําช้ินมะมว่ งแช่น้าํ ปลา
2) นําเซลลเ์ ยือ่ บุขา้ งแกม้ แช่นา้ํ กลนั่
3) นาํ ชิ้นมนั ฝร่ังแช่นํา้ ปลา
4) นําเม็ดเลอื ดแดงแชน่ ํ้าผงึ้
5) ข้อ 1) และข้อ 2)
9. เด็กหญิงทองกวาวไปเท่ยี วภกู ระดึงในหน้าหนาว เหตกุ ารณใ์ ดตอ่ ไปนส้ี ัมพันธก์ บั สิ่งทจี่ ะเกดิ ขึ้นกับเธอ

1) หลอดเลอื ดฝอยหดตัว
2) รูขุมขนขยายตวั
3) หวั ใจหยุดเตน้ ช่วั ขณะ
4) ขนลกุ ชนั
5) ข้อ 1) และขอ้ 4) ถูกตอ้ ง
10. เด็กชายอนรุ ักษ์ออกเดินทางไกลในวิชาลกู เสือ เขาไม่ค่อยไดด้ ืม่ นา้ํ ทาํ ให้ปัสสาวะน้อยกวา่ กวา่ ปกติ เหตใุ ด
จึงเป็นเชน่ นน้ั
1) การหลง่ั ADH เพิ่มข้นึ
2) การหลั่ง ADH ลดลง
3) การหลั่ง ADH ปกติ
4) การหลงั่ Vasopressin Hormone ลดลง
5) กระเพาะปสั สาวะไม่สามารถทํางานไดต้ ามปกติ
11. การด่ืมนํา้ อดั ลมซง่ึ มีความเป็นกรดเป็นปริมาณมากๆ ทาํ ใหเ้ ลอื ดมสี ภาวะเปน็ กรดจริงหรอื ไม่ เพราะเหตุใด
1) ไม่เปน็ กรด เพราะเลือดมสี มบตั เิ ป็นสารละลายบัฟเฟอร์
2) ไมเ่ ปน็ กรด เพราะร่างกายจะไดร้ ับอนั ตรายไดห้ ากเลอื ดมีสภาวะเปน็ กรด
3) เปน็ กรดจรงิ เพราะวติ ามินซลี ะลายนํา้ ได้
4) เปน็ กรดจรงิ เพราะน้าํ สม้ มีรสเปร้ียวและมปี รมิ าณกรดสูง
5) อาจจะเป็นกรดหรอื ไม่ก็ได้ขึ้นอยกู่ ับสภาพร่างกายของแตล่ ะบคุ คล

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปที ่ี 27 _______________________________ วิทยาศาสตร์ ชีววิทยา (183)

12. การที่ร่างกายมปี ริมาณ CO2 สงู อาจส่งผลให้เลือดเปน็ กรด ซ่งึ อาจก่อใหร้ ่างกายทาํ งานผิดปกติ สมองสว่ นใด
ตอ่ ไปน้ที ําหนา้ ที่เก่ยี วขอ้ งกับการควบคมุ ปริมาณ CO2
1) Cerebellum
2) Cerebrum
3) Medulla Oblongata
4) Pons
5) ขอ้ 1) และขอ้ 2) ถูกตอ้ ง

13. ข้อใดกลา่ วถงึ ปลาชอ่ นไม่ถูกต้อง
ก. ขับปสั สาวะนอ้ ยและปัสสาวะมคี วามเข้มขน้ สงู
ข. Osmotic Pressure ของของเหลวในร่างกายมากกว่าน้าํ ภายนอก
ค. มผี วิ หนังและเกล็ดป้องกนั นาํ้ ซมึ เขา้

1) ก. เท่าน้ัน
2) ข. เท่านัน้
3) ค. เท่านน้ั
4) ขอ้ ก. และ ข้อ ข.
5) ไมม่ ขี ้อใดถูก

14. สตั ว์ในข้อใดต่อไปนท้ี ่ีอณุ หภูมิรา่ งกายเปล่ยี นแปลงตามสิง่ แวดล้อม
1) เปด็
2) อูฐ
3) มา้ นํา้
4) ไฮยีนา
5) กระตา่ ย

15. อวยั วะชนดิ ใดทไ่ี ม่ไดจ้ ดั วา่ เปน็ อวัยวะน้ําเหลอื ง
1) ต่อมไทมัส
2) มา้ ม
3) ตอ่ มทอนซิล
4) ตบั
5) ข้อ 1) และขอ้ 4) ถกู ต้อง

16. การให้ทารกด่ืมนมมารดา ทารกไดร้ ับภูมคิ ุ้มกันชนิดใด
1) ภูมิค้มุ กันก่อเอง
2) ภูมิคุ้มกนั รับมา
3) ภมู คิ มุ้ กันก่อเองและรับมา
4) ภูมคิ ้มุ กันที่ทารกสรา้ งขน้ึ เองตงั้ แตก่ าํ เนดิ
5) ไม่ไดร้ บั ภมู คิ มุ้ กันได้รบั แต่สารอาหาร

วิทยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (184) ________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ่ี 27

17. สามแี ละภรรยาคู่หนึ่งมีเลอื ดหมู่ A มีลกู คนแรกเลือดหมู่ O โอกาสมลี ูกคนที่ 2 เลือดหมู่ A คดิ เปน็ รอ้ ยละ
เทา่ ใด
1) 0
2) 25
3) 50
4) 75
5) 100

18. ข้อใดกลา่ วถึง DNA ไม่ถูกตอ้ ง
ก. Monomer คือ Nucleotide
ข. มี Deoxyribose เป็นองคป์ ระกอบ
ค. เบสอะดนิ นี จะจบั เบสกวั นีนด้วยพันธะไฮโดรเจน
ง. เกิดจาก Polynuclecotide 2 สาย

1) ก. และ ข.
2) ข. เท่านน้ั
3) ค. เท่าน้นั
4) ก. และ ง.
5) ก. และ ค.
19. ข้อใดเขียนนวิ คลโี อไทด์ ก, ข, ค, ง ตามลําดับ ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง เมอื่ พจิ ารณาจากรปู

1) ไซโทซีน อะดนี นี กัวนีน ไทมีน
2) ไทมนี อะดีนนี กัวนนี ไซโทซนี
3) ไทมนี ไซโทซนี อะดีนนี กวั นีน
4) อะดีนนี ไซโทซนี ไทมีน กัวนีน
5) อะดีนีน ไซโทซนี กัวนนี ไทมนี

โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27 _______________________________ วิทยาศาสตร์ ชีววิทยา (185)

20. การวินิจฉยั โรคพนั ธุกรรมท่ีเกิดความผดิ ปกติของโครโมโซมทําได้โดยวธิ ใี ด
1) วเิ คราะหพ์ นั ธปุ ระวัติ
2) วิเคราะห์คารโี อไทป์
3) วิเคราะห์ DNA
4) วิเคราะหจ์ โี นม
5) วเิ คราะหล์ ายพิมพ์นิว้ มือ

21. หม่เู ลอื ดระบบ ABO ในมนุษยแ์ สดงถึงขอ้ ความใด
1) ความแปรผนั ไมต่ อ่ เนอ่ื ง
2) ความแปรผนั ตอ่ เน่ือง
3) ข้อดขี องเฮเทอโรไซโกต
4) การคัดเลือกแบบ Disruptive
5) การกลายพันธุ์ (Mutation)

22. สิง่ มีชวี ติ อาณาจักรใดมีบทบาทเป็นผ้ยู ่อยสลายในระบบนเิ วศ
1) อาณาจกั รสัตว์
2) อาณาจกั รพชื
3) อาณาจักรฟังไจ
4) อาณาจักรมอเนอราและอาณาจกั รพชื
5) ถูกท้ังข้อ 2) และข้อ 3)

23. ขอ้ ใดไมเ่ กย่ี วข้องกับความหลากหลายทางชวี ภาพ
1) ความหลากหลายของสปชี ีส์
2) ความหลากหลายของพันธุกรรม
3) ความหลากหลายของวฒั นธรรม
4) ความหลากหลายของแหล่งทอี่ ยู่อาศยั
5) ถกู ทง้ั ข้อ 2) และขอ้ 3

24. ข้อใดคอื สงิ่ มชี วี ิตทม่ี ีการเจริญเติบโตเพมิ่ จํานวนมากทสี่ ดุ เม่ือชายฝั่งจังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ เกดิ เหตุการณ์
นํา้ แดงหรือขีป้ ลาวาฬ (Red Tide)
1) ยูกลโี นซวั
2) ไตรโคโมแนส
3) ไดโนแฟลกเจลเลต
4) ไดโนแมสติโกต
5) พารามเี ซียม

วทิ ยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (186) ________________________________โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27

พิจารณาภาพต่อไปน้ี แลว้ ตอบคาํ ถามข้อ 25-26

A

B CD E FG

25. สิง่ มชี วี ิตทงั้ หมดในภาพจดั อยใู่ น Kingdom ใด

1) Monera 2) Protista 3) Fungi 4) Plantae 5) Animalia
4) E 5) G
26. ส่ิงมีชวี ิตในขอ้ ใดที่มกี ารเคลอ่ื นท่ดี ้วย Pseudopodia
1) B 2) C 3) D

27. ขอ้ ใดเป็นพืชทม่ี ีการปฏิสนธซิ อ้ น

1) 2)

3) 4)

5)

28. ขอ้ ใดมีทัง้ ผูผ้ ลิต ผบู้ รโิ ภคและผยู้ ่อยสลาย
1) เห็ดแดง สน กิง้ กอื
2) เฟิน มด แร้ง
3) เห็ด ปลวก เทานา้ํ
4) มอส ไรแดง ตะไคร้นาํ้
5) แรง้ ไร รา

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 _______________________________ วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (187)

29. ขอ้ ใดถกู ต้องเกี่ยวกบั การถ่ายทอดพลังงานในระบบนเิ วศ
1) พลังงานแสงที่โลกไดร้ ับจะเขา้ สู่ผู้ผลิต
2) พลงั งานท่ถี า่ ยทอดในโซอ่ าหารอยูใ่ นรูปพลังงานแสงและความรอ้ น
3) ระบบนิเวศรับพลังงานแสงได้โดยไมผ่ ่านผูผ้ ลิต
4) ผ้ผู ลติ จะนาํ พลงั งานแสงท่ีได้รับไปใช้ไดเ้ พยี ง 10% เทา่ น้นั
5) ผยู้ อ่ ยสลายอาจเปน็ สงิ่ มชี ีวิตจาํ พวกพืช

30. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตรูปแบบใดที่ทําให้แมลงบางชนิดมีวิวัฒนาการจนมีรูปร่างคล้ายกิ่งหรือใบ
ของต้นไมท้ ่ีมนั อาศยั อยู่
1) ภาวะปรสติ
2) การลา่ เหยือ่
3) ภาวะอิงอาศยั
4) ภาวะพง่ึ พา
5) ภาวะแก่งแย่งแขง่ ขัน

31. ความสัมพันธร์ ะหว่างงูกบั เหยยี่ วเปรียบไดก้ ับความสัมพนั ธข์ องสง่ิ มชี ีวิตคู่ใด
ก. พยาธติ วั ตดื ในลาํ ไสข้ องคน
ข. เสอื กบั กวาง
ค. แบคทีเรยี ท่ีอยทู่ ปี่ มรากพืชตระกลู ถั่ว
ง. เหาฉลามเกาะติดฉลาม
จ. กล้วยไมก้ ับตน้ ไม้

1) ก. และ ข.
2) ข., ค. และ ง.
3) ข. เท่าน้นั
4) ค. เท่านนั้
5) ไม่มขี อ้ ใดถูก

32. ป่าชนดิ ใดพบความหลากหลายทางชีวภาพมากท่สี ดุ
1) ป่าสน
2) ปา่ พรุ
3) ป่าดบิ ช้ืน
4) ป่าเต็งรงั
5)ป่าเบญจพรรณ

33. ถา้ เดนิ ขึ้นเขาสงู ในประเทศไทย จะพบไบโอมแบบใดเปน็ ลาํ ดบั ตัง้ แตเ่ ชิงเขาจนถงึ ยอดเขา
1) ป่าดิบชนื้ ป่าสน ทุนดรา
2) ป่าดบิ ชน้ื ทุนดรา ป่าสน
3) ปา่ ดบิ ช้ืน ปา่ เต็งรงั ป่าสนปา่
4) ปา่ ดิบช้นื ป่าผลดั ใบในเขตอบอนุ่ ป่าสน
5) ปา่ ดิบช้ืน ป่าสน ปา่ ผลดั ใบในเขตอบอ่นุ

วิทยาศาสตร์ ชวี วิทยา (188) ________________________________โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27

34. นายร่งุ ศกั ด์ไิ ดช้ ว่ ยลดปัญหาส่งิ แวดล้อม โดยการนาํ กระดาษทใี่ ชเ้ พียงหนา้ เดียวกลับมาใชใ้ หม่ วธิ ีดังกลา่ ว
เรียกว่าอะไร
1) Reduce
2) Reuse
3) Recycle
4) Repair
5) Reject

35. เดก็ ชายอธิวฒั น์นาํ กาวมาปะรองเท้าสน้ สูงท่หี กั เพ่ือนํารองเทา้ มาใช้อกี ครัง้ ตรงกับขอ้ ใด
1) Reduce
2) Reuse
3) Recycle
4) Repair
5) Reject

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27 _______________________________ วทิ ยาศาสตร์ ชีววิทยา (189)

ชุดท่ี 2

36. ข้อใดเปน็ ปริมาณของเบสในโมเลกุลดเี อ็นเอสายคู่
1) A/G = 1
2) A/C = 1
3) A+T/G+C = 1
4) A+G/T+C = 1

37. DNA สายคู่โมเลกลุ หน่งึ ประกอบดว้ ย cytosine ร้อยลํา 16 ขอ้ ใดคอื ปริมาณของ adenine ใน DNA
โมเลกลุ นี้
1) 16%
2) 32%
3) 34%
4) 50%
5) 68%

38. เมือ่ นาํ ดีเอ็นเอจากสงิ่ มชี ีวติ หลายชนิดมาใสใ่ นหลอดเดียวกัน แล้วใหค้ วามร้อนกับโมเลกลุ ของดเี อ็นเอเส้นคู่
จะทําให้เสน้ ดเี อน็ เอแยกออกจากกันเป็นเส้นเดยี่ ว เม่อื ลดอณุ หภูมิลง จะเกิดเหตกุ ารณใ์ ด
1) ดเี อ็นเอกลับคืนสสู่ ภาวะดเี อ็นเอเสน้ คู่ โดยดเี อ็นเอจากสิ่งมชี ีวติ เดียวกนั จะจบั ค่กู ัน
2) ดเี อน็ เอกลบั คนื ส่สู ภาวะดีเอ็นเอเส้นคู่ โดยไมค่ ํานึงวา่ เสน้ ทม่ี าจับกนั เป็นดเี อ็นเอท่ีมาจากสิ่งมีชีวติ ชนิดใด
3) ดีเอน็ เอสว่ นท่ีมีนวิ คลโี อไทด์เขา้ คู่กันได้ จะพยายามเข้าคู่กนั
4) ดีเอ็นเอสว่ นใหญค่ งสภาพเปน็ ดีเอ็นเอเส้นเด่ียว

39. การทดลองใดทําให้สรปุ ได้วา่ DNA เป็นสารพันธุกรรม
1) การทดลองสกัดสารจากแบคทเี รียเซลล์ S ของ Avery และคณะ
2) การค้นพบอัตราสว่ นของเบสแตล่ ะชนิดใน DNA ของ Chargaff
3) การศกึ ษาโครงสรา้ งของ DNA โดย X-ray diffraction โดย Rosalind Franklin
4) การทดลองฉดี แบคทีเรียทีท่ าํ ใหเ้ กิดโรคปอดบวมเขา้ ไปในหนขู อง Griffith

40. ขอ้ ใดถกู ต้อง
1) ดเี อน็ เอของมนษุ ยเ์ ปน็ เส้นยาวเส้นเดยี ว
2) ดีเอ็นเอของมนษุ ย์มีหลายชิน้ แต่ละชิน้ ยาวเท่ากัน
3) ดเี อ็นเอของมนษุ ย์มหี ลายชิ้น บางชน้ิ ยาวเท่ากนั
4) ดีเอ็นเอของมนษุ ยม์ หี ลายช้นิ แต่ละชนิ้ ยาวไมเ่ ท่ากนั เลย

วิทยาศาสตร์ ชีววิทยา (190) ________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27

41. โมเลกลุ DNA สายคู่ทมี่ คี วามยาว 1 แสนคเู่ บส จะมจี ํานวนนวิ คลโี อไทดท์ ง้ั หมดเท่าไหร่ และประกอบดว้ ย
รอบที่สมบรู ณ์กี่รอบ
1) 100,000 นิวคลโี อไทด์ 100,000 รอบที่สมบูรณ์
2) 200,000 นวิ คลโี อไทด์ 10,000 รอบทีส่ มบรู ณ์
3) 50,000 นิวคลีโอไทด์ 25,000 รอบท่ีสมบรู ณ์
4) 2,000,000 นวิ คลโี อไทด์ 1,000,000 รอบทีส่ มบูรณ์

42. ช่วงหนึ่งของดีเอน็ เอสายค่มู ีลาํ ดบั ดงั น้ี
5′ AGTCATGA 3′
3′ TCAGTACT 5′

สายของนวิ คลีโอไทดท์ สี่ ามารถจบั กบั ดีเอ็นเอนไี้ ด้คอื ข้อใด
1) 5′ AGTCATGA 3′
2) 5′ AGACATGA 3′
3) 5′ TCAGTACT 3′
4) ขอ้ 1 และ 2
43. ขอ้ ใดไม่ใชก่ ารสงั เคราะหแ์ ลกกิงสแตรนดข์ องดีเอน็ เอเรพลิเคชนั
1) เปน็ การสังเคราะหด์ เี อ็นเออยา่ งต่อเนือ่ ง
2) เปน็ การสังเคราะหด์ ีเอ็นเอในทิศทาง 5′ ไป 3′
3) ในการสังเคราะห์ดีเอ็นเอสายนีต้ ้องใชเ้ อนไซมไ์ ลเกส
4) เอนไซมด์ ีเอ็นเอพอลิเมอเรสจะนํานิวคลโี อไทดม์ าสงั เคราะหเ์ ปน็ สายยาว
44. เอนไซม์ชนิดใดมหี น้าท่หี ลักในการนาํ นวิ คลโี อไทด์มาต่อกนั เป็นสายยาว ในกระบวนการจาํ ลองโมเลกุลดีเอ็นเอ
ของโพรคารโิ อต
1) DNA polymerase II
2) DNA polymerase III
3) DNA polymerase I และ DNA polymerase II
4) DNA polymerase I และ DNA polymerase III
45. ขอ้ ใดกล่าวถงึ DNA replication ไมถ่ กู ตอ้ ง
1) ในสาย lagging จะสรา้ งสาย polynucleotide จากทศิ ทาง 5′ - 3′
2) ชน้ิ สว่ น Okazaki fragment จะพบในสาย lagging เท่าน้นั
3) เอนไซม์ DNA ligase จะทาํ งานในสาย lagging เท่าน้นั
4) เอนไซม์ RNA primase จะทําหนา้ ท่ีสรา้ ง RNA primer เพ่อื เปน็ จุดเรมิ่ ต้นของกระบวนการ DNA

replication

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27 _______________________________ วิทยาศาสตร์ ชีววิทยา (191)

46. ยนี ตัวหน่ึงสร้างสายพอลเิ พปไทด์ (polypeptide) ที่ประกอบดว้ ยกรดอะมิโน 30 ตัว มีลาํ ดบั เริ่มตน้ จากโพรลนี
(Pro) สลับกับลิวซนี (Leu) ไปตลอด ถา้ CCU = Pro และ CUU = Leu ขอ้ ใดคอื ลําดบั นวิ คลีโอไทดใ์ นสาย DNA
ทถ่ี กู ถอดรหัส (transcription)
1) 3′ CUU CUU CUU CUU CUU……5′
2) 3′ GGA GAA GGA GAA GGA……5′
3) 3′ CCT CTT CCT CCT CCT……5′
4) 3′ CUU CCU CUU CCU CUU……5′
5) 3′ GAA GGA GAA GGA GAA…..5′

47. mRNA สายหนึง่ มีลาํ ดับ nucleotide ดังนี้
5′ - AA AUG AAA UAU GCC GUA AGG AUU UGA GAG UAU UAG GAG UAA – 3′
เม่ือเกดิ การ translation จะได้ polypeptide ทม่ี ีกรดอะมโิ นยาวท่สี ดุ กีโ่ มเลกุล
1) 2
2) 7
3) 10
4) 12

48. การตดั ตอ่ สารพนั ธกุ รรมเพอื่ สร้างสิง่ มีชีวิต GMOs ต้องอาศัยการทํางานของเอนไซมใ์ ด
1) เอนไซม์ตัดจาํ เพาะ และเฮลิเคส
2) ดเี อ็นเอพอลิเมอเรส และดีเอ็นเอไลเกส
3) ดีเอ็นเอพอลเิ มอเรส และเฮลเิ คส
4) เอนไซม์ตัดจาํ เพาะ และดเี อน็ เอไลเกส

49. ในกระบวนการ polymerase chain reaction (PCR) ช่วงการเพ่ิมอณุ หภูมขิ ้ึนไปท่ี 90°C เทียบเทา่ ได้กบั
ช่วงการทาํ งานของเอนไซม์ใดในกระบวนการจาํ ลอง DNA
1) Helicase
2) Gyrase
3) Topoisomerase
4) DNA polymerase

50. ลักษณะทางพันธุกรรมในข้อใดต่อไปน้ีถูกควบคุมด้วยยีนบนออโตโซม

(ก) ผมหยกิ (ข) ฮโี มฟเี ลีย (ค) หมเู่ ลอื ด AB (ง) ตาบอดสี

1) (ก) และ (ข)

2) (ค) และ (ง)

3) (ก) และ (ค)

4) (ข) และ (ง)

วทิ ยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (192) ________________________________โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปที ี่ 27

51. กรณใี นข้อใดที่ทาํ ใหท้ ารกในครรภท์ ่ี 2 มโี อกาสเกดิ อรี โี ทรพลาสโทซสิ ฟีทาลสิ
1) แม่มหี มูเ่ ลอื ด Rh+ ทารกในครรภค์ นแรกมีหมเู่ ลอื ด Rh+ คนท่ี 2 มหี มู่เลอื ด Rh-
2) แมม่ หี มู่เลือด Rh+ ทารกในครรภ์คนแรกและคนท่ี 2 มหี มเู่ ลอื ด Rh-
3) แมม่ ีหมู่เลอื ด Rh- ทารกในครรภ์คนแรกมีหม่เู ลอื ด Rh- คนที่ 2 มหี มเู่ ลอื ด Rh+
4) แม่มหี มูเ่ ลอื ด Rh- ทารกในครรภ์คนแรกและคนที่ 2 มหี มู่เลอื ด Rh+

52. ถ้าท่านมตี ้นกหุ ลาบดอกสชี มพู 2 ตน้ เม่ือผสมพันธก์ุ นั พบวา่ ลกู ท่ีไดส้ ่วนใหญม่ ดี อกสชี มพู แตบ่ างตน้ มี
ดอกสีแดง และบางตน้ มีดอกสีขาว หากทา่ นต้องการเฉพาะต้นกุหลาบสชี มพเู ท่าน้ัน โดยไมม่ ดี อกสีอื่นปน

ทา่ นจะตอ้ งผสมพันธร์ุ ะหวา่ งต้นดอกสใี ด

1) แดง × แดง

2) แดง × ชมพู

3) แดง × ขาว

4) ขาว × ขาว

5) ชมพู × ขาว

53. กําหนดใหอ้ ัลลีลควบคุมสีดอกไมช้ นิดหนง่ึ มรี ะดับการขม่ คือ C1 > C2 > c แต่ละอลั ลีลควบคมุ ดอกสีแดง,

ส้ม และขาว ตามลาํ ดบั เมอ่ื ผสมพันธด์ุ อกสแี ดงกบั ดอกสสี ม้ ปรากฏว่าได้รุ่นลูก สแี ดง : สสี ม้ : สีขาว ใน

อตั ราสว่ น 2 : 1 : 1 ข้อใดคอื จีโนไทปใ์ นรนุ่ พอ่ แม่
1) C1C2 × C2c
2) C1c × C2C2
3) C1c × C2c
4) C1C1 × C2c

54. ถา้ สามีและภรรยาคู่หนงึ่ ศีรษะไม่ล้าน แตภ่ รรยามีมารดาที่ศีรษะล้านและบิดาปกติ ลักษณะของลูกทจี่ ะเกดิ
จากสามีภรรยาคูน่ ค้ี อื ข้อใด

1) ลกู สาวปกตทิ ุกคน ลูกชายศีรษะลา้ นทกุ คน
2) ลกู สาวปกติทุกคน ลกู ชายคร่ึงหนง่ึ ศรี ษะลา้ น
3) ลกู ชายครงึ่ หนึ่งและลูกสาวคร่ึงหนึ่งศีรษะลา้ น
4) ลูกชายศรี ษะลา้ นทกุ คน ลกู สาวคร่ึงหน่ึงศรี ษะลา้ น

55. ในถัว่ ลันเตา ลักษณะเมลด็ กลม (W) เป็นลกั ษณะเดน่ ตอ่ เมลด็ ย่น (w) และลกั ษณะเมล็ดสีเหลือง (G) เปน็

ลักษณะเดน่ ต่อเมล็ดสเี ขยี ว (g) ในการผสมพนั ธ์รุ ะหวา่ งถั่วเมลด็ กลมสเี หลอื งกบั เมลด็ กลมสีเหลืองด้วยกัน

ได้ลูก 3 เมล็ดกลมสีเหลอื ง และ 1 เมลด็ ยน่ สเี หลอื ง ขอ้ ใดคอื จีโนไทปข์ องพ่อแม่
4 4

1) WWGG x WWGg

2) WWGG x WwGg
3) WwGG x WwGG

4) WwGg x WwGg
5) WwGg x Wwgg

โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 _______________________________ วทิ ยาศาสตร์ ชีววิทยา (193)

56. จากการผสมระหว่าง AaBBCcDd กับ AabbCcDD โอกาสทจ่ี ะได้ลกู มีฟีโนไทปเ์ ดน่ ท้งั หมดเทา่ ใด

1) 3
16

2) 4
16

3) 9
16

4) 15
16

57. นาํ้ หนกั ผลของแตงโมควบคุมด้วยยีน 3 ตําแหน่ง (A, B และ C) ท่เี ป็นอสิ ระตอ่ กนั ปฏิกริ ิยาของยีนเป็น
แบบบวกสะสม พบว่าแตงโมสายพันธแุ์ ท้ทีม่ ีนาํ้ หนักนอ้ ยทสี่ ุดคือ 1.2 กิโลกรมั แตงโมสายพันธุ์แท้ท่ีมี
น้ําหนักมากท่ีสดุ คอื 3.0 กิโลกรมั จีโนไทปข์ องแตงโมสายพันธุ์แทท้ ีม่ นี าํ้ หนัก 2.4 กโิ ลกรมั ตรงกับขอ้ ใด
1) AABBcc, AAbbCC, aaBBCC
2) AABbCc, AaBBCc, aaBbCC

3) AaBbCC, AABBcc, aaBBCC
4) AAbbCC, AaBBCc, AABBcc

58. ถา้ เดนิ ทางข้ึนเขาสงู ในประเทศไทย จะพบไบโอมแบบใดเปน็ ลําดบั ต้งั แต่เชิงเขาจนถึงยอดเขา
1) ป่าดิบชื้น ปา่ สน ทนุ ดรา
2) ป่าดืบช้ืน ทุนดรา ป่าสน

3) ปา่ ดิบช้นื ป่าสน ป่าผลดั ใบในเขตอบอุ่น
4) ปา่ ดบิ ชนื้ ปา่ ผลัดใบในเขตอบอ่นุ ปา่ สน
5) ปา่ ดบิ ช้ืน ปา่ ผลดั ใบในเขอบอนุ่ ทุนดรา

59. ในระบบนิเวศแหล่งนํ้านิ่ง บริเวณทอ่ี ยู่ติดพื้นดินและมกั จะมีพชื นํา้ จาํ นวกรากหย่ังลกึ ในดนิ เรยี กวา่ อะไร
1) benthic zone
2) limnetic zone

3) littoral zone
4) profundal zone

60. ความสัมพันธ์ของสิง่ มีชวี ิตในข้อใดจดั อยู่ในกลุ่มหรอื ประเภทเดยี วกนั
ก. นกทาํ รังอยู่บนต้นไม้
ข. ปลาเล็กๆ ทอี่ าศยั อยู่ในบรเิ วณท่มี ีซีแอนีโมนี

ค. เพรยี งทีเ่ กาะอยบู่ รเิ วณด้านหลังของวาฬสเี ทา
1) ก. และ ข.
2) ข. และ ค.
3) ก. และ ค.
4) ก., ข. และ ค.

วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (194) ________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปีท่ี 27

61. “สาหรา่ ยชนดิ หนงึ่ อาศัยอย่ใู นเซลลข์ องปะการัง ทําให้ปะการงั สร้างหนิ ปูนห่อหุ้มรา่ งกายไดเ้ รว็ กวา่ ปกติ
และสาหรา่ ยได้รับแอมโมเนียจากปะการงั ” การดาํ รงชีวติ ร่วมกันของสง่ิ มีชีวิต 2 ชนิดน้ี จัดเป็นประเภทใด
1) การได้ประโยชนร์ ่วมกนั
2) ภาวะทีพ่ ึ่งพากัน
3) ภาวะอิงอาศยั
4) ภาวะปรสิต

62. ส่ิงมชี ีวติ ในข้อใดที่สามารถเกดิ กระบวนการยอ่ ยสลายทางชวี ภาพได้

ก. เหด็ ขน้ึ บนตอไม้ ข. พืชกนิ แมลง

ค. งูกินปลา ง. พะยูนกินหญ้าทะเล

1) ก.

2) ก. และ ข.

3) ก., ข. และ ค.

4) ก., ข., ค. และ ง.

63. ข้อใดถูกต้อง
1) ส่งิ มชี ีวติ ตา่ งชนดิ กนั ตอ้ งอยูใ่ นลําดบั ขนั้ การกินอาหารต่างกัน
2) สง่ิ มีชวี ิตหลายชนดิ อาจอย่ใู นลาํ ดับขน้ั การกนิ อาหารเดียวกันได้
3) ไส้เดือนดินจัดเปน็ ผ้บู ริโภคลําดับที่ 2 หรอื มากกวา่ 2 ข้นึ ไปเสมอ
4) ต้นหม้อข้าวหม้อแกงลงิ มกี ลไกที่ทาํ ให้จับแมลงได้จึงควรจดั เป็นผูบ้ รโิ ภคเน้ือ
5) สง่ิ มชี วี ิตท่ีเป็นผบู้ รโิ ภคลาํ ดบั แรกของสายใยอาหารต้องเป็นผ้บู ริโภคพืชเท่านนั้

64. ป่าเตง็ รังแหง่ หนึ่ง ถกู ตัดเพือ่ ทําไร่เลอื่ นลอย ต่อมาปลอ่ ยทิง้ ไว้เปน็ ระยะเวลานาน 40-50 ปี จะเกดิ การ
เปลีย่ นแปลงสภาพเปน็ ไปตามขอ้ ใด
1) ทงุ่ หญ้าคาและสาบเสือ
2) ทงุ่ หญา้ ที่มีพชื หลายชนดิ
3) ป่าไมเ้ บญจพรรณ
4) ป่าเต็งรังทสี่ มบูรณ์

65. กล่มุ สิ่งมีชวี ติ ในขอ้ ใดไมจ่ ัดเปน็ ผูผ้ ลติ เบอื้ งต้น
1) แพลงกต์ อนพชื
2) แบคทีเรยี สงั เคราะห์ด้วยแสง
3) มอสและเฟนิ
4) เหด็ – รา

โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปที ่ี 27 _______________________________ วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (195)

66. ขอ้ ใดเก่ยี วข้องกับการควบคุมทางชีวภาพ
ก. การควบคุมอัตราการเกิดของแมลงวนั ทองโดยทําหมนั แมลงตัวผู้
ข. การใชแ้ บคทเี รยี ควบคมุ แมลงศตั รูพืช
ค. การใช้สารสกัดจากพชื ควบคมุ หมดั ท่อี าศัยอย่บู นร่างกายสัตวเ์ ล้ียง

1) ก.
2) ข.
3) ก. และ ค.
4) ก., ข. และ ค.

67. กระบวนการในข้อใดชว่ ยในการหมนุ เวยี นคารบ์ อน

ก. การหายใจ ข. การสงั เคราะห์ด้วยแสง

ค. การเผาไหมเ้ ช้อื เพลงิ ง. การตรึงไนโตรเจน

1) ก.

2) ก. และ ข.

3) ก., ข. และ ค

4) ก., ข., ค. และ ง.

68. สิ่งมีชวี ิตในข้อใดท่ีสามารถผลติ O2 ได้มากที่สดุ ในระบบนิเวศ
1) ต้นไมใ้ นป่า

2) หญ้า

3) พชื ไร่

4) สาหร่าย

69. ปรมิ าณข้าวโพดที่ส่งผา่ นไปผลติ มวลชีวภาพ (น้าํ หนัก) ของมนษุ ย์ 25 กิโลกรมั ตามหว่ งโซ่อาหารมเี ท่าใด
ขา้ วโพด → ววั → มนุษย์
1) 25 กโิ ลกรมั
2) 250 กิโลกรัม
3) 2,500 กิโลกรมั
4) 25,000 กโิ ลกรมั

70. สาเหตสุ ําคญั ในข้อใดทม่ี ีผลทําให้ความหลากหลายทางชีวภาพในปจั จุบนั ลดลง
1) อณุ หภูมิโลกทส่ี ูงขน้ึ
2) การทาํ ลายชั้นโอโซนในบรรยากาศ
3) แหล่งท่ีอยู่ (habitat) ถูกทาํ ลาย
4) มนษุ ย์กนิ พืชพ้ืนบ้านเปน็ อาหาร

วทิ ยาศาสตร์ ชวี วทิ ยา (196) ________________________________โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27

ชุดที่ 3

71. ส่วนประกอบใดของกล้องจลุ ทรรศน์ในแผนภาพตอ่ ไปน้ีจาํ เปน็ ในการคํานวณหากําลงั ขยายของภาพ

1) สว่ นประกอบ B และส่วนประกอบ D
2) สว่ นประกอบ M และส่วนประกอบ B
3) ส่วนประกอบ I และส่วนประกอบ H
4) ส่วนประกอบ M และสว่ นประกอบ L
72. ภาพท่ีแสดงเป็นแมลงชนดิ หน่งึ ทป่ี รากฏในวงภาพของกล้องจลุ ทรรศนแ์ บบเลนส์ประกอบท่ีใช้กําลังขยายตํ่า
นักเรียนจะต้องปรบั กลอ้ งอย่างไรเพือ่ ให้แมลงที่เหน็ มาอยูท่ ี่ตาํ แหนง่ กง่ึ กลางของวงภาพ

1) เล่ือนสไลดไ์ ปทางดา้ นซา้ ยแล้วจงึ เล่อื นขนึ้ มาทางด้านบน
2) เลอ่ื นสไลดไ์ ปทางดา้ นขวาแลว้ จงึ เล่ือนข้ึนมาทางด้านบน
3) เลื่อนสไลด์ไปทางด้านซ้ายแลว้ จงึ เล่อื นลงมาทางดา้ นล่าง
4) เล่ือนสไลดไ์ ปทางด้านขวาแล้วจึงเลื่อนลงมาทางด้านลา่ ง

โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปีท่ี 27 _______________________________ วทิ ยาศาสตร์ ชีววิทยา (197)

73. นักเรียนคนหน่ึงใชก้ ล้องจลุ ทรรศนท์ ่ีมกี ําลังขยาย 40 เท่า สอ่ งดูไมบ้ รรทดั เหน็ ภาพไม้บรรทัดสว่ นท่พี าด
ผา่ นศูนยก์ ลางมีความยาว 4 มิลลิเมตร ถา้ นักเรียนคนนเ้ี ปลยี่ นกาํ ลังขยายเป็น 100 เท่า จะเห็นภาพ
ไมบ้ รรทัดสว่ นทีพ่ าดผ่านศูนยก์ ลางมีความยาวเทา่ ใด
1) 1.6 มิลลิเมตร
2) 1.0 มิลลเิ มตร
3) 4.0 มิลลิเมตร
4) 2.5 มลิ ลเิ มตร

74. กลอ้ งจุลทรรศน์แบบในข้อใดเหมาะกับการศึกษาลกั ษณะลวดลายของปีกแมลงปอเพื่อใชใ้ นการระบุวงศ์
ก. กล้องจลุ ทรรศน์ใชแ้ สงแบบธรรมดา (light microscope)
ข. กล้องจลุ ทรรศน์ใช้แสงแบบสเตอริโอ (stereomicroscope)
ค. กลอ้ งจลุ ทรรศนอ์ ิเล็กตรอนแบบสอ่ งผ่าน (TEM)

1) ก.
2) ข.
3) ก. และ ข.
4) ก., ข. และ ค.
75. ข้อความใดตอ่ ไปนีก้ ล่าวผดิ เกย่ี วกับระบบประสาทของสัตว์
1) ไฮดราและแมงกะพรนุ มีระบบประสาทเปน็ แบบรา่ งแหประสาท (nerve net)
2) พลานาเรียมีการรวมกลุ่มกนั ของเซลล์ประสาททีบ่ ริเวณหัว (cephalization)
3) หมึกกลว้ ยมีปมประสาท (ganglia) อยู่ตามแตล่ ะปลอ้ งของลําตวั
4) เสน้ ประสาทของกุ้ง แมลงสาบอย่ทู างด้านท้อง (ventral nerve cord)
76. พจิ ารณาภาพวาดแสดงเซลล์ประสาทต่อไปน้ี

ข้อใดต่อไปนสี้ รุปถกู ตอ้ ง
1) เซลลป์ ระสาทในภาพสามารถพบไดท้ ี่ปมประสาทรากลา่ งของไขสนั หลัง
2) เซลล์ประสาทในภาพสามารถนํากระแสประสาทได้ 2 ทิศทาง
3) เซลลป์ ระสาทในภาพมตี ัวเซลล์ (cell body) 1 อัน และมีเพียง 1 นวิ เคลยี ส
4) เซลลป์ ระสาทในภาพทาํ หนา้ ทเ่ี ปน็ เซลล์ประสาทสัง่ การ (motor neuron) ในวงจรรเี ฟลก็ ซ์

วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา (198) ________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ่ี 27


Click to View FlipBook Version