The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือชุด กฎหมายเพื่อการเรียนรู้ ผู้ศึกษาเเละเรียบเรียง นายภูมินทร์ เกณสาคู

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ภูมินทร์ เกณสาคู, 2021-04-10 02:43:44

หนังสือชุด กฎหมายเพื่อการเรียนรู้ ผู้ศึกษาเเละเรียบเรียง นายภูมินทร์ เกณสาคู

หนังสือชุด กฎหมายเพื่อการเรียนรู้ ผู้ศึกษาเเละเรียบเรียง นายภูมินทร์ เกณสาคู

เช่น นายบสี ละมรดกกอ่ นเจา้ มรดกตาย ๔ วัน ไม่มีผลเปน็ การสละมรดก รับมรดกไดอ้ ยู่
-ผมู้ สี ิทธสิ ละมรดก คือ ทายาททัง้ ผู้รับพนิ ยั กรรมและทายาทโดยธรรม
-บุคคลต่อไปนี้จะสละมรดกไม่ได้ คือ ผู้เยาว์ บุคคลวิกลจริต(ศาลอนุมัติคนเดียวเพราะไม่มีผู้อนุบาล)
คนไรค้ วามสามารถ หรอื บคุ คลผ้ไู มส่ ามารถจะจดั ทำการงานของตนเองได้(คนเสมือนไรค้ วามสามารถ) เวน้ แต่
จะไดร้ ับความยนิ ยอมของบิดามารดา ผูป้ กครอง ผูอ้ นุบาล หรือผู้พทิ ักษ์ แลว้ แต่กรณี และไดร้ บั อนุมัติจากศาล
แลว้ คอื

(๑) สละมรดก
(๒) รับมรดกอันมีค่าภาระตดิ พันหรือเงื่อนไข
-วธิ ีการสละมรดกมี ๒ วธิ ี คือ
(๑)เป็นหนังสือมอบไว้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ คำว่า เจ้าหน้าที่มีอำนาจรับหนังสือสละมรดก เป็นคน
เดยี วกับตัดมรดก คอื นายอำเภอและผอู้ ำนวยการเขต หากไปมอบกับคนอ่ืน เชน่ อยั การ ตำรวจ ทด่ี ิน ไม่มีผล
สละมรดก กรณีน้ีไม่ไดท้ รัพย์ตอบแทน
(๒)ทำเปน็ สญั ญาประนปี ระนอมยอมความ หลกั เกณฑ์ คอื
-คู่สัญญาประนปี ระนอมยอมความตอ้ งเปน็ ทายาทท้ัง ๒ ฝ่าย จะมฝี า่ ยใดเปน็ บคุ คลภายนอกไมไ่ ด้
-ทายาทท่สี ละมรดก ไมจ่ ำเป็นตอ้ งทำสญั ญากบั ทายาททุกคน ทำกับทายาทคนหนง่ึ จะมีผลต่อทายาท
คนหนง่ึ ดว้ ย
-ผสู้ ละมรดกต้องตกลงยินยอมสละมรดกท่ตี นจะได้ เพอื่ ทายาทอื่นทุกคน จะเฉพาะเจาะจงเอาทรัพย์ท่ี
ตนสละให้ทายาทคนใดคนหนึ่งมิได้
เช่น นายเอทำสัญญาสละมรดกใหน้ ายบีเพยี งคนเดยี ว ไม่ให้นายซี ลงลายมอื ช่ือทง้ั ๒ ฝา่ ย ถอื เป็นการ
เจาะจงให้คนเดียว ไมม่ ผี ลสละมรดกการสละมรดก แตม่ ีผลเปน็ การแบง่ ปนั ทรพั ยม์ รดก
เช่น นายเอผู้รับพินัยกรรม ทำหนังสือยินยอมมอบสิทธิในการรับมรดกของตนให้แก่นายบีผู้รับ
พินัยกรรมอีกคน ดังนี้มิใช่การสละมรดก เพราะระบุให้คนใดคนหนึ่ง แต่เป็นการโอนสิทธิ นายบีผู้รับโอนนน
ยอ่ มมีสทิ ธฟิ ้องเรียกมรดกสว่ นทโ่ี อนจากผูถ้ อื ทรัพยไ์ ด้
-ประโยชน์อื่นที่ทายาทคนท่ีสละมรดกได้รับจากทายาทคนอื่นเป็นการตอบแทน ต้องเป็นทรัพย์นอก
กองมรดก
เชน่ นายเอ บี ซี เปน็ พ่ีน้องร่วมบดิ ามารดาเดียวกัน ต่อมาบดิ าตาย ทง้ิ มรดกไว้ ๓ แสนบาท ท้ัง ๓ คน
รบั มรดกในฐานะทายาทโดยธรรม ต่อมานายเออยากสละมรดก จึงปรกึ ษากับนายบี นายเอบอกว่าพ่ียังลำบาก
อยู่ อยากได้บ้านเพื่ออาศัยในบั้นปลายชีวิต ถ้านายบีจะซื้อให้ พี่จะสละมรดก นายบีตกลงซื้อตอบแทนที่สละ
มรดก ตกลงประนีประนอมยอมความได้ เพราะ คู่สัญญาเป็นทายาท ๒ ฝ่าย ผลตอบแทนมิใช่กองมรดก ผล
การสละนายบีและซีไดป้ ระโยชนค์ รบ เมอ่ื นายเอทำกบั บี มีผลถงึ ซดี ว้ ย แมซ้ ีจะไมไ่ ดท้ ำก็ตาม
ควรจำ หากข้อความในหนังสือเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความ ลงชื่อทายาท ๒ ฝ่ายแล้ว แม้จะ
มอบหนงั สือไวก้ บั คนอ่ืนท่ไี มใ่ ช่ นายอำเภอหรอื ผูอ้ ำนวยการเขต ก็มีผลเป็นการสละมรดก
ถ้าไม่ทำตาม ๒ แบบนี้ ไมม่ ีผลสละมรดก เชน่ การสละมรดกดว้ ยวาจาจะกระทำมิได้

ข้อจำกัดในการสละมรดก มี ๓ ขอ้ คือ
(๑) จะสละมรดกที่ทำเปน็ บางส่วนหรือทำโดยมเี งื่อนไขหรือเงื่อนเวลาไมไ่ ด้ คอื ตอ้ งสละมรดกทั้งหมด
จะสละบางส่วนรบั บางส่วนไมไ่ ด้ ทำใหเ้ มือ่ สละแล้วจะไม่ได้รับอะไรเลย หากสละบางส่วนไมม่ ีผลสละมรดก
เงื่อนไข คือ ข้อกำหนดที่เอาเหตุการณ์ในอนาคตที่ไม่แน่นอนมาใช้ ว่าจะสละเมื่อเกิดเหตุการณ์นี้
เกิดขึ้น ไม่มีผลเป็นการสละมรดก เช่น นายหนึ่งจะสละมรดก โดยมีเงื่อนไขว่า ข้าพเจ้าจะสละมรดกเม่ือ
ข้าพเจ้าเรยี นจบจากต่างประเทศ แบบน้ีไมม่ ผี ลเปน็ การสละมรดก รับมรดกต่อไปได้ เปน็ ต้น
เงื่อนเวลา คือ ให้ใช่เมื่อตามเวลากำหนด ไม่มีผลสละมรดก เช่น นายหนึ่งจะสละมรดก บอกว่า
ขา้ พเจา้ จะสละมรดกเม่อื อายุครบ ๓๐ ปี แบบนไี้ ม่มผี ลสละมรดก รบั มรดกตอ่ ไปได้
(๒) เมอ่ื สละมรดกแล้ววจะถอนการสละมรดกมิได้ คอื เมือ่ สละมรดกโดยชอบถกู ต้องแลว้ ภายหลังจะ
ถอนการสละมิได้ เพราะ สละแล้วจะไมม่ คี วามเปน็ ทายาทต่อไป ทรพั ย์นั้นอาจแบ่งไปครบแลว้ วนุ่ วายแนน่ อน
(๓) การสละมรดกจะกระทบสิทธเิ จ้าหนีไ้ ม่ได้ คือ เจ้าหนี้ของผูร้ บั มรดก ตนเองมีหน้ีเยอะ กลัวเจา้ หน้ี
จะมาบังคับเอากับทรัพย์มรดกตน จึงสละมรดกไป จนเจ้าหนี้ไม่ทรัพย์จะบังคับใช้หนี้ แบบนี้ไม่ได้ ถ้าหากว่ามี
เงินพอใชห้ นกี้ ส็ ละได้ ถ้าเจา้ หนเี้ ห็นวา่ ตนเสยี เปรยี บก็สามารถเพิกถอนการสละมรดกได้
เช่น นายเอเป็นทายาทมีทรัพย์สิน ๑๐ ล้าน มีหนี้สิน ๑ ล้าน รับมรดกมา ๕ แสนจึงของสละมรดก
แบบน้ีสละมรดกได้ เพราะมีทรพั ยเ์ กินใช้หนไี้ ด้ เจ้าหนจ้ี ะเพกิ ถอนไม่ได้
ควรจำ การสละมรดกทมี่ ีคา่ ตอบแทน คอื ทำเปน็ หนังสือประนปี ระนอมยอมความ มที ายาทฝ่ายเดียว
ท่ีรวู้ า่ ทรัพยท์ ส่ี ละมีผลร้ายกับเจ้าหนี้ไมเ่ พียงพอ ตอ้ งรทู้ งั้ ๒ ฝ่าย เจ้าหน้ีจงึ จะเพิกถอนการสละมรดกได้ แต่แต่
หากกรณีเป็นการสละมรดกโดยเสน่หา(ทำหนังสือมอบแก่เจ้าหน้าที่) เพียงแต่ทายาทผู้สละมรดกเป็นผู้รู้ฝ่าย
เดียวเทา่ น้ันกพ็ อแลว้ ท่ีจะขอเพิกถอนได้
เมื่อเจ้าหนี้เพิกถอนการสละมรดกแล้ว เจ้าหนี้จะร้องขอให้ศาลตั้งตน เป็นผู้รับมรดกแทนที่ทายาทท่ี
สละได้ คือ รับในนามทายาทแทน
ถ้าชำระหนแี้ ลว้ ยังมที รัพยม์ รดกเหลอื ผ้สู บื สนั ดานหรอื ทายาทอ่นื เจ้ามรดกจะรับแทนก็ได้ หา้ มผู้สละ
มารบั อีก
ผลของการสละมรดก คอื
(๑) ทายาทที่สละมรดก(ทัง้ ทายาทโดยธรรมและผู้รับพินัยกรรม) ทำถูกต้องตามกฎหมายแลว้ ทายาท
คนน้นั จะไม่มสี ทิ ธิรับมรดกท่ตี กทอดแก่ตน คอื ไม่มีความเป็นทายาทเลย ยกเรือ่ งอายุความาต่อสู้ไมไ่ ด้ การสละ
มรดกมีผลยอ้ นหลงั เจ้ามรดกตาย คือ แมจ้ ะสละทัง้ เจ้ามรดกตายหลายเดือน กถ็ อื วา่ สละในเวลาเจ้ามรดกตาย
(๒) ถา้ ผู้สละมรดกเป็นทายาทโดยธรรม ผ้สู ืบสนั ดานของทายาทคนนั้นสืบมรดกต่อได้และรับมรดกได้
เท่าส่วนท่ที ายาทนั้นสละไป
คำว่า ผู้สืบสันดาน ไม่จำเป็นต้องเป็นบุตรที่แท้จริงของเจ้ามรดกก็ตาม ถ้าหากเป็นบุตรที่แท้ของ
ทายาทโดยธรรม
คำว่า ผู้สืบสันดาน ไม่จำเป็นต้องเป็นผู้สืบสันดานโดยตรง จะเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมาย บุตรนอก
กฎหมายที่รบั รอง หรือบุตรบุญธรรมกไ็ ด้
แตผ่ ู้สืบสนั ดานนั้นต้องไมใ่ ชผ่ ทู้ ี่บดิ ามารดา ผ้ปู กครอง หรอื ผ้อู นบุ าลแลว้ แตก่ รณี ไดบ้ อกสละมรดกโดยสมบูรณ์
ในนามของผูส้ ืบสนั ดานน้ัน

แต่ผู้สืบสันดานนั้นต้องไม่ใช่ผู้ที่บิดามารดา ผู้ปกครอง หรือผู้อนุบาลแล้วแต่กรณี ได้บอกสละมรดก
โดยสมบูรณ์ในนามของผูส้ บื สันดานน้ัน

(๓)ถา้ ผู้สละเป็นผู้รับพนิ ยั กรรม ผสู้ ืบสนั ดานของทายาทคนนนั้ ไมม่ ีสทิ ธิสืบมรดกนนั้
คือ ผู้รับพินัยกรรมคนใดสละมรดก ผู้นั้นรวมตลอดทั้งผู้สืบสันดานไม่มีสิทธิจะรับมรดกที่ได้สละแล้ว
นนั้
ควรจำ ถ้าทายาทโดยธรรมสละมรดกแล้วไม่มีผู้สืบสันดานสบื มรดกตอ่ หรอื ผรู้ ับพินยั กรรมสละมรดก
ให้ปันทรพั ยน์ ้นั แก่ทายาทโดยธรรมอื่นของเจ้ามรดกเทา่
-ถ้ามรดกตกทอดแก่ผู้เยาว์ หรือบุคคลวิกลจริต หรือคนไร้ความสามารถ และคนเสมือนไร้
ความสามารถ(บุคคลผู้ไม่สามารถจะจัดทำการงานของตนเองได้) และบุคคลนั้นยังไม่มีผู้แทนโดยชอบธรรม
หรือผู้อนุบาล หรือผู้พิทักษ์ เมื่อผู้มีส่วนได้เสีย หรือพนักงานอัยการร้องขอ ก็ให้ศาลตั้งผู้ปกครอง ผู้อนุบาล
หรือผู้พิทักษแ์ ล้วแตก่ รณี

๔.การไม่ถอื เอามรดกภายในอายุความ

-ห้ามฟ้องคดีมรดกเมื่อพ้นกำหนด ๑ ปี นับแต่เมื่อเจ้ามรดกตาย หรือนับแต่เมื่อทายาทโดยธรรมได้รู้
หรอื ควรไดร้ ู้ถงึ ความตายของเจา้ มรดก

-คดีฟ้องเรียกตามข้อกำหนดพินัยกรรม ห้ามฟ้องเมื่อพ้นกำหนด ๑ ปีนับแต่เมื่อผู้รับพินัยกรรมได้รู้
หรอื ควรไดร้ ถู้ งึ สทิ ธซิ ึ่งตนมีอยู่ตามพนิ ัยกรรม

-ถ้าสิทธเิ รียกรอ้ งของเจ้าหน้ีอันมตี ่อเจ้ามรดกมกี ำหนดอายคุ วามยาวกว่า ๑ ปี ห้ามเจ้าหนี้น้ันฟ้องร้อง
เม่อื พน้ กำหนด ๑ ปนี บั แต่เมื่อเจ้าหน้ีไดร้ ู้ หรือควรไดร้ ู้ถึงความตายของเจ้ามรดก

ถงึ อยา่ งไรกด็ ี สิทธเิ รยี กร้องตามทวี่ ่ามาในวรรคก่อน ๆ นั้น มิใหฟ้ อ้ งรอ้ งเมอ่ื พน้ กำหนดสิบปีนับแต่
เม่ือเจา้ มรดกตาย

-อายุความหน่ึงปนี ้ัน จะยกขึ้นต่อสู้ไดก้ ็แตโ่ ดยบุคคลซ่ึงเป็นทายาท หรือบุคคลซ่ึงชอบที่จะใช้สทิ ธิของ
ทายาท หรอื โดยผจู้ ดั การมรดก
-มรดกอาจตกทอดแกค่ นท่ีไม่ใชท่ ายาท

มี ๒ ประเภท คือ วัด ในกรณีที่ภิกษุที่มรณภาพแล้วมีทรัพย์ได้หลังจากอุปสมบท และ แผ่นดิน ใน
กรณไี ม่มที ายาทท้ังผรู้ ับพินัยกรรมและทายาทโดยธรรม

แผ่นดิน คือ ถ้าเจ้ามรดกไม่ไดท้ ำพินัยกรรม ไม่ได้ตั้งมูลนิธิ ไม่มีทายาท มีทายาทแต่เสียสทิ ธิในทรัพย์
มรดก หลังจากชำระหนี้ มรดกตกแก่แผ่นดนิ

วดั คอื มรดกของภกิ ษุท่ไี ดม้ ีระหว่างบวช หลงั ชำระหน้ีพระ มรดกตอ่ แก่วัด

ข้นั ตอนการแบ่งมรดกระหวา่ งทายาทโดยธรรม

-ผรู้ บั พนิ ัยกรรมมสี ทิ ธไิ ด้รับมรดกก่อนทายาทโดยธรรม เพราะถ้าไมม่ พี ินยั กรรมหรือพนิ ัยกรรมใช้ไม่ได้
หรอื มรดกเหลอื จากพนิ ัยกรรมทายาทโดยธรรมถงึ จะได้

-การแบง่ มรดกระหว่างทายาทโดยธรรม
หลกั เกณฑ์

๑.ถ้ามีทายาทลำดับบนหรือมีผู้รับมรดกแทนที่ ทายาทลำดับถัดลงมาไม่มีสิทธิได้รับมรดก เพราะใช้
หลัก “ญาติสนทิ ตัดสทิ ธ์ิญาติห่าง” ยกเว้นชั้นผสู้ บื สันดานกบั บดิ ามารดาได้รับเทา่ กัน เพราะชั้นผู้สืบสันดานจะ
ไม่ตดั บดิ ามารดา

เช่น เจ้ามรดกตายมรดก ๖ แสนบาท มีลูก ๓ คน มีพ่อและแม่ มีคู่สมรสตามกฎหมาย ทุกคนได้ส่วน
แบ่งเท่ากนั หมดคนละ ๑ แสนบาท

เช่น มพี ่อแม่ และพ่นี อ้ ง พ่อแม่เท่านั้นมสี ทิ ธ์จิ ะได้ พนี่ ้องไมไ่ ด้ เพราะลำดบั บนตัดลำดบั ล่าง
๒.ทายาทลำดับเดียวกนั ใช้หนึ่ง ๆ จะได้มรดกเท่ากัน ถ้ามีหลายคนก็แบ่งเท่ากัน ถ้ามีคนเดียวก็รับคน
เดยี ว
๓.คสู่ มรสจะได้รับเสมอ ไมว่ ่าจะเหลอื ช้ันไหนก็ตาม
๔.ถ้ามีทายาทผู้สืบสันดานและบิดามารดาและคู่สมรส ทั้ง ๓ รับเท่ากันหมด เช่นเดียวกันถา้ มีบุตร ไม่
มบี ดิ ามารดา คู่สมรสก็ได้เท่ากับบุตร
๕.ถ้าไม่ผู้สืบสันดาน แต่มีบิดามารดา คู่สมรสรับครึ่งหนึ่ง บิดามารดาแบ่งที่เหลือไป เช่น มีมรดก ๔
ล้าน คสู่ มรสได้ ๒ ลา้ น พ่อแม่ได้คนละ ๑ ล้านบาท
๖.ถ้าถ้ามีทายาทชั้นสูงสุด คือ พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน คู่สมรสรับครึ่งหนึ่ง ที่เหลือแบ่งกันไป
เช่น มมี รดก ๓ ลา้ น คสู่ มรสได้ ๑.๕ ล้าน มพี ่ีนอ้ ง ๓ คน ได้คนละ ๕ แสนบาท
๗.ถ้ามที ายาทช้ันสูงสุด คือ พีน่ อ้ งรว่ มบิดาหรือรว่ มมารดาเดียวกัน คู่สมรสรบั ๒ สว่ นใน ๓ ที่เหลือ ๑
ส่วนแบ่งกันไป กี่คนก็ช่าง เช่น มีมรดก ๓ ล้าน คู่สมรสได้ ๒ ล้าน น้องร่วมบิดาหรือร่วมมารดาเดยี วกัน ๕ คน
ละ ๒ แสนบาท
๘.ถ้ามที ายาทชั้นสูงสดุ คอื ปูย่ ่าตายาย คสู่ มรสรบั ๒ สว่ นใน ๓ ท่ีเหลอื ๑ ส่วนแบง่ กันไป กี่คนก็ชา่ ง
๙.ถา้ มีทายาทชน้ั สูงสุด คอื ลงุ ป้าน้าอา คู่สมรสรบั ๒ สว่ นใน ๓ ทีเ่ หลอื ๑ สว่ นแบง่ กนั ไป ก่ีคนก็ช่าง
๑๐.ถา้ ไมม่ ที ายาท คสู่ มรสท่ยี ังมชี ีวิตอยนู่ น้ั มสี ิทธไิ ด้รบั มรดกท้ังหมด
๑๑.ถา้ ไมม่ ใี ครเลย ตกแกแ่ ผน่ ดนิ
ระวัง แต่ละชั้น ต้องให้ผู้รับมรดกแทนที่หมดสายก่อน ชั้นต่อมาจึงจะมีสิทธิ์ การรับมรดกแทนที่จะไม่
เกิดในชนั้ บิดามารดา ปู่ ยา่ ตา ยายเดด็ ขาด
การรบั มรดกแทนที่จะเป็นการตายหรอื ถกู กำจดั มใิ หร้ บั มรดกกอ่ นเจ้ามรดกตาย กไ็ ด้
แต่ถ้ามีลูกหลายคน คือ นายเอ นายบี นายซี ถ้านายเอตาย ลูกนายเอมีหลายคน ก็มีสิทธิ์รับแทน
เทา่ ทสี่ ่วนนายเอได้รับ

พระภกิ ษุในพระพทุ ธศาสนากบั มรดก ไมร่ วมเณร ไมร่ วมแมช่ ี

ระวัง การไปบวช ไม่ทำให้การสมรสสิ้นสุดลง ถ้าพระมรณภาพแล้วมีทรัพย์ก่อนมรดก แบ่งให้
ทายาทโดยธรรม คสู่ มรสก็ไดร้ ับด้วย และแบ่งสนิ สมรสดว้ ย

ระวัง หา้ มเอาทรัพยท์ ่ไี ด้มาระหวา่ งบวช ไปแบง่ สินสมรสเดด็ ขาด
ระวัง ถ้าพระไปบวช คู่สมรสอีกฝ่ายต้องแบ่งสินสมรสให้พระด้วย แต่ถ้าเป็นทรัพย์ของพระระหว่าง
บวช ห้ามแบ่งให้คู่สมรส ตกแก่วดั ท้งั หมด
-กรณีพระภิกษุเป็นทายาท คือ พระภิกษุจะเรียกร้องเอาทรัพย์มรดกในฐานะที่เป็นทายาทโดยธรรม
ไม่ได้ เว้นแต่จะได้สึกจากสมณเพศมาเรียกร้องภายในกำหนดอายุความเมื่อพ้น ๑ ปีนับแต่เจ้ามรดกตายหรือ
ทายาทรูห้ รือควรรู้
ถ้าเขาแบ่งให้ในฐานะทายาทโดยธรรมก็รับได้ ถ้าไม่แบ่งให้ หากจะเรียกร้อยเอาต้องสึกออกมา จะ
เรียกร้องเอาระหวา่ งบวชไม่ได้ แตถ่ ้าพระภิกษนุ น้ั เปน็ ผรู้ บั พินัยกรรมฟอ้ งระหวา่ งบวชได้เลย ไม่ต้องสึกออกมา
ถ้าสึกออกมาฟ้องในฐานะทายาทโดยธรรม ห้ามฟ้องหลังพ้น ๑ ปีนับแต่เจ้ามรดกตาย(ตายเมื่อไหร่
หากรู้นับไป ๑ ปี) หรือทายาทรู้หรือควรรู้ว่าเจ้ามรดกตาย(รู้เมื่อไหร่นับไป ๑ ปี) และถ้าไม่รู้ว่าตายก็ห้ามเกิน
๑๐ ปีเมอ่ื ตาย
ถ้าฟ้องขณะบวชในฐานะผู้รับพินยั กรรม ห้ามฟ้องเมื่อพ้น ๑ ปีนับแต่ผู้รับพินัยกรรมรู้หรือควรจะรูถ้ งึ
สิทธิในพนิ ัยกรรม(ไม่ได้นบั จากตาย) และถ้าไมร่ ู้วา่ มีสิทธิก็หา้ มเกิน ๑๐ ปีเมือ่ ตาย
เกร็ดความรู้ เรื่องอายุความเจ้าหน้ีมรดก ถ้าหนี้มีอายุความมากกว่า ๑ ปี ห้ามเจ้าหนี้นัน้ ฟ้องร้องเม่ือ
พ้นกำหนด ๑ ปีนับแต่เมื่อเจา้ หนี้ไดร้ ู้ หรือควรได้รู้ถึงความตายของเจ้ามรดก เช่น หนี้เงินกู้มีอายุความ ๑๐ ปี
(มากกว่า ๑ แล้ว) รู้ว่าเจ้ามรดกตายวันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๖๓ แล้วรู้ว่าตาย ต้องฟ้องภายใน ๑ ปี คือ ๑ มีนาคม
๒๕๖๔ และถา้ ไม่รวู้ ่าตายก็หา้ มเกิน ๑๐ ปเี มอ่ื ตาย
-กรณีพระภกิ ษเุ ปน็ เจา้ มรดก
ทรัพย์สินของพระภิกษทุ ี่ได้มาในระหว่างเวลาที่อยู่ในสมณเพศนั้น เมือ่ พระภิกษุนนั้ ถึงแก่มรณภาพ
ใหต้ กเป็นสมบัติของวัดท่ีเป็นภูมิลำเนาของพระภิกษุนน้ั เวน้ ไว้แตพ่ ระภกิ ษนุ น้ั จะได้จำหนา่ ยไปในระหว่างชีวิต
หรอื โดยพนิ ัยกรรม
ควรจำ ภูมลิ ำเนาพระ ดทู ี่ใบสทุ ธิเปน็ เกณฑ์วา่ สังกัดวัดไหน
ระวัง บวชหลายคร้ัง เช่น กอ่ นบวชครั้งที่หนึ่งมีเงิน ๑ ล้านบาท เม่ือบวชคร้ังท่หี นึ่ง มีเงินระหว่างบวช
๒ หมน่ื บวชครง้ั ทสี่ อง มีเงินระหว่างบวช ๘ หม่ืนบาท บวชคร้ังทสี่ าม มีเงิน ๑ แสนบาทแลว้ มรณภาพ
ให้ดูทเ่ี งนิ บวชคร้ังสดุ ทา้ ย สรปุ คอื มีมรดกกอ่ นบวช ๑ลา้ น๑แสนบาท ตกแก่ทายาท แล้วมีเงนิ ระหว่าง
บวชถงึ มรณภาพ ๑ แสนบาทตกแกว่ ดั
ทรัพย์สินที่มีก่อนอุปสมบทเป็นพระภิกษุ ทรัพย์มรดกไม่ตกเป็นของวัด แต่ให้เป็นมรดกตกทอดแก่
ทายาทโดยธรรมของบคุ คลนน้ั หรอื บุคคลนั้นจะจำหนา่ ยโดยประการใดตามกฎหมายก็ได้

พนิ ัยกรรม

ประเภทของทายาทผรู้ ับพินยั กรรม
มาตรา ๑๖๕๑ ภายใต้บังคับบทบัญญตั ิลักษณะ ๔
(๑) เมื่อตามข้อกำหนดพินัยกรรม บุคคลใดมีสิทธิที่จะได้รับทรัพย์มรดกทั้งหมดของเจ้ามรดก หรือ

ตามเศษส่วน หรือตามส่วนที่เหลือแห่งทรัพย์มรดก ที่ไม่ได้แยกไว้ต่างหากเป็นพิเศษจากกองมรดก บุคคลน้ัน
เรียกวา่ ผรู้ ับพนิ ยั กรรมลกั ษณะทว่ั ไป และมีสิทธแิ ละความรบั ผดิ เชน่ เดยี วกับทายาทโดยธรรม

(๒) เมื่อตามข้อกำหนดพินัยกรรม บุคคลใดมีสิทธิที่จะได้รับทรัพย์สินเฉพาะสิง่ เฉพาะอย่าง ที่เจาะจง
ไว้โดยเฉพาะ หรือแยกไว้ต่างหากเป็นพิเศษจากกองมรดก บุคคลนั้นเรียกว่า ผู้รับพินัยกรรมลักษณะเฉพาะ
และมีสิทธิและความรบั ผิดท่ีเกย่ี วกบั ทรัพยส์ นิ เทา่ นนั้

ในกรณีทีม่ ีขอ้ สงสยั ให้สันนษิ ฐานไว้กอ่ นวา่ ผรู้ ับพินยั กรรมเปน็ ผู้รับพินยั กรรมลกั ษณะเฉพาะ
สรปุ ผ้รู ับพนิ ยั กรรมมี ๒ ประเภท คือ

๑.ผู้รับพินยั กรรมลักษณะทัว่ ไป คือ ไม่ได้แยกอะไรไว้ให้เฉพาะ เช่น มีที่ดิน ๕ แปลง ยกให้ ๑ แปลง
ไมไ่ ด้เจาะจงวา่ แปลงไหน เปน็ ลกั ษณะท่ัวไป

๒.ผู้รับพินัยกรรมลักษณะเฉพาะ คือ ได้รับทรัพย์เฉพาะ คือ สิ่งนี้ชิ้นนี้เท่านั้น เช่น มีที่ดิน ๕ แปลง
บอกวา่ ยกทีด่ ินเลขที่ ๑๒๓ อำเภอนาดวน ยกให้แปลงอ่ืนไมไ่ ด้ แสดงว่ายกใหเ้ ฉพาะส่ิงแล้ว เปน็ ลกั ษณะเฉพาะ
หรืออื่น ๆ ถา้ ทรัพย์มีชิ้นเดียวแลว้ ยกให้ ก็เปน็ เฉพาะ

ควรจำ บางทีทายาทได้ทั้งเฉพาะและทั่วไป เช่น นายเอได้รับแหวนวงเดียวของตระกูล ได้รับ
พินยั กรรมลักษณะเฉพาะ ตอ่ มาระบวุ า่ ถ้ามีทรพั ยอ์ ่นื เหลือให้แบ่งใหน้ ายเอกับนายบคี นละคร่งึ แสดงว่านายเอ
ไดร้ ับพนิ ยั กรรมลักษณะทั่วไปอกี

ควรจำ ในกรณที ม่ี ขี อ้ สงสัย ให้สันนษิ ฐานไว้ก่อนวา่ ผู้รับพินัยกรรมเป็นผู้รับพนิ ัยกรรมลกั ษณะเฉพาะ
ลกั ษณะของพนิ ัยกรรม

๑.ต้องมกี ารแสดงเจตนากำหนดการเผอื่ ตายในเรอื่ งทรัพยส์ ินของตนเอง
๒.เจตนาทแี่ สดงต้องทำเป็นคำสัง่ สุดท้ายกำหนดไวใ้ นพินัยกรรม ทำเป็นคำขอ้ ร้องไมไ่ ด้
๓.พินัยกรรมต้องทำตามแบบที่กฎหมายกำหนด พินัยกรรมต้องเป็นหนังสือเท่านั้น แต่จะทำแบบ
วาจาไดต้ ้องมีพฤตกิ ารณ์พิเศษใกลต้ ายเท่านนั้ ลงวันเดอื นปสี ำคญั มากป้องกนั พนิ ยั กรรมหลายฉบับ
ควรจำ พินัยกรรมมีผลบังคับเมื่อผู้ทำพินัยกรรมตาย แต่ยังไม่ตายถือว่าพินัยกรรมสมบูรณ์ แต่บังคับ
ไดเ้ มอ่ื ตาย
ควรจำ หากมีพนิ ัยกรรมหลายพินัยกรรม แต่ละฉบบั ไม่ขัดกันใช้ได้ทุกฉบับ หากมีข้อพินัยกรรมขัดกัน
เฉพาะข้อท่ขี ัดกนั นน้ั ให้ใชฉ้ บับหลงั เพิกถอนฉบบั แรก จะรวู้ ่าฉบับไหนก่อนหลงั ดูวนั ที่
แบบของพนิ ยั กรรม มี ๕ แบบ คือ
๑.พนิ ยั กรรมแบบธรรมดา
ทำเป็นหนังสือจะเขียนหรือพิมพ์ก็ได้ ลงวัน เดือน ปี ในขณะที่ทำขึ้น และผู้ทำพินัยกรรมต้องลง
ลายมือชื่อไว้ต่อหน้าพยานอย่างน้อย ๒ คนพร้อมกัน ซึ่งพยานสองคนนั้นต้องลงลายมือชื่อรับรองลายมือชื่อ
ของผทู้ ำพนิ ยั กรรมไวใ้ นขณะนนั้

การขูดลบ ตก เติม หรือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงอย่างอื่นในพินัยกรรมนั้นย่อมไม่สมบูรณ์ เว้นแต่จะได้
ปฏบิ ตั ติ ามแบบอย่างเดยี วกับการทำพินัยกรรมตามมาตราน้ี

ควรจำ คำว่า ไมส่ มบูรณ์ คอื ไมส่ มบรู ณ์เฉพาะส่วนที่แก้ ซ่ึงหากจะใหส้ มบรู ณ์ ผทู้ ำพินัยกรรมลงลงช่ือ
ต่อหนา้ พยาน ๒ คน และใหพ้ ยานลงชอื่ รับรอง พยานนั้นจะเปน็ คนเดียวหรอื ไม่ก็ได้

ควรจำ ผทู้ ำพินยั กรรมจะเขยี นหรอื พมิ พล์ ายน้วิ มอื หรอื แกงไดก็ได้ แตพ่ ยานตอ้ งลายมือชอ่ื เทา่ นั้น
ควรจำ เริ่มเขยี นวันไหนพินยั กรรมวนั ไหน ลงวนั ที่วนั น้ัน แมจ้ ะไม่เสร็จในวันน้ันกต็ าม
ควรจำ หลังเขียนพินัยกรรมเสร็จ ให้เว้นช่องลงชื่อไว้ เพราะต้องไปลงชื่อต่อหน้าพยาน ๒ คนและให้
พยานลงช่อื รับรอง พยานไมไ่ ด้รับรองเนื้อหาในพนิ ยั กรรม แต่รบั รองลายมอื ชือ่ ของผทู้ ำพินยั กรรม
๒.พินยั กรรมแบบเขยี นเองทง้ั ฉบบั
ผ้ทู ำพนิ ัยกรรมตอ้ งเขยี นด้วยมือตนเองเทา่ นน้ั จะพมิ พห์ รือให้คนอืน่ เขยี นให้ไม่ได้ เขยี นต้งั แต่ข้อความ
ท้งั หมด วัน เดือน ปี และลายมอื ช่ือของตน
การขูดลบ ตก เติม หรือการแกไ้ ขเปลยี่ นแปลงพินัยกรรม ยอ่ มไม่สมบูรณ์ เวน้ แต่ผู้ทำพินัยกรรมจะได้
ทำด้วยมือตนเอง และลงลายมอื ชื่อกำกบั ไว้
บทบญั ญตั ิมาตรา ๙ แหง่ ประมวลกฎหมายนี้ มใิ ห้ใชบ้ ังคับแก่พินยั กรรมทท่ี ำข้ึนตามมาตราน้ี
ควรจำ พินยั กรรมเขยี นเองทงั้ ฉบบั ไมต่ อ้ งมีพยาน หากจะแกไ้ ขตอ้ งลงลายมือช่ือกำกับ
ควรจำ ผู้ทำพินัยกรรมแบบเขียนเองทั้งฉบับ ต้องลงลายมือตัวเองทุกจุด ห้ามใช้แกงไดหรือลายพิมพ์
น้ิวมือเด็ดขาด
ควรจำ พนิ ยั กรรมแบบเขยี นเองท้งั ฉบบั เปน็ พินัยกรรมฉบับเดยี วทไี่ ม่มีพยาน และห้ามลงลายพิมพ์นิ้ว
มือหรือแกงไดแทนลายเซน็
๓.พนิ ัยกรรมแบบเอกสารฝา่ ยเมือง
(๑) ผทู้ ำพนิ ัยกรรมไปแจ้งข้อความท่ีตนประสงค์จะใหใ้ ส่ไว้ในพนิ ัยกรรมของตน แกก่ รมการอำเภอต่อ
หน้าพยานอกี อย่างนอ้ ย ๒ คนพรอ้ มกัน
(๒) กรมการอำเภอตอ้ งจดขอ้ ความที่ผู้ทำพินัยกรรมแจ้งให้ทราบนนั้ ลงไว้ และอ่านขอ้ ความนั้นให้ผู้ทำ
พินยั กรรมและพยานฟงั
(๓) เมื่อผู้ทำพินัยกรรมและพยานทราบแน่ชัดว่า ข้อความที่กรมการอำเภอจดนั้นเป็นกา รถูกต้อง
ตรงกนั กับที่ผ้ทู ำพินยั กรรมแจ้งไวแ้ ลว้ ให้ผ้ทู ำพินัยกรรมและพยานลงลายมือชื่อไว้เป็นสำคญั
(๔) ข้อความที่กรมการอำเภอจดไว้นน้ั ใหก้ รมการอำเภอลงลายมือช่ือและลงวัน เดือน ปี ท้ังจดลงไว้
ดว้ ยตนเองเป็นสำคัญว่า พินัยกรรมนัน้ ได้ทำข้ึนถูกตอ้ ง แล้วประทับตราตำแหน่งไว้เป็นสำคญั
การขูดลบ ตก เติม หรือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงอย่างอื่นซึ่งพินัยกรรมนั้นย่อมไม่สมบูรณ์ เว้นแต่ผู้ทำ
พนิ ัยกรรม พยาน และกรมการอำเภอจะได้ลงลายมือช่อื กำกับไว้
ควรจำ การทำพินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมืองนั้น จะทำนอกที่ว่าการอำเภอก็ได้ เมื่อมีการร้องขอ
เชน่ นนั้
ควรจำ พินัยกรรมฝ่ายเมืองเป็นพินัยกรรมท่ีน่าเชื่อถือที่สดุ เพราะทำกับนายอำเภอเท่านั้น จะทำกับ
ตำรวจ อบต อบจ ไมไ่ ด้เลย

ควรจำ ทำพินัยกรรมจะเรียกให้กรมการอำเภอส่งมอบพินัยกรรมนั้นแก่ตนในเวลาใด ๆ กรมการ
อำเภอจำต้องส่งมอบให้ ถ้าพินัยกรรมนั้นทำเป็นแบบเอกสารฝ่ายเมือง ก่อนส่งมอบพินัยกรรม ให้กรมการ
อำเภอคัดสำเนาพินัยกรรมไวแ้ ล้วลงลายมือชื่อประทับตราตำแหน่งเป็นสำคัญ สำเนาพินัยกรรมน้ันจะเปิดเผย
แก่บุคคลอนื่ ใดไมไ่ ด้ในระหว่างทีผ่ ้ทู ำพนิ ัยกรรมยงั มีชวี ติ อยู่

๔.พนิ ยั กรรมแบบอกสารลับ
-ผ้ทู ำพินัยกรรมเขียนพนิ ัยกรรม แล้วลงลายมอื ชอื่ ในพินัยกรรม
-ผทู้ ำพนิ ยั กรรมตอ้ งผนึกพินยั กรรมนัน้ แล้วลงลายมือชื่อคาบรอยผนกึ นัน้
-ผู้ทำพินยั กรรมต้องนำพินัยกรรมทีผ่ นึกนัน้ ไปแสดงตอ่ กรมการอำเภอ และพยานอีกอย่างนอ้ ย ๒ คน
และให้ถ้อยคำต่อบุคคลทั้งหมดเหล่านั้นว่าเป็นพินัยกรรมของตน ถ้าพินัยกรรมนั้นผู้ทำพินัยกรรมไม่ได้เป็น
ผู้เขียนเองโดยตลอด ผู้ทำพนิ ัยกรรมจะตอ้ งแจง้ นามและภมู ิลำเนาของผ้เู ขยี นให้ทราบดว้ ย
-เม่ือกรมการอำเภอจดถ้อยคำของผู้ทำพินัยกรรมและวัน เดือน ปี ที่ทำพินัยกรรมมาแสดงไว้บนซอง
นนั้ และประทับตราตำแหนง่ แลว้ ให้กรมการอำเภอผ้ทู ำพนิ ยั กรรมและพยานลงลายมอื ช่ือบนซองนั้น

การขูดลบ ตก เติม หรือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงอย่างอื่นซึ่งพินัยกรรมนั้นย่อมไม่สมบูรณ์ เว้นแต่
ผทู้ ำพนิ ัยกรรมจะไดล้ งลายมือชอ่ื กำกับไว้

ควรจำ ถ้าผู้ทำพินัยกรรมแบบเอกสารลับ เป็นใบ้ใบ้และหูหนวกหรือผู้ที่พูดไม่ได้ ให้ผู้นั้นเขียนด้วย
ตนเองบนซองพินัยกรรมต่อหน้ากรมการอำเภอและพยานซึ่งข้อความว่าพินัยกรรมที่ผนึกนั้นเป็นของตนแทน
การให้ถอ้ ยคำท่ีกล่าวแกก่ รมการอำเภอ และถ้าหากมีผู้เขียนกใ็ ห้เขยี นชื่อกบั ภูมิลำเนาของผูเ้ ขียนพินัยกรรมนั้น
ไวด้ ว้ ย

ให้กรมการอำเภอจดลงไว้บนซองเปน็ สำคัญว่า ผู้ทำพินัยกรรมได้ปฏิบัติตามข้อความในวรรคก่อนแล้ว
แทนการจดถ้อยคำของผทู้ ำพนิ ยั กรรม

ควรจำ พินัยกรรมที่ได้ทำเป็นแบบเอกสารฝ่ายเมืองหรือเอกสารลับน้ัน กรมการอำเภอจะเปิดเผยแก่
บุคคลอื่นใดไม่ได้ในระหว่างที่ผู้ทำพนิ ัยกรรมยังมีชีวิตอยู่ และผู้ทำพินัยกรรมจะเรียกให้กรมการอำเภอส่งมอบ
พินัยกรรมนั้นแกต่ นในเวลาใด ๆ กรมการอำเภอจำต้องสง่ มอบให้

๕.พนิ ัยกรรมแบบทำด้วยวาจา คอื จะทำแบบวาจาได้ต้องมีพฤติการณพ์ ิเศษใกลต้ ายเท่านั้น เช่น ตก
อยู่ในอนั ตรายใกลค้ วามตาย หรือเวลามีโรคระบาด หรือสงคราม

โดยผู้ทำพนิ ยั กรรมต้องแสดงเจตนากำหนดขอ้ พินยั กรรมต่อหนา้ พยานอยา่ งนอ้ ย ๒ คนซงึ่ อยพู่ ร้อมกัน
ณ ท่นี ้ัน

พยาน ๒ คนนั้นต้องไปแสดงตนต่อกรมการอำเภอโดยมชิ ักช้าและแจ้งข้อความทีผ่ ูท้ ำพินัยกรรมได้สัง่
ไวด้ ว้ ยวาจานนั้ ทง้ั ตอ้ งแจง้ วัน เดอื น ปี สถานท่ที ่ที ำพนิ ัยกรรมและพฤติการณพ์ ิเศษน้ันไว้ด้วย

ให้กรมการอำเภอจดข้อความที่พยานแจง้ น้ันไว้ และพยานสองคนน้ันต้องลงลายมือชือ่ ไว้ หรือมิฉะนั้น
จะใหเ้ สมอกับการลงลายมอื ช่อื ไดก้ แ็ ต่ด้วยลงลายพมิ พน์ ้ิวมือโดยมีพยานลงลายมือชื่อรบั รองสองคน

ควรจำ ความสมบูรณ์แห่งพินัยกรรมวาจา ย่อมสิ้นไปเมื่อพ้นกำหนด ๑ เดือนนับแต่เวลาผู้ทำ
พินยั กรรมกลับมาสฐู่ านะทีจ่ ะทำพินยั กรรมตามแบบอน่ื ท่ีกำหนดไวไ้ ด้

ความสามารถของผู้ทำพินยั กรรม

-ความสามารถของผทู้ ำพนิ ัยกรรมพจิ ารณาในเวลาทที่ ำพนิ ยั กรรมเทา่ นัน้
-ถ้าเวลาทำพินยั กรรม ไม่ได้เปน็ คนหย่อนความสามารถ พนิ ยั กรรมก็สมบูรณ์

คนที่ทำพนิ ัยกรรมไมไ่ ด้ คอื

อายุไม่ถึง ๑๕ ปีบริบูรณ์ ผลโมฆะ หากอายุครบ ๑๕ ปีแล้วทำพินัยกรรมได้โดยไม่ต้องขอความ
ยนิ ยอมจากผู้แทนโดยชอบทำ

คนไร้ความสามารถทำพินยั กรรมเป็นผลโมฆะ ควรจำ คนไรค้ วามสามารถ คือ คนวิกลจรติ ท่ศี าลสั่ง
ทำนิติกรรมใด ๆ เป็นโมฆียะทั้งสิ้น แม้แต่ปากกายางลบก็ตาม แม้จะได้รับความยินยอมจกผู้อนุบาลก็เป็น
โมฆียะ ผอู้ นบุ าลต้องทำแทนทง้ั ส้ิน ยกเว้น การทำพินัยกรรมกับการสมรส หากคนไรค้ วามสามารถทำลงไปเป็น
โมฆะ

ระวัง คนวิกลจรติ กค็ ือคนบา้ เหมอื นคนไร้ความสามารถ แต่ศาลยังไมไ่ ดส้ งั่ ดงั น้นั เมือ่ ทำนิตกิ รรมใด ๆ
กม็ ีผลสมบรู ณ์ เช่น ทำพนิ ัยกรรมสมบูรณ์ เว้นแต่ คนวิกลจริตไดท้ ำนติ กิ รรมในขณะจรติ วกิ ลและคูก่ รณีอีกฝ่าย
รูว้ ่าเปน็ คนวกิ ลจริต มผี ลเปน็ โมฆียะ ยกเว้น ถ้าคนวกิ ลจรติ ทำพนิ ัยกรรมขณะจริตวกิ ล มผี ลเป็นโมฆะ ถา้ ทำ
ขณะจิตปกติ มผี ลสมบรู ณ์

ควรจำ คนเสมือนไร้ความสามารถ คือ กายพิกาย จิตฟ่ันเฟือนแต่ไมถ่ งึ กบั บา้ รู้ผิดชอบช่ัวดี สรุ าเสเพล
เป็นอาจิน สุรุ่ยสุร่าย ทำนิติกรรมใด ๆ มีผลสมบูรณ์ อาจมีนิติกรรมบางอย่าง เช่น นำทรัพย์ไปลงทุน รับคืน
ทรพั ย์ทน่ี ำไปลงทุน ใหก้ ู้ยมื เงนิ หรือกู้ยืมเงนิ ให้ยมื หรอื ยืมสงั หาริมทรัพย์อันมีค่า เชา่ หรือให้เช่าสังหาริมทรัพย์
เกิน ๖ เดือน เช่นหรือให้เช่าอสังหาริมทรัพย์เกิน ๓ ปี เป็นต้น ต้องได้รับความยินยอมจากผู้พิทักษ์ มิฉะนั้น
โมฆียะ แตค่ นเสมอื นไรค้ วามสามารถทำพนิ ัยกรรมไดโ้ ดยสมบรู ณ์ โดยไม่จำเป็นตอ้ งไดร้ บั ความยินยอมจาก
ผู้พทิ ักษ์
ความสามารถของผู้รับพินัยกรรม

ความสามารถของผู้รับพินัยกรรมพิจารณาในเวลาที่เจ้ามรดกตายเท่านั้น คือ มีชีวิตในเวลาผู้ทำ
พินยั กรรมตาย

การรับมรดกแทนท่ี

คือ การที่ทายาทผู้มีสิทธิได้รับมรดกถึงแก่ความตายหรอื ถูกกำจัดมิให้รับมรดก ก่อนเจ้ามรดกถึงแก่
ความตาย แล้วผสู้ ืบสนั ดานของทายาทนนั้ เขา้ รบั มรดกแทน

-ผู้สืบสันดานที่เข้าไปรับมรดกแทนที่ทายาทนั้น จะได้รับมรดกเท่ากับทายาทนั้นได้รับ แม้ผู้แทนจะมี
หลายคนกเ็ อามาแบง่ กันเองอีกที สรุปคอื ทายาทได้เทา่ ไหร่ คนแทนได้เท่านัน้ แม้จะมคี นแทนหลายคนกต็ าม

-การรับมรดกแทนที่จะเกิดขึ้นเฉพาะผู้แทนโดยชอบธรรมเท่านั้น ไม่มีการรับมรดกแทนที่กรณีผู้รับ
พนิ ัยกรรม

-จะรบั มรดกแทนที่ได้ก็ต่อเม่อื ตายก่อนเจ้ามรดก และ ถูกกำจัดมิให้รบั มรดกกอ่ นเจ้ามรดกตาย
-การรับมรดกแทนท่ี ใช้กับผู้สืบสนั ดานจนหมดสายเท่านัน้ ห้ามบุพการีหรอื ลุงป้านา้ อา ปู่ย่าตายาย
พน่ี ้อง คู่สมรสจะรบั มรดกแทนทไี่ ม่ได้
-ผูร้ บั พินยั กรรมตาย ไม่มกี ารรับมรดกแทนที่ ให้มรดกนั้นแบ่งแกท่ ายาทโดยธรรมตอ่ ไป

-ห้ามมีการรับมรดกแทนที่ใช้ลำดับของ บิดามารดาและปู่ย่าตายาย เพราะ จะทำให้ลำดับทายาท
โดยธรรมเปลี่ยน

-ถ้าผู้สืบสันดานของเจ้ามรดกรับบุตรบุญธรรมมา แล้วผู้สืบสันดานตาย บุตรบุญธรรมนั้นไม่มีสิทธิรบั
มรดกแทนท่ี

-ถ้าเจ้ามรดกรับบตุ รบญุ ธรรมมา แล้วบุตรบุญธรรมตายก่อน ลกู แทๆ้ ของบุตรบุญธรรมรบั แทนทไ่ี ด้
-การตดั มใิ ห้รับมรดกไม่มกี ารแทนท่ี
-การสละมรดกหรือการกำจดั มใิ ห้รับมรดก รับแทนท่ีได้

ผจู้ ดั การมรดก

การจัดการมรดก ถ้ามีทรัพย์ก็ใช้หนี้ก่อน ถ้าเหลือก็ตกทอดแก่ผู้รับพินัยกรรม ถ้าเหลือจากผู้รั บ
พินัยกรรมหรือไม่มีพนิ ัยกรรมกแ็ บ่งแก่ทายาทโดยธรรม

โดยมี ผจู้ ัดการผู้จัดการมรดก ดูแล
คุณสมบัติของผจู้ ดั การมรดก คอื
(๑) ตอ้ งเป็นบุคคลทบี่ รรลุนติ ิภาวะ คือ ไมใ่ ช่ผู้เยาว์
(๒) ห้ามเปน็ คนวิกลจริต คนไรค้ วามารถ คนเสมอื นไร้ความสามารถ
(๓) ไม่ใช่บุคคลล้มละลาย
วิธีการจัดต้ังผจู้ ัดการมรดก
(๑) โดยพินัยกรรม คือ การแสดงเจตนาของเจ้ามรดกว่าจะให้ใครจัดการมรดกจึงทำพินัยกรรมจัดต้ัง
เอาไวใ้ ห้ หรือใหใ้ ครไปตั้งผู้จัดการมรดกกไ็ ด้ จะแตง่ ต้ังคนคนเดียวหรอื ต้งั หลายคนเปน็ ผู้จัดการกไ็ ด้
(๒) โดยคำสั่งศาล ผู้มสี ิทธิร้องขอจัดตง้ั ผู้จดั การมรดก คือ ทายาท(คนรับมรดกท้ังผูร้ ับพินัยกรรมและ
ทายาทโดยธรรมท่มี สี ิทธิรับ) หรือ อยั การ หรอื ผมู้ ีสว่ นได้เสยี
คำว่า ผู้มสี ่วนไดเ้ สยี มีดังนี้
(๑) เจ้าหน้ี (ตอ้ งเปน็ กรณีทท่ี ายาทและไมม่ ผี ู้จดั การมรดก ตนจงึ จะขอจัดการได้ เพอื่ ชำระหน้ี)
(๒) ผู้ปกครองผ้เู ยาว์ กรณีผู้เยาว์รับมรดก
(๓) สามีและภรรยาไม่ชอบด้วยกฎหมายของเจ้ามรดก เป็นกรณีที่มีทรัพย์ร่วมกันในระหว่างอยู่กินฉัน
สามภี รรยา
(๔) ผ้รู ับมรดกแทนที่ ใช้ในกรณที ายาทโดยธรรมเทา่ น้นั
(๕) ผู้มชี ื่อถอื กรรมสทิ ธ์ิรวมกับเจา้ มรดก ไม่จำเปน็ ตอ้ งเป็นทายาท
-เหตุแห่งการร้องขอจัดต้ัง ผูจ้ ัดการมรดก คือ
(๑) ไมม่ ีทายาทโดยธรรม ไม่มีผู้รบั พินยั กรรม หรอื สูญหาย หรืออยนู่ อกราชอาณาเขต หรอื เปน็ ผู้เยาว์
(๒) ทายาทหรือผู้จัดการมรดกที่พินัยกรรมตั้ง ไม่เต็มใจ ไม่สามารถหรือมีเหตุขัดข้องในการจัดการ
มรดก
(๓) ข้อกำหนดนยั กรรมตั้งผูจ้ ดั การมรดก ไมม่ ผี ลบงั คบั ได้
(๔) การร้องขอจัดการมรดกเป็นคดีไม่มีข้อพิพาท ให้ยื่นในเขตอำนาจศาลที่เจ้ามรดกมีภูมิลำเนาอยู่
กอ่ นตายหรอื หากเจา้ มรดกไม่มภี ูมลิ ำเนาในราชอาณาจกั ร ให้ฟอ้ งเขตศาลทท่ี รัพย์นัน้ ตัง้ อยู่

ชุดท่ี ๑ ประมวลกฎหมายอาญา
…………………………………………………………………………………………………………..

กฎหมายอาญา ภาค ๑ บทบัญญัตทิ ว่ั ไป (มาตรา ๑ - ๑๐๖)

ลกั ษณะ ๑ บทบญั ญัติที่ใชแ้ ก่ความผดิ ทัว่ ไป (มาตรา ๑ - ๑๐๑)
หมวด ๑ บทนยิ าม

มาตรา ๑ ในประมวลกฎหมายนี้

(๑) “โดยทจุ รติ ” หมายความวา่ เพ่อื แสวงหาประโยชน์ทีม่ คิ วรไดโ้ ดยชอบดว้ ยกฎหมายสำหรับตนเอง
หรือผอู้ ่ืน

การทำดว้ ยความสนิทสนม ด้วยวิสาสะ ไม่ถอื วา่ โดยทุจรติ เช่น เชา่ หอ้ งอยกู่ บั เพ่ือน ต่อมากระเป๋าตัง
หาย จงึ ไปหาในกระเป๋าตังเพอื่ น ไม่ถือวา่ มีเจตนาทจุ รติ

ระวัง กรณีต่อไปนี้เข้าข่ายทุจริต เช่น บังคับให้ผู้เสียหายชำระหนี้โดยพละการ เขาติดหนี้เรา เรา
จึงไปหยิบของเขาไปขาย แม้จะเทา่ จำนวนหน้ี หรือนอ้ ยกว่าหน้ีก็ตาม

(๒) “ทางสาธารณะ” หมายความว่า ทางบกหรือทางน้ำสำหรับประชาชนใช้ในการจราจร และให้
หมายความรวมถึงทางรถไฟและทางรถรางท่ีมีรถเดนิ สำหรับประชาชนโดยสารด้วย

(๓) “สาธารณสถาน” หมายความว่า สถานทีใ่ ด ๆ ซง่ึ ประชาชนมีความชอบธรรมท่จี ะเข้าไปได้
เช่น บ้านที่เปิดร้านอาหาร ส่วนของร้านอาหารเราเข้าไปได้ แต่ถ้าเป็นที่ส่วนตวั หา้ มเข้า เพราะเป็นเคหสถาน
ส่วนตัว

(๔) “เคหสถาน” หมายความว่า ที่ซึ่งใช้เป็นที่อยู่อาศัย เช่น เรือน โรง เรือ หรือแพ ซึ่งคนอยู่อาศัย
และให้หมายความรวมถึงบรเิ วณของที่ซึ่งใช้เป็นท่ีอยู่อาศยั น้นั ด้วย จะมีรั้วล้อมหรือไม่กต็ าม

ระวงั หลงั คาบา้ น กเ็ ปน็ เคหสถาน
(๕) “อาวุธ” หมายความรวมถึงสิ่งซึ่งไม่เป็นอาวุธโดยสภาพ แต่ซึ่งได้ใช้หรือเจตนาจะใช้ประทุษร้าย
รา่ งกายถงึ อนั ตรายสาหัสอย่างอาวธุ
เชน่ ไมจ้ ้ิมฟนั ถ้ามีเจตนาจะใชท้ ำรา้ ยกผ็ ิด จึงเปน็ อาวธุ
ระวงั สเปรยพ์ รกิ ไทย ไมเ่ ป็นอาวุธ แม้จะใช้โดยเจตนากไ็ มใ่ ชอ่ าวุธ
(๖) “ใช้กำลังประทุษร้าย” หมายความว่า ทำการประทุษร้ายแก่กายหรือจิตใจของบคุ คล ไม่ว่าจะทำ
ดว้ ยใช้แรงกายภาพหรอื ด้วยวิธีอน่ื ใด และใหห้ มายความรวมถึงการกระทำใด ๆ ซ่งึ เปน็ เหตใุ หบ้ คุ คลหนึ่งบุคคล
ใดอยใู่ นภาวะที่ไม่สามารถขดั ขืนได้ ไมว่ ่าจะโดยใช้ยาทำใหม้ นึ เมา สะกดจติ หรอื ใชว้ ธิ ีอนื่ ใดอันคล้ายคลึงกนั
เชน่ เอากลอ้ งไปตัง้ โดยเจา้ ทกุ ข์ไมร่ ตู้ วั จนลามก ถอื เปน็ ประทุษร้ายโดยวธิ ีอนื่ ใด รับผดิ ฐานอนาจาร
(๗) “เอกสาร” หมายความว่า กระดาษหรือวัตถุอื่นใดซึ่งได้ทำให้ปรากฏความหมายด้วยตัวอักษร
ตวั เลข ผัง หรือแผนแบบอยา่ งอื่น จะเปน็ โดยวธิ ีพิมพ์ ถ่ายภาพ หรือวธิ อี ่ืนอนั เป็นหลักฐานแห่งความหมายนั้น
เช่น พิมพ์ไว้ในคอมพิวเตอร์ มจี ำเลยมาพิมพ์แก้ กถ็ ือวา่ มคี วามผิดฐานปลอมเอกสาร

แอบถ่ายข้อมลู จากคอมเขา ภาพถา่ ยกเ็ ปน็ เอกสาร

(๘) “เอกสารราชการ” หมายความว่า เอกสารท่ีเจ้าพนักงานได้ทำขึ้นหรือรับรองในหน้าที่ และให้
หมายความรวมถงึ สำเนาเอกสารน้ัน ๆ ท่ีเจา้ พนักงานได้รับรองในหน้าที่ด้วย

(๙) “เอกสารสิทธิ” หมายความว่า เอกสารที่เป็นหลักฐานแห่งการก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวนหรือ
ระงับซึง่ สทิ ธิ

เช่น ใบรับรองเงินฝาก โดยจำเลยไปปลอมเอกสารว่ามีใบรับรองเงินฝากในต่างประเทศ ทำให้คนอื่น
เชื่อตนมีเงนิ จนยอมลงทุน

(๑๐) “ลายมือชือ่ ” หมายความรวมถึงลายพิมพ์นิ้วมือและเครือ่ งหมายซ่ึงบุคคลลงไว้แทนลายมือช่อื
ของตน เชน่ แกงได(เครื่องหมาย)

(๑๑) “กลางคนื ” หมายความวา่ เวลาระหว่างพระอาทิตย์ตกและพระอาทิตย์ข้ึน
(๑๒) “คุมขัง” หมายความว่า คุมตัว ควบคุม ขัง กักขังหรือจำคุก เช่น คุมตัวไว้บนรถระหว่างมา
โรงพักแลว้ หลบหนี ก็มีความผดิ ฐานหลบหนที ่ีคุมขงั
(๑๓) “คา่ ไถ”่ หมายความว่า ทรัพยส์ ินหรอื ประโยชนท์ ่เี รียกเอา หรอื ให้เพือ่ แลกเปล่ียนเสรีภาพของผู้
ถูกเอาตวั ไป ผ้ถู กู หน่วงเหนย่ี วหรอื ผู้ถูกกักขัง
(๑๔)๑ “บัตรอเิ ล็กทรอนิกส์” หมายความว่า

(ก) เอกสารหรือวัตถุอื่นใดไม่ว่าจะมีรูปลักษณะใดที่ผู้ออกได้ออกให้แก่ผู้มีสิทธิใช้ ซึ่งจะ
ระบุชื่อหรือไม่ก็ตาม โดยบันทึกข้อมูลหรือรหัสไว้ด้วยการประยุกต์ใช้วิธีการทางอิเล็กตรอน ไฟฟ้า คล่ืน
แม่เหล็กไฟฟ้า หรือวิธีอื่นใดในลักษณะคล้ายกัน ซึ่งรวมถึงการประยุกต์ใช้วิธีการทางแสงหรือวิธีการทาง
แม่เหล็กให้ปรากฏความหมายด้วยตัวอักษร ตัวเลข รหัส หมายเลขบัตร หรือสัญลักษณ์อื่นใด ทั้งที่สามารถ
มองเห็นและมองไม่เห็นดว้ ยตาเปลา่

(ข) ข้อมูล รหัส หมายเลขบัญชี หมายเลขชุดทางอิเล็กทรอนิกส์หรือเครื่องมือทางตัวเลข
ใด ๆ ที่ผู้ออกได้ออกให้แก่ผู้มีสิทธิใช้ โดยมิได้มีการออกเอกสารหรือวัตถุอื่นใดให้ แต่มีวิธีการใช้ในทำนอง
เดียวกบั (ก) หรือ

(ค) สิ่งอื่นใดที่ใช้ประกอบกับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เพื่อแสดงความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
กบั ขอ้ มลู อิเลก็ ทรอนกิ ส์ โดยมวี ตั ถุประสงคเ์ พ่ือระบุตัวบุคคลผเู้ ปน็ เจ้าของ

(๑๕)๒ “หนังสือเดินทาง” หมายความว่า เอกสารสำคัญประจำตัวไม่ว่าจะมีรูปลักษณะใดที่รัฐบาล
ไทย รัฐบาลต่างประเทศ หรือองค์การระหว่างประเทศออกให้แก่บุคคลใด เพื่อใช้แสดงตนในการเดินทาง
ระหว่างประเทศ และให้หมายความรวมถึงเอกสารใช้แทนหนังสือเดินทางและแบบหนังสือเดินทางที่ยังไม่ได้
กรอกขอ้ ความเกีย่ วกบั ผู้ถอื หนงั สอื เดนิ ทางด้วย

(๑๖)๓ “เจ้าพนักงาน” หมายความว่า บุคคลซึ่งกฎหมายบญั ญัติว่าเป็นเจ้าพนักงานหรือได้รับแต่งต้งั
ตามกฎหมายให้ปฏบิ ตั ิหน้าทรี่ าชการ ไมว่ ่าเป็นประจำหรอื ครง้ั คราว และไม่วา่ จะไดร้ ับค่าตอบแทนหรือไม่

รวมถึง ลกู จา้ งประจำหรอื ชวั่ คราวตามสัญญาจา้ งของรัฐ

(๑๗)๔ “สื่อลามกอนาจารเด็ก” หมายความว่า วตั ถหุ รอื สง่ิ ที่แสดงให้รู้หรือเหน็ ถึงการกระทำทางเพศ
ของเด็กหรือกับเด็กซ่ึงมอี ายุไมเ่ กิน ๑๘ ปี โดยรูป เรื่อง หรือลักษณะสามารถสื่อไปในทางลามกอนาจาร ไม่ว่า
จะอยใู่ นรูปแบบของเอกสาร ภาพเขยี น ภาพพิมพ์ ภาพระบายสี ส่ิงพมิ พ์ รูปภาพ ภาพโฆษณา เคร่อื งหมาย รูป
ถ่าย ภาพยนตร์ แถบบันทึกเสียง แถบบันทึกภาพ หรือรูปแบบอื่นใดในลักษณะทำนองเดียวกัน และให้
หมายความรวมถงึ วัตถุหรอื สง่ิ ต่าง ๆ ข้างต้นท่ีจัดเกบ็ ในระบบคอมพวิ เตอร์หรอื ในอุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์อื่นที่
สามารถแสดงผลให้เข้าใจความหมายได้

(๑๘)๕ “กระทำชำเรา” หมายความว่า กระทำเพื่อสนองความใคร่ของผู้กระทำ โดยการใช้อวัยวะ
เพศของผู้กระทำลว่ งล้ำอวัยวะเพศ ทวารหนกั หรอื ช่องปากของผอู้ ่ืน

หมวด ๒ การใช้กฎหมายอาญา

มาตรา ๒ จะต้องรับโทษในทางอาญาต่อเมื่อ กระทำในขณะที่มีกฎหมายที่บัญญัติเป็นความผิดและ
กำหนดโทษไว้ และโทษทจ่ี ะลงแกผ่ ู้กระทำความผดิ นัน้ ตอ้ งเป็นโทษในกฎหมาย

ถ้ากฎหมายหลัง ให้การกระทำนั้นไม่เป็นความผิดต่อไป ให้ผู้นั้นพ้นจากการเป็นผู้กระทำ
ความผิด และถ้าได้มีคำพิพากษาถึงทีส่ ุดให้ลงโทษแล้ว ก็ให้ถือว่าผู้นั้นไม่เคยต้องคำพิพากษาว่าได้กระทำ
ความผิดนน้ั ถา้ รบั โทษอยูก่ ใ็ ห้การลงโทษนั้นสนิ้ สดุ ลง

มาตรา ๓ ถา้ กฎหมายท่ีใชใ้ นขณะกระทำความผิดแตกต่างกับกฎหมายท่ีใชใ้ นภายหลังการกระทำ
ความผิด ให้ใช้กฎหมายในส่วนท่เี ป็นคุณแกผ่ ู้กระทำความผิด ไมว่ า่ ในทางใด ห้ามใช้ดลุ พินิจเพราะให้ยึดที่
เปน็ คุณเท่านั้น เวน้ แตค่ ดีถงึ ทส่ี ุดแลว้ แต่ในกรณที ่คี ดีถึงทีส่ ุดแลว้ ดังต่อไปน้ี

(๑) ถ้าผู้กระทำความผิดยังไม่ได้รับโทษ หรือกำลังรับโทษอยู่ และโทษที่กำหนดตามคำพิพากษา
หนักกว่าโทษทกี่ ำหนดภายหลัง ผู้แทนโดยชอบธรรม ผูอ้ นบุ าล หรอื พนกั งานอัยการร้องขอ ให้ศาลกำหนดโทษ
ใหมก่ ฎหมายหลัง ในการท่ศี าลจะกำหนดโทษใหม่นี้ ถา้ ปรากฏว่า ผ้กู ระทำความผิดไดร้ ับโทษมาบ้างแล้ว หาก
เห็นสมควร ศาลจะกำหนดโทษนอ้ ยกวา่ โทษขนั้ ตำ่ ทีก่ ฎหมายหลงั ก็ได้ หรอื ศาลจะปล่อยผ้ทู ำผิดไปกไ็ ด้

(๒) ถ้าศาลพิพากษาให้ประหารชีวิต และตามกฎหมายหลัง โทษไม่ถึงประหารชีวิต ให้งดการ
ประหารชีวิต และใหถ้ ือวา่ โทษประหารชีวติ เปลีย่ นเปน็ โทษสูงสดุ ตามกฎหมายหลงั

ถา้ กฎหมายกอ่ น-หลงั โทษเท่ากัน ให้ใช้กฎหมายขณะผิด
ระวัง ถ้ามีกฎหมายหลงั ออกมา ทำให้องค์ประกอบความผิดเปล่ียนไป โทษก็น้อยกว่า เมื่อให้ใช้ท่เี ป็น
คณุ กต็ ้องยกฟ้อง เพราะไม่มที างที่จะบรรยายครบองคป์ ระกอบความผดิ จะใช้อนั โทษน้อยก็ไม่ได้ เพราะเขาไม่
ผิด
ระวัง ตามอาญากฎหมายหลังให้ผลเป็นโทษแก่จำเลยไม่ได้ แต่เป็นผลร้ายกับโจทก์ได้ และวิแพ่งก็
ยอ้ นหลังคู่ความได้
ระวัง วิธีการเพ่อื ความปลอดภยั ๕ สถาน คือ กักกนั หา้ มเขา้ เขตกำหนด เรียกประกันทณั ฑบ์ น
คุมตัวไว้ในสถานพยาบาล หา้ มการประกอบอาชพี บางอยา่ ง มผี ลยอ้ นหลงั กับจำเลยได้

สรปุ ขอบเขตกฎหมายอาญา

๑.ความผิดทท่ี ำในราชอาณาจักร
ราชอาณาจักร คือ พื้นดิน น่านน้ำ ๑๒ ไมล์ทะเลจากฝั่ง เขตเศรษฐกิจจำหรือทะเลหลวงไม่ใช่ใน

ราชอาณาจักรไทย( ๒๐๐ ไมล์ทะเล) นา่ นฟา้ ระวงั สถานทตู ไทยในต่างประเทศกไ็ ม่ใช่ราชอาณาจกั รไทย
-ความผิดเกิดในไทยทุกกรณรี บั ผิดตามกฎหมายไทย ไมส่ นใจสญั ชาติ แม้คนต่างชาติทำผิดในไทย ก็รับ

ผดิ ตามกฎหมายไทย ถกู คนไทยทำร้ายกล็ งโทษคนไทยได้
๒.ไมไ่ ด้ทำในราชอาณาจกั ร แตก่ ฎหมายถอื วา่ ให้ทำในราชอาณาจกั ร

-ความผดิ ในเรอื ไทยหรอื อากาศยานไทย ไม่ว่าจะอยู่ ณ ที่ใด ใหถ้ อื ว่ากระทำความผิดในราชอาณาจกั ร
มาตรา ๔ ผู้ใดกระทำความผดิ ในราชอาณาจักร ตอ้ งรับโทษตามกฎหมาย
การกระทำความผดิ ในเรือไทยหรืออากาศยานไทย ไมว่ า่ จะอยู่ ณ ทใี่ ด ใหถ้ อื วา่ กระทำความผิดใน
ราชอาณาจกั ร
ระวงั เรอื หรอื อากาศยานนนั้ ตอ้ งจอดนอกราชอาณาจักรดว้ ย เพราะถ้าจอดในไทย มนั กเ็ ป็นตามวรรค
๑ คือ ผดิ ในราชอาณาจกั รอยแู่ ลว้
ระวัง เรือของต่างชาติมาจอดในน่านน้ำไทย ก็เป็นการทำผิดตามกฎหมายไทย ไม่ใช่ผิดตาม
กฎหมายต่างชาติ
มาตรา ๕ ความผิดใดที่ทำ มีส่วนหนึ่งเกิดในราชอาณาจักรก็ดี(เสี้ยวเดียวก็เอา) หรือ ผลแห่งการ
กระทำเกิดในราชอาณาจักรโดยผู้กระทำประสงค์ให้ผลนั้นเกิดในราชอาณาจักร หรือ โดยลักษณะแห่งการ
กระทำ ผลที่เกิดขึ้นนั้นควรเกิดในราชอาณาจักรหรือยอ่ มจะเล็งเห็นได้ว่าผลนั้นจะเกิดในราชอาณาจกั รก็ดี ให้
ถือวา่ ความผดิ นนั้ ไดก้ ระทำในราชอาณาจกั ร
จำว่า ดผู ลเปน็ หลัก ดงั ตัวอย่าง
-เอายาพิษในกินในไทยแล้วไปตายในเวียงจันทน์หรือกินที่เวียงจันทน์มาตายในไทยก็ถือว่าผิดใน
ราชอาณาจักรไทย
-โพสต์เฟซบุ๊กในตา่ งประเทศ เห็นไปทัว่ โลก อยากให้คนที่อยู่ในไทยเห็นแลว้ ฆ่ากัน ย่อมเล็งผลถอื
ว่าผิดในราชอาณาจกั รไทย
-ยิงปนื จากลาวหวงั จะฆา่ คนฝั่งไทยตาย ถือว่าผิดในราชอาณาจักรไทย
ในกรณีการตระเตรียมการ หรือพยายาม กระทำการที่กฎหมายว่าผิด แม้การกระทำนั้นจะได้กระทำ
นอกราชอาณาจักร ถ้าทำสำเร็จ ผลจะเกิดขึ้นในราชอาณาจักร ให้ถือว่า การตระเตรียมการหรือพยายาม
กระทำความผดิ นนั้ ไดก้ ระทำในราชอาณาจักร
บางครั้งกฎหมายก็บัญญัติให้ขั้นตระเตรียมและพยายามเป็นความผิดได้ เช่น เตรียมน้ำมันในฝ่ัง
ลาว หวังจะมาเผาบ้านในหนองคาย ถอื วา่ ผดิ และผิดในราชอาณาจกั รไทยดว้ ย

มาตรา ๖ ความผิดใดที่ได้กระทำในราชอาณาจักรหรือที่ประมวลกฎหมายนี้ถือว่าได้กระทำใน
ราชอาณาจักร แม้การกระทำของผู้เป็นตัวการด้วยกัน ของผู้สนับสนุน หรือของผู้ใช้ให้กระทำความผิดนั้นจะ
ไดก้ ระทำนอกราชอาณาจักร กใ็ ห้ถอื วา่ ตัวการ ผู้สนับสนุน หรือผูใ้ ชใ้ ห้กระทำไดก้ ระทำในราชอาณาจกั ร

เช่น นายเออยู่ตา่ งประเทศใชใ้ ห้ นายบมี าฆ่านายซใี นกรงุ เทพ ก็ใหน้ ายเอรบั ผดิ ในราชอาณาจกั ร
สรุปคือ ความผิดในเกิดในราชอาณาจักร แม้ผู้ใช้หรือผู้สนับสนุนอยู่นอก ก็ให้ถือว่าทำผิดใน
ราชอาณาจกั ร
มาตรา ๗ ความผดิ นอกราชอาณาจักร แตจ่ ะตอ้ งรับโทษในราชอาณาจกั ร คอื
ความผดิ เกยี่ วกับความมัน่ คงแห่งราชอาณาจกั ร
ความผิดเก่ียวกบั การกอ่ การร้าย
ความผิดเกยี่ วกบั การปลอมและการแปลง คือ เศรษฐกิจ เชน่ ปลอมตัว๋ เงิน ปลอมแสตมป์ ปลอมใบหุ้น เป็นต้น
ระวงั ปลอมเอกสารท่วั ไปไมใ่ ช่
ความผิดเกย่ี วกับเพศ คือ ทุระจดั หา พวกแมเ่ ลา้ ค้ามนุษย์ ระวัง ไมเ่ กี่ยวกบั ข่มขืน กระทำชำเรา
ความผดิ ฐานชงิ ทรพั ย์และความผิดฐานปล้นทรพั ย์ในทะเลหลวง ระวงั ฆ่ากนั กไ็ มเ่ ขา้ มาตรานี้
มาตรา ๘ ผู้ใดกระทำความผดิ นอกราชอาณาจักร และ

(ก) ผู้กระทำความผิดนั้นเป็นคนไทย และรัฐบาลแห่งประเทศที่ความผิดได้เกิดขึ้น หรือ
ผ้เู สยี หายไดร้ ้องขอให้ลงโทษ หรือ

(ข) ผู้กระทำความผิดนั้นเป็นคนต่างด้าว และรัฐบาลไทยหรือคนไทยเป็นผู้เสียหาย และ
ผู้เสียหายได้รอ้ งขอให้ลงโทษ

ถ้าความผดิ นัน้ เปน็ ความผดิ ดังระบไุ วต้ ่อไปน้ี จะต้องรับโทษภายในราชอาณาจักร คอื
ความผิดเกี่ยวกับการก่อให้เกิดภยันตรายต่อประชาชน ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร ความผิดเกี่ยวกับ
บัตรอิเล็กทรอนิกส์ ความผิดเกี่ยวกับหนังสือเดินทาง ความผิดเกี่ยวกับเพศ ความผิดต่อชีวิต ความผิดต่อ
ร่างกาย ความผิดฐานทอดทิ้งเด็ก คนป่วยเจ็บหรือคนชรา ความผิดต่อเสรีภาพ ความผิดฐานลักทรัพย์และ
วิ่งราวทรัพย์ ความผิดฐานกรรโชก รีดเอาทรัพย์ ชิงทรัพย์ และปล้นทรัพย์ ความผิดฐานฉ้อโกง ความผิดฐาน
ยกั ยอก ความผิดฐานรบั ของโจร ความผดิ ฐานทำให้เสยี ทรัพย์
ข้อต่อไปน้ีไม่เขา้ มาตรา ๘ คอื ผิดต่อเจ้าพนักงาน ช่ือเสียง(หม่ินประมาท) บุกรกุ ความผดิ การค้า โกง
ตาชั่ง การกระทำโดยประมาท ลามกอนาจาร
มาตรา ๙ เจ้าพนักงานของรัฐบาลไทยกระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการและความผิดต่อ
หน้าที่ในการยุตธิ รรม นอกราชอาณาจกั ร จะต้องรบั โทษในราชอาณาจกั ร
จำว่า เจ้าพนักงานของรฐั บาลไทย ไมว่ า่ สัญชาติใด หากไทยจ้างกถ็ อื วา่ ผดิ

มาตรา ๑๐ ผ้ใู ดกระทำการนอกราชอาณาจักรซ่งึ เป็นความผิดตามมาตราตา่ ง ๆ ทร่ี ะบุไวใ้ น
มาตรา ๗ ความผิดนอกราชอาณาจักร แต่จะต้องรับโทษในราชอาณาจักร คือ
-ความผิดเกี่ยวกับการปลอมและการแปลง คือ เศรษฐกิจ เช่น ปลอมตั๋วเงิน ปลอมแสตมป์ ปลอมใบ
หุน้ เป็นต้น ระวงั ปลอมเอกสารท่วั ไปไมใ่ ช่
-ความผิดฐานชงิ ทรัพย์และความผดิ ฐานปลน้ ทรัพย์ในทะเลหลวง ระวัง ฆ่ากันก็ไมเ่ ขา้ มาตราน้ี
มาตรา ๘
-ผ้ใู ดกระทำความผิดนอกราชอาณาจักร และ
(ก) ผู้กระทำความผิดนั้นเป็นคนไทย และรัฐบาลแห่งประเทศที่ความผิดได้เกิดขึ้น หรือผู้เสียหายได้
ร้องขอใหล้ งโทษ หรอื
(ข) ผู้กระทำความผิดนั้นเป็นคนต่างด้าว และรัฐบาลไทยหรือคนไทยเป็นผู้เสียหาย และผู้เสียหายได้
ร้องขอใหล้ งโทษ
มาตรา ๙
คือ เจ้าพนักงานของรัฐบาลไทยกระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการและความผิดต่อหน้าที่ใน
การยตุ ิธรรม นอกราชอาณาจกั ร จะตอ้ งรบั โทษในราชอาณาจกั ร
ห้ามมิให้ลงโทษผู้น้นั ในราชอาณาจักรเพราะการกระทำนั้นอีก ถ้า

(๑) ได้มีคำพพิ ากษาของศาลในต่างประเทศอันถงึ ทส่ี ดุ ให้ปลอ่ ยตวั ผู้นนั้ หรอื
(๒) ศาลในต่างประเทศพิพากษาให้ลงโทษ และผู้น้นั ได้พ้นโทษแลว้
ถ้าผู้ต้องคำพิพากษาได้รับโทษสำหรับการกระทำนั้นตามคำพิพากษาของศาลในต่างประเทศ
มาแลว้ แต่ยังไมพ่ น้ โทษ ศาลจะลงโทษนอ้ ยกว่าที่กฎหมายกำหนดไวส้ ำหรบั ความผิดน้ันเพยี งใดก็ได้ หรือจะไม่
ลงโทษเลยกไ็ ด้ ท้ังนี้ โดยคำนงึ ถงึ โทษท่ผี นู้ ้ันได้รับมาแลว้
มาตรา ๑๑ ผู้ใดกระทำความผิดในราชอาณาจักร หรือกระทำความผิดนอกราชอาณาจักรแต่
กฎหมายถือว่าได้กระทำในราชอาณาจักร ถ้าผู้นั้นได้รับโทษตามคำพิพากษาของศาลในต่างประเทศมาแล้ว
ทั้งหมด หรือแต่บางส่วน ศาลจะลงโทษนอ้ ยกวา่ ท่ีกฎหมายกำหนดไว้สำหรับความผดิ นัน้ เพียงใดก็ได้ หรือจะไม่
ลงโทษเลยกไ็ ด้ ทั้งนี้ โดยคำนงึ ถงึ โทษท่ีผ้นู ้ันไดร้ บั มาแลว้
ในกรณีที่ผู้กระทำความผิดในราชอาณาจักร หรือกระทำความผิดนอกราชอาณาจักรแต่กฎหมาย
ถือว่าได้กระทำในราชอาณาจักร ได้ถูกฟ้องต่อศาลในต่างประเทศโดยรัฐบาลไทยร้องขอ ห้ามมิให้ลงโทษผู้
นน้ั ในราชอาณาจักรเพราะการกระทำนนั้ อกี ถา้
(๑) ไดม้ คี ำพิพากษาของศาลในตา่ งประเทศอนั ถงึ ทีส่ ดุ ใหป้ ลอ่ ยตวั ผนู้ ั้น หรอื
(๒) ศาลในตา่ งประเทศพพิ ากษาใหล้ งโทษ และผนู้ ้ันไดพ้ ้นโทษแล้ว
ระวงั ต้องเป็นกรณร๊ ัฐบาลไทยร้องขอให้ศาลตา่ งชาตติ ัดสนิ เทา่ นน้ั

มาตรา ๑๒ วิธีการเพื่อความปลอดภัยจะใช้บังคับแก่บุคคลใดได้ก็ต่อเมื่อมีบทบัญญัติแห่ง
กฎหมายใหใ้ ชบ้ ังคับได้เท่านน้ั และใหใ้ ช้กฎหมายขณะทศ่ี าลพิพากษา

มาตรา ๑๓ ถ้ากฎหมายบัญญัติในภายหลังไดม้ กี ารยกเลกิ วธิ ีการเพ่ือความปลอดภยั ใด และถ้าผ้ใู ดถูก
ใช้บังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัยนั้นอยู่ ก็ให้ศาลสั่งระงับการใช้บังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัยนั้นเสีย เมื่อ
สำนวนความปรากฏแก่ศาล หรือเมื่อผู้นั้น ผู้แทนโดยชอบธรรมของผู้นั้น ผู้อนุบาลของผู้นั้นหรือพนักงาน
อัยการรอ้ งขอ

มาตรา ๑๔ ในกรณีที่มีผู้ถูกใช้บังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัยใดอยู่ และได้มีกฎหมายที่บัญญัติใน
ภายหลังเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขที่จะสั่งให้มีการใช้บังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัยนั้นไป ซึ่งเป็นผลอันไม่อาจ
นำมาใช้บังคับแก่กรณีของผู้นั้นได้ หรือนำมาใช้บังคับได้แต่การใช้บังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัยตาม
บทบญั ญัตขิ องกฎหมายท่ีบัญญัติในภายหลงั เป็นคุณแก่ผนู้ ้ันยิ่งกว่า เม่อื สำนวนความปรากฏแก่ศาล หรือเม่ือผู้
นั้น ผู้แทนโดยชอบธรรมของผู้นั้น ผู้อนุบาลของผู้นัน้ หรือพนกั งานอัยการร้องขอต่อศาลให้ยกเลิกการใช้บังคบั
วิธีการเพื่อความปลอดภัย หรือร้องขอรับผลตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายนั้น แล้วแต่กรณี ให้ศาลมีอำนาจส่ัง
ตามท่ีเห็นสมควร

มาตรา ๑๕ ถ้าตามบทบัญญัติของกฎหมายที่บัญญัติในภายหลัง โทษใดได้เปลี่ยนลักษณะมาเป็น
วิธีการเพื่อความปลอดภัย และได้มีคำพิพากษาลงโทษนั้นแก่บคุ คลใดไว้ ก็ให้ถือว่าโทษที่ลงนั้นเป็นวิธีการเพ่อื
ความปลอดภยั ดว้ ย

ในกรณดี งั กลา่ วในวรรคแรก ถา้ ยงั ไม่ได้ลงโทษผูน้ ้นั หรอื ผนู้ น้ั ยงั รับโทษอยู่ ก็ให้ใช้บังคับวิธีการ
เพื่อความปลอดภัยแก่ผู้นั้นต่อไป และถ้าหากว่าตามบทบัญญัติของกฎหมายที่บัญญัติในภายหลังมีเงื่อนไขที่
จะสง่ั ให้มีการใช้บังคบั วิธีการเพื่อความปลอดภัย อันไม่อาจนำมาใช้บังคับแก่กรณีของผู้นั้น หรือนำมาใช้บังคับ
ได้ แต่การใช้บังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัยตามบทบญั ญัติของกฎหมายที่บัญญตั ิในภายหลังเป็นคณุ แก่ผ้นู ้ัน
ยิ่งกว่า เมื่อสำนวนความปรากฏแก่ศาล หรือเมื่อผู้นั้น ผู้แทนโดยชอบธรรมของผู้นั้น ผู้อนุบาลของผู้นั้นหรือ
พนักงานอัยการร้องขอต่อศาลให้ยกเลิกการใช้บังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัย หรือร้องขอรับผลตาม
บทบัญญตั แิ หง่ กฎหมายนั้น แลว้ แตก่ รณี ให้ศาลมีอำนาจส่ังตามทเี่ ห็นสมควร

มาตรา ๑๖ เมื่อศาลได้พิพากษาให้ใช้บังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัยแก่ผู้ใดแล้ว ถ้าภายหลังความ
ปรากฏแก่ศาลตามคำเสนอของผู้นัน้ เอง ผู้แทนโดยชอบธรรมของผู้นั้น ผู้อนุบาลของผู้นั้นหรือพนักงานอัยการ
วา่ พฤตกิ ารณ์เกย่ี วกบั การใช้บงั คบั นน้ั ไดเ้ ปลย่ี นแปลงไปจากเดิม ศาลจะสง่ั เพิกถอนหรืองดการใชบ้ ังคับวิธีการ
เพ่ือความปลอดภัยแกผ่ ูน้ นั้ ไว้ชัว่ คราวตามทีเ่ หน็ สมควรก็ได้

มาตรา ๑๗ บทบญั ญัติในภาค ๑ แหง่ ประมวลกฎหมายนี้ ให้ใชใ้ นกรณีแห่งความผิดตามกฎหมายอ่ืน
ด้วย เวน้ แต่กฎหมายน้นั ๆ จะไดบ้ ัญญตั ไิ ว้เปน็ อยา่ งอนื่

สว่ นที่ ๑ โทษ

มาตรา ๑๘ โทษสำหรบั ลงแกผ่ ู้กระทำความผดิ มีดงั น้ี
(๑) ประหารชวี ิต
(๒) จำคกุ
(๓) กักขัง
(๔) ปรบั
(๕) รบิ ทรพั ยส์ นิ
โทษประหารชีวิตและโทษจำคุกตลอดชีวิตห้ามใช้ในขณะที่มีอายุต่ำกว่า ๑๘ ปี เปลี่ยนเป็น

จำคกุ ๕๐ ปแี ทน ระวงั ไม่สนวา่ พพิ ากษาวนั ไหน ใหส้ นว่าขณะทำผดิ แมจ้ ะหนไี ป ๑๐ ปีก็ตาม
-โทษประหารชวี ิต ใช้วิธฉี ีดยาหรือสารพิษใหต้ าย หลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการประหารชีวติ ให้เป็นไปตาม

ระเบียบทกี่ ระทรวงยุตธิ รรมกำหนด โดยประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา
มาตรา ๒๐ บรรดาความผิดที่กฎหมายกำหนดให้ลงโทษทั้งจำคุกและปรับด้วยนั้น ถ้าศาล

เหน็ สมควรจะลงแต่โทษจำคกุ ก็ได้
มาตรา ๒๑ ในการคำนวณระยะเวลาจำคุก ให้นับวันเริ่มจำคุกรวมคำนวณเข้าด้วย นับวันแรกเป็น

หน่งึ วันเตม็ โดยไม่ต้องคำนึงถึงจำนวนชว่ั โมง
ถ้าระยะเวลาที่คำนวณนั้นกำหนดเป็นเดือน ให้นับ ๓๐ วันเป็นหนึ่งเดือน ถ้ากำหนดเป็นปี ให้

คำนวณตามปปี ฏิทนิ ในราชการ คือ ๑๒ เดอื น เดือนละ ๓๐ วัน ระวัง ไม่ใช่ ๑ ปี ๓๖๕ วนั
ระวงั อย่าสับสนกับวันอุทธรณ์ เพราะอุทธรณ์ ๓๐ วนั แบบวันชนวนั เชน่ ตดั สิน ๑ มนี าคม ก็อุทธรณ์

ภายใน ๑ เมษายน
เมื่อผู้ต้องคำพิพากษาถูกจำคุกครบกำหนดแล้ว ให้ปล่อยตัวในวันถัดจากวันที่ครบกำหนด เช่น

ครบกำหนด ๑ มิถนุ ายน ต้องปล่อยตวั ๒ มถิ นุ ายน
มาตรา ๒๒ โทษจำคุก ให้เริ่มแต่วันมีคำพิพากษา แต่ถ้าผู้ต้องคำพิพากษาถูกคุมขังก่อนศาล

พิพากษา ให้หักจำนวนวันที่ถูกคมุ ขังออกจากระยะเวลาจำคกุ ตามคำพิพากษา เว้นแต่คำพิพากษานัน้ จะกลา่ ว
ไว้เปน็ อย่างอน่ื

ในกรณที ี่คำพิพากษากล่าวไว้เป็นอย่างอ่ืน โทษจำคุกตามคำพิพากษาเมื่อรวมจำนวนวันที่ถูกคุมขัง
ก่อนศาลพิพากษาในคดีเรื่องนั้นเข้าด้วยแล้ว ต้องไม่เกินอัตราโทษขั้นสูงของกฎหมายที่กำหนดไว้สำหรับ
ความผดิ ทไี่ ดก้ ระทำลงน้ัน ทั้งน้ี ไม่เป็นการกระทบกระเทือน กรรมเดียวผิดกฎหมายหลายบท เรยี งกระทงเลย

มาตรา ๒๓ ผ้ใู ดกระทำความผิดทมี่ ีโทษจำคุก และในคดนี ั้นศาลจะลงโทษจำคุกไม่เกนิ ๓ เดือน ถ้า
ไมป่ รากฏว่าผนู้ ั้นได้รับโทษจำคุกมาก่อน หรอื ปรากฏว่าได้รบั โทษจำคุกมาก่อน แตเ่ ปน็ โทษสำหรับความผิด
ท่ไี ด้กระทำโดยประมาท หรือความผิดลหุโทษ ศาลจะพิพากษาให้ลงโทษกักขงั ไมเ่ กนิ ๓ เดือนแทนโทษจำคุก
นัน้ ก็ได้

มาตรา ๒๔ ผู้ใดต้องโทษกักขัง ให้กักตัวไว้ในสถานที่กักขังซึ่งกำหนดไว้อันมิใช่เรือนจำ สถานี
ตำรวจ หรือสถานที่ควบคมุ ผตู้ อ้ งหาของพนกั งานสอบสวน

ถา้ ศาลเห็นเปน็ การสมควร จะสงั่ ในคำพิพากษาให้กักขังผู้กระทำความผิดไว้ในท่ีอาศัยของผู้น้ันเอง
หรือของผู้อื่นที่ยินยอมรับผู้นั้นไว้ หรือสถานที่อื่นที่อาจกักขังได้ เพื่อให้เหมาะสมกับประเภทหรือสภาพของผู้
ถูกกกั ขงั ก็ได้

ถ้าความปรากฏแก่ศาลว่า การกักขังผู้ต้องโทษกักขังไว้ในสถานที่กักขังตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง
อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้นั้น หรือทำให้ผู้ซึ่งต้องพึ่งพาผู้ต้องโทษกักขังในการดำรงชีพได้รับความเดือดร้อน
เกินสมควร หรือมีพฤติการณ์พิเศษประการอื่นที่แสดงให้เห็นว่าไม่สมควรกักขังผู้ต้องโทษกักขังในสถานท่ี
ดังกล่าว ศาลจะมีคำสั่งให้กักขังผู้ต้องโทษกักขังในสถานท่ีอื่นซึ่งมิใช่ที่อยู่อาศัยของผู้นั้นเองโดยได้รับความ
ยินยอมจากเจ้าของหรอื ผู้ครอบครองสถานที่ก็ได้ กรณีเช่นว่านี้ ให้ศาลมีอำนาจกำหนดเงือ่ นไขอย่างหนึง่ อย่าง
ใดให้ผูต้ ้องโทษกักขงั ปฏบิ ัติ และหากเจา้ ของหรอื ผ้คู รอบครองสถานท่ีดังกลา่ วยินยอม ศาลอาจมคี ำสั่งแต่งตั้งผู้
นั้นเป็นผู้ควบคมุ ดแู ลและให้ถอื วา่ ผ้ทู ่ไี ด้รับ แต่งตงั้ เปน็ เจา้ พนกั งานตามประมวลกฎหมายน้ี๕

มาตรา ๒๕ ผู้ต้องโทษกักขังในสถานที่ซึ่งกำหนด จะได้รับการเลี้ยงดูจากสถานที่นั้น แต่ภายใต้
ข้อบังคับของสถานท่ี ผู้ต้องโทษกักขังมสี ทิ ธิท่ีจะรบั อาหารจากภายนอกโดยค่าใช้จ่ายของตนเอง ใช้เสื้อผ้าของ
ตนเอง ได้รบั การเย่ียมอยา่ งน้อยวันละ ๑ ชั่วโมง และรบั และสง่ จดหมายได้

ผู้ต้องโทษกักขังจะต้องทำงานตามระเบียบ ข้อบังคับและวินัย ถ้าผู้ต้องโทษกักขังประสงค์จะ
ทำงานอย่างอื่นก็ให้อนุญาตใหเ้ ลือกทำได้ตามประเภทงานท่ีตนสมัคร แต่ต้องไม่ขัดต่อระเบียบ ข้อบังคับ วินยั
หรอื ความปลอดภยั ของสถานที่น้นั

มาตรา ๒๖ ถ้าผู้ต้องโทษกักขังถูกกักขังในที่อาศัยของผู้นั้นเอง หรือของผู้อื่นที่ยินยอมรับผู้นั้นไว้ ผู้
ต้องโทษกักขังนั้นมีสิทธิที่จะดำเนินการในวิชาชีพหรืออาชีพของตนในสถานที่ดังกล่าวได้ ในการน้ี ศาลจะ
กำหนดเงื่อนไขให้ผ้ตู อ้ งโทษกกั ขงั ปฏบิ ัติอยา่ งหน่งึ อยา่ งใดหรอื ไม่ก็ได้ แลว้ แต่ศาลจะเหน็ สมควร

มาตรา ๒๗ ถ้าในระหวา่ งท่ีผตู้ ้องโทษกักขังตามมาตรา ๒๓ ไดร้ ับโทษกกั ขังอยู่ ความปรากฏแก่ศาล
เอง หรือปรากฏแก่ศาลตามคำแถลงของพนกั งานอัยการหรือผู้ควบคมุ ดูแลสถานท่กี ักขงั ว่า

(๑) ผู้ต้องโทษกกั ขงั ฝ่าฝืนระเบียบ ขอ้ บงั คับ หรือวนิ ัยของสถานทก่ี ักขัง
(๒) ผ้ตู ้องโทษกักขงั ไม่ปฏิบตั ติ ามเง่อื นไขทีศ่ าลกำหนด หรือ
(๓) ผู้ตอ้ งโทษกักขังตอ้ งคำพิพากษาใหล้ งโทษจำคกุ
ศาลอาจเปลี่ยนโทษกักขังเป็นโทษจำคุกมีกำหนดเวลาตามที่ศาลเห็นสมควร แต่ต้องไม่เกิน
กำหนดเวลาของโทษกักขงั ที่ผตู้ ้องโทษกักขังจะตอ้ งได้รับต่อไป
มาตรา ๒๘ ผู้ใดต้องโทษปรับ ผู้น้ันจะต้องชำระเงนิ ตามจำนวนทีก่ ำหนดไว้ในคำพพิ ากษาต่อศาล
มาตรา ๒๙ ผู้ใดต้องโทษปรับและไม่ชำระค่าปรับภายใน ๓๐ วันนับแต่วันที่ศาลพิพากษา ผู้น้ัน
จะต้องถูกยึดทรัพย์สินหรืออายัดสิทธิเรียกร้องในทรัพย์สินเพื่อใช้ค่าปรับหรือมิฉะนั้นจะต้องถูกกักขังแทน
คา่ ปรบั แตถ่ า้ ศาลเห็นเหตุอนั ควรสงสัยว่าผู้นนั้ จะหลีกเล่ียงไม่ชำระคา่ ปรบั ศาลจะสัง่ เรยี กประกันหรือจะสั่งให้
กกั ขังผู้นน้ั แทนค่าปรับไปพลางกอ่ นก็ได้
ความในวรรคสองของมาตรา ๒๔ มใิ ห้นำมาใชบ้ งั คบั แก่การกกั ขงั แทนค่าปรับ

ระวัง มันคือค่าปรับตามคำพพิ ากษาทีข่ ึ้นศาล ไม่ใช่การเปรียบเทยี บปรับแทนอย่างอื่น เช่น ใบส่ัง
เจา้ พนกั งานก็ไมใ่ ช่ เพราะถือตามทพ่ี นักงานกำหนด

มาตรา ๒๙/๑๘ ในกรณีที่ผู้ต้องโทษปรับไม่ชำระค่าปรับภายในกำหนดเวลาตามมาตรา ๒๙ วรรค
หนึ่ง ให้ศาลมีอำนาจออกหมายบังคับคดีเพื่อยึดทรัพย์สินหรืออายัดสิทธิเรียกร้องในทรัพย์สินของผู้นั้นเพื่อใช้
คา่ ปรบั

การบังคับคดีตามวรรคหนึ่ง ให้นำประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาใช้บังคับโดยอนุโลม
โดยให้เจ้าพนกั งานศาลท่ีได้รับแตง่ ตง้ั และพนกั งานอัยการเป็นผู้มีอำนาจหนา้ ทใี่ นการดำเนนิ การบังคับคดี และ
ให้เจ้าพนกั งานบงั คับคดมี ีอำนาจหนา้ ทยี่ ึดทรัพยส์ ินหรืออายดั สทิ ธิเรียกร้องในทรพั ย์สินของผู้ต้องโทษปรับและ
ขายทอดตลาดตามท่ีไดร้ ับแจง้ จากศาลหรือพนักงานอยั การ ทง้ั นี้ มใิ ห้หนว่ ยงานของรัฐเรียกค่าฤชาธรรมเนียม
หรอื ค่าใช้จ่ายจากผู้ดำเนนิ การบงั คบั คดี

การตรวจสอบหาทรพั ย์สนิ ของผู้ต้องโทษปรับโดยพนักงานอัยการเพื่อการบงั คับคดตี ามวรรคสอง
ใหป้ ฏิบตั ติ ามหลกั เกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขทีก่ ำหนดในขอ้ บังคับของอยั การสูงสดุ

บทบญั ญัติมาตรานีไ้ ม่กระทบต่อการทศี่ าลจะมคี ำสั่งตามมาตรา ๒๙ วรรคหน่ึง
มาตรา ๓๐๙ ในการกกั ขงั แทนค่าปรบั ใหถ้ ืออตั รา ๕๐๐ บาทตอ่ หน่งึ วัน และไมว่ า่ ในกรณีความผิด
กระทงเดียวหรือหลายกระทง หา้ มกกั ขังเกินกำหนด ๑ ปี เวน้ แต่ในกรณีท่ศี าลพิพากษาให้ปรบั ต้ังแต่ ๒ แสน
บาทขึน้ ไป ศาลจะสั่งให้กกั ขังแทนค่าปรบั เปน็ ระยะเวลาเกนิ กว่า ๑ ปีแตไ่ ม่เกิน ๒ ปีก็ได้

ในการคำนวณระยะเวลานนั้ ให้นับวนั เรมิ่ กกั ขังแทนค่าปรับรวมเข้าด้วยและใหน้ ับเป็นหน่ึงวันเต็ม
โดยไม่ตอ้ งคำนงึ ถึงจำนวนชัว่ โมง

ในกรณีท่ีผู้ต้องโทษปรับถูกคุมขังก่อนศาลพิพากษา ให้หักจำนวนวันที่ถูกคุมขังนั้นออกจาก
จำนวนเงินค่าปรับ โดยถืออัตราห้าร้อยบาทต่อหนึ่งวัน เว้นแต่ผู้นั้นต้องคำพิพากษาให้ลงโทษทั้งจำคุกและ
ปรับ ในกรณีเช่นว่านี้ ถ้าจะต้องหักจำนวนวันที่ถูกคุมขังออกจากเวลาจำคุกตามมาตรา ๒๒ ก็ให้หักออก
เสียก่อนเหลือเทา่ ใดจึงให้หักออกจากเงนิ คา่ ปรบั

เม่ือผตู้ ้องโทษปรบั ถูกกักขังแทนค่าปรบั ครบกำหนดแล้ว ให้ปล่อยตัวในวนั ถดั จากวันทคี่ รบกำหนด
ถา้ นำเงินคา่ ปรับมาชำระครบแลว้ ให้ปล่อยตวั ไปทนั ที

มาตรา ๓๐/๑ ในกรณีท่ศี าลพิพากษาปรับ ผตู้ อ้ งโทษปรบั ซง่ึ มิใชน่ ติ ิบุคคลและไมม่ ีเงินชำระค่าปรับ
อาจยื่นคำร้องต่อศาลชั้นต้นที่พิพากษาคดีเพื่อขอทำงานบริการสังคมหรือทำงานสาธารณประโยชน์แทน
ค่าปรับ หรือถ้าความปรากฏแก่ศาลในขณะที่พิพากษาคดีว่าผู้ต้องโทษปรับรายใดอยู่ในเกณฑ์ที่จะทำงาน
บรกิ ารสังคมหรือทำงานสาธารณประโยชน์ตามมาตรานไี้ ด้ และถ้าผูต้ อ้ งโทษปรับยนิ ยอม ศาลจะมคี ำส่งั ใหผ้ ู้น้ัน
ทำงานบริการสงั คมหรอื ทำงานสาธารณประโยชน์แทนค่าปรับกไ็ ด้

การพิจารณาคำร้องตามวรรคแรก เม่อื ศาลไดพ้ ิจารณาถึงฐานะการเงนิ ประวัติและสภาพความผิด
ของผู้ต้องโทษปรับแล้ว เห็นเป็นการสมควร ศาลจะมีคำสั่งให้ผู้นั้นทำงานบริการสังคมหรือท ำงาน
สาธารณประโยชนแ์ ทนคา่ ปรบั ก็ได้ ท้ังนี้ ภายใตก้ ารดแู ลของพนักงานคุมประพฤติ เจา้ หน้าทข่ี องรัฐ หน่วยงาน
ของรัฐ หรือองคก์ ารซึ่งมวี ัตถปุ ระสงค์เพอื่ การบริการสงั คม การกุศลสาธารณะหรือสาธารณประโยชน์ท่ียินยอม
รับดูแล

กรณีที่ศาลมีคำส่ังใหผ้ ู้ต้องโทษปรับทำงานบริการสงั คมหรือทำงานสาธารณประโยชน์แทนค่าปรับ ให้
ศาลกำหนดลกั ษณะหรอื ประเภทของงาน ผู้ดูแลการทำงาน วนั เรม่ิ ทำงาน ระยะเวลาทำงาน และจำนวนชวั่ โมง
ที่ถือเป็นการทำงานหนึ่งวัน ทั้งนี้ โดยคำนึงถึงเพศ อายุ ประวัติ การนับถือศาสนา ความประพฤติ สติปัญญา
การศึกษาอบรม สุขภาพ ภาวะแห่งจิต นิสัย อาชีพ สิ่งแวดล้อมหรือสภาพความผิดของผู้ต้องโทษปรับ
ประกอบด้วย และศาลจะกำหนดเง่อื นไขอย่างหนึ่งอยา่ งใดให้ผตู้ ้องโทษปรบั ปฏบิ ัติเพ่ือแก้ไขฟื้นฟูหรือป้องกันมิ
ให้ผูน้ ้นั กระทำความผิดขึ้นอีกก็ได้

ถ้าภายหลังความปรากฏแก่ศาลว่าพฤติการณ์เกี่ยวกับการทำงานบริการสังคมหรือทำงาน
สาธารณประโยชน์ของผู้ต้องโทษปรับได้เปลี่ยนแปลงไป ศาลอาจแก้ไขเปลี่ยนแปลงคำสั่งที่กำหนดไว้นั้นก็ได้
ตามที่เหน็ สมควร

ในการกำหนดระยะเวลาทำงานแทนค่าปรับตามวรรคสาม ให้นำบทบัญญัติมาตรา ๓๐ มาใช้
บังคับโดยอนุโลม และในกรณีท่ีศาลมไิ ดก้ ำหนดให้ผูต้ ้องโทษปรบั ทำงานติดต่อกันไป การทำงานดังกล่าวตอ้ ง
อยภู่ ายในกำหนดระยะเวลา ๒ ปีนับแต่วันเร่มิ ทำงานตามท่ศี าลกำหนด

เพอื่ ประโยชน์ในการกำหนดจำนวนชัว่ โมงทำงานตามวรรคสาม ให้ประธานศาลฎกี ามอี ำนาจออก
ระเบียบราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมกำหนดจำนวนชั่วโมงที่ถือเป็นการทำงานหนึ่งวัน สำหรับงาน
บรกิ ารสงั คมหรืองานสาธารณประโยชน์แตล่ ะประเภทไดต้ ามที่เห็นสมควร

มาตรา ๓๐/๒๑๑ ถ้าภายหลังศาลมีคำสั่งอนุญาตตามมาตรา ๓๐/๑ แล้ว ความปรากฏแก่ศาลเอง
หรอื ความปรากฏตามคำแถลงของโจทกห์ รือเจา้ พนักงานวา่ ผู้ตอ้ งโทษปรับมีเงินพอชำระคา่ ปรบั ได้ในเวลาท่ียื่น
คำร้องตามมาตรา ๓๐/๑ หรือฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามคำสั่งหรือเงื่อนไขที่ศาลกำหนด ศาลจะเพิกถอนคำสั่ง
อนุญาตดังกล่าวและปรับ หรือกักขังแทนค่าปรับ โดยให้หักจำนวนวันที่ทำงานมาแล้วออกจากจำนวนเงิน
ค่าปรบั ก็ได้

ในระหว่างการทำงานบริการสังคมหรอื ทำงานสาธารณประโยชนแ์ ทนค่าปรบั หากผู้ต้องโทษปรับ
ไมป่ ระสงค์จะทำงานดงั กลา่ วต่อไป อาจขอเปลี่ยนเปน็ รบั โทษปรับ หรอื กักขงั แทนค่าปรบั กไ็ ด้ ในกรณีนี้ให้ศาล
มคี ำสัง่ อนญุ าตตามคำร้อง โดยใหห้ กั จำนวนวนั ที่ทำงานมาแล้วออกจากจำนวนเงินค่าปรับ

มาตรา ๓๐/๓๑๒ คำสง่ั ศาลตามมาตรา ๓๐/๑ และมาตรา ๓๐/๒ ให้เป็นทส่ี ุด
มาตรา ๓๑ ในกรณีทศ่ี าลจะพพิ ากษาให้ปรบั ผกู้ ระทำความผิดหลายคน ในความผดิ อันเดยี วกัน ใน
กรณเี ดยี วกนั ให้ศาลลงโทษปรบั เรยี งตามรายตัวบุคคล
มาตรา ๓๒ ทรัพย์สินใดที่กฎหมายบัญญัติไว้ว่า ผู้ใดทำหรือมีไว้เป็นความผิด ให้ริบเสียทั้งสิ้น ไม่ว่า
เป็นของผู้กระทำความผิด และมีผถู้ กู ลงโทษตามคำพพิ ากษาหรือไม่ ห้ามใชศ้ าลใช้ดลุ พนิ ิจ รบิ เท่านัน้
เช่น โดนยดั ยาเสพตดิ แมผ้ ้ตู ้องหาไม่ผิด กต็ ้องรบิ หรืออาวธุ ปนื เถือ่ น ไม่มที ะเบียน ธนบัตรปลอม

มาตรา ๓๓ ในการริบทรัพย์สิน นอกจากศาลจะมีอำนาจริบตามกฎหมายที่บัญญัติไวโ้ ดยเฉพาะแล้ว
ให้ศาลมีอำนาจสงั่ ใหร้ ิบทรพั ยส์ นิ ดงั ต่อไปน้อี ีกด้วย ศาลใชด้ ลุ พินจิ จะริบหรือไมร่ ิบกไ็ ด้ คอื

(๑) ทรัพย์สินซงึ่ บุคคลได้ใช้ หรอื มไี ว้เพอื่ ใชใ้ นการกระทำความผดิ หรือ
(๒) ทรพั ยส์ ินซง่ึ บุคคลได้มาโดยไดก้ ระทำความผดิ
เว้นแต่ทรัพย์สินเหล่านี้เป็นทรัพย์สินของผู้อื่นซึ่งมิได้รู้เห็นเป็นใจด้วยในการกระทำความผิด
เช่น ปืนมที ะเบียน มคี นขโมยไปฆ่าคนอน่ื ศาลรบิ ไมไ่ ด้
ไม่จำเป็นตอ้ งยดึ ของกลางทกุ ชนดิ
เชน่
-ซื้อขายยาเสพติดผ่านโทรศัพท์ ศาลต้องริบยาเสพติดแน่ ๆเลี่ยงไม่ได้ ส่วนโทรศัพท์ศาลมีอำนาจ
ริบ แต่จะริบหรือไมร่ บิ ก็ไดต้ ามดุลพนิ ิจ เพราะเป็นทรพั ยม์ ไี ว้สำหรับทำผดิ
-ปืน เอาไปตีหัวคนอื่น ก็รบิ ได้ แมจ้ ะไม่ยิง
-เงินสด ซื้อยาบ้า หรือเดนิ ทางซ้อื ยาบา้
-รถบรรทกุ ขโมยขดุ ดินไปขาย
ข้อควรระวงั
-ปลน้ ทรัพย์มาแล้วเอาไปจำนำ ตวั๋ จำนำ ไม่อาจริบได้ เพราะไมใ่ ชท่ รัพยโ์ ดยตรง
-ขับรถตระเวนลกั ทรัพย์ ไม่ริบรถ
-รถบรรทุกขนคนตา่ งด้าว ศาลจะไมร่ บิ กไ็ ด้
-พนันมวย ยึดโทรศพั ทเ์ ปน็ ของกลาง แต่ศาลไมร่ บิ
-พบยาในกระเป๋า กไ็ มร่ ิบกระเป๋า
-รถบรรทกุ ขนคนต่างด้าว ไม่รบิ แต่ ถา้ เด็กแวน้ เอารถไปขบั เสยี งดงั ในถนน รบิ ได้
มาตรา ๓๔ บรรดาทรัพย์สิน คือ ทรัพย์ที่ใช้ในการให้สินบน คนกลางรับสินบน รับสินบนเจ้า
พนกั งาน ตอ้ งรบิ เสมอ ห้ามใชด้ ุลพินจิ เช่น เงนิ จา่ ยให้เจา้ หน้าท่ีไม่จับตน รับมาก่อนรับตำแหนง่ กไ็ ด้
ต้องเต็มใจทั้ง ๒ ฝ่าย
หรือ ซึ่งได้ให้เพื่อจูงใจบุคคลให้กระทำความผิด หรือเพื่อเป็นรางวัลในการที่บุคคลได้กระทำ
ความผดิ เชน่ กรณที รัพยใ์ ชจ้ ้างคนทำผดิ
ใหร้ ิบเสียท้งั สน้ิ เวน้ แตท่ รัพย์สนิ น้ันเป็นของผู้อืน่ ซงึ่ มิได้ร้เู หน็ เปน็ ใจด้วยในการกระทำความผิด
ระวัง เงินทีค่ นใหไ้ มเ่ ตม็ ใจ เจา้ หน้าท่ีไปขม่ ขืนใจมา ริบไม่ได้
มาตรา ๓๕ ทรัพย์สินซึ่งศาลพิพากษาให้ริบให้ตกเป็นของแผ่นดิน แต่ศาลจะพิพากษาให้ทำให้
ทรัพย์สินน้นั ใชไ้ มไ่ ด้หรือทำลายทรัพยส์ ินนัน้ เสียก็ได้
มาตรา ๓๖ ในกรณที ศี่ าลส่ังใหร้ ิบทรัพย์สิน หากปรากฏในภายหลงั โดยคำเสนอของเจ้าของแท้จริง
ว่า ผูเ้ ป็นเจ้าของแท้จรงิ มิได้รเู้ ห็นเป็นใจดว้ ยในการกระทำความผิด ก็ใหศ้ าลสัง่ ใหค้ ืนทรพั ย์สนิ ถา้ ทรพั ย์สิน
นั้นยังคงมีอยู่ในความครอบครองของเจ้าพนักงาน แต่คำเสนอของเจ้าของแท้จริงน้ันจะต้องกระทำต่อศาล
ภายใน ๑ ปีนบั แต่วนั คำพพิ ากษาถึงทสี่ ุด ต้องเปน็ เจา้ ของแท้จริงก่อนหรือขณะทำผิด ถ้าเปน็ เจ้าของร่วมกับ
จำเลย คืนใหค้ ร่ึงเดยี ว หากเปน็ ใจดว้ ยกไ็ มม่ สี ิทธ์ขิ อคนื หรือปลอ่ ยปละละเลยจนเกิดความผิดข้นึ

มาตรา ๓๗ ถ้าผู้ที่ศาลสั่งให้ส่งทรัพย์สินที่ริบไม่ส่งภายในเวลาที่ศาลกำหนด ให้ศาลมีอำนาจส่ัง
ดังตอ่ ไปน้ี

(๑) ให้ยึดทรัพยส์ ินนนั้
(๒) ให้ชำระราคาหรือสง่ั ยึดทรัพยส์ นิ อื่นของผนู้ ้นั ชดใช้ราคาจนเตม็ หรอื
(๓) ในกรณที ศี่ าลเห็นวา่ ผนู้ น้ั จะส่งทรัพยส์ ินทส่ี ่ังใหส้ ง่ ได้ แตไ่ ม่สง่ หรอื ชำระราคาทรัพย์สินน้ันได้
แตไ่ มช่ ำระ ให้ศาลมอี ำนาจกกั ขงั ผู้น้ันไวจ้ นกวา่ จะปฏิบตั ิตามคำสั่ง แตไ่ มเ่ กนิ ๑ ปี แต่ถา้ ภายหลงั ปรากฏแก่
ศาลเอง หรอื โดยคำเสนอของผู้น้ันว่า ผู้น้นั ไมส่ ามารถส่งทรัพย์สินหรือชำระราคาได้ ศาลจะสง่ั ให้ปล่อยตัวผู้นั้น
ไปก่อนครบกำหนดกไ็ ด้
มาตรา ๓๘ คนผิดตาย โทษระงับ รวมถึง โทษริบทรัพย์ด้วย ทรัพย์นั้นต้องคืนให้หรือไม่ริบ หาก
เป็นทรพั ย์ที่ตอ้ งริบเสมอก็ตอ้ งรบิ เช่น เงนิ จา้ งทำผิด เงนิ ใหส้ นิ บน ยาบ้า ต้องรบิ เสมอ
อย่าสับสน ไม่ใช่ผ้เู สยี หายตาย

สว่ นที่ ๒ วิธีการเพอื่ ความปลอดภัย

วิธีการเพื่อความปลอดภยั มีดังน้ี
(๑) กกั กนั
(๒) ห้ามเขา้ เขตกำหนด
(๓) เรยี กประกันทณั ฑบ์ น
(๔) คุมตวั ไว้ในสถานพยาบาล
(๕) หา้ มการประกอบอาชีพบางอยา่ ง

มาตรา ๔๐ กกั กนั คอื การควบคุมผู้กระทำความผดิ ตดิ นิสยั ไว้ภายในเขตกำหนด เพื่อป้องกันการ
กระทำความผดิ เพอ่ื ดดั นสิ ยั และเพื่อฝกึ หดั อาชีพ

มาตรา ๔๑ ผู้ใดเคยถูกศาลพิพากษาใหก้ ักกันมาแล้ว หรือเคยถูกศาลพพิ ากษาให้ลงโทษจำคุกไม่
ต่ำกว่า ๖ เดอื นมาแล้วไม่น้อยกว่า ๒ ครั้งในความผิดดังตอ่ ไปน้ี คือ

(๑) ความผิดเก่ียวกับความสงบสุขของประชาชน ตามที่บัญญัตไิ วใ้ นมาตรา ๒๐๙ ถงึ มาตรา ๒๑๖
(๒) ความผิดเกี่ยวกับการก่อให้เกิดภยันตรายต่อประชาชน ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๒๑๗ ถึง
มาตรา ๒๒๔
(๓) ความผดิ เก่ยี วกับเงินตรา ตามที่บญั ญตั ิไวใ้ นมาตรา ๒๔๐ ถึงมาตรา ๒๔๖
(๔) ความผดิ เกี่ยวกับเพศ ตามทีบ่ ัญญัติไว้ในมาตรา ๒๗๖ ถึงมาตรา ๒๘๖
(๕) ความผิดต่อชีวิต ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๒๘๘ ถึงมาตรา ๒๙๐ มาตรา ๒๙๒ ถึงมาตรา
๒๙๔
(๖) ความผดิ ต่อร่างกาย ตามที่บญั ญตั ิไวใ้ นมาตรา ๒๙๕ ถงึ มาตรา ๒๙๙
(๗) ความผิดตอ่ เสรีภาพ ตามทบ่ี ัญญัตไิ ว้ในมาตรา ๓๐๙ ถึงมาตรา ๓๒๐
(๘) ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๓๓๔ ถึงมาตรา ๓๔๐ มาตรา ๓๕๔ และ
มาตรา ๓๕๗

และภายในเวลา ๑๐ ปีนับแต่วันที่ผู้นั้นได้พ้นจากการกักกัน หรือพ้นโทษ แล้วแต่กรณี ผู้นั้นได้
กระทำความผิดอย่างหนึ่งอย่างใดในบรรดาที่ระบุไว้นั้นอีกจนศาลพิพากษาลงโทษจำคุกไม่ต่ำกว่า ๖ เดือน
สำหรับการกระทำความผิดนั้น ศาลอาจถือว่า ผู้นั้นเป็นผู้กระทำความผิดติดนิสัย และจะพิพากษาให้กักกันมี
กำหนดเวลาไมน่ อ้ ยกวา่ ๓ และไมเ่ กิน ๑๐ ก็ได้

ความผิดซึ่งผู้กระทำได้กระทำในขณะที่มีอายุต่ำกว่า ๑๘ ปีนั้น มิให้ถือเป็นความผิดที่จะนำมา
พิจารณากักกนั ตามมาตราน๑ี้

มาตรา ๔๒ ในการคำนวณระยะเวลากักกัน ให้นับวันที่ศาลพิพากษาเป็นวันเริ่มกักกัน แต่ถ้ายังมี
โทษจำคุกหรือกักขังที่ผู้ต้องกักกันนั้นจะต้องรับอยู่ก็ให้จำคุกหรือกักขังเสียก่อน และให้นับวันถัดจากวันที่พ้น
โทษจำคุกหรือพ้นจากกกั ขงั เปน็ วันเรม่ิ กักกัน

ระยะเวลากกั กัน และการปลอ่ ยตัวผู้ถกู กกั กัน ใหน้ ำบทบญั ญตั ิมาตรา ๒๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๔๓ การฟ้องขอให้กักกันเป็นอำนาจของพนักงานอัยการโดยเฉพาะ และจะขอรวมกันไป
ในฟ้องคดอี นั เป็นมลู ใหเ้ กิดอำนาจฟ้องขอให้กักกนั หรือจะฟ้องภายหลงั ก็ได้

มาตรา ๔๔ ห้ามเข้าเขตกำหนด คือการห้ามมิให้เข้าไปในท้องที่หรือสถานที่ที่กำหนดไว้ในคำ
พิพากษา

มาตรา ๔๕ เม่ือศาลพิพากษาใหล้ งโทษผ้ใู ด และศาลเห็นสมควรเพ่อื ความปลอดภัยของประชาชน
ไม่ว่าจะมีคำขอหรอื ไม่ ศาลอาจสั่งในคำพิพากษาว่าเมื่อผู้นั้นพ้นโทษตามคำพิพากษาแล้ว ห้ามมิให้ผู้นั้นเข้าใน
เขตกำหนดเปน็ เวลาไม่เกนิ ๕ ปี

มาตรา ๔๖๒ ถ้าความปรากฏแกศ่ าลตามข้อเสนอของพนักงานอัยการว่าผู้ใดจะก่อเหตรุ ้ายให้เกิด
ภยันตรายแก่บุคคลหรือทรัพย์สินของผู้อื่น หรือจะกระทำการใดให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งแวดล้อมหรือ
ทรัพยากรธรรมชาติตามกฎหมายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ในการพิจารณาคดีความผิดใด
ไม่วา่ ศาลจะลงโทษผถู้ ูกฟ้องหรือไม่ก็ตาม เม่ือมเี หตุอนั ควรเชือ่ วา่ ผูถ้ ูกฟ้องน่าจะก่อเหตุร้ายให้เกิดภยันตรายแก่
บุคคลหรือทรัพย์สินของผู้อื่น หรือจะกระทำความผิดให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งแวดล้อมหรือ
ทรัพยากรธรรมชาติตามกฎหมายเกี่ยวกับสิง่ แวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ให้ศาลมีอำนาจที่จะสั่งผู้นั้นให้
ทำทัณฑ์บนโดยกำหนดจำนวนเงินไม่เกินกว่า ๕ หมื่นบาทว่าผู้นั้นจะไม่ก่อเหตุร้ายหรือจะไม่กระทำความผิด
ดงั กลา่ วแล้วตลอดเวลาที่ศาลกำหนด แต่ไม่เกิน ๒ ปี และจะส่ังให้มปี ระกนั ด้วยหรือไม่กไ็ ด้

ถ้าผู้นั้นไม่ยอมทำทัณฑ์บนหรือหาประกันไม่ได้ ให้ศาลมีอำนาจสั่งกักขังผู้นั้นจนกว่าจะทำ
ทัณฑ์บนหรือหาประกันได้ แต่ไม่ให้กักขังเกินกว่า ๖ เดือน หรือจะสั่งห้ามผูน้ ัน้ เข้าในเขตกำหนดตามมาตรา
๔๕ ก็ได้

การกระทำของผซู้ ่งึ มีอายุต่ำกว่าสบิ แปดปีมใิ ห้อยู่ในบงั คับแหง่ บทบัญญัติตามมาตราน้ี

มาตรา ๔๗ ถ้าผู้ทำทัณฑ์บนตามความในมาตรา ๔๖ กระทำผิดทัณฑ์บน ให้ศาลมีอำนาจสั่งให้ผู้
น้นั ชำระเงนิ ไม่เกนิ จำนวนที่ได้กำหนดไว้ในทณั ฑ์บน ถา้ ผนู้ นั้ ไม่ชำระให้นำบทบญั ญตั ิในมาตรา ๒๙ และมาตรา
๓๐ มาใชบ้ งั คบั

มาตรา ๔๘ ถา้ ศาลเห็นว่า การปล่อยตวั ผู้มีจติ บกพรอ่ ง โรคจติ หรอื จิตฟน่ั เฟือน ซึ่งไม่ตอ้ งรับโทษหรือ
ได้รับการลดโทษตามมาตรา ๖๕ จะเป็นการไม่ปลอดภัยแก่ประชาชน ศาลจะสั่งให้ส่งไปคุมตัวไว้ใน
สถานพยาบาลกไ็ ด้ และคำสง่ั นี้ศาลจะเพกิ ถอนเสยี เม่ือใดก็ได้

มาตรา ๔๙ ในกรณีท่ีศาลพิพากษาลงโทษจำคุก หรือพิพากษาว่ามีความผิดแต่รอการกำหนดโทษ
หรือรอการลงโทษบุคคลใด ถ้าศาลเห็นว่าบุคคลนั้นได้กระทำความผิดเกี่ยวเนื่องกับการเสพย์สุราเป็นอาจิณ
หรอื การเป็นผตู้ ิดยาเสพยต์ ิดใหโ้ ทษ ศาลจะกำหนดในคำพิพากษาว่า บุคคลน้นั จะตอ้ งไม่เสพยส์ ุรา ยาเสพย์ติด
ให้โทษอย่างหนึ่งอย่างใด หรือทั้งสองอย่าง ภายในระยะเวลาไม่เกิน ๒ ปีนับแต่วันพ้นโทษ หรือวันปล่อยตัว
เพราะรอการกำหนดโทษ หรือรอการลงโทษกไ็ ด้

ในกรณีที่บุคคลดังกล่าวในวรรคแรกไม่ปฏิบัติตามที่ศาลกำหนด ศาลจะสั่งให้ส่งไปคุมตัวไว้ใน
สถานพยาบาลเป็นเวลาไม่เกนิ สองปีกไ็ ด้

มาตรา ๕๐ เมื่อศาลพิพากษาให้ลงโทษผู้ใด ถ้าศาลเห็นว่าผู้นั้นกระทำความผิดโดยอาศัยโอกาสจาก
การประกอบอาชีพหรือวิชาชีพ หรือเนื่องจากการประกอบอาชีพหรือวิชาชีพ และเห็นว่าหากผู้นั้นประกอบ
อาชีพหรือวิชาชีพนน้ั ต่อไปอาจจะกระทำความผิดเชน่ นนั้ ขึ้นอกี ศาลจะส่ังไว้ในคำพพิ ากษาห้ามการประกอบ
อาชีพหรือวชิ าชีพนน้ั มีกำหนดเวลาไมเ่ กิน ๕ ปีนับแต่วันพ้นโทษไปแลว้ กไ็ ด้

ส่วนท่ี ๓ วิธเี พ่ิมโทษ ลดโทษ และการรอการลงโทษ

มาตรา ๕๑๑ ในการเพม่ิ โทษ มใิ ห้เพิ่มขน้ึ ถึงประหารชีวติ จำคุกตลอดชีวิต หรือจำคุกเกนิ ๕๐ ปี
มาตรา ๕๒๒ ในการลดโทษประหารชีวิต ไมว่ า่ จะเป็นการลดมาตราส่วนโทษหรือลดโทษท่ีจะลง ให้
ลดดังต่อไปนี้

(๑) ถ้าจะลด ๑ ใน ๓ ให้ลดเป็นโทษจำคกุ ตลอดชวี ิต
(๒) ถา้ จะลดกึ่งหน่ึง ใหล้ ดเป็นโทษจำคุกตลอดชีวติ หรอื โทษจำคุกต้ังแต่ ๒๕ ปถี งึ ๕๐ ปี
มาตรา ๕๓๓ ในการลดโทษจำคุกตลอดชีวิต ไม่ว่าจะเป็นการลดมาตราส่วนโทษหรือลดโทษท่จี ะลง
ให้เปลย่ี นโทษจำคกุ ตลอดชีวิตเปน็ โทษจำคุก ๕๐ ปี
มาตรา ๕๕ ถ้าโทษจำคกุ ทผ่ี ้กู ระทำความผิดจะต้องรบั มีกำหนดเวลาเพียง ๓ เดอื นหรอื นอ้ ยกว่า ศาล
จะกำหนดโทษจำคุกให้น้อยลงอีกก็ได้ หรือถ้าโทษจำคุกที่ผู้กระทำความผิดจะต้องรับมีกำหนดเวลาเพียงสาม
เดือนหรือน้อยกว่าและมีโทษปรับด้วย ศาลจะกำหนดโทษจำคุกให้น้อยลง หรือจะยกโทษจำคุกเสีย คงให้ปรับ
แต่อยา่ งเดยี วกไ็ ด้
มาตรา ๕๖๔ ผใู้ ดกระทำความผดิ ซึ่งมโี ทษจำคุกหรือปรับ และในคดนี ั้นศาลจะลงโทษจำคุกไม่เกิน
๕ ปีไม่วา่ จะลงโทษปรับด้วยหรอื ไมก่ ็ตามหรอื ลงโทษปรับ ถา้ ปรากฏวา่ ผูน้ นั้
(๑) ไม่เคยรบั โทษจำคุกมาก่อน หรือ
(๒) เคยรบั โทษจำคกุ มาก่อนแตเ่ ป็นโทษสำหรับความผดิ ที่ได้กระทำโดยประมาท หรอื ความผิดลหุ
โทษ หรอื เป็นโทษจำคุกไมเ่ กนิ ๖ เดอื น หรอื
(๓) เคยรับโทษจำคุกมาก่อนแต่พ้นโทษจำคุกมาแล้วเกินกว่าห้าปี แล้วมากระทำความผิดอีก โดย
ความผดิ ในคร้ังหลังเป็นความผิดท่ีได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ

หมวด ๔ ความรบั ผดิ ในทางอาญา

โครงสร้างความรบั ผิดทางอาญา
การกระทำครบองค์ประกอบตามกฎหมายว่าเปน็ ความผิด

-มีการกระทำ และการกระทำครบองค์ประกอบภายนอกของความผิดนั้น ๆ คือ ผู้กระทำ การกระทำ
วัตถุแห่งการกระทำ

-การกระทำครบองค์ประกอบภายในของความผิดนั้น ๆ คือ เจตนา ประมาท รู้สำนึก กฎหมายใช้
หลกั การกระทำบ่งช้เี จตนา (ถ้ายิงปนื ระดบั เอวข้นึ มาเป็นเจตนาฆ่า ถา้ ยงิ เทา้ ยงิ ขาเป็นเจตนาทำร้าย)

-ความสมั พนั ธ์ระหว่างการกระทำและผล
ทฤษฎีเงือ่ นไข คอื ผลโดยตรง คือ ผลจากการกระทำโดยตรง

เช่น ขับรถมาโดยความเร็วสงู แตอ่ ย่ใู นเลนของตนเอง แตม่ มี อไซตข์ ับมาตดั หนา้ ล้มตาย ความตายไม่ได้
เป็นผลโดยตรงท่ีเกดิ ขน้ึ จากความเร็ว จึงไมต่ อ้ งรบั ผดิ ฐานประมาทให้ผอู้ ่นื ถึงแกค่ วามตาย

นายเอไล่ฟันผเู้ สยี หายบนเรือ จนเขาหนีบนเรอื กระโดดนำ้ ตายเพราะกลวั เปน็ ผลโดยตรงมาจาก
กระทำ ต้องรับผดิ
ทฤษฎีเหตุเหมาะสม คอื

ผลธรรมดา -ถ้าผลของการกระทำความผิดใดทำให้ผู้กระทำต้องรับโทษหนักขึ้น ผลของการกระทำ
ความผดิ นั้นตอ้ งเปน็ ผลท่ตี ามธรรมดาย่อมเกิดข้ึนได้ ใช้แคค่ าดเห็นกพ็ อ ไม่ตอ้ งเลง็ เห็นกไ็ ด้

เชน่ วางเพลิงเผาทรัพย์บ้านเขา แตย่ ่อมคาดเห็นได้ว่าจะถูกคนตาย ต้องรับโทษหนักขึ้น เหตุวางเพลิง
เผาทรัพย์ทำให้ผ้อู ื่นถงึ แกค่ วามตาย

เหตแุ ทรกแซง เหตเุ ชน่ ภยั ธรรมชาติ บคุ คลที่สาม ผู้เสียหายเอง ตวั ผทู้ ำผดิ
เช่น แดงตีหัวดำเบาๆ จนสลบ แต่ตีบริเวณชายหาด แล้วเดินหนีไปโดยไม่ช่วย ต่อมาน้ำทะเลพัดดำ
ตาย นั่นคอื การกระทำสัมพันธก์ บั ผล เพราะคาดหมายไดว้ ่าต้องถูกน้ำพดั ตายแน่ ต้องรบั ผิด
เช่น นายบีตีแขนนายเอ นายเอไม่ยอมไปหาหมอ จนแผลติดเชื้อตาย เหตุแทรกแซง คือ ไม่ยอมไปหา
หมอ และเหตนุ ว้ี ญิ ญชู นคาดหมายได้ รบั ผดิ ฐานทำรา้ ยผู้อนื่ ถึงแกค่ วามตาย
เช่น นายเอไปรุมกระทืบนายบี จนสลบยังไม่ตาย ญาติพาไปรักษาเป็นเจ้าชายนิทรา แต่ญาติไม่อยาก
ให้ทรมาน ถอดเครื่องชว่ ยหายใจ นายบีตาย วิญญูชนคาดหมายไม่ได้วา่ ญาติจะให้ถอดออก นายเอรับผิดแค่ทำ
รา้ ยร่างกาย
เช่น ทำร้ายจนสลบ คิดว่าตาย จึงเอาไปแขวนคออำพรางคดี จนตายจริง เหตุแทรกแทรงจากผู้ทำผดิ
เอง คาดหมายได้ รับผิดฐานทำรา้ ยถึงแกค่ วามตาย
จำ
-กรณีไมร่ สู้ ำนกึ เช่น ละเมอ ลมบา้ หมู ถูกสะกดจิต ถือว่า ไม่มกี ารกระทำ ไม่ต้องรบั ผิด
-การกระทำแบบเคลือ่ นไหว คือ เจตนากับประมาท
-การกระทำแบบไมเ่ คล่ือนไหว คือ การกระทำโดยละเวน้ หรอื งดเว้นเพ่ือป้องกันผลรา้ ยนนั้
-ไมเ่ จตนากต็ ้องรบั ผิด คอื กฎหมายลหุโทษ

องคป์ ระกอบภายนอกความผิด

ถา้ ไม่รอู้ งคป์ ระกอบความผดิ ก็ถือวา่ ไมม่ ีการกระทำ
จำว่า ความผิดบางฐาน หากผู้เสียหายยินยอมก็ไม่ครบองค์ประกอบไม่ผิด เช่น ยินยอมให้บุกรุก

ยนิ ยอมให้ลักทรัพย์ ยนิ ยอมรว่ มประเวณี เพราะขาดองคป์ ระกอบภายนอกหรือไมม่ เี รื่องวัตถกุ ารกระทำ
ระวัง ความยินยอมของคนไข้ให้หมอตัดขารักษาชีวิต ไม่ใช่ขาดองค์ประกอบในเรื่องวัตถุการ

กระทำ มีครบเลย แต่ไม่ผิด เพราะหลักความยินยอม เป็นเหตุยกเว้นความผิด เช่นเดียวกับการสัญญาเช่า
ทรัพย์ว่า หากไม่เจ้าค่าเช่าห้อง ๓ งวดติด เจ้าของมีสิทธิ์มาล็อกห้อง ไม่ผิดฐานรบกวนการครอบครอง ใช้หลัก
ความยินยอมยกเว้นความผิด
ผกู้ ระทำ คือ คนผิด ประกอบดว้ ย

-ผู้ทำผิดโดยตรง ทำผิดเอง เช่น ใช้ปืนยิงเอง ใช้สุนัขฝึกไปกัดคนอื่น(ใช้สัตว์ก็เสมือนทำเองร้อย
เปอร์เซน็ ต)์ ใช้คนท่ีไมม่ ีการกระทำ(คอื สะกดจติ คนอน่ื )

ผู้ทำผิดโดยอ้อม หมายถึง ผู้ที่หลอกบุคคลให้กระทำความผิดโดยผู้ถูกหลอก ไม่ต้องรับผิดฐานกระทำ
โดยเจตนา เพราะถูกหลอกไม่รู้ข้อเท็จจริงอันเป็นองค์ประกอบภายนอกของความผิดนั้น ๆ (แต่ผู้ถูกหลอก
อาจจะตอ้ งรับผดิ ฐานกระทำโดยประมาท) ผู้ทำผดิ ไมม่ เี จตนาทำผิด(ตัวแทนโดยบรสิ ทุ ธ์ิ )

เช่น แอบเอายาไปใส่ในข้าวโรงบาล พยาบาลจึงเอาไปให้คนไข้กินตาย เรียกพยาบาลว่า ตัวแทนโดย
บรสิ ทุ ธิ์ หากพยาบาลพยายามดูแลถีถ่ ้วนแล้วก็ไม่ผิด หากไมด่ ใู หด้ ีก็ผดิ ฐานประมาท

ผู้รว่ มทำผดิ คอื ทำผดิ หลายคน มผี ใู้ ช้ ผสู้ นับสนุน
การกระทำ มีกฎหมายบัญญัติความผิด เริ่มตั้งแต่ขั้นพยายาม แต่ความผิดฐานตระเตรียมก็ผิด เช่น
วางเพลงิ ก่อการร้าย ปลงพระชนม์
วตั ถแุ หง่ การกระทำ คือ ม่งุ หมายจะทำต่ออะไร เช่น คน ทรพั ย์สิน ช่อื เสยี ง เสรภี าพ

เช่น นายเอไปข่มขืนนางบี แต่นางบีตายไปก่อน เอก็ไม่รู้ ข่มขืนจนเสร็จ นายเอไม่ต้องรับผิดฐาน
กระทำชำเรา เพราะ วัตถแุ หง่ การกระทำไม่มีสภาพบุคคล จะเป็นกระทำชำเราศพกไ็ มใ่ ช่ เพราะไม่มีเจตนา

มขี ้อควรจำ ความผิดอาญาบางฐานกฎหมายกำหนดองค์ประกอบภายนอก ซึง่ ไมใ่ ช่ข้อเท็จจริง ซ่ึง

มกั เขียนวา่ นา่ จะ อาจจะ โดยประการท่นี า่ จะ เรียกวา่ พฤติการณ์ประกอบการกระทำความผดิ
เชน่ ปลอมเอกสาร ถ้ามนั ไมน่ ่าจะเกดิ ความเสียหายแกบ่ ุคคลอน่ื กม็ กั จะไม่ผดิ

องค์ประกอบภายใน

คือ เจตนา(ประสงคต์ ่อผล เลก็ เห็นผล เจตนาโอน(กระทำโดยพลาด))
ประมาท
เจตนาพเิ ศษ เชน่ ปลอมเอกสารต้องมีเจตนาพเิ ศษให้คนอืน่ เชือ่ ด้วย

-การกระทำนนั้ ไม่มกี ฎหมายยกเวน้ ความผิด

เหตุยกเวน้ ความผิด

-คอื การกระทำทไ่ี ม่ความผดิ ไม่มีโทษ แมจ้ ะครบองค์ประกอบความผิดก็ไมต่ ้องรับผดิ
-ตัวอย่างกฎหมายยกเว้นความผิด เช่น ป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย ทำแท้งถูกกฎหมาย การแสดง
ความเห็นหรือข้อความโดยสุจริต การแสดงความคิดเห็นหรือข้อความในกระบวนการพิจารณาคดีในศาลโดย
ค่คู วามหรือทนายความเพื่อประโยชนใ์ นคดขี องตนไม่มคี วามผิดฐานหมิ่นประมาท

ปอ้ งกันโดยชอบด้วยกฎหมาย

-การป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย คือ การกระทำเพื่อป้องกันสิทธิของตนหรือของผู้อื่น(ไม่
จำเปน็ ตอ้ งรจู้ ักคนน้ัน) ให้พ้นภยันตรายซึ่งเกิดจากการประทุษรา้ ยอันละเมิดต่อกฎหมาย(ไม่จำเป็นต้องอาญา)
และเป็นภยนั ตรายทีใ่ กลจ้ ะถึง กระทำพอสมควรแก่เหตุ การกระทำนั้นเป็นการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย
ผู้นนั้ ไม่มีความผิด

-ผู้ป้องกันต้องไม่มีส่วนก่อภยั เช่น ไปยวั่ เขา จนเขาต่อย จงึ ต่อยกลบั อา้ งปอ้ งกนั ไม่ได้
-ต้องป้องกนั กับผู้กอ่ ภัยหรอื ทรัพย์ผ้กู ่อภยั ก็ได้ ไม่คำนงึ ว่าทรัพยน์ น้ั เป็นของผกู้ ่อภยั แทก้ ็ได้
-คำวา่ ละเมดิ ตอ่ กฎหมาย รวมถงึ กฎหมายอนื่ เช่นในกฎหมายแพ่ง ชายชูม้ ารว่ มหลบั นอนกับภรรยา
จดทะเบียนของตนเป็นการละเมิด ถ้าไม่จดทะเบียนอ้างป้องกันไม่ได้ ถือว่าถูกข่มเหงอย่างร้ายแรงดว้ ยเหตุอนั
ไม่เปน็ ธรรมอ้างบันดาลโทสะได้
-ป้องกนั ซอ้ นปอ้ งกันไมไ่ ด้
เช่น เอจะยิงบี บีหันมาเจอพอดีจึงชักปืนจะยิงเอ เอจึงยิงส่วนมา บีตาย จะอ้างป้องกันไม่ได้ เพราะ
ตนจะทำเขากอ่ น
เช่น ผู้เสียหายที่ ๑ ถูกทำร้าย ผู้เสียหายที่ ๒ จึงมาเห็นจะช่วย แต่ถูกคนร้ายแทงเหมือนกัน แบบน้ี
ผูต้ อ้ งหาจะอา้ งว่าแทงผู้เสยี หายท่ี ๒ เพราะปอ้ งกันไมไ่ ด้
-เป็นเรื่องทช่ี อบธรรมท่เี ราจะป้องกันชีวิต เช่น สืบทราบมาว่ามคี นจะมาฆ่าเรา เราจึงเตรยี มอาวุธปืน
ไว้ พอคนร้ายมาถึงเราก็ยิงคนร้ายตายก่อน กฎหมายก็ยังคงถือว่าเรามีความชอบธรรมที่จะป้องกัน เราไม่มี
ความผิด แต่ถา้ รูบ้ ้านคนรา้ ย ตามไปยงิ เขาตายถึงบา้ นจะอา้ งไมไ่ ด้ เพราะอนั ตรายยงั ไม่มาถงึ
-เช่น นายดำจ่อปืนจะยิงนายแดง นายแดงไม่มีทางเลือกจึงรีบคว้าปืนยิงสวนทางกลับไป จนนายดำ
ตาย อย่างนี้แม้จะครบองค์ประกอบฐานฆ่าผู้อื่นตาย แต่ก็ไม่มีความผิด ไม่มีโทษ เพราะเป็นการป้องกันโดย
ชอบด้วยกฎหมาย กฎหมายยกเวน้ ความผดิ ให้
-เช่น นายดำกำลังจะยิงนางขาวภรรยาของนายแดง นายแดงมาเห็นพอดี จึงรีบคว้าปืนยิงนายดำ
กอ่ นทน่ี ายดำจะยิงนางขาว ก็เป็นการปอ้ งกันโดยชอบดว้ ยกฎหมาย
-ระวัง หมาจะกัดเรา เราจึงตีหมาจรจัดจนสาหัส จะอ้างป้องกันโดยชอบไม่ได้ เพราะหมาไม่ได้ละเมิด
กฎหมาย แต่ถ้าเป็นหมามีเจา้ ของ เจ้าของปล่อยละเลยจนไล่กัด เราอ้างได้ เพราะไม่ได้อ้างกับหมา แต่อ้างกับ
เจา้ ของหมา
-ระวัง เขาวิ่งมาจะชกเรา เราเห็นจึงเอาปืนยิงเขาที่หัวไป ๕ นัดจนตาย ไม่เป็นการป้องกันโดยชอบ
ด้วยกฎหมาย เพราะมนั ไม่สมควรแกเ่ หตุ แตจ่ ะเปน็ เหตลุ ดโทษแทน

-อ้างป้องกันโดยชอบโดยสำคัญผิดได้ เช่น นายเอยิงคนในบ้านเพราะสำคัญผิดว่าเป็นโจร อ้างว่า
ปอ้ งกันโดยชอบธรรมได้และไมม่ ีความผดิ

-อ้างการป้องกันโดยพลาดได้ เช่น นายแดงเห็นนายดำกำลังจะยิงตน นายแดงจึงยิงสวนออกไป แต่
ปรากฎว่าลูกกระสุนพลาดไปถกู นายเขียวตาย สรุป นายแดงมีเจตนาฆ่านายเดียวโดยพลาด แต่มันอ้างป้องกนั
โดยชอบได้ ไม่มคี วามผิด

-การป้องกนั ไวล้ ่วงหนา้
-บ้านกลางป่า มีสมบัติของชาติในบ้าน จึงเอารั้วไฟฟ้ามาล้อม มหาโจรถูกช็อตตาม ไม่สมควรแก่เหตุ
ศาลต้องช่างน้ำหนกั ระหวา่ งมหาโจรกบั สมบตั ิชาตใิ ครสำคญั กว่ากนั
-รั้วไฟฟา้ ลอ้ มบ่อเล้ยี งปลา เจ้าของบ่อใชค้ นสวนไปตัดหญ้าถูกไฟซ๊อตตาย อา้ งปอ้ งกันไม่ได้ ถ้าหากว่า
เป็นกรณขี องคนมาขโมยปลาถกู ช๊อตตาย อ้างปอ้ งกนั ได้ แต่เกินสมควรแก่เหตุ

ทำแทง้ ถกู ฎหมาย เพราะสขุ ภาพหรือถูกข่มขืน

-เช่น นางขาวถูกข่มขืนกระทำชำเรา จนตั้งท้อง นางขาวจึงขอให้แพทย์ทำแท้ง ไม่ต้องรับโทษทาง
อาญา ไมม่ คี วามผิด เพราะกฎหมายยกเวน้ ความผดิ ให้

การแสดงความเห็นหรอื ข้อความโดยสจุ รติ

-เพอ่ื ความชอบธรรม ป้องกนั ตน
-ในฐานะเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่
-ตชิ มดว้ ยความเปน็ ธรรม
-แจง้ ข่าวด้วยความเป็นธรรมเรอ่ื งการดำเนนิ การอันเปดิ เผยในศาลหรือทป่ี ระชมุ
-ไมม่ คี วามผดิ ฐานหมิน่ ประมาท เพราะกฎหมายยกเว้นความผดิ ให้

-การกระทำนัน้ ไมม่ กี ฎหมายยกเวน้ โทษหรือลดหย่อนโทษ

เหตุยกเวน้ โทษ
-เหตุยกเวน้ โทษ คอื มคี วามผิด แตไ่ มม่ โี ทษ เพราะกฎหมายยกเว้นโทษให้
-เหตุยกเวน้ โทษไม่มีความชอบธรรมทีจ่ ะกระทำได้ แต่กฎหมายก็เห็นใจจงึ ยกเว้นโทษให้ ต่างจากเหตุ

ยกเวน้ ความผิดที่มีความชอบธรรมท่จี ะทำได้
-ขอ้ เทจ็ จริงใด ถ้ามีอยูจ่ รงิ จะทำให้การกระทำไม่เป็นความผิด หรอื ทำให้ผู้กระทำไม่ต้องรับโทษ หรือ

ได้รับโทษน้อยลง แม้ข้อเทจ็ จรงิ นัน้ จะไม่มีอยู่จริง แตผ่ กู้ ระทำสำคัญผิดว่ามีอยู่จริง ผูก้ ระทำย่อมไม่มีความผิด
หรอื ไดร้ บั ยกเวน้ โทษ หรือไดร้ บั โทษน้อยลง แลว้ แตก่ รณี

เชน่ นายเอโทรมาหลอกนายบีว่า ได้จบั นางเขียวเมียนายบไี ป ใหไ้ ปขโมยทรพั ย์นายซมี าให้ มฉิ ะน้ันจะ
ฆ่านางเขียว ทั้งที่ไม่ได้จับไป แต่นายบีก็เชื่อเพราะสำคัญผิด เลยไปขโมยทรัพย์นายซีมา สรุปคือ นายบีอ้างว่า
จำเปน็ เพราะสำคญั ผดิ ได้

-ถ้าความไม่รู้ข้อเท็จจริง หรือความสำคัญผิดว่ามีอยู่จริง ได้เกิดขึ้นด้วยความประมาทของผู้กระทำ
ความผิด ให้ผู้กระทำรับผิดฐานกระทำโดยประมาท ในกรณีที่กฎหมายบัญญัติไว้โดยเฉพาะว่า การกระทำนั้น
ผู้กระทำจะต้องรับโทษแม้กระทำโดยประมาท บุคคลจะต้องรับโทษหนักขึ้นโดยอาศัยข้อเท็จจริงใด บุคคลน้ัน
จะตอ้ งไดร้ ้ขู ้อเทจ็ จริงน้ัน

เช่น กระทำโดยความจำเป็น เด็กอายุเกิน ๑๐ ปีแต่ไม่เกิน ๑๕ ปี คนวิกลจริต
ทำผิด ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์สามีภรรยา(เช่น สามีลักทรัพย์ภรรยา) การทำตามคำสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
ของเจา้ พนักงาน การทำความผดิ เพราะมึนเมา

กระทำโดยความจำเป็น มคี วามผดิ ไมต่ อ้ งรบั โทษเพราะกฎหมายยกเวน้ โทษให้

-คอื ผู้กระทำไมม่ คี วามชอบธรรมที่จะกระทำ แต่กฎหมายก็ยกเวน้ โทษให้
เพราะอยู่ในทบ่ี งั คับ หรอื ภายใตอ้ ำนาจซ่งึ ไม่สามารถหลีกเล่ียงหรอื ขัดขืนได้
เช่น แดงถูกนายดำเอาปืนจี้ ให้ข่มขืนนางขาว หากไม่กระทำจะยิงตาย สถานการณ์นี้ แดงไม่มี
ความชอบธรรมท่จี ะกระทำได้เลย แตต่ อ้ งทำเพราะอยู่ในทีบ่ ังคบั หากไมท่ ำตอ้ งตายแน่ กฎหมายจึงยกเวน้ โทษ
ให้หรอื
เพราะเพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นพ้นจากภยันตรายที่ใกล้จะถึงและไม่สามารถหลีกเลี่ยงให้พ้นโดยวิธี
อื่นใดได้ เมื่อภยันตรายนั้นตนมิได้ก่อให้เกิดขึ้นเพราะความผิดของตน ถ้าการกระทำนั้นไม่เป็นการเกิน
สมควรแกเ่ หตุแล้ว ผู้น้ันไมต่ ้องรับโทษ
-การดวู า่ สมควรแกเ่ หตหุ รอื ไม่ คือ
-เรมิ่ จากดูวิถที างทนี่ ้อยทสี่ ุดขณะมภี ัยเกิด ว่ามีทางหนีหรอื หยดุ ไดท้ ันหรือไม่ เชน่ โจรว่ิงราวทรัพย์ข้ึน
รถหนีไป จงึ ยงิ ไปกลางหลงั ใหห้ ยดุ ถอื ว่าหมดหนทางแล้ว เพราะตามไม่ทนั แนถ่ ้าว่ิงตาม
-แตม่ ันจะเกินกว่าเหตหุ รือไม่ ถา้ ทำกบั ผ้กู ่อภยั สัดส่วนภัยตอ้ งเทา่ กันจึงจะสมควรแก่เหตุ แต่ถ้าทำ
กับบุคลที่ ๓ สัดส่วนภัยตอ้ งน้อยกวา่
เช่น นายเอเอาปืนจี้บี ให้บียิงนายซี ไม่งั้นตายแน่ แบบนี้จำเป็น แต่เกินกว่าเหตุ แม้สัดส่วนภัยจะ
เทา่ กนั แตท่ ำกับบุคคลที่ ๓ โดยปกติสดั ส่วนภยั ต้องน้อยกว่า แตถ่ า้ นายบหี ันปืนไปยงิ นายเอกลับ แบบน้ีไม่เกิน
กวา่ เหตุ เพราะทำกบั ผู้กอ่ ภยั ในสดั ส่วนเท่ากนั ได้
ภัยนไ้ี มจ่ ำเปน็ ต้องเปน็ ภยั ท่ีเกิดจากการละเมิดกฎหมายเป็นภยั ใดก็ได้
เช่น มีกระถางต้นไม้หล่นจากที่สูงจะตกใส่นางเอ นางเอเห็นดังนั้นจึงวิ่งชนนางบีเพื่อหลบ นางบีหัว
แตก นางเอมีความผิดแต่กฎหมายยกเว้นโทษให้ ต่างกับการป้องกันโดยชอบที่ต้องเป็นภัยจากการละเมิด
กฎหมาย
-เช่น น้ำกำลังจะท่วมนาเรา เราจึงขุดทางสาธารณะเพื่อระบายน้ำ มีความผิดฐานทำให้เสยี ทรัพย์ แต่
ยกเวน้ โทษให้
ระวงั กรณฟี ังขา่ วว่าพายุเข้า ฝนยงั ไม่ตกหนัก แต่กลวั วา่ ถ้าตกมาน้ำท่วมนา จึงไปขุดทางสาธารณะไว้
เพอ่ื รอระบายนำ้ แบบนีจ้ ะอ้างว่าทำเพราะจำเป็นไม่ได้ เนื่องจากภยั ยงั ไม่ใกลม้ าถงึ
-เช่น นายแดงวิ่งฟันนายดำ จึงวิ่งหนี นายดำจึงวิ่งชนนายเขียวที่ยืนบังประตูอยู่จนหัวแตก เพราะจะ
เข้าไปหลบดา้ นใน จะอ้างปอ้ งกนั โดยชอบไม่ได้ เพราะไมไ่ ด้กระทำต่อผู้ที่ก่อภยั คือนายแดง แตเ่ ป็นกรณีกระทำ
โดยจำเปน็ กฎหมายยกเว้นโทษให้
ระวงั ถ้านายดำสามารถวิ่งไปทางอนื่ ท่ีปลอดภยั กวา่ หรือวงิ่ หลบไปได้ จะอา้ งจำเป็นไม่ได้ เพราะมันมี
วิธีอน่ื ทีด่ กี วา่ หรือ ถ้านายดำก่อเร่อื เอง โดยไปฟันนายแดงก่อน จะอา้ งจำเป็นไม่ไดเ้ พราะตนเองก่อภัยมาเอง

-เช่น นายเอพายเรือไปกับนายบี แต่เรือล่ม มีห่วงยางแค่อันเดียว รับน้ำหนักได้คนเดียว ปรากฎว่า
นายเอควา้ หว่ งยางได้ก่อน แลว้ นายบจี ะมาแยง่ นายเอจงึ ถีบนายบอี อกไป จนจมนำ้ เปน็ การป้องกันโดยชอบ

ถ้ากลับกันนายบีแย่งห่วงยางได้ จนได้นายเอจมน้ำ นายบีผิด เพราะไม่มีความชอบธรรม แต่มีความ
จำเป็น กฎหมายจงึ ยกเว้นโทษให้บี

-ระวัง มีคนขโมยหมาไปแล้วโทรมาขู่ว่า ให้ไปฆ่านายเอนะ หากไม่ทำจะฆ่าหมา อย่างนี้อ้างจำเป็น
ไม่ได้ เพราะมันไมส่ มควรแก่เหตุ แตล่ ดโทษได้

เด็กอายุเกิน ๑๐ ปีแต่ไม่เกิน ๑๕ ปีทำผิด มีความผิดไม่ต้องรับโทษเพราะกฎหมายยกเว้นโทษ
ให้

-เดก็ อายุกว่า ๑๐ ปีแตย่ งั ไมเ่ กิน ๑๕ ปี กระทำความผิด เด็กนน้ั ไม่ต้องรับโทษ แตใ่ ห้ศาลมอี ำนาจที่จะ
ดำเนินการ ดังตอ่ ไปน้ี

(๑) ว่ากล่าวตักเตือนแล้วปล่อยตัวไป และถ้าศาลเห็นสมควรจะเรียกบิดา มารดา ผู้ปกครอง หรือ
บุคคลทเ่ี ดก็ นน้ั อาศัยอยมู่ าตกั เตอื นดว้ ยก็ได้

(๒) ถ้าศาลเห็นว่า บดิ า มารดา หรือผูป้ กครองสามารถดูแลเด็กนัน้ ได้ ศาลจะมคี ำสัง่ ให้มอบตัวเด็กนั้น
ให้แก่บิดา มารดา หรือผู้ปกครองไป โดยวางข้อกำหนดให้บิดา มารดา หรือผู้ปกครองระวังเด็กนั้นไม่ให้ก่อ
เหตุร้ายตลอดเวลาที่ศาลกำหนดซึ่งต้องไม่เกิน ๓ ปีและกำหนดจำนวนเงินตามที่เห็นสมควรซึ่งบิดา มารดา
หรือผปู้ กครองจะตอ้ งชำระตอ่ ศาลไม่เกนิ คร้งั ละ ๑ หมืน่ บาท ในเม่อื เดก็ นน้ั ก่อเหตรุ า้ ยขนึ้

คนวกิ ลจริตทำผิด มีความผดิ ไม่ต้องรับโทษเพราะกฎหมายยกเว้นโทษให้

กระทำความผิด ในขณะไม่สามารถรู้ผิดชอบ หรือไม่สามารถบังคับตนเองได้เพราะมีจิตบกพร่อง โรค
จติ หรือจิตฟน่ั เฟือน ผู้นน้ั ไมต่ ้องรบั โทษสำหรบั ความผดิ นนั้

แต่ถ้าผู้กระทำความผิดยังสามารถรู้ผิดชอบอยู่บ้าง หรือยังสามารถบังคับตนเองได้บ้าง ผู้นั้นต้องรับ
โทษสำหรับความผิดนัน้ แตศ่ าลจะลงโทษน้อยกวา่ ที่กฎหมายกำหนดไว้สำหรับความผิดน้นั เพยี งใดกไ็ ด้

ความผิดเกี่ยวกบั ทรพั ย์สามภี รรยา มีความผดิ ไมต่ ้องรับโทษเพราะกฎหมายยกเว้นโทษให้

เช่น สามีลกั ทรพั ยภ์ รรยา สามภี รรยาฉ้อโกงทรพั ยก์ ัน ผ้กู ระทำไมต่ ้องรบั โทษ

การทำตามคำสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายของเจ้าพนักงาน มีความผิดไม่ต้องรับโทษเพราะ
กฎหมายยกเวน้ โทษให้

ผใู้ ดกระทำตามคำสง่ั ของเจ้าพนักงาน แมค้ ำส่งั นั้นจะมิชอบดว้ ยกฎหมาย ถา้ ผกู้ ระทำมีหน้าท่ีหรือเชื่อ
โดยสจุ ริตว่ามีหน้าท่ีต้องปฏบิ ตั ติ าม ผู้นนั้ ไม่ตอ้ งรับโทษ เว้นแต่จะรูว้ ่าคำสั่งนั้นเป็นคำสัง่ ซึ่งมิชอบด้วยกฎหมาย

การทำความผดิ เพราะมนึ เมา มีความผดิ ไม่ต้องรับโทษเพราะกฎหมายยกเวน้ โทษให้

ความมึนเมาเพราะเสพสุราหรือสิ่งเมาอย่างอื่นจะยกขึ้นเป็นข้อแก้ตัวว่า ในขณะทำไม่สามารถรู้ผิด
ชอบ หรือไมส่ ามารถบงั คบั ตนเองได้ ไมไ่ ด้

เวน้ แตค่ วามมนึ เมานนั้ จะไดเ้ กิดโดยผู้เสพไมร่ ู้วา่ ส่ิงน้นั จะทำให้มนึ เมา หรือถูกขืนใจให้เสพ และได้
กระทำความผิดในขณะไม่สามารถรู้ผิดชอบ หรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ จึงจะได้รับยกเว้นโทษสำหรับ
ความผิดนนั้ แตถ่ า้ ผู้น้ันยังสามารถรู้ผิดชอบอยบู่ ้าง หรอื ยังสามารถบังคับตนเองได้บ้าง ศาลจะลงโทษน้อย
กว่าทกี่ ฎหมายกำหนดไว้สำหรับความผิดน้ันเพียงใดก็ได้

ขอ้ แตกตา่ งระหวา่ งปอ้ งกนั โดยชอบดว้ ยกฎหมายกบั จำเป็นตอ้ งทำ

-การป้องกันโดยชอบ เป็นเหตุยกเว้นความผิด ไม่มีความผิด ไม่มีโทษ แต่กระทำโดยจำเป็น เป็นเหตุ
ยกเวน้ โทษ มีความผิดแตไ่ มต่ อ้ งรบั โทษ

-การป้องกันโดยชอบธรรม มีความชอบธรรมท่ีจะกระทำได้ แต่กระทำโดยจำเปน็ ไม่มีความชอบธรรม
ที่จะกระทำได้เลย

-การป้องกันโดยชอบธรรม ต้องเป็นภัยที่มาจากการละเมิดกฎหมายเท่านั้น แต่การกระทำโดยจำเป็น
จะเปน็ ภัยไหนก็ได้

-การป้องกันโดยชอบธรรม ต้องกระทำกับตัวผู้ก่อภัย แต่การกระทำโดยจำเป็นต้องไม่กระทำต่อตัวผู้
กอ่ ภยั

-หากการกระทำโดยป้องกันโดยชอบและกระทำโดยจำเป็น ได้ทำเกินสมควรแก่เหตุ จะเป็นเหตุ
ลดหยอ่ นโทษแทน

ข้อแตกต่างระหวา่ งปอ้ งกนั โดยชอบด้วยกฎหมายกับบนั ดาลโทสะ

-การปอ้ งกันโดยชอบธรรม เปน็ เหตุยกเวน้ ความผิด แต่กระทำโดยบนั ดาลโทสะเปน็ เหตุลดหย่อนโทษ

เหตุลดหย่อนโทษ(ไม่อยใู่ นโครงสร้างทางอาญา)
-ถ้าการกระทำป้องกันโดยชอบและกระทำโดยจำเป็น ผู้กระทำได้กระทำไปเกินสมควรแก่เหตุ หรือ

เกินกว่ากรณีแห่งความจำเป็น หรือเกินกว่ากรณีแห่งการจำต้องกระทำเพื่อป้องกัน ศาลจะลงโทษน้อยว่าที่
กฎหมายกำหนดไว้สำหรับความผิดนั้นเพียงใดก็ได้ แต่ถ้าการกระทำนั้นเกิดขึ้นจากความตื่นเต้น ความ
ตกใจ หรอื ความกลัว ศาลจะไมล่ งโทษผกู้ ระทำกไ็ ด้

-บุคคลจะแก้ตัวว่าไม่รู้กฎหมายเพื่อให้พ้นจากความรับผิดในทางอาญาไม่ได้ แต่ถ้าศาลเห็นว่า ตาม
สภาพและพฤติการณ์ ผู้กระทำความผิดอาจจะไม่รู้ว่ากฎหมายบัญญัติว่าการกระทำนั้นเป็นความผิด ศาล
อาจอนุญาตให้แสดงพยานหลักฐานต่อศาล และถ้าศาลเชื่อว่าผู้กระทำไม่รู้ว่ากฎหมายบัญญัติไว้เช่นนั้น
ศาลจะลงโทษน้อยกว่าท่กี ฎหมายกำหนดไวส้ ำหรบั ความผิดนนั้ เพียงใดก็ได้

-ถ้าคนวิกลจริตทำผิด แต่สามารถรู้ผิดชอบอยู่บ้าง หรือยังสามารถบังคับตนเองได้บ้าง ผู้ศาลจะ
ลงโทษน้อยกวา่ ท่ีกฎหมายกำหนดไว้สำหรับความผดิ น้นั เพยี งใดกไ็ ด้

-คนมึนเมา เพราะ ผู้เสพไม่รู้ว่าสิ่งนั้นจะทำให้มึนเมา หรือถูกขืนใจให้เสพ ยังสามารถรู้ผิดชอบอยู่
บ้าง หรือยังสามารถบังคับตนเองได้บ้าง ศาลจะลงโทษน้อยกว่าที่กฎหมายกำหนดไว้สำหรับความผิดน้ัน
เพยี งใดกไ็ ด้

-ความผิดเกี่ยวกบั ทรพั ย์ ระหวา่ งญาตสิ นิท เช่น บุพการกี ระทำต่อผู้สบื สันดาน ผสู้ บื สันดานกระทำต่อ
ผ้บู ุพการี หรอื พ่หี รือนอ้ งรว่ มบดิ ามารดาเดยี วกนั กระทำต่อกัน แม้กฎหมายไมไ่ ด้บัญญตั ใิ ห้เปน็ ความผิดอันยอม
ความไม่ได้ ก็ให้เป็นความผิดอันยอมความได้ และศาลจะลงโทษนอ้ ยกว่าท่ีกฎหมายกำหนดไวส้ ำหรับความผดิ
นั้นเพียงใดกไ็ ด้

บนั ดาลโทสะ

ผู้ใดบันดาลโทสะโดยถกู ข่มเหงอย่างรา้ ยแรงด้วยเหตุอันไม่เป็นธรรม จึงกระทำความผิดตอ่ ผูข้ ่มเหง
ในขณะนั้น ศาลจะลงโทษผูน้ ้ันน้อยกว่าท่กี ฎหมายกำหนดไว้สำหรับความผดิ นั้นเพยี งใดกไ็ ด้

คำวา่ ขณะนั้น คอื เวลาไมน่ านพอทจ่ี ะระงับโทสะได้ ถา้ นานพอจะระงบั โทสะได้อา้ งไม่ได้
เชน่ ภรรยาบอกสามีวา่ มีคนข่มเหงตน เพิ่งหนีไปไมน่ าน สามตี ามไป ๒๐๐-๒๔๐ เมตรตามทัน จึงเอา
ปืนยงิ อา้ งได้ ถ้าหากไปตามหาไม่เจอรอแก้แค้น อา้ งไมไ่ ด้ แต่เป็นฆา่ โดยเจตนา
เช่น นายเอถูกนายบีข่มเหงอยา่ งร้ายแรงในผับ แต่ รปภ เข้ามาห้าม ต่อมาในเอไปเอาปืนมายิงนายบี
ตาย อ้างบันดาลโทสะได้ ถ้ายิงระหว่างถกู ข่มเหงอาจเป็นปอ้ งกันโดยชอบได้
เช่น ชายได้เสียกับหญิง จึงดูถูกหญิงว่า ง่ายจัง หญิงโกรธจึงเอารองเท้าตบหน้า ชายจึงเข้ามาทำร้าย
หญงิ วิง่ เขา้ ไปในหอ้ งครัวเอามีดมาแทงชายตาย อา้ งได้ เพราะเวลาต่อเนอื่ งกันอยู่ และไมไ่ ด้วางแผนฆา่ ไวก้ อ่ น
ระวัง เพื่อนของตนข่มขืนภรรยาตนเอง สามีรู้จึงเก็บอาการไว้ ทำเหมือนพาเพื่อนคนนั้นไปจับปลา
ผ่านไป ๓ ชั่วโมงจึงลงมือฆ่า ไม่ใช่บันดาลโทสะ เพราะนานพอจะระงับโทสะแล้ว แต่เป็นฆ่าโดยไตร่ตรอง อ้าง
ไม่ได้
ตวั อยา่ งอนื่ ๆ
เช่น ด่าแม่จำเลยว่าเป็นโสเภณี จำเลยจึงยิง อ้างได้ เพราะสัมพันธ์ใกล้ชิดพวก พ่อ แม่ พี่ น้อง ปู่ ย่า
ตา ยายเมีย ลูก
ระวัง มีคนข่มเหงแม่เพื่อน จึงร่วมมอื กับเพื่อนฆ่าเขา จะลดโทษเฉพาะลูก เพื่อนไม่ลด เพราะห่างไกล
กันดา้ นเครอื ญาติ
ระวัง ด่าว่า โคตรพอ่ โคตรแม่ อาจจะไม่ถงึ ขั้น
เชน่ จำเลยเห็นภรรยาของตน กอดจบู กบั ชายอ่ืน เมอื่ จำเลยเห็นดงั นัน้ จงึ ชกตอ่ ยชายนน้ั จนตาย
เช่น สามีใช้ให้ภรรยาไปหาข้าวมาให้ตนกิน เมื่อไม่มีก็ไปซื้อในตลาดไกล เมื่อซื้อมาแล้วก็ไม่ยอมกิน
แถมบ่นเรื่องเมยี นอ้ ยให้ฟัง ภรรยาจึงเอาไม้ฟาด ถอื เปน็ บนั ดาลโทสะ เพราะถกู หยามน้ำใจรา้ ยแรง
เช่น ภรรยาเห็นสามีพลอดรักกับชู้ จึงชักปืนยิงชู้ตาย แม้จะไม่มีเจตนาให้เห็นก็ตาม ก็ถือว่าข่มเหง
นำ้ ใจ อ้างเป็นบนั ดาลโทสะ
เช่น หญิงตั้งครรภ์กับชายคนหนึ่ง จึงไปบอกชายมาสู่ขอ ชายจึงบอกว่า มึงยอมให้กูเล่นทำไม หญิง
โกรธ จึงเอาปืนยิง ถือเป็นบันดาลโทสะ เพราะถูกหยามน้ำใจร้ายแรง

-ผใู้ ดอายกุ ว่า ๑๕ ปแี ตต่ ำ่ กวา่ ๑๘ ปี กระทำการอันกฎหมายบัญญตั ิเป็นความผดิ ให้ศาลพิจารณาถึง
ความรู้ผิดชอบและส่ิงอื่นทั้งปวงเกีย่ วกับผู้น้ัน ในอันที่จะควรวนิ จิ ฉยั ว่าสมควรพิพากษาลงโทษผู้นัน้ หรอื ไม่ ถ้า
ศาลเห็นว่าไม่สมควรก็ไม่มีโทษ ถ้าศาลเห็นว่าสมควรพิพากษาลงโทษ ก็ให้ลดมาตราส่วนโทษที่กำหนดไว้
สำหรับความผิดลงกงึ่ หน่ึง

-ผู้ใดอายุตั้งแต่ ๑๘ ปีแต่ยังไม่เกิน ๒๐ ปี กระทำการอันกฎหมายบัญญัติเป็นความผิด ถ้าศาล
เหน็ สมควรจะลดมาตราส่วนโทษท่ีกำหนดไวส้ ำหรบั ความผดิ นน้ั ลง ๑ ใน ๓ หรือ ก่ึงหน่ึงกไ็ ด้

-เมื่อปรากฏว่ามีเหตุบรรเทาโทษ ไม่ว่าจะได้มีการเพิ่มหรือการลดโทษตามบทบัญญัติแห่งประมวล
กฎหมายนี้หรือกฎหมายอื่นแล้วหรือไม่ ถ้าศาลเห็นสมควรจะลดโทษไม่เกินกึ่งหนึ่งของโทษทีจ่ ะลงแก่ผู้กระทำ
ความผิดนั้นกไ็ ด้

-เหตุบรรเทาโทษนั้น ได้แก่ ผู้กระทำความผิดเป็นผู้โฉดเขลาเบาปัญญาตกอยู่ในความทุกข์อย่าง
สาหัส มีคุณความดีมาแต่ก่อน รู้สึกความผิดและพยายามบรรเทาผลร้ายแห่งความผิดนั้น ลุแก่โทษต่อเจ้า
พนักงานหรือให้ความรู้แก่ศาลอันเป็นประโยชน์แก่การพิจารณา หรือเหตุอื่นที่ศาลเห็นว่ามีลักษณะทำนอง
เดียวกนั

-ในคดีที่มีโทษปรับสถานเดียว ถ้าผู้ที่ต้องหาว่ากระทำความผิด นำค่าปรับในอัตราอย่างสูงสำหรับ
ความผิดน้ันมาชำระก่อนที่ศาลเร่ิมตน้ สบื พยาน ให้คดนี น้ั เปน็ อนั ระงบั ไป

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ทั้ง ๓ ขั้นต้องดูตามลำดับ ว่า ความผิดนั้นความองค์ประกอบมั้ย ถ้าครบก็มาดูว่า มีกฎหมาย

ยกเวน้ ความผดิ มั้ย ถ้าไม่มี กม็ าดูว่ามีกฎหมายยกเวน้ โทษหรอื ลดหย่อนโทษมย้ั
เช่น นายเอเอาปืนไล่ยิง นายบี นายบีไม่มีทางเลือกจึงพังประตูบ้านนายซีเข้าไปหลบ แสดงว่าการพัง

ประตูครบองค์ประกอบทำให้เสียทรัพย์แล้ว ไม่มีกฎหมายยกเว้นความผิดด้วย จึงมาดูขั้นที่ ๓ ปรากฎว่ามี
กฎหมายยกเวน้ โทษ เพราะกระทำโดยความจำเป็น

เช่น นายเอเอาปืนยกขึ้น กะจะยิงนายบี นายบีไม่มีทางเลือกใดแล้ว จึงโยนไม้สวนไปเสียบนายเอตาย
ขั้นที่ ๑ นายบีทำครบองค์ประกอบความผิดฐานฆ่าคนตาย พอมาดูขั้นที่ ๒ ปรากฏว่ามีกฎหมายยกเว้น
ความผิด เพราะเป็นการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย สรุป คือ การป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย ไม่มี
ความผดิ

-บคุ คลจะตอ้ งรับผิดในทางอาญาก็ต่อเมื่อได้กระทำโดยเจตนา เว้นแต่กฎหมายบญั ญัติว่าแม้ประมาทก็
ตอ้ งรับผิด หรอื เว้นแต่ในกรณีท่กี ฎหมายบญั ญัติไวโ้ ดยแจ้งชัดให้ต้องรบั ผดิ แมไ้ ด้กระทำโดยไม่มีเจตนา

คำวา่ ไม่เจตนาก็ผิด คือ ความผดิ ลหโุ ทษ

การกระทำโดยเจตนา

หลักเจตนา คือ รู้เท่าใดเจตนาเท่านั้น เช่น ไม่รู้ว่าเป็นตำรวจ ก็ไม่ผิดทำร้ายเจ้าพนักงาน ผิดทำร้าย
ธรรมดา

กรณีเจตนาฆ่าและเจตนาทำร้าย ดูที่อาวุธ ถ้าเป็นปืนมันมักเป็นเจตนาฆ่า หรือดูที่อวัยวัยวะสำคัญ
เช่น ฟนั ขา เปน็ เจตนาทำรา้ ย

การกระทำโดยเจตนา ได้แก่ กระทำโดยรูส้ ำนกึ ในการที่กระทำและในขณะเดียวกนั ผู้กระทำประสงค์
ต่อผล หรือย่อมเล็งเห็นผลของการกระทำนั้น ถ้าผู้กระทำไม่รู้ข้อเท็จจริงขององค์ประกอบความผิด(ไม่รู้
องค์ประกอบภายนอก คือ ผู้กระทำ การกระทำ วัตถุแห่งการกระทำ) จะถือว่าผู้กระทำเจตนาประสงค์ต่อผล
หรอื ยอ่ มเลง็ เหน็ ผลของการกระทำน้นั มไิ ด้

การกระทำโดยเจตนา หากไมส่ ำเร็จเป็นพยายาม
เช่น นายเอบ้าจนไม่รู้ว่าการตัดต้นไม้เป็นความผิด จึงถือว่านายเอรู้สำนึกในการกระทำ และไม่รู้
ขอ้ เท็จจรงิ ขององค์ประกอบความผิด จงึ ไมม่ คี วามผิด

-คดิ ทีจ่ ะกระทำ ไมม่ คี วามผดิ
-ตกลงใจทจ่ี ะกระทำ ไมม่ คี วามผดิ
-ตระเตรียมการที่จะกระทำ ไม่มีความผิด ยกเว้น ตระเตรียมการปลงพระชนม์และตระเตรียมการ
วางเพลงิ กอ่ การรา้ ย
-ลงมอื กระทำ มีความผดิ

-เจตนาประสงคต์ อ่ ผล คือ ผู้กระทำมงุ่ หมายหรือประสงค์ให้ผลน้ันเกดิ ขึ้นโดยตรง
เช่น เอาปืนยิงกะใหต้ ายในระยะประชิด
เชน่ เอาเทปมาตดิ ปากเด็กเพ่งิ คลอด ยดั ใส่กระเป๋า เปน็ เจตนาฆา่ แบบประสงค์ต่อผล
เชน่ เอาปืนจ้องไปทห่ี ัวเขาแล้วยิง
เชน่ หยิบโทรศพั ทม์ าเอาคอ้ นทบุ
เช่น เอาปนื ยิงขา เจตนาประสงคต์ อ่ ผลทำรา้ ย แต่ถา้ ยิงในป่า อาจเปน็ ยอ่ มเลง็ เหน็ ผลใหต้ าย
เช่น เจตนาเอาปืนสั้นเล็กยิงไปที่ยางรถตู้ แต่กระสุนดันพุ่งไปโดยคนตาย สรุปว่าประสงค์ต่อผลทำให้

เสียทรัพย์ แต่ไม่เล็งเห็นผลที่จะถูกคนตาย เป็นการกระทำโดยประมาทแทน แต่ถ้ายิงไปที่กระจกรถตู้อาจ
เล็งเหน็ ผลได้ หรอื เอาปืนเอ็มสิบหกยงิ ล้ออาจประสงค์ต่อผลได้
-เจตนายอ่ มเล็งเหน็ ผล(เจตนาโดยออ้ ม) คอื ไม่ได้มงุ่ หมายหรือประสงคใ์ หเ้ กิดผลนนั้ ขนึ้ โดยตรง แตเ่ ลง็ เห็น
ได้ว่าผลนั้นจะเกิดข้นึ ได้แนน่ อน เทา่ ท่ีบุคคลในภาวะเชน่ นน้ั จะเล็งเหน็ ได้

เชน่ แดงอยากยิงนก แต่นกมนั ดันเกาะบนหลงั ดำ แดงกไ็ มใ่ ยดี กย็ งิ ไปโดนดำตาย
เช่น โยนโทรศพั ทล์ งพนื้ เลง็ เหน็ ผลว่าทำให้เสียทรพั ย์ หากไมพ่ ัง คอื พยายามทำใหเ้ สียทรัพย์
เช่น จุดไฟเผาที่นอนในห้องเช้าของตน ปกติทรัพย์ตนไม่ผิด แต่มันย่อมมีเจตนาเล็งเห็นผลว่าต้องไหม้
ตึกชาวบา้ น
เช่น ยิงปืนเข้าไปในรถตู้ ไม่ได้เจตนาว่าจะให้ใครตาย แต่ในรถตูม้ ีคนเตม็ รถ ย่อมเล็งเห็นผลอยู่แลว้ ว่า
ถ้ายิงเข้าไปตอ้ งถกู คนแน่

เช่น เอาปืนยิงเข้าไปในกลุ่มคน ไม่ได้มุ่งหมายจะให้ใครตาย แต่เล็งเห็นได้แน่ว่าต้องถูกคนตาย หรือ
ระบุจะยงิ นายเอ แตร่ อบนายเอมคี นเยอะ มนั ยอ่ มเลง็ เห็นได้วา่ ถกู คนตายแน่

กรณีควรระวัง เช่น นางสาวเอห้อยกระเป๋าไว้ท่ีแฮนรถ นายบีขี่รถตามมากระชาก เป็นการวิ่งราว
ทรัพย์ธรรมดา ไมไ่ ด้มกี ารเล็งเห็นผลวา่ รถล้มจนต้องเปน็ กรณีชิงทรพั ยแ์ ต่อย่างใด
ควรจำ ทั้งประสงคต์ ่อผลและเล็งเห็นผลอาจเกดิ ข้ึนพร้อมกนั ได้

เช่น นายเอต้องการจะยิงนายบี แต่มีนายซี นายบี นายเอฟนั่งรวมอยู่ จึงยิงออกไป สรุปคือ ประสงค์
ต่อผลจะยงิ บี แตม่ ันย่อมเลง็ เหน็ ผลไดว้ ่าอาจจะถกู คนอ่ืน ๆ ตายไดด้ ว้ ย เพราะนนั่ ล้อมกนั อยู่

เชน่ นายเอเจตนาจะยงิ บี แต่บีกำลังดโู ทรทศั นอ์ ยู่ จงึ ยิงสวนมาจากด้านหลงั สรุป มีเจตนาประสงค์ต่อ
ผลฆา่ ใหต้ าย และเลง็ เห็นผลทำให้เสยี ทรพั ย์ เพราะคดิ ว่าตอ้ งถูกโทรทัศน์ดว้ ยแน่ ๆ
-เจตนาโดยพลาด(เจตนาโอน) คือ เจตนาท่ีจะกระทำต่อบุคคลหนึ่ง แต่ผลเกิดแก่อีกบุคคลหนึ่งโดยพลาด
ไป ให้ถือว่าผูน้ ัน้ กระทำโดยเจตนาแก่บุคคลท่ีไดร้ ับผลรา้ ยจากการกระทำนั้น แต่ในกรณีที่กฎหมายบัญญัตใิ ห้
ลงโทษหนักขึ้น เพราะฐานะของบุคคลหรือเพราะความสัมพันธ์ระหว่างผู้กระทำกับบุคคลที่ไดร้ ับผลรา้ ย ไม่ให้
นำกฎหมายนั้นมาใช้บังคับเพื่อลงโทษผู้กระทำให้หนักขึ้น ระวัง นายเอจะยิงนายบีซึ่งเป็นพ่อของตน แต่
พลาดไปโดนนางซีซี่งเป็นแม่ อย่างนี้ รับโทษสูงขึ้นเพราะฆ่าบุพการี ตามความสัมพันธ์ เพราะเจตนาโอน
ไปหมด
เจตนาโดยพลาด ไมต่ อ้ งคิดวา่ ประสงคห์ รือเลง็ ตอ่ คนหลัง แค่ดูว่าเลง็ หรอื ประสงคต์ ่อใครในชัน้ แรก
ระวัง คนทถี่ ูกลูกหลง ถ้าอยไู่ กลหนอ่ ย ถือเปน็ พลาด ถ้าไกลกันมันจะเลง็ เห็นผล
ระวัง ถา้ เจตนาตอ่ คนแรกเป็นฆ่าแต่พลาดไปโดนคนอ่นื แตไ่ ม่ตาย เปน็ พยายามฆ่า
เม่ือทำโดยพลาด ไม่สนเลยวา่ เปน็ ประมาท เพราะเจตนาอยู่แลว้
ระวัง เจตนาตอ่ ชีวติ หรอื ร่างกาย พลาดไปโดนชวี ิตร่างกายคนอ่ืน เรียกกระทำโดยพลาดได้

เจตนาต่อชีวติ หรอื รา่ งกาย พลาดไปทรัพยค์ นอนื่ เรยี กกระทำโดยพลาดไม่ได้
เจตนาตอ่ ทรพั ย์ พลาดไปโดนทรัพยค์ นอนื่ เรยี กกระทำโดยพลาดไม่ได้ ๒ กรณหี ลังอาจเปน็ ประมาท
แต่ทรัพย์พลาดทรพั ย์ได้ เชน่ ยิงรถนายเอพลาดโดนรถนายบไี ด้
ระวงั ยงิ รถนายเอแต่พลาดไปโดนหมานายเอ ไมเ่ ปน็ เจตนาโดยพลาด เพราะทรัพย์เจ้าของเดียวกนั
ระวัง นายแดงยิงนายเอ แต่นายเอหลบไปโดนนายบี จนนายบีตกเหวตาย กเ็ ปน็ เจตนาพลาด เจตนาฆา่
เช่น นายเอเจตนาจะยิงนายบี แต่ลกู กระสนุ น้นั กลับไปโดยนายซีซ่ึงเปน็ พ่อของนายเอเองตาย ถือว่านาย
เอมีความผดิ ๒ บทคือ

-ความผิดฐานพยายามฆ่านายบี รับโทษ ๒ ใน ๓
-ความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยเจตนาโดยการกระทำโดยพลาด แต่ไม่ต้องลงโทษหนักขึ้นในฐานฆ่าบุพการี
เพราะเป็นโดยพลาด หากวา่ ตงั้ ใจฆ่าพ่อตัวเองเลยจริง ๆ ตอ้ งรับโทษหนักขน้ึ
ระวัง หากเดนิ มาคู่กันอาจเป็นการกระทำโดยเจตนาเล็งเห็นผล

การกระทำโดยประมาท

กระทำโดยประมาท คือ กระทำความผิดท่ีไม่ได้เจตนา แต่ไม่ระมัดระวัง ทั้งที่อาจใช้ความระมัดระวงั
ได้ แต่กไ็ ม่ระวังใหเ้ พียงพอ ตามวิสัยและพฤตกิ ารณท์ ่เี กิดขึ้น

ตามวสิ ัย เชน่ คนเปน็ หมอกบั คนธรรมดาดูแลคนไขอ้ าจใชว้ ิสยั ต่างกนั
ตามพฤตกิ ารณ์ เชน่ ขบั รถในเวลากลางวนั กบั กลางคืนใช้ความระวงั ต่างกนั
เช่น ทำปืนลนั่ ใส่ผอู้ ่นื ตาย
ระวัง กรณีโจรเอาปืนจี้หัว บังคับให้ขับรถ คนขับกลัว จนสติแตก ขับชนคนอื่นตาย อย่างนี้ไม่ถือว่า
กระทำโดยประมาท เพราะอยู่ในภาวะทไี่ ม่สามารถระมัดระวังได้
การกระทำโดยประมาทไม่มีตัวการ ผ้ใู ช้ ผู้สนับสนุน คอื ไมม่ ีผูม้ สี ่วนร่วมประมาท มีแค่เจตนาเท่า
น้านนน
เช่น นายแดงจ้างนายดำไปฆ่านายขาว นายดำจึงไปยืมปืนมาจากนายเขียว เมอ่ื นายดำรบั ปืนมาก็ลอง
เชก็ สภาพดู ปรากฏว่านายดำทำปืนล่นั ใส่นายเขียวตาย
สรปุ นายดำมคี วามผิดฐานฆา่ นายเขยี วตายโดยประมาท
นายแดงไม่ได้มีความผิดฐานผู้ใช้ให้กระทำโดยประมาท เพราะมันไม่มี แต่มีความผิดฐานใช้ให้เกิดเจตนา
รบั โทษ ๑ ใน ๓ นับแต่วันท่ีใชน้ ายดำ
ไม่มีการพยายามทำความผดิ โดยประมาท
โดยหลกั แล้วการกระทำโดยประมาทไม่เปน็ ความผดิ แต่การประมาทแลว้ เป็นความผิดตามกฎหมายมีดังนี้
ประมาทเป็นผลให้ผูอ้ ื่นถงึ แก่ความตาย จำคกุ ไมเ่ กนิ ๑๐ ปี ปรบั ไม่เกิน ๒ แสน
ประมาทเปน็ เหตใุ หผ้ อู้ ื่นได้รับอนั ตรายสาหัส
ประมาททำใหผ้ อู้ น่ื ได้รับอันตรายแก่กายและจติ ใจ(ลหโุ ทษ)
ประมาททำให้ทำใหผ้ ตู้ อ้ งหาหลุดพ้นจากท่ีคุมขัง
ประมาททำใหเ้ กิดเพลิงไหม้
ประมาททำใหผ้ อู้ ื่นถกู หนว่ งเหนีย่ วกักขัง
ถ้าประมาทนอกจากนี้ ไมม่ คี วามผดิ ทางอาญา ตวั อย่าง ไม่มีการประมาททำให้ผู้อืน่ เสยี ทรัพย์ เช่น
ประมาททำจานแตกไมม่ ผี ิดทางอาญา ไปเอาทางแพง่ จำไว้วา่ ประมาททำให้ผูอ้ ืน่ เสียทรัพย์ไมม่ ี
ความผิดลหโุ ทษบางอยา่ งแม้ไมเ่ จตนา ไมป่ ระมาทก็เปน็ ความผดิ
-การกระทำ ให้รวมถึง การให้เกิดผลอันหนึ่งอันใดขึ้นโดยงดเว้นการกระทำเพื่อป้องกันผลนั้นด้วย
เชน่
หนา้ ท่ีตามกฎหมาย
เช่น นางเอกับนายบีเป็นสามภี รรยากัน นางเอคลอดลูกออกมา นายบีคิดวา่ เป็นลูกชู้จึงไม่ชอบ ต่อมา
นายบีเห็นว่าลูกกำลังจะเดินตกน้ำ แต่ไม่เข้าไปช่วยนั่งดูเฉยๆ ปล่อยให้ตายไปต่อหน้าต่อตา นายบีมีความผิด
ฐานฆา่ ลูกตายโดยเจตนา เพราะ นายบีมหี นา้ ทตี่ ามกฎหมายทจ่ี ะป้องกันลูกของตน
เชน่ ลูกนอ้ ยหวิ นม พ่อนงั่ เล่นโทรศพั ทไ์ มส่ นใจ จนลกู ตาย
เช่น เอาปืนจรงิ ให้ลูกเลน่ จนยงิ ตวั เองตาย
เชน่ นายเอรถเสยี จอดซ่อมข้างทาง แตไ่ มย่ อมเปดิ ไฟ จนมรี ถอกี คนมาชน มีความผดิ ฐานงดเว้น

หน้าทอี่ ันเกดิ จากการยอมรบั โดยเฉพาะเจาะจงหรือตามสัญญา
เช่น นายเอจ้างนางบีซึ่งเป็นพยายาล มาช่วยดูแลพ่อของตน แต่นางบีกลับไม่ดูแล พ่อของบีเดินไป
กลางถนนโดยไมร่ ตู้ ัว นางบีก็ไมช่ ่วย ปลอ่ ยใหถ้ ูกรถชนตายไปต่อหน้าต่อตา นางบมี คี วามผดิ ฐานฆ่าผู้อ่ืนโดยงด
เวน้
เช่น มีคนจมนำ้ แตม่ ีหลายคนจะช่วย แต่นายเอประกาศวา่ ทุกคนหยุด ผมชว่ ยเอง แตต่ อ่ มานายเอไม่
ยอมไปชว่ ยกผ็ ดิ ฐานงดเวน้
หน้าทอ่ี นั เกิดจากการกระทำก่อน ๆ
เช่น นายเอเห็นคนตาบอดอยู่ข้างถนน จึงอยากจะเข้าช่วยพาข้าม จึงจูงไป พอได้ครึ่งทางนายเอกลับ
เปลี่ยนใจ ไม่ยอมพาข้าม ปล่อยคนตาบอดไว้กลางถนน ถูกรถชนตาย นายเอมีความผิดฐานฆ่าคนตายโดยงด
เวน้
เช่น พาแฟนไปเทีย่ วเกิดรถลม้ แฟนหมดสติ ตนเองข่ีรถหนี ไมย่ อมแจ้งใคร จนแฟนตาย
หนา้ ทอ่ี ันเกดิ จากความสมั พนั ธ์พเิ ศษเฉพาะเรื่อง
เช่น นายเอกับนายบีเปน็ เพื่อนสนิทกัน เอจึงชวนบีไปไต่เขา ปรากฏว่าเอตกลงไปในช่องเขา บีไม่ช่วย
จงึ มีความผดิ ฐานงดเวน้
เช่น บดิ าที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ไมด่ แู ลลกู จนลูกตาย
เช่น ปา้ เอาหลานมาเลยี้ ง ปล่อยหลานตาย
ถา้ ประมาท ก็มีความผิดฐานประมาทงดเว้น
แต่หนา้ ทฐี่ านละเวน้ คือ หนา้ ท่โี ดยทว่ั ไป เมอ่ื ไมท่ ำยอ่ มผดิ
เชน่ เหน็ ผูอ้ ื่นอยู่ในอนั ตรายแตไ่ ม่ช่วย เปน็ ความผดิ ลหโุ ทษ จำคกุ ๑ เดือน ปรับ ๑ หมืน่ บาท
เช่น เห็นคนจมนำ้ ไมไ่ ดม้ ีหนา้ ที่ แตพ่ อชว่ ยได้ เพราะตนเปน็ นักกีฬาว่ายนำ้
เช่น เจ้าพนักงานถามชื่อที่อยู่ไม่บอก ไม่ทำตามคำส่ังเจา้ พนกั งาน เจ้าพนักงานสัง่ ผู้มั่วสุมใหเ้ ลิกแต่ไม่
เลิก เจ้าหน้าที่ให้ช่วยระงับภัยแต่ไม่ช่วยทั้งที่ช่วยได้ เป็นความผิดลหุโทษ จำว่า ความผิดลหุโทษผิดฐานละ
เวน้ ในบางฐาน
ระวัง ฎีกาที่ขัดหลกั เช่น เจ้าพนักงานมีหน้าที่โดยเฉพาะแต่ไม่ทำ คือ เจ้าหน้าทางรถไฟนอนหลับ ไม่
กัน้ ทางรถไฟ จนรถไฟชนกับรถจกั รยานยนต์ ท้ังท่ีเป็นหน้าทีโ่ ดยงดเวน้
-ผู้ใดเจตนาจะกระทำต่อบุคคลหนึ่ง แต่ได้กระทำต่ออีกบุคคลหนึ่งโดยสำคัญผิด ผู้นั้นจะยกเอา
ความสำคญั ผดิ เป็นขอ้ แก้ตัววา่ มไิ ดก้ ระทำโดยเจตนาหาได้ไม่
-ถ้าผลของการกระทำความผิดใด ทำให้ผู้กระทำต้องรับโทษหนักขึ้น ผลของการกระทำความผิดน้ัน
ตอ้ งเป็นผลทต่ี ามธรรมดายอ่ มเกดิ ขน้ึ ได้

หมวด ๕ การพยายามกระทำความผดิ

พยายามทำความผิด คือ ลงมือกระทำความผิดแต่กระทำไม่ตลอด หรือกระทำไปตลอดแลว้ แต่
การกระทำนั้นไม่บรรลุผล พยายามกระทำความผิด ระวางโทษ ๒ ใน ๓ ส่วนของโทษที่กฎหมายกำหนดไว้
สำหรับความผดิ นั้น

คำว่า กระทำไปไม่ตลอด เชน่
-อาวุธปืนข้ันสุดทา้ ย คอื ยกกระบอกเล็งเหลือแคล่ ัน่ ไกล มคี นมาเห็นก่อนจงึ กระทำไปไม่ตลอด จงึ เป็น
พยายามทำผิดท่ีกระทำไปไมต่ ลอด รับโทษฐานพยายาม
คำว่า กระทำไปตลอดแลว้ แต่การกระทำน้ันไม่บรรลผุ ล เช่น
-ยกปนื ขึน้ มาเลง็ แล้วยงิ ออกไป ปรากฏวา่ ยงิ ไมโ่ ดนหรอื กระสนุ ด้าน จึงเป็นพยายามทำผดิ ที่กระทำไป
ตลอดแตไ่ มบ่ รรลุผล รบั โทษฐานพยายาม
ผู้ใดพยายามกระทำความผิด หากยับยั้งเสียเองไม่กระทำการให้ตลอด หรือกลับใจแก้ไขไม่ให้การ
กระทำนน้ั บรรลผุ ล ผูน้ ั้นไมต่ อ้ งรับโทษสำหรับการพยายามกระทำความผดิ น้ัน แตถ่ ้าการท่ไี ด้กระทำไปแล้ว
เปน็ ความผิด ผู้นัน้ ต้องรบั โทษสำหรบั ความผิดน้ัน ๆ
คำว่า ยบั ย้งั เสียเอง เช่น
-ยกปืนขึ้นมาเลง็ แต่เปล่ียนใจดึงปืนลงไม่ยงิ เพราะสงสาร ไมร่ ับโทษฐานพยายาม
แตย่ ับยัง้ เพราะเหน็ ตำรวจหรือมีคนมาเหน็ ต้องรบั โทษ ๒ ใน ๓ เช่น
-ยกปนื ขน้ึ มาเลง็ แตเ่ ปล่ยี นใจดึงปืนลงไม่ยงิ เพราะเห็นตำรวจ ตอ้ งรบั โทษฐานพยายาม
คำว่า กลับใจแก้ไขไม่ให้การกระทำนั้นบรรลุผล คือ ณ จุดๆนั้นไม่มีใครช่วยเหลือผู้เสียหายได้
นอกจากผู้ตอ้ งหา
-ยิงคนกลางป่า เห็นผู้เสียหายเจ็บ สงสาร จึงนำมาส่งโรงพยาบาล แต่ถ้าสำเร็จไปแล้วก็ต้องรับโทษ
ตามกฎหมายฐานทำร้ายรา่ งกาย ไมใ่ ช่รบั โทษฐานพยายาม
ผู้ใดกระทำการโดยมุ่งต่อผลท่ีกฎหมายบัญญัติเปน็ ความผดิ แต่การกระทำนน้ั ไม่สามารถจะบรรลุผล
ได้อย่างแน่แท้ เพราะเหตุปัจจัยซึ่งใช้ในการกระทำหรือเหตุแห่งวัตถุที่มุ่งหมายกระทำต่อ ให้ถือว่าผู้น้ัน
พยายามกระทำความผิด แตใ่ ห้ลงโทษไม่เกนิ กึ่งหนง่ึ ของโทษที่กฎหมายกำหนดไวส้ ำหรับความผิดนน้ั
เชน่ ยกปนื มาแต่ปืนไมม่ ีลูก ปืนไมม่ นี ก ระเบดิ แรงออ่ น หรือ เหน็ ตอไมก้ ลางคืนนึกว่าเป็นคน ยงิ ก่ีคร้ัง
ก็ไม่บรรลุ
ถ้ากระทำไปโดยความเชอ่ื อยา่ งงมงายและไม่บรรลุผลไดแ้ นแ่ ท้ ศาลจะไมล่ งโทษก็ได้
กรณตี อ่ ไปนีพ้ ยายามทำผดิ
-พยายาททำความผดิ ซ่งึ เป็นไปไม่ได้อย่างแน่แท้ เพราะปจั จัยวัตถุท่ีจะกระทำ ใหร้ ับโทษก่ึงหน่ึง หากทำเพราะ
งมงายไม่ต้องรบั โทษ
-พยายามทำความผดิ ลหโุ ทษ ไมต่ อ้ งรับโทษ
-ตระเตรยี มการวางเพลิง รบั โทษเทยี บเทา่ พยายามพยายามกระทำความผิด คอื รับโทษ ๒ ใน ๓
-พยายามทำแทง้ ไม่ต้องรบั โทษ

หมวด ๖ ตัวการและผ้สู นับสนนุ

เนน้ จำถ้ามผี รู้ ่วมทำผดิ หลายคน ใหเ้ ริ่มดูทีค่ นลงมอื เปน็ หลัก
-ตวั การ ผูใ้ ช้ ผู้สนับสนุน จะมไี ด้เฉพาะความผดิ ๒ คนขึ้นไปเท่านัน้ ถ้าคนเดียวไมใ่ ช่ ส่วนผโู้ ฆษณาไม่

เกยี่ วเลย
-ตวั การ ผใู้ ช้ ผูส้ นับสนุน จะมขี นึ้ เฉพาะในผูล้ งมือต้องกระทำโดยเจตนาเทา่ นั้น เช่น รถชนกนั ไม่มี

ร่วมกันทำความผิดโดยประมาท เรยี กแต่ ตา่ งฝ่ายต่างประมาท
-ถา้ ไม่มผี ู้ลงมือ ก็จะไม่เชื่อมผู้ใช้ ผู้สนบั สนนุ ตัวการได้
-ผู้ลงมือสำนึกผิด ยบั ยงั้ ก็คอื ไมร่ ับโทษพยายาม
-ในความผิดฐานเดียวกัน ผู้ทม่ี ีความเกีย่ วข้องกนั จะมีได้เพียงฐานะเดียวเท่าน้ัน
เช่น นายบีตอ้ งการจะไปฆา่ ซี นายเอรเู้ รื่องจึงเอาปนื มาให้เอ นายเอมฐี านะเปน็ ผ้สู นบั สนุน พอถึงวนั

ทำผิด นายเอก็มาบอกกับบีว่า บีไปฆา่ ซีนะ เดย๋ี วกูจะดูต้นทาง เอจึงเปลี่ยนสถานะจากผู้สนบั สนุนเป็นตวั การ
ทนั ที

แต่ถ้า นายบีต้องการจะไปฆา่ ซี นายเอรู้เรอ่ื งจงึ เอาปืนมาให้เอ นายเอมฐี านะเปน็ ผ้สู นับสนนุ พอถึงวัน
ทำผิด นายเอแอบมาชว่ ยดูตน้ ทางโดยท่บี ีไม่รู้ บีฆา่ ซเี สร็จก็กลบั บา้ นไป เอกเ็ ป็นผู้สนบั สนนุ อยู่ เพราะไมไ่ ด้
ร่วมมอื ร่วมใจกันทำผดิ ขณะน้ัน

-ไม่มีความผิดฐานพยามเป็นผใู้ ช้ พยายามเปน็ ตัวการ พยามเป็นผสู้ นบั สนุน เชน่ นายเอส่ง
จดหมาย เรื่องใช้ไปฆ่านายซี แกน่ ายบี แตจ่ ดหมายหายไป ทำให้นายเอ ไมไ่ ดเ้ ปน็ ผใู้ ช้ เพราะไม่ก่อเจตนา และ
ไมม่ ฐี านพยายามเปน็ ผู้ใชด้ ้วย

-จะมตี ัวการโดยไมม่ ีผลู้ งมือไม่ได้ และตัวการสามารถรับผิดในฐานะผ้ลู งมอื ไดด้ ้วย
-นายหนึ่งใช้นายสอง ใหน้ ายสองไปใชน้ ายสาม เพ่ือฆา่ นายสอ่ี กี ต่อหน่งึ เม่ือสามลงมือ นายสองมี
ฐานะเปน็ ผใู้ ช้ทันที ใหน้ ายหนึ่งกเ็ ป็นผใู้ ช้ของนายสองอีกที
-นายสองจะไปใชน้ ายบี ใหฆ้ ่าซี แตน่ ายสองไม่มีตัง สามจึงเอาเงินมาให้ นายสามเป็นผูส้ นบั สนนุ
ของนายสอง สรปุ คือ ผสู้ นบั สนนุ ของผู้ใช้ จึงเปน็ ผสู้ นับสนนุ ของผ้ลู งมือ
-ผูส้ นบั สนนุ ของผสู้ นับสนุน กถ็ ือเป็นผูส้ นับสนนุ ของผูล้ งมือ
-ผู้ใช้ของผู้สนบั สนนุ ถอื ผู้สนบั สนนุ ของผ้ลู งมือ

ผ้โู ฆษณา

-ผู้โฆษณา ไม่ไดร้ ู้จกั กับผู้ทำผิดเลย แต่โฆษณาหรือประกาศแก่บคุ คลทว่ั ไปให้กระทำความผดิ และความผิดนน้ั
มีกำหนดโทษไม่ต่ำกวา่ ๖ เดอื น(ถา้ โทษไม่ถงึ ๖ เดอื นไม่มีทางเป็นผู้โฆษณาได้) ผู้โฆษณานั้นตอ้ งระวาง
โทษกึง่ หน่ึงของโทษทก่ี ำหนดไว้สำหรับความผิดน้นั แคป่ ระกาศก็รบั ไปเลยกึง่ หนึง่ แม้จะยังไม่มีคนทำผดิ
ตามก็เหอะ ถ้าไดม้ ีการกระทำความผิดเพราะเหตุท่ีไดม้ ีการโฆษณาหรือประกาศ ผู้โฆษณารับโทษเสมือนเป็น
ตัวการ ระวัง ตัวการ คือ ตัวการผ้รู ่วมทำผิด ไม่ใชต่ ัวการผลู้ งมือ

ถา้ ผู้ถกู ใช้หรอื ผูก้ ระทำตามคำโฆษณาหรอื ประกาศแกบ่ ุคคลทว่ั ไปให้กระทำความผดิ ตามมาตรา ๘๕
ไดใ้ หข้ ้อมูลสำคัญอนั เป็นการเปดิ เผยถึงการกระทำความผิดของผ้ใู ช้ให้กระทำความผดิ หรอื ผู้โฆษณาหรือ

ประกาศแก่บุคคลทว่ั ไปให้กระทำความผิด และเปน็ ประโยชน์อย่างย่ิงต่อการดำเนินคดีแกบ่ คุ คลดงั กล่าว ศาล
จะลงโทษผ้นู ้ันนอ้ ยกวา่ อตั ราโทษข้ันต่ำทีก่ ำหนดไวส้ ำหรับความผิดนัน้ เพียงใดก็ได้

ตัวการ

-ตัวการ คือ ความผิดที่ร่วมกันท่ี ๒ คนขึ้นไป ผูท้ ี่รว่ มมือและร่วมใจ อย่างใดอย่างหนงึ่ ไม่ถือเป็นตัวการ กรณี
แบง่ หน้าทก่ี ันทำ ตวั การทุกคนต้องอยใู่ นทเี่ กิดเหตุ สามารถช่วยเหลอื กนั ไดท้ ันท่วงที ระวงั ถ้าอยู่คนละท่ีมัน
จะเปน็ ผสู้ นับสนุนทันที

ตวั การรับโทษตามความผดิ นั้น ๆ
เชน่ นายเอและบีรว่ มกันลักทรัพย์ นายเอเขา้ ไปในบ้านเพ่ือขโมย แตน่ ายบีรอหน้าประตูเพ่ือดูต้นทาง
อย่างนี้เป็นตัวการ เพราะสามารถช่วยเหลือกันได้ทันท่วงที แต่ถ้านายบีไปรอหน้าปากซอยถ้าเจ้าทรัพย์มาจะ
โทรบอก ซงึ่ ไกลเกนิ ไม่ใชต่ วั การ แตเ่ ป็นผูส้ นบั สนุนแทน
เช่น นายเอกับนายบีตกลงกันว่าจะไปกระทืบนายซี พอไปถึงทั้ง ๒ คนก็ร่วมมือกันได้สักพัก นายเอก็
บอกวา่ พอๆ หยดุ ๆ เดี๋ยวมันตาย ทำใหน้ ายเอสน้ิ สุดการเป็นตัวการ เพราะไม่รว่ มใจ แต่นายบีก็ไม่หยุดกระทืบ
ซจี นตาย สรปุ ความผดิ
นายเอ รับผิดฐาน ทำร้ายร่ายกายให้ได้รับอันตรายแก่ร่างกายและใจ เพราะก่อนตายนั้น นายเอ
สน้ิ สดุ การเป็นตัวการ เพราะไม่รว่ มใจทำร้ายต่อจนตาย
นายบี รบั ผิดฐาน ทำรา้ ยรา่ งกายผู้อ่นื จนเป็นเหตุให้ผูอ้ ืน่ ถงึ แกค่ วามตาย

ผู้ใช้

-ผูใ้ ช้ คือ ผ้ทู ีก่ อ่ ให้ผอู้ น่ื กระทำความผดิ ไม่วา่ ด้วยการใช้ บังคบั ขเู่ ข็ญ จา้ ง วานหรือยุยงส่งเสริม หรือด้วยวิธี
อ่ืนใด

เช่น วนั จันทร์นายเอไปบอกให้นายบี ใหน้ ายบไี ปใชน้ ายซมี าฆา่ นายดี ในวนั จนั ทร์นายเอไมม่ ฐี านะเป็น
ผู้ใช้ แต่ตอ่ มาวนั พธุ นายบมี าบอกกับนายซวี า่ นายเอใหไ้ ปฆา่ นายดี ในวันพุธนน้ี ายเอมีฐานะเปน็ ผใู้ ช้ รับโทษ ๑
ใน ๓ แล้ว ดวู ่าฐานะผูใ้ ชเ้ ร่มิ เมื่อใด ดูทีว่ า่ สิ่งที่ใชห้ รอื สารน้ันไปถงึ ผู้ลงมือ

ระวัง นายบีต่อการฆ่านายซีอยู่แล้ว นายดีก็ต้องการฆ่านายซีเช่นกัน จึงไปจ้างให้นายบีไปฆ่านายซี
โดยเงิน ๑๐๐๐๐๐ บาท อย่างน้ี นายดไี มถ่ ือวา่ เป็นผู้ใช้ เพราะไมก่ อ่ เจตนา เนื่องจากนายบตี ้องการฆ่าอยู่แล้ว
เป็นผ้สู นับสนนุ แทนเพราะใหเ้ งิน

ถ้าความผิดมิได้กระทำลงไม่ว่าจะเป็นเพราะผู้ถูกใช้ไม่ยอมกระทำ ยังไม่ได้กระทำ หรือเหตุอื่นใด
ผ้ใู ช้ต้องระวางโทษเพยี ง ๑ ใน ๓ ของโทษทก่ี ำหนดไว้สำหรับความผิดนน้ั

ถ้าผู้ถูกใช้ได้กระทำความผิดนั้น ผู้ใช้ต้องรบั โทษเสมอื นเป็นตวั การ และถ้าผู้ถกู ใช้เป็นบุคคลอายุไม่
เกิน ๑๘ ปี ผู้พิการ ผู้ทุพพลภาพ ลูกจ้างหรือผู้ที่อยู่ใต้บังคับบัญชาของผู้ใช้ ผู้ที่มีฐานะยากจน หรือผู้ต้อง
พึ่งพาผู้ใช้เพราะเหตุป่วยเจ็บหรือไม่ว่าทางใด ให้เพิ่มโทษที่จะลงแก่ผู้ใช้กึ่งหนึ่งของโทษที่ศาลกำหนด
สำหรับผูน้ ้ัน จำ ถ้าเปน็ เด็ก ใหด้ โู ทษทีเ่ ด็กได้รบั ก่อนที่ศาลจะลดใหเ้ ด็ก

ผ้สู นับสนุน

-ผสู้ นบั สนนุ คอื ผู้ทค่ี อยใหก้ ารช่วยเหลือ ความสะดวก กอ่ นหรือขณะทำผดิ หา้ มช่วยหลงั ทำผิดสำเร็จ และ
ไม่สามารถอย่แู ละช่วยเหลือกันได้ทันทว่ งที ถา้ ช่วยทันเป็นตวั การ

ผู้ลงมอื ไม่จำเป็นต้องรู้ถึงการสนับสนุนน้ัน เชน่ นายเอเปิดประตหู ลังบ้าวไว้ เพือ่ ใหโ้ จรเข้า โจรก็ไม่รู้
ว่าเอชว่ ยกต็ าม เอก็ผิดฐานสนบั สนนุ

เชน่ นายเอเปน็ ลกู จ้าง ไปบอกบวี ่า คืนนี้นายจ้างไม่อยู่ มึงมาขโมยนะ กูจะเปดิ ประตูหลังไว้รอ แต่พอ
มาขโมยบีมันไมไ่ ด้มาเข้าประตหู ลงั บ้านตามท่เี อเตรียมไว้ แต่เขา้ หนา้ บ้าน เอก็ยงั เปน็ ผู้สนบั สนนุ เหมอื นเดิม แม้
ไมเ่ ปน็ ตามที่ตกลงก็ตาม และอกี อยา่ งบกี ็ทราบข่าวให้มาขโมยจากเอด้วย

ระวัง ถ้าช่วยเหลอื หลังความผิดเกิดแลว้ จะไม่ใช่ผสู้ นบั สนุน เช่น นายเอลักทรพั ย์ในบ้านเรียบร้อยแล้ว
นายบีขับรถมารับแลว้ หลบหนี ไม่ใช่ผสู้ นบั สนนุ เพราะลกั ทรัพย์สำเร็จต้ังแตถ่ อื ออกมาแลว้

เชน่ นายเอลักทรพั ย์มา เอามาฝากไว้กบั นายบี ถามว่า นายบมี คี วามผดิ ฐานลักทรพั ยด์ ้วยหรือไม่ ตอบ
ว่า ไมเ่ ปน็ ความผดิ ฐานสนบั สนนุ แต่เปน็ ความผิดฐานรับของโจร

ผสู้ นับสนุนตอ้ งระวางโทษ ๒ ใน ๓ ส่วน
ในกรณีที่ผู้ถูกใช้ ผู้กระทำตามคำโฆษณา หรือตัวการในความผิด จะต้องรับผิดทางอาญามีกำหนด
โทษสูงข้นึ เพราะอาศยั ผลทเี่ กิดจากการกระทำความผิด ผู้ใช้ใหก้ ระทำความผดิ ผูโ้ ฆษณาหรอื ประกาศแก่บุคคล
ทว่ั ไปใหก้ ระทำความผิด หรอื ผสู้ นับสนุนการกระทำความผิด แลว้ แตก่ รณี ต้องรบั ผดิ ทางอาญาตามความผิด
ที่มีกำหนดโทษสูงขึ้นนั้นด้วย แต่ถ้าโดยลักษณะของความผิด ผู้กระทำจะต้องรับผิดทางอาญามีกำหนดโทษ
สูงขึ้นเฉพาะเมอ่ื ผู้กระทำต้องรู้ หรอื อาจเลง็ เห็นไดว้ า่ จะเกิดผลเช่นนนั้ ขนึ้ ผู้ใชใ้ หก้ ระทำความผดิ ผู้โฆษณาหรือ
ประกาศแก่บุคคลทั่วไปให้กระทำความผิด หรือผู้สนับสนุนการกระทำความผิด จะต้องรับผิดทางอาญาตาม
ความผดิ ที่มกี ำหนดโทษสูงขึ้นกเ็ ฉพาะเมื่อตนได้รู้ หรอื อาจเล็งเห็นได้ว่าจะเกดิ ผลเชน่ ทีเ่ กดิ ขน้ึ นนั้
มาตรา ๘๘ ถ้าความผิดท่ีได้ใช้ ที่ได้โฆษณาหรือประกาศแก่บุคคลทั่วไปให้กระทำ หรือที่ได้สนับสนนุ
ให้กระทำ ได้กระทำถึงขั้นลงมือกระทำความผิด แต่เนื่องจากการเข้าขัดขวางของผู้ใช้ ผู้โฆษณาหรือประกาศ
หรือผู้สนับสนุน ผูก้ ระทำได้กระทำไปไม่ตลอด หรอื กระทำไปตลอดแลว้ แต่การกระทำนน้ั ไม่บรรลผุ ล
ผู้กระทำรับโทษ ๒ ใน ๓ ฐานพยายามไป
ผใู้ ชร้ บั โทษ ๑ ใน ๓ เสมือนความผิดยังไม่ได้ทำ
ผโู้ ฆษณาหรอื ประกาศ คือ รบั กึง่ หน่ึง
ผสู้ นบั สนนุ นน้ั ไม่ต้องรับโทษ

สรปุ ความผดิ

ผู้โฆษณา ความผดิ ไมเ่ กิดรับโทษกึง่ หน่งึ เกดิ แลว้ รบั โทษเทา่ ตัวการ
ผู้ใช้ ความผิดไม่เกิดโทษเพียง ๑ ใน ๓ เกิดแล้วรับโทษเสมือนตัวการ ถ้าใช้คนพิเศษ เช่น เด็กต่ำกว่า
๑๘ ปี เพ่ิมโทษก่งึ หน่ึง
ผ้สู นบั สนนุ ผู้สนบั สนนุ ตอ้ งระวางโทษ ๒ ใน ๓ ส่วน
ตัวการ โทษตามความผิดเลย
กรณีเข้าขดั ขวางผกู้ ระทำผิด ไม่ใหท้ ำสำเร็จ
ผู้กระทำรบั โทษ ๒ ใน ๓ ฐานพยายามไป
ผใู้ ชร้ บั โทษ ๑ ใน ๓ เสมือนความผดิ ยังไมไ่ ดท้ ำ
ผู้โฆษณาหรือประกาศ คอื รับกงึ่ หนง่ึ
ผสู้ นบั สนุนน้นั ไม่ตอ้ งรับโทษ

หมวด ๗ การกระทำความผดิ หลายบทหรอื หลายกระทง

เมื่อการกระทำใดอันเป็นกรรมเดียวเป็นความผิดต่อกฎหมายหลายบท ให้ใช้กฎหมายบทที่มีโทษ
หนกั ท่ีสดุ ลงโทษแก่ผกู้ ระทำความผดิ

หมวด ๘ การกระทำความผิดอกี

ผู้ใดต้องคำพิพากษาถึงที่สุดให้ลงโทษจำคกุ ถ้าและได้กระทำความผิดใด ๆ อีกในระหว่างที่ยังจะต้อง
รับโทษอยู่ก็ดี ภายในเวลาห้าปีนับแตว่ นั พ้นโทษก็ดี หากศาลจะพิพากษาลงโทษครั้งหลังถึงจำคุก ก็ให้เพิ่มโทษ
ท่จี ะลงแก่ผนู้ น้ั หนงึ่ ในสามของโทษที่ศาลกำหนดสำหรบั ความผิดคร้งั หลัง

หมวด ๙ อายคุ วาม

มาตรา ๙๕ ในคดีอาญา ถ้ามิได้ฟอ้ งและได้ตัวผู้กระทำความผิดมายังศาลภายในกำหนดดังต่อไปนี้
นบั แต่วนั กระทำความผิด เป็นอนั ขาดอายุความ

(๑) ๒๐ ปี สำหรับความผิดตอ้ งระวางโทษประหารชวี ิต จำคุกตลอดชีวิต หรอื จำคกุ ๒๐ ปี
(๒) ๑๕ ปี สำหรับความผิดต้องระวางโทษจำคุกกวา่ ๗ ปแี ตย่ งั ไมถ่ งึ ๒๐ ปี
(๓) ๑๐ ปี สำหรบั ความผดิ ตอ้ งระวางโทษจำคกุ กวา่ ๑ ปีถงึ ๗ ปี
(๔) ๕ ปี สำหรับความผดิ ต้องระวางโทษจำคกุ กวา่ ๑ เดือนถึง ๑ ปี
(๕) ๑ ปี สำหรบั ความผดิ ต้องระวางโทษจำคุกตงั้ แต่ ๑ เดือนลงมา หรือต้องระวางโทษอยา่ งอืน่
ถ้าได้ฟ้องและได้ตัวผู้กระทำความผิดมายังศาลแล้ว ผู้กระทำความผิดหลบหนีหรือวิกลจริต
และศาลสั่งงดการพิจารณาไว้จนเกินกำหนดดังกล่าวแล้วนับแต่วันที่หลบหนีหรือวันที่ศาลสั่งงดการ
พจิ ารณา ก็ใหถ้ ือวา่ เปน็ อนั ขาดอายุความเชน่ เดียวกนั
มาตรา ๙๖ ความผิดอันยอมความได้ ถ้าผู้เสียหายมิได้ร้องทุกข์ภายใน ๓ เดือนนับแต่วันที่รู้เรื่อง
ความผดิ และรตู้ ัวผู้กระทำความผิด เป็นอนั ขาดอายุความ

มาตรา ๙๗ ในการฟ้องขอใหก้ ักกนั ถ้าจะฟอ้ งภายหลังการฟ้องคดีอนั เปน็ มูลใหเ้ กิดอำนาจฟ้องขอให้
กักกนั ตอ้ งฟอ้ งภายในกำหนด ๖ เดอื นนบั แต่วันที่ฟ้องคดีนน้ั มิฉะนนั้ เป็นอันขาดอายุความ

มาตรา ๙๘ เมื่อได้มีคำพิพากษาถึงที่สุดให้ลงโทษผู้ใด ผู้นั้นยังมิได้รับโทษก็ดี ได้รับโทษแต่ยังไม่
ครบถ้วนโดยหลบหนีก็ดี ถ้ายังมิได้ตัวผู้นั้นมาเพื่อรับโทษนับแต่วันที่มีคำพิพากษาถึงที่สุด หรือนับแต่วันท่ี
ผู้กระทำความผิดหลบหนี แล้วแต่กรณี เกินกำหนดเวลาดังต่อไปนี้ เป็นอันล่วงเลยการลงโทษ จะลงโทษผู้นั้น
มไิ ด้

(๑) ๒๐ ปี สำหรบั ความผดิ ต้องระวางโทษประหารชีวติ จำคกุ ตลอดชีวติ หรอื จำคุก ๒๐ ปี
(๒) ๑๕ ปี สำหรบั ความผิดต้องระวางโทษจำคุกกว่า ๗ ปแี ต่ยังไม่ถงึ ๒๐ ปี
(๓) ๑๐ ปี สำหรบั ความผดิ ต้องระวางโทษจำคุกกวา่ ๑ ปีถึง ๗ ปี
(๔) ๕ ปี สำหรับความผิดตอ้ งระวางโทษ ๑ ปลี ง
มาตรา ๙๙๑ การยึดทรัพย์สินหรืออายัดสิทธิเรียกร้องในทรัพย์สินเพื่อใช้ค่าปรับหรือการกักขัง
แทนค่าปรับ ถ้ามิได้ทำภายในกำหนด ๕ ปีนับแต่วันที่ได้มีคำพิพากษาถึงที่สุด จะยึดทรัพย์สิน อายัดสิทธิ
เรียกร้องในทรัพยส์ นิ หรือกักขังไม่ได้ มใิ หใ้ ช้บังคบั ในกรณีการกักขังแทนค่าปรบั ซึ่งทำต่อเนื่องกับการลงโทษ
จำคุก
มาตรา ๑๐๐ เมื่อได้มีคำพิพากษาถึงที่สุดให้กักกันผู้ใด ถ้าผู้นั้นยังมิได้รับการกักกันก็ดี ได้รับการ
กักกันแต่ยังไม่ครบถว้ นโดยหลบหนีกด็ ี ถ้าพ้นกำหนด ๓ ปีนับแต่วันทพ่ี น้ โทษ โดยไดร้ บั โทษตามคำพิพากษา
แล้วหรือโดยล่วงเลยการลงโทษ หรือนับแต่วันที่ผู้นั้นหลบหนีระหว่างเวลาที่ต้องกักกัน เป็นอันล่วงเลยการ
กักกนั จะกักกนั ผ้นู ้ันไมไ่ ด้
มาตรา ๑๐๑ การบังคับตามคำสั่งของศาลตามความในมาตรา ๔๖ หรือการร้องขอให้ศาลสั่งให้ใช้
เงินเมื่อผู้ทำทัณฑ์บนประพฤติผิดทัณฑ์บนตามความในมาตรา ๔๗ นั้น ถ้ามิได้บังคับหรือร้องขอภายใน
กำหนด ๒ ปีนับแต่วันที่ศาลมีคำสั่ง หรือนับแต่วันที่ผู้ทำทัณฑ์บนประพฤติผิดทัณฑ์บน จะบังคับหรือร้องขอ
มิได้

ลกั ษณะ ๒ ความผิดลหโุ ทษและกฎหมายอาญาภาคที่ ๓ ลหโุ ทษ

ความผดิ ลหโุ ทษ คอื ความผิดอาญาแผน่ ดนิ เลก็ นอ้ ย
ความผดิ ลหุโทษ จำคกุ ไม่เกนิ ๑ เดอื น หรอื ปรับไม่เกิน ๑ หม่นื บาท หรือท้งั จำทัง้ ปรบั
การกระทำความผิดลหุโทษ แมก้ ระทำโดยไมม่ เี จตนาก็เปน็ ความผิด
พยายามกระทำความผดิ ลหโุ ทษ ผู้น้นั ไม่ต้องรับโทษ
ผ้สู นับสนนุ ในความผิดลหโุ ทษไมต่ ้องรบั โทษ
เปน็ ความผิดยอมความไม่ได้ แมเ้ จา้ ทกุ ขจ์ ะไม่เอาความก็ไม่สนิ้ คดี
ความผิดลหุโทษสามารถเปรียบเทยี บปรับได้

ตวั อย่างความผิดลหุโทษ
กรณีทัง้ จำทงั้ ปรับ

-จำคุก ๑ เดือน ปรบั ๑ หมื่นบาท

-ผใู้ ดเหน็ ผู้อ่นื ตกอยู่ในภยันตรายแหง่ ชีวิต ซ่งึ ตนอาจช่วยได้โดยไม่ควรกลวั อันตรายแก่ตนเองหรือผู้อ่ืน
แต่ไม่ช่วยตามความจำเป็น ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน ๑ เดือน หรือปรับไม่เกิน ๑ หมื่นบาท หรือทั้งจำท้ัง
ปรบั

-ใครคุมสัตว์ดุร้าย ปล่อยให้สัตว์เที่ยวไปลำพัง อาจทำอันตรายแก่บุคคลหรือทรัพย์ โทษจำคุกไม่เกนิ
๑ เดือน หรอื ปรับไม่เกนิ ๑ หมื่นบาท หรือทั้งจำท้ังปรบั

-ทารุณสัตว์ ฆ่าสัตว์ให้ได้รับทุกขเวทนาอันไม่จำเป็น ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน ๑ เดือน หรือปรับ
ไม่เกนิ ๑ หมืน่ บาท หรือทง้ั จำทัง้ ปรับ

-ทำให้เกิดปฏิกูลแก่น้ำในบ่อ สระ หรือที่ขังน้ำอันมีไว้สำหรับประชาชนใช้สอย โทษจำคุกไม่เกิน ๑
เดือน หรือปรับไม่เกนิ ๑ หมน่ื บาท หรือทัง้ จำทง้ั ปรับ

-ใช้ใหส้ ัตวท์ ำงานจนเกินสมควร เพราะสตั ว์น้ันป่วยเจบ็ ชราหรือออ่ นอายุ จำคุกไม่เกนิ ๑ เดอื น หรือ
ปรบั ไมเ่ กิน ๑ หม่นื บาท หรอื ทั้งจำทั้งปรับ

-เมื่อเกดิ เพลิงไหม้หรือสาธารณภัยอน่ื และเจ้าพนกั งานเรยี กให้ช่วยระงับ ถา้ ผนู้ ั้นสามารถช่วยได้แต่ไม่
ช่วย ตอ้ งระวางโทษจำคุกไมเ่ กนิ ๑ เดือน หรอื ปรับไม่เกิน ๑ หม่ืนบาท หรอื ท้ังจำทงั้ ปรบั

-ผู้ใดเล่าความเท็จให้ประชาชนตื่นตกใจ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน ๑ เดือน หรือปรับไม่เกิน ๑
หมืน่ บาท หรือท้งั จำทง้ั ปรบั

-ผู้ใดกระทำด้วยประการใด ๆ ให้ของแข็งตกลง ณ ที่ใด ๆ โดยประการที่น่าจะเป็นอันตรายหรือ
เดือดร้อนรำคาญแก่บุคคล หรือเป็นอันตรายแก่ทรัพย์ หรือกระทำด้วยประการใด ๆ ให้ของโสโครกเปรอะ
เปื้อนหรือน่าจะเปรอะเปื้อน ตัวบุคคล หรือทรัพย์ หรือแกล้งทำให้ของโสโครกเป็นที่เดือดร้อนรำคาญ ต้อง
ระวางโทษจำคุกไม่เกิน ๑ เดอื น หรอื ปรับไม่เกิน ๑ หมนื่ บาท หรอื ทั้งจำท้งั ปรับ

-ผู้ใดกระทำโดยประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายแก่กายหรือจติ ใจ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน ๑
เดอื น หรอื ปรับไมเ่ กนิ ๑ หมืน่ บาท หรือทั้งจำทัง้ ปรบั

-ผใู้ ดใชก้ ำลงั ทำร้ายผ้อู ืน่ โดยไมถ่ ึงกบั เปน็ เหตใุ หเ้ กิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ตอ้ งระวางโทษจำคุกไม่
เกิน ๑ เดือน หรอื ปรับไมเ่ กนิ ๑ หมื่นบาท หรือทั้งจำทงั้ ปรับ

-ผู้ใดทำให้ผู้อื่นเกิดความกลัว หรือความตกใจ โดยการขู่เข็ญ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน ๑ เดือน
หรือปรบั ไมเ่ กิน ๑ หมนื่ บาท หรือท้งั จำทัง้ ปรับ

-ผู้ใดดูหมิ่นผู้อื่นซึ่งหน้าหรือด้วยการโฆษณา ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน ๑ เดือน หรือปรับไม่เกิน ๑
หมน่ื บาท หรอื ทั้งจำทงั้ ปรับ

-ผู้ใดไล่ ต้อน หรอื ทำให้สัตว์ใด ๆ เขา้ ในสวน ไร่ หรอื นาของผู้อื่นทีไ่ ด้แต่งดินไว้ เพาะพันธไุ์ ว้ หรือมีพืช
พันธุ์หรือผลิตผลอยู่ ตอ้ งระวางโทษจำคุกไม่เกนิ ๑ เดอื น หรือปรับไมเ่ กิน ๑ หมน่ื บาท หรอื ท้งั จำท้งั ปรับ

-ผู้ใดกระทำด้วยประการใด ๆ ต่อผูอ้ ่นื อันเป็นการรังแก ข่มเหง คกุ คาม หรือกระทำให้ได้รับความอับ
อายหรือเดือดร้อนรำคาญในที่สาธารณสถานหรือต่อหน้าธารกำนัลหรือเป็นการกระทำอันมีลักษณะส่อไป
ในทางที่จะล่วงเกินทางเพศ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน ๑ เดือน หรือปรับไม่เกิน ๑ หมื่นบาท หรือทั้งจำท้ัง
ปรับ ถ้าเป็นการกระทำโดยอาศัยเหตุท่ีผู้กระทำมีอำนาจเหนอื ผู้ถูกกระทำอันเนื่องจากความสมั พันธ์ในฐานะที่

เป็นผ้บู งั คบั บัญชา นายจา้ ง หรือผ้มู อี ำนาจเหนอื ประการอ่ืน ตอ้ งระวางโทษจำคุกไม่เกินหน่งึ เดือน และปรับไม่
เกินหนงึ่ หมื่นบาท

-ผู้ใดทารุณต่อเด็กอายุยงั ไม่เกิน ๑๕ ปี คนป่วยเจ็บหรือคนชรา ท่ีต้องพึ่งผูน้ ้ันในการดำรงชีพหรือ
การอ่นื ใด ต้องระวางโทษจำคกุ ไม่เกนิ ๑ เดือน หรอื ปรบั ไมเ่ กิน ๑ หมืน่ บาท หรอื ทั้งจำทงั้ ปรับ

จำคุก ๑๐ วนั ปรบั ไม่เกนิ ๕ พันบาท

-ใครที่ทราบคำสงั่ ของพนักงาน ไม่ปฏิบัติตามคำสั่ง โดยไมม่ ีเหตหุ รือข้อแก้ตัวอนั สมควร โทษจำคุกไม่
เกิน ๑๐ วัน หรือปรับไม่เกิน ๕ พันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ถ้าเป็นคำสั่งให้ช่วยทำกิจการในหน้าที่ของเจ้า
พนักงานซ่ึงกฎหมายกำหนดให้สั่งให้ช่วยได้ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหม่ืน
บาท หรอื ทัง้ จำท้ังปรับ

-ใครยิงปืนซึ่งใชด้ ินระเบิดโดยใชเ่ หตุ ในเมือง หมบู่ า้ นหรือทช่ี ุมนุมชน ต้องระวางโทษจำคกุ ไม่เกิน ๑๐

วัน หรอื ปรับไมเ่ กิน ๕ พันบาท หรอื ทั้งจำท้งั ปรับ
-แสดงอาวธุ ในการววิ าทต่อสู้ หรอื ทง้ั จำท้งั ปรับโทษจำคุกไม่เกิน ๑๐ วัน หรือปรับไม่เกิน ๕ พนั บาท

กรณีปรบั อยา่ งเดียว
ปรับไมเ่ กิน ๕ พันบาท

-ทะเลาะกนั อย่างอื้อองึ ในทางสาธารณะหรอื สาธารณสถานปรับไม่เกนิ ๕ พันบาท
-ผใู้ ดเสพสรุ าประพฤตวิ นุ่ วายหรือครองสตไิ ม่ไดข้ ณะอยู่ในถนนสาธารณะปรับไมเ่ กิน ๕ พนั บาท.
- ผู้ใดทำให้ประกาศ ภาพโฆษณา หรือเอกสารใดที่เจ้าพนักงานปิดหรือแสดงไว้ หรือสั่งให้ปิด หรือ
แสดงไว้ หลดุ ฉีกหรือไร้ประโยชน์ ตอ้ งระวางโทษปรบั ไมเ่ กนิ ๕ พันบาท
-ผู้ใดควบคุมดูแลบุคคลวิกลจริต ปล่อยปละละเลยให้บคุ คลวกิ ลจริตน้ันออกเที่ยวไปโดยลำพัง ต้อง
ระวางโทษปรบั ไม่เกิน ๕ พนั บาท
-ผู้ใดทำให้รางระบายน้ำ ร่องน้ำหรือท่อระบายของโสโครก อันเป็นสิ่งสาธารณะเกิดขัดข้องหรือไม่
สะดวก ต้องระวางโทษปรบั ไม่เกนิ ๕ พนั บาท
-เสพสรุ าหรือของเมา ประพฤติว่นุ วายในสาธารณสถาน โทษปรับไมเ่ กนิ ๕ พนั บาท
-ผู้ใดโดยไม่ได้รับอนุญาตอันชอบด้วยกฎหมายกีดขวางทางสาธารณะ จนอาจเป็นอุปสรรคต่อความ
ปลอดภยั หรือความสะดวกในการจราจร โดยวาง หรือทอดท้งิ สง่ิ ของ หรือโดยกระทำดว้ ยประการอืน่ ใด ถ้าการ
กระทำน้นั เป็นการกระทำโดยไม่จำเปน็ ตอ้ งระวางโทษปรับไม่เกิน ๕ พนั บาท
-ขุดหลุมหรือราง หรือปลูกปักหรือวางสิ่งของเกะกะไว้ในทางสาธารณะ โดยไม่ได้รับอนุญาตอันชอบ
ด้วยกฎหมาย หรือทำได้โดยชอบด้วยกฎหมาย แต่ละเลยไม่แสดงสัญญาณตามสมควร เพื่อป้องกันอุปัทวเหตุ
ตอ้ งระวางโทษปรบั ไมเ่ กิน ๕ พนั บาท
-ผู้ใดแขวน ติดตั้ง วางสิ่งใดไว้ที่น่าจะตกหรือพังลง ซึ่งจะเป็นเหตุอันตราย เปรอะเปื้อนหรือเดือดร้อน
แกผ่ ู้สญั จรในทางสาธารณะ ต้องระวางโทษปรับไมเ่ กนิ ๕ พันบาท
-ผู้ใดกระทำการอันควรขายหน้าต่อหน้าธารกำนัล โดยเปลือยหรือเปิดเผยร่างกาย หรือกระทำการ
ลามกอยา่ งอ่นื ตอ้ งระวางโทษปรบั ไมเ่ กิน ๕ พนั บาท
-ผู้ใดควบคุมสัตว์ใด ๆ ปล่อยปละละเลยให้สัตว์นั้นเข้าในสวน ไร่หรือนาของผู้อื่นที่ได้แต่งดินไว้
เพาะพนั ธุ์ไว้ หรอื มีพืชพนั ธุห์ รอื ผลิตผลอยู่ ตอ้ งระวางโทษปรบั ไมเ่ กิน ๕ พนั บาท

-ผู้ใดทง้ิ ซากสตั ว์ซง่ึ อาจเน่าเหม็น ในหรอื รมิ ทางสาธารณะ ตอ้ งระวางโทษปรับไม่เกิน ๕ พนั บาท
-ผู้ใดกระทำดว้ ยประการใด ๆ ต่อผู้อ่นื อนั เปน็ การรังแก ข่มเหง คุกคาม หรือกระทำให้ได้รับความอับ
อายหรือเดือดรอ้ นรำคาญ ตอ้ งระวางโทษปรบั ไม่เกิน ๕ พนั บาท

ปรบั ไม่เกนิ ๑ พันบาท

-เมื่อเจ้าพนักงานถามช่ือหรือท่ีอยู่ตามกฎหมายไม่ยอมบอก หรือแกล้งบอกมั่ว ตอ้ งระวางโทษปรับไม่
เกิน ๑ พนั บาท

-ผู้ใดส่งเสียง ทำให้เกิดเสียงหรือกระทำความอื้ออึง โดยไม่มีเหตุอันสมควร จนทำให้ประชาชนตกใจ
หรือเดอื ดร้อน ตอ้ งระวางโทษปรับไมเ่ กนิ ๑ พันบาท

-ผู้ใดพาอาวุธไปในเมือง หมู่บ้านหรือทางสาธารณะโดยเปิดเผยหรือโดยไม่มีเหตุสมควร หรือพาไปใน
ชุมนุมชนทไ่ี ด้จดั ให้มีขนึ้ เพื่อนมสั การ การรืน่ เรงิ หรือการอ่นื ใด ตอ้ งระวางโทษปรับไม่เกนิ ๑ พันบาท และให้
ศาลมีอำนาจสัง่ ให้ริบอาวธุ น้นั

ภาค ๒ ความผิด

ลกั ษณะ ๑ ความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแหง่ ราชอาณาจักร

หมวด ๑ ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาทและผู้สำเร็จราชการแทน
พระองค์

มาตรา ๑๐๗ ผู้ใดปลงพระชนม์พระมหากษัตริย์ ต้องระวางโทษประหารชีวิต ผู้ใดพยายามกระทำ
การเชน่ วา่ นั้น ตอ้ งระวางโทษเชน่ เดียวกัน

ผู้ใดกระทำการใดอันเป็นการตระเตรียมเพื่อปลงพระชนม์พระมหากษัตริย์ หรือรู้ว่ามีผู้จะปลงพระ
ชนมพ์ ระมหากษัตริย์ กระทำการใดอันเป็นการชว่ ยปกปดิ ไว้ ตอ้ งระวางโทษจำคกุ ตลอดชีวิต

มาตรา ๑๐๘ ผู้ใดกระทำการประทุษร้ายต่อพระองค์ หรือเสรีภาพของพระมหากษัตริย์ ต้องระวาง
โทษประหารชวี ติ หรือจำคุกตลอดชีวิต ผู้ใดพยายามกระทำการเชน่ ว่าน้ัน ต้องระวางโทษเชน่ เดยี วกัน

ถา้ การกระทำนนั้ มีลกั ษณะอนั นา่ จะเป็นอันตรายแก่พระชนม์ ผู้กระทำต้องระวางโทษประหารชวี ิต
ผใู้ ดกระทำการใดอนั เปน็ การตระเตรียมเพื่อประทุษร้ายต่อพระองค์ หรอื เสรภี าพของพระมหากษัตริย์
หรือรู้ว่ามีผู้จะกระทำการประทุษร้ายต่อพระองค์ หรือเสรีภาพของพระมหากษัตริย์ กระทำการใดอันเป็นการ
ชว่ ยปกปิดไว้ ตอ้ งระวางโทษจำคุกตงั้ แต่สิบ ๖ ปถี ึง ๒๐ ปี

หมวด ๒ ความผดิ ตอ่ ความม่ันคงของรัฐภายในราชอาณาจักร

มาตรา ๑๑๓ ผ้ใู ดใช้กำลงั ประทุษรา้ ย หรือขู่เข็ญวา่ จะใช้กำลงั ประทุษร้าย เพ่ือ
(๑) ล้มล้างหรือเปลีย่ นแปลงรฐั ธรรมนูญ
(๒) ล้มลา้ งอำนาจนิตบิ ัญญัติ อำนาจบรหิ าร หรอื อำนาจตลุ าการแห่งรัฐธรรมนูญ หรือให้

ใช้อำนาจดังกลา่ วแล้วไมไ่ ด้ หรอื
(๓) แบ่งแยกราชอาณาจักรหรือยดึ อำนาจปกครองในสว่ นหน่งึ สว่ นใดแห่งราชอาณาจกั ร
ผนู้ ้นั กระทำความผดิ ฐานเป็นกบฏ ตอ้ งระวางโทษประหารชวี ิต หรอื จำคกุ ตลอดชวี ิต

การขู่เช่น ขู่ว่าจะใช้อาวุธชีวภาพ เป็นต้น ไม่ว่าจะมีส่วนร่วมในการเป็นกบฏมากหรือน้อย หรือยุยง
กองทหารในต่างจังหวัดในกำเริบ ไม่ทำหน้าที่ก็ผิดฐานกบฏ แต่หากมุ่งล้มล้างรัฐธรรมนูญ แต่ทำสำเร็จ เป็น
รฐั ประหาร

เชน่ แม้มีการลม้ ลา้ งรฐั บาล แลว้ ต้งั รฐั บาลข้ึนใหม่ โดยใช้กำลัง มีความผิดฐานกบฏ แต่เมอื่ เป็นรัฐบาล
ทถ่ี ูกต้องตามความจริงและเปน็ รัฐบาลทีช่ อบ ยอ่ มไมผ่ ิดฐานกบฏ

ความผดิ ฐานกบฏ รัฐบาลเทา่ น้ันมีอำนาจดำเนินคดีแก่ผทู้ ำผิด สส ไมใ่ ช่ผู้เสยี หาย

หมวด ๓ ความผิดตอ่ ความมั่นคงของรฐั ภายนอกราชอาณาจกั ร

ลกั ษณะ ๑/๑ ความผิดเก่ยี วกับการก่อการรา้ ย

ผ้ใู ดกระทำการอันเปน็ ความผิดอาญาดังต่อไปน้ี
(๑) ใช้กำลังประทุษร้าย หรือกระทำการใดอันก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิต หรืออันตราย

อย่างร้ายแรงต่อร่างกาย หรือเสรภี าพของบุคคลใด ๆ
(๒) กระทำการใดอันก่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงแก่ระบบการขนส่งสาธารณะ

ระบบโทรคมนาคม หรือโครงสรา้ งพน้ื ฐานอันเป็นประโยชนส์ าธารณะ เช่น ไฟฟา้
(๓) กระทำการใดอันก่อให้เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สนิ ของรัฐหนึ่งรัฐใด หรือของบุคคล

ใด หรอื ตอ่ สิง่ แวดลอ้ ม อนั กอ่ ให้เกิดหรอื น่าจะกอ่ ใหเ้ กิดความเสียหายทางเศรษฐกจิ อยา่ งสำคัญ
ถา้ การกระทำน้ันได้กระทำโดยมีความมุ่งหมายเพ่ือขเู่ ข็ญหรือบังคับรัฐบาลไทย รัฐบาลต่างประเทศ

หรอื องค์การระหว่างประเทศ ใหก้ ระทำหรอื ไมก่ ระทำการใดอันจะก่อใหเ้ กิดความเสยี หายอยา่ งร้ายแรง หรอื
เพ่ือสร้างความป่ันป่วนโดยให้เกิดความหวาดกลวั ในหมู่ประชาชน ผู้นนั้ กระทำความผดิ ฐานก่อการร้าย

ต้องระวางโทษประหารชีวิต จำคุกตลอดชีวิต หรือจำคุกตั้งแต่ ๓ ปีถึง ๒๐ ปี และปรับตั้งแต่ ๖ หม่ืน
บาทถึง๑ ลา้ นบาท ผูส้ นับสนุนรบั ผิดอยา่ งเดยี วกันจากปกติ ๒ ใน ๓

การกระทำในการเดินขบวน ชุมนุม ประท้วง โต้แย้ง หรือเคลื่อนไหวเพือ่ เรียกร้องให้รัฐช่วยเหลือหรอื
ใหไ้ ดร้ ับความเป็นธรรมอนั เป็นการใชเ้ สรีภาพตามรฐั ธรรมนญู ไม่เป็นการกระทำความผดิ ฐานกอ่ การร้าย

มาตรา ๑๓๕/๒ เตรยี มก่อการร้าย ผใู้ ด
(๑) ขู่เข็ญว่าจะกระทำการก่อการร้าย โดยมีพฤติการณ์อันควรเชื่อได้ว่าบุคคลนั้นจะกระทำ

การตามที่ขู่เข็ญจรงิ หรอื
(๒) สะสมกำลังพลหรืออาวุธ จัดหาหรือรวบรวมทรัพย์สิน ให้หรือรับการฝึกการก่อการ

ร้าย ตระเตรียมการอื่นใด หรือสมคบกัน เพื่อก่อการร้าย หรือกระทำความผิดใด ๆ อันเป็นส่วนของแผนการ
เพื่อก่อการร้าย หรือยุยงประชาชนให้เข้ามีส่วนในการก่อการร้าย หรือรู้ว่ามีผู้จะก่อการร้ายแล้วกระทำการใด
อนั เป็นการช่วยปกปิดไว้

ผู้นั้นต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่สองปีถึงสิบปี และปรับตั้งแต่สี่หมื่นบาทถึงสองแสนบาท
ผ้สู นบั สนุนรบั ผดิ อยา่ งเดยี วกัน

มาตรา ๑๓๕/๔๕ ผู้ใดเป็นสมาชิกของคณะบุคคลซึ่งมีมติของหรือประกาศภายใต้คณะมนตรีความ
มั่นคงแห่งสหประชาชาติกำหนดให้เป็นคณะบุคคลที่มีการกระทำอันเป็นการก่อการร้ายและรัฐบาลไทยได้
ประกาศใหค้ วามรบั รองมติหรือประกาศดังกลา่ วด้วยแลว้ ผนู้ ั้นต้องระวางโทษจำคุกไม่เกนิ ๗ ปแี ละปรับไม่เกิน
หนึ่งแสนส่ีหมนื่ บาท

ลักษณะ ๒ ความผดิ เกย่ี วกบั การปกครอง

หมวด ๑ ความผดิ ต่อเจา้ พนกั งาน
ความผิดฐานดหู มิ่นเจ้าพนักงาน

คำว่า เจ้าพนักงาน หมายความว่า บุคคลซึ่งกฎหมายบัญญัติว่าเป็นเจ้าพนกั งานหรอื ได้รับแต่งตั้ง

ตามกฎหมายให้ปฏบิ ัตหิ น้าทีร่ าชการ ไม่ว่าเป็นประจำหรือครั้งคราว และไม่ว่าจะไดร้ ับค่าตอบแทนหรือไม่
รวมถึง ลูกจ้างประจำหรือชั่วคราวตามสญั ญาจ้างของรัฐ ข้าราชการทางการเมืองด้วย เจ้าอาวาส ไม่รวม
ฝา่ ยนิตบิ ญั ญัติ(ผอู้ อกกฎหมายทุกระดับ) เช่น สมาชิกสภานติ บิ ัญญตั ิ

ผูใ้ ดดหู มน่ิ เจ้าพนักงานซง่ึ กระทำการตามหน้าที่ หรอื เพราะไดก้ ระทำการตามหน้าท่ี ต้องระวางโทษ
จำคุกไม่เกนิ ๑ ปี หรอื ปรบั ไม่เกิน ๒ หมืน่ บาท หรือทง้ั จำทง้ั ปรับ

องค์ประกอบความผิดฐานดูหมิ่นเจ้าพนักงาน คือ ใครที่ดูหมิ่นเจ้าพนักงานที่ทำหน้าที่เป็นความผดิ
ฐานดูหมนิ่ เจ้าพนักงาน

-คำวา่ กระทำการตามหนา้ ที่ คอื กำลงั หรือขณะทำหน้าที่
-คำวา่ เพราะได้กระทำการตามหน้าท่ี คือ ทำการไปแลว้
-ไม่ต้องมีมูลเหตุจูงใจให้ดูหมิ่นด้วย ไม่ต้องมาแจกใบสั่งหรืออะไรทั้งนั้น เช่น เห็นตำรวจจราจรโบก
รถ เขากำลงั กระทำการตามหนา้ ที่ เหน็ รถตดิ แต่ไปด่าเขาว่า ไอเ้ หีย้ ไอ้เลว ก็ผดิ ฐานดหู ม่นิ เจา้ พนกั งาน
-ดูหมนิ่ ดว้ ยวาจา ทาทางกไ็ ด้ เช่น เปลือยกายให้ของลับ
-คำวา่ ผู้ใด กค็ ือ ใครก็ไดท้ ีท่ ำผิด
-คำว่า ดูหมิ่น คือ สบประมาท เหยียดหยาม ดูถูกให้อับอาย เสียหาย เช่น ด่าตำรวจว่า เป็นหมา
ไม่ใช่คน หรือ อ้ายจ่า ถ้ามึงจับกู กูจะเอามึงออก หรือไอ้ตำรวจ ไอ้พวกฉิบหาย บอกว่า“แค่นี้ใคร ๆ ก็ผิด
ทำไมมาว่าผม อยา่ งคุณมาเอาผมไป ถอดเสอ้ื มาตอ่ ยกนั ดีกว่า ท่าทางเชน่ น้เี ป็นดูหมิ่น เปน็ ตน้
-แตถ่ า้ พูดเปน็ คำหยาบคาย ไม่สุภาพ ไม่ถือว่าดหู ม่ิน เชน่ ผมไม่กลัวคุณหรอกใหญ่กวา่ นกี้ ็ไมก่ ลัว มงึ
เป็นนายอำเภอได้อยา่ งไร ไมร่ ับผดิ ชอบ ไมเ่ ป็นดูหม่นิ ร้อยโทกระจอกไมผ่ ดิ แตถ่ า้ บอกวา่ ตำรวจเลว ผิด
คำวา่ ทำตามหน้าท่ี คอื ดหู ม่ินขณะทปี่ ฏบิ ตั ิหน้าท่ี เช่น พอตำรวจจะจบั กไ็ ปดา่ เขา
หรือ เปน็ ผลมาจากทต่ี ำรวจทำหน้าที่หรือทำการไปแล้ว เช่น ตอนเช้าตำรวจจบั ตน พอ ๓ วันต่อมา
พบหนา้ ตำรวจเลยโกรธ จงึ ไปด่าวา่ ไอ้หัวควย เปน็ ดูหมน่ิ เจ้าพนักงาน แต่ถ้าตำรวจเกษียณแลว้ ไม่ผิด
ถ้าระวัง ถ้าไม่มีหน้าที่ก็ไม่ผิด เช่น นายเอไปยืมเงินบี แต่เอไม่จ่ายหนี้ตามกำหนด จึงไปขอให้
พนักงานสอบสวนไกล่เกลี่ย ลูกหนี้เห็นเหมือนตำรวจเข้าข้างเจ้าหนี้ ก็ด่าตำรวจว่า ตำรวจเลว ไม่ผิดหมิ่นเจ้า
พนกั งานเพราะ ตำรวจไม่มีหน้าท่ีไกล่เกลย่ี หนท้ี างแพ่ง
ดูหมิ่นศาลหรือดูหมิ่นผู้พิพากษา ต้องอยู่การในระหว่างพิจารณาคดี หรือ พิพากษาคดี หรือ
ขัดขวางการพิจารณาคดี หรือ พิพากษาคดี เท่านั้น ถ้าทำตัวไม่เรียบร้อย เอารูปศาลไปโพสต์ เป็นเรื่องวิ
แพง่
คำว่า พิพากษา จะบนบัลลังก์ หรือ พิพากษาไปแล้วก็ได้ เช่น ด่าผู้พิพากษาหน้าศาลว่า ศาลเลว
ไม่เป็นธรรมงี้


Click to View FlipBook Version