The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล ได้จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2564 ตามกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์การแบ่งส่วนราชการภายในสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ.2546 ข้อ 6 (1) ที่กำหนดให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มีอำนาจหน้าที่ จัดทำ นโยบายแผนพัฒนาและมาตรฐานการศึกษาให้สอดคล้องกับ นโยบาย มาตรฐานการศึกษา แผนการศึกษา แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยกระบวนการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล ได้ศึกษาวิเคราะห์บริบทที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย กรอบ ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561 - 2580) นโยบายรัฐบาลแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12(พ.ศ.2560 - 2564) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560 - 2579 นโยบายและจุดเน้น กระทรวงศึกษาธิการ นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน นโยบายการพัฒนาการศึกษา จังหวัดสงขลา เพื่อร่วมวิเคราะห์และประมวลผลบนพื้นฐานของข้อมูลสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน สภาพแวดล้อมภายนอกที่เป็นโอกาส และอุปสรรค สภาพแวดล้อมภายในที่เป็นจุดแข็ง จุดอ่อน รวมถึงกำหนด แนวทางการพัฒนาและผลวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล มา กำหนดเป็นแนวทางในการดำเนินงาน เน้นความพร้อม และการสร้างความเข้มแข็ง ของระบบการบริหารจัดการ แบบการมีส่วนร่วมทั้งองค์กร บูรณาการการบริหารงบประมาณเชิงยุทธศาสตร์ ยึดหลักธรรมาภิบาล ให้ ความสำคัญในด้านความโปร่งใส ถูกต้อง มีคุณธรรม รวมทั้งการกระจายอำนาจการบริหารจัดการให้บุคลากรทุก ระดับมีส่วนร่วมรับผิดชอบ ปรับปรุง พัฒนางานอย่างเป็นระบบโดยได้กำหนดทิศทางการพัฒนาการศึกษาจาก แผนพัฒนาการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล พ.ศ.2563 - 2565 มาจัดทำเป็น ทิศทางการดำเนินงานของปีงบประมาณ พ.ศ.2564 โดยสามารถสรุปทิศทางการพัฒนาการศึกษา ของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sesao16, 2021-03-26 03:41:17

แผนปฏิบัติการปี64

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล ได้จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2564 ตามกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์การแบ่งส่วนราชการภายในสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ.2546 ข้อ 6 (1) ที่กำหนดให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มีอำนาจหน้าที่ จัดทำ นโยบายแผนพัฒนาและมาตรฐานการศึกษาให้สอดคล้องกับ นโยบาย มาตรฐานการศึกษา แผนการศึกษา แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยกระบวนการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล ได้ศึกษาวิเคราะห์บริบทที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย กรอบ ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561 - 2580) นโยบายรัฐบาลแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12(พ.ศ.2560 - 2564) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560 - 2579 นโยบายและจุดเน้น กระทรวงศึกษาธิการ นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน นโยบายการพัฒนาการศึกษา จังหวัดสงขลา เพื่อร่วมวิเคราะห์และประมวลผลบนพื้นฐานของข้อมูลสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน สภาพแวดล้อมภายนอกที่เป็นโอกาส และอุปสรรค สภาพแวดล้อมภายในที่เป็นจุดแข็ง จุดอ่อน รวมถึงกำหนด แนวทางการพัฒนาและผลวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล มา กำหนดเป็นแนวทางในการดำเนินงาน เน้นความพร้อม และการสร้างความเข้มแข็ง ของระบบการบริหารจัดการ แบบการมีส่วนร่วมทั้งองค์กร บูรณาการการบริหารงบประมาณเชิงยุทธศาสตร์ ยึดหลักธรรมาภิบาล ให้ ความสำคัญในด้านความโปร่งใส ถูกต้อง มีคุณธรรม รวมทั้งการกระจายอำนาจการบริหารจัดการให้บุคลากรทุก ระดับมีส่วนร่วมรับผิดชอบ ปรับปรุง พัฒนางานอย่างเป็นระบบโดยได้กำหนดทิศทางการพัฒนาการศึกษาจาก แผนพัฒนาการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล พ.ศ.2563 - 2565 มาจัดทำเป็น ทิศทางการดำเนินงานของปีงบประมาณ พ.ศ.2564 โดยสามารถสรุปทิศทางการพัฒนาการศึกษา ของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล

41

6. จัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาคุณภาพชวี ิตทเี่ ปน็ มิตรกับสง่ิ แวดล้อม ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง และเป้าหมายการพัฒนาทยี่ ั่งยนื (Sustainable Development Goals : SDGs)

7. ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาทุกระดับ และจัดการศึกษา โดยใช้

เทคโนโลยีดิจทิ ัล (Digital Technology) เพ่อื พัฒนามงุ่ สู่ Thailand 4.0

แผนปฏิบัตริ าชการ

1. แผนปฏบิ ัติราชการ เรื่องท่ี 1 การจัดการศึกษาเพือ่ ความม่ันคงของสังคมและประเทศชาติ
1.1 เปา้ หมาย
ผู้เรียนมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี

พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมอื ง มีหลักคิดที่ถูกต้อง และเป็นพลเมืองดีของชาติ
มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม มีค่านิยมท่พี งึ ประสงค์ มจี ติ สาธารณะ รับผดิ ชอบต่อสังคมและผู้อืน่ ซ่ือสัตย์ สุจริต มัธยัสถ์
อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รกั ษาศลี ธรรม

1.2 ตวั ชวี้ ัด ค่าเปา้ หมาย

ที่ ตวั ชีว้ ัด คา่ เปา้ หมาย
2563 2564 2565

1 รอ้ ยละของผู้เรียนที่เขา้ ร่วมกจิ กรรมทีส่ ่งเสรมิ สนับสนนุ ในการสร้าง 80 80 85

ภมู คิ ้มุ กนั พร้อมรบั มือกับการเปลีย่ นแปลงและภยั คกุ คามรปู แบบใหม่

ในทุกรูปแบบ

2 ร้อยละของผู้เรียนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดน 80 80 85

ภาคใตท้ ไี่ ดร้ ับการพัฒนาทักษะอาชีพ เพ่ือการมงี านทำหรือนำไป

ประกอบอาชีพในท้องถิน่

1.3 แนวทางการพฒั นา
1.3.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบัน

หลกั ของชาติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข
1.3.2 ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยคุกคาม

รปู แบบใหม่
1.3.3 ยกระดับคุณภาพการศึกษาและสร้างเสริมโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษา

การพัฒนาทักษะ การสร้างอาชีพ และการใช้ชีวิตในสังคมพหุวัฒนธรรมในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัด
ชายแดนภาคใต้

1.3.4 สง่ เสรมิ และพัฒนาทกั ษะชวี ิตใหก้ บั ผู้เรียนทุกช่วงวยั เพอ่ื เปน็ ภูมิคุ้มกนั ความเสย่ี ง
ในการดำเนินชวี ิตทง้ั ปจั จบุ ันและอนาคต

1.4 แผนงาน/โครงการสำคญั
1.4.1 โครงการพัฒนาการศึกษาในเขตพฒั นาพิเศษ เฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้
1.4.2 โครงการโรงเรยี นประชารฐั จงั หวัดชายแดนภาคใต้
1.4.3 โครงการเสริมสร้างภูมคิ ุ้มกันเพ่ือสันตสิ ขุ ในพืน้ ท่จี ังหวัดชายแดนภาคใต้
1.4.4 โครงการป้องกนั และแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศกึ ษา
1.4.5 โครงการสรา้ งผนู้ ำด้วยกระบวนการลูกเสอื และสภานักเรยี น

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

42

1.4.6 โครงการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียน

2. แผนปฏบิ ตั ริ าชการ เร่ืองที่ 2 การจดั การศกึ ษาเพือ่ เพิ่มความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ
2.1 เป้าหมาย
ผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ศิลปะ ดนตรี กีฬา ภาษา และ

อน่ื ๆ ได้รับการพัฒนาอย่างเต็มตามศักยภาพ สร้างความสามารถในการแข่งขนั

2.2 ตัวช้ีวัด ค่าเปา้ หมาย

ที่ ตัวชวี้ ัด คา่ เปา้ หมาย
2563 2564 2565

1 ร้อยละของหลกั สูตรฝกึ อบรมวิชาชพี ระยะสน้ั ทต่ี อบสนองตอ่ การพัฒนา 10 10 10
กำลงั คนใน 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายเพมิ่ ข้นึ

2 รอ้ ยละของผลงานวจิ ัย นวตั กรรม เทคโนโลยี องค์ความรู้ และส่ิงประดษิ ฐ์ที่ 75 80 80

สามารถนำไปใชป้ ระโยชน์ หรือต่อยอดเชิงพาณิชย์

3 ร้อยละของสถานศึกษาในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษได้รบการพฒั นาการจัด 75 80 85

การศึกษาตามบรบิ ท

2.3 แนวทางการพฒั นา
2.3.1 ผลิตและพัฒนากำลงั คนให้มีทักษะ สมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดงาน

และการพฒั นาประเทศ
2.3.2 ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการวิจัย นวัตกรรม เทคโนโลยี องค์ความรู้ และ

ส่งิ ประดิษฐ์เพอื่ สนับสนนุ การพฒั นาประเทศ

2.4 แผนงาน/โครงการสำคญั
2.4.1 โครงการพัฒนากำลงั คน ด้านวิศวกรรมศาสตร์ เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมสนับสนุน

การลงทุนและเพมิ่ ขดี ความสามารถภาคอุตสาหกรรมในประเทศและภมู ภิ าค (การจัดตัง้ สถาบันโคเซน็ )
2.4.2 โครงการพัฒนาสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อรองรับเขตพัฒนาเศรษฐกิจ

ภาคตะวันออก ดา้ นภาษา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี และการประกอบอาชีพ 10 อตุ สาหกรรม
2.4.3 โครงการส่งเสริมทักษะวชิ าการวชิ าชีพ เชงิ นวัตกรรม

3. แผนปฏบิ ตั ริ าชการ เรือ่ งที่ 3 การพฒั นาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์
3.1 เป้าหมาย
3.1.1 ผ้เู รียนเป็นบุคคลแห่งการเรยี นรู้ คดิ รเิ รม่ิ และสร้างสรรค์นวตั กรรม มคี วามรู้ มีทักษะ มี

สมรรถนะตามหลักสูตร และคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 มีสุขภาวะที่เหมาะสมตามวัย มี
ความสามารถในการพึ่งพาตนเอง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเป็นพลเมือง พลโลกที่ดี
(Global Citizen) พรอ้ มกา้ วสสู่ ากล นำไปสกู่ ารสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ

3.1.2 ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ได้รับการพัฒนา
ศกั ยภาพตามสมรรถนะวชิ าชพี และสมรรถนะในศตวรรษที่ 21 รวมทั้งมจี รรยาบรรณตามมาตรฐานวชิ าชีพ

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

43

3.2 ตวั ชวี้ ัด คา่ เปา้ หมาย

ท่ี ตวั ช้ีวัด คา่ เปา้ หมาย

2563 2564 2565
80
1 รอ้ ยละของผเู้ รยี นปฐมวัยมพี ฒั นาการด้านรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ 80 80 3

สงั คม และสติปญั ญา 30,306

2 ร้อยละของนักเรียนที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษา 3 3 82
ระดบั ชาตขิ นั้ พน้ื ฐาน (O-NET) ร้อยละ 50 ขน้ึ ไป เพม่ิ ขึ้น 95
250
3 จำนวนผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพตาม 27,055 29,125 100
ความถนดั และความสามารถ (วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ทัศนศิลป์
นาฏศิลป์ ดนตรี กีฬา) 100

4 ร้อ ย ล ะ ของน ักเรีย นท่ีผ่า น กา รประ เมินค ุณ ลักษณะ 80 81 8
อันพึงประสงคต์ ามหลักสูตรระดับดขี ึ้นไป 8
80
5 รอ้ ยละของครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาไดร้ บั การสง่ เสริมและ 85 90
พัฒนาตามมาตรฐานวิชาชพี ครู 80

6 จำนวนสถานศึกษาท่ีได้รับการส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนา 200 200
ความสามารถดา้ นวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตรเ์ พม่ิ ขึน้

7 ร้อยละของครูสอนภาษาอังกฤษในระดับช้ันประถมศึกษา 100 100
และมธั ยมศกึ ษาไดร้ บั การพัฒนาและยกระดับความรภู้ าษาอังกฤษ
โดยใช้ระดับการพัฒนาทางดา้ นภาษา (CEFR) ตามเกณฑท์ ก่ี ำหนด

8 ร้อยละของสถานศึกษาที่สอนในระดับม.ต้น ที่ได้รับการเตรียม 100 100
ความพร้อม ด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ในการ

ประเมนิ ระดับนานาชาติตามโครงการ PISA

9 รอ้ ยละของสถานศึกษาท่ีจัดการเรยี นการสอนที่สรา้ งสมดุลทกุ ดา้ น - -
และมีการจดั การศึกษาเพือ่ พัฒนาพหปุ ญั ญารายบุคคล

10 รอ้ ยละของนกั เรียนที่ไดร้ บั การคัดกรองเพอ่ื พัฒนาพหุปญั ญา - -
รายบคุ คลเพ่ิมขึ้น

11 รอ้ ยละของผเู้ รียนไดร้ บั การพฒั นาใหม้ ีความรู้ สมรรถนะ หรอื 80 80
ทกั ษะอาชีพในด้านต่างๆ เพอ่ื การประกอบอาชีพ การดำรงชวี ิตอยู่ - -
ร่วมกันในสงั คมอย่างสอดคล้อง ตามสภาพความตอ้ งการและ
บริบทของแตล่ ะพนื้ ท่ี ตลอดจน ความท้าทายทเี่ ปน็ พลวัตรของโลก
ในศตวรรษท่ี 21

12 รอ้ ยละของสถานศกึ ษาทมี่ ผี ลการประเมนิ ตนเอง ในแตล่ ะ
มาตรฐานตามระบบการประกนั คณุ ภาพ อย่ใู นระดบั ดขี ้ึนไป

แผนปฏบิ ัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

44

3.3 แนวทางการพัฒนา
3.3.1 พัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา (แตกเป็นปฐมวัย ONET

PISA พัฒนาวทิ ยาศาสตร์)
3.3.2 พัฒนาผู้เรียนทุกช่วงวัยให้มีความรู้ และทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 และพัฒนา

ศกั ยภาพตามพหุปัญญา
3.3.3 พัฒนาผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา (การบริหารและจัดการศึกษาด้วยระบบ

คณุ ภาพ การนิเทศตดิ ตาม)
3.3.4 พฒั นาศกั ยภาพบุคลากรของสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษา เสริมสร้างความ

เข้มแข็งในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศด้านการจบการศึกษาสำหรับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและ
สถานศึกษา

3.3.5 พัฒนาระบบการดำเนินงานทะเบียน - วัดผล การจัดทำจัดเก็บเอกสารหลักฐานการ
จบการศึกษา การออกเอกสารสำคัญทางการศึกษา และการให้บริการข้อมูลทางการศึกษาของสำนักงาน
เขตพื้นที่การศกึ ษาและสถานศึกษา

3.4 แผนงาน/โครงการสำคญั
3.4.1 โครงการพัฒนาหลักสูตร และกระบวนการเรียนรู้ ที่หลากหลายให้เอื้อ ต่อการเรียนรู้

ตลอดชีวิต
3.4.2 โครงการพัฒนาระบบการวัดและประเมินผลส่งเสรมิ เครือขา่ ยความรว่ มมือ ในการประเมิน

คุณภาพการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
3.4.3 โครงการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ สะเต็มศึกษา
3.4.4 โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรยี นเพ่อื เตรียมความพร้อมในการประเมนิ PISA 2021
3.4.5 โครงการส่งเสรมิ และพัฒนาระบบการประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา
3.4.6 โครงการพัฒนาคลงั เครอ่ื งมอื มาตรฐานเพื่อยกระดับคุณภาพผ้เู รยี นในศตวรรษท่ี 21
3.4.7 โครงการยกระดับผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตทิ ีส่ อดคล้องกบั บริบทพื้นท่ี
3.4.8 โครงการพฒั นาการเรียนการสอนปฐมวัย
3.4.9 โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์นอ้ ยประเทศไทย ระดบั ปฐมวัย
3.4.10 โครงการบา้ นนกั วิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ระดบั ประถมศึกษา
3.4.11 โครงการนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมมอนเตสซอรี เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

(The Education for Sustainable Development)
3.4.12 โครงการพัฒนามาตรฐานระบบการประเมนิ มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
3.4.13 โครงการพัฒนาคุณภาพการเรยี นการสอนภาษาตา่ งประเทศ และเสรมิ สร้างศกั ยภาพครู
3.4.14 โครงการเสริมสร้างระเบียบวินัย คุณธรรม และจรยิ ธรรม และคุณลักษณะท่พี งึ ประสงค์
3.4.15 โครงการจดั การศกึ ษาใหเ้ ดก็ ผทู้ ี่มีความสามารถพเิ ศษไดร้ ับการพัฒนาศักยภาพ
3.4.16 โครงการยกระดบั คุณภาพการศึกษาโรงเรียนวทิ ยาศาสตรจ์ ฬุ าภรณราชวิทยาลัย
3.4.17 โครงการพฒั นาผมู้ คี วามสามารถพเิ ศษ ด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
3.4.18 โครงการพัฒนาผู้มีความสามารถพเิ ศษดา้ นทัศนศิลป์ นาฏศลิ ป์ ดนตรีและกีฬา
3.4.19 โครงการส่งเสรมิ การเรียนรู้ดิจติ อลเทคโนโลยีและระบบอจั ฉริยะในสถานศกึ ษาเพือ่ ความ

เปน็ เลศิ

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

45

3.4.20 โครงการครคู ลงั สมอง
3.4.21 โครงการสานพลงั ประชารัฐดา้ นการศกึ ษาพนื้ ฐานและการพฒั นาผูน้ ำ
3.4.22 โครงการจัดการศกึ ษาเพื่อการมีงานทำ
3.4.23 โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียนด้านศักยภาพการเรียนรู้เชิงกระบวนการ สู่ความ
ทดั เทยี มนานาชาติ
3.4.24 โครงการครูผ้ทู รงคณุ คา่ แห่งแผ่นดิน
3.4.25 โครงการคืนครูใหน้ กั เรียน
3.4.26 โครงการยกระดบั คุณภาพการเรียนรู้ภาษาไทย
3.4.27 โครงการขบั เคลือ่ นการจดั การเรยี นรูว้ ทิ ยาการคำนวณและการออกแบบเทคโนโลยี
3.4.28 โครงการชว่ ยเหลอื กลุม่ เปา้ หมายทางสังคม
3.4.29 โครงการส่งเสรมิ และพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีความหลากหลายเพื่อเอื้อต่อการศึกษาและ
การเรียนร้อู ยา่ งมคี ุณภาพ
3.4.30 โครงการส่งเสริมภาษาต่างประเทศที่สอง ความเป็นพลเมืองในการพัฒนาสู่โรงเรียนใน
ประชาคมอาเซยี น
3.4.31 โครงการพฒั นาการจดั การเรียนรู้ข้นั พื้นฐานในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษ
3.4.32 โครงการพัฒนาศกั ยภาพผู้เรยี นตามพหุปัญญา
3.4.33 โครงการส่งเสริมทักษะพืน้ ฐานด้านสขุ ภาพพลานามยั
3.4.34 โครงการพัฒนาเครอื ขา่ ยและส่งเสริมความร่วมมอื กบั ต่างประเทศ
3.4.35 โครงการพัฒนาการบริหารและจัดการศึกษาสู่สมรรถนะแข่งขันในศตวรรษที่ 21
มาตรฐานสากล
3.4.36 โครงการยกระดับคณุ ภาพการจดั การมัธยมศึกษา
3.4.37 โครงการพัฒนาประเทศไทยเป็นศนู ย์กลางการศึกษาในภมู ภิ าค (Education Hub)
3.4.38 โครงการสง่ เสรมิ และยกระดบั คุณภาพการบริหารจดั การศกึ ษามธั ยมศึกษาส่สู ากล
3.4.39 โครงการสง่ เสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์และค่านิยมของชาติ
3.4.40 โครงการวิจัยนวตั กรรมการจัดการศึกษา
3.4.41 โครงการนักธุรกจิ น้อยมีคุณธรรม นำสู่เศรษฐกจิ สร้างสรรค์
3.4.42 โครงการพฒั นานวตั กรรมส่ิงประดิษฐแ์ ละหุ่นยนต์ สพฐ.
3.4.43 โครงการวิทยาศาสตร์พลังสบิ
3.4.44 โครงการพัฒนาระบบข้อมลู สารสนเทศด้านการจบการศึกษาและการเทยี บวุฒิการศึกษา
ระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
3.4.45 โครงการการพัฒนาศกั ยภาพของข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาสปู่ ระสิทธิภาพ
และประสทิ ธิผลขององคก์ รดว้ ยการพฒั นาสมรรถนะ
3.4.46 โครงการการพัฒนาสมรรถนะขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน
3.4.47 โครงการฝกึ อบรมหลักสตู รท่ีสำนกั งาน ก.พ. กำหนดและหน่วยงานภายนอกเป็นผจู้ ดั
3.4.48 โครงการพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาเพ่อื เป็นต้นแบบในการยกย่องเชิดชูเกยี รติ
3.4.49 โครงการศนู ย์โรงเรียนโอลิมปิกวชิ าการ

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

46

3.4.50 โครงการส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อเสริมศักยภาพการแข่งขันใน
ประชาคมอาเซียน

3.4.51 โครงการส่งเสริมและพัฒนาการจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษ
3.4.52 โครงการจ้างครูต่างชาติโครงการ English for All
3.4.53 โครงการส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจนี อย่างมีคุณภาพ
3.4.54 โครงการ การพฒั นาบคุ ลากรโรงเรียนกล่มุ พิเศษ
3.4.55 โครงการ พัฒนาครูแกนนำภาษาอังกฤษในระดับภมู ภิ าค (Boot Camp)
3.4.56 โครงการพฒั นาการจัดการเรยี นสอนภาษาอังกฤษ
3.4.57 โครงการพฒั นาคณุ ภาพการเรยี นการสอนภาษาจีน (โรงเรยี นคุณภาพประจำตำบล)
3.4.58 โครงการส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ ( School as Learning
Community) เพ่ือพฒั นาพลเมืองรุ่นใหม่
3.4.59 โครงการเสริมสร้างระบบและกลไกการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
เพ่อื การประกนั คณุ ภาพที่ใช้สถานศึกษาเปน็ ฐาน

4. แผนปฏิบัติราชการ เรื่องที่ 4 การสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาที่มีคุณภาพ มี
มาตรฐานและลดความเหล่ือมลำ้ ทางการศึกษา

4.1 เปา้ หมาย
ผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ กลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มที่อยู่ในพื้นที่

ห่างไกลทุรกนั ดาร ไดร้ บั การศึกษาอย่างทว่ั ถึง เท่าเทียม และมคี ุณภาพ

4.2 ตัวชว้ี ดั คา่ เป้าหมาย

ท่ี ตวั ชวี้ ดั คา่ เปา้ หมาย
2563 2564 2565

1 อตั ราการเข้าเรียนของผเู้ รยี นแต่ละระดับการศกึ ษาตอ่ ประชากรกลุ่ม 100 100 100
อายุ

- ระดบั ปฐมวยั

- ระดบั ประถมศกึ ษา 100 100 100

- ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น 100 100 100

- ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย 78 78 78

(สามัญ - อาชวี ศกึ ษา)

2 จำนวนผู้เรียนท่เี ปน็ ผู้พิการ ผดู้ อ้ ยโอกาสเขา้ ถึงบรกิ ารการศกึ ษาและ 3,630,000 3,630,000 3,630,000

การพัฒนาสมรรถภาพหรือบริการทางการศึกษาที่เหมาะสมตาม

ความจำเป็น

3 ร้อยละของสถานศึกษาในพื้นที่ลักษณะพิเศษ ได้รับการพัฒนา 75 80 85

การจัดการศกึ ษาตามบรบิ ท

4 ร้อยละของนักเรียนทไ่ี ด้รับเงินอุดหนนุ ปจั จยั พื้นฐานสำหรบั นกั เรียน 20 20 20

ยากจน

4.3 แนวทางการพัฒนา
4.3.1 เพม่ิ โอกาสในการเขา้ ถึงการศึกษาและการเรียนรู้อย่างเทา่ เทียมและเสมอภาค

แผนปฏิบัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

47

4.3.2 พฒั นาเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพอ่ื การศกึ ษาสำหรับคนทุกชว่ งวัย
4.3.3 พัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพ และตอบสนองความตอ้ งการของผู้เรียน
4.3.4 พฒั นาเทคโนโลยดี ิจทิ ลั เพอื่ การจดั เกบ็ เอกสาร และการแปลงขอ้ มลู สารสนเทศผู้สำเร็จ
การศกึ ษา ปพ. 3

4.4 แผนงาน/โครงการสำคัญ
4.4.1 โครงการพัฒนาสือ่ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื การศึกษา
4.4.2 โครงการสร้างโอกาสและลดความเหลอ่ื มลำ้ ทางการศกึ ษาในระดับพ้นื ท่ี
4.4.3 โครงการสนบั สนุนผปู้ ฏิบตั งิ านในสถานศกึ ษา
4.4.4 โครงการยกระดบั คุณภาพการจดั การศกึ ษาสำหรับ เดก็ ที่มคี วามต้องการจำเป็นพิเศษ
4.4.5 โครงการจัดการศกึ ษาเพ่ือการพฒั นาทย่ี ่งั ยนื
4.4.6 โครงการโรงเรยี นคณุ ภาพประจำตำบล
4.4.7 โครงการบริหารจดั การโรงเรยี นขนาดเล็ก
4.4.8 โครงการกอ่ สรา้ ง ปรับปรงุ ซ่อมแซมอาคารเรยี นและส่ิงก่อสรา้ งประกอบ
4.4.9 โครงการสนบั สนนุ ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน
4.4.10 โครงการเทคโนโลยดี จิ ิทัลเพือ่ การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน
4.4.11 โครงการพัฒนาระบบขอ้ มูลสารสนเทศทางการศกึ ษา

5. แผนปฏิบตั ิราชการ เรือ่ งท่ี 5 การจดั การศกึ ษาเพื่อพฒั นาคุณภาพชวี ิตท่ีเป็นมิตรกับส่งิ แวดล้อม
5.1 เป้าหมาย
สถานศึกษาจัดการศึกษาเพื่อการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable

Development Goals : SDGs) และสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง

5.2 ตวั ช้ีวัด คา่ เป้าหมาย คา่ เปา้ หมาย
2563 2564 2565
ท่ี ตวั ช้วี ดั 75 80 85

1 ร้อยละของนักเรียนได้รับการส่งเสริมให้มีความรู้ ความเข้าใจ
ความตระหนกั ในการอนรุ ักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดลอ้ ม

5.3 แนวทางการพัฒนา
สร้างจิตสำนกึ ในการพฒั นาคุณภาพชีวิต ทเี่ ปน็ มติ รต่อสงิ่ แวดลอ้ ม

5.4 แผนงาน/โครงการสำคญั
5.4.1 โครงการค่ายเยาวชนรกั ษ์พงไพร
5.4.2 โครงการการพัฒนาเชิงอุตสาหกรรมเชิงนิเวศและการจัดการมลพิษและสิ่งแวดล้อม

ดว้ ยการดำเนนิ กิจกรรมส่ิงแวดล้อมศึกษาเพือ่ การพฒั นาคุณภาพชวี ิตท่ีเป็นมิตรกับสง่ิ แวดลอ้ ม
5.4.3 โครงการสิ่งแวดล้อมศึกษา “สืบสานศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน” ตาม

เปา้ หมายการพฒั นาที่ย่ังยืน (Sustainable Development Goals : SDGs)

แผนปฏิบตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

48

5.4.4 โครงการรักษ์ป่าน่าน ตามโครงการพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า
กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

5.4.5 โครงการโรงเรียนสเี ขยี ว

6. แผนปฏบิ ัตริ าชการ เรือ่ งที่ 6 การปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจดั การศึกษา

6.1 เปา้ หมาย
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา มี

สมดุลในการบริหารจัดการเชิงบูรณาการ และการรายงานผลอย่างเป็นระบบ ใช้งานวิจัย เทคโนโลยีและ
นวัตกรรมในการขับเคลือ่ นคณุ ภาพการศกึ ษา

6.2 ตัวชี้วดั คา่ เปา้ หมาย

ที่ ตัวชีว้ ัด คา่ เป้าหมาย
2563 2564 2565

1 จำนวนกระบวนงานทไี่ ด้รับการปรับเปลย่ี นให้เป็นดิจิทัลเพมิ่ ขนึ้ 2 2 2

2 โครงการของ สพฐ. ทม่ี ีผลสมั ฤทธต์ิ ่อเปา้ หมายยทุ ธศาสตร์ชาตเิ พม่ิ ขึน้ 15 20 25

3 ร้อยละของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามีค่าคะแนนเฉลี่ย 80 90 95

การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสของหน่วยงาน ( ITA)

ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 85

4 ร้อยละของนักเรียนสังกัดสพฐ.มีพฤติกรรมที่ยึดม่ันความ 50 50 50

ซ่ือสัตย์สุจริต

6 ร้อยละของสถานศึกษานำร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษามี 60 80 100

ความอิสระและความคล่องตัวในการบริหารและการจัด

การศึกษาเพิ่มข้ึน

6.3 แนวทางการพัฒนา
6.3.1 สนับสนุน ส่งเสริม ตรวจสอบ ติดตามและประเมินผลเพื่อให้สถานศึกษาสามารถ

จดั การศกึ ษา พัฒนาระบบบริหารจัดการศกึ ษาและองคก์ รตามหลกั ธรรมาภบิ าลอย่างมีประสทิ ธภิ าพ
6.3.2 ส่งเสรมิ การมสี ว่ นร่วมของทกุ ภาคส่วนในการจดั การศึกษา
6.3.3 ส่งเสริม สนับสนุนให้โรงเรียนนิตบิ คุ คลมีการบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานได้

อยา่ งมีประสิทธิภาพตามหลักการกระจายอำนาจ
6.3.4 พัฒนาสถานศกึ ษานำร่องพน้ื ที่นวัตกรรมการศึกษาโดยใช้พน้ื ท่แี ละสถานศึกษาเป็นฐาน

เพื่อให้สามารถบริหารและจดั การศึกษาได้อย่างมีอสิ ระและคล่องตวั เปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงค์ของการจัดต้ังพื้นท่ี
นวตั กรรมการศกึ ษา

6.4 แผนงาน/โครงการสำคญั
6.4.1 โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาพน้ื ทีน่ วตั กรรมการศึกษา
6.4.2 โครงการเสรมิ สรา้ งคุณธรรม จรยิ ธรรม และธรรมาภบิ าลในสถานศึกษา
6.4.3 โครงการตดิ ตาม ประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาพรวม

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

49

6.4.4 โครงการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏิบัติการ
ของ สพฐ. และหนว่ ยงานในสังกัด โดยใชร้ ะบบตดิ ตามและประเมินผลแห่งชาติ (eMENSCR)

6.4.5 โครงการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศการรายงานผลการติดตามและประเมินผลการ
จัดการศึกษาขั้นพืน้ ฐานทง้ั ระบบ (e-MES)

6.4.6 โครงการส่งเสริมสนับสนุนการกระจายอำนาจในการบริหารและการจัดการศึกษาข้ัน
พ้นื ฐานให้โรงเรยี นนติ ิบุคคล

6.4.7 โครงการวิจัยเพื่อพัฒนาประสิทธิผลการบริหารและการจัดการศึกษาของสำนักงาน
เขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษา

6.4.8 โครงการติดตามนักเรียนทุนพระราชทาน ม.ท.ศ. (มูลนิธิทุนการศึกษาพระราชทาน
สมเด็จพระบรมโอรสาธริ าช ฯ สยามมกุฎราชกมุ าร)

6.4.9 โครงการติดตาม ประเมนิ ผลและพัฒนาคุณภาพกลุ่มโรงเรียนท่มี ลี กั ษณะพิเศษ
6.4.10 โครงการพัฒนาระบบจดั เกบ็ ข้อมลู สารสนเทศผสู้ ำเรจ็ การศกึ ษา ปพ.3

การนำแผนไปสู่การปฏบิ ัติ

แนวทางการบรหิ ารแผนสูก่ ารปฏบิ ตั ิ
แผนปฏิบัติราชการระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 - 2565) ของสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นเครื่องมือที่กำหนดกรอบ และแนวทางในการขับเคลื่อนการปฏิบัติงานด้านการ
จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานที่เชื่อมโยงสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนแม่บทภายใต้
ยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) แผนการศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา แผนปฏิบัติราชการระยะ 3 ปี
(พ.ศ. 2563 - 2565) ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร และนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน
เพื่อใหก้ ารบริหารแผนสู่การปฏิบตั ิได้อยา่ งมีประสิทธิภาพและเกดิ ประสิทธิผลสูงสุดที่สอดคล้องกบั เป้าหมายการ
ให้บริการทางการศึกษา และการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพน้ื ฐาน จึงกำหนดแนวทางในการบรหิ ารแผนสกู่ ารปฏิบัติ ดงั น้ี
1. สร้างการรับรู้และความเข้าใจให้กับผู้บริหารและบุคลากรในหน่วยงานทุกระดับ ในความ
เป็นมา และความเชื่อมโยงของแผนปฏิบัติราชการระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 - 2565) ของสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กับนโยบายและแผนที่สำคัญอื่นๆ และสาระสำคัญของแผนปฏิบัติราชการ
เพื่อให้เกดิ การรบั รแู้ ละเข้าใจในทศิ ทางเดียวกนั
2. เน้นย้ำให้ผู้บริหารหน่วยงานในสังกัดทุกระดับให้ความสำคัญในการพิจารณาแผนปฏิบัติ
ราชการระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 - 2565) ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อใช้เป็นกรอบ
ในการกำหนดนโยบาย แผน และการดำเนินงานของหน่วยงาน โดยยึดหลักธรรมภิบาลของการบริหารกิจการ
บา้ นเมืองท่ดี ี เน้นการมสี ่วนร่วมของทกุ ภาคส่วนในการขับเคล่ือนแผนปฏิบตั ิการในหน่วยงานทุกระดบั
3. มีการบูรณาการ แผนปฏิบัติราชการระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 - 2565) สู่แผนปฏิบัติการ
ประจำปีของหน่วยงานในสังกัด เพื่อขับเคลื่อนนโยบาย กลยุทธ์ และกำหนดแผนงาน/ผลผลิต/โครงการ/
กิจกรรม/งบประมาณ ให้สอดคลอ้ งกัน

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

50

4. มีการกำกับ ติดตาม และรายงานผลการปฏิบัติงาน โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตาม
แผนปฏิบัติราชการระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 - 2565) ทั้งในระดับโรงเรียน เขตพื้นที่การศึกษา สำนักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน อย่างเปน็ ระบบ

เงื่อนไขความสำเร็จ
แผนปฏิบัติราชการระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 - 2565) ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพืน้ ฐาน จะสง่ ผลใหเ้ กดิ เป้าหมายทก่ี ำหนดไว้ ด้วยเงอื่ นไขความสำเร็จ ดังน้ี
1. ความตอ่ เนือ่ งของนโยบาย
2. การมีแผนและกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการดังกล่าว โดยมีการกำหนด
เป้าหมาย ตวั ชี้วดั ผูร้ บั ผิดชอบ และกำหนดเวลาทีเ่ หมาะสม โดยหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งทกุ ระดบั
3. การได้รับการสนับสนุนทรัพยากรที่ต่อเนื่อง ทั้งงบประมาณ บุคลากร เวลา ในการ
ดำเนนิ การท่ตี ่อเน่ืองและครอบคลุมภารกจิ
4. การมีส่วนร่วมของหน่วยงานที่เกีย่ วข้อง ทั้งระหว่างหน่วยงานรัฐ หน่วยงานเอกชน องค์กร
ภายนอก อนื่ ๆ เพ่ือสนบั สนุนการดำเนินงานตามแผน
5. การดำเนินการทีม่ ีประสิทธภิ าพ เกิดประสิทธิผล โปร่งใส เป็นธรรม มีผลผลิตและผลลัพธ์ที่
ชัดเจน เป็นไปตามยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อให้หน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้อง เชื่อมั่นในการดำเนินงาน และให้
ความสนบั สนุนทรัพยากรอย่างตอ่ เนือ่ ง

บทบาทของหน่วยงานในสังกดั สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
เพื่อให้แผนปฏิบัติราชการระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 - 2565) ของสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ประสบผลสำเร็จ หน่วยงานในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ควร
ดำเนนิ การ ดังน้ี
สว่ นกลาง รวมถงึ สำนกั ต่างๆ ในสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน ดำเนินโครงการ
โดยกำหนดตวั ชีว้ ดั ท่ีเหมาะสม บรรลุผลได้ สอดคล้องกับบรบิ ทในพื้นที่ สนับสนนุ ทรัพยากรเพ่อื การปฏิบัติงานใน
พื้นที่ที่เพียงพอ มีการให้คำแนะนำ กำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินการที่เหมาะสม เป็นไปอย่ างมี
ประสิทธิภาพ ไม่เพิ่มภาระงานใหแ้ กผ่ ู้ปฏบิ ัติในพ้ืนที่
สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา กำหนดตัวชี้วัดที่เหมาะสม บรรลุผลได้ สอดคล้องกับบริบท ใน
พื้นที่ สนับสนุนทรพั ยากรเพื่อการปฏิบัตงิ านในพื้นท่ีท่ีเพียงพอ มีการให้คำแนะนำ ช่วยเหลือ ดูแล นิเทศ กำกับ
ติดตาม ประเมินผลการดำเนินการที่เหมาะสม เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่เพิ่มภาระงานให้แก่ผู้ปฏิบัติใน
สถานศกึ ษา
สถานศึกษา ดำเนินการตามเป้าหมายให้สอดคล้องกับบริบทในพื้นที่ ประสานและสนับสนุน
ทรัพยากรเพอ่ื การปฏิบัติงานท่ีเพียงพอ มีการให้คำแนะนำ ช่วยเหลือ ดแู ล นเิ ทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผลการ
ดำเนินการทเ่ี หมาะสม เปน็ ไปอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ไมเ่ พิ่มภาระงานให้ครโู ดยไม่จำเปน็

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

51

4. ประกาศสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน เรอื่ ง นโยบายสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565

ตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) และแผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา
กำหนดให้มีการพัฒนาเด็กตั้งแต่ระดับปฐมวัยให้มีสมรรถนะและคุณลักษณะที่ดี สมวัยทุกด้านโดยการปฏิรูป
กระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 ตระหนักถึงพหุปัญญาของม นุษย์ที่
หลากหลาย มีเป้าหมายให้ผู้เรียนทุกกลุ่มวัยได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะที่จำเป็นของโลก
อนาคต สามารถแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผูอ้ ื่นได้อยา่ งมีประสทิ ธิผล มีวินัย มีนิสัยใฝ่เรียนรู้
อย่างตอ่ เนื่องตลอดชวี ิต รวมทั้งเปน็ พลเมืองท่รี ู้สิทธแิ ละหน้าท่ี มีความรับผิดชอบและมจี ิตสาธารณะ

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งมั่นในการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานให้เป็น
“การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานวถิ ใี หม่ วถิ ีคณุ ภาพ” มุ่งเน้นความปลอดภัยในสถานศึกษา สง่ เสริมโอกาสทางการศึกษาท่ี
มีคุณภาพอย่างเท่าเทียม และบริหารจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ จึงกำหนดนโยบายสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565 ดังน้ี

1. ด้านความปลอดภัย
พัฒนาระบบและกลไกในการดูแลความปลอดภัยให้กับผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาและ

สถานศึกษา จากภัยพิบัติและภัยคุกคามทุกรูปแบบ รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะที่ดี
สามารถปรับตัวต่อโรคอุบตั ิใหม่และโรคอบุ ัตซิ ้ำ

2. ด้านโอกาส
2.1 สนบั สนุน ใหเ้ ดก็ ปฐมวยั ไดเ้ ข้าเรยี นทุกคน มีพฒั นาการทด่ี ี ทงั้ ทางร่างกาย จติ ใจ วินยั อารมณ์

สงั คม และสติปัญญา ใหส้ มกับวยั
2.2 ดำเนินการ ให้เด็กและเยาวชนได้รับการศึกษาจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน อย่างมีคุณภาพตาม

ตามมาตรฐาน วางรากฐานการศกึ ษาเพอ่ื อาชีพ สามารถวิเคราะหต์ นเองเพอื่ การศึกษาต่อ และประกอบอาชพี
ตรงตามศักยภาพและความถนัดของตนเอง รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษสู่ความ
เปน็ เลิศ เพื่อเพม่ิ ขีดความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ

2.3 พัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือเด็กและเยาวชนที่อยู่ในการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อป้องกันไม่ให้ออก
จากระบบการศึกษา รวมทั้งช่วยเหลือเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคันให้ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่าง
เทา่ เทียมกัน

2.4 ส่งเสริมให้กับเด็กพิการและผู้ด้อยโอกาส ให้ได้รับโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพมีทักษะใน
การการดำเนินชีวิต มีพื้นฐานในการประกอบอาชีพ พึ่งตนเองได้อย่างมศี ักดิศ์ รีความเป็นมนุษย์ตามหลกั ปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง

3. ด้านคณุ ภาพ
3.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะการเรียนรู้และทักษะที่จำเป็นของโลกใน

ศตวรรษที่ 21 อย่างครบถ้วน เป็นคนดี มีวินัย มีความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นการปกครองในระบอบ
ประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ มีทัศนคตทิ ถ่ี กู ตอ้ งตอ่ บ้านเมือง

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

52

3.2 พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถภาพและทักษะด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ การคิดขั้นสูง นวัตกรรม
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดิจิทัล และภาษาตา่ งประเทศ เพือ่ เพมิ่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน และการเลือก
ศกึ ษาตอ่ เพื่อการมีงานทำ

3.3 ปรับหลักสูตรฐานสมรรถนะ ที่เน้นการพัฒนาสมรรถนะหลักที่จาเป็นในแต่ละระดับจัด
กระบวนการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติจริง รวมทั้งส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่สร้างสมดุลทุกด้านส่งเสริม
การจดั การศึกษาเพอ่ื พัฒนาพหุปัญญา พฒั นาระบบการวดั และประเมินผลผเู้ รยี นทกุ ระดบั

3.4 พัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ให้เป็นครูยคุ ใหม่ มีศกั ยภาพในการจัดการเรียนการสอน
ตามหลกั สูตรฐานสมรรถนะ มีทักษะในการปฏบิ ัติหนา้ ท่ีได้ดี มีความรู้ความสามารถในการในเทคโนโลยดี จิ ิทลั มี
การพฒั นาตนเองทางวชิ าชีพอย่างต่อเนือ่ ง รวมทัง้ มจี ติ วญิ ญาณความเปน็ ครู

4. ด้านประสิทธิภาพ
4.1 พัฒนาระบบบริหารจัดการโดยใช้พื้นทีเ่ ป็นฐาน มีนวัตกรรมเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนบน

ฐานขอ้ มูลสารสนเทศทถี่ กู ตอ้ ง ทันสมัย และการมีสว่ นร่วมของทุกภาคสว่ น
4.2 พัฒนาโรงเรียนมัธยมดีสี่มุมเมือง โรงเรียนคุณภาพชุมชนโรงเรียนขนาดเล็กและโรงเรียนท่ี

สามารถดำรงอยไู่ ด้อย่างมคี ณุ ภาพ (Stand Alone) ใหม้ ีคณุ ภาพอยา่ งยัง่ ยนื สอดคลอ้ งกบั บริบทของพื้นท่ี
4.3 บริหารจัดการโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ที่มีจำนวนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1–3

น้อยกวา่ 20 คน ใหไ้ ดร้ บั การศกึ ษาอย่างมคี ณุ ภาพ สอดคล้องกบั นโยบายโรงเรยี นคุณภาพของชุมชน
4.4 ส่งเสริมการจดั การศึกษาที่มคี ุณภาพในสถานศกึ ษาท่มี ีวตั ถุประสงคเ์ ฉพาะ และสถานศึกษาท่ีตง้ั

ในพ้ืนทลี่ กั ษณะพิเศษ
4.5 สนับสนุนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาให้เป็นต้นแบบการพัฒนานวัตกรรมการศึกษาและการเพ่ิม

ความคลอ่ งตวั ในการบริหารและการจัดการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
4.6 เพมิ่ ประสิทธิภาพการนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการศึกษาขนั้ พื้นฐาน

5. แผนยทุ ธศาสตร์การศึกษาเขตพฒั นาพิเศษเฉพาะกิจจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ 20 ปี
(พ.ศ. 2560 – 2579)

วิสัยทศั น์ (Vision)
“ประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดำรงชีวิต
อย่างเป็นสุขในสังคมพหุวัฒนธรรมสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของ
โลกในศตวรรษที่ 21”

พนั ธกิจ (Mission)
1. เสริมสรา้ งความมั่นคงแก่สถาบันชาติศาสนาและพระมหากษัตริย์ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมและการ
อยรู่ ่วมกนั อย่างมคี วามสขุ ในสงั คมพหวุ ฒั นธรรมบนพนื้ ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
2. พัฒนาคุณภาพการศึกษาทุกระดับสู่มาตรฐานสากลและพัฒนาศักยภาพในการแข่งขันสู่ความมั่นคง
มัง่ ค่งั ยง่ั ยนื
3. พัฒนาระบบการบริหารจดั การศกึ ษาแบบบรู ณาการในพื้นที่ใหม้ ีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภบิ าล

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

53

เปา้ ประสงคห์ ลัก
มนั่ คง
1. ประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใตย้ ดึ ม่ันสถาบันชาตศิ าสนาและพระมหากษัตรยิ ์ มีจิตสำนึกใน
ความเปน็ พลเมืองมีคณุ ธรรมจริยธรรมอยู่ร่วมกันอย่างมคี วามสขุ ในสงั คมพหุวัฒนธรรม

ม่ังค่ัง
2. ประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้มีทักษะการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 โดยเน้นทักษะการ
เรยี นรทู้ กั ษะชวี ิตทักษะการทำงานรวมทั้งทักษะการสอ่ื สารและเทคโนโลยี สามารถพง่ึ พาตนเองได้
3. กำลังคนมีคุณภาพมีทักษะที่สำคัญและมีสมรรถนะตรงความตอ้ งการของตลาดงาน เป็นฐานรองรบั
การขบั เคล่อื นประเทศไทย 4.0

ย่ังยนื
4. หน่วยงานการศึกษาและสถานศึกษามีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพทันสมัยโปร่งใสมีการ
บรู ณาการการทำงานทกุ ระดบั ในพ้นื ท่แี ละมสี ว่ นร่วมจากประชาชน
5. ผู้เรียนทุกกลมุ่ เป้าหมายได้รับบรกิ ารทางการศึกษาอย่างเสมอภาคและเท่าเทียม
6. ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมพึ่งพาตนเองได้ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจ
พอเพยี ง

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 การศึกษาเพือ่ เสรมิ สรา้ งความมั่นคง
เป้าหมายเชิงยทุ ธศาสตร์
1. ประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้มีความภาคภูมิใจและความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักและการ
ปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ พระประมุข
2. ประชาชนในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้อยูร่ ว่ มกันอย่างมีความสขุ ในสังคมพหวุ ฒั นธรรม
3. ประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้มีคุณธรรมจริยธรรมมคี วามเปน็ พลเมืองไทยและพลโลกสามารถ
ดำรงตนไดต้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
กลยุทธแ์ ละแนวทางการปฏิบัติของกลยุทธ์ตามยุทธศาสตร์ท่ี 1
กลยทุ ธท์ ี่ 1 เสรมิ สรา้ งความภาคภูมใิ จและความจงรักภกั ดตี อ่ ชาตศิ าสนาและพระมหากษัตริย์
1) พัฒนาหลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ส่งเสริมความภาคภูมิใจความจงรักภักดีต่อชาติ
ศาสนาและพระมหากษัตรยิ ์
2) ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมทีเ่ สริมสร้างความภาคภูมิใจและความจงรักภักดีต่อชาติ
ศาสนาและพระมหากษตั ริย์
3) ผลิตสื่อสร้างสรรค์ในทุกช่องทางการสื่อสาร ที่เสริมสร้างความมั่นคงแก่สถาบันชาติ ศาสนา
พระมหากษัตรยิ ์
4) ส่งเสริมการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขผ่านกระบวน
การเรียนการสอนกจิ กรรมสภานกั เรียนและการจดั กิจกรรมเสรมิ ในรูปแบบต่างๆ
กลยุทธ์ที่ 2 เสริมสร้างการอยูร่ ่วมกันอย่างมีความสขุ ในสังคมพหุวัฒนธรรม
1) ส่งเสรมิ ให้สถานศึกษาจดั การเรยี นรกู้ ารอยูร่ ว่ มกนั ในสงั คมพหวุ ัฒนธรรม

แผนปฏิบตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

54

2) สง่ เสรมิ ให้สถานศึกษานำกระบวนการสันติศึกษาไปใช้ในการจดั การเรยี นรู้เพ่ือการอยู่ร่วมกันอย่างมี
ความสุขผา่ นกิจกรรมตา่ งๆ จดั ต้งั พัฒนาศนู ย์การเรียนรหู้ รือแหล่งเรียนรู้พหวุ ัฒนธรรมจังหวัดชายแดนภาคใต้ใน
สถานศึกษา

กลยทุ ธ์ที่ 3 ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมท่เี นน้ ความมวี นิ ัยในตนเองความเปน็ พลเมืองไทยพลโลกและ
การดำรงตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเพื่อความมน่ั คงทางดา้ นเศรษฐกิจและสงั คม

1) พัฒนาผู้นำผู้บริหารการศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชนผ่านหลักสูตรและ
กิจกรรมการพัฒนาที่หลากหลายเข้มข้นให้มีศักยภาพในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของแต่ละพื้นที่อย่าง
ตอ่ เนือ่ งย่งั ยืน

2) ส่งเสริมการจัดทำและพัฒนาหลักสูตรเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรมที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตและความ
เปน็ อัตลกั ษณข์ องพน้ื ที่

3) ส่งเสริมให้สถานศึกษาจัดกระบวนการเรียนรู้ที่บูรณาการคุณธรรมจริยธรรมความเป็นพลเมืองไทย
และพลโลกเพ่อื เสรมิ สรา้ งความมั่นคงดา้ นเศรษฐกิจและสงั คมเพื่อรองรบั การเปลี่ยนแปลงในอนาคต

4) ปลูกฝังความมีวินัยในตนเองผ่านกิจกรรมต่างๆ ที่หลากหลายเช่น ลูกเสือ – เนตรนารี ยุวกาชาด
กิจกรรมกีฬาค่ายเยาวชน กลุ่มเยาวชนจิตอาสา อย่างหลากหลายภายใต้ ความร่วมมือจากผู้ปกครองชุมชนและ
ผลิตส่อื สร้างสรรค์ในการสง่ เสริมการปลูกฝงั คณุ ธรรมจริยธรรม

5) ส่งเสริมการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติที่เป็นรูปธรรมโดยการพัฒนา
สถานศกึ ษาให้เป็นสถานศึกษาพอเพียงท่ีย่ังยืนพฒั นาศนู ย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษาและชุมชน
ใหค้ รอบคลมุ ทกุ พื้นท่ี

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 การพฒั นาศักยภาพคนทกุ ชว่ งวัยและการสรา้ งสังคมแห่งการเรยี นรู้
เปา้ หมายเชิงยทุ ธศาสตร์
1. ประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้มีทักษะความรู้ความสามารถตามช่วงวัยและมีศักยภาพรองรับ
การพฒั นาพ้ืนทเี่ ขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกจิ จงั หวัดชายแดนภาคใต้
2. ประชาชนในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้มกี ารเรยี นรู้ตลอดชวี ิตพร้อมรับบรบิ ทการเปล่ยี นแปลงท้ังภายใน
และภายนอกประเทศ
กลยุทธแ์ ละแนวทางการปฏิบตั ิของกลยุทธต์ ามยุทธศาสตรท์ ี่ 2
กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมและพฒั นาผู้เรยี นใหม้ ีคุณภาพและมีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21
1) ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาการเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัยการพัฒนาศักยภาพ
ของครูและผู้สอนการพัฒนาคุณภาพสภาพแวดล้อมและห้องเรียนปฐมวัยการใช้วรรณกรรมเป็นฐานและการ
พัฒนาการสร้างองค์ความรู้แก่ผู้ปกครองและการจัดหาผลิตสื่อสร้างสรรค์ที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ โดยการ
บูรณาการรว่ มกนั ของทกุ หน่วยงานที่รบั ผิดชอบทง้ั ภาครัฐสว่ นทอ้ งถ่ินและเอกชน
2) พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้มีคุณภาพสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางและบริบทของ
พืน้ ที่
3) จัดทำและพัฒนาหลักสูตรด้านอาชีพเชื่อมโยงกันตั้งแต่ระดับประถม มัธยมศึกษา อาชีวศึ กษา
อุดมศึกษา การศึกษานอกระบบการศึกษาตามอัธยาศัย ตามบรบิ ทของพ้ืนที่
4) พัฒนารูปแบบการเรียนรู้ที่จำเป็นสำหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ส่งเสริมการเรียนรู้แบบคิด
วเิ คราะหก์ ารสร้างและพัฒนานวัตกรรมอาทิการเรยี นการสอนแบบสะเต็มศึกษาการสอนแบบโครงงาน

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

55

5) ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาต่อเนื่องตลอดชีวิตโดยเน้นการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้
ระดบั ตำบลให้มคี วามพรอ้ มและไดม้ าตรฐาน

6) พัฒนาทักษะการใช้ภาษาแม่และภาษาที่ 2 เช่นภาษาไทยภาษาอังกฤษภาษามลายูกลางภาษาจีน
ภาษาอาหรับ

7) การใช้ ICT เพื่อการสื่อสารการประกอบอาชีพและการจัดตั้งศูนย์ภาษาและเทคโนโลยีที่ทันสมัยให้
ครอบคลุมพ้ืนท่ี

กลยุทธ์ที่ 2 ผลิตและพัฒนาครูให้มีศักยภาพและขีดความสามารถในการจัดการเรียนการสอนให้
สอดคลอ้ งกบั บริบทของพืน้ ท่ี

1) สง่ เสรมิ ให้สถาบนั อุดมศึกษากำหนดคุณลักษณะและผลิตครใู หส้ อดคล้องกบั บรบิ ทของพืน้ ที่
2) จัดตั้งศูนย์พัฒนาครูบุคลากรทางการศึกษาและผู้สอนสำหรับจังหวัดชายแดนภาคใต้โดยเน้น
อุดมการณข์ องการเปน็ ครู
3) ส่งเสริมการพัฒนาครูผู้สอนและบุคลากรทางการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลายสอดคล้องกับความ
ต้องการที่แท้จริงเน้นการสร้างเครือข่ายการพัฒนาในรูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ( PLC) และ
สนบั สนุนงบประมาณในการพฒั นาครผู ูส้ อนและบุคลากรทางการศึกษาทง้ั ภาครัฐและเอกชน
4) จัดให้มีการนำผลการพัฒนามาใช้ในการปฏิบัติงานพัฒนาประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ
ครบวงจร
กลยทุ ธ์ที่ 3 สง่ เสริมและพฒั นาส่ือการเรยี นรู้ตา่ งๆแหลง่ เรยี นรใู้ หม้ ีมาตรฐานเปดิ โอกาสใหป้ ระชากร
ทุกช่วงวยั ไดเ้ ขา้ ถึงแหล่งเรียนรูท้ ีส่ อดคล้องกับบริบทของพ้นื ท่ี
1) จดั ทำจดั หาพฒั นาส่ือวัสดอุ ปุ กรณ์และเทคโนโลยเี พื่อการศกึ ษาท่ีสอดคลอ้ งกบั ความต้องการจำเป็น
และบรบิ ทของพืน้ ทโี่ ดยจัดตงั้ “ศนู ยผ์ ลติ พฒั นาสอ่ื และเทคโนโลยีการศึกษา” ท่ีเหมาะกับสภาพสังคมโดยความ
รว่ มมอื ของหนว่ ยงานท้ังภาครัฐเอกชนและองค์กรเอกชนเพ่ือสาธารณประโยชน์ (NGO)
2) สร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ที่ทันสมัยได้แก่อุทยานการเรียนรู้แหล่งเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์
ศูนยก์ ารเรียนรู้ชุมชนหอ้ งสมดุ ชมุ ชน
3) ส่งเสริมสนับสนุนให้มกี ารรวบรวมอนุรักษ์และใชป้ ราชญ์ชาวบ้านและภูมิปัญญาท้องถิน่ ที่สอดคลอ้ ง
กับอัตลักษณ์ของพ้ืนท่ี
4) ส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้ผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลและเครือข่ายสังคมรูปแบบต่างๆเพื่อสร้างสังคม
แหง่ การเรียนรู้และการเรียนรู้ตลอดชีวิต
กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาศักยภาพกลุ่มผู้สูงวัยให้สามารถประกอบอาชีพที่เหมาะสมกับวัยและการ
ดำรงชวี ิตอยา่ งมคี วามสุข
1) ส่งเสริมการรวมกลุ่มการเรียนรู้ร่วมกันของผู้สูงวัยโดยการจัดตั้งศูนย์ฝึกอาชีพผู้สูงวัยในชุมชนให้
ครอบคลมุ พนื้ ที่
2) ส่งเสริมให้มีการจัดกิจกรรมและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ร่วมกันของผู้สูงวัยในชุมชนส่งเสริมให้
ผู้สูงวัยที่เป็นปราชญ์ชาวบ้านครูผู้ทรงคุณค่าที่มีศักยภาพเข้ามามีส่วนร่วมใน การจัดการเรียนการสอนใน
สถานศกึ ษาตามความสมัครใจ
ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 การผลิตและพัฒนากำลังคนให้มีสมรรถนะในการแข่งขัน
เปา้ หมายยุทธศาสตร์

แผนปฏิบตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

56

1. ประชากรวัยแรงงานมที ักษะและสมรรถนะทั้งความรู้ทักษะคณุ ลกั ษณะด้านอาชพี สอดคล้องกับความ
ตอ้ งการของตลาดงานและได้รบั การส่งเสริมสนับสนนุ สคู่ วามเปน็ เลิศ

2. ประชากรวัยวัยทำงานมีความเชีย่ วชาญและมีความเป็นเลิศเฉพาะดา้ น
กลยทุ ธ์และแนวทางการปฏิบตั ขิ องกลยุทธ์ตามยุทธศาสตรท์ ่ี 3
กลยุทธ์ที่ 1 ผลิตและพัฒนากำลังคนที่มีคุณภาพและปริมาณให้สัมพันธ์กับความต้องการของ
ตลาดแรงงานในพืน้ ทร่ี ะดับประเทศและระดบั สากล
1) ศึกษาและจัดทำข้อมูลความต้องการการผลิตและพัฒนากำลังคนทั้งด้านปริมาณและคุณภาพตาม
นโยบายเมืองต้นแบบสามเหลี่ยมมั่นคงมั่งคั่งยั่งยืนและตามกรอบความร่วมมือกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
และสากล
2) พัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนอาชีวศึกษาดว้ ยการจดั กระบวนการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะอาชีพฝีมือแรงงาน
ผูเ้ รียนสูม่ าตรฐานสากล
3) พฒั นาครูผ้สู อนและบคุ ลากรทางการศกึ ษาใหส้ ามารถจัดการเรียนรไู้ ด้อย่างมปี ระสิทธิภาพสอดคล้อง
กบั หลักสูตรด้านอาชีพ
4) พฒั นาระบบการแนะแนวใหม้ ีประสทิ ธภิ าพโดยมุ่งเน้นการพัฒนาครูท่ปี รึกษาให้เป็นครูแนะแนวและ
เพ่ิมประสิทธภิ าพการแนะแนวอาชพี เพือ่ เพมิ่ สดั ส่วนผู้เรยี นสายอาชพี ใหส้ งู ข้นึ
5) เพ่ิมปรมิ าณผู้เรียนหลักสตู รทวิศึกษา/ทวิภาคีภายใต้ความร่วมมอื กับสถานประกอบการ
กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมการผลติ และพัฒนากำลังคนท่ีมีความเชย่ี วชาญและเป็นเลิศเฉพาะด้าน
1) พฒั นาหลกั สูตรสมรรถนะในสาขาทตี่ รงกับความต้องการของตลาดและการพฒั นาประเทศ
2) ส่งเสริมและพัฒนาให้ผู้เรียนระดับอาชีวศึกษาให้มีสมรรถนะและมีความพร้อมสู่ความต้องการของ
ตลาดงานเช่นอุตสาหกรรมฮาลาลอาหารทะเลแปรรปู
3) พัฒนาหลักสูตรเพื่อเสริมความเชี่ยวชาญในสาขาต่างๆแบบครบวงจรทั้งกระบวนการผลิตแปรรูป
การจัดจำหน่ายการตลาดและการดำเนินการในเชงิ ธรุ กจิ
4) ส่งเสริมให้สถาบันการศึกษามีความเป็นเลิศทางวิชาการโดยการใช้งานวิจัยท้องถิ่นและการสร้าง
นวัตกรรมเพ่อื เปน็ ฐานในการพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมในพ้นื ท่ี
5) สานฝันกีฬาสู่ความเป็นเลิศและอาชีพพร้อมร่วมกับหน่วยงานที่รับผิดชอบผลักดันให้มีการสร้าง
ความพร้อมรองรบั การแข่งขนั กีฬาระดบั ภาคระดับชาติและระดบั นานาชาติ
6) ส่งเสริมสนับสนุนการจัดห้องเรียนพิเศษ(ห้องเรียนกีฬาห้องเรียนศิลปะห้องเรียนดนตรีห้องเรียน
อาชีพ) แผนการเรียนเฉพาะด้าน (แผนการเรียนวิทย์–กีฬา แผนการเรียนศิลป์ภาษา–กีฬา แผนการเรียน
ศิลป์–อาชพี )
7) พฒั นาสถานศกึ ษาท่ีเนน้ การเรียนการสอนด้านวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
8) พัฒนาระบบการจัดกิจกรรมการแข่งขันวิชาการให้มีประสิทธิภาพเน้นการดำเนินงานที่เป็นระบบ
ครบวงจรและการมีสว่ นรว่ มอยา่ งทัว่ ถงึ ของทุกภาคและสง่ เสริมการจัดประกวดแขง่ ขนั ส่ิงประดิษฐแ์ ละนวัตกรรม
ในประเทศและระหวา่ งประเทศ
9) พัฒนาสถานศึกษาที่มีความโดดเด่นในด้านต่างๆให้มีความพร้อมเพื่อยกระดับเป็นโรงเรียนที่มี
วัตถุประสงค์พิเศษด้านต่างๆและพัฒนาสู่การศึกษาระดับนานาชาติและการจัดการศึกษาในรูปแบบโรงเรียน
พกั นอนตามความเหมาะสมตามบริบทพน้ื ท่ี

แผนปฏิบัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

57

กลยทุ ธ์ที่ 3 การเพิ่มโอกาสการเรยี นและการฝกึ อบรมวิชาชพี ใหก้ ับกลุ่มผู้อยู่นอกระบบ
1) พฒั นาและต่อยอดผลติ ภัณฑช์ ุมชนสู่มาตรฐานเพ่ือยกระดบั เปน็ ผลิตภณั ฑ์สรา้ งสรรค์ของชมุ ชน
2) ฝกึ อาชพี ระยะสั้นตามความต้องการของตลาดงาน
3) จัดการเทยี บโอนประสบการณ์ในการทำงานเพอื่ ให้คณุ วุฒิทางการศึกษา
4) ส่งเสริมสนับสนุนอบรมวิชาชีพเพื่อการพัฒนาต่อยอดอาชีพเดิมหรือสร้างอาชีพใหม่สาหรับ
ผูป้ ระกอบอาชีพอสิ ระ

ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 การสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกนั ทางการศึกษา
เปา้ หมายเชิงยุทธศาสตร์
1. ประชาชนกลุ่มทด่ี อ้ ยโอกาสไดร้ ับการชว่ ยเหลือใหม้ ีความพรอ้ มในการเข้าถงึ บรกิ ารการศึกษา
2. ประชาชนได้รบั โอกาสในการเขา้ ถึงบริการการศกึ ษาอย่างมีคณุ ภาพตอ่ เนื่องตลอดชวี ิต
กลยทุ ธแ์ ละแนวทางการปฏิบัตขิ องกลยุทธต์ ามยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4
กลยุทธท์ ี่ 1 ลดความเหลอื่ มลำ้ ทางการศึกษา
1) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้ด้อยโอกาสทุกกลุ่มมีความพร้อมในการศึกษาอาทิการสนับสนุนทุนการศึกษา
สำหรับผู้ด้อยโอกาสคนพิการหรือผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่สงบทุนการศึกษาสำหรั บผู้เรียนใน
การศึกษาตอ่
2) สง่ เสริมและสนับสนุนให้ผูด้ อ้ ยโอกาสคนพกิ ารไดร้ ับการศกึ ษาท่ีมีคณุ ภาพเสมอภาค
3) การจัดการศึกษาทางไกลโดยใช้เทคโนโลยีทางการศึกษาและการสื่อสารอาทิ DLIT, DLTV, ETV
อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
4) ขยายเครือข่ายบริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงครอบคลุมทุกพื้นที่เพียงพอกับผู้เรียนและจัดให้มี
ศูนย์บรกิ ารอินเทอร์เน็ตในสถานศึกษาทีม่ ีความพร้อมในการให้การบริการชุมชน
กลยุทธท์ ่ี 2 เพ่ิมโอกาสการเข้าถึงการศึกษาทมี่ ีคณุ ภาพอยา่ งเทา่ เทยี มและท่ัวถงึ
1) พัฒนาระบบข้อมูลด้านการศึกษาที่มีมาตรฐานเชื่อมโยงและเข้าถึงได้ระหว่างหน่วยงานการศึกษา
และหน่วยภายนอกที่เกี่ยวข้องโดยการจัดทำแผนที่การศึกษา (Education Mapping) และนำ SMART Card
มาใช้ในการใหบ้ ริการการศึกษา
2) รณรงคใ์ ห้ประชากรวัยเรียนไดเ้ ข้าถึงบริการระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานผ่านการประชาสัมพันธ์เชิงรุก
และความรว่ มมือของเครอื ข่ายชุมชนและหนว่ ยงานในพน้ื ท่ี
3) เรง่ พัฒนาสถานศึกษาใหม้ ีมาตรฐานการศกึ ษาท่ีทัดเทยี มและใกล้เคยี งกนั
4) พัฒนาระบบการเทียบโอนผลการเรียนรู้ระหว่างการศึกษาในระบบการศึกษานอกระบบการศึกษา
ตามอัธยาศยั และประสบการณ์จากการทำงาน

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 การจดั การศึกษาเพ่อื เสริมสรา้ งคณุ ภาพชีวิตทีเ่ ป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
เป้าหมายยทุ ธศาสตร์
1. ประชาชนมีองค์ความรจู้ ิตสำนึกในการใชแ้ ละการอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม
2. สถานศึกษาชมุ ชนมีความเข้มแข็งในการอนรุ กั ษ์ฟน้ื ฟูทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม
กลยุทธ์และแนวทางการปฏิบตั ขิ องกลยุทธต์ ามยุทธศาสตร์ท่ี 5
กลยทุ ธท์ ่ี 1 ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การสรา้ งจติ สำนึกรบั ผดิ ชอบตอ่ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

58

1) จัดทำหลักสูตรการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในระดับการศึกษาต่างๆทั้งในระบบ
และนอกระบบ

2) ปลกู ฝงั และส่งเสริมการสรา้ งสำนกึ รักษส์ งิ่ แวดล้อม
3) พัฒนาครูผู้สอนและบุคลากรทางการศึกษาเกี่ยวกับการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ
สิง่ แวดล้อม
4) กำหนดมาตรฐานสถานศึกษาน่าอยู่นา่ เรียนรู้และพัฒนาสถานศึกษาเข้าสู่มาตรฐานพรอ้ มทั้งยกย่อง
เชดิ ชูเกียรตสิ ถานศึกษาทีผ่ า่ นเกณฑ์มาตรฐาน
5) สร้างเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมใน
สถานศกึ ษาและชุมชน
กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาองค์ความรู้การคิดค้นนวัตกรรมเพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ
สงิ่ แวดล้อม
1) พฒั นาฐานข้อมูลแหลง่ เรยี นรูท้ เ่ี กย่ี วข้องกับทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมในชมุ ชน
2) สรา้ งความรู้ความเขา้ ใจในการใช้และอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม
3) ส่งเสริมให้สถานศึกษาศึกษาวิจัยพัฒนาองค์ความรู้นวัตกรรมที่เกี่ยวกับการ อนุรักษ์
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมโดยม่งุ เนน้ การแสวงหาแหลง่ พลังงานใหมท่ ่ีเปน็ มิตรกับสงิ่ แวดลอ้ ม

ยุทธศาสตรท์ ่ี 6 การพัฒนาระบบการบริหารจดั การศึกษา
เปา้ หมายยทุ ธศาสตร์
1. ผู้เรียนครูคณาจารย์บุคลากรทางการศึกษาและสถานศึกษามีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
มขี วญั กำลังใจในการปฏบิ ตั หิ น้าที่
2. หน่วยงาน/สถานศึกษามีระบบบริหารจัดการและมีการทำงานเชิงการบูรณาการกับทุกหน่วยงานใน
พ้ืนทอี่ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพทนั สมัยโปรง่ ใสตรวจสอบได้
3. ทุกภาคส่วนเข้ามามีสว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษาในรูปแบบการสานพลงั ประชารัฐ
กลยทุ ธแ์ ละแนวทางการปฏบิ ัติของกลยุทธต์ ามยุทธศาสตรท์ ี่ 6
กลยุทธ์ที่ 1 รักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของผู้เรียน ครูคณาจารย์ บุคลากร
ทางการศึกษา สถานศกึ ษา และหนว่ ยงานทางการศึกษา
1) สรา้ งความเขม้ แขง็ ของเครอื ข่ายทุกภาคส่วนในการเฝ้าระวงั เหตกุ ารณ์ความไมส่ งบ
2) ส่งเสรมิ ใหป้ ระชาชนในพ้ืนท่ไี ดร้ ับรขู้ ่าวสารและสรา้ งความเขา้ ใจทถี่ กู ตอ้ งต่อสถานการณจ์ ริง
3) ส่งเสริมใหป้ ระชาชนในพ้ืนทีร่ ่วมกันกำหนดมาตรการรักษาความปลอดภัยในพืน้ ที่ตนเองในการดแู ล
ชวี ิตและทรพั ย์สินของผเู้ รียนครูบคุ ลากรทางการศึกษาสถานศึกษาและหนว่ ยงานทางการศึกษา
4) นำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการเฝ้าระวังเหตุการณ์ความไม่สงบในสถานศึกษาและหน่วยงาน
ทางการศกึ ษา
กลยุทธท์ ี่ 2 การเสริมสร้างขวัญและกำลงั ใจแกผ่ ูป้ ฏิบตั หิ นา้ ท่ใี นพนื้ ทจี่ ังหวัดชายแดนภาคใต้
1) สร้างขวญั และกำลังใจในการปฏิบัติหนา้ ที่ของครูคณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาทุกระดบั โดย
การยกย่องเชดิ ชูเกยี รตเิ ป็นกรณพี เิ ศษสำหรบั พ้นื ท่ีจงั หวดั ชายแดนภาคใต้
2) ส่งเสริมให้มีค่าตอบแทนพิเศษแก่ข้าราชการครูและบุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่ในพื้นที่จังหวัดชายแดน
ภาคใต้และส่งเสริมให้ผปู้ ฏิบตั ิหนา้ ทใ่ี นจังหวัดชายแดนภาคใต้ไดม้ โี อกาสบรรจุเขา้ รับราชการเป็นกรณีพิเศษ

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

59

3) ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้มีสวัสดิการด้าน
ท่ีอย่อู าศัย

4) ผลักดนั ใหม้ ีการกำหนดเกณฑ์การประเมินวิทยฐานะหรือเกณฑ์การประเมนิ ความก้าวหน้าในวิชาชีพ
ของครคู ณาจารยแ์ ละบุคลากรทางการศกึ ษาในพน้ื ท่ีจงั หวดั ชายแดนภาคใตเ้ ป็นกรณีพิเศษ

กลยทุ ธท์ ่ี 3 พฒั นาประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การศึกษา
1) พัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาที่สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาแต่ละระดับที่
ครอบคลมุ ท้ังมาตรฐานรปู แบบการประเมินรปู แบบการพัฒนาตามผลการประเมินและการรบั รองผลการประเมนิ
2) สร้างความเข้มแข็งของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบทุกระดับทั้งภาครัฐเอกชนให้สอดคล้องกับ
เจตนารมณก์ ารแกป้ ัญหาจงั หวดั ชายแดนภาคใต้
3) พัฒนาระบบการบริหารจัดการของหน่วยงานทางการศึกษาสู่ความเป็นองค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง
โดยใช้รูปแบบการบริหารสมัยใหม่และนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร
จดั การศกึ ษาทง้ั ระบบทุกระดบั สู่ SMART Office
4) ปรับปรุงประสิทธิภาพการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของหน่วยงานทางการศึกษาและ
สถานศกึ ษาใหเ้ ปน็ ระบบครบวงจร
5) สรา้ งภาพลกั ษณข์ องหนว่ ยงานทางการศึกษาและสถานศึกษาใหเ้ ป็นท่ียอมรับด้วยการสื่อสารองค์กร
การประชาสัมพนั ธแ์ ละการตลาดเชงิ รุกแบบมอื อาชพี
กลยุทธ์ที่ 4 ส่งเสริมการทำงานเชิงบูรณาการการศึกษากับหน่วยงานทุกระดับและการมีส่วนร่วม
การจดั การศึกษา
1) ส่งเสริมให้มีการบูรณาการการจัดการศึกษาระหว่างหน่วยงานการศึกษาและหน่วยงานอื่นในพื้นท่ี
เพอื่ ให้เกิดประโยชนส์ ูงสุดในการใชท้ รพั ยากรรว่ มกัน
2) สร้างความเข้มแข็งขององค์คณะบุคคลทางการศึกษาและภาคีเครือข่ายในการบูรณาการการพัฒนา
คุณภาพการศกึ ษาในพ้นื ท่ี
3) เสริมสร้างความเข้มแข็งของศูนย์ประสานงานและบริหารการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้
(ศปบ.จชต.) ใหเ้ ปน็ องคก์ รในการบรู ณาการการจดั การศึกษาทุกระดบั ทุกประเภทในพื้นท่ีได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ
4) ส่งเสรมิ การมีส่วนร่วมการจัดการศกึ ษาของทกุ ภาคส่วนในการ “สานพลังประชารฐั ”
5) แสวงหาความร่วมมือกับต่างประเทศเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการจัดการศึกษาระหว่างกันและ
ให้มีการแลกเปลี่ยนบุคลากรเพื่อการเชื่อมความสัมพันธ์และการพัฒนาร่วมกันทั้งนี้เน้นการมีพันธสัญญาที่เป็น
รปู ธรรมตอ่ เน่ืองและเป็นประโยชน์ทงั้ สองฝ่าย

6. แผนพัฒนาจังหวดั สงขลา พ.ศ.2561 - 2565 (ฉบบั ทบทวน)

6.1 เปา้ หมายการพัฒนา
“สงขลา ศูนย์กลางเศรษฐกิจภาคใต้ ประชาชนมคี ุณภาพ สิง่ แวดลอ้ มยั่งยืน”

พนั ธกจิ
1. พัฒนาเศรษฐกิจ การค้า การท่องเที่ยว อุตสาหกรรมเกษตร เพื่อรองรับการพัฒนาเขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษและเป็นศนู ย์กลางเศรษฐกิจภาคใต้
2. พฒั นาสงขลาใหเ้ ปน็ สังคมแหง่ การเรยี นรูต้ ลอดชีวิต ประชาชนมีคณุ ภาพ
3. จัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม เพื่อเป็นฐานการผลติ และการพฒั นาอย่างย่ังยืน

แผนปฏบิ ัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

60

4. พฒั นาสงขลาใหป้ ระชาชนมีความมั่นคง ปลอดภยั

6.2 ประเดน็ การพัฒนาของจงั หวดั สงขลา
6.2.1 ประเด็นการพัฒนาท่ี 2 : พัฒนาคณุ ภาพชีวิตของประชาชนบนฐานความรู้และพหุวฒั นธรรม
วัตถุประสงค์ : เพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี บนฐานความรู้ และอยู่ร่วมกันอย่างมี

ความสขุ ภายใตส้ ังคมพหวุ ัฒนธรรม
แนวทางการพัฒนา
1. พฒั นาคณุ ภาพชวี ิตของประชาชน ภายใตห้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
2. ส่งเสริมและพฒั นาการศึกษาทีเ่ นน้ การบูรณาการเพื่อยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษา
3. ส่งเสริมการนำผลการวิจยั และองค์ความรู้ (Best Practice) มาเพิ่มศักยภาพการเรยี นรู้และ

พฒั นาอาชีพ ของประชาชน
4. สง่ เสรมิ การมีส่วนรว่ มในการอนุรักษ์และสืบทอด ด้านศาสนา ศิลปะ วฒั นธรรม และศิลปะ

รว่ มสมยั เพื่อเสรมิ สรา้ งภมู ิคุ้มกนั ทางสังคม
5. ส่งเสรมิ และพัฒนากีฬาและนนั ทนาการ

6.2.2 ประเดน็ การพฒั นาที่ 3 : อนุรกั ษ์และฟน้ื ฟูทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมอย่างย่ังยนื
วตั ถุประสงค์ : เพอ่ื อนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมใหเ้ กิดความย่ังยนื
แนวทางการพฒั นา
1. สง่ เสรมิ และสนับสนุนการป้องกนั อนรุ ักษ์ และฟ้นื ฟทู รพั ยากรธรรมชาติ
2. สง่ เสรมิ และสนบั สนุนการใช้พลังงานทดแทน และการอนรุ ักษพ์ ลงั งาน
3. สง่ เสรมิ และพัฒนาการจัดการสิง่ แวดล้อมสกู่ ารเป็นเมืองสีเขยี ว (Green City)

6.2.3 ประเด็นการพัฒนาที่ 4 : เสริมสร้างความมั่นคงและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของ
ประชาชน

วตั ถุประสงค์ : เพ่อื ให้ประชาชนมคี วามมน่ั คง ปลอดภยั ในชีวิตและทรัพย์สนิ
แนวทางการพฒั นา
1. ส่งเสริม พัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถในการบริหารจัดการหมู่บ้าน/ชุมชน เพื่อให้
เป็นหมู่บา้ น/ชุมชน เขม้ แขง็
2. เสริมสร้างความเชื่อมั่นให้ประชาชนมีความมั่นคง ปลอดภัย สมานฉันท์ ปกป้องและเชิดชู
สถาบันพระมหากษัตริย์
3. เพิ่มประสิทธิภาพการป้องกัน ปราบปรามการกระทำผิดกฎหมาย และการแก้ไขปัญหา
ยาเสพตดิ
4. สง่ เสรมิ และพัฒนาศนู ย์ดำรงธรรมใหท้ ำงานอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
5. พัฒนามาตรการ และสรา้ งระบบปอ้ งกันและลดความเสย่ี งจากสาธารณภัย

7. แผนพัฒนาจังหวัดสตลู 5 ปี(พ.ศ. 2561 - 2565) ฉบบั ทบทวน ประจำปงี บประมาณ
พ.ศ. 2564

เปา้ หมายการพฒั นาจังหวดั สตูล(Vision)
“เมืองทอ่ งเทย่ี วเชงิ นเิ วศ อุทยานธรณีโลก เศรษฐกิจม่นั คง สังคมนา่ อยสู่ ันติสุขยงั่ ยนื ประตสู ูอ่ าเซียน”

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

61

นยิ ามของเป้าหมายการพฒั นา ดงั นี้
๑) เมืองท่องเที่ยวเชิงนิเวศ หมายถึง การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างมีความรับผิดชอบในแหล่งธรรมชาติ
เอกลักษณ์เฉพาะถิ่น และแหล่งวัฒนธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศ สิ่งแวดล้อม โดยมีกระบวนการเรียนรู้
ร่วมกันของผู้ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการสร้างพฤติกรรมการท่องเที่ยวใหม่ ภายใต้การจัดการอย่างมีส่วนร่วมของ
ท้องถิ่น เพื่อมุ่งเน้นให้เกิดจิตสำนึกต่อการรักษาระบบนิเวศอย่างยั่งยืน การท่องเที่ยวมีคุณภาพของการ
บริหารจัดการระดับนานาชาติ บุคลากรการท่องเที่ยว ผู้ประกอบการ สิ่งอำนวยความสะดวกทางการท่องเที่ยว
มีคณุ ภาพ มาตรฐานระดับสากล สตูลโดดเด่นทางการท่องเทีย่ วคุณภาพ ๕ ดา้ น ประกอบด้วย

- การทอ่ งเที่ยวเชงิ นิเวศทางทะเล
- การท่องเทยี่ วเชิงวถิ ีชีวติ ศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และศาสนา
- การทอ่ งเทย่ี วเชงิ ธรณี
- การทอ่ งเทย่ี วเชิงเกษตร
- การท่องเที่ยวเพือ่ คณุ ภาพชวี ิตและการมีสุขภาพดี
๒) อุทยานธรณีโลก (UNESCO Global Geopark) หมายถึง สตูลประสบความสำเร็จในการจัดการ
พื้นที่ที่ประกอบด้วยแหล่งเรียนรู้ทางธรณีวิทยา และแหล่งอนุรักษ์ให้เป็นที่รู้จักหรือมีชื่อเสียง ให้เป็นแหล่ง
ท่องเที่ยวทางทรัพยากรธรรมชาติและนิเวศวิทยา รวมถึงแหล่งโบราณคดี เมืองเก่า และประเพณีวัฒนธรรม
วิถีชีวิต ท้องถิ่นเมืองเก่า โดยนำทรัพยากรเหล่านี้มาบริหารจัดการ สร้างเรื่องราวเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว
และผลักดันให้ชุมชนท้องถิ่นมีรายได้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และยั่งยืน สามารถสร้างรายได้ให้กับจังหวัดและ
ประเทศชาตไิ ด้อย่างมัน่ คง ประชาชนเกดิ จติ สำนึกต่อการรกั ษาระบบนเิ วศและอนรุ ักษท์ รัพยากร โดยเฉพาะการ
สร้างคุณค่าและมูลค่าแก่จังหวัดและชุมชน จากการได้รับการรับรองเป็นอุทยานธรณีระดับโลก (UNESCO
Global Geopark) พัฒนาธุรกิจด้านการท่องเที่ยวให้มีมูลค่าสูงด้วยอัตลักษณ์และวัฒนธรรม สร้างสรรค์มูลค่า
ทางเศรษฐกิจและความหลากหลายของการท่องเที่ยว ทั้งเชิงนิเวศป่าเขา ทางทะเล อุทยานธรณีโลก และการ
ท่องเทย่ี วชายแดน
๓) เศรษฐกิจมั่นคง (Economic Stability) หมายถึง เศรษฐกิจจังหวัด เศรษฐกิจชุมชน
ที่มีการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง มั่นคง ยั่งยืน บนฐานของการผลิตที่มีคุณค่าและมูลค่าศักยภาพในท้องถ่ิน
การค้าชายแดนเติบโตเพิ่มมากขึ้น รวมถึงการสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านการบริการเพื่อรองรับการ
ขยายฐานเศรษฐกจิ ในอนาคต การสร้างและพัฒนาผู้ประกอบการที่มีทักษะและมคี วามสามารถในการแข่งขนั ท่ี
มีอัตลักษณ์ชัดเจน มีนวัตกรรมในการสร้างโมเดลธุรกิจ สินค้าและบริการ และกระบวนการผลิตและบริการใน
สินค้า Geopark สู่การเป็นจังหวัดที่ประสบความสำเร็จในการยกระดับคุณภาพความเป็นอยู่ของประชาชน
บนฐานของปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
๔) สังคมน่าอยู่สันติสุขยั่งยืน หมายถึง การที่จังหวัดสตูลเป็นสังคมพหุวัฒนธรรมท่ีเข้มแข็ง
ความเหลอื่ มล้ำลดลง ประชาชนมคี วามมนั่ คงในทุกมิติเพิ่มขนึ้ ชมุ ชน และทอ้ งถ่ินสามารถพัฒนาสู่การพ่ึงตนเอง
สามารถจัดการตนเองได้มากขึ้น ระบบประชาธิปไตยระดับชุมชนมีความเข้มแข็ง ชุมชนมีความสมัครสมาน
สามัคคี ภาครัฐมีระบบบริหารจัดการที่มีธรรมาภิบาล ทันสมัย บุคลากรภาครัฐมีคุณภาพ และคุณธรรม ยึด
ประชาชนเป็นศูนย์กลาง ตอบสนองความต้องการและให้บริการอย่างอย่างสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส
หน่วยงานภาครัฐของจังหวัด มีการบริหารงานแบบบูรณาการ โดยยึดยุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายการ
เชื่อมโยงการพัฒนาในทุกระดับทกุ ประเดน็ ทุกภารกิจ และทุกพื้นที่ ประชาชนสามารถเข้าถึงการบริการของรฐั

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

62

ด้านสุขภาพ และการศึกษาผ่านเกณฑ์มาตรฐาน แรงงานได้รับการพัฒนาทักษะฝีมือ ประชาชนกลุ่มเปราะบาง
ทั้งคนจน ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาสเข้าถึงสวัสดิการรัฐ ได้รับการเสริมสร้างโอกาส มีงาน อาชีพแลรายได้ท่ี
ม่ันคง สังคมสันติสุข คนสตูลมีสุขภาวะที่ดีเรียนรู้ ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง ชุมชนมีความสงบเรียบร้อย
ภายใต้การมีส่วนร่วมของชุมชน โดยการสร้างภูมิคุ้มกันในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด มีการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ และอยู่ในสิง่ แวดลอ้ มท่ีดี มสี ันติสขุ บนฐานของความหลากหลาย

๕) ประตูสู่อาเซียน หมายถึง การสร้างโอกาสของจังหวัดในเวทีอาเซียนและการเชื่อมโยง
กับประชาคมโลก ผ่านการท่องเที่ยว การค้า และสังคมพหุวัฒนธรรม เป็นการเปิดเส้นทางการเชื่อมโยงสตูล
กับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและโลจิสติกส์ของประเทศไทยไปสู่อาเซียนทางตอนใต้ของประเทศมาเลเซีย
เชอ่ื มต่อไปยงั ประเทศสงิ คโปร์ และอินโดนีเซียได้ รวมถงึ การเตรียมความพร้อมสตลู เปน็ ช่องทางทสี่ ำคัญของไทย
สู่กลุ่มประเทศเขตเศรษฐกิจสามฝ่าย (Indonesia – Malaysia – Thailand Growth Triangle : IMT – GT)
สามารถรองรับการขยายการเชื่อมโยงไปสู่พม่าและจีนต่อไปได้ การสร้างโอกาสในการสร้างความสัมพันธ์
ด้านตา่ ง ๆ กับประเทศในอาเซยี น โดยเฉพาะการสรา้ งมูลคา่ เพ่มิ ทางเศรษฐกจิ ให้กับจังหวดั สตลู และประเทศไทย
ได้อย่างมีนัยยะสำคัญ โดยเชื่อมโยงการพัฒนาดังกล่าวเข้ากับสังคมมุสลิม ในการเป็นเมืองทางเลือกที่สะอาด
สงบ และบรสิ ุทธิ์

วัตถุประสงค์/เป้าหมาย (Objective)
เศรษฐกิจจังหวัดมีการขยายตัว เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศชั้นนำที่ได้มาตรฐานสากล
ประชาชนมคี ณุ ภาพชวี ิตท่ดี ี สงั คมมีสนั ตสิ ขุ และเปน็ มิตรกับสงิ่ แวดล้อมอยา่ งย่งั ยืน

ประเด็นการพัฒนาของจังหวัด/ยทุ ธศาสตร์ (Strategic Issue)
1. สรา้ งมูลค่าเพมิ่ การท่องเท่ียว การเกษตร และการค้าสู่อาเซียน
2. การบรหิ ารจัดการทรพั ยากรธรรมชาติ ส่งิ แวดลอ้ ม และอุทยานธรณีสตลู อย่างสมดุล และ
ย่ังยืน
3. การยกระดบั คุณภาพชวี ิต เสริมสร้างความมน่ั คงและสงั คมสนั ตสิ ุข

จุดยืนทางยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนาจงั หวัด (Strategic Positioning)
ประกอบด้วยจุดยืนทางยุทธศาสตร์ 3 ประเด็น ดังน้ี
1. การพัฒนาเศรษฐกิจ การค้า การท่องเท่ยี ว การเกษตร ท่ีมีมูลค่าสงู
2. การบริหารจดั การทรัพยากรธรรมชาติ ส่งิ แวดล้อม และอทุ ยานธรณีโลกอยา่ งสมดุล และ
ยัง่ ยนื
3. การสรา้ งสงั คมพอเพียง และคนที่มคี ุณภาพ สสู่ ันติสขุ ท่ยี ่ังยืน

ตัวชี้วัดความสำเรจ็ ตามเป้าหมายการพัฒนาจงั หวัด
เศรษฐกิจจังหวัดมีการขยายตัว เศรษฐกิจชุมชนเติบโต สตูลเป็นเมืองอุทยานธรณีโลก

และแหล่งทอ่ งเทยี่ วเชิงนเิ วศช้นั นำทไ่ี ดม้ าตรฐานสากล ประชาชนมคี ุณภาพชวี ติ ทดี่ ี สงั คมมสี นั ตสิ ุข และเป็นมิตร
กับสิง่ แวดล้อมอย่างย่งั ยืน

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

63

ประเด็นการพัฒนาของจังหวัด
๑. การเสริมสร้างเศรษฐกิจและสร้างมูลค่าเพิ่มจากอุทยานธรณีโลกสตูล การท่องเที่ยว
การเกษตร และการค้าสอู่ าเซยี นท่เี ตบิ โตอยา่ งตอ่ เน่ือง
๒. การบรหิ ารจดั การทรพั ยากรธรรมชาติแบบมสี ่วนรว่ ม อย่างสมดุล และยัง่ ยืน
๓. การเสริมสร้างความมั่นคง สังคมสันติสุข และยกระดับคุณภาพชีวิต บนฐานปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง

ประเด็นการพัฒนาที่ ๑ : การเสริมสร้างเศรษฐกิจและสร้างมูลค่าเพิ่มจากอุทยานธรณีโลก
การท่องเท่ียว การเกษตร และการค้าสู่อาเซียนทเ่ี ติบโตอยา่ งต่อเน่ือง

วัตถปุ ระสงค/์ เปา้ หมาย
๑. สร้างมูลค่าจากการท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่มีคุณภาพให้เติบโตเป็นเมืองน่าอยู่ น่าเที่ยว สร้าง
รายได้ใหก้ ับชุมชนและจงั หวดั
๒. สนิ ค้าท่สี ำคญั ของจงั หวัดได้รับการพัฒนาการผลิตทมี่ ีคุณคา่ และมูลคา่ เพิ่ม
๓. ปริมาณการเพ่มิ ขน้ึ ของการค้าชายแดน

ประเด็นการพัฒนาที่ ๒ : การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติแบบมีส่วนร่วม อย่างสมดุล
และย่งั ยืน

วัตถปุ ระสงค์/เปา้ หมาย
๑. สตูลเมืองธรรมชาติบริสุทธิ์ การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้มี
ประสิทธภิ าพอย่างสมดลุ และย่ังยนื สนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ เศรษฐกิจ สงั คมและคุณภาพชวี ิตของประชาชน
๒. ชมุ ชนมีส่วนรว่ มในการจดั การ ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ มด้วยตนเอง
๓. สตูลเมืองสะอาดมรี ะบบการจัดการขยะที่ได้มาตรฐาน ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการ
อย่างเป็นระบบ ประชาชนตระหนกั และมรี ะเบียบวนิ ยั ในการจดั การขยะ ทุกกระบวนการ
๔. มีระบบการบริหารจัดการความเสี่ยงของปัญหาภัยพิบัติระดับจังหวัดที่มีประสิทธิภาพ
สามารถลดปญั หาการเกดิ ภัยได้อยา่ งตอ่ เนื่อง

ประเด็นการพัฒนาที่ ๓ : การเสรมิ สร้างความมัน่ คง สังคมสนั ติสขุ และยกระดับคุณภาพชีวิต
บนฐานของปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง

วัตถปุ ระสงค/์ เป้าหมาย
๑. สตูลเป็นเมืองสุขภาวะและเมืองนิเวศสขุ ภาพประชาชนมสี ุขภาพดี
๒. ระบบบริการของรฐั มีคุณภาพ เข้าถึงประชาชน และประชาชนได้รบั สวสั ดิการของรฐั อยา่ งทั่วถึง
เป็นธรรม และมปี ระสิทธิภาพ
๓. ความเหล่ือมล้ำทางรายไดล้ ดลง ความมน่ั คงทางอาชีพของประชาชนเพิม่ ขึ้น
๔. สังคมสตูลมีความพร้อมของการเป็นสังคมผู้สูงอายุ และเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้เข้มแข็ ง
อย่างยง่ั ยืน ยึดหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

64

๕. ปัญหาอาชญากรรม ยาเสพติดและภัยคุกคามลดลงอย่างต่อเนื่อง สังคมพหุวัฒนธรรม อยู่
ร่วมกนั อย่างสันติสขุ

8. แผนพัฒนาการศึกษา (พ.ศ.2563 – 2565) จงั หวดั สงขลา ฉบับทบทวนประจำปี
งบประมาณ พ.ศ.2564

วิสยั ทัศน์ (Vision)
สังคมแหง่ การเรียนรู้คคู่ ุณธรรม นำคณุ ภาพ สู่ความสุขที่ยงั่ ยืน

นิยามวสิ ัยทศั น์
สังคมแห่งการเรียนรู้ หมายถึง การจัดการศึกษาให้แก่ผู้เรียนทุกเพศ ทุกวัย ทุกระดับและผู้ด้อยโอกาส
เพือ่ การแสวงหาความรู้ในการดำรงตน การมีอาชีพและการแขง่ ขนั ในสงั คมโลก
คู่คุณธรรม หมายถึง ดำรงตนเป็นคนดีตามรอยเบื้องพระยุคลบาทโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงโดยใช้เงื่อนไขความรู้ค่คู ุณธรรม ภายใต้ค่านยิ ม “เกดิ มาตอ้ งตอบแทนบญุ คณุ แผ่นดิน”
นำคณุ ภาพ หมายถงึ จดั ระบบการศึกษาโดยให้เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษาในทุกระดับ
สู่ความสุขที่ยั่งยืน หมายถึง สร้างความตระหนักและดำเนินภารกิจภายใต้การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและ
เพิ่มระดบั คุณภาพชวี ิตทีย่ ัง่ ยนื

พันธกจิ (Mission)
1. สง่ เสริมสงั คมแห่งการเรยี นรู้ตลอดชีวิต รักษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม และพัฒนาอยา่ งยั่งยืน
2. พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ คู่คุณธรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเรียนรู้สู่อาชีพใน
ภูมภิ าคอาเซยี น
3. ส่งเสรมิ โอกาสการเข้าถงึ บริการการศึกษาของประชาชนอย่างทัว่ ถึงและเกิดการเรียนรตู้ ลอดชวี ติ
4. ยกระดบั คุณภาพ ตามมาตรฐานการศกึ ษาสู่สากล
5. พฒั นาระบบบริหารจดั การศกึ ษาตามหลักธรรมาภบิ าล
6. พัฒนาระบบการบริหารและการจัดการศึกษาที่ตอบสนองความต้องการของบริบทเชิงพื้นที่สอดรับ
กบั เขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษสงขลา
7. พัฒนาระบบการบริหารและการจัดการศึกษาที่ตอบสนองความต้องการของบริบทเชิงพื้นที่สอดรับ
กับเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกจิ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้

ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategy Issue)
ยุทธศาสตร์ท่ี 1 พฒั นาการจดั การศึกษาเพือ่ ความมน่ั คง
ยุทธศาสตร์ที่ 2 พฒั นากำลงั คน การวิจัย เพือ่ สรา้ งความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ
ยุทธศาสตร์ท่ี 3 พัฒนาศักยภาพคนให้มคี ุณภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 5 สง่ เสริมและจัดการศกึ ษาเพอื่ เสริมสร้างคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมติ รกบั ส่งิ แวดล้อม
ยุทธศาสตร์ท่ี 6 พฒั นาระบบบริหารจดั การใหม้ ีประสทิ ธิภาพ
ยุทธศาสตรท์ ่ี 7 การจัดการศึกษาเพอื่ การพัฒนาชุมชนและสงั คมอยา่ งยั่งยืนตามพระราโชบาย

แผนปฏิบัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

65

เป้าประสงค์ (Goals)
1. ประชาชนมีการเรยี นรูต้ ลอดชีวติ อนรุ ักษ์ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ รกั ษ์สิ่งแวดล้อม และพฒั นาอยา่ งย่งั ยืน
2. ผู้เรียนมีความรู้ คู่คุณธรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเรียนรู้สู่อาชีพ ในภูมิภาค
อาเซยี น
3. ประชาชนมโี อกาสการเข้าถึงบริการการศึกษาอย่างท่วั ถึง และเกดิ การเรยี นรู้ตลอดชีวติ
4. หน่วยงานทางการศึกษายกระดับคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาชาติส่สู ากล
5. หน่วยงานทางการศึกษามีระบบบริหารจดั การศกึ ษาตามหลกั ธรรมาภิบาลภายใตห้ ลักการ มสี ว่ นร่วม
และบรู ณาการการทำงานเพอื่ ให้เกดิ ความคุม้ คา่
6. หน่วยงานทางการศึกษาจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะด้านวิชาชีพ พร้อมเข้าสู่
ตลาดแรงงานในเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พิเศษสงขลา
7. หนว่ ยงานทางการศกึ ษาพัฒนารปู แบบการจัดการศึกษาที่เหมาะสมกบั บรบิ ทเชงิ พ้นื ท่ี
8. หน่วยงานทางการศึกษามีการบริหารและการจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับบริบทเชิงพื้นที่ใน
เขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกิจจงั หวัดชายแดนภาคใต้

เป้าประสงคเ์ ชิงยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ และตัวชี้วัดภายใตป้ ระเด็นยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ท่ี 1 พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อความม่ันคง
เป้าประสงคเ์ ชงิ ยุทธศาสตร์
1. สถานศกึ ษามีหลักสตู รและกระบวนการจัดการเรยี นรทู้ ีส่ ่งเสรมิ ความมั่นคงและปลอดภยั ของประเทศ
2. ชุมชนและสงั คมจังหวัดสงขลามคี วามมั่นคงและปลอดภัย
3. ชุมชนและสังคมจังหวัดสงขลามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สืบทอดศิลปวัฒนธรรมประเพณีและ
เสรมิ สรา้ งภมู ิค้มุ กันทางสงั คม
กลยทุ ธ์
1. พฒั นาการจดั การศกึ ษาในทกุ ระดับ ทุกกลุ่มเป้าหมายเพอ่ื เสริมสร้างความม่ันคงของสถาบันหลักของ
ชาตแิ ละการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ
2. ยกระดับคุณภาพและส่งเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัด
ชายแดนภาคใต้
3. ปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหายาเสพตดิ และภยั คุกคามในทุกรูปแบบ

ตวั ช้ีวดั
1. ร้อยละของสถานศึกษามีหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีค่านิ ยม “เกิดมาต้อง
ตอบแทนบญุ คุณแผ่นดิน”
2. ร้อยละของสถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ สามารถพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
3. ร้อยละของสถานศึกษาที่มีกิจกรรมส่งเสริมการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติด และ
ภัยคุกคามในทุกรูปแบบ

แผนปฏิบัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

66

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 พัฒนากำลังคน การวจิ ัย เพอ่ื สรา้ งความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ
เปา้ ประสงคเ์ ชิงยทุ ธศาสตร์
1. หน่วยงานทางการศึกษาจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะด้านวิชาชีพ พร้อมเข้าสู่
ตลาดแรงงาน
2. หน่วยงานทางการศึกษาส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้ และนวัตกรรมที่สร้าง
ผลผลิต และมลู คา่ เพ่ิมทางเศรษฐกจิ
กลยทุ ธ์
1. ผลิตและพัฒนากำลังคนให้มีสมรรถนะในสาขาที่ตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน และการ
พัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ
2. ส่งเสริมการผลิตและพัฒนากำลังคนที่มคี วามเป็นเลศิ เฉพาะด้าน
3. สง่ เสรมิ การวิจัยเพ่อื สร้างองค์ความรู้หรือนวตั กรรมที่สร้างผลผลติ และมลู คา่ เพ่ิมทางเศรษฐกิจ
4. ส่งเสริม สนับสนุน การปรับรูปแบบการเรียนรู้ และการสอน เพื่อพัฒนาทักษะอาชีพและการมี
งานทำใหเ้ หมาะสมในแตล่ ะช่วงวัย
ตัวชีว้ ดั
1. ร้อยละของสถานศึกษาที่มีหลักสูตรการเรียนการสอนตรงความต้องการของตลาดงานและ
อตุ สาหกรรมเปา้ หมายของประเทศ
2. รอ้ ยละของผสู้ ำเรจ็ การศึกษาเขา้ ทำงานในสถานประกอบการ/ประกอบการเอง
3. รอ้ ยละของผสู้ ำเรจ็ การศึกษาทผ่ี ่านเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพ และคุณวุฒวิ ิชาชีพ
4. ร้อยละของสถานศึกษาที่จดั การเรียนการสอนโดยใชแ้ นวทาง STEM ศึกษา
5. ร้อยละของสถานศึกษาท่ีจัดการเรยี นการสอนโดยใช้กระบวนการ Active Learning
6. ร้อยละของผลงานวิจยั เพอื่ สร้างองค์ความรู้หรือนวตั กรรมที่สร้างมูลคา่ เชิงพาณิชย์

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 พฒั นาศกั ยภาพคนใหม้ ีคุณภาพ
เปา้ ประสงค์เชงิ ยุทธศาสตร์
1. หนว่ ยงานทางการศกึ ษายกระดับคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาชาตสิ ู่สากล
2. เด็กสงขลาใฝเ่ รยี นรู้ อยู่อย่างพอเพยี ง

กลยุทธ์
1. ส่งเสริมสนับสนุนให้คนมีทักษะ ความรู้ ความสามารถและพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างเหมาะสมเต็ม
ตามศกั ยภาพในแต่ละช่วงวัย
2. ส่งเสริมและบูรณาการการจัดการเรียนการสอน และการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และ
ความเป็นพลเมือง
3. สง่ เสรมิ สนบั สนุนการพัฒนาศกั ยภาพครู และบุคลากรทางการศึกษาดว้ ยรูปแบบที่หลากหลาย
4. สง่ เสริมการพัฒนาผ้เู รยี นใหม้ ศี กั ยภาพรองรับการเป็นจังหวดั MICE City
5. ส่งเสริมสนบั สนุนให้เด็กสงขลาใฝ่เรียนรู้ อยอู่ ย่างพอเพียง
ตวั ชวี้ ดั
1. รอ้ ยละของสถานศึกษาที่จดั การเรียนรทู้ ่ีส่งเสรมิ กระบวนการคดิ วเิ คราะห์
2. รอ้ ยละของสถานศึกษาท่จี ัดการศึกษาใหผ้ เู้ รยี นสามารถใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสอ่ื สาร

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

67

3. ร้อยละของสถานศึกษาทจ่ี ัดสอนภาษาต่างประเทศเป็นภาษาทีส่ าม
4. รอ้ ยละของสถานศึกษาทมี่ ีผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติเพ่ิมข้นึ ตามเปา้ หมายทก่ี ำหนด
5. รอ้ ยละของสถานศึกษาทีจ่ ดั การศึกษาไดต้ ามมาตรฐานการศกึ ษาแต่ละชว่ งวยั
6. ร้อยละของสถานศึกษาส่งเสริมและบูรณาการการจัดการเรียนการสอน และการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมี
คณุ ธรรม จริยธรรม และความเปน็ พลเมือง
7. ร้อยละของครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ได้รับการพัฒนาตามมาตรฐานวิชาชีพ และสามารถ
ปฏิบัตงิ านได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา
เป้าประสงค์เชิงยทุ ธศาสตร์
ประชาชนมโี อกาสการเขา้ ถึงบรกิ ารการศึกษาอย่างท่วั ถงึ และเกิดการเรียนรตู้ ลอดชวี ติ
กลยุทธ์
1. เพม่ิ โอกาส และความเสมอภาคในการเข้าถงึ การศึกษาทีม่ ีคณุ ภาพ
2. สง่ เสริมและพัฒนากระบวนการเรียนรเู้ พ่ือการพัฒนาคนไทยทุกช่วงวัยให้มคี ณุ ภาพชีวิตที่ดี
3. ส่งเสริมและพัฒนาแพลตฟอร์มการเรียนรู้ผ่านระบบดิจิทัลที่เหมาะสมเพื่อการศึกษาสำหรับคนทุก
ช่วงวัย
ตวั ช้ีวดั
1. รอ้ ยละของสถานศึกษาทม่ี ีระบบการดูแลช่วยเหลือผู้เรยี นทม่ี ปี ระสิทธิภาพ
2. รอ้ ยละของผูเ้ รียนออกกลางคันทีไ่ ดร้ ับการดูแลและสง่ ต่อไปยงั หน่วยงานทางการศึกษาอืน่
3. ร้อยละของผู้พิการ ผ้ดู ้อยโอกาสและผูม้ คี วามสามารถพเิ ศษไดร้ ับการศึกษาในรูปแบบท่เี หมาะสม
4. รอ้ ยละของสถานศึกษาท่ีไดร้ ับการสนับสนุนทุน และทรัพยากรทางการศึกษาจากบุคคล/หน่วยงาน/
องค์กร/มูลนิธเิ พอื่ สนับสนนุ การศึกษาของผเู้ รยี น
5. ร้อยละของสถานศึกษาที่นำระบบเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชเ้ ป็นเครื่องมือในการแก้ปัญหาและยกระดบั
ผลสมั ฤทธิ์มาใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 5 ส่งเสริม และจดั การศกึ ษาเพอ่ื เสริมสร้างคุณภาพชวี ิตที่เปน็ มติ รกับสิ่งแวดลอ้ ม
เปา้ ประสงคเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตร์
1. ประชาชนมีการเรียนร้ตู ลอดชวี ิต อนรุ กั ษ์ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน รักษ์ส่ิงแวดล้อม และพัฒนาอย่างยัง่ ยืน
2. ชมุ ชนจังหวดั สงขลามีคุณภาพชีวติ ทีด่ ี
กลยทุ ธ์
1. ส่งเสริมและสนับสนนุ การปอ้ งกนั อนุรักษ์ และฟ้นื ฟูทรัพยากรธรรมชาติ
2. สง่ เสริม และพัฒนาหลักสูตรกระบวนการเรียนรู้ แหล่งเรยี นรูแ้ ละสื่อการเรยี นรตู้ า่ ง ๆ ทเี่ ก่ียวข้องกับ
การสรา้ งเสริมคณุ ภาพชวี ติ ทเ่ี ปน็ มติ รกบั สิ่งแวดล้อม
3. พฒั นาองค์ความรู้ งานวิจัยดา้ นการเสริมสร้างคุณภาพชีวติ ทเ่ี ป็นมติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม
ตวั ช้วี ัด
1. ร้อยละของสถานศึกษาที่จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีจิตสำนึกป้องกัน
อนุรกั ษ์ และฟนื้ ฟูทรพั ยากรธรรมชาติ สง่ิ แวดล้อมในชมุ ชน และรกั ชมุ ชน

แผนปฏิบตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

68

2. รอ้ ยละของสถานศึกษา มหี ลักสตู ร แหล่งเรยี นรู้และส่ือการเรียนรู้ท่ีพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพชีวิตท่ี
เปน็ มิตรกับสง่ิ แวดลอ้ มตามเกณฑท์ ี่กำหนด

3. ร้อยละของผู้เรียนที่ได้รับการพัฒนาองค์ความรู้/งานวจิ ัยที่พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตร
กบั สิ่งแวดล้อม

4. รอ้ ยละของสถานศกึ ษาที่สง่ เสริมผเู้ รียนให้มีการพัฒนางานวจิ ัย/นวัตกรรมท่เี ป็นมติ รกับส่ิงแวดลอ้ ม

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 6 พัฒนาระบบบริหารจดั การใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ
เป้าประสงค์เชิงยทุ ธศาสตร์
1. หนว่ ยงานทางการศึกษามรี ะบบบริหารจัดการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาลภายใตห้ ลักการมีส่วนร่วม
และบรู ณาการการทำงานเพื่อใหเ้ กดิ ความคุ้มคา่
2. หน่วยงานทางการศกึ ษาพฒั นารปู แบบการจัดการศกึ ษาท่ีเหมาะสมกบั บรบิ ทพื้นท่ี
3. หน่วยงานทางการศึกษามีการบริหารและการจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับบริบทเชิงพื้นที่ในเขต
พฒั นาพเิ ศษเฉพาะกจิ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้
กลยทุ ธ์
1. สร้างระบบและกลไกการบริหารจัดการหนว่ ยงานและสถาบนั การศึกษาให้มีประสิทธภิ าพ
2. พฒั นาระบบบริหารงานบุคคล ของบุคลากรทางการศึกษาใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ
3. สง่ เสริมและสนบั สนนุ การมีสว่ นรว่ มทกุ ภาคสว่ นในการจัดการศึกษา
4. ใชเ้ ทคโนโลยีในการบรหิ ารจัดการศึกษาในเขตพืน้ ทีป่ กติและพ้ืนที่พิเศษ
5. พฒั นาระบบฐานข้อมลู กลางทางการศึกษาให้มีประสิทธิภาพและสามารถใช้ประโยชน์ร่วมกนั ได้
6. การปรบั ตัวด้านการบรหิ ารจดั การตอ่ สถานการณก์ ารระบาดของโรคตดิ ต่อ
ตัวชว้ี ดั
1. ร้อยละของหน่วยงานที่มีระบบและกลไกบริหารจัดการที่ยึดหลักธรรมาภิบาลซึ่งผ่านการประเมิน
ตามเกณฑ์ทก่ี ำหนด
2. รอ้ ยละของหนว่ ยงานมภี าคีเครือขา่ ยทเี่ ขา้ มามสี ่วนรว่ มในการส่งเสรมิ การจดั การศึกษา
3. รอ้ ยละของหนว่ ยงานทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพการปฏบิ ัติงานเพิ่มข้ึนจากการใชเ้ ทคโนโลยี
4. ระดบั ความพงึ พอใจของผู้ใชข้ ้อมลู สารสนเทศทางการศึกษาเพ่ือการบรหิ ารจดั การ
5. ร้อยละของสถานศึกษาที่มีการจดั การท่ีดเี พ่ือการป้องกนั และควบคมุ การระบาดของโรคติดต่อ

ยทุ ธศาสตร์ที่ 7 การจดั การศกึ ษาเพอื่ การพฒั นาชุมชนและสงั คมอยา่ งยั่งยืนตามพระราโชบาย
เปา้ ประสงคเ์ ชิงยทุ ธศาสตร์
1. ชมุ ชนและสังคมมกี ารพัฒนาอยา่ งยัง่ ยนื เมอื่ มีการขับเคลอ่ื นการพฒั นาตามแนวพระราโชบาย
2. ผู้เรยี นจงั หวดั สงขลามคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม มที ักษะพืน้ ฐานในการดำรงตนเปน็ พลเมืองดขี องสงั คม
3. ผ้เู รียนมที กั ษะอาชีพและมีพืน้ ฐานชวี ิตทดี่ ี
กลยทุ ธ์
1. การปลกู ฝงั ทัศนคติท่ดี ขี องผู้เรยี นตอ่ บา้ นเมือง
2. การสง่ เสริมและพัฒนาทกั ษะพนื้ ฐานชวี ิตผู้เรียนเพือ่ คุณภาพชีวิตทดี่ ี
3. การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพทุกสาขาและ
ทกุ ระดบั

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

69

4. การพัฒนากระบวนการเรียนรเู้ พือ่ เสรมิ สร้างความเปน็ พลเมืองดีและเป็นกำลงั ในการพฒั นาประเทศ
ตัวชวี้ ัด
1. ร้อยละของผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในขนบธรรมเนียมประเพณีศิลปวัฒนธรรมไทยอนุรักษ์และ
สืบทอดภูมปิ ญั ญาของชมุ ชนและทอ้ งถิ่น
2. รอ้ ยละของสถานศึกษามีองคค์ วามร/ู้ นวตั กรรมการสร้างเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรมทเ่ี ผยแพร่ได้ และ/
หรือมีแผนการเรยี นรู้สร้างเสริมคณุ ธรรมจริยธรรมในชัน้ เรียน
3. ร้อยละของผู้เรียนมีความเข้าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อย่างลึกซึ้ง นำไปประยุกต์ใช้ได้
กับการประกอบอาชีพได้ทกุ สาขาและทกุ ระดบั
4. ร้อยละของผู้เรียนตระหนักรู้ในหนา้ ทีค่ วามเปน็ พลเมืองทีด่ ี

9. แผนพัฒนาการศกึ ษาสำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษาสงขลา สตลู
พ.ศ. 2563 – 2565

สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล ได้จัดทำแผนพัฒนาการศึกษาสำนกั งาน
เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล พ.ศ. 2563 – 2565 โดยมีวิสัยทัศน์ “สำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้คู่คุณธรรมบริหารจัดการศึกษาที่มีคุณภาพสู่
มาตรฐานระดับสากลในสงั คมพหุวฒั นธรรม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ยุทธศาสตร์ในการพัฒนา
ตามทิศทางการพัฒนาการศึกษาทั้งหมด 6 ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย ยุทธศาสตร์ที่ 1 จัดการศึกษาเพื่อความ
ม่ันคงของมนษุ ย์ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 การจดั การศึกษาเพอื่ เพิ่มความสามารถในการแข่งขนั ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 ส่งเสริม
สนับสนนุ การพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 ขยายโอกาสการเขา้ ถงึ บริการทางการศึกษา
และการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 5 จัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ
ส่ิงแวดล้อม ยุทธศาสตรท์ ี่ 6 พฒั นาระบบบริหารจดั การและสง่ เสริมการมสี ่วนร่วม

10. การวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ ม (SWOT Analysis)

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล ดำเนินการวิเคราะห์สถานการณ์ โดยใช้
เทคนิค SWOT Analysis โดยวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก และสภาพแวดล้อมภายใน ซึ่งมี 4 ประเด็น
ดงั นี้

1. สภาพแวดล้อมภายในท่ีเป็นจุดแขง็ (Strengths : S) หมายถงึ ปัจจัยหลกั ของสภาพแวดล้อม
ภายในหนว่ ยงานที่เป็นจดุ แข็ง ขอ้ ดี หรอื ขอ้ เดน่ ท่จี ะทำใหห้ นว่ ยงานประสบผลสำเร็จ บรรลวุ ตั ถุประสงค์

2. สภาพแวดล้มภายในทีเ่ ปน็ จุดอ่อน (Weaknesses : W) หมายถงึ ปจั จัยหลกั สภาพแวดลอ้ ม
ภายในหน่วยงานที่เป็นจุดอ่อน ข้อด้อย หรือจุดที่ควรพัฒนาส่งผลเสียต่อการดำเนินงานของหน่วยงานที่ยังไม่
บรรลวุ ตั ถุประสงค์

3. สภาพแวดล้อมภายนอกที่เป็นโอกาส (Opportunities : O) หมายถึง ปัจจัยหลักของ
สภาพแวดล้อมภายนอกหน่วยงานที่เป็นโอกาส เอื้ออำนวย หรือสนับสนุนหน่วยงานให้ประสบผลสำเร็จบรรลุ
วตั ถุประสงค์

แผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

70

4. สภาพแวดล้อมภายนอกที่เป็นอุปสรรค (Threats : T) หมายถึง ปัจจัยหลักของ
สภาพแวดล้อมภายนอกหน่วยงานที่เป็นอุปสรรค ภัยคุกคาม หรือข้อจำกัดที่จะทำให้การดำเนินงานของ
หน่วยงานไม่ประสบผลสำเรจ็ หรือยังไมบ่ รรลุวตั ถุประสงค์

สรุปสถานการณ์ (SWOT Analysis) ของสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล
พบวา่ มีจุดแข็ง จุดออ่ น โอกาส และอุปสรรค ดงั นี้

ปัจจัยภายใน
จดุ แข็ง (Strengths : S)
1. มโี ครงสร้างการบริหารทช่ี ัดเจน
2. มีโรงเรยี นต้นแบบที่หลากหลาย
3. นกั เรยี นมีสมรรถนะท่ีหลากหลายได้รบั รางวัลระดับชาติ ระดบั นานาชาติ
4. ครูและบคุ ลากรทางการศึกษามีความเช่ียวชาญและมีความสามารถเฉพาะดา้ น
5. ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา มีความรัก สามัคคี และผูกพันต่อองคก์ ร
6. บุคลากรมคี วามรคู้ วามสามารถที่หลากหลาย
7. บุคลากรมคี วามกระตือรือร้น ทำงานเป็นทมี ทำงานอย่างมสี ว่ นร่วม
8. การบริหารจดั การงบประมาณที่มีประสิทธภิ าพ
9. มวี ัสดุอปุ กรณเ์ พียงพอ
10. การบรหิ ารจัดการอย่างเป็นระบบ
11. การบริหารงานแบบมสี ่วนร่วมโดยใช้สหวทิ ยาเขตเป็นฐาน
12. มีค่าเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับเขตพื้นท่ี

การศกึ ษาสูงกวา่ ระดบั ประเทศทุกกลุม่ สาระการเรียนรู้
จดุ อ่อน (Weaknesses : W)
1. มีสถานศกึ ษาขนาดเลก็ จำนวนมาก
2. มีนกั เรียนบางสว่ นด้อยโอกาสและยากจนพิเศษ
3. การใช้ภาษาถน่ิ ในการสื่อสารทำใหย้ ากต่อการจดั การเรยี นรู้
4. ครูบางส่วนมีการจัดการเรียนการสอนยึดเนื้อหาจากหนังสือเรียนมากกว่ามาตรฐานการ

เรยี นรู้
5. ครูจดั การเรยี นรู้ แบบ Active Learning นอ้ ย
6. ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษามีงานวิจัยและนวตั กรรมเพื่อพัฒนาการศกึ ษาน้อย
7. โรงเรยี นสว่ นหนงึ่ ภาพรวมอัตรากำลังเกินเกณฑ์ แตข่ าดแคลนบางวิชาเอก
8. ครูและบุคลากรทางการศึกษาไม่ครบตามกรอบอัตรากำลัง
9. การบริหารจัดการขอ้ มลู สารสนเทศไม่เป็นระบบ
10. การบริหารจัดการสง่ิ แวดล้อมเทคโนโลยียังไม่เตม็ ประสิทธภิ าพ
11. การนิเทศภายในของสถานศึกษายังไม่เข้มแขง็ และขาดการประสานการนเิ ทศภายนอก
12. การจัดระบบบริหารจัดการดูแลโรงเรียนตามบริบทเชิงพื้นที่และขนาดโรงเรียนยังไม่

เหมาะสม

แผนปฏิบตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

71

ปัจจัยภายนอก
โอกาส (Opportunities : O)
1. เป็นศูนย์กลางทางการศึกษาทกุ ระดับและมมี หาวิทยาลัยหลายแห่ง
2. หนว่ ยงานภาครฐั และเอกชนให้ความร่วมมือและให้การสนบั สนนุ ในการจดั การศกึ ษา
3. จังหวัดสงขลาตัง้ อย่ใู นเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษสงขลา
4. ต้ังอยู่ในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกจิ จังหวัดชายแดนภาคใต้
5. จงั หวดั สตลู เป็นพื้นทน่ี วัตกรรมทางการศกึ ษา
6. มีแหล่งเรียนรู้ แหล่งท่องเทีย่ วทสี่ ่งเสรมิ การเรยี นรูท้ ่หี ลากหลาย
7. มสี ภาพทางภูมิศาสตร์ ท่ดี ี เอื้อต่อการเรยี นรู้
8. เป็นสังคมพหุวัฒนธรรมมีวัฒนธรรมประเพณีที่หลากหลายเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ขา้ มวฒั นธรรม
9. มเี ทคโนโลยีและการส่ือสารทท่ี นั สมัยครอบคลุมทกุ พ้ืนท่ี
10. เป็นศนู ย์กลางด้านการคมนาคมและขนส่ง
11. เป็นศนู ย์กลางการค้าเศรษฐกิจภาคใต้
12. มีนโยบายดา้ นการศกึ ษาท่ีชดั เจนสอดรบั กนั ทกุ ระดบั
อปุ สรรค (Threats : T)
1. นโยบายการศึกษาเปลี่ยนแปลงบ่อย
2. เกณฑ์การกำหนดอัตรากำลงั ทำใหก้ ารจดั สรรอตั รากำลังครูไม่เพยี งพอ
3. ปัญหาสังคมครอบครวั แตกแยก
4. เหตุการณค์ วามไมส่ งบในพ้ืนท่ี
5. ปัญหายาเสพตดิ ในชมุ ชน
6. การขยายตัวของชุมชนเมืองและการเข้ามาของแรงงานต่างด้าวทำให้เกิดการเคลื่อนย้าย

ประชากรวยั เรยี น
7. ประชากรวัยเรยี นลดลง
8. คา่ ครองชพี สูง ผู้ปกครองมีรายได้น้อย ยากจน
9. เปน็ สังคมเกษตรกรรมรายได้ไม่แนน่ อน
10. ได้รบั การจัดสรรงบประมาณลา่ ช้าทำให้ไมส่ ามารถดำเนนิ โครงการตามเวลาที่กำหนดได้
11. ไดร้ บั การจดั สรรงบประมาณไมเ่ ปน็ ไปตามแผนทวี่ างไว้

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

สว่ นท่ี 3

สาระสำคัญของแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
ของสำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล ได้ศึกษาวิเคราะห์บริบทที่เกี่ยวข้อง
ประกอบด้วยพระบรมราโชบายด้านการศึกษา ของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร
มหาวชิราลงกรณฯ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว กรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561 - 2580)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) แผนการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2560 - 2579 นโยบายรัฐบาล นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน นโยบายการพัฒนาการศึกษาจังหวัดสงขลา และ ผลวิเคราะห์
สภาพแวดล้อมของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล มากำหนดเป็นแนวทางในการ
ดำเนินงาน เน้นความพร้อม และการสร้างความเข้มแข็ง ของระบบการบริหารจัดการแบบการมีส่วนร่วมท้ัง
องค์กร บูรณาการการบริหารงบประมาณเชิงยุทธศาสตร์ ยึดหลัก ธรรมาภิบาล ให้ความสำคัญในด้านความ
โปร่งใส ถูกต้อง มีคุณธรรม รวมทั้งการกระจายอำนาจการบริหารจัดการให้บุคลากรทุกระดับมีส่วนร่วม
รับผิดชอบ ปรับปรุง พัฒนางานอย่างเป็นระบบโดยได้กำหนด วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ และ
แนวทางในการดำเนนิ การ ดังน้ี

วสิ ัยทศั น์ (Vision)
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้คู่คุณธรรม

บริหารจัดการศึกษาที่มีคุณภาพสู่มาตรฐานระดับสากลในสังคมพหุวัฒนธรรม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง

นยิ ามวิสัยทศั น์:
องค์กรแห่งการเรยี นรู้คคู่ ุณธรรม หมายถึง องคก์ รท่บี คุ ลากรมกี ารแลกเปลยี่ นเรยี นรูร้ ่วมกัน

สร้างช่องทางการเรียนรู้ เพื่อเอื้อโอกาส ในการพัฒนาตนเองและองค์กรสู่ความเป็นเลิศ สร้างองค์ความรู้ที่ดี
ที่สุดขององค์กร (best practice) ให้ทันและรองรับต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกมีจิตสำนึกและดำรงตน
อย่ใู นความดงี าม

บริหารจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ หมายถึง การประสาน ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนา
สถานศึกษา ในการพฒั นาผเู้ รยี น ให้มีทศั นคตทิ ีถ่ กู ต้องต่อบา้ นเมือง มพี ้นื ฐานชีวิตทีม่ ั่นคง มีคุณธรรม มีงานทำ
มอี าชีพเปน็ พลเมอื งท่ีดี ใช้ชวี ติ อย่างมีความสุขในสงั คมโลก

มาตรฐานระดับสากล หมายถึง ผู้เรียนมีศักยภาพเป็นพลโลก การจัดการเรียนการสอน
เทยี บเคยี งมาตรฐานสากล และการบรหิ ารจดั การดว้ ยระบบคุณภาพ

สังคมพหุวัฒนธรรม หมายถึง การจัดการศึกษาให้อยู่ร่วมกันในสังคมที่มีวัฒนธรรมที่
หลากหลายอย่างสันติสุข

แผนปฏิบัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

73

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง การน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง มาเป็นแนวทางในการทำงานเพื่อให้การประสาน ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษามีประสทิ ธภิ าพ
และเกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ

ค่านิยมองคก์ าร (Core Values)
“ถอื ประโยชนข์ องนักเรียนและสถานศกึ ษาเป็นสำคญั ”
(Students and Schools Come First : SSCF)

พนั ธกิจ (Mission)
1. น้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร
มหาวชริ าลงกรณฯ พระวชิรเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ส่กู ารจดั การศึกษาของสถานศึกษา
2. ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนกำกับ ติดตามและประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ให้มคี ุณภาพ สอดคลอ้ งและทนั ต่อการเปล่ียนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21
3. พฒั นาการใหบ้ รกิ ารทางการศกึ ษาอยา่ งทว่ั ถงึ เปน็ ธรรม และได้มาตรฐานคุณภาพสู่สากล
4. ประสาน ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การจัดการศึกษาของบุคคล องคก์ ร และสถาบันอน่ื ๆ
5. พัฒนาสำนักงานและสถานศกึ ษาใหเ้ ปน็ องคก์ รแหง่ การเรียนร้คู ู่คณุ ธรรมอย่างมีสว่ นรว่ ม
6. ปลูกฝัง คุณธรรม จริยธรรมและการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขในสังคมพหุวัฒนธรรม บนพื้นฐาน
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

เปา้ ประสงค์รวม (Goals)
1. นักเรียนมีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง มีคุณธรรม มีงานทำ มีอาชีพและ
เปน็ พลเมอื งทด่ี ี
2. นักเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา เทียบเคียงมาตรฐานระดับสากลบนพื้นฐาน
ของความเป็นไทย
3. นักเรียนทกุ คนไดร้ ับโอกาสทางการศกึ ษาอยา่ งเสมอภาค และเท่าเทยี ม
4. ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ปฏบิ ตั งิ านตามสมรรถนะวชิ าชพี และมาตรฐานวิชาชพี
5. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 16 และสถานศึกษา บริหารจัดการศึกษา ที่มี
คณุ ภาพและได้มาตรฐาน
6. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 16 และสถานศึกษา นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งมาประยุกตใ์ ชใ้ นการบรหิ ารจดั การและพฒั นาคุณภาพการศึกษา

ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 จดั การศึกษาเพอ่ื ความม่นั คงของมนุษย์
กลยุทธ์
1. สง่ เสริมและสนบั สนนุ ใหส้ ถานศึกษานอ้ มนำพระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษาของพระบาทสมเด็จ
พระปรเมนทรรามาธบิ ดศี รีสนิ ธร มหาวชิราลงกรณฯ พระวชิรเกลา้ เจา้ อยู่หัวสูก่ ารปฏบิ ตั ิ
2. ความมั่นคงของสถาบันหลักและการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง
เปน็ ประมขุ
3. เสรมิ สรา้ งการอยรู่ ว่ มกันอยา่ งมีความสขุ ในสงั คมพหวุ ฒั นธรรม

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

74

4. ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ การอยู่ร่วมกันและดำรงตนตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 การจัดการศึกษาเพ่ือเพ่มิ ความสามารถในการแขง่ ขนั
กลยุทธ์
1. เสริมสร้างความเข้มแข็งในการพฒั นาผู้เรยี นอย่างมีคณุ ภาพ
2. พัฒนาคณุ ภาพกระบวนการเรียนรู้
3. สรา้ งขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ทุกระดับ
4. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การทำวิจยั และนำผลการวิจยั ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษา
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 ส่งเสริมสนับสนนุ การพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
กลยุทธ์
1. พัฒนาระบบการบรหิ ารงานบคุ คลให้มีประสทิ ธภิ าพ
2. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้สามารถจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพในรูปแบบท่ี
หลากหลาย สอดคลอ้ งกับบรบิ ทของพ้นื ท่ี
ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 ขยายโอกาสการเข้าถงึ บริการทางการศึกษาและการเรยี นร้อู ย่างมคี ุณภาพ
กลยทุ ธ์
1. เพม่ิ โอกาส ในการเข้าถงึ บริการทางการศึกษาที่มคี ุณภาพ อย่างเท่าเทียมและทว่ั ถงึ
2. ลดความเลอื่ มล้ำทางการศึกษา
ยุทธศาสตร์ที่ 5 จดั การศึกษาเพอื่ เสรมิ สรา้ งคุณภาพชวี ิตทเี่ ปน็ มิตรกบั ส่ิงแวดล้อม
กลยทุ ธ์
ส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ สร้างจิตสำนึก และสร้างเครือข่ายความร่วมมือ เพื่อสร้างเสริ ม
คุณภาพชวี ิตทเ่ี ป็นมิตรกบั สง่ิ แวดล้อมตามแนวทางหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ยุทธศาสตร์ท่ี 6 พัฒนาระบบบริหารจัดการและสง่ เสริมการมีส่วนร่วม
กลยทุ ธ์
1. พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มปี ระสิทธิภาพ
2. สรา้ งความเข้มแข็งในการบรหิ ารจดั การแบบมีส่วนรว่ ม
3. สง่ เสรมิ การมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

75

ยทุ ธศาสตร์/กลยทุ ธ์/ตวั ชว้ี ดั /มาตรการ/แนวทาง

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี กลยุทธ์ ตัวชี้วดั มาตรการ / แนวทาง

1 จัดการศกึ ษา 1.สง่ เสรมิ และ 1. ร้อยละของสถานศึกษา 1. สนบั สนนุ การพฒั นาหลกั สูตร
เพอ่ื ความมั่นคง สนับสนนุ ให้ ทนี่ ้อมนำพระบรมราโชบาย สถานศึกษาให้สอดคลอ้ งกับ

ของมนษุ ย์ สถานศกึ ษาน้อมนำ ดา้ นการศึกษาของ พระบรมราโชบายด้านการศึกษา
พระบรมราโชบาย พระบาทสมเดจ็ ของพระบาทสมเดจ็
ด้านการศึกษาของ พระวชิรเกล้าเจา้ อยหู่ ัวสู่ พระวชิรเกล้าเจ้าอยูห่ ัวตามความ

พระบาทสมเดจ็ การปฏบิ ัติ ต้องการของผเู้ รียนชมุ ชนและ
พระวชริ เกล้า บรบิ ทของสถานศึกษา
เจ้าอยู่หัวสู่การ

ปฏบิ ตั ิ

2. เสริมสรา้ งความ 1. ร้อยละของสถานศึกษา 1. สนับสนนุ และเสรมิ สรา้ งความ

มนั่ คงของสถาบัน ที่จัดกิจกรรมส่งเสริมการ มั่นคงของสถาบันหลักและการ

หลกั และการ เรียนรู้ที่สะท้อนความรัก ปกครองในระบอบประชาธิปไตย

ปกครองในระบอบ และธำรงรักษาสถาบันหลัก อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น

ประชาธปิ ไตย อนั มี ของชาติ และการยึดมั่นใน ประมุข และน้อมนำศาสตร์

พระมหากษัตรยิ ท์ รง ระบอบการปกครองใน พระราชามาใช้ในการจัดการ

เปน็ ประมขุ ระบอบประชาธิปไตย อันมี เรียนรขู้ องผู้เรยี นและชุมชน

พระมหากษัตริย์ทรงเป็น
ประมุข

2. ร้อยละของสถานศึกษา

นำศาสตร์พระราชามาใช้ใน
การจดั การเรยี นรู้

3. เสรมิ สรา้ งการอยู่ 1. ร้อยละของสถานศึกษา 1. สง่ เสริมและสนับสนนุ การ

รว่ มกนั อยา่ งมี ท่จี ดั การเรยี นร้โู ดย จดั การศึกษาเพอ่ื การอยรู่ ว่ มกัน

ความสุขในสังคม บ ู ร ณ า ก า ร ห ล ั ก ส ู ต ร ที่ อย่างมีความสุขในสังคม
พหุวัฒนธรรม
สอดคล้องกับสังคมพหุ พหวุ ฒั นธรรม

วัฒนธรรม 2. สง่ เสริมและสนบั สนนุ การ

2. ร้อยละของสถานศึกษา จัดการศกึ ษาในพ้ืนที่พิเศษเป็น
ในเขตพื้นที่พิเศษมีการ การเฉพาะตามสภาพของพ้ืนท่ี
พัฒนาการจัดการศึกษา ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ

ตามบรบิ ทของพ้ืนท่ี จงั หวัดชายแดนภาคใต้และ
เขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษ

4.ปลูกฝงั คณุ ธรรม 1. ร้อยละของสถานศึกษา 1.ส่งเสรมิ สนับสนนุ สถานศกึ ษา

จริยธรรมและ ที่จัดการเรียนรู้ปลูกฝัง ให้ปลูกฝงั ผู้เรยี นด้านคณุ ธรรม

คา่ นยิ มที่พึงประสงค์ คุณธรรม จริยธรรม และ จริยธรรม ตามคา่ นยิ มหลักของ

การอยูร่ ว่ มกันและ ค่านิยมที่พึงประสงค์ การ คนไทย 12 ประการ และการ
ดำรงตนตามหลกั อยู่ร่วมกันและดำรงตนตาม

แผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

76

ยุทธศาสตรท์ ่ี กลยุทธ์ ตัวช้วี ดั มาตรการ / แนวทาง

ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 ปรัชญาของ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ ดำรงตนตามหลกั ปรัชญาของ
ดา้ นการจัด
การศึกษาเพือ่ เศรษฐกจิ พอเพียง พอเพยี ง เศรษฐกิจพอเพียง
เพ่ิมความ
สามารถในการ 2.ร้อยละของนกั เรียนมี 2. ส ่ ง เ ส ร ิ ม ใ ห ้ส ถ าน ศ ึกษา
แขง่ ขัน
คณุ ธรรมจริยธรรม จัดกจิ กรรมตามเคร่อื งแบบ

คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

ตามหลกั สตู รและค่านิยม

หลกั ของคนไทย12

ประการ

3. ร้อยละของนักเรียนท่ี

ผา่ นกิจกรรมในเคร่อื งแบบ

1. เสรมิ สร้างความ 1. ร้อยละของสถานศึกษา - สง่ เสรมิ สนับสนุนการทดสอบ

เขม้ แข็งในการพัฒนา มกี ระบวนการวัดและ ทางการศกึ ษาระดบั ชาติขั้น

ผูเ้ รียนอยา่ งมี ประเมินผลด้วยวิธีการ พนื้ ฐาน(O-NET) และระบบการ

คณุ ภาพ ที่หลากหลาย ทดสอบกลางของสำนกั งาน

2.รอ้ ยละของนกั เรียนท่ีมี คณะกรรมการการศึกษาขั้น

คะแนนการทดสอบทาง พน้ื ฐานพร้อมนำผลการประเมิน

การศึกษาระดับชาตขิ น้ั มาใชใ้ นการพฒั นาคุณภาพ

พนื้ ฐาน (O-NET) มากกวา่ -ส่งเสริม สนับสนุนให้

รอ้ ยละ 50 เปรยี บเทยี บ สถานศกึ ษาจดั กระบวนการ

กบั ปีการศกึ ษาท่ีผ่านมา เรียนรตู้ ามหลักสูตรมุ่งพัฒนา

3.รอ้ ยละของนักเรยี นชน้ั ผูเ้ รียนทเ่ี น้นคณุ ลกั ษณะและ

มัธยมศึกษาปที ่ี 1,2 เขา้ รับ ทกั ษะในศตวรรษที่ 21

การทดสอบกลางของ - สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้

สำนักงานคณะกรรมการ สถานศึกษาปรบั ปรงุ หลักสตู ร

การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน สถานศึกษาระเบยี บการวัดและ

4. รอ้ ยละของนักเรียนท่ี ประเมนิ ผล

อ่านหนงั สอื ตามเกณฑ์ท่ี

กำหนด

5. รอ้ ยละของสถานศึกษา

ที่จดั การเรยี นร้ใู นศตวรรษ

ท่ี 21 ตามสภาพความ

ตอ้ งการ และบรบิ ทของ

แตล่ ะพนื้ ท่ี

6. รอ้ ยละของนักเรยี นที่มี

คุณลักษณะและทกั ษะการ

เรยี นร้ใู นศตวรรษที่ 21

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

77

ยทุ ธศาสตร์ท่ี กลยทุ ธ์ ตวั ช้ีวัด มาตรการ / แนวทาง

2. พัฒนาคุณภาพ 7.ร้อยละของสถานศึกษา - ส่งเสริม สนบั สนนุ สถานศกึ ษา
กระบวนการเรียนรู้ ปรับปรุงหลกั สูตร เน้นการจัดการเรยี นการสอนสะ
สถานศึกษา เตม็ ศึกษา(STEM Education)
3. สร้างขดี 8. ร้อยละของนักเรียนท่ี - สง่ เสรมิ การเรยี นการสอน
ความสามารถในการ ได้รบั การแกไ้ ขปัญหาอ่าน ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร
แขง่ ขนั ทุกระดับ ไม่คล่อง เขยี นไมค่ ล่อง และภาษาต่างประเทศท่ี 2 อย่าง
นอ้ ย 1 ภาษา
1. รอ้ ยละของสถานศึกษา - สง่ เสริม สนับสนุนให้
ที่เน้นการจัดการเรยี น สถานศึกษามีการจดั การศกึ ษา
การสอนสะเตม็ ศึกษา วิทยาการคำนวณ และการ
(STEM Education) ออกแบบเทคโนโลยี
2. รอ้ ยละของผู้เรียนผ่าน
เกณฑ์การประเมนิ -สง่ เสริมสนบั สนุนให้สถานศกึ ษา
ความสามารถด้านการใช้ จดั การเรียนรทู้ ี่หลากหลาย
ภาษาองั กฤษและ
ภาษาตา่ งประเทศที่ 2 เพอ่ื -ส่งเสรมิ สนับสนุนสถานศกึ ษา
การสอ่ื สาร ที่มีความพร้อม ในการเปิด
3. รอ้ ยละของสถานศึกษา ห้องเรยี นพิเศษหรือแผนการ
มกี ารจัดการศึกษา เรยี นเฉพาะด้าน
วทิ ยาการคำนวณ - สง่ เสรมิ สนับสนุนสถานศึกษา
4. ร้อยละของสถานศึกษา ในการเตรยี มความพร้อมในการ
มกี ารจัดการเรยี นรทู้ ี่ ประเมนิ ระดับนานาชาติ PISA
หลากหลาย -สง่ เสรมิ สนับสนุนการจัด
กิจกรรม การบริการเพอ่ื
1.จำนวนของสถานศึกษา การศกึ ษาต่อ การประกอบอาชีพ
ทีเ่ ปิดหอ้ งเรยี นพิเศษหรอื ให้ผู้เรียนรู้จักและเข้าใจตนเอง
แผนการเรียนเฉพาะด้าน สามารถวางแผนชีวติ ด้าน
เพม่ิ ขน้ึ การเรยี น การประกอบอาชีพ
2.รอ้ ยละของสถานศึกษา ในอนาคต รวมทัง้ สามารถ
ท่เี ตรียมความพร้อมในการ
ประเมนิ ระดบั นานาชาติ
PISA
3.รอ้ ยละของสถานศึกษา
มกี ารจัดกจิ กรรมเพอ่ื
การศึกษาต่อ การประกอบ
อาชีพ และการพัฒนา
บุคลกิ ภาพอย่างเหมาะสม
4.ร้อยละของนกั เรยี นท่ี
ไดร้ บั การพัฒนาคุณภาพ

แผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

78

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี กลยทุ ธ์ ตัวชว้ี ัด มาตรการ / แนวทาง

การเรยี นรูส้ ู่สากล มีความ ปรับตวั ได้อยา่ งเหมาะสมและ

พร้อมในการเข้าแขง่ ขันตาม อย่รู ่วมกับผู้อน่ื ได้อยา่ งมีความสขุ

เกณฑ์มาตรฐาน - สง่ เสริม สนบั สนนุ นกั เรียนท่ีมี

ความสามารถเขา้ แข่งขัน

ทกุ ระดับ

- ส่งเสริม สนบั สนนุ การจัด

กจิ กรรมการแขง่ ขนั วชิ าการใหม้ ี

ประสทิ ธิภาพเน้นการดำเนนิ งาน

ครบวงจร มสี ่วนรว่ มอยา่ งทวั่ ถงึ

4. ส่งเสริม 1.รอ้ ยละของงานวิจยั หรือ - ส่งเสรมิ ใหม้ กี ารวิจัยและ

สนบั สนุนการทำวจิ ยั นวตั กรรม ที่นำไปใช้ พัฒนานวัตกรรมทเ่ี กย่ี วกับการ

และนำผลการวิจัยไป ประโยชนใ์ นการพฒั นา จัดการเรียนรู้ การเรียนการสอน

ใช้ในการพฒั นา คณุ ภาพการศึกษา การนิเทศ การบรหิ ารจัดการ

คณุ ภาพการจดั การ 2.ร้อยละของผลงานวจิ ยั ที่ -สง่ เสริมให้สถานศกึ ษามีความ

ศกึ ษา ไดร้ ับการเผยแพร่ ตีพิมพ์ เป็นเลิศทางวิชาการ โดยใช้

ต่อจำนวนครแู ละบคุ ลากร งานวจิ ัยและสรา้ งนวัตกรรมเพอ่ื

ทางการศึกษา เป็นฐานในการพัฒนาการศึกษา

ของเขตพื้นทก่ี ารศึกษาและ

สถานศึกษาสรา้ งเครือขา่ ยการ

วิจยั และพฒั นา

ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 1. พฒั นาระบบการ มรี ะบบการบริหารงาน 1. การจดั ทำแผนอัตรากำลัง

สง่ เสรมิ บรหิ ารงานบุคคลให้ บคุ คลของขา้ ราชการครู ข้าราชการครแู ละบคุ ลากร

สนับสนุนการ มปี ระสทิ ธภิ าพ และบุคลากรทางการศึกษา ทางการศึกษา ระยะ 3 ปี

พฒั นาครูและ ท่ีมีประสิทธภิ าพและเป็นไป 2. การจัดทำกรอบอตั รากำลังครู

บคุ ลากรทางการ ตามเกณฑ์มาตรฐาน และบคุ ลากรทางการศึกษา ให้

ศกึ ษา เปน็ ไปตามเกณฑแ์ ละมาตรฐาน

วชิ าเอกเพ่ือจดั สรรตำแหน่งให้

สอดคลอ้ งกบั ความขาดแคลน

ตอ้ งการจำเปน็ ของเขตพืน้ ท่ีและ

สถานศึกษา

3. การสรรหา บรรจุและแตง่ ต้ัง

ข้าราชการครูและบุคลากร

ทางการศกึ ษาใหเ้ ปน็ ตามกรอบ

อัตรากำลงั

4. การจัดระบบการประเมนิ ผล

การปฏบิ ัติงานข้าราชการครูและ

บุคลากรทางการศึกษา เพื่อ

แผนปฏบิ ัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

79

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี กลยุทธ์ ตัวชี้วดั มาตรการ / แนวทาง

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 2. พัฒนาครูและ รอ้ ยละของขา้ ราชการครู ประกอบการพิจารณาเลอ่ื นขั้น
ขยายโอกาสการ บุคลากรทางการ และบุคลากรทางการศึกษา เงนิ เดือนใหเ้ ปน็ ตามระเบยี บ
เขา้ ถงึ บริการทาง ศึกษาใหส้ ามารถ ทกุ ระดับทไ่ี ดร้ ับการพฒั นา หลกั เกณฑ์และสอดคล้องกับ
การศกึ ษาและ จดั การเรยี นรอู้ ย่างมี ตามมาตรฐานวิชาชีพและ ผลการปฏบิ ตั งิ าน
คณุ ภาพในรปู แบบท่ี สามารถปฏิบตั ิงานไดอ้ ยา่ ง 5. การจดั ทำระบบข้อมูล
หลากหลาย มีประสทิ ธิภาพ สารสนเทศนำไปใชใ้ นการ
สอดคล้องกบั บริบท บริหารงานบุคคลให้มี
ของพ้ืนท่ี 1.รอ้ ยละของสถานศึกษาที่ ประสทิ ธภิ าพ
มกี ารจดั การเรียนการสอน
1. เพิม่ โอกาส ใน ทางไกลด้วยระบบ DLIT 1.ส่งเสรมิ สนับสนุนข้าราชการ
การเขา้ ถงึ บรกิ ารทาง และ New DLTV ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
การศกึ ษาที่มี ให้พัฒนาตนอยา่ งเป็นระบบ
คุณภาพ อยา่ ง 2.ประสานความรว่ มมือ
เทา่ เทียมและทว่ั ถึง สถานศึกษาและหนว่ ยงานอน่ื ๆ
จัดทำหลกั สตู รการพัฒนา
ขา้ ราชการครูและบคุ ลากร
ทางการศกึ ษา ให้ตรงกบั ความ
ต้องการและความขาดแคลน
3.ส่งเสริม และพัฒนาข้าราชการ
ครูและบุคลากรทางการศึกษาให้
มีความรดู้ า้ นดจิ ิทัล ทักษะ
สอ่ื สารภาษาองั กฤษ และทักษะ
ส่ือสารภาษาทสี่ าม ให้สอดคล้อง
กับภารกจิ และหนา้ ท่ี
4. สง่ เสริมการจดั การศกึ ษา
โรงเรียนขนาดเล็กใหม้ ี
ประสิทธภิ าพ
5. ปรับปรุงระบบตรวจสอบ
ตดิ ตาม และประเมิน
ประสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธิผล
ขา้ ราชการครูและบคุ ลากร
ทางการศกึ ษา ใหส้ อดคลอ้ งกับ
ยทุ ธศาสตร์

1.สง่ เสริม สนบั สนุนการใช้สื่อ
เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการ
จัดการเรียนรูด้ ว้ ยระบบ DLIT
และ New DLTV

แผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

80

ยุทธศาสตรท์ ี่ กลยุทธ์ ตัวช้วี ดั มาตรการ / แนวทาง

การเรียนรู้อย่าง 2.ร้อยละของประชากร 2.ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ให้
มีคณุ ภาพ
กลุม่ อายุ 12-14 ปี ไดเ้ ขา้ ประชากรกลุม่ อายุ 12-14 ปี

เรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษา ได้เข้าเรียน โรงเรียนดใี กล้บ้าน

ตอนต้นหรอื เทียบเทา่ ตามเขตพ้นื ที่บริการ

3. ร้อยละของนักเรียนทจี่ บ 3. ส่งเสรมิ สนบั สนุนให้นกั เรียน

การศึกษาภาคบงั คับได้รับ มโี อกาสการศกึ ษาต่อด้วยวธิ ีการ

โอกาสในการศึกษาต่อ ทีห่ ลากหลายใช้ระบบการส่งต่อ

ขนั้ พนื้ ฐาน โดยเครอื ข่ายความรว่ มมือทุก

3.ร้อยละของนักเรียนได้รบั ระดบั

การสง่ เสริมการสนับสนนุ 4. สง่ เสริม สนับสนนุ ให้ผูเ้ รียน

ใหเ้ ขา้ ถงึ บริการทาง เขา้ ถงึ บริการทางการศึกษาตาม

การศกึ ษาตามความถนดั ความถนดั และสนใจ

และความสนใจ

2. ลดความเล่ือมล้ำ 1.ร้อยละของนกั เรยี นพกิ าร 1. ส่งเสริมการจัดการศกึ ษาใน
ทางการศกึ ษา
และด้อยโอกาสไดร้ ับการ รูปแบบที่หลากหลายท้ังใน

พัฒนาสมรรถภาพหรอื รปู แบบปกติ รปู แบบเพ่ือความ

บริการทางการศึกษาท่ี เป็นเลิศ รูปแบบเพื่อเด็กพิการ

เหมาะสม เด็กด้อยโอกาสและรปู แบบ

2. อตั ราการออกกลางคัน การศึกษาทางเลือกใหเ้ หมาะสม

ของนักเรียนในระดับ กับความต้องการจำเปน็ ของ

การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานลดลง ผู้เรียนแตล่ ะบุคคลและมีคุณภาพ

3. ร้อยละของนักเรยี น ตามมาตรฐานโดยมีความ

ได้รบั การพัฒนาเตม็ เช่อื มโยงระหวา่ งรปู แบบตา่ งๆ

ศกั ยภาพอยา่ งเท่าเทียมกนั 2. ส่งเสริม สนับสนนุ ให้

สถานศกึ ษาจัดระบบการดูแล

ช่วยเหลอื นกั เรียนอยา่ งเข้มแขง็

ทวั่ ถงึ อย่างมปี ระสิทธภิ าพ

3. สง่ เสริม สนับสนุนนกั เรยี นให้

ได้รบั การพัฒนาอย่างเตม็

ศกั ยภาพเทา่ เทยี มและทวั่ ถงึ

ยุทธศาสตรท์ ี่ 5 ส่งเสรมิ การจดั 1.รอ้ ยละของสถานศึกษา 1.ส่งเสรมิ พฒั นาสถานศกึ ษาให้

จัดการศกึ ษาเพ่อื กระบวนการเรยี นรู้ ไดร้ ับการพฒั นาใหเ้ ป็น เป็นแหลง่ เรียนรทู้ ม่ี คี ุณภาพ

เสรมิ สรา้ ง สร้างจติ สำนกึ และ แหลง่ เรียนรทู้ มี่ คี ุณภาพ 2.ส่งเสริมใหส้ ถานศึกษาจัดการ

คุณภาพชวี ติ ที่ สรา้ งเครอื ข่ายความ 2.ร้อยละของสถานศึกษา เรยี นรู้ ใชแ้ หลง่ เรยี นรเู้ กยี่ วกับ

เปน็ มติ รกบั รว่ มมอื เพ่ือสรา้ ง ใชแ้ หล่งเรยี นรู้ โดยชมุ ชนมี การเสริมสรา้ งคุณภาพชวี ิตและ

สิ่งแวดลอ้ ม เสริมคุณภาพชวี ิตที่ สว่ นรว่ มในการเสริมสรา้ ง เปน็ มติ รกบั สิง่ แวดล้อม

เป็นมิตรกบั

แผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

81

ยุทธศาสตร์ท่ี กลยุทธ์ ตวั ชว้ี ดั มาตรการ / แนวทาง

สิ่งแวดลอ้ มตาม คณุ ภาพชีวติ เปน็ มติ รกบั 3.ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ให้
แนวทางหลักปรชั ญา สิง่ แวดลอ้ ม สถานศกึ ษาจัดบรรยากาศและ
ของเศรษฐกิจ 3. ร้อยละของสถานศึกษา ส่งิ แวดลอ้ มผา่ นเกณฑ์มาตรฐาน
พอเพียง ท่จี ัดการเรยี นรูเ้ กยี่ วกบั การ สถานศึกษานา่ อยู่ น่าเรยี นรู้
เสรมิ สร้างคุณภาพชวี ติ และ และยกย่องเชิดชเู กียรติ
เป็นมติ รกับสง่ิ แวดล้อม 4.สง่ เสรมิ การสรา้ งเครือขา่ ย
4. ร้อยละของสถานศึกษา ความร่วมมือระหวา่ งสถานศกึ ษา
ที่มีบรรยากาศและ กบั ชมุ ชนและหน่วยงานอื่นที่
สง่ิ แวดลอ้ มผ่านเกณฑ์ เกย่ี วข้องกบั การเสรมิ สรา้ ง
มาตรฐานสถานศึกษา คณุ ภาพชวี ติ และเป็นมิตรกบั
น่าอยนู่ า่ เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม
5.รอ้ ยละของนกั เรียน 5.สง่ เสริม สนบั สนุนให้
ประยุกตใ์ ช้หลกั ปรัชญาของ สถานศึกษาจดั กิจกรรมท่ีแสดง
เศรษฐกจิ พอเพยี งในการ ถงึ การเสริมสร้างคุณภาพชวี ิต
ดำเนนิ ชีวิต และเป็นมติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ มโดย
การประยุกต์ ใช้หลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งในการดำเนิน
ชวี ิตของนกั เรยี นและบุคลากร

ยุทธศาสตร์ท่ี 6 1. พฒั นาระบบ 1.สำนักงานเขตพน้ื ท่ี 1.พัฒนาระบบบริหารและ
พฒั นาระบบ บรหิ ารจัดการให้มี
บริหารจัดการ ประสิทธิภาพ การศึกษาและสถานศึกษา การจดั การศกึ ษาท่ีมี
และสง่ เสริมการ
มีส่วนรว่ ม มคี ณุ ภาพตามเกณฑ์ ประสทิ ธิภาพ ท้งั 4 ดา้ น

มาตรฐานการบริหารจัดการ (บรหิ ารวิชาการบริหารทั่วไป

2.รอ้ ยละของสถานศึกษาที่ บริหารงบประมาณ บริหาร

มคี ุณภาพตามเกณฑ์ บุคคล)ตามหลักธรรมาภิบาล

มาตรฐานการประกัน 2.พฒั นาระบบเทคโนโลยี

คุณภาพภายใน สารสนเทศ เพ่ือการบรหิ าร

3.รอ้ ยละของผู้รับบรกิ าร จดั การ

มีความพึงพอใจต่อการ 3. จดั ระบบนิเทศ ติดตาม

บรหิ ารจัดการของ ประเมนิ ผล และรายงานผล

สพม.สขสต หลากหลายมิติใหม้ ีความเข้มแขง็

และต่อเน่ือง เป็นรูปธรรม ให้มี

ข้อมูลป้อนกลบั และสามารถ

สะท้อนคณุ ภาพของผเู้ รียน

แผนปฏิบัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

82

ยุทธศาสตร์ที่ กลยทุ ธ์ ตัวช้ีวดั มาตรการ / แนวทาง

2. สร้างความ 1.สำนักงานเขตพ้นื ท่ี 4.สง่ เสริมการประกนั คุณภาพ
เข้มแข็งในการ การศึกษาและสถานศึกษา ภายในของสถานศึกษา ใหม้ ี
บริหารจดั การ ใช้เครือข่ายการบรหิ าร ความเขม้ แขง็
แบบมีส่วนร่วม จัดการแบบมีส่วนรว่ ม
เพิ่มข้นึ 1.มกี ารบริหารจดั การอยา่ งมี
3. ส่งเสรมิ การมสี ว่ น 2.ร้อยละของสถานศึกษาที่ สว่ นร่วมด้านวชิ าการ ดา้ น
ร่วมในการพัฒนา มกี ารบรหิ ารจัดการอย่าง ทรัพยากร และดา้ นงบประมาณ
คุณภาพผ้เู รียน มคี ณุ ภาพ กบั องค์คณะบุคคลและเครือข่าย
กตปน. เครือข่ายสง่ เสรมิ
1.ร้อยละของสำนักงาน ประสทิ ธภิ าพการศกึ ษาจังหวัด
เขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาและ สหวิทยาเขต ศนู ย์พฒั นากล่มุ
สถานศึกษาร่วมกนั สง่ เสรมิ สาระการเรียนรู้
สนบั สนนุ ให้ผปู้ กครอง 2. สง่ เสริม สนบั สนนุ การพัฒนา
ชมุ ชน สังคม ฯลฯ มสี ่วน ผู้บรหิ ารสถานศึกษาให้มี
รว่ มในการพัฒนาคุณภาพ ความสามารถในการบรหิ าร
ผเู้ รยี น จดั การทุกดา้ น
2. รอ้ ยละของผู้ปกครอง
และชุมชนท่ีมีความพงึ 1.สง่ เสริม การสรา้ งเครือข่าย
พอใจในการบริหารจัดการ การเรียนรู้ การมสี ่วนรว่ ม จาก
ของสถานศกึ ษา ผูม้ ีส่วนเกย่ี วขอ้ งและทุกภาค
ส่วนให้เกิดชุมชนแหง่ การเรียนรู้
2.ส่งเสริมการมสี ่วนร่วมในการ
พัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษา
ของทกุ ภาคสว่ น

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

83

ทศิ ทางการพฒั นาการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษาสงขลา สตูล กำหนดทิศทางในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ในรปู แบบโมเดล 6 วาระการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ดงั นี้

วาระท่ี 1 โรงเรยี นสวย
1.1 มีสภาพแวดลอ้ มร่มร่นื สะอาด สวยงาม
1.2 ปลอดภยั และมีความพร้อมในการจดั การเรยี นรู้

วาระท่ี 2 การบริหารจัดการ
2.1 การพัฒนาผบู้ ริหารสถานศึกษา/ผู้บรหิ ารการศึกษา
2.2 การป้องกันและแกป้ ัญหาการทุจริต
2.3 การประชาสมั พันธ์
2.4 การประกันคุณภาพภายใน

แผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

84

2.5 การนำเทคโนโลยีมาใชใ้ นการบริหารจัดการ
2.6 การบริหารจดั การสารสนเทศ
วาระท่ี 3 ครูมืออาชพี
3.1 การประพฤตติ าม วินัย คณุ ธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชพี ครู
3.2 การพัฒนาตนเองและวชิ าชพี
3.3 ความสามารถในการจัดการเรียนรู้
3.4 ความก้าวหนา้ ในวชิ าชพี
วาระท่ี 4 นักเรยี นเกง่
4.1 คา่ คะแนนการทดสอบการศึกษาขัน้ พื้นฐานสูงข้ึน ร้อยละ 3
4.2 ความสามารถในการใชภ้ าษาองั กฤษ และภาษาทสี่ าม
4.3 ความสามารถดา้ นดนตรี กฬี า ศิลปะ
4.4 ก้าวทนั โลกดิจิทลั
วาระท่ี 5 นักเรยี นดี
คณุ ลกั ษณะตามหลักสูตรและคณุ ธรรมอตั ลักษณ์ของแต่ละโรงเรยี น
วาระท่ี 6 นักเรยี นมีความสุข
6.1 การสง่ เสรมิ สขุ ภาวะ
6.2 การยอมรบั ความแตกตา่ งทางวฒั นธรรมและอยู่ร่วมกันอยา่ งมคี วามสุข

แผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

แผนผงั ความเช่ือมโยงของแผนพัฒนาการศกึ ษาสำ

แผนระดับท่ี 1

ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี 1. ดา้ นความม่ันคง 2. ด้านการสรา้ งความสามารถ 3. ดา้ นการพ
(พ.ศ.2561 - 2580 ในการแขง่ ขัน เสริมสร้างศักย

แผนระดับที่ 2

แผนแม่บทภายใต้ ประเด็นที่1 ความม่นั คง ประเดน็ ที่ 11 การพัฒนาศกั ยภาพคนตลอดช่วงช
แผ(พน.ยรศะทุ.2ดธ5ับศ6าทส1่ี 1ต-ร์ช2า5ต8ิ 0

แผนระดับท่ี 3

นโยบายและจดุ เนน้ การ 2. การพฒั นาการศกึ ษา 3. การสร้างความสามารถ 1. การพัฒนาแ
จัดการศึกษาของ เพื่อความมน่ั คง ในการแข่งขนั ศกั ยภาพทรัพย
กระทรวงศกึ ษาธิการ
ปงี บประมาณพ.ศ.2564

แผนปฎบิ ตั ิราชการ 1. การจัดการศกึ ษาเพอื่ 2. การจัดการศึกษาเพอ่ื 3. การพฒั นาแล
ระยะ 3 ปี สพฐ. ความม่ันคงของสังคม เพ่มิ ความสามารถในการ ศักยภาพทรัพยา
(พ.ศ.2563 - 2565) และประเทศชาติ แขง่ ขนั ของประเทศ
3. การผลติ และ
แผนการศกึ ษาจชต. 1. การศกึ ษาเพ่อื ความ 2. การพฒั นาศักยภาพคน กำลงั คนให้มีสมร
ระยะ 20 ปี มั่นคง ทกุ ช่วงวัยและการสร้าง การแขง่ ขัน
(พ.ศ.2560 - 2579) สงั คมแห่งการเรยี นรู้
3. พฒั นาศกั ยภ
แผนการศึกษาจังหวัดสงขลา 1. พัฒนาการจดั 2.พัฒนากำลงั คน การวิจยั เพอ่ื คุณภาพ
(พ.ศ.2563 - 2565) การศกึ ษาเพอื่ ความ สร้างความสามารถในการ
ม่นั คง แขง่ ขนั ของประเทศ 3. สง่ เสรมิ สนบั
พฒั นาครูและบ
แผนพฒั นาการศึกษา 1. การจดั การศกึ ษา 2. การจัดการศกึ ษาเพอื่ เพ่ิม ทางการศกึ ษา
สพม.สขสต เพือ่ ความม่นั คงของ ความสามารถในการแข่งขนั
มนษุ ย์
(พ.ศ.2563 - 2565)

ำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษาสงขลา สตูล

พัฒนาและ 4. ด้านการสร้างโอกาสความ 5.ดา้ นการสรา้ งการเตบิ โตบนคุณภาพ 6. ด้านการปรับ
ยภาพคน เสมอภาค และ เทา่ เทียมกนั ทาง ชีวติ ทเ่ี ปน็ มติ รกับสิง่ แวดล้อม สมดลุ และการพฒั นา
สงั คม

ชวี ิต ประเดน็ ท่ี 12 การพฒั นาการเรียนรู้ ประเดน็ ที่ 20 การบริการประชาชนและประสทิ ธิภาพ

ภาครัฐ

และเสริมสรา้ ง 4. การสรา้ งโอกาสและความ 5. การจดั การศกึ ษาเพอื่ สรา้ ง 6. การปรับสมดุลและ
ยากรมนษุ ย์ เสมอภาคทางการศกึ ษา เสรมิ คุณภาพชีวิตทเี่ ปน็ มิตรกบั พัฒนาระบบการบริหาร
สิ่งแวดลอ้ ม จัดการ

ละเสริมสร้าง 4. การสรา้ งโอกาสในการเขา้ ถึง 5. การจดั การศึกษาเพอ่ื พัฒนา 6. การปรบั สมดุลและ
ากรมนุษย์ บรกิ ารการศกึ ษาท่มี ีคณุ ภาพมี คณุ ภาพชวี ิตทีเ่ ปน็ มิตรกับ พัฒนาระบบการบรหิ าร
มาตรฐานและลดความเลอื่ มลำ้ ทาง สงิ่ แวดลอ้ ม จดั การศึกษา
ะพัฒนา การศกึ ษา
รรถนะใน 6. การพัฒนาระบบ
4. การสรา้ งโอกาสความเสมอภาค 5. การจัดการศึกษาเพอ่ื บรหิ ารจดั การศึกษา
ภาพคนให้มี และเทา่ เทียมกันทางการศึกษา เสริมสรา้ งคุณภาพชีวติ ที่เป็น
มติ รกบั ส่ิงแวดลอ้ ม 6. พฒั นาระบบบรหิ าร
บสนนุ การ จัดการศกึ ษาให้มี
บคุ ลากร 4. สร้างโอกาสและความเสมอ 5. สง่ เสรมิ และจัดการศกึ ษาเพือ่ ประสทิ ธภิ าพ
ภาคทางการศกึ ษา
เสริมสรา้ งคุณภาพชวี ิตทเ่ี ป็นมติ ร 6. พัฒนาระบบบรหิ าร
กบั สิ่งแวดลอ้ ม จัดการและสง่ เสรมิ การมี
สว่ นรว่ ม
4. ขยายโอกาสการเขา้ ถึงบริการ 5. จดั การศกึ ษาเพ่อื เสรมิ สรา้ ง
ทางการศึกษาและการเรียนร้อู ย่าง 85
มคี ุณภาพ คุณภาพชวี ิตทเี่ ปน็ มติ รกับ
ส่งิ แวดลอ้ ม

สว่ นที่ 4
แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ โครงการ/กิจกรรม

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล ได้กำหนดกรอบวงเงินในการจัดทำ
แผนการบรหิ ารงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 และกำหนดโครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564 เพ่อื ใหส้ ำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาสามารถดำเนนิ การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ดงั นี้

ตารางที่ 1 แสดงจำนวนโครงการและงบประมาณ จำแนกตามยุทธศาสตร์ ของสำนักงาน
เขตพื้นท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาสงขลา สตลู ปงี บประมาณ พ.ศ.2564

ท่ี รายการ จำนวน งบประมาณ
โครงการ
1 ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การจดั การศึกษาเพ่อื ความมั่นคง 65,260
ของมนุษย์ 2 1,025,960
1,382,090
2 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 การจดั การศึกษาเพ่อื เพิม่ 13 203,700
ความสามารถในการแขง่ ขัน 157,070
20 601,370
3 ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 สง่ เสริม สนับสนนุ การพัฒนาครู 3,435,450
และบคุ ลากรทางการศึกษา 3

4 ยุทธศาสตร์ที่ 4 ขยายโอกาสการเขา้ ถึงบรกิ าร 2
ทางการศกึ ษาและการเรียนรู้อยา่ งมีคุณภาพ
12
5 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 5 จดั การศึกษาเพอ่ื เสรมิ สร้าง 52
คณุ ภาพชีวิตที่เปน็ มิตรกับส่งิ แวดลอ้ ม

6 ยุทธศาสตรท์ ี่ 6 พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการและ
ส่งเสรมิ การมสี ่วนร่วม
รวมท้ังส้ิน

ตารางท่ี 2 แสดงรายชื่อโครงการ/งบประมาณ/ผู้รบั ผิดชอบ จำแนกตามยุทธศาสตร์ ของสำนักงาน
เขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตลู ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ท่ี ยุทธศาสตร/์ ชื่อโครงการ งบประมาณ ผูร้ บั ผดิ ชอบ/กลุ่ม หมายเหตุ
ท่ีรับผดิ ชอบ

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 การจดั การศึกษาเพือ่ ความมั่นคงของมนษุ ย์

1 พัฒนาคุณภาพการศึกษาหลักสตู รอสิ ลามศึกษา 17,960 นางสาวประจวบ พทุ ธวาศร/ี

ระดับการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน กลมุ่ นิเทศฯ

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

87

ที่ ยทุ ธศาสตร/์ ชอ่ื โครงการ งบประมาณ ผรู้ บั ผดิ ชอบ/กลุ่ม หมายเหตุ
ทร่ี ับผิดชอบ

2 พฒั นาศนู ย์การเรียนรตู้ ามหลักปรัชญาของ 47,300 นางจติ รา ซุน่ ซ่ิม /

เศรษฐกจิ พอเพียง กลมุ่ นเิ ทศฯ

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 การจัดการศกึ ษาเพ่อื เพิม่ ความสามารถในการแขง่ ขัน

3 เสริมสร้างศักยภาพครูผู้สอนเพ่อื พัฒนาผเู้ รียนให้ 10,000 นางสาววรรณี รตั นเลิศ/

มที กั ษะชีวิตและสร้างอาชพี กลุ่มนเิ ทศฯ

4 การจัดทำข้อมูลผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน (GPA) 50,640 นางเหมือนฝัน เก้ือหนุน/

โดยใชโ้ ปรแกรม SGS กลมุ่ นเิ ทศฯ

5 พัฒนาครสู ูก่ ารเป็นครมู ืออาชีพในศตวรรษที่ 21 268,000 นางเหมือนฝัน เก้ือหนนุ /

เพื่อรองรับการจดั การเรยี นรฐู้ านสมรรถนะ โดย กลุม่ นิเทศฯ

ใชโ้ รงเรยี นเปน็ ฐาน (ครูผูร้ ่วมนเิ ทศ (Co-

Supervisor))

6 พัฒนาสมรรถนะครูผสู้ อนในการสรา้ งเครอื่ งมือวัด 73,320 นางเหมอื นฝนั เกื้อหนุน/

และประเมินผลการเรยี นรูข้ องผเู้ รยี นในศตวรรษ กลุ่มนิเทศฯ

ท่ี 21

7 สง่ เสรมิ พฒั นาความสามารถทางภาษาของ 50,000 นางเปรมจิต กล่อมสุข/

ครผู สู้ อนภาษาอังกฤษในสงั กัดใหไ้ ดม้ าตรฐานตาม กลุ่มนิเทศฯ

กรอบมาตรฐานทางภาษา CEFR (The

Common European Framework of

Reference for Language) โดยใช้กระบวนการ

นเิ ทศ 5 ขั้นแบบอภยั ดี (APIDE)

8 ส่งเสรมิ พัฒนาความสามารถของครูผ้สู อน 47,000 นางเปรมจติ กลอ่ มสขุ /

ภาษาองั กฤษ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ กลมุ่ นิเทศฯ

ภาษาตา่ งประเทศในสังกัดใหเ้ นน้ การสอน

ภาษาอังกฤษส่ือสารในชนั้ เรียน

(Communicative Language Teaching :

CLT) และ การจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ (Active

Learning) โดยใชก้ ระบวนการนิเทศ 5 ขั้นแบบ

อภัยดี (APIDE)

9 พฒั นาครูผู้สอนภาษาอังกฤษทำหนา้ ทว่ี ทิ ยากร 30,000 นางเปรมจิต กล่อมสขุ /

แกนนำในการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพ่ือการ กลุ่มนเิ ทศฯ

ส่ือสารในศตวรรษท่ี 21 (Train English

Teachers as the Trainer to teach the

English language for communication in

Twenty First Century)

10 เตรียมความพร้อมการประเมินผลรว่ มกบั 178,000 นางสาวชาครยิ า ชายเกลี้ยง/

นานาชาติ (PISA 2021) กลมุ่ นิเทศฯ

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

88

ท่ี ยทุ ธศาสตร์/ชอื่ โครงการ งบประมาณ ผูร้ ับผิดชอบ/กลุ่ม หมายเหตุ
ทร่ี ับผดิ ชอบ

11 ส่งเสรมิ ความเป็นเลศิ ทางวชิ าการด้าน 50,000 นางสาวชาครยิ า ชายเกลี้ยง/

คณติ ศาสตร์ ระดบั เขตพ้นื ท่ีการศึกษา สำนักงาน กลุ่มนเิ ทศฯ

เขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 16

12 การพฒั นากระบวนการเสริมสร้างและประเมิน 20,000 นางสาวชาคริยา ชายเกลี้ยง/

ทักษะความคิดสร้างสรรค์และการคดิ วิเคราะห์ใน กลมุ่ นเิ ทศฯ

ชั้นเรียนระดบั มัธยมศึกษา

13 วจิ ัยและนวตั กรรมเพ่ือการพัฒนาคุณภาพการจัด 60,000 นางสาวชาคริยา ชายเกลีย้ ง/

การศกึ ษา กลุ่มนิเทศฯ

14 การนเิ ทศเชงิ รุกในการส่งเสรมิ โรงเรยี นใน 184,000 นางสนุ นั ทา สวุ รรณะ /

โครงการโรงเรียนมาตรฐานสากลของสำนักงาน กลมุ่ นิเทศฯ, พรอ้ มคณะ

เขตพนื้ ท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 16 สู่ความ

เป็นเลศิ ระดับประเทศ

15 จดั กระบวนการเรียนร้เู พศวถิ ีศกึ ษาและการ 5,000 นายจิรพัฒน์ ช่วยนมุ่ /

ขบั เคลอ่ื นการเรียนรู้ แบบ Electronic – กลุ่มนเิ ทศฯ

learning เพ่อื พัฒนาสมรรถนะครใู หส้ อนเพศวถิ ี

ศกึ ษาและทักษะชวี ิต

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 สง่ เสริม สนับสนนุ การพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา

16 พฒั นาทักษะ ความร้ทู ่ีจำเป็นครกู ลมุ่ สาระศลิ ปะสู่ 66,400 วีระศักดิ์ บุญญาพิทกั ษ/์

วิทยากรมืออาชีพ(Train The Trainer) กลุ่มนิเทศฯ

17 การพฒั นาศูนยพ์ ัฒนาการเรียนการสอนกลุ่ม 22,100 วรี ะศักดิ์ บุญญาพิทักษ์/

สาระการเรียนรู้ สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษา กลมุ่ นิเทศฯ

มธั ยมศกึ ษา เขต 16

18 เพิ่มประสิทธิภาพการจดั การเรยี นรขู้ องครูด้วย 71,360 นางจติ รา ซุ่นซมิ่ /กลมุ่ นเิ ทศฯ

การสร้างช้นั เรยี นออนไลนย์ คุ ใหม่ดว้ ย Google

Classroom

19 พัฒนาการจดั การเรียนร้คู รผู ู้สอนการออกแบบ 77,600 นางจิตรา ซุ่นซ่มิ /กลุ่มนเิ ทศฯ

และเทคโนโลยแี ละวทิ ยาการคำนวณ

20 ยกระดับการสอนสู่การสร้างนวัตกร ของครกู ลุม่ 10,000 นางสาวฉลวย พีรฉตั รปกรณ์/

สาระการเรียนสงั คมศึกษา ด้วยกระบวนการ กลุ่มนเิ ทศฯ

นิเทศ

21 เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพครผู ู้สอนภาษาไทยการจดั 22,400 นางสาวปฤษณา แจ้มแจ้ง/

กิจกรรมการเรยี นร้เู ชิงรกุ ในศตวรรษท่ี 21 โดยใช้ กลมุ่ นิเทศ

ชุมชนแห่งการเรียนรู้

22 เสรมิ สร้างศักยภาพครูเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มคี วาม 38,800 นางสาวปฤษณา แจ้มแจ้ง/

เปน็ เลิศในการเป็นผนู้ ำทางศาสนพธิ ี (มัคนายก กลมุ่ นิเทศ

นอ้ ย)

แผนปฏิบัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต

89

ท่ี ยทุ ธศาสตร/์ ชอื่ โครงการ งบประมาณ ผู้รับผดิ ชอบ/กลุ่ม หมายเหตุ
ที่รับผดิ ชอบ

23 เสริมสร้างศักยภาพครูเพือ่ พัฒนาผเู้ รยี นให้มีความ 42,400 นางสาวปฤษณา แจ้มแจ้ง/

เปน็ เลิศด้านภาษาไทย กลุ่มนิเทศ

24 การนิเทศเชิงรุกเพ่ือพัฒนาสมรรถนะของครูสู่ 87,300 นางสนุ ันทา สุวรรณะ/

ความเปน็ เลศิ ในศตวรรษที่ 21 โดยใช้ กลุม่ นเิ ทศ

กระบวนการ PLC (Professional Learning

Community)

25 เสริมสรา้ งศกั ยภาพครูผู้สอนภาษาตา่ งประเทศที่ 64,750 นางสาวกตญั ชลี ทองเจอื เพชร/

สองเพื่อการจดั การเรยี นรสู้ ู่ชัน้ เรยี น กลุ่มนเิ ทศฯ

26 การพัฒนาศักยภาพการจัดกิจกรรมแนะแนว 39,700 นางสาวใกล้รงุ่ สำเภาทอง/

สำหรับครทู ่ไี ม่มวี ฒุ ิทางการแนะแนว กลมุ่ นเิ ทศฯ

27 พฒั นาคุณภาพครผู สู้ อนพลศึกษา 40,800 นายจริ พฒั น์ ชว่ ยนุม่ /

กลมุ่ นิเทศฯ

28 พัฒนาคุณภาพครผู ู้สอนเพศวิถีศกึ ษา 41,100 นายจิรพฒั น์ ชว่ ยนุ่ม/

กลมุ่ นเิ ทศฯ

29 การประเมนิ สัมฤทธผิ ลการปฏบิ ัตงิ านในหนา้ ท่ี 40,000 นางถวลิ เพชรสุวรรณ/

ของผบู้ ริหารสถานศึกษา กลุ่มบริหารงานบคุ คล

30 การประชุมเชงิ ปฏิบตั ิการจัดทำขอ้ มูลการสอน 58,180 นางอรสา แตงออ่ น/

ของครูตามเกณฑ์ ก.ค.ศ. กลุ่มบรหิ ารงานบคุ คล

31 การสรรหาพนักงานราชการ, ลูกจา้ งช่วั คราวใน 200,000 นางเกวลนิ พยนตภ์ าค/

สำนักงาน, ลกู จ้างช่วั คราวในสถานศึกษา กลมุ่ บรหิ ารงานบคุ คล

(ครูผูส้ อน) บคุ ลากรวิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์

, เจา้ หนา้ ทธี่ ุรการ (โครงการคืนครใู ห้นกั เรยี น)

และพีเ่ ลยี้ งเดก็ พิการ

32 พฒั นาศักยภาพรองผ้อู ำนวยการโรงเรียน 70,000 นางนำ้ ฝน ยกย่องสกุล/

กลุ่มพัฒนาครูและบุคลากรฯ

33 พัฒนาสมรรถนะครูผ้ชู ว่ ยสูก่ ารเป็นครมู ืออาชีพ 320,000 นางน้ำฝน ยกย่องสกุล/

กลุ่มพัฒนาครแู ละบุคลากรฯ

34 พฒั นาเจ้าหน้าที่ธรุ การสำนักงานเขตพน้ื ที่ 4,200 นางนำ้ ฝน ยกยอ่ งสกลุ /

การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 16 กลมุ่ พฒั นาครแู ละบุคลากรฯ

35 พฒั นาทักษะความเขา้ ใจและใช้เทคโนโลยดี ิจิทลั 65,000 นางน้ำฝน ยกยอ่ งสกลุ /

(Digital Literacy Project) กลุ่มพัฒนาครแู ละบุคลากรฯ

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 ขยายโอกาสการเข้าถงึ บรกิ ารทางการศึกษาและการเรยี นรอู้ ยา่ งมีคุณภาพ

36 พฒั นากรอบหลักสูตรระดบั ท้องถน่ิ และหลกั สูตร 53,000 วรี ะศักดิ์ บญุ ญาพิทกั ษ์/

สถานศึกษา ตามความตอ้ งการจำเป็นของ กลุ่มนเิ ทศฯ

สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 16

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สพม.สขสต


Click to View FlipBook Version