The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือชุด กฎหมายเพื่อการเรียนรู้ ผู้ศึกษาเเละเรียบเรียง นายภูมินทร์ เกณสาคู

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ภูมินทร์ เกณสาคู, 2021-04-10 02:43:44

หนังสือชุด กฎหมายเพื่อการเรียนรู้ ผู้ศึกษาเเละเรียบเรียง นายภูมินทร์ เกณสาคู

หนังสือชุด กฎหมายเพื่อการเรียนรู้ ผู้ศึกษาเเละเรียบเรียง นายภูมินทร์ เกณสาคู

กำหนดโดยเร็ว ถ้าสภาผ้แู ทนราษฎรไม่อนุมัตหิ รือสภาผแู้ ทนราษฎรอนมุ ัตแิ ต่วุฒิสภาไมอ่ นุมตั แิ ละสภา
ผ้แู ทนราษฎรยนื ยนั การอนมุ ัติดว้ ยคะแนนเสยี งไม่มากกว่าก่งึ หนง่ึ ของจำนวนสมาชกิ ทัง้ หมดเทา่ ท่ีมอี ยู่ของ
สภาผแู้ ทนราษฎร ให้พระราชกำหนดนน้ั ตกไป แต่ท้ังนี้ไม่กระทบตอ่ กิจการที่ไดเ้ ป็นไปในระหวา่ งที่ใชพ้ ระราช
กำหนดน้นั

หากพระราชกำหนดตามวรรคหน่ึงมีผลเป็นการแก้ไขเพมิ่ เติมหรือยกเลิกบทบัญญัตแิ ห่งกฎหมายใด
และพระราชกำหนดนั้นต้องตกไปตามวรรคสาม ใหบ้ ทบัญญตั แิ หง่ กฎหมายท่ีมีอยูก่ ่อนการแกไ้ ขเพ่ิมเติมหรือ
ยกเลิก มีผลใช้บังคบั ต่อไปนบั แต่วันทีก่ ารไมอ่ นุมตั ิพระราชกำหนดนนั้ มผี ล

ถา้ สภาผูแ้ ทนราษฎรและวฒุ ิสภาอนุมัตพิ ระราชกำหนดน้นั หรือถ้าวุฒสิ ภาไม่อนุมตั ิและสภา
ผู้แทนราษฎรยืนยันการอนมุ ัติด้วยคะแนนเสยี งมากกว่ากึ่งหนึง่ ของจำนวนสมาชิกท้งั หมดเทา่ ทีม่ ีอยขู่ องสภา
ผู้แทนราษฎร ใหพ้ ระราชกำหนดนั้นมีผลใช้บังคับเปน็ พระราชบัญญัติต่อไป

การอนุมัตหิ รอื ไม่อนุมตั พิ ระราชกำหนด ใหน้ ายกรัฐมนตรปี ระกาศในราชกจิ จานุเบกษา ในกรณีไม่
อนุมัติ ให้มผี ลตั้งแตว่ นั ถดั จากวันประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา

การพจิ ารณาพระราชกำหนดของสภาผู้แทนราษฎรและของวฒุ ิสภา และการยืนยนั การอนมุ ัตพิ ระ
ราชกำหนด จะต้องกระทำในโอกาสแรกทม่ี กี ารประชุมสภานัน้ ๆ

สรุป พระราชกำหนด คือ กฎฉุกเฉินออกโดยฝ่ายบริหาร(คณะรัฐมนตรี)ตอ้ งกระทำโดยด่วน(เชน่
เงนิ ตรา )โดยไมต่ ้องเหน็ ชอบ ประกาศใชไ้ ด้เลย เมื่อประกาศใชแ้ ล้วตอ้ งนำมมาให้รัฐสภาพจิ ารณาลงมติ
หากเหน็ ชอบจะกลายเปน็ พระราชบญั ญตั ิ หากไม่เห็นชอบก็ตกไป แตท่ ่ปี ระกาศใช้แล้วมผี ล

มาตรา ๑๗๓ ก่อนทส่ี ภาผแู้ ทนราษฎรหรอื วฒุ ิสภาจะได้อนุมตั ิพระราชกำหนดใด สมาชกิ สภาผแู้ ทน
ราษฎรหรอื สมาชิกวฒุ ิสภาจำนวนไม่น้อยกวา่ ๑ ใน ๕ ของจำนวนสมาชกิ ท้งั หมดเท่าท่ีมีอยู่ของแต่ละสภา มี
สทิ ธเิ ขา้ ชอ่ื เสนอความเห็นต่อประธานแห่งสภาท่ีตนเปน็ สมาชกิ วา่ พระราชกำหนดน้นั ไมเ่ ปน็ ไปตามมาตรา
๑๗๒ วรรคหนงึ่ และใหป้ ระธานแห่งสภาน้นั สง่ ความเหน็ ไปยังศาลรฐั ธรรมนญู ภายใน ๓๐ วันนบั แต่วนั ที่ได้รบั
ความเห็นเพ่ือวนิ จิ ฉยั และให้รอการพจิ ารณาพระราชกำหนดนนั้ ไว้ก่อนจนกวา่ จะได้รบั แจง้ คำวินิจฉัยของศาล
รฐั ธรรมนูญ

ใหศ้ าลรัฐธรรมนญู มีคำวนิ ิจฉยั ภายใน ๖๐ วนั นับแตว่ ันท่ีได้รับเรือ่ ง และให้ศาลรัฐธรรมนญู แจ้งคำ
วนิ จิ ฉัยนัน้ ไปยังประธานแห่งสภาท่สี ่งความเหน็ นน้ั มา

ในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนญู วินจิ ฉัยวา่ พระราชกำหนดใดไม่เปน็ ไปตามมาตรา ๑๗๒ วรรคหนง่ึ ให้พระ
ราชกำหนดนน้ั ไม่มผี ลใชบ้ ังคับมาแตต่ น้

คำวนิ จิ ฉยั ของศาลรัฐธรรมนูญว่าพระราชกำหนดใดไมเ่ ปน็ ไปตามมาตรา ๑๗๒ วรรคหน่งึ ต้องมี
คะแนนเสียงไมน่ ้อยกวา่ ๒ ใน ๓ ของจำนวนตุลาการศาลรฐั ธรรมนญู ท้งั หมดเท่าท่ีมีอยู่

มาตรา ๑๗๔ ในกรณีที่มีความจำเปน็ ต้องมีกฎหมายเกย่ี วด้วยภาษอี ากรหรือเงินตราซ่ึงจะต้องไดร้ บั
การพจิ ารณาโดยด่วนและลับเพื่อรักษาประโยชน์ของแผ่นดิน พระมหากษัตรยิ ์จะทรงตราพระราชกำหนดให้ใช้
บงั คบั ดังเชน่ พระราชบัญญตั ิก็ได้

ใหน้ ำความในมาตรา ๑๗๒ วรรคสาม วรรคส่ี วรรคห้า วรรคหก และวรรคเจ็ด มาใชบ้ งั คบั แกพ่ ระ
ราชกำหนดทไ่ี ด้ตราขึน้ ตามวรรคหนง่ึ โดยอนโุ ลม แต่ถ้าเปน็ การตราข้ึนในระหว่างสมัยประชมุ จะต้องนำเสนอ
ตอ่ สภาผ้แู ทนราษฎรภายใน ๓ วันนับแตว่ ันถัดจากวันประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา

มาตรา ๑๗๕ พระมหากษัตริยท์ รงไวซ้ งึ่ พระราชอำนาจในการตราพระราชกฤษฎกี าโดยไมข่ ัดต่อ
กฎหมาย

มาตรา ๑๗๖ พระมหากษัตริย์มีพระราชอำนาจในการประกาศใช้และเลิกใช้กฎอยั การศกึ
ในกรณีท่ีมคี วามจำเปน็ ตอ้ งประกาศใช้กฎอยั การศกึ เฉพาะแห่งเป็นการรบี ด่วน เจา้ หนา้ ทฝ่ี ่ายทหาร
ย่อมกระทำได้ตามกฎหมายว่าดว้ ยกฎอัยการศกึ
มาตรา ๑๗๗ กษัตรยิ ์มพี ระราชอำนาจในการประกาศสงครามเมอื่ ได้รบั ความเห็นชอบของรฐั สภา
มติใหค้ วามเหน็ ชอบของรัฐสภาตอ้ งมีคะแนนเสยี งไม่น้อยกวา่ ๒ ใน ๓ ของจำนวนสมาชิกทง้ั หมดเท่าท่ีมี
อยขู่ องทงั้ สองสภา
มาตรา ๑๗๙ พระมหากษตั ริย์ทรงไวซ้ ่ึงพระราชอำนาจในการพระราชทานอภยั โทษ
มาตรา ๑๘๐ พระมหากษัตริย์ทรงแต่งต้งั ข้าราชการฝา่ ยทหารและฝา่ ยพลเรอื นตำแหน่ง
ปลัดกระทรวง อธิบดี และเทียบเท่า และทรงใหพ้ ้นจากตำแหนง่ เวน้ แต่กรณีท่ีพน้ จากตำแหนง่ เพราะความ
ตาย เกษียณอายุ หรอื พน้ จากราชการเพราะถูกลงโทษ
มาตรา ๑๘๑ ขา้ ราชการและพนักงานของรัฐทม่ี ีตำแหนง่ หรือเงนิ เดอื นประจำและมใิ ช่ขา้ ราชการ
การเมือง จะเป็นข้าราชการการเมืองหรือผ้ดู ำรงตำแหนง่ ทางการเมืองอนื่ ไมไ่ ด้
มาตรา ๑๘๒ บทกฎหมาย พระราชหตั ถเลขา และพระบรมราชโองการอนั เก่ียวกบั ราชการ
แผน่ ดิน ต้องมีรัฐมนตรลี งนามรบั สนองพระบรมราชโองการ เว้นแต่ที่มีบญั ญตั ไิ ว้เปน็ อย่างอื่นในรัฐธรรมนญู
มาตรา ๑๘๓ เงินประจำตำแหน่งและประโยชน์ตอบแทนอยา่ งอ่นื ขององคมนตรี ประธานและรอง
ประธานสภาผ้แู ทนราษฎร ประธานและรองประธานวฒุ ิสภา ผูน้ ำฝ่ายคา้ นในสภาผู้แทนราษฎร
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา ให้กำหนดโดยพระราชกฤษฎีกา
บำเหนจ็ บำนาญหรอื ประโยชนต์ อบแทนอยา่ งอืน่ ขององคมนตรซี งึ่ พน้ จากตำแหน่ง ใหก้ ำหนดโดย
พระราชกฤษฎกี า

หมวด ๙
การขัดกนั แหง่ ผลประโยชน์

มาตรา ๑๘๔ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาต้อง
(๑) ไม่ดำรงตำแหน่งหรอื หนา้ ที่ใดในหนว่ ยราชการ หนว่ ยงานของรฐั หรือรฐั วิสาหกิจ หรือตำแหน่ง
สมาชิกสภาท้องถ่ินหรอื ผ้บู รหิ ารทอ้ งถ่ิน
(๒) ไม่รบั หรือแทรกแซงหรือก้าวกา่ ยการเขา้ รับสัมปทานจากรัฐ หน่วยราชการ หนว่ ยงานของรัฐ
หรือรัฐวิสาหกิจ หรอื เขา้ เปน็ คู่สญั ญากบั รัฐ หน่วยราชการ หนว่ ยงานของรัฐ หรอื รฐั วสิ าหกจิ อนั มลี ักษณะเป็น
การผูกขาดตัดตอน หรือเป็นหุน้ สว่ นหรอื ผู้ถอื หนุ้ ในหา้ งหนุ้ ส่วนหรือบรษิ ัททีร่ บั สัมปทานหรอื เขา้ เปน็ คูส่ ัญญา
ในลกั ษณะดังกลา่ ว ทั้งน้ี ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม
(๓) ไม่รบั เงนิ หรือประโยชน์ใด ๆ จากหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรอื รฐั วิสาหกิจเป็นพิเศษ
นอกเหนือไปจากทห่ี น่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรอื รฐั วสิ าหกิจปฏิบัตติ อ่ บุคคลอน่ื ๆ ในธุรกิจการงานปกติ
(๔) ไมก่ ระทำการใด ๆ ไม่วา่ โดยทางตรงหรือทางอ้อม อันเป็นการขัดขวางหรือแทรกแซงการใชส้ ิทธิ
หรือเสรีภาพของหนังสือพมิ พ์หรอื ส่อื มวลชนโดยมชิ อบ

มาตรานม้ี ใิ ห้ใช้บังคับในกรณที ส่ี มาชิกสภาผ้แู ทนราษฎรหรอื สมาชิกวุฒสิ ภารับเบี้ยหวดั บำเหน็จ
บำนาญ เงินปพี ระบรมวงศานุวงศ์ หรอื เงินอ่ืนใดในลกั ษณะเดียวกนั และมิให้ใชบ้ ังคับในกรณที ่ี
สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรหรอื สมาชิกวฒุ ิสภารบั หรอื ดำรงตำแหน่งกรรมาธิการของรัฐสภา สภาผ้แู ทนราษฎร
หรือวฒุ สิ ภา หรือกรรมการที่ได้รับแต่งตงั้ ในการบรหิ ารราชการแผน่ ดินที่เกีย่ วกบั กิจการของสภา หรือ
กรรมการตามท่ีมีกฎหมายบัญญตั ไิ วเ้ ป็นการเฉพาะ

ใหน้ ำ (๒) และ (๓) มาบงั คับใช้แกค่ ูส่ มรสและบตุ รของสมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรหรือสมาชกิ
วฒุ สิ ภา และบคุ คลอ่นื ซ่งึ มใิ ช่คูส่ มรสและบตุ รของสมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎรหรือสมาชกิ วุฒิสภานนั้ ท่ดี ำเนินการ
ในลกั ษณะผถู้ ูกใช้ ผรู้ ่วมดำเนนิ การ หรือผู้ได้รับมอบหมายจากสมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร หรือสมาชกิ วฒุ สิ ภาให้
กระทำการตามมาตรานด้ี ้วย

มาตรา ๑๘๕ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือสมาชิกวฒุ ิสภาตอ้ งไมใ่ ชส้ ถานะหรอื ตำแหน่งการเปน็
สมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎรหรอื สมาชกิ วุฒิสภากระทำการใด ๆ อนั มีลกั ษณะท่เี ป็นการก้าวกา่ ยหรอื แทรกแซง
เพอ่ื ประโยชน์ของตนเอง ของผอู้ ่ืน หรือของพรรคการเมือง ไม่วา่ โดยทางตรงหรือทางอ้อม ในเรือ่ งดังต่อไปน้ี

(๑) การปฏิบัตริ าชการหรือการดำเนนิ งานในหน้าทปี่ ระจำของข้าราชการ พนักงานหรือลูกจ้างของ
หน่วยราชการ หน่วยงานของรฐั รฐั วสิ าหกิจ กิจการทีร่ ัฐถอื หุ้นใหญ่ หรือราชการส่วนทอ้ งถ่ิน

(๒) กระทำการในลักษณะที่ทำใหต้ นมีสว่ นร่วมในการใช้จ่ายเงินงบประมาณหรือใหค้ วามเหน็ ชอบใน
การจดั ทำโครงการใด ๆ ของหน่วยงานของรฐั เว้นแตเ่ ปน็ การดำเนินการในกิจการของรัฐสภา

(๓) การบรรจุ แต่งต้ัง โยกยา้ ย โอน เล่อื นตำแหน่ง เลือ่ นเงินเดือนหรือการใหพ้ ้นจากตำแหนง่ ของ
ขา้ ราชการซึง่ มตี ำแหน่งหรือเงินเดือนประจำและมิใช่ขา้ ราชการการเมือง พนักงาน หรือลูกจา้ งของหน่วย
ราชการ หนว่ ยงานของรฐั รัฐวสิ าหกิจ กจิ การท่ีรัฐถือห้นุ ใหญ่ หรือราชการส่วนทอ้ งถนิ่

มาตรา ๑๘๖ ใหน้ ำความในมาตรา ๑๘๔ มาใชบ้ งั คบั แกร่ ัฐมนตรีด้วยโดยอนุโลม เว้นแต่กรณี
ดงั ตอ่ ไปนี้

(๑) การดำรงตำแหนง่ หรือการดำเนินการท่ีกฎหมายบญั ญัตใิ ห้เป็นหน้าทีห่ รอื อำนาจของรัฐมนตรี

(๒) การกระทำตามหน้าทแี่ ละอำนาจในการบริหารราชการแผน่ ดิน หรอื ตามนโยบายท่ีได้แถลงตอ่
รฐั สภา หรือตามท่ีกฎหมายบัญญัติ

นอกจากกรณีตามวรรคหน่ึง รฐั มนตรตี ้องไม่ใช้สถานะหรือตำแหน่งกระทำการใดไม่วา่ โดยทางตรง
หรือทางอ้อม อนั เป็นการก้าวก่ายหรือแทรกแซงการปฏิบตั ิหนา้ ทข่ี องเจา้ หน้าท่ีของรฐั เพ่ือประโยชน์ของตนเอง
ของผู้อ่นื หรือของพรรคการเมืองโดยมิชอบตามที่กำหนดในมาตรฐานทางจรยิ ธรรม

มาตรา ๑๘๗ รัฐมนตรีต้องไม่เป็นหุ้นส่วนหรือผ้ถู อื หุน้ ในหา้ งหนุ้ สว่ นหรือบรษิ ทั หรอื ไม่คงไวซ้ ึ่งความ
เปน็ หุ้นสว่ นหรือผถู้ ือหนุ้ ในหา้ งหุ้นส่วนหรือบรษิ ทั ต่อไปตามจำนวนท่กี ฎหมายบัญญตั ิ และต้องไม่เป็นลกู จ้าง
ของบุคคลใด

ในกรณีท่ีรัฐมนตรผี ู้ใดประสงค์จะได้รับประโยชนจ์ ากกรณตี ามวรรคหนง่ึ ต่อไป ให้แจ้งประธาน
กรรมการป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริตแห่งชาตทิ ราบภายในสามสิบวันนบั แตว่ ันที่ไดร้ บั แตง่ ตง้ั และใหโ้ อน
หุ้นในห้างหุ้นสว่ นหรือบริษัทดังกลา่ วให้แก่นิติบุคคลซงึ่ จัดการทรพั ย์สนิ เพ่ือประโยชนข์ องผอู้ ่ืน ท้ังนี้ ตามท่ี
กฎหมายบัญญัติ

รฐั มนตรจี ะเขา้ ไปเก่ียวขอ้ งกับการบริหารจดั การหุ้นหรือกจิ การของหา้ งหนุ้ สว่ นหรอื บรษิ ัทตาม
วรรคสองไม่วา่ ในทางใด ๆ มไิ ด้

มาตรานีเ้ ฉพาะในส่วนทเ่ี ก่ียวกับความเปน็ หุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้น ให้ใช้บังคบั แกค่ ูส่ มรสและบุตรท่ยี งั
ไมบ่ รรลนุ ติ ภิ าวะของรัฐมนตรี และการถือห้นุ ของรัฐมนตรีที่อยู่ในความครอบครองหรอื ดูแลของบุคคลอนื่ ไมว่ ่า
โดยทางใด ๆ ด้วย

หมวด ๑๐ ศาล

ส่วนที่ ๑ บททว่ั ไป

มาตรา ๑๘๘ การพจิ ารณาพพิ ากษาอรรถคดีเป็นอำนาจของศาล ซ่ึงตอ้ งดำเนินการให้เป็นไปตาม
กฎหมาย และในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์

ผู้พิพากษาและตุลาการย่อมมีอิสระในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดีตามรัฐธรรมนูญและ
กฎหมายให้เปน็ ไปโดยรวดเรว็ เปน็ ธรรม และปราศจากอคติทง้ั ปวง

มาตรา ๑๘๙ บรรดาศาลท้ังหลายจะตัง้ ขนึ้ ได้แต่โดยพระราชบญั ญัติ
การต้งั ศาลขึน้ ใหมห่ รือกำหนดวธิ พี ิจารณาเพื่อพิจารณาพพิ ากษาคดีใดคดหี น่ึงหรือที่มีข้อหาฐานใด

ฐานหนง่ึ โดยเฉพาะแทนศาลที่มตี ามกฎหมายสำหรับพจิ ารณาพิพากษาคดีน้ัน ๆ จะกระทำมิได้
มาตรา ๑๙๐ พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งและให้ผู้พิพากษาและตุลาการพ้นจากตำแหน่ง แต่ใน

กรณีที่พ้นจากตำแหน่งเพราะความตาย เกษียณอายุ ตามวาระ หรือพ้นจากราชการเพราะถูกลงโทษ ให้นำ
ความกราบบงั คมทลู เพ่อื ทรงทราบ

มาตรา ๑๙๑ ก่อนเข้ารับหน้าที่ ผู้พิพากษาและตุลาการต้องถวายสัตย์ปฏิญาณต่อพระมหากษัตริย์
ดว้ ยถอ้ ยคำ ดังตอ่ ไปนี้

“ข้าพระพุทธเจ้า (ชื่อผู้ปฏิญาณ) ขอถวายสัตย์ปฏิญาณว่า ข้าพระพุทธเจ้าจะจงรักภักดีต่อ
พระมหากษัตริย์ และจะปฏิบัติหน้าที่ในพระปรมาภิไธยด้วยความซื่อสัตย์สุจริตโดยปราศจากอคติทั้งปวง
เพื่อให้เกิดความยุติธรรมแก่ประชาชน และความสงบสุขแห่งราชอาณาจักร ทั้งจะรักษาไว้และปฏิบัติตามซ่ึง
การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย
และกฎหมายทุกประการ”

มาตรา ๑๙๒ ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับหน้าที่และอำนาจระหว่างศาลยุติธรรม ศาลปกครอง หรือ
ศาลทหาร ให้พิจารณาวินิจฉัยชี้ขาดโดยคณะกรรมการซึ่งประกอบด้วยประธานศาลฎีกาเป็นประธาน
ประธานศาลปกครองสูงสุด หัวหน้าสำนักตุลาการทหาร และผู้ทรงคุณวุฒิอื่นอีกไม่เกิน ๔ คนตามที่
กฎหมายบญั ญตั ิเปน็ กรรมการ

มาตรา ๑๙๓ ใหแ้ ตล่ ะศาล ยกเว้นศาลทหาร มหี นว่ ยงานท่ีรับผดิ ชอบงานธรุ การ

ส่วนที่ ๒ ศาลยุติธรรม

มาตรา ๑๙๔ ศาลยุติธรรมมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวง เว้นแต่คดีที่รัฐธรรมนูญหรือ
กฎหมายบัญญตั ใิ ห้อยใู่ นอำนาจของศาลอื่น

การจัดตั้ง วิธีพิจารณาคดี และการดำเนินงานของศาลยุติธรรมให้เปน็ ไปตามกฎหมายว่าด้วยการ
นน้ั

มาตรา ๑๙๕ ให้มีแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองในศาลฎีกา โดยองค์คณะผู้
พิพากษาประกอบด้วยผู้พพิ ากษาในศาลฎีกาซึ่งดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าผู้พิพากษาศาลฎกี าหรือผู้พิพากษา
อาวุโสซึ่งเคยดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าผู้พิพากษาศาลฎีกา ซึ่งได้รับคัดเลือกโดยที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกา
จำนวนไม่น้อยกว่า ๕ คนแต่ไม่เกิน ๙ คนตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธี
พิจารณาคดอี าญาของผูด้ ำรงตำแหนง่ ทางการเมือง โดยใหเ้ ลือกเปน็ รายคดี

ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีตามท่ี
บัญญตั ิไวใ้ นรฐั ธรรมนญู

วิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติประกอบ
รัฐธรรมนูญว่าดว้ ยวิธีพิจารณาคดอี าญาของผดู้ ำรงตำแหน่งทางการเมือง

คำพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผ้ดู ำรงตำแหน่งทางการเมือง ให้อุทธรณ์ต่อทปี่ ระชุม
ใหญ่ศาลฎีกาได้ภายใน ๓๐ วันนับแต่ วันที่ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองมีคำ
พิพากษา

การวินิจฉัยอุทธรณ์ของที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกา ให้ดำเนินการโดยองค์คณะของศาลฎีกาซ่ึง
ประกอบด้วยผู้พิพากษาในศาลฎีกาซึ่งดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลฎีกาหรือผู้
พิพากษาอาวุโสซึ่งเคยดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลฎีกาซ่ึงไม่เคยพิจารณาคดีนั้นมา
กอ่ น และได้รับคดั เลอื กโดยทีป่ ระชุมใหญศ่ าลฎีกาจำนวน ๙ คน โดยใหเ้ ลอื กเป็นรายคดี และเม่ือองค์คณะของ
ศาลฎีกาดังกลา่ วได้วนิ จิ ฉยั แลว้ ให้ถือวา่ คำวินิจฉยั นนั้ เป็นคำวินจิ ฉัยอทุ ธรณ์ของที่ประชุมใหญศ่ าลฎีกา

ในกรณีที่ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองมีคำพิพากษาให้ผู้ใดพ้นจาก
ตำแหน่ง หรือคำพิพากษานั้นมีผลให้ผู้ใดพน้ จากตำแหนง่ ไม่ว่าจะมีการอุทธรณ์ตามวรรคสี่หรือไม่ ให้ผู้นั้นพน้
จากตำแหน่งตงั้ แตว่ นั ที่ศาลฎกี าแผนกคดอี าญาของผ้ดู ำรงตำแหน่งทางการเมืองมีคำพิพากษา

หลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการอุทธรณ์ตามวรรคสี่ และการพจิ ารณาวนิ ิจฉัยอทุ ธรณ์ตามวรรคหา้ ให้เป็นไป
ตามพระราชบญั ญัติประกอบรฐั ธรรมนญู ว่าด้วยวิธพี ิจารณาคดอี าญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมอื ง

มาตรา ๑๙๖ การบริหารงานบุคคลเกี่ยวกับผู้พิพากษาศาลยุติธรรมต้องมีความเป็นอิสระ และ
ดำเนินการโดยคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม ซึ่งประกอบด้วยประธานศาลฎีกาเป็นประธาน และ
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งเป็นข้าราชการตุลาการในแต่ละชั้นศาล และผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งไม่เป็นหรือเคยเป็น
ข้าราชการตลุ าการ บรรดาที่ได้รับเลือกจากข้าราชการตลุ าการไมเ่ กนิ ๒ คน ท้ังนี้ ตามทก่ี ฎหมายบัญญตั ิ

สว่ นท่ี ๓ ศาลปกครอง

มาตรา ๑๙๗ ศาลปกครองมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีปกครองอันเนื่องมาจากการใช้อำนาจ
ทางปกครองตามกฎหมายหรอื เน่อื งมาจากการดำเนินกจิ การทางปกครอง ท้ังนี้ ตามทก่ี ฎหมายบญั ญตั ิ

ให้มศี าลปกครองสงู สดุ และศาลปกครองชน้ั ตน้
อำนาจศาลปกครองตามวรรคหนึ่ง ไม่รวมถึงการวินิจฉัยชี้ขาดขององค์กรอิสระซึ่งเป็นการใช้
อำนาจโดยตรงตามรัฐธรรมนูญขององค์กรอสิ ระนัน้ ๆ
การจัดตั้ง วิธีพิจารณาคดี และการดำเนินงานของศาลปกครองให้เปน็ ไปตามกฎหมายวา่ ด้วยการ
น้นั

มาตรา ๑๙๘ การบริหารงานบุคคลเกี่ยวกับตุลาการศาลปกครองต้องมีความเป็นอิสระ และ
ดำเนินการโดยคณะกรรมการตลุ าการศาลปกครองซึ่งประกอบด้วยประธานศาลปกครองสูงสุดเป็นประธาน
และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งเป็นตุลาการในศาลปกครอง และผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งไม่เป็นหรือเคยเป็นตุลาการใน
ศาลปกครองไม่เกิน ๒ คน บรรดาที่ได้รับเลือกจากข้าราชการตุลาการศาลปกครอง ทั้งนี้ ตามที่กฎหมาย
บญั ญัติ

ส่วนที่ ๔ ศาลทหาร

มาตรา ๑๙๙ ศาลทหารมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาที่ผู้กระทำความผิดเป็นบุคคลซึ่งอยู่
ในอำนาจศาลทหารและคดีอืน่ ทัง้ นี้ ตามทีก่ ฎหมายบญั ญตั ิ

การจัดตั้ง วิธีพิจารณาคดี และการดำเนินงานของศาลทหาร ตลอดจนการแต่งตั้งและการให้ตุลา
การศาลทหารพน้ จากตำแหน่ง ใหเ้ ปน็ ไปตามทีก่ ฎหมายบญั ญตั ิ

หมวด ๑๑ ศาลรัฐธรรมนญู

มาตรา ๒๐๐ ศาลรัฐธรรมนูญประกอบด้วยตุลาการศาลรัฐธรรมนูญจำนวน ๙ คนซึ่ง
พระมหากษัตริย์ทรงแตง่ ตง้ั จากบุคคล ดังตอ่ ไปน้ี

(๑) ผู้พิพากษาในศาลฎีกาซึ่งดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลฎีกามาแล้วไม่
น้อยกวา่ ๓ ปี ซึง่ ได้รับคัดเลอื กโดยทปี่ ระชุมใหญ่ศาลฎีกา จำนวน ๓ คน

(๒) ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดซึ่งดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าตุลาการศาลปกครองสูงสุดมาแล้วไม่
น้อยกว่า ๕ ปี ซ่งึ ได้รับคัดเลอื กโดยทป่ี ระชุมใหญต่ ลุ าการในศาลปกครองสูงสดุ จำนวน ๒ คน

(๓) ผู้ทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตร์ซึ่งได้รับการสรรหาจากผู้ดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่ง
ศาสตราจารย์ของมหาวิทยาลัยในประเทศไทยมาแล้วเป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๕ ปี และยังมีผลงานทางวิชาการ
เป็นท่ปี ระจกั ษ์ จำนวน ๑ คน

(๔) ผู้ทรงคุณวุฒิสาขารัฐศาสตร์หรือรัฐประศาสนศาสตร์ซึ่งได้รับการสรรหาจากผู้ดำรงตำแหน่ง
หรอื เคยดำรงตำแหนง่ ศาสตราจารย์ของมหาวิทยาลยั ในประเทศไทยมาแล้วเป็นเวลาไมน่ ้อยกว่า ๕ ปี และยังมี
ผลงานทางวิชาการเปน็ ที่ประจักษ์ จำนวน ๑ คน

(๕) ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับการสรรหาจากผู้รับหรือเคยรับราชการในตำแหน่งไม่ต่ำกว่าอธิบดีหรือ
หวั หน้าส่วนราชการทีเ่ ทียบเทา่ หรอื ตำแหนง่ ไมต่ ่ำกวา่ รองอยั การสงู สุดมาแลว้ ไมน่ ้อยกวา่ ๕ ปี จำนวน ๒ คน

ในกรณีไม่อาจเลือกผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลฎีกาตาม (๑) ที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกาจะเลือก
บคุ คลจากผซู้ ง่ึ เคยดำรงตำแหนง่ ไมต่ ำ่ กว่าผู้พิพากษาในศาลฎีกามาแลว้ ไม่น้อยกวา่ ๓ ปีกไ็ ด้

การนับระยะเวลาประสบการณ์ตามวรรคหนึ่ง ให้นับถึงวันที่ได้รับการคัดเลือกหรือวันสมัครเข้า
รับการสรรหา แล้วแต่กรณี ในกรณีจำเป็นอันไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ คณะกรรมการสรรหาจะประกาศลด
ระยะเวลาตามวรรคหนงึ่ หรือวรรคสองลงก็ได้ แตจ่ ะลดลงเหลอื นอ้ ยกวา่ ๒ ปีมิได้

มาตรา ๒๐๑ ตุลาการศาลรฐั ธรรมนญู ต้องมีคุณสมบัตดิ งั ต่อไปน้ดี ้วย
(๑) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด
(๒) มีอายไุ มต่ ่ำกวา่ ๔๕ ปี แตไ่ มถ่ ึง ๖๘ ปีในวนั ทไ่ี ดร้ ับการคัดเลือกหรือวนั สมคั รเขา้ รับการสรรหา
(๓) สำเรจ็ การศึกษาไมต่ ่ำกว่าปริญญาตรหี รือเทียบเท่า
(๔) มคี วามซ่อื สัตย์สจุ ริตเป็นที่ประจกั ษ์
(๕) มสี ุขภาพทีส่ ามารถปฏิบตั ิหนา้ ที่ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ
มาตรา ๒๐๒ ตุลาการศาลรัฐธรรมนญู ตอ้ งไม่มลี ักษณะต้องห้าม ดงั ตอ่ ไปน้ี
(๑) เป็นหรือเคยเป็นตลุ าการศาลรัฐธรรมนูญหรือผูด้ ำรงตำแหน่งในองค์กรอสิ ระใด
(๒) ลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๙๘ (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) (๗) (๘) (๙) (๑๐) (๑๑) (๑๗) หรือ
(๑๘)

(๓) เคยได้รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่ในความผดิ อันได้กระทำโดยประมาท
หรอื ความผิดลหโุ ทษ

(๔) เป็นหรือเคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ข้าราชการการเมือง หรือสมาชิกสภา
ทอ้ งถิน่ หรอื ผบู้ ริหารทอ้ งถน่ิ ในระยะสบิ ปีก่อนเข้ารับการคดั เลือกหรือสรรหา

(๕) เป็นหรือเคยเปน็ สมาชิกหรือผดู้ ำรงตำแหน่งอื่นของพรรคการเมืองในระยะ ๑๐ ปีก่อนเข้ารับการ
คดั เลอื กหรือสรรหา

(๖) เปน็ ข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงนิ เดอื นประจำ
(๗) เป็นพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่น หรือ
กรรมการหรือท่ีปรึกษาของหนว่ ยงานของรฐั หรือรัฐวสิ าหกิจ
(๘) เป็นผู้ดำรงตำแหน่งใดในห้างหุ้นส่วนบริษัท หรือองค์กรที่ดำเนินธุรกิจโดยมุ่งหาผลกำไรหรือ
รายได้มาแบ่งปนั กัน หรือเปน็ ลูกจา้ งของบุคคลใด
(๙) เปน็ ผปู้ ระกอบวิชาชพี อสิ ระ
(๑๐) มพี ฤติการณ์อนั เป็นการฝา่ ฝืนหรอื ไมป่ ฏิบัติตามมาตรฐานทางจรยิ ธรรมอย่างร้ายแรง
มาตรา ๒๐๓ เมือ่ มีกรณีทจ่ี ะต้องสรรหาผูส้ มควรได้รับการแตง่ ตั้งเปน็ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ให้
เปน็ หนา้ ทแ่ี ละอำนาจของคณะกรรมการสรรหา ซ่ึงประกอบดว้ ย
(๑) ประธานศาลฎกี า เปน็ ประธานกรรมการ
(๒) ประธานสภาผแู้ ทนราษฎร และผูน้ ำฝา่ ยค้านในสภาผแู้ ทนราษฎร เปน็ กรรมการ
(๓) ประธานศาลปกครองสงู สดุ เปน็ กรรมการ
(๔) บุคคลซึ่งองค์กรอิสระแต่งตั้งจากผู้มีคุณสมบัติตามมาตรา ๒๐๑ และไม่มีลักษณะต้องห้ามตาม
มาตรา ๒๐๒ และไมเ่ คยปฏบิ ัติหน้าท่ีใด ๆ ในศาลรัฐธรรมนญู หรอื องค์กรอสิ ระ องคก์ รละ ๑ คน เป็นกรรมการ

ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งกรรมการสรรหาตาม (๒) หรือกรรมการสรรหาตาม (๔) มีไม่ครบไม่
ว่าด้วยเหตใุ ด ให้คณะกรรมการสรรหาประกอบด้วยกรรมการสรรหาเทา่ ที่มีอยู่

ใหส้ ำนักงานเลขาธกิ ารวุฒสิ ภาปฏบิ ตั ิหน้าที่เปน็ หน่วยธรุ การของคณะกรรมการสรรหา
ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้สมัคร ผู้ได้รับการคัดเลือกหรือได้รับการสรรหา ให้เป็น
หนา้ ทีแ่ ละอำนาจของคณะกรรมการสรรหาเปน็ ผู้วินจิ ฉัย คำวินิจฉัยของคณะกรรมการสรรหาใหเ้ ปน็ ท่ีสดุ
ในการสรรหา ใหค้ ณะกรรมการสรรหาปรึกษาหารือเพ่ือคดั สรรใหไ้ ดบ้ คุ คลซ่ึงมีความรับผิดชอบสูง
มคี วามกล้าหาญในการปฏิบตั ิหน้าที่ และมีพฤติกรรมทางจริยธรรมเปน็ ตวั อยา่ งท่ีดีของสังคม โดยนอกจากการ
ประกาศรบั สมคั รแล้ว ใหค้ ณะกรรมการสรรหาดำเนนิ การสรรหาจากบุคคลที่มีความเหมาะสมท่วั ไปได้ดว้ ย แต่
ต้องได้รบั ความยินยอมของบคุ คลนน้ั
มาตรา ๒๐๔ ผู้ได้รับการคัดเลือกหรือสรรหาเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
ต้องได้รับความเห็นชอบจากวุฒิสภาด้วยคะแนนเสยี งไม่น้อยกว่ากึ่งหน่ึงของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่
ของวุฒิสภา
ในกรณีที่วุฒิสภาไม่ให้ความเห็นชอบผู้ได้รับการสรรหาหรือคัดเลือกรายใด ให้ดำเนินการสรรหา
หรอื คดั เลือกบคุ คลใหมแ่ ทนผนู้ น้ั แลว้ เสนอต่อวฒุ สิ ภาเพอื่ ใหค้ วามเห็นชอบตอ่ ไป

เมื่อผู้ได้รับการสรรหาหรือคัดเลือกได้รับความเห็นชอบจากวุฒิสภาแล้ว ให้เลือกกันเองให้คน
หนงึ่ เป็นประธานศาลรัฐธรรมนญู แล้วแจง้ ผลใหป้ ระธานวุฒสิ ภาทราบ

ให้ประธานวุฒิสภานำความกราบบังคมทูลเพื่อทรงแต่งตั้งประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลา
การศาลรัฐธรรมนูญ และเปน็ ผ้ลู งนามรับสนองพระบรมราชโองการ

มาตรา ๒๐๕ ผู้ได้รับความเห็นชอบจากวุฒิสภาให้เป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญโดยที่ยังมิได้พ้นจาก
ตำแหน่งตามมาตรา ๒๐๒ (๖) (๗) หรือ (๘) หรือยังประกอบวิชาชีพตาม (๙) อยู่ ต้องแสดงหลักฐานว่าได้
ลาออกหรอื เลิกประกอบวชิ าชีพตามมาตรา ๒๐๒ (๖) (๗) (๘) หรือ (๙) แลว้ ต่อประธานวุฒิสภาภายในเวลาท่ี
ประธานวุฒิสภากำหนด ซึ่งต้องเป็นเวลาก่อนที่ประธานวุฒิสภาจะนำความกราบบังคมทูลตามมาตรา ๒๐๔
วรรคสี่ ในกรณที ไ่ี มแ่ สดงหลักฐานภายในกำหนดเวลาดงั กล่าว ใหถ้ อื วา่ ผ้นู ัน้ สละสทิ ธิและให้ดำเนินการคดั เลือก
หรือสรรหาใหม่

มาตรา ๒๐๖ ในการพิจารณาให้ความเห็นชอบตามมาตรา ๒๐๔ ถ้ามีผู้ได้รับความเห็นชอบจาก
วุฒิสภาจำนวนไม่น้อยกว่า ๗ คน ให้ผู้ได้รับความเห็นชอบเลอื กกันเองให้คนหนึ่งเปน็ ประธานศาลรัฐธรรมนญู
แล้วแจ้งผลให้ประธานวุฒิสภาทราบโดยไม่ต้องรอให้มีผู้ได้รับความเห็นชอบครบ ๙ คน และเมื่อโปรดเกล้า
โปรดกระหม่อมแต่งตั้งแล้ว ให้ศาลรัฐธรรมนูญดำเนินการตามหน้าที่และอำนาจต่อไปพลางก่อนได้ โดยใน
ระหว่างนั้น ใหถ้ อื ว่าศาลรฐั ธรรมนูญประกอบด้วยตุลาการศาลรัฐธรรมนญู เทา่ ทม่ี อี ยู่

มาตรา ๒๐๗ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญมีวาระการดำรงตำแหน่ง ๗ ปีนับแต่วันที่พระมหากษัตริย์
ทรงแต่งตัง้ และใหด้ ำรงตำแหน่งได้เพียงวาระเดยี ว

มาตรา ๒๐๘ นอกจากการพ้นจากตำแหนง่ ตามวาระ ตลุ าการศาลรฐั ธรรมนญู พ้นจากตำแหน่งเมื่อ
(๑) ขาดคุณสมบัติตามมาตรา ๒๐๑ หรือมีลกั ษณะตอ้ งห้ามตามมาตรา ๒๐๒
(๒) ตาย
(๓) ลาออก
(๔) มีอายคุ รบ ๗๕ ปี
(๕) ศาลรัฐธรรมนูญมีมติให้พ้นจากตำแหน่งด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า ๓ ใน ๔ ของตุลาการศาล
รัฐธรรมนูญทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ เพราะเหตุฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมของตุลาการศาล
รัฐธรรมนญู
(๖) พ้นจากตำแหนง่ เพราะเหตตุ ามมาตรา ๒๓๕ วรรคสาม

ประธานศาลรฐั ธรรมนญู ซง่ึ ลาออกจากตำแหน่ง ใหพ้ น้ ตำแหน่งตุลาการศาลรฐั ธรรมนูญด้วย
ในกรณีที่ตุลาการศาลรฐั ธรรมนญู พ้นจากตำแหน่งตามวาระ ให้ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญที่พ้นจาก
ตำแหน่งปฏบิ ตั หิ น้าทตี่ อ่ ไปจนกว่าจะมีการแต่งต้งั ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญใหม่แทน
ในกรณีที่มีปญั หาวา่ ตลุ าการศาลรฐั ธรรมนญู ผใู้ ดพ้นจากตำแหนง่ ตาม (๑) หรอื (๓) หรอื ไม่ ใหเ้ ป็น
หน้าที่และอำนาจของคณะกรรมการสรรหาตามมาตรา ๒๐๓ เป็นผู้วินิจฉัย คำวินิจฉัยของคณะกรรมการสรร
หาให้เป็นท่สี ดุ
การรอ้ งขอ ผ้มู ีสิทธริ ้องขอ การพจิ ารณา และการวินจิ ฉยั ตามวรรคสี่ ใหเ้ ป็นไปตามหลักเกณฑ์และ
วธิ กี ารทบ่ี ญั ญัตไิ วใ้ นพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญว่าดว้ ยวิธพี ิจารณาของศาลรัฐธรรมนญู

มาตรา ๒๐๙ ในระหว่างที่ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญพ้นจากตำแหน่งก่อนวาระและยังไม่มีการแต่งต้ัง
ตลุ าการศาลรฐั ธรรมนูญแทนตำแหนง่ ที่ว่าง ใหต้ ุลาการศาลรฐั ธรรมนูญเท่าทเี่ หลืออยูป่ ฏิบตั หิ น้าท่ตี อ่ ไปได้
ยกเว้นเหลืออยไู่ มถ่ ึง ๗ คน

มาตรา ๒๑๐ ศาลรัฐธรรมนญู มีหน้าที่และอำนาจ ดังต่อไปนี้ หน่วยงานที่มีสิทธิเสนอเรื่องไป คือ
คณะรฐั มนตรี วุฒิสภา คณะกรรมการตรวจเงนิ แผ่นดนิ ยกเวน้ กระทรวงมหาดไทยไมม่ ีสิทธิ

(๑) พจิ ารณาวนิ ิจฉยั ความชอบดว้ ยรัฐธรรมนญู ของกฎหมายหรือรา่ งกฎหมาย
(๒) พิจารณาวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับหน้าที่และอำนาจของสภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา รัฐสภา
คณะรฐั มนตรี หรอื องคก์ รอสิ ระ
(๓) หนา้ ทแ่ี ละอำนาจอื่นตามท่บี ัญญัติไว้ในรฐั ธรรมนญู

การยื่นคำร้องและเงื่อนไขการยื่นคำร้อง การพิจารณาวินิจฉัย การทำคำวินิจฉัย และการ
ดำเนนิ งานของศาลรฐั ธรรมนูญ นอกจากที่บัญญัตไิ ว้ในรัฐธรรมนูญแลว้ ใหเ้ ปน็ ไปตามพระราชบัญญัติประกอบ
รัฐธรรมนูญวา่ ด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนญู

ให้นำความในมาตรา ๑๘๘ มาตรา ๑๙๐ มาตรา ๑๙๑ และมาตรา ๑๙๓ มาใช้บังคับแก่ศาล
รัฐธรรมนูญดว้ ยโดยอนุโลม

มาตรา ๒๑๑ องค์คณะของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญในการนั่งพิจารณาและในการทำคำวินิจฉัย ต้อง
ประกอบด้วยตุลาการศาลรัฐธรรมนูญไม่น้อยกว่า ๗ คน

คำวนิ จิ ฉยั ของศาลรฐั ธรรมนูญให้ถอื เสยี งข้างมาก เว้นแต่รัฐธรรมนูญจะบัญญัตไิ วเ้ ปน็ อย่างอ่ืน
เมื่อศาลรัฐธรรมนูญรับเรื่องใดไว้พิจารณาแล้ว ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญผู้ใดจะปฏิเสธไม่วินิจฉัย
โดยอา้ งวา่ เรือ่ งน้นั ไมอ่ ยู่ในอำนาจของศาลรฐั ธรรมนูญมิได้
คำวินจิ ฉยั ของศาลรฐั ธรรมนญู ให้เป็นเด็ดขาด มผี ลผูกพนั รัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล องค์กรอิสระ
และหนว่ ยงานของรัฐ
มาตรา ๒๑๒ ในการที่ศาลจะใช้บทบัญญัติแห่งกฎหมายบังคับแก่คดีใด (คือ บทบัญญัติแห่ง
กฎหมายทศ่ี าลจะนำมาใชว้ นิ ิจฉัยคดี ท่ีเปน็ ประเด็นข้อพิพาทและทเ่ี ก่ยี วกับกระบวนการพจิ ารณาคดี)
ถ้าศาลเห็นเองหรือคู่ความโต้แย้งพร้อมด้วยเหตุผลว่าบทบัญญัติแห่งกฎหมายนั้น ขัดต่อรัฐธรรมนูญ
และยงั ไม่มีคำวินจิ ฉยั ของศาลรฐั ธรรมนูญในส่วนทเี่ กย่ี วกับบทบัญญัตนิ ้ัน ศาลรัฐธรรมนูญจะรับเร่ืองไว้วินิจฉัย
ไมไ่ ด้ เพราะศาลรัฐธรรมนูญมอี ำนาจวินจิ ฉยั เฉพาะบทบัญญัติในรธน๒๕๖๐เทา่ น้นั
ให้ศาลส่งความเห็นเช่นว่านั้นต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัย ในระหว่างนั้น ให้ศาลดำเนินการ
พจิ ารณาต่อไปไดแ้ ตใ่ หร้ อการพิพากษาคดไี วช้ ่วั คราวจนกวา่ จะมีคำวินิจฉยั ของศาลรัฐธรรมนูญ
ในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญเหน็ ว่าคำโต้แย้งของคู่ความตามวรรคหนึ่ง ไม่เป็นสาระอันควรได้รับการ
วินิจฉัย ศาลรัฐธรรมนูญจะไม่รบั เร่อื งดงั กลา่ วไวพ้ ิจารณากไ็ ด้
คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญให้ใช้ได้ในคดีทั้งปวง แต่ไม่กระทบต่อคำพิพากษาของศาลอันถึง
ท่ีสุดแล้ว เวน้ แต่ในคดีอาญาให้ถือว่าผู้ซ่งึ เคยถูกศาลพิพากษาว่ากระทำความผิดตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่
ศาลรัฐธรรมนญู วนิ ิจฉยั ว่าไมช่ อบด้วยมาตรา ๕ นัน้ เปน็ ผู้ไม่เคยกระทำความผดิ ดงั กล่าว หรอื ถา้ ผูน้ ั้นยงั รบั โทษ
อยูก่ ใ็ หป้ ล่อยตัวไป แตท่ ั้งน้ีไมก่ อ่ ใหเ้ กิดสิทธิทจี่ ะเรยี กร้องค่าชดเชยหรือค่าเสียหายใด ๆ

มาตรา ๒๑๓ บุคคลที่ถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพท่ีรฐั ธรรมนญู คุ้มครองไว้มีสิทธิยื่นคำร้องต่อศาล
รัฐธรรมนูญเพื่อมีคำวินิจฉัยว่าการกระทำนั้นขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ
เงอ่ื นไขทบี่ ญั ญัตไิ ว้ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวธิ พี จิ ารณาของศาลรัฐธรรมนูญ

มาตรา ๒๑๔ ในกรณีที่ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญต้องหยุดปฏิบัติหน้าท่ีตามมาตรา ๒๓๕ วรรคสาม
และมีตุลาการศาลรัฐธรรมนูญเหลืออยู่ไม่ถึง ๗ คน ให้ประธานศาลฎีกาและประธานศาลปกครองสูงสุด
รว่ มกนั แต่งตั้งบคุ คลซง่ึ มีคณุ สมบัตแิ ละไม่มีลักษณะตอ้ งหา้ มเช่นเดียวกับตุลาการศาลรัฐธรรมนูญทำหน้าท่ี
เป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญเป็นการชั่วคราวให้ครบเก้าคน โดยให้ผู้ซึ่งได้รับแต่งตั้งทำหน้าที่ในฐานะตุลา
การศาลรัฐธรรมนูญได้จนกว่าตุลาการศาลรัฐธรรมนูญที่ตนทำหน้าที่แทนจะปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือจนกว่าจะมี
การแตง่ ตั้งผูด้ ำรงตำแหน่งแทน

กฎหมายท่ีอย่ใู นอำนาจการตรวจสอบของศาลรัฐธรรมนญู คอื
พระราชบญั ญตั ิ พระราชบญั ญตั ิประกอบรัฐธรรมนูญ พระราชกำหนด
ยกเว้นท่ีตรวจสอบไมไ่ ด้ คอื พระราชกฤษฎีกา

มาตรา ๒๑๔ ในกรณีที่ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญต้องหยุดปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา ๒๓๕ วรรคสาม
และมตี ลุ าการศาลรัฐธรรมนญู เหลอื อย่ไู ม่ถึงเจ็ดคน ให้ประธานศาลฎกี าและประธานศาลปกครองสงู สุดร่วมกัน
แต่งตั้งบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามเช่นเดียวกับตุลาการศาลรัฐธรรมนูญทำหน้าที่ เป็นตุลา
การศาลรัฐธรรมนูญเป็นการชั่วคราวให้ครบเก้าคน โดยให้ผู้ซึ่งได้รับแต่งตั้งทำหน้าที่ในฐานะตุลาการศาล
รฐั ธรรมนญู ได้จนกวา่ ตลุ าการศาลรฐั ธรรมนูญทต่ี นทำหนา้ ท่ีแทนจะปฏบิ ตั หิ น้าทไ่ี ด้ หรอื จนกวา่ จะมีการแต่งตั้ง
ผู้ดำรงตำแหน่งแทน

หมวด ๑๒
องคก์ รอิสระ (มาตรา ๒๑๕ - ๒๔๗)

ส่วนท่ี ๑ บทท่ัวไป

มาตรา ๒๑๕ องค์กรอิสระเป็นองค์กรที่จัดตั้งขึ้นให้มคี วามอิสระในการปฏิบัติหน้าท่ี ให้เป็นไปตาม
รฐั ธรรมนญู และกฎหมาย

การปฏิบัติหน้าที่และการใช้อำนาจขององค์กรอิสระต้องเป็นไปโดยสุจริต เที่ยงธรรม กล้าหาญ
และปราศจากอคติทัง้ ปวงในการใช้ดลุ พนิ ิจ

มาตรา ๒๑๖ ผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามทั่วไป
ดงั ต่อไปน้ีด้วย

(๑) มอี ายไุ มต่ ่ำกว่า ๔๕ ปี แตไ่ ม่เกนิ ๗๐ ปี

(๒) มีคณุ สมบัติตามมาตรา ๒๐๑ (๑) (๓) (๔) และ (๕)
(๓) ไมม่ ีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๒๐๒
มาตรา ๒๑๗ เมอ่ื มกี รณีที่จะต้องสรรหาผสู้ มควรได้รับการแต่งต้ังเปน็ ผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระนอกจาก
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ให้เป็นหน้าท่ีและอำนาจของคณะกรรมการสรรหา

(๑) ประธานศาลฎีกา เป็นประธานกรรมการ
(๒) ประธานสภาผู้แทนราษฎร และผ้นู ำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร เปน็ กรรมการ
(๓) ประธานศาลปกครองสงู สุด เปน็ กรรมการ
(๔) บุคคลซึ่งองค์กรอิสระแต่งตั้งจากผู้มีคุณสมบัติตามมาตรา ๒๐๑ และไม่มีลักษณะ
ต้องห้ามตามมาตรา ๒๐๒ และไม่เคยปฏิบัติหน้าที่ใด ๆ ในศาลรัฐธรรมนญู หรือองค์กรอิสระ องค์กรละ ๑ คน
เป็นกรรมการที่จะดำเนินการสรรหา เว้นแต่กรรมการสรรหาตามมาตรา ๒๐๓ (๔) ให้ประกอบด้วยบุคคลซ่ึง
แต่งต้ังโดยศาลรัฐธรรมนญู และองค์กรอิสระท่ีมใิ ช่องคก์ รอสิ ระท่ีต้องมกี ารสรรหา
มาตรา ๒๑๘ นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระ ผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระพ้นจาก
ตำแหนง่ เมื่อ
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามทั่วไปตามมาตรา ๒๑๖ หรือขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะ
ต้องห้ามเฉพาะตามมาตรา ๒๒๒ มาตรา ๒๒๘ มาตรา ๒๓๒ มาตรา ๒๓๘ หรือตามมาตรา ๒๔๖ วรรคสอง
และตามกฎหมายท่ตี ราขึน้ ตามมาตรา ๒๔๖ วรรคสี่ แล้วแตก่ รณี
ในกรณีที่ผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระต้องหยุดปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา ๒๓๕ วรรคสาม ถ้ามี
จำนวนเหลอื อยู่ไมถ่ งึ กงึ่ หนึ่ง ใหน้ ำความในมาตรา ๒๑๔ มาใชบ้ ังคบั โดยอนโุ ลม
มาตรา ๒๑๙ ให้ศาลรัฐธรรมนูญและองค์กรอิสระร่วมกันกำหนดมาตรฐานทางจริยธรรมขึ้นใช้
บังคับแก่ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญและผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระ รวมทั้งผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน และ
หวั หน้าหนว่ ยงานธุรการของศาลรัฐธรรมนูญและองค์กรอสิ ระ และเมือ่ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้
บังคับได้ ทั้งนี้ มาตรฐานทางจรยิ ธรรมดังกล่าวต้องครอบคลุมถึงการรักษาเกยี รตภิ มู ิและผลประโยชน์ของชาติ
และตอ้ งระบุให้ชัดแจ้งดว้ ยวา่ การฝ่าฝืนหรอื ไมป่ ฏิบตั ติ ามมาตรฐานทางจรยิ ธรรมใดมีลกั ษณะร้ายแรง

ในการจัดทำมาตรฐานทางจริยธรรมตามวรรคหนึ่ง ให้รับฟังความคิดเห็นของสภาผู้แทนราษฎร
วฒุ ิสภา และคณะรัฐมนตรี ประกอบด้วย และเมื่อประกาศใช้บังคับแลว้ ใหใ้ ช้บงั คบั แกส่ มาชิกสภาผู้แทนราษฎร
สมาชิกวุฒิสภา และคณะรัฐมนตรีด้วย แต่ไม่ห้ามสภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา หรือคณะรัฐมนตรีที่จะกำหนด
จริยธรรมเพิม่ ขึน้ ให้เหมาะสมกบั การปฏิบตั หิ นา้ ที่ของตน แต่ตอ้ งไมข่ ดั หรือแย้งกบั มาตรฐานทางจริยธรรมตาม
วรรคหนง่ึ และให้ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา

มาตรา ๒๒๐ ให้องค์กรอิสระแต่ละแห่ง นอกจากคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน มีหน่วยงานท่ี
รับผิดชอบงานธุรการ เช่นเดียวกับศาลทหารที่ไม่มีงานธุรการ โดยให้มีหัวหน้าหน่วยงานคนหนึ่งซึ่งแต่งต้ัง
โดยความเห็นชอบขององค์กรอิสระแต่ละองค์กรเป็นผู้รับผิดชอบการบริหารงานของหนว่ ยงานนั้น รับผิดชอบ
ขึ้นตรงตอ่ องคก์ รอิสระ ทัง้ น้ี ตามท่กี ฎหมายบัญญัติ

มาตรา ๒๒๑ ในการปฏิบตั หิ นา้ ที่ ใหอ้ งค์กรอิสระร่วมมอื และชว่ ยเหลือกันเพ่ือให้บรรลุเปา้ หมาย
ในการปฏิบัติหน้าที่ของแต่ละองค์กร และถ้าองค์กรอิสระใดเห็นว่ามีผู้กระทำการอันไม่ชอบด้วยกฎหมาย แต่
อยู่ในหน้าทแี่ ละอำนาจขององค์กรอิสระอื่น ให้แจง้ องคก์ รอสิ ระนั้นทราบเพ่ือดำเนินการตามหน้าท่ีและอำนาจ
ต่อไป

ส่วนท่ี ๒ คณะกรรมการการเลอื กตงั้

มาตรา ๒๒๒ คณะกรรมการการเลือกตั้งประกอบด้วยกรรมการจำนวน ๗ คนซ่ึง
พระมหากษตั รยิ ์ทรงแตง่ ตง้ั ตามคำแนะนำของวุฒสิ ภา จากบคุ คลดงั ตอ่ ไปน้ี

(๑) ผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาการต่าง ๆ ที่จะยังประโยชน์แก่การบริหารและจดั การการ
เลือกตั้งให้เป็นไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม และมีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์ ซึ่งได้รับการสรรหาจาก
คณะกรรมการสรรหา จำนวน ๕ คน

(๒) ผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ด้านกฎหมาย มีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์
และเคยดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าอธิบดีผู้พิพากษา หรือตำแหน่งไม่ต่ำกว่าอธิบดีอัยการมาแล้วเป็นเวลาไม่
นอ้ ยกว่า ๕ ปี ซึง่ ได้รบั การคัดเลอื กจากทปี่ ระชมุ ใหญ่ศาลฎกี า จำนวน ๒ คน

ผู้ซึ่งจะได้รับการสรรหาเป็นกรรมการการเลือกตั้งตาม (๑) ต้องมีคุณสมบัติตามมาตรา ๒๓๒ (๒)
(๓) (๔) (๕) (๖) หรอื (๗) หรือเป็นผู้ทำงานหรือเคยทำงานในภาคประชาสังคมมาแลว้ เป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๒๐
ปี ทง้ั น้ี ตามทีค่ ณะกรรมการสรรหาประกาศกำหนด

มาตรา ๒๒๓ กรรมการการเลือกตั้งมีวาระการดำรงตำแหน่ง ๗ ปีนับแต่วันที่พระมหากษัตริย์ทรง
แตง่ ตง้ั และใหด้ ำรงตำแหนง่ ได้เพยี งวาระเดียว

ในระหว่างทีก่ รรมการการเลือกต้ังพ้นจากตำแหนง่ กอ่ นวาระ และยังไม่มีการแตง่ ต้ังกรรมการการ
เลอื กตัง้ แทนตำแหน่งที่ว่าง ใหค้ ณะกรรมการการเลือกต้งั เท่าทเ่ี หลืออยูป่ ฏิบตั ิหน้าทีต่ ่อไปได้ แตถ่ ้ามกี รรมการ
การเลือกตงั้ เหลอื อยูไ่ ม่ถึง ๔ คนใหก้ ระทำได้แตเ่ ฉพาะการที่จำเป็นอนั ไมอ่ าจหลีกเลี่ยงได้

มาตรา ๒๒๗ ในระหว่างที่พระราชกฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือ
การเลือกสมาชิกวุฒิสภา หรือเมื่อประกาศให้มีการออกเสียงประชามติ มีผลใช้บังคับ ห้ามมิให้จับ คุมขัง
หรือหมายเรียกตัวกรรมการการเลือกตั้งไปสอบสวน เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการการเลือกตั้ง
หรอื ในกรณีที่จบั ในขณะกระทำความผิด

ในกรณีที่มีการจับกรรมการการเลือกตั้งในขณะกระทำความผิด หรือจับหรือคุมขังกรรมการการ
เลือกตั้งในกรณีอื่น ให้รายงานต่อประธานกรรมการการเลือกตั้งโดยด่วน และให้ประธานกรรมการการ
เลือกตั้งมีอำนาจสั่งให้ปล่อยผู้ถูกจับได้ แต่ถ้าประธานกรรมการการเลือกตั้งเป็นผูถ้ ูกจับหรือคุมขัง ให้เป็น
อำนาจของคณะกรรมการการเลือกตงั้ เท่าทม่ี ีอยเู่ ป็นผดู้ ำเนนิ การ

ระวังงงงงง ห้ามเฉพาะคดีอาญา หากจะจับคดีอาญาห้ามจับ เว้นแต่ ได้รับอนุญาตจาก
คณะกรรมการการเลือกตั้ง หรือในกรณีที่จับในขณะกระทำความผิด แต่ถ้าเป็นกฎหมายแพ่ง จับได้เลย
เพราะไม่มีกฎหมายหา้ ม

ส่วนที่ ๓ ผูต้ รวจการแผ่นดนิ

มาตรา ๒๒๘ ผ้ตู รวจการแผ่นดินมีจำนวน ๓ คนซง่ึ พระมหากษตั ริย์ทรงแต่งตัง้ ตามคำแนะนำ
ของวุฒสิ ภา จากผู้ซ่งึ ได้รับการสรรหาโดยคณะกรรมการสรรหา

ผู้ซึ่งได้รับการสรรหาต้องเป็นผู้มีความซื่อสตั ย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์ และมีความรู้ ความเชี่ยวชาญ
และประสบการณเ์ ก่ียวกบั การบริหารราชการแผ่นดินไม่ตำ่ กว่าอธบิ ดีหรือหัวหนา้ สว่ นราชการท่ีเทียบเท่า หรือ
หัวหน้าหน่วยงานของรัฐที่เทียบได้ไม่ต่ำกว่ากรมตามที่คณะกรรมการสรรหาประกาศกำหนด โดยต้องดำรง
ตำแหน่งดังกล่าวเป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๕ ปี จำนวน ๒ คน และเป็นผู้มีประสบการณ์ในการดำเนินกิจการอัน
เป็นสาธารณะมาแลว้ ไม่น้อยกวา่ ๒๐ ปี จำนวน ๑ คน

มาตรา ๒๒๙ ผู้ตรวจการแผ่นดินมีวาระการดำรงตำแหนง่ ๗ ปี การแผ่นดินอาจเสนอเรื่องตอ่ ศาล
รัฐธรรมนูญหรือศาลปกครองไดเ้ มอ่ื เห็นว่ามีกรณี ดังตอ่ ไปน้ี

(๑) บทบัญญัติแห่งกฎหมายใดมีปัญหาเกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ให้เสนอเรื่องพร้อม
ด้วยความเห็นต่อศาลรัฐธรรมนูญ และให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยโดยไม่ชักช้า ทั้งนี้ ตาม
พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนญู วา่ ด้วยวธิ พี ิจารณาของศาลรัฐธรรมนญู

(๒) กฎ คำสั่ง หรือการกระทำอื่นใดของหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ มีปัญหาเกี่ยวกับ
ความชอบด้วยรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย ให้เสนอเรื่องพร้อมด้วยความเห็นต่อศาลปกครอง และให้ศาล
ปกครองพิจารณาวินิจฉัยโดยไม่ชักช้า ทั้งนี้ ตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดี
ปกครอง

มาตรา ๒๓๐ ผตู้ รวจการแผ่นดินมหี นา้ ทแี่ ละอำนาจ ดังต่อไปนี้
(๑) เสนอแนะต่อหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องเพื่อให้มีการปรับปรุงกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ
หรือคำสั่ง หรือขั้นตอนการปฏิบัติงานใด ๆ บรรดาที่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนหรือความไม่เป็นธรรมแก่
ประชาชน หรือเปน็ ภาระแกป่ ระชาชนโดยไม่จำเป็นหรือเกินสมควรแกเ่ หตุ
(๒) แสวงหาข้อเท็จจริงเมื่อเห็นว่ามีผู้ได้รับความเดือดร้อนหรือความไม่เป็นธรรมอันเนือ่ งมาจากการ
ไมป่ ฏิบัติตามกฎหมายหรอื ปฏิบตั ินอกเหนือหน้าท่ีและอำนาจตามกฎหมายของหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่
ของรัฐ เพอื่ เสนอแนะตอ่ หนว่ ยงานของรัฐที่เกยี่ วข้องใหข้ จดั หรือระงับความเดือดรอ้ นหรือความไมเ่ ปน็ ธรรมนน้ั
(๓) เสนอตอ่ คณะรัฐมนตรีให้ทราบถึงการท่ีหน่วยงานของรัฐยังมไิ ด้ปฏิบตั ิใหถ้ ูกต้องครบถ้วนตาม
หมวด ๕ หน้าท่ขี องรฐั

ในกรณีที่หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องไม่ดำเนินการตามข้อเสนอแนะของผู้ตรวจการแผ่นดิน
ตาม (๑) หรือ (๒) โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร ให้ผู้ตรวจการแผ่นดินแจ้งให้คณะรัฐมนตรีทราบเพ่ือ
พิจารณาส่ังการตามทีเ่ ห็นสมควรตอ่ ไป

ในการดำเนินการตาม (๑) หรือ (๒) หากเป็นกรณีที่เกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน ให้
ผู้ตรวจการแผ่นดนิ ส่งเร่อื งให้คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาตดิ ำเนินการตอ่ ไป

มาตรา ๒๓๑ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา ๒๓๐ ผู้ตรวจการแผ่นดินอาจเสนอเรื่องต่อศาล
รัฐธรรมนูญหรือศาลปกครองได้เม่ือเห็นว่ามกี รณี ดังต่อไปนี้

(๑) บทบัญญัติแห่งกฎหมายใดมีปัญหาเกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ให้เสนอเรื่องพร้อมด้วย
ความเห็นต่อศาลรัฐธรรมนูญ และให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยโดยไม่ชักช้า ทั้งนี้ ตามพระราชบัญญัติ
ประกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยวิธีพจิ ารณาของศาลรฐั ธรรมนญู

(๒) กฎ คำสั่ง หรือการกระทำอื่นใดของหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ มีปัญหาเกี่ยวกับ
ความชอบดว้ ยรัฐธรรมนูญหรอื กฎหมาย ให้เสนอเรื่องพร้อมดว้ ยความเหน็ ตอ่ ศาลปกครอง และใหศ้ าลปกครอง
พิจารณาวนิ จิ ฉัยโดยไมช่ กั ชา้ ทง้ั น้ี ตามกฎหมายวา่ ด้วยการจัดต้ังศาลปกครองและวธิ ีพจิ ารณาคดีปกครอง

องค์กรที่มีอำนาจเสนอประเด็นปัญหาในเรื่องที่มีกฎหมายขัดรัฐธรรมนูญไปให้ศาล
รัฐธรรมนญู วนิ จิ ฉยั คือ ผตู้ รวจการแผน่ ดิน
ส่วนที่ ๔ คณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

มาตรา ๒๓๒ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติประกอบด้วยกรรมการ
จำนวน ๙ คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภาจากผู้ซึ่งได้รับการสรรหาโดย
คณะกรรมการสรรหา

ผู้ซง่ึ ไดร้ ับการสรรหาต้องเป็นผู้มีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นทปี่ ระจักษ์ มคี วามรู้ ความเชี่ยวชาญ และ
ประสบการณ์ด้านกฎหมาย บัญชี เศรษฐศาสตร์ การบริหารราชการแผ่นดิน หรือการอื่นใดอันเป็นประโยชน์
ต่อการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ และต้องมีคณุ สมบัติอย่างหนึง่ อย่างใด ดังตอ่ ไปนดี้ ว้ ย

(๑) รับราชการหรือเคยรับราชการในตำแหน่งไม่ต่ำกว่าอธิบดีผูพ้ ิพากษา อธิบดีศาลปกครองช้นั ต้น
ตลุ าการพระธรรมนญู หัวหนา้ ศาลทหารกลาง หรอื อธบิ ดีอยั การมาแลว้ ไมน่ อ้ ยกว่า ๕ ปี

(๒) รับราชการหรือเคยรับราชการในตำแหน่งไม่ต่ำกว่าอธิบดีหรือหัวหน้าส่วนราชการที่เทียบเทา่
มาแลว้ ไม่น้อยกว่า ๕ ปี

(๓) เป็นหรือเคยเป็นผู้ดำรงตำแหน่งผู้บริหารสูงสุดของรัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐที่ไม่
เปน็ ส่วนราชการหรือรฐั วสิ าหกจิ มาแลว้ ไมน่ อ้ ยกวา่ ๕ ปี

(๔) ดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ของมหาวิทยาลัยในประเทศไทยมาแล้วไม่
นอ้ ยกว่า ๕ ปี และยังมผี ลงานทางวิชาการเปน็ ทปี่ ระจกั ษ์

(๕) เป็นหรือเคยเป็นผู้ประกอบวิชาชีพที่มีกฎหมายรับรองการประกอบวิชาชีพโดยประกอบ
วิชาชีพอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่องมาเป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๒๐ ปีนับถึงวันที่ได้รับการเสนอชื่อ และได้รับ
การรบั รองการประกอบวชิ าชีพจากองคก์ รวชิ าชีพนนั้

(๖) เปน็ ผู้มคี วามรคู้ วามชำนาญและประสบการณ์ทางด้านการบรหิ าร การเงนิ การคลัง การบัญชี
หรือการบริหารกิจการวิสาหกิจในระดับไม่ต่ำกว่าผู้บริหารระดับสูงของบริษัทมหาชนจำกัดมาแล้วไม่น้อย
กว่า ๑๐ ปี

(๗) เคยเป็นผู้ดำรงตำแหน่งตาม (๑) (๒) (๓) (๔) หรอื (๖) รวมกันไม่น้อยกว่า ๑๐ ปี
การนับระยะเวลาตามวรรคสอง ให้นับถึงวันที่ได้รับการเสนอชื่อหรือวันสมัครเข้ารับการสรรหา

แลว้ แต่กรณี
มาตรา ๒๓๓ กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติมีวาระการดำรงตำแหน่ง ๗ ปี

นบั แตว่ ันทีพ่ ระมหากษตั รยิ ์ทรงแตง่ ต้งั และให้ดำรงตำแหน่งได้เพยี งวาระเดยี ว
ในระหว่างที่กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติพ้นจากตำแหน่งก่อนวาระ และ

ยังไม่มีการแต่งตั้งกรรมการแทนตำแหน่งที่ว่าง ให้กรรมการเท่าที่เหลืออยู่ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้ เว้นแต่จะมี
กรรมการเหลอื อยู่ไมถ่ ึง ๕ คน

มาตรา ๒๓๔ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติมีหน้าที่และอำนาจ
ดงั ตอ่ ไปน้ี

(๑) ไต่สวนและมีความเห็นกรณีมีการกล่าวหาว่าผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ตุลาการศาล
รัฐธรรมนูญ ผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระ หรือผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน ผู้ใดมีพฤติการณ์ร่ำรวยผิดปกติ
ทุจรติ ต่อหนา้ ที่ หรอื จงใจปฏิบตั หิ น้าทหี่ รือใชอ้ ำนาจขดั ต่อบทบญั ญัติแห่งรฐั ธรรมนญู หรือกฎหมาย หรอื ฝ่าฝืน
หรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง เพื่อดำเนินการต่อไปตามรัฐธรรมนูญหรือตาม
พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญวา่ ดว้ ยการป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริต

(๒) ไต่สวนและวินิจฉัยว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐร่ำรวยผิดปกติ กระทำความผิดฐานทุจริตต่อหน้าท่ี
หรือกระทำความผดิ ต่อตำแหนง่ หนา้ ที่ราชการ หรือความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ในการยตุ ิธรรม เพื่อดำเนินการ
ตอ่ ไปตามพระราชบญั ญตั ิประกอบรัฐธรรมนญู วา่ ด้วยการป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริต

(๓) กำหนดให้ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระ
ผวู้ ่าการตรวจเงินแผ่นดนิ และเจ้าหนา้ ท่ีของรฐั ย่นื บัญชีทรัพยส์ นิ และหนสี้ ินของตน คสู่ มรส และบุตรท่ียังไม่
บรรลุนติ ิภาวะ รวมทัง้ ตรวจสอบและเปิดเผยผลการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สนิ ของบุคคลดังกล่าว ท้ังนี้
ตามพระราชบัญญตั ปิ ระกอบรัฐธรรมนูญว่าดว้ ยการป้องกันและปราบปรามการทุจรติ

(๔) หน้าทีแ่ ละอำนาจอ่ืนทบี่ ญั ญตั ไิ ว้ในรฐั ธรรมนูญหรอื กฎหมาย
ในการปฏบิ ตั ิหน้าที่ตาม (๑) (๒) และ (๓) ให้เป็นหน้าทข่ี องคณะกรรมการป้องกนั และปราบปราม

การทุจริตแห่งชาติทีจ่ ะต้องจัดใหม้ ีมาตรการหรือแนวทางทจี่ ะทำให้การปฏิบัตหิ นา้ ที่มีประสิทธิภาพ เกิดความ
รวดเร็ว สุจริต และเที่ยงธรรม ในกรณีจำเป็นจะมอบหมายให้หน่วยงานของรัฐที่มีหน้าที่และอำนาจเกี่ยวข้อง
กับการป้องกันและปราบปรามการทุจริตดำเนินการแทนในเรื่องที่มิใช่เป็นความผิดร้ายแรง หรือที่เป็นการ
กระทำของเจ้าหน้าที่ของรัฐบางระดับหรือกำหนดให้พนักงานเจ้าหน้าที่ของหน่วยธุรการของคณะกรรมการ
ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติเป็นผู้ดำเนินการสอบสวนหรือไต่สวนเบื้องต้น ตามหลักเกณฑ์
วิธีการ และเงื่อนไขที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการ
ทุจริตกไ็ ด้

มาตรา ๒๓๕ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๓๖ ในกรณีที่มีเหตุอันควรสงสัยหรือมีการกล่าวหาว่าผู้ดำรง
ตำแหน่งทางการเมืองเฉพาะที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและ
ปราบปรามการทุจริต ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระ หรือผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดนิ
ผู้ใดมีพฤติการณ์ตามมาตรา ๒๓๔ (๑) ให้คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติไต่สวน
ข้อเท็จจรงิ และหากมีมติด้วยคะแนนเสยี งไม่น้อยกว่ากึง่ หนึ่งของกรรมการทั้งหมดเท่าที่มีอยู่เห็นว่าผ้นู ัน้ มี
พฤติการณ์หรือกระทำความผดิ ตามทไ่ี ต่สวนให้ดำเนินการดงั ตอ่ ไปน้ี

(๑) ถ้าเป็นกรณีฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง ให้เสนอเรื่องต่อ
ศาลฎีกาเพอ่ื วนิ ิจฉัย ท้งั น้ี ให้นำความในมาตรา ๒๒๖ วรรคเจ็ด มาใช้บงั คับแกก่ ารพิจารณาพิพากษาของศาล
ฎีกาโดยอนโุ ลม

(๒) กรณีอื่นนอกจาก (๑) ให้ส่งสำนวนการไต่สวนไปยังอัยการสูงสุดเพื่อดำเนินการฟ้องคดีต่อ
ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง หรือดำเนินการอื่นตามพระราชบัญญัติประกอบ
รัฐธรรมนูญวา่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจริต

การไต่สวนข้อเท็จจริงและมีมติตามวรรคหนึ่ง คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
แห่งชาติตอ้ งดำเนนิ การใหแ้ ลว้ เสรจ็ ภายในระยะเวลาทก่ี ำหนดไว้ในพระราชบัญญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู ว่าด้วย
การปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ ริต

เมอื่ ศาลฎกี าหรอื ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองประทับรบั ฟ้อง ให้ผู้
ถูกกล่าวหาหยุดปฏิบัติหน้าที่จนกว่าจะมีคำพิพากษา เว้นแต่ศาลฎีกาหรือศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้
ดำรงตำแหน่งทางการเมืองจะมีคำสั่งเป็นอย่างอ่นื ในกรณที ีศ่ าลฎีกาหรือศาลฎกี าแผนกคดีอาญาของผู้ดำรง
ตำแหนง่ ทางการเมืองมีคำพิพากษาว่าผู้ถูกกล่าวหามีพฤติการณ์หรือกระทำความผิดตามที่ถูกกล่าวหา แล้วแต่
กรณี ให้ผูต้ ้องคำพิพากษาน้ันพน้ จากตำแหน่งนับแต่วันหยุดปฏิบัติหน้าที่ และใหเ้ พกิ ถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง
ของผู้น้ันและจะเพกิ ถอนสิทธเิ ลือกตัง้ มีกำหนดเวลาไมเ่ กนิ ๑๐ ปีด้วยหรือไม่ก็ได้

ผู้ใดถูกเพิกถอนสิทธสิ มัครรับเลือกต้ังไม่ว่าในกรณีใด ผู้นั้นไม่มีสทิ ธิสมัครรบั เลือกตั้งหรือสมัครรับ
เลือกเป็นสมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาท้องถ่ินหรือผู้บริหารทอ้ งถิน่ ตลอดไป และไม่มี
สทิ ธดิ ำรงตำแหนง่ ทางการเมอื งใด ๆ

ในกรณีที่ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองพิพากษาว่าผู้ถูกกล่าวหามี
ความผิดฐานร่ำรวยผิดปกติหรือทุจริตต่อหน้าที่ ให้ริบทรัพย์สินที่ผู้นั้นได้มาจากการกระทำความผิด รวมท้ัง
บรรดาทรัพย์สินหรือประโยชนอ์ ่นื ใดที่ได้มาแทนทรพั ยส์ นิ น้ันตกเป็นของแผน่ ดนิ

การพิจารณาของศาลฎีกาและศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ให้นำ
สำนวนการไต่สวนของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ แห่งชาตเิ ป็นหลักในการพิจารณา และ
เพอ่ื ประโยชน์แห่งความยุตธิ รรม ใหศ้ าลมอี ำนาจไต่สวนขอ้ เทจ็ จริงและพยานหลักฐานเพ่ิมเตมิ ได้

ให้นำมาตรานี้มาใช้บังคับแก่กรณีที่บุคคลตามมาตรา ๒๓๔ (๓) จงใจไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการ
ทรัพย์สินและหนี้สิน หรือจงใจยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินหรือหนี้สินอันเป็นเท็จหรือปกปิดข้อเท็จจริงท่ี
ควรแจ้งให้ทราบ และมีพฤติการณ์อันควรเชื่อได้ว่ามีเจตนาไม่แสดงที่มาแห่งทรัพย์สินหรือหนี้สินนั้นด้วยโดย
อนโุ ลม

มาตรา ๒๓๖ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือสมาชิกของทั้งสองสภา จำนวนไม่น้อย
กว่า ๑ ใน ๕ ของจำนวนสมาชกิ ทงั้ หมดเท่าท่ีมีอยู่ของทัง้ สองสภาหรือประชาชนผู้มีสิทธเิ ลือกต้งั จำนวนไม่น้อย
กว่า ๒ หม่ืนคน มสี ทิ ธิเข้าชอ่ื กล่าวหาวา่ กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแหง่ ชาตผิ ใู้ ดกระทำการผิด
หน้าที่และอำนาจ โดยยื่นต่อประธานรัฐสภาพร้อมด้วยหลักฐานตามสมควร หากประธานรัฐสภาเห็นว่ามีเหตุ
อนั ควรสงสยั ว่ามีการกระทำตามทถ่ี ูกกลา่ วหา ให้ประธานรัฐสภาเสนอเร่ืองไปยังประธานศาลฎีกาเพ่ือตั้งคณะ
ผู้ไต่สวนอิสระจากผู้ซึ่งมีความเป็นกลางทางการเมืองและมีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์ เพื่อไต่สวนหา
ข้อเท็จจริง

คุณสมบัติ ลักษณะต้องห้าม หน้าที่และอำนาจ วิธีการไต่สวน ระยะเวลาการไต่สวน และการ
ดำเนนิ การอน่ื ท่ีจำเป็นของคณะผไู้ ต่สวนอิสระ ใหเ้ ป็นไปตามท่ีกฎหมายบัญญตั ิ

มาตรา ๒๓๗ เมื่อดำเนินการไต่สวนแลว้ เสร็จ ให้คณะผไู้ ตส่ วนอิสระดำเนนิ การดังต่อไปนี้
(๑) ถ้าเหน็ ว่าขอ้ กลา่ วหาไม่มีมูลให้ส่งั ยุติเร่ือง และให้คำส่งั ดังกล่าวเปน็ ที่สดุ
(๒) ถา้ เห็นวา่ ผู้ถกู กล่าวหาฝา่ ฝนื หรือไมป่ ฏิบตั ติ ามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง ให้เสนอเรื่อง
ตอ่ ศาลฎกี าเพ่ือวินจิ ฉัย โดยให้นำความในมาตรา ๒๓๕ วรรคสาม วรรคสี่ และวรรคหก มาใชบ้ งั คับโดยอนุโลม
(๓) ถ้าเห็นว่าผู้ถูกกล่าวหามีพฤติการณ์ตามที่ถูกกล่าวหา และมิใช่กรณีตาม (๒) ให้ส่งสำนวนการไต่
สวนไปยงั อัยการสูงสุดเพื่อดำเนินการฟ้องคดตี ่อศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง และ
ใหน้ ำความในมาตรา ๒๓๕ วรรคสาม วรรคสี่ และวรรคหา้ มาใช้บงั คบั โดยอนโุ ลม

ส่วนที่ ๕ คณะกรรมการตรวจเงินแผน่ ดิน
มาตรา ๒๓๘ คณะกรรมการตรวจเงินแผน่ ดนิ ประกอบด้วยกรรมการจำนวน ๗ คนซ่งึ

พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา จากผู้ซึ่งได้รับการสรรหาโดยคณะกรรมการ

สรรหา
ผูซ้ ึง่ ไดร้ บั การสรรหาต้องเปน็ ผู้มคี วามซื่อสัตย์สุจริตเป็นท่ีประจักษ์ มีความรู้ ความเช่ียวชาญ และ

ประสบการณ์เกี่ยวกับการตรวจเงินแผ่นดิน กฎหมาย การบัญชี การตรวจสอบภายใน การเงินการคลัง และ
ดา้ นอื่นท่เี ปน็ ประโยชนต์ อ่ การตรวจเงนิ แผน่ ดนิ ท้งั น้ี เปน็ เวลาไมน่ อ้ ยกว่า ๑๐ ปี

มาตรา ๒๓๙ กรรมการตรวจเงินแผ่นดนิ มีวาระการดำรงตำแหน่ง ๗ ปีนับแต่วนั ทพ่ี ระมหากษัตริย์
ทรงแต่งตงั้ และใหด้ ำรงตำแหน่งไดเ้ พียงวาระเดยี ว

มาตรา ๒๔๐ คณะกรรมการตรวจเงนิ แผน่ ดินมีหน้าท่แี ละอำนาจ ดงั ตอ่ ไปนี้
(๑) วางนโยบายการตรวจเงินแผน่ ดนิ
(๒) กำหนดหลักเกณฑ์มาตรฐานเกย่ี วกับการตรวจเงินแผ่นดนิ
(๓) กำกับการตรวจเงินแผ่นดินใหเ้ ป็นไปตาม (๑) และ (๒) และกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลงั
ของรัฐ
(๔) ใหค้ ำปรกึ ษา แนะนำ หรอื เสนอแนะเก่ียวกับการใช้จ่ายเงินแผ่นดินใหเ้ ป็นไปตามกฎหมายว่าด้วย
วินัยการเงนิ การคลงั ของรัฐ รวมท้งั การใหค้ ำแนะนำแกห่ น่วยงานของรัฐในการแก้ไขข้อบกพร่องเกย่ี วกับการใช้
จา่ ยเงินแผน่ ดนิ
(๕) สัง่ ลงโทษทางปกครองกรณมี กี ารกระทำผิดกฎหมายวา่ ดว้ ยวินัยการเงินการคลงั ของรฐั

การดำเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวา่ ด้วยการตรวจ
เงนิ แผ่นดนิ

ผู้ถูกสั่งลงโทษทางปกครองกรณีมีการกระทำผิดกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐ
อาจอุทธรณ์ต่อศาลปกครองสูงสุดได้ภายใน ๙๐ วันนับแต่วันที่ได้รับคำสั่ง ในการพิจารณาของศาล
ปกครองสูงสุดต้องคำนึงถึงนโยบายการตรวจเงินแผ่นดินและหลักเกณฑ์มาตรฐานเกี่ยวกับการตรวจเงิน
แผน่ ดินตาม (๑) และ (๒) ประกอบด้วย

มาตรา ๒๔๑ ให้มีผวู้ า่ การตรวจเงนิ แผ่นดนิ คนหนึ่งซงึ่ พระมหากษัตริย์ทรงแตง่ ตง้ั ตามคำแนะนำของ
วฒุ ิสภาโดยไดร้ ับการเสนอชื่อจากคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดนิ

ผู้วา่ การตรวจเงนิ แผ่นดินต้องมีคุณสมบัติและไม่มลี ักษณะต้องห้ามเชน่ เดยี วกบั กรรมการตรวจเงิน
แผ่นดนิ

ผู้ได้รับการเสนอชื่อเพื่อแต่งตั้งเป็นผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน ต้องได้รับความเห็นชอบจาก
วุฒิสภาดว้ ยคะแนนเสยี งไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของสมาชิกวุฒิสภาทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ และใหน้ ำความในมาตรา
๒๐๔ วรรคหนึ่ง วรรคสอง และวรรคสี่ และมาตรา ๒๐๕ มาใช้บังคับแก่การแต่งตั้งผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
ดว้ ยโดยอนุโลม

การสรรหา การคัดเลือก และการเสนอชื่อผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินให้เป็นไปตามพระราชบญั ญัติ
ประกอบรัฐธรรมนญู วา่ ดว้ ยการตรวจเงินแผน่ ดนิ

มาตรา ๒๔๒ ให้ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินปฏิบัติหน้าที่โดยเที่ยงธรรม เป็นกลาง และปราศจากอคติ
ทัง้ ปวงในการใชด้ ุลพนิ จิ โดยมีหน้าที่และอำนาจดงั ตอ่ ไปนี้

(๑) ตรวจเงินแผ่นดินตามนโยบายการตรวจเงินแผ่นดินและหลักเกณฑ์มาตรฐานเกี่ยวกับการตรวจ
เงินแผ่นดนิ ทค่ี ณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินกำหนด และตามกฎหมายวา่ ด้วยวนิ ยั การเงนิ การคลงั ของรฐั

(๒) ตรวจผลสมั ฤทธ์แิ ละประสิทธภิ าพในการใช้จา่ ยเงินของหน่วยงานของรัฐ
(๓) มอบหมายใหเ้ จา้ หน้าทด่ี ำเนินการตาม (๑) และ (๒)
(๔) กำกบั และรับผิดชอบในการปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ขี องเจา้ หนา้ ทต่ี าม (๓)
มาตรา ๒๔๓ ให้ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินมีความเป็นอิสระในการปฏิบัติหน้าที่โดยรับผิดชอบต่อ
คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน และเป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุดของหน่วยธุรการของคณะกรรมการตรวจเงิน
แผน่ ดนิ

วาระการดำรงตำแหน่ง การพ้นจากตำแหน่ง และการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
ใหเ้ ป็นไปตามพระราชบัญญตั ปิ ระกอบรัฐธรรมนญู ว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน

มาตรา ๒๔๔ ในกรณีที่มีหลักฐานอันควรเชื่อได้ว่าการใช้จ่ายเงินแผ่นดินมีพฤติการณ์อันเป็นการ
ทจุ รติ ตอ่ หน้าที่ จงใจปฏิบัติหน้าที่หรือใช้อำนาจขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนญู หรือกฎหมาย หรืออาจทำให้
การเลือกตั้งมิได้เป็นไปโดยสุจริตหรือเที่ยงธรรม และเป็นกรณีที่ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินไม่มีอำนาจจะ
ดำเนินการใดได้ ใหผ้ ู้วา่ การตรวจเงนิ แผ่นดินแจ้งคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
คณะกรรมการการเลอื กต้ัง หรอื หน่วยงานอื่นทเี่ กย่ี วข้อง แล้วแต่กรณี เพ่ือทราบและดำเนนิ การตามหน้าท่ี
และอำนาจต่อไป

ในการดำเนนิ การของคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ แหง่ ชาติ คณะกรรมการการ
เลือกตั้ง หรือหน่วยงานอื่นตามที่ได้รับแจ้งตามวรรคหนึ่ง ให้ถือว่าเอกสารและหลักฐานที่ผู้ว่าการตรวจเงิน
แผ่นดินตรวจสอบหรือจัดทำขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของสำนวนการสอบสวนของคณะกรรมการป้องกันและ
ปราบปรามการทุจรติ แหง่ ชาติ คณะกรรมการการเลือกตัง้ หรอื ของหนว่ ยงานอื่นนั้น แลว้ แตก่ รณี

มาตรา ๒๔๕ เพอ่ื ประโยชน์ในการระงบั หรือยับย้ังความเสยี หายท่ีอาจเกดิ ขึ้นแก่การเงินการคลังของ
รัฐ ให้ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินเสนอผลการตรวจสอบการกระทำที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงนิ
การคลังของรฐั และอาจก่อให้เกิดความเสยี หายแก่การเงนิ การคลังของรัฐอย่างร้ายแรง ตอ่ คณะกรรมการตรวจ
เงินแผน่ ดินเพอื่ พิจารณา

ในกรณีที่คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินเห็นพ้องด้วยกับผลการตรวจสอบดังกล่าว ให้
ปรึกษาหารือร่วมกับคณะกรรมการการเลือกตั้งและคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
หากที่ประชุมร่วมเห็นพ้องกับผลการตรวจสอบนั้น ให้ร่วมกันมีหนังสือแจ้งสภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และ
คณะรัฐมนตรเี พื่อทราบโดยไม่ชักช้า และใหเ้ ปิดเผยผลการตรวจสอบดังกล่าวต่อประชาชนเพือ่ ทราบดว้ ย

สว่ นท่ี ๖ คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแห่งชาติ

มาตรา ๒๔๖ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติประกอบด้วยกรรมการจำนวน ๗ คนซ่ึง
พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวฒุ ิสภาจากผู้ซึง่ ได้รบั การสรรหา

ผู้ซึ่งได้รับการสรรหาต้องมีความรู้และประสบการณ์ด้านการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของ
ประชาชน เปน็ กลางทางการเมือง และมีความซอ่ื สัตย์สจุ รติ เปน็ ทีป่ ระจกั ษ์

กรรมการสทิ ธิมนษุ ยชนแห่งชาติมีวาระการดำรงตำแหน่ง ๗ ปีนับแต่วันทพ่ี ระมหากษัตริย์ทรง
แตง่ ตั้ง และให้ดำรงตำแหนง่ ได้เพยี งวาระเดยี ว

คณุ สมบตั ิ ลักษณะต้องห้าม การสรรหา และการพน้ จากตำแหน่งของคณะกรรมการสทิ ธมิ นุษยชน
แห่งชาติ ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการสทิ ธิมนุษยชนแห่งชาติ ทั้งน้ี
บทบัญญัติเกี่ยวกับการสรรหาต้องกำหนดให้ผู้แทนองค์กรเอกชนด้านสิทธิมนุษยชนมีส่วนร่วมในการสรรหา
ด้วย

มาตรา ๒๔๗ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาตมิ ีหนา้ ทแี่ ละอำนาจ ดังต่อไปนี้
(๑) ตรวจสอบและรายงานข้อเท็จจริงทีถ่ ูกต้องเกี่ยวกับการละเมดิ สทิ ธมิ นุษยชนทุกกรณีโดยไมล่ ่าช้า
และเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางทีเ่ หมาะสมในการปอ้ งกันหรอื แก้ไขการละเมิดสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการ
เยียวยาผไู้ ด้รับความเสยี หายจากการละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชนตอ่ หน่วยงานของรัฐหรือเอกชนทเ่ี ก่ียวขอ้ ง
(๒) จัดทำรายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศเสนอต่อรัฐสภาและ
คณะรฐั มนตรี และเผยแพร่ตอ่ ประชาชน
(๓) เสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนต่อรัฐสภา
คณะรัฐมนตรี และหน่วยงานที่เก่ยี วข้อง รวมตลอดทงั้ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบยี บ หรือคำสั่งใด ๆ
เพ่ือใหส้ อดคลอ้ งกับหลักสทิ ธมิ นษุ ยชน
(๔) ชี้แจงและรายงานข้อเท็จจริงที่ถูกต้องโดยไม่ชักช้าในกรณีที่มีการรายงานสถานการณ์เกี่ยวกับ
สิทธมิ นุษยชนในประเทศไทยโดยไมถ่ กู ตอ้ งหรือไม่เป็นธรรม
(๕) สรา้ งเสริมทุกภาคสว่ นของสงั คมใหต้ ระหนกั ถงึ ความสำคญั ของสทิ ธมิ นษุ ยชน

(๖) หนา้ ที่และอำนาจอื่นตามท่กี ฎหมายบญั ญัติ
เมื่อรับทราบรายงานตาม (๑) และ (๒) หรือข้อเสนอแนะตาม (๓) ให้คณะรัฐมนตรีดำเนินการ

ปรบั ปรุงแก้ไขตามความเหมาะสมโดยเรว็ กรณีใดไม่อาจดำเนนิ การไดห้ รือต้องใช้เวลาในการดำเนนิ การให้แจ้ง
เหตุผลให้คณะกรรมการสิทธมิ นุษยชนแหง่ ชาตทิ ราบโดยไมช่ ักช้า

ในการปฏิบัติหน้าที่ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติต้องคำนึงถึงความผาสุกของประชาชน
ชาวไทยและผลประโยชนส์ ่วนรวมของชาติเป็นสำคัญด้วย

เกรด็ ความรู้องค์กรในรฐั ธรรมนญู

-สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร(สส) ๕๐๐ คน แบ่งเขต ๓๕๐ คน บัญชรี ายชอ่ื ๑๕๐ คน
-สมาชกิ วุฒิสภา (สว) ๒๐๐ คน แตช่ ดุ แรก ๒๕๐ คน
-คณะองคมนตรี ๑๙ คน ประธานองคมนตรี ๑ คน และองคมนตรีอืน่ อกี ๑๘ คน
-คณะรฐั มนตรีมี ๓๖ คน นายก ๑ คน รฐั มนตรอี นื่ ๓๕ คน
-สภานติ บิ ญั ญตั ิแหง่ ชาติ 250 คน
-สภาขบั เคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ 200 คน
-สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติมี 23 คน
-สภายุทธศาสตร์ชาติมีทั้งสน้ิ 30 คน

หมวด ๑๓
องคก์ รอยั การ

มาตรา ๒๔๘ องค์กรอยั การมหี น้าท่ีและอำนาจตามทบี่ ัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญและกฎหมาย
พนักงานอัยการมีอิสระในการพิจารณาสั่งคดแี ละการปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปโดยรวดเร็ว เที่ยง
ธรรม และปราศจากอคตทิ ง้ั ปวง และไมใ่ ห้ถือวา่ เป็นคำสง่ั ทางปกครอง
การบริหารงานบุคคล การงบประมาณ และการดำเนินการอื่นขององค์กรอัยการให้มีความเป็น
อิสระ โดยให้มีระบบเงินเดือนและค่าตอบแทนเป็นการเฉพาะตามความเหมาะสมและการบริหารงานบุคคล
เกี่ยวกับพนักงานอัยการต้องดำเนินการโดยคณะกรรมการอัยการ ซึ่งอย่างน้อยต้องประกอบด้วยประธาน
กรรมการซึง่ ตอ้ งไม่เปน็ พนกั งานอยั การ และผทู้ รงคณุ วุฒิบรรดาท่ีได้รับเลือกจากพนักงานอัยการ ผู้ทรงคุณวุฒิ
ดังกลา่ วอย่างนอ้ ยตอ้ งมบี คุ คลซ่งึ ไมเ่ ปน็ หรือเคยเปน็ พนกั งานอัยการมาก่อน ๒ คน ทั้งน้ี ตามที่กฎหมายบญั ญัติ
กฎหมายตามวรรคสาม ต้องมีมาตรการป้องกันมิให้พนักงานอัยการกระทำการหรือดำรงตำแหนง่
ใดอันอาจมีผลให้การสั่งคดีหรือการปฏิบัติหน้าที่ไม่เป็นไปตามวรรคสอง หรืออาจทำให้มีการขัดกันแห่ง
ผลประโยชน์ ทั้งนี้ มาตรการดังกล่าวต้องกำหนดให้ชัดแจ้งและใช้เป็นการทั่วไป โดยจะมอบอำนาจให้มีการ
พิจารณาเปน็ กรณี ๆ ไปมิได้

หมวด ๑๔
การปกครองสว่ นท้องถ่ิน

มาตรา ๒๔๙ ภายใต้บังคับมาตรา ๑ ให้มีการจัดการปกครองส่วนท้องถิ่นตามหลักแห่งการ
ปกครองตนเองตามเจตนารมณ์ของประชาชนในท้องถิ่น ทั้งนี้ ตามวิธีการและรูปแบบองค์กรปกครองส่วน
ท้องถ่ินทกี่ ฎหมายบญั ญตั ิ

การจัดตง้ั องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นในรูปแบบใดให้คำนึงถึงเจตนารมณ์ของประชาชนในท้องถ่ิน
และความสามารถในการปกครองตนเองในด้านรายได้ จำนวนและความหนาแน่นของประชากร และพื้นที่ที่
ต้องรบั ผิดชอบ ประกอบกนั

มาตรา ๒๕๐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่และอำนาจดูแลและจัดทำบริการสาธารณะและ
กิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นตามหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน รวมทั้งส่งเสริมและ
สนับสนนุ การจดั การศกึ ษาใหแ้ ก่ประชาชนในทอ้ งถนิ่ ทัง้ นี้ ตามทก่ี ฎหมายบญั ญตั ิ

การจัดทำบริการสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะใดท่ีสมควรให้เป็นหน้าทีแ่ ละอำนาจโดยเฉพาะ
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละรูปแบบ หรือให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นหน่วยงานหลักในการ
ดำเนินการใด ให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติซ่ึงต้องสอดคล้องกับรายได้ขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ ตาม
วรรคสี่ และกฎหมายดังกล่าวอย่างน้อยต้องมีบทบัญญัติเกี่ยวกับกลไกและขั้นตอนในการกระจายหน้าที่และ
อำนาจ ตลอดจนงบประมาณและบุคลากรที่เกี่ยวกับหน้าที่และอำนาจดังกล่าวของส่วนราชการให้แก่องค์กร
ปกครองส่วนท้องถน่ิ ดว้ ย

ในการจัดทำบริการสาธารณะหรือกิจกรรมสาธารณะใดที่เป็นหน้าที่และอำนาจของ องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น ถ้าการร่วมดำเนินการกับเอกชนหรือหน่วยงานของรัฐหรือการมอบหมายให้เอกชนหรือ
หนว่ ยงานของรฐั ดำเนนิ การ จะเป็นประโยชนแ์ ก่ประชาชนในท้องถ่ินมากกวา่ การที่องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน
จะดำเนินการเอง องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่นจะร่วมหรือมอบหมายให้เอกชนหรือหน่วยงานของรัฐดำเนินการ
นน้ั กไ็ ด้

รัฐต้องดำเนินการให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีรายได้ของตนเองโดยจัดระบบภาษีหรือการ
จัดสรรภาษีที่เหมาะสม รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนาการหารายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้งนี้ เพื่อให้
สามารถดำเนนิ การตามวรรคหน่ึงได้อยา่ งเพยี งพอ ในระหว่างท่ยี ังไมอ่ าจดำเนนิ การได้ ใหร้ ฐั จดั สรรงบประมาณ
เพือ่ สนบั สนุนองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ ไปพลางก่อน

กฎหมายตามวรรคหนึ่งและกฎหมายที่เกี่ยวกับการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ต้องให้องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นมีอิสระในการบริหาร การจัดทำบริการสาธารณะ การส่งเสริมและสนับสนุนการจัด
การศกึ ษา การเงนิ และการคลัง และการกำกับดูแลองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ินซึ่งต้องทำเพียงเท่าท่ีจำเป็นเพ่ือ
การคุ้มครองประโยชนข์ องประชาชนในท้องถิ่นหรอื ประโยชน์ของประเทศเป็นส่วนรวม การป้องกันการทุจริต
และการใชจ้ า่ ยเงินอย่างมีประสิทธภิ าพ โดยคำนงึ ถงึ ความเหมาะสมและความแตกตา่ งขององค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นแต่ละรูปแบบ และต้องมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการป้องกันการขัดกันแห่งผลประโยชน์ และการป้องกัน
การก้าวก่ายการปฏบิ ัตหิ น้าที่ของข้าราชการสว่ นทอ้ งถิ่นด้วย

มาตรา ๒๕๑ การบริหารงานบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ
ซึ่งต้องใช้ระบบคุณธรรมและต้องคำนึงถึงความเหมาะสมและความจำเป็นของแต่ละท้องถิ่นและองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละรูปแบบ การจัดให้มีมาตรฐานที่สอดคล้องกันเพ่ือให้สามารถพัฒนาร่วมกันหรือการ
สับเปลย่ี นบคุ ลากรระหวา่ งองคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ ด้วยกนั ได้

มาตรา ๒๕๒ สมาชกิ สภาทอ้ งถ่ินต้องมาจากการเลอื กตั้ง
ผู้บริหารท้องถิ่นให้มาจากการเลือกตั้งหรือมาจากความเห็นชอบของสภาท้องถิ่นหรือในกรณี

องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่นรูปแบบพิเศษ จะให้มาโดยวธิ ีอื่นก็ได้ แต่ต้องคำนึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชน
ดว้ ย ทั้งน้ี ตามท่ีกฎหมายบญั ญัติ

คุณสมบัติของผู้มีสิทธิเลือกตั้งและผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง และหลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้ง
สมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่น ให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ ซึ่งต้องคำนึงถึงเจตนารมณ์ในการ
ปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ ริตตามแนวทางท่บี ญั ญตั ไิ ว้ในรัฐธรรมนูญดว้ ย

มาตรา ๒๕๓ ในการดำเนินงาน ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สภาท้องถิ่น และผู้บริหารท้องถิ่น
เปิดเผยข้อมูลและรายงานผลการดำเนินงานให้ประชาชนทราบ รวมตลอดทั้งมีกลไกให้ประชาชนในท้องถิ่นมี
ส่วนร่วมดว้ ย ท้ังน้ี ตามหลักเกณฑ์และวธิ กี ารทีก่ ฎหมายบัญญตั ิ

มาตรา ๒๕๔ ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีสิทธิเข้าชื่อกันเพื่อเสนอ
ข้อบัญญัติหรือเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่นได้ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขท่ี
กฎหมายบญั ญัติ

หมวด ๑๕
การแก้ไขเพมิ่ เตมิ รัฐธรรมนญู

มาตรา ๒๕๕ การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญที่เป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบ
ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุข หรอื เปล่ยี นแปลงรปู แบบของรฐั จะกระทำมิได้

มาตรา ๒๕๖ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๕๕ การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ให้กระทำได้ตามหลักเกณฑ์
และวิธีการ ดังตอ่ ไปน้ี

(๑) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องมาจากคณะรัฐมนตรี หรือจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวนไม่
น้อยกว่า ๑ ใน ๕ ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร หรือจากสมาชิกสภาผู้แทน
ราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
หรือจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่า ๕ หมื่นคนตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอ
กฎหมาย

(๒) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องเสนอเป็นร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมต่อรัฐสภาและให้รัฐสภา
พิจารณาเปน็ สามวาระ

(๓) การออกเสียงลงคะแนนในวาระท่ีหนงึ่ ข้นั รบั หลักการ ให้ใชว้ ิธเี รยี กช่ือและลงคะแนนโดยเปิดเผย
และตอ้ งมีคะแนนเสียงเห็นชอบดว้ ยในการแก้ไขเพ่ิมเติมนัน้ ไมน่ ้อยกว่ากึ่งหนึง่ ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าท่ี
มีอยู่ของทั้งสองสภา ซึ่งในจำนวนนี้ต้องมีสมาชิกวุฒิสภาเห็นชอบด้วยไม่น้อยกว่า ๑ ใน ๓ ของจำนวน
สมาชิกทัง้ หมดเทา่ ทม่ี ีอยู่ของวฒุ ิสภา

(๔) การพิจารณาในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา โดยการออกเสียงในวาระที่สองนี้ให้
ถือเสียงข้างมากเป็นประมาณ แต่ในกรณีที่เป็นร่างรัฐธรรมนูญแกไ้ ขเพิ่มเติมทีป่ ระชาชนเป็นผูเ้ สนอ ต้องเปิด
โอกาสให้ผ้แู ทนของประชาชนท่เี ขา้ ช่ือกันไดแ้ สดงความคดิ เห็นดว้ ย

(๕) เมื่อการพิจารณาวาระที่สองเสร็จสิ้นแล้ว ให้รอไว้ ๑๕ วัน เมื่อพ้นกำหนดนี้แล้วให้รัฐสภา
พิจารณาในวาระทส่ี ามต่อไป

(๖) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สามขั้นสุดท้าย ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนนโดยเปิดเผย
และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการที่จะให้ออกใช้เป็นรัฐธรรมนูญมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวน
สมาชกิ ท้ังหมดเท่าที่มอี ย่ขู องท้ังสองสภา โดยในจำนวนนต้ี อ้ งมีสมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรจากพรรคการเมืองที่
สมาชกิ มิไดด้ ำรงตำแหนง่ รัฐมนตรี ประธานสภาผแู้ ทนราษฎรหรือรองประธานสภาผู้แทนราษฎร เห็นชอบด้วย
ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ ๒๐ ของทกุ พรรคการเมืองดังกล่าวรวมกัน และมีสมาชิกวฒุ ิสภาเหน็ ชอบดว้ ยไม่น้อยกว่า ๑
ใน ๓ ของจำนวนสมาชกิ ทัง้ หมดเท่าท่มี อี ยขู่ องวฒุ สิ ภา

(๗) เมอื่ มกี ารลงมติเหน็ ชอบตาม (๖) แลว้ ให้รอไว้ ๑๕ วัน แล้วจงึ นำร่างรฐั ธรรมนญู แกไ้ ขเพ่ิมเติมข้ึน
ทลู เกล้าทูลกระหม่อมถวาย และให้นำความในมาตรา ๘๑ มาใชบ้ ังคบั โดยอนุโลม

(๘) ในกรณีร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมหมวด ๑ บททั่วไป หมวด ๒
พระมหากษัตริย์ หรือหมวด ๑๕ การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ หรือเรื่องที่เกี่ยวกับคุณสมบัติหรือลักษณะ
ต้องห้ามของผู้ดำรงตำแหน่งตา่ ง ๆ ตามรัฐธรรมนูญ หรือเรื่องที่เกี่ยวกบั หนา้ ที่หรอื อำนาจของศาลหรือองค์กร
อสิ ระ หรือเรอ่ื งทีท่ ำให้ศาลหรือองคก์ รอสิ ระไม่อาจปฏบิ ัตติ ามหนา้ ทีห่ รืออำนาจได้ ก่อนดำเนนิ การตาม (๗) ให้
จัดให้มีการออกเสียงประชามติตามกฎหมายว่าด้วยการออกเสียงประชามติ ถ้าผลการออกเสียงประชามติ
เห็นชอบดว้ ยกบั รา่ งรัฐธรรมนูญแกไ้ ขเพมิ่ เติม จงึ ให้ดำเนินการตาม (๗) ต่อไป

(๙) ก่อนนายกรัฐมนตรีนำความกราบบังคมทูลเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยตาม (๗)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือสมาชิกวุฒิสภา หรือสมาชิกทั้งสองสภารวมกัน มีจำนวนไม่น้อยกว่า ๑ ใน ๑๐
ของสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของแต่ละสภา หรือของทั้งสองสภารวมกัน แล้วแต่กรณี มีสิทธิเข้าชื่อกันเสนอ
ความเห็นต่อประธานแหง่ สภาท่ีตนเป็นสมาชิกหรอื ประธานรฐั สภา แล้วแตก่ รณี วา่ ร่างรฐั ธรรมนญู ตาม (๗) ขดั
ต่อมาตรา ๒๕๕ หรือมีลักษณะตาม (๘) และให้ประธานแห่งสภาที่ได้รับเรื่องดังกล่าวส่งความเห็นไปยังศาล
รัฐธรรมนูญ และให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้แล้วเสร็จภายใน ๓๐ วันนับแต่วันที่ได้รับเรื่อง ในระหว่างการ
พิจารณาวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ นายกรัฐมนตรีจะนำร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าวขึ้นทูลเกล้า
ทลู กระหมอ่ มถวายเพอื่ พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภไิ ธยมิได้

บทเฉพาะกาล

มาตรา ๒๖๒ ให้คณะองคมนตรีท่ีดำรงตำแหน่งในวันก่อนวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ เป็นคณะ
องคมนตรตี ามบทบญั ญัตแิ ห่งรฐั ธรรมนญู นี้

มาตรา ๒๖๓ ระหว่างท่ยี งั ไม่มสี ภาผูแ้ ทนราษฎรและวุฒสิ ภา ใหส้ ภานติ ิบัญญัติแห่งชาติท่ีต้ังข้ึนตาม
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ ทำหน้าที่รัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร
และวุฒิสภาต่อไป และให้สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติท่ีดำรงตำแหน่งอยู่ในวันก่อนวันประกาศใช้
รัฐธรรมนูญนี้ ทำหน้าที่เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา ตามลำดับ และให้สภานิติบัญญัติ
แห่งชาติและสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติสิ้นสุดลงในวันก่อนวันเรียกประชุมรัฐสภาครั้งแรกภายหลังการ
เลือกตง้ั ท่วั ไปทจี่ ัดข้ึนตามรัฐธรรมนญู น้ี

ในระหว่างที่สภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่รัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา ให้อำนาจ
ของประธานรัฐสภา ประธานสภาผู้แทนราษฎร หรือประธานวุฒิสภา เป็นอำนาจของประธานสภานิติบัญญัติ
แห่งชาติ

ในระหว่างที่สภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่รัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา หากมี
ตำแหน่งว่างลง หัวหน้าคณะรกั ษาความสงบแห่งชาติจะนำความกราบบงั คมทูลเพือ่ ทรงแตง่ ตัง้ ผู้มีคณุ สมบัติ
และไม่มีลักษณะตอ้ งห้ามตามวรรคสอง เป็นสมาชิกสภานิติบัญญัตแิ หง่ ชาติแทนก็ได้

เมื่อมีการเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรกภายหลังจากวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ สมาชิกสภานิติบัญญัติ
แห่งชาติจะสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมิได้ เว้นแต่จะได้พ้นจากตำแหน่งสมาชิกสภานิติ
บญั ญตั ิแห่งชาตภิ ายใน ๙๐ วนั นับแตว่ นั ประกาศใชร้ ัฐธรรมนูญน้ี

มาตรา ๒๖๗ ให้คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญที่ต้ังข้ึนตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับ
ชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ อยู่ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปเพื่อจัดทำร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
ดังต่อไปนใ้ี หแ้ ล้วเสร็จ และเสนอต่อสภานติ บิ ญั ญตั แิ หง่ ชาติเพือ่ พิจารณาให้ความเห็นชอบตอ่ ไป
พระราชบัญญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญมี ๑๐ ฉบับดงั นี้

(๑) พระราชบัญญตั ปิ ระกอบรัฐธรรมนูญวา่ ด้วยการเลือกต้ังสมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎร
(๒) พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญวา่ ด้วยการได้มาซึง่ สมาชกิ วุฒิสภา
(๓) พระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนญู วา่ ด้วยคณะกรรมการการเลือกต้งั
(๔) พระราชบัญญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมอื ง
(๕) พระราชบัญญตั ิประกอบรฐั ธรรมนญู ว่าด้วยวิธีพจิ ารณาของศาลรัฐธรรมนญู
(๖) พระราชบญั ญัติประกอบรฐั ธรรมนญู ว่าดว้ ยวธิ พี จิ ารณาคดอี าญาของผู้ดำรงตำแหนง่ ทางการเมอื ง
(๗) พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญวา่ ด้วยผู้ตรวจการแผ่นดนิ
(๘) พระราชบัญญัติประกอบรฐั ธรรมนูญวา่ ด้วยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจริต
(๙) พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยการตรวจเงินแผ่นดิน
(๑๐) พระราชบัญญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญว่าดว้ ยคณะกรรมการสทิ ธิมนษุ ยชนแหง่ ชาติ
คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญจะจัดทำร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญดังกล่าวขึ้นใหม่หรือ
แกไ้ ขเพ่มิ เตมิ กไ็ ด้ ท้งั น้ี เพอ่ื ให้สอดคลอ้ งกับบทบญั ญัตแิ ละเจตนารมณข์ องรัฐธรรมนญู และตอ้ งมุ่งหมายให้
มีการขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบทุกรูปแบบ และต้องทำให้แล้วเสร็จภายใน ๒๔๐ วันนับแต่วัน

ประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ และเมือ่ สภานิติบัญญัตแิ ห่งชาติได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญ
เสร็จแล้ว ให้คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญเป็นอันพ้นจากตำแหน่ง แต่ต้องไม่ช้ากว่าวันพ้นจากตำแหน่งของ
สมาชิกสภานิติบญั ญัติแห่งชาตติ ามมาตรา ๒๖๓

เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและรวดเร็ว คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญจะขอให้หัวหน้าคณะรักษา
ความสงบแห่งชาติแต่งตั้งกรรมการร่างรัฐธรรมนูญตามวรรคหนึ่งเพิ่มขึ้นก็ได้ แต่รวมแล้วต้องไม่เกิน ๓๐
คน

ในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ เมื่อได้รับร่างพระราชบัญญัติประกอบ
รฐั ธรรมนูญจากคณะกรรมการร่างรฐั ธรรมนูญแล้ว สภานติ ิบัญญัติแห่งชาติต้องพจิ ารณาให้แล้วเสร็จภายใน
เวลา ๖๐ วนั นับแตว่ ันทไ่ี ดร้ ับร่างพระราชบญั ญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนญู แตล่ ะฉบับ

ในกรณีที่สภานิติบัญญัติแห่งชาติพิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญใดไม่แล้วเสร็จ
ภายในเวลา ๖๐ วนั ใหถ้ ือว่าสภานิติบัญญตั แิ หง่ ชาติเหน็ ชอบกบั ร่างพระราชบัญญตั ิประกอบรฐั ธรรมนูญฉบับ
นั้นตามที่คณะกรรมการรา่ งรัฐธรรมนญู เสนอ

เมื่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติพิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญแล้วเสร็จ ให้ส่งร่าง
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นให้ศาลรัฐธรรมนญู หรือองคก์ รอสิ ระที่เกีย่ วข้องและคณะกรรมการร่าง
รัฐธรรมนูญเพื่อพิจารณา ถ้าศาลรัฐธรรมนูญหรือองค์กรอิสระที่เกี่ยวข้องหรือคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ
เห็นว่าร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญดังกล่าวไม่ตรงตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ ให้แจ้งให้
ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาตทิ ราบภายใน ๑๐ วันนบั แต่วันทไ่ี ด้รับร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
นั้น และให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญขึ้นคณะหนึ่งมีจำนวน ๑๑ คน ประกอบด้วย
ประธานศาลรัฐธรรมนูญหรือประธานองค์กรอิสระที่เกี่ยวข้อง และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และ
กรรมการร่างรัฐธรรมนูญซึ่งคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนญู มอบหมายฝ่ายละ ๕ คน เพื่อพิจารณาแล้วเสนอตอ่
สภานิติบัญญัติแห่งชาติภายใน ๑๕ วันนับแต่วันที่ได้รับแต่งตั้ง เพื่อให้ความเห็นชอบ ถ้าสภานิติบัญญัติ
แหง่ ชาตมิ ีมติไมเ่ หน็ ชอบดว้ ยคะแนนเสยี งเกนิ ๒ ใน ๓ ของจำนวนสมาชกิ ทั้งหมดเทา่ ทมี่ ีอยขู่ องสภานิติบัญญัติ
แห่งชาติ ให้ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนัน้ เป็นอันตกไป ในกรณีที่สภานติ ิบัญญัติแห่งชาติมีมติไม่
ถึงสองในสามดังกล่าว ให้ถือว่าสภานิติบัญญัติแห่งชาติให้ความเห็นชอบตามร่างที่คณะกรรมาธิการวิสามัญ
เสนอ และใหด้ ำเนนิ การตอ่ ไปตามมาตรา ๘๑

เพื่อประโยชน์แห่งการขจัดส่วนได้เสีย ห้ามมิให้กรรมการร่างรัฐธรรมนูญดำรงตำแหน่งทาง
การเมืองภายใน ๒ ปนี บั แต่วันทพ่ี น้ จากตำแหนง่

มาตรา ๒๖๘ ให้ดำเนนิ การเลือกต้ังสมาชกิ สภาผ้แู ทนราษฎรตามรฐั ธรรมนญู นใ้ี ห้แล้วเสร็จภายใน
๑๕๐ วันนับแต่วันทพ่ี ระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู

(๑) พระราชบัญญตั ิประกอบรฐั ธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร
(๒) พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู ว่าดว้ ยการไดม้ าซงึ่ สมาชกิ วฒุ ิสภา
(๓) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกต้ัง
(๔) พระราชบัญญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ด้วยพรรคการเมือง

มีผลใช้บังคับแล้ว คือ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อ ๑๒
กันยายน ๒๕๖๑ นบั ไป ๑๕๐ วนั คือ มีผลใชใ้ นวันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒

มาตรา ๒๖๙ ในวาระเริ่มแรก ให้วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิกจำนวน ๒๕๐ คนซ่ึงกษัตริย์ทรง
แต่งตั้งตามที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติถวายคำแนะนำ โดยในการสรรหาและแต่งตั้งให้ดำเนินการตาม
หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี าร ดงั ต่อไปน้ี

(๑) ใหม้ คี ณะกรรมการสรรหาสมาชิกวฒุ ิสภาคณะหน่งึ แต่งตง้ั โดยคณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ
ไม่น้อยกว่า ๙ คนแต่ไม่เกิน ๑๒ คน มีหน้าที่ดำเนินการสรรหาบุคคลซึ่งสมควรเป็นสมาชิกวุฒิสภา ตาม
หลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการ ดงั ตอ่ ไปนี้

(ก) ให้คณะกรรมการการเลือกตั้งดำเนินการจัดให้มีการเลือกสมาชิกวุฒิสภา จำนวน ๒๐๐ คน
ตามพระราชบญั ญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนญู วา่ ดว้ ยการได้มาซ่ึงสมาชิกวฒุ สิ ภา ใหด้ ำเนินการใหแ้ ลว้ เสรจ็ ก่อนวันที่
มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ไม่น้อยกว่า ๑๕ วันแล้วนำรายชื่อเสนอต่อคณะรักษาความสงบ
แหง่ ชาติ

(ข) ให้คณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา คัดเลือกบุคคลผู้มีความรู้ความสามารถที่เหมาะสม
ในอันจะเป็นประโยชน์แก่การปฏิบัติหน้าที่ของวุฒิสภาและการปฏิรูปประเทศมีจำนวนไม่เกิน ๔๐๐ คน ตาม
วิธีการท่ีคณะกรรมการสรรหาสมาชิกวฒุ สิ ภากำหนดแลว้ นำรายช่ือเสนอต่อคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ทั้งน้ี
ต้องดำเนนิ การให้แล้วเสร็จไม่ชา้ กวา่ ระยะเวลาท่ีกำหนดตาม (ก)

(ค) ให้คณะรักษาความสงบแห่งชาติคัดเลือกผู้ได้รับเลือกตาม (ก) จากบัญชีรายชื่อที่ได้รับจาก
คณะกรรมการการเลือกตั้ง ให้ได้จำนวน ๕๐ คน และคัดเลือกรายชื่อสำรองจำนวน ๕๐ คน และให้คัดเลือก
บุคคลจากบัญชรี ายชอ่ื ทไี่ ด้รับการสรรหาตาม (ข) ใหไ้ ดจ้ ำนวน ๑๙๔ คนรวมกับ

ผูด้ ำรงตำแหนง่ ปลดั กระทรวงกลาโหม
ผบู้ ัญชาการทหารสงู สดุ
ผบู้ ัญชาการทหารบก
ผบู้ ญั ชาการทหารเรือ
ผู้บญั ชาการทหารอากาศ
และผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ เป็น ๒๕๐ คน
และคัดเลือกรายชื่อสำรองจากบัญชีรายชื่อที่ได้รับการสรรหาตาม (ข) จำนวน ๕๐ คน ทั้งนี้ ให้แล้ว
เสรจ็ ภายใน ๓ วนั นบั แต่วนั ประกาศผลการเลือกต้งั สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร
(๓) ให้คณะรักษาความสงบแห่งชาตินำรายชื่อบุคคลซึ่งได้รับการคัดเลือกตาม (๑) (ค) จำนวน ๒๕๐
คนดังกล่าวขึ้นกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งต่อไป และให้หัวหน้าคณะ
รักษาความสงบแห่งชาตเิ ป็นผูล้ งนามรบั สนองพระบรมราชโองการ
(๔) อายุของวุฒิสภาตามมาตราน้ีมีกำหนด ๕ ปีนับแต่วนั ท่ีมีพระบรมราชโองการแตง่ ตง้ั
สมาชิกภาพของสมาชิกวุฒิสภาเริ่มตั้งแต่วันที่มีพระบรมราชโองการแต่งตั้ง ถ้ามีตำแหน่งว่างลง ให้
เลื่อนรายชื่อบุคคลตามลำดับในบัญชีสำรองตาม (๑) (ค) ขึ้นเป็นสมาชิกวุฒิสภาแทน โดยให้ประธานวุฒิสภา
เป็นผดู้ ำเนินการและเป็นผลู้ งนามรับสนองพระบรมราชโองการ สำหรบั สมาชิกวุฒิสภาโดยตำแหน่ง เมื่อพ้น
จากตำแหนง่ ทดี่ ำรงอยู่ในขณะได้รบั แตง่ ตงั้ เปน็ สมาชกิ วุฒสิ ภาก็ให้พน้ จากตำแหน่งสมาชิกวฒุ ิสภาด้วย และให้
ดำเนินการเพื่อแต่งตั้งให้ผู้ดำรงตำแหน่งนั้นเป็นสมาชิกวุฒิสภาโดยตำแหน่งแทน ให้สมาชิกวุฒิสภาที่ได้รับ
แตง่ ตัง้ ใหด้ ำรงตำแหนง่ แทนตำแหน่งท่ีวา่ ง อยูใ่ นตำแหนง่ เท่าอายขุ องวฒุ ิสภาท่ีเหลืออยู่

(๕) ในระหว่างที่ยังไม่มีพระบรมราชโองการแต่งต้งั บุคคลในบญั ชรี ายช่ือสำรองข้นึ เป็นสมาชิกวุฒิสภา
แทนตำแหนง่ ที่ว่างตาม (๔) หรือเป็นกรณที ี่ไม่มรี ายช่ือบุคคลเหลืออยู่ในบญั ชสี ำรอง หรือไม่มีผดู้ ำรงตำแหน่งที่
เป็นสมาชกิ วุฒิสภาโดยตำแหน่ง ไมว่ า่ ดว้ ยเหตใุ ด ใหว้ ุฒสิ ภาประกอบด้วยสมาชกิ วฒุ สิ ภาเท่าทีม่ ีอยู่

(๖) เมอื่ อายุของวฒุ ิสภาสิน้ สุดลงตาม (๔) ใหด้ ำเนินการเลือกสมาชิกวุฒสิ ภาตามมาตรา ๑๐๗ ต่อไป
และใหน้ ำความในมาตรา ๑๐๙ วรรคสามมาใชบ้ ังคับโดยอนโุ ลม

บรรณานกุ รม

ธติ พิ ล ศรปี ระทักษ.์ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ ฉบับกายวิภาค. พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๓. กรุงเทพฯ : รตั นาศรี
พิทกั ษ,์ 2๕๖๒.

บญุ รว่ ม เทียมจนั ทร์. รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาญาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ พร้อมหัวข้อเรือ่ งทกุ มาตรา
ฉบบั สมบรู ณ.์ พมิ พ์ครั้งท่ี ๓. กรงุ เทพฯ : อนิ ส์พัล, 2๕๖๐.

บุญศรี มวี งศ์อโุ ฆษ. กฎหมายมหาชนเบอ้ื งตน้ . พิมพ์คร้งั ท่ี ๔. กรุงเทพฯ : โครงการตำราและเอกสาร
ประกอบการสอนคณะนติ ศิ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2๕๖๒.

ประมวลกฎหมายออนไลน์ | สถาบนั นติ ิธรรมาลยั . [ระบบออนไลน]์ . แหลง่ ท่มี า
https://www.drthawip.com. (๑๐ กรกฎาคม 25๖๓)

วกิ รณ์ รกั ษป์ วงชน. ประมวลกฎหมายอาญา ฉบบั ใชง้ านและประกอบการศกึ ษา. นนทบรุ ี : ไอดีซฯี , 2๕๖๒.
สคุ นธ์ สินธพานนท์และไพศาล ภู่ไพบูลย์. หนังสือเรยี นรายวชิ าเพิม่ เตมิ กฎหมายที่ประชาชนควรรู้.

กรงุ เทพฯ : อกั ษรเจรญิ ทศั น์, 2๕๕๑.


Click to View FlipBook Version