The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือชุด กฎหมายเพื่อการเรียนรู้ ผู้ศึกษาเเละเรียบเรียง นายภูมินทร์ เกณสาคู

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ภูมินทร์ เกณสาคู, 2021-04-10 02:43:44

หนังสือชุด กฎหมายเพื่อการเรียนรู้ ผู้ศึกษาเเละเรียบเรียง นายภูมินทร์ เกณสาคู

หนังสือชุด กฎหมายเพื่อการเรียนรู้ ผู้ศึกษาเเละเรียบเรียง นายภูมินทร์ เกณสาคู

ศาลยุติธรรมอื่นที่พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลกำหนดให้เป็นศาลชั้นต้นมี ๕ ศาล คือ ศาลเยาวชนและ
ครอบครัวกลาง ศาลแรงงานกลาง ศาลภาษอี ากรกลาง ศาลทรัพย์สินทางปัญญากลาง และศาลลม้ ละลายกลาง

มาตรา ๓ ศาลชั้นอุทธรณ์ ได้แก่ ศาลอุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์ภาค(มี ๙ ภาค) และศาลยุติธรรมอื่นที่

พระราชบัญญัตจิ ดั ตั้งศาลน้ันกำหนดให้เป็นศาลชน้ั อทุ ธรณ์ คอื ศาลอุทธรณค์ ดชี ำนัญพเิ ศษ มี ๕ แผนก คือ
ศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง
ศาลแรงงานกลาง
ศาลภาษีอากรกลาง
ศาลทรพั ย์สนิ ทางปัญญากลาง
และศาลล้มละลายกลาง
รวม ๑๑ ศาล

มาตรา ๔ ศาลฎีกา ศาลชั้นอุทธรณ์ และศาลชั้นต้น อาจแบ่งส่วนราชการเป็นแผนกหรือ

หน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่น และจะให้มีอำนาจในคดีประเภทใดหรือคดีในท้องที่ใด ซึ่งอยู่ในเขตอำนาจของ
แตล่ ะศาลนน้ั แยกต่างหากโดยเฉพาะก็ได้ โดยให้ออกเป็นประกาศคณะกรรมการบริหารศาลยตุ ิธรรม

เช่น ศาลอุทธรณแ์ บง่ เป็นแผนกคดีส่งิ แวดล้อม แผนกคดผี ู้บรโิ ภค แผนกคดีเลอื กต้งั และยาเสพติด
ศาลฎีกามแี ผนกคดพี เิ ศษทั้งส้ิน ๑๑ แผนก
ศาลชั้นต้น อาจเปิดทำการสาขาในท้องที่อื่นใด (ศาลสาขา) และจะให้มีอำนาจในคดีประเภทใดหรือ
คดีในท้องที่ใด ซึ่งอยู่ในเขตอำนาจของศาลนั้นแยกต่างหากโดยเฉพาะก็ได้ โดยให้ออกเป็นประกาศคณะ
กรรมการบรหิ ารศาลยุติธรรม

การกำหนดและการเปลี่ยนแปลงสถานท่ีตงั้ ของศาล ใหอ้ อกเป็นประกาศคณะกรรมการบริหาร
ศาลยตุ ธิ รรม

ประกาศคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมที่ออกตามความในมาตรานี้เมื่อประกาศในราช
กจิ จานุเบกษาแลว้ ใหใ้ ช้บงั คบั ได้

คำว่า คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม(กบศ) คือ ผู้พิพากษาศาลต่าง ๆ ที่ได้รับเลือกตั้งขึ้นมา
(ผชู้ ่วยผู้พพิ ากษาไม่มสี ทิ ธิเ์ ลือก) ประกอบด้วย

คณะกรรมการ ๑๒ คน ศาลละ ๔ คน(ฎีกา อุทธรณ์ ชั้นต้น) มีประธานศาลฎีกาเป็นประธานคณะ
กรรมการบริหารศาลยุติธรรม มีผู้ทรงคุณวุฒิไม่น้อยกว่า ๒ คนแต่ไม่เกิน ๔ คน มีเลขานุการคือ เลขาธิการ
สำนกั งานศาลยุตธิ รรม

มาตรา ๕ ให้ประธานศาลฎีกามีหน้าท่ีวางระเบียบราชการฝ่ายตุลาการของศาลยุติธรรม เพื่อให้
กิจการของศาลยุติธรรมดำเนินไปโดยเรียบร้อยและเป็นระเบียบเดียวกัน และให้ประธานศาลฎีกามีอำนาจให้
คำแนะนำแก่ผู้พิพากษาในการปฏิบัตติ ามระเบียบวิธีการต่าง ๆ ที่กำหนดขึ้นโดยกฎหมายหรือโดยประการอน่ื
ใหเ้ ปน็ ไปโดยถูกต้อง

มาตรา ๖ ให้เลขาธิการสำนักงานศาลยุติธรรมโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารศาล
ยุติธรรมมีอำนาจเสนอความเห็นเกี่ยวกับการจัดตั้ง การยุบเลิก หรือการเปลี่ยนแปลงเขตอำนาจศาลของ
ศาลยุติธรรมต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาดำเนินการ ทั้งนี้ โดยคำนึงถึงจำนวน สภาพ สถานที่ตั้ง และเขต
อำนาจศาลตามทีจ่ ำเป็นเพอ่ื ให้การอำนวยความยตุ ิธรรมแกป่ ระชาชนเปน็ ไปโดยเรยี บรอ้ ยตลอดราชอาณาจกั ร

จำ การตงั้ ศาล ยบุ เลิก หรอื การเปลีย่ นแปลงเขตอำนาจศาล ต้องออกเปน็ พระราชบัญญัติเท่านน้ั
มาตรา ๗ ให้คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมกำหนดจำนวนผู้พิพากษาในศาลยุติธรรมให้
เหมาะสมตามความจำเป็นแห่งราชการ แต่ไม่ไดก้ ำหนดว่าให้ใครไปศาลไหน เพยี งกำหนดวา่ ควรมีกี่คน
มาตรา ๘ ให้มีประธานศาลฎีกา ประจำศาลฎีกา ๑ คน ประธานศาลอุทธรณ์ประจำศาลอุทธรณ์
๑ คน ประธานศาลอทุ ธรณ์ภาคประจำศาลอุทธรณ์ภาค ศาลละ ๑ คน และให้มอี ธบิ ดีผู้พิพากษาศาลชนั้ ต้น
ศาลละ ๑ คนคือประจำศาลแพ่ง ศาลแพ่งกรุงเทพใต้ ศาลแพง่ ตลิ่งชัน ศาลแพ่งธนบุรี ศาลแพ่งพระโขนง ศาล
แพ่งมีนบุรี ศาลอาญา ศาลอาญากรุงเทพใต้ ศาลอาญาตลิ่งชัน ศาลอาญาธนบุรี ศาลอาญาพระโขนง ศาล
อาญามนี บรุ ี และศาลยตุ ธิ รรมอน่ื ท่ีพระราชบัญญัติจัดตงั้ ศาลน้นั กำหนดให้เปน็ ศาลช้ันตน้ กับให้มีรองประธาน
ศาลฎีกาประจำศาลฎีกา รองประธานศาลอุทธรณ์ประจำศาลอุทธรณ์ รองประธานศาลอุทธรณ์ภาคประจำ
ศาลอุทธรณ์ภาค และรองอธิบดีผู้พิพากษาศาลชั้นต้นประจำศาลแพ่ง ศาลแพ่งกรุงเทพใต้ ศาลแพ่งตลิ่งชัน
ศาลแพ่งธนบุรี ศาลแพ่งพระโขนง ศาลแพ่งมีนบุรี ศาลอาญา ศาลอาญากรุงเทพใต้ ศาลอาญาตลิ่งชัน ศาล
อาญาธนบุรี ศาลอาญาพระโขนง ศาลอาญามีนบุรี และศาลยุติธรรมอื่นที่พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลนั้น
กำหนดให้เปน็ ศาลช้นั ต้น ศาลละ ๑ คน
และในกรณีที่มีความจำเป็นเพื่อประโยชน์ในทางราชการ คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมโดย
ความเห็นชอบของประธานศาลฎกี าจะกำหนดให้มี
รองประธานศาลฎีกามากกวา่ ๑ คนแตไ่ ม่เกนิ ๖ คน
รองประธานศาลอทุ ธรณ์ รองประธานศาลอทุ ธรณ์ภาค ไมเ่ กิน ๓ คนกไ็ ด้
รองอธบิ ดผี ู้พิพากษาศาลช้ันต้น มากกว่า ๑ คนแตไ่ ม่เกิน ๓ คนก็ได้
รองประธานศาลอุทธรณ์ชำนญั พิเศษ ไม่เกิน ๕ คน

เมื่อตำแหน่งประธานศาลฎีกา ประธานศาลอุทธรณ์ ประธานศาลอุทธรณ์ภาค หรืออธิบดีผู้
พิพากษาศาลช้ันตน้ วา่ งลง หรือไม่อาจปฏบิ ัตริ าชการได้

ให้รองประธาน เป็นผู้ทำการแทน ถ้ามรี องประธานหลายคน ใหร้ องประธานที่มีอาวุโสสูงสุดเป็น
ผู้ทำการแทน ถ้าผทู้ ่มี ีอาวุโสสงู สดุ ไมอ่ าจปฏบิ ตั ิราชการได้ ให้ผ้ทู มี่ อี าวโุ สถัดลงมาตามลำดบั เป็นผทู้ ำการแทน

ในกรณีที่ไม่มีผู้ทำการแทนให้ผู้พิพากษาที่มีอาวุโสสูงสุดในศาลนั้นเป็นผู้ทำการแทน ถ้าผู้ที่มี
อาวุโสสงู สุดไม่อาจปฏิบัตริ าชการได้ ให้ผู้พพิ ากษาทม่ี อี าวุโสถดั ลงมาตามลำดบั เป็นผทู้ ำการแทน

ในกรณีที่ไม่มีผู้ทำการแทน ประธานศาลฎีกาจะสั่งให้ผู้พิพากษาคนหนึ่งเป็นผู้ทำการแทนก็ได้
(ผพู้ ิพากษาจากศาลไหนก็ได)้ แต่ผพู้ ิพากษาอาวุโสหรอื ผู้พิพากษาประจำศาลจะเป็นผ้ทู ำการแทนไมไ่ ด้

ระวัง ถา้ เขามคี นอย่แู ล้ว ประธานศาลฎีกาจะสั่งคนอ่นื ไปไมไ่ ด้

มาตรา ๙ ในศาลจงั หวดั หรอื ศาลแขวง ใหม้ ีผพู้ พิ ากษาหวั หน้าศาล ศาลละ ๑ คน ไมม่ ีรอง

เมื่อตำแหน่งผู้พิพากษาหัวหน้าศาลจังหวัดหรือผู้พิพากษาหัวหน้าศาลแขวงว่างลง หรือไม่อาจ
ปฏิบัติราชการได้

ให้ผู้พิพากษาที่มีอาวุโสสูงสุดในศาลนั้นเป็นผู้ทำการแทน ถ้าผู้ที่มีอาวุโสสูงสุดในศาลนั้นไม่อาจ
ปฏิบตั ิราชการได้ ให้ผู้พพิ ากษาท่มี ีอาวโุ สถัดลงมาตามลำดับในศาลน้ันเป็นผู้ทำการแทน ในกรณีที่ไม่มีผู้ทำ
การแทน ประธานศาลฎกี าจะส่งั ให้ผ้พู ิพากษาคนหนง่ึ เป็นผ้ทู ำการแทนกไ็ ด้

ผูพ้ ิพากษาอาวโุ สหรือผู้พิพากษาประจำศาลจะเป็นผู้ทำการแทนไม่ได้ แมป้ ระธานศาลฎีกาจะสั่งก็
ไมไ่ ด้

ระวัง ผพู้ ิพากษาท่ีมีอาวุโสสงู สดุ กับ ผู้พพิ ากษาอาวโุ สหรอื ผูพ้ ิพากษาประจำศาล คนละคนกัน
เพราะ ผู้พพิ ากษาที่อาวุโสสงู สุด คอื คนทำงานก่อนเกษียณอายุ ๖๐ ปี แตม่ ีอายมุ ากสดุ ในผู้พิพากษาคนอนื่ ๆ

ผู้พพิ ากษาอาวุโส คอื เกษยี ณแลว้ แต่ทำงานต่อถงึ ๗๐ ปี
ผูพ้ ิพากษาประจำศาล ยงั น้อยประสบการณ์
ระวัง ผชู้ ่วยผพู้ ิพากษา จะทำงานแทนไม่ได้ เพราะไมถ่ ือเป็นผูพ้ พิ ากษาตามพระธรรมนูญศาลยตุ ิธรรม
คำว่า ทำการแทน คือ บริหารงานแทน เช่น จ่ายสำนวน ตรวจสำนวน ลงชื่อทำคำพิพากษา ลงชื่อ
รว่ มทำคำพพิ ากษา
คำว่า ตำแหน่งว่างลง คอื ตาย เกษียณ ลาออก ถูกถอดถอน ถูกดำเนนิ คดี ไลอ่ อก ปลด ย้าย
คำว่าไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ คือ ป่วย ลาป่วย ลากิจ พักราชการ ไปราชการต่างประเทศ ไปราชการ
ตา่ งจงั หวัด นอนโรงบาล

ตัวอย่าง ๑ นายเอผู้พิพากษาหัวหน้าศาลแขวงลำปางลาออก และนายบีผู้พิพากษาที่อาวุโสสูงสุด

ลาปว่ ย ทำให้นายซผี ูพ้ พิ ากษาประจำศาลตอ้ งปฏบิ ตั ิราชการแทน
ถามว่า นายซีสามารถทำได้หรอื ไม่
ตอบ ไมไ่ ดเ้ พราะ กฎหมายบัญญัตหิ ้ามผูพ้ พิ ากษาอาวุโสหรือผู้พิพากษาประจำศาล ทำหน้าทแี่ ทน แม้

ประธานศาลฎีกาสัง่ กท็ ำไม่ได้

ตัวอย่าง ๒ นายเอผผู้พิพากษาหัวหน้าศาลแขวงป่วย นายบีผู้พิพากษาอาวุโสจึงมาทำคำพิพากษา

แทน และนายซผี พู้ พิ ากษาท่อี าวโุ สสูงสุด มอี ำนาจตรวจสำนวน หรอื ไมอ่ ย่างไร
ตอบ กรณี ๑ นายบี ผูพ้ ิพากษาอาวุโส ทำแทนไมไ่ ด้ แตน่ ายซีผพู้ พิ ากษาทอ่ี าวโุ สสงู สดุ ทำแทนได้

มาตรา ๑๐ ในกรณีท่ีมีการแบ่งส่วนราชการในศาลฎีกา ศาลชั้นอุทธรณ์ หรือศาลช้ันต้นออกเป็น
แผนกหรือหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่น ให้มีผู้พิพากษาหัวหน้าแผนกหรือผู้พิพากษาหัวหน้าหน่วยงานท่ี
เรียกชื่ออย่างอื่น แผนกหรือหน่วยงานละ ๑ คน ถ้าเป็นศาลฎีกา ศาลชั้นอุทธรณ์จะใช้คำว่าประธานแทน
หัวหน้า

เมื่อตำแหน่งผู้พิพากษาหัวหน้าแผนกหรือหน่วยงานท่ีว่างลง หรือไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้ผู้
พพิ ากษาทม่ี ีอาวโุ สสูงสุดผู้ทำการแทน ถ้าผู้ที่มีอาวุโสสงู สุดในแผนกหรือในหน่วยงานท่เี รียกช่ืออย่างอื่นนั้นไม่
อาจปฏบิ ตั ิราชการได้ ใหผ้ ูพ้ พิ ากษาท่ีมีอาวุโสถดั ลงมาตามลำดับในแผนกหรือในหนว่ ยงานท่ีเรียกช่ืออย่างอื่น
นน้ั เปน็ ผู้ทำการแทน ประธานศาลฎกี าจะส่ังใหผ้ พู้ ิพากษาคนหนึ่งเปน็ ผทู้ ำการแทนกไ็ ด้

ผพู้ พิ ากษาอาวุโสหรอื ผพู้ พิ ากษาประจำศาลจะทำการแทนไม่ได้
มาตรา ๑๑ ประธานศาลฎีกา ประธานศาลอุทธรณ์ ประธานศาลอุทธรณ์ภาค อธิบดีผู้พิพากษาศาล
ชั้นต้น และผู้พิพากษาหัวหน้าศาล ต้องรับผิดชอบในราชการของศาลใหเ้ ป็นไปโดยเรียบร้อย และให้มีอำนาจ
หนา้ ทีด่ ังต่อไปนี้ดว้ ย

(๑)๙ น่ังพิจารณาและพพิ ากษาคดใี ด ๆ ของศาลน้นั หรือเมื่อได้ตรวจสำนวนคดใี ดแลว้ มอี ำนาจทำ
ความเหน็ แยง้ ได้

เมื่อจ่ายคดีไปแล้วประธานสามารถไปนั่งพิจารณาคดีได้ แต่ต้องก่อนเริ่มพิจารณาคดี แต่ผู้
พิพากษาทั่วไปเขา้ ไมไ่ ด้

(๒) สั่งคำร้องคำขอต่าง ๆ ที่ยื่นต่อตนตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้วยวิธีพิจารณาความแพ่ง
และอาญา เช่น ประธานศาลฎีกามีอำนาจสัง่ โอนคดอี าญาในศาลชั้นต้น ที่ประธานศาลอุทธรณ์และชั้นต้นไม่มี
อำนาจ

(๓) ระมัดระวังการใช้ระเบียบวิธีการต่าง ๆ ที่กำหนดขึ้นโดยกฎหมายหรือโดยประการอื่นให้
เปน็ ไปโดยถูกตอ้ ง เพ่อื ให้การพจิ ารณาพิพากษาคดเี สรจ็ เด็ดขาดไปโดยเร็ว

(๔) ให้คำแนะนำแกผ่ ู้พิพากษาในศาลนัน้ ในขอ้ ขดั ขอ้ งเนื่องในการปฏิบัติหน้าท่ีของผู้พิพากษา
(๕) ร่วมมือกับเจ้าพนักงานฝ่ายปกครองในบรรดากิจการอันเกี่ยวกับการจัดวางระเบียบและการ
ดำเนนิ การงานสว่ นธรุ การของศาล
(๖) ทำรายงานการคดีและกิจการของศาลสง่ ตามระเบยี บ คอื สง่ สำนักงานศาลยตุ ธิ รรม
(๗) มอี ำนาจหนา้ ท่ีอนื่ ตามทก่ี ฎหมายกำหนด
ให้รองประธานศาลฎีกา รองประธานศาลอุทธรณ์ รองประธานศาลอุทธรณ์ภาค หรือรองอธิบดีผู้
พิพากษาศาลชั้นต้น มีอำนาจตามประธานในข้อ ๒ คือ อำนาจสั่งคำร้องคำขอต่าง ๆ ที่ยื่นต่อตนตาม
บทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้วยวิธีพิจารณาความด้วย และให้มีหน้าที่ช่วยประธานศาลฎีกา ประธานศาล
อุทธรณ์ ประธานศาลอุทธรณ์ภาค หรืออธิบดีผู้พิพากษาศาลชั้นต้น แล้วแต่กรณี ตามที่ประธานศาลฎีกา
ประธานศาลอทุ ธรณ์ ประธานศาลอุทธรณ์ภาค หรืออธบิ ดผี ู้พิพากษาศาลชนั้ ตน้ มอบหมาย

มาตรา ๑๒ ผูพ้ พิ ากษาหัวหน้าแผนกหรอื ผู้พิพากษาหัวหน้าหนว่ ยงานที่เรยี กช่ืออย่างอ่ืนตามมาตรา
๑๐ วรรคหนึ่ง ต้องรับผิดชอบงานของแผนกหรอื หน่วยงานที่เรียกช่ืออย่างอื่นให้เป็นไปโดยเรียบรอ้ ยตามที่
กำหนดไวใ้ นประกาศคณะกรรมการบรหิ ารศาลยตุ ธิ รรมที่ได้จดั ตั้งแผนกหรือหนว่ ยงานทเ่ี รียกช่ืออย่างอ่ืนน้ัน
และต้องปฏิบัติตามคำสั่งของประธานศาลฎีกา ประธานศาลอุทธรณ์ ประธานศาลอุทธรณ์ภาค อธิบดีผู้
พิพากษาศาลชน้ั ต้น หรือผูพ้ ิพากษาหัวหนา้ ศาลนนั้

มาตรา ๑๓๑๐ ให้มีอธบิ ดีผูพ้ ิพากษาภาค ภาคละ ๑ คน จำนวน ๙ ภาค ประจำสำนักงานอธบิ ดีผู้
พิพากษาภาค ไม่ใช่ศาล เพื่อดูแลศาล มีสถานที่ตั้งและเขตอำนาจตามท่ีคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม
กำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา กับให้มีรองอธิบดีผู้พิพากษาภาค ภาคละ ๓ คน ในกรณีที่มีความ
จำเปน็ เพอื่ ประโยชนใ์ นทางราชการ คณะกรรมการบรหิ ารศาลยตุ ิธรรมโดยความเหน็ ชอบของประธานศาลฎีกา
จะกำหนดใหม้ ีรองอธิบดีผ้พู ิพากษาภาคมากกว่าสามคนแต่ไม่เกนิ ๖ คนกไ็ ด้

เมอ่ื ตำแหน่งอธิบดผี ู้พิพากษาภาคว่างลง หรอื เมอื่ ผดู้ ำรงตำแหนง่ ดงั กล่าวไม่อาจปฏิบัติราชการได้
ใหร้ องอธิบดผี พู้ ิพากษาภาคที่มีอาวุโสสูงสดุ เปน็ ผู้ทำการแทน ถา้ ผู้ท่ีมอี าวโุ สสงู สดุ ไม่อาจปฏิบตั ิราชการได้ ให้ผู้
ที่มีอาวุโสถัดลงมาตามลำดับเป็นผู้ทำการแทน จนครบ ๖ คน ไม่มีผู้พิพากษาเลยเพราะไม่ใช่ศาล มีแต่อธิบดี
เมื่อไม่มผี ูท้ ำการแทน ประธานศาลฎกี าจะส่งั ให้ผ้พู พิ ากษาคนหนึง่ จากศาลใดเปน็ ผ้ทู ำการแทนก็ได้

ผพู้ พิ ากษาอาวุโสหรือผู้พิพากษาประจำศาลจะเป็นผู้ทำการแทนในตำแหนง่ ตามวรรคหน่ึงไม่ได้
มาตรา ๑๔ ให้อธิบดีผู้พิพากษาภาคเป็นผู้พพิ ากษาในศาลที่อยู่ในเขตอำนาจด้วยผู้หนึ่ง โดยให้มี
อำนาจและหนา้ ที่ตามทก่ี ำหนดไว้ในมาตรา ๑๑ วรรคหนึง่

๑)๙ นั่งพิจารณาและพิพากษาคดีใด ๆ ของศาลนั้น หรือเมื่อได้ตรวจสำนวนคดีใดแล้วมี
อำนาจทำความเห็นแยง้ ได้

เมื่อจ่ายคดีไปแล้วประธานสามารถไปนั่งพิจารณาคดีได้ แต่ต้องก่อนเริ่มพิจารณาคดี แต่ผู้
พพิ ากษาทว่ั ไปเขา้ ไม่ได้

(๒) สั่งคำร้องคำขอต่าง ๆ ที่ยื่นต่อตนตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้วยวิธีพิจารณา
ความแพ่งและอาญา เช่น ประธานศาลฎีกามีอำนาจสั่งโอนคดีอาญาในศาลชั้นต้น ที่ประธานศาลอุทธรณ์และ
ช้นั ต้นไม่มอี ำนาจ

(๓) ระมดั ระวังการใช้ระเบียบวธิ ีการต่าง ๆ ทกี่ ำหนดขน้ึ โดยกฎหมายหรอื โดยประการอ่ืน
ให้เป็นไปโดยถกู ต้อง เพอื่ ให้การพจิ ารณาพพิ ากษาคดีเสร็จเด็ดขาดไปโดยเร็ว

(๔) ให้คำแนะนำแก่ผู้พิพากษาในศาลนั้นในข้อขัดข้องเนื่องในการปฏิบัติหน้าที่ของผู้
พพิ ากษา

(๕) ร่วมมือกับเจ้าพนักงานฝ่ายปกครองในบรรดากิจการอันเกี่ยวกับการจัดวางระเบียบ
และการดำเนินการงานสว่ นธุรการของศาล

(๖) ทำรายงานการคดแี ละกจิ การของศาลส่งตามระเบียบ คือ สง่ สำนกั งานศาลยตุ ธิ รรม
(๗) มีอำนาจหน้าทอ่ี ื่นตามทก่ี ฎหมายกำหนด

และใหม้ ีอำนาจหนา้ ที่ดงั ตอ่ ไปน้ดี ว้ ย
(๑) สั่งให้หัวหน้าสำนักงานประจำศาลยุติธรรมรายงานเกี่ยวด้วยคดี หรือรายงานกิจการอื่นของ

ศาลที่อยู่ในเขตอำนาจของตน
(๒) ในกรณีจำเป็นจะสัง่ ให้ผู้พิพากษาคนใดคนหน่ึงในศาลที่อยู่ในเขตอำนาจของตนไปช่วยทำงาน

ชั่วคราวมีกำหนดไม่เกิน ๓ เดือนในอีกศาลหนึง่ โดยความยินยอมของผู้พิพากษานั้นก็ได้ แล้วรายงานไปยงั
ประธานศาลฎีกาทันที ระวงั สงั่ โยกย้ายใครไมไ่ ด้

ให้รองอธิบดีผู้พิพากษาภาคเป็นผู้พิพากษาในศาลที่อยู่ในเขตอำนาจด้วย โดยให้มีอำนาจ
ตามทกี่ ำหนดไวใ้ นมาตรา ๑๑ วรรคหนึง่ (๒)สง่ั คำร้องคำขอต่าง ๆ ทีย่ ื่นตอ่ ตนตามบทบัญญตั ิแหง่ กฎหมายว่า
ดว้ ยวิธีพจิ ารณาความ และใหม้ หี น้าท่ีช่วยอธิบดผี ู้พิพากษาภาคตามท่อี ธบิ ดีผพู้ ิพากษาภาคมอบหมาย๑๑

หมวด ๒ เขตอำนาจศาล

คำว่า อำนาจศาล คือ อำนาจในการรับคดีไว้พิจารณา เช่น ศาลแขวงไม่มีอำนาจรับคดีแพ่งที่ไม่มีทนุ
ทรพั ย์ ศาลแขวงมีอำนาจรับคดีแพ่งท่ีมีทุนทรัพย์ไม่เกนิ ๓ แสนบาท ศาลจังหวัดมีอำนาจรับคดีแพ่งและอาญา
ไดท้ ง้ั หมด เปน็ ต้น

คำว่า เขตอำนาจศาล คือ เขตพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ เช่น ศาลจังหวัดสมุทรสาครมีอำนาจรับคดีท่ี
เกิดขึ้นในจังหวัดสมุทรสาคร ( สมุทรสาครมีพื้นที่เท่าใด ศาลจังหวัดสมุทรสาครก็มีพื้นที่เท่านั้น) ดูจาก
พระราชบญั ญตั จิ ดั ตง้ั ศาล

มาตรา ๑๕ ห้ามมิให้ศาลยุติธรรมศาลใดศาลหนึ่งรับคดีซึ่งศาลยุติธรรมอื่นได้สั่งรับประทับฟ้อง
โดยชอบแล้วไว้พิจารณาพิพากษา เว้นแต่คดีนั้นจะไดโ้ อนมาตามบทบญั ญัติแห่งกฎหมายว่าดว้ ยวิธีพิจารณา
ความหรือตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม

การโอนคดี เช่น ประธานศาลฎกี ามอี ำนาจส่ังโอนคดอี าญาในศาลชน้ั ต้นได้
ถ้ารับฟ้องโดยมชิ อบ สามารถรับได้

มาตรา ๑๖ ศาลชั้นต้นมีเขตตามท่ีพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลนั้นกำหนดไว้ในกรณีที่มีความ
จำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงเขตอำนาจศาลเพื่อประโยชน์ในการอำนวยความยุติธรรมแก่ประชาชน ให้ตราเป็น
พระราชกฤษฎกี า(ปกติการแก้กฎหมายต้องเอากฎหมายท่ีมีศักด์ิเท่ากันหรือสูงกว่ามาแก้ แต่กรณีน้ีแม้จะสร้าง
โดยพระราชบญั ญตั ิ ก็ให้ใช้พระราชกฤษฎีได้ เพราะออกงา่ ยโดยฝา่ ยบรหิ าร กว่าพระราชบญั ญัตทิ อี่ อกโดยฝ่าย
นิตบิ ญั ญัติศง่ึ ออกยาก )

ศาลแพ่งและศาลอาญา มีเขตตลอดท้องที่กรุงเทพมหานคร นอกจากท้องท่ี ๑๐ ศาลนี้ ศาลแพ่ง
กรุงเทพใต้ ศาลแพ่งตล่ิงชนั ศาลแพง่ ธนบุรี ศาลแพง่ พระโขนง ศาลแพ่งมีนบรุ ี ศาลอาญากรุงเทพใต้ ศาลอาญา
ตลิ่งชัน ศาลอาญาธนบุรี ศาลอาญาพระโขนง ศาลอาญามีนบุรี และศาลยุติธรรมอื่นตามที่พระราชบัญญัติ
จดั ตั้งศาลนั้นกำหนดไว้

ในกรณีที่มีการยื่นฟ้องคดีต่อศาลแพ่งหรือศาลอาญา และคดีนั้นเกิดขึ้นนอกเขตของศาลแพ่ง
หรอื ศาลอาญา ศาลแพ่งหรอื ศาลอาญา แลว้ แตก่ รณี อาจใชด้ ุลพินจิ ยอมรบั ไว้พจิ ารณาพิพากษาหรือมีคำส่ัง
โอนคดไี ปยงั ศาลยุตธิ รรมอนื่ ที่มีเขตอำนาจ

จำว่า นอกเขตอำนาจศาลแพ่งและอาญา คือ ศาลยุติธรรมอื่น เช่น ศาลเยาวชนและครอบครัว
ศาลแรงงาน ศาลทรัพยส์ ินทางปัญญา ศาลภาษี ศาลอากร ศาลชำนญั เนน้ ศาลจังหวัด แตห่ า้ มโอนไปศาล
แขวงเด็ดขาด

ศาลแพ่งและอาญา ใช้ดุลพินิจรับเรื่องคดีที่ไม่ใช่เขตอำนาจตนไว้แล้ว จะโอนคดีไปยังศาลที่มี
อำนาจไมไ่ ด้ ถ้าศาลแพ่งหรอื อาญายงั ไมใ่ ชด้ ลุ พนิ ิจรบั เรอื่ งไว้พิจารณาก็จะมอี ำนาจโอนเรื่องไปศาลอนื่ ได้

ระวัง การไต่สวนมูลฟ้องในคดีอาญา ไม่ถือว่าเป็นการใช้ดุลพินิจรับ แต่เมื่อใดที่ประทับฟ้อง นั่น
หมายถงึ รบั แลว้

ระวงั ถ้าเป็นศาลอื่น ๆ เชน่ ศาลแพง่ กรงุ เทพใต้ จะใช้ดลุ พินิจเหมอื นศาลแพง่ และศาลอาญาไม่ได้
เช่น นายเอนำคดีที่ควรข้ึนตอ่ ศาลจังหวัดสุรินทร์ ไปขึ้นศาลแพ่งกรุงเทพใต้ ศาลแพ่งกรุงเทพใต้ไม่มีอำนาจรับ
เรื่องไว้และไม่มีอำนาจโอนดว้ ย เพราะใหอ้ ำนาจเฉพาะศาลแพ่งและอาญา

แต่ ถ้าข้อเท็จจริงปรากฏในภายหลังว่า คดีนี้ควรอยู่ศาลไหน ศาลแพ่งหรืออาญามีอำนาจโอนไป
ได้

ตัวอย่าง โจทก์ฟ้องจำเลยต่อศาลแพ่ง ศาลแพ่งก็รับเร่ืองไว้ แต่ต่อมาประธานศาลฎีกาวนิ ิจฉัยว่า คดี

นี้อยู่ในอำนาจของศาลศาลทรัพย์สินทางปัญญา ศาลแพ่งนี้มีอำนาจโอนไปได้ เพราะ ข้อเท็จจริงปรากฎใน
ภายหลงั

คำว่า ดุลพินิจรับเรื่องไว้พิจารณา คือ ศาลเริ่มทำงานแล้ว เช่น มีคำสั่งประทับฟ้องคดี(คดีอาญา ถ้า
ศาลไต่สวนมูลฟ้องแล้วเห็นวา่ คดีไม่มีมูล จึงไม่ประทับฟ้อง ถือว่าศาลยังไม่ทำงาน การที่งดไต่สวนมูลฟ้อง นัด
ไต่สวนให้โจทก์นำส่งหมาย ถือว่ายังไม่ทำงาน ) มีคำสั่งรับฟ้องคดี(คดีแพ่ง เพราะ คดีแพ่งไม่มีการไต่สวนมูล
ฟอ้ ง) รบั คำใหก้ ารจำเลย นัดช้สี องสถานกำหนดประเด็น สบื พยานโจทกจ์ ำเลยจนเสรจ็

ตัวอย่าง โจทก์ฟ้องต่อศาลแพ่งให้จำเลยที่ ๑ รับผิดในฐานะลูกจ้าง ให้จำเลยที่ ๒ รับผิดในฐานะ

นายจ้าง ต่อมาโจทก์ถอนฟ้องจำเลยที่ ๒ ทำให้คดีอยู่ในอำนาจของศาลจังหวัดนนทบุรี แต่ศาลแพ่งก็ยังง
สบื พยานจำเลยท่ี ๑ ตอ่ ไป ถามวา่ ศาลแพ่งมอี ำนาจโอนคดีไปศาลจงั หวัดนนทบรุ หี รอื ไม่

ตอบ ไมม่ อี ำนาจโอนคดี เพราะศาลแพง่ ใชด้ ุลพนิ ิจรบั คดี เร่มิ ทำงานแล้ว โดยการสืบพยาน

เชน่ เด็กชายแดงทำผิดลกั ทรพั ย์ ต้องไปศาลเยาวชนและครอบครัว

มาตรา ๑๗ ศาลแขวงมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดี และมีอำนาจทำการไต่สวนหรอื มีคำส่งั ใด

ๆเทยี บเทา่ กับผูพ้ ิพากษาคนเดยี ว

ความสำคัญ ศาลแขวงช่วยแบ่งเบาภาระของศาลจังหวัด ใช้พิจารณาคดีเล็ก ๆ น้อย ๆ และใน

พ้ืนที่ทม่ี ีศาลแขวงย่อมมีศาลจงั หวัดเสมอ แตถ่ า้ มศี าลจังหวัดอาจไมม่ ีศาลแขวงกไ็ ด้

อำนาจของศาลแขวง ศาลแขวงมอี ำนาจเทา่ กบั ผูพ้ ิพากษาคนเดียว มีอำนาจดังต่อไปนี้

-ศาลแขวงมีอำนาจออกหมายเรียก หมายอาญา(จับ ค้น ขัง คำคุก ปล่อย) หรือหมายสั่งให้ส่งคน
มาจากหรอื ไปยงั จังหวดั อ่นื

-ศาลแขวงมีอำนาจออกคำสั่งใด ๆ ที่มิใช่เป็นไปในทางวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาทแห่งคดี เช่น คำส่ัง
เลอ่ื นพิจารณาคดี คำสัง่ รบั ฟอ้ ง

-ศาลแขวงมีอำนาจไตส่ วนและวินิจฉัยชข้ี าดคำร้องหรือคำขอที่ยน่ื ต่อศาลในคดที ้ังปวง เช่น โจทย์
ขอเล่อื นคดเี พราะพยานป่วย ศาลแขวงก็ไตส่ วนและใหเ้ ลอื่ นได้

-ศาลแขวงมีอำนาจไต่สวนและมีคำสั่งเกี่ยวกับวิธีการเพื่อความปลอดภัย คือ กักกัน ห้ามเข้าเขต
กำหนด เรียกประกันทันฑ์บน(เกี่ยวกับทรัพย์) คุมตัวไว้ในสถานพยาบาล(บำบัด)และห้ามประกอบอาชีพ
บางอย่าง(ชอบขโมยอะไหล่ กห็ า้ มซอ่ มรถ)

-ศาลแขวงมีอำนาจไต่สวนมูลฟ้องและมีคำสั่งในคดีอาญา คำว่า ไต่สวนมูลฟ้อง คือ ศาลหาหลีก
ฐานเบื้องตน้ วา่ มมี ลู ความผิดก่อนการรับฟอ้ ง

-ศาลแขวงมอี ำนาจพิจารณาพิพากษาคดีแพ่ง ท่มี รี าคาทรัพยส์ ินท่ีพิพาทหรือจำนวนเงินที่ฟ้องหรือ
ทุนทรัพย์ไม่เกิน ๓ แสนบาท ราคาทรัพย์สินที่พิพาทหรือจำนวนเงินดังกล่าวอาจขยายได้โดยการตราเป็น
พระราชกฤษฎีกา ศาลแขวงไม่มอี ำนาจพจิ ารณาคดีแพ่งทีไ่ มม่ ที ุนทรัพย์และทนุ ทรพั ยเ์ กิน ๓ แสนบาท

สรุปง่าย ๆ คือ ศาลแขวงมีอำนาจพิจารณาคดีมีทุนทรัพย์ ถ้าเป็นคดีที่ไม่มีทุนทรัพย์ศาลแขวงไม่มี
อำนาจ และทุนทรัพย์นั้นห้ามเกิน ๓ แสนหรือ ๓ แสนบาทพอดี หากเกิน ๓ แสนบาทศาลแขวงก็ไม่มีอำนาจ
อีก

เกรด็ ความรู้

คดีมีทุนทรัพย์ คือ คดีที่มีคำขอปลดเปลื้องทุกข์อันอาจคำนวณเป็นราคาเงินได้ โจทก์ฟ้องเรียก
ทรัพย์สินอย่างใดที่ใช่ของโจทก์มาเป็นของโจทก์หรือแม้โจทก์ฟ้องเรียกทรัพย์ของโจทก์คืนก็ตาม เช่น คดี
พิพาทในเรื่องกรรมสทิ ธิ์เกี่ยวกบั อสงั ฯ หรือสังฯ คดีเรียกทรพั ยค์ นื หรือให้ใช้ราคาทรพั ย์ คดพี ิพาทตามสญั ญา
ต่าง ๆ โดยมีการเรียกร้องใหช้ ำระหนี้ เช่น สัญญากู้ยืมเงิน สัญญาจา้ งแรงงาน จ้างทำของ หรือละเมิด ถอน
คนื การให้ คดโี อนทีด่ ิน

วิธคี ำนวณทนุ ทรัพย์ ใหค้ ำนวณตามคำเรียกร้องของโจทย์ ดทู ีค่ ำขอท้ายฟอ้ ง ไม่รวมดอกเบ้ียที่ยังไม่ถึง
กำหนดในวันฟอ้ ง ดอกเบ้ยี ก่อนฟอ้ งต้องนบั ดทู นุ ทรัพย์ขณะฟ้อง แมจ้ ะฟ้องแลว้ มีราคาเพ่มิ ศาลแขวงมอี ำนาจ

ระวัง หากเปน็ คำขอมีทุนทรัพย์กบั ไม่มีทุนทรพั ย์ปนกนั มา ให้ดูคำขอหลัก เชน่ ฟ้องขบั ไลแ่ ละเรยี กค่าเสียหาย

คำขอหลกั คือ ขับไล่ ซ่ึงไมม่ ที ุนทรพั ย์ ก็ถอื ว่าไมม่ ี

คดไี ม่มที ุนทรัพย์ คอื ไมอ่ าจคำนวณเป็นราคาเงินได้ เชน่ คดพี พิ าทกันเรื่องกรรมสิทธ์ิแห่งทรัพย์สิน
หรือมิได้เรียกร้องเอาทรพั ย์คืนหรือให้ใช้ราคาทรัพย์แกต่ น แต่เป็นกรณคี ูค่ วามต้องการใหศ้ าลรับรองคุม้ ครอง
ให้ เช่น คดีที่โจทก์ขอลงชื่อในกรรมสิทธิ์ร่วมกับจำเลย คดีร้องขอแต่งตั้งผู้จัดการมรดก เพิกถอนการฉ้อฉล
โดยให้ทรพั ยก์ ลับมาเปน็ ของลกู หนม้ี ิใชข่ องตน ฟอ้ งการยมื ใช้คงรปู

-ศาลแขวงมีอำนาจพจิ ารณาพพิ ากษาคดีอาญา ซึ่งกฎหมายกำหนดอตั ราโทษอย่างสงู ไวใ้ ห้จำคุกไม่
เกิน ๓ ปี หรือปรับไม่เกิน ๖ หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ แต่จะลงโทษจำคุกเกิน ๖ เดือน หรือปรับเกิน ๑
หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ซึ่งโทษจำคุกหรือปรับอย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสองอย่างเกินอัตราที่กล่าวแล้ว
ไม่ได้

คดที ่ีขึ้นศาลแขวงไม่ได้ ต้องขึ้นทศี่ าลจังหวดั ท้ังแพ่งและอาญา
ดูอัตราโทษ ในคดีที่ฟ้อง เช่น ลักทรัพย์สามารถพิจารณาคดีได้ เพราะมีโทษจำคุกไม่เกิน ๓ ปี หรือ
ปรับไม่เกนิ ๖ หมื่นบาท แต่ถ้าเปน็ ลกั ทรัพย์ในเหตอุ ุจฉกรรจไมไ่ ด้ เพราะโทษ ๕ ปี ซ่ึงเกิน
ระวัง ต้องไมเ่ กินทง้ั ปรับและจำคกุ หากจำคกุ ๒ ปี แลว้ ปรับ ๑ แสน ก็ไม่ได้ เพราะปรับเกนิ
ระวัง ความผิดกรรมเดียวผิดกฎหมายหลายบท ให้ลงโทษบทหนกั สุด เช่น มีความผิดฐานผิดประมาท
แต่ผิดฐานหมิน่ ประมาทโดยการโฆษณา ซง่ึ หม่นิ ประมาทธรรมดาไม่เกนิ ๓ ปี หรือปรับไม่เกิน ๖ หมืน่ บาท แต่
บทที่หนักกวา่ คอื โฆษณา ปรับ ๒ แสน ทำให้คดนี ้ีไมอ่ ยใู่ นอำนาจของศาลแขวง
ระวัง ความผิดหลายกรรม หลายกระทง ให้แยกพิจารณาเรียงกระทง หากคดีใดไม่อยู่ก็รับไม่ได้ เช่น
ลกั ทรัพยแ์ ละไปทำรา้ ยเขาดว้ ย แสดงวา่ รับไดเ้ ฉพาะลกั ทรพั ย์ เพราะไมเ่ กิน ๓ ปี
มาตรา ๑๘๔ ภายใต้บังคับมาตรา ๑๙/๑ ศาลจังหวัดมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีแพ่งและ
คดอี าญาทง้ั ปวงทีม่ ไิ ด้อยู่ในอำนาจของศาลยตุ ธิ รรมอ่ืน
คดที ี่ขึ้นศาลแขวงไมไ่ ด้ ต้องขึน้ ท่ศี าลจงั หวัดท้ังแพ่งและอาญา
คดีไมม่ ที นุ ทรัพยข์ องแพ่ง ขึ้นจังหวัดอย่างเดียว แขวงไมร่ ับ
ระวัง ทุกคดีขึ้นศาลจังหวัดได้อยู่แล้ว แต่ถ้าจังหวัดใดมีศาลแขวงด้วย ให้ดูว่าอยู่ในอำนาจของ
ศาลใด หากขนึ้ แขวงไดก้ ็ไปแขวง แต่ถา้ จังหวดั ใดไมม่ แี ขวงกข็ ึน้ จงั หวดั เลย
มาตรา ๑๙๕ ศาลแพ่ง ศาลแพ่งกรุงเทพใต้ ศาลแพ่งตล่ิงชัน ศาลแพ่งธนบุรี ศาลแพ่งพระโขนง และ
ศาลแพง่ มีนบรุ ี มีอำนาจพิจารณาพพิ ากษาคดแี พ่งทั้งปวงและคดีอ่ืนใดที่มิไดอ้ ยู่ในอำนาจของศาลยุตธิ รรมอนื่

ศาลอาญา ศาลอาญากรุงเทพใต้ ศาลอาญาตลิ่งชัน ศาลอาญาธนบุรี ศาลอาญาพระโขนง และ
ศาลอาญามนี บุรี มอี ำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาท้งั ปวงท่ีมิได้อยู่ในอำนาจของศาลยุตธิ รรมอื่น รวมทั้งคดี
อน่ื ใดทม่ี ีกฎหมายบัญญตั ใิ ห้อยใู่ นอำนาจของศาลท่ีมีอำนาจพจิ ารณาพิพากษาคดอี าญา แล้วแตก่ รณี

มาตรา ๑๙/๑ บรรดาคดีท่ีเกิดขึ้นในเขตศาลแขวงและอยู่ในอำนาจของศาลแขวงนั้น ถ้ายื่นฟ้อง
ตอ่ ๑๓ ศาล คือ ศาลแพ่ง ศาลแพง่ กรงุ เทพใต้ ศาลแพ่งตล่งิ ชัน ศาลแพง่ ธนบรุ ี ศาลแพ่งพระโขนง ศาลแพ่งมีน
บุรี ศาลอาญา ศาลอาญากรุงเทพใต้ ศาลอาญาตลิ่งชนั ศาลอาญาธนบุรี ศาลอาญาพระโขนง ศาลอาญามีนบุรี
หรือศาลจังหวัด ให้อยู่ในดุลพินิจของศาลที่จะยอมรับพิจารณาคดีใดคดีหนึ่งที่ยื่นฟ้องเช่นนั้นหรือมีคำสั่งโอน
คดไี ปยงั ศาลแขวงทม่ี ีเขตอำนาจก็ได้ และไม่ว่ากรณีจะเป็นประการใดหากศาลแพง่ ศาลแพ่งกรุงเทพใต้ ศาล
แพ่งตล่งิ ชนั ศาลแพ่งธนบรุ ี ศาลแพง่ พระโขนง ศาลแพง่ มนี บรุ ี ศาลอาญา ศาลอาญากรุงเทพใต้ ศาลอาญาตล่ิง
ชัน ศาลอาญาธนบุรี ศาลอาญาพระโขนง ศาลอาญามีนบุรี หรือศาลจังหวัด ได้มีคำสั่งรับฟ้องคดีเช่นวา่ นั้นไว้
แล้ว ให้ศาลดงั กล่าวพิจารณาพพิ ากษาคดนี น้ั ตอ่ ไป

ในกรณีทข่ี ณะยนื่ ฟอ้ งคดนี นั้ เปน็ คดที ่อี ยูใ่ นอำนาจศาลแพ่ง ศาลแพง่ กรงุ เทพใต้ ศาลแพ่งตลิ่งชัน
ศาลแพ่งธนบุรี ศาลแพ่งพระโขนง ศาลแพ่งมีนบุรี ศาลอาญา ศาลอาญากรุงเทพใต้ ศาลอาญาตลิ่งชัน ศาล
อาญาธนบุรี ศาลอาญาพระโขนง ศาลอาญามีนบุรี หรือศาลจังหวัดอยู่แล้ว แม้ต่อมาจะมีพฤติการณ์
เปล่ียนแปลงไปทำให้คดีน้นั เปน็ คดีที่อยู่ในอำนาจของศาลแขวง ก็ให้ศาลดงั กล่าวพจิ ารณาพิพากษาคดีนั้น
ต่อไป จำว่า ถา้ โอนไปแขวงมันจะกลายเปน็ ไมช่ อบ เพราะมอี ำนาจอยแู่ ล้ว

ระวงั ศาลแขวงจะโอนคดีไปศาลอนื่ ไม่ได้
มาตรา ๒๐ ศาลยุติธรรมอื่นมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีตามที่พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลนั้นหรือ
กฎหมายอ่นื กำหนดไว้
มาตรา ๒๑ ศาลอทุ ธรณ์มเี ขตตลอดทอ้ งที่ท่ีมิไดอ้ ยู่ในเขตศาลอุทธรณ์ภาค

ในกรณีที่มีการยื่นอุทธรณ์คดีต่อศาลอุทธรณ์ และคดีนั้นอยู่นอกเขตของศาลอุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์
อาจใช้ดลุ พนิ ิจยอมรับไวพ้ ิจารณาพิพากษาหรือมีคำสัง่ โอนคดีนัน้ ไปยงั ศาลอุทธรณ์ภาคที่มีเขตอำนาจ

มาตรา ๒๒ ศาลอุทธรณ์และศาลอุทธรณ์ภาคมีอำนาจพิจารณาพิพากษาบรรดาคดีที่อุทธรณ์คำ
พิพากษาหรือคำสั่งของศาลช้ันตน้ ตามบทบัญญัตแิ หง่ กฎหมายว่าด้วยการอุทธรณ์ และว่าด้วยเขตอำนาจศาล
และมอี ำนาจดังตอ่ ไปน้ี

(๑) พิพากษายืนตาม แก้ไข กลับ หรือยกคำพิพากษาของศาลชั้นต้นที่พิพากษาลงโทษประหาร
ชีวิตหรือจำคุกตลอดชีวิต ในเมื่อคดีนั้นได้ส่งขึ้นมายังศาลอุทธรณ์และศาลอุทธรณ์ภาคตามที่บัญญัติไว้ใน
กฎหมายวธิ ีพิจารณาความอาญา

(๒) วินจิ ฉยั ชข้ี าดคำร้องคำขอทย่ี นื่ ต่อศาลอุทธรณห์ รือศาลอทุ ธรณ์ภาคตามกฎหมาย
(๓) วินจิ ฉัยช้ขี าดคดที ่ศี าลอทุ ธรณ์และศาลอุทธรณภ์ าคมอี ำนาจวินิจฉยั ไดต้ ามกฎหมายอ่นื
มาตรา ๒๓ ศาลฎกี ามอี ำนาจพิจารณาพิพากษาคดีท่รี ัฐธรรมนูญหรือกฎหมายบัญญัติให้เสนอต่อ
ศาลฎีกาได้โดยตรง และคดีที่อุทธรณ์หรือฎีกาคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์หรือศาล
อทุ ธรณภ์ าคตามท่ีกฎหมายบัญญตั ิ เวน้ แต่กรณีที่ศาลฎกี าเห็นว่าข้อกฎหมายหรือข้อเท็จจริงท่ีอุทธรณ์หรือฎีกา
นั้นจะไม่เป็นสาระอันควรแกก่ ารพจิ ารณา ศาลฎีกามีอำนาจไม่รบั คดีไวพ้ ิจารณาพิพากษาได้ ทั้งน้ี ตามระเบียบ
ทีท่ ่ีประชมุ ใหญศ่ าลฎกี ากำหนดโดยประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา
คดีที่ศาลฎีกาได้พิจารณาพิพากษาหรือมีคำสั่งแล้ว คู่ความไม่มีสิทธิที่จะทูลเกล้าฯ ถวายฎีกา
คดั คา้ นคดนี ้ันตอ่ ไป

หมวด ๓ องคค์ ณะผพู้ พิ ากษา

มาตรา ๒๔ ให้ผ้พู พิ ากษาคนหนึง่ มอี ำนาจดงั ตอ่ ไปนี้
(๑) ออกหมายเรยี ก หมายอาญา หรอื หมายสั่งให้ส่งคนมาจากหรือไปยังจงั หวัดอน่ื
(๒) ออกคำส่งั ใด ๆ ซงึ่ มใิ ชเ่ ปน็ ไปในทางวินจิ ฉัยช้ขี าดขอ้ พิพาทแห่งคดี

มาตรา ๒๕ ในศาลชั้นต้น ผู้พิพากษาคนเดียวเป็นองค์คณะมีอำนาจเกี่ยวแก่คดีซึ่งอยู่ในอำนาจของ
ศาลน้นั ดังตอ่ ไปนี้

(๑) ไต่สวนและวินิจฉัยชีข้ าดคำรอ้ งหรอื คำขอที่ยนื่ ต่อศาลในคดที ัง้ ปวง
(๒) ไต่สวนและมคี ำสงั่ เกย่ี วกบั วิธีการเพอ่ื ความปลอดภยั
(๓) ไตส่ วนมลู ฟอ้ งและมคี ำสัง่ ในคดอี าญา
(๔) พิจารณาพิพากษาคดีแพ่ง ซึ่งราคาทรพั ย์สนิ ท่พี ิพาทหรือจำนวนเงนิ ทฟี่ ้องไมเ่ กินสามแสนบาท
ราคาทรพั ย์สินที่พิพาทหรอื จำนวนเงนิ ดังกลา่ วอาจขยายไดโ้ ดยการตราเป็นพระราชกฤษฎีกา
(๕) พิจารณาพิพากษาคดีอาญา ซึ่งกฎหมายกำหนดอัตราโทษอย่างสูงไว้ให้จำคุกไม่เกินสามปี
หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ แต่จะลงโทษจำคุกเกินหกเดือน หรือปรับเกินหนึ่งหมื่นบาท
หรือทั้งจำทงั้ ปรบั ซึง่ โทษจำคกุ หรอื ปรับอยา่ งใดอย่างหนึง่ หรอื ทั้งสองอย่างเกินอตั ราท่ีกล่าวแลว้ ไมไ่ ด้
ผพู้ ิพากษาประจำศาลอำนาจ คอื
(๑) ออกหมายเรียก หมายอาญา หรอื หมายสัง่ ใหส้ ง่ คนมาจากหรือไปยังจงั หวัดอื่น
(๒) ออกคำสัง่ ใด ๆ ซึง่ มิใช่เป็นไปในทางวนิ ิจฉัยชข้ี าดข้อพพิ าทแห่งคดี
มาตรา ๒๕ ในศาลชั้นต้น ผู้พิพากษาคนเดียวเป็นองค์คณะมีอำนาจเกี่ยวแก่คดีซึ่งอยู่ในอำนาจของศาลนั้น
ดงั ต่อไปนี้
(๑) ไต่สวนและวินิจฉัยช้ขี าดคำรอ้ งหรอื คำขอทีย่ น่ื ตอ่ ศาลในคดีท้งั ปวง
(๒) ไตส่ วนและมีคำสัง่ เกีย่ วกบั วธิ ีการเพื่อความปลอดภัย
ผู้พพิ ากษาประจำศาลไมม่ อี ำนาจ
(๓) ไตส่ วนมูลฟ้องและมีคำส่งั ในคดีอาญา
(๔) พิจารณาพิพากษาคดีแพ่ง ซึ่งราคาทรัพย์สินที่พิพาทหรือจำนวนเงินที่ฟ้องไม่เกินสามแสนบาท
ราคาทรพั ยส์ นิ ท่ีพพิ าทหรอื จำนวนเงินดังกล่าวอาจขยายไดโ้ ดยการตราเปน็ พระราชกฤษฎีกา
(๕) พิจารณาพิพากษาคดีอาญา ซึ่งกฎหมายกำหนดอัตราโทษอย่างสูงไว้ให้จำคุกไม่เกินสามปี หรือ
ปรับไม่เกนิ หกหมน่ื บาท หรอื ทงั้ จำทง้ั ปรบั แต่จะลงโทษจำคกุ เกนิ หกเดือน หรอื ปรบั เกินหนงึ่ หม่นื บาท หรือทั้ง
จำท้งั ปรบั ซงึ่ โทษจำคกุ หรือปรับอยา่ งใดอย่างหนึ่งหรอื ท้ังสองอย่างเกินอตั ราท่ีกลา่ วแลว้ ไมไ่ ด้
มาตรา ๒๖ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๕ ในการพิจารณาพิพากษาคดีของศาลชั้นต้นนอกจากศาล
แขวงและศาลยุติธรรมอื่นซึ่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลนั้นกำหนดไว้เป็นอย่างอื่น ต้องมีผู้พิพากษาอย่างน้อย
สองคนและต้องไม่เป็นผู้พพิ ากษาประจำศาลเกินหนึง่ คน จึงเป็นองค์คณะที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีแพง่
หรือคดอี าญาทง้ั ปวง
จำวา่ ศาลแขวงมีผู้พพิ ากษาคนเดียว
ศาลชั้นต้น เช่น ศาลจังหวัด ต้องมีผู้พิพากษาอย่างน้อย ๒ คนและต้องไม่เป็นผู้พิพากษาประจำ
ศาลเกนิ ๑ คน จงึ เป็นองคค์ ณะที่มีอำนาจพจิ ารณาพิพากษาคดี

มาตรา ๒๗ ในการพิจารณาพิพากษาคดีของศาลอุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์ภาค หรือศาลฎีกา ต้องมีผู้
พิพากษาอยา่ งนอ้ ย ๓ คน จงึ เปน็ องคค์ ณะทม่ี อี ำนาจพิจารณาพิพากษาคดีได้

ผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ ผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค และผู้พิพากษาศาลฎีกา ที่เข้าประชุมใหญ่ใน
ศาลนั้นหรือในแผนกคดีของศาลดังกล่าว เมื่อได้ตรวจสำนวนคดีที่ประชุมใหญ่หรือที่ประชุมแผนกคดีแล้ว มี
อำนาจพพิ ากษาหรือทำคำสั่งคดนี ั้นได้ และเฉพาะในศาลอุทธรณ์หรือศาลอุทธรณภ์ าคมีอำนาจทำความเห็น
แยง้ ไดด้ ว้ ย

มาตรา ๒๘ ในระหวา่ งการพิจารณาคดใี ด หากมเี หตสุ ดุ วิสยั หรอื มเี หตุจำเปน็ อนื่ อันมิอาจก้าวล่วง

ได้ ทำให้ผู้พิพากษาซึ่งเป็นองค์คณะในการพิจารณาคดีนั้น ไม่อาจจะนั่งพิจารณาคดีต่อไป ให้ผู้พิพากษา
ดงั ตอ่ ไปน้ีนั่งพจิ ารณาคดี เชน่ ไตส่ วน ช้ีสองสถาน นัน้ แทนต่อไปได้

(๑) ในศาลฎกี า ได้แก่ ประธานศาลฎีกา หรือรองประธานศาลฎกี า หรือผู้พิพากษาในศาลฎกี าซ่ึง
ประธานศาลฎีกามอบหมาย กรณีพิจารณาคดีประธานสามารถมอบหมายได้ แต่ทำคำพิพากษามอบหมาย
ไม่ได้ ผู้พิพากษาที่ประธานหรือรองมอบหมายจะเป็นผู้พิพากษาอาวุโสหรือผู้พากษาประจำศาลก็ได้ เว้น
แต่องค์คณะที่เหลือจะเป็นผู้พิพากษาประจำศาลอยู่แล้ว เพราะกฎหมายห้ามว่า ห้ามมีผู้พิพากษาประจำ
ศาลเกิน ๑ คนในองคค์ ณะ อยา่ จำสบั สนกบั ประธานศาลฎีกาเลอื กผทู้ ำการแทน

(๒) ในศาลอุทธรณ์หรือศาลอุทธรณ์ภาค ได้แก่ ประธานศาลอุทธรณ์ ประธานศาลอุทธรณ์ภาค
หรือรองประธานศาลอุทธรณ์ รองประธานศาลอุทธรณ์ภาค หรือผู้พิพากษาในศาลอุทธรณ์หรือศาลอุทธรณ์
ภาคซ่งึ ประธานศาลอุทธรณ์หรอื ประธานศาลอทุ ธรณภ์ าค มอบหมาย ช้นั อทุ ธรณ์รองก็มอบหมายได้

(๓) ในศาลช้ันตน้ ไดแ้ ก่ อธิบดีผู้พพิ ากษาศาลชนั้ ต้น อธิบดีผพู้ ิพากษาภาค ผพู้ ิพากษาหวั หน้าศาล
หรือรองอธบิ ดผี ู้พพิ ากษาศาลช้ันตน้ รองอธบิ ดีผพู้ ิพากษาภาค(ไมเ่ รยี งอาวุโสด้วย กล่าวกนั เอง) หรือผู้พิพากษา
ในศาลชั้นต้นของศาลนั้น ซึ่งอธิบดีผู้พิพากษาศาลชั้นต้น อธิบดีผู้พิพากษาภาค หรือผู้พิพากษาหัวหน้าศาล
มอบหมาย

ให้ผู้ทำการแทนในตำแหน่งต่าง ๆ ตามมาตรา ๘ มาตรา ๙ และมาตรา ๑๓ มีอำนาจตามด้านบน
หัวหนา้ แผนกก็ไมไ่ ด้

มาตรา ๒๙ ในระหวา่ งการทำคำพิพากษาคดีใด หากมเี หตุสุดวิสัยหรือเหตุจำเป็นอ่ืนอันมิอาจก้าว

ล่วงได้ ทำให้ผู้พิพากษาซึ่งเป็นองค์คณะในการพิจารณาคดีนั้นไม่อาจจะทำคำพิพากษาในคดีนั้นต่อไปได้ ให้ผู้
พพิ ากษาดังต่อไปนมี้ ีอำนาจลงลายมือช่ือทำคำพิพากษา ตรวจคำพพิ ากษา และเฉพาะในศาลอุทธรณ์ ศาล
อุทธรณ์ภาค และศาลชั้นตน้ มีอำนาจทำความเหน็ แยง้ ไดด้ ้วย หลังจากไดต้ รวจสำนวนคดีนั้นแลว้

(๑) ในศาลฎกี า ได้แก่ ประธานศาลฎกี าหรือรองประธานศาลฎกี า ไมม่ อี ำนาจมอบให้คนอ่ืนทำได้
(๒) ในศาลอุทธรณ์หรือศาลอุทธรณ์ภาค ได้แก่ ประธานศาลอุทธรณ์ ประธานศาลอุทธรณ์ภาค
รองประธานศาลอุทธรณ์ หรือรองประธานศาลอทุ ธรณ์ภาค แล้วแตก่ รณี
(๓)๒ ในศาลชน้ั ต้น ได้แก่ อธบิ ดีผ้พู ิพากษาศาลช้นั ต้น อธบิ ดผี ้พู พิ ากษาภาค รองอธิบดีผู้พิพากษา
ศาลชนั้ ต้น รองอธบิ ดีผพู้ พิ ากษาภาค หรอื ผู้พพิ ากษาหวั หน้าศาล แล้วแตก่ รณี
ให้ผทู้ ำการแทนในตำแหน่งต่าง ๆ ตามมาตรา ๘ มาตรา ๙ และมาตรา ๑๓ มีอำนาจตาม (๑) (๒)
และ (๓) ด้วย
คำวา่ ทำคำพพิ ากษา คอื ตรวจสำนวน ลงลายมอื ชื่อทำคำพพิ ากษา

คำว่า ระหว่างทำคำพิพากษา คือ นับแต่เสร็จการพิจารณา จนถึงผูพ้ ิพากษาปรึกษากันเพื่อทำคำ
พิพากษา ลงลายมอื ช่อื ในร่างดว้ ย เพือ่ อา่ นใหค้ คู่ วามฟัง

มาตรา ๓๐ เหตุจำเป็นอ่นื อันมิอาจกา้ วล่วงได้ หมายถงึ กรณที ีผ่ ูพ้ ิพากษาทเี่ ป็นองคค์ ณะน่ังพิจารณา
คดีนั้นพ้นจากตำแหน่งที่ดำรงอยู่หรือถูกคัดค้านและถอนตัวไป หรือไม่อาจปฏิบัติราชการจนไม่สามารถน่ัง
พจิ ารณาหรอื ทำคำพิพากษาในคดนี ้นั ได้

มาตรา ๓๑ เหตุจำเป็นอื่นอันมิอาจก้าวล่วงได้ นอกจากท่ีองค์คณะนั่งพิจารณาคดีนั้นพ้นจาก
ตำแหน่งที่ดำรงอยู่หรอื ถกู คัดคา้ นและถอนตัวไป หรอื ไม่อาจปฏิบัติราชการจนไมส่ ามารถนง่ั พิจารณาหรือทำคำ
พิพากษาในคดีนน้ั ได้

ใหห้ มายความรวมถงึ กรณีดงั ต่อไปนด้ี ว้ ย
(๑) กรณีที่ผู้พพิ ากษาคนเดยี วไต่สวนมูลฟ้องคดีอาญาแล้วเหน็ ว่าควรพิพากษายกฟ้อง แต่คดีนั้นมี

อัตราโทษตามท่ีกฎหมายกำหนดเกินกว่าอตั ราโทษ จำคกุ ไมเ่ กิน ๓ ปี หรือปรบั ไม่เกิน ๖ หมน่ื บาท ถ้ารับฟ้อง
ไม่มีปัญหาเพราะไม่ได้ชี้ขาดคดีผู้พิพากษาคนเดียวทำได้ ถ้ายกฟ้องประธาน รองต้องมา กรณีนี้ประธาน
รองมอบหมายไม่ได้

(๒) กรณีที่ผู้พิพากษาคนเดียวพิจารณาคดีอาญา เห็นว่าควรพิพากษาลงโทษจำคุกเกิน ๖ เดือน
หรอื ปรบั เกนิ ๑ หม่ืนบาท หรือทง้ั จำท้งั ปรับ ซึง่ โทษจำคุกหรือปรับนั้นอย่างใดอย่างหน่ึง หรือท้ังสองอย่างเกิน
อตั ราดังกลา่ ว

ระวัง ถา้ หลายกระทง ต้องแยกกระทง ไม่มกี ระทงไหนเกนิ ก็ทำได้ แมจ้ ะรวมแล้วเกินกไ็ ม่เป็นไร
(๓) กรณีที่คำพิพากษาหรือคำสั่งคดีแพ่งเรื่องใดของศาลนั้นจะต้องกระทำโดยองค์คณะซึ่ง

ประกอบด้วยผู้พิพากษาหลายคน และผู้พิพากษาในองค์คณะนั้นมีความเห็นแย้งกันจนหาเสียงข้างมากมิได้
อาญาใชไ้ มไ่ ด้

(๔) กรณที ผี่ พู้ พิ ากษาคนเดียวพิจารณาคดีแพ่งท่ีหา้ มเกิน ๓ แสน ต่อมาปรากฏว่าราคาทรัพย์สินท่ี
พพิ าทหรอื จำนวนเงินที่ฟ้องเกนิ กวา่ อำนาจพิจารณาพิพากษาของผพู้ ิพากษาคนเดียว คอื เกนิ สามแสนบาท

หมวด ๔ การจา่ ย การโอน และการเรยี กคนื สำนวนคดี

มาตรา ๓๒ ให้ประธานศาลฎีกา ประธานศาลอุทธรณ์ ประธานศาลอุทธรณ์ภาค อธิบดีผู้พิพากษา
ศาลชั้นต้น ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล หรือผู้พิพากษาหัวหน้าแผนกคดีในแต่ละศาล แล้วแต่กรณี รับผิดชอบใน
การจ่ายสำนวนคดีให้แก่องค์คณะผู้พิพากษาในศาลหรือในแผนกคดีนั้น โดยให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และ
วิธีการท่กี ำหนดโดยระเบยี บราชการฝ่ายตุลาการของศาลยุตธิ รรม

การออกระเบียบราชการฝ่ายตุลาการของศาลยุติธรรมตามวรรคหนึ่ง ให้คำนึงถึงความเชี่ยวชาญ
และความเหมาะสมขององค์คณะผู้พิพากษาที่จะรับผิดชอบสำนวนคดีนั้น รวมทั้งปริมาณคดีที่องค์คณะผู้
พพิ ากษาแตล่ ะองคค์ ณะรับผิดชอบ

มาตรา ๓๓ การเรียกคืนสำนวนคดีหรือการโอนสำนวนคดีท่ีอยู่ในความรับผิดชอบขององค์คณะผู้
พิพากษาใด ประธานศาลฎีกา ประธานศาลอุทธรณ์ ประธานศาลอุทธรณ์ภาค อธิบดีผู้พิพากษาศาลชั้นต้น
หรือผู้พิพากษาหัวหน้าศาล จะกระทำได้ต่อเมื่อเป็นกรณีที่จะกระทบกระเทือนต่อความยุติธรรมในการ
พจิ ารณาหรอื พพิ ากษาอรรถคดีของศาลนั้น

และรองประธานศาลฎีกา รองประธานศาลอุทธรณ์ รองประธานศาลอุทธรณ์ภาค รองอธิบดีผู้
พิพากษาศาลช้นั ต้น หรือผู้พิพากษาในศาลจังหวัดหรือศาลแขวง ที่มีอาวโุ สสงู สดุ ในศาลน้นั แลว้ แต่กรณี ท่ีมิได้
เป็นองคค์ ณะในสำนวนคดีดังกลา่ วได้เสนอความเห็นใหก้ ระทำได้

ในกรณีที่รองประธานศาลฎีกา รองประธานศาลอุทธรณ์ รองประธานศาลอุทธรณ์ภาค รองอธิบดี
ผู้พิพากษาศาลชั้นต้น หรือผู้พิพากษาในศาลจังหวัดหรือศาลแขวง ที่มีอาวุโสสูงสุดในศาลนั้น แล้วแต่กรณี ไม่
อาจปฏบิ ัติราชการได้ หรือไดเ้ ขา้ เปน็ องค์คณะในสำนวนคดีที่เรียกคืนหรือโอนนน้ั ให้รองประธานศาลฎกี า รอง
ประธานศาลอุทธรณ์ รองประธานศาลอุทธรณภ์ าค รองอธิบดีผู้พิพากษาศาลชน้ั ต้น หรือผูพ้ ิพากษา ท่ีมีอาวุโส
ถัดลงมาตามลำดับในศาลนั้น เป็นผู้มีอำนาจในการเสนอความเห็นแทน ในกรณีที่รองประธานศาลฎีกา รอง
ประธานศาลอุทธรณ์ รองประธานศาลอุทธรณ์ภาค รองอธิบดีผู้พิพากษาศาลชั้นต้น มีหนึ่งคน หรือมีหลายคน
แตไ่ มอ่ าจปฏิบัติราชการได้หรอื ไดเ้ ข้าเป็นองค์คณะในสำนวนคดที ี่เรียกคืนหรือโอนนัน้ ทง้ั หมด ใหผ้ ้พู พิ ากษาท่ีมี
อาวโุ สสงู สุดของศาลนน้ั เปน็ ผมู้ ีอำนาจในการเสนอความเห็น

ผู้พิพากษาอาวุโสหรือผู้พิพากษาประจำศาลไม่มีอำนาจในการเสนอความเห็นตามวรรคหนึ่งหรือ
วรรคสอง

ในกรณีที่ผู้พิพากษาเจ้าของสำนวนหรือองค์คณะผู้พิพากษามีคดีค้างการพิจารณาอยู่เป็นจำนวน
มากซึ่งจะทำให้การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลนั้นล่าช้า และผู้พิพากษาเจ้าของสำนวนหรือองค์คณะผู้
พิพากษาน้ันขอคืนสำนวนคดีที่ตนรับผิดชอบอยู่ ให้ประธานศาลฎีกา ประธานศาลอุทธรณ์ ประธานศาล
อุทธรณ์ภาค อธิบดีผู้พิพากษาศาลชั้นต้น หรือผู้พิพากษาหัวหน้าศาล แล้วแต่กรณี มีอำนาจรับคืนสำนวนคดี
ดังกล่าว และโอนให้ผพู้ ิพากษาหรือองคค์ ณะผู้พพิ ากษาอ่ืนในศาลนน้ั รบั ผดิ ชอบแทนได้

ชดุ ท่ี ๔ กฎหมายรัฐธรรมนูญ
…………………………………………………………………………………………………………..

หมวด ๑ บททว่ั ไป

มาตรา ๑ ประเทศไทยเป็นราชอาณาจกั รอันหน่ึงอันเดียว จะแบ่งแยกมิได้
มาตรา ๒ ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
มาตรา ๓ อำนาจอธปิ ไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข ใชอ้ ำนาจ
ผา่ นทางรัฐสภา คณะรฐั มนตรี และศาล

รัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล องค์กรอิสระ และหน่วยงานของรัฐ ต้องปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตาม
รัฐธรรมนูญ กฎหมาย และหลักนิตธิ รรม

มาตรา ๔ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลย่อมได้รับความ
คมุ้ ครอง ปวงชนชาวไทยย่อมไดร้ บั ความคมุ้ ครองตามรัฐธรรมนญู เสมอกนั

มาตรา ๕ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใดขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ จะ
บงั คับใชบ้ ังคับมิได้

คำวา่ หลกั การเปน็ กฎหมายสงู สุดของรฐั ธรรมนูญ คอื ไมม่ ขี อ้ บังคับใดเลยจะขัดกับรฐั ธรรมนญู ได้
เมอื่ ไมม่ ีบทบัญญตั ิแห่งรัฐธรรมนูญนี้บงั คับแก่กรณใี ด ให้กระทำการน้ันหรือวินิจฉัยกรณีนั้นไป

ตามประเพณกี ารปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ
รฐั ธรรมนูญ ๒ มาตรา คือ
มาตรา ๑ ประเทศไทยเปน็ ราชอาณาจกั รอนั หนง่ึ อนั เดียว จะแบง่ แยกมไิ ด้(รปู แบบรฐั )และ
มาตรา ๒ ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

จะไม่สามารถแกไ้ ขได้ ทง้ั ๒๐ ฉบบั มเี หมอื นกัน

หมวด ๒ พระมหากษตั ริย์

มาตรา ๖ กษตั รยิ ท์ รงดำรงอยใู่ นฐานะอันเปน็ ท่เี คารพสกั การะ ผใู้ ดจะละเมิดมิได้
มาตรา ๗ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพุทธมามกะ และทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภก ไม่มีการกำหนดให้
พทุ ธเป็นศาสนาประจำชาติ
มาตรา ๘ พระมหากษัตริยท์ รงดำรงตำแหน่งจอมทพั ไทย
มาตรา ๙ กษัตริย์มีอำนาจที่จะสถาปนาและถอดถอนฐานันดรศักดิ์และพระราชทานและเรียกคืน
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
มาตรา ๑๐ กษัตริย์แต่งตั้งประธานองคมนตรี ๑ คน และองคมนตรีอื่นไม่เกิน ๑๘ คน รวมคณะ
องคมนตรีมี ๑๙ คน
หน้าที่ของคณะองคมนตรี คือ เปน็ ท่ีปรกึ ษา ถวายความเห็นต่อกษัตริยใ์ นการประกอบพระราชกรณีย
กจิ และหน้าท่ีอน่ื ตามทบ่ี ญั ญัตไิ วใ้ นรฐั ธรรมนูญ
มาตรา ๑๑ การเลอื กและแต่งต้ังองคมนตรีหรือการให้องคมนตรีพน้ จากตำแหน่ง ใหเ้ ป็นไปตามพระ
ราชอธั ยาศยั

ประธานรฐั สภา เปน็ ผลู้ งนามรบั สนองพระบรมราชโองการ แตง่ ต้งั ประธานองคมนตรีหรือใหป้ ระธาน
องคมนตรีพน้ จากตำแหน่ง

ประธานองคมนตรีเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งองคมนตรีอื่นหรือให้องคมนตรี
อ่นื พน้ จากตำแหน่ง

มาตรา ๑๒ องคมนตรีต้องไม่เป็น สส สว หรือดำรงตำแหน่งทางการเมืองอื่น เช่น ตุลาการศาล
รัฐธรรมนูญ ผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระ พนักงานรัฐวิสาหกิจ เจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ หรือสมาชิกหรือ
เจ้าหน้าที่ของพรรคการเมือง หรือข้าราชการ เว้นแต่การเป็นข้าราชการในพระองค์ในตำแหน่งองคมนตรี
และต้องไม่แสดงการฝักใฝใ่ นพรรคการเมอื งใด ๆ

มาตรา ๑๓ กอ่ นเขา้ รับหน้าท่ี องคมนตรีต้องถวายสตั ยป์ ฏิญาณตอ่ กษตั ริย์ด้วยถ้อยคำ ดงั ตอ่ ไปน้ี
“ข้าพระพุทธเจ้า (ชื่อผู้ปฏิญาณ) ขอถวายสัตย์ปฏิญาณว่า ข้าพระพุทธเจ้าจะจงรักภักดีต่อ

พระมหากษัตริย์ และจะปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจรติ เพื่อประโยชน์ของประเทศและประชาชน ทั้งจะ
รกั ษาไวแ้ ละปฏิบัตติ ามซึง่ รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทยทุกประการ”

มาตรา ๑๔ องคมนตรีพ้นจากตำแหน่งเมื่อตาย ลาออก หรือมีพระบรมราชโองการให้พ้นจาก
ตำแหนง่

สรุปองคม์ นตรี

กษตั รยิ ์แต่งตงั้ คณะองคมนตรี ๑๙ คน ประกอบด้วยประธานองคมนตรี ๑ คน และ องคมนตรีอ่ืนอีก
๑๘ คน

หนา้ ทอี่ งคมนตรี คือ ให้คำปรึกษาในการทำงานของกษตั ริย์
ประธานรัฐสภา เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ แต่งตั้งประธานองคมนตรีหรือให้
ประธานองคมนตรพี ้นจากตำแหน่ง
ประธานองคมนตรีเปน็ ผลู้ งนามรบั สนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งองคมนตรีอ่ืนหรือให้องคมนตรี
อ่นื พน้ จากตำแหนง่
องคมนตรีจะเป็นข้าราชการในพระองค์ในตำแหน่งองคมนตรี ก็ได้ แต่ห้ามเป็น สส สว ตุลาการศาล
รัฐธรรมนูญ ผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระ พนักงานรัฐวิสาหกิจ เจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ หรือสมาชิกหรือ
เจา้ หน้าทข่ี องพรรคการเมือง หรือขา้ ราชการ

มาตรา ๑๕ การแต่งตั้งและการให้ข้าราชการในพระองค์พ้นจากตำแหน่ง การจัดระเบียบราชการ
และการบริหารงานบุคคลของราชการในพระองค์ ให้เป็นไปตามพระราชอัธยาศัยตามที่บัญญัติไว้ในพระราช
กฤษฎีกา

มาตรา ๑๖ เมื่อกษัตริยไ์ ม่ได้ประทับอยู่ในไทย หรือบริหารพระราชภาระไม่ได้ จะทรงแต่งตัง้ บุคคล
คนหนึ่งหรือหลายคนเป็นคณะขึ้น ให้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์หรือไม่ก็ได้ และในกรณีที่เมื่อแต่งต้ัง
ผสู้ ำเร็จราชการแทนพระองค์ ใหป้ ระธานรฐั สภาเป็นผลู้ งนามรับสนองพระบรมราชโองการ

มาตรา ๑๗ กรณที กี่ ษตั รยิ ์ไม่ไดท้ รงแต่งตงั้ ผู้สำเรจ็ ราชการแทนพระองค์ หรือกรณกี ษตั ริย์ไม่สามารถ
ทรงแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์เพราะยังไม่ทรงบรรลุนิติภาวะหรือเพราะเหตุอื่น แต่ต่อมาคณะ

องคมนตรีพิจารณาเห็นว่าจำเป็นท่ีควรแต่งตั้งผู้สำเรจ็ ราชการและให้ทรงแต่งตัง้ ไมท่ ัน ให้คณะองคมนตรีเสนอ
ช่อื บุคคลคนหนงึ่ หรอื หลายคนเป็นคณะ ตามลำดับทีโ่ ปรดเกลา้ โปรดกระหม่อมกำหนดไวก้ อ่ นแล้ว

ให้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ แล้วแจ้งประธานรัฐสภาเพื่อประกาศในพระปรมาภิไธย
พระมหากษัตริย์ แตง่ ต้ังผนู้ ัน้ ข้นึ เป็นผู้สำเรจ็ ราชการแทนพระองค์

มาตรา ๑๘ ในระหวา่ งท่ไี ม่มผี สู้ ำเร็จราชการแทนพระองค์ ให้ประธานองคมนตรีเปน็ ผู้สำเร็จราชการ
แทนพระองคเ์ ปน็ การชวั่ คราวไปพลางกอ่ น

กรณที ่ีผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ไมส่ ามารถปฏบิ ัติหน้าทีไ่ ด้ ให้ประธานองคมนตรีทำหนา้ ที่ผสู้ ำเร็จ
ราชการแทนพระองค์เปน็ การช่วั คราวไปพลางก่อน

เมื่อประธานองคมนตรีเป็นผูส้ ำเร็จราชการแทนช่ัวคราวในกรณี ที่ผู้สำเร็จราชการแทนทำหน้าที่ไม่ได้
หรือประธานองคมนตรีทำหน้าท่ีผสู้ ำเรจ็ ราชการแทนพระองค์กรณีไม่ได้แต่งต้ังผู้สำเรจ็ ราชการแทนพระองค์ไว้
ประธานองคมนตรีจะปฏิบัติหน้าที่ในฐานะเป็นประธานองคมนตรีไม่ได้ ให้คณะองคมนตรีเลือกองคมนตรีคน
หน่งึ ขน้ึ ทำหนา้ ท่ปี ระธานองคมนตรเี ป็นการชวั่ คราวไปพลางก่อน

มาตรา ๑๙ กอ่ นเข้ารบั หน้าที่ ผู้สำเรจ็ ราชการแทนพระองค์ซ่ึงได้รับการแต่งต้ัง ต้องปฏิญาณตนในท่ี
ประชุมรัฐสภาดว้ ยถอ้ ยคำ ดงั ต่อไปนี้

“ข้าพเจ้า (ชื่อผู้ปฏิญาณ) ขอปฏิญาณว่า ข้าพเจ้าจะจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ (พระ
ปรมาภิไธย) และจะปฏบิ ัตหิ นา้ ทีด่ ้วยความซอ่ื สัตย์สจุ รติ เพือ่ ประโยชน์ของประเทศและประชาชน ท้ังจะรักษา
ไวแ้ ละปฏิบัติตามซ่งึ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทกุ ประการ”

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองคซ์ ง่ึ เคยไดร้ ับการแต่งตั้งและปฏญิ าณตนมาแล้ว ไมต่ อ้ งปฏิญาณตนอกี

สรุปการแตง่ ตงั้ ผสู้ ำเรจ็ ราชการแทนพระองค์
กรณีที่ ๑ จะแต่งต้งั หรอื ไม่แต่งตง้ั ผูส้ ำเรจ็ ราชการแทนพระองค์กไ็ ด้

ใชใ้ นกรณีทกี่ ษัตรยิ ์ไมอ่ ยู่ หรอื ไม่สามารถปฏบิ ัตภิ ารกิจได้ หรอื แต่งตง้ั ไมไ่ ด้เพราะยังไมท่ รงบรรลนุ ิติภาวะหรือเพราะ
เหตอุ ่นื แต่จะทรงแตง่ ต้ังหรอื ไมก่ ไ็ ด้

ผสู้ ำเรจ็ ราชการแทนพระองค์จะเปน็ บุคคลหรือคณะก็ได้
แตง่ ตัง้ ผสู้ ำเร็จราชการแทนพระองค์ ให้ประธานรัฐสภาเปน็ ผู้ลงนามรบั สนองพระบรมราชโองการ
กรณที ี่ ๒ องคมนตรเี หน็ ควรว่าจะต้องมีผู้สำเรจ็ ราชการแทนพระองค์
คณะองคมนตรีเสนอช่อื ผจู้ ะเป็นผูส้ ำเร็จราชการแทนพระองค์ ตามลำดับทโี่ ปรดเกล้าโปรดกระหม่อมกำหนดไว้ก่อน
แลว้ ใหเ้ ป็นผสู้ ำเรจ็ ราชการแทนพระองค์ แล้วแจง้ ประธานรัฐสภาเพ่อื ประกาศในพระปรมาภไิ ธยพระมหากษตั ริย์ แตง่ ตั้งผู้น้ัน
ขึน้ เป็นผสู้ ำเร็จราชการแทนพระองค์
กรณีท่ี ๓ ประธานองคมนตรเี ป็นผสู้ ำเรจ็ ราชการแทนพระองคเ์ ป็นการชั่วคราวไปพลางก่อน
เพราะวา่ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ทพี่ ระองค์แต่งต้ังขน้ึ หรือ ตั้งตามคำแนะนำองคมนตรีปฎบิ ัติหน้าที่ไม่ได้
กรณีที่ ๔ ไม่มีผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ให้ประธานองคมนตรีเป็นเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์เป็นการชั่วคราว
ไปพลางกอ่ น
เมื่อประธานองคมนตรีเป็นผู้สำเร็จราชการแทนชั่วคราว ประธานองคมนตรีจะปฏิบัติหน้าที่ในฐานะเป็นประธาน
องคมนตรีไมไ่ ด้ ให้คณะองคมนตรีเลอื กองคมนตรคี นหน่งึ ข้ึนทำหน้าทปี่ ระธานองคมนตรเี ป็นการชัว่ คราวไปพลางกอ่ น
ก่อนเข้ารับหน้าที่ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ที่ได้รับแต่งตั้ง ต้องปฏิญาณตนในที่ประชุมรัฐสภา ผู้สำเร็จราชการ
แทนพระองค์ซึ่งเคยได้รับการแต่งตัง้ และปฏญิ าณตนมาแล้ว ไม่ตอ้ งปฏญิ าณตนอีก

มาตรา ๒๐ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๑ การสืบราชสมบัตใิ ห้เป็นไปโดยนัยแห่งกฎมณเฑียรบาลว่าดว้ ย
การสบื ราชสันตตวิ งศ์ พระพทุ ธศกั ราช ๒๔๖๗

การแก้ไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช ๒๔๖๗ เป็น
พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์โดยเฉพาะ เมื่อมีพระราชดำริประการใด ให้คณะองคมนตรีจัดทำร่างกฎ
มณเฑียรบาลแก้ไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลเดิมขึ้นทูลเกล้าเพื่อมีพระราชวินิจฉัย เมื่อทรงเห็นชอบและทรง
ลงพระปรมาภิไธยแล้ว ให้ประธานองคมนตรีดำเนินการแจ้งประธานรัฐสภาเพื่อให้ประธานรัฐสภาแจ้งให้
รัฐสภาทราบ และให้ประธานรัฐสภาลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และเม่ือได้ประกาศในราชกิจจา
นเุ บกษาแลว้ ใหใ้ ชบ้ ังคบั เป็นกฎหมายได้

มาตรา ๒๑ หากกษัตริย์วา่ งลง
กรณีที่ ๑ กษัตริย์ทรงแต่งตั้งพระรัชทายาทไว้ ตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์
พระพุทธศักราช ๒๔๖๗ แล้ว ให้คณะรัฐมนตรีแจ้งให้ประธานรัฐสภาทราบ และให้ประธานรัฐสภาเรียก
ประชุมรัฐสภาเพือ่ รบั ทราบ และให้ประธานรัฐสภาอัญเชญิ องคพ์ ระรชั ทายาทข้นึ ทรงราชย์เปน็ พระมหากษัตริย์
สืบไป แลว้ ให้ประธานรฐั สภาประกาศใหป้ ระชาชนทราบ
กรณีที่ ๒ กษตั ริยไ์ ม่ได้ทรงแต่งตงั้ พระรัชทายาทไว้ ให้คณะองคมนตรีเสนอพระนามผู้สบื ราชสนั ตติ
วงศ์ ต่อคณะรัฐมนตรี เพ่ือเสนอต่อรัฐสภาเพื่อรัฐสภาให้ความเห็นชอบ ในการนี้ จะเสนอพระนามพระราช
ธิดาก็ได้ เมื่อรัฐสภาให้ความเห็นชอบแล้ว ให้ประธานรัฐสภาอัญเชิญองค์ผู้สืบราชสันตติวงศ์ขึ้นทรงราชย์เป็น
พระมหากษัตรยิ ์สบื ไปแล้วใหป้ ระธานรัฐสภาประกาศให้ประชาชนทราบ
มาตรา ๒๒ ในระหว่างที่ยังไม่มีประกาศอัญเชิญองค์พระรัชทายาทหรือองค์ผู้สืบราชสันตติวงศ์ข้ึน
ทรงราชย์เป็นพระมหากษตั รยิ ์ตามมาตรา ๒๑ ให้ประธานองคมนตรีเป็นผสู้ ำเร็จราชการแทนพระองค์เป็นการ
ชวั่ คราวไปพลางก่อน แตใ่ นกรณีที่ราชบัลลังก์หากวา่ งลงในระหว่างทไ่ี ด้แต่งต้ังผ้สู ำเรจ็ ราชการแทนพระองค์ไว้
หรอื ระหว่างเวลาทป่ี ระธานองคมนตรีเป็นผสู้ ำเร็จราชการแทนพระองค์ ให้ผู้สำเรจ็ ราชการแทนพระองค์นั้น ๆ
แล้วแต่กรณี เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ต่อไป จนกว่าจะได้ประกาศอัญเชิญองค์พระรัชทายาทหรือองค์
ผูส้ บื ราชสันตติวงศ์ขนึ้ ทรงราชยเ์ ป็นพระมหากษตั รยิ ์

ในกรณีที่ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ท่ีได้รับการแต่งตั้งไว้และเป็นผู้สำเรจ็ ราชการแทนพระองค์
ไมส่ ามารถปฏบิ ัติหนา้ ทีไ่ ด้ ให้ประธานองคมนตรีทำหน้าท่ผี ้สู ำเร็จราชการแทนพระองคเ์ ป็นการช่ัวคราว

มาตรา ๒๔ การถวายสัตย์ปฏิญาณต่อกษัตริย์ กษัตริย์จะโปรดเกล้าให้กระทำต่อพระ
รชั ทายาทซ่งึ ทรงบรรลนุ ติ ิภาวะแลว้ หรอื ตอ่ ผแู้ ทนพระองคก์ ็ได้

ในระหวา่ งที่ยังไม่ได้ถวายสตั ย์ปฏญิ าณ จะโปรดเกล้าให้ผู้ที่ต้องถวายสัตยป์ ฏิญาณปฏิบัติหน้าท่ีไป
พลางกอ่ นก็ได้

หมวด ๓ สทิ ธแิ ละเสรภี าพของปวงชนชาวไทย

มาตรา ๒๕ สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย นอกจากที่บัญญัติคุ้มครองไว้ในรัฐธรรมนูญแล้ว
การใดทไี่ ม่ได้ห้ามหรือจำกดั ไว้ในรฐั ธรรมนูญหรือในกฎหมายอ่ืน บุคคลย่อมมีสทิ ธแิ ละเสรีภาพท่จี ะทำการน้ัน
ไดแ้ ละได้รบั ความคุ้มครองตามรัฐธรรมนญู โดยไมก่ ระทบกระเทือนหรือเป็นอันตรายต่อความมั่นคงของรัฐ
ความสงบเรยี บร้อยหรอื ศีลธรรมอนั ดีของประชาชน และไม่ละเมิดสทิ ธิหรือเสรภี าพของบคุ คลอนื่

เสรีภาพบริบูรณม์ อี ย่างเดียว คอื การนบั ถอื ศาสนา
มาตรา ๒๖ การตรากฎหมายของรัฐสภาท่ีมีผลเป็นการจำกัดสิทธิหรือเสรภี าพของบุคคล ต้องไม่
ขัดต่อหลักนิติธรรม ไม่เพิ่มภาระหรือจำกัดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลเกินสมควร และไม่กระทบต่อศักดิ์ศรี
ความเป็นมนุษย์ของบุคคล และต้องระบุเหตุผลความจำเป็นในการจำกัดสิทธิและเสรีภาพไว้ด้วย ต้องมีผลใช้
บงั คับเป็นการทัว่ ไป ไม่ม่งุ หมายให้ใชบ้ ังคับแกก่ รณีใดกรณหี นง่ึ หรอื แกบ่ คุ คลใดบุคคลหนึ่งเปน็ การเจาะจง
มาตรา ๒๗ บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมาย มีสิทธิและเสรีภาพและได้รับความคุ้มครองตาม
กฎหมายเทา่ เทยี มกัน ชายและหญิงมีสิทธเิ ทา่ เทยี มกัน

การเลือกปฏบิ ัติโดยไม่เปน็ ธรรมต่อบุคคล ไม่ว่าในเร่ืองถิ่นกำเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความ
พิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเชื่อทางศาสนา
การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมืองอันไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ หรือเหตุอื่นใด จะ
กระทำไม่ได้

มาตรการที่รัฐกำหนดขึ้นเพื่อขจัดอุปสรรคหรือส่งเสริมให้บุคคลสามารถใ ช้สิทธิหรือเสรีภาพได้
เช่นเดียวกับบุคคลอื่น หรือเพื่อคุ้มครองหรืออำนวยความสะดวกให้แก่เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ หรือ
ผดู้ อ้ ยโอกาส ไม่ถือวา่ เปน็ การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม

บุคคลผู้เป็นทหาร ตำรวจ ข้าราชการ เจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ และพนักงานหรือลูกจ้างขององค์กร
ของรัฐมีสิทธิและเสรีภาพเช่นเดียวกับบุคคลทั่วไป เว้นแต่ที่จำกัดไว้ในกฎหมายเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับ
การเมอื ง สมรรถภาพ วินยั หรอื จริยธรรม

ใช้ระบบไตส่ วน
มาตรา ๒๘ บคุ คลย่อมมสี ิทธิและเสรีภาพในชวี ิตและร่างกาย การจบั และการคุมขงั บุคคลจะกระทำ
มิได้ เว้นแต่มีคำสั่งหรือหมายของศาลหรือมีเหตุอย่างอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ การค้นตัวบุคคลหรือการ
กระทำใดอันกระทบกระเทือนต่อสิทธิหรือเสรีภาพในชีวิตหรือร่างกายจะกระทำมิได้ เว้นแต่มีเหตุต ามท่ี
กฎหมายบัญญัติ การทรมาน ทารุณกรรม หรือการลงโทษดว้ ยวิธีการโหดร้ายหรือไรม้ นุษยธรรมจะกระทำมิได้
มาตรา ๒๙ บุคคลไม่ต้องรับโทษอาญา เว้นแต่มีกฎหมายที่บัญญัติเป็นความผิดและกำหนดโทษไว้
และโทษที่จะลงแก่บคุ คลนนั้ จะหนักกวา่ โทษทบ่ี ญั ญัตไิ วใ้ นกฎหมายทใี่ ช้อยใู่ นเวลาทก่ี ระทำความผดิ มิได้
ในคดีอาญา ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้ต้องหาหรือจำเลยไม่มีความผิด และก่อนมีคำพิพากษาอันถึง
ที่สุดแสดงว่าบุคคลใดได้กระทำความผิด จะปฏิบัติต่อบุคคลนั้นเสมือนเป็นผู้กระทำความผิดมิได้ การควบคุม
หรือคุมขงั ผู้ตอ้ งหาหรือจำเลยให้กระทำได้เพยี งเท่าทีจ่ ำเปน็ เพอื่ ปอ้ งกันมิใหม้ ีการหลบหนี

ในคดีอาญา จะบังคบั ให้บุคคลให้การเป็นปฏปิ ักษต์ อ่ ตนเองมิได้
คำขอประกันผู้ต้องหาหรือจำเลยในคดีอาญาต้องได้รับการพิจารณาและจะเรียกหลักประกันจนเกิน
ควรแกก่ รณีมิได้ การไมใ่ ห้ประกนั ต้องเป็นไปตามท่ีกฎหมายบัญญัติ กฎหมายต้องประกาศในราชกิจนุเบกษา
จงึ จะใชไ้ ด้
มาตรา ๓๐ การเกณฑ์แรงงานจะกระทำมิได้ เว้นแต่เพื่อป้องกันภัยพิบัติสาธารณะ มีการประกาศ
สถานการณ์ฉกุ เฉนิ ประกาศใช้กฎอัยการศึก ระหว่างเวลาทปี่ ระเทศอยู่ในภาวะสงครามหรือการรบ
มาตรา ๓๑ บุคคลย่อมมีเสรีภาพบริบูรณ์ ในการถือศาสนาและย่อมมีเสรีภาพในการปฏิบัติหรือ
ประกอบพิธีกรรมตามหลักศาสนาของตน แต่ต้องไม่เป็นปฏิปักษ์ต่อหน้าที่ของปวงชนชาวไทย ไม่เป็น
อันตรายต่อความปลอดภัยของรัฐ และไมข่ ดั ตอ่ ความสงบเรยี บรอ้ ยหรอื ศลี ธรรมอันดีของประชาชน
มาตรา ๓๒ บคุ คลย่อมมสี ทิ ธใิ นความเปน็ อยสู่ ว่ นตัว เกยี รติยศ ชื่อเสียง และครอบครวั
การกระทำอันเป็นการละเมิดหรือกระทบต่อสิทธิของบุคคล หรือการนำข้อมูลส่วนบุคคลไปใช้
ประโยชน์ไม่ว่าในทางใด ๆ จะกระทำมิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่ตราขึ้นเพียง
เทา่ ทีจ่ ำเป็นเพือ่ ประโยชน์สาธารณะ
มาตรา ๓๓ บุคคลยอ่ มมีเสรภี าพในเคหสถาน

การเข้าไปในเคหสถานโดยปราศจากความยินยอมของผู้ครอบครอง หรือการค้นเคหสถานหรือที่
รโหฐานจะกระทำมิได้ เว้นแต่มีคำสง่ั หรือหมายของศาลหรอื มเี หตุอย่างอ่นื ตามทกี่ ฎหมายบัญญตั ิ

มาตรา ๓๔ บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การพูด การเขียน การพิมพ์ การโฆษณา
และการสอื่ ความหมายโดยวิธีอ่ืน การจำกดั เสรีภาพดังกล่าวจะกระทำมิได้ เว้นแต่อาศัยอำนาจกฎหมายที่ตรา
ขึ้นเฉพาะเพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐ เพื่อคุ้มครองสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลอื่น เพื่อรักษาความสงบ
เรยี บรอ้ ยหรือศีลธรรมอันดขี องประชาชน หรือเพอ่ื ปอ้ งกันสุขภาพของประชาชน

เสรีภาพทางวิชาการย่อมได้รบั ความคุ้มครอง แต่การใชเ้ สรภี าพนน้ั ต้องไม่ขดั ต่อหน้าที่ของปวงชน
ชาวไทยหรือศีลธรรมอนั ดขี องประชาชน และตอ้ งเคารพและไมป่ ดิ กน้ั ความเหน็ ตา่ งของบุคคลอื่น

มาตรา ๓๕ บุคคลซึ่งประกอบวิชาชีพสื่อมวลชนย่อมมีเสรีภาพในการเสนอข่าวสารหรือการแสดง
ความคดิ เหน็ ตามจรยิ ธรรมแหง่ วิชาชีพ

การสั่งปดิ กิจการหนังสือพิมพ์หรือสอ่ื มวลชนอนื่ เพอื่ ลดิ รอนเสรภี าพสื่อ จะกระทำมไิ ด้
การให้นำข่าวสารหรือข้อความใด ๆ ที่ผู้ประกอบวิชาชีพสื่อมวลชนจัดทำขึน้ ไปให้เจ้าหน้าที่ตรวจ
ก่อนนำไปโฆษณาในหนังสือพิมพ์หรือสือ่ ใด ๆ จะกระทำมิได้ เว้นแต่จะกระทำในระหว่างเวลาท่ีประเทศอยู่ใน
ภาวะสงคราม
เจ้าของกิจการหนงั สือพิมพ์หรือสือ่ มวลชนอน่ื ตอ้ งเปน็ บุคคลสญั ชาติไทย
การให้เงินหรือทรัพย์สินอื่นเพื่ออุดหนุนกิจการหนังสือพิมพ์หรือสื่อมวลชนอื่นของเอกชน รัฐจะ
กระทำมิได้ หน่วยงานของรัฐที่ใช้จ่ายเงินหรือทรัพย์สินให้สื่อมวลชนไม่ว่าเพื่อประโยชน์ในการโฆษณาหรือ
ประชาสัมพันธ์ หรือเพื่อการอื่นใดในทำนองเดียวกันต้องเปิดเผยรายละเอียดให้คณะกรรมการตรวจเงิน
แผน่ ดินทราบตามระยะเวลาทีก่ ำหนดและประกาศใหป้ ระชาชนทราบด้วย

มาตรา ๓๖ บคุ คลยอ่ มมีเสรภี าพในการติดต่อสอื่ สารถงึ กนั ไมว่ ่าในทางใด ๆ
การตรวจ การกัก หรือการเปิดเผยข้อมูลที่บุคคลสื่อสารถึงกัน รวมทั้งการกระทำด้วยประการใด ๆ
เพือ่ ให้ล่วงรู้หรือได้มาซึ่งขอ้ มลู ท่ีบุคคลสื่อสารถึงกันจะกระทำมิได้ เวน้ แตม่ ีคำสัง่ หรือหมายของศาล หรือมีเหตุ
อยา่ งอนื่ ตามท่ีกฎหมายบญั ญตั ิ
มาตรา ๓๗ บุคคลย่อมมสี ิทธิในทรพั ย์สินและการสืบมรดก
ขอบเขตแห่งสทิ ธแิ ละการจำกดั สิทธเิ ช่นว่านี้ ใหเ้ ปน็ ไปตามท่ีกฎหมายบญั ญัติ
การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์จะกระทำมิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายท่ี
ตราขึ้นเพื่อการอันเป็นสาธารณูปโภค การป้องกันประเทศ หรือการได้มาซึ่งทรัพยากรธรรมชาติ หรือเพื่อ
ประโยชนส์ าธารณะอย่างอืน่ และต้องชดใช้คา่ ทดแทนทเี่ ป็นธรรม ภายในเวลาอนั ควรแกเ่ จ้าของ ตลอดจน
ผู้ทรงสิทธิบรรดาที่ได้รับความเสียหายจากการเวนคืน โดยคำนึงถึงประโยชน์สาธารณะ ผลกระทบต่อผู้ถูก
เวนคืน รวมทงั้ ประโยชน์ทผี่ ถู้ ูกเวนคืนอาจได้รบั จากการเวนคนื น้นั

การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ ให้กระทำเพียงเท่าที่จำเป็นต้องใช้ เว้นแต่เป็นการเวนคืนเพื่อนำ
อสงั หารมิ ทรัพย์ทีเ่ วนคนื ไปชดเชยให้เกิดความเป็นธรรมแกเ่ จา้ ของอสังหาริมทรัพย์ท่ีถูกเวนคืนตามท่ีกฎหมาย
บัญญัติ

กฎหมายเวนคนื อสังหาริมทรพั ยต์ ้องระบุวตั ถุประสงค์แห่งการเวนคืนและกำหนดระยะเวลาการเข้า
ใช้อสังหาริมทรัพย์ให้ชัดแจ้ง ถ้ามไิ ดใ้ ช้ประโยชน์เพ่ือการนั้นภายในระยะเวลาที่กำหนด หรือมีอสังหาริมทรัพย์
เหลอื จากการใชป้ ระโยชน์ และเจ้าของเดิมหรือทายาทประสงคจ์ ะได้คนื ใหค้ นื แก่เจา้ ของเดมิ หรือทายาท

ระยะเวลาการขอคืนและการคืนอสังหาริมทรัพย์ที่ถูกเวนคืนที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์ หรือที่เหลือจาก
การใช้ประโยชน์ให้แก่เจ้าของเดิมหรือทายาท และการเรียกคืนค่าทดแทนท่ีชดใช้ไป ให้เป็นไปตามที่กฎหมาย
บญั ญัติ

การตรากฎหมายเวนคืนอสังหาริมทรัพย์โดยระบุเจาะจงอสังหาริมทรัพย์หรือเจ้าของ
อสงั หารมิ ทรพั ย์ท่ีถกู เวนคืนตามความจำเป็น มิให้ถอื ว่าเป็นการขัดต่อมาตรา ๒๖ วรรคสอง

มาตรา ๓๘ บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการเดนิ ทางและการเลอื กถนิ่ ที่อยู่
การจำกัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่งจะกระทำมิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่ง

กฎหมายที่ตราขึ้นเพื่อความมั่นคงของรัฐ ความสงบเรียบร้อยหรือสวัสดิภาพของประชาชน หรือการผังเมือง
หรือเพ่อื รกั ษาสถานภาพของครอบครวั หรอื เพือ่ สวัสดภิ าพของผเู้ ยาว์

มาตรา ๓๙ การเนรเทศบุคคลสัญชาติไทยออกนอกราชอาณาจักร หรือห้ามมิให้ผู้มีสัญชาติไทยเข้า
มาในราชอาณาจักร จะกระทำมไิ ด้ การถอนสญั ชาตขิ องบคุ คลซึง่ มสี ญั ชาตไิ ทยโดยการเกิด จะกระทำมิได้

มาตรา ๔๐ บคุ คลยอ่ มมีเสรีภาพในการประกอบอาชีพ จะจำกดั เสรภี าพไม่ได้ เว้นแต่เพือ่ รักษาความ
มั่นคงหรือเศรษฐกิจของประเทศ การแข่งขันอย่างเป็นธรรม การป้องกันหรือขจัดการกีดกันหรือการผูกขาด
การคุ้มครองผู้บริโภค การจัดระเบียบการประกอบอาชีพเพียงเท่าที่จำเป็น หรือเพื่อประโยชน์สาธารณะอย่าง
อื่น ตอ้ งไมม่ ีลกั ษณะเปน็ การเลอื กปฏิบัติหรือก้าวกา่ ยการจัดการศึกษาของสถาบันการศกึ ษา

มาตรา ๔๔ บคุ คลย่อมมเี สรีภาพในการชมุ นมุ โดยสงบและปราศจากอาวุธ
จะจำกัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่งจะกระทำมิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่
ตราขึ้นเพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐ ความปลอดภัยสาธารณะ ความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของ
ประชาชน หรอื เพ่ือคมุ้ ครองสทิ ธิหรอื เสรีภาพของบุคคลอื่น
มาตรา ๔๖ สทิ ธขิ องผ้บู รโิ ภคย่อมได้รบั ความคุม้ ครอง

บคุ คลยอ่ มมสี ิทธริ วมกนั จดั ตงั้ องคก์ รของผบู้ ริโภคเพอ่ื คุม้ ครองและพทิ ักษส์ ทิ ธิของผู้บริโภค
องคก์ รของผูบ้ ริโภคตามวรรคสองมีสิทธริ วมกันจัดตั้งเป็นองค์กรท่ีมีความเป็นอิสระเพื่อให้เกิดพลัง
ในการคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิของผู้บริโภคโดยได้รับการสนับสนุนจากรัฐ ทั้งนี้ หลักเกณฑ์และวิธีการจัดตั้ง
อำนาจในการเป็นตวั แทนของผ้บู ริโภค และการสนบั สนนุ ด้านการเงินจากรฐั ให้เปน็ ไปตามทก่ี ฎหมายบัญญตั ิ
มาตรา ๔๗ บุคคลยอ่ มมสี ิทธิไดร้ บั บรกิ ารสาธารณสุขของรัฐ บคุ คลผยู้ ากไร้ยอ่ มมีสทิ ธิได้รับบรกิ าร
สาธารณสขุ ของรฐั โดยไมเ่ สียค่าใชจ้ า่ ยตามท่กี ฎหมายบญั ญัติ
บุคคลย่อมมสี ทิ ธไิ ด้รับการปอ้ งกนั และขจดั โรคติดต่ออนั ตรายจากรฐั โดยไม่เสียคา่ ใช้จ่าย
มาตรา ๔๘ สิทธิของมารดาในช่วงระหวา่ งก่อนและหลังการคลอดบุตรย่อมได้รับความคุ้มครองและ
ช่วยเหลอื ตามทีก่ ฎหมายบญั ญตั ิ
คนอายุเกิน ๖๐ ปีและไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพ และบุคคลผู้ยากไร้ย่อมมีสิทธิได้รับความ
ชว่ ยเหลอื ทเี่ หมาะสมจากรัฐตามทกี่ ฎหมายบัญญตั ิ
มาตรา ๔๙ บุคคลจะใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขมิได้ ผู้ใดทราบว่ามีการกระทำดังกล่าว มีสิทธิร้องต่ออัยการสูงสุดเพื่อร้อง
ขอให้ศาลรฐั ธรรมนญู วินิจฉยั ส่งั การให้เลกิ การกระทำดงั กลา่ วได้
ในกรณที อ่ี ยั การสูงสุดมีคำส่ังไมร่ ับดำเนนิ การตามที่ร้องขอ หรอื ไม่ดำเนินการภายใน ๑๕ วนั นับแต่
วนั ทไี่ ดร้ ับคำร้องขอ ผู้รอ้ งขอจะย่ืนคำร้องโดยตรงต่อศาลรฐั ธรรมนญู ก็ได้
การดำเนินการตามมาตรานี้ไม่กระทบตอ่ การดำเนินคดีอาญาต่อผกู้ ระทำการตามวรรคหนง่ึ

หมวด ๔ หนา้ ท่ีของปวงชนชาวไทย

มาตรา ๕๐ บคุ คลมหี น้าที่ ดังต่อไปน้ี
(๑) พิทักษ์รักษาไว้ซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ
(๒) ป้องกันประเทศ พทิ กั ษร์ กั ษาเกียรติภมู ิ ผลประโยชน์ของชาติ และสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
รวมทงั้ ใหค้ วามร่วมมือในการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั
(๓) ปฏบิ ัตติ ามกฎหมายอย่างเครง่ ครัด
(๔) เขา้ รับการศกึ ษาอบรมในการศึกษาภาคบังคบั
(๕) รับราชการทหารตามท่ีกฎหมายบัญญัติ
(๖) เคารพและไมล่ ะเมิดสิทธิและเสรภี าพของบุคคลอ่ืน และไมก่ ระทำการใดที่อาจก่อให้เกิดความ
แตกแยกหรอื เกลียดชังในสังคม
(๗) ไปใชส้ ิทธิเลือกตง้ั หรือลงประชามติอย่างอสิ ระโดยคำนงึ ถงึ ประโยชน์สว่ นรวมของประเทศเป็น
สำคญั
(๘) ร่วมมือและสนับสนุนการอนุรักษ์และคุ้มครองส่ิงแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ ความ
หลากหลายทางชีวภาพ รวมทง้ั มรดกทางวฒั นธรรม
(๙) เสียภาษีอากรตามทก่ี ฎหมายบญั ญัติ
(๑๐) ไมร่ ว่ มมือหรือสนบั สนุนการทุจรติ และประพฤติมชิ อบทุกรูปแบบ

หมวด ๕ หนา้ ทขี่ องรัฐ

มาตรา ๕๑ การใดที่รัฐธรรมนูญบัญญัติให้เป็นหน้าที่ของรัฐตามหมวดนี้ ถ้าการนั้นเป็นการทำ
เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชนโดยตรง ย่อมเป็นสิทธิของประชาชนและชุมชนที่จะติดตามและเร่งรัดให้รัฐ
ดำเนินการ รวมตลอดทั้งฟ้องร้องหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง เพื่อจัดให้ประชาชนหรือชุมชนได้รับประโยชน์
นนั้ ตามหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการทก่ี ฎหมายบญั ญัติ

มาตรา ๕๓ รฐั ตอ้ งดแู ลใหม้ กี ารปฏิบัติตามและบงั คับใชก้ ฎหมายอยา่ งเคร่งครัด
มาตรา ๕๔ รัฐตอ้ งดำเนนิ การให้เด็กทุกคนได้รบั การศึกษาเปน็ เวลา ๑๒ ปี ตง้ั แต่ก่อนวยั เรียนจนจบ
การศกึ ษาภาคบังคับอย่างมีคณุ ภาพโดยไม่เก็บคา่ ใช้จา่ ย

ให้จัดตั้งกองทุนเพื่อใช้ในการชว่ ยเหลือผูข้ าดแคลนทุนทรัพย์ เพื่อลดความเหลื่อมล้ำในการศึกษา
และเพื่อเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครู โดยให้รัฐจัดสรรงบประมาณให้แก่กองทุน หรือใช้
มาตรการหรือกลไกทางภาษีรวมทั้งการให้ผู้บริจาคทรัพย์สินเข้ากองทุนได้รับประโยชน์ในการลดหย่อนภาษี
ด้วย ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ ซึ่งกฎหมายดังกล่าวอย่างน้อยต้องกำหนดให้การบริหารจัดการกองทุนเป็น
อสิ ระและกำหนดให้มกี ารใชจ้ ่ายเงนิ กองทุนเพอ่ื บรรลวุ ัตถปุ ระสงคด์ ังกล่าว

มาตรา ๕๖ รัฐต้องจัดหรือดำเนินการให้มีสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของ
ประชาชนอย่างทั่วถงึ ตามหลกั การพฒั นาอย่างยั่งยนื

โครงสร้างหรือโครงข่ายขั้นพื้นฐานของกิจการสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานของรัฐอันจำเป็นต่อการ
ดำรงชวี ติ ของประชาชนหรือเพ่ือความมั่นคงของรัฐ รัฐจะกระทำด้วยประการใดให้ตกเปน็ กรรมสิทธ์ขิ องเอกชน
หรือทำให้รัฐเปน็ เจา้ ของน้อยกว่ารอ้ ยละ ๕๑ มิได้

การจดั หรอื ดำเนนิ การให้มสี าธารณปู โภค รัฐต้องดแู ลมิใหม้ กี ารเรียกเกบ็ ค่าบริการจนเป็นภาระแก่
ประชาชนเกนิ สมควร

มาตรา ๖๒ รัฐต้องรกั ษาวินัยการเงินการคลังอยา่ งเคร่งครัดเพ่ือให้ฐานะทางการเงินการคลังของรัฐ
มีเสถียรภาพและมั่นคงอย่างยั่งยืนตามกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐ และจัดระบบภาษีให้เกิด
ความเปน็ ธรรมแก่สังคม

กฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐอย่างน้อยต้องมีบทบัญญัติ เกี่ยวกับกรอบการ
ดำเนินการทางการคลังและงบประมาณของรัฐ การกำหนดวินัยทางการคลังด้านรายได้และรายจ่ายทั้งเงิน
งบประมาณและเงินนอกงบประมาณ การบริหารทรพั ย์สนิ ของรฐั และเงนิ คงคลงั และการบริหารหน้สี าธารณะ

หมวด ๖ แนวนโยบายแห่งรฐั

มาตรา ๖๔ บทบัญญัติในหมวดนีเ้ ป็นแนวทางให้รัฐดำเนนิ การตรากฎหมายและกำหนดนโยบาย
ในการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ

มาตรา ๖๕ รัฐพึงจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนตามหลัก
ธรรมาภิบาลเพื่อใช้เป็นกรอบในการจัดทำแผนต่าง ๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการกันเพื่อให้เกิดเป็นพลัง
ผลักดันรว่ มกันไปสูเ่ ปา้ หมายดังกลา่ ว

การจัดทำ การกำหนดเป้าหมาย ระยะเวลาที่จะบรรลุเป้าหมาย และสาระที่พึงมีในยุทธศาสตร์
ชาติ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กฎหมายบัญญัติ ทั้งนี้ กฎหมายดังกล่าวต้องมีบทบัญญัติเกี่ยวกับ
การมีสว่ นร่วมและการรับฟงั ความคิดเหน็ ของประชาชนทุกภาคส่วนอยา่ งทั่วถึงดว้ ย

ยทุ ธศาสตร์ชาติ เมอ่ื ได้ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาแล้ว ใหใ้ ชบ้ งั คับได้
มาตรา ๖๖ รัฐพึงสง่ เสริมสัมพันธไมตรีกับนานาประเทศโดยถือหลักความเสมอภาคในการปฏิบัติต่อ
กัน และไม่แทรกแซงกิจการภายในของกันและกัน ให้ความร่วมมือกับองค์การระหว่างประเทศ และคุ้มครอง
ผลประโยชน์ของชาติและของคนไทยในต่างประเทศ
มาตรา ๖๗ รัฐพึงอปุ ถัมภ์และค้มุ ครองพระพุทธศาสนาและศาสนาอนื่
ในการอุปถัมภ์และคุ้มครองพระพุทธศาสนาอันเป็นศาสนาที่ประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่นับถือมาช้า
นาน รัฐพึงส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาและการเผยแผ่หลักธรรมของพระพุทธศาสนาเถรวาท เพื่อให้เกิด
การพัฒนาจติ ใจและปัญญา และตอ้ งมีมาตรการและกลไกในการป้องกนั มใิ ห้มกี ารบ่อนทำลายพระพุทธศาสนา
ไม่ว่าในรปู แบบใด และพงึ ส่งเสรมิ ให้พทุ ธศาสนิกชนมสี ว่ นร่วมในการดำเนนิ มาตรการหรอื กลไกดงั กลา่ วดว้ ย

ไม่มีการกำหนดให้พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ แค่ให้กษตั ริย์นับถอื พุทธ(มาตรา ๗)และ
รัฐสนับสนุนพทุ ธ

มาตรา ๖๘ รัฐพึงจัดระบบการบริหารงานในกระบวนการยุติธรรมทุกด้านให้มีประสิทธิภาพ เป็น
ธรรม และไม่เลือกปฏิบัติ และให้ประชาชนเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมได้โดยสะดวก รวดเร็ว และไม่เสีย
ค่าใช้จา่ ยสูงเกินสมควร

รัฐพึงมีมาตรการคุ้มครองเจ้าหน้าที่ของรฐั ในกระบวนการยุตธิ รรม ให้สามารถปฏิบัติหน้าท่ีไดโ้ ดย
เครง่ ครัด ปราศจากการแทรกแซงหรอื ครอบงำใด ๆ

รัฐพึงให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายที่จำเป็นและเหมาะสมแก่ผู้ยากไร้หรือผู้ด้อยโอกาสในการ
เข้าถงึ กระบวนการยุติธรรม รวมตลอดถึงการจดั หาทนายความให้

มาตรา ๗๕ รัฐพึงจัดระบบเศรษฐกิจให้ประชาชนมีโอกาสได้รับประโยชน์จากความเจริญเติบโตทาง
เศรษฐกิจไปพร้อมกันอย่างทั่วถึง เป็นธรรม และยั่งยืน สามารถพึ่งพาตนเองได้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพยี ง ขจัดการผกู ขาดทางเศรษฐกจิ ท่ีไม่เป็นธรรม และพัฒนาความสามารถในการแข่งขนั ทางเศรษฐกิจของ
ประชาชนและประเทศ

รัฐต้องไม่ประกอบกิจการที่มีลักษณะเป็นการแข่งขันกับเอกชน เว้นแต่กรณีที่มีความจำเป็นเพ่ือ
ประโยชน์ในการรักษาความมั่นคงของรัฐ การรักษาผลประโยชน์ส่วนรวม การจัดให้มีสาธารณูปโภค หรือการ
จัดทำบรกิ ารสาธารณะ

รัฐพึงส่งเสริม สนับสนุน คุ้มครอง และสร้างเสถียรภาพให้แก่ระบบสหกรณ์ประเภทต่าง ๆ และ
กิจการวิสาหกิจขนาดย่อมและขนาดกลางของประชาชนและชมุ ชน

ในการพัฒนาประเทศ รัฐพึงคำนึงถึงความสมดุลระหว่างการพัฒนาด้านวัตถุกับการพัฒนาด้าน
จิตใจ และความอยูเ่ ยน็ เปน็ สุขของประชาชน ประกอบกัน

มาตรา ๗๖ รัฐพึงพัฒนาระบบการบริหารราชการแผ่นดินทั้งราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วน
ท้องถิ่น และงานของรัฐอย่างอื่น ให้เป็นไปตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยหน่วยงานของรัฐต้อง
ร่วมมือและช่วยเหลือกันในการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดิน การจัดทำบริการสาธารณะ
และการใช้จ่ายเงินงบประมาณมีประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน รวมตลอดทั้งพัฒนา
เจ้าหน้าที่ของรัฐให้มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีทัศนคติเป็นผู้ให้บริการประชาชนให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว
ไมเ่ ลอื กปฏิบตั ิ และปฏบิ ัติหน้าท่อี ย่างมีประสิทธิภาพ

รัฐพึงดำเนินการให้มีกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของหน่วยงานของรัฐ ให้เป็นไป
ตามระบบคุณธรรม โดยกฎหมายดังกล่าวอย่างน้อยต้องมีมาตรการปอ้ งกันมิให้ผูใ้ ดใช้อำนาจ หรือกระทำการ
โดยมิชอบท่เี ป็นการกา้ วก่ายหรือแทรกแซงการปฏิบัตหิ นา้ ที่ หรือกระบวนการแต่งต้ังหรือการพิจารณาความ
ดคี วามชอบของเจ้าหน้าทขี่ องรัฐ

รัฐพึงจัดให้มีมาตรฐานทางจรยิ ธรรม เพื่อให้หน่วยงานของรฐั ใช้เป็นหลักในการกำหนดประมวล
จรยิ ธรรมสำหรับเจ้าหน้าท่ขี องรัฐในหนว่ ยงานนนั้ ๆ ซง่ึ ต้องไมต่ ่ำกว่ามาตรฐานทางจริยธรรมดังกล่าว

มาตรา ๗๗ รัฐพึงจัดให้มีกฎหมายเพียงเท่าที่จำเป็น และยกเลิกหรือปรับปรุงกฎหมายที่หมดความ
จำเป็นหรือไม่สอดคล้องกับสภาพการณ์ หรือที่เป็นอุปสรรคต่อการดำรงชีวิตหรือการประกอบอาชีพโดยไม่
ชักช้าเพือ่ ไม่ให้เปน็ ภาระแก่ประชาชน และดำเนินการให้ประชาชนเข้าถึงตัวบทกฎหมายต่าง ๆ ได้โดยสะดวก
และสามารถเขา้ ใจกฎหมายไดง้ ่ายเพื่อปฏบิ ัตติ ามกฎหมายได้อยา่ งถูกตอ้ ง

ก่อนการตรากฎหมายทุกฉบับ รัฐพึงจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้อง วิเคราะห์
ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมายอย่างรอบด้านและเป็นระบบ รวมทั้งเปิดเผยผลการรับฟังความคิดเห็น
และการวิเคราะห์นั้นต่อประชาชน และนำมาประกอบการพิจารณาในกระบวนการตรากฎหมายทุกขั้นตอน
เมื่อกฎหมายมีผลใช้บังคับแล้ว รัฐพึงจัดให้มีการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมายทุกรอบระยะเวลาที่กำหนด
โดยรบั ฟงั ความคดิ เห็นของผู้เก่ยี วข้องประกอบด้วย เพือ่ พฒั นากฎหมายทุกฉบับให้สอดคล้องและเหมาะสมกับ
บรบิ ทตา่ ง ๆ ท่ีเปลย่ี นแปลงไป

รัฐพึงใช้ระบบอนุญาตและระบบคณะกรรมการในกฎหมายเฉพาะกรณีที่จำเป็น พึงกำหนด
หลักเกณฑ์การใช้ดุลพินิจของเจา้ หนา้ ที่ของรัฐและระยะเวลาในการดำเนินการตามขั้นตอนต่าง ๆ ที่บัญญัติไว้
ในกฎหมายใหช้ ัดเจน และพึงกำหนดโทษอาญาเฉพาะความผิดรา้ ยแรง

มาตรา ๗๘ รัฐพึงส่งเสริมให้ประชาชนและชุมชนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกตอ้ งเกี่ยวกับการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศด้านต่าง ๆ
การจัดทำบริการสาธารณะทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่น การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ การต่อต้านการ
ทุจริตและประพฤติมิชอบ รวมตลอดทั้งการตัดสินใจทางการเมือง และการอื่นใดบรรดาที่อาจมีผลกระทบต่อ
ประชาชนหรือชุมชน

หมวด ๗ รัฐสภา

สว่ นที่ ๑
บทท่วั ไป

มาตรา ๗๙ รัฐสภาประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา รัฐสภาจะประชุมร่วมกันหรือ
แยกกันก็ได้ บุคคลจะเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวฒุ สิ ภาในขณะเดียวกนั มไิ ด้

มาตรา ๘๐ ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นประธานรัฐสภา ประธานวุฒิสภาเป็นรองประธาน
รัฐสภา

ในกรณีท่ีไม่มีประธานสภาผู้แทนราษฎร หรือประธานสภาผู้แทนราษฎรไม่อยู่หรือไม่สามารถ
ปฏิบตั หิ น้าที่ประธานรฐั สภาได้ ให้ประธานวุฒิสภาทำหนา้ ท่ปี ระธานรัฐสภาแทน

กรณีประธานวุฒิสภาต้องทำหน้าที่ประธานรัฐสภา แต่ไม่มีประธานวุฒิสภา และเป็นกรณีท่ี
เกิดขึ้นในระหว่างไม่มีสภาผู้แทนราษฎร ให้รองประธานวุฒิสภาทำหน้าที่ประธานรัฐสภา ถ้าไม่มีรอง
ประธานวุฒิสภา ให้สมาชิกวุฒิสภาซึ่งมีอายุมากที่สุดในขณะนั้นทำหน้าที่ประธานรัฐสภา และให้
ดำเนนิ การเลือกประธานวฒุ ิสภาโดยเรว็

ประธานรัฐสภามีหน้าที่และอำนาจตามรัฐธรรมนูญ และดำเนินกิจการของรัฐสภา ในกรณีประชุม
ร่วมกนั ให้เปน็ ไปตามข้อบงั คบั

ประธานรัฐสภาและผทู้ ำหน้าท่แี ทนประธานรัฐสภาต้องวางตนเป็นกลางในการปฏิบตั ิหนา้ ท่ี
รองประธานรัฐสภามหี นา้ ท่แี ละอำนาจตามรฐั ธรรมนูญ และตามท่ปี ระธานรัฐสภามอบหมาย
มาตรา ๘๑ ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญและร่างพระราชบัญญัติ จะตราขึ้นเป็น
กฎหมายไดก้ ็แตโ่ ดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา

ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญและร่างพระราชบัญญัติที่ได้รับความเห็นชอบของ
รัฐสภาแล้ว ให้นายกรัฐมนตรีนำขึ้นทูลเกล้าเพื่อพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย และประกาศในราช
กจิ จานเุ บกษาแล้ว ให้ใช้บังคับเป็นกฎหมายได้

มาตรา ๘๒ สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรหรอื สมาชกิ วฒุ สิ ภา จำนวนไมน่ อ้ ยกวา่ ๑ ใน ๑๐ ของจำนวน
สมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของแต่ละสภา มีสิทธิเข้าชื่อร้องต่อประธานแห่งสภาที่ตนเป็นสมาชิกว่าสมาชิกภาพ
ของสมาชิกคนใดคนหนึ่งแห่งสภานั้นสิ้นสุดลง และให้ประธานแห่งสภาที่ได้รับคำร้อง ส่งคำร้องนั้นไปยังศาล
รฐั ธรรมนญู เพอื่ วินิจฉยั วา่ สมาชิกภาพของสมาชิกผนู้ น้ั สิน้ สดุ ลงหรอื ไม่

เมื่อได้รับเรื่องไว้พิจารณา หากปรากฏเหตุอันควรสงสยั ว่าสมาชิกผู้ถูกร้องมีกรณีตามที่ถกู ร้อง ให้
ศาลรัฐธรรมนญู มีคำสั่งให้สมาชิกผ้ถู ูกร้องหยุดปฏิบัติหน้าทจี่ นกวา่ ศาลรฐั ธรรมนญู จะมีคำวินิจฉยั และเมื่อศาล
รัฐธรรมนูญมคี ำวนิ ิจฉัยแลว้ ใหศ้ าลรัฐธรรมนูญแจ้งคำวินิจฉัยนัน้ ไปยังประธานแหง่ สภาที่ได้รับคำร้อง ในกรณี
ที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าสมาชิกภาพของสมาชิกผู้ถูกร้องส้ินสุดลง ให้ผู้นั้นพ้นจากตำแหน่งนับแต่วันที่หยุด
ปฏิบตั หิ นา้ ท่ี แต่ไมก่ ระทบตอ่ กจิ การท่ผี ู้นัน้ ได้กระทำไปกอ่ นพน้ จากตำแหนง่

มิให้นับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาซึ่งหยุ ดปฏิบัติหน้าที่เป็นจำนวนสมาชิก
ทง้ั หมดเทา่ ท่มี ีอยขู่ องสภาผ้แู ทนราษฎรหรือวฒุ สิ ภา

ในกรณีท่ีคณะกรรมการการเลือกตั้งเห็นว่าสมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือ

สมาชิกวฒุ สิ ภาคนใดคนหน่ึงมเี หตสุ ้นิ สุดลงตามวรรคหน่ึง ให้สง่ เร่ืองไปยังศาลรฐั ธรรมนญู เพื่อวนิ ิจฉัยตามวรรค
หน่งึ ได้ดว้ ย

สรุป คณะกรรมการการเลือกตั้งและประธานวุฒิสภาหรอื ประธานสภาผู้แทนราษฎรตามท่ีสสหรอื
สวจำนวน ๑ ใน ๑๐ ร้องขอ มีสิทธิเสนอเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าสมาชิกภาพของวุฒิสภาคนใด
คนหนึง่ ส้นิ สดุ ลงหรือไม่

สว่ นที่ ๒
สภาผูแ้ ทนราษฎร

มาตรา ๘๓ สภาผูแ้ ทนราษฎร( สส ) ประกอบดว้ ยสมาชกิ จำนวน ๕๐๐ คน ดงั น้ี
(๑) จากการเลอื กตงั้ แบบแบง่ เขตเลือกต้ังจำนวน ๓๕๐ คน
(๒) จากบัญชรี ายชอ่ื ของพรรคการเมืองจำนวน ๑๕๐ คน
หากตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรว่างลง และยังไม่มีการเลือกตั้งหรือประกาศชื่อ
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรขึ้นแทนตำแหน่งที่ว่าง ให้สภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
เท่าทมี่ อี ยู่
หากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบญั ชีรายชื่อมีจำนวนไม่ถึง ๑๕๐ คน ให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
แบบบัญชรี ายช่อื ประกอบดว้ ยสมาชกิ เทา่ ทีม่ อี ยู่
มาตรา ๘๔ ในการเลือกตงั้ ท่วั ไป เมือ่ ไดส้ มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไดร้ ับเลือกตั้งถึงร้อยละ ๙๕ ของ
จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหมดแล้ว หากมีความจำเป็นจะต้องเรียกประชุมรัฐสภาก็ให้ดำเนินการ
เรียกประชุมรัฐสภาได้ โดยให้ถือว่าสภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วยสมาชิกเท่าที่มีอยู่ แต่ต้องดำเนินการให้มี
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรให้ครบตามจำนวนโดยเร็ว ในกรณีเช่นนี้ ให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาใหม่อยู่ใน
ตำแหนง่ ไดเ้ พียงเท่าอายุของสภาผู้แทนราษฎรทเ่ี หลอื อยู่

มาตรา ๘๕ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรท่ีมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง ให้ใช้วิธีออกเสียง
ลงคะแนนโดยตรงและลับ ให้แต่ละเขตเลือกตั้งมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละหนึ่งคน และผู้มีสิทธิ
เลือกตั้งมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งได้คนละหนึ่งคะแนน โดยจะลงคะแนนเลือกผู้สมัครรับเลือกตั้งผู้ใด
หรือจะลงคะแนนไมเ่ ลือกผูใ้ ดเลยก็ได้

ให้ผู้สมัครรับเลือกตั้งซึ่งได้รับคะแนนสูงสุดและมีคะแนนสูงกว่าคะแนนเสียงที่ไม่เลือกผู้ใดเป็นผู้
ได้รับเลอื กต้งั

หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการสมัครรับเลือกตั้ง การออกเสียงลงคะแนน การนับคะแนน
การรวมคะแนน การประกาศผลการเลือกตั้ง และการอื่นที่เกี่ยวข้อง ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติประกอบ
รัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร โดยกฎหมายดังกล่าวจะกำหนดให้ผู้สมัครรับ
เลอื กต้ังตอ้ งยน่ื หลกั ฐานแสดงการเสียภาษเี งนิ ไดป้ ระกอบการสมคั รรบั เลอื กต้ังดว้ ยกไ็ ด้

ให้คณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศผลการเลือกตั้ง เมื่อตรวจสอบเบื้องต้นแล้ว มีเหตุอันควรเชื่อ
ว่าผลการเลือกตั้งเป็นไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม และมีจำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๕ ของเขตเลือกตั้ง
ทั้งหมด คณะกรรมการการเลือกตั้งต้องตรวจสอบเบื้องต้นและประกาศผลการเลือกตั้งให้แล้วเสร็จโดยเร็ว
แตต่ อ้ งไม่ช้ากวา่ ๖๐ วันนับแตว่ นั เลอื กตงั้ ทงั้ น้ี การประกาศผลดังกล่าวไม่เป็นการตัดหน้าท่ีและอำนาจของ
คณะกรรมการการเลือกต้ังที่จะดำเนนิ การสืบสวน ไต่สวน หรือวินิจฉัยกรณีมีเหตุอันควรสงสัยว่ามกี ารกระทำ
การทุจริตในการเลือกต้ัง หรือการเลอื กตง้ั ไม่เป็นไปโดยสจุ ริตหรือเทย่ี งธรรมไมว่ า่ จะได้ประกาศผลการเลือกต้ัง
แลว้ หรือไมก่ ็ตาม

มาตรา ๘๖ การกำหนดจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่แต่ละจังหวัดจะพึงมีและการแบ่งเขต
เลือกต้งั ใหด้ ำเนินการตามวธิ ีการ ดังตอ่ ไปนี้

(๑) ใหใ้ ช้จำนวนราษฎรท้งั ประเทศตามหลกั ฐานการทะเบยี นราษฎรท่ปี ระกาศในปีสดุ ท้ายก่อนปีท่ีมี
การเลือกตั้ง เฉลี่ยด้วยจำนวนสมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎร ๓๕๐ คน จำนวนทีไ่ ดร้ ับให้ถือว่าเปน็ จำนวนราษฎร
ตอ่ สมาชกิ หน่ึงคน

(๒) จงั หวัดใดมีราษฎรไม่ถึงเกณฑจ์ ำนวนราษฎรต่อสมาชิกหนง่ึ คน ให้มสี มาชกิ สภาผู้แทนราษฎร
ในจังหวดั นน้ั ไดห้ นง่ึ คน โดยให้ถอื เขตจังหวดั เป็นเขตเลือกต้งั

(๓) จังหวดั ใดมีราษฎรเกนิ จำนวนราษฎรต่อสมาชกิ หนง่ึ คน ให้มีสมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรในจังหวัด
นน้ั เพ่ิมข้นึ อีก ๑ คน ทกุ จำนวนราษฎรที่ถึงเกณฑจ์ ำนวนราษฎรต่อสมาชิกหนึ่งคน

(๔) เม่ือไดจ้ ำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของแตล่ ะจังหวัดแลว้ ถา้ จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
ยังไม่ครบ ๓๕๐ คน จังหวดั ใดมีเศษทีเ่ หลอื จากการคำนวณตาม (๓) มากท่ีสดุ ให้จังหวดั นัน้ มสี มาชิกสภาผ้แู ทน
ราษฎรเพ่ิมข้นึ อีกหนงึ่ คน และใหเ้ พิ่มสมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรตามวธิ กี ารดังกลา่ วแก่จังหวดั ท่มี เี ศษท่ีเหลือจาก
การคำนวณนั้นในลำดับรองลงมาตามลำดับจนครบจำนวนสามร้อยหา้ สิบคน

(๕) จังหวัดใดมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เกินหนึ่งคน ให้แบ่งเขตจังหวัดออกเป็นเขต
เลือกตั้งเท่าจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่พึงมี โดยต้องแบ่งพื้นท่ีของเขตเลือกตั้งแต่ละเขตให้ติดต่อกัน
และต้องจดั ใหม้ จี ำนวนราษฎรในแตล่ ะเขตใกล้เคยี งกัน

มาตรา ๘๗ ผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง ต้องเป็นผู้ท่ีพรรค
การเมืองท่ีตนเปน็ สมาชิกส่งสมคั รรับเลือกต้ัง และจะสมคั รรับเลอื กตงั้ เกิน ๑ เขตมไิ ด้

เมื่อมีการสมัครรับเลือกตั้งแล้ว ผู้สมัครรับเลือกตั้งหรือพรรคการเมืองจะถอนการสมัครรับเลือกต้ัง
หรือเปลี่ยนแปลงผู้สมัครรับเลือกตั้งได้ เฉพาะกรณีผูส้ มัครรับเลือกต้ังตายหรือขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะ
ตอ้ งหา้ ม และต้องกระทำกอ่ นปดิ การรบั สมคั รรับเลือกตงั้

มาตรา ๘๘ ในการเลือกตั้งทัว่ ไป ให้พรรคการเมืองท่ีส่งผู้สมคั รรับเลือกตั้งแจ้งรายชื่อบุคคลซึ่งพรรค
การเมืองนั้น มีมติว่าจะเสนอให้สภาผู้แทนราษฎรเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีไม่
เกิน ๓ รายชื่อต่อคณะกรรมการการเลือกตั้งก่อนปิดการรับสมัครรับเลือกตั้ง และให้คณะกรรมการการ
เลือกตง้ั ประกาศรายชอื่ บุคคลดงั กลา่ วให้ประชาชนทราบ

พรรคการเมอื งจะไม่เสนอรายช่อื บุคคลตามวรรคหน่ึงก็ได้
มาตรา ๘๙ การเสนอชื่อบุคคลเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี ต้อง
เปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์ ดังตอ่ ไปนี้
(๑) ต้องมีหนังสือยินยอมของบุคคลซึ่งได้รับการเสนอชื่อ โดยมีรายละเอียดตามที่คณะกรรมการ
การเลือกต้งั กำหนด
(๒) ผู้ได้รับการเสนอช่ือต้องเป็นผู้มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามที่จะเป็นรัฐมนตรีตาม
คุณสมบัติของรัฐมนตรีและไมเ่ คยทำหนงั สือยนิ ยอมตาม (๑) ให้พรรคการเมอื งอื่นในการเลือกตัง้ คราวนัน้
มาตรา ๙๐ พรรคการเมืองใดส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งแล้ว ให้มีสิทธิส่งผู้สมัครรบั
เลอื กต้งั แบบบัญชีรายช่อื ได้

การส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ ให้พรรคการเมืองจัดทำบัญชีรายชื่อ พรรคละหน่ึง
บัญชี โดยผูส้ มัครรบั เลือกตง้ั ของแต่ละพรรคการเมืองต้องไมซ่ ้ำกัน และไม่ซำ้ กับรายช่ือผู้สมัครรับเลือกต้ังแบบ
แบ่งเขตเลือกตั้ง โดยส่งบัญชีรายชื่อดังกล่าวให้คณะกรรมการการเลือกตั้งก่อนปิดการรับสมัครรับเลือกต้ัง
สมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎรแบบแบง่ เขตเลือกตง้ั

การจัดทำบัญชีรายชื่อ ต้องให้สมาชิกของพรรคการเมืองมีส่วนร่วมในการพิจารณาด้วย โดยต้อง
คำนงึ ถึงผู้สมคั รรับเลอื กต้งั จากภมู ิภาคตา่ ง ๆ และความเทา่ เทียมกันระหว่างชายและหญิง

มาตรา ๙๑ การคำนวณหาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายช่ือของแตล่ ะพรรคการเมืองให้
ดำเนินการตามหลักเกณฑ์ ดงั ตอ่ ไปนี้

(๑) นำคะแนนรวมทั้งประเทศที่พรรคการเมืองทุกพรรคที่ส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อที่
ได้รับจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งหารด้วย ๕๐๐ อันเป็นจำนวนสมาชิกทั้งหมดของสภา
ผแู้ ทนราษฎร

(๒) นำผลลัพธ์ตาม (๑) ไปหารจำนวนคะแนนรวมทั้งประเทศของพรรคการเมืองแต่ละพรรคที่ได้รับ
จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งทุกเขต จำนวนที่ได้รับให้ถือเป็นจำนวน
สมาชกิ สภาผ้แู ทนราษฎรท่พี รรคการเมืองนนั้ จะพงึ มีได้

(๓) นำจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่พรรคการเมืองจะพึงมีได้ตาม (๒) ลบด้วยจำนวน
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งทั้งหมดที่พรรคการเมืองนั้นได้รับเลือกตั้งในทุกเขตเ ลือกต้ัง
ผลลัพธค์ ือจำนวนสมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎรแบบบญั ชรี ายชอ่ื ที่พรรคการเมืองนั้นจะได้รบั

(๔) ถ้าพรรคการเมืองใดมีผู้ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งเท่ากับ
หรือสูงกว่าจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่พรรคการเมืองนั้นจะพึงมีได้ตาม (๒) ให้พรรคการเมืองนั้นมี
สมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎรตามจำนวนท่ีได้รับจากการเลอื กตงั้ แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง และไมม่ ีสทิ ธไิ ด้รบั
การจัดสรรสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ และให้นำจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชี
รายชื่อทั้งหมดไปจัดสรรให้แก่พรรคการเมืองที่มีจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งต่ำกว่า
จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่พรรคการเมืองน้ันจะพึงมีได้ตาม (๒) ตามอตั ราสว่ น แตต่ ้องไม่มีผลให้พรรค
การเมืองใดดังกลา่ วมสี มาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรเกินจำนวนท่ีจะพึงมีได้ตาม (๒)

(๕) เมือ่ ได้จำนวนผไู้ ด้รบั เลือกต้งั แบบบัญชีรายช่ือของแต่ละพรรคการเมืองแล้ว ใหผ้ ู้สมัครรับเลือกตั้ง
ตามลำดับหมายเลขในบญั ชรี ายช่อื สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชือ่ ของพรรคการเมืองนั้นเป็นผู้ได้รับ
เลือกตง้ั เป็นสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร

ในกรณีที่ผู้สมัครรับเลือกตั้งผู้ใดตายภายหลังวันปิดรับสมัครรับเลือกตั้งแต่ก่อนเวลาปิดการ
ลงคะแนนในวนั เลอื กต้ัง ใหน้ ำคะแนนท่มี ีผลู้ งคะแนนให้มาคำนวณตาม (๑) และ (๒) ด้วย

การนับคะแนน หลักเกณฑ์และวิธกี ารคำนวณ การคิดอัตราส่วน และการประกาศผลการเลือกต้ัง
ให้เป็นไปตามพระราชบญั ญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตัง้ สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร

มาตรา ๙๒ เขตเลือกตั้งที่ไม่มีผู้สมัครรับเลือกตั้งรายใดได้รับคะแนนเสียงเลือกตั้งมากกว่าคะแนน
เสียงที่ไม่เลือกผู้ใดเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในเขตเลือกตั้งนั้น ให้จัดให้มีการเลือกตั้งใหม่ และมิให้นับ
คะแนนทผี่ ู้สมัครรับเลือกต้ังแต่ละคนได้รับไปใช้ในการคำนวณตามมาตรา ๙๑ ในกรณเี ช่นน้ี ให้คณะกรรมการ
การเลอื กต้งั ดำเนินการให้มีการรับสมัครผู้สมัครรับเลือกต้ังใหม่ โดยผู้สมคั รรับเลือกตั้งเดิมทุกรายไม่มีสิทธิ
สมัครรับเลอื กตงั้ ในการเลือกตงั้ ที่จะจดั ข้ึนใหม่น้นั

มาตรา ๙๓ ในการเลือกตั้งทั่วไป ถ้าต้องมีการเลือกตั้งแบบแบง่ เขตเลือกตั้งใหม่ ในบางเขตหรือบาง
หน่วยเลือกตั้งก่อนประกาศผลการเลือกตั้ง หรือการเลือกตั้งยังไม่แล้วเสร็จ หรือยังไม่มีการประกาศผลการ
เลือกตั้งครบทุกเขตเลือกตั้งไม่ว่าด้วยเหตุใด การคำนวณจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่แต่ละพรรค
การเมอื งพึงมี และจำนวนสมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎรแบบบัญชรี ายชื่อที่แต่ละพรรคการเมืองพึงได้รับ ให้เป็นไป
ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกต้ัง
สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร

ในกรณที ี่ผลการคำนวณตามวรรคหนึง่ ทำให้จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบญั ชีรายช่ือของ
พรรคการเมืองใดลดลง ให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองนั้นในลำดับท้าย
ตามลำดับพน้ จากตำแหนง่

มาตรา ๙๔ ภายใน ๑ ปีหลังจากวันเลือกตั้งอันเป็นการเลือกตั้งทั่วไป ถ้าต้องมีการเลือกตั้ง
สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรแบบแบง่ เขตเลือกต้ังในเขตเลือกตั้งใดข้นึ ใหม่ เพราะเหตทุ ี่การเลือกตั้งในเขตเลือกต้ัง
นั้นมไิ ดเ้ ปน็ ไปโดยสจุ ริตและเทยี่ งธรรม ใหน้ ำความในมาตรา ๙๓ มาใชบ้ ังคบั โดยอนโุ ลม

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่างไม่ว่าด้วยเหตุใดภายหลังพ้นเวลาหนึ่งปี
นับแต่วันเลอื กตัง้ ทวั่ ไป มิให้มีผลกระทบกบั การคำนวณสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรท่ีแตล่ ะพรรคการเมืองจะพึงมี
ตามมาตรา ๙๑

มาตรา ๙๕ บุคคลผมู้ คี ุณสมบตั ดิ ังต่อไปน้ี เป็นผู้มีสทิ ธิเลือกตัง้

(๑) มีสัญชาติไทย แต่บุคคลผู้มีสัญชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติ ต้องได้สัญชาติไทยมาแล้วไม่น้อย
กวา่ ๕ ปี

(๒) มีอายไุ มต่ ่ำกว่า ๑๘ ปี ในวนั เลอื กตัง้
(๓) มีชื่ออยู่ในทะเบียนบา้ นในเขตเลือกตั้งมาแล้วเป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๙๐ วันนับถึงวันเลือกตั้ง หาก
นอกเขตเลือกตั้งที่ตนมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน หรือมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้งเป็นเวลาน้อยกว่า
๙๐ วันนับถึงวันเลือกตัง้ หรือมีถิ่นท่ีอยู่นอกราชอาณาจักร จะขอลงทะเบียนเพื่อออกเสียงลงคะแนนเลือกตงั้
นอกเขตเลือกตั้ง ณ สถานที่ และตามวันเวลา วิธีการ และเงื่อนไขที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติประกอบ
รฐั ธรรมนูญวา่ ด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรก็ได้

ผู้มีสิทธิเลือกตั้งซึ่งไม่ไปใช้สิทธิเลือกตั้งโดยมิได้แจ้งเหตุอันสมควรตามพระราชบัญญัติประกอบ
รฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎร อาจถกู จำกดั สิทธบิ างประการตามทีก่ ฎหมายบัญญตั ิ
มาตรา ๙๖ บคุ คลผมู้ ีลักษณะดงั ต่อไปนี้ในวันเลือกตง้ั เปน็ บคุ คลตอ้ งห้ามมใิ หใ้ ชส้ ิทธิเลอื กตั้ง

(๑) เป็นภิกษุ สามเณร นักพรต หรอื นักบวช
(๒) อย่ใู นระหว่างถกู เพิกถอนสทิ ธิเลือกตัง้ ไม่ว่าคดีนน้ั จะถงึ ที่สดุ แลว้ หรือไม่
(๓) ต้องคมุ ขงั อยู่โดยหมายของศาลหรอื โดยคำสั่งท่ชี อบด้วยกฎหมาย
(๔) วกิ ลจริตหรือจิตฟั่นเฟือน
มาตรา ๙๗ คุณสมบัตผิ มู้ ีสิทธิสมคั รรับเลอื กต้งั เปน็ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
(๑) มีสัญชาติไทยโดยการเกดิ แปลงสญั ชาติไม่ได้
(๒) มีอายุไม่ต่ำกว่า ๒๕ ปี นับถึงวนั เลือกตง้ั
(๓) เป็นสมาชกิ พรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหนง่ึ แต่เพยี งพรรคการเมืองเดยี วเป็นเวลาติดต่อกันไม่
น้อยกว่า ๙๐ วันนับถึงวันเลือกตั้ง เว้นแต่ในกรณีที่มีการเลือกตั้งทั่วไป เพราะเหตุยุบสภาให้ลดลงเหลือ ๓๐
วนั
(๔) ผสู้ มคั รรับเลือกต้งั แบบแบ่งเขตเลือกตง้ั ตอ้ งมีลักษณะอยา่ งใดอย่างหนึ่งดังตอ่ ไปนี้ดว้ ย

(ก) มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในจังหวัดที่สมัครรับเลือกตั้งมาแลว้ เป็นเวลาตดิ ต่อกันไม่น้อยกวา่
๕ ปีนบั ถงึ วันสมคั รรับเลือกตง้ั

(ข) เป็นบุคคลซึ่งเกดิ ในจังหวัดทส่ี มัครรบั เลือกตั้ง
(ค) เคยศกึ ษาในสถานศึกษาท่ตี งั้ อยู่ในจงั หวัดทสี่ มัครรบั เลือกตั้งเป็นเวลาตดิ ต่อกันไมน่ ้อยกว่า
๕ ปีการศึกษา
(ง) เคยรับราชการหรือปฏิบัติหน้าที่ในหน่วยงานของรัฐ หรือเคยมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านใน
จังหวดั ทีส่ มคั รรับเลือกตั้ง แลว้ แตก่ รณี เป็นเวลาตดิ ต่อกนั ไม่นอ้ ยกวา่ ๕ ปี
มาตรา ๙๘ บคุ คลตอ้ งห้ามมิใหใ้ ช้สทิ ธิสมคั รรบั เลอื กตง้ั เปน็ สมาชกิ สภาผ้แู ทนราษฎร
(๑) ตดิ ยาเสพติดให้โทษ
(๒) เปน็ บุคคลลม้ ละลายหรอื เคยเปน็ บคุ คลล้มละลายทุจรติ
(๓) เปน็ เจา้ ของหรอื ผู้ถือห้นุ ในกิจการหนังสอื พมิ พ์หรอื สอ่ื มวลชนใด ๆ
(๔) เปน็ บุคคลผู้มีลักษณะตอ้ งห้ามมใิ หใ้ ช้สทิ ธิเลอื กต้ังตามมาตรา ๙๖ (๑) (๒) หรอื (๔)

(๕) อยู่ระหว่างถูกระงับการใช้สิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นการชั่วคราวหรือถูกเพิกถอนสิทธิสมัครรับ
เลอื กตัง้

(๖) ต้องคำพิพากษาใหจ้ ำคุกและถกู คุมขังอยโู่ ดยหมายของศาล
(๗) เคยได้รับโทษจำคุกโดยได้พ้นโทษมายังไม่ถึง ๑๐ นับถึงวันเลือกตั้ง เว้นแต่ในความผิดกระทำ
โดยประมาทหรอื ความผดิ ลหุโทษ
(๘) เคยถูกสั่งให้พ้นจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจเพราะทุจริตต่อหน้าที่ หรือถือว่า
กระทำการทุจรติ หรอื ประพฤตมิ ชิ อบในวงราชการ
(๙) เคยต้องคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลอันถึงท่ีสุดให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดินเพราะร่ำรวย
ผิดปกติ หรือเคยต้องคำพิพากษาอันถึงที่สุดให้ลงโทษจำคุกเพราะกระทำความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการ
ป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริต
(๑๐) เคยต้องคำพิพากษาอันถึงที่สุดว่ากระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ หรือต่อตำแหน่ง
หน้าที่ในการยุตธิ รรม หรอื กระทำความผิดตามกฎหมายวา่ ด้วยความผิดของพนักงานในองค์การหรือหน่วยงาน
ของรัฐ หรือความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ที่กระทำโดยทุจริตตามประมวลกฎหมายอาญา ความผิดตามกฎหมายว่า
ดว้ ยการกยู้ มื เงนิ ทเี่ ป็นการฉอ้ โกงประชาชน กฎหมายวา่ ด้วยยาเสพตดิ ในความผดิ ฐานเป็นผู้ผลติ นำเข้า ส่งออก
หรือผู้ค้า กฎหมายว่าด้วยการพนันในความผิดฐานเป็นเจ้ามือหรือเจ้าสำนัก กฎหมายว่าด้วยการป้องกันและ
ปราบปรามการค้ามนษุ ย์ หรอื กฎหมายว่าดว้ ยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงนิ ในความผิดฐานฟอกเงนิ
(๑๑) เคยต้องคำพพิ ากษาอันถงึ ที่สุดวา่ กระทำการอันเปน็ การทจุ รติ ในการเลอื กตงั้
(๑๒) เปน็ ขา้ ราชการซงึ่ มีตำแหนง่ หรือเงนิ เดอื นประจำนอกจากขา้ ราชการการเมอื ง
(๑๓) เป็นสมาชกิ สภาท้องถิน่ หรอื ผูบ้ รหิ ารทอ้ งถน่ิ
(๑๔) เป็นสมาชกิ วุฒสิ ภาหรอื เคยเป็นสมาชกิ วฒุ สิ ภาและสมาชิกภาพสน้ิ สุดลงยงั ไมเ่ กิน ๒ ปี
(๑๕) เป็นพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือเป็น
เจ้าหนา้ ท่ีอนื่ ของรฐั
(๑๖) เปน็ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ หรอื ผดู้ ำรงตำแหน่งในองคก์ รอสิ ระ
(๑๗) อยู่ในระหวา่ งตอ้ งห้ามมใิ ห้ดำรงตำแหนง่ ทางการเมือง
(๑๘) เคยพ้นจากตำแหน่งเพราะเหตตุ ามมาตรา ๑๔๔ หรอื มาตรา ๒๓๕ วรรคสาม
มาตรา ๙๙ อายขุ องสภาผูแ้ ทนราษฎรมีกำหนดคราวละ ๔ ปนี บั แตว่ ันเลือกตงั้

ในระหว่างอายุของสภาผู้แทนราษฎร จะมีการควบรวมพรรคการเมืองที่มีสมาชิกเป็น
สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรมไิ ด้

มาตรา ๑๐๐ สมาชกิ ภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเรม่ิ ต้ังแต่วันเลอื กต้งั
มาตรา ๑๐๑ สมาชิกภาพของสมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรสิ้นสดุ ลง เม่อื
(๑) ถึงคราวออกตามอายุของสภาผ้แู ทนราษฎร หรอื มีการยบุ สภาผู้แทนราษฎร
(๒) ตาย
(๓) ลาออก
(๔) พ้นจากตำแหนง่ ตามมาตรา ๙๓
(๕) ขาดคณุ สมบัตติ ามมาตรา ๙๗

(๖) มีลกั ษณะต้องห้ามตามมาตรา ๙๘
(๗) กระทำการอนั เปน็ การตอ้ งหา้ มตามมาตรา ๑๘๔ หรอื มาตรา ๑๘๕
(๘) ลาออกจากพรรคการเมอื งทีต่ นเป็นสมาชิก
(๙) พ้นจากการเป็นสมาชิกของพรรคการเมืองที่ตนเป็นสมาชิก ตามมติของพรรคการเมืองน้ัน
ด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า ๓ ใน ๔ ของที่ประชุมร่วมของคณะกรรมการบริหารของพรรคการเมืองและ
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่สังกัดพรรคการเมืองนั้น ในกรณีเช่นนี้ ถ้าสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้นั้นมิได้เข้า
เป็นสมาชิกของพรรคการเมืองอื่นภายใน ๓๐ วันนับแต่วันที่พรรคการเมืองมีมติ ให้ถือว่าสิ้นสุดสมาชิก
ภาพนับแตว่ ันท่พี น้ สามสบิ วันดงั กล่าว

(๑๐) ขาดจากการเป็นสมาชิกของพรรคการเมือง แต่ในกรณีที่ขาดจากการเป็นสมาชิกของพรรค
การเมืองเพราะมีคำสั่งยุบพรรคการเมืองที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้นั้นเป็นสมาชิก และสมาชิกสภาผู้แทน
ราษฎรผนู้ ัน้ ไม่อาจเขา้ เป็นสมาชิกของพรรคการเมืองอนื่ ได้ภายใน ๖๐ วนั นบั แต่วันท่ีมีคำสั่งยุบพรรคการเมือง
ในกรณเี ช่นน้ี ใหถ้ ือวา่ สิ้นสดุ สมาชกิ ภาพนับแต่วันถัดจากวนั ท่ีครบกำหนดหกสบิ วนั น้ัน

(๑๑) พ้นจากตำแหน่งเพราะเหตตุ ามมาตรา ๑๔๔ หรือมาตรา ๒๓๕ วรรคสาม
(๑๒) ขาดประชุมเกินจำนวน ๑ ใน ๔ ของจำนวนวันประชุม ในสมัยประชุมที่มีกำหนดเวลาไม่
น้อยกวา่ ๑๒๐ วันโดยไม่ได้รับอนญุ าตจากประธานสภาผู้แทนราษฎร
(๑๓) ต้องคำพิพากษาถึงทีส่ ุดให้จำคุก แม้จะมีการรอการลงโทษ เว้นแต่เป็นการรอการลงโทษใน
ความผิดอนั ได้กระทำโดยประมาท ความผิดลหุโทษ หรือความผิดฐานหม่นิ ประมาท
มาตรา ๑๐๒ เมื่ออายุของสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลง พระมหากษัตริย์จะได้ทรงตราพระราช
กฤษฎีกาใหม้ กี ารเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรใหม่ เป็นการเลือกตงั้ ท่วั ไปภายใน ๔๕ วันนับแตว่ ันท่ีสภา
ผูแ้ ทนราษฎรสิน้ อายุ

การเลือกตง้ั ตามวรรคหนึ่ง ตอ้ งเปน็ วนั เดยี วกันทว่ั ราชอาณาจักรตามท่ีคณะกรรมการการเลือกตั้ง
ประกาศกำหนดในราชกิจจานุเบกษา

มาตรา ๑๐๓ กษัตรยิ ม์ อี ำนาจยุบสภาผ้แู ทนราษฎรเพ่อื ใหม้ ีการเลือกตงั้ ใหม่เปน็ การเลอื กตง้ั ท่วั ไป
การยุบสภาผู้แทนราษฎรให้กระทำโดยพระราชกฤษฎีกา และให้กระทำได้เพียงครั้งเดียวในเหตุการณ์
เดียวกัน

ภายใน ๕ วันนับแต่วันที่ยุบสภาในพระราชกฤษฎีกา ให้คณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศ
กำหนดวันเลือกตั้งทั่วไปในราชกิจจานุเบกษา ต้องไม่น้อยกว่า ๔๕ วันแต่ไม่เกิน ๖๐ วันนับแต่วันที่พระ
ราชกฤษฎกี าดงั กลา่ วใชบ้ ังคบั วนั เลือกตั้งนัน้ ต้องกำหนดเป็นวันเดียวกนั ทั่วราชอาณาจักร

มาตรา ๑๐๔ ในกรณีที่มีเหตุจำเปน็ อันมิอาจหลีกเลี่ยงได้ เป็นเหตุให้ไม่สามารถจดั การเลอื กตั้งตาม
วันที่คณะกรรมการการเลือกต้ังประกาศกำหนด คณะกรรมการการเลือกตัง้ จะกำหนดวนั เลือกตัง้ ใหม่ก็ได้ แต่
ต้องจดั ให้มีการเลือกต้งั ภายใน ๓๐ วนั นับแต่วันทเี่ หตุดังกลา่ วสิ้นสดุ ลง

มาตรา ๑๐๕ เม่ือตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรว่างลงเพราะเหตุอ่ืนใด นอกจากถึงคราวออก
ตามอายุของสภาผู้แทนราษฎร หรอื เมอ่ื มกี ารยุบสภาผแู้ ทนราษฎร ให้ดำเนนิ การ ดังตอ่ ไปนี้

(๑) ในกรณีทว่ี า่ งเปน็ ตำแหนง่ สมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง
ใหด้ ำเนนิ การตราพระราชกฤษฎีกาเพื่อจัดให้มีการเลือกต้ังสมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรข้ึนแทนตำแหน่งทว่ี า่ ง เว้น
แต่อายุของสภาผู้แทนราษฎรจะเหลืออยู่ไม่ถึง ๑๘๐ วัน และให้นำความในมาตรา ๑๐๒ มาใช้บังคับโดย
อนโุ ลม

(๒) ในกรณีที่ว่างเป็นตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ให้ประธานสภา
ผู้แทนราษฎรประกาศให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองนั้นเลื่อนขึ้นมาเป็น
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งทวี่ ่าง โดยต้องประกาศในราชกิจจานุเบกษาภายใน ๗ วันนับแต่วันท่ี
ตำแหน่งนั้นว่างลง หากไม่มีรายชื่อเหลืออยู่ในบัญชีที่จะเลื่อนขึ้นมาแทนตำแหน่งที่ว่าง ให้สมาชิกสภาผู้แทน
ราษฎรแบบบญั ชีรายช่ือประกอบดว้ ยสมาชิกเท่าทีม่ ีอยู่

สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เข้ามาแทนแบบแบ่งเขต ให้เริ่มนับแต่วันเลือกตั้งแทน
ตำแหน่งท่ีว่าง ส่วนสมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เข้ามาแทนแบบบัญชีรายชือ่ ให้เร่ิมนับแต่วันถัด
จากวันประกาศชื่อในราชกิจจานุเบกษา และให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เข้ามาแทนตำแหน่งที่ว่างนั้นอยู่ใน
ตำแหนง่ ไดเ้ พยี งเทา่ อายุของสภาผแู้ ทนราษฎรทเี่ หลอื อยู่

มาตรา ๑๐๖ ภายหลังที่คณะรัฐมนตรีเข้าบริหารราชการแผ่นดินแล้ว กษัตริย์จะทรงแต่งตั้ง
สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรผูเ้ ป็นหวั หนา้ พรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎรท่มี ีจำนวนสมาชกิ มากทีส่ ุด และ
สมาชกิ มิไดด้ ำรงตำแหน่งรัฐมนตรี ประธานสภาผแู้ ทนราษฎร หรือรองประธานสภาผู้แทนราษฎร เปน็ ผนู้ ำ
ฝา่ ยคา้ นในสภาผแู้ ทนราษฎร

ในกรณที ่พี รรคการเมืองตามวรรคหนงึ่ มสี มาชกิ เท่ากัน ให้ใชว้ ธิ ีจบั สลาก
ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านใน
สภาผูแ้ ทนราษฎร

ส่วนที่ ๓
วฒุ สิ ภา

มาตรา ๑๐๗ วุฒิสภามีสมาชิกจำนวน ๒๐๐ คน ซึ่งมาจากการเลือกกันเองของบุคคลซึ่งมี
ความรู้ ความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์ อาชพี ลกั ษณะ หรือประโยชน์ร่วมกัน หรือทำงาน หรอื เคยทำงานด้าน
ตา่ ง ๆ ทีห่ ลากหลายของสงั คม โดยในการแบ่งกลุม่ ต้องแบง่ ในลกั ษณะทีท่ ำให้ประชาชนซ่งึ มสี ทิ ธสิ มัครรับเลือก
ทุกคนสามารถอยูใ่ นกลุ่มใดกลมุ่ หนึง่ ได้

การแบ่งกลุ่ม จำนวนกลุ่ม และคุณสมบัติของบุคคลในแต่ละกลุ่ม การสมัครและรับสมัคร
หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกกันเอง การไดร้ ับเลือก จำนวนสมาชิกวุฒิสภาทีจ่ ะพึงมีจากแต่ละกลุ่ม การขึ้นบัญชี
สำรอง การเลื่อนบุคคลจากบัญชีสำรองขึ้นดำรงตำแหน่งแทน และมาตรการอื่นใดที่จำเป็นเพื่อให้การเลือก
กันเองเป็นไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการได้มาซ่ึง
สมาชิกวุฒิสภา และเพื่อประโยชน์ในการดำเนินการให้การเลือกดังกล่าวเป็นไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม จะ
กำหนดมิให้ผู้สมัครในแต่ละกลุ่มเลือกบุคคลในกลุ่มเดียวกัน หรือจะกำหนดให้มีการคัดกรองผู้สมัครรับเลือก
ดว้ ยวธิ ีการอน่ื ใดทผ่ี ู้สมัครรับเลอื กมีส่วนรว่ มในการคดั กรองกไ็ ด้

การดำเนินการตามวรรคสอง ให้ดำเนินการตั้งแต่ระดับอำเภอ ระดับจังหวัด และระดับประเทศ
เพอื่ ให้สมาชกิ วุฒสิ ภาเป็นผ้แู ทนปวงชนชาวไทยในระดับประเทศ

ในกรณีท่ีตำแหน่งสมาชิกวุฒิสภามีจำนวนไม่ครบ ๒๐๐ คน ไม่ว่าเพราะเหตุตำแหน่งว่างลง หรือ
ดว้ ยเหตอุ น่ื ใดอนั มใิ ช่เพราะเหตถุ ึงคราวออกตามอายุของวุฒสิ ภา และไม่มรี ายชื่อบุคคลทส่ี ำรองไว้เหลืออยู่ ให้
วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิกวุฒิสภาเท่าที่มีอยู่ แต่ในกรณีที่มีสมาชิกวุฒิสภาเหลืออยู่ไม่ถึงกึ่งหนึ่งของจำนวน
สมาชกิ วฒุ ิสภาทั้งหมดและอายขุ องวุฒสิ ภาเหลืออยู่เกนิ ๑ ปี ใหด้ ำเนนิ การเลอื กสมาชกิ วฒุ ิสภาขึ้นแทนภายใน
๑๐ วนั นับแตว่ ันทว่ี ุฒิสภามสี มาชกิ เหลืออย่ไู มถ่ ึงกง่ึ หน่งึ ในกรณีเชน่ ว่าน้ี ใหผ้ ู้ได้รบั เลอื กดังกลา่ วอยใู่ นตำแหน่ง
ได้เพยี งเทา่ อายขุ องวุฒิสภาท่ีเหลอื อยู่

การเลือกสมาชิกวุฒิสภาให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา และภายใน ๕ วันนับแต่วันที่พระราช
กฤษฎีกามีผลใช้บังคับ ให้คณะกรรมการการเลือกตั้งกำหนดวันเริม่ ดำเนินการเพื่อเลือกไม่ช้ากว่า ๓๐ วัน
นับแต่วันท่พี ระราชกฤษฎีกาดงั กล่าวมผี ลใช้บงั คบั การกำหนดดงั กลา่ วใหป้ ระกาศในราชกจิ จานุเบกษา และให้
นำความในมาตรา ๑๐๔ มาใชบ้ งั คบั โดยอนุโลม

มาตรา ๑๐๘ สมาชกิ วุฒิสภาต้องมีคุณสมบตั ิและไมม่ ีลกั ษณะตอ้ งหา้ ม ดงั ต่อไปนี้
ก. คุณสมบัติสว
(๑) มีสัญชาตไิ ทยโดยการเกิด(แปลงสัญชาตไิ ม่ได้เลย
(๒) มีอายุไม่ต่ำกวา่ ๔๕ ในวันสมคั รรับเลือก
(๓) มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ หรือทำงานในด้านที่สมัครไม่น้อยกว่า ๑๐ ปี

หรือเป็นผู้มีลักษณะตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่ าด้วยการ
ไดม้ าซึง่ สมาชิกวุฒิสภา

(๔) เกิด มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน ทำงาน หรือมีความเกี่ยวพันกับพื้นที่ที่สมัครตามหลักเกณฑ์
และเง่อื นไขท่บี ัญญตั ไิ ว้ในพระราชบญั ญตั ิประกอบรัฐธรรมนูญวา่ ด้วยการได้มาซง่ึ สมาชกิ วุฒิสภา

ข. ลกั ษณะตอ้ งหา้ มสว
(๑) เปน็ บคุ คลตอ้ งหา้ มมิให้ใชส้ ิทธสิ มคั รรับเลอื กตั้ง
(๒) หา้ มเป็นข้าราชการ
(๓) หา้ มเป็นหรอื เคยเป็นสมาชกิ สภาผ้แู ทนราษฎร เว้นแต่ได้พน้ จากการเป็นสมาชิกสภาผู้แทน

ราษฎรมาแลว้ ไมน่ อ้ ยกว่า ๕ ปีนบั ถึงวนั สมัครรับเลอื ก
(๔) หา้ มเปน็ สมาชิกพรรคการเมอื ง
(๕) หา้ มเปน็ หรอื เคยเป็นผูด้ ำรงตำแหน่งใดในพรรคการเมือง เวน้ แต่ได้พน้ จากการดำรงตำแหน่ง

ในพรรคการเมอื งมาแล้วไม่น้อยกวา่ ๕ ปนี ับถงึ วันสมคั รรบั เลือก
(๖) หา้ มเป็นหรอื เคยเป็นรัฐมนตรี เวน้ แต่ได้พ้นจากการเปน็ รฐั มนตรีมาแล้วไม่น้อยกว่า ๕ ปีนับ

ถงึ วนั สมคั รรบั เลอื ก
(๗) เป็นหรือเคยเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น เว้นแต่ได้พ้นจากการเป็นสมาชิก

สภาท้องถ่นิ หรอื ผู้บริหารทอ้ งถ่นิ มาแล้วไมน่ อ้ ยกวา่ ๕ ปนี บั ถึงวันสมคั รรบั เลือก
(๘) ห้ามเป็นบุพการี คู่สมรส หรือบุตรของผู้ดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิก

วุฒิสภา ข้าราชการการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารทอ้ งถิน่ ผู้สมัครรับเลอื กเป็นสมาชกิ วุฒสิ ภา
ในคราวเดียวกัน หรือผดู้ ำรงตำแหน่งในศาลรฐั ธรรมนูญหรือในองคก์ รอสิ ระ

(๙) เคยดำรงตำแหนง่ สมาชิกวฒุ สิ ภาตามรัฐธรรมนูญน้ี

มาตรา ๑๐๙ อายุของวฒุ สิ ภามีกำหนดคราวละ ๕ ปนี บั แต่วันประกาศผลการเลือก
สมาชกิ ภาพของสมาชิกวฒุ สิ ภาเริ่มตัง้ แต่วันที่คณะกรรมการการเลอื กต้ังประกาศผลการเลอื ก
เมื่ออายุของวุฒสิ ภาสิ้นสดุ ลง ให้สมาชิกวุฒิสภาอยู่ในตำแหน่งเพื่อปฏิบัตหิ น้าที่ต่อไปจนกว่าจะมี

สมาชิกวฒุ ิสภาข้นึ ใหม่
มาตรา ๑๑๑ สมาชิกภาพของสมาชิกวฒุ สิ ภาสิ้นสุดลง เม่อื
(๑) ถงึ คราวออกตามอายุของวุฒสิ ภา
(๒) ตาย
(๓) ลาออก
(๔) ขาดคณุ สมบตั ิหรือมลี ักษณะตอ้ งหา้ มตามมาตรา ๑๐๘
(๕) ขาดประชุมเกินจำนวน ๑ ใน ๔ ของจำนวนวันประชุมในสมัยประชุมที่มีกำหนดเวลาไม่นอ้ ย

กว่า ๑๒๐ วันโดยไมไ่ ดร้ ับอนญุ าตจากประธานวุฒิสภา
(๖) ต้องคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก แม้จะมีการรอการลงโทษ เว้นแต่เป็นการรอการลงโทษใน

ความผดิ อันไดก้ ระทำโดยประมาท ความผิดลหุโทษ หรอื ความผดิ ฐานหมิ่นประมาท
(๗) กระทำการอันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา ๑๑๓ หรือกระทำการอันต้องห้ามตามมาตรา ๑๘๔ หรือ

มาตรา ๑๘๕
(๘) พ้นจากตำแหนง่ เพราะเหตตุ ามมาตรา ๑๔๔ หรือมาตรา ๒๓๕ วรรคสาม
มาตรา ๑๑๒ บคุ คลผเู้ คยดำรงตำแหน่งสมาชิกวุฒิสภาและสมาชกิ ภาพสิน้ สดุ ลงมาแล้วยังไม่เกิน

๒ ปี จะเป็นรัฐมนตรีหรือผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองมิได้ เว้นแต่เป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหาร
ทอ้ งถิ่น

มาตรา ๑๑๓ สมาชกิ วฒุ ิสภาต้องไมฝ่ ักใฝ่หรือยอมตนอยูใ่ ต้อาณัตขิ องพรรคการเมืองใด ๆ

สว่ นท่ี ๔
บททีใ่ ช้แกส่ ภาท้งั สอง

มาตรา ๑๑๔ สมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎรและสมาชกิ วฒุ ิสภายอ่ มเป็นผูแ้ ทนปวงชนชาวไทย
มาตรา ๑๑๕ ก่อนเข้ารับหน้าที่ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาต้องปฏิญาณตนใน
ทป่ี ระชุมแห่งสภาทต่ี นเปน็ สมาชกิ ดว้ ยถ้อยคำ ดังต่อไปนี้
“ข้าพเจ้า (ชื่อผู้ปฏิญาณ) ขอปฏิญาณว่า ข้าพเจ้าจะปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพ่ือ
ประโยชน์ของประเทศและประชาชน ทั้งจะรักษาไว้และปฏิบัติตามซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุก
ประการ
มาตรา ๑๑๖ สภาผู้แทนราษฎรและวฒุ สิ ภาแต่ละสภา มีประธานสภาคนหนึ่งและรองประธานสภา
คนหนงึ่ หรือสองคน ซงึ่ พระมหากษัตรยิ ์ทรงแต่งตง้ั จากสมาชกิ แห่งสภานัน้ ๆ ตามมตขิ องสภา
ในระหว่างการดำรงตำแหน่ง ประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎรจะเปน็ กรรมการบริหาร
หรอื ดำรงตำแหน่งใดในพรรคการเมอื งขณะเดียวกันมไิ ด้
มาตรา ๑๑๗ ประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎรดำรงตำแหน่งจนสิ้นอายุของสภา
ผูแ้ ทนราษฎรหรือมกี ารยุบสภาผ้แู ทนราษฎร

ประธานและรองประธานวุฒิสภาดำรงตำแหน่งจนถึงวันสิ้นอายุของวุฒิสภา เว้นแต่ในระหว่าง
เวลาตามมาตรา ๑๐๙ วรรคสาม ให้ประธานและรองประธานวุฒิสภายังคงอยู่ในตำแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าท่ี
ตอ่ ไป

มาตรา ๑๑๘ ประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร และประธานและรองประธานวุฒิสภา
ย่อมพน้ จากตำแหน่งก่อนวาระตามมาตรา ๑๑๗ เมอื่

(๑) ขาดจากสมาชกิ ภาพแหง่ สภาที่ตนเปน็ สมาชกิ
(๒) ลาออกจากตำแหน่ง
(๓) ดำรงตำแหน่งนายกรฐั มนตรี รัฐมนตรี หรือข้าราชการการเมอื งอน่ื
(๔) ต้องคำพิพากษาให้จำคุก แม้คดีนั้นจะยังไม่ถงึ ที่สุดหรือมีการรอการลงโทษ เว้นแต่เป็นกรณีท่ีคดี
ยังไม่ถึงที่สุดหรือมีการรอการลงโทษในความผิดอันได้กระทำโดยประมาท ความผิดลหุโทษ หรือความผิดฐาน
หมน่ิ ประมาท
มาตรา ๑๑๙ ประธานสภาผู้แทนราษฎรและประธานวุฒิสภามีหน้าที่และอำนาจดำเนินกิจการของ
สภานั้น ๆ ให้เป็นไปตามข้อบังคับ รองประธานสภามีหน้าที่และอำนาจตามที่ประธานสภามอบหมายและ
ปฏบิ ตั ิหนา้ ทีแ่ ทนประธานสภาเมอื่ ประธานสภาไม่อยหู่ รือไมส่ ามารถปฏบิ ตั ิหน้าที่ได้

ประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานวุฒิสภา และผู้ทำหน้าที่แทน ต้องวางตนเป็นกลางในการ
ปฏิบัติหน้าที่

เมื่อประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎรหรือประธานและรองประธานวุฒิสภาไม่อยู่ในท่ี
ประชมุ ใหส้ มาชิกแห่งสภานนั้ ๆ เลอื กกันเองให้สมาชิกคนหน่ึงเป็นประธานในคราวประชมุ นัน้

มาตรา ๑๒๐ การประชุมสภาผู้แทนราษฎรและการประชุมวุฒิสภาต้องมีสมาชิกมาประชุมไม่น้อย
กว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของแต่ละสภา จึงจะเป็นองค์ประชุม เว้นแต่ในกรณีการ
พจิ ารณาระเบยี บวาระกระทู้ สภาผูแ้ ทนราษฎรหรอื วฒุ สิ ภาจะกำหนดองค์ประชมุ ไวใ้ นขอ้ บังคบั เป็นอย่างอื่นก็
ได้

การลงมติวินิจฉัยข้อปรึกษาให้ถือเสียงข้างมากเป็นประมาณ เว้นแต่ที่มีบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่นใน
รฐั ธรรมนญู

สมาชิกคนหนึ่งย่อมมเี สียงหนึ่งในการออกเสียงลงคะแนน ถา้ มคี ะแนนเสยี งเท่ากัน ให้ประธานใน
ทปี่ ระชมุ ออกเสยี งเพ่ิมข้ึนอกี เสียงหนึ่งเปน็ เสยี งช้ีขาด

รายงานการประชุมและบันทึกการออกเสียงลงคะแนนของสมาชิกแต่ละคนต้องเปิดเผยให้
ประชาชนทราบไดท้ ว่ั ไป เวน้ แต่กรณกี ารประชุมลบั หรือการออกเสียงลงคะแนนเปน็ การลบั

การออกเสียงลงคะแนนเลือกหรือให้ความเหน็ ชอบใหบ้ คุ คลดำรงตำแหนง่ ใด ให้กระทำเปน็ การลับ
เวน้ แตท่ ่มี บี ัญญตั ไิ ว้เป็นอยา่ งอืน่ ในรัฐธรรมนูญ

มาตรา ๑๒๑ ภายใน ๑๕ วันนับแต่วันประกาศผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรอันเป็น
การเลอื กตัง้ ทวั่ ไป ให้มกี ารเรยี กประชมุ รัฐสภาเพอ่ื ให้สมาชิกได้มาประชุมเป็นคร้ังแรก

ใน ๑ ปี ให้มีสมัยประชุมสามัญของรัฐสภา ๒ สมัย ๆ หนึ่งให้มีกำหนดเวลา ๑๒๐ วัน แต่
พระมหากษตั ริย์จะโปรดเกลา้ โปรดกระหม่อมให้ขยายเวลาออกไปก็ได้

การปิดสมัยประชุมสามัญประจำปีก่อนครบกำหนดเวลา ๑๒๐ วัน จะกระทำได้ก็แต่โดยความ
เห็นชอบของรฐั สภา

วนั ประชมุ ครั้งแรกภายใน ๑๕ วันนบั แต่วันประกาศผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎให้
ถือเป็นวันเริ่มสมัยประชุมสามัญประจำปีครั้งที่หนึ่ง ส่วนวันเริ่มสมัยประชุมสามัญประจำปีครั้งที่สอง ให้
เป็นไปตามที่สภาผู้แทนราษฎรกำหนด แต่ในกรณีที่การประชุมครั้งแรกมีเวลาจนถึงสิ้นปีปฏิทินไม่เพียง
พอที่จะจัดให้มีการประชุมสมัยประชุมสามัญประจำปีครั้งที่สอง จะไม่มีการประชุมสมัยสามัญประจำปีครั้งที่
สองสำหรบั ปนี น้ั กไ็ ด้

มาตรา ๑๒๒ พระมหากษัตริยท์ รงเรยี กประชมุ รัฐสภา ทรงเปดิ และทรงปดิ ประชุม
พระมหากษัตริย์จะเสดจ็ พระราชดำเนินมาทรงทำรฐั พธิ ีเปดิ ประชมุ สมัยประชมุ สามัญประจำปีคร้ัง

แรกด้วยพระองค์เอง หรือจะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้พระรัชทายาทซึ่งทรงบรรลุนิติภาวะแล้วหรือผู้ ใดผู้
หนง่ึ เปน็ ผู้แทนพระองค์ มาทำรัฐพิธกี ไ็ ด้

เมอ่ื มคี วามจำเปน็ เพอื่ ประโยชนแ์ ห่งรฐั พระมหากษตั ริยจ์ ะทรงเรียกประชุมรฐั สภาเป็นการประชุม
สมัยวิสามัญก็ได้

ภายใต้บังคับมาตรา ๑๒๓ และมาตรา ๑๒๖ การเรียกประชุม การขยายเวลาประชุม และการ
ปิดประชมุ รฐั สภา ใหก้ ระทำโดยพระราชกฤษฎกี า

มาตรา ๑๒๓ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาทั้งสองสภารวมกัน หรือ
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร มีจำนวนไม่น้อยกว่า ๑ ใน ๓ ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสอง
สภา มีสิทธิเข้าชื่อร้องขอต่อประธานรัฐสภาให้นำความกราบบังคมทูลเพื่อมีพระบรมราชโองการประกาศ
เรยี กประชุมรฐั สภาเป็นการประชุมสมัยวิสามัญได้

ใหป้ ระธานรฐั สภานำความกราบบังคมทูลและลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ
มาตรา ๑๒๔ ในที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร ที่ประชุมวุฒิสภา หรือที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา
สมาชกิ ผใู้ ดจะกลา่ วถ้อยคำใดในทางแถลงข้อเท็จจริง แสดงความคดิ เห็นหรือออกเสยี งลงคะแนน ยอ่ มเป็นเอก
สิทธิ์โดยเดด็ ขาด ผ้ใู ดจะนำไปเปน็ เหตุฟ้องร้องวา่ กลา่ วสมาชิกผนู้ น้ั ในทางใด ๆ มไิ ด้

เอกสิทธิ์ตามวรรคหนึ่งไม่คุ้มครองสมาชิกผู้กล่าวถ้อยคำในการประชุมที่มีการถ่ายทอดทาง
วิทยุกระจายเสยี งหรือวทิ ยุโทรทัศนห์ รือทางอืน่ ใด หากถ้อยคำที่กล่าวในทป่ี ระชมุ ไปปรากฏนอกบริเวณรัฐสภา
และการกล่าวถ้อยคำนั้นมีลักษณะเป็นความผิดทางอาญาหรือละเมิดสิทธิในทางแพ่ งต่อบุคคลอื่นซึ่งมิใช่
รฐั มนตรีหรอื สมาชกิ แห่งสภานน้ั

ในกรณีตามวรรคสอง ถ้าสมาชิกกล่าวถ้อยคำใดที่อาจเป็นเหตุให้บุคคลอื่นซึ่งมิใช่รัฐมนตรีหรือ
สมาชกิ แห่งสภานั้นได้รับความเสียหาย ใหป้ ระธานแห่งสภานั้นจัดให้มีการโฆษณาคำช้ีแจงตามที่บุคคลน้ันร้อง
ขอตามวิธีการและภายในระยะเวลาที่กำหนดในข้อบังคับการประชุมของสภานั้น ทั้งนี้ โดยไม่กระทบต่อสิทธิ
ของบคุ คลในการฟ้องคดตี ่อศาล

เอกสิทธิ์ที่บัญญัติไว้ในมาตรานี้ ย่อมคุ้มครองไปถึงผู้พิมพ์และผู้โฆษณารายงานการประชุมตาม
ข้อบังคับของสภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา หรือรัฐสภา แล้วแต่กรณี และคุ้มครองไปถึงบุคคลซึ่งประธานใ นท่ี
ประชุมอนุญาตให้แถลงข้อเท็จจริง หรือแสดงความคิดเห็นในที่ประชุม ตลอดจนผู้ดำเนินการถ่ายทอดการ

ประชุมสภาทางวิทยกุ ระจายเสยี งหรอื วิทยโุ ทรทศั นห์ รือทางอ่นื ใดซงึ่ ไดร้ บั อนญุ าตจากประธานแหง่ สภาน้ันด้วย
โดยอนุโลม

มาตรา ๑๒๕ ในระหวา่ งสมยั ประชมุ หา้ มมิให้จบั คมุ ขัง หรือหมายเรียกตวั สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
หรือสมาชิกวุฒิสภาไปทำการสอบสวนในฐานะที่สมาชิกผู้นั้นเป็นผู้ต้องหาในคดอี าญา เว้นแต่จะได้รับอนุญาต
จากสภาท่ผี ้นู ้ันเป็นสมาชิก หรือเป็นการจบั ในขณะกระทำความผดิ

ในกรณีท่มี ีการจับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือสมาชกิ วุฒสิ ภาในขณะกระทำความผิด ใหร้ ายงาน
ไปยังประธานแหง่ สภาท่ผี ู้นนั้ เปน็ สมาชกิ โดยพลนั และเพือ่ ประโยชนใ์ นการประชุมสภาประธานแหง่ สภาท่ีผู้นั้น
เป็นสมาชกิ อาจส่งั ใหป้ ล่อยผ้ถู ูกจับเพือ่ ใหม้ าประชมุ สภาได้

ถ้าสมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรหรือสมาชกิ วุฒิสภาถูกคุมขังในระหว่างสอบสวนหรือพิจารณาอยู่ก่อน
สมัยประชุม เม่ือถึงสมัยประชุม พนักงานสอบสวนหรือศาล แล้วแต่กรณี ต้องสั่งปล่อยทันทีถ้าประธานแห่ง
สภาที่ผ้นู น้ั เปน็ สมาชิกไดร้ อ้ งขอ โดยศาลจะส่งั ให้มีประกนั หรอื มีประกนั และหลกั ประกนั ด้วยหรือไมก่ ็ได้

ในกรณีที่มีการฟ้องสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาในคดีอาญา ไม่ว่าจะได้ฟ้องนอก
หรือในสมัยประชุม ศาลจะพิจารณาคดีนั้นในระหว่างสมัยประชุมก็ได้ แต่ต้องไม่เป็นการขัดขวางต่อการท่ี
สมาชกิ ผู้นั้นจะมาประชุมสภา

มาตรา ๑๒๖ ในระหว่างที่ไม่มีสภาผู้แทนราษฎร ไม่ว่าด้วยเหตุสภาผู้แทนราษฎรสิ้นอายุ สภา
ผแู้ ทนราษฎรถกู ยบุ หรอื เหตอุ ่ืนใด จะมกี ารประชุมวฒุ สิ ภามิได้ เวน้ แต่

(๑) มีกรณีที่รัฐสภาต้องดำเนินการตามมาตรา ๑๗ มาตรา ๑๙ มาตรา ๒๐ มาตรา ๒๑ หรือมาตรา
๑๗๗

(๒) มีกรณีที่วุฒิสภาต้องประชุมเพื่อทำหน้าที่พิจารณาให้บุคคลดำรงตำแหน่งใดตามบทบัญญัติ
แห่งรฐั ธรรมนูญ

เมื่อมีกรณีตามวรรคหนึ่ง ให้วุฒิสภาดำเนินการประชุมได้ โดยให้ประธานวุฒิสภานำความกราบ
บังคมทูลเพื่อมีพระบรมราชโองการประกาศเรียกประชุมรัฐสภาเป็นการประชุมสมัยวิสามัญ และให้ประธาน
วฒุ ิสภาเปน็ ผลู้ งนามรับสนองพระบรมราชโองการ

ในกรณีตาม (๑) ให้วุฒิสภาทำหน้าที่รัฐสภา แต่การให้ความเห็นชอบตามมาตรา ๑๗๗ ต้องมี
คะแนนเสยี งไมน่ อ้ ยกว่า ๒ ใน ๓ ของจำนวนสมาชกิ ท้ังหมดเทา่ ท่มี อี ยู่ของวุฒสิ ภา

มาตรา ๑๒๗ การประชุมสภาผู้แทนราษฎร การประชุมวุฒิสภา และการประชุมร่วมกันของรัฐสภา
ยอ่ มเปน็ การเปิดเผยตามลักษณะที่กำหนดไว้ในข้อบังคับการประชุมแต่ละสภา แตถ่ ้าคณะรัฐมนตรีหรือสมาชิก
ของแต่ละสภา หรือสมาชิกของทั้งสองสภารวมกัน มีจำนวนไม่น้อยกว่า ๑ ใน ๔ ของจำนวนสมาชิกทั้งหมด
เท่าที่มีอยู่ของแต่ละสภา หรือจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าทีม่ ีอยู่ของทั้งสองสภา แล้วแต่กรณี ร้องขอให้ประชุม
ลับ ก็ใหป้ ระชุมลบั

มาตรา ๑๒๘ สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภามีอำนาจตราข้อบังคับการประชุมเกี่ยวกับการเลือกและ
การปฏิบัติหน้าที่ของประธานสภา รองประธานสภา เรื่องหรือกิจการอันเป็นหน้าที่และอำนาจของ
คณะกรรมาธิการสามัญแต่ละชุด การปฏิบัติหน้าที่และองค์ประชุมของคณะกรรมาธิการ วิธีการประชุม การ
เสนอและพิจารณาร่างพระราชบัญญตั ปิ ระกอบรัฐธรรมนญู และร่างพระราชบัญญัติ การเสนอญตั ติ การปรกึ ษา
การอภิปราย การลงมติ การบันทึกการลงมติ การเปิดเผยการลงมติ การตั้งกระทู้ถาม การเปิดอภิปรายทั่วไป

การรักษาระเบียบและความเรียบร้อย และการอื่นที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งมีอำนาจตราข้อบังคับเกี่ยวกับประมวล
จริยธรรมของสมาชิกและกรรมาธิการ และกิจการอ่ืนเพือ่ ดำเนนิ การตามบทบญั ญัตแิ ห่งรฐั ธรรมนญู

ในข้อบังคับตามวรรคหนึ่งในส่วนที่เกี่ยวกับการตั้งกรรมาธิการวิสามัญเพื่อพิจารณาร่าง
พระราชบัญญัติที่ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัยว่ามีสาระสำคัญเกี่ยวกับเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ หรือ
คนพิการ หรือทุพพลภาพ ต้องกำหนดให้บุคคลประเภทดังกล่าวหรือผู้แทนองค์กรเอกชนที่ทำงานเกี่ยวกับ
บุคคลประเภทนั้นโดยตรง ร่วมเป็นกรรมาธิการวิสามัญด้วยไม่น้อยกว่า ๑ ใน ๓ ของจำนวนกรรมาธิการ
วิสามัญทั้งหมด และในส่วนที่เกี่ยวกับการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่ผู้มีสิทธิเลือกตั้งเข้าชื่อเสนอ ต้อง
กำหนดให้ผู้แทนของผู้มีสิทธิเลือกตั้งซึ่งเข้าชื่อเสนอร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวร่วมเป็นกรรมาธิการวิสามัญ
ด้วยไมน่ อ้ ยกว่า ๑ ใน ๓ ของจำนวนกรรมาธิการวิสามญั ทั้งหมด

มาตรา ๑๒๙ สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภามีอำนาจเลือกสมาชิกของแต่ละสภาตั้งเป็น
คณะกรรมาธิการสามัญ และมีอำนาจเลือกบุคคลผู้เป็นสมาชิกหรือมิได้เป็นสมาชิก ตั้งเป็นคณะกรรมาธิการ
วิสามัญ หรือคณะกรรมาธิการร่วมกันตามมาตรา ๑๓๗ เพื่อกระทำกิจการ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริงหรือ
ศึกษาเร่อื งใด ๆ และรายงานให้สภาทราบตามระยะเวลาทส่ี ภากำหนด

การกระทำกิจการ การสอบหาข้อเท็จจริง หรือการศึกษาตามวรรคหนึ่ง ต้องเป็นเรื่องที่อยู่ใน
หนา้ ทแี่ ละอำนาจของสภา และหน้าทแี่ ละอำนาจตามทรี่ ะบไุ ว้ในการต้ังคณะกรรมาธิการกด็ ี ในการดำเนินการ
ของคณะกรรมาธิการก็ดี ต้องไม่เป็นเรื่องซ้ำซ้อนกัน ในกรณีที่การกระทำกิจการ การสอบหาข้อเท็จจริงหรือ
การศกึ ษาในเรื่องใดมีความเกี่ยวข้องกัน ใหเ้ ปน็ หนา้ ท่ีของประธานสภาที่จะต้องดำเนินการใหค้ ณะกรรมาธิการ
ทีเ่ ก่ยี วข้องทุกชดุ ร่วมกนั ดำเนนิ การ

ในการสอบหาขอ้ เท็จจริง คณะกรรมาธกิ ารจะมอบอำนาจหรือมอบหมายให้บคุ คลหรือคณะบุคคล
ใดกระทำการแทนมิได้

คณะกรรมาธิการตามวรรคหนึ่งมีอำนาจเรียกเอกสารจากบุคคลใด หรือเรียกบุคคลใดมาแถลง
ขอ้ เทจ็ จรงิ หรือแสดงความเห็นในกิจการที่กระทำหรือในเร่ืองที่พจิ ารณาสอบหาข้อเท็จจริงหรือศึกษาอยู่น้ันได้
แต่การเรียกเช่นว่านั้นมิให้ใช้บังคับแก่ผู้พิพากษาหรือตุลาการที่ปฏิบัติตามหน้าที่หรือใช้อำนาจในกระบวนวิธี
พิจารณาพิพากษาอรรถคดี หรือการบริหารงานบุคคลของแต่ละศาล และมิให้ใช้บังคับแก่ผู้ดำรงตำแหน่งใน
องค์กรอิสระในส่วนที่เกี่ยวกับการปฏิบัติตามหน้าที่และอำนาจโดยตรงในแต่ละองค์กรตามบทบัญญัติใน
รัฐธรรมนญู หรือตามพระราชบัญญตั ิประกอบรฐั ธรรมนูญ แลว้ แตก่ รณี

ใหเ้ ปน็ หน้าที่ของรฐั มนตรีท่ีรับผดิ ชอบในกิจการที่คณะกรรมาธิการสอบหาข้อเท็จจริงหรือศึกษาท่ี
จะต้องสั่งการให้เจ้าหน้าที่ของรัฐในสังกัดหรือในกำกับ ให้ข้อเท็จจริง ส่งเอกสาร หรือแสดงความเห็นตามท่ี
คณะกรรมาธกิ ารเรยี ก

ให้สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาเปิดเผยบันทึกการประชุม รายงานการดำเนินการ รายงานการ
สอบหาข้อเท็จจริง หรือรายงานการศึกษา แล้วแต่กรณี ของคณะกรรมาธิการให้ประชาชนทราบ เว้นแต่สภา
ผ้แู ทนราษฎรหรอื วุฒิสภา แล้วแตก่ รณี มีมตมิ ิใหเ้ ปิดเผย

เอกสิทธิ์ที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๑๒๔ ให้คุ้มครองถึงบุคคลผู้กระทำหน้าที่และผู้ปฏิบัติตามคำเรียก
ตามมาตรานีด้ ว้ ย

กรรมาธิการสามัญซึ่งตั้งจากผู้ซึ่งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหมด ต้องมีจำนวนตามหรือ
ใกล้เคียงกบั อัตราส่วนของจำนวนสมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรของแต่ละพรรคการเมืองท่ีมีอยใู่ นสภาผู้แทนราษฎร

ในระหว่างที่ยังไม่มีข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎรตามมาตรา ๑๒๘ ให้ประธานสภา
ผู้แทนราษฎรเปน็ ผูก้ ำหนดอตั ราสว่ นตามวรรคแปด
มาตรา ๑๓๐ ให้มีพระราชบญั ญตั ิประกอบรฐั ธรรมนญู ดงั ตอ่ ไปนี้

(๑) พระราชบญั ญตั ิประกอบรัฐธรรมนญู ว่าด้วยการเลอื กตง้ั สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร
(๒) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวา่ ด้วยการได้มาซง่ึ สมาชกิ วุฒสิ ภา
(๓) พระราชบัญญตั ิประกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ด้วยคณะกรรมการการเลอื กตัง้
(๔) พระราชบัญญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู ว่าด้วยพรรคการเมอื ง
(๕) พระราชบัญญตั ปิ ระกอบรัฐธรรมนูญวา่ ด้วยผู้ตรวจการแผ่นดนิ
(๖) พระราชบัญญัติประกอบรฐั ธรรมนูญว่าดว้ ยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
(๗) พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญว่าดว้ ยการตรวจเงินแผ่นดิน
(๘) พระราชบัญญตั ปิ ระกอบรัฐธรรมนูญวา่ ดว้ ยวิธพี จิ ารณาของศาลรัฐธรรมนูญ
(๙) พระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญวา่ ด้วยวธิ พี จิ ารณาคดีอาญาของผดู้ ำรงตำแหนง่ ทางการเมือง
(๑๐) พระราชบญั ญัติประกอบรัฐธรรมนญู ว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
มาตรา ๑๓๑ รา่ งพระราชบญั ญัติประกอบรฐั ธรรมนญู จะเสนอไดก้ แ็ ต่โดย
(๑) คณะรัฐมนตรี โดยข้อเสนอแนะของศาลฎกี า ศาลรฐั ธรรมนญู หรอื องค์กรอิสระท่ีเกย่ี วข้อง
(๒) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวนไม่น้อยกว่า ๑ ใน ๑๐ ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของ
สภาผ้แู ทนราษฎร
มาตรา ๑๓๒ ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ นอกจากที่บัญญัติไว้ดังต่อไปนี้ ให้กระทำ
เช่นเดยี วกับพระราชบญั ญตั ิ
(๑) การเสนอร่างพระราชบัญญัติประกอบรฐั ธรรมนูญใหเ้ สนอตอ่ รัฐสภา และใหร้ ัฐสภาประชุมรว่ มกนั
เพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จภายในเวลา ๑๘๐ วัน โดยการออกเสียง
ลงคะแนนในวาระที่สาม ต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบดว้ ยมากกวา่ กึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกท้ังหมดเท่าที่มีอยู่
ของรัฐสภา ถ้าที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภาพิจารณาไม่แล้วเสร็จภายในกำหนดเวลาดังกล่าวให้ถือว่ารัฐสภาให้
ความเห็นชอบตามรา่ งทีเ่ สนอตามมาตรา ๑๓๑
(๒) ภายใน ๑๕ วันนับแต่วันที่รัฐสภาให้ความเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ให้
รัฐสภาส่งร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นไปยังศาลฎีกา ศาลรัฐธรรมนูญ หรือองค์กรอิสระที่
เกี่ยวข้อง เพื่อให้ความเห็น ในกรณีที่ศาลฎีกา ศาลรัฐธรรมนูญ หรือองค์กรอิสระที่เกี่ยวข้อง ไม่มีข้อทักท้วง
ภายใน ๑๐ วันนับแต่วันท่ไี ดร้ บั ร่างดงั กลา่ ว ใหร้ ัฐสภาดำเนินการต่อไป
(๓) ในกรณีที่ศาลฎีกา ศาลรัฐธรรมนูญ หรือองค์กรอิสระที่เกี่ยวข้อง เห็นว่าร่างพระราชบัญญัติ
ประกอบรฐั ธรรมนูญท่ีรัฐสภาให้ความเห็นชอบมีข้อความใดขัดหรือแยง้ ต่อรัฐธรรมนูญ ให้เสนอความเห็นไปยัง
รัฐสภาและให้รฐั สภาประชมุ รว่ มกนั เพือ่ พจิ ารณาให้แล้วเสรจ็ ภายใน ๓๐ วันนบั แตว่ ันที่ไดร้ ับความเห็นดังกล่าว
ในการนี้ ให้รัฐสภามีอำนาจแก้ไขเพิ่มเติมตามข้อเสนอของศาลฎีกา ศาลรัฐธรรมนูญ หรือองค์กรอิสระ ตามที่
เหน็ สมควรได้ และเมอ่ื ดำเนนิ การเสรจ็ แล้ว ใหร้ ฐั สภาดำเนนิ การตอ่ ไป

มาตรา ๑๓๓ ร่างพระราชบญั ญตั ิให้เสนอตอ่ สภาผู้แทนราษฎรก่อน และจะเสนอได้ก็แต่โดย
(๑) คณะรัฐมนตรี
(๒) สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรจำนวนไม่น้อยกว่า ๒๐ คน
(๓) ผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่า ๑๐,๐๐๐ คนเข้าชื่อเสนอกฎหมายตามหมวด ๓ สิทธิและ
เสรภี าพของปวงชนชาวไทย หรอื หมวด ๕ หน้าท่ขี องรัฐ ทง้ั นี้ ตามกฎหมายว่าดว้ ยการเข้าชอ่ื เสนอกฎหมาย

ในกรณีที่ร่างพระราชบัญญัติซึ่งมีผู้เสนอตาม (๒) หรือ (๓) เป็นร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วย
การเงนิ จะเสนอไดก้ ็ตอ่ เมอ่ื มีคำรบั รองของนายกรฐั มนตรี

มาตรา ๑๓๔ ร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงิน หมายความถึงร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยเรื่องใด
เรื่องหนง่ึ ดงั ตอ่ ไปน้ี

(๑) การตั้งขึ้น ยกเลิก ลด เปลี่ยนแปลง แก้ไข ผ่อน หรือวางระเบียบการบังคับอันเกี่ยวกับภาษีหรือ
อากร

(๒) การจัดสรร รับ รกั ษา หรอื จ่ายเงนิ แผน่ ดิน หรอื การโอนงบประมาณรายจา่ ยของแผน่ ดนิ
(๓) การกเู้ งนิ การคำ้ ประกนั การใช้เงนิ กู้ หรือการดำเนนิ การที่ผกู พนั ทรพั ยส์ นิ ของรัฐ
(๔) เงินตรา

ในกรณีที่เป็นที่สงสัยว่าร่างพระราชบัญญัติใดเป็นร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงิน ให้เป็น
อำนาจของที่ประชุมร่วมกันของประธานสภาผู้แทนราษฎรและประธานคณะกรรมาธิการสามัญของสภา
ผู้แทนราษฎรทุกคณะเป็นผู้วินิจฉัย ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรจัดให้มีการประชุมร่วมกันเพื่อพิจารณา
ภายใน ๑๕ วันนับแต่วันที่มีกรณีดังกล่าว มติของที่ประชุมร่วมกัน ให้ใช้เสียงข้างมากเป็นประมาณ ถ้า
คะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรออกเสียงเพมิ่ ขึ้นอกี เสียงหนงึ่ เปน็ เสียงช้ขี าด

มาตรา ๑๓๕ ร่างพระราชบัญญัติใดที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือผู้มีสิทธิเลือกตั้งเป็นผู้เสนอ และ
ในชั้นรับหลักการไม่เป็นร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงิน แต่สภาผู้แทนราษฎรได้แก้ไขเพิ่มเติม และ
ประธานสภาผู้แทนราษฎรเห็นเองหรือมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทักท้วงต่อประธานสภาผู้แทนราษฎรว่าการ
แก้ไขเพิ่มเติมน้นั ทำใหม้ ีลักษณะเปน็ รา่ งพระราชบัญญัติเกี่ยวดว้ ยการเงิน ใหป้ ระธานสภาผู้แทนราษฎรสง่ั ระงับ
การพิจารณาไว้กอ่ น เพ่อื ดำเนินการตอ่ ไปตามมาตรา ๑๓๔ วรรคสอง วรรคสาม และวรรคส่ี

ในกรณที ที่ ีป่ ระชมุ ร่วมกันตามวรรคหนง่ึ วินิจฉัยว่า การแก้ไขเพ่ิมเติมทำให้รา่ งพระราชบัญญัตินั้นมี
ลักษณะเป็นร่างพระราชบัญญตั เิ กีย่ วด้วยการเงิน ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรส่งรา่ งพระราชบัญญัตินั้นไปให้
นายกรัฐมนตรีรับรอง ถ้านายกรัฐมนตรีไม่ให้คำรับรอง ให้สภาผู้แทนราษฎรดำเนินการแก้ไขเพื่อมิให้ร่าง
พระราชบญั ญตั นิ น้ั เป็นรา่ งพระราชบญั ญัติเกี่ยวดว้ ยการเงนิ

มาตรา ๑๓๖ เมื่อสภาผู้แทนราษฎรได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติและลงมติเห็นชอบแล้ว ให้สภา
ผ้แู ทนราษฎรเสนอร่างพระราชบญั ญัตินั้นต่อวุฒิสภา วุฒิสภาตอ้ งพจิ ารณาร่างพระราชบัญญัติที่เสนอมานั้นให้
เสร็จภายใน ๖๐ วัน แต่ถ้าร่างพระราชบัญญัตินั้นเป็นร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินต้องพิจารณาให้
เสร็จภายใน ๓๐ วัน ทั้งน้ี เว้นแต่วุฒิสภาจะได้ลงมติให้ขยายเวลาออกไปเป็นกรณีพิเศษซึ่งต้องไม่เกินสามสิบ
วนั กำหนดวนั ดงั กล่าวให้หมายถงึ วันในสมยั ประชุม และให้เรมิ่ นับแตว่ นั ทีร่ า่ งพระราชบญั ญตั นิ น้ั มาถงึ วฒุ ิสภา
ระยะเวลาในวรรคหน่งึ ไมใ่ หน้ ับรวมระยะเวลาท่อี ย่ใู นระหว่างการพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ

ถ้าวฒุ สิ ภาพิจารณารา่ งพระราชบญั ญัติไมเ่ สร็จภายในกำหนดเวลาตามวรรคหน่ึง ให้ถือว่าวุฒิสภา
ไดใ้ หค้ วามเห็นชอบในร่างพระราชบัญญตั ิน้ัน

ในกรณีที่สภาผู้แทนราษฎรเสนอร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินไปยังวุฒิสภา ให้
ประธานสภาผู้แทนราษฎรแจง้ ใหว้ ฒุ ิสภาทราบและใหถ้ อื เป็นเดด็ ขาด หากมิไดแ้ จง้ ใหถ้ ือว่ารา่ งพระราชบัญญัติ
น้นั ไมเ่ ปน็ ร่างพระราชบัญญัตเิ กยี่ วดว้ ยการเงิน

มาตรา ๑๓๗ เมอื่ วุฒิสภาไดพ้ ิจารณาร่างพระราชบัญญัติเสร็จแลว้
(๑) ถา้ เหน็ สว ชอบด้วยกบั สภาผแู้ ทนราษฎร ให้นายกรัฐมนตรนี ำขึน้ ทลู เกล้าเพอื่ พระมหากษัตริย์
ทรงลงพระปรมาภไิ ธย และประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใชบ้ ังคบั เป็นกฎหมายได้
(๒) ถ้าไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร ให้ยับยั้งร่างพระราชบัญญัตินั้นไว้ก่อนและส่งร่าง
พระราชบัญญัตินั้นคนื ไปยงั สภาผู้แทนราษฎร
(๓) ถ้าแก้ไขเพิ่มเติม ให้ส่งร่างพระราชบัญญตั ิตามที่แก้ไขเพิม่ เตมิ นั้นไปยังสภาผู้แทนราษฎร ถ้าสภา
ผู้แทนราษฎรเห็นชอบด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ให้ดำเนินการต่อไปตามมาตรา ๘๑ ถ้าเป็นกรณีอื่นให้แต่ละ
สภาตั้งบุคคลซึ่งเป็นหรือมิได้เป็นสมาชิกแห่งสภานั้น ๆ มีจำนวนเท่ากันตามที่สภาผู้แทนราษฎรกำหนด
ประกอบเป็นคณะกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัตินั้น และให้คณะกรรมาธิการร่วมกัน
รายงานและเสนอร่างพระราชบญั ญัติที่คณะกรรมาธิการร่วมกันไดพ้ ิจารณาแล้วต่อสภาท้ังสอง ถ้าสภาทั้งสอง
ต่างเห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติที่คณะกรรมาธิการร่วมกันได้พิจารณาแล้ว ให้ดำเนินการต่อไปตาม
มาตรา ๘๑ ถ้าสภาใดสภาหนึ่งไม่เห็นชอบด้วย ไม่ว่าอีกสภาหนึ่งจะได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัตินั้นแล้ว
หรือไม่ ให้ยับยง้ั ร่างพระราชบัญญตั นิ ้ันไว้กอ่ น

การประชุมคณะกรรมาธิการร่วมกันต้องมีกรรมาธิการของสภาทั้งสองมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่ง
หนึ่งของจำนวนกรรมาธิการทั้งหมดจึงจะเป็นองค์ประชุม และให้นำความในมาตรา ๑๕๗ มาใช้บังคับโดย
อนโุ ลม

ถ้าวุฒิสภาไม่ส่งร่างพระราชบัญญัติคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎรภายในกำหนดเวลาภายใน ๖๐ วัน
และการเงนิ ต้องพจิ ารณาใหเ้ สร็จภายใน ๓๐ วนั ใหถ้ ือวา่ วุฒสิ ภาได้ใหค้ วามเห็นชอบในรา่ งพระราชบญั ญตั นิ ั้น

มาตรา ๑๓๘ สภาผู้แทนราษฎรจะยกร่างพระราชบัญญัติที่ต้องยบั ยั้งไวต้ ามมาตรา ๑๓๗ ขึ้นพจิ ารณา
ใหมไ่ ด้เม่อื พน้ ๑๘๐ วนั นับแต่

(๑) วันที่วุฒิสภาส่งร่างพระราชบัญญัตินั้นคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎรสำหรับกรณีการยับยั้งตาม
มาตรา ๑๓๗ (๒)

(๒) วนั ท่สี ภาใดสภาหนึ่งไม่เห็นชอบดว้ ย สำหรับกรณกี ารยับย้ังตามมาตรา ๑๓๗ (๓)
ในกรณีตามวรรคหนึ่ง ถ้าสภาผู้แทนราษฎรลงมติยืนยันร่างที่ผ่านการพิจารณาจากสภา

ผู้แทนราษฎรหรือร่างที่คณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณาด้วยคะแนนเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิก
ทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎรแล้ว ให้ถือว่าร่างพระราชบัญญัตินั้นเป็นอันได้รับความเห็นชอบของ
รฐั สภา และให้ดำเนินการตอ่ ไปตามมาตรา ๘๑

ภายใต้บังคับมาตรา ๑๔๓ วรรคสี่ ระยะเวลาหนึ่งร้อยแปดสิบวันตามวรรคหนึ่ง ให้ลดเหลือ ๑๐
วนั ในกรณรี ่างพระราชบัญญตั ิทตี่ ้องยบั ยงั้ ไว้นัน้ เป็นร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงนิ

มาตรา ๑๓๙ ในระหว่างที่มกี ารยับยั้งรา่ งพระราชบัญญัติใดตามมาตรา ๑๓๗ คณะรัฐมนตรีหรอื
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจะเสนอร่างพระราชบัญญัติที่มีหลักการอย่างเดียวกันหรือคล้ายกันกับหลักการของ
รา่ งพระราชบญั ญตั ทิ ตี่ อ้ งยบั ย้ังไว้มิได้

ในกรณีที่สภาผู้แทนราษฎรหรือวุฒิสภาเห็นว่าร่างพระราชบัญญัติที่เสนอหรือส่งให้พิจารณาน้ัน
เป็นร่างพระราชบัญญัติที่มีหลักการอยา่ งเดียวกันหรือคล้ายกันกับหลักการของร่างพระราชบัญญัติท่ีต้องยับย้ัง
ไว้ ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรหรือประธานวุฒิสภาส่งรา่ งพระราชบัญญัติดังกลา่ วให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย
ถ้าศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าเป็นร่างพระราชบัญญัติที่มีหลักการอย่างเดียวกันหรือคล้ายกันกับหลักการของ
รา่ งพระราชบัญญตั ทิ ี่ต้องยับยง้ั ไว้ ใหร้ ่างพระราชบัญญัตนิ น้ั เป็นอนั ตกไป

มาตรา ๑๔๐ การจ่ายเงินแผ่นดิน จะกระทำได้เฉพาะที่ได้อนุญาตไว้ในกฎหมายว่าด้วยงบประมาณ
รายจ่าย กฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ หรือกฎหมายเกี่ยวด้วยการโอนงบประมาณ กฎหมายว่าด้วยเงิน
คงคลัง หรือกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐ เว้นแต่ในกรณีจำเป็นรีบด่วนจะจ่ายไปก่อนก็ได้ แต่
ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กฎหมายบัญญัติ ในกรณีเช่นว่านี้ ต้องตั้งงบประมาณรายจ่ายชดใช้ใน
พระราชบัญญตั ิโอนงบประมาณรายจ่ายหรือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม หรือพระราชบัญญัติ
งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณถดั ไป

มาตรา ๑๔๑ งบประมาณรายจ่ายของแผ่นดินให้ทำเป็นพระราชบัญญัติ ถ้าพระราชบัญญัติ
งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณออกไม่ทันปีงบประมาณใหม่ ให้ใช้กฎหมายว่าด้วยงบประมาณ
รายจา่ ยในปงี บประมาณปกี ่อนนั้นไปพลางก่อน

รัฐต้องจัดสรรงบประมาณใหเ้ พียงพอกับการปฏิบัติหนา้ ที่โดยอิสระของรฐั สภา ศาล องค์กรอิสระ
และองค์กรอัยการ ทั้งน้ี ตามหลักเกณฑ์ที่บัญญัติไว้ในกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐ ในกรณีท่ี
เห็นว่างบประมาณที่ได้รับจัดสรรอาจไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติหน้าที่ รัฐสภา ศาล องค์กรอิสระ หรือองค์กร
อัยการจะยืน่ คำขอแปรญตั ตติ ่อคณะกรรมาธกิ ารโดยตรงก็ได้

มาตรา ๑๔๒ ในการเสนอร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ ต้องแสดง
แหล่งที่มาและประมาณการรายได้ ผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการจ่ายเงินและความ
สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติและแผนพัฒนาต่าง ๆ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่บัญญัติไว้ในกฎหมายว่าด้วยวินัย
การเงินการคลังของรัฐ

มาตรา ๑๔๓ ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ ร่างพระราชบัญญัติ
งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม และร่างพระราชบัญญัติโอนงบประมาณรายจ่าย สภาผู้แทนราษฎรจะต้อง
พิจารณาให้แลว้ เสรจ็ ภายใน ๑๐๕ วนั นบั แตว่ นั ทรี่ า่ งพระราชบัญญตั ดิ งั กล่าวมาถึงสภาผแู้ ทนราษฎร

ถา้ สภาผ้แู ทนราษฎรพจิ ารณารา่ งพระราชบัญญัตนิ ้ันไมแ่ ล้วเสร็จภายในกำหนดเวลาตามวรรคหนึ่ง
ให้ถือว่าสภาผู้แทนราษฎรเห็นชอบกับร่างพระราชบัญญัตินั้น และให้เสนอร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวต่อ
วฒุ ิสภาเพือ่ พิจารณา

ในการพิจารณาของวุฒิสภา วุฒิสภาจะต้องให้ความเห็นชอบหรือไม่ให้ความเห็นชอบภายใน ๒๐
วันนับแต่วันที่ร่างพระราชบัญญัตินั้นมาถึงวุฒิสภา โดยจะแก้ไขเพิ่มเติมใด ๆ มิได้ ถ้าพ้นกำหนดเวลาดังกล่าว
ให้ถือว่าวุฒิสภาเห็นชอบกับร่างพระราชบัญญัตินั้น ในกรณีเช่นนี้และในกรณีที่วุฒิสภาให้ความเห็นชอบให้
ดำเนนิ การต่อไปตามมาตรา ๘๑

ถ้าวุฒิสภาไม่เห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติดังกล่าว ให้นำความในมาตรา ๑๓๘ วรรคสอง
มาใช้บังคบั โดยอนโุ ลม โดยให้สภาผูแ้ ทนราษฎรยกขึ้นพจิ ารณาใหมไ่ ด้ทันที

ระยะเวลาตามวรรคหนึ่งและวรรคสาม มิให้นับรวมระยะเวลาที่ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาตาม
มาตรา ๑๔๔ วรรคสาม

มาตรา ๑๔๕ ร่างพระราชบัญญัติที่ได้รับความเห็นชอบของรัฐสภาแล้ว ให้นายกรัฐมนตรีรอไว้๕
วันนับแต่วันที่ได้รับร่างพระราชบัญญัตินั้นจากรัฐสภา ถ้าไม่มีกรณีต้องดำเนินการตามมาตรา ๑๔๘ ให้นำขึ้น
ทูลเกล้าทูลกระหมอ่ มถวายภายในย่ีสิบวนั นบั แตว่ นั พ้นกำหนดเวลาดงั กล่าว

มาตรา ๑๔๖ ร่างพระราชบัญญัติใด พระมหากษัตริย์ไม่ทรงเห็นชอบด้วยและพระราชทานคืนมายัง
รัฐสภา หรือเมื่อ ๙๐ วันแล้วมิได้พระราชทานคืนมา รัฐสภาจะต้องปรึกษาร่างพระราชบัญญัตินั้นใหม่ ถ้า
รัฐสภามีมติยืนยันตามเดิมด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า ๒ ใน ๓ ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้ง
สองสภาแล้ว ให้นายกรัฐมนตรีนำร่างพระราชบัญญัตินั้นขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายอีกครั้งหนึ่ง เม่ือ
พระมหากษัตริย์มิได้ทรงลงพระปรมาภิไธยพระราชทานคืนมาภายใน ๓๐ วัน ให้นายกรัฐมนตรีนำ
พระราชบญั ญัตินน้ั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาใชบ้ ังคับเป็นกฎหมายได้เสมือนหนึ่งว่าพระมหากษัตริย์ได้ทรง
ลงพระปรมาภิไธยแล้ว

มาตรา ๑๕๐ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภามีสิทธิตั้งกระทู้ถามรัฐมนตรีในเรื่องใด
เกี่ยวกับงานในหน้าที่โดยจะถามเป็นหนังสือหรือด้วยวาจาก็ได้ ตามข้อบังคับการประชุมแห่ งสภานั้น ๆ ซึ่ง
อยา่ งน้อยตอ้ งกำหนดใหม้ ีการตง้ั กระทูถ้ ามด้วยวาจาโดยไมต่ ้องแจ้งล่วงหนา้ ไวด้ ้วย

รัฐมนตรีย่อมมีสิทธิที่จะไม่ตอบกระทู้เมื่อคณะรัฐมนตรีเห็นว่าเรื่องนั้นยังไม่ควรเปิดเผยเพราะ
เก่ียวกับความปลอดภัยหรือประโยชนส์ ำคญั ของแผน่ ดิน

มาตรา ๑๕๑ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวนไม่น้อยกว่า ๑ ใน ๕ ของจำนวนสมาชิกทั้งหมด
เท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร มีสิทธิเข้าชื่อเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจ
รัฐมนตรีเปน็ รายบคุ คลหรือทัง้ คณะ

เมื่อได้มีการเสนอญัตติตามวรรคหนึ่งแล้ว จะมีการยุบสภาผู้แทนราษฎรมิได้ เว้นแต่จะมีการถอน
ญัตตหิ รือการลงมติน้นั ไม่ได้คะแนนเสยี งตามวรรคสี่

เมื่อการอภิปรายทั่วไปสิ้นสุดลง โดยมิใช่ด้วยมติให้ผ่านระเบียบวาระเปิดอภิปรายนั้นไป ให้สภา
ผู้แทนราษฎรลงมติไว้วางใจหรือไม่ไว้วางใจ การลงมติในกรณีเช่นว่านี้มิให้กระทำในวันเดียวกับวันที่การ
อภิปรายส้ินสุดลง

มติไม่ไว้วางใจต้องมีคะแนนเสียงมากกว่าก่ึงหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภา
ผู้แทนราษฎร

รัฐมนตรีคนใดพ้นจากตำแหน่งเดิมแต่ยังคงเป็นรัฐมนตรีในตำแหน่งอื่นภายหลังจากวันที่
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเข้าชื่อตามวรรคหนึ่ง หรือพ้นจากตำแหน่งเดิมไม่เกิน ๙๐ วันก่อนวันท่ี
สมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎรเข้าชือ่ ตามวรรคหนึ่ง แต่ยงั คงเป็นรฐั มนตรีในตำแหน่งอืน่ ให้รัฐมนตรคี นนน้ั ยงั คงต้อง
ถูกอภปิ รายเพือ่ ลงมติไม่ไวว้ างใจตอ่ ไป

มาตรา ๑๕๒ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวนไม่น้อยกว่า ๑ ใน ๑๐ ของจำนวนสมาชิกทั้งหมด
เท่าที่มีอยูข่ องสภาผู้แทนราษฎร จะเข้าชือ่ กันเพื่อเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพ่ือซักถามข้อเท็จจรงิ หรือ
เสนอแนะปัญหาตอ่ คณะรฐั มนตรี โดยไม่มกี ารลงมติก็ได้

มาตรา ๑๕๓ สมาชิกวุฒิสภาจำนวนไม่น้อยกว่า ๑ ใน ๓ ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่
ของวุฒิสภา มีสิทธิเข้าชื่อขอเปิดอภิปรายทั่วไปในวุฒสิ ภาเพือ่ ใหค้ ณะรฐั มนตรีแถลงข้อเท็จจริงหรือชี้แจง
ปญั หาสำคัญเกย่ี วกบั การบรหิ ารราชการแผ่นดินโดยไมม่ กี ารลงมติ

มาตรา ๑๕๔ การเสนอญตั ติขอเปดิ อภิปรายทั่วไปตามมาตรา ๑๕๑ มาตรา ๑๕๒ หรอื มาตรา ๑๕๓
แลว้ แตก่ รณี ใหก้ ระทำได้ปีละหนึง่ ครง้ั

ความในวรรคหนึ่งไมใ่ ช้บังคบั แก่การเปิดอภิปรายท่วั ไปตามมาตรา ๑๕๑ ท่สี ิ้นสดุ ลงด้วยมตใิ ห้ผ่าน
ระเบียบวาระเปิดอภิปรายนน้ั ไป

มาตรา ๑๕๕ ในกรณที ่ีมปี ัญหาสำคญั เกี่ยวกบั ความมัน่ คงปลอดภัยหรือเศรษฐกิจของประเทศสมควร
ที่จะปรึกษาหารือร่วมกันระหว่างรัฐสภาและคณะรัฐมนตรี ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรจะแจ้งไปยัง
ประธานรัฐสภาขอให้มีการเปิดอภปิ รายท่วั ไปในทป่ี ระชุมรฐั สภาก็ได้ ในกรณีน้ี ประธานรัฐสภาต้องดำเนินการ
ให้มกี ารประชมุ ภายใน ๑๕ วันนบั แตว่ ันท่ไี ด้รบั การแจง้ แต่รัฐสภาจะลงมติในปญั หาท่อี ภิปรายมไิ ด้

การประชุมตามวรรคหน่ึงให้ประชมุ ลับ และคณะรัฐมนตรีมีหน้าทต่ี อ้ งเข้าร่วมประชมุ ด้วย

ส่วนท่ี ๕
การประชมุ ร่วมกันของรฐั สภา

มาตรา ๑๕๖ รัฐสภาจะมาประชุมร่วมกันในกรณตี ่อไปน้ี
(๑) การให้ความเห็นชอบในการแตง่ ตง้ั ผู้สำเรจ็ ราชการแทนพระองค์
(๒) การปฏิญาณตนของผ้สู ำเร็จราชการแทนพระองคต์ ่อรัฐสภา
(๓) การรับทราบการแก้ไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช
๒๔๖๗ ตามมาตรา ๒๐
(๔) การรบั ทราบหรือให้ความเห็นชอบในการสบื ราชสมบตั ิตามมาตรา ๒๑
(๕) การให้ความเห็นชอบในการปิดสมยั ประชมุ ตามมาตรา ๑๒๑
(๖) การเปิดประชุมรัฐสภาตามมาตรา ๑๒๒
(๗) การพิจารณารา่ งพระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญตามมาตรา ๑๓๒
(๘) การปรึกษารา่ งพระราชบัญญตั ิประกอบรัฐธรรมนูญหรือร่างพระราชบญั ญัตใิ หม่ตามมาตรา ๑๔๖
(๙) การพิจารณาให้ความเห็นชอบตามมาตรา ๑๔๗
(๑๐) การเปดิ อภปิ รายทว่ั ไปตามมาตรา ๑๕๕ และมาตรา ๑๖๕
(๑๑) การตราข้อบังคบั การประชมุ รัฐสภาตามมาตรา ๑๕๗
(๑๒) การแถลงนโยบายตามท่ีคณะรัฐมนตรีต้องแถลงนโยบายต่อรัฐสภาซึ่งตอ้ งสอดคล้องกับหนา้ ท่ี
ของรัฐ แนวนโยบายแห่งรัฐ และยุทธศาสตร์ชาติ และต้องชี้แจงแหล่งที่มาของรายได้ที่จะนำมาใช้จ่ายในการ
ดำเนินนโยบาย โดยไม่มีการลงมติความไวว้ างใจ ทงั้ น้ี ภายใน ๑๕ นับแต่วนั เขา้ รับหนา้ ที่

(๑๓) การให้ความเหน็ ชอบในการประกาศสงคราม กษัตริยม์ ีพระราชอำนาจในการประกาศสงคราม
เมื่อได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา มติให้ความเห็นชอบของรัฐสภาต้องมีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า ๒ ใน ๓
ของจำนวนสมาชิกทง้ั หมดเทา่ ท่มี อี ยูข่ องทัง้ สองสภา

(๑๔) การรับฟังคำชี้แจงและการให้ความเห็นชอบหนังสือสัญญาพระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราช
อำนาจในการทำหนังสือสญั ญาสันติภาพ เชน่ แปลงอาณาเขต สญั ญาสงบศกึ และสัญญาอื่นกับนานาประเทศ
หรือกบั องค์การระหว่างประเทศ

(๑๕) การแกไ้ ขเพิม่ เติมรัฐธรรมนญู
(๑๖) กรณอี น่ื ตามที่บัญญัตไิ วใ้ นรัฐธรรมนูญ

มาตรา ๑๕๗ ในการประชุมรว่ มกันของรัฐสภาให้ใช้ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา ในระหว่างที่ยังไม่มี
ขอ้ บงั คับการประชมุ รัฐสภา ใหใ้ ช้ขอ้ บงั คับการประชุมสภาผแู้ ทนราษฎรโดยอนุโลมไปพลางกอ่ น

ในการประชมุ ร่วมกนั ของรัฐสภา ใหน้ ำบททีใ่ ชแ้ กส่ ภาท้ังสองมาใชบ้ ังคบั โดยอนโุ ลม เว้นแตใ่ นเรื่องการ
ต้ังคณะกรรมาธิการ กรรมาธิการซ่ึงต้ังจากผู้ซึ่งเป็นสมาชิกของแตล่ ะสภาจะต้องมจี ำนวนตามหรือใกล้เคียงกับ
อัตราสว่ นของจำนวน

หมวด ๘
คณะรฐั มนตรี

การแต่งต้ังนายกรฐั มนตรี

มาตรา ๑๕๘ กษัตริยแ์ ต่งต้ังนายกรัฐมนตรีและรฐั มนตรีอืน่ อกี ไมเ่ กินสามสิบห้าคนประกอบเป็น
คณะรัฐมนตรี มหี น้าทบ่ี ริหารราชการแผ่นดินตามหลักความรับผดิ ชอบรว่ มกนั

สรปุ คณะรฐั มนตรมี ี ๓๖ คนคือ นายกรฐั มนตรี ๑ คนและ คณะรฐั มนตรี ๓๕ คน
นายกรฐั มนตรีต้องแตง่ ต้งั จากบุคคลทสี่ ภาผ้แู ทนราษฎรให้ความเห็นชอบ
ใหป้ ระธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรบั สนองพระบรมราชโองการแตง่ ต้ังนายกรฐั มนตรี
นายกรัฐมนตรีจะดำรงตำแหน่งรวมกนั แล้วหา้ มเกิน ๘ ปี ไม่ว่าจะเป็นการดำรงตำแหนง่ ตดิ ต่อกนั
หรอื ก็ตาม แต่มิให้นับรวมระยะเวลาในระหว่างที่อย่ปู ฏิบัติหนา้ ทีต่ ่อไปหลงั พ้นจากตำแหน่ง
มาตรา ๑๕๙ ใหส้ ภาผูแ้ ทนราษฎร( สส) พจิ ารณาให้ความเห็นชอบบุคคลทสี่ มควรไดร้ ับแต่งตง้ั เปน็
นายกรฐั มนตรีจากบุคคลที่มคี ุณสมบัติตามเกณฑ์ และเป็นผู้มีช่อื ในบัญชรี ายชือ่ ทีพ่ รรคการเมืองแจ้งไว้ เฉพาะ
จากบญั ชีรายช่ือของพรรคการเมอื งท่ีมสี มาชกิ ได้รบั เลือกเปน็ สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรไม่น้อยกว่าร้อยละ
๕ ของจำนวนสมาชกิ ทั้งหมดเทา่ ท่ีมอี ย่ขู องสภาผูแ้ ทนราษฎร
การเสนอชอ่ื นายกรัฐมนตรีตอ้ งมีสมาชิกรับรองไม่นอ้ ยกวา่ ๑ ใน ๑๐ ของจำนวนสมาชิกทัง้ หมด
เท่าที่มีอยขู่ องสภาผแู้ ทนราษฎร
มตขิ องสภาผแู้ ทนราษฎรทเี่ ห็นชอบการแต่งตั้งบุคคลใดใหเ้ ปน็ นายกรฐั มนตรี ต้องกระทำโดยการ
ลงคะแนนโดยเปดิ เผย และมีคะแนนเสียงมากกวา่ ก่ึงหนึ่งของจำนวนสมาชิกท้ังหมดเท่าที่มีอยู่ของสภา
ผู้แทนราษฎร

คณุ สมบัติรฐั มนตรี

มาตรา ๑๖๐ คณุ สมบัตขิ องรฐั มนตรี
(๑) มีสัญชาติไทยโดยการเกดิ
(๒) มอี ายไุ ม่ตำ่ กวา่ ๓๕ ปี
(๓) สำเร็จการศกึ ษาไม่ตำ่ กวา่ ปริญญาตรหี รือเทยี บเทา่
(๔) มีความซื่อสัตย์สจุ รติ เปน็ ทีป่ ระจักษ์
(๕) ไม่มีพฤติกรรมอันเปน็ การฝ่าฝนื หรือไม่ปฏบิ ัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอยา่ งร้ายแรง
(๖) ไม่มลี กั ษณะต้องหา้ มตามมาตรา ๙๘
(๗) ไมเ่ ป็นผ้ตู อ้ งคำพิพากษาใหจ้ ำคกุ แมค้ ดนี ั้นจะยงั ไมถ่ งึ ทส่ี ุด หรือมีการรอการลงโทษ เวน้ แตใ่ น
ความผดิ อันได้กระทำโดยประมาท ความผดิ ลหุโทษ หรือความผิดฐานหมนิ่ ประมาท
(๘) ไม่เปน็ ผ้เู คยพน้ จากตำแหนง่ เพราะเหตุกระทำการอันเป็นการต้องห้ามตามมาตรา ๑๘๖ หรือ
มาตรา ๑๘๗ มาแลว้ ยงั ไม่ถึงสองปีนับถงึ วนั แต่งตงั้

มาตรา ๑๖๑ รัฐมนตรถี วายสัตย์ปฏญิ าณ

มาตรา ๑๖๑ กอ่ นเข้ารับหน้าที่ รฐั มนตรีต้องถวายสัตย์ปฏญิ าณต่อกษัตริยด์ ว้ ยถอ้ ยคำ ดังตอ่ ไปนี้
“ขา้ พระพุทธเจ้า (ช่อื ผู้ปฏญิ าณ) ขอถวายสัตยป์ ฏิญาณวา่ ขา้ พระพุทธเจ้าจะจงรักภักดตี ่อ

พระมหากษัตริย์ และจะปฏบิ ตั หิ น้าท่ดี ว้ ยความซ่ือสัตย์สจุ รติ เพอื่ ประโยชนข์ องประเทศและประชาชน ทงั้ จะ
รักษาไวแ้ ละปฏิบตั ติ ามซง่ึ รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทยทุกประการ”

ในกรณที โ่ี ปรดเกล้าโปรดกระหม่อมใหค้ ณะรัฐมนตรีปฏิบตั ิหน้าทีไ่ ปพลางก่อนท่ีจะถวายสัตยป์ ฏญิ าณ
ใหค้ ณะรฐั มนตรีน้ันดำเนนิ การตามมาตรา ๑๖๒ วรรคสองได้ ในกรณเี ชน่ นี้ ให้คณะรัฐมนตรีตามมาตรา ๑๖๘
(๑) พ้นจากการปฏบิ ตั ิหน้าท่ีนบั แต่วันท่โี ปรดเกล้าโปรดกระหมอ่ มดงั กลา่ ว

มาตรา ๑๖๒ คณะรัฐมนตรที ตี่ ้องแถลงนโยบายตอ่ รฐั สภา

มาตรา ๑๖๒ คณะรัฐมนตรที ่ีต้องแถลงนโยบายต่อรฐั สภาซ่งึ ตอ้ งสอดคล้องกบั หนา้ ท่ขี องรฐั
แนวนโยบายแห่งรฐั และยุทธศาสตร์ชาติ และต้องชแ้ี จงแหล่งท่ีมาของรายได้ท่ีจะนำมาใชจ้ ่ายในการดำเนนิ
นโยบาย(ยืน่ บญั ชแี สดงทรัพย์สินต่อปปช คอื คณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามทุจริตแห่งชาต)ิ โดยไม่มี
การลงมตคิ วามไวว้ างใจ ทั้งน้ี ภายใน ๑๕ นับแต่วันเขา้ รบั หน้าที่

กอ่ นแถลงนโยบายต่อรัฐสภา หากมีกรณีท่ีสำคัญและจำเปน็ เรง่ ด่วน ซึ่งหากปล่อยใหเ้ นิน่ ชา้ ไปจะ
กระทบตอ่ ประโยชนส์ ำคัญของแผ่นดนิ คณะรฐั มนตรีท่เี ข้ารับหน้าท่จี ะดำเนนิ การไปพลางก่อนเพยี งเทา่ ท่ี
จำเป็นกไ็ ด้

มาตรา ๑๖๓ รัฐมนตรีมีสทิ ธเิ ข้าประชุมและแถลงข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็นในที่ประชมุ สภา
แต่ไม่มีสิทธิออกเสยี งลงคะแนน เวน้ แต่เปน็ การออกเสยี งลงคะแนนในสภาผแู้ ทนราษฎร กรณที ีร่ ฐั มนตรีผนู้ ัน้
เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรด้วย และให้นำเอกสิทธทิ์ ีบ่ ญั ญัตไิ วใ้ นมาตรา ๑๒๔ มาใช้บังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๑๖๔ ในการบรหิ ารราชการแผ่นดิน คณะรฐั มนตรีตอ้ งดำเนนิ การตามบทบัญญตั แิ หง่
รฐั ธรรมนูญ กฎหมาย และนโยบายทไี่ ดแ้ ถลงไว้ต่อรฐั สภา และต้องปฏบิ ตั ิตามหลกั เกณฑด์ งั ต่อไปน้ีดว้ ย

(๑) ปฏบิ ัตหิ น้าที่และใช้อำนาจด้วยความซ่ือสตั ย์ สจุ รติ เสียสละ เปิดเผย และมีความรอบคอบและ
ระมดั ระวังในการดำเนนิ กจิ การต่าง ๆ เพอ่ื ประโยชน์สงู สดุ ของประเทศและประชาชนส่วนรวม

(๒) รกั ษาวนิ ยั ในกจิ การท่เี กี่ยวกบั เงนิ แผ่นดนิ ตามกฎหมายวา่ ด้วยวินัยการเงนิ การคลงั ของรฐั อยา่ ง
เครง่ ครัด

(๓) ยึดถือและปฏิบัตติ ามหลักการบริหารกจิ การบ้านเมืองท่ดี ี
(๔) สรา้ งเสรมิ ให้ทกุ ภาคส่วนในสงั คมอยรู่ ่วมกันอยา่ งเปน็ ธรรม ผาสกุ และสามัคคีปรองดองกนั
รัฐมนตรตี อ้ งรับผิดชอบตอ่ สภาผู้แทนราษฎรในเรื่องที่อยู่ในหน้าที่และอำนาจของตน รวมท้ังต้อง
รับผดิ ชอบร่วมกนั ต่อรฐั สภาในการกำหนดนโยบายและการดำเนนิ การตามนโยบายของคณะรฐั มนตรี
มาตรา ๑๖๕ ในกรณีทม่ี ปี ัญหาสำคัญเกย่ี วกบั การบริหารราชการแผน่ ดิน ทค่ี ณะรัฐมนตรี
เห็นสมควรจะฟังความคิดเหน็ ของสมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎรและสมาชกิ วุฒสิ ภา นายกรัฐมนตรจี ะแจง้ ไป
ยังประธานรฐั สภาขอให้มีการเปิดอภิปรายทั่วไปในทีป่ ระชุมร่วมกันของรฐั สภากไ็ ด้ ในกรณเี ช่นว่านี้ รฐั สภา
จะลงมตใิ นปญั หาที่อภปิ รายมไิ ด้
มาตรา ๑๖๖ ในกรณีท่มี ีเหตุอนั สมควร คณะรฐั มนตรีจะขอใหม้ ีการออกเสยี งประชามตใิ นเร่ืองใดอนั
มิใช่เร่อื งท่ีขดั หรอื แยง้ ต่อรัฐธรรมนญู หรอื เรอ่ื งทีเ่ กีย่ วกับตวั บคุ คลหรือคณะบคุ คลใดก็ได้ ทง้ั น้ี ตามที่กฎหมาย
บัญญัติ

มาตรา ๑๖๗ การพ้นจากตำแหน่งของรัฐมนตรีทง้ั คณะ

มาตรา ๑๖๗ รฐั มนตรีท้งั คณะพ้นจากตำแหนง่ เมือ่
(๑) ความเป็นรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรสี ิน้ สุดลงตามมาตรา ๑๗๐
(๒) อายุสภาผ้แู ทนราษฎรสนิ้ สดุ ลงหรือมกี ารยุบสภาผู้แทนราษฎร
(๓) คณะรัฐมนตรีลาออก
(๔) พ้นจากตำแหน่งเพราะ คณะรฐั มนตรกี ระทำการทม่ี ีผลให้สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรมสี ่วนโดยตรง
ในการใชง้ บประมาณรายจ่าย
เมือ่ รฐั มนตรที ้ังคณะพ้นจากตำแหนง่ โดยความเป็นรัฐมนตรขี องนายกรัฐมนตรสี น้ิ สุด
คณะรฐั มนตรลี าออกและพน้ จากตำแหนง่ เพราะเหตุตามมาตรา ๑๔๔ ใหด้ ำเนินการเพ่อื ให้มีคณะรฐั มนตรี
ขึ้นใหม่ หากอายสุ ภาผู้แทนราษฎรส้นิ สดุ ลงหรอื มกี ารยบุ สภาผแู้ ทนราษฎรไม่ต้องตัง้ ใหม่
มาตรา ๑๖๘ ใหค้ ณะรัฐมนตรีที่พน้ จากตำแหน่งอยปู่ ฏบิ ัติหนา้ ที่ต่อไปภายใตเ้ งือ่ นไข ดงั ตอ่ ไปนี้
ในกรณพี น้ จากตำแหนง่ โดยความเป็นรฐั มนตรขี องนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลง อายสุ ภาผู้แทนราษฎร
สิน้ สุดลงหรอื มีการยบุ สภาผูแ้ ทนราษฎร และคณะรฐั มนตรีลาออก ให้อย่ปู ฏบิ ัตหิ นา้ ทต่ี อ่ ไปจนกว่า
คณะรฐั มนตรีท่ตี งั้ ขึ้นใหมจ่ ะเข้ารบั หน้าที่ เวน้ แต่ในกรณีท่ีนายกรฐั มนตรพี น้ จากตำแหน่งตามความเปน็
รัฐมนตรขี องนายกรัฐมนตรีส้ินสุด เพราะเหตุขาดคุณสมบัตหิ รือมีลกั ษณะต้องหา้ มตาม นายกรฐั มนตรีจะอยู่
ปฏิบตั หิ นา้ ทต่ี อ่ ไปมิได้ ในกรณีพน้ จากตำแหน่งตามมาตรา ๑๖๗ คณะรฐั มนตรที ี่พ้นจากตำแหน่งจะอยปู่ ฏิบัติ
หน้าที่ต่อไปมิได้
ในกรณีทีค่ ณะรฐั มนตรีอยู่ปฏิบัติหน้าท่ตี ่อไปมไิ ด้ตาม (๒) หรอื คณะรัฐมนตรที ่ีอย่ปู ฏิบัติหน้าทต่ี ่อไป
ลาออกทัง้ คณะ และเป็นกรณีทไี่ ม่อาจดำเนนิ การตามมาตรา ๑๕๘ และมาตรา ๑๕๙ ไดไ้ มว่ ่าดว้ ยเหตใุ ด หรอื

ยังดำเนินการตามมาตรา ๑๕๘ และมาตรา ๑๕๙ ไม่แล้วเสรจ็ ใหป้ ลดั กระทรวงปฏบิ ัตหิ นา้ ที่แทน
รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงน้นั ๆ เฉพาะเท่าท่จี ำเป็นไปพลางก่อน โดยให้ปลัดกระทรวงคัดเลอื กกนั เองให้คน
หนง่ึ ปฏิบตั หิ นา้ ท่ีแทนนายกรฐั มนตรี

มาตรา ๑๖๙ คณะรัฐมนตรที ่พี น้ จากตำแหนง่ ตามมาตรา ๑๖๗ (๒) และต้องปฏิบตั หิ น้าท่ตี ่อไป
ตามมาตรา ๑๖๘ ตอ้ งปฏบิ ตั ิหน้าที่ตามเง่อื นไข ดังต่อไปนี้

(๑) ไม่กระทำการอันมผี ลเปน็ การอนุมัตงิ านหรือโครงการ หรอื มผี ลเปน็ การสร้างความผูกพนั ต่อ
คณะรฐั มนตรชี ุดต่อไป เวน้ แต่ทก่ี ำหนดไว้แล้วในงบประมาณรายจ่ายประจำปี

(๒) ไมแ่ ตง่ ตัง้ หรือโยกย้ายข้าราชการซ่ึงมีตำแหน่งหรอื เงินเดือนประจำหรือพนักงานของหน่วยงาน
ของรฐั รัฐวสิ าหกิจ หรอื กจิ การทรี่ ัฐถือหนุ้ ใหญ่ หรือให้บคุ คลดังกล่าวพน้ จากการปฏิบตั ิหนา้ ทห่ี รอื พ้นจาก
ตำแหน่ง หรือใหผ้ ู้อ่ืนมาปฏิบัตหิ น้าท่ีแทน เวน้ แต่จะได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการการเลอื กตั้งก่อน

(๓) ไมก่ ระทำการอันมผี ลเป็นการอนุมัตใิ หใ้ ชจ้ ่ายงบประมาณสำรองจ่ายเพ่ือกรณฉี กุ เฉินหรือจำเปน็
เว้นแต่จะไดร้ บั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการการเลอื กต้ังกอ่ น

(๔) ไม่ใช้ทรพั ยากรของรัฐหรอื บุคลากรของรัฐเพื่อกระทำการใดอันอาจมผี ลตอ่ การเลือกตงั้ และไม่
กระทำการอันเป็นการฝา่ ฝนื ข้อห้ามตามระเบยี บท่ีคณะกรรมการการเลือกต้ังกำหนด จะเหน็ ชอบก็ไมไ่ ด้

มาตรา ๑๗๐ การพ้นจากตำแหน่งของรัฐมนตรีเฉพาะตวั

มาตรา ๑๗๐ ความเป็นรัฐมนตรีสนิ้ สดุ ลงเฉพาะตวั เมื่อ
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) สภาผู้แทนราษฎรมีมตไิ ม่ไว้วางใจ
(๔) ขาดคณุ สมบตั ิหรือมลี กั ษณะตอ้ งห้ามตามมาตรา ๑๖๐
(๕) กระทำการอนั เป็นการตอ้ งห้ามตามมาตรา ๑๘๖ หรือมาตรา ๑๘๗
(๖) มีพระบรมราชโองการให้พ้นจากความเป็นรัฐมนตรีตามมาตรา ๑๗๑
นอกจากเหตทุ ท่ี ำให้ความเปน็ รฐั มนตรสี นิ้ สดุ ลงเฉพาะตัวตามวรรคหน่ึงแลว้ ความเปน็ รฐั มนตรีของ
นายกรฐั มนตรสี ิน้ สุดลงเม่อื ครบกำหนดเวลา ๔ ปี ด้วย

มาตรา ๑๗๑ พระมหากษัตริย์ทรงไวซ้ ึ่งพระราชอำนาจในการให้รัฐมนตรีพน้ จากความเป็นรฐั มนตรี
ตามทีน่ ายกรัฐมนตรีถวายคำแนะนำ

มาตรา ๑๗๒ ในกรณีเพือ่ ประโยชน์ในอนั ทจี่ ะรกั ษาความปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัย
สาธารณะ ความม่ันคงในทางเศรษฐกจิ ของประเทศ หรือป้องปดั ภยั พิบตั ิสาธารณะ พระมหากษัตรยิ จ์ ะทรง
ตราพระราชกำหนดใหใ้ ช้ก็ได้ การตราพระราชกำหนด ใหก้ ระทำไดเ้ ฉพาะเมื่อคณะรฐั มนตรเี หน็ ว่าเปน็ กรณี
ฉุกเฉนิ ท่มี คี วามจำเปน็ รีบด่วนอันมิอาจจะหลีกเลีย่ งได้

ในการประชุมรัฐสภาคราวตอ่ ไป ใหค้ ณะรัฐมนตรเี สนอพระราชกำหนดน้ันตอ่ รัฐสภาเพอื่
พิจารณาโดยไม่ชกั ช้า ถ้าอยู่นอกสมัยประชมุ และการรอการเปิดสมัยประชมุ สามัญจะเป็นการชักชา้
คณะรัฐมนตรีต้องดำเนินการใหม้ ีการเรียกประชุมรัฐสภาสมยั วสิ ามัญเพ่อื พจิ ารณาอนุมตั ิหรอื ไม่อนมุ ตั ิพระราช


Click to View FlipBook Version