The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การรวบรวมงานวิจัยในพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยคอกม้าและพื้นที่ข้างเคียง มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำฐานข้อมูลงานวิจัยที่ผ่านมาเพื่อสนับสนุนการวิจัยในอนาคต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Forestry Research Center, 2021-05-20 05:21:23

งานวิจัยในลุ่มน้ำห้วยคอกม้า

การรวบรวมงานวิจัยในพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยคอกม้าและพื้นที่ข้างเคียง มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำฐานข้อมูลงานวิจัยที่ผ่านมาเพื่อสนับสนุนการวิจัยในอนาคต

Keywords: ห้วยคอกม้า,ดอยปุย,งานวิจัย,พื้นที่สูง

งานวจิ ยั ใน
ล่มุ นาํ ห้วยคอกมา้

ส ถ า นี วิ จั ย แ ล ะ ฝ ก นิ สิ ต ว น ศ า ส ต ร์ ด อ ย ปุ ย จั ง ห วั ด เ ชี ย ง ใ ห ม่

ศู น ย์ วิ จั ย ป า ไ ม้ พฤษภาคม 2564
คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

คำนำ

ลุ่มน้ำห้วยคอกม้า สถานีวิจัยและฝึกนิสิตวนศาสตร์ดอยปุย คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เป็นพื้นท่ีผลิตผลงานวิจัยด้านวนศาสตร์ต้ังแต่ปีพ.ศ. 2510 หรือ 54 ปี มาแล้ว โดยงานวิจัยส่วนใหญ่คือ
การศึกษาด้านลุ่มน้ำ การศึกษาด้านสังคมพืชและสัตว์ และการใช้ประโยชน์ที่ดินในพ้ืนท่ีสูง เท่าท่ีรวบรวมได้
จนถงึ ปี พ.ศ. 2564 รวมท้งั หมด 94 เร่อื ง และยังคงรองรบั การดำเนนิ งานวจิ ัยอยู่ในปจั จบุ ัน

การรวบรวมงานวิจัยในพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยคอกม้าและพื้นท่ีข้างเคียงในคร้ังน้ี มีวัตถุประสงค์เพ่ือจัดทำ
ฐานข้อมูลงานวจิ ัยที่ผ่านมาในพ้ืนท่ีลุ่มน้ำห้วยคอกม้า เพื่อสนับสนุนการวิจัยในอนาคต ท่ีสามารถศึกษาได้ท้ัง
วิวัฒนาการของการประยุกต์ใช้เทคนิควิธีการ เครื่องมือ เทคโนโลยีต่างๆ รวมถึงความเป็นมาและข้อเท็จจริง
ของพื้นที่ เช่น การเปลี่ยนแปลงของลักษณะลุ่มน้ำ สังคมพืชและสตั ว์ ในช่วง 54 ปี ท่ีผ่านมา เป็นต้น รวมถึง
เพ่ือเป็นลูท่ างในการเผยแพรง่ านวิจยั ในพน้ื ท่ีแก่ผู้ทีส่ นใจดว้ ย

ดร. นรนิ ธร จำวงษ์
นักวิจัย ชำนาญการ
รองผู้อำนวยการศนู ยว์ ิจยั ป่าไม้

ผูร้ วบรวม
พฤษภาคม พ.ศ. 2564



สารบัญ

หนา้

คำนำ ก

สารบัญ ข

การศกึ ษาความชนื้ ของดนิ ในปา่ ดงดิบเขาและปา่ ที่ถูกถาง ดอยปยุ เชียงใหม่ 1

ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งความหนาของดินหน้าในระดับความลาดชนั ต่างๆ ในปา่ ดงดบิ เขา ดอยปยุ 2

การสำรวจความเป็นอย่แู ละอาชีพทางกสิกรรมของพวกชาวเขาเผ่าแมว้ ดอยปุย จ.เชียงใหม่ 3

การศึกษาปรมิ าณอนิ ทรียวตั ถุและเนอ้ื ดินในระดบั ความลาดเอยี งตา่ งๆ กัน ในป่าดงดบิ ท่ดี อยปุย 4

ลักษณะโครงสรา้ งของปา่ ดบิ เขาในบริเวณหว้ ยคอกมา้ ดอยปยุ เชยี งใหม่ 5

การวจิ ยั การจดั การล่มุ นำ้ บนภูเขาทห่ี ้วยคอกมา้ บนดอยปยุ เชยี งใหม่ 7

ความสมั พันธ์ระหวา่ งปริมาณน้ำฝนและลกั ษณะการไหลของน้ำในลำธารลมุ่ น้ำห้วยคอกมา้ 15

ดอยปยุ เชยี งใหม่

การศกึ ษาเบือ้ งต้นเกีย่ วกับปริมาณนำ้ ฝนท่ถี กู สกดั กัน้ โดยเรือนยอด 17

น้ำฝนท่ีตกผา่ นเรอื นยอดลงมา น้ำฝนที่ไหลลงมาตามลำตน้ ไม้ และการเคลื่อนย้าย

ธาตุอาหารจากเรือนยอดลงมาตามลำต้นและชะล้างลงมาจากใบไมใ้ นป่าดิบเขา

ลมุ่ น้ำหว้ ยคอกม้า ดอยปยุ เชยี งใหม่

อทิ ธิพลของความหนาแนน่ ของเรอื นยอดทม่ี ีต่อการสญู เสยี ดนิ และนำ้ ในปา่ ดบิ เขา 20

ปจั จัยสำคัญทมี่ ีผลตอ่ ความคงทนของดนิ ปา่ ดิบเขา บริเวณดอยปุย จงั หวัดเชียงใหม่ 22

การเสื่อมคณุ สมบัติของดนิ ป่าดิบเขาภายหลังถกู แผ้วถางในชว่ งเวลาต่างกัน บรเิ วณดอยปุย 25

เชยี งใหม่

การหาสมรรถนะการซึมได้ของน้ำผ่านผวิ ดนิ ปา่ ดบิ เขา บรเิ วณเทอื กเขาเขาดอยปุย เชยี งใหม่ 28

สมรรถภาพการพงั ทลายของดินท่ีสมั พนั ธก์ บั สมบัตทิ างฟสิ กิ สแ์ ละเคมีบริเวณป่าดิบเขา 30

ดอยปยุ เชียงใหม่

การวิเคราะหป์ ริมาณการสะสมและการสลายตวั ของเศษไมใ้ บไมใ้ นป่าดบิ เขา ดอยปยุ เชยี งใหม่ 32

ความผันแปรของปริมาณอนิ ทรยี วตั ถภุ ายหลังการแผว้ ถางป่าดิบเขา ดอยปุย เชียงใหม่ 34

การวเิ คราะหล์ กั ษณะฝนและจำนวนเคร่ืองวัดนำ้ ฝนในลุม่ น้ำขนาดเล็กบนภูเขาดอยปุย เชียงใหม่ 36

ความผันแปรของนำ้ ฝนบริเวณที่มีความสงู แตกต่างกันเพยี งเลก็ นอ้ ยของสถานีวิจัย 38

ลุ่มนำ้ หว้ ยคอกมา้ ดอยปุย เชยี งใหม่

สมการสหสัมพนั ธเ์ พือ่ การประเมนิ นำ้ ไหลจากลุ่มน้ำขนาดเล็กปา่ ดบิ เขา ดอยปยุ เชียงใหม่ 40

สมรรถนะการซมึ น้ำผา่ นผวิ ดนิ ของปา่ ดิบเขาธรรมชาติดอยปยุ เชียงใหม่ 42

การวิเคราะห์การปกคลมุ ของเรอื นยอดที่สมั พนั ธต์ อ่ จำนวนต้นและปริมาณซากพชื 44

ของปา่ ดิบเขาดอยปุย เชียงใหม่



สารบญั (ต่อ)

หน้า

การหมนุ เวียนของธาตอุ าหารในลมุ่ นำ้ ขนาดเล็กของปา่ ดบิ เขา ดอยปยุ เชยี งใหม่ 46

ลกั ษณะการรบั รองรบั น้ำฝนของไม้กอ่ เดอื ยในป่าดบิ เขาดอยปุย เชียงใหม่ 48

ปรมิ าณธาตอุ าหารภายในระบบนเิ วศนป์ า่ ดิบเขาดอยปยุ เชียงใหม่ 49

ลกั ษณะโครงสร้างของป่าดบิ เขาตามระดบั ความสูงตา่ งกนั บรเิ วณดอยปุย เชยี งใหม่ 51

การวิเคราะหป์ ริมาณนำ้ ไหลในลำธารป่าดิบเขาธรรมชาติ บริเวณดอยปยุ จงั หวัดเชียงใหม่ 55

มวลชีวภาพและปริมาณธาตุอาหารของพืชชน้ั ล่างในปา่ ดิบเขาดอยปุย เชยี งใหม่ 56

ปริมาณน้ำในช่วงแล้งฝนจากป่าดิบเขาดอยปุย เชียงใหม่ 59

ผลกระทบของการใช้ที่ดนิ บนภูเขาต่อคุณภาพน้ำบรเิ วณดอยปยุ เชียงใหม่ 61

การวิเคราะห์แบคทีเรียในนำ้ จากลุ่มนำ้ ป่าดิบเขาบริเวณดอยปยุ เชยี งใหม่ 63

การวิเคราะห์ชนิดและปรมิ าณบัคเตรใี นลุม่ นำ้ ป่าดิบเขาดอยปุย เชียงใหม่ 66

สมดลุ ของน้ำในปา่ ดิบเขาธรรมชาติดอยปุย เชียงใหม่ 67

ปรมิ าณและลักษณะการไหลของน้ำในปา่ ดิบเขาดอยปยุ เชียงใหม่ 68

การกระจายช่องวา่ งขนาดต่างๆ ของดนิ ป่าดบิ เขาและไรเ่ ล่ือนลอยบรเิ วณดอยปุย เชยี งใหม่ 71

การใชแ้ ปลงขนาดเล็กหาคา่ ดชั นีการพงั ทลายและประสทิ ธิภาพการเคลือ่ นย้ายตะกอน 73

ของปา่ ดิบเขาดอยปุย เชียงใหม่

ลักษณะทางนเิ วศวทิ ยาบางประการของเฟริ ์นบริเวณป่าดิบเขาดอยปุย เชียงใหม่ 75

ผลกระทบจากการใช้ท่ีดินประเภทต่างๆ บนภูเขาตอ่ คุณภาพน้ำบรเิ วณดอยปยุ และทงุ่ จอ๊ 78

เชยี งใหม่

บทบาทของปา่ ดบิ เขาตอ่ ขบวนการทางอทุ กวทิ ยาบริเวณดอยปยุ เชียงใหม่ 80

สมดุลของน้ำจากพืน้ ท่ีที่มีการใชป้ ระโยชน์ท่ีดินบริเวณท่งุ จ๊อและดอยปุย จังหวัดเชยี งใหม่ 82

ความเปลี่ยนแปลงของลกั ษณะโครงสร้างป่าดิบเขาตามระดบั ความสูงตา่ งกันบริเวณดอยปยุ 84

เชียงใหม่

การวเิ คราะหโ์ อกาสและรูปแบบการตกของฝนบนภเู ขาสูงดอยปยุ เชียงใหม่ 88

การประยุกต์การใช้ภาพถา่ ยจากระยะไกลในการสำรวจสณั ฐานบรเิ วณอทุ ยานแห่งชาตดิ อยปยุ 91

เชยี งใหม่

การศกึ ษาธาตุอาหารในนำ้ ท่มี าจากการใช้ท่ีดนิ ประเภทต่างๆ บนท่ีสงู บรเิ วณดอยปยุ 93

และท่งุ จ๊อ เชียงใหม่

ผลของการใช้ประโยชน์ท่ีดินต่อสมดุลของน้ำบรเิ วณดอยปุยและทุง่ จอ๊ 95

ผลกระทบของการใช้ทดี่ นิ บนภเู ขาตอ่ ลกั ษณะการไหลของนำ้ บรเิ วณสถานีลมุ่ น้ำหว้ ยคอกม้า 97

ดอยปุย เชียงใหม่



สารบัญ (ตอ่ )

หนา้

ผลการใช้ท่ดี ินบนภเู ขาตอ่ ไสเ้ ดือนฝอยในดนิ และในนำ้ บริเวณดอยปุย จงั หวัดเชยี งใหม่ 99

ศักยภาพการให้น้ำทา่ ของลมุ่ นำ้ บนภเู ขาทมี่ ีการใช้ท่ดี นิ แบบต่างๆ บริเวณทงุ่ จอ๊ และดอยปุย 101

เชยี งใหม่

ผลกระทบของการใช้ทดี่ ินบนภูเขาประเภทต่างๆ ต่อสมบัติทางกายภาพของนำ้ บริเวณดอยปยุ 103

เชียงใหม่

การวเิ คราะห์หาปรมิ าณซัลเฟตในดิน น้ำ ดินตะกอนของลำธารและการดดู ซบั ซลั เฟตของดนิ 107

จากบริเวณทงุ่ จอ๊ และดอยปุย เชยี งใหม่

การกระจายช่องว่างขนาดตา่ งๆ ของดนิ ป่าดบิ เขาธรรมชาติและไรเ่ ลอ่ื นลอย บริเวณดอยปยุ 109

เชียงใหม่

การสญู เสียดนิ และน้ำจากการประยุกตร์ ะบบวนเกษตร : การศึกษาเฉพาะ 111

กรณกี ารทำสวนกาแฟในปา่ ดิบเขาที่ดอยปุย เชียงใหม่

ผลกระทบจากการใช้ประโยชนท์ ่ีดนิ ตอ่ คุณภาพของนำ้ บรเิ วณดอยปุยและทุ่งจอ๊ เชยี งใหม่ 113

การศึกษาชนิดและการประเมินค่าไทรและมะเด่ือพน้ื เมืองบนดอยสุเทพ-ปุยจังหวัดเชยี งใหม่ 114

การออกแบบตกแตง่ พ้นื ทน่ี ันทนาการโดยใช้พนั ธไ์ุ มท้ ้องถิน่ ศกึ ษาเฉพาะบรเิ วณน้ำตกห้วยแกว้ 115

อุทยานแห่งชาติดอยสเุ ทพ-ปยุ

การศกึ ษาปริมาณคารบ์ อนไดออกไซดใ์ นน้ำท่ีไหลผา่ นพน้ื ท่กี ารใช้ที่ดนิ ประเภทตา่ งกันบนภเู ขา 117

บรเิ วณดอยปยุ จงั หวัดเชียงใหม่

ลกั ษณะโครงสรา้ งและการกระจายของขนาดชอ่ งวา่ งในปา่ ดิบเขาธรรมชาตดิ อยปุย 119

จังหวดั เชยี งใหม่

ความชน้ื สมั พัทธก์ บั อณุ หภมู ขิ องอากาศบนภเู ขา ดอยปุย เชียงใหม่ 122

การสญู เสียไนโตรเจน ฟอสฟอรัสและโปแตสเซียมจากสวนกาแฟในป่าดิบเขาดอยปยุ เชยี งใหม่ 124

ความสัมพันธร์ ะหว่างเฟนิ กับสภาพแวดลอ้ มบริเวณปา่ ดบิ เขาดอยปุย เชยี งใหม่ 126

ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งพรรณไม้กบั สภาพแวดล้อมบรเิ วณปา่ ดิบเขาดอยสเุ ทพ-ปุย เชยี งใหม่ 128

ผลกระทบของการใช้ที่ดินบนภูเขาตอ่ ลักษณะการไหลของนำ้ บริเวณสถานีวิจัยลมุ่ น้ำ 130

ห้วยคอกมา้ ดอยปยุ เชียงใหม่

ผลการใชท้ ี่ดินบนภเู ขาตอ่ ไส้เดอื นฝอยในดินและในนำ้ บริเวณทุ่งจ๊อและดอยสุเทพ-ปยุ 132

จงั หวดั เชยี งใหม่

อิทธิพลของทิศด้านลาดตอ่ ปรมิ าณ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และ โปแตสเซียม ในพืชและดนิ 135

บรเิ วณป่าดิบเขา ดอยปยุ เขยี งใหม่

อุปสงคข์ องการนันทนาการกลางแจง้ ของอุทยานแห่งชาตดิ อยสุเทพ-ปุย 137



สารบัญ (ตอ่ )

หน้า

การทดแทนของสังคมพืชกบั ปรมิ าณตะกอนบนพื้นท่หี ลงั การทำไรเ่ ลอ่ื นลอยในปา่ ดิบเขา 139

ดอยปยุ เชียงใหม่

ประยกุ ต์ขบวนการทางอุทกวทิ ยาเพือ่ การประเมนิ นำ้ ท่าในลุ่มน้ำขนาดเล็กของปา่ ดิบเขา 142

ดอยปุย เชียงใหม่

สตั วป์ ่าในบริเวณอุทยานแห่งชาตดิ อยสุเทพ-ปุย 145

การสำรวจการใช้ท่ดี นิ และผลผลติ ปา่ ไม้เพอ่ื วางแผนอุทยานแหง่ ชาติดอยสุเทพ-ปยุ เชยี งใหม่ 146

ป่าในบรเิ วณอทุ ยานแหง่ ชาติดอยสเุ ทพ-ปุย 149

ลักษณะของเช้อื เพลิงในป่าเตง็ รงั อทุ ยานแหง่ ชาติดอยสุเทพ-ปุย จังหวดั เชยี งใหม่ 150

การจดั ทำแผนการจัดการและพฒั นาการใช้ท่ดี ินของอทุ ยานแห่งชาติดอยสเุ ทพ-ปุย 152

ลักษณะโครงสรา้ งของป่าดิบเขาธรรมชาติของพ้นื ทต่ี ้นนำ้ ลำธาร ดอยปยุ จงั หวดั เชียงใหม่ 154

การศึกษาอาร์โทรปอดในดินระหว่างดนิ ในป่าธรรมชาตแิ ละดนิ ในพื้นท่ีเพาะปลูก 156

บนดอยสเุ ทพ-ปยุ

การจดั ระดบั ชน้ั อันตรายจากไฟป่าในป่าเต็งรัง อทุ ยานแหง่ ชาตดิ อยสุเทพ-ปุย 159

การศึกษาเบ้อื งต้นของสภาพป่าและพรรณไม้บริเวณอุทยานแห่งชาติดอยสเุ ทพ – ปยุ 161

จงั หวดั เชียงใหม่

การประเมินอตั ราการคายน้าํ ของเทพทาโร และก่อหมน่ ในปา่ ดบิ เขา ดอยปุย จ.เชียงใหม่ 163

โดยใช้แบบจำลอง Penman-Monteith

กลยทุ ธใ์ นการยกระดบั มาตรฐานแหลง่ ท่องเทีย่ วทางธรรมชาตใิ นจงั หวดั เชยี งใหม่ 165

กรณีศกึ ษาอทุ ยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย

การมสี ว่ นร่วมของชาวเขาเผา่ มง้ ในการอนรุ กั ษท์ รัพยากรปา่ ไม้ในพ้นื ท่ี 168

อทุ ยานแหง่ ชาตดิ อยสเุ ทพ – ปุย จงั หวดั เชียงใหม่

การศกึ ษาการรับร้สู ภาพภูมทิ ัศนข์ องผมู้ าเยือนอทุ ยานแหง่ ชาติดอยสุเทพ – ปยุ 170

การตอบสนองตอ่ กฎระเบียบและมาตรการจดั การผใู้ ชป้ ระโยชนด์ ้านนนั ทนาการ 172

ของผมู้ าเยอื นอทุ ยานแห่งชาติดอยสเุ ทพ-ปยุ จงั หวดั เชียงใหม่

ประยกุ ต์แบบจำลอง Penman, Penman – Monteith และ Rutter เพอื่ ประมาณ 174

คา่ การคายระเหยน้ำของป่าดิบเขา บริเวณล่มุ น้ำห้วยคอกมา้ ดอยปุย จังหวัดเชยี งใหม่

แนวทางการใช้ประโยชนท์ ีด่ นิ เชิงนเิ วศบรเิ วณพื้นทเ่ี ช่ือมตอ่ เขตอุทยานแหง่ ชาติดอยสเุ ทพ – ปยุ 176

อำเภอเมอื งและอำเภอหางดง จงั หวัดเชยี งใหม่

ผลกระทบจากการใช้ที่ดนิ ประเภทตา่ ง ๆ ตอ่ สมบัติทางกายภาพของน้ำบรเิ วณดอยปยุ เชียงใหม่ 179



สารบญั (ต่อ) หนา้
183
การตงั้ ตวั ของพนั ธไ์ุ มบ้ รเิ วณแนวรอยต่อป่าดิบเขาระดบั ต่ำ อุทยานแห่งชาตดิ อยสุเทพ-ปุย 185
จงั หวดั เชยี งใหม่ 187
189
อาหารของสัตวส์ ะเทินนำ้ สะเทนิ บกบรเิ วณป่าดิบเขา อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปยุ 190
จังหวัดเชยี งใหม่ 192
194
ความหลากหลายของพรรณพชื ป่าดิบเขาระดับตำ่ บริเวณลุ่มนำ้ หว้ ยคอกม้า 196
อุทยานแห่งชาติดอยสเุ ทพ-ปยุ จงั หวัดเชียงใหม่ 198

รปู แบบการหากินด้านตั้งของนกในแปลงถาวรป่าดิบเขาห้วยคอกมา้ จังหวดั เชยี งใหม่ 199
ความหลากชนดิ และรปู แบบการหากินด้านตงั้ ของนกในแนวรอยตอ่ ระหวา่ งปา่ เต็งรัง
200
และปา่ ดบิ เขาระดับตำ่ อทุ ยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย จังหวดั เชียงใหม่ 201
การเลอื กใช้ประโยชน์ไมผ้ ลของสัตวป์ า่ ในแปลงถาวรปา่ ดบิ เขาระดบั ต่ำ 203

บรเิ วณลุม่ น้ำหว้ ยคอกมา้ อุทยานแห่งชาตดิ อยสุเทพ-ปุย จังหวดั เชียงใหม่
โครงสร้างทางสังคมของสตั ว์ขาปลอ้ งในดิน บรเิ วณอทุ ยานแหง่ ชาติดอนสเุ ทพ-ปุย

จังหวดั เชยี งใหม่
พลวตั ของกลา้ ไมต้ ้นบรเิ วณช่องวา่ งและภายใตเ้ รือนยอดปา่ เขาระดบั ต่ำ

อทุ ยานแหง่ ชาติดอนสุเทพ-ปยุ จังหวดั เชียงใหม่
Plant Diversity and Utilization on Ethnobotany of Local People

at Hmong Doi Pui Village in Doi Suthep-Pui National Park,
Chiang Mai Province
Collaboration and Conflict—Developing Forest Restoration Techniques
for Northern Thailand’s Upper Watersheds Whilst Meeting the Needs
of Science and Communities
Altitudinal Effect on Diversity and Distribution of Araceae in Doi Suthep-Pui
National Park, Chiang Mai Province in Thailand
การตรวจสอบ และการคาดการณก์ ารเปล่ียนแปลงรปู แบบการใชป้ ระโยชนท์ ีด่ นิ
ในอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย จังหวัดเชียงใหม่
เอกสารและสง่ิ อ้างอิง



การศกึ ษาความชนื้ ของดนิ ในปา่ ดงดบิ เขาและปา่ ที่ถกู ถาง ดอยปยุ เชยี งใหม่
The study of soil moisture capacity in hill evergreen forest
and in shifting cultivation areas, Doi Pui, Chiang Mai

แก้ว หล่อพัฒนเกษม (2510)

การทดลองครั้งน้ี ศึกษาถึงคณุ สมบัติในการอมุ้ น้ำของดนิ และการไหลซมึ ของนำ้ ในดินของปา่ ดงดบิ เขา
และป่าถูกถาง ณ ดอยปุย จังหวัดเชียงใหม่ โดยเร่ิมทำการเก็บตัวอย่างดินเม่ือวันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2509
ทำการทดลองและวเิ คราะหแ์ ลว้ เสร็จเมอื่ วันที่ 29 สงิ หาคม พ.ศ. 2509 สรปุ ผลการทดลองได้ดังน้ี

1. ป่าดงดิบมีปริมาณอินทรียวัตถุมากกว่าป่าท่ีถูกถางอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ (highly
significant)

2. การไหลซึมของน้ำของป่าท้งั สองไมม่ คี วามแตกต่างกันในทางสถติ ิ
3. ปรมิ าณของ macro pore และ micro pore ของป่าท้ังสองไม่มผี ลแตกต่างกบั ในทางสถิติ
4. ดนิ ในป่าดงดบิ เขายดึ น้ำสงู สุดได้มากกวา่ ป่าทถ่ี กู ถางอย่างมีนยั สำคญั (significant)
5. ปรมิ าณอนิ ทรียวตั ถุในดินของปา่ ทง้ั สองมีความสมั พันธ์กับการไหลซึมของนำ้ อย่างมนี ยั สำคัญยิง่
6. ปริมาณช่องว่างของดินของป่าถูกถางมีความสัมพันธ์กับการไหลซึมของน้ำอย่างมีนัยสำคัญ แต่มี
ความสำคญั อย่างมนี ัยสำคญั ยิ่งสำหรบั ป่าดงดิบ
7. ปริมาณช่องว่างขนาดใหญ่ของดินของป่าท้ังสองมีความสัมพันธ์กับการไหลซึมของน้ำอย่างมี
นัยสำคญั
8. ปริมาณอินทรียวัตถุมีความสัมพันธ์กับการยึดน้ำสูงสุดอย่างมีนัยสำคัญสำหรับป่าท่ีถูกถางและป่า
ดงดิบ
9. การศึกษาค้นคว้าต่อไป ควรทำการศึกษาถึงคุณสมบัติทางกายภาพของดินช้ันล่างและการไหลซึม
ของนำ้ ในดินลึกเป็นช่วงๆ ไป เพ่ือจะได้ทราบวา่ การไหลซมึ ของนำ้ แต่ละช่วงเป็นไปในสภาพอย่างไร อนั จะเป็น
แนวทางท่จี ะคาดคะเนว่า จะต้องสูญเสยี น้ำโดยการไหลซมึ ลงดนิ เปน็ จำนวนเทา่ ใดใน basin นี้

1

ความสัมพันธ์ระหวา่ งความหนาของดนิ หนา้ ในระดับความลาดชันต่างๆ ในป่าดงดบิ เขาดอยปยุ
The study of the relationship between the gradient of slope

and the depth of surface soil in the Hill Evergreen Forest at Doi Pui

สมศกั ดิ์ ทองจุล (2510)

การทดลองน้ี เป็นการศึกษาความสัมพันธร์ ะหวา่ งระดับความลาดชันต่างๆกับความหนาของดินหน้า
ในปา่ ดงดิบ โดยศึกษาถึงความลาดชัน 5 ระดับ และเก็บตัวอย่างดิน 5 หลุม กลุ่มหนึ่งๆ ขุดลกึ 45 เซนติเมตร
มีความลาดชัน 5 10 15 20 และ 25 เปอร์เซ็นต์ มาหาปริมาณของ organic matter texture และ pH ของ
ดิน และศึกษาพรรณไม้ในแปลงทดลอง การศึกษาทดลองนี้ทำขึ้นที่ดอยปุย จังหวัดเชียงใหม่ ผลการศึกษา
ทดลองดังนี้

1. ปริมาณของอินทรียวตั ถุในระดับความลาดชันต่างๆ ไม่มีความแตกต่างกันทาง slope แต่แตกต่าง
กันทางแปลงทดลองที่ตา่ งกัน

2. ความหนาของดินหนา้ ในระดับความลาดชันต้งั แต่ 5-25% ไม่มีความแตกต่างกนั เลย
3. ปฏกิ ิริยาเคมีของดนิ ในระดบั ความลาดชนั ตา่ งๆ ของปา่ ดงดบิ ไม่มีความแตกตา่ งกันทางสถิติ
4. ชนดิ ของเนื้อดนิ เป็น sandy loam เหมือนกัน แมค้ วามลาดชนั จะต่างกัน
5. ในการทดลองนี้ เป็นการศึกษาเฉพาะดินหน้า ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นการศึกษาท่ีหนักไปในทางกสิกรรม
มากกว่าท่ีจะเป็นทางป่าไม้ เพราะการป่าไม้นั้นเก่ียวข้องกับดินท่ีลึกลงไปยิ่งกว่าผิวดิน ดังนั้นในการศึกษา
ทดลองต่อไปจากน้ีจึงควรทำการศึกษาสมบัติของดินที่ต่ำกว่าดินหน้าลงไปอีก เช่น ช้ัน B และ C เป็นต้น
นอกจากนี้แล้ว สง่ิ ที่น่าจะได้ศึกษาทดลองต่อไปกค็ ืออทิ ธิพลของความลาดชันท่ีมผี ลต่อการไหลบ่าของน้ำตาม
หน้าดนิ การชะลา้ งตามหน้าดินในชนิดปา่ ท่ตี า่ งๆ กนั และความลาดชนั ต่างๆ กนั

2

การสำรวจความเปน็ อยแู่ ละอาชพี ทางกสกิ รรมของพวกชาวเขาเผ่าแมว้ ดอยปุย จ.เชียงใหม่

สุชาติ วนวัฒนาวงศ์ (2510)

การศึกษาคร้ังน้ี เพื่อทราบสภาพความเป็นอยู่ของชาวเขาทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม และในฐานะท่ี
ชาวเขามีอาชีพหลักหรืออาชีพเดิมคือการปลูกฝิ่น เมื่อรัฐบาลห้ามการปลูกฝ่ินแล้วน้ันมีผลกระทบต่อความ
เป็นอยู่ของพวกเขาอย่างไร ความมุ่งหมายในการศึกษาเฉพาะเผ่าแม้วน้ี เพ่ือจะนำผลการศึกษามาพิจารณา
แก้ไขปญั หาต่างๆ และเพอื่ จะหาลู่ทางในการปรับปรุงแกไ้ ขสิ่งบกพรอ่ งให้ดี และทำให้ชาวเขามีความเจริญขึ้น
ตามสมควร โดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพ่ือศึกษาความเป็นอยู่ อาชพี ของพวกเขา เพื่อประกอบการพิจารณาที่จะ
พัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมของชาวเขา โดยการสง่ เสริมอาชีพ การศึกษา การอนามัย และการเสริมสร้างความ
เจริญในชุมนุมท่ีชาวเขาอาศยั อยู่ 2) เพือ่ การป้องกันการทำลายป่าและต้นน้ำลำธาร ตามหลักวิชาการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ โดยส่งเสริมให้บรรดาชาวเขาเหล่านที้ ำมาหาเลี้ยงชีพในอนั สมควรทจ่ี ะไม่เป็นการทำลาย
สาธารณะประโยชน์ 3) เพื่อป้องกันการปลูกฝิ่น โดยส่งเสริมให้ชาวเขาปลูกพืชอ่ืนหรือประกอบอาชีพอ่ืนท่ีมี
รายได้ดกี ว่าแทนการปลูกฝน่ิ

การสำรวจชาวเขาเผ่าแม้วดอยปุย จังหวัดเชียงใหม่ ในบริเวณตำบลบ้านปง บริเวณลุ่มน้ำแม่ในและ
ลุ่มน้ำแม่สา โดยมีแบบฟอร์มตั้งคำถามในการสัมภาษณ์ ปรากฏว่าชาวเขาเผ่าแม้ว มีทั้งหมด 60 ครอบครัว
รวม 514 คน เป็นชาย 259 คน หญงิ 255 คน ไดส้ รปุ ผลการสำรวจและขอ้ เสนอแนะดงั ต่อไปนี้

1. การกสิกรรมของพวกแม้วส่วนมากเป็นการทำไร่เลื่อนลอย เช่น ปลูกข้าว ข้าวโพด และฝิ่น ทาง
รฐั บาลควรจะแนะนำให้พวกแม้วปลกู พืชทถี่ าวรเหมาะสม และจัดตงั้ นิคมสรา้ งตนเองสงเคราะห์ชาวเขา ทั้งน้ี
เพอื่ สะดวกแกก่ ารฝึกอบรม พรอ้ มทงั้ สอนวธิ ีการเกษตรกรรม

2. การเลี้ยงสัตว์ไม่ควรปล่อยอย่างที่เป็นอยู่ ควรจะเลี้ยงแบบขังคอก และหาพันธุ์สัตว์ที่ดีมาเล้ียง
พรอ้ มกบั ให้มเี จา้ หน้าทค่ี อยแนะนำชว่ ยเหลืออย่เู สมอ

3. ผลิตผลทไ่ี ดท้ างรฐั บาลควรจะรบั ซอื้ ไว้ในราคาพอสมควร ท้ังนเ้ี พ่ือรายได้ของขาวเขามพี อประมาณ
4. การศึกษาของเผ่าแม้วต้องพัฒนาการสอนหนังสือ โดยจัดตั้งโรงเรียนให้พอเพียงทันสมัย เพื่อให้
ชาวเขาฉลาดพอทีจ่ ะคิดวา่ อะไรควรหรอื ไม่ควร
5. ชาวเขาเผ่าแม้ว ไม่มีศาสนา นับถือผีและโชครางท่ีไร้เหตุผลควรจะหันเหให้ชาวเขานับถือศาสนา
พุทธ โดยให้พระข้ึนไปเทศนาให้ฟัง
6. สุขภาพและอนามยั ชาวเขาเผ่าแม้ว ส่วนมากมีสุขภาพและอนามัยไมส่ มบูรณ์ สกปรก ควรแนะนำ
ใหช้ าวเขารักษาความสะอาดและรจู้ กั วธิ ปี ฐมพยาบาล คนที่เป็นโรค ยาเสพตดิ และเปน็ โรคอ่นื ๆ รฐั บาลควรจะ
เรง่ รกั ษาให้หายเสยี
7. หมูบ่ ้านควรจะตงั้ เปน็ หลักแหลง่ โดยอำนวยความสะดวกตา่ งๆ เพ่อื ปอ้ งกนั การทำไร่เล่ือนลอย
8. รัฐบาลควรจะส่งเสริมให้ชาวเขาปลูกไม้ผลมากยิ่งขึ้น อาทเิ ช่น ทอ้ สม้ ล้ินจ่ี ลำไย แอปเปลิ กาแฟ
ทัง้ น้ีเพื่อเป็นการพัฒนาดา้ นการครองชีพและเศรษฐกิจของชาวเขา

3

การศกึ ษาปรมิ าณอินทรยี วตั ถแุ ละเนือ้ ดนิ ในระดบั ความลาดเอยี งต่างๆ กัน ในปา่ ดงดิบทดี่ อยปยุ
The study of the organic matter quantity and soil texture on different slope elevation

in hill evergreen forest at Doi Pui

สทุ ธชิ ยั วริ ยิ โกศล (2510)

การทดลองน้ี เป็นการศกึ ษาถึงปริมาณอินทรยี วัตถุในดินป่าไม้ ท่มี ีความลาดเอยี งแตกต่างกันไปต้งั แต่
0-45% โดยแบ่งออกเป็น 9 treatments และได้ศึกษาถึงปริมาณพรรณไม้ เน้ือดิน และวัตถุที่ให้กำเนิดโดย
เก็บตัวอย่างเฉพาะหน้าดินลึกลงไป 6 นิ้ว ทำการเก็บตัวอย่างดินแบบ composite soil sample นำดินมา
วิเคราะหป์ ริมาณอินทรียวัตถุและชนดิ เนื้อดินในห้องปฏิบตั ิการของกองกสิกรรมเคมี ได้ทำการศกึ ษาจากแปลง
ทดลองที่บริเวณดอยปุย จังหวัดเชียงใหม่ สูงจากระดับน้ำทะเล 400 เมตร โดยเร่ิมทำการทดลองตั้งแต่วันที่
9 เมษายน พ.ศ. 2509 และสิน้ สุดการทดลองเม่ือวันที่ 4 กรกฎาคม ศกเดียวกัน ปรากฏผลการศึกษาทดลอง
ดงั นี้

1. การเคล่ือนย้ายของอินทรียวัตถุในดินป่าไม้ เกิดขึ้นในระยะความลาดเอียง 26-45% ส่วนความ
ลาดเอียง 0-25% นนั้ ไม่มกี ารเคลอื่ นย้ายของอนิ ทรยี วตั ถุเลย

2. ปรมิ าณของอินทรียวัตถใุ นดินทีม่ คี วามลาดเอยี งไปทางทิศตะวนั ตกเฉยี งใต้มมี ากกวา่ ในดนิ ทม่ี คี วาม
ลาดเอียงไปทางทศิ ตะวนั ตกเฉียงเหนือ

3. Parent material หรือ bed rock ที่พบน้ันมี granite, gneiss, sandstone ดินที่พบทั่วทุกแปลง
นน้ั เป็น sandy loam

4. การเคลื่อนย้ายของดินไมเ่ กดิ ขนึ้ ในปา่ ที่ได้ทำการศกึ ษาซง่ึ มีความลาดเอยี ง 0-45%
5. ปริมาณไม้และพรรณไมม้ ปี รมิ าณและจำนวนเท่าๆ กัน ทุกๆ ความลาดเอียง
6. จากผลการทดลองท่ีกล่าวมาน้ัน ผู้ทดลองมีประสบการณ์พอที่จะเสนอแนะการวิจัยในอนาคต
เพื่อใหไ้ ดผ้ ลดีในการจดั การลมุ่ น้ำห้วยคอกมา้ ดอยปุย มีดงั ตอ่ ไปนี้ 1) ความสัมพันธ์ระหว่างรอ้ ยละอนิ ทรยี วัตถุ
กับความคงทนของดิน 2) เปรียบเทียบร้อยละอินทรียวัตถุในระดบั ความลกึ ตา่ งๆ กันของดิน 3) ความสัมพันธ์
ระหว่างร้อยละอินทรียวัตถุต่อความสามารถในการซึมน้ำของดิน

4

ลักษณะโครงสร้างของปา่ ดบิ เขาในบริเวณหว้ ยคอกม้า ดอยปยุ เชยี งใหม่
The structure characteristics of hill evergreen forest, Huay Kogg Ma, Doi Pui, Chiang Mai

พศิ าล วสวุ านิช (2511)

การศึกษาลักษณะโครงสร้างของป่าดิบเขาในบรเิ วณห้วยคอกมา้ ดอยปุย เชยี งใหม่ มวี ตั ถปุ ระสงค์ของ
การศึกษาเรื่องน้ี เพ่ือศึกษาและสำรวจชนิดและตระกูลของพรรณไม้ในป่าดิบเขาทางด้านพฤกษศาสตร์
ตลอดจนลักษณะทางธรรมชาติ ซง่ึ ได้แก่ สภาพดิน ภูมิอากาศ ภูมปิ ระเทศ และสิ่งแวดลอ้ มอน่ื ๆ อันจะมีผลต่อ
การเจรญิ เติบโตของพรรณไม้ และเพ่ือศึกษาลักษณะของกลุ่มพืช เพื่อทำให้เข้าใจถึงชีวประวัติธรรมชาติของ
กลุ่มพืชน้ัน เพื่อนำความรู้ไปใช้ในการตัดสินใจการปลูกสร้างสวนป่าว่าจะเป็น pure stand หรือ mixed
stand ตอ่ ไป และเพอื่ นำผลที่ได้จากการศึกษาเก่ียวกับพันธุ์ไม้และการอยูร่ ่วมกันของพรรณไม้ นำไปใชใ้ นการ
อนุรกั ษ์ดนิ และนำ้ ต่อไปอกี ด้วย

การศึกษาลกั ษณะโครงสร้างของป่าดิบเขาบรเิ วณหว้ ยคอกมา้ ดอยปยุ เชยี งใหม่ พบวา่
1. ใช้แปลงตัวอย่างรูปส่ีเหล่ียมผืนผ้าขนาด 10 x 40 เมตร จำนวน 4 แปลง โดยแต่ละแปลงแบ่ง
ออกเป็นแปลงย่อยขนาด 10 x 10 เมตร การวางแปลงตัวอย่างใช้วิธี random และเก็บลูกไม้ในแปลงขนาด
5 x 5 เมตร ในแปลงใหญ่ และการวางแปลงมี aspect ท้ัง 4 ทศิ
2. ดินมี texture เป็น loam pH ดินบน 5.36 และ pH ดินล่าง 5.16% organic matter ดินบน
10.26 และดินล่าง 4.5 ปริมาณฟอสฟอรัสมีในดินบนและดินล่าง 14.112 และ 6.4 ppm ตามลำดับ
โปแตสเซยี มมีในดนิ บนและลา่ ง150.187 และ 106.625 ppm ตามลำดบั
3. สภาพภูมิประเทศท่ัวๆ ไป เป็นท่ีมี slope มาก มีลักษณะเป็นลุ่มน้ำอย่างดี สูงจากระดับน้ำทะเล
เฉล่ยี 1,275.05 เมตร ปริมาณน้ำฝนเฉล่ีย 1,718.33 มม.ต่อปี ร้อยละความช้ืนในดิน 84.8 การระเหยของน้ำ
เฉล่ีย 3,804.14 C.C. ต่อวัน ความเร็วของลมเฉลี่ย 15.8 กม.ต่อช่ัวโมง อุณหภูมิต่ำสุดเฉล่ีย 53.44 องศา
ฟาเรนไฮน์ อุณหภูมิเฉล่ียสูงสุด 81.8 องศาฟาเรนไฮน์ และอุณหภูมิเฉล่ีย 69.21 องศาฟาเรนไฮน์ พื้นที่ป่า
ปกคลมุ ด้วยพรรณไม้หนาแนน่ และยงั ปราศจากการบุกรุกแผว้ ถางอกี ดว้ ย
4. พรรณไม้ใหม่มีอยู่ 38 ชนิด ไม้ช้ันล่างพบ 18 ชนิด ปริมาณไม้ยืนต้นมี 33 ต้นต่อไร่ ลูกไม้ 36 ต้น
ต่อ 25 ตารางเมตร มีพรรณไม้อยู่ 33 ตระกูล พบไม้สำคัญ ได้แก่ ไม้ก่อต่างๆ เช่น ก่อแป้น ก่อเดือย พวก
เถาวัลยจ์ ะพบเหน็ สะบ้าซง่ึ จะมขี นาดใหญ่พอประมาณ สว่ นพวก herb พบทั่วๆ ไป
5. ชั้นความสูงของไม้ แบ่งชั้นความสูงออกเป็น 4 ช้ันความสูง ความสูงเฉล่ียของไม้ 21.92 เมตร เส้น
ผ่านศูนย์กลางเฉลี่ย 29.93 เซนติเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางเรือนยอดเฉลี่ย 9.68 เมตร มี crown cover
96.94% ขนาดของความสูงของไม้มีความสัมพันธ์กับเส้นผ่านศูนย์กลาง คือ ไม้สูงก็มีเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่
ดว้ ย

5

6. ความหนาแน่นของไม้ยืนต้น ไม้ก่อเดือยมีความหนาแน่นมากที่สุด 12.12% รองลงมาได้แก่ ก่อ
แป้น 8.33% และมี Range ของจำนวนต้น 131-133 ต้นต่อไร่ ลูกไม้ก่อเดือยมีความหนาแน่นมากท่ีสุด
29.7% และลกู ไมม้ ี range 154-164 ตน้ ต่อ 1,000 ตารางเมตร

7. ไม้ก่อเดือย relative dominance มากท่ีสุด 31.38% และไม้ก่อแป้นมี relative dominance
รองลงมา 24.16%

6

การวจิ ยั การจดั การลุ่มน้ำบนภูเขาทหี่ ว้ ยคอกมา้ บนดอยปยุ เชียงใหม่
Watershed management research on mountainous lands ot Kog-Ma, DoiPui, Chiangmai

ภาควิชาอนรุ ักษวิทยา คณะวนศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ (2512)

การวิจัยการจัดการลุ่มน้ำบนภูเขาท่ีห้วยคอกม้า บนดอยปุย เชียงใหม่ กำหนดวิธีการศึกษาและวิจัย
ออกเป็น 2 ภาค เพ่อื วัตถปุ ระสงคด์ งั น้ี

1. ภาคที่ 1 รวบรวมข้อมูลสถิติขากปัจจัยต่างๆ ของท้องท่ีป่าแต่ละประเภทในบริเวณลุ่มน้ำ และนำ
ข้อมูลสถิติน้ันมาวเิ คราะห์และสรุปผลเก่ียวกับปริมาณน้ำฝนและการกัดชะของดินตามหลักวิชาการสถิติ และ
ใชผ้ ลท่ีไดร้ ับเปน็ หลักพิจารณาดำเนินงานเก่ียวกับการจดั การลุ่มน้ำอันเป็นงานภาคท่ี 2 ป่าแต่ละประเภทท่ีจะ
ศกึ ษาประกอบดว้ ย

• ป่าธรรมชาติ (natural forest cover)
• ป่าท่ีถูกไฟปา่ ทำลาย (burned forest)
• ป่าที่ถูกทำลายโดยการตัดฟันและการเผาซ้ำ เพื่อนำดินน้ันมาใช้ประโยชน์ในการทำไร่บน

ภูเขา (forest cut and burned followed by mountainous slope cultivation)
• บริเวณ พื้ น ที่ บ น ภูเขาท่ี ถูก น ำมาใช้ป ระโยชน์ ใน ลัก ษ ณ ะต่างๆ (other uses of

management practices on mountainous lands)
2. ภาคท่ี 2 นำผลการทดลองที่ได้จากภาคแรกนั้น มาประยุกต์ใช้เป็นหลักในการจัดวางนโยบาย
ดำเนินการควบคุมการใช้ประโยชน์ของพื้นท่ีในบริเวณลุ่มน้ำบนภูเขา (mountainous watershed lands)
และแก้ปัญหาขัดข้องต่างๆ ให้ถูกต้องตามหลักวิชาการจัดการลุ่มน้ำ เพื่อให้ได้รับประโยชน์ในด้าน
สาธารณูปโภคอยา่ งสมบรู ณเ์ ต็มที่
การศึกษาการวจิ ัยการจัดการลุ่มน้ำบนภูเขาท่ีห้วยคอกม้า บนดอยปุย เชียงใหม่ สามารถสรปุ ข้อมูลใน
แตล่ ะดา้ นดงั นี้

ลักษณะสังคมและเศรษฐกจิ (Socio-economic aspect)
นวิ ตั ิ เรอื งพานชิ

จากการสำรวจสภาพสังคมและเศรษฐกจิ ของชาวเขาบริเวณต้นน้ำ ชาวอำเภอเมืองที่อยตู่ อนล่างของ
ลุ่มน้ำ จะเห็นได้ว่าทั้งชาวเขาและบรรดาประชาชนท่ีอยู่ตอนล่างของลุ่มน้ำ ต่างก็มีความต้องการปรับปรุงใน
ดา้ นความเป็นอยขู่ องตนเองให้ดขี ึน้ สำหรบั ชาวเขานบั ว่ายังล้าหลงั ในทกุ ๆ ด้าน ไมว่ ่าจะเปน็ การศึกษา อนามัย
หรือปัญหาทางเกษตรกรรม ตลอดจนการใช้ประโยชน์ที่ดินและอ่ืนๆ ซ่ึงต้องการทั้งการแนะนำและความ
ช่วยเหลือเป็นอันมาก การที่จะปล่อยให้ชาวเขาเลือกวิธกี ารดำเนินชีวิตไปตามลำพังโดยไม่ให้ความช่วยเหลือ
ตามสมควรนน้ั จะเป็นผลเสียต่อการพัฒนาลุ่มนำ้ อยา่ งย่ิง เพราะชาวเขาเหล่านี้จะตั้งหน้าตั้งตาบุกรุกแผ้วถาง

7

ปา่ อยู่เรอื่ ยไปนับว่าเปน็ อันตรายต่อทรัพยากรธรรมชาติ อันประกอบดว้ ย ดนิ นำ้ ป่าไม้ อยา่ งมหาศาลและจะ
สง่ ผลตอ่ ประชาชนทอี่ ยู่ตอนล่างของลุ่มน้ำอย่างไมต่ ้องสงสยั ดังนัน้ การชว่ ยเหลือหรือแนะนำให้ชาวเขาได้รจู้ ัก
การใช้ประโยชน์ที่ดิน ส่งเสริมให้นิยมปลูกพืชยืนต้นแทนการปลูกพืชไร่ รวมทั้งการศึกษาค้นคว้าหาพันธ์ุไม้ท่ี
เหมาะสมเพือ่ ให้ชาวเขานำไปปลกู จงึ นบั เป็นส่งิ จำเปน็ และต้องกระทำโดยรีบด่วน

โครงการใดก็ตามถา้ สามารถทำใหช้ าวเขาได้รับประโยชนแ์ ละมรี ายไดเ้ พิ่มขนึ้ แลว้ เชอื่ ว่าจะไดร้ ับความ
ร่วมมือจากชาวเขาอย่างแน่นอน เช่น ผลผลิตผลจากลูกท้อทำรายได้ให้ชาวเขาปีหน่ึงๆ เป็นจำนวนมาก
ชาวเขาจึงนิยมปลูกต้นท้อกันมาก แต่เพื่อป้องกันการบุกรุกทำลายป่าเพ่ิมขึ้น จำเป็นต้องแนะนำวีการเพ่ิม
ผลผลิตต่อหน่วยเนื้อที่ การใช้ปุ๋ย การใช้ประโยชน์ท่ีดินให้ถูกหลักการอนุรักษ์ดินและน้ำ จะต้องได้รับการ
ควบคุมโดยเด็ดขาดเกี่ยวกับการปลูกพืชผลตามด้านลาดที่ชนั มากๆ นอกจากน้จี ำเป็นตอ้ งช่วยเหลอื ในดา้ นการ
คมนาคม การขนสง่ การศกึ ษา และการสาธารณสขุ ควบค่กู นั ไปด้วย

ส่วนปัญหาเกี่ยวกบั ประชาชนท่ีอยู่ตอนล่างของลุ่มน้ำ ได้แก่ ปัญหาการเพ่ิมข้ึนของประชากร ปัญหา
การใช้น้ำตลอดจนการเพ่ิมปริมาณและคุณภาพของพืชผลทางการเกษตรตอ่ หน่วยเนื้อท่ี จะเห็นได้ว่า จังหวัด
เชียงใหม่ถึงจะเป็นจังหวัดท่ีเป็นท่ีต้ังของต้นน้ำลำธารต่างๆ ก็ตาม ในฤดูแลง้ ก็ยังต้องพบการขาดแคลนน้ำอยู่
นั่นเองบริเวณที่อยู่ห่างใจกลางเมืองเพียง 2-3 กิโลเมตรเท่านั้น เทศบาลก็ไม่สามารถบริการประปาไปถึงได้
การใช้นำ้ จำเป็นต้องขดุ บ่อใช้น้ำบาดาล และระดับนำ้ ใต้ดินอยู่ในระดับน้ำค่อนขา้ งต่ำ จงึ เหน็ ว่าจำเป็นจะต้องมี
มาตรการบางอย่างเพ่ือสนองความต้องการเก่ียวกับการใช้น้ำในอนาคตและหาวิธีป้องกันการขาดแคลนน้ำใน
ฤดูแล้ง และแมส้ ำหรับการพังทลายของดินและการตกตะกอนซึง่ จะเห็นมเี กาะแก่งตามลำนำ้ ปิงทั่วไป ดนิ ที่ถูก
นำ้ พัดพามาตกตะกอนน้ี นอกจากเกิดจากการทำลายป่าบริเวณตน้ น้ำแล้ว ประชาชนที่อยู่ตอนล่างของลุ่มน้ำก็
มสี ่วนทำใหเ้ กดิ การพังทลายของดินด้วย เช่น การทำการกสิกรรม การใช้ประโยชน์ที่ดินอ่ืนๆ ท่ีไม่ถูกหลักการ
อนุรักษ์ดนิ การพังทลายของตลิ่งสองขา้ งลำนำ้ การพังทลายของดินจากการสรา้ งถนน สิง่ ตา่ งๆ เหลา่ นเ้ี ปน็ เหตุ
ให้สูญเสียทรัพยากรดิน ทำให้ลำน้ำต้ืนเขินได้ นอกจากน้ีการท่ีจะพัฒนาลมุ่ น้ำให้ไดผ้ ลสมบูรณ์ จำเป็นต้องให้
ประชาชนไดม้ คี วามรคู้ วามเข้าใจ และไดท้ ราบถึงความสำคญั ของตนเองท่เี ป็นสว่ นหนงึ่ ของล่มุ นำ้ เพราะลุ่มน้ำ
จะดขี นึ้ หรือเลวลงนัน้ กย็ ่อมตอ้ งอาศยั ความร่วมมือจากประชาชนที่อาศยั อยูบ่ ริเวณลมุ่ นำ้ น้ันเป็นส่วนใหญ่

รูปร่างและลักษณะของลุ่มน้ำ
เกษม จนั ทรแ์ กว้

ลมุ่ น้ำห้วยคอกม้าตั้งอยบู่ ริเวณดอยปุย อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ทิศใต้ติดกับพระตำหนักภูพิงค์
ราชนิเวศน์ อยู่ระหว่างเส้นรุ้งท่ี 18° 45´ เหนือ และเส้นแวงท่ี 98° 54´ ตะวันออก เน้ือท่ีลุ่มน้ำทั้งหมด 0.65
ตารงกิโลเมตร แบ่งออกเป็น 4 ลุ่มน้ำย่อย คือ C1, C2, C3 และ D พื้นที่ 30 42 59 และ 65 ไร่ ตามลำดับ
ลมุ่ น้ำหว้ ยคอกมา้ เป็นตน้ กำเนิดของห้วยแกว้ ซงึ่ ไหลตามด้านลาดทศิ ตะวันออก (east aspect) สู่แมน่ ำ้ ปิง และ
ลำห้วยในลุ่มน้ำนี้มีน้ำไหลตลอดปี เป็นลำธารชนิด perennial ความลาดชันเฉล่ียร้อยละ 39.7 ทิศทางความ
ลาดชัน (aspect) ส่วนใหญ่จะมี aspect ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ไปทางทิศใต้เล็กน้อย แต่ก็มีบ้างเป็นส่วน

8

น้อยหันเหไปทางทิศเหนือและใต้โดยตรง ลุ่มน้ำมีลักษณะของลำธารแบบ dendritic pattern คือมีลักษณะ
คลา้ ยเส้น vein ของใบไม้ โดยมคี วามยาวของลำธารทั้งส้ินประมาณ 2,530 เมตร อาจสรุปได้ว่าโอกาสที่จะเกิด
flood หรืออนั ตรายอย่างใดอย่างหน่งึ ต่อลมุ่ นำ้ หว้ ยคอกม้าอนั เป็นผลจากการระบายนำ้ นนั้ ไม่มีอยา่ งเหน็ ได้ชัด

การติดตัง้ เคร่ืองมอื และการเก็บข้อมูล
ชุมพล งามผ่องใส และ นิวัติ เรืองพานิช

ห้วยคอกม้ามีเน้ือที่ประมาณ 0.65 ตารางกิโลเมตร อยู่สูงจากระดับน้ำทะเลเฉล่ียประมาณ 1,400
เมตร ปกคลุมไปด้วยป่าดิบเขา สภาพอากาศเย็นสบายตลอดปี อุณหภูมิเฉล่ียตลอดปีอยู่ระหว่าง 67-70° F
อุณหภูมติ ำ่ สุดเม่ือเดือนมกราคม พ.ศ. 2510 คือ 44° F และสูงสุดเดอื นเมษายน 93° F ปกตติ อนเชา้ และคำ่ จะ
มีหมอกจัด โดยเฉพาะในฤดูฝนและฤดูหนาวจะมีหมอกปกคลุมอยู่ท่ัวไปเกือบตลอดท้ังวนั มีความช้ืนสัมพัทธ์
เฉลี่ยประมาณ 83.4% ความชื้นสัมพัทธ์ต่ำสุดเม่ือเดือนมีนาคม พ.ศ. 2509 คือ ร้อยละ 51.80 ปกติลมจะพัด
แรงในตอนเย็นและตอนกลางคืน ความเร็วลมเฉลย่ี อยู่ระหว่าง 14.4-15.9 กม./ชม. อัตราการระเหยของน้ำ
ตลอดปี 796.27 มม. หรือประมาณร้อยละ 41 ของปริมาณน้ำฝนที่ตกตลอดปี อัตราการระเหยมีมากท่ีสุดใน
เดือนมีนาคม คือ 129.5 มม. ปริมาณน้ำฝนเฉล่ียตลอดปี 1,938.6 มม. ฝนตกมากที่สุดในเดือนกันยายน
433.7 มม. จำนวนวันที่ฝนตกตลอดปีประมาณ 130 วัน เดือนสิงหาคมและกันยายนมีฝนตกมากคร้ังที่สุดถึง
เดือนละ 26 วัน ในฤดูฝนบางคร้ังฝนจะตกติดต่อกัน 3-4 วัน แต่มี intensity ไม่มากนักราว 2 มม.ต่อช่ัวโมง
ซึ่งต่างกับการตกตามปกติที่มักจะมี duration สั้น แต่มี intensity สูง ฝนที่ตกในบริเวณลุ่มน้ำห้วยคอกม้า
จัดเป็นพวก orographic และ thunderstorm precipitation

บริเวณลุ่มน้ำห้วยคอกม้าเป็นป่าดิบเขาท่ีค่อนข้างสมบูรณ์ มีปริมาณตะกอนท่ีถูกน้ำพัดพามาตกอยู่
เหนือเขื่อนทดลองเฉล่ียประมาณ 234 กิโลกรัมต่อเฮกแตร์ หรือประมาณ 37.5 กิโลกรัมต่อไร่ ส่วนผลจาก
แปลงทดลองในสภาพป่าธรรมขาติที่อยู่นอกบริเวณลุ่มน้ำ มีปริมาณตะกอนราว 452.9 กิโลกรัมต่อเฮกแตร์
หรือประมาณ 72.5 กิโลกรัมต่อไร่ และจากแปลงทดลองทมี ีปา่ หญ้าคาปกคลุมมปี รมิ าณตะกอน 376 กโิ ลกรัม
ต่อเฮกแตร์ หรือ 60.2 กิโลกรัมตอ่ ไร่ จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ว่า แม้ลมุ่ น้ำท่ีเป็นป่าธรรมชาติและไม่เคยถูก
รบกวนมาก่อนก็ยังมีการตกตะกอนอยมู่ ากพอใช้ทีเดียว และถ้าหากสภาพปา่ ถูกทำลายโดยไม่มีสงิ่ ปกคลมุ ด้วย
แล้ว การกดั ชะหนา้ ดินจะต้องทวมี ากขนึ้ อยา่ งแน่นอน

9

ลักษณะพชื พรรณ
ชมุ พล งามผ่องใส

ลมุ่ น้ำห้วยคอกม้า อยู่สูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 1,400 เมตร ตลอดท้ังลุ่มน้ำเป็นป่าดิบเขา (hill
evergreen forest) พันธ์ุไมท้ ่ีสำคัญเปน็ ไม้ในตระกูลไม้ก่อ (Fagaceae) เช่น ก่อแป้น ก่อน้ำ กอ่ ตาหมู ก่อแดง
และก่อเดือย นอกจากนี้มีไม้ทะโล้ (T. Schima wallichii, choisy) ไม้มณฑา (Manglietia garrettii,
Carib.) และไม้เหมือด (Helicia excelsa) มีปริมาตรต่อหน่วยเนื้อท่ี 70.88, 27.36. 11.66 และ 11.45
ลบ.ม./เฮกแตร์ ตามลำดับ ชนิดป่าเปน็ ป่าดิบเขา บริเวณสันเขาของห้วย C1, C3 และ D มีบางส่วนเคยถูกแผ้ว
ถางทำลายมาก่อน มีหญา้ คาข้นึ ปกคลุมหนาแนน่

สภาพการสบื พนั ธุ์ของไม้ในลมุ่ น้ำนี้อย่ใู นแบบท่ีไมด่ ีนกั เพราะปริมาณของไม้ขนาดเลก็ และไม้ weight
2 มจี ำนวนแตกต่างกันมาก จงึ จำเป็นตอ้ งหาทางชว่ ยการสบื พนั ธุ์ และการเจริญเติบโตของลูกไม้ในลุม่ น้ำนีใ้ ห้ดี
ข้ึนกว่าทเี่ ปน็ อยขู่ ณะนี้

บริเวณลุ่มน้ำห้วยคอกม้าไม่น่าจะกำหนดให้มีการทำไม้ออกอย่างเด็ดขาด เพราะสภาพภูมิประเทศมี
ความลาดชนั มาก การคมนาคมไมส่ ะดวก หากมกี ารทำไมอ้ อกจะตอ้ งเสยี คา่ ใช้จา่ ยสงู ไม่คมุ้ คา่ อีกด้วย แต่สภาพ
เช่นน้ีมีความสำคัญมากต่อการจดั การลุ่มน้ำ ในอันท่ีจะช่วยควบคุมหรือลดอัตราการพังทลายของดิน ส่งเสริม
อัตราการไหลซึมของน้ำลงสู่ดิน ตลอดจนช่วยเพ่ิม water yield ให้แก่ลุ่มน้ำ ในเมื่อสภาพของป่าไม้ไม่
เหมาะสมแก่การทำไม้ กเ็ ป็นผลดีแกง่ านด้านการจดั การลุ่มน้ำที่จะไม่ตอ้ งถูกรบกวนในเร่ืองน้ี จะได้ต้งั หนา้ ตั้ง
ตาดำเนินงานอนุรกั ษด์ ินและน้ำ ตามทฤษฎีการจดั การลุ่มนำ้ บนภเู ขาต่อไป

ลักษณะพืชคลมุ ดิน (vegetative cover) ปริมาณพืชคลุมดินที่เหมาะสมสำหรับในท้องที่ลุ่มน้ำแต่ละ
แห่งไม่ควรต่ำกว่ารอ้ ยละ 70 ปริมาณพืชคลุมดินของลุ่มน้ำหว้ ยคอกมา้ อันเป็นปา่ ดงดิบท่ีไม่เคยถูกรบกวนมา
ก่อนนั้นจำนวนถึงร้อยละ 90-95 จากผลของการสำรวจสามารถจำแนกปริมาณพืชคลุมดินในบริเวณลุ่มน้ำน้ี
ออกได้เป็น 3 ส่วนคือ 1) ลักษณะพืชคลุมดินบริเวณสันเขาประมาณร้อยละ 75-80 2) ลักษณะพืชคลุมดิน
ระหว่างบริเวณสันเขากับลำห้วยประมาณร้อยละ 80-90 และลักษณะพืชคลุมดินบริเวณลำห้วยประมาณ
รอ้ ยละ 90-95

Stand composition และ stand density บริเวณห้วยน้ำหว้ ยคอกม้า พบว่า ปา่ ดบิ เขาในบรเิ วณลุ่ม
น้ำห้วยคอกม้ามีพรรณไม้ทั้งสิ้น 159 ชนิด โดยไม่รวมพืชที่ชอบน้ำ (phreatophyes) พันธุ์ไม้หลัก คือ
ไมต้ ระกูลก่อ (Fagaceae) ซ่ึงมีอยู่หลายชนิด ได้แก่ ก่อเดอื ย กอ่ แดง ก่อแป้น ก่อแหลม ก่อน้ำ ก่อตาหมู ฯลฯ
สำหรับไม้ชั้นบนก่อเดือยมีปริมาณมากท่ีสุด ท้ังน้ีเพราะสภาพภูมิอากาศและลักษณะท่ัวไปของลุ่มน้ำมีความ
ลาดชันค่อนข้างมาก สูงกว่าระดับน้ำทะเลเฉล่ีย1,260 เมตร ปริมาณน้ำฝนเฉล่ีย 1.728 มิลลิเมตรต่อปี
อุณหภูมิสูงเฉล่ีย 81.5 °F ต่ำสุดเฉลี่ย 57.4 °F ซ่ึงเป็นลักษณะภูมิอากาศที่เหมาะสมแก่การข้ึนอยู่ของต้นไม้
ตระกูลก่อนี้อย่างมาก ความหนาแนน่ ของของพรรณไม้ในป่าดบิ เขาแหง่ น้ี กอ่ เดือยมคี า่ ความหนาแนน่ มากทีส่ ุด
10.83% รองลงมาคือหญ้าคา 6.15% เอื้องดิน 4.55% ถั่ว 4.32% ดังกล่าวนี้เป็นลูกไม้และไม้ชั้นล่าง
(undergrowth) ส่วนไม้ช้ันบน ก่อเดือยและกำยานมีความหนาแน่นมากท่ีสุด 5% นอกจากน้ันเป็นพรรณไม้

10

อื่นๆ เช่น ก่อแดง ก่อแป้น ก่อตาหมู กฤษณา เหมือด มณฑา ทะโล้ สารภี ลักษณะการกระจายของพรรณไม้
ดังกล่าวในลุ่มน้ำอาจจำแนกได้ดังน้ี ไม้ตระกูลก่อชอบข้ึนตามสันเขา ไม้พื้นล่างส่วนใหญ่เป็นพวกหญ้าคา ซึ่ง
ชอบขน้ึ อยู่บริเวณสันเขาท่ีเคยเป็นไร่ร้างมาก่อน หญ้าผักปราบ เออ้ื งดิน พบอยู่ท่ัวไปบริเวณริมห้วยและท่ชี ้ืนมี
พวก phreatophytes เชน่ ตองสาด เฟิร์น ขึน้ อยปู่ ะปนกนั อยา่ งหนาแนน่

ลกั ษณะทางธรณีวิทยา (geologic features)
สาโรจน์ ศกั ด์เิ จรญิ

การสำรวจหินในบริเวณลุม่ นำ้ ห้วยคอกม้า พบหนิ ชนิดท่สี ำคญั ไดแ้ ก่
• Quartzite พบมากท่ีสุดประมาณ 34.8% กระจายอยู่ทั่วไปตลอดลุ่มน้ำ ส่วนมากเป็นสีขาว

เนอื้ ละเอียด และเนอื่ งจากมีสิ่งแวดล้อมทเี่ หมาะสมจึงทำให้หินชนดิ น้ีมกี ารสลายตวั สูง
• Granite พบประมาณ 3.4% กระจายอยู่ตลอดทัง้ ลุ่มน้ำเป็น igneous rock ที่มสี ีเขม้
• Sandstone พบอยู่ตามสนั เขาหรอื ตอนสว่ นบนของลมุ่ นำ้ มอี ยู่ประมาณ 21.7%
• Mica schist มีประมาณ 9.0% ส่วนใหญ่พบทางตอนใต้ของลุ่มน้ำ มักปะปนอยู่ในรูปของ

white-mica ลกั ษณะเปน็ เกล็ดหรือเปน็ แผ่นบางๆ ซอ้ นกันอยู่ตามผิวหน้าของดิน แตท่ ี่ขดุ พบใน soil pit น้ัน
มักปะปนอยกู่ ับหิน granite หรือ igneous rock

นอกจากนี้ยังมีพวก igneous rock, sedimentary rock และ metamorphic rock ชนิดต่างๆ อีก
ประมาณ 4.1% กระจายอยู่ตลอดท้ังลุ่มน้ำ

วตั ถุตน้ กำเนิดดินในบริเวณลมุ่ น้ำห้วยคอกมา้ เป็นพวก sedentary material อนั เน่ืองมาจากลักษณะ
ของพ้ืนท่ีเป็นภูเขาสูงชัน วัตถุท่ีให้กำเนิดดินจะตกลงมาทับถมโดยมีแรงดึงดูดของโลกเป็นตัวการ และรวมตัว
เข้ากับวัตถุต้นกำเนิดท่ีอยู่กับที่ ซึ่งได้แก่ quartzite, granite, sandstone และ mica schist รวมกัน
ก่อกำเนดิ ดนิ reddish brown lateritic soil

ลกั ษณะทางปฐพวี ิทยาของลมุ่ นำ้ หว้ ยคอกม้า (soil characteristics of Kog-Ma watershed)
นพิ นธ์ ตัง้ ธรรม

กอ่ นท่ีลุ่มน้ำหว้ ยคอกม้าจะได้รับเลอื กเป็นล่มุ น้ำตัวอย่างในการศกึ ษาเก่ียวกบั การจัดการลุ่มนำ้ นั้น ลุ่ม
นำ้ นีเ้ ปน็ ทาวเดินผ่านไปมาของหมบู่ า้ นชาวเขาเผ่าแม้วห้วยแม่ไนกบั แมว้ ดอยปุย จงึ มกี ารทำไร่เล่ือนลอยอยูบ่ า้ ง
ทางตอนบนของลุ่มน้ำบริเวณสันกู่ ซ่ึงปัจจุบันก็ยังเหลือร่องรอยเป็นป่าหญ้าคาให้เห็นอยู่ แต่บริเวณลุ่มน้ำ
ตอนกลางและตอนลา่ งยงั คงอยู่ในสภาพป่าบรสิ ุทธิ์ (virgin forest) อยู่ ต้นไม้ขน้ึ ปกคลุมหนาแน่น ดนิ ยังไมไ่ ด้
รบั การกระทบกระเทือนแต่อย่างใด ตอ่ มาภายหลัง เม่ือพ.ศ. 2506-2507 ได้มีการสำรวจสรา้ งแผนที่และถนน

11

เข้าสู่บรเิ วณเขอ่ื นทั้งสาม ดนิ และป่าในตอนล่างใกล้เขือ่ นจึงถูกรบกวนบ้าง แต่ไม่ถงึ กับกอ่ ให้เกิดความเสียหาย
แกล่ ่มุ นำ้ แตอ่ ย่างใด

ในเวลาใกล้เคียงกับที่ได้ตดั ถนนเข้าสู่บริเวณเข่ือนทั้งสามดังกล่าว ลุ่มน้ำตอนบนส่วนหน่ึงได้ถูกสร้าง
เปน็ พระราชตำหนักภพู ิงคร์ าชนิเวศน์ ลุ่มนำ้ ส่วนหนง่ึ ในตอนนี้ (ลงมาทางทิศใต้ของเขอ่ื นท้ังสาม) จงึ ถูกรบกวน
โดยมีการตัดฟันไม้ออกและปรับทีเ่ พ่ือสร้างพระราชวงั ดงั กลา่ ว แต่บริเวณดงั กล่าวกอ็ ย่นู อกเขตบรเิ วณห้วยและ
เข่ือนท่ีทำการทดลอง จึงกล่าวได้ว่าสภาพป่าในลุ่มน้ำที่ทีการทดลองและศึกษาตามแผนที่นี้เป็นป่าและดินท่ี
บริสุทธิ์อยา่ งแท้จรงิ ไม่มกี ารใช้ประโยชน์ท่ีดินในด้านอนื่ แต่อยา่ งใด นอกจากเพ่ือการศึกษาในด้านการจัดการ
ลุ่มนำ้ แตอ่ ย่างเดยี ว

ดินในลุ่มน้ำห้วยคอกม้าเป็นแบบ zonal soil คือเป็นดินท่ีเกิดจากอิทธิพลของดินฟ้าอากาศ
(climate) และ organism ต่างๆ โดยเฉพาะพชื (vegetation) จัดอยู่ใน great soil group: Reddish Brown
Laterite Soil เป็นดินที่มีการเจริญทาง profile ดีมาก (well development horizon) มี profile ครบทุก
ช้ัน กำเนดิ มาจากหินต้นกำเนิด (parent material) พวก granite, gneiss และจะมพี วก quartzite ปะปนอยู่
บ้างตอนบนผวิ หินเหล่านมี้ ีการสลายตัวดมี ากเพราะมคี วามชื้นสูง บางแห่งจะพบแผ่นไมก้าสีขาว(white mica
schist) อยู่เป็นสว่ นผสมของ granite ตามอดุ มสมบูรณ์ดีมาก เพราะอินทรียวัตถุสงู เนอ้ื ดนิ ร่วนซยุ การอุ้มนำ้ ดี
มาก เกาะตัวกันอยู่อย่างหลวมๆ เนื้อดิน (texture) เป็นแบบ sandy loam การระบายน้ำและอากาศดี
โครงสร้างของดินเป็นแบบ sub angular ท้ังสอง horizon มีการชะล้างสูง (high leaching) สังเกตได้จาก
ความหนาของดิน B-horizon ที่มีความหนามาก ท้ังน้ีเพราะดินมี A-horizon ถูกชะลงมาสะสมอยู่ในดิน
B-horizon อยเู่ สมอ ชน้ั B-horizon มคี วามหนาเพม่ิ ขน้ึ

ปริมาณ N P K ในแต่ละช้ันในแต่ละระดับความลาดชัน และในแต่ละห้วยไม่แตกต่างกันแต่อย่างใด
แต่อย่างไรก็ตาม ในระดับความลาดชันที่น้อยกวา่ จะมีปริมาณไนโตรเจนสูงกว่าในที่ระดับความลาดชันมากๆ
เนื่องจากในท่ีที่มีความลาดชันมาก ไนโตรเจนจะถูกชะล้าง (leaching) ได้มากกว่าในท่ีมีระดับความลาดชัน
นอ้ ยกว่า ส่วนในกรณีของฟอสฟอรัสซง่ึ ไม่แตกต่างกันท้ังสามห้วยและระดับความลาดชันนั้น อาจเนอ่ื งมาจาก
พืชต้องการใช้น้อย ท้ังนี้เพราะฟอสฟอรัสที่อยู่ในดินเปล่ียนรูปเป็นพวกที่ถูกตรึงในรูปสารประกอบ พืชไม่
สามารถนำไปใช้ได้น่ันเอง ปริมาณของฟอสฟอรัสจึงใกล้เคยี งกัน สำหรับปริมาณของโปแตสเซียมคงเปน็ ไปใน
ทำนองเดยี วกบั ธาตุทั้งสองทีก่ ลา่ วมาแล้ว ความเปน็ กรดด่างของดิน พบค่าเฉลย่ี pH ประมาณ 5.5

ก. ลักษณะภายนอก (morphology) ของดิน
• ความลึกเฉล่ยี ของดินเฉลี่ยทัง้ ลุ่มน้ำ ชนั้ A-horizon หนาประมาณ 20-80 เซนตเิ มตร ชัน้ B-
horizon หนาประมาณ 60-155 เซนตเิ มตร
• ดินชัน้ A-horizon มีสีดำเข้ม (dark black) ชน้ั B-horizon สแี ดงปนน้ำตาลเขม้ (reddish
brown)
• ดนิ ท้ังช้นั A และ B-horizon มี texture เป็น sandy loam

12

• โครงสรา้ งของดิน (structure) ทั้งช้นั A และ B-horizon เปน็ แบบ sun-angular blocky
ขนาดของเม็ดดนิ ปานกลาง การเกาะยึดของเม็ดดินค่อนขา้ งออ่ น

• ความรว่ นเหนยี วของดิน (consistency) ทดสอบตามวธิ ธี รรมชาติเปน็ แบบ friable
• หินท่ีให้กำเนิดดนิ เป็นพวก granite. Gneiss และ quartzite เป็นสว่ นมาก มี mica schist

ปนอยู่บ้างเลก็ น้อย
• Effective depth ๖ความลกึ ของรากท่ีหยงั่ ถงึ ) 130 เซนติเมตร
ข. คุณสมบัตทิ างเคมขี องดิน
• ปริมาณไนโตรเจนของ forest floor ชั้น L = 1.12%, F = 1.12%, H = 1.08% ปริมาณ

ฟอสฟอรัส ชั้น L = 0;073%, F = 0;074%, H = 0.074% สำหรับโปแตสเซียมเฉล่ียชั้น
L = 0.38%. F = 0.37%, H = 0.35% เป็นปริมาณท่ีมากกว่าสภาพป่าชนิดอ่ืนๆ แต่การ
สลายตัวช้า
• ปรมิ าณอินทรียวตั ถุ (organic matter) ของดินชั้น A-horizon เฉลี่ยประมาณ 10.74% ดิน
ชั้น B-horizon เฉล่ียประมาณ 2.15%
• ความเป็นกรดเป็นด่างของดิน (pH) A-horizon เฉลี่ย 5.56 ดินชั้น B-horizon เฉล่ีย
ประมาณ 5.24
ค. คุณสมบตั ทิ างกายภาพของดนิ ลุม่ น้ำหว้ ยคอกม้า
• สมรรถนะการอุ้มหน้าสูงสุดโดยเฉลี่ยของอินทรียวัตถุลุ่มน้ำห้วยคอกม้า เฉล่ียประมาณ 2.5
เท่าโดยน้ำหนักแห้ง ส่วนสมรรถนะในการอุ้มน้ำของอินทรียวัตถุขนาด 0.0097 นิ้ว 0.0234
น้วิ และ 0.150 นว้ิ ไม่แตกตา่ งกัน แต่ขนาด 0.064 น้ิว อุ้มน้ำสงู กวา่ ขนาดทีล่ ักษณะใหญ่กว่า
น้ี ทัง้ น้จี ากการทดลองในห้องปฏบิ ัติการเทา่ นัน้
• สมรรถนะในการอุ้มน้ำสูงสุดของดินช้ัน A-horizon 62% ของ B-horizon 51% โดย
ปริมาตร 72% และ 44% โดยน้ำหนกั หรือคิดเป็นความสูงของน้ำได้ 25 และ 47 เซนตเิ มตร
ของความลึกของดินชั้น A และ B ดนิ ชั้น A อุ้มน้ำได้มากกว่าดินชัน้ B 1.2 เท่า โดยปริมาตร
1.6 เท่าโดยนำ้ หนกั
• ความเร็วของน้ำซึมผ่านความลึกของดิน (transmission) ช้ัน A-horizon เฉล่ีย 423 ซม./
ชม. ดินช้ัน B 520 ซม./ชม. ดินทั้งสองช้ันมีคุณสมบัติทางด้านน้ีไม่แตกต่างกัน และถ้า
ความชื้นในดินมีมากจะทำให้ความเร็วของน้ำในกรณีนี้เร็วขึ้น แต่ปริมาณความชื้นในดินมี
อทิ ธพิ ลนอ้ ยกวา่ ลกั ษณะโครงสรา้ ง ปรมิ าณ ขนาด และช่องว่างในดนิ
• ท้ังดินช้ัน A และ B เป็นดินประเภทพังทลายได้ง่าย (erosive soil) คือมีค่า dispersion
ratio มากกว่า 10 ท้ังสองช้ัน และดินช้ัน B คงทนน้อยกว่าดินชั้น A ปรมิ าณตะกอนที่วัดได้

13

ในเข่อื นของแต่ละห้วยสอดคล้องกับค่าความคงทนของดินท่ีหาได้จาก dispersion ratio ทุก
ประการ
ง. คณุ สมบัตทิ างชวี ภาพของดนิ ลมุ่ น้ำหว้ ยคอกมา้
• จำนวนเฉลี่ยสตั ว์ในดินพวก Nematoda และสัตว์ในดินชนิดอื่น ในดินประมาณ 100 cc. มี
Nematoda 62 ตัว Enchytraeidae 4 ตัว Diptera larva 2 ตัว Tardigrada 3 ตัว และ
Copepoda 1 ตวั เป็นปรมิ าณมากพอสมควร
• ค่าเฉลี่ยจำนวนสัตว์พวก arthropoda ในดิน 100 cc. ลึก 20 เซนติเมตร มีสัตว์ประเภท
Collembola 26 ตวั Symphyla 3 ตัว Coleotera 3 ตัว และ Diptera larva 2 ตวั

14

ความสมั พันธ์ระหวา่ งปริมาณน้ำฝนและลักษณะการไหลของนำ้ ในลำธารลุ่มน้ำหว้ ยคอกมา้ ดอยปุย เชียงใหม่
Relation between rainfall and runoff characteristics Kog-Ma Watershed, Doi Pui, Chiang Mai

นิวตั ิ เรืองพานชิ
การวจิ ัยลุ่มน้ำทหี่ ว้ ยคอกม้า เล่มท่ี 6, ตลุ าคม พ.ศ. 2513

การศึกษาการไหลลักษณะของน้ำในลำธารท่ีลุ่มน้ำห้วยคอกม้าได้เร่ิมเก็บข้อมูลต้ังแต่เดือนกรกฎาคม
พ.ศ. 2508 ได้ข้อมูลมาวิเคราะห์ในรายงานนี้เพียง 4 ปีเต็มเท่าน้ัน สำหรับการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง
annual rainfall ต่อannual runoff หรือระหว่าง annual runoff ของแต่ละ watershed นั้น ได้สร้าง
ความสมั พนั ธ์ออกมาในรูปสมการเสน้ ตรง รวม 32 สมการ และถงึ แม้ว่าสมการส่วนใหญ่ correlation ไม่ค่อยดี
นัก แต่ก็มีบางสมการที่สร้างความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ความเช่ือมั่น 95% อย่างไรก็ดี
ความสัมพันธ์ระหว่าง rainfall และ runoff น้ัน ปัจจัยสำคัญเก่ียวข้องอยู่มาก คือ การเปลี่ยนแปลงของ
ปริมาณความชื้นในดินและระดับน้ำใต้ดิน ดังน้ันการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ดังกล่าว จึงควรเพิ่ม
independent variable โดยการนำเอาข้อมูลความช้ืนในดินและระดับน้ำใต้ดินมาเก่ียวข้องด้วย และสร้าง
สมการในรูปของ multiple regression ขณะนี้ขอ้ มูลดังกล่าวยังไม่เพียงพอ อย่างไรก็ดีเพื่อให้ได้ prediction
equation ถูกต้องย่ิงขนึ้ ควรจะยดื ระยะเวลาของ calibration period ออกไปอกี 3-5 ปี

สำหรับ total discharge และเปอร์เซน็ ต์ runoff เมื่อเปรียบกับปริมาณนำ้ ฝนจะเห็นว่า watershed
D total discharge ในช่วงฤดูฝนกับช่วงฤดูแล้งมีความแตกต่างกันไม่มากนัก แสดงว่าดินมีการดูดซับน้ำได้ดี
และไมม่ ี surface runoff ถึงฝนจะตกมากในฤดฝู นก็ใช่วา่ ฝนจะพากันไหลสู่ลำธารอย่างรวดเร็วก็หาไม่ นำ้ ฝนที่
ตกลงมาจะไหลซึมลงดินและออกสู่ลำธารในรูปของ lateral flow หรือ underground flow เป็นเหตุให้น้ำ
ไหลสม่ำเสมอในฤดูแล้ง และมีปรมิ าณไม่ต่างกับฤดูฝนมากนัก ส่วนที่ว่าลุ่มน้ำห้วยคอกม้าจะ supply น้ำลงสู่
แม่น้ำปิงประมาณ 605,085 ลบ.ม. ตอ่ ปี

ในส่วนของ runoff เมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณน้ำฝน จะเห็นว่าปริมาณนำ้ ฝนทไ่ี ด้จากทั้งสองลุ่มน้ำมี
คา่ ไม่แตกตา่ งกนั มากนกั การที่ลมุ่ น้ำมีปริมาณนำ้ ฝนน้อยกวา่ C1 จากการสังเกต พบวา่ เคร่ืองวัดนำ้ ฝนเบอร์ 9
มักวดั น้ำฝนได้น้อยกว่าปกติ เป็นเหตุให้ค่าเฉล่ียน้ำฝนลุ่มน้ำ D ลดต่ำลง แต่ปริมาณ runoff แตกต่างกันมาก
ระหว่างสองลุ่มนำ้ คอื ลุม่ น้ำ D มี runoff เฉลี่ยประมาณ 64% ส่วนลมุ่ น้ำ C1 มีเพียง 29% ของปรมิ าณน้ำฝน
ปญั หาจงึ เกิดมีวา่ นำ้ ฝนที่ตกลงในลุ่มนำ้ C1 หายไปไหนบา้ ง ของลุม่ นำ้ D ไม่เป็นปญั หา เพราะจากการวัดการ
ระเหยของน้ำปรากฏว่ามี annual pan evaporation 1,185.9 มม. หรือการระเหยที่แท้จริง (estimated
evapotranspiration) 830.59 มม. ซ่ึงใกล้เคียงกับเมื่อเอาปริมาณน้ำฝนที่ตกลงในลุ่มน้ำ D ลบด้วยปริมาณ
การไหลของน้ำในลำธาร ปริมาณน้ำท่ีหายไปจากลุ่มน้ำ อาจมีสาเหตุมาจากลักษณะของลุ่มน้ำท่ีทำให้เกิด
watershed leakage ได้ จากการสงั เกตเห็นว่าเส้นแบ่งเขตลุ่มนำ้ C1 ไม่ได้มีลกั ษณะเป็นเสน้ แบ่งหรอื เปน็ เนิน
สูงแต่เป็นท่ีราบเช่ือติดต่อระหว่างห้วย C1 กับห้วย C ซ่ึงเป็นห้วยใหญ่กว่า น้ำจากห้วย C1 อาจไหลซึมออกสู่
ห้วย C บ้างก็ได้ จากการสังเกตเห็นว่าลุ่มน้ำ C1 มีน้ำไหลน้อยมากเมื่อเปรียบเทียบกับลุ่มน้ำ D นอกจากน้ัน
เกิดจาก diurnal fluctuation อีกดว้ ย

15

ในเรอ่ื งที่เกี่ยวกับ runoff duration ก็เชน่ เดียวกัน จากผลการศึกษาโดยใช้ runoff duration curve
เป็นการยืนยันและสนับสนุนในข้อที่ว่า runoff ในลุ่มน้ำเป็นชนิด lateral flow หรือ sub surface flow
มากกว่าเป็น surface runoff และแสดงให้เห็นความแตกต่างของการไหลของนำ้ ระหว่างลุ่มน้ำ D และลุ่มน้ำ
C1 อย่างเห็นได้ชัด C1 จะมี mean daily runoff ที่ต่ำกว่า 5 มม. เพียงร้อยละ 70 และ 5 มม. ของลุ่มน้ำ D
เมอ่ื คิดเป็นปริมาตรแล้ว มีปรมิ าณมากกว่า 5 มม. ของลุ่มน้ำ C1 ถึง 207 ลบ.ม. แสดงว่ามนี ้ำไหลผ่านเข่ือน C1
นอ้ ยมาก เมือ่ เทยี บกับน้ำทไ่ี หลผ่านเข่อื น D

จาก runoff duration curve ท่ีแสดงวัน เวลา การไหลของน้ำเป็นรายปีนั้น จะเห็นได้ว่า การไหล
ของน้ำในแต่ลุ่มน้ำของทุกๆ ปี ค่อนข้างจะมี uniformity คือมีแนวโน้มไปในทางเดียวกัน จะแตกต่างกันบ้าง
ตามการเปลยี่ นแปลงของปริมาณนำ้ ฝนของแต่ละปี

Abstract
In order to determine the relationships between rainfall and runoff characteristics,

stream flow data were collected from 2 of the 120° V-notch weir on C1 and D which were 12
and 14 acres watersheds, and the amount of rainfall were measured from 5 standard
raingages on each watershed, since 1965.

After a 4-year calibrating, 36 mathematical equations were developed from 12 types
of water-year so that the annual runoff of each watershed could be predicted from the
annual rainfall or the annual runoff of the control. These prediction equations were also
tested for validity and accuracy and were found to be fairly sound. However, the calibration
period should be extended 3 to 5 year more in order to obtained the higher correlation
before treatment.

The results of the order runoff characteristics, such as total discharge, flow duration,
runoff as percentage of precipitation, and sedimentation on each watershed were also
presented in the report. The total discharge, as much as 605,085 cubic meters, from the
Kog-Ma watershed will supply to the Ping river each year. The instantaneous runoff was
18.34 area-mm. per day or about 0.138 cms. The streams were classified as perennial stream
and the flow duration were nearly uniformity. The average 46 percent of the annual rainfall
left the watershed as stream flow. Much of the rainfall from large storms reaches the stream
as sub-surface flow or lateral flow and there is no surface runoff from these watersheds
when disturbed. Anyway, before to get the practical results, much more research is needed
to broaden our present knowledge, much more research is needed to broad on our present
knowledge and to improve management on watershed.

16

การศึกษาเบื้องตน้ เกี่ยวกับปรมิ าณน้ำฝนท่ถี ูกสกดั ก้นั โดยเรอื นยอด นำ้ ฝนทตี่ กผา่ นเรอื นยอดลงมา นำ้ ฝนท่ี
ไหลลงมาตามลำตน้ ไม้ และการเคล่อื นยา้ ยธาตุอาหารจากเรอื นยอดลงมาตามลำต้นและชะลา้ งลงมาจาก

ใบไม้ในป่าดิบเขา ลุม่ นำ้ หว้ ยคอกมา้ ดอยปุย เชยี งใหม่
The preliminary study of rainfall interception, throughfall, stemflow and the
movement of elements from tree crown by stemflow and leaf wash in hill evergreen

forest, Kog-Ma watershed Doi Pui, Chiangmai

นพิ นธ์ ตัง้ ธรรม (2513)

การศกึ ษาเกี่ยวกับปริมาณน้ำฝนทีถ่ ูกสกัดกั้นโดยเรือนยอด (interception) น้ำฝนที่ตกผ่านเรอื นยอด
ลงมา (throughfall) น้ำฝนที่ไหลลงมาตามต้นไม้ (stemflow) และการเคล่ือนย้ายธาตุอาหารจากเรือนยอด
ของต้นไม้ลงมาตามลำต้นไม้ และชะลงมาจากใบ ครั้งน้ีได้กระทำในป่าดิบเขา ที่ลุ่มน้ำห้วยคอกม้า ดอยปุย
จังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้ tru-check วัด throughfall 60 เคร่ือง collar วัด stemflow จากต้นไม้ชนิดต่างๆ
จำนวน 28 ชนิด รวม 94 ต้น และวัดปริมาณน้ำฝนสุทธิ (gross rainfall) ด้วยเคร่ืองวัดน้ำฝนแบบมาตรฐาน
16 สถานี รวม 28 เครื่อง จากข้อมูลฝนตก 65 ครั้ง ต้ังแต่วันที่ 7 พฤษภาคม – 24 พฤศจิกายน 2512
มีผลต่างๆ พอสรุปไดด้ ังน้ี

1. ปริมาณน้ำฝนที่ถูกสกัดก้ันโดยเรือนยอดของต้นไม้จะมีประมาณ 6.22% เม่ือมีฝนตกถึง 100
มิลลิเมตร พรอ้ มกันก็จะมีปริมาณน้ำฝนที่ตกผ่านเรอื นยอดลงมา 92.44% และนำ้ ฝนท่ีไหลมาตามตน้ 1.34%
สมการในการคำนวณคา่ ปริมาณน้ำฝนและค่าสัมประสทิ ธิ์ จะเปน็

Th. = 0.933 – 0.9589; r = 0.993
St. = 0.0134 P – 0.0058; r = 0.666
I = 0.0523 P + 0.9829; r = 0.487

2. ร้อยละของสกัดกั้นน้ำของเรอื นยอด เม่ือฝนตกน้อยๆ จะมปี ริมาณแปรปรวนไม่แน่นอน อาจขึ้นอยู่
กับความหนักเบาของฝนและจำนวนวันก่อนหน้าที่ฝนตก รวมท้ังหมอกและละอองเมฆ และเมื่อมีฝนตกหนัก
และมากๆ แล้ว ร้อยละการสกัดกั้นน้ำฝนของเรือนยอดจะลดลงอย่างเห็นได้ชัด และเม่ือฝนตกมากกว่า 30
มลิ ลิเมตรขน้ึ ไป ร้อยละจะคงที่และสมการเสน้ โคง้ สำหรับคำนวณค่ารอ้ ยละการสกดั กนั้ น้จี ะเป็น

% I = 10.15 + 0.67 – 0.01 P2

3. ปริมาณน้ำฝนที่เกาะอยู่ตามผิวใบ ก่ิงก้านของเรือนยอดของต้นไม้ก่อนที่จะมีฝนตกติดตามมา
(antecedent rainfall interception) จะมีความสำคัญต่อร้อยละของน้ำฝนท่ีถูกสกัดก้ันโดยเรือนยอด และ

17

ปริมาณน้ำฝนท่ีจะตกผ่านเรือนยอดลงมามาก ถ้าผิวใบไม่มีน้ำฝนเกาะอยู่เลย จะทำให้ร้อยละ interception
มาก และ throughfall น้อย

4. ธาตุอาหารพวก N และ P ท่ีมากับน้ำฝน (rain water), throughfall, stemflow และ stream
flow มีอยู่น้อยมาก ส่วน K, Ca. Mg, Fe และ Mn ที่มากับ stemflow จะมากกว่าใน throughfall น้ำใน
ลำธาร stream flow และน้ำฝนในท่ีโล่ง (rain water) ตามลำดับ ปรมิ าณธาตุอาหารทกุ ชนิดของน้ำในลำธาร
ท่ีลดน้อยลงไป เนื่องจากกอ่ นที่น้ำ surface runoff และ sub surface runoff จะไหลลงสู่ลำธาร ธาตุอาหาร
ต่างๆ จะถกู ดงึ ไวใ้ นดนิ จงึ เหลอื อยกู่ ับน้ำในลำธารนอ้ ย

5. จากเปอร์เซ็นต์ของน้ำฝนท่ีถูกสกัดกั้นโดยเรือนยอดของป่านี้มีน้อยมาก ดังน้ันน้ำที่จะสูญเสียไป
เนื่องจากขบวนการ evaporation จากน้ำฝนตามเรือนยอดจะมีเพียง 6.22% ของฝนที่ตกในลุ่มน้ำทั้งหมด
จึงสมควรรักษาไว้เป็นป่าต้นน้ำลำธารอย่างย่ิง แต่ควรจะได้มีการศึกษาถึงการใช้น้ำของต้นไม้ในป่าแห่งน้ี
ประกอบการพิจารณาในโอกาสต่อไปดว้ ย

6. สง่ิ ทีค่ วรจะทำการศึกษาเพ่ิมเตมิ ตอ่ ไปเกยี่ วกับเรอื่ งนี้ในอนาคต คอื
6.1 ศึกษาเร่อื งนี้ต่อไปอกี โดนทำการยา้ ย tru-check ทุกคร้ังภายหลังฝนตก เพือ่ ใหไ้ ดข้ ้อมูล

การสกัดก้นั นำ้ ฝนของเรือนยอดถกู ตอ้ งขึ้น
6.2 ความสัมพันธ์ระหว่าง crown diameter และ DBH ต่อ interception, throughfall

และ stemflow ของต้นไม้แต่ละชนิด
6.3 ความสัมพันธ์ระหวา่ ง crown density, % crown cover ต่อปริมาณของ throughfall,

intercwption และ stemflow
6.4 ผลของความหนักเบาและช่วงการตกในวันก่อนถึงในวันต่อมา (antecedent rainfall

interception) และระยะเวลาในกาตกของฝนตอ่ ปรมิ าณน้ำฝนท่ีถูกสกัดกั้นโดยเรือนยอด
6.5 ศึกษาถงึ ความสัมพนั ธ์ระหว่าง stemflow ตอ่ diameter class และ species
6.6 ศึกษาถึงการใช้ปริมาณเคร่ืองวัดน้ำฝน วัด throughfall และจำนวนต้นเพ่ือศึกษา

stemflow หรือการเคล่ือนย้ายเครื่องวัด throughfall ทุกคร้ังภายหลังเก็บข้อมูลแล้ว เพื่อหาทางลดปริมาณ
แต่ให้ไดค้ า่ ทถี่ ูกต้องยง่ิ ขน้ึ

6.7 การศกึ ษาถงึ ลกั ษณะเปลือกตน้ ไม้ตอ่ ปรมิ าณของ stemflow
6.8 การศกึ ษาถึงอิทธิพลของรังสีจากดวงอาทิตย์และกระแสลมเหนือเรือนยอดตน้ ไม้ ต่อการ
สญู เสียนำ้ โดยขบวนการ evapotranspiration
6.9 การหมนุ เวยี นของธาตอุ าหารในระบบนิเวศน์ของป่าอย่างละเอียด

18

Summary
The main object of the study is to determine the amount of rainfall interception.

Stemflow and throughfall as a basis of studying the water loss by the interception of tree
canopies, change of microclimate, water balance and the movement of some elements in
hill-evergreen forest. Ninety four sampling trees were constructed the collars in order to
determine stemflow, throughfall are gained by 60 true-check raingages located under tree
canopies as the methods of Kittredge (1948) and Delfs (1967). Interception is determined by
subtracting total rainfall (gross-rainfall) with stemflow and throughfall. Regression equations
and regression co efficiencies obtained from 65 storms rainfall (on May – November 1969)
are as follows;

Th. = 0.933 P – 0.9589 = 92.44% of storm rainfall; r= 0.993
St. = 0.0134 P + 0.0058 = 1.34% of storm rainfall; r= 0.666
I. = 0.0523 P + 0.9829 = 6.22% of storm rainfall; r= 0.487
Curvilinear regression equation and its co efficiencies correlation between percentage
of interception and amount of precipitation area: -% I = 10.15 + 0.67 P – 0.01P2; R = 0.22;
rp.p2 = -0.31 and rp2.p = 0.27
Rain water from 3 raingages located in open field; 19 samplings throughfall; 18
samplings stemflow of 18 species and 3 samplings streamflow above 3 dams, in Kog-Ma
watershed were analyzed the amount of nutrients in laboratory. The average amounts of
elements are as follow;

Location element content (ms/1)
N P K Ca Mg Fe Mn
Rain water Tr. Tr. 0.128 0.250 0.010 0.004 0.002
From tree crown by leaf wash Tr. Tr. 4.940 1.630 0.493 0.996 0.032
From tree crown and stream by Tr. Tr. 6.826 1.620 0.507 1.148 0.084

stemflow Tr. Tr. 0.930 1.290 0.156 0.025 0.001
From streamflow above dams

Both of these linear and curvilinear regression equations and the amount of
elements content are only the preliminary observation, obtained from the first year of the
investigation. For the best results, the further data collection, and adding more sample must
be contributed in the study.

19

อิทธพิ ลของความหนาแนน่ ของเรอื นยอดทม่ี ีต่อการสูญเสียดินและน้ำในปา่ ดิบเขา
Effect of crown cover or surface runoff and erosion in hill evergreen forest

นิวัติ เรอื งพานิช
รายงานวนศาสตรว์ ิจยั เลม่ ท่ี 13, มิถนุ ายน พ.ศ. 2514

การศึกษาเรื่องอิทธิพลของความหนาแน่นของเรือนยอดที่มีต่อการสูญเสียดินและน้ำน้ี ได้ทำการ
ทดลองในบริเวณปา่ ดบิ เขา ดอยปุย จังหวัดเชียงใหม่ แปลงทดลองท้งั หมดมีอยู่ 12 แปลงตัวอยา่ ง มีความลาด
ชันร้อยละ 20-25 ได้ทำการตัดเรือนยอดของไม้เหนือแปลงทดลอง ให้แปลงทดลองคู่หนึ่งๆ มีความหนาแน่น
ของเรือนยอดเท่ากับ 20-30, 40-50, 50-60, 60-70, 70-80 และ 80-90 เปอร์เซ็นต์ วิธีการหาเปอร์เซ็นต์
ความหนาแนน่ ของเรือนยอดของต้นไม้นั้น ไดใ้ ช้วิธีการของ Hossain (1969) ได้ทำการวัดและเกบ็ ตัวอย่างน้ำ
และตะกอนระหว่างฤดูฝนต้ังแต่เดือนกรกฎาคม ถึง พฤศจิกายน พ.ศ. 2513 ความหนักเบาของฝน (rainfall
intensity) ระยะเวลาท่ีฝนตก (rainfall durations) และความหนาแน่นของเรือนยอด นอกจากนั้นได้เก็บ
ตัวอย่างดินจากแปลงทดลองเพ่ือหา bulk density หา texture โดยใช้ hydrometer, หา dispersion ratio
ดว้ ยวิธกี ารของ Middleton (1930) ผลการศึกษาพอสรปุ ไดด้ ังน้ี

1. จากการวิเคราะห์ดนิ ปรากฏว่าดินทุกแปลงตัวอยา่ งไม่มีความแตกตา่ งอย่างมีนัยสำคญั คือ มี bulk
density อยู่ระหว่าง 0.43 – 0.72 texture ส่วนมากเป็น loamy sands และ dispersion ratio ทุกแปลงมี
คา่ เกนิ 10 แสดงวา่ เปน็ ดนิ erosive

2. การสูญเสียดินและน้ำจะเพิ่มขึ้นถ้าปริมาณฝนตกเพ่ิมมากข้ึน ปริมาณฝนตกต้ังแต่ 10 มม. ขึ้นไป
ถึงทำให้เกิดการสูญเสียดินระหว่างฤดูฝน ดินมักอิ่มตัวไปด้วยน้ำ ความสามารถในการดูดซับน้ำของดินมิได้
สูงสุด เทียบได้เท่ากับปริมาณฝนตก 5 มม. และได้สร้างสมการแสดงความสัมพันธร์ ะหว่างการสูญเสียดนิ และ
นำ้ ตอ่ ปริมาณนำ้ ฝนจำนวน 12 สมการ

3. การสูญเสียดินและน้ำมีความสัมพันธ์เป็นปฏิภาคกลับกับความหนาแน่นของเรือนยอด และการ
สูญเสียท้ัง 2 อย่าง จะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เม่ือความหนาแน่นของเรือนยอดต่ำกว่าร้อยละ 70 แต่ถ้าหากมี
ความหนาแนน่ ของเรือนยอดรอ้ ยละ 70 หรอื มากกวา่ น้นั อัตราการสูญเสยี ดินและน้ำเกอื บจะคงที่

4. การสูญเสียดินจะมีความสัมพันธ์โดยตรงกับการสูญเสียน้ำ และความสัมพันธ์เป็นไปในรูปของ
curvilinear การสูญเสียน้ำที่ไหลบ่าตามหน้าดิน 1 ลบ.ม.ต่อเฮกแตร์ จะทำให้เกิดการสูญเสียดิน 3 กก.ต่อ
เฮกแตร์

5. ปริมาณการสูญเสียดินและนำ้ จะเพ่มิ ข้ึนถ้าฝนตกหนักข้ึน โดยเฉพาะอัตราการตกของฝนท่ีแรงกว่า
20 มม. ต่อชวั่ โมง และความหนาแนน่ ของเรือนยอดต่ำกวา่ ร้อยละ 70 อัตราส่วนระหวา่ ง rainfall intensities
ท้งั 3 ระดับ คือ 0-10, 10-20 และมากกว่า 20 มม.ตอ่ ช่ัวโมง กับค่าสะสมของตะกอนเท่ากบั 1:4:8 และกับค่า
สะสมของการสญู เสียนำ้ เท่ากบั 1:2:3.5

20

6. ปริมาณการสูญเสียดนิ และน้ำจะเพ่มิ ขึ้นถ้าฝนตกระยะเวลานานข้ึน โดยเฉพาะความหนาแน่นของ
เรือนยอดตำ่ กว่ารอ้ ยละ 70 และฝนตกนานกวา่ 60 นาที แล้วการสญู เสียดนิ และนำ้ เพม่ิ ข้ึนอยา่ งรวดเรว็

จะเห็นได้ว่าความหนาแน่นของเรือนยอดมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับการสูญเสียดินและน้ำ แต่
ผลรวมของการสูญเสยี ดนิ และนำ้ ในป่านไ้ี มร่ ุนแรงนกั ถงึ แม้วา่ การสูญเสยี ท้ัง 2 อยา่ งจะมีความแตกตา่ งกันมาก
ภายใต้ rainfall intensities และ duration ต่างๆ กัน ท้ังน้ีอาจเนื่องมาจากในป่านี้มีอินทรียวัตถุสูง bulk
density ต่ำ และมี litter มาก ซ่ึงเป็นคุณสมบัติที่ช่วยให้น้ำไหลซึมลงดินได้มากและลดการสูญเสียดินให้
นอ้ ยลง

สรุปไดว้ ่า ในการจัดการป่าไมบ้ รเิ วณตน้ นำ้ ลำธารหรือท่ีแหง่ ใดก็ตาม ถ้ามีวตั ถปุ ระสงค์เพ่ือการอนุรกั ษ์
ดินและน้ำแลว้ จะต้องใหม้ ีความหนาแน่นของเรอื นยอดอย่างน้อยไม่ควรตำ่ กวา่ รอ้ ยละ 70

Summary and Conclusion
The summary of the effects of crown cover on surface runoff and soil erosion was

conducted in the hill evergreen forest on Doi Pui, Chiangmai province, at an elevation of
1,350 meters. 12 rectangular sample plots were located on the 20-25 percent southwest-
facing slope. Each sample plots were eighty square meters up and down hill, 4 meter wide
and 20 meters long. The crown cover of sample plots were treated in various levels ranging
from 20-30, 40-50, 50-60, 60-70, 70-80 and 80-90 percent crown cover. Two sample plots
were established for each level. The procedure to determine the values of percent crown
cover was based on the description by Hossain (1969). Runoff and erosion in the sample
plots were measured from July – November 1970. The data of surface runoff and erosion
were evaluated in relation to rainfall intensities, storm durations and densities of crown
cover. Soil samples were collected and analyzed for soil texture, dispersion ratio and bulk
density. Bulk densities were determined by using the ration between oven-dry weight and
volume of soil. Soil textures were obtained by using the hydrometer method, the procedure
for determining dispersion ratios was based on the description by Middleton (1930). The
results were as follow;

1. The soil properties in the study plots showed on significant difference. Bulk
densities were very low, ranging from 0.43 – 0.72. Dispersion ratios were greater than 10 and
indicated erosive soils. The textures of soil were mostly loamy sands.

2. Surface runoff and erosion increased with increasing amounts of rainfall. The
minimum amount of rainfall to cause soil erosion was 10 mm. During the rainy season, the
surface runoff occurred at the beginning of the rainy storm. The maximum infiltration
capacity and soil water absorption were equivalent to 5 mm. of rainfall.

21

3. Surface runoff and erosion varied inversely with percent crown cover and
increased rapidly when the percentages of crown cover were below 70 percent. When
percent crown cover was 70 percent or greater, the rates of surface runoff and erosion were
nearly constant.

4. The sediment varied directly with surface runoff; the relation between the two
was curvilinear. One cum per ha Of surface runoff caused 3 kg per ha. of eroded sediment.

5. The quantities of eroded material and surface runoff increased with increasing
rainfall intensity. Surface runoff and erosion increased rapidly when rainfall rates exceeded
20 mm. per hour and crown cover was reduced below 70%. The ratio of rainfall intensities,
0-10, 10-20 and >20 mm. per hour and cumulative sediment was 1:4:8 and was 1:2:3.5
between rainfall intensities and cumulative surface runoff.

6. Surface runoff and soil erosion increased with increasing rainfall duration. As crown
cover were reduced below 70% the cumulative effect of surface runoff and soil erosion
increased markedly, particularly with the 60-minute and longer rainfall duration.

There was a close and direct relationship between crown cover and soil erosion or
surface runoff. But crown cover had little effect on the total volume of surface runoff and
erosion, although the surface runoff and eroded soil different considerably under various
rainfall intensities and durations. This was believed to be due to the presence of litter at the
ground surface, the high organic matter content and low volume weight of the surface soil.
These factors helped in preserving soil moisture by increasing the rate of infiltration and
decreasing runoff and consequent soil loss.

It was concluded that specific crown cover required for minimizing surface runoff and
erosion, and for forest management in the area for watershed protection purposes, should
be at least 70% and it combination with minimum bare soil openings. However, to provide
sufficient protection from raindrops, the plant cover must be dense and continuous.

22

ปจั จัยสำคัญท่มี ีผลต่อความคงทนของดินปา่ ดิบเขา บรเิ วณดอยปยุ จงั หวัดเชยี งใหม่
Important factors affected to soil stability of hill evergreen forest at Doi Pui, Chiangmai

เกษม จันทร์แกว้ และ วชิ าญ ตนั นุกิจ
การวจิ ัยลุ่มนำ้ ที่ห้วยคอกมา้ เลม่ ที่ 12, พฤษภาคม พ.ศ. 2516

การศึกษาปัจจัยสำคัญท่ีมีส่วนส่งเสริมความคงทนของดินโดยตรง ได้ทำต่อดินป่าดิบเขาธรรมชาติ
บริเวณเทือกเขาดอยปุย อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เดือนเมษายน-พฤษภาคม พ.ศ. 2515 โดยทำการขุด
เก็บตัวอย่างดินที่ลึก 0-20 เซนติเมตร จากลักษณะความลาดชัน 4 ระดับ คือ 0-10, 11-20, 21-30 และ
มากกว่า 30 องศา จำนวนทั้งหมด 89 ตัวอย่าง ทำการวิเคราะห์ปริมาณกรวด ปริมาณอนุภาคดินเหนียว
ปริมาณอินทรียวัตถุ ปริมาตรรวม ปฏิกิรยิ าของดิน (pH) และอัตราการแตกกระจาย (dispersion ratio) แล้ว
ทำการวิเคราะห์ทาง linear regression และ multiple regression เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย
ทง้ั หมดน้ี จากปจั จัยเดียว สอง สาม และรวมทุกปจั จัย ต่อคา่ dispersion ratio ในการประเมินหาบทบาทของ
ปจั จยั นนั้ ๆ ตอ่ ความคงทนของดนิ ผลการวจิ ัยพบว่า

1. ปรมิ าณอนุภาคดินเหนียวเปน็ ปัจจยั ทม่ี บี ทบาทตอ่ สมรรถนะความคงทนของดินทสี่ ำคญั ที่สดุ การมี
ดินเหนยี วในเนอื้ ดนิ มาก จะทำให้ดนิ มีความคงทนของดนิ ดีข้นึ

2. ปริมาณอินทรียวัตถุของดินที่ลึกเพียง 0-20 เซนติเมตร มีความสัมพันธ์ในทางลบกับความคงทน
ของดนิ การมีปริมาณอินทรียวัตถุมากทำให้ดนิ งา่ ยตอ่ การพังทลายมากขึ้น เพราะอนิ ทรียวัตถุในป่าดิบเขาแห่ง
น้ีเป็นอินทรียวัตถุท่ีไม่มีประสิทธิภาพในการช่วยเกาะยดึ เมด็ ดิน เป็นส่วนท่ีไปทำลายโครงสรา้ งของดินให้แตก
กระจายง่าย เน่อื งมาจากอณุ หภมู เิ ยน็ ทำใหก้ ิจกรรมของจุลินทรียใ์ นดนิ นนั่ เอง

3. ปริมาณกรวดท่ีปะปนในดินมีบทบาทเป็นอันดับสาม ซึ่งความจริงแล้วกรวดในดินที่ลึก 0-20
เซนติเมตรของป่าดิบเขาแห่งน้ีมีปรมิ าณน้อย แตม่ ีแนวโนม้ ท่ีจะทำใหค้ วามคงทนของดนิ เส่อื มลงถา้ มีกรวดมาก
ขึ้น สว่ นค่าความหนาแน่นรวมก็มีแนวโน้มเช่นเดียวกับปริมาณกรวดคือ ถ้าค่าปรมิ าณรวมมากขึน้ จะทำให้ดิน
ง่ายต่อการพังทลายมากขึ้น แต่จากผลการทดลองพบว่าค่าความหนาแน่นรวมมักมีค่าต่ำกวา่ 1 การที่ไม่แสดง
ลักษณะความทนทานต่อการพังทลายเพราะมีปริมาณอินทรียวัตถุที่ไม่มีประสิทธิภาพต่อการเกาะยึดเม็ดดิน
นนั่ เอง สำหรบั ปฏกิ ิรยิ าของดนิ (pH) มผี ลเช่นเดียวกับความลาดชัน คือ ไม่แสดงความแตกตา่ งทางความคงทน
เลย

4. บทบาทของปัจจัยรวมหลายๆ ปัจจัย จะมีผลทำให้เกิดความสัมพันธ์เก่ียวกับความคงทนเพ่ิมขึ้น
กล่าวคือการเพิ่มปัจจัยที่ควบคุมการพังทลายของดินจากหนึ่งเป็นสอง สาม และส่ี ความสัมพันธ์จะเพิ่มขึ้น
เร่อื ยๆ

23

Abstract
The important factors affected to soil erodibility were determined from 0-20 cm

depth of natural hill evergreen forest over Doi Pui Chiangmai Province in the North of
Thailand. Four various slope of 0-10, 11-20, 21-30 and over 30 degrees represented to the
sites of 89 soil samples for analyzing the dispersion ratio, bulk density, organic matter, clay
content, amount of gravel and pH value. The whole experiments resulted that topographic
slopes did not influence to the variation of all variables of soil properties as well as the
values of dispersion ratio. The reaction from more variables furnished high efficiency in
aggregation to soil stabilization. Although, there were high amount of organic matter in the
hill evergreen forest, they provided in non-colloid from cementing agent because of high
moisture and low temperature. This would bring the opposite relation between amount of
organic matter and dispersion; in other word, high values of organic content trended to be
low soil stability. No difference was evident for pH to both the dispersion ratio and slope
conditions that could have been ignored for determination of soil erodibility for any hill
evergreen soils on high mountainous areas.

24

การเสือ่ มคณุ สมบัตขิ องดินปา่ ดบิ เขาภายหลังถกู แผว้ ถางในชว่ งเวลาตา่ งกนั บริเวณดอยปยุ เชียงใหม่
Deterioration of soil properties after different periods of clearing
at Doi Pui hill3evergreen forests, Chiang Mai

ประชมุ สันทดั การ (2516)

การศึกษาการเสื่อมคุณสมบัติของดินในป่าดิบเขา ภายหลังถูกแผ้วถางในช่วงเวลาต่างกัน ในพ้ืนที่
ดอยปุย จงั หวัดเชียงใหม่ ท้ังทางฟิสกิ ส์และทางเคมี ซ่ึงได้แก่ เน้ือดิน ปริมาณกรวด ความหนาแน่นรวม ความ
หนาแน่นของส่วนท่ีเป็นของแข็ง ความพรุนของดิน ปฏกิ ิริยาของดิน อินทรียวัตถุ และปริมาณธาตอุ าหารพืช
P K โดยทำการศึกษาในบริเวณป่าท่ีมีช้ันความลาดชันต่างกัน 3 ระดับ คือ 0-10, 11-20 และมากกว่า 20
องศาขน้ึ ไป ในบริเวณท่ีเป็นป่าดิบเขาธรรมชาติ ปละปา่ ที่ถกู แผ้วถาง อายุ1, 2, 3, 4, 5, 7, 10 และ 15 ปี ท่ลี ึก
0-50 เซนติเมตร รวมท้ังการศึกษาคุณสมบัติอย่างเดียวกันในชั้นหน้าตัดดินท่ีลึกต้ังแต่ 0-180 เซนติเมตร ใน
บริเวณป่าดิบเขาธรรมชาติและพื้นที่ถูกแผ้วถางนานปีต่างกัน ท่ีคาดหมายไว้ว่าจะสามารถมองเห็นความ
แตกต่างของคุณสมบัติของดินดังกล่าว ได้อย่างเด่นชัดอีกด้วย ในบริเวณที่ถูกแผ้วถาง 5, 10 และ 15 ปี โดย
สามารถสรปุ ผลการศกึ ษาได้ดังน้ี

1. เนื้อดิน ในที่ลาดชันต่างกัน ป่าถูกแผ้วถางนานปีต่างกันกับป่าดิบเขาธรรมชาติ หรือแม้แต่ในช้ัน
หน้าตัดของดิน จะมีเนื้อดินในเกณฑ์ท่ีค่อนข้างสม่ำเสมออยู่ในช้ันเน้ือดินเป็น sandy clay loam แต่จะ
แตกต่างกันออกไปบ้างเป็น sandy loam ในเฉพาะบริเวณที่ถูกแผ้วถางนานถึง 10 และ 15 ปี ที่ระดับชั้น
ความลึกประมาณ 120 เซนติเมตร ขึ้นไป ผลความแตกต่างดังกล่าวเนื่องมาจากการกดั ชะของดินและการชะ
ล้างอนุภาคดินเหนยี วในชน้ั หน้าตดั ของดนิ

2. ปริมาณกรวดในที่ลาดชันต่างกัน และในพื้นท่ีต่างๆ กัน ตลอดจนในช้ันหน้าตัดของดิน ปรากฏว่า
เมอื่ คดิ แต่เฉพาะที่ลาดชนั และพื้นท่ีต่างกนั ที่ลกึ 0-50 เซนตเิ มตรไม่แตกต่างกนั แตเ่ มื่อคิดในชน้ั หน้าตัดของดิน
ในระหว่างพ้ืนทมี่ ีความแตกต่างกนั ทร่ี ะดับความเช่ือมมั่นร้อยละ 95 ชี้ให้เห็นว่า การแผ้วถางปา่ ทำไรเ่ ลื่อนลอย
และละท้ิงไวย้ ิ่งนานปี ยิ่งทำใหม้ ีปริมาณกรวดเพ่ิมมากข้ึนในชั้นหนา้ ตัดของดนิ ซ่ึงเป็นการเสือ่ มคุณสมบัตขิ อง
ดินอยา่ งหนึง่ กบั ทั้งยังมีการสญู เสยี หนา้ ดินในชว่ งระยะเวลา 15 ปี ถงึ ประมาณ 70 เซนติเมตร อกี ด้วย

3. ค่าความหนาแน่นรวมในบริเวณท่ีถูกแผ้วถางทำไร่เล่ือนลอย ย่ิงสูงขึ้นและมองเห็นความแตกต่าง
ได้อย่างเด่นชัดเมื่อเลยระยะเวลา 5 ปี ไปแล้ว ถึงแม้ว่าจะมีการปรับปรุงให้ดีขึ้นได้เองบ้างในสภาพธรรมชาติ
แต่ในกรณีที่สภาพพื้นท่ีปกคลุมด้วยหญ้าคา หญ้าพง แล้วความหนาแน่นรวมมิได้ดีขึ้นเท่าที่ควร แต่ยังคง
ช้ีใหเ้ ห็นการเสอ่ื มคณุ สมบัตขิ องดินให้เหน็ ได้อย่างชดั เจนอยนู่ นั่ เอง

4. ความหนาแน่นของส่วนที่เป็นของแข็งของดินสงู ข้นึ เนอ่ื งจากอินทรียวัตถุหมดไปจากการสลายตัว
ตามธรรมชาติ กลายเปน็ ธาตอุ าหารของหญ้าพงและหญา้ คา และในช่วงภายหลังจาก 5 ปี ไปแล้ว จะมองเห็น
ความแตกต่างได้อย่างชัดเจน อีกประการหนึ่งมีการสะสมอนุภาคของหินแร่ท่ียังสลายตัวไม่หมด และมีขนาด
เทา่ กบั ขนาดอนภุ าคของทรายอยู่เป็นจำนวนมากในบริเวณปา่ ทถ่ี ูกแผว้ ถางทงิ้ ไวน้ านปี

25

5. ความพรุนของดิน การแผ้วถางทำลายป่ายิ่งนานปี ยิ่งทำให้ความพรุนของดินน้อยลงทุกที
จนมองเห็นไดช้ ัดว่าจะมีความพรุนน้อยท่ีสุดในชว่ งระยะ 5-7 ปี แม้ว่าในระยะเลย 10 ปี ไปแล้ว คา่ ความพรุน
ของดนิ จะดีขน้ึ บ้างเลก็ น้อย เนือ่ งจากการมปี ริมาณกรวดทรายเพม่ิ ขึ้นในเนือ้ ดิน

6. ปฏิกิริยาดิน การแผ้วถางป่าทำให้ปฏิกิริยาของดินผันแปร โดยมีแนวโน้มทำให้ค่า pH สูงข้ึนในปี
แรกถึง 5.8 และค่อยลดลงจนถึงปีที่ 7 มคี ่า pH สูงขึ้นอีกเป็น 5.8 และกลับลดลงอีกเม่ือท้ิงไว้นานปีต่อไป แต่
ทั้งนคี้ ่า pH ในช่วงหลงั ๆ ยง่ิ มีค่าต่ำกว่าในปา่ ดบิ เขาตามธรรมชาติ

7. ปริมาณอินทรียวัตถุในดินท่ลี ึก 0-50 เซนติเมตร ในบริเวณพื้นที่ป่าดิบเขาธรรมชาตแิ ละในพ้ืนทีถ่ ูก
แผว้ ถางนานปีต่างกัน มีปรมิ าณแตกตา่ งกนั อย่างเห็นได้ชดั กล่าวคอื ย่ิงถางป่าท้ิงไวน้ านตั้งแต่ 5 ปี ข้ึนไป และ
โดยเฉพาะเป็นบริเวณท่ีปกคลุมด้วยหญ้าพงและหญ้าคา ปริมาณอินทรยี วัตถุมิได้กลับคืนดีมาได้แต่อย่างใด มี
ปริมาณลดน้อยลงตามความลึกจากชั้นผิวดินท่ีเพิ่มข้ึนอีกด้วย ในขณะท่ีจากการเปรียบเทียบปริมาณ
อนิ ทรยี วัตถทุ ้ังหมดในช้นั หนา้ ตดั ของดนิ ในพ้นื ทตี่ า่ งกนั ไม่พบความแตกตา่ ง ซ่งึ ชใ้ี ห้เหน็ วา่ การแผว้ ถางปา่ ทำไร่
และท้งิ ไวน้ านปี โดยมิไดม้ สี ังคมป่าไม้ขึ้นทดแทน จะทำใหด้ ินเส่ือมคุณภาพ โดยมีปริมาณอนิ ทรยี วตั ถุนอ้ ยลง

8. ฟอสฟอรัสในดิน ในระหว่างท่ีลาดชันและพ้ืนที่ต่างกัน ท่ีลึก 0-50 เซนติเมตร ไม่มีความแตกต่าง
กัน แต่เมอื่ เปรียบเทียบปรมิ าณธาตฟุ อสฟอรสั ทั้งหมดในชั้นหน้าตัดของดินในระหวา่ งพ้ืนที่ต่างกัน ปรากฏว่ามี
แนวโน้มท่ีทำให้มีปริมาณธาตุฟอสฟอรัสท่ีสกัดได้สูงขึ้น แต่ทั้งนี้ เป็นเพราะความบังเอิญมากกว่า กล่าวคือ
สภาพปัจจัยส่ิงแวดลอ้ มอย่างอื่น ทำให้มีปริมาณฟอสฟอรัสเพิ่มข้นึ หรือสามารถใช้ฟอสฟอรัสที่มีอยู่แล้วในดิน
ไดม้ ากขนึ้ ในขณะท่ีคุณสมบัติของดินทส่ี ำคัญๆ อย่างอนื่ ได้เส่ือมทรามลงอยา่ งเหน็ ได้ชัด

9. ปริมาณโปตสั เซยี มในดิน ไม่ว่าเป็นการพิจารณาหาความแตกต่างในระหว่างท่ีลาดชัน สภาพพ้ืนที่
ตา่ งกันที่ลึก 0-50 เซนติเมตร หรือในชน้ั หนา้ ตดั ของดนิ ในสภาพพื้นท่ีต่างกัน มีความแตกต่างกันทุกกรณี โดย
ในทบ่ี าดชนั สูงจะมปี รมิ าณโปตัสเซียมมากและลดลงตามความลาดชนั ที่ลดนอ้ ยลง สำหรบั ในระหวา่ งพน้ื ทที่ ีล่ ึก
0-50 เซนตเิ มตร น้ัน ในป่าถกู แผว้ ถางอายุ 4 ปี มีปรมิ าณมากทส่ี ดุ เฉลี่ยประมาณ 312.67 ppm และในป่าดิบ
เขาธรรมชาติเฉล่ียน้อยทส่ี ดุ 93.67 ppm

สำหรับปริมาณธาตุโปตัสเซียมในชั้นหน้าตัดของดินจะมีปริมาณแตกต่างกันตามช้ันของความลึกท่ี
เพิ่มขน้ึ จากชั้นผิวดิน เม่ือเปรยี บเทียบในระหว่างชั้นหน้าตัดของดนิ อายุต่างกันกับปา่ ดิบเขาธรรมชาติ โดยคิด
เป็นจำนวนโปตัสเซียมท้ังหมดในช้ันหน้าตัด ป่าถูกแผ้วถางอายุ 10 ปี มีปริมาณมากที่สุดเฉลี่ยประมาณ
148.22 ppm ซึ่งในป่าดิบเขาธรรมชาติที่สุดเช่นเคน คือ 76.11 ppm ซึ่งสาเหตุของความแตกต่างดังกล่าว
เนือ่ งจากปฏิกิริยาของดนิ และปรมิ าณอนภุ าคดนิ เหนียวในดนิ

จากผลการศึกษาดังกล่าว ช้ีให้เห็นว่า การแผ้วถางป่าทำไร่เล่ือนลอย ทำให้คุณสมบัติท้ังทางฟิสิกส์
และทางเคมีของดินเส่ือมลง ซึ่งเท่าท่ีอนุมานได้คือเน้ือดิน ปริมาณกรวด ความหนาแน่นรวม ความหนาแน่น
ของส่วนท่ีเป็นของแข็ง ปฏิกิริยาของดิน และปริมาณอินทรียวัตถุ ส่วนปริมาณฟอสฟอรัสและโปตัสเซียมมี
แนวโน้มทจ่ี ะมีมากข้ึน แต่ท้งั น้ีถือว่าเป็นเพราะความบงั เอิญที่ทำใหม้ ีสิ่งแวดล้อมเหมาะสม ในขณะทค่ี ุณสมบัติ
ท้งั ทางฟสิ ิกส์และเคมอี ย่างอื่น ตลอดจนสภาพพ้นื ท่ีโดยท่วั ไปสว่ นใหญ่เส่อื มโทรมลงไปแล้วอยา่ งเห็นไดช้ ดั

26

Abstract
The soil deterioration was studied on the natural hill3evergreen forest and the areas

after shifting cultivation for 1, 2, 3, 4, 5, 7, 10 and 15 years over Doi Pui in Chiang Mai, From
April to June 1972. Soil samples were from 0-50 cm soil depth on slope range of 0-10, 11-20
and over 20 degrees for determining some physical properties – texture, gravel, bulk density,
particle density and total porosity; also chemical properties-pH, organic matter, phosphorus
and potassium.

Results found that physical properties of soil showed more deterioration than
chemical indication. Soil texture gradually changed from sandy clay loam for the natural
forest and early clearing to sandy loam for the longer period of shifting cultivation.
Percentage of gravel increased in the same manner of bulk and particle densities, but total
porosities; decreased.

Soil pH indicated very little variation by decreasing acidity in the first year of clearing;
slowly increasing acidity in 3-4 years of shifting cultivation; decreasing values again in 5-7
years; finally showing more acidity than the natural hill-evergreen forest in the longer period
of 10-15 years. Organic matter in soils deteriorated evidently after shifting cultivation up to 7
years then tended to increase after longer deforestation. There was little variation for
potassium content than phosphorus, but both elements inclined to increase after 5-10 years
of changing the environment.

27

การหาสมรรถนะการซึมได้ของนำ้ ผา่ นผิวดินปา่ ดบิ เขา บริเวณเทือกเขาเขาดอยปุย เชียงใหม่
Determination of Infiltration capacity of Hill-Evergreen Soil at Doi Pui, Chiangmai

จรินทร์ นาคศิริ (2516)

การทดลองหาสมรรถนะการซึมได้ของน้ำผ่านผิวดินป่าดิบเขา ลุ่มน้ำห้วยคอกม้า ดอยปุย เชียงใหม่
โดยใช้ modified Hirata’s infiltrometer for slope area กับแปลงทดลองที่ผิวดินมีความลาดชัน 4 ระดับ
คือ 0-25, 26-50, 51-75 และ 76-100 เปอร์เซ็นต์ ภายใต้สภาวะความช้ืนเดิมของดิน 3 สภาวะ เพื่อศึกษาถึง
ผลของความลาดชันของผิวดิน และความช้ืนของดินต่อสมรรถนะการซึมได้ ท่ีได้รายงานไวใ้ นวิทยานิพนธ์นีมี
ผลการทดลองพอสรปได้ดงั นค่ี อื

1. สมการการซึมได้ของ Horton ได้ใช้ได้ดีมากกับผลการทดลองนี้ โดยที่ตัวคงท่ี (k) ของสมการ
สำหรับระดับความลาดชันหนึ่งๆ เพิ่มข้ึนตามระดับความชื้นเดิมของดินและมีแนวโน้ม ท่ีจะข้ึนกับระดับ
ความช้ืนเดิมของส่วนต่าง ๆ ของโปรไฟล์ของดินและสมบัติทางฟิสิกสอื่น ๆ ของดินในโปรไฟลมากกว่าความ
ลาดชันของผวิ ดนิ

2. สมรรถนะการซึมได้ในทุกกรณีสูงท่ีสุดเม่ือเร่ิมมีน้ำไหลบ่าหนาดิน แล้วค่อยๆ ลดลงในอัตราท่ี
น้อยลงโดยลําดบั เม่ือการซึมได้ดาํ เนินต่อไปจนกระทัง่ คงท่หี รือเกอื บคงท่ใี น

3. ความลาดชันของผิวดินเร่ิมมผี ลที่สาํ คัญต่อสมรรถนะการซึมไดห้ ลังจากทกี่ ารซึมได้ ดําเนินไปแล้ว
1/4 – 3 ชม. ขึ้นอยู่กับสภาวะความชื้นเดิมของดิน เม่ือความลาดชันของผิวดินเพิ่มขึ้นสมรรถนะการซึมไดม้ ี
แนวโน้มลดลงโดยเฉพาะเมื่อความชื้นเดิมของดินสงู

4. เมื่อความชื้นเดิมของดินมากข้ึน สมรรถนะการซึมได้ลดลง และการลดลงของสมรรณะการซึมได้
เพ่อื การซึมได้ เพ่ือปรบั ตัวเข้าหาคา่ ที่คงที่น้ันใชเ้ วลาน้อยลงเม่ือความช้นื ของดินมากขึ้น อัตราการซมึ ได้ทีค่ งที่
สำหรับระดับความลาดชันต่างๆ ของผวิ ดินแตกตา่ งกันน้อยมากไม่ว่าความชืน้ เดมิ ของดนิ จะเปน็ เทา่ ใด

28

Abstract
Infiltration capacity of hill-evergreen soil was studied with the use of modified

Hirata's infiltrometer for slope area at Kog-Ma watershed, Doi Pui, Chiangmai Province.
Twelve experimental sites were selected to represent four slope classes, namely, 0-25, 26-
50, 51-75 and 76-100% , with three sites for each slope class. Three infiltration runs were
conducted on each site allowing two hours for moisture redistribution following the first run
and twenty hours following the second run. Moisture content distribution was determined at
3 0 cm depth interval up to 9 0 cm depth before each run with the use of gravimetric
method for the soil surface and a neutron moisture meter for greater depths.

Horton's infiltration equation was determined for each slope class and each initial
soil moisture condition and found to describe the observed data satisfactorily. The constant
k in Horton's equation increased with initial soil moisture content but tended to be
independent of slope of the soil surface. The effect of slope on infiltration capacity began to
show at ¼ - 3 hours following occurence of runoff; the higher the initial soil moisture, the
sooner the effect of slope began. In general, infiltration capacity at a given time tendad to
dacrease with increasing slope. Initial soil moisture content appeared to have more
important effect than slope on the infiltration capacity during the period of adjustment to a
final constant capacity but did not significantly affect the final constant capacity for a given
slope class. During this period of adjustment, infiltration capacity decreased with increasing
initial soil moisture content. Initial infiltration capacity decreased and time of adjustment to
final constant capacity decreased with increasing initial soil moisture content.

29

สมรรถภาพการพงั ทลายของดินทสี่ มั พนั ธ์กับสมบัตทิ างฟสิ ิกสแ์ ละเคมีบริเวณป่าดบิ เขา ดอยปยุ เชยี งใหม่
Soil Erodibility as related to Its Physical and chemical properties
at Doi Pui, Hill-Evergreen Forest, Chiengmai

วชิ าญ ตนั นกุ จิ (2516)

การทดลองหาสมรรถภาพการพังทลายของดินของป่าดิบเขา บรเิ วณดอยปุย จังหวดั เชยี งใหม่ได้เลือก
เก็บดินท่ีลกึ 0-20 เซนติเมตร จำนวนท้ังหมด 89 ตัวอย่างจากลักษณะความลาดชัน 4 ช่วงคือ 0-10, 11-20,
20-30 และ มากกว่า 30 องศา โดยทำการวเิ คราะห์หาความหนาแนน่ รวม ปริมาณอนภุ าคดนิ เหนยี ว ปริมาณ
อินทรียวัตถุปริมาณกรวด และ pH ท้ังนี้เพ่ือสร้างสมการในการประเมินผลการพังทลายของดิน พร้อมทั้ง
อิทธพิ ลของปจั จัยเหลา่ นี้ ผลปรากฏวา่

1. การประเมินผลค่าของสมรรถภาพการพังทลายโดยใช้ค่าของ Dispersion Ratio การใช้ค่า
variables หลายตัวจะทำให้การประมาณค่าได้ดีกว่าใช้ variables น้อย เพราะจาการวิเคราะห์พบว่าค่าของ
correlation coefficient จะลดลงเมื่อใช้ค่า variables ลดลง สำหรับป่าดิบเขาธรรมชาติน้ัน ต้องใช้
variables ที่เป็นความหนาแน่นรวม ปริมาณอินทรียวัตถุ ปริมาณอนุภาคดินเหนียว และกรวดท้ังหมดน้ี
ร่วมกนั จะใหค้ า่ ถูกตอ้ งดกี ว่าการใช้ variables อย่างใดอยา่ งหนึ่ง หรือสองอย่างรว่ มกัน

2. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับสมรรถภาพการพังทลายของดินมากที่สุดคือปริมาณอนุภาคดินเหนียว
กล่าวคือ ถ้าปริมาณดินเหนียวมีมากแล้วจะทำให้ดินมีความคงทนดีกว่าปริมาณต่ำ ปริมาณอินทรียวัตถุมี
บทบาทเป็นอันดบั สอง แตเ่ ป็นไปทางตรงขา้ ม คอื การมอี นิ ทรยี วตั ถใุ นดินมากทำให้ดินงา่ ยตอ่ การแตกกระจาย

เพราะการมีอินทรียวัตถุมากนั้น จะทำให้โครงสร้างของดิน เป็นไปในทางท่ีเลวลงปริมาณกรวดเป็น
อันดับสาม กล่าวคือ ถ้าดินมีปริมาณกรวดมากแล้ว ทำให้ความคงทนของดินลดลงความหนาแน่นรวมเป็น
อนั ดับส่ี ความหนาแนน่ รวมจะมีอิทธิพลต่อ ความคงทนของดินในทางตรงข้าม ดนิ ที่มคี วามหนาแน่นรวมมาก
ทาํ ใหความคงทนของดนิ ลดลง ประการสุดท้าย pH ของดินไม่แสดงความแตกตา่ งต่อความคงทนของดินใหเ้ ห็น
อยา่ งเดน่ ชัดแตก่ ็มแี นวโนม้ ท่ีอาจมีอทิ ธิพลตอ่ การแตกกระจายของดนิ บ้าง

3. ลักษณะความลาดชนั ไม่เก่ียวขอ้ งในการเปลี่ยนแปลงสมบตั ิของดิน ทั้งความหนาแนน่ รวม
ปริมาณอินทรีย์วัตถุ ปริมาณอนุภาคดินเหนียว ปริมาณกรวดและปฏิกิริยาของดิน จึงเป็นผลทําให้ไม่มีความ
แตกตา่ งเกย่ี วกับสมรรถภาพการพงั ทลายของดนิ ตามมา ดงั นั้นการประเมนิ ผล Dispersion Ratio จากสมการ
ความสัมพนั ธ์นั้นต้องสมุ่ ตัวอย่างให้กระจายทุก ๆ ลกั ษณะภูมปิ ระเทศอยา่ งสมำ่ เสมอ เพอื่ ใหเ้ ปน็ ตวั แทนทด่ี ี

30

Abstract
Soil erodibility was determined for the 0-20 cm soil depth of naturel hill-evergreen

forest over Doi Pui Chiengnri Province in the north of Thailand. Eighty nine soil samples were
collected from verious slope conditions as 0-10, 11-30 and over 31 degrees and analyzed for
Dispersion Ratio, bulk density, organic metter, clay content, amount of gravel end pH value.
The construction of multiple regressions emphasized on the Dispersion Ratio (Y) as
dependent variable While taking the velues of bulk density (X1), pH (X2) ,organic matter(X3),
clay content (X4), and gravel (X5) as independent variables resulting as Y = 3.80 + 10.88X1 +
0.86X3 – 0.25X4 + 0.55X5, with the determination's coefficent and correlation coefficient of
0.6581 and 0.81, respectively. It was also found that the coefficient showed gradually
smaller values when reducing the numbers of variable. In other word, more
variables would be better in estimating an erodibility index of hill-evergreen soils.

Clay content plays the most important role in soil stability. Organic matter, mostly in
non-colloid form, showed inverse function of high value with low stebility. Bulk density and
gravel indicated the same trend of indirect indication, Soil pH did not show any differences
for both the Dispersion Ratio and slope condition, that could be ignored for the
determination of erodibility index. However, the whole experiment also resulted that the
slope did not affect the soil properties as well as the values of Dispersion Ratio.

31

การวิเคราะหป์ รมิ าณการสะสมและการสลายตัวของเศษไมใ้ บไม้ในปา่ ดิบเขา ดอยปุย เชยี งใหม่
An analysis of accumulation and decomposition of litter fall in hill evergreen forest,

Doi Pui, Chiangmai

สามคั คี บุณยะวฒั น์ และ ชุมพล งามผ่องใส (2517)

การวิเคราะห์ปริมาณการร่วงหล่นและการสลายตัวของเศษใบไม้ในป่าดิบเขาดอยปุย เชียงใหม่
ระหว่างปีพ.ศ. 2511 – 2515 โดยวางแปลงทดลองขนาด 0.75 x 0.75 เมตร จำนวน 13 แปลง ท้ังหมด 12
แห่ง กระจายทั่วพนื้ ที่ พรรณไม้สว่ นใหญ่เป็นพวกตระกูลก่อ มีเรือนยอดปกคลุม 80-90% สรปุ ผลการทดลอง
ไดด้ ังนี้

1. ปริมาณการรว่ งหลน่ จะมมี ากทสี่ ุดในเดอื นกุมภาพันธ์ เฉลย่ี ประมาณ 10.94 ตน้ /เฮกแตร์ และน้อย
ท่สี ดุ ในเดือนสงิ หาคม เฉลย่ี ประมาณ 3.13 ตัน/เฮกแตร์

2. ประมาณการสะสมรายปีมีมากท่ีสุดในปีพ.ศ. 2511 คือประมาณ 78.97 ตัน/เฮกแตร์ และค่อยๆ
น้อยลงตามลำดับ จนถงึ ปี พ.ศ. 2515 มีปรมิ าณการสะสมนอ้ ยทีส่ ดุ คอื 97.10 ตัน/เฮกแตร์

3. ปริมาณการสลายตัวรายปีมีมากท่ีสุดในปี พ.ศ. 2511 คือ 45.91 ตัน/เฮกแตร์ และน้อยที่สุดในปี
พ.ศ. 2513 คือ 14.79 ตนั /เฮกแตร์

4. ปริมาณการสลายตัวรายเดือนมากที่สุดในเดือนกันยายน เฉลี่ย 3.66 ตัน/เฮกแตร์ และน้อยท่ีสุด
เดือนเมษายน เฉลี่ย 1.36 ตนั /เฮกแตร์

5. ปริมาณธาตอุ าหารท่ีมีในเศษใบไมน้ ้ัน มีปริมาณของแคลเซียมมากท่ีสุด รองลงมาได้แก่ ไนโตรเจน
ฟอสฟอรสั และโปแตสเซยี ม ตามลำดบั

การวิจยั ในอนาคต ควรจะไดท้ ำการศึกษาถึงปริมาณธาตอุ าหารอย่างอ่ืนท่ีมอี ยู่ในเศษไม้ใบไม้และควร
จะไดท้ ำการศึกษาการเคลอ่ื นย้ายธาตอุ าหารพรอ้ มท้งั ปริมาณธาตอุ าหารที่ดินไดร้ ับจากการสลายตวั ของเศษไม้
ใบไม้ โดยทำการเกบ็ ข้อมลู ตลอดโปรไฟล์ของดนิ คือ ต้งั แตผ่ ิวจนถึงช้นั ดินตอนลา่ ง ตลอดจนศึกษาถึงจุลนิ ทรยี ์
ดินและเศษไม้ใบไมท้ ีค่ า้ งตามต้นไม้ด้วย

32

Abstract
Litter fall of hill evergreen forest has been investigated since 1968 at Kog Ma

watershed research station. Twelve sampling sites were selected randomly beneath the
canopy of the dominant trees for collection of litter that stripped into the ground plots (0.75
x 0.75 m). Each site is composed of 13 plots, twelve remarked as monthly plot, the other
one is control. Leaves, flowers, fruits, twigs and some small parts of trees were collected
from monthly and control plots at the end of month. Total annual litter fall was determined
by accumulating the amount of monthly fall from control plots; and also decomposition
took from the difference between accumulative amount of control and monthly plots.

Results found that accumulative annual litter fall for 5-year period of 1968 through
1972 ranged from 57.10 to 78.79 ton/ha and the average was 68.76 ton/ha. Monthly fall was
highest in February (10.94 ton/ha) and lowest in August (3.13 ton/ha), depending upon the
climatic conditions. Decomposition found maximum in September and minimum in April.
The analysis of some elements from litter residuals showed that calcium was the highest,
nitrogen the second, phosphorous the third and potassium the lowest.

33

ความผนั แปรของปรมิ าณอนิ ทรยี วตั ถุภายหลังการแผ้วถางปา่ ดบิ เขา ดอยปยุ เชยี งใหม่
Changing organic matter after different period of clearing
at Doi Pui Hill evergreen forest, Chiangmai

พงษศ์ กั ด์ิ ลาภอุดมเลศิ ประชมุ สันทัดการ และ เกษม จันทร์แก้ว (2517)

การศกึ ษาความผันแปรของปริมาณอินทรียวัตถุ ภายหลังจากการแผ้วถางป่าดิบเขาที่จังหวัดเชยี งใหม่
ได้ทำการเลือกสถานท่ีบริเวณดอยปุย โดยเลือกพื้นท่ีที่เป็นป่าดิบเขาธรรมชาติและพื้นที่ไร่เล่ือนลอยท่ีมีอายุ
5 10 และ 15 ปี โดยทำการขุดโปรไฟล์ดินและนำมาวิเคราะห์หาอินทรียวัตถุทุกระดับความลึก 20 ซม. และ
ทำการเก็บดินทมี ีความลกึ 0-50 ซม. ของดินป่าดิบเขาธรรมชาตแิ ละพื้นที่ท่เี ปน็ ไร่เลอ่ื นลอยอายุ 1 2 3 4 5 7
และ 15 ปี โดยแต่ละตัวอย่างทำการเก็บในสภาพพื้นที่ที่มีความลาดชัน 0-10, 11-20 และมากกว่า 20 องศา
ตามลำดับ

เนื่องจากในปีแรก เศษเหลือของพืชทั้งที่ถูกเผาและยังไม่ถูกเผาที่คลุกอยู่ในดินทำให้ปริมาณ
อินทรียวัตถุในดินเพ่ิมขึ้น เมื่อเป็นเช่นนี้ชาวเขาก็โหมทำไร่ ทำให้ปริมาณอินทรยี วัตถุลดลงอย่างรวดเร็ว ในปี
ตอ่ มาเมื่อดินเส่ือมค่ามากข้ึน ชาวเขาจึงปล่อยท่ีท้ิงไว้ และเน่ืองจากดินตอนบนท่มี ีความลาดชันมากกว่าถูกกัด
ชะลงมาทับถมในพื้นที่หรืออาจเกิดการชะล้างและกัดชะในพ้ืนท่ีนั้น ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว ทำให้ปริมาณ
อินทรียวัตถุเพ่ิมข้ึน ชาวเขาก็จะกลับมาทำไร่ใหม่อีก เป็นเช่นน้ีเร่ือยๆ สลับกันไป ซ่ึงนานๆ ทำให้ปริมาณ
อินทรียวัตถุลดลงเร่ือยๆ และจะมีโอกาสเพิ่มข้ึนได้ยากหรือต้องใช้เวลามากกวา่ ในระยะแรกๆ ถ้าพิจารณาให้
ละเอยี ด จะพบว่าในช่วงเวลาท่ีชาวเขาจะกลบั มาทำไร่อกี ภายหลังจากการละทิ้งพน้ื ทเี่ นอ่ื งจากความเสื่อมของ
ดิน ในระยะ 7-10 ปี ภายหลงั การแผ้วถางปา่ ซึ่งถือเป็นรอบทสี่ อง

เมื่อเป็นเช่นน้ีในการที่จะปรับปรุงพ้ืนท่ีภายหลังการแผ้วถางป่าทำไร่เล่ือนลอยควรจะกระทำอย่าง
รบี ด่วน โดยเฉพาะเก่ยี วกับการปลูกป่าขึน้ ซึ่งระยะเวลาที่เหมาะสมท่สี ุดควรจะอยู่ในราวปีท่ี 3-4 ภายหลังการ
แผ้วถางป่า เพราะภายในระยะเวลานี้ปริมาณอนิ ทรียวัตถุภายในดินจะมีคอ่ นขา้ งมากกว่าในช่วงระยะเวลาอื่น
ซ่งึ ทำใหล้ กู ไมท้ ่ีเราปลูกมโี อกาสต้ังตวั ได้เร็ว ส่วนไมท้ ี่ควรนำมาปลูก ควรเลือกใช้ไม้ท่ีสามารถขึ้นได้ในสภาพดิน
ทเ่ี ลว เป็นไมโ้ ตเรว็ มรี อบตดั ฟันสนั้ และควรเป็นไมท้ ช่ี ว่ ยในการปรบั ปรงุ พืน้ ท่ีอีกด้วย นอกจากการปลูกไมแ้ ล้ว
อาจต้องใช้วิธีทางวิศวกรรมเข้ามาช่วยด้วย โดยอาจทำเป็น terrace หรือ contour trench เพื่อเป็นการ
ป้องกันการพังทลายและการเสื่อมสภาพของดินภายในระยะเวลาที่ลูกไม้กำลังตั้งตัว ส่วนบริเวณท่ีมีการ
พงั ทลายของดินมากๆ หรือบริเวณที่ความลาดชันมากๆ กอ็ าจทำเปน็ retaining wall และ check dam โดย
พยายามนำเอาวสั ดทุ ่มี อี ยใู่ นบริเวณนัน้ มาใช้ให้เปน็ ประโยชน์มากทส่ี ุด

34

Abstract
Deterioration of organic matter in soils after clearing the highlands of hill evergreen

forest over Doi Pui Chiangmai was studied in April-May 1973. Soil samples were taken at
depth of 20 cm and 50 cm of slopes 0-10, 11-20 and over 20% on the natural forest and
shifting areas after clearing 1, 2, 3, 4, 5, 7, 10 and 15 years by the hill tribes. The amount of
organic determined from these soil samples by the method of Walkley and Black’s rapid
titration. Results found that the highest amount of organic matter was indicated very close
to the ground surface, gradually decreased through the depth of 50 cm, and rapidly
diminished below 60 cm. Slope conditions did not influence to the fluctuation of the
organic residuals. The amount of organic matter was reduced rapidly after first and second
year of clearing the natural forest and slowly decreases the third year. Then after, the hill
tribe had to move to the new places and treated those areas as same as the beginning. The
forth or/and the fifth year, the hill tribes denude d those area again; the organic matter
decreased obviously causing the soils low productivity over the whole areas. The
resettlement might occur at the tenth year again but the lands were still very low
productivity; the hill tribes had to look for new places. After clearing 15 years, the amount
of organic matter increased very solely the brought about unproductivity; the hill tribes had
to look for agriculture purposes; fruit trees were believed as the most suitable crops for
better income. Finally, report pointed out that rehabilitation on shifting areas could be taken
3-4 years after clearing especially reforestation and engineering works, if very late the fertility
may take longer period of time.

35

การวิเคราะหล์ กั ษณะฝนและจำนวนเคร่อื งวัดนำ้ ฝนในลมุ่ นำ้ ขนาดเล็กบนภเู ขาดอยปุย เชียงใหม่
An analysis of rainfall characteristics and gage density on small watershed
Doi Pui, Chiangmai

สามัคคี บญุ ยะวฒั น์ และ เกษม จันทร์แกว้ (2518)

การวิเคราะห์ลักษณะฝนและจำนวนเครื่องวัดน้ำฝนท่ีเหมาะสมในลุ่มน้ำขนาดเล็กบนภูเขาดอยปุย
เชียงใหม่ ได้ทำการศึกษาท่ีลุ่มน้ำห้วยคอกม้า โดนทำการติดตั้งเคร่ืองวัดน้ำฝนท้ังแบบธรรมดาและแบบ
อัตโนมัติ จำนวนทั้งหมด 19 สถานี และนอกลุ่มน้ำ 3 สถานี ในจำนวน 19 สถานีน้ี ได้ทำการติดต้ังเครื่องวัด
น้ำฝนแบบตั้งตรงและตง้ั เอยี งเพียง 9 สถานี เรม่ิ เกบ็ ขอ้ มลู นำ้ ฝนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2509 – 2517 สรุปได้ดงั นี้

1. ศึกษาลักษณะการติดต้ังเคร่ืองวัดน้ำฝนในลุ่มน้ำห้วยคอกม้า โดยทำการวิเคราะห์ข้อมูลน้ำฝนท้ัง
แบบรายเดือนและรายปี จากเคร่ืองวัดน้ำฝนท่ีติดตั้งแบบตรงและแบบเอียง ปรากฏว่าปริมาณน้ำฝนจาก
เครื่องวัดแบบต้ังตรงมากกว่าแบบตั้งเอียง และมีความแตกต่างอย่างมากจากประสบการณ์และจากสภาวะ
แวดล้อม อีกทัง้ ข้อคิดเห็นของนกั วทิ ยาศาสตร์อน่ื ๆ สามารถสรุปไดว้ า่ ควรใชเ้ ครื่องวัดแบบตรงดีกว่าแบบเอียง

2. การศึกษาลักษณะการกระจายของน้ำฝนจากเครื่องวัดแบบต้ังตรงทั้งลุ่มน้ำ ปรากฏว่าปริมาณ
นำ้ ฝนทัง้ รายเดือนและรายปมี ีความแตกต่างกนั อยา่ งมาก สาเหตุอนั สำคัญคอื ลุม่ น้ำห้วยคอกมา้ มีลกั ษณะพื้นที่
ระดับความสูง ความลาดชัน และทิศทางด้านลาดแตกต่างกันมาก

3. หาปริมาณเครื่องวัดน้ำฝนท่ีเหมาะสมสำหรบั ลุ่มน้ำห้วยคอกม้า ทั้งการใช้ LSD และสตู รของ Huff
and Neill (1957) ไดผ้ ลเหมอื นกนั คอื ควรใช้เครื่องวดั นำ้ ฝนอยา่ งนอ้ ย 3 เคร่ือง

4. การวิเคราะห์ลักษณะฝน ได้แก่ ปริมาณ การกระจาย ความหนักเบาและช่วงเวลา ท่ีฝนตก โดย
แบ่งปริมาณฝนทีต่ กเปน็ 5 ระดับ คอื นอ้ ยกวา่ 10 10-30 30-60 60-100 และมากกวา่ 100 มม. สรปุ ได้ดงั น้ี

ก. ปริมาณฝนรายปีเฉล่ียประมาณ 2,000 มม. ต่ำสุด 1,550 มม. และสูงสุด 2,450 มม. ฤดู
ฝนปริมาณน้ำฝนรายเดือนอยู่ระหวา่ ง 250-430 มม. เดือนสงิ หาคมมีฝนตกมากท่ีสุด เดือนกันยายนรองลงมา
เดือนกุมภาพันธ์ไม่มฝี นตกเลย นอกจากน้ียังพบอกี ว่า storm ของฝนท่ีตกไม่เกิน 10 มม. มีมากกว่าครึ่งหน่ึง
ของ storm ทัง้ หมด และปริมาณฝนรายเดือนในฤดูรอ้ นและหนาวมีค่าใกล้เคยี งกนั คอื ไม่เกิน 100 มม.

ข. จำนวนวันท่ีฝนตกในแต่ละปีอยู่ระหว่าง 109-161 วัน เฉล่ีย 139 วัน โดยมีฝนตก 9-11
เดือน ฤดูฝนมีฝนตกในแต่ละเดือนมากกว่า 10 วัน มากที่สุดในเดือนสิงหาคม เฉล่ีย 26 วัน ส่วนในฤดูหนาว
และฤดรู ้อนมนี ้อยกว่า 10 วัน

ค. ความหนักเบาและชว่ งเวลาทฝ่ี นตกมีความสัมพันธก์ ับปริมาณ ถ้าปรมิ าณฝนตกมาก ความ
หนักเบาจะสูง และชว่ งเวลาการตกก็นาน ความหนักเบาสูงสดุ ทพ่ี บไม่เกิน 150 มม./ชม. และมักตกอยใู่ นช่วง
ไม่เกนิ 2 ชม. แรก แต่ส่วนมากความหนักเบาของฝนอยู่ระหวา่ ง 20-30 มม./ซม. และมักเกดิ กับฝนขนาดปาน
กลาง ส่วนฝนทตี่ กมีปรมิ าณมากจะใหค้ วามหนักเบาและช่วงเวลาทีฝ่ นตกไมแ่ น่นอน

36

Abstract
Rainfall measurement is very difficult to obtain an accurate value in watershed of

steep and complex topography. Wind speed and direction would be main cause of
measurement error. Installation of tilted or untitled gages would be recommended to
correct the findings. In case of numbers of gages per area, the measurement can to done
accurately by putting more gages around the experimental areas, but not saving the budget
and time of working. The objective of this study is to find the method of raingage installation
and suitable gage network, including and analysis of rainfall characteristics of mountainous
hill evergreen forest as a guide to apply any similar landforms.

Experimental area was selected at Kog Ma watershed research station, Doi Pui,
Chiangmai (area approximately 0.65 sq.km.). Nineteen gage stations were installed all over
the hill evergreen forest watershed, 16 stations (including 8 pairs of tilted and untitled gages)
located inside the experimental area, the other 3 stations (including 1 pair of tilted and
untitled raingage) outside. An analysis was taken the data from the beginning of 1966 up to
1974.

Results found that rainfall of untitled gages were larger amount and highly significant
difference than tilted gages. Previous works, and type thunderstorm precipitation including
with field experience can recommend using untitled gage measuring the rainfall for rugged
terrain Kog Ma watershed of hill evergreen forest. Since rainfall varied significantly from
station to station, gage network analysis found the 3 stations would be the minimum
number to obtain an accurate measurement for these characteristics of experimental area.
Annual rainfall was averaged approximately 2000 mm, maximum in August, and no rainfall in
February, less than 10 mm storm occurring more than one-half of all numbers of falling, and
finally rainfall in winter more or less equal to summer. Rainy period was found the range
between 109 – 161 days with averaging 139 days of 9-11 months, and more than 10 days
per month in wet season but less in winter to and summer. Rainfall intensity was obtained
the maximum occurring 2 hours from the beginning of all rain storms, the maximum
possibility of falling rate occurring from 20-30 and up to 60 mm/hr., the maximum intensity
not more than 150 mm/hr.

37

ความผนั แปรของนำ้ ฝนบริเวณท่มี คี วามสูงแตกต่างกนั เพยี งเลก็ นอ้ ย
ของสถานวี จิ ยั ลมุ่ น้ำห้วยคอกม้า ดอยปยุ เชียงใหม่

Rainfall variation of small difference elevation of Kog Ma watershed research station,
Doi Pui, Chiangmai

พงษ์ศกั ดิ์ ลาภอดุ ม สามัคคี บญุ ยะวฒั น์ และเกษม จนั ทร์แก้ว (2518)

การศกึ ษาความสัมพันธร์ ะหว่างปริมาณน้ำฝนกบั ระดับความสูงของพน้ื ทบี่ ริเวณลุ่มน้ำห้วยคอกมา้ โดย
ใช้ข้อมูลปริมาณน้ำฝนเฉล่ียรายปีและปริมาณน้ำฝนเฉล่ียรายเดือน ต้ังแต่ปีพ.ศ. 2509-2517 รวม 9 ปี โดย
วิธีการวเิ คราะห์รีเกรสชนั่ (regression analysis) ปรากฏผลพอสรปุ ได้ดังนี้ คอื

1. ปรมิ าณน้ำฝนรายปี ระดบั ความสูงมีบทบาทตอ่ การเพ่ิมปริมาณนำ้ ฝนแต่น้อยมาก ท้ังน้ีเป็นเพราะ
พ้ืนทม่ี ขี นาดเล็กและความแตกตา่ งของความสูงนอ้ ยเกนิ ไป ตลอดจนเป็นบริเวณท่ีอยู่ในเขตของแนวหมอกซ่งึ มี
ความชื้นสงู อยเู่ สมอ จงึ ไมส่ ามารถแสดงความแตกต่างออกมาให้เห็นอยา่ งชัดเจน

2. ปริมาณน้ำฝนเฉล่ียรายเดือน ปริมาณน้ำฝนท่ีเพ่ิมขึ้นตามความสูงจะมีความผันแปรมากขึ้นกับ
สภาวะอากาศทั้งสามระดับ ประกอบด้วย regional climate, local climate และ microclimate จะมี
บทบาทน้อยในทางตรงกันข้าม ถ้า regional climate มีบทบาทน้อย local climate และ microclimate
กเ็ รมิ่ มบี ทบาทมาก

3. ในช่วงระยะเวลาที่มีความช้ืนสูง ปริมานน้ำฝนจะเพ่ิมข้ึนตามความสูงมากน้อยเท่าไร ข้ึนกับ
ความเร็วของลมซงึ่ เป็นตวั การสำคญั ต่อการพดั พาความชื้นมา ตลอดจนการคลกุ เคลา้ ผสมกนั ของกอ้ นอากาศ

4. ในช่วงระยะเวลาท่ีความชื้นต่ำ ปริมาณน้ำฝนจะมีความผันแปรมาก ข้ึนกับปริมาณความชื้นใน
อากาศ

38

Abstract
An investigation the amount of rainfall relating to elevation was studied in the

natural hill evergreen forest at Kog Ma watershed research station, Doi Pui Chiangmai. The
raingage were installed along the control lines from the altitudes approximately 1,300 up to
1,600 meters (MSL). The analysis of data found that the correlation between the amount of
rainfall and elevation was 52.28% and the equation for estimation of rainfall relation to
elevation as follow:

Y = 1,970.6 + 1.2 (X – 1,300)
Where Y is annual rainfall (mm) and X is elevation from mean sea level (m). The
result also showed that the differences between raingages on control lines did not indicate
large values. In other word, the elevation of experimental watershed areas of hill evergreen ,
forest from approximately 1,300-1,600 meters did not affect to amount of rainfall. Monthly
rainfall only was found considerable variation. However, the amount of rainfall trended to
increase with elevation in wet season because of the effect of regional climate of southwest
monsoon rather that local and microclimate. In winter, the amount of rainfall decrease with
elevation since the influence of local climate and microclimate of draining wind and
evapotranspiration of different types of vegetation cover rather than regional climate.

39

สมการสหสัมพนั ธเ์ พือ่ การประเมินน้ำไหลจากลุ่มน้ำขนาดเล็กปา่ ดบิ เขา ดอยปยุ เชียงใหม่
Multiple Regression Model for Streamflow Estimation From Small Watershed

of Hill-Evergreen Forest, Doi Pui, Chiangmai

พงษ์ศกั ด์ิ ลาภอุดมเลิศ (2518)

การประเมินน้ำจากลุ่มน้ำ เป็นสิ่งจําเป็นอย่างมากต่อการจัดการลุ่มน้ำ โดยเฉพาะอย่างย่ิงแผนการ
เก่ียวกับการจัดการน้ำและป้องกันอุทกภัย เพราะปริมาณน้ำที่ลุ่มน้ำให้การระบายไปตามลำน้ำน้ัน ถ้าน้อย
เกินไปกอ็ าจเป็นผลทำให้ขาดแคลนน้ำ และถ้ามากเกินไปก็อาจเปน็ ผลทําใหเกิดอุทกภัย การประเมินปริมาณ
น้ำจึงเปน็ หน อนั หน่ึงท่ีจะใช้ในการวางแผนงานล่วงหนา้ ไดว้ ่าควรจะดำเนนิ การอยา่ งไรกบั ลุม่ น้ำดังกล่าว การ
ประเมินนั้นจำเป็นต้อง เริ่มจากข้อมูลจากลุ่มน้ำตัวอย่างแห่งหน่ึง ซ่ึงมีลักษณะพอท่ีจะเป็นตัวแทนในการ
ประยุกต์ใชก้ ับพืน้ ทีห่ ลายแห่งได้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้ตระหนกั ถึงความสำคัญในการ
สร้างสมการในการประเมินน้ำไนลำธารดังกล่าว จึงได้สร้างโครงการวัดน้ำที่ป่าดิบเขา ซ่ึงเป็นป่าต้นน้ำของ
ประเทศบรเิ วณดอยปยุ จังหวดั เชียงใหม่ โดยเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การไหลของน้ำดว้ ย เขือ่ นวดั น้ำมุม 120 องศา
ข้ึน แต่การวิจัยคร้ังนี้ได้เลือกข้อมูลน้ำไหลในลำธารท่ี เป็นตัวแทน 90 storms ของฝนที่ตกน้อยกว่า 10,
10 - 20, และมากกว่า 20 มม. จากการรวบรวมต้ังแต่ 16 เมษายน 2515 ถึงวันท่ี 27 ตุลาคม 2516 โดยมี
ข้อมูลต่าง ๆ ดังนี้ ปริมาณน้ำฝน (P) นำ้ ฝนใต้เรือนยอด (Th ) ปรมิ าณการระเหยนำ้ (E) ช่วงสัปดาหข์ องปี (W)
และ ปริมาณน้ำในลำธาร (s) ทําการสร้างสมการทัง้ เส้นตรงและสหสัมพันธ์ ผลปรากฏว่า จากสมการท้ังหมด
น้ันสามารถประมาณค่าน้ำในลำธารได้ประมาณ 10 - 20 % ของน้ำฝนท่ีตกแต่ละ storm สำหรับสมการที่
สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้น้ัน แบ่งออกได้ตามลักษณะการตกของฝนกล่าวคือ ถ้าฝนท่ีตกน้อยกว่า 10 มม.
นน้ั น้ำในลำธารจะเกิดจากปัจจยั หลายปัจจัยกระทำรว่ มกัน การใช้ปัจจัยน้อยค่า มีผลทําให้การประเมนิ ค่าน้ำ
ในลาํ ธารผดิ ผลาดได้ สมการทเี่ หมาะไดแ้ ก่

S = 0.079P + 0.038Th - 0.009E + 0.085W +0.001W2- 0.422
ถา้ ฝนตกมากขึ้นคอื ระหว่าง 10 - 20 มม. นำ้ ฝน เริม่ มีบทบาทมากขึ้น ท้งั น้ำฝนใต้ เรอื นยอดและการ
ระเหยจะมคี วามผนั แปรมากและมีบทบาทนอ้ ย สมการท่เี หมาะไดแ้ ก่
S = 0.106P + 0.087W – 0.001W2 – 0.453
ถา้ ฝนตกมากยงิ่ ขึ้นคือมากกวา่ 20 มม. แลว้ ปัจจัยอ่ืน ๆ แทบจะไมมบี ทบาทเลย นำ้ ฝนเพียงค่าเดียว
ทมี่ อี ทิ ธพิ ลต่อการไหลของน้ำในลำธาร สมการท่ีเหมาะสมได้แก่
S = 1.205 + 0.108 P
ในการประยุกต์สมการเหล่าน้ี จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ลกั ษณะฝนท่ีตกและส่ิงแวดล้อมท่ีเก่ียวกับ ดิน ต้นไม้ และลักษณะอากาศท่ีมีส่วนคล้ายกับป่าดิบ เขาคอยปุย
จังหวดั เชียงใหม่ ให้มากทสี่ ุด

40

Abstract
Streamflow estimation is very necessary in water management and flood control

programme. Less water may cause drought and too much water may introduce flood. The
forecast of streamflow would he the best method to find the proper way how to handle
those area. However, the means of estimation has to start with the natural forest area.
Therefore, the faculty of Forestry, Kasetsart University has established the pilot project in
the hill-evergreen forest, which is the most important head water supply to all streams of
Thailand. The project has started for years by measuring streamflow with weir 120-V Notch
over Doi Pui Chiengmai. This investigation was sampled 90 rains storms, beginning from 16
April 1972. Through 27 Bctober 1973 by collecting rainfall (P) Throughfall (Th) Pan
evaporation (E) Weeks of year (W), and Streamflow (S). All variables were applied to
construct the model of the linear and mutiple . regressions for three class of rain-storms;
less 10, 10-20, and over 20 mm. The results found that all equations of streamflow
approximately 10-20 % of each rain~storm. The applicable equation varied with the amount
of rainfall and some other factors. lf the rain was less than 10 m., more or all factors would
be applied in the equation, because the situation of the rainfall showed less influence. The
sitnable equation would be

S = 0.079P + 0.038Th - 0.009E + 0.085W +0.001W2- 0.422
If the rainfall indicated between 10-20 mm., rainwater behins to show more
influences but less from the other factors, especially throughfall and pan evaporation. The
situable equation would be

s = 0.106P + 0.087W – 0.001W2 – 0.453
If the rain indicated more than 20 mm., no other factors influenced the streamflow
at all, only rainwater dominated. The suitable equation would be

S = 1.205 + 0.108 P
However, it would be recomended to apply these equation that not only amount of
rainfall, but also soil characteristics, forest tree types, and climate must he considered in
similarity with the hill-evergreen forest of Doi Pui, Chiengmai.

41

สมรรถนะการซมึ นำ้ ผา่ นผิวดินของปา่ ดิบเขาธรรมชาติดอยปยุ เชียงใหม่
INFILTRATION CAPACITY OF NATURAL HILL-EVERGREEN FOREST AT DOI PUI, CHIANGMAI

เกษม จนั ทร์แก้ว และ จรนิ ทร์ นาคศริ ิ (2519)

การทดลองหาสมรรถนะการซึมน้ำผา่ นผวิ ดินของป่าดิบเขาธรรมชาติ ได้ทําการศกึ ษาในเดือนเมษายน
– พ ฤษภาคม 2516 โดยใช้ Miodified Hirata 's infiltrometer การทดลอ งได้เลือกพื้ น ท่ี 4 ระดับ
ความลาดชัน แต่ละระดบั ความลาดชันมีความลาดชันตา่ ง ๆ อีก 3 ระดบั แล้วกําหนดแปลงของแต่ละแปลงใน
แต่ละ ระดับความลาดชัน ทําการทดลอง 3 ระยะ (Runs) การทดลองครั้งแรก (Run N๐ 1) ครั้งที่สอง (Run
N๐ 2) ห่างจากคร้งั แรก 2 ช่ัวโมง และครง้ั ท่ีสาม (Run No 3) ห่างจากระยะที่สอง 20 ช่ัวโมง ผลการทดลองมี
รายละเอยี ดดงั น้ี

1. อัตราการซึมน้ำผ่านผิวดินระยะเร่ิมแรก (fo) ของป่าดิบเขาธรรมชาติลุ่มน้ำห้วยคอกม้า ในฤดูร้อน
เดือนเมษายน – พฤษภาคม โดยเฉล่ียประมาณ 1,112 มม. ต่อชั่วโมง สําหรับพื้นท่ีที่มี ความลาดชัน 0-25,
25-50, 50-75, และ 75-100 เปอร์เซนต์ ที่มีความชิ้นในดินผิว 88.8, 58.4, 45.4 และ 53.1 เปอร์เซนต์
ตามลำดับ ได้อัตราการซึมน้ำผ่านผิวดินระยะเร่ิมแรก 1,118, 1,064, 1,159 และ 1,099 มม. ต่อชั่วโมง
ตามลำดับ ถ้าความช้ืนของดินเพ่ิมขึ้นอีก 30 เปอร์เซนต์ ค่าของอัตราเร่ิมแรกของการซึมน้ำจะลดลงไป
ประมาณคร่ึงหน่ึง คือไดโ้ ดยเฉลย่ี 515 มม.ตอ่ ช่วั โมง ครั้นเมือ่ ความชื้นในดินเพม่ิ ข้นึ 20 เปอร์เซนตแ์ ล้ว อัตรา
การซมึ น้ำผ่านผิวดินเปน็ 821 มม.ต่อชว่ั โมง คอื จะมคี ่าประมาณ 3 ใน 4 ของระยะแรกการทดลอง

2. อัตราคงทข่ี องการซมึ น้ำผา่ นผวิ ดนิ (fc) ของลุ่มนำ้ มปี ระมาณ 280 มม.ต่อช่วั โมง ความลาดชนั ของ
พื้นทีแ่ สดงอทิ ธพิ ลต่ออตั ราคงทขี่ องการซมึ นำ้ ผา่ นผวิ ดิน พ้นื ท่ที ีม่ ีความลาดชัน 0-25, 25-50, 50-75, และ
75-100 เปอร์เซนต์ จะมีอัตราคงที่ของน้ำผ่านผิวดนิ เปน็ 308, 255, 275 และ 240 มม.ต่อชว่ั โมง ความชืน้
ของดนิ อาจมผี ลทําให้คา่ อตั ราคงทีข่ องการซึมนำ้ ผ่านผวิ ดินผนั แปรไป ดนิ ท่มี ีความช้ืนสงู จะทาํ ให้คา่ ต่ำ ดนิ ที่มี
ความชนื้ สูงมาก

3. ลักษณะการลดลงของอัตราการชึมน้ำผ่านผิวดิน (k) ต้ังแต่ระยะเร่ิมแรกจนกระทั่งถึงอัตราคงท่ี
สภาพความช้ืนในดินแสดงอิทธพิ ลอย่างเห็นไดช้ ัด ดินท่ีมีความชื้นน้อยลักษณะการลดลง หรือคา่ จะมีมากกว่า
ดินที่มคี วามชืน้ มาก ถ้าคืนแหง้ ค่า จะได้ -1.08 ดินช้นื -2.25 และดินเปียกจะได้ -5.00

4. ลักษณะความลาดชันของพื้นที่ลุ่มน้ำป่าดิบเขาดอยปุย ไม่แสดงอิทธิพลต่อการผันแปร การซึมน้ำ
ผ่านผวิ ดนิ เพราะการซมึ นำ้ ผ่านผิวดนิ มคี วามผันแปรไมม่ ีระบบ สภาพความช้ืนในดนิ มีบทบาท์ในการ

ควบคุมอัตราการซึมน้ำผ่านผิวดินใน 3-4 ชั่วโมงแรกของการทดลอง ดินท่ีมีความชื้นต่ำมีสมรรถนะ
การ ซึมน้ำผ่านผิวดินในระยะเร่ิมแรกมากกว่าดินท่ีมีความชื้นสูง ดินย่ิงเปียกมากเท่าไร การซึมน้ำผ่านผิวดิน
ในระยะเรม่ิ แรกจะมีน้อยมากยง่ิ ข้นึ

42

Abstract
Infiltration capacity of hill-evergreen forest was determined by Modified Hirata's

Infiltrometer from April-May 1973 at Kog-Ma Watershed Research Station over Doi
Pui,Chiengmai- The sampling areas were taken at slopes of 0-25,25-50,50-75 and 75-100%.
The experiments have been propose to find the initial rate of soil moisture in dry, moist and
wet conditions together with constant tataof infiltration capacity of hill-evergreen soils. The
results found that the initial rate of infiltration was averaged approximately 1112 mm per
hour, and constant rate of 280 mm per hour. The time consuming from initial through
constant rate was found 3-4 hours; if the soils contained saturation condition this consuing
period was shorter. The results were also pointed out as did not showed statistically
differences that slopes of sampling are among the infiltration rates of hill-evergreen soils.
The investigation has found the proper equations for specific slopes in order to apply more
accurate determination of infiltration capacity of hilleevergreen forest over Doi Pui,
Chiangmai.

43


Click to View FlipBook Version