The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tuahuay, 2024-02-04 23:05:48

รายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง คุณูปการของสถาบันพระมหากษัตริย์ต่อการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและฝ่ายนิติบัญญัติ

กมธ.2

รายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง คุณูปการของสถาบันพระมหากษัตริย ตอการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และฝายนิติบัญญัติ จัดทำโดย คณะกรรมาธิการวิสามัญการพิทักษและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย วุฒิสภา สำนักกรรมาธิการ 2 สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา


(ส าเนา) บันทึกข้อความ ส่วนราชการคณะกรรมาธิการวิสามัญการพิทักษ์และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์วุฒิสภา โทร. ๙๑๙๖ - ๗ ที่ สว ๐๐๑๐.๑๐/(ร ๓๒) วันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๖๖ เรื่อง รายงานการพิจารณาศึกษาของคณะกรรมาธิการวิสามัญการพิทักษ์และเทิดทูนสถาบัน พระมหากษัตริย์ วุฒิสภา กราบเรียน ประธานวุฒิสภา ด้วยในคราวประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ ๑ (สมัยวิสามัญ) เป็นพิเศษ วันอาทิตย์ที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๖๒ ที่ประชุมได้มีมติตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญการพิทักษ์และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ วุฒิสภา ตามข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๘๒ โดยมีหน้าที่และอ านาจกระท ากิจการ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริง หรือศึกษาเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวกับการพิทักษ์และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ซึ่งปัจจุบันคณะกรรมาธิการวิสามัญคณะนี้ประกอบด้วย ๑. นายสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ ประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญ ๒. นายปานเทพ กล้าณรงค์ราญ รองประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญ คนที่หนึ่ง ๓. นายจเด็จ อินสว่าง รองประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญ คนที่สอง ๔. หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล รองประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญ คนที่สาม ๕. นายเชิดศักดิ์ สันติวรวุฒิ เลขานุการคณะกรรมาธิการวิสามัญ ๖. นายจิรชัย มูลทองโร่ย โฆษกคณะกรรมาธิการวิสามัญ ๗. นายชาญวิทย์ ผลชีวิน รองโฆษกคณะกรรมาธิการวิสามัญ ๘. พลเอก สนั่น มะเริงสิทธิ์ ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการวิสามัญ ๙. พลเอก อู้ด เบื้องบน ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการวิสามัญ ๑๐. พลเรือเอก พะจุณณ์ ตามประทีป ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการวิสามัญ ๑๑. นางฉวีรัตน์ เกษตรสุนทร ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการวิสามัญ ๑๒. นางกอบกุล อาภากร ณ อยุธยา กรรมาธิการวิสามัญ ๑๓. ศาสตราจารย์พิเศษกาญจนารัตน์ ลีวิโรจน์ กรรมาธิการวิสามัญ ๑๔. นายกิตติวะสีนนท์ กรรมาธิการวิสามัญ ๑๕. พลโท จเรศักณิ์ อานุภาพ กรรมาธิการวิสามัญ ๑๖. นางสาวจิตติเทวี ตติยรัตน์ กรรมาธิการวิสามัญ ๑๗. นางจินตนา ชัยยวรรณาการ กรรมาธิการวิสามัญ ๑๘. นายดิเรกฤทธิ์ เจนครองธรรม กรรมาธิการวิสามัญ ๑๙. นายถาวร เทพวิมลเพชรกุล กรรมาธิการวิสามัญ ๒๐. พลเอก ธงชัย สาระสุข กรรมาธิการวิสามัญ ๒๑. นางนฤมล ล้อมทอง กรรมาธิการวิสามัญ ๒๒. พลเอก นิวัตร …


- ๒ – ๒๒. พลเอก นิüัตร มีนะโยธิน กรรมาธิการüิÿามัญ ๒๓. คุณĀญิง พรทิพย์ โรจนÿุนันท์ กรรมาธิการüิÿามัญ ๒๔. พลเอก พิÿิทธิ์ ÿิทธิÿาร กรรมาธิการüิÿามัญ ๒๕. นางเพ็ญพักตร์ ýรีทอง กรรมาธิการüิÿามัญ ๒๖. นายüัลลภ ตังคณานุรักþ์ กรรมาธิการüิÿามัญ ๒๗. นายüิทยา ผิüผ่อง กรรมาธิการüิÿามัญ ๒๘. Āม่อมĀลüงÿกุล มาลากุล กรรมาธิการüิÿามัญ ๒๙. พลเรือโท ÿนธยา น้อยฉายา กรรมาธิการüิÿามัญ บัดนี้ คณะกรรมาธิการüิÿามัญได้ด าเนินการพิจารณาýึกþาเรื่อง คุณูปการของÿถาบัน พระมĀากþัตริย์ต่อการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมĀากþัตริย์ทรงเป็นประมุข และฝ่ายนิติบัญญัติเÿร็จเรียบร้อยแล้ü จึงขอรายงานผลการพิจารณาýึกþาดังกล่าüต่อüุฒิÿภา ตามข้อบังคับการประชุมüุฒิÿภา พ.ý. ๒๕๖๒ ข้อ ๙๘ และข้อ ๙๙ จึงกราบเรียนมาเพื่อโปรดทราบและน าเÿนอรายงานของคณะกรรมาธิการüิÿามัญ ต่อที่ประชุมüุฒิÿภาต่อไป (ลงชื่อ) ÿุüพันธุ์ ตันยุüรรธนะ (นายÿุüพันธุ์ ตันยุüรรธนะ) ประธานคณะกรรมาธิการüิÿามัญ การพิทักþ์และเทิดทูนÿถาบันพระมĀากþัตริย์ üุฒิÿภา ÿ าเนาถูกต้อง (นางธัญญา ýรีÿุพรรณ) (นายธีรยุทธ์ ตั้งบุญเกþม) ผู้ช่üยเลขานุการคณะกรรมาธิการüิÿามัญ ผู้ช่üยเลขานุการคณะกรรมาธิการüิÿามัญ การพิทักþ์และเทิดทูนÿถาบันพระมĀากþัตริย์ การพิทักþ์และเทิดทูนÿถาบันพระมĀากþัตริย์ üุฒิÿภา üุฒิÿภา กลุ่มงานคณะกรรมาธิการüิÿามัญ ๔ ÿ านักกรรมาธิการ ๒ ÿ านักงานเลขาธิการüุฒิÿภา นัฏฐกลป์ พิมพ์ โทร. ๐ ๒๘๓๑ – ๙๑๙๖ – ๗ ธัญญา ทาน Emr ธี=


รายนามคณะกรรมาธิการวิสามัญการพิทักษและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย วุฒิสภา นายสุวพันธุ ตันยุวรรธนะ ประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญ นายปานเทพ กลาณรงคราญ นายจเด็จ อินสวาง หมอมหลวงปนัดดา ดิศกุล รองประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญ รองประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญ รองประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญ คนที่หนึ่ง คนที่สอง คนที่สาม นายเชิดศักดิ์ สันติวรวุฒิ นายจิรชัย มูลทองโรย นายชาญวิทย ผลชีวิน เลขานุการคณะกรรมาธิการวิสามัญ โฆษกคณะกรรมาธิการวิสามัญ รองโฆษกคณะกรรมาธิการวิสามัญ พลเอก สนั่น มะเริงสิทธิ์ พลเอก อูด เบื้องบน ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการวิสามัญ ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการวิสามัญ พลเรือเอก พะจุณณ ตามประทีป นางฉวีรัตน เกษตรสุนทร ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการวิสามัญ ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการวิสามัญ


ข นางกอบกุล อาภากร ณ อยุธยา ศาสตราจารยพิเศษกาญจนารัตน ลีวิโรจน กรรมาธิการวิสามัญ กรรมาธิการวิสามัญ นายกิตติ วะสีนนท พลโท จเรศักณิ์ อานุภาพ กรรมาธิการวิสามัญ กรรมาธิการวิสามัญ นางสาวจิตติเทวี ตติยรัตน นางจินตนา ชัยยวรรณาการ กรรมาธิการวิสามัญ กรรมาธิการวิสามัญ นายดิเรกฤทธิ์ เจนครองธรรม นายถาวร เทพวิมลเพชรกุล กรรมาธิการวิสามัญ กรรมาธิการวิสามัญ พลเอก ธงชัย สาระสุข นางนฤมล ลอมทอง กรรมาธิการวิสามัญ กรรมาธิการวิสามัญ


ค พลเอก นิวัตร มีนะโยธิน คุณหญิง พรทิพย โรจนสุนันท กรรมาธิการวิสามัญ กรรมาธิการวิสามัญ พลเอก พิสิทธิ์ สิทธิสาร นางเพ็ญพักตร ศรีทอง กรรมาธิการวิสามัญ กรรมาธิการวิสามัญ นายวัลลภ ตังคณานุรักษ นายวิทยา ผิวผอง กรรมาธิการวิสามัญ กรรมาธิการวิสามัญ หมอมหลวงสกุล มาลากุล พลเรือโท สนธยา นอยฉายา กรรมาธิการวิสามัญ กรรมาธิการวิสามัญ


รายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง คุณูปการของสถาบันพระมหากษัตริย ตอการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และฝายนิติบัญญัติ ของคณะกรรมาธิการวิสามัญการพิทักษและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย วุฒิสภา ดวยในคราวประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ ๑ (สมัยวิสามัญ) เปนพิเศษ วันอาทิตยที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๖๒ ที่ประชุมไดมีมติตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญการพิทักษและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย วุฒิสภา ตามขอบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๖๒ ขอ ๘๒ โดยมีหนาที่และอำนาจกระทำกิจการ พิจารณา สอบหาขอเท็จจริง หรือศึกษาเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวกับการพิทักษและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย บัดนี้ คณะกรรมาธิการวิสามัญไดดำเนินการพิจารณาศึกษาเรื่อง คุณูปการของสถาบัน พระมหากษัตริยตอการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และฝายนิติบัญญัติเสร็จเรียบรอยแลว จึงขอรายงานผลการพิจารณาศึกษาดังกลาวตอวุฒิสภา ตามขอบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๖๒ ขอ ๙๘ และขอ ๙๙ ดังนี้ ๑. การดำเนินงาน ๑.๑ คณะกรรมาธิการวิสามัญ ประกอบดวย ดังนี้ ๑.๑.๑ นายสุวพันธุ ตันยุวรรธนะ ประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญ ๑.๑.๒ นายปานเทพ กลาณรงคราญ รองประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญ คนที่หนึ่ง ๑.๑.๓ นายจเด็จ อินสวาง รองประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญ คนที่สอง ๑.๑.๔ หมอมหลวงปนัดดา ดิศกุล รองประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญ คนที่สาม ๑.๑.๕ นายเชิดศักดิ์ สันติวรวุฒิ เลขานุการคณะกรรมาธิการวิสามัญ ๑.๑.๖ นายจิรชัย มูลทองโรย โฆษกคณะกรรมาธิการวิสามัญ ๑.๑.๗ นายชาญวิทย ผลชีวิน รองโฆษกคณะกรรมาธิการวิสามัญ ๑.๑.๘ พลเอก สนั่น มะเริงสิทธิ์ ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการวิสามัญ ๑.๑.๙ พลเอก อูด เบื้องบน ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการวิสามัญ ๑.๑.๑๐ พลเรือเอก พะจุณณ ตามประทีป ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการวิสามัญ ๑.๑.๑๑ นางฉวีรัตน...


(๒) ๑.๑.๑๑ นางฉวีรัตน เกษตรสุนทร ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการวิสามัญ ๑.๑.๑๒ นางกอบกุล อาภากร ณ อยุธยา กรรมาธิการวิสามัญ ๑.๑.๑๓ ศาสตราจารยพิเศษกาญจนารัตน ลีวิโรจนกรรมาธิการวิสามัญ ๑.๑.๑๔ นายกิตติวะสีนนท กรรมาธิการวิสามัญ ๑.๑.๑๕ พลโท จเรศักณิ์ อานุภาพ กรรมาธิการวิสามัญ ๑.๑.๑๖ นางสาวจิตติเทวี ตติยรัตน กรรมาธิการวิสามัญ ๑.๑.๑๗ นางจินตนา ชัยยวรรณาการ กรรมาธิการวิสามัญ ๑.๑.๑๘ นายดิเรกฤทธิ์ เจนครองธรรม กรรมาธิการวิสามัญ ๑.๑.๑๙ นายถาวร เทพวิมลเพชรกุล กรรมาธิการวิสามัญ ๑.๑.๒๐ พลเอก ธงชัย สาระสุข กรรมาธิการวิสามัญ ๑.๑.๒๑ นางนฤมล ลอมทอง กรรมาธิการวิสามัญ ๑.๒.๒๒ พลเอก นิวัตร มีนะโยธิน กรรมาธิการวิสามัญ ๑.๒.๒๓ คุณหญิง พรทิพย โรจนสุนันท กรรมาธิการวิสามัญ ๑.๒.๒๔ พลเอก พิสิทธิ์ สิทธิสาร กรรมาธิการวิสามัญ ๑.๒.๒๕ นางเพ็ญพักตร ศรีทอง กรรมาธิการวิสามัญ ๑.๒.๒๖ นายวัลลภ ตังคณานุรักษ กรรมาธิการวิสามัญ ๑.๒.๒๗ นายวิทยา ผิวผอง กรรมาธิการวิสามัญ ๑.๒.๒๘ หมอมหลวงสกุล มาลากุล กรรมาธิการวิสามัญ ๑.๒.๒๙ พลเรือโท สนธยา นอยฉายา กรรมาธิการวิสามัญ ๑.๒ คณะกรรมาธิการไดมีมติแตงตั้งผูชวยเลขานุการคณะกรรมาธิการวิสามัญ ตามขอบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๖๒ ขอ ๘๗ ดังนี้ ๑.๒.๑ นางธัญญา ศรีสุพรรณ ผูบังคับบัญชากลุมงาน คณะกรรมาธิการวิสามัญ ๔ ๑.๒.๒ นายธีรยุทธ ตั้งบุญเกษม นิติกรชำนาญการพิเศษ กลุมงานคณะกรรมาธิการวิสามัญ๔


(๓) ๒. วิธีพิจารณาศึกษา คณะกรรมาธิการวิสามัญการพิทักษและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย วุฒิสภา มีวิธีพิจารณาศึกษาเรื่อง คุณูปการของสถาบันพระมหากษัตริยตอการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขและฝายนิติบัญญัติโดยเก็บรวบรวมขอมูลจากการประชุม ของคณะกรรมาธิการวิสามัญ ศึกษาขอมูลและรูปภาพเชิงประวัติศาสตรจากหอจดหมายเหตุรัฐสภา สืบคนพระราชดำรัสและพระบรมราโชวาทจากสำนักจดหมายเหตุแหงชาติศึกษาเอกสาร และแหลงขอมูลตาง ๆ เพื่อนำมาประกอบการพิจารณาจัดทำรายงาน ทั้งนี้ รายละเอียดวิธีพิจารณา ศึกษาปรากฏอยูในบทที่ ๓ ๓. ผลการพิจารณาศึกษา รายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง คุณูปการของสถาบันพระมหากษัตริยตอการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขและฝายนิติบัญญัติฉบับนี้เปนรายงาน การศึกษาเชิงคุณภาพ โดยศึกษาวิเคราะหขอมูลจากแนวคิดตาง ๆ (Documentary Research) ประกอบดวย แนวคิดการปกครองระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย หลักการปกครองดวยระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และแนวคิดการปฏิบัติหนาที่ของฝายนิติบัญญัติ รวมทั้งมีการศึกษาขอมูลและภาพประวัติศาสตรจากหอจดหมายเหตุรัฐสภา ไดแกขอมูลประวัติศาสตร และภาพการพระราชทานรัฐธรรมนูญทุกฉบับของพระมหากษัตริยขอมูลและภาพของพระมหากษัตริย และพระบรมวงศานุวงศที่ไดเสด็จพระราชดำเนินมาเปดประชุมรัฐสภา ขอมูลและภาพการเปดประชุม สมาชิกรัฐสภาระหวางประเทศ ขอมูลและภาพของพระมหากษัตริยและพระบรมวงศานุวงศที่ไดเสด็จ พระราชดำเนินมายังรัฐสภา เนื่องในวโรกาสตาง ๆ แนวความคิดที่จะนำเอาการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย ทรงเปนประมุขมาใชในประเทศไทย ไดเริ่มมีมาตั้งแตยุคราชาธิปไตยภายใตการปกครองระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชยเรื่อยมา และไดเริ่มดำเนินการใหปรากฏอยางเปนรูปธรรมในรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เนื่องจากประเทศตาง ๆ ทางซีกโลกตะวันออก รวมทั้ง ประเทศไทยตองเผชิญกับลัทธิลาเมืองขึ้นของจักรวรรดินิยมตะวันตก ทำใหเริ่มมีการเปลี่ยนแปลง การปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยไปเปนการปกครองในรูปแบบอื่น พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวซึ่งทรงเปนพระมหากษัตริยรวมทั้งเปนผูนำทางสังคมและการเมือง ทรงตระหนักถึงปญหาดังกลาว จึงมีแนวพระราชดำริที่จะใหมีการจัดระบบการปกครองประเทศเสียใหม เพื่อใหทันตอยุคสมัย เพื่อที่ประเทศไทยจะไดไมตองตกเปนเมืองขึ้นของประเทศอื่น และไดทรงดำเนิน รัฐประศาสโนบาย เพื่อเปนการปูพื้นฐานการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอยางคอยเปนคอยไป ทีละนอย


(๔) อยางไรก็ตาม ประชาชนชาวไทยยังมีความรูความเขาใจในการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และมีความสนใจในการปกครองบานเมือง ไมมากพอที่จะคุมครองผลประโยชนของประเทศของตนเองไดพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว จึงไดทรงดำเนินรัฐประศาสโนบาย โดยการปูพื้นฐานเกี่ยวกับการปกครองในรูปแบบใหมอยางคอยเปน คอยไปทีละนอย ดังนั้น ในตอนตนรัชกาล เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2417 พระองคจึงไดโปรดเกลาฯ ใหตั้งคณะที่ปรึกษาขึ้น 2 คณะ คือ คณะที่ปรึกษาราชการในพระองค(Privy Council) และคณะที่ปรึกษา ราชการแผนดิน (Council of State) โดยทรงมีพระราชดำริที่จะใหคณะที่ปรึกษาทั้งสองคณะนี้ เปนสถาบันทางการเมืองทำหนาที่อันสําคัญ ตอมาในชวงรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวทรงพยายามที่จะ วางรากฐานของการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข โดยไดทรง จัดตั้งเมืองเพื่อจำลองและทดลองรูปแบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตย เรียกวา “ดุสิตธานี” ขึ้น ทรงโปรดฯ ใหมีการตรา “ธรรมนูญดุสิตธานี” ลักษณะปกครองคณะนคราภิบาลไวเมื่อป พ.ศ. 2465 มีการจัดระเบียบและวิธีการตามระบอบประชาธิปไตยอยางครบถวน โดยมี “ผูแทนราษฎร” ซึ่งตามธรรมนูญดุสิตธานีเรียกวา “เชษฐบุรุษ” สวนพระองคเองนั้นทรงเปนเพียง “นายราม” พลเมืองคนหนึ่งของดุสิตธานี จนกระทั่งในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว เปนสมัยแหงแนวความคิด ทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยแพรหลายอยางกวางขวาง และเริ่มรุนแรงยิ่งขึ้นเรื่อย ๆ เหตุผลประการหนึ่งก็เนื่องจากกระแสอารยธรรมตะวันตกที่ไดหลั่งไหลสูประเทศไทยมากขึ้น ในทุก ๆ ดาน ไมวาจะเปนดานเศรษฐกิจสังคม และการเมือง และอีกประการหนึ่งก็เนื่องมาจากผลของ “นโยบายพัฒนาคน” เพื่อเขารับราชการของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รวมทั้งการที่ พระองคทรงสงเด็กไทยออกไปศึกษายังตางแดน โดยเฉพาะประเทศที่มีการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยในยุโรป มากขึ้นเปนลำดับ ทำใหบรรดาผูที่ไดรับโอกาสไปศึกษายังตางแดนเหลานั้น ไดซึมซาบและรับเอาแนวความคิดทางการเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตยของตะวันตก กลับสูบานเกิดเมืองนอนของตนอยางไมรูตัว อยางไรก็ดีแมจะไดทรงรางรัฐธรรมนูญเพื่อเปลี่ยนรูปแบบการปกครองใหเปนการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยเตรียมไวเพื่อประกาศใชแลวก็ตาม แตก็ยังไมทันตอความตองการของกลุมคน จำนวนหนึ่ง ทำใหในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 “คณะราษฎร” ซึ่งประกอบดวยขาราชการ ฝายทหารบก ทหารเรือ และพลเรือน จำนวน 99 คน ไดเขาทําการยึดอำนาจการปกครองประเทศ เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองใหเปนการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน ประมุข และใหพระราชทานรัฐธรรมนูญที่คณะราษฎรไดยกรางขึ้นเพื่อใชเปนหลักในการปกครอง ประเทศตอไป


(๕) บุคคลที่มารวมกันเปนคณะราษฎรนี้เกือบทั้งหมดเปนขาราชการที่พระมหากษัตริยทรงสงให ไดรับการศึกษามาอยางดีจากประเทศตะวันตก เมื่อไดรับทัศนะทางการเมืองแบบประชาธิปไตยตะวันตก และเกิดความไมพอใจในสภาพการปกครองในแบบเดิม จึงมีความปรารถนาอันแรงกลาที่จะลมลาง ระบอบการปกครองในรูปแบบเดิมที่กษัตริยทรงมีอำนาจเด็ดขาดทุกอยางในการปกครองประเทศ และนำเอาการปกครองในระบอบประชาธิปไตยโดยมีรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุด ใหราษฎรมีสิทธิ มีสวนในการปกครองประเทศและมีสิทธิและเสรีภาพเทาเทียมกันตามกฎหมายมาใชแทน โดยมีวัตถุประสงค ที่จะนำการปฏิวัติทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม เพื่อใหมีสภาพดีขึ้นเหมือนเชนประเทศที่ใชระบบ การปกครองประชาธิปไตย การเปลี่ยนแปลงเปนการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน ประมุขนั้น เปนการเปลี่ยนแปลงใหเปนการปกครองแบบมีสวนรวม กลาวคือ พระมหากษัตริยยังทรงเปน สถาบันหลักของชาติแตทรงอยูภายใตรัฐธรรมนูญ และมิไดทรงใชพระราชอำนาจตาง ๆ ที่ทรงมีอยูเดิม ดวยพระองคเอง แตทรงใชพระราชอำนาจดานนิติบัญญัติผานรัฐสภา ดานบริหารผานคณะรัฐมนตรี และดานตุลาการผานศาล ทั้งนี้ ตามที่กลไกและเงื่อนไขตาง ๆ ที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญ แมจะไดมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเปนระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย ทรงเปนประมุข โดยกำหนดใหพระมหากษัตริยทรงใชพระราชอำนาจผานกลไกและเงื่อนไขตาง ๆ ที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญแลวก็ตาม แตครั้งใดที่เกิดวิกฤตการณตาง ๆ ขึ้นบานเมือง สถาบันพระมหากษัตริย ยังคงเปนกลไกสำคัญที่เขามาชวยแกไขปญหาและวิกฤตการณตาง ๆ โดยฉพาะอยางยิ่ง วิกฤติการณ ทางการเมืองของประเทศไทย ดังเชนเหตุการณทางการเมืองที่สำคัญเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2516 และเหตุการณพฤษภาทมิฬ 2535 ที่กลุมผูประทวงจำนวนมากปะทะกับเจาหนาที่ตำรวจ และทหาร สงผลใหมีประชาชนเสียชีวิตและเสียเลือดเนื้อไปเปนจำนวนมาก สถาบันพระมหากษัตริย คือ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดีจักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ทรงยื่นมือเขามาชวยแกไขปญหาวิกฤตการณทางการเมืองของประเทศไทยดังกลาว ซึ่งเหตุการณที่สำคัญนั้นไดสะทอนใหเห็นวา สถาบันพระมหากษัตริย หรือจะกลาวโดยเฉพาะเหตุการณนั้น คือ พระองคทานเปนศูนยรวมทางจิตใจของปวงชนชาวไทยอยางแทจริงและตลอดมา สิ่งสำคัญยิ่งที่ไมอาจมองขามไปได คือ คุณูปการของสถาบันพระมหากษัตริยที่มี ตอฝายนิติบัญญัติซึ่งก็คือ พระราชดำรัสในรัฐพิธีเปดประชุมรัฐสภา ที่ทรงพระราชทานใหแกสมาชิก สภาผูแทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา ซึ่งปฏิบัติหนาที่ฝายนิติบัญญัติในฐานะผูแทนของปวงชนชาวไทย ในแตละสมัย ที่นอกจากสะทอนใหเห็นถึงสถานการณในดานตาง ๆ ของประเทศไทยในยุคสมัยนั้น ๆ แลว ยังเต็มเปยมไปดวยถอยคำที่เตือนสติ ใหคำแนะนำ และใหกำลังใจ แกทุกคนที่เกี่ยวของในการปฏิบัติหนาที่ ในความรับผิดชอบของแตละคนใหเต็มกำลังความสามารถเพื่อใหบังเกิดประโยชนสุขและความรมเย็น แกประเทศชาติและประชาชนอยางแทจริง ในสวนของความรวมมือระหวางประเทศการเสด็จพระราชดำเนิน


(๖) ทรงเปนองคประธานในพิธีเปดการประชุมÿĀภาพรัฐÿภา ยังเปนการแÿดงใĀทั่üโลกไดเĀ็นถึงคüามเปน เอกลักþณของชาติ คüามเปนýูนยรüมของคüามเปนน้ำĀนึ่งใจเดียüกันของคนในชาติ และการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมĀากþัตริยทรงเปนประมุขตามแบบของประเทýไทย ที่มีเอกลักþณ และไมมีประเทýใดมาเÿมอเĀมือน ÿüนการเÿด็จพระราชดำเนินมายังบริเüณอาคารรัฐÿภาในโอกาÿตาง ๆ เปนพระราชกรณียกิจที่แÿดงใĀเĀ็นüาทรงใĀคüามÿำคัญกับฝายนิติบัญญัติมาโดยตลอด บทคüามและคüามประทับใจตาง ๆ ที่เกี่ยüของกับการปกครองของประเทýไทย ทั้งในชüงกอนและĀลังจากที่ประเทýไทยไดเปลี่ยนแปลงเปนการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมĀากþัตริยทรงเปนประมุขนั้น ไดÿะทอนใĀเĀ็นถึงการยอมรับ การเชิดชูและใĀเกียรติ การเคารพ และปฏิบัติตามกฎĀมายÿูงÿุดของประเทý และเĀนือÿิ่งอื่นใด คือ คüามเอาใจใÿและĀüงใย ที่ทุกฝาย ตางมีใĀกัน ซึ่งลüนมีที่มาจากคุณูปการที่พระมĀากþัตริยทรงมีตอการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมĀากþัตริยทรงเปนประมุข และตอฝายนิติบัญญัติ มาอยางตอเนื่องและยาüนาน ๔. ขอเÿนอแนะของคณะกรรมาธิการüิÿามัญ คณะกรรมาธิการüิÿามัญมีขอเÿนอแนะüา คüรÿรางคüามตระĀนักรู เขาใจ และ ÿำนึกในพระมĀากรุณาธิคุณและคุณูปการของÿถาบันพระมĀากþัตริยตอการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมĀากþัตริยทรงเปนประมุขและฝายนิติบัญญัติรüมทั้งนำเอาขอแนะนำทั้งĀลาย ในพระราชดำรัÿ ไปประพฤติปฏิบัติในĀนาที่และอำนาจ เพื่อคüามผาÿุก คüามเจริญ และคüามมั่นคง และมั่งคั่งของประเทýชาติและประชาชนÿืบไป ๕. คณะกรรมาธิการüิÿามัญจึงขอเÿนอรายงานการพิจารณาýึกþาของคณะกรรมาธิการüิÿามัญ เรื่อง คุณูปการของÿถาบันพระมĀากþัตริยตอการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมĀากþัตริยทรงเปนประมุขและฝายนิติบัญญัติเพื่อใĀที่ประชุมวุฒิÿภาไดพิจารณา ใĀความเĀ็นชอบ ทั้งนี้ Āากที่ประชุมวุฒิÿภาเĀ็นชอบ คüรมีการเผยแพรและÿรางคüามตระĀนักรู ใĀเด็ก เยาüชน นักเรียน นิÿิต นักýึกþา ผูเกี่ยüของ และประชาชนไดรับทราบตอไป (นายเชิดýักดิ์ ÿันติüรüุฒิ) เลขานุการคณะกรรมาธิการüิÿามัญ การพิทักþและเทิดทูนÿถาบันพระมĀากþัตริย üุฒิÿภา / ↑


บทสรุปผูบริหาร รายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง คุณูปการของสถาบันพระมหากษัตริยตอการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขและฝายนิติบัญญัติฉบับนี้เปนรายงาน การศึกษาเชิงคุณภาพ โดยศึกษาวิเคราะหขอมูลจากแนวคิดตาง ๆ (Documentary Research) ประกอบดวย แนวคิดการปกครองระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย หลักการปกครองดวยระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และแนวคิดการปฏิบัติหนาที่ของฝายนิติบัญญัติ รวมทั้งมีการศึกษาขอมูลและภาพประวัติศาสตรจากหอจดหมายเหตุรัฐสภา ไดแก ขอมูลประวัติศาสตร และภาพการพระราชทานรัฐธรรมนูญทุกฉบับของพระมหากษัตริย ขอมูลและภาพของพระมหากษัตริย และพระบรมวงศานุวงศที่ไดเสด็จพระราชดำเนินมาเปดประชุมรัฐสภา ขอมูลและภาพการเปดประชุม สมาชิกรัฐสภาระหวางประเทศ ขอมูลและภาพของพระมหากษัตริย และพระบรมวงศานุวงศที่ไดเสด็จ พระราชดำเนินมายังรัฐสภา เนื่องในวโรกาสตางๆ ทั้งนี้ จากแนวความคิดที่จะนำเอาการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย ทรงเปนประมุข มาใชในประเทศไทย ไดเริ่มมีมาตั้งแตยุคราชาธิปไตยภายใตการปกครองระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชย โดยไดเริ่มตนขึ้นอยางเปนรูปธรรมในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยูหัวเนื่องจากประเทศตาง ๆ ทางซีกโลกตะวันออก รวมทั้งประเทศไทยตองเผชิญกับลัทธิลาเมืองขึ้น ของจักรวรรดินิยมตะวันตก ทำใหการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยเริ่มเสื่อมอิทธิพลลงเปนลำดับ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ซึ่งทรงเปนพระมหากษัตริย รวมทั้งเปนผูนำ ทางสังคมและการเมืองทรงตระหนักถึงปญหาดังกลาว จึงมีแนวพระราชดำริที่จะตองจัดระบบ การปกครองประเทศเสียใหม และไดทรงดำเนินรัฐประศาสโนบาย เพื่อเปนการปูพื้นฐานการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอยางคอยเปนคอยไปทีละนอย อยางไรก็ตาม ประชาชนชาวไทยยังมีความรูความเขาใจในการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และมีความสนใจในการปกครองบานเมืองไมมากพอที่จะคุมครอง ผลประโยชนของตนเองไดพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว จึงไดทรงดำเนินรัฐประศาสโนบาย เพื่อเปนการปูพื้นฐานการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข อยางคอยเปนคอยไปทีละนอยดังนั้น ในตอนตนรัชกาล เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2417 พระองคจึงได โปรดเกลาฯ ใหตั้งคณะที่ปรึกษาขึ้น 2 คณะ คือ คณะที่ปรึกษาราชการในพระองค (Privy Council) และคณะที่ปรึกษาราชการแผนดิน (Council of State) โดยทรงมีพระราชดำริที่จะใหคณะที่ปรึกษา ทั้งสองคณะนี้เปนสถาบันทางการเมืองทำหนาที่อันสําคัญ ตอมาในชวงรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวมีความพยายามที่จะวางรากฐาน ของการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขในรัชกาลนี้ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวทรงมีพระราชดำริจัดตั้ง “ดุสิตธานี” ขึ้น เพื่อเปนการทดลอง การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ในการนี้ไดทรงโปรดฯ


(ข) ใหมีการตรา “ธรรมนูญดุสิตธานี” ลักษณะปกครองคณะนคราภิบาลไวเมื่อปพ.ศ. 2465 การปกครอง ดุสิตธานีนั้นมีการจัดระเบียบและวิธีการตามระบอบประชาธิปไตยอยางครบถวน โดยมี “ผูแทนราษฎร” ซึ่งตามธรรมนูญดุสิตธานีเรียกวา “เชษฐบุรุษ” สวนพระองคเองนั้นทรงเปนเพียง “นายราม” พลเมือง คนหนึ่งของดุสิตธานี จนกระทั่งในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว เปนสมัยแหงแนวความคิด ทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยที่เปนไปอยางกวางขวางและเริ่มรุนแรงยิ่งขึ้นเรื่อย ๆ ดวยความ คิดเห็นในเรื่องของประชาธิปไตยไดแพรหลายไปสูประชาชนในเมืองหลวงอยางกวางขวาง เนื่องจาก กระแสอารยธรรมตะวันตกที่ไดหลั่งไหลสูประเทศไทยมากขึ้นในทุก ๆ ดาน ไมวาจะเปนดานเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองประการหนึ่ง และอีกประการหนึ่งก็เนื่องมาจากผลของ “นโยบายพัฒนาคน” เพื่อเขา รับราชการของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวซึ่งพระองคทรงสงเด็กไทยออกไปศึกษายังตางแดน โดยเฉพาะประเทศที่มีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยในยุโรป อยางไรก็ดีแมจะไดทรงรางรัฐธรรมนูญเตรียมไวเพื่อประกาศใชแลวก็ตาม แตดวยเหตุนี้เอง บรรดาเด็กไทยเหลานั้น จึงไดซึมซาบรับเอาแนวความคิดทางการเมืองระบอบประชาธิปไตยของตะวันตก กลับสูบานเกิดเมืองนอนดวยอยางไมรูตัว และในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 “คณะราษฎร” ซึ่งประกอบขึ้นดวยขาราชการฝายทหารบก ทหารเรือ และพลเรือน จำนวน 99 คน ไดเขาทําการ ยึดอำนาจการปกครองประเทศ เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองเปนการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และพระราชทานรัฐธรรมนูญที่คณะราษฎรไดยกรางขึ้นเปนหลัก ในการปกครองประเทศ ทั้งนี้ บุคคลที่มารวมกันเปนคณะราษฎรนี้เกือบทั้งหมดเปนขาราชการที่ไดรับการศึกษามาอยางดี จากประเทศตะวันตก มีทัศนะทางการเมืองแบบประชาธิปไตยตะวันตก ซึ่งถูกสภาวการณตาง ๆ กดดัน จนเกิดความไมพอใจในสภาพความลาหลังของระบอบการปกครองในแบบเดิม จึงมีความปรารถนา อันแรงกลาในการลมลางระบอบการปกครองแบบกษัตริย ซึ่งมีอำนาจเด็ดขาดทุกอยางในประเทศ และนำเอาการปกครองดวยระบบรัฐธรรมนูญใหราษฎรมีสิทธิ์มีเสียงในการปกครองมาใชแทน โดยมีวัตถุประสงคที่จะนำการปฏิวัติทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมใหมีสภาพดีขึ้นเหมือนเชนประเทศ ที่ใชระบบการปกครองประชาธิปไตยเปาหมายสำคัญในการเปลี่ยนแปลงการปกครองของคณะราษฎรครั้งนี้ จึงอยูที่การนำการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขมาใช โดยมีรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุด และมีพระมหากษัตริยเปนประมุขของประเทศภายใตรัฐธรรมนูญ และมีความปรารถนาใหพลเมืองมีสิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาค และภราดรภาพเทาเทียมกันตามกฎหมาย สำหรับการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขนั้น พระมหากษัตริยทรงอยูภายใตรัฐธรรมนูญ แตการใชพระราชอำนาจดานนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ ทรงมิไดใชพระราชอำนาจเหลานั้นดวยพระองคเอง แตมีองคการหรือหนวยงานที่รับผิดชอบตางๆ กันไป


(ค) ดังนั้น การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข จึงเปนการปกครอง ในรูปแบบประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม สวนกรณีที่พระมหากษัตริยทรงใชอำนาจดานนิติบัญญัติ ผานทางรัฐสภา กลาวคือ พระมหากษัตริยทรงใชอำนาจในการออกกฎหมาย ตามคำแนะนำและยินยอม ของรัฐสภา เมื่อรัฐสภารางกฎหมายขึ้นแลวจะทูลเกลาฯ ถวายเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยประกาศใชเปน กฎหมายตามขั้นตอนของรัฐธรรมนูญ แมจะไดมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน ประมุข โดยพระมหากษัตริยมิไดทรงใชพระราชอำนาจดวยพระองคเองแลวก็ตาม แตครั้งใดที่มี วิกฤตการณบานเมือง สถาบันพระมหากษัตริยทรงมีคุณูปการตอการแกไขปญหาวิกฤตการณทาง การเมืองของประเทศไทย ดังเชนเหตุการณทางการเมืองที่สำคัญ โดยมีกลุมผูประทวงจำนวนมากปะทะ กับเจาหนาที่ตำรวจ และทหาร สงผลใหมีประชาชนเสียชีวิตและเสียเลือดเนื้อไปเปนจำนวนมาก คือ เหตุการณ 14 ตุลาคม 2516 และเหตุการณ พฤษภาทมิฬ 2535 แตดวยพระบารมีของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดีจักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ที่ทรงแกไขปญหาวิกฤตการณทางการเมืองของประเทศไทยทั้งสอง เหตุการณที่สำคัญ ดังนั้น พระองคทานจึงเปนเสมือนศูนยรวมจิตใจของปวงชนชาวไทยตอการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขมาโดยตลอด นอกจากนั้น พระราชดำรัสในพิธีเปดประชุมรัฐสภา ยังเปนแนวทางในการปฏิบัติงานดาน นิติบัญญัติที่ทรงพระราชทานใหกับสมาชิกสภาผูแทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา ในฐานะเปนผูแทน ของปวงชนชาวไทยตามการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ซึ่งจะตองปฏิบัติการทุกอยางเพื่อประชาชน และใหบังเกิดประโยชนสุขความรมเย็นแกประชาชน อยางแทจริง และเพื่อใหการปกครองประเทศดำเนินไปตามการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข อีกทั้งพระราชดำรัสในพิธีเปดประชุมรัฐสภาของพระมหากษัตริย ในแตละคราวซึ่งไดบงบอกถึงสถานการณในปจจุบันของประเทศไทย และสถานการณที่เปนความรวมมือ ระหวางประเทศที่เกิดขึ้น นอกจากนี้ งานดานฝายนิติบัญญัติที่เกี่ยวกับความรวมมือระหวางประเทศของ สถาบันพระมหากษัตริยคือ การเสด็จพระราชดำเนินทรงเปนองคประธานในพิธีเปดการประชุมสหภาพรัฐสภา เนื่องจากเปนพระราชกรณียกิจที่แสดงใหทั่วโลกไดเห็นถึงการสงเสริมการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขสวนการเสด็จพระราชดำเนิน มายังบริเวณอาคารรัฐสภาในโอกาสตาง ๆ รวมถึงการแกไขปญหาวิกฤตการณทางการเมืองของประเทศไทยที่สำคัญ ถือเปนพระราชกรณียกิจ ที่สำคัญของสถาบันพระมหากษัตริยตอฝายนิติบัญญัติที่ทรงใหกำลังใจในการปฏิบัติงานแกสมาชิก และบุคลากรของรัฐสภา ตลอดจนมุงหวังใหการปกครองประเทศดำเนินไปตามการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ที่จะสรางความเจริญและความมั่นคงของประเทศตอไป


(ง) บทความและความประทับใจตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการปกครองทั้งในชวงกอน และหลังจากที่ประเทศไทย ไดเปลี่ยนแปลงเปนการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขนั้น ไดสะทอนใหเห็นถึงความใสใจ และคุณูปการในความตองการที่ทรงมีใหกับการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข รวมถึงฝายนิติบัญญัติอยางตอเนื่อง ที่สงเสริมและ สรางสรรคใหประเทศไทยมีการปกครองในรูปแบบประชาธิปไตย และมีสวนรวมอยางแทจริง รวมทั้ง เสนอแนะแนวทางการดำเนินงานและใหกำลังใจดานนิติบัญญัติในการปฏิบัติหนาที่ดวยความผาสุก ความเจริญ และความมั่นคงของประเทศชาติ และประชาชนสืบไป


สารบัญ หนา รายนามคณะกรรมาธิการ ก รายงานการพิจารณาศึกษา (๑) บทสรุปผูบริหาร (ก) สารบัญ (จ) สารบัญภาพ (ฌ) บทที่ ๑ บทนำ ๑ ๑.๑ ความเปนมาของการพิจารณาศึกษา ๑ ๑.๑.๑ ความเปนมา ๑ ๑.๑.๒ ความสำคัญของเรื่อง ๑ ๑.๒ วัตถุประสงคของการศึกษา ๔ ๑.๓ ขอบเขตการพิจารณาศึกษา ๔ ๑.๔ ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ๔ บทที่ ๒ หลักการและแนวคิด ๕ ๒.๑ แนวคิดการปกครองระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย ๕ ๒.๑.๑ กอนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ๕ ๒.๑.๒ หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ๑๙ ๒.๒ หลักการปกครองดวยระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย ทรงเปนประมุข ๒๐ ๒.๒.๑ แนวคิดการปกครองระบอบประชาธิปไตย ๒๑ ๒.๒.๒ ประเภทของระบอบประชาธิปไตย ๒๒ ๒.๒.๓ ระบอบประชาธิปไตย ๒๒ ๒.๒.๔ ลักษณะสําคัญของการปกครองของระบอบประชาธิปไตย ๒๓ ๒.๒.๕ หลักการพื้นฐานของประชาธิปไตย ๒๓ ๒.๒.๖ หลักการของระบอบประชาธิปไตย ๒๔ ๒.๒.๗ ประโยชนของระบอบประชาธิปไตย ๒๔ ๒.๒.๘ การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย ทรงเปนประมุขของประเทศไทย ๒๕ ๒.๒.๙ พระมหากษัตริยไทยในระบอบประชาธิปไตย ๒๙


(ฉ) สารบัญ (ตอ) หนา ๒.๓ หนาที่และอำนาจของฝายนิติบัญญัติ ๓๙ ๒.๓.๑ ดานการพิจารณาและการกลั่นกรองกฎหมาย ๓๙ ๒.๓.๒ การควบคุมการบริหารราชการแผนดิน ๔๒ ๒.๓.๓ การใหความเห็นชอบใหบุคคลดำรงตำแหนง ๔๓ ๒.๓.๔ การติดตาม เสนอแนะ และเรงรัดการปฏิรูปประเทศ รวมทั้งการจัดทำ และดำเนินการตามยุทธศาสตรชาติ ๔๕ บทที่ ๓ วิธีการศึกษา ๔๗ ๓.๑ กรรมาธิการและบุคคลที่เกี่ยวของที่รวมกันพิจารณาศึกษา ๔๘ ๓.๑.๑ ตำแหนงตาง ๆ ในคณะกรรมาธิการ ๔๘ ๓.๑.๒ การแตงตั้งบุคคลเพื่อปฏิบัติหนาที่อันจะเปนประโยชน ตอการปฏิบัติงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญ ๔๙ ๓.๑.๓ บุคคลที่คณะกรรมาธิการวิสามัญแตงตั้งเพื่อปฏิบัติหนาที่อันจะเปนประโยชน ตอการปฏิบัติงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญ ๔๙ ๓.๒ คณะอนุกรรมาธิการ ๕๐ ๓.๒.๑ คณะอนุกรรมาธิการศึกษาและเสนอแนะแนวทางดานการสื่อสาร ในการพิทักษและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย ๕๐ ๓.๒.๒ คณะอนุกรรมาธิการศึกษา ติดตาม เสนอแนะ และเรงรัดการดำเนิน มาตรการเกี่ยวกับการพิทักษและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย ๕๑ ๓.๒.๓ คณะอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษา ติดตาม และสืบสานแนวพระราชดำริ ๕๒ ๓.๓ การเก็บรวบรวมขอมูล ๕๓ ๓.๓.๑ การประชุมของคณะกรรมาธิการวิสามัญ ๕๓ ๓.๓.๒ การศึกษาประวัติศาสตรจากหอจดหมายเหตุรัฐสภา ๕๔ ๓.๓.๓ การสืบคนพระราชดำรัสและพระบรมราโชวาท ๕๔ ๓.๓.๔ การศึกษาเอกสาร ๕๕


(ช) สารบัญ (ตอ) หนา บทที่ ๔ คุณูปการของสถาบันพระมหากษัตริยตอการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขและฝายนิติบัญญัติ ๕๗ ๔.๑ คุณูปการของสถาบันพระมหากษัตริยตอการปกครองในประเทศไทย ๕๗ ๔.๑.๑ ปรากฏการณสำคัญที่สถาบันพระมหากษัตริย ทรงมีตอการปกครองในประเทศไทย ๕๗ ๔.๑.๒ คุณูปการของสถาบันพระมหากษัตริยตอการแกไขปญหา วิกฤตการณทางการเมืองที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ๖๖ ๔.๒ คุณูปการของสถาบันพระมหากษัตริยตอฝายนิติบัญญัติ ๗๓ ๔.๒.๑ การพระราชทานรัฐธรรมนูญ ๗๓ ๔.๒.๒ การเสด็จพระราชดำเนินทรงเปดประชุมรัฐสภา ๑๒๘ ๔.๒.๓ การเปดประชุมสมาชิกรัฐสภาระหวางประเทศ ๑๗๘ ๔.๒.๔ การเสด็จพระราชดำเนิน ณ รัฐสภา ๑๘๗ บทที่ ๕ บทสรุป ๑๙๕ ๕.๑ คุณูปการของสถาบันพระมหากษัตริยตอการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ๑๙๕ ๕.๒ คุณูปการของสถาบันพระมหากษัตริยตอฝายนิติบัญญัติ ๑๙๗ ๕.๓ ขอเสนอแนะ ๑๙๙ บรรณานุกรม ๒๐๑ ภาคผนวก ๒๑๑ ภาคผนวก (ก)หนังสือที่พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ไดทรงมีพระราชหัตถเลขาถึงพระยากัลยาณไมตรี ๒ (Dr. Francis B. Sayre) เมื่อวันที่ ๒๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๖๙ ๒๑๓๒ ภาคผนวก (ข) หนังสือที่พระยากัลยาณไมตรี(Dr. Francis B. Sayre) ไดมีหนังสือกราบบังคมทูลตอบพระราชปุจฉา ๒ เมื่อวันที่ ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๖๙ ๒๒๓


(ซ) สารบัญ (ตอ) หนา ภาคผนวก (ค)รางรัฐธรรมนูญที่พระยากัลยาณไมตรี (Dr. Francis B. Sayre) ไดทูลเกลาทูลกระหมอมถวาย ซึ่งมี จำนวน ๑๒ มาตรา ๒ เพื่อแสดงใหเห็นโครงสรางของรัฐบาล ใชชื่อวา “Outline of Preliminary Draft” ๒๓๗๒ ภาคผนวก (ง) หนังสือที่สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ อภิรัฐมนตรีพระองคหนึ่งไดทรงบันทึก ๒ แสดงความคิดเห็น (Memorandum) ของพระองค ๒ มีบางประการที่ขัดแยงกับของพระยากัลยาณไมตรี ๒ (Dr. Francis B. Sayre) รวมความไดวายังไมถึงเวลา ๒ ที่ประเทศไทยจะปกครองแบบรัฐสภา ๒๔๓๒ ภาคผนวก (จ) พระยาศรีวิสารวาจา และนายเรมอนด บี. สตีเวนส ไดรางรัฐธรรมนูญฉบับภาษาอังกฤษใชชื่อวา ๒ “An Outline of Changes in the Form of Government” ๒๔๙ ภาคผนวก (ฉ) พระยาศรีวิสารวาจา และนายเรมอนด บี.สตีเวนส ไดทำบันทึกความเห็นของตน แสดงเหตุผลวายังไมถึงเวลาสมควร ๒ ที่จะมีการประกาศใชรัฐธรรมนูญ จนกวาประชาชนจะมีการศึกษา ๒ และมีประสบการณในการปกครองตนเองอยางเพียงพอเสียกอน ๒๕๕ ภาคผนวก (ช)ธรรมนูญลักษณะปกครองคณะนคราภิบาล (ดุสิตธานี) พระพุทธศักราช ๒๔๖๑ ๒๖๑ ภาคผนวก (ซ)พระราชดำรัส และพระบรมราโชวาท ๒๗๙ ภาคผนวก (ฌ) ฝายเลขานุการคณะกรรมาธิการวิสามัญ การพิทักษและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย วุฒิสภา ๓๖๕ ๒๗๙


(ฌ) สารบัญภาพ ภาพที่ หนา ๔.๑ พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ทรงมีพระราชดำริใหสภาองคมนตรี เปนที่ฝกการประชุมแบบรัฐสภาดังระเบียบวาระการประชุมกรรมการองคมนตรี เมื่อวันพุธที่ ๑๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๗๐ ๖๑ ๔.๒ ภาพเหตุการณ 14 ตุลาคม 2516 โดยมีนักเรียน นิสิตนักศึกษา และประชาชน ออกมารวมตัวชุมนุมประทวงรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร เนื่องจากมีคน ไดออกมาประทวงเรียกรองรัฐธรรมนูญที่เปนประชาธิปไตยจากผูมีอำนาจ ในขณะนั้น ๖๗ ๔.๓ หลังจากเกิดเหตุการณการชุมนุมมาเปนเวลาหลายวันแลว ขณะที่ผูชุมนุม กำลังสลายตัว ก็เกิดเหตุรุนแรงขึ้นที่ถนนหนาพระราชวังสวนจิตรลดา ชวงถนนพระราม 5 ใกลถนนราชวิถีกลุมผูชุมนุมจำนวนมากจึงไดหนี เขาไปหลบภัยในเขตพระราชวังสวนจิตรลดา พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเปนผูสั่งใหมหาดเล็กมาเปดประตู ใหประชาชนเขาไปหลบขางใน ๖๘ ๔.๔ กลุมผูชุมนุมเคลื่อนที่จากทองสนามหลวงมุงสูรัฐสภา นำไปสูเหตุการณความรุนแรง ระหวางฝายประทวงกับฝายเจาหนาที่ที่ถูกสงมาควบคุมสถานการณ มีการประกาศ เคอรฟวเกิดการตอสูปะทะกันอยางยืดเยื้อยาวนานเปนระยะเวลา 4 วัน 4 คืน ประชาชนไดรับบาดเจ็บลมตายจำนวนมาก เหตุการณนองเลือดครั้งนี้จึงไดรับ การขนานนามวา “เหตุการณพฤษภาทมิฬ” ๗๑ ๔.๕ เหตุการณพฤษภาทมิฬสงบลงไดดวยพระบารมีของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ภูมิพลอดุลยเดช ที่ทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอมใหพลเอก เปรม ติณสูลานนท องคมนตรีและรัฐบุรุษ นำพลเอก สุจินดา คราประยูร นายกรัฐมนตรี และพลตรีจำลอง ศรีเมือง แกนนำของผูชุมนุมในขณะนั้น ฝาทูลละอองธุลีพระบาท รับพระราชกระแสรับสั่งพรอมกัน ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน เพื่อแกไขสถานการณ บานเมืองที่กำลังเลวราย ๗๒ ๔.๖ พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ทรงลงพระปรมาภิไธยและพระราชทาน รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรสยาม เมื่อวันที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๔๗๕ ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม ๗๖


(ญ) สารบัญภาพ (ตอ) ภาพที่ หนา ๔.๗ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวอานันทมหิดล ทรงลงพระปรมาภิไธยและพระราชทาน รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๔๘๙ เมื่อวันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๔๘๙ ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม ๘๐ ๔.๘ สมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยรัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492 เมื่อวันที่ ๒๓ มีนาคม พุทธศักราช ๒๔๙๒ ๘๕ ๔.๙ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชทรงลงพระปรมาภิไธยและ พระราชทานรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๔๗๕ แกไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๔๙๕ เมื่อวันที่ ๘ มีนาคม ๒๔๙๕ ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม ๘๘ ๔.๑๐ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธย และพระราชทานรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๑๑ เมื่อวันที่ ๒๐ มิถุนายน ๒๕๑๑ ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม ๙๓ ๔.๑๑ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธย และพระราชทานรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๑๗ เมื่อวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๑๗ ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน ๙๘ ๔.๑๒ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธย และพระราชทานรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๒๑ เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๒๑ ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน ๑๐๔ ๔.๑๓ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธย และพระราชทานรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๓๔ เมื่อวันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๓๔ ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน ๑๐๘ ๔.๑๔ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธย และพระราชทานรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๔) พุทธศักราช ๒๕๓๕ เมื่อวันที่ ๑๐ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๓๕ ๑๑๐ ๔.๑๕ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธย และพระราชทานรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๕) พุทธศักราช ๒๕๓๘ เมื่อวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ พุทธศักราช ๒๕๓๘ ๑๑๒


(ฎ) สารบัญภาพ (ตอ) ภาพที่ หนา ๔.๑๖ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธย และพระราชทานรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ เมื่อวันที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๔๐ ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน ๑๑๔ ๔.๑๗ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธย และพระราชทานรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ เมื่อวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐ ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน ๑๑๘ ๔.๑๘ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธย และพระราชทานรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ เมื่อวันที่ ๒๒ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๕๗ ๑๒๑ ๔.๑๙ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกลาเจาอยูหัว ทรงลงพระปรมาภิไธย และพระราชทานรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ เมื่อวันที่ ๖ เมษายน ๒๕๖๐ ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน ๑๒๗ ๔.๒๐ พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวเสด็จพระราชดำเนิน ทรงเปดประชุมสภาผูแทนราษฎรแหงราชอาณาจักรสยาม เมื่อวันที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๔๗๖ ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม ๑๗๐ ๔.๒๑ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวอานันทมหิดลเสด็จพระราชดำเนิน ทรงเปดประชุมพฤฒสภาและสภาผูแทน เมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๔๘๙ ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม ๑๗๑ ๔.๒๒ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชดำเนิน มาทรงประกอบรัฐพิธีเปดประชุมสภารางรัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ ๕ กุมภาพันธ๒๕๐๒ ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม ๑๗๑ ๔.๒๓ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชดำเนิน มาทรงเปดประชุมรัฐสภา เมื่อวันที่ ๒๐ มิถุนายน ๒๕๑๓ ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม ๑๗๒ ๔.๒๔ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เปนผูแทนพระองคเสด็จพระราชดำเนิน มาทรงเปดประชุมรัฐสภา เมื่อวันที่ ๕ กุมภาพันธ๒๕๑๘ ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม ๑๗๒


(ฏ) สารบัญภาพ (ตอ) ภาพที่ หนา ๔.๒๕ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชดำเนิน มาทรงเปดประชุมรัฐสภา เมื่อวันที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๒๖ ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม ๑๗๓ ๔.๒๖ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชดำเนิน มาทรงเปดประชุมรัฐสภา เมื่อวันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๓๑ ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม ๑๗๓ ๔.๒๗ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว และสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินมาทรงเปดประชุมรัฐสภา เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2566 ณ โถงรัฐพิธีชั้น 11 อาคารรัฐสภา ถนนสามเสน แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ ๑๗๔ ๔.๒๘ พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวและสมเด็จพระนางเจารำไพพรรณี พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงประกอบพิธี ฉลองรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรสยาม เมื่อวันที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๔๗๕ ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม ๑๗๕ ๔.๒๙ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวอานันทมหิดลเสด็จพระราชดำเนินไปทรงประกอบ พิธีฉลองรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย เมื่อวันที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๔๘๘ ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม ๑๗๕ ๔.๓๐ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชดำเนินไปถวายบังคม พระบรมราชานุสาวรียพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ณ อาคารรัฐสภา ถนนอูทองใน และเสด็จพระราชดำเนินไปทรงประกอบพระราชพิธี ฉลองวันพระราชทานรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม เมื่อวันที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๕๔๕ ๑๗๖ ๔.๓๑ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองคไปถวายบังคมพระบรมราชานุสาวรีย พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ณ อาคารรัฐสภา ถนนอูทองใน และเสด็จพระราชดำเนินไปทรงประกอบพระราชพิธีฉลองวันพระราชทาน รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย เมื่อวันที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๕๔๗ ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม ๑๗๖


(ฐ) สารบัญภาพ (ตอ) ภาพที่ หนา ๔.๓๒ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชดำเนินไปถวายบังคม พระบรมราชานุสาวรียพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ณ อาคารรัฐสภา ถนนอูทองใน และเสด็จพระราชดำเนินไปทรงประกอบพระราชพิธี ฉลองวันพระราชทานรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม ๑๗๗ ๔.๓๓ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชดำเนิน ทรงเปนองคประธานในพิธีเปดการประชุมสหภาพรัฐสภา (Inter-Parliamentary Union) ครั้งที่ ๗๘ ณ กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๓๐ ณ หองวิภาวดีบอลรูม โรงแรมไฮแอท เซ็นทรัลพลาซา กรุงเทพมหานคร ๑๘๔ ๔.๓๔ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนิน แทนพระองคทรงเปนองคประธาน ในพิธีเปดการประชุมสมัชชาสหภาพรัฐสภา (Assembly of the Inter-Parliamentary Union) ครั้งที่ ๑๒๒ และการประชุมอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ เมื่อวันที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๕๓ ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนดและบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอรเซ็นทรัลเวิลด กรุงเทพมหานคร ๑๘๖ ๔.๓๕ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชดำเนิน มาทรงเปดประชุมสมัชชาแหงชาติเมื่อวันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๑๖ ณ สนามราชตฤณมัยสมาคมฯ ๑๘๗ ๔.๓๖ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ แตงตั้งสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีเปนผูสำเร็จราชการแทนพระองค เมื่อวันที่ ๑๘ กันยายน ๒๔๙๙ และเสด็จพระราชดำเนินไปทรงปฏิญาณตน ตอสภาผูแทนราษฎร เมื่อวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๔๙๙ ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม ๑๘๗ ๔.๓๗ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชดำเนินพรอมดวย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ไปทรงเททองหลอ พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว เมื่อวันที่ ๗ เมษายน ๒๕๒๒ ณ อาคารรัฐสภา ถนนอูทองใน ๑๘๘


(ฑ) สารบัญภาพ (ตอ) ภาพที่ หนา ๔.๓๘ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชดำเนิน พรอมดวยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ไปทรงประกอบพระราชพิธีเปดพระบรมราชานุสาวรียพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกลาเจาอยูหัว เมื่อวันที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๕๒๓ ณ อาคารรัฐสภา ถนนอูทองใน ๑๘๘ ๔.๓๙ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนิน ไปทรงเปดนิทรรศการภาพจิตรกรรมเทิดพระเกียรติพระมหากษัตริย แหงพระบรมราชจักรีวงศจากการจัดงานสมโภช กรุงรัตนโกสินทร 200 ป เมษายน 2525 เมื่อวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๒๘ ณ อาคารรัฐสภา ถนนอูทองใน ๑๘๙ ๔.๔๐ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเสด็จพระราชดำเนิน ไปทรงเปนองคประธานในพิธีมหาพุทธาภิเษกเหรียญพระไพรีพินาศ และพิธีมหาชัยมังคลาภิเษกพระบรมรูปหลอจำลอง พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว เมื่อวันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๓๗ ณ พิธีมณฑลรัฐสภา ถนนอูทองใน ๑๘๙ ๔.๔๑ พระเจาหลานเธอ พระองคเจาพัชรกิติยาภา เสด็จพรอมดวยคณะอาจารย และนักศึกษาคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เยี่ยมชมพิพิธภัณฑรัฐสภา เมื่อวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๔๑ ณ พิพิธภัณฑรัฐสภา อาคารรัฐสภา ถนนอูทองใน ๑๙๐ ๔.๔๒ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนิน ทรงนำขาราชการ และนักเรียนนายรอย ชั้นปที่ ๔ - ๕ โรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา ซึ่งศึกษาวิชา หัวขอพิเศษทางประวัติศาสตร : เปรียบเทียบพัฒนาการประชาธิปไตยในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ไปทัศนศึกษา ณ รัฐสภา เมื่อวันที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๔๘ ๑๙๐ ๔.๔๓ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนิน แทนพระองคไปทรงประกอบพิธีวางศิลาฤกษอาคารรัฐสภา ณ พื้นที่ราชพัสดุ ถนนทหาร (เกียกกาย) เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๓ ๑๙๑


(ฒ) สารบัญภาพ (ตอ) ภาพที่ หนา ๔.๔๔ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปดประชุมสมัชชาแหงชาติแทนพระองค เมื่อวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๔๙ ณ หอประชุมกองทัพเรือ ๑๙๑ ๔.๔๕ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองคไปถวายบังคมพระบรมราชานุสาวรีย พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว เมื่อวันที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ พระบรมราชานุสาวรียพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ๑๙๒ ๔.๔๖ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนิน ไปทรงเปดนิทรรศการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘ เมื่อวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๘ ณ อาคารรัฐสภา ถนนอูทองใน ๑๙๒ ๔.๔๗ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีพระบรมราชโองการ โปรดเกลาฯ แตงตั้งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เปนผูสำเร็จราชการแทนพระองคและเสด็จพระราชดำเนินไปทรงปฏิญาณตน ตอสภาผูแทนราษฎร ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม ๑๙๓


บทที่ 1 บทนำ 1.1 ความเปนมาของการพิจารณาศึกษา ๑.๑.๑ ความเปนมา คณะกรรมาธิการวิสามัญการพิทักษและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย วุฒิสภา มีหนาที่ และอำนาจกระทำกิจการ พิจารณาสอบหาขอเท็จจริง หรือศึกษาเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวกับการพิทักษ และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริยตามขอบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๖๒ ขอ ๘๒0 1 ทั้งนี้ เพื่อเปนการเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลการดำเนินงานของวุฒิสภาดานการพิทักษ และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย ในชวงระยะเวลาที่ผานมา คณ ะกรรมาธิการวิสามัญ มีความตองการที่จะพิจารณาศึกษาคุณูปการของสถาบันพระมหากษัตริยตอประเทศไทยและงานดาน นิติบัญญัติตั้งแตกอนการเปลี่ยนแปลงการปกครองประเทศจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย จนมาถึงการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข เมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 7 ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอมพระราชทานรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช ๒๔๗๕1 2 จึงเปนจุดเริ่มตนของการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย ทรงเปนประมุข จนมาถึงการประกาศใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ในรัชกาล ของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๑๐ ดังนั้น รายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง คุณูปการของสถาบันพระมหากษัตริยตอการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขและฝายนิติบัญญัติจึงเปนประโยชนอยางยิ่ง ตอการดำเนินการของวุฒิสภาในการพิทักษและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย ๑.๑.๒ ความสำคัญของเรื่อง นับแตประวัติศาสตรชาติไทยอันยาวนานที่ผานมา คุณูปการของพระมหากษัตริยไทย ตอการปกครองอันอาศัยหลักประชาธิปไตยไดปรากฏหลักฐานมาอยางตอเนื่อง แมวาจะเปนยุคราชาธิปไตย ซึ่งเปนการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยก็ตาม คุณูปการของสถาบันพระมหากษัตริยในเรื่องนี้ ไดเริ่มตนใหเห็นอยางเปนรูปธรรมในยุครัตนโกสินทรโดยในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๕) เนื่องจากประเทศตาง ๆ ทางซีกโลกตะวันออก รวมทั้งประเทศไทยตองเผชิญกับ 1 สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, สำนักกฎหมาย, ขอบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. 2562 และฉบับแกไขเพิ่มเติม, (กรุงเทพฯ: กลุมงานพัฒนากฎหมาย สำนักกฎหมาย สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, ๒๕๖๔), ๒๐. 2 สำนักประชาสัมพันธ, สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, วุฒิสภาไทย, (กรุงเทพฯ: คณะกรรมการจัดทำหนังสือ “วุฒิสภาไทย” สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา สำนักประชาสัมพันธ, 2552), ๒.


2 ลัทธิลาอาณานิคมขึ้นของจักรวรรดินิยมตะวันตก ทำใหการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย ในหลายประเทศเริ่มเสื่อมอิทธิพลลงเปนลำดับ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๕) ซึ่งทรงเปนพระมหากษัตริยรวมทั้งเปนผูนำทางสังคมและการเมืองทรงตระหนักถึงปญหาดังกลาว จึงมีแนวพระราชดำริที่จะตองจัดระบบการปกครองประเทศเสียใหม และไดทรงดำเนินรัฐประศาสโนบาย เพื่อเปนการปูพื้นฐานการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอยางคอยเปนคอยไปทีละนอย พระองคทาน จึงทรงสนับสนุนใหเด็กไทยไดมีโอกาสออกไปศึกษาตอในประเทศตาง ๆ ทางตะวันตก โดยไดทรงสง พระราชโอรสเกือบทุกพระองคออกไปศึกษาในยุโรป รวมทั้งทรงสนับสนุนใหบุตรหลานขาราชการ ตลอดจนสามัญชนทั่วไปไดเลาเรียนในตางประเทศ ทั้งนี้เพื่อเปนการ “พัฒนาคน” สำหรับใชเปนกำลัง ในวงราชการเพื่อการพัฒนาประเทศ ตอมาในชวงรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว โดยทรงมีพระราชดำริจัดตั้ง “ดุสิตธานี” ขึ้น เพื่อเปนการทดลองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ตอมาคณะราษฎรปฏิวัติไดยึดอำนาจ และเปลี่ยนแปลง การปกครองประเทศจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปนการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุขเมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕ พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ทรงยอมรับการเปลี่ยนแปลงในครั้งนั้น เนื่องจากตรงกับพระราชประสงคของพระองคอยูแลว จึงทรงชวยเหลือสนับสนุนคณะราษฎรอยางเต็มที่ ในเวลาตอมาพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 7 ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอมพระราชทานรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช ๒๔๗๕ เมื่อวันศุกรที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๔๗๕2 3 จึงเปนการพระราชทานรัฐธรรมนูญขึ้นเปนครั้งแรก ในการปกครองประเทศไทย เพื่อปรารถนาใหประชาชนพลเมืองมีสิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาค และสงเสริมการศึกษาเทาเทียมกันตามกฎหมาย ภายใตการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ซึ่งรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๔๙๒ ไดมีการกำหนด รูปแบบ “การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข” ไวในมาตรา ๒ ของรัฐธรรมนูญฉบับนี้ ความวา “ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตย มีพระมหากษัตริย เปนประมุข”3 4 ปจจุบันแนวความคิดเกี่ยวกับบทบัญญัติดังกลาวมีการนำมาบัญญัติรับรองไวในมาตรา ๒ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ความวา “ประเทศไทยมีการปกครอง 3 กลุมงานพิพิธภัณฑและจดหมายเหตุ สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร, “รัฐธรรมนูญฉบับที่ ๒ รัฐธรรมนูญ แหงราชอาณ าจักรสยาม พุทธศักราช ๒๔๗๕,” พิ พิ ธภัณ ฑ รัฐสภา, สืบคนเมื่อวันที่ ๑ ๕ มีนาคม ๒ ๕ ๖ ๖ , https://parliamentmuseum.go.th/constitution/constitution-2-2475.html. 4 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณ าจักรไทย พุทธศักราช ๒๔๙๒, ราชกิจจานุเบกษา ฉะบับพิเศษ เลมที่ ๖๖ ตอนที่ ๑๗ (๒๓ มีนาคม ๒๔๙๒): ๖.


3 ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข”4 5 นอกจากนี้มาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ไดบัญญัติใหปวงชนชาวไทยมีหนาที่ในการที่จะพิทักษรักษา ไวซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริยและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน ประมุข5 6 ดังนั้น รัฐธรรมนูญจึงเปนกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ ซึ่งไดบัญญัติถึงบทบาท และพระราชอำนาจของพระมหากษัตริยไวดวย จึงถือไดวาแมประเทศไทยจะมีการเปลี่ยนแปลง การปกครองก็เปนเพียงการเปลี่ยนแปลงเพื่อใหทันสมัยนิยมของสังคมโลก แตความจงรักภักดีความรัก และเทิดทูนในสถาบันพระมหากษัตริยมิไดมีการเปลี่ยนแปลงไปดวยตามกาลสมัย ดวยพระราชประสงคของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 7 ที่ตองการใหประเทศไทยปกครองดวยการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ประชาชนมีสิทธิเสรีภาพที่มีความเทาเทียมกันในการเขาไปมีสวนรวม ในกระบวนการทางการเมืองและการปกครอง โดยมุงเนนประโยชนของประชาชนจึงเปนจุดกำเนิด และวิวัฒนาการของระบบรัฐสภาที่ประกอบดวยสภาผูแทนราษฎร และวุฒิสภา ในปจจุบัน โดยพระมหากษัตริยทรงใชอำนาจอธิปไตยผานทางฝายนิติบัญญัติดวย ดังนั้น รายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง คุณูปการของสถาบันพระมหากษัตริยตอการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย ทรงเปนประมุขและฝายนิติบัญญัติจึงไดมีการศึกษารวบรวมขอมูลประวัติศาสตรการดำเนินงานของ สถาบันพระมหากษัตริยตองานดานนิติบัญญัติที่ผานมา รวมถึงพระราชกรณียกิจที่สำคัญตอฝาย นิติบัญญัติทั้งภายในประเทศ และตางประเทศ ซึ่งเปนงานอีกดานหนึ่งของคณะกรรมาธิการวิสามัญ การพิทักษและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย วุฒิสภา ในการพิทักษและเทิดทูนสถาบัน พระมหากษัตริยซึ่งจะเปนประโยชนอยางยิ่งตอการดำเนินการของวุฒิสภาที่ควรจะนอมรําลึก ในพระมหากรุณาธิคุณของสถาบันพระมหากษัตริยที่ทรงมีตอวงงานดานนิติบัญญัติตอไป 5 รัฐธรรม นู ญ แ ห งราช อ าณ าจั ก รไท ย พุ ท ธศั ก ราช ๒ ๕๖๐ , ราช กิจ จ านุ เบ ก ษ า เล ม ที่ ๑๓๔ ต อ น ที่ ๔๐ ก (๖ เมษายน ๒๕๖๐): ๓. 6 เรื่องเดียวกัน, ๑๓.


4 1.๒ วัตถุประสงคของการศึกษา 1.๒.๑ เพื่อศึกษารวบรวมขอมูลและภาพประวัติศาสตรการดำเนินงานของสถาบัน พระมหากษัตริยตอการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และฝายนิติบัญญัติ 1.๒.๒ เพื่อเรียนรูประวัติศาสตรการดำเนินงานที่สำคัญของสถาบันพระมหากษัตริย ตอการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และฝายนิติบัญญัติ 1.๒ .๓ เพื่ อศึ ก ษ าข อ มู ล ป ระ วัติ ศ าส ต รคุ ณู ป ก ารของสถาบัน พ ระ ม ห าก ษั ต ริย ตอการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และฝายนิติบัญญัติ ซึ่งเปนงานอีกดานหนึ่งของคณะกรรมาธิการวิสามัญการพิทักษและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย วุฒิสภา ในการพิทักษและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย ๑.๓ ขอบเขตการพิจารณาศึกษา การศึกษาขอมูลและภาพประวัติศาสตรคุณูปการที่สำคัญของสถาบันพระมหากษัตริย ตอการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และฝายนิติบัญญัติ ตั้งแตกอนการเปลี่ยนแปลงการปกครองประเทศจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย จนมาถึง การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ตามรัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ในรัชกาลปจจุบัน ๑.๔ ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ๑.๔.๑ คณะกรรมาธิการวิสามัญการพิทักษและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย วุฒิสภา มีฐานขอมูล และภาพประวัติศาสตรการดำเนินงานที่สำคัญของสถาบันพระมหากษัตริยตอการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และฝายนิติบัญญัติ ๑.๔.๒ ไดรับทราบขอมูลความรูเกี่ยวกับประวัติศาสตรคุณูปการที่สำคัญของสถาบัน พระมหากษัตริยตอการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และฝายนิติบัญญัติ ๑.๔.๓ กอใหเกิดความจงรัก ภักดีและนอมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณของสถาบัน พระมหากษัตริยตอการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และฝายนิติบัญญัติ


บทที่ ๒ หลักการและแนวคิด ๒.๑ แนวคิดการปกครองระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย ๒.๑.๑ กอนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง จุดเริ่มตนของการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ในประเทศไทย เริ่มตนมาตั้งแตยุคราชาธิปไตยภายใตการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย โดยไดเริ่มตนขึ้นอยางเปนรูปธรรมในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว0 7 สรุปไดดังนี้ ดวยสาเหตุที่ประเทศตาง ๆ ทางซีกโลกตะวันออก รวมทั้งประเทศไทยตองเผชิญกับลัทธิ ลาเมืองขึ้นของจักรวรรดินิยมตะวันตก ทำใหการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยเริ่มเสื่อม อิทธิพลลงเปนลำดับ พระมหากษัตริยในฐานะผูนำทางสังคมและการเมืองของหลายประเทศ ทรงตระหนักดีวา การที่จะทรงรักษาพระราชอำนาจเอาไวไดตอไป จําเปนที่จะตองทรงดำเนินการ จัดระบบการปกครองประเทศในรูปแบบใหม เชนเดียวกันกับในประเทศไทย ซึ่งพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงตระหนักถึงปญหาเรื่องนี้เปนอยางดีจึงมีแนวพระราชดำริที่จะตอง จัดระบบการปกครองประเทศเสียใหม และไดทรงดำเนินรัฐประศาสโนบาย เพื่อเปนการปูพื้นฐาน การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอยางคอยเปนคอยไปทีละนอย พระองคทานจึงทรงสนับสนุน ใหเด็กไทยไดมีโอกาสออกไปศึกษาตอในประเทศตาง ๆ ทางตะวันตก โดยไดทรงสงพระราชโอรส เกือบทุกพระองคออกไปศึกษาในยุโรป รวมทั้งทรงสนับสนุนใหบุตรหลานขาราชการตลอดจนสามัญชนทั่วไป ไดเลาเรียนในตางประเทศ ทั้งนี้เพื่อเปนการ “พัฒนาคน” สำหรับใชเปนกำลังในวงราชการ เพื่อการพัฒนาประเทศอีกทั้งพระองคไดพระราชทานความมั่นใจใหแกเจานายและขุนนางที่กราบบังคมทูล ถวายความเห็นการจัดการเปลี่ยนแปลงราชการแผนดินเมื่อ พ.ศ. 2428 ดวยความตองการที่จะให ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญเปนหลักในการปกครองประเทศแทนที่อำนาจบริหารจะตกอยูกับ พระเจาแผนดินเพียงพระองคเดียว อยางไรก็ตาม พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงเห็นวา ประชาชนชาวไทย ยังมีความรูความเขาใจตอการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และมีความสนใจในการปกครองบานเมืองไมมากพอที่จะคุมครองผลประโยชนของตนเองได จึงทำให พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงดำเนินรัฐประศาสโนบาย เพื่อเปนการปูพื้นฐาน การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข อยางคอยเปนคอยไปทีละนอย ดังนั้น ในตอนตนรัชกาลเมื่อวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2417 พระองคจึงไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอม ใหตั้งคณะที่ปรึกษาขึ้น 2 คณะคือ คณะที่ปรึกษาราชการในพระองค (Privy Council) และคณะที่ปรึกษา 7 สำนักงานเลขาธิการรัฐสภา, ๖๐ ป รัฐสภาไทย, (กรุงเทพฯ: อักษรสัมพันธ, 2๕๓๕,) ๑๗ – ๒๑.


6 ราชการแผนดิน (Council of State) โดยทรงมีพระราชดำริที่จะใหคณะที่ปรึกษาทั้งสองคณะนี้เปน สถาบันทางการเมืองทำหนาที่อันสําคัญ 2 ประการ คือ ประการหนึ่ง ยอมใหมีอำนาจที่จะยึดหนวงขัดขวางพระเจาแผนดินไดในการใด ๆ ที่พระเจาแผนดิน ทรงพระราชดำริเปนการไมตองดวยความยุติธรรม ซึ่งจะทําใหราษฎรไดรับความเดือดรอน ประการที่สองนั้น Council of State จะทำหนาที่เปนที่ปรึกษาราชการตาง ๆ ที่จะเปน ประโยชนตอบานเมือง และนอกเหนือไปจากนี้ทรงมีพระราชกรณียกิจที่สําคัญตอบานเมืองอันเปนผลดี ตอการปูพื้นฐานสูความเปนประชาธิปไตยอีกหลายประการ เชน “การเลิกทาส” อันเปนการปลดปลอยไพรและทาสทั้งหลายใหกาวสูความเปนไท จึงเปนเสมือนแนวทางในเรื่องสิทธิและเสรีภาพ ซึ่งกอนหนานั้นคนไทยไมเคยมีมากอน เลยใหมีขึ้น “การขยายโอกาสทางดานการศึกษาแกประชาชน” ในเรื่องของการศึกษานั้นไดมีการขยาย การศึกษาดวยการจัดตั้งโรงเรียนตาง ๆ ขึ้นมากมาย และกวางขวางยิ่งขึ้น ทั้งในเมืองหลวง และตามหัวเมืองโดยทั่ว ๆ ไป ซึ่งเทากับเปนการปูพื้นฐานทางดานการศึกษาใหกับประชาชน เพื่อใหพรอมที่จะเขาใจตอการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข นอกจากนี้พระองคทานทรงสนับสนุนใหเด็กไทยไดมีโอกาสออกไปศึกษาตอในประเทศตาง ๆ ทางตะวันตก โดยไดทรงสงพระราชโอรสเกือบทุกพระองคออกไปศึกษาในยุโรป รวมทั้งทรงสนับสนุนให บุตรหลานขาราชการ ตลอดจนสามัญชนทั่วไปไดเลาเรียนในตางประเทศ ทั้งนี้เพื่อเปนการ “พัฒนาคน” สำหรับใชเปนกำลังในวงราชการเพื่อการพัฒนาประเทศ “แผนการปฏิรูปการปกครอง พ.ศ. 2435” เปนการพัฒนาโครงสรางของรัฐบาล และองคการบริหารของรัฐ เพื่อแกไขปญหาตาง ๆ ที่จะเกิดขึ้น โดยยกเลิกการบริหารราชการแผนดิน แบบจตุสดมภที่มีมาตั้งแตรัชสมัยพระบรมไตรโลกนาถ มาเปนแบบกระทรวง ทบวง กรม อยางในปจจุบัน การปฏิรูปการปกครองครั้งนี้นับเปนการสรางสรรคสถาบันการเมืองที่มีเอกภาพและมั่นคง เพื่อใหสามารถเปนกลไกในการเชื่อมโยงผลประโยชน และความตองการของสังคมกับอำนาจทางการเมือง ไดอยางฉับไว และสิ่งที่นาสนใจในการปฏิรูปการปกครองครั้งนี้ก็คือ การนำเอาวิธีการของการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขมาใช กลาวคือ ตามพระราชบัญญัติ ลักษณะปกครองทองที่ ร.ศ. 116 (พ.ศ. 2440) ซึ่งเปนแนวทางปฏิบัติของอำเภอและหมูบาน โดยริเริ่ม ใหประชาชนไดเลือกตั้งคนในหมูบานของตนมาเปนผูใหญบาน และใหผูใหญบานเลือกตั้งกันเอง มาเปนกํานัน นอกจากนี้ยังมีสิ่งที่สำคัญอีกประการหนึ่งในครั้งนั้น ดวยการที่ใหสิทธิแกสตรีในการเลือกตั้ง ซึ่งนับไดวากาวหนากวาประเทศประชาธิปไตยในยุโรปขณะนั้นอีกหลายประเทศ


7 ตอมาในตอนปลายรัชกาลของพระองคภายหลังการเสด็จประพาสยุโรปครั้งที่สอง พ.ศ. 2450 พระองคทรงตระหนักพระราชหฤทัยวา การปกครองตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยนับวันก็จะ พนสมัยเสียแลว แมพระเจาแผนดินทรงสนพระราชหฤทัยในการปกครองเปนอยางดีที่สุดแลวก็ตาม ก็คงจะสูอิทธิพลของการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ที่กําลัง แผขยายคลุมไปทั่วโลกในขณะนั้นไมไดอีกทั้งพระองคยังทรงคิดวานาจะเหมาะกวาถาพระราชโอรส จะทรงเปนผูพระราชทานรัฐธรรมนูญแกปวงชนชาวไทย ตอมาเมื่อผลัดแผนดินยางเขาสูรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว แนวความคิดความพยายามที่จะวางรากฐานการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ยังคงดำเนินตอไป ซึ่งพระองคทรงมี พระราชดำรัสเมื่อครั้งทรงขึ้นครองราชสมบัติวา มีภารกิจสําคัญที่ทรงไดรับมอบมาจาก สมเด็จพระบรมชนกนาถ คือ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ประการหนึ่ง คือ การมี “คอนสติติวชั่น” (Constitution) และ “ปาลิเมนท” (Parliament) และพระองคไดทรงวางลูทาง รัฐประศาสโนบายไวแลว เมื่อพลเมืองมีความรูพรอมเมื่อใดก็จะทรงรับปฏิบัติตามกระแสรับสั่ง ของสมเด็จพระบรมชนกนาถทันที และไดทรงฝากเรื่อง “ปาลิเมนท” นี้ไวใหคณะเสนาบดีพิจารณาตอไป ตามความเหมาะสมแกกาลเวลา กาวที่สองของการปลูกฝงประชาธิปไตย ในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจาอยูหัว1 8 ความพยายามที่จะวางรากฐานของการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ในรัชกาลนี้พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวทรงมีพระราชดำริ จัดตั้ง “ดุสิตธานี” ขึ้น เพื่อเปนการทดลองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย ทรงเปนประมุข ซึ่งในการนี้ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอมใหมีการตรา “ธรรมนูญดุสิตธานี” ลักษณะปกครองคณะนคราภิบาลไวเมื่อ พ.ศ. 2465 การปกครองดุสิตธานีนั้นมีการจัดระเบียบ และวิธีการตามการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขอยางครบถวน โดยมี “ผูแทนราษฎร” ซึ่งตามธรรมนูญดุสิตธานีเรียกวา “เชษฐบุรุษ” สวนพระองคเองนั้นทรงเปนเพียง “นายราม” พลเมืองคนหนึ่งของดุสิตธานีอยางไรก็ตามความพยายามวางรากฐานดังกลาวมิไดเปนไป ในขอบเขตที่กวางขวางและกระทำพรอม ๆ กันในหลาย ๆ ดาน ในขณะที่ทรงสรางความรูสึกชาตินิยม ใหเกิดขึ้น กระแสความคิดในเรื่องการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย ทรงเปนประมุข ก็ไดเกิดขึ้นควบคูกันไปดวย อยางนอยที่สุดในหมูขาราชการที่ไดรับการศึกษาจาก ตะวันตกเริ่มทยอยกันกลับสูประเทศไทย หลังจากที่ไดมีการสงนักเรียนไทยไปศึกษาวิชาแขนงตาง ๆ ในยุโรปตั้งแตรัชกาลกอน แตถึงอยางไรก็ตามพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวก็ยังทรงเล็งเห็นวา ยังไมถึงกาลอันสมควรที่จะพระราชทานรัฐธรรมนูญ ฉะนั้น ตลอดรัชสมัยของพระองค 8 เรื่องเดียวกัน, ๒๒.


8 แมวาแนวความคิดเรื่องการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข จะไดเกิดขึ้นอยางกวางขวางแลวก็ตาม ดังเชนความพยายามที่จะเปลี่ยนแปลงการปกครองของ คณะบุคคลในป ร.ศ. 130 เปนตน แตก็ยังมิไดพระราชทานรัฐธรรมนูญใหแกประชาชนแตอยางใด ดวยทรงมีพระราชดำริวากอนที่จะพระราชทานรัฐธรรมนูญนั้น จะตองใหการศึกษาแกประชาชน อยางเพียงพอเสียกอน มิฉะนั้นการมีรัฐสภาก็ออกจะเปนโทษมากกวาที่จะเปนคุณประโยชน ผานฟาประชาธิปก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกลาเจาอยูหัวเปนพระราชโอรส ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว และสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ ทรงพระราชสมภพ เมื่อวันพุธ เดือน ๑๑ แรม ๑๔ ค่ำ ปมะเส็ง ตรงกับวันที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๔๓๖ ไดรับพระราชทาน พระนามวา สมเด็จเจาฟาชายประชาธิปกศักดิเดชนฯ ทรงศึกษาและโสกันต เมื่อพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวทรงเจริญพระชนมพรรษา ๖ พรรษา ทรงศึกษา ตามประเพณีขัตติยราชกุมาร พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงพระกรุณาโปรดเกลา โปรดกระหมอม ใหทรงเปนนักเรียนนายรอยพิเศษในโรงเรียนนายรอยพรอมดวยสมเด็จเจาฟาฯ กรมขุนสงขลานครินทร (สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก) และสมเด็จเจาฟา จุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณอินทราชัย โดยมีพระอาจารยถวายพระอักษรในพระราชวังดุสิตและเมื่อมีพระชนมพรรษา ๑๒ พรรษา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวโปรดเกลาฯ ใหจัดพระราชพิธีโสกันตและพระราชทาน พระสุพรรณบัฏเฉลิมพระนาม ดำรงพระอิสริยยศเปนเจาฟาตางกรม ทรงพระนามตามพระสุพรรณบัฏวา “สมเด็จพระเจาลูกยาเธอ เจาฟาประชาธิปกศักดิเดชน ชเนศรมหาราชาธิราช จุฬาลงกรนาถวโรรส อุดมยศอุกฤษฐศักดิ อุภัยปกษนาวิล อสัมภินชาติพิสุทธิ มหามกุฎราชพงศ บริพัตร บรมขัตติยมหารัชฎาภิสิญจนพรรโษทัย มงคลสมัยสมากร สถาวรวรัจฉริยคุณ อดุลยราชกุมาร กรมขุนสุโขทัยธรรมราชา” เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงเห็นความสำคัญของการศึกษา อยางยิ่ง จึงโปรดเกลาฯ ใหเสด็จไปศึกษาตอ ณ ทวีปยุโรป เมื่อเดือนกรกฎาคม ๒๔๔๙ และกอนเสด็จ พระราชดำเนินไดทรงรับศีลแสดงพระองคเปนพุทธมามกะดวย


9 ทรงศึกษา ณ ตางประเทศ พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ทรงเริ่มการศึกษาในประเทศอังกฤษ โดยเสด็จ ไปประทับกับครอบครัวชาวอังกฤษ ชื่อนายเบลล (Mr. C.W. Bell) ซึ่งอยูใกลเมืองเลดเบอรี่ (Ledbury) ตั้งแตวันที่ ๗ มกราคม ๒๔๔๙ โดยมีนายโคลแมน (Mr. Coleman) เปนพระอาจารยสอนวิชา ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร ภูมิศาสตร ภาษาลาติน รวมทั้งวิชาที่ตองทรงศึกษาเพื่อเขาโรงเรียน และทรงศึกษาวิชาเพื่อบริหารพระพลานามัย เชน การขี่มา การฟนดาบ และยิมนาสติก วิทยาลัยอีตัน พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ทรงศึกษา ณ บานนายเบลล อยูเปนเวลา ๑ ป ๔ เดือน จึงทรงสอบเขาศึกษาในมหาวิทยาลัยอีตันเมื่อเดือนมีนาคม ๒๔๕๐ และทรงเขาศึกษาตั้งแต เดือนพฤษภาคม ๒๔๕๑ ภายใตการอภิบาลของนายแฮร (Mr. J.H.M. Hare) ผูจัดการวิทยาลัย โรงเรียนนายรอยทหารเมืองวูลิช เมื่อทรงสำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยอีตันแลว ทรงสอบเขาศึกษาวิชาทหารที่โรงเรียน นายรอยทหารเมืองวูลิช (Royal Military Academy, Woolwich) ในแผนกทหารปนใหญมาได ทรงเขาศึกษาตั้งแตป พ.ศ. ๒๔๕๔ และทรงสำเร็จการศึกษาเมื่อปลายป พ.ศ. ๒๔๕๖ เสด็จประจำการในกองทหารอังกฤษ หลังจากทรงสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายรอยทหารที่เมืองวูลิชแลว ทรงเขาประจำการ ในกองทหารปนใหญมา ที่เมืองอัลเดอรชอต (Aldershot) ตั้งแตเดือนกุมภาพันธ ๒๔๕๖ ถึงเดือน กันยายน ๒๔๕๗ อันเปนชวงระยะเวลาการซอมรบ รัฐบาลอังกฤษโดยความเห็นชอบของที่ประชุม กองทหาร (Army Council) อนุญาตใหทรงเครื่องแบบทหารอังกฤษสังกัดใน “L” Battery Royal Horse Artillery และถวายพระยศนายรอยตรีใหทรงมีศักดิ์และสิทธิ์เหมือนกับนายทหารอังกฤษ ทุกประการ ทรงรับราชการทหาร เมื่อพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวทรงสำเร็จการศึกษาวิชาทหารของ ประเทศอังกฤษ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหดำรงพระยศ เปนนายรอยตรีนอกกอง กรมทหารมหาดเล็กรักษาพระองค ตอมาไดเลื่อนขึ้นเปนนายรอยโท และเปนนายทหารนอกกองกรมทหารปนใหญรักษาพระองคดวย ครั้นเสด็จฯ นิวัติประเทศไทย ทรงเขารับราชการในตำแหนงนายทหารคนสนิทของจอมพลสมเด็จพระอนุชาธิราช เจาฟาจักรพงษภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ เสนาธิการทหารบก ตอมาทรงไดรับพระราชทานเลื่อนขึ้นเปนผูบังคับ กองรอยที่ ๒ ทหารปนใหญที่ ๑ รักษาพระองค และดำรงพระยศเปนนายรอยเอก แลวทรงยายไปประจำ กรมบัญชาการกองทัพนอยที่ ๒ ในตำแหนงนายทหารฝายเสนาธิการกับทั้งไดเลื่อนพระยศเปนนายพันตรี ตำแหนงผูบังคับการ โรงเรียนนายรอยชั้นประถม


10 ในระยะแรกที่ทรงรับราชการทหาร เสด็จประทับ ณ วังพญาไทรวมกับสมเด็จพระบรมราชชนนี นอกจากนี้สมเด็จเจาฟาฯ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถประทานบานทาเตียนใหเปนที่ประทับ อีกแหงหนึ่งดวย ทรงผนวช ตลอดระยะเวลาที่ผานมา พระองคทรงปฏิบัติราชการสนองพระเดชพระคุณในตำแหนง หนาที่ตาง ๆ มาดวยความเรียบรอย จนกระทั่งพุทธศักราช ๒๔๖๐ ทรงลาราชการเพื่อทรงผนวช ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยมีสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงเปนสมเด็จพระอุปชฌายแลวเสด็จประทับจำพรรษา ณ พระตำหนักทรงพรต วัดบวรนิเวศวิหาร ในระหวางนั้นไดทรงศึกษาพระพุทธธรรมลึกซึ้งพอที่จะทรงพระนิพนธเรียงความแกกระทูธรรม ทรงไดรับ รางวัล ๓ เรื่อง คือ เรื่อง “คนผูไดรับการฝกหัดแลวเปนผูประเสริฐในมวลมนุษย” เรื่อง “โลกอันเมตตา ค้ำจุนไว” และ “ความรูจักพอดียังประโยชนใหสำเร็จทุกเมื่อ” ซึ่งเปนเครื่องพิสูจนวาทรงสามารถ ทรงพระอักษร (เขียน) ภาษาไทยไดอยางกระชับไดใจความแจมแจง อภิเษกสมรส เมื่อทรงลาผนวชและเสด็จกลับเขารับราชการทหารตามเดิมแลว พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจาอยูหัว จึงมีพระมหากรุณาตรัสขอหมอมเจาหญิงรำไพพรรณี พระธิดาในพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ และทรงประกอบพระราชพิธีอภิเษกสมรสพระราชทาน ณ พระที่นั่งวโรภาสพิมาน พระราชวังบางปะอิน เมื่อวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๔๖๑ หลังจากการอภิเษกสมรสแลว พระองคยังทรงปฏิบัติราชการสนองพระเดชพระคุณ ในตำแหนงหนาที่ตางๆ มาดวยความเรียบรอย แตขณะเดียวกันพระพลานามัยของพระองคไมสมบรูณนัก ทรงพระประชวรอยูเสมอ จนกระทั่งป พ.ศ. ๒๔๖๓ แพทยเห็นวาจำเปนตองเสด็จพระราชดำเนิน ไปรักษาพระองคในประเทศที่มีอากาศเย็น พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวจึงพระราชทาน พระบรมราชานุญาตใหเสด็จพระราชดำเนินไปรักษาพระองคในยุโรป2 9 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว นับวาเปนชวงหัวเลี้ยวหัวตอ ทางการเมืองภายในประเทศที่สำคัญยิ่ง กลาวคือ เปนสมัยแหงแนวความคิดทางการเมือง เกี่ยวกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ที่เปนไปอยาง กวางขวางและเริ่มรุนแรงยิ่งขึ้นเรื่อย ๆ แมวาในรัชกาลกอนแนวความคิดทางการเมืองเชนนี้จะไดเกิดขึ้น มาแลวก็ตาม แตก็เปนไปในวงจำกัดเฉพาะในหมูเจานายและขุนนางชั้นสูงเทานั้น แตเมื่อมาถึงรัชกาล พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวนั้น ความคิดเห็นในเรื่องของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย 9 สำนักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร, สำนักวิชาการ, “๑๒๐ ป พระมหากษัตริยนักประชาธิปไตย,” หอสมุดรัฐสภา, สืบคนเมื่อวันที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๖๖, https://library.parliament.go.th/sites/default/f iles/assets/files/flipbooks/2556_120ye arsRamaVII/2556_120yearsRamaVII/index.html#page=1.


11 อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ไดแพรหลายไปสูประชาชนในเมืองหลวงอยางกวางขวาง ทั้งนี้ เนื่องมาจากกระแสอารยธรรมตะวันตกที่ไดหลั่งไหลสูประเทศไทยมากขึ้นในทุก ๆ ดาน ไมวาจะเปน ดานเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองประการหนึ่ง และอีกประการหนึ่งก็เนื่องมาจากผลของ “นโยบาย พัฒนาคน” เพื่อเขารับราชการของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ซึ่งพระองคทรงสงเด็กไทย ออกไปศึกษายังตางแดน โดยเฉพาะประเทศที่มีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยในยุโรป ดวยเหตุนี้ เองบรรดาเด็กไทยเหลานั้น จึงไดซึมซาบรับเอาแนวความคิดทางการเมืองการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขของตะวันตกกลับสูบานเกิดเมืองนอนดวย อยางไมรูตัว ครั้นรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว เด็กไทยเหลานั้นไดสําเร็จการศึกษา กลับมายังประเทศไทย และแยกยายกันไปรับราชการตามกระทรวง ทบวง กรมตาง ๆ ตามสาขาวิชาที่ได เลาเรียนมา แตสิ่งหนึ่งที่เด็กไทยเหลานั้นหลายคนไดจดจําฝงแนนอยูในหัวใจ คือ แนวความคิดที่จะ จัดการเปลี่ยนแปลงการปกครองประเทศใหเจริญรุงเรืองเยี่ยงประเทศประชาธิปไตยตะวันตกทั้งหลาย ที่ตนไปพบเห็นมา ดังนั้น กระแสเสียงเรียกรองใหมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองประเทศไปสู การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข โดยมีรัฐธรรมนูญ เปนกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ มีรัฐสภาเปนองคกรตัวแทนของประชาชน เพื่อเขามามีสวนรวม ในการปกครองประเทศดวยนั้นจึงไดเริ่มดังขึ้นเรื่อย ๆ ในหมูขาราชการและผูที่มีการศึกษาดีตลอดจน ประชาชนทั่วไป ผลผลิตของ “นโยบายพัฒนาคน” เพื่อรับราชการ ประกอบกับพระบาทสมเด็จพระปกเกลา เจาอยูหัวทรงสําเร็จการศึกษามาจากประเทศอังกฤษ ซึ่งเปนแมแบบของการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขแบบรัฐสภา ทำใหพระองคทรงเขาพระราชหฤทัย ถึงแนวคิดและวิถีทางการเมืองในแนวของการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย ทรงเปนประมุขเปนอยางดี อีกทั้งยังทรงเชื่อมั่นวาการปกครองในแนวทางนี้จะสามารถแกไขปญหาตาง ๆ ประเทศไทยไดและในเวลาตอไปภายหนาประเทศไทยก็จะตองรับเอาการปกครองแบบนี้มาใช อยางหลีกเลี่ยงไมได ขณะเดียวกันก็ทรงตระหนักถึงขอเท็จจริงของประเทศในขณะนั้นวา การที่จะนําเอา การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขมาใชอยางทันทีทันใด โดยที่ประชาชนยังไมมีความรูความเขาใจในระบอบการปกครองแบบใหมดีพอนั้นก็ออกจะเปนผลราย มากกวาผลดีดังนั้น จึงทรงมีพระราชประสงคใหมีการดำเนินการเปนชั้น ๆ ไป เพื่อปูพื้นฐานเตรียมการที่จะ นำเอาการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขมาใชกลาวคือ ในดานของการปลูกฝงใหความรูทางการเมืองแกประชาชนนั้น ทรงสนับสนุนและปรับปรุงการปกครอง ทองถิ่น (Local Government) เชน สุขาภิบาลซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงวางรากฐาน เอาไวใหแผขยายออกไปกวางขวางยิ่งขึ้นเสียกอน และในขณะเดียวกันการบริหารบานเมืองระดับสูงก็ได


12 มีการเปลี่ยนแปลงสถาบันทางการเมืองที่มีอยูในสภาพที่พรอมจะรับการเปลี่ยนแปลงในโอกาสตอไป ซึ่งสถาบันทางการเมืองที่มีอยูและไดตั้งขึ้นใหมในรัชกาลที่สำคัญนั้นก็คือ อภิรัฐมนตรีสภา เสนาบดีสภา และสภากรรมการองคมนตรี อภิรัฐมนตรีสภา เปนสถาบันทางการเมืองที่พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ทรงตั้งขึ้นมา ใหมภายหลังที่เสด็จขึ้นครองราชสมบัติไดเพียง 2 วัน เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 โดยมีวัตถุประสงคที่จะใหเปนองคกรที่ประสานรัฐประศาสโนบายใหเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน ซึ่งตามที่เคย เปนมานั้น พระมหากษัตริยทรงมีคณะที่ปรึกษาอยู 2 คณะ คือ “องคมนตรี” ซึ่งตั้งเอาไวเปนจำนวนมากสำหรับทรงปรึกษาขอราชการเฉพาะกิจเฉพาะอยาง และ “เสนาบดีสภา” ซึ่งประกอบขึ้นดวยเสนาบดีกระทรวงตาง ๆ หากพิจารณาดูการบริหารประเทศในขณะนั้นจะเห็นไดวา อำนาจการบริหารนั้นตกอยูกับ องคพระมหากษัตริยโดยมีเสนาบดีแตละกระทรวงเปนผูรับสนองนโยบายในดานการบริหารมาปฏิบัติ ทำใหคณะเสนาบดีไมมีความรับผิดชอบรวมกัน เพราะตางก็มุงแตงานและผลประโยชนของกระทรวง ที่ตนดูแลอยูเทานั้น ยังผลใหการบริหารประเทศไมเปนไปในทางเดียวกัน ดังนั้น การตั้งอภิรัฐมนตรีสภาขึ้น เพื่อที่จะใหเปนองคกรที่กำหนดนโยบายของรัฐ จึงเปนวิธีการแกไขระบบการปกครองประเทศ ใหเหมาะสมขึ้นอีกวิถีทางหนึ่ง ดวยการนำเอาการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย ทรงเปนประมุขมาใช นอกจากนี้อภิรัฐมนตรีสภายังจะเปนหลักประกันมิใหพระมหากษัตริยทรงใช พระราชอำนาจแบบอัตตาธิปไตย สำหรับขอบเขตหนาที่และลักษณะการดำเนินการของอภิรัฐมนตรีสภานั้น อภิรัฐมนตรี จำนวน 3 - 6 คน มีหนาที่เปนที่ปรึกษาราชการแผนดินทั้งปวงเปนประจำของพระมหากษัตริย แตไมมี หนาที่บังคับบัญชาสั่งราชการตาง ๆ ในการประชุมแตละครั้งนั้นจะตองมีอภิรัฐมนตรีมาประชุมอยางนอย 3 คน จึงครบองคประชุม และพระมหากษัตริยจะเสด็จเปนองคประธานของที่ประชุม ซึ่งตามปกตินั้น จะประชุมกันทุกสัปดาห เพื่อพิจารณานโยบายที่เสนาบดีกระทรวงตาง ๆ ไดเสนอขึ้นมา แตถึงอยางไรก็ตาม ผลการพิจารณาจะมีผลทางการบริหารไดก็โดยผานพระบรมราชวินิจฉัยเทานั้น เสนาบดีสภา ในขณะที่ไดมีอภิรัฐมนตรีสภาเปนองคกรในการกำหนดนโยบายของรัฐแลว พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ยังไดทรงฟนฟูบทบาทของเสนาบดีสภาใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพื่อใหบรรลุจุดประสงคที่จะแกไขและปรับปรุงโครงสรางของการบริหารราชการแผนดิน การฟนฟู บทบาทเสนาบดีสภานั้นไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอมใหมีระเบียบวาระการประชุม มีการลงมติและการรายงานการประชุมทุกครั้งในลักษณะคลายคลึงกับการประชุมคณะรัฐมนตรี ในปจจุบันนี้โดยมีการประชุมทุกสัปดาห ซึ่งตามปกติมักจะเปนวันจันทรในการฟนฟูบทบาทครั้งนี้ ไดสงเสริมใหบรรดาเสนาบดีไดรวมมือรวมใจกันทำงานมากขึ้น ซึ่งแตเดิมนั้นการประชุมเสนาบดีสภา มักเปนไปตามพระบรมราชโองการ โดยไมมีระเบียบวาระการประชุมและกำหนดวันประชุมที่แนนอน


13 จึงทำใหการบริหารราชการแผนดินของบรรดาเสนาบดีตามกระทรวงตาง ๆ ไมสามารถประสานงาน กันไดดังที่กลาวมาแลว สภากรรมการองคมนตรีหลังจากที่ไดทรงตั้งอภิรัฐมนตรีสภาและฟนฟูบทบาทของ เสนาบดีสภาแลวพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ก็ไดทรงปรับปรุง “สภาที่ปรึกษาราชการ ในพระองค” ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงตั้งขึ้นเมื่อปพ.ศ. 2417 และเมื่อมาถึง รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว สภาที่ปรึกษาราชการนั้น มีสมาชิกถึง 227 คน ในครั้งนั้นไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอมใหเปลี่ยนสภาที่ปรึกษาราชการมาเปน สภากรรมการองคมนตรีโดยตรา “พระราชบัญญัติองคมนตรี พ.ศ. 2470” ขึ้น และทรงคัดเลือก องคมนตรีที่มีคุณวุฒิความสามารถดานตาง ๆ จำนวน 40 คน เขามาทำหนาที่เปนสภากรรมการชุดเล็ก เรียกวา “สภากรรมการองคมนตรี” ทั้งนี้ สภากรรมการองคมนตรีนี้เปนสถาบันทางการเมือง ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวมีพระราชประสงคที่จะใหเปนที่ฝกฝนและเตรียมการสำหรับ การมีรัฐสภาตอไปในภายภาคหนา อีกทั้งพระราชบัญญัติองคมนตรีพ.ศ. 2470 ไดระบุเอาไววาใหกรรมการองคมนตรี เลือกกันเองเปนสภานายก 1 คน ซึ่ง “สภานายก” นี้จะทำหนาที่เปนประธานสภาองคมนตรี และมีอุปนายก 1 คนทำหนาที่เปนรองประธานสภากรรมการองคมนตรีเชนเดียวกันกับประธาน และรองประธานสภาผูแทนราษฎรในสมัยปจจุบันนี้สวนผูชวยเหลือประธานสภาองคมนตรี และรองประธานฯ นั้น ทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอมใหขาราชการในกรมราชเลขาธิการ เปนเลขาธิการองคมนตรีซึ่งเทียบเทาเลขาธิการรัฐสภาในสมัยนี้นั่นเอง ในการประชุมกรรมการ องคมนตรีทุกครั้งจะตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวา 15 คน จึงจะถือวาครบองคประชุม โดยปกติ จะประชุมกันทุกวันพุธของสมัยประชุม ซึ่งมี 2 สมัย คือ สมัยแรกตั้งแตตนเดือนมิถุนายนถึงปลายเดือน กันยายน และสมัยที่สองตั้งแตเดือนพฤศจิกายนถึงปลายเดือนกุมภาพันธ แตในกรณีที่มีราชการดวน สภานายกก็สามารถเรียกประชุมไดแมวาจะไมอยูในสมัยประชุม ระเบียบวิธีการที่ใชในการดำเนินการ ประชุม ตลอดจนการลงมติก็มีหลักการคลายกับการประชุมรัฐสภาในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุขทุกประการ อนึ่ง เพื่อเปนการปองกันความหวาดกลัวในการวิพากษวิจารณการดำเนินการบริหาร ประเทศของพระเจาแผนดิน พระราชบัญญัติองคมนตรีจึงมีบทบัญญัติใหมีเอกสิทธิ์คุมครองกรรมการ องคมนตรีทุกคนเหมือนกันกับที่สมาชิกสภาผูแทนราษฎรในระบอบประชาธิปไตยไดรับเอกสิทธิ์นี้ และไดครอบคลุมไปถึงบุคคลภายนอกที่สภากรรมการองคมนตรีไดเชิญมาชี้แจงหรือแสดงความคิดเห็น ในกรณีตาง ๆ ดวย ซึ่งเรื่องเหลานี้คือ วิถีทางแหงความพยายามที่จะนำเอาวิธีการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขเขามาใชในสภากรรมการองคมนตรี


14 นอกจากนี้ยังมีการตั้งอนุกรรมการขึ้นมาเพื่อพิจารณาเรื่องที่สภากรรมการองคมนตรี จะประชุมปรึกษากันเหมือนกับหลักการประชุมสภาผูแทนราษฎรในสมัยนี้โดยอนุกรรมการ ที่สภากรรมการองคมนตรีตั้งขึ้นเปน Ad hoc Committee นี้จะทำหนาที่รวบรวมพิจารณาความเห็น ในเรื่องตาง ๆ ที่ไดรับมอบหมายมาเพื่อนำไปเสนอตอที่ประชุมใหญอีกครั้งหนึ่ง อนุกรรมการนี้มีอำนาจ ที่จะเชิญเจากระทรวงหรือบุคคลภายนอกมาชี้แจงขอเท็จจริงและใหความเห็นเกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ ไดโดยมีเอกสิทธิ์คุมครองเชนเดียวกันกับกรรมการองคมนตรี การประชุมสภาองคมนตรีนั้นไดถือเอารูปแบบของการประชุมสภาผูแทนราษฎร แหงประเทศอังกฤษมาเปนตนแบบทุกประการ อยางไรก็ตาม พระราชบัญญัติองคมนตรีก็เปนเพียง แคการเตรียมการขั้นแรกสำหรับการปกครองระบอบประชาธิปไตยเทานั้น หาไดเปนตัวรัฐธรรมนูญ ที่แทจริงแตอยางใด ถึงกระนั้นองคมนตรีแตละคนก็สามารถออกความคิดเห็น และทำหนาที่ของตน ไดอยางอิสระเสรีดังนั้น เมื่อมีการประชุมสภากรรมการองคมนตรีไปไดระยะหนึ่งก็เกิดมี“ฝายคาน” ขึ้นมาเองโดยธรรมชาติซึ่ง “ฝายคาน” นี้มีบุคคลสำคัญ ๆ หลายทานรวมอยู และผูที่มีบทบาทสำคัญ ในกลุมนี้เปนอยางมากอาทิพระยามโนปกรณนิติธาดาอดีตนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทย เมื่อไดมี การเปลี่ยนแปลงเปนการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข วิวัฒนาการในแนวทางดังกลาวนี้เปนที่พอพระราชหฤทัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว เปนอยางมาก และทรงวางพระองคใหเปนแบบอยางที่ดีโดยไมเขาไปควบคุมการดำเนินการหรือแสดง ความคิดเห็นในการตัดสินปญหาตาง ๆ ของสภากรรมการองคมนตรี ทำใหการปฏิบัติหนาที่ของ สภากรรมการองคมนตรีดำเนินไปในวิถีทางที่สอดคลองกับการปกครอง ซึ่งองคพระมหากษัตริย อยูภายใตรัฐธรรมนูญยิ่งขึ้น นอกจากนั้น สภากรรมการองคมนตรีมิไดทําหนาที่เพียงแคการออกกฎหมาย พระราชบัญญัติตาง ๆ ตามหนาที่ฝายนิติบัญญัติเทานั้น แตยังมีบทบาทในการถกเถียงและวิเคราะห ปญหาอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับการบริหารประเทศอีกดวย3 10 รัฐธรรมนูญฉบับรางในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช ในการศึกษาหาความรูเกี่ยวกับ ระบอบการปกครองซึ่งเหมาะสมกับประเทศไทยที่สุดนั้น พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว มีพระราชประสงคที่จะมีที่ปรึกษาทางกฎหมายและการปกครอง ผูทรงคุณวุฒิที่มีความสามารถมาก และเปนที่ยกยองทั่วไป คือ พระยากัลยาณไมตรี (Dr. Francis B. Sayre) ทรงชักชวนใหกลับมารับ ราชการในประเทศไทย ในป พ.ศ. ๒๔๖๙ เมื่อพระยากัลยาณไมตรีเดินทางมาเยือนประเทศไทยนั้น พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวไดทรงมีพระราชหัตถเลขาถึงพระยากัลยาณไมตรี (Dr. Francis B. Sayre) เมื่อวันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๔๖๙ เกี่ยวกับสถานการณดานการปกครองและการเมืองของประเทศไทย ทรงมีพระราชประสงคจะไดคำตอบและขอคิดเห็นจากพระยากัลยาณไมตรี (Dr. Francis B. Sayre) โดยทรงประมวลปญหาตาง ๆ แลวตั้งเปนพระราชปุจฉารวม ๙ ขอ ทรงใหหัวขอเรื่องวา “Problems of Siam” 10 สำนักงานเลขาธิการรัฐสภา, ๖๐ ป รัฐสภาไทย, (กรุงเทพฯ: อักษรสัมพันธ, 2๕๓๕,) ๒๒ - ๓๐.


15 ซึ่งพระราชหัตถเลขาและพระราชปุจฉาดังกลาวนี้เปนภาษาอังกฤษ พระราชปุจฉา ๒ ขอแรกวาดวย ปญหาเกี่ยวกับการสืบราชสมบัติและมาตรการที่จะทำใหแนใจไดวา พระมหากษัตริยองคที่จะ สืบราชสมบัติตอไปนั้นทรงมีพระปรีชาสามารถ ปญหาขอที่ ๓ และ ๔ เปนขอปรึกษาเกี่ยวกับความพรอม และความเหมาะสมของประเทศไทยที่จะเปลี่ยนแปลงรูปการปกครองเปนแบบมีรัฐสภา ขอที่ ๕ เกี่ยวกับ บทบาทของอภิรัฐมนตรีสภา ขอที่ ๖ และ ๗ ทรงปรึกษาเกี่ยวกับความเหมาะสมในการ มีนายกรัฐมนตรีและสภานิติบัญญัติ ขอที่ ๘ ทรงขอความคิดเห็นเกี่ยวกับนโยบายเศรษฐกิจและการเงิน ของประเทศ ขอที่ ๙ ปญหาเกี่ยวกับมาตรการในการทำใหชาวจีนที่เขามาอยูในประเทศไทยกลายเปนคนไทย4 11 ทั้งนี้หนังสือที่พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ไดทรงมีพระราชหัตถเลขาถึงพระยากัลยาณไมตรี (Dr. Francis B. Sayre) เมื่อวันที่ ๒๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๖๙ รายละเอียดปรากฏอยูในภาคผนวก (ก) ตอมาพระยากัลยาณไมตรี (Dr. Francis B. Sayre) ไดมีหนังสือกราบบังคมทูลตอบ พระราชปุจฉา เมื่อวันที่ ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๖๙ ทานไดออกตัววาปญหาทั้งหมดนี้เปนกิจการภายใน ของประเทศไทย ฉะนั้น อาจมีความคิดของบุคคลอื่นดีกวาของทานก็ได พระยากัลยาณไมตรีไดรวม ขอมูลตอบเปน ๓ หัวขอใหญ คือ ขอ ๑ การสืบราชสันตติวงศ ขอ ๒ โครงสรางของรัฐบาล และขอ ๓ เรื่องเศรษฐกิจและการคลัง สวนเรื่องที่เกี่ยวกับชาวจีนในประเทศไทยนั้น พระยากัลยาณไมตรีตอบวา ทานยังไมสามารถกราบบังคมทูลได เพราะตองศึกษาใหมากกวานี้5 12 ทั้งนี้หนังสือที่พระยากัลยาณไมตรี (Dr. Francis B. Sayre) ไดมีหนังสือกราบบังคมทูลตอบพระราชปุจฉา เมื่อวันที่ ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๖๙ รายละเอียดปรากฏอยูในภาคผนวก (ข) พรอมกันนั้นพระยากัลยาณไมตรี (Dr. Francis B. Sayre) ไดทูลเกลาทูลกระหมอมถวาย รางรัฐธรรมนูญฉบับสั้น ๆ มี ๑๒ มาตรา เพื่อแสดงใหเห็นโครงสรางของรัฐบาล ใชชื่อวา “Outline of Preliminary Draft”6 13 รายละเอียดปรากฏอยูในภาคผนวก (ค) ในเวลาตอมาพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ไดทรงสงสำเนาพระราชหัตถเลขา และหนังสือของพระยากัลยาณไมตรีไปยังสมาชิกอภิรัฐมนตรีสภา เพื่อใหแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องนี้ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ อภิรัฐมนตรีพระองคหนึ่งไดทรงบันทึก แสดงความคิดเห็น (Memorandum) ของพระองคมีบางประการที่ขัดแยงกับของพระยากัลยาณไมตรี 11 สมคิด โชติกวณิชย, กรมศิลปากร, พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกลาเจาอยูหัว, พิมพครั้งที่ ๒, (กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน) ๖๕/๑๖ หมู ๔ ซอยวัดชัยพฤกษา มาลา เขตตลิ่งชัน ๑๐๑๗๐, ๒๕๓๗), ๑๒๕. 12 เรื่องเดียวกัน, ๑๒๕. 13 ไฉไล ชาญเฉลิม, เจาฟาประชาธิปก ราชันผูนิราศ, (กรุงเทพฯ: หางหุนสวนจำกัด ป. สัมพันธพาณิชย, ม.ป.ป.), ๑๒๕ - ๑๒๘.


16 (Dr. Francis B. Sayre) รวมความไดวายังไมถึงเวลาที่ประเทศไทยจะปกครองแบบรัฐสภา 7 14 รายละเอียดปรากฏอยูในภาคผนวก (ง) การเตรียมการพระราชทานรัฐธรรมนูญ ปญหาหลาย ๆ ดานที่เกิดขึ้นในขณะนั้นทำให พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวทรงตระหนักพระราชหฤทัยเปนอยางดีวา ตอไปในภายหนา ประเทศไทยจะตองยอมรับเอาการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มาใชอยางไมมีทางหลีกเลี่ยงได แตก็ยังทรงตระหนักถึงสภาพความเปนจริงของประเทศไทยในขณะนั้นวา ประชาชนยังไมมีการศึกษาและความรูความเขาใจทางการเมืองอยางเพียงพอที่จะเขามามีสวนรวม ในการบริหารประเทศตามการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ดังนั้น พระองคจึงทรงแกไขปญหาทางการเมืองขณะนั้นดวยการสรางสรรคสถาบันทางการเมือง ที่สอดคลองกับแนวความคิดประชาธิปไตย ดังเชนที่ไดมีการตั้งสภากรรมการองคมนตรี เพื่อเปดโอกาส ใหขาราชการ ตลอดจนบุคคลผูมีความรูความสามารถในสาขาอาชีพตาง ๆ ที่มิใชพระราชวงศและขุนนาง ระดับสูงไดเขามามีสวนรูเห็น และไดศึกษาวิธีการบริหารราชการแผนดินมากขึ้น นอกจากนี้ยังทรง มอบหมายใหหลายฝายไปศึกษาถึงรูปแบบและวิธีการตาง ๆ ในการที่จะจัดตั้งเทศบาล เพื่อใหราษฎร ไดคุนเคยกับการปกครองตนเองในระดับทองถิ่นอยางคอยเปนคอยไปเสียกอน อยางไรก็ตาม กระแสพลังของการเรียกรองความตองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขนับวามีแตจะรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ จนอาจจะถึงขั้นมีการใชกำลัง เขาเรียกรองและลมลางระบอบการปกครองแบบเดิม สัญญาณอันตรายเหลานี้ทำใหพระบาทสมเด็จ พระปกเกลาเจาอยูหัวทรงตัดสินพระราชหฤทัยอยางแนวแนที่จะทรงเปนผูนำในการเปลี่ยนแปลง การปกครองประเทศ ดวยการที่จะทรงเปนผูพระราชทานรัฐธรรมนูญดวยพระองคเอง มากกวาที่จะให เกิดการลมลางการปกครองดวยความรุนแรง โดยทรงมีพระราชกรณียกิจที่สำคัญตอการเตรียมการ พระราชทานรัฐธรรมนูญพอสรุปไดคือ ในป พ.ศ. 2472 ไดทรงมีพระบรมราชโองการใหเสนาบดีกระทรวงการตางประเทศ ทำการศึกษาเกี่ยวกับสถาบันทางการเมืองในระบอบรัฐสภาที่ฮอลันดานำมาใชในการปกครองประเทศชวา ซึ่งเปนเมืองในอาณานิคมของประเทศฮอลันดา ประการตอมา คือ เมื่อครั้งที่เสด็จประพาสประเทศสหรัฐอเมริกาในป พ.ศ. 2474 เพื่อทรงรักษาพระเนตรนั้น พระองคทานไดพระราชทานสัมภาษณหนังสือพิมพที่นั่นวาจะพระราชทาน รัฐธรรมนูญเปนหลักในการปกครองประเทศแกปวงชนชาวไทย 14 สมคิด โชติกวณิชย, กรมศิลปากร, พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกลาเจาอยูหัว, ๑๒๕.


17 และประการสุดทายนั้น ไดแกการที่ทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอมใหเสนาบดี กระทรวงการตางประเทศดำเนินการรางรัฐธรรมนูญ เพื่อเตรียมการพระราชทานแกชาวไทยในวาระที่จะ ครบรอบ 150 ปของพระราชวงศจักรีในวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 24758 15 รางรัฐธรรมนูญที่พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรด กระหมอมใหรางขึ้นนี้พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวทรงมีพระราชปณิธานอยางแรงกลาที่จะเห็น ประเทศไทยมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ในรัชกาล ของพระองค ไดทรงพระราชอุตสาหะใหมีการพัฒนาการเมืองอยางมีขั้นตอนและสรางสถาบัน ทางการเมืองขึ้น ในขณะที่สถาบันที่ทรงสรางกำลังดำเนินการไปตามแนวทางนั้น พระบาทสมเด็จ พระปกเกลาเจาอยูหัวทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอมใหเตรียมการรางรัฐธรรมนูญอันเปน กฎหมายสูงสุดของการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขไปพรอมกัน แรกทีเดียวมีพระราชดำริวาจะพระราชทานในวาระที่มีงานพระราชพิธีฉลองกรุงเทพมหานครครบรอบ ๑๕๐ ป ในปพ.ศ. ๒๔๗๕ การเตรียมพระราชทานรัฐธรรมนูญนี้เปนไปอยางเปดเผย ดังจะเห็นไดจาก ป พ.ศ. ๒๔๗๔ ขณะที่เสด็จไปรักษาพระเนตรและเยี่ยมประเทศสหรัฐอเมริกาไดพระราชทานสัมภาษณ แกหนังสือพิมพวา ทรงเตรียมการที่จะใหประชาชนมีสวนรวมในการปกครองประเทศโดยเปลี่ยนแปลง การปกครองเปนการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข หนังสือพิมพ อเมริกันฉบับหนึ่งไดเขียนภาพการตูนเปนภาพพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ทรงพระมหาพิชัยมงกุฎ ประทับเหนือพระราชอาสน กำลังพระราชทานมวนกระดาษซึ่งหมายถึงรัฐธรรมนูญแกราษฎรไทย คนหนึ่ง เมื่อเสด็จกลับจากประเทศสหรัฐอเมริกา ทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอมให พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล) ปลัดทูลฉลองกระทรวงการตางประเทศ ผูสำเร็จเนติบัณฑิต จากประเทศอังกฤษ และนายเรมอนด บี. สตีเวนส (Raymond B. Stevens) ที่ปรึกษากระทรวง การตางประเทศ ผูสำเร็จวิชากฎหมายจากมหาวิทยาลัยฮารวารด (Harvard) เคยเปนสมาชิกสภาผูแทน รัฐนิวแฮมเชียร สังกัดพรรคดีโมแครต รองประธานคณะกรรมการเดินเรือแหงสหรัฐ และเปนผูแทน อเมริกันในสภาการขนสงทางทะเลของฝายสัมพันธมิตรในระหวางสงครามโลกครั้งที่ ๑ ทั้งสองทานนี้ เขาเฝาทูลละอองธุลีพระบาทและมีพระบรมราชโองการใหเปนกรรมการรางรัฐธรรมนูญ พระยาศรีวิสารวาจา และนายเรมอนด บี. สตีเวนส ดำเนินการรางรัฐธรรมนูญเสร็จในวันที่ ๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๔ รางรัฐธรรมนูญฉบับนี้รางเปนภาษาอังกฤษใชชื่อวา “An Outline of Changes in the Form of Government” รางดังกลาวไดกำหนดรูปแบบของการปกครอง ความสัมพันธระหวาง อำนาจบริหารและนิติบัญญัติ ตลอดจนการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรไวดวย ทั้งนี้ รายละเอียด ดังกลาวปรากฏอยูในภาคผนวก (จ) 15 เรื่องเดียวกัน, ๓๐ - ๓๒.


18 พรอมกันนี้พระยาศรีวิสารวาจา และนายเรมอนด บี. สตีเวนส ไดทำบันทึกความเห็นของตน แสดงเหตุผลวายังไมถึงเวลาสมควรที่จะมีการประกาศใชรัฐธรรมนูญ จนกวาประชาชนจะมีการศึกษาและ มีประสบการณในการปกครองตนเองอยางเพียงพอเสียกอน ทั้งนี้รายละเอียดดังกลาวปรากฏอยูใน ภาคผนวก (ฉ) ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวโปรดใหสงสำเนารางรัฐธรรมนูญ ตลอดจน ความเห็นของพระยาศรีวิสารวาจาและนายเรมอนด บี. สตีเวนสใหแกอภิรัฐมนตรี ในวันที่ ๑๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๔ เพื่อประชุมพิจารณาในที่ประชุมอภิรัฐมนตรีสภา แตไมปรากฏหลักฐานวาไดมีการประชุม พิจารณากันอยางไรหรือไม เขาใจวาหากมีการประชุมก็คงไดรับการคัดคาน ฉะนั้น จึงไมมีการ พระราชทานรัฐธรรมนูญในพระราชพิธีฉลองพระนครครบ ๑๕๐ ปในเดือนเมษายน พ.ศ. ๒๔๗๕9 16 เมื่อมีกระแสความคิดคัดคานออกมาเชนนี้อีกทั้งพระองคเองก็ทรงไมแนพระราชหฤทัยวา ระบอบการปกครองในระบบรัฐสภาจะใชไดผลเพียงใดในสภาพที่ประชาชนยังไมพรอมเชนนี้ดังนั้น พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว จึงทรงระงับแผนการที่จะ “พระราชทานรัฐธรรมนูญ” เอาไวชั่วคราวกอนจนกวาประชาชนจะพรอมดวยประการทั้งปวง และในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 “คณะราษฎร” ซึ่งประกอบขึ้นดวยขาราชการฝายทหารบก ทหารเรือ และพลเรือน จำนวน 99 คน ไดเขาทําการยึดอำนาจการปกครองประเทศ เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองเปนการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข โดยมีรัฐธรรมนูญเปนหลักในการปกครอง ประเทศ บุคคลที่มารวมกันเปนคณะราษฎรนี้เกือบทั้งหมดเปนขาราชการที่ไดรับการศึกษามาอยางดี จากประเทศตะวันตก มีความตองการที่จะนำเอาการปกครองดวยระบบรัฐธรรมนูญใหราษฎรมีสิทธิ มีเสียงในการปกครองมาใชแทน โดยมีวัตถุประสงคที่จะนำการปฏิวัติทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ใหมีสภาพดีขึ้นเหมือนเชนประเทศที่ใชระบอบการปกครองประชาธิปไตย เปาหมายสำคัญในการ เปลี่ยนแปลงการปกครองของคณะราษฎรครั้งนี้ จึงอยูที่การนำการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขมาใช โดยมีรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุด และมีพระมหากษัตริย เปนประมุขของประเทศภายใตรัฐธรรมนูญ อีกทั้งคณะราษฎรไดวางหลักการ 6 ประการ ที่ย้ำถึง อุดมการณที่จะดำเนินการตอไป ดังนี้ 1. จะตองรักษาความเปนเอกราชทั้งหลาย เชน เอกราชในทางการเมือง ในทางศาล ในทางเศรษฐกิจ ฯลฯ ของประชาชนเอาไวใหมั่นคง 2. จะตองรักษาความปลอดภัยภายในประเทศ ในการประทุษรายตอกันใหลดนอยลง 3. จะตองบำรุงความสุขสบายสมบูรณของราษฎรในทางเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลใหมจะจัดให ราษฎรมีงานทำทุกคน จะวางโครงสรางเศรษฐกิจแหงชาติไมปลอยใหราษฎรอดอยาก 16 สมคิด โชติกวณิชย, กรมศิลปากร, พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกลาเจาอยูหัว, ๑๙๙.


19 4. จะตองใหราษฎรมีสิทธิเสมอกัน 5. จะตองใหราษฎรมีเสรีภาพ มีความเปนอิสระ เมื่อเสรีภาพนี้ไมขัดตอหลัก 4 ประการ ดังกลาวขางตน 6. จะตองใหการศึกษาอยางเต็มที่แกราษฎร หลัก 6 ประการของคณะราษฎรดังกลาวนี้เปนประกาศอุดมการณของคณะราษฎร อยางเปดเผย ซึ่งถือไดวาเปนการประกาศนโยบายการบริหารมาตั้งแตแรกเริ่มทีเดียว อนึ่ง ตามที่ไดกลาวมาแลววา บรรดาผูนำของคณะราษฎรเกือบทั้งหมดเปนผูที่ไดรับ การศึกษามาอยางดีจากประเทศประชาธิปไตยตะวันตก มีทัศนะประชาธิปไตยแบบตะวันตก ดังนั้น จึงดำเนินนโยบายทางการเมืองแบบยุโรปตะวันตกแทนลักษณะการปกครองแบบเกา โดยไดกลาวถึงอำนาจอธิปไตยดวยการแบงเปนอำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ ตลอดจนยังแสดงใหเห็นถึงสายสัมพันธระหวางอำนาจฝายตาง ๆ เอาไวอยางชัดเจน10 17 ๒.๑.๒ หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองแผนดินและประกาศใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 ก็ไดมีการแตงตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรชุดแรก ซึ่งมีสมาชิกสองประเภท (จำนวนเทากัน) คือ สมาชิกประเภทที่ ๑ มาจากการเลือกตั้ง และสมาชิกประเภทที่ ๒ มาจากการแตงตั้ง ซึ่งวัตถุประสงค ของการแตงตั้งสมาชิกประเภทที่ ๒ เพื่อใหเปนพี่เลี้ยงคอยชวยเหลืองานของสมาชิกประเภทที่ ๑ ใหการทำงานเกิดประโยชนแกประเทศชาติและประชาชน จึงถือไดวา สมาชิกประเภทที่ ๒ คือ วุฒิสภา ชุดแรกของไทยที่พัฒนามาจากสภากรรมการองคมนตรีที่พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ทรงรื้อฟนองคมนตรีสภา (Privy Council) ที่ปรึกษาในพระองคพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยูหัวนั่นเอง ตอมาสมาชิกประเภทที่ ๒ นี้ ไดพัฒนาไปเปน “พฤฒสภา” ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๔๘๙ ที่กำหนดใหมาจากการเลือกตั้งทางออม แตอำนาจหนาที่ และวัตถุประสงคในการกำหนดใหมีขึ้นยังคงเดิม คือ เพื่อใหเปนสภายับยั้งหรือสภากลั่นกรองงาน คอยเหนี่ยวรั้งมิใหสภาผูแทนทำงานดานนิติบัญญัติเร็วเกินไปจนขาดความรอบคอบ รัฐธรรมนูญ จึงไดบัญญัติใหสมาชิกพฤฒสภามีคุณสมบัติสูงกวาสมาชิกสภาผูแทนราษฎรทั้งคุณวุฒิ และวัยวุฒิ กลาวคือ ตองมีอายุไมต่ำกวา ๔๐ ปบริบูรณ มีคุณวุฒิอยางต่ำปริญญาตรีหรือเทียบเทามาแลวไมต่ำกวา ๕ ป หรือเทียบเทาหรือเคยดำรงตำแหนงทางราชการมาแลวไมต่ำกวาหัวหนากอง หรือเทียบเทา หรือเคยเปนสมาชิกสภาผูแทนมาแลว มีวาระการดำรงตำแหนงคราวละ ๖ ป โดยวาระเริ่มแรกเมื่อครบ กำหนด ๓ ป ใหมีการเปลี่ยนสมาชิกจำนวนกึ่งหนึ่งโดยการจับสลากออก และผูที่ออกไปแลวมีสิทธิไดรับ 17 สำนักงานเลขาธิการรัฐสภา, ๖๐ ป รัฐสภาไทย, ๓๓ - ๓๔.


Click to View FlipBook Version