The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การรวบรวมงานวิจัยในพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยคอกม้าและพื้นที่ข้างเคียง มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำฐานข้อมูลงานวิจัยที่ผ่านมาเพื่อสนับสนุนการวิจัยในอนาคต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Forestry Research Center, 2021-05-20 05:21:23

งานวิจัยในลุ่มน้ำห้วยคอกม้า

การรวบรวมงานวิจัยในพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยคอกม้าและพื้นที่ข้างเคียง มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำฐานข้อมูลงานวิจัยที่ผ่านมาเพื่อสนับสนุนการวิจัยในอนาคต

Keywords: ห้วยคอกม้า,ดอยปุย,งานวิจัย,พื้นที่สูง

Abstract
The purpose of this study was to determine the qualities of nutrients in stream-

water from four types of land use such as (1 ) hill-evergreen forests of Huay D, Doi Pui,
Amphoe Muang; (2 ) reforestation; (3 ) agroculture; and (4) human settlement at the Royal
Watershed Development Project (R W D P), Tung Jaw, Chiangmai-during April 1981 to March
1 9 8 2 . A stream water was collected every third week of the month to find out the
concentration levels of nitrate- nitrogen (N03 - N) and phosphate-phosphorus (P04 - P) ions.

The result found the degree of concentration levels of nitrate~nitrogen (N03 - N) in
stream-water, ranking from highest to lowest level respectively 2 human settlement area,
reforestation, hill-evergreen forest and agroculture, An average annual concentration level of
nitrate-nitrogen in stream-water drained from four types of land use found the amount Of
79-4 ppb (ug/l) in human settlement area; 33.1 ppb (ug/l) in reforestation 56.6 ppb (ug/l) hill-
evergreen forest and 22.0 ppb (ug/l) in agroculture.

The concentration levels of phosphate-phosphorus in stream water had found the
same trend of nitrate-nitrogen, and the amount in the stream water indicated as level 88,75
ppb (ug/l) in human settlement; # 2 .2 ppb (ug/l) in agroculture and 5 7 .6 5 ppb (ug/l) in
reforestation areas, and 28.14 ppb (ug/l) in hill-evergreen forest area»

The study showed that changing the land use from natural hill-evergreen forest to
that for human settlement, agroculture, and reforestation area would result to increase the
concentration of nitrate-nitrogen and phosphate-phosphorus in which they may affect the
quality of water in the stream.

94

ผลของการใชป้ ระโยชน์ที่ดนิ ตอ่ สมดลุ ของนำ้ บริเวณดอยปุยและทุ่งจ๊อ
The Effect of Various Land Use Pattern on Water Balance at Doi Pui and Tung Jaw

สามัคคี บุณยะวฒั น์ สุรินทร์ นำมาประเสรฐิ และ เกษม จันทรแ์ กว้ (2526)

บทคดั ยอ่
สมดลุ ของน้ำจากพื้นท่ที ี่มีการใช้ประโยชน์ท่ดี ิน ได้ศึกษาวิจัยโดยการเก็บรวบรวมข้อมูล น้ำฝน น้ำท่า

และความชื้นของดินบริเวณทุ่งจ๊อ และดอยปุย จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2523 ถึงเดือน
พฤษภาคม 2524 พ้ืนที่ทดลองแห่งหน่ึงคือดอยปุยมีสภาพเป็นป่าดิบเขาท้ังหมด และถูกเลือกให้เป็นเสมือน
พ้ืนท่ีควบคุม ส่วนพื้นท่ีอีกแห่งหนึ่ง ได้แก่ทุ่งจ๊อซ่ึงประกอบด้วยการใชป้ ระโยชน์ ท่ีดิน 3 รูปแบบคือ ป่าปลูก
ไรเ่ ลื่อนลอย และการเกษตรกรรม และสภาพต้ังเดิมของพื้นท่ที ี่มกี ารใช้ประโยชน์ทีด่ ินแบบต่างๆ บริเวณทุ่งลือ
นี้เป็นป่าดิบเขามาก่อน การคายระเหยน้ำคำนวณจากความแตกต่างระหว่างปริมาณน้ำฝนและปริมาณน้ำท่า
รวมกบั การเปลี่ยนแปลงปริมาณความช้ืนของดนิ

ผลจากการศกึ ษาพบวา่ บริเวณพน้ื ทปี่ าดิบเขาดอยปุยมปี ริมาณน้ำฝน (1,796.8 มลิ ลิเมตร ) มากกว่า
บริเวณทุ่งลือ (1,450.6 มิลลิเมตร ) ปริมาณน้ำท่าจากพื้นท่ีป่าดิบเขาพบว่ามี ปริมาณ 1,168.5 มิลลิเมตร
(65.0 เปอร์เซ็นต์ของปริมาณน้ำฝน ) มากที่สุดเท่ากับ 165.2 มิลลิเมตร ในเดือนกันยายน และน้อยที่สุด
เท่ากับ 55.0 มิลลเิ มตรในเดือนพฤษภาคม ขณะที่ปริมาณน้ำท่าจากพน้ื ท่ีป่าปลูก พนื้ ที่ไร่เล่ือนลอย และพ้ืนที่
เกษตรกรรมมีประมาณ 322.3 มิลลิเมตร ( 22.2 เปอร์เซ็นต์ของปริมาณน้ำฝน ) 98.3 มิลลิเมตร
(6.8 เปอร์เซ็นต์ของปริมาณน้ำฝน) และ 882.7 (60.9 เปอร์เซ็นต์ของปริมาณน้ำฝน ) ตามลําดับ โดยเฉพาะ
พน้ื ท่ีไรเ่ ลอื่ นลอยการไหล ของน้ำในลําธารเกิดขน้ึ เพียง คือในช่วงฤดฝู นตั้งแต่เดือนกรกฎาคมถงึ เดือนตุลาคม
การเก็บกักความชื้นของดินในพ้ืนท่ีที่มีการใช้ประโยชน์ที่ดินท้ัง 4 ประเภท ปรากฏวา่ ไม่แตกต่างกัน มากนัก
การคายระเหยน้ำรายปใี นพืน้ ท่ีป่าดิบเขา พื้นทีป่ า่ ปลกู พื้นทีไ่ ร่เล่อื นลอย และพื้นท่เี กษตรกรรม เท่ากับ 628.3
มิลลิเมตร (35 .0 เปอร์เซนต์ของปริมาณน้ำฝน 1,128.3 มิลลิเมตร (77.8 เปอร์เซนต์ของปริมาณน้ำฝน)
1,352.3 มิลลเิ มตร (93.2 เปอรเ์ ซนต์ของปริมาณน้ำฝน ) และ 567.9 มลิ ลเิ มตร (39.1 เปอร์เซนต์ของปริมาณ
น้ำฝน ) ตามลําดับ ส่วนการคายระเหยน้ำรายเดือนจากพ้ืนทที่ ี่มีการใช้ประโยชน์ท่ีดินท้ัง 4 ประเภท ปรากฎว่า
มีมากในช่วงฤดูฝน และมีน้อยในฤดูแล้ง ท้ังนี้ข้ึนอยู่กับปริมาณน้ำฝน พีชคลุมดิน และลักษณะของดิน การ
ระเหยรายวนั จากพ้นื ท่ีป่าดบิ เขา พื้นที่ป่าปลูก พนื้ ท่ีไรเ่ ลื่อนลอย และพ้นื ทเ่ี กษตรกรรม เท่ากบั 2.0 ,8.7 , 4.3
และ 2.5 มิลลเิ มตร ตามลำดับ

ผลลากการศกึ ษาครงั้ นี้ช้ีให้เห็นว่า การทําลายทรัพยากรปาไม้เป็นผลทําให้ปริมาณการคายระเหยน้ำ
เพ่ิมมากข้ึน และปริมาณการไหลของน้ำในลําธารลดน้อยลง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อป่าเปลี่ยนสภาพเป็นไร่
เลื่อนลอย แมว้ ่าโครงการพัฒนาปลูกป่าจะได้ดำเนินการเพ่ือให้มีป่าคลุมพ้ืนที่ แล้วกต็ าม การคายระเหยน้ำก็
ยังคงแสดงค่าท่ีมากเช่นกัน จึงไม่ต้องสงสัยเลยว่าถ้าป่าบนภเู ขา ถูกทำลายแล้วท้ังไวเ้ ป็นไร่เลือ่ นลอย โอกาสที่
จะทาํ ให้การขาดแคลนน้ำในฤดูร้อนในอนาคตอาจจะพบอยู่ทวั่ ไปในบรเิ วณแหง่ น้ี

95

Abstract
Water balance was investigated in various land use patterns by collecting data of

rainfall, streamflow, and soil moisture at Tung Jaw and Doi Pui, Chiemgmai from June 1980
through May 1981. An experimental site, Doi Pui, was entirely hill-evergreen forest and was
selected as "control". Another site, Tung Jaw is composed of 3 patterns of land use, they
were reforestation, shifting area, and agroculture. And the original forest type of each land
use pattern at Tung Jaw was hill-evergreen forest. Evapotranspiration was estimated from
difference between rainfall and stream discharge plus the change of soil moisture storage.

The results found that hill-evergreen forest, Doi Pui provided greater amount of
rainfall (1,796.8 mm) than Tung Jaw (1,450.6 mm). Streamflow of hill-evergreen forest was
found about 1,168.5 mm (65.0 % of rainfall) with the maximum 165.2 mm in September and
the minimum 55.0 mm in May. While reforestation, shifting area, and agroculture produced
the streamflow about 322.3 mm (22.2 % of rainfall), 98.3 mm (6.8 % of rainfall), and 882.7
mm (60.9 % of rainfall), respectively. Flow regime in shifting area contributed only 4 months
of wet period, July through October. Soil moisture storage in all land use patterns showed
slightly difference. Annual evapotranspiration in hill-evergreen forest, reforestation, shifting
area and agroculture were equivalent to 628.3 mm (35.0 % of rainfall), 1,128.3 mm (77.8 %
of rainfall, 1,352.3 mm (93.2 % of rainfall),and 567.9 mm (39.1 % of rainfall), respectively.
Monthly evapotranspiration for all land use patterns found an increase in wet season and
decrease in dry season which were depending on amount of rainfall, plant cover, and soil
characteristics. Daily evapotranspiration from hill-evergreen forest, reforestation, shifting area,
and agroculture were equivalent to 2.0, 5.7, 4.3, and 2.5 mm, respectively.

The result of this research indicated that forest destruction caused remarkedly an
increase of evapotranspiration and decrease of stream discharge, especially when the forest
was turned to be shifting area. Although, development program by reforestation has been
taken place in order to recovery the forest area, an evapotranspiration was still shown in
high wuantity. Undoubtedly, if the forest lands on mountains were converted to be utilize
and finally to be left as shifting area, water shortage in the summer would be found around
the areas in the future.

96

ผลกระทบของการใชท้ ดี่ นิ บนภเู ขาตอ่ ลกั ษณะการไหลของนำ้
บริเวณสถานลี ุม่ น้ำห้วยคอกมา้ ดอยปุย เชยี งใหม่

Impacts of Mountainous Land Use on Streamflow Characteristics
at Kog-Ma Watershed Research Station, Doi Pui, Chiangmai

เกษม จันทรแ์ กว้ สามัคคี บณุ ยะวัฒน์ วิชา นิยม และ สทิ ธิชัย ตันธนะสฤษด์ิ (2526)

บทคดั ยอ่
ผลกระทบของการใช้ที่ดินบนภูเขาต่อลักษณะการไหลของน้ำน้ีได้ศึกษาโดยการเก็บรวบรวมข้อมูล

น้ำฝนและน้ำท่า บริเวณดอยปุย จังหวดั เชียงใหม่ ตั้งแต่ พ.ศ. 2523 – 2528 โดยเลือกพื้นที่ทดลองสามแบบ
คือ 1) บริเวณดอยปุย เลือกพื้นที่ลุ่มน้ำป่าดิบเขาธรรมชาติ มีสภาพเป็นป่าดิบเขาธรรมชาติท้ังหมดซึ่งใช้เป็น
พื้นที่ควบคุม 2) พ้ืนท่ีอยู่อาศัยของมนุษย์ และ 3) พ้ืนที่เกษตรกรรม ซ่ึงพ้ืนท่ีดังกล่าวน้ีเคยเป็นป่าดิบเขา
ธรรมชาตมิ าก่อนทั้งสิน้

ผลการศึกษาพบว่า บริเวณดอยปุยมีปริมาณน้ำฝนประมาณ 1,861.0 มิลลิเมตร โดยเมื่อพื้นที่ป่าดิบ
เขาถูกเปล่ียนเป็นพ้ืนท่ีอยู่อาศัยของมนุษย์ พื้นที่เกษตรกรรม จะมีปริมาณน้ำไหลในลำธารลดลง มีน้ำไหลใน
ลำธารตลอดปี มีการเปลีย่ นแปลงของปริมาณน้ำในลำธารเกิดขึน้ เรว็ โดยมเี ปอร์เซน็ ต์การใหน้ ้ำในลำธารในช่วง
น้ำหลากมากขึ้น และในช่วงแล้งฝนน้อยลง พ้ืนท่ีป่าดิบเขาธรรมชาติให้ปริมาณน้ำในลำธาร 1,542,000
ลูกบาศก์เมตรต่อตารางกิโลเมตรต่อปี 82.9 เปอร์เซ็นต์ของปริมาณน้ำฝน เป็นน้ำในช่วงน้ำหลาก 67.9
เปอร์เซ็นต์ และช่วงแล้งฝน 32.1 เปอร์เซ็นต์ พ้ืนที่อยู่อาศัยของมนุษย์ให้ปริมาณน้ำในลำธารประมาณ
1,134,000 ลูกบาศก์เมตรต่อตารางกิโลเมตรต่อไป 60.9 เปอรเ์ ซ็นต์ของปริมาณน้ำฝน เปน็ น้ำในช่วงน้ำหลาก
70.2 เปอร์เซ็นต์ และช่วงแล้งฝน 29.8 เปอร์เซ็นต์ พื้นที่เกษตรกรรมให้ปริมาณน้ำในลำธารประมาณ
1,064,000 ลูกบาศก์เมตรต่อตารางกิโลเมตรต่อปี 57.2 เปอร์เซ็นต์ของปริมาณน้ำฝน เป็นนำ้ ในช่วงน้ำหลาก
81.3 เปอรเ์ ซน็ ต์และช่วงฝนแล้ง 18.7 เปอรเ์ ซน็ ต์

การศกึ ษาเรือ่ งฝนตกน้ำขึน้ ซ่ึงหมายถึงชว่ งระยะห่างระหว่างช่วงเวลาที่ฝนเริม่ ตกและน้ำเริ่มเพิม่ ขึ้นใน
ลำธาร พบว่าในพื้นท่ีป่าดิบเขาธรรมชาติจะมีช่วงฝนตกน้ำข้ึนยาวกว่าในพ้ืนท่ีที่มีการใช้ประโยชน์แบบอ่ืนๆ
เช่น พื้นที่อยู่อาศัยของมนุษย์ และพื้นที่เกษตรกรรม จะไม่แสดงความแตกต่างของช่วงฝนตกน้ำขึ้นมากนัก
นอกจากน้ียังพบว่าปรมิ าณน้ำฝน และระยะเวลาการตกของฝนจะไม่มีอิทธิพลโดยตรงต่อช่วงฝนตกน้ำขึ้นใน
พน้ื ที่การใชป้ ระโยชนท์ ่ีดนิ ทงั้ นีจ้ ะขนึ้ อยู่กบั ปริมาณฝนตกคร้ังกอ่ นและความชน้ื ดนิ ขณะนั้นเป็นสำคัญ

การคาดคะเนโอกาสที่เกิดการขาดน้ำในลำธาร พ้ืนที่เกษตรกรรมจะมีโอกาสขาดน้ำเป็นอันดับแรก
รองลงมาคอื พ้นื ทอ่ี ยูอ่ าศัยของมนษุ ย์ พืน้ ที่ปา่ ดบิ เขาธรรมชาติจะไม่มีโอกาสขาดน้ำในลำธารเลย

97

Abstract
Impacts of Mountainous Land Use on Surface Water investigated in three land use

patterns on mountainous watershed at Doi Pui in Chiangmai province from 1980-1985. An
experimental site at Doi Pui was composed of three land use patterns: hill evergreen forest,
chang Kien settlement, and agroculture area (wild peach plantation).

Results found that the hill evergreen forest watershed at Doi Pui contributed stream
water 1,542,000 cu.m/km2/yr 82.0% of annual rainfall which was divided into wet flow 67.9%
and dry flow 32.1%. While Chang Kine human settlement site found the stream water
1,134,000 cu.m/km2/yr or about 60.9% of annual rainfall ( wet flow 70.2% and dry flow
29.8%) and Agricultural area 1,064,000 cu.m/km2/yr or about 57.25% of annual rainfall (wet
flow 81.3% and dry flow 18.7%) . The findings indicated that conversion of natural hill
evergreen forest land to be any types of land use such as agroculture and human
settlement had unenviably caused the decreases of stream water, as the same manner as
decrease dry flow and increase wet flow. High rate of evapotranspiration was expected in
non-forested areas (agroculture and human settlement, while the hill evergreen forest was
opposite.

The study was also concentrated on lag time which is the period from beginning of
rainfalling until the streamflow starts rising. The hill evergreen forest watershed was shown
the longer time than the other types of land use for Chang Kien human settlement and
Agroculture land use. However, later three types did not show significantly differences.
Furthermore, amount of rainfall and its duration did not directly influence on lag time in all
types of land use only antecedent rainfall and soil moisture had concerned with this
phenomena.

Prediction of the most probable occurrence of water shortage in stream was made in
all land use types and found that agrocuture area (wild peach plantation) seemed to be the
first priority while Chang Kien human settlement would be the second. Natural hill
evergreen forest watershed did not show any evidence of drying out of stream water.

98

ผลการใชท้ ด่ี ินบนภูเขาตอ่ ไส้เดือนฝอยในดินและในน้ำบรเิ วณดอยปุย จังหวดั เชยี งใหม่
Effect of Landuses on Soil and Freshwater Nematodes
in Mountainous Areas at Doi Pui, Chiangmai

สุรศรี บำรงุ วงศ์ (2526)

บทคัดยอ่
การศึกษาชนิดและปริมาณไส้เดือนฝอยในดินและในน้ำจากพ้ืนที่ป่าดิบเขาธรรมชาติ พ้ืนที่

เกษตรกรรม และพ้ืนที่หมู่บ้านชาวเขาเผ่าแม้วดอยขุนช่างเค่ียน บริเวณดอยปุย จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งแต่เดือน
พฤษภาคม 2521 ถึงเดือนเมษายน 2525 โดย เก็บตัวอย่างท้ังหมด 108 ตัวอย่าง เป็นดิน 72 ตัวอย่าง
นำ้ 36 ตัวอยา่ ง นำมาแยกโดย sieving and gravity technique พบไส้เดือนฝอยทั้งในดินและในน้ำ บรเิ วณ
พ้ืนที่ทั้ง 3 แห่ง มีทั้งหมดรวม 35 สกุล (genera) เป็นไส้เดือนฝอยศัตรูพืช 16 สกุล และไส้เดือนฝอยที่มีชีวิต
อิสระ 19 สกุล จากการเปรียบเทียบดิน 12 ตัวอย่าง บริเวณที่พบมากที่สุด ได้แก่ บริเวณพื้นท่ีป่าดิบเขา
ธรรมชาติทร่ี ะดับความลึก 10 เซนติเมตร ตลอดระยะเวลาของการศึกษาพบท้ังหมด 1,479 ตัว รองลงมาเป็น
บริเวณพื้นที่เกษตรกรรม มี 1,242 ตัว และบริเวณพ้ืนที่หมู่บ้านแม้วมี 1,064 ตัวต่อดิน 6 ลิตร ไส้เดือนฝอยที่
พบ ปริมาณมากที่สุดได้แก่ Heterodera พบในพ้ืนท่ีหมู่บ้านแม้ว รองลงมาเป็นไส้เดือนฝอยทีม่ ีชวี ติ อสิ ระสกุล
Placodira และ Tylenchus พบในพื้นท่ีเกษตรกรรม ส่วนไส้เดือนฝอยที่พบมากท่ีสุดในพ้ืนท่ีป่าดิบเขา
ธรรมชาติ ได้แก่ ไส้เดือนฝอยที่มีชีวิตอิสระ สกุล Dorylaimus ปริมาณไส้เดือนฝอยท่ีพบในพ้ืนท่ีทั้ง 3 แห่ง
เปลี่ยนแปลงตามปริมาณความช้ืนในดิน คือประชากรไส้เดือนฝอยสูงขึ้นเมื่อความชื้นในดินพอเหมาะ ในช่วง
ปลายฤดูฝนถึงต้นฤดหู นาว และประชากรลดลง เมอื่ ความขน้ึ มากเกนิ ไปในฤดูฝน และนอ้ ยเกินไปในฤดแู ลง้

การเปรยี บเทยี บปรมิ าณไสเ้ ดอื นฝอยทีพ่ บในดนิ และในน้ำต่อลกั ษณะการใช้ท่ดี นิ ท้ัง 3 ประเภท พบว่า
ในพื้นท่เี กษตรกรรมมีการเปลย่ี นแปลงเพ่ิมขึ้นไปจากธรรมชาตบิ ้างในฤดูเพาะปลกู แต่ยังนบั วา่ มีปริมาณที่ต่ำ

99

Abstract
A study on types and quantity of soil inhabiting and freshwater nematodes from

3 types of landuses, hill-evergreen forest, agricultural area and Maoe Chang Khian village at
Doi Pui, Chiangmai was conducted during May 1981 to April 1982. Soil and water samples
were randomly collected. Altogether, 36 water samples and 72 soil samples collected at
10 cm and 50 cm depths were processed in lab by using sieving and gravity technique-
Results revealed that 35 nematode genera were found; 16 genera were plant parasites and
19 genera were free-living ones. Quantitatively, 1,479 nematodes were found from 10 cm
depth samples from hill-evergreen forest; 1,242 were found from agricultural area; and 1,064
were found from Mace Chang Khian village and Heteaodana, an important plant parasite was
the dominant genus, Piacodina and Tgienchub were less common,respectively. Comparison
of population dynamics in the 3 landuse types indicated that there was small difference in
nematode numbers and soil moisture content seemed to be one of the most important
factor for nematode existence in these areas: The most suitable period was the end of rainy
season and the beginning of cold season.

100

ศกั ยภาพการให้นำ้ ทา่ ของลมุ่ น้ำบนภเู ขาท่มี ีการใชท้ ีด่ นิ แบบต่างๆ บรเิ วณท่งุ จ๊อและดอยปุย เชยี งใหม่
Potential of Stream Water from Various Land Use Patterns on
Mountainous Watershed at Tung Jaw and Doi Pui, Chiangmai

ณรงค์ มหรรณพ (2526)

บทคัดย่อ
ศกั ยการใหน้ ้ำท่าของลมุ่ น้ำบนภเู ขาที่มกี ารใช้ประโยชนท์ ด่ี ินแบบตา่ ง ๆ ได้ศึกษาโดยการ เกบ็ รวบรวม

ข้อมูลน้ำฝนและน้ำท่า บรเิ วณดอยปุยและทุ่งจ๊อ จังหวดั เชยี งใหม่ ตั้งแตเ่ ดือนมิถุนายน 2523 ถึงเดือนมนี าคม
2526 โดยเลือกพ้ืนท่ีทดลองสี่แบบคอื บริเวณดอยปยุ เลือกพื้นท่ีลมุ่ น้ำป่าดิบเขาธรรมชาติ มีสภาพเป็นป่าดิบ
เขาธรรมชาติทั้งหมดซ่ึงใช้เป็นพ้ืนที่ใช้ควบคุม พ้ืนท่ีอยู่อาศัยของมนุษย์ พื้นท่ีเกษตรกรรม และบริเวณทุ่งจ๊อ
เลอื กพนื้ ทีท่ มี่ ีการใช้ประโยชนแ์ บบผสม ซ่งึ พ้นื ท่ีดงั กล่าวนี้เคยเป็นป่าดิบเขาธรรมชาตมิ าก่อนทัง้ ส้ิน

ผลการศึกษาพบว่า บริเวณดอยปุยมีปริมาณน้ำฝน 2,038.4 มิลลิเมตร มากกว่าบริเวณทุ่งจ๊อ
(1,645.6 มิลลิเมตร) โดย เม่ือพ้ืนที่ป่าดิบเขาถูกเปล่ียนเป็นพ้ืนที่อยู่อาศัยของมนุษย์ พ้ืนท่ีเกษตรกรรม และ
พนื้ ทท่ี ีม่ กี ารใช้ทด่ี นิ แบบผสม จะมปี รมิ าณน้ำไหลในลำธารลดลง มนี ้ำไหลในลำธารตลอดปี มีการ เปลี่ยนแปลง
ของปริมาณนำ้ ในลำธาร เกดิ ขนึ้ เร็ว โดยมีเปอรเ์ ซน็ ตก์ ารให้น้ำในลำธารในช่วงน้ำหลากมากขึ้นและในช่วงแล้ง
ฝนน้อยลง พื้นท่ีปาดิบเขาธรรมชาติให้ปรมิ าณน้ำในลำธาร 1,540,150 ลกู บาศก์เมตรต่อตารางกิโลเมตรต่อปี
(75 เปอร์เซ็นต์ของปริมาณน้ำฝน) เป็นน้ำในช่วงน้ำหลาก 67.8 เปอร์เซ็นต์และช่วงแล้งฝน 32.2 เปอร์เซ็นต์
พ้ืนท่ีอยู่อาศัยของมนุษย์ให้ปริมาณน้ำในลำธารประมาณ 1,123,450 ลูกบาศก์เมตรต่อตารางกิโลเมตรต่อปี
(55 เปอร์เซ็นต์ของปริมาณน้ำฝน) เป็นน้ำในช่วงน้ำหลาก ให้ปริมาณน้ำในลำธารประมาณ 1,078,600
ลูกบาศก์เมตรต่อตารางกิโลเมตรต่อปี (52 เปอร์เซ็นต์ของปริมาณน้ำฝน) เป็นน้ำในช่วงน้ำหลาก 81.5
เปอร์เซ็นต์ และช่วงแล้งฝน 18.5 เปอร์เซ็นต์ และพื้นที่ที่มีการใช้ประโยชน์ท่ีดินแบบผสมให้ปริมาณน้ำใน
ลำธารประมาณ 571,300 ลูกบาศก์เมตร ตารางกิโลเมตรต่อปี (35 เปอรเ์ ซน็ ต์ของปริมาณนำ้ ฝน) เป็นปริมาณ
นาในชว่ งนำ้ หลาก 81.7 เปอรเ์ ซน็ ต์ และช่วงแล้งฝน 18.3 เปอรเ์ ซ็นต์

การศึกษาชว่ งฝนตกนำ้ ข้นึ ซ่ึงหมายถงึ ช่วงระยะห่างระหวา่ งชว่ งเวลาทฝ่ี น เร่ิมตกและน้ำเริม่ เพิม่ ข้ึนใน
ลำธาร พบว่าในพ้ืนท่ีป่าดิบ ในพ้ืนที่ท่ีมีการใช้ประโยชน์แบบอื่น ๆ เช่น พ้ืนที่อยู่อาศัยของมนุษย์ พื้นที่
เกษตรกรรม และพื้นที่ที่มีการใชป้ ระโยชน์ที่ดินแบบผสม แต่อย่างไรก็ตาม ในพื้นที่อยู่อาศัยของมนุษย์ พื้นที่
เกษตรกรรม และพื้นท่ีท่ีมีการใช้ประโยชน์ท่ีดินแบบผสมทุ่งจ๊อจะไม่แสดงความแตกต่างของช่วงฝนตกน้ำขึ้น
มากนกั นอกจากนย้ี งั พบว่าปรมิ าณนำ้ ฝนและระยะเวลาการตกของฝนจะไม่มีอทิ ธิพลโดยตรงตอ่ ชว่ งฝนตกน้ำ
ขน้ึ ในทกุ พื้นทีก่ ารใช้ประโยชนท์ ีด่ นิ ทัง้ น้ีจะขึ้นอย่กู บั ปริมาณฝนตกคร้ังกอ่ นและความซื้นดินขณะน้นั เปน็ สำคัญ

การคาดคะเนโอกาสท่เี กดิ การขาดน้ำในลำธาร พบวา่ พ้ืนที่ลมุ่ นำ้ ที่มกี ารใช้ทดี่ ินแบบผสม(ทุง่ จ๊อ) จะมี
โอกาสขาดนำ้ เป็นอนั ดับแรก รองลงมาคือพ้นื ทเ่ี กษตรกรรมและพืน้ ท่อี ย่อู าศยั ของมนุษย์ตามลาดบั พืน้ ทป่ี า
ดบิ เขาธรรมชาติจะไม่มโี อกาสที่จะขาดนำ้ ในลำธารเลย

101

Abstract
Potential of stream water was investigated in four land use patterns on mountainous

watersheds at Tug Jaw and Doi Pui in Chiangmai province from June 1 9 8 0 through March
1 9 8 3 . An experimental site at Doi Pui was composed of three land use patterns: hill
evergreen forest, Chang Kien human settlement, and agrocultural areas (wild peach
plantation). The fourth pattern was located at Tung Jaw and identified as Tug Jaw composite
land use with the combination of hill evergreen forest, huma settlement, agriculture, and
forest plantation.

Results found that the hill evergreen forest watershed at Doi Pui contributed stream
water 1,540,150 cu.m/km²/yr (75% of annual rainfall) which was divided into wet flow 67.8%
and dry flow 3 2 .2 % . While Chang Kien human settlement site found the stream water
1,123,450 cu.m/km²/yr or about 55% of annual rainfall (wet flow 69.9% and dry flow 30.1%),
agrocultural area 1,078,600 cu.m/km²/yr or about 52% of annual rainfall (wet flow 81.5%
and dry flow 18.5%), Tung Jaw composite land use 571,300 cu.m/km²/yr or about 35% of
annual rainfall (wet flow 81.7% and dry flow 18.3%). The findings indicated that conversion
of natural hill evergreen forest land to be any types of land use such as agroculture, human
settlement, and reforestation areas had unevitably caused the decreases of stream water, as
the same manner as decrease dry flow and increase wet flow. High rate of
evapotranspiration was expected in non-forested areas (agroculture, human settlement, and
composite areas) while the hill evergreen forest was opposite.

The study was also concentrated on lag time which is the period from beginning of
rainfalling util the streamflow starts rising. The hill evergreen forested watershed was shown
the longer time than the other types of land use for Chang Kien human settlement,
agroculture, and Tung Jaw composite land use. However, later three types did not show
significantly differences. Furthermore, amount of rainfall and its duration did not directly
influence on lag time in all types of land use, only antecident rainfall and soil moisture had
concerned with this phenomena.

Prediction of the most probable occurrence of water shortage in stream was made in
all land use types and found that Tung Jaw composite land use seemed to be the first
priority, while agroculture area (wild peach plantation) would be the second, and Chang Kien
human settlement was the last. Natural hill evergreen forest watershed did not show any
evidence of drying out of stream water.

102

ผลกระทบของการใชท้ ดี่ ินบนภเู ขาประเภทตา่ งๆ ต่อสมบตั ทิ างกายภาพของนำ้ บรเิ วณดอยปุย เชียงใหม่
Impacts of Various Mountainous Land Use Patterns on Physical
Properties of Water at Doi Pui, Chianghai

เกษม จันทร์แกว้ นิพนธ์ ตง้ั ธรรม สามัคคี บณุ ยะวัฒน์ วิชา นยิ ม
สทิ ธิชัย ตนั ธนะสฤษดิ์ ถนอม ดาวงาม และ ยลจิต เอกอุรุ (2527)

บทคดั ย่อ
การศึกษาผลกระทบของการใช้ประโยชน์ทด่ี ินบนภเู ขาท่ีมีต่อสมบัติทางกายภาพของน้ำในสภาพการ

ใช้ประโยชน์ต่างๆ คือ ป่าดิบเขาธรรมชาติ, สวนท้อ และหมู่บ้านชาวเขาเผ่าแม้วในบริเวณดอยปุย จังหวัด
เชียงใหม่ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือทำการวิเคราะห์สมบัติทางกายภาพในแง่ของความขุ่น,สี,ความเป็นกรดเป็น
ด่าง,อุณหภูมิ, ความกระด้างและการนำกระแสไฟฟ้าของน้ำที่เป็นผลมาจากการใช้ประโยชน์ในสภาพต่างๆ
โดยได้ทําการเก็บรวบรวมข้อมูลทุกๆ สัปดาห์ที่สองของเดือน ต้ังแตเดือนเมษายน 2522 จนถึงเดือนมีนาคม
2523 รวม 12 เดือน ผลการศึกษาปรากฏว่าความขุน่ และสีของนำ้ จากพ้ืนทลี่ ุ่มน้ำหมู่บ้านชาวเขาเผา่ แมว้ มคี ่า
สงู ท่ีสุด และมีความผันแปรในแต่ละเดือนมาก โดยจะผันแปรไปตามปริมาณน้ำฝนในแต่ละเดอื นอย่างเห็นได้
ชัด รองลงมาคอื น้ำจากพน้ื ท่ลี ุ่มนำ้ สวนทอ้ และป่าดบิ เขาธรรมชาติโดยมีคา่ ความข่นุ โดยเฉล่ยี ของน้ำ 13.2, 6.9
และ 1.3 JTU. และค่าสีเฉล่ียของน้ำ 99.83, 57.08 และ 22.67 Units ตามลำดับ ท้ังนี้เน่ืองจากในหมู่บ้าน
ชาวเขาเผา่ แม้วมีปริมาณสง่ิ ปกคลุมดินและอินทรียวัตถุในดินน้อยกว่าในพื้นท่ีสวนท้อและป่าดิบเขาธรรมชาติ
ทง้ั ยังมีกิจกรรมของมนุษย์ในพื้นท่ีแห่งน้ีมากกว่าพื้นท่ีแห่งอ่ืน จึงทําให้เกิดสิ่งเจือปนในนำ้ แล้วก่อให้ เกิดความ
ข่นุ และสมี ากกว่าในพนื้ ทีส่ วนทอ้ และปา่ ดบิ เขาธรรมชาติ

ความเป็นกรดเป็นด่างของน้ำจากท้ังสามสภาพพื้นท่ีการใช้ประโยชน์ทีด่ ินไม่เปลี่ยนแปลงมากนัก คือ
ผนั แปรอยู่ระหว่าง 6.00 – 7.22 แต่อย่างไรก็ดีปรากฏว่าน้ำ จากหมู่บ้านชาวเขาเผ่าแม้วมีความเป็นกรดเป็น
ด่างโดยเฉล่ียต่ำกว่าในพ้ืนท่ีป่าดิบเขาธรรมชาติ และพ้ืนที่สวนท้อ คือ 6.46, 6.78 ตามลำดับ ทั้งน้ีน่าจะ
เน่ืองมาจากพัดพาของสารอินทรีย์จากกิจกรรมของมนุษย์และสัตวเ์ ล้ียงและกิจกรรมของจลุ ินทรีย์ในน้ำ ซึ่งมี
ผลทําใหค้ วามเปน็ กรดเปน็ ดา่ งของนำ้ มีค่าต่ำลง อนึ่ง การจุดไหม้เผาป่าทเ่ี กิดข้ึน์ในพ้นื ท่สี วนทอ้ และปา่ ดบิ เขา
ธรรมชาตกิ ็เป็นอีกเหตุหนึง่ ท่ีทาํ ให้ความเปน็ กรดเป็นด่างเพิม่ ขน้ึ ไดบ้ า้ ง

สำหรับอุณหภูมิของน้ำจากพื้นท่ีลุ่มน้ำทั้งสามสภาพการใช้ประโยชน์ท่ีดินจะมีค่าสูงสุดในเดือน
พฤษภาคม และตำ่ สดุ ในเดือนกุมภาพันธ์ โดยอณุ หภูมิเฉล่ียของน้ำจากพน้ื ทลี่ ุม่ น้ำหมู่บ้านชาวเขาเผ่าแม้วจะสูง
กว่าพ้ืนท่ีลุ่มน้ำป่าดิบเขาธรรมชาติ และพื้นท่ีลุ่มน้ำสวนท้อ คือ 19.7, 19.0 แสะ 18.7 องศาเซลเซียส
ตามลำดับ ท้ังน้ี เนื่องจากกิจกรรมในการใช้ประโยชน์พื้นที่และกิจกรรมของจุลินทรีย์ในน้ำ สำหรับความผัน
แปรของอุณหภมู ขิ องน้ำใน แต่ละเดอื นจะผันแปรไปตามอุณหภมู ิของอากาศและสภาพการปกคลมุ ของพืชป่า
ไม้ ถ้ามีพืชคลุมดินมากก็จะทําให้อุณหภูมิเปลี่ยนแปลงไปได้น้อย และตรงกันข้ามถ้าพืชคลุมดินน้อยอุณหภูมิ

103

ของน้ำก็เปล่ียนแปลงได้มากในการน้ีจึงปรากฏว่าในพ้ืนที่ป่าดิบเขาธรรมชาติมีความผันแปรน้อยกว่าในพ้ืนท่ี
สวนทอ้ และหม่บู ้านชาวเขาเผ่าแม้ว

ค่าความกระด้างของน้ำและค่าการนำกระแสไฟฟ้าของน้ำจะมีแนวโน้มไปด้วยกัน คือ ถ้าหากมีความ
กระด้างมากการนำกระแสไฟฟ้าของน้ำจะมากด้วย สําหรับสภาพการใชป้ ระโยชน์ที่ดนิ ทัง้ สามอยา่ งน้ันปรากฏ
ว่าในพื้นท่ีลุ่มน้ำสวนท้อจะมีค่าเฉล่ียมากกวาในพ้ืนที่ลุ่มน้ำหมู่บ้านชาวเขาเผ่าแม้ว และป่าดิบเขาธรรมชาติ
โดยมีค่าความกระด้างเฉล่ีย 147.26, 97.66 และ 78.75 ppm CaCO3 และค่าการนำไฟฟ้าเฉล่ีย 0.126,
0.084 และ 0.036 mmho/cm ตามลำดับ ทั้งน้ีน่าจะเน่ืองมาจากการใช้ประโยชน์พ้ืนที่ คือเม่ือเป็นป่า
ธรรมชาติการไหลของน้ำลงสู่ลำธารจะเป็นน้ำใต้ดิน แทบจะไม่มีการไหลบ่าหน้าดินเลย การชะล้างพวก
แคลเซียมคาร์บอเนต และแมกเนเซียมคาร์บอเนต ลงสู่ลำน้ำจึงมีน้อยและเมื่อเปล่ียนสภาพป่าไปเป็นท่ีอยู่
อาศัยการไหลของน้ำก็จะเกิด์ในลักษณะของน้ำไหลบ่าหน้าดินเป็นส่วนใหญ่ การชะล้างพวกแคลเซียม
คาร์บอเนตลงสู่ลำนำ้ ก็มากข้ึน และมากย่งิ ขน้ึ เมอื่ เปล่ยี นสภาพป่าไปเปน็ พื้นท่ีเกษตรกรรมทำสวนท้อ เพราะทำ
ให้เกิดทั้งน้ำไหลบ่าหน้าดินและใต้ดิน การชะล้างจึงมีมาก สําหรับความผันแปรของความกระด้างและการ
นำกระแสไฟฟ้าของน้ำในแต่ละเดือนจะผันแปรไปตามปริมาณฝน โดยจะมีค่าสูงภายหลังจากเดือนท่ีมีฝนตก
หนัก

คุณภาพของน้ำในลําธาร ทางด้านกายภาพท่ีเก่ียวกับความขุ่น สี ความเป็นกรดเป็นด่าง อุณหภูมิ
ความกระดาง และการนำกระแสไฟฟ้า โดยสรุปแล้วในพ้ืนท่ีป่าดิบเขา ธรรมชาติ น้ำมีคุณภาพได้มาตรฐาน
เพื่อใชใ้ นการบริโภค สำหรบั ในพื้นทีส่ วนท้อน้ำมคี ุณภาพ ต่ำกว่ามาตรฐานเล็กน้อย จาํ เป็นที่จะต้องกักเกบ็ น้ำ
ไว้เพ่ือให้ตกตะกอนระยะหน่งึ ก่อนท่ีจะนำไปบริโภค ส่วนในพ้ืนท่ีหมู่ชาวเขาเผ่าแม้วน้ำมีคณุ ภาพต่ำกว่ามาตร
ฐานไมเ่ หมาะทจ่ี ะใช้ ในการบรโิ ภค แต่นำ้ จากทั้งสามสภาพการใช้ประโยชนท์ ด่ี ินยังสามารถใช้ในการเลีย้ งสตั ว์
และการชลประทาน เพือ่ การเพาะปลูกได้

ผลการศึกษาชใ้ี หเ้ หน็ วาการเปลี่ยนสภาพพื้นท่ีลุ่มน้ำจากป่าดิบเขาธรรมชาติเป็นพื้นท่ีเกษตรกรรมทำ
สวนท้อและแหล่งท่ีอยู่อาศัย ก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพของน้ำทางกายภาพอย่างเห็นได้เด่นชัด ดังน้ัน
พ้ืนท่ีต้นน้ำสำธารบนภูเขาสูงที่มีป่าดิบเขาธรรมชาติปกคลุม จึงควรอย่างยิ่งท่ีจะต้องอนุรักษ์ไว้ เพ่ือให้ เป็น
แหล่งนำ้ ท่ีมีคณุ ภาพดี และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในทกุ ๆ ทางไดต้ ลอดไป

104

Abstract
The impact study of various land use patterns on physical properties of water was

conducted at Doi Pui Chiengmai in the watershed areas of hill-evergreen forest, wild peach
orchard, and Mao hill-tribe village. Streamwater was collected every second week of the
month during the period of April 1979 through March 1980. The physical properties of water
were separately analyzed color, turbidity, pH temperature har dness, and electrical
conductivity

The results found that water color was quantified the highest value at Mao hill-tribe
village 99.83 units and varied evidently with monthly rainfall, wild peach orchard 57.08 units
and hill-evergreen, forest 22.67 units the least. Turbidity also found the same trend of water
of water color, Mao hill-tribe village was the highest value (13.2 JTU), and hill-evergreen
forest (1.3 JTU) the least. It was reasoned that less plant cover and organic matter as well
as more human activities in the Mao hill-tribe village than the other types of landuse would
cause higher values of color and turbidity in the streamwater pH of water found in the range
of 6.00 to 7.22 with average value of Mao hill-tribe village at 6.46, hill-evergreen forest at
6.79 and wild peach orchard at 6.95. Wash out of waste materials from human and animal
activities as well as micro-organisms would cause high acidity of streamwater. Also forest fire
would be another reason of high acidity in the streamwater of hill-evergreen forest and wild
peach orchard areas.

Water temperature of all land use patterns found the maximum in May and the
minimum in February, with the av erage value in Mao hill-tribe village hill-evergreen forest,
and Wild peach orchard 19.7, 19.0 and 18.7 ºC respectively. Land use and micro-organism
activities would be the cause of temperature fluctuation as well as air temperature and
inversely with the percentage of plant cover.

Hardness and electrical conductivity of water showed the same trend of variation.
The results of analysis for hardness quality of water found the maximum in wild peach
orchard watershed (147.26 ppm CaCO3) while values found in Mạo hill-tribe village and hill-
evergreen forest were 97.66 and 78.75 ppm CaCo3 , respectively. In the same manner,
electrical conductivity found 0.126, 0.084, and 0.036 mmho/cm in the wild peach orchard,
hill-tribe village, and hill-evergreen forest,repectively. No surface flow and small parts of
waste washes in to the stream water in the hill-evergreen forest would cause less hardness
and electrical conductivity than the other two land use types. However, values of hardness
and electrical conductivity will vary directly of the amount of rainfall.

105

Summary Speaking, physical properties of water in terms of turbidity, color, pH,
temperature, hardness, add electrical conductivity in the hill-evergreen forest would be on
standard. But streamwater in the wild peach orchard was slightly lower standard, deposition
of suspended sediment is recommended before using the water. Unfortunately, steamwater
of Mao hill-tribe village was lower standard and not suitable to use. However, streamwater
of all land use types could be used for raising the animals and irrigation for cultivating crops.

The investigation was pointed out that changing the hill-evergreen forest to be
another lahdLuse typesfsuch as wild peach orchard and human settlement impacted
evidently on physical properties of streamwater, Therefore,protection of highland watershed
with dense forest cover is very necessapy to conserve land in order to contribute good
water quality foe any purposes of using.

106

การวเิ คราะห์หาปรมิ าณซัลเฟตในดิน นำ้ ดนิ ตะกอนของลำธารและการดดู ซบั ซลั เฟตของดนิ
จากบรเิ วณทุง่ จ๊อและดอยปยุ เชยี งใหม่

An Analysis of Sulfate Content in Soil, Stream water, Sediment and
Sulfate Adsorption by Soil at Doi Pui and Tung Jaw in Chiengmai

สุปาณี วิชญานนั ต์ (2527)

บทคดั ย่อ
การศึกษาคร้ังน้ีได้วิเคราะห์หาปริมาณซัลเฟตในดิน น้ำ ดินตะกอนของลำธาร และการดูดซับ

ซัลเฟตของดิน จากพ้นื ท่ีการใช้ประโยชนท์ ่ีดิน 4 พื้นท่ี คอื พนื้ ที่ป่า ธรรมชาติ บริเวณสถานีวจิ ัยลุ่มน้ำห้วยคอก
ม้า (ดอยปุย) และพ้ืนที่การต้ังถ่ินฐานของ มนุษย์ พื้นที่ป่าปลูก กับพ้ืนท่ีเกษตรกรรม บริเวณโครงการหลวง
พฒั นาต้นน้ำหน่วยที่ 1 (ทุ่งจ๊อ) จังหวัดเชียงใหม่ โดยเก็บตัวอย่าง ดิน น้ำ และดินตะกอนของลำธาร สำหรับ
หาปริมาณซัลเฟต ต้ังแต่เดือนสิงหาคม 2525 ถึง เดือนพฤษภาคม asas และ เก็บตัวอย่างดินสำหรับหา
ความสามารถในการดดู ซับซลั เฟตของดิน ในเดอื นมกราคม 2828

ผลการริเคราะหพ์ บวา่ ปริมาณซลั เฟตในดิน เฉลี่ยพน้ื ท่ตี ่าง ๆ มีดังน้ี พื้นทีป่ า่ ธรรมชาติ มีคา่ สูงสุด คือ
44.00 ppmS รองลงมาได้แก่พื้นท่ีป่าปลูก 20.31 ppmS พื้นที่การต้ังถิ่นฐานของมนุษย์ 21.13 ppmS และ
พื้นท่ีเกษตรกรรมมีค่าต่ำสุด คือ 12.25 ppmS นอกจากน้ียังพบว่าปริมาณซิลเฟตในตินตะกอนบริเวณท้ัง 4
ดังกล่าวมีค่าเฉล่ียตามลำดับดังนี้ 51.00 ppmS, 51.50 ppmS, 32.00 ppmS และ 12.00 ppmS ในขณะท่ี
ปรมิ าณซลั เฟตในน้ำจากบริเวณพื้นที่ทง้ั 4 นัน้ มคี ่า 0.36 ppmS, 0.44 ppmS, 0.53 ppmS และ0.37 ppmS
ตามลำดับ เมื่อเปรียบเทยี บปรมิ าณ ซัลเฟตในดนิ น้ำ และดินตะกอน จากพ้ืนท่ีประเภทตา่ ง ๆ บรเิ วณทุ่งจ๊อ
กับพื้นที่ป่า ธรรมชาติบริเวณดอยปุย จะเห็นว่าการเปลี่ยนแปลงสภาพปาธรรมชาติไปพัฒนาใช้ประโยชน์ใน
ด้านต่างๆ มีผลกระทบต่อปรมิ าณซัลเฟต ซง่ึ เป็นธาตุอาหารของพชื

ส่วนการทดลองหาความสามารถในการดูดซับซัลเฟตของดิน พบว่าบริเวณ ป่ าธรรมชาติ มี
ความสามารถในการดูดซับซัลเฟตสูงสุด เมื่อดูจากค่าเฉล่ียในระดับ ความลึกของดิน 0-50 เซนติเมตร
รองลงมาได้แก่พ้ืนที่ป่าปลูก พื้นที่เกษตรกรรม และพ้ืนที่การตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ ตามลำดับ นอกจากนี้ยัง
พบว่าความสามารถในการดูด ซับซัลเฟตของดินในบริเวณพื้นที่ทั้ง 4 จะเพิ่มข้ึนเมื่อความเข้มข้นของ
สารละลายซลั เฟตที่ใชใ้ นการทดลอง เพิ่มข้ึน

107

Abstract
Specific areas in the Royal Watershed Development Project (Tung Jaw) and The Kog

Ma Watershed Research station (Doi Pui) in Chiengmai have been analysed for vsulfate
content over a period of time. Analysis of sulfate content in soil, stream water and sediment
was done during August, 1982 - May, 1983 and analysis of sulfate adsorption by soil in
January, 1983. The major forms of land use, from which samples were collected, consisted
of : human settlement, agriculture and reforestation area at the Royal Watershed
Development project (unit one) ; evergreen forest area at the Kog Ma Watershed Research
Station.

It was found that the average sulfate content in soil at the hill evergreen forest,
reforestation, human settlement and agricultural areas were = 44.00 ppmS, 28.31 ppms,
21.13 ppmS and 12.25 ppms respectively. Furthermore the average sulfate content in
sediment found in the above 4 areas was: 51.88 ppmfi, 51.50 ppmS, 32.68 ppmS and 12.08
ppmS respectively. Whereas the mean values of sulfate content in stream water found in
the above 4 areas were : 0.36 ppms, 0.44 ppms, 0.53 ppmS and 0.37 ppms respectively.

The sulfate content in soil, stream water and sediment from humn settlement,
agricultural and reforestation areas at Tung Jaw was found to be different from the hill
evergreen forest area. This may be due to irregular changes in areas owing to anthropogenic
activities which affect the amount of sulfate present in the samples studied.

Soil sulfate adsorption was studied using samples derived from 0 - 60 cm. in depth of
ground level. ,Soil from the evergreen forest area showed the highest sulfate adsorption
capacity, followed by soil from the reforestation, agricultural and human settlement areas
respectively. The sulfate adsorption capacity of soil studied is affected by the concentration
of soluble sulfate. The data show that increasing amounts of sulfate in solution increased
the tendency for the soil to adsorb sulfate.

108

การกระจายช่องว่างขนาดต่างๆ ของดินปา่ ดิบ เขาธรรมชาตแิ ละไร่เล่ือนลอย บรเิ วณดอยปุย เชียงใหม่
Pore-Size Distribution of Natural Hill-Evergreen forest and Shifting Cultivation Soils

at Doi Pui, Chianghai

เกษม จันทร์แก้ว นิพนธ์ ตงั้ ธรรม สามคั คี บุณยะวฒั น์ วิชา นยิ ม
สิทธิชยั ตนั ธนะสฤษด์ิ ถนอม ดาวงาม และ ยลจิต เอกอรุ ุ (2527)

บทคดั ยอ่
การศึกษาการกระจายช่องว่างขนาดต่างๆ ของดินป่าดิบเขาธรรมชาติและไร่เลื่อนลอย ท่ีสถานีวิจัย

ลมุ่ น้ำห้วยคอกม้า ดอยปยุ เชียงใหม่ มีวตั ถุประสงค์หลกั เพื่อทำการวิเคราะหแ์ ละเปรียบเทยี บการเปลย่ี นแปลง
การใชป้ ระโยชนท์ ่ีดนิ จากสภาพป่าดิบเขาธรรมชาตเิ ป็นพ้ืนที่ไรเ่ ล่ือนลอย ว่ามีผลต่อการกระจายขนาดชอ่ งวา่ ง
ในดนิ ซ่ึงมีอิทธิพลตอ่ การเก็บกักนำ้ และระบายน้ำจากดนิ อย่างไร การศึกษาน้ีใช้ตวั อยา่ งดินแปรสภาพในการ
ทดลองหาปริมาณอินทรียวตั ถุในดนิ การกระจายขนาดอนุภาคดินและความหนาแน่นอนุภาคของดิน และใช้
ตัวอย่างดินคงสภาพเพ่ือการกระจายช่องว่างขนาดต่างๆ ของดิน สัมประสิทธ์ิของการซึมน้ำขณะดินอ่ิมตัว
ผลการทดลองและวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า ดินป่าดิบเขามีปริมาณช่องว่างทั้งหมดในแต่ละความหนาของชั้นดิน
(A, B1, B2 และ B3) ประมาณ 0.64, 0.59, 0.54 และ 0.49 เปอร์เซนต์ ของปริมาตรดินตามลำดับ เมื่อทำไร่
เล่ือนลอยแล้วช่องว่างลดลงเหลือ 0.57, 0.54, 0.49 และ 0.44 เปอร์เซนต์ ตามลำดับ การกระจายช่องว่าง
เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมดังนี้ ดินช้ันบนและช้ัน B1 มีช่องว่างขนาดใหญ่ท่ีให้การระบายน้ำอย่างรวดเร็ว
18 เปอรเ์ ซนต์ และ 10 เปอร์เซนต์ ลดลงจากเดมิ 9 เปอร์เซ็นต์ และ 6 เปอรเ์ ซนต์ ช่องวา่ งขนาดเล็กที่ให้การ
ระบายน้ำอย่างช้าๆ ในดินช้ันบน 14 เปอร์เซนต์ เพิ่มขึ้นจากเดิม 2 เปอร์เซนต์ ดินชั้น B2 และ B3 มีการ
เปล่ียนแปลงขนาดช่องไม่มากนัก จากการเปลี่ยนแปลงขนาดช่องว่างเมื่อเปล่ียนสภาพจากป่าดิบเขาเป็นไร่
เล่ือนลอยทำให้โครงสร้างของดินเปลี่ยนแปลงไป ซง่ึ แสดงได้โดยค่าของดัชนขี องการกระจายช่องว่างในดินช้ัน
A และ B1 ของดินป่าดิบเขา เปลี่ยนแปลงจาก 0.70 และ 0.84 เป็น 1.24 และ 0.86 ตามลำดับ
ในขณะเดียวกนั การระบายน้ำตามแนวดงิ่ และด้านข้างของดินลดลง โดยเฉพาะอย่างยิ่งช้ันอินทรียวัตถุของดิน
บริเวณป่าดบิ เขาถูกทำลาย ปริมาณอนิ ทรยี วัตถุในดินแต่ละชั้นลดลง และความหนาแนน่ รวมของดินแต่ละช้ัน
เพิ่มข้ึน จึงทำให้สมรรถนะในการระบายน้ำลดลงอย่างมาก ยังผลทำให้บรเิ วณพื้นท่ีไร่เล่ือนลอยมีโอกาสท่ีจะ
เกดิ นำ้ ไหลบา่ หน้าผิวดนิ ไดง้ า่ ย หลงั จากมฝี นตกในปรมิ าณไม่มากนัก

109

Abstract
The Study On pore-size distribution of natural hill-evergreen forest and shifting

cultivation soil was conducted at Kog-Ma watershed research Station, Doi Pui Chiangmai. The
sizellldistraibfution of pores that contributed to storage and drainage wateziin soil were
compared between those two areas in particular depth of soil profiles. Physical properties of
soils such as particle-size distribution, particle density, and organic matter were analyzed
from disturbed soil samples and analysis of pore-side distribution and hydraulic conductivity
were studied from undisturbed soil samples. The results indicated that total porosity of hill-
elvergreen forest soil (A, B1, B2 and B3 profiles) decreased from 0.64, 0.59, 0.54 and 0.49 % to
0.57, 0.54, 0.49, 0.44 % respectively after the utilization of had Ind been changed to Shifting
cultivation area.

Quick drainage pores (< 30 um) decreased abruptly in A and B1 horizons from 18 %
and 18 % to 9 % and 6 % resoectively. Slow drainage Pores (9-30 ưm) in A horizon, on the
other hand, increased 2 % from 14 %. Pore-size distribution index in A and B1 horizons
chenged from 0.7 and 0.84 to 1.21 and 0.86, but B2 and B3 horizons didn't change by these
impacts. The interpretation of those nubers designated that well -developed structure of
hill-evergreen forest soil became poor structure and this affected the permeability of water
in soil.

In reverse to trend of change in soil organic matter content, bulk density of shifting
cultivated soils increeseddin all soil profiles which implied that water absorptivity and
permeability of hill-evergreen forest soil were suppressed and surface runoff might be
induced in Shifting cultivation area in spite of low intensity rainfall.

110

การสูญเสยี ดินและน้ำจากการประยุกต์ระบบวนเกษตร : การศกึ ษาเฉพาะ
กรณีการทำสวนกาแฟในป่าดบิ เขาท่ดี อยปุย เชยี งใหม่

Soil and Water Losses from Agra-forestry Systems: A Case Study
of Coffee Plantation under Hill-Evergreen Forest at Doi Pui, Chiengmai.

พรชัย ปรชี าปัญญา (2527)

บทคดั ยอ่
การศกึ ษาการสูญเสียดนิ และน้ำจากการประยุกต์ระบบวนเกษตร เฉพาะกรณีการหาสวนกาแฟใต้ป่า

ดิบเขา ได้ดำเนินการที่สถานีวิจัยลุ่มน้ำห้วยคอกม้า คอยปุย เชียงใหม่ เม่ือเดือนมิถุนายน ถึงเดือนตุลาคม
2525 โดยศึกษาถึงอิทธิพลของพลังงานจลน์ท่ีเกิดข้ึนจากฝน ฝนผนวกน้ำไหลบ่าหนาดิน และน้ำพืชหยด
ต่อการสูญเสียดิน ขณะเดียวกันก็เปรียบเทียบการสูญเสียดินและน้ำไหลบ่าหนาดิน โดยการวางแผนการ
ทดลองแบบ 2x3 factorial with completely randomized design โดยแยกปัจจัยหลักเป็นป่าดิบเขาเป็น
2 สภาพ คอื ป่าดบิ เขาธรรมชาติ และป่าดิบเขาเส่ือมโทรม ขณะเดียวกันก็แยกปัจจยั รองของวธิ กี ารจดั การสวน
กาแฟ เป็น 2 แบบ คือ แปลงกาแฟที่ปลกู ในป่าในลักษณะมีไม้พ้ืนล่าง และไม่มีไม้พนื้ ล่าง โดยมีแปลงที่ปล่อย
ตามธรรมชาติเป็นแปลงควบคุม แต่ละแบบได้กระทำ 2 ซ้ำ บันทึกข้อมลู เกีย่ วกับสภาพภูมิประเทศ ภมู ิอากาศ
สมบตั ิดิน การสูญเสียดินและน้ำ และการเจรญิ เติบโตของต้นกาแฟ ซ่งึ ผลการศึกษาสรุปได้ว่า การสูญเสียดิน
และน้ำมากทสี่ ุดในแปลงทดลองกาแฟใต้ป่าดบิ เขาเสือ่ มโทรมทีไ่ ม่มีไมพ้ ้ืนลา่ ง 45. 13 กโิ ลกรมั ตอ่ เฮกแตรต์ ่อปี
และ 16.67 มิลลิเมตรต่อปีตามลําดับ เม่ือเปรียบเทียบปัจจัยหลัก พบว่าให้ค่าการสูญเสียดินไม่แตกต่างกัน
อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ แต่ให้ค่าการสูญเสีย น้ำที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญยิ่งหางสถิติ และเม่ือ
เปรยี บเทยี บปจั จัยรองพบว่า ใหค้ ่าการสูญเสียดินและน้ำแตกตา่ งกันอยา่ งมีนยั สําคญั ยง่ิ ทางสถติ ิ ดัชนพี ืชคลุม
ดิน (C-Factor) ซงึ่ ใชอ้ ยู่ในสมการการสูญเสียดนิ สากลประเมินจากพลังงานจลน์ทงั้ 3 รปู แบบคอื พลังงานจลน์
ของฝน พลังงานจลน์ของน้ำพืชหยด พลังงานจลน์ของ ผ่นผนวกน้ำไหลบ่าหน้าดิน มีค่าเฉล่ีย 0.0004,
0.00085 และ 0.0003 ตามลำดับ สําหรับการเจริญเติบโตของต้นกาแฟนั้น พบว่าการเจริญเติบโตท่ีวัดเป็น
ความสูงของ ต้นกาแฟสําหรับในปีแรกของการทดลองไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ โดยมีค่าความสูงเฉล่ีย
41.76 เซนตเิ มตร

111

Abstract
The studies on soil and water losses from agroforestry systems were carried out as a

case study of coffee plantation under hill-evergreen forest at Kog-Ma Watershed Research
Station at Doi Pui, Chiengmai during June and October 1 9 8 2 by using 2 x3 factorial with
completely randomized design. Twp hill-evergreen forest conditions, undisturbed and
disturbed forest, were assigned to be the main plots while those three management actions,
coffee plantation with, without undergrowth and control were treated to be the sub plots.
There were two replications in each experiment. Data on soil and water losses, growth of
coffee tree together with meteorological data and site condition were recorded. Data
analysis showed that maximum soil and water losses were obtained from coffee plantation
under disturbed hill-evergreen forest without undergrowth having the values 45.13 kg/ha/yr
and 1 6 . 6 7 mm/yr respectively. Statistical speaking, however, revealed no significant
difference in soil losses, but highly significant difference in water losses among treatments.
There were highly significant differences in soil and water losses between sub plots. Crop
management factor in Universal Soil Loss Equation (C) estimated on the bases of rainfall
factor, throughfall factor and erosivity factor was of 0.000#, 0.00085 and 0.0003, respectively.
Growth of coffee planted was insignificant differences among treatments with an average
height of 41.76 cm.

112

ผลกระทบจากการใชป้ ระโยชนท์ ดี่ ินต่อคณุ ภาพของนำ้ บริเวณดอยปุยและทงุ่ จอ๊ เชยี งใหม่
IMPACT OF LAND USE ON WATER QUALITY AT DO PUE AND TUNG JAW CHANGMAI

อนนั ตศกั ด์ิ สอ่ งพราย (2527)

บทคดั ยอ่
จากการศึกษาค้นคว้าเก่ียวกับผลกระทบจากการใช้ประโยชน์ท่ีดินต่อคุณภาพของน้ำบริเวณดอยปุย

และทุ่งจ๊อ จังหวัดเชียงใหม่ พบว่าการเปล่ียนแปลงการใช้ประโยชน์ท่ีดินจากป่าธรรมชาติไปใช้เป็นท่ีทํา
การเกษตร และจัดเป็นทีอ่ ยู่อาศัยในบรเิ วณทสี่ ูง มีผลกระทบต่อคุณภาพของน้ำโดยเฉพาะสีและความขนุ่ ของ
น้ำในลําธารท่ีไหลมา จากพื้นที่ป่าธรรมชาติ พ้ืนที่สวนป่า ที่ทำการเกษตรค่าอุณหภูมิของน้ำเท่ากับ 19.8,
20.0 และ 20.3 ºC; pH 6.38, 6.84, 6.87 และ 6.80; ความขุน่ ขน้ 1,2, 3.2, 425.1 และ 75.0 J. T.U.; สีของ
น้ำ 15, 16, 1,385 และ 287 units; การนําไฟฟ้า 21, 51, 39 , 6.3, 60 micro-mhos/cm; และความ
กระด้าง 5, 13, 12 463 46 ppm CaCO3 ตามลำดับ ถึงแม้วา่ ขณะน้ีคณุ ภาพน้ำจากลําธารต่างๆ ดังกล่าวจะ
ยังคงมคี ่าอยู่ในมาตรฐานท่ียอมรบั สําหรับการอุปโภคก็ตาม แต่ถ้าหากปราศจาก มาตรการในการป้องกันและ
หรือการจัดการและปฏบิ ัติท่ดี พี อ คณุ ภาพของนาํ ในลําธารอาจ จะได้รับผลกระทบอยา่ งรนุ แรงในอนาคตได้

Abstract
The impact of various land use types on water quality at Kog Ma and Tung Iaw

watersheds in Chiangmai has been investigated. The changing of land use from the natural
foriestto agroculture and for human settlement on highland areas can affect the water
qualify especially the colour and turbidity of stream water. It was found that the average
values of stream water quality from the hill evergreen forest, reforestation, agroculture and
human settlement sites were as follows : temperature 19.8, 20.1, 20.0 and 20.3 ºC; pH 6.38,
6.84, 6.87 and 6.80: turbidity 1.2, 3.2, 425.1 and 75.0 J.T.U.; colour 15,16,1,385 and 287 units;
electrical conductivity 21, 51, 39 and 60 micro-mhos/cm; and hardness 5, 13, 12 and 16 ppm
CaCO3; respectively. Although the Water quality in each of the investigation tributaries is still
within the acceptable range of water quality criteria for public water supply and usages but
Without any preventive measures and/ or good management practices the stream Water
quality might be seriously in the future.

113

การศกึ ษาชนิดและการประเมินคา่ ไทรและมะเด่ือพืน้ เมืองบนดอยสเุ ทพ-ปยุ จงั หวดั เชียงใหม่
A Study on the Species and Evaluation of Native Figs on the Highland
of Doi Suthep-Pui, Chiang Mai.

อนันตศักดิ์ ส่องพราย (2527)

บทคัดย่อ
การวิจยั คร้ังนีม้ ีวัตถุประสงคเ์ พ่ือวิเคราะห์หาชนิด สักษณะทว่ั ไป สภาพท่ีข้นึ อยู่ และประเมนิ ค่าการใช้

ประโยย่น์ทางพืชสวนของไทรและมะเดื่อฟื้นเมือง ที่พบบนดอยสุเทพ-ปุย จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อเป็นการ
สะดวกในการที่จะนำผลจากการศกึ ษาครั้งนไ้ี ปปรับประยุกตใ์ ชก้ บั งานทางด้านพืชสวนตอ่ ไป

เรม่ิ ศกึ ษาตั้งแต่ระดับความสงู 700 เมตร ถึง 1 , 600 เมตร ลากระดับน้ำ ทะเล โดยเก็บตัวอยา่ งของ
ไทรและมะเดื่อพื้นเมืองท่ีพบในพื้นท่ีดังกลา่ ว คืกษาลักษณะทั่วไป และสภาพที่ขึ้นอยู่ นำตัวอย่างท่ีเก็บไดม้ า
วิเคราะห์หาชนิด โดยเปรียบเทียบทางอนุกรม วิธาน และประเมินค่าการใช้ประโยชน์ทางพืชสวนในด้าน ผัก
ไมผ้ ล ไม้ประดบั และสมุน ไพร ของไทรและมะเตื้อฟ้ืนเมอื งแต่ละชนิด โดยศึกษาและประเมนิ ค่าจากลักษณะ
คุณสัมบัติ และข้อมูลของไทรและมะเดื่อพ้ืนเมืองแต่ละชนิดที่มีผู้รายงานไว้ ตลอดจนข้อมูลท่ีได้จากการ
สอบถามการใช้ประโยชนข์ องชาวฟน้ื เมอื ง

ผลการศึกษาปรากฏว่าได้พบไทรและมะเดื่อพ้ืนเมืองบนดอยสู่เทพ-ปุย จังหวัดเชยี งใหม่ ทั้งหมดจํานวน 21
ชนิด เป็นไม้ยืนต้นและไม้พุ่ม จํานวน 17 ชนิด และ เป็นไม้เลื้อยจํานวน 4 ชนิด สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในทาง ผัก
จาํ นวน 8 ขนดิ ไมผ้ ลจํานวน 6 ยนดิ ไมป้ ระดบั จาํ นวน 20 ชนิด และสมุนไพร จํานวน 6 ชนดิ

Abstract
The objectives of this research were to identify the species and to study the general

characteristics, habitat and horticultural evaluation of native figs found on the highland of
Doi Suthep-Pui, Chiang Mai. The result of this research would be useful for horticultural
applications.

The area included in this study started from an elevation of 700 meters up to 1,600
meters above sea level. Specimens of native figs were collected and their general characteristics and
habitat were noted. Each native fig was identified and analyzed by taxonomical comparison. Evaluation
was made on the horticultural value of each species, namely vegetable, fruit, ornamental and
medicinal value, based from its general characteristics and quality as well as local reports on its use.

In this study, 21 species of native figs were found, 17 species of which were trees and
shrubs while 4 species were climbers. Eight species were used as vegetable; 6 species as
fruit; 20 species as ornaental plants and 6 species as medicinal remedies.

114

การออกแบบตกแตง่ พ้นื ท่นี นั ทนาการโดยใช้พนั ธ์ุไม้ทอ้ งถน่ิ ศึกษาเฉพาะบรเิ วณนำ้ ตกหว้ ยแกว้
อทุ ยานแหง่ ชาติดอยสเุ ทพ-ปยุ

Landscaping Recreation Area with Native Species:
Case Study at Huay Kaew Fall, D01 Suthep-Pui National Park

ฉนั ทนา อคั ควฒั น์ (2527)

บทคัดย่อ
การนำพนั ธุ์ไมท้ ้องถน่ิ มาใชใ้ นการตกแต่งพืน้ ที่นนั ทนาการนน้ั จะตอ้ งอาศัยการศึกษา และวเิ คราะหถ์ ึง

ระบบสิ่งแวดล้อมของพื้นที่นั้น ๆ โดยพิจารณาถึงปัจจัยทางสภาพภูมิอากาศ สภาพภูมิประเทศ ดินและหิน
ตลอดจนปจั จัยทางชวี ภาพ และศึกษา ถงึ พันธ์ุไมท้ ้องถิ่นซึ่งสามารถ จะนำมาปลูกได้ในสภาพแวดลอ้ มดังกล่าว
ซ่ึงต้องคํานึงถึงผลกระทบในด้านต่าง ๆ อันอาจจะเกิดขึ้น เช่น ความเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศน์และ
ทศั นภาพ และคํานงึ ถึงความต้องการในการใชป้ ระโยชน์พื้นทอี่ ีกดว้ ย

การวิจัยน้ีได้ใช้พ้ืนท่ีบรเิ วณน้ำตกห้วยแกว้ วังบัวบาน และผาเงิบ ในเขตอุทยาน แห่งชาติดอยสู่เทพ-
ปุย เป็นสถานที่ทําการศกึ ษา เพือ่ นำพันธ์ุไม้ท้องถ่ินมาใช้ในการตกแตง่ สถานท่ี ซึ่งพันธ์ุไม้ดงั กล่าวจะต้องเป็น
พันธ์ุไม้ที่ข้ึนอยู่ในระบบนิเวศน์โดยธรรมชาติของอุทยาน แห่งชาติดอยสู่เทพ-ปุย ในการศึกษาถึงปัจจัย
สิ่งแวดล้อมของพื้นท่ีนั้นได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารและการออกเก็บข้อมูลในพื้นท่ีจริงในระหว่างวันที่
10-25 มีนาคม 2525 ซ่ึงรวมท้ังการออกแบบสอบถามความต้องการของนักท่องเท่ียวท่ีสามารถเก็บตัวเลยได้
จำนวน 106 ชดุ แล้วนำข้อมูลตา่ ง ๆ มาวเิ คราะหแ์ ละศกึ ษาถงึ ปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหา ตลอดจนสง่ิ ท่ี
เปน็ ขอ้ จํากัดของพน้ื ท่ี ซง่ึ จะนา่ ไปสแู่ ผนการพัฒนาและปรบั ปรุงพ้ืนทีใ่ นทส่ี ดุ

แผนพัฒนาพ้ืนที่บริเวณน้ำตกห้วยแก้วได้แบ่งออกเป็น 2 ระดับคือ เป็นแผนระยะสิ้น และระยะยาว
ท้ังน้ีข้ึนอยู่กับความจําเป็นในการพัฒนาและเงินงบประมาณของอุทยานแห่งชาติ เป็น สำคัญ และจาก
แผนพัฒนาทั้ง 2 ระดบั อาจสรปุ ได้ว่าควรมีการพัฒนาเก่ียวกับการรกั ษา ความสะอาดของพน้ื ที่ การจัดระเบยี บ
ร้านค้าและที่จอดรถ ควรมีกําหนดเวลาในการปิด-เปิด พื้นท่ี และท่ีสำคัญคือควรจะปลูกต้นไม้เพิ่มเติม ซ่ึงมี
พันธ์ุไม้ท้องถิ่นที่เสนอไว้สําหรับการปลูกประดับพ้ืนท่ี 73 ชนิดจากปาชนิดต่าง ๆ ในอุทยานแห่งชาติดอย
สุเทพ-ปุย พันธ์ุไม้เหล่านี้มี ท้ังท่ีเป็นไม้ยืนต้น ไม้เลื้อย ไม้พุ่ม ไม้คลุมดิน ฯลฯ ซ่ึงควรค่าแก่การนํามาใช้
ประโยชน์ต่างกัน เช่น ให้ร่มเงาและช่วยลดความร้อนจากแสงแดด ช่วยรักษาหน้าดินและช่วยปรับปรุง
คุณสมบัติของดินใหด้ ีขึ้น เปน็ แนวทางเดนิ และใช้เพือ่ แบ่งเขตพื้นที่หรือเป็นแนวฉากกบั สายตา นอกจากน้ีตน้ ไม้
ยังชว่ ยในการลดมลพษิ ทางเสียง ฝ่นุ ละออง ฯลฯ

แผนการพัฒนาพื้นท่ีท่ีจัดทำไว้น้ีพยายามที่จะไม่ให้มีขอบเขตที่จำกัดตายตัวหรือเน้น ในรายละเอียด
มากนัก เพ่ือให้ผู้นาไปปฏิบัติสามารถท่ีจะเปล่ียนแปลงและปรับปรุงได้ตาม สถานการณ์ และอาจนำไปใช้กับ
พน้ื ท่ธี รรมชาตอิ ่นื ๆ ทีม่ สี ภาพของปญั หาที่คล้ายคลึงกัน

115

Abstract
The purpose of this study was to investigate the existing condition of recreational

setting and use patterns of Huey Kaew complex at Suthep-Pui National Park in Chiang Mai
and to improve the area by using native species of trees and shrubs for better environment
and environmental protection. Site planning and landscaping approach were used in the
study. Field survey and site analysis were conducted during the month of March 1982. Such
information as topographic features, climatic condition, soil, geology, and local species were
collected and assessed along with visitors’ recreation patterns and needs. Master plan and
planting design were the final product of the study. In addition, recommendations for short
and long term actions were outlined accordingly.

116

การศกึ ษาปรมิ าณคารบ์ อนไดออกไซดใ์ นน้ำท่ีไหลผา่ นพืน้ ท่กี ารใชท้ ีด่ นิ ประเภทต่างกนั บนภเู ขา
บริเวณดอยปยุ จังหวัดเชียงใหม่

Determination of Carbondioxide in Stream Water from Different Land Use Patterns
on Mountain at Doi Pui, Chiangmai

นงนชุ จนั ทราช (2528)

บทคัดย่อ
การศึกษาปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ในน้ำที่ไหลผ่านพ้ืนท่ีการใช้ท่ีดินประเภทต่างกันบน ภูเขา

บริเวณดอยปุย จังหวัดเชียงใหม่ ได้ดำเนินการตั้งแต่ เดือนมิถุนายน 2524 ถึง เดือนมิถุนายน 2525 โดยได้
เลือกพื้นท่ีสำหรับการศึกษา 3 แห่ง คือ พ้ืนที่ป่าดิบเขาธรรมชาติ พื้นที่เกษตรกรรมและพ้ืนท่ีหมู่บ้านชาวเขา
เผ่าแม้ว การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คาร์บอนไดออกไซด์ในแหล่งน้ำของบริเวณดังกล่าวพร้อมกับการ
เปล่ยี นแปลงปรมิ าณคาร์บอนไดออกไซด์ในนำ้ จากพน้ื ทก่ี ารใชท้ ่ีดินประเภทต่างกนั บนภูเขา

ผลการศกึ ษาปรากฏว่าปริมาณคารบ์ อนไดออกไซด์มีคา่ ผนั แปรระหว่าง 2.0-43.0 พพี ีเอ็ม. โดยพ้นื ที่
ป่าดิบเขาธรรมชาติมีค่าผันแปรระหว่าง 4.0-11.5 พีพีเอ็ม. และมีค่าเฉลี่ย ตลอดปีประมาณ 7.4 พีพีเอ็ม.
พ้ืนที่เกษตรกรรมมีค่าปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ในน้ำผันแปรระหว่าง พีพีเอ็ม. และมีค่าเฉลี่ยตลอดปี
ประมาณ 4.2 พีพีเอ็ม. ส่วนพื้นท่ีหมู่บ้านชาวเขาเผ่าแม้วมีค่าผันแปรระหว่าง 11.2 – 4.3 พีพีเอ็ม. และมีค่า
เฉล่ียตลอดปีประมาณ 25.4 พีพีเอ็ม. เมื่อเปรียบเทียบปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ในแหล่งน้ำทั้งสามแห่ง
ปรากฏว่าหมู่บ้านชาวเขาเผ่าแม้วมีปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ไนน้ำสูงท่ีสุด (25.4 พีพีเอ็ม. ) รองลงมาคือ
พ้ืนท่ีป่าดิบเขาธรรมชาติ(7.4 พีพีเอ็ม.) และพ้ืนท่ีเกษตรกรรม(4.2 พีพีเอ็ม.) ตามลำดับ ท้ังน้ีเน่ืองจากบริเวณ
หมู่บ้านชาวเขาเผ่าแม้วมีปริมาณอินทรียสารอันได้แก่ เศษใบไม้ร่วงหล่น มูลสัตว์ ขยะและสิ่งปฏิกูลจาก
กิจกรรมของชาวเขาในหมู่บ้านซ่ึงทำให้มีกิจกรรมการย่อยสลายอินทรียสารโดยจุลนิ ทรียใ์ นดินและน้ำมากกว่า
บริเวณอื่น ส่วนบริเวณพื้นท่ีเกษตรกรรมมีปรมิ าณคาร์บอนไดออกไซด์น้อยทีส่ ุด เน่ืองจากบริเวณนี้เป็นที่ เปิด
โลง่ และมีพชื ปกคลมุ ดนิ น้อยมาก การชะล้างอินทรียสารโดยน้ำ ซึ่งไหลบา่ หนา้ ดนิ ซึ่งไหลบ่าหนา้ ดิน เป็นไปได้
อย่างสะดวกทำให้ความอุดมสมบูรณ์ของดนิ และน้ำบริเวณนี้มีนอ้ ยมาก อย่าง ไรกต็ ามลักษณะการผันแปรของ
ปริมาณ คาร์บอนไดอ อกไซด์ในแหล่งน้ำทั้งสามแหล่งในรอบปีมีลักษณะใกล้ เคียงกันกล่าวคือ
คาร์บอนไดออกไซด์ในน้ำจะมีปริมาณสูงสุดในช่วงฤดูหนาว (ธันวาคม-มีนาคม) และจะค่อย ๆ ลดปริมาณลง
จนพบว่ามีนอ้ ยทส่ี ุดในชว่ งฤดูฝน

อุณหภูมิของนำ้ ในแหล่งน้ำทั้งสามแหลง่ มคี วามแตกต่างกนั นอ้ ยมากกล่าวคือ อณุ หภูมิของน้ำบริเวณ
ปา่ ดิบเขาธรรมชาติมีคา่ เฉลี่ยประมาณ 18.9 องศาเซลเซยี ส พ้ืนทเี่ กษตรกรรมประมาณองศาเซลเซียส แลพ้นื ท่ี
หมูบ้านชาวเขาเผ่าแม้วประมาณ 19.2 องศาเซลเซียส

ผลการศึกษาสรุปได้ว่า ปจั จัยสาคญั ที่ทำให้น้ำในพ้นื ที่ที่ศึกษามปี ริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ แตกต่าง
กัน คือลักษณ ะการใช้ท่ีดิน ของแต่ละพ้ืน ท่ี ส่วน อุณ หภูมิของน้ำมิใช้เป็น ปัจจัยที่ทำให้ปริมาณ

117

คาร์บอนไดออกไซด์ในน้ำมีการเปล่ียนแปลงจนทำให้ค่าแตกต่างกัน ท้ังน้ี เพราะว่าแม้น้ำในแหล่งน้ำ ทั้งสาม
แหล่งจะมีอุณหภูมิ เท่ากันแต่ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ในน้ำก็มีค่าแตกต่างกัน เฉลี่ยของอุณหภูมิตลอดปี
ของพ้นื ทท่ี ง้ั สามจะใกล้เคียงกนั แต่ปรมิ าณคารบ์ อนไดออกไซดใ์ นน้ำก็แตกต่าง กันอย่างมาก อย่างไรกต็ าม เมื่อ
พจิ ารณาตามช่วงฤดกู าลจะพบวา่ ปรมิ าณคาร์บอนไดออกไซดใ์ นน้ำ แตกต่างกนั ในแตล่ ะฤดูกาล

Abstract
Determination of carbondioxide in stream water from different land use patterns on

mountain at Doi Pui, Chiangmai was performed during the period of June 1981 through June
1982. Three sites on mountain at Doi Pui, Chiengmai selected were hill-evergreen forest,
agricultural area and Maoe Chang Khian Village. The objectives were to determine
carbondioxide quantities in stream water there and to observe carbondioxide changing.

The results were as follow : carbondioxide content varies from 2.0 - 43.0 ppm., 4.0 -
11.5 ppm. in hill - evergreen forest, 2.0 - 8.0 ppm. in agricultural area and 11.2 - 43.0 ppm. in
Maoe Chang Khian Village. The average content was 7.4, 4.2 and 25.4 ppm. in hill-evergreen
forest, agricultural area and Maoe Chang Khian. Village, respectively. Maximum carbondioxide
content was in Mace Chang Khian Village (25..4 ppm.) because there were a lot of organic
material such as leaf falls, feces and waste product from Maoe Chang Khian Village activities
which cause decomposition by bacterial activi ties in soil and stream. Minimum
carbondioxide content was in agricul tural area (4.2 ppm.) because it was an opened area
which had a little leaf crown and density and surface run off happened much more than the
other areas. For these reasons the fertility of soil and water was very low. However, the
patterns of carbondioxide variation in three area seem to be almost the same that was : the
carbondioxide content was high in winter and low in rainy season.

The water temperature of three areas aré not different. There were 18.9ºC, 18.5ºC
and 19.2ºC in hill-evergreen forest, agricultural area and Maoe Chang Khian Village,
respectively.

The conclusion of studies was the main factor influenced the different amount of
carbondioxide contents is land use patterns. Water temperature was not the main factor
which caused different amount of carbondioxide in stream water because although water
tempreature was near the same value but the amount of carbondioxide were much
different.

118

ลกั ษณะโครงสรา้ งและการกระจายของขนาดชอ่ งวา่ งในปา่ ดิบเขาธรรมชาติดอยปยุ จังหวดั เชยี งใหม่
Structural Characteristics and Gap Size Distribution of the Hill Evergreen Forest
at Doi Pui, Chiangmai

มงคล วรรณประเสรฐิ (2528)

บทคัดย่อ
การศกึ ษาลักษณะโครงสร้างและการกระจายของขนาดช่องว่างในป่าดิบเขาธรรมชาติ ได้ดำเนินการที่

บริเวณสถานีวิจัยลุ่มน้ำห้วยคอกม้า ดอยปุย เชียงใหม่ ระหว่างเดอื น มีนาคม 2526 - พฤศจิกายน 2527 โดย
วางแปลงตัวอย่างขนาด 100 x 100 ตารางเมตร จำนวน 1 แปลง และแบ่งออกเปน็ แปลงย่อยขนาด 10 x 10
ตารางเมตร แล้วบันทึกชนิดและจำนวนต้นของพรรณไม้ท่ีมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางท่ีความสูงเพียงอกตั้งแต่
4.5 เซนติเมตรขึ้นไป เพื่อนำไปหาความหลากชนิด ดัชนีของความสำคัญและแบบการกระจายของพรรณไม้
วดั ความสูงถงึ กิ่งสดกิ่งแรก ความสูงทั้งหมดของต้นไม้ ตาํ แหน่งของต้นไม้ และความกว้างของเรือนยอด เพื่อ
นำไปวิเคราะห์การแบ่งช้ันของเรือนยอดและแบบการปกคลุมของเรือนยอดตามแนวราบ เพ่ือหาขนาดและ
จำนวนของช่องวา่ งระหวา่ งเรอื นยอด

ต้นไม้ท่ีมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางท่ีความสูงเพียงอกน้อยกว่า 4.5 เซนติเมตร แต่มีความสูงถึง 1.30
เมตรนั้น ทําการวัดในแปลงขนาด 4 x 4 ตารางเมตร ซึ่งสุ่มเลือกอยู่ในแปลงขนาด 10 x 10 ตารางเมตร
จำนวน 4 แปลง ต้นไม้ที่มีความสูงน้อยกว่า 1.30 เมตร ทำการวางแปลงขนาด 1 x 1 ตารางเมตร ซ่ึงสมุ เลือก
อยู่ในแปลงขนาด 4 x 4 ตารางเมตร จํานวน 16 แปลง แบบการกระจายของต้นไม้ศึกษาโดยใช้ index of
dispersion แบบการปกคลุมของเรือนยอดเกิดจากต้นไม้ที่มีความสูงต้ังแต่ 15 เมตรขึ้นไป สําหรับการศึกษา
การสืบพันธุ์ตามธรรมชาติ ได้ศึกษาในบริเวณที่อยู่ภายใต้เรือนยอดและบรเิ วณท่ีเป็นช่องวางระหว่างเรือนยอด
ในขนาดของพน้ื ท่ีต่าง ๆ กัน

ในการศกึ ษาลกั ษณะโครงสร้างและสภาพการสบื พนั ธตุ ามธรรมชาตภิ ายใต้ ช่องวางระหว่างเรอื นยอด
ในเชิงปริมาณของพรรณไม้ ได้แบ่งพรรณไม้ออกเป็น 3 ประเภทคือ 1) พรรณไม้ท่ีมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางท่ี
ความสงู เพียงอกต้ังแต่ 4.5 เซนติเมตรขน้ึ ไป 2) พรรณไม้ท่ีมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางที่ความสงู เพยี งอกน้อยกว่า
4.5 เซนตเิ มตร แต่มคี วามสูงถงึ 1.30 เมตร และ 3) พรรณไม้ท่ีมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางทีความสงู เพียงอกน้อย
กว่า 4.5 เซนติเมตร และมีความสูงน้อยกว่า 1.30 เมตร โดยกำหนดให้พรรณไม้ประเภทที่ 2 และ 3 เป็น
พรรณไม้ท่ีเกิดจากการสืบพนั ธตุ์ ามธรรมชาติจากพรรณไม้ประเภทแรก

จากผลการศึกษาพบว่า จำนวนชนิดพรรณไม้ พ้ืนท่ีหนา้ ตัด ความสูงเฉลี่ย และความหลากชนิดของ
พรรณไม้ประเภทแรก ในป่าดิบเขาบรเิ วณนี้มีมากที่สดุ สว่ นความหนาแน่นของพรรณไม้น้ัน ประเภทที่ 3 มี
มากที่สุด พรรณไม้ประเภทแรก ประเภทที่ 2 และ ประเภทท่ี 3 ท่ีเด่นและสำคัญมากที่สุด ได้แก่ ก่อเดือย
หมบี่ ้ง และตองหอม ตามลำดับ ซงึ่ พรรณไม้ประเภทแรกน้ีสามารถแบ่งชั้นของเรอื นยอดออก เป็น 3 ช้นั คือ I,
II และ III มีความสูงตั้งแต่ 29.7 เมตรข้ึนไป 21.30 -29.70 เมตร และน้อยกว่า 21.30 เมตร ตามลำดับ

119

สำหรับเรือนยอดช้ัน III สามารถแบ่งเป็นช้ันย่อยได้ 2 ชั้น คือ ช้ัน IIIa และ IIIb มีความสูงระหว่าง 15.75 -
21.30 เมตร และนอ้ ยกว่า 15.75 เมตร ตามลำดบั

แบบการกระจายของพรรณไม้ประเภทแรก ท้ังป่ามีการกระจายเป็นแบบสุ่มและพรรณไม้ที่เด่นและ
สาํ คัญมากท่ีสดุ 4 ชนิด ได้แก่ ก่อเดอื ย แสนนางวาน จำแจ้ และก่อแหลม มีการกระจายแบบจับกลุ่ม

การกระจายของขนาดช่องว่างระหว่างเรือนยอดทำการศึกษาในพื้นท่ี 3 เฮกแตร์ พบว่าช่องว่าง
ระหว่างเรือนยอดทั้งหมดมีพื้นที่ 5028 ตารางเมตร หรือ 16.76 เปอร์เซ็นต์ และขนาดของช่องว่างระหว่าง
เรอื นยอดทีม่ ีขนาดใหญทส่ี ดุ มพี ้ืนที่

ปริมาณแสงสว่างสัมพัทธ์ท่ีระดับพื้นดินมีค่าเพ่ิมขึ้นตามขนาดของช่องว่าง เรือนยอดที่เพิ่มขน้ึ โดยมี
คา่ เฉล่ียตัวกลางเรขาคณิตของปริมาณแสงสว่างสัมพัทธ์ท่ีระดับพ้ืนดนิ เท่ากับ 3.73 เปอร์เซ็นตของแสงสว่าง
กลางแจ้ง จำนวนของชนิดพรรณไม้และความหลากชนดิ ของพรรณไม้ประเภทท่ี 2 และประเภทท่ี 3 พบใน
ช่องว่างระหว่างเรือนยอดที่มีขนาดเล็กที่สุด มากท่สี ุด ขณะที่ความหนาแน่นของพรรณไม้มากที่สุด พบใน
ขนาดของช่องว่างระหว่างเรอื นยอดทีม่ ขี นาดใหญ่ทส่ี ุด

Abstract
Structural characteristics and gap size distribution of the hill evergreen forest at

Kog-ma Watershed Research Station, Doi Pui, Chiangmai were investigated during March,
1 9 8 3 to November, 1 9 8 4 . One sample plot, 1 0 0 x1 0 0 m² was intensively studied by
subdivided into 100 subplots (10 x 10 m²) All trees with 4.5 cm in DBH, and over existing in
100 x 100 m² plot were mapped, recorded and measured of their trunk diameter at 1.30 m
in height for calculating the species diversity, importance value index, dispersion pattern.
Height of the lowest living branch, total height, position and crown diameter of trees were
also measured for the analysis of the vertical structure, crown projection, size, number and
distribution of canopy gap.

Trees, less than 4.5 cm in DBH, but taller than 1.30 m in height were investigated by
four random 4 x 4 m² plots within the 1 0 x 1 0 m2 , trees, below 1 .3 0 m in height were
investigated by sixteen 1 x 1 m² plots within the 4 x 4 m². Distribution pattern of trees were
examined by using Ig index. Crown projection diagram was drawn for trees taller than 15 m.
Natural regeneration under closed canopy and in various gap sizes was investigated by
different sizes of quadrat.

In a study on analytic characteristics and canopy gap regeneration, trees were divided
intothree categories: the first, tree with 4.5 cm in DBH, and over; the second, tree less than
4.5 cm in DBH, but taller than 1.30 m in height and the . third, tree less than 4.5 cm in DBH,

120

and below 1.30 m in height, whereas the second and the third categories represented the
regenerated trees in the canopy gap.

The results of the study showed that the maximum number of species, basal area,
average tree height and diversity were found in the first category while the highest density
was found in the third category. The most important tree species as determined by IVI was
Castanopsis acuminatissima in the first category, Lisea monopgtala in the second category
and Phoebe lanceolata in the third category. The vertical structure of the first category
could be precisely divided into three layers, above 29.70 m, 21.30 - 29.70 m and below
21.30 m. Moreover the third layers can be subdivided further into two sublayers at 15.75 m.

Dispersion pattern of all trees in the first category was random but the four
important tree species: Castanopsis acuminatissima, Duranta repens, Ardisia vestita and
Castanopsis ferox were contagious distribution.

Twentysix gaps were found in the 3 ha study area. Their maximum size was 1236 m²
and the total gap area was 5028 m², which was 16.76 percent of the study area.

The relative illuminance at ground level increase with increasing canopy gap size.
The geometric mean of relative illuminance at ground level was 3 -7 3 percent of the full
sunlight. The maximum number of species and diversity of the second and the third
categories were found in the small canopy gap while the highest density of the second and
the third categories were found in the biggest canopy gap.

121

ความชืน้ สัมพทั ธก์ บั อุณหภมู ิของอากาศบนภูเขา ดอยปุย เชียงใหม่
Relative Humidity and Temperature of Climate on Mountainous Land

at Doi Pui, Chienqmai

วรวชิ อทิ ธโิ ชติ (2528)

บทคัดย่อ
การศึกษาความช้ืนสัมพัทธ์กับอุณหภูมิของอากาศบนภูเขาสูง บริเวณสถานีวิจัยลุ่มน้ำ ห้วยคอกม้า

ดอยปุย จังหวัดเชียงใหม่ ใช้ข้อมูลจาก Hygro-thermograph แบบบันทึกข้อมูล อัตโนมัติของสถานีที่ได้
รวบรวมไว้ เป็นเวลา 1 5 ปี ระหวา่ ง พ.ศ.2509 ถึง พ.ศ.2526 (ยกเว้น พ.ศ.2513-2515) ผลการศกึ ษาพบว่า
ค่าเฉลี่ยของความช้ืนสัมพัทธ์ต่ำสุด อุณหภูมิสูงสุดและต่ำสุดเป็นดังน้ี ความช้ืนสัมพัทธ์ต่ำสุดเดือนมีนาคม
เท่ากับ 35.5 เปอร์เซนต์ ฤดูร้อน 52.6 เปอร์เซนต์ ฤดูฝน 73.1 เปอร์เซนต์ และฤดูหนาว 54.1 เปอร์เซนต์
อุณหภูมิสงู สุดเฉลีย่ เดือนเมษายน 28.9 องศาเซลเซียส ฤดูฝน 22.8 องศาเซลเซียส และฤดูหนาว 22.3 องศา
เชลเซียส อุณหภูมิต่ำสุด เฉล่ียท่ีเดือนธันวาคม 12.4 องศาเซลเซียส อฤดูร้อน 18.1 องศาเชลเชียส ฤดูฝน
17.5 องศาเซลเซยี ส และฤดูหนาว 13.7 องศาเซลเซยี ส

โอกาสของการเกิดความชื้นสัมพัทธ์ที่ระดับ 8 เปอร์เซนต์มีเพียงร้อยละ 0.0005 อุณหภูมิอยู่ระหว่าง
24-27 องศาเซลเซียส ท่ีระดับ 40 เปอร์เซนต์ มีโอกาส เกิดข้ึนร้อยละ 5.7 อุณหภูมิอยู่ระหว่าง 22.8-27.2
องศาเซลเซียส และที่ระดับ 76 เปอร์เซนต์มีโอกาสเกิดขึ้นร้อยละ 74.3 อุณหภูมิอยู่ระหว่าง 19-20.5 องศา
เซลเซียส จากการคาดคะเนท่ีระดับ 80 เปอร์เซนต์มีโอกาส เกิดข้ึนร้อยละ 84.0 ที่ระดับ 96 เปอร์เซนต์ มี
โอกาส เกิดข้ึนร้อยละ 99.2 จากการทดสอบทางสถิติพบว่าค่าความช้ืนสัมพัทธ์ต่ำสุดกับอุณหภูมิสูงสุด ไม่มี
ความสัมพนั ธ์กัน ความชื้นสัมพัทธต์ ่ำสุดอุณหภูมิสูงสุด และอุณหภูมิต่ำสุดของปี พ.ศ. 2509 เปรียบเทยี บกันถึง
พ.ศ. 2526 มีความแตกต่างกันรูปแบบความชื้นสัมพัทธ์ต่ำสุด ปกติจะมีค่าต่ำมากท่ีสุด เดือนมีนาคม แล้วจะ
ค่อย ๆ สูงขึ้นจนถึงมิถุนายน ในเดือนกรกฎาคมของบางปีค่าความช้ืนสัมพัทธ์ต่ำสุดจะลดลงต่ำกว่า หรือ มีค่า
ใกล้เคียงกับเดือนข้างเคียง และจะสูงท่ีสุด เดือนสิงหาคมและจะค่อย ๆ ลดลงในเดือนตุลาคม ค่าความชื้น
สัมพัทธ์ต่ำสุดจะลดลงต่ำกวา่ หรือมคี ่าใกล้เคียงกับเดือนข้างเคียง จากนั้น จะลดลงจนถึง เดือนมีนาคมอีกครั้ง
ทางด้านอุณหภูมิสูงสุดและต่ำสุด ปกติจะต่ำมากที่สุด เดือนธันวาคม แล้วจะค่อย ๆ เพิ่มขึ้นสูงสุดเดือน
เมษายน พอเข้าสู่ฤดูฝน อุณหภูมิสูงสุดและต่ำสุด จะผันแปรอยู่ในลักษณะใกล้เคียงกัน พิสัยของความช้ืน
สัมพัทธ์ต่ำสุดแตกต่างกันน้อยที่สุดเดือนกุมภาพันธ์มีค่า 24.3 เปอร์เซนต์ พิสัยของอุณหภูมิสูงสุดและต่ำสุด
ตา่ งกนั มากท่ีสุด เดอื นธันวาคม 6.2 และ 4.0 องศาเซลเชียส ระหวา่ งอุณหภูมิสูงสุดและต่ำสุด พิสัยของ เดอื น
กุมภาพันธ์ 10.9 องศาเชลเชียส เดือนสิงหาคม 4.7 องศาเซลเซียส ช่วงอุณหภูมิสูงสุดอยู่ระหว่าง 20.4-28.9
องศาเชลเซียส และช่วงอุณหภมู ิต่ำสดุ อยู่ระหว่าง 12.4-18.6 องศาเซลเซยี ส

122

Abstract
An analysis of relative humidity and temperature on mountainous land at Kog-Ma

Watershed Research Station, Doi Pui, Chiengmai is done basing on the data from
hygrothermograph collected at climatic station during 1966-1983 (except 1970-1972). It is
found that the average minimum relative humidity occuring in March is 35.5 percent, and
the average minimum for summer, rainy season and winter 52.6, 73.1 and 51.4 percent,
respectively. The average maximum temperature is 28.9ºC in April, and the average
maximum temperature for summer, rainy season and winter is 26.4, 22.8 and 22.3ºC,
respectively. The average minimum temperature is 12.4ºC in December and the average
minimum temperature for summer, rainy season, and winter is 18.1, 17.5 and 13.7ºC,
respectively.

The probability of relative humidity at 8 percent is 0.0005 percent at 24-27ºC ; at 40
percent it is 5.7 percent at 22.8-27.2ºC ;and at 76 percent it is 74.3 percent at 19-20.5ºC ; an
expectation of 80 percent and 96 percent are 84.0 and 99.2 percent, respectively. From the
statistic test the minimum relative humidity and maximum temperature are not relative. The
minimum relative humidity, maximum temperature and minimum temperature of 1966
compared to 1983 are different.

The pattern of minimum relative humidity is lowest in March and slowly increases up
to June. In July of some years the minimum relative humidity is lower or about the same as
previous months, and the highest in August and then slowly decreases. In October it
becomes lower or nearly the same as previous months and then again becomes higher up
to March. The maximum and minimum temperature is lowest in December and slowly
increases up to April. The maximum and minimum temperature are vary only a little. The
range of average minimum relative humidity is least different in February is 24.3 percent. The
range of maximum and minimum temperature are most different, in December, 6.2 and
4.0ºC. Between the maximum and minimum temperature, the range in February is 10.9ºC
and in August is 4.7ºC. The interval of maximum temperature is 20.4-28.9ºC and the interval
of the minimum temperature is 12.4-18.6ºC.

123

การสูญเสียไนโตรเจน ฟอสฟอรสั และโปแตสเซยี มจากสวนกาแฟในปา่ ดบิ เขาดอยปยุ เชียงใหม่
Nitrogen, Phosphorus and Potassium Losses from Coffee Plantation
in Hill-Evergreen Forest at Doi-Pui Chiangmai.

สญั ญา ศรลัมพ์ (2528)

บทคัดยอ่
การศึกษาการสญู เสียไนโตรเจน ฟอสฟอรัสและโปแตสเซียม จากกระบวนการฟังหลายของดนิ โดยน้ำ

จากสวนกาแฟปีที่ 2 ในป่าดิบเขา ได้ดำเนิน การท่ีสถานีวิจัยลุ่มน้ำห้วยคอกม้า ดอยปุย เชียงใหม่ ระหว่าง
เดือนมกราคม ถึง เดือนธันวาคม 2526 โดยใช้แผนการทดลองแบบ 3 x 3 factorial with completely
randomized design โดยแยกปัจจัยหลักเป็นสภาพป่า 3 สภาพ คือ ป่าดิบเขาธรรมชาติ ป่าดิบเขาเส่ือม
โทรม และไร่ร้าง ขณะเดยี วกันก็แยก ปัจจัยของวิธีการจัดการพ้ืนที่เป็น 3 แบบ คือ ปลูกกาแฟโดยไม่มีไม้พ้ืน
ล่าง กาแฟโดยมีไม้พ้นื ล่างและพ้ืนทท่ี ี่ปลอ่ ยไว้ตามธรรมชาติเป็นแปลงควบคุม แต่ละแบบได้ กระทํา 2 ซ้ำ ผล
การศกึ ษาพบว่า ไนโตรเจนสูญเสียไปมากท่ีสุดในแปลงไร่ร้างท่ี ปลูกกาแฟโดยไม่มีไม้พ้ืนล่าง 29. 27 กิโลกรัม
ต่อเฮกแตรต์ ่อปี เม่ือเปรียบเทียบ สภาพป่าพบว่า ให้ค่าการสูญเสยี ไนโตรเจนแตกต่าง กันอย่างไม่มีนยั สําคัญ
ทางสถิติ แต่เมื่อเปรียบเทียบวิธีการจัดการพ้ืนท่ี และความสัมพันธ์ระหว่างสภาพป่ากับวิธีการจัดการพ้ืนท่ี
พบว่าให้ค่าการสญู เสียไนโตรเจนแตกต่างกนั อย่างมนี ยั สำคัญทางสถิติ ส่วนฟอสฟอรสั และโปแตสเซียมสูญเสีย
ไปมากท่ีสุดในแปลงป่าดิบเขาเส่ือมโทรมท่ี ปล่อยไว้ตามธรรมชาติ และแปลงไร่รา้ งท่ีปลกู กาแฟโดยไม่มีไม้พ้ืน
ล่าง 52.87 และ 122.72 กรัมต่อเฮกแตร์ต่อปี ตามลำดับ และปริมาณที่สูญเสียไปนั้นแตกต่างกันอย่าง ไม่มี
นัยสาํ คญั ทางสถติ ิ ความเขม้ ขน้ ของไนโตรเจนในดินเปล่ยี นแปลงไประหว่างตน้ ปี กบั ปลายปีแตกต่างกันอยา่ งมี
นัยสําคัญทางสถติ ิในแต่ละวิธกี ารจัดการพ้ืนท่ี และความเข้มข้นของไนโตรเจนปลายปีมีค่าเพิ่มขึน้ ส่วนความ
เข้มข้นของฟอสฟอรัสและ โปแตสเซียมในดินเปล่ียนแปลงไประหว่างต้นปีกับปลายปีแตกต่างกันอย่างไม่มี
นัยสําคัญ หางสถิติ โดยท่ีความเข้มข้นของฟอสฟอรัสปลายปีมีค่าเพ่ิมขึ้น แต่ความเข้มข้นของ โปแตสเซียม
ปลายปีมคี า่ ลดลง สําหรับอัตราการเจริญเติบโตของกาแฟท่วี ัดจากเส้นผ่าศูนยก์ ลางของเรอื นยอดพบว่า ท่ปี ลูก
ในป่าดิบเขาเส่ือมโทรมโดยไม่มีไม้ พ้ืนล่างมีอัตราการเจริญเติบโตสูงสุด 28.2 เซนติเมตรต่อปี และอัตราการ
เจรญิ เตบิ โตของกาแฟในแตละสภาพป่าแตกตางกนั อยางมีนยั สําคญั ทางสถติ ิ

124

Abstract
The studies on nitrogen, phosphorus and potassium losses by water erosion from the

second year of coffee platation in hill-evergreen forest were carried out at Kog-Ma
Watershed Research Station, Doi Pui, Chiangmai during January to December 1983 using 3 x 3
factorial with completely randomized design. Three forest conditions, undisturbed hill-
evergreen forest, disturbed hill-evergreen forest and old clearing area, were designed to be
the main plots while those three management actions, coffee plantation with, without
undergrowth and control were treated to be the sub plots.There were two replications in
each experiment. Data analysis showed that maximum nitrogen loss of about 29 kg/ha/yr
was found in coffee plantation in old clearing area without undergrowth. Statistical speaking,
however, reveled no significant difference in nitrogen loss among forest conditions, but
significant difference in nitrogen loss among management actions and among combination
factor, forest conditions and management actions. Maximum phosphorus and potassium
losses were occurred in disturbed hill-evergreen forest and coffee plantation in old clearing
area without undergrowth having the values 52.87 and 1229.72 g/ha/yr,respectively. It can
be, however, statistically concluded that there were no significant difference in phosphorus
and potassium losses. It was also found that nitrogen concentration in soil surface in various
management actions significantly increased at the end of the year but indicating in significant
difference in the concentration change of phosphorus and potassium. Phosphorus
concentration increased in soil surface at the end of the year but potassium decreased.
Coffee plantation in disturbed hill-evergreen forest with undergrowth yielded the maximum
growth rate having the diameter of crown cover of 28.2 cm/yr. Rate of growth of coffee
among forest conditions were statistically significant difference.

125

ความสัมพันธร์ ะหวา่ งเฟนิ กับสภาพแวดล้อมบริเวณป่าดบิ เขาดอยปุย เชียงใหม่

Relationship of Ferns and Environment in Hill Evergreen Forest at Doi Suthep-Pui, Chiang Mai

อภริ ดี ฟูสมบัติ (2528)

บทคดั ย่อ
ความสัมพันธ์ระหว่างเฟินกับสภาพแวดลอ้ มบรเิ วณปา่ ติบเขาดอยสุเทพ-ปุย เชียงใหม่ ได้ทําการศึกษา

ในพื้นท่ีแต่ละระดับความสงู จากน้ำทะเล คอื 1,000: 1,100; 1,200 : 1,300 : 1,400, 1,500 และ 1,600 เมตร
ตามลำดับ โดยดําเนินการ ระหว่างเดือนมีนาคม 2525 ถึงเดือนมีนาคม 2526 การศึกษาคร้ังนี้ได้วางแปลง
ตัวอย่างขนาด 5 x 5 เมตร ในพื้นที่แต่ละระดับความสูงจำนวน 3 แปลง แต่ละแปลง ทำมุมกันประมาณ
60 องศา ห่างกันประมาณ 10 เมตร รวมท้ังหมด 21 แปลง เพื่อเก็บ ข้อมูลเก่ียวกับ ชนิด ลักษณะ การออก
สปอร์ การเพิ่มและลดจํานวนของใบเฟินในแต่ละเดือน พร้อมกันนี้ได้เก็บตัวอย่างดินบริเวณข้าง ๆ แปลง
ตัวอย่างแปลงละ 1 หลุม ท่ีระดับ ความลึก 0 -20 เซนติเมตร เพื่อนํามาศกึ ษาคุณสมบัติดิน ปริมาณความข้ึน
ในดิน และนํามา เป็นวัสดุในการเพาะสปอร์เฟิน ทําการวัดอุณหภูมิ ความเข้มแล้ง เพ่ือศึกษาสภาพแวดล้อม
ทดลองเพาะสปอรเ์ ฟินในอาหารผสม และในดินตัวอย่างท่ีนํามาจากบริเวณป่าดิบเขา ดอยสุเทพ-ปุย ท้ังความ
สูงของพื้นท่ี 7 ระดับ เพ่ือศึกษาถึงปัจจัยท่ีมีผลต่อการงอกของ สปอร์ จากการศึกษา พบว่า ในระดับต่าง ๆ จาก
ความสูงเหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง 7 ระดับของป่าดิบเขาดอยสุเทพ-ปุย มีเฟินข้ึนอยู่ 11 ชนิด คือ Angiopteris
evecta, Cyathea latebrosa, Cyclosorus sp., Dicranopteris linearis, Lzgodium salicifolium, Microlepia
speluncae, Pteridium aguilinum, Pteris decrescens,Schizoloma ensifolium แ ล ะ Thelzgteris sp. 2 ช นิ ด
สำหรับชนิดของเฟินที่พบจะแตกต่างกันไปตามสภาพแวดล้อมโดยเฉพาะเก่ียวกับปริมาณความขึ้นในดิน อุณหภูมิ
ความเข้มแสงของแต่ละระดับความสูงของพื้นที่ กล่าวคือCyclosorus sp., Lzgodium salicifolium, Microlegia
speluncae, Pteris decrescens และSchizoloma ensifolium จะขึ้นอยู่ในพื้นท่ีระหว่างระดับความสูง
1,000 เมตรถึง 1,200 เมตร เหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง ส่วนท่ี ระดับความสูง 1,300 เมตรเหนือ
ระดับน้ำทะเลปานกลางจะพบเฟิน Angiopteris evecta, Cyathea latebrosa และ Thelypteris Sp. ชนิด
ที่ 2 และในพ้ืนท่ี ระหว่างระดับความสูง 1,!นุ00 เมตรถึง 1,600 เมตรเหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง จะพบ
เฟิน Dicranopteris linearis Pteridium aquilinum และ Thelypteris sp. ชนิดที่ 1 ปริมาณของเฟินแต่ละชนิดจะ
เพ่ิมมากข้ึนในฤดูฝน และจะ ลดจํานวนลงในปลายฤดูหนาวและต้นฤดูร้อน เน่ืองจากในช่วงดังกล่าวมีความแห้งแล้ง
และมีไฟป่าเกิดข้ึนอยู่ประจํา จึงทําให้เฟินถูกทําลายและแห้งตายไป ส่วนการศึกษา เกี่ยวกับคารเพาะสปอร์ของเฟิน
Cyclosorus sp. ,Lygodium salicifolium, Microlepia speluncae ,Pteridium aquilinum, Pteris decrescens
,Schizoloma ensifolium และ Thelypteris sp. ชนิดที่ 1 พบว่า การเพาะในอาหารผสม สปอร์ของเฟินทั้ง
7 ชนิด งอกเป็นต้นแกมโิ ตไฟท์ในสภาพที่มแี สง และจะไม่งอกในสภาพท่ไี มม่ ีแสง สว่ นในดินตัวอยา่ งจากพื้นท่ี
ความสงู เหนอื ระดับน้ำทะเลปานกลาง ต่างกนั 7 ระดบั จากบรเิ วณป่าดบิ เขาดอยสู่เทพ-ปยุ เฟินท้ัง 6 ชนิด ยก
เวัน Thelypteris sp., ชนดิ ที่ 1 จะงอกเป็นตน้ แกมิโตไฟท์ในสภาพท่มี ีแสง และจะไมง่ อก ในสภาพทไ่ี ม่มแี สง

126

Abstract
The relationship of ferns and environment in hill evergreen forest at the various

altitudes 1,000;1,100; 1,200; 1,300; 1,400; 1,500 and 1,600 eters above the sea level at Doi
Suthep-Pui, Chiang Mai was studied during March 1982 to March 1983. The investigation was
carried out from the total of 21 sample plots of different altitudes, 5 x 5 m each, and three
plots at a particular altitude. The three sample plots at each altitude were laid at 60 degree
of each other and 10 meters apart. These plots were used to collect datas inferring species
characteristics, spore forming and their population density of ferns in each month. Soil
samples at the depth of 0 -2 0 cm were collected from every plot for the study on the
properties, soil moisture and media for fern's spore germination. Temperature and light
intensity were recorded for the environment study. Conditions optimum for spore
germination.were tracing by growing spores of ferns in both synthetic media and soil media
obtained from the soil samples from hill evergreen forest. The results were sumarized as
follows: Eleven species of ferns were found, Angiopteris evecta, Cyathea latebrosa,
Cyclosorus sp., Dicranopteris linearis, Lzgodium salicifolium, Microlepia speluncae, Pteridium
aguilinum, Pteris decrescens,Schizoloma ensifolium and two species of Thelzgteris. The fern
species at different levels of altitude vary upon environment factors ie. soil moisture,
temperature, light intensity. Cyclosorus sp., Lzgodium salicifolium, Microlegia speluncae,
Pteris decrescens and Schizoloma ensifolium will be found at the altitude 1,000 to 1,200
meters above the sea level. Along altitude 1,300 meters above the sea level, Angiopteris
evecta , Cyathea latebrosa and Thelygteris sp. (No. 2 ) are found. Dicranopteris liensarise.
Pteridism aquilium and Thelypteris sp. (No. l) will be found at the 1,400 to 1,600 meters
above the sea level. The population density of ferns will increase during the rainy season
and usually decrease between the end of winter and the beginning of summer, this dues to
the dryness of weather and forest fire. The study of spore germination of Cyclosorus sp.,
Lygodium salicifolium, Microlspia speluncae, Pteridium aquilium, Pteris decrescens,
Schizoloma ensifolium and Thelypteris sp. (No. 1) has cultured in synthetic media revealed
that the spores of all 7 species germinated well under optimum light condition and will
remain dormant under without light condition. The soil samples from 7 different altitudes
were also brought to test for species germination. It is noticed that, except Thelypteris sp.
(No. 1), the other 6 species has given the same mentioned result

127

ความสมั พันธ์ระหวา่ งพรรณไมก้ บั สภาพแวดล้อมบริเวณปา่ ดบิ เขาดอยสเุ ทพ-ปุย เชียงใหม่
Relationship of Plants and Environment in Hill Evergreen Forest
at Doi Suthep-Pui, Chiang Mai

อฐั สณั ห์ นครศรี (2528)

บทคดั ยอ่
จากการศึกษาความสมั พนั ธข์ องพรรณไม้กับสภาพแวดล้อมบริเวณดอยสเุ ทพ-ปุย เชียงใหม่ ในระดับ

ความสูงประมาณ 1,000 1,100 1,200 1,300 1, 400 1,500 และ 1,600 เมตรจากระดับน้ ำทะเล
รวม 7 ระดับ พบว่า มีพรรณไม้ข้ึนอยู่ท้ังส้ิน ประมาณ 116 ชนิด เป็นไม้ยืนต้น 23 ชนิด ไม้พุ่ม 9 ชนิด
ไม้ล้มลุก 9 ชนิด และ ไม้เถาเลื้อย 5 ชนิด ไม้ที่สัาคัญและเป็นไม้เด่นของป่าดิบเขาแห่งน้ี คือ ไม้ก่อ
(Fagaceae) ซ่ึงพบประมาณ 10 ชนิด นอกจากนั้นยังมี ทะโล้ กำยาน และส้มบี้ พรรณไม้เหล่านี้พบขึ้นตาม
สภาพแวดล้อมในบริเวณท่ีมีความลาดชันของพ้ืนที่ต้ังแต่ 10-110 เปอร์เซ็นต์ พื้นที่เป็นดินทราย คือ มีทราย
มากกว่า 42 เปอร์เซ็นต์ ดินมี pH เป็นกรด มีอินทรีย์วัตถุในดินสูงมาก มีธาตุอาหาร N P K Ca Mg และ S
มากเพียงพอต่อ ความต้องการของพืช อณุ หภูมิเฉล่ียตลอดปีประมาณ 24.6 องศาเซลเซียส ความช้ืนใน ดิน
เฉลยี่ ประมาณ 39.24 เปอร์เซน็ ต์ และความเขม้ แสงเฉล่ียประมาณ 9,851 ลกั ข์ ในระดับความสงู 1,000 เมตร
พน้ื ท่ีมคี วามลาดชันน้อย วัดอุณหภูมิได้ ความขึ้นในดินต่ำ และความเข้มแสงน้อย พบวา่ มีพรรณไม้ทงั้ ส้นิ 27
ชนิด ระดับความสงู 1,100 และ 1,200 เมตร พื้นทม่ี ีความลาดชันเท่ากนั คือ 30 เปอร์เซนต์ อณุ หภมู ิและค่า
ความช้ืนในดนิ ค่อนข้างต่ำ ความเข้มแสงมาก พบพรรณไม้ทัง้ ส้นิ 20 และ 27 ชนิด ตามลำดับ ระดบั ความสูง
1,300 เมตร พ้นื ท่ีลาดชนั ปานกลาง อยู่ใกลก้ ับลำธาร คา่ อุณหภมู แิ ละความเข้มแสงต่ำสุด และความช้ืนในดินมี
ค่าสูงถึง 44.97 เปอร์เซน็ ต์ พรรณไม้มีขนาดใหญ่ขึ้นอยู่หนาแน่น พบพรรณไม้ท้ังส้ิน 25 ชนิด ระดับความสูง
1,1400 เมตร พ้ืนท่ีมีความลาดชันสูงถึง 140 เปอรเ์ ซ็นต์ อุณหภูมิค่อนข้างต่ำ ความช้ืนในดินมีค่า ประมาณ
42.12 เปอร์เซ็นต์ ความเข้มแสงค่อนข้างสู่ง พรรณไม้สว่ นใหญ่มีขนาดปานกลาง ถงึ ขนาดใหญ่ พบพรรณไม้
รวม 26 ชนิด ระดับความสูง 1,500 เมตร พื้นท่ีมีความลาดชัน ปานกลาง มีอุณหภูมิ 24.7 องศาเซสเซียส
วัดความชน้ื ในดินได้ 38.57 เปอร์เซ็นต์ และความเข้มแสงสูงมาก พรรณไม้ที่พบมีประมาณ 21 ชนิด สว่ นมาก
ข้ึนอยู่ไม่หนาแน่น และ ระดับความสูง 1,600 เมตร พื้นท่ีมีความลาดชันต่ำที่สุด คือ 10 เปอร์เซ็นต์ แต่
อุณหภูมิ และความเขม้ แสงมีค่าสูงสุด ความข้ึนในดินคอ่ นข้างสูง พรรณไม้ท่ีพบมปี ระมาณ 19 ชนิด ส่วนมาก
มขี นาดเล็กจนถงึ ปานกลาง และข้นึ หา่ ง ๆ อากาศมกั หนาวเยน็ มีลมพัดตลอดเวลา

จากการศึกษาถึงความสัมพันธ์ของพรรณไม้กับสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ตามระดับ ความสูงของพื้นท่ี
ทาํ ให้แบง่ พืชออกไดเ้ ป็น 3 กลุ่มด้วยกัน คือ กลุ่มพืชท่ีข้ึนไดใ้ นทุกระดับ ความสงู กลมุ่ พืชที่ข้ึนอยูต่ ่ำกว่าระดับ
1,300 เมตรลงมา และกลุ่มพืชที่ข้ึนได้ในระดับที่ 1,300 เมตรขึ้นไป นอกจากนี้ยังสามารถท่ีจะวางแผนการ
ปลูกป่าเพ่ือปรับปรุงป่า เลื่อมโทรม หรือหาแนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ให้คงอยู่ อันจะอำนวย
ประโยชนต์ อ่ การจัดการป่าไมแ้ ละอนรุ กั ษ์ลมุ่ น้ำให้ไดผ้ ลดียิ่งข้นึ ตอ่ ไป

128

Abstract
A study on the relationship of plants and environment at Doi Suthep-Pui, Chieng Mai

was conducted in hillevergreen forest at 7 levels : 1,000, 1,100, 1,200, 1,300, 1,400, 1,500
and 1,600 metre above sea levels. Fourty-six taxa are recorded, there are 23 tree species,
9 shrub species, 9 herb species and 5 climber species. The important and dominant tree
species recorded are 1 0 species of Fagaceae. Besides of these there are Tha lo (Schima
wallichii) Kam Yann (Styrax benzoides) and Som pee ( Vaccinium sprengelii); the dominant
ground covered are Yaa Khaa (Imperata cylindrica), Yaa Saam Khom (Scleria terrestris), Yaa
ranghaa (Cyperus cyperoides), Khat Khao(Canthium horridum) and ferns.

The soils are sandy of which more than 4 2 percentages of sand compositions and
with high pH acidity due to their fertile nutrients as N, P, K, Ca, Mg and S. The temperature average is
24.600. The soil humidity are 39.24 Z and the intensity of light are average 9,851 lux.

At 1,000 m. elevation, the slope are gradually changes, the temperature average is
24 .3 0 0. The soils humidity and the light intensity are quite low, 2 4 species of plants are
listed. At 1,100 m and 1,200 m; 2 0 and 27 plant species are recorded respectively. The
slopes are 3 0 % change. The temperature and soil humidity are low with the high light
intensity. At 1 , 3 0 0 m, the experimented sites are along the stream. The slopes are
moderately changes. The minimum temperature and light intensity are recorded and the
soils humidity are high up to 44.97%. It is noticeable that large trees are quite abundant in
this area and there are 25 species of plants. At 1,400 m, the slopes are increasing to 40% .
The temperature is rather low. The soils humidity are about 42.12% and with hight intensity,
2 6 species of large and medium sized tree are recorded. At 1 ,5 0 0 m, the slopes are
moderated. The temperature is 24.700, 38.57% soil humidity and high light intensity, 2 4
species of plants are not abundant. At 1,600 m, 19 species of undershrubs and small trees
are usually spread through the area. The slopes are slightly changes at about 1 0 % . The
temperature and the light intensity reach up the maximum degree at this level. The soils
humidity are rather high. The weather are cold with the regular breezing.

The plants are divided into three groups followed the environments and the altitude
above sea levels. The first group are the plants which grow covered in every level, the
second groups are the plants which grow only below 1 , 30 0 m. , the third groups are the
plants above 1,300 m. especially. The results of this study can be applied and ultilized of
support the siviculture watershed conserve and reafforestation programme which will be of
great beneficial for the nature resources in future.

129

ผลกระทบของการใชท้ ่ดี นิ บนภเู ขาต่อลกั ษณะการไหลของนำ้
บรเิ วณสถานีวิจยั ลุม่ นำ้ ห้วยคอกมา้ ดอยปุย เชียงใหม่

Impacts of Mountainous Land Use on Streemflow Characteristics
at Kog-Ma Watershed Research Station, Doi Pui, Chiangmai

เกษม จนั ทรแ์ กว้ สามัคคี บุณยะวัฒน์ วชิ า นิยม และ สิทธชิ ัย ตนั ธนะสฤษดิ์ (2529)

บทคัดย่อ
ผลกระทบของการใช้ที่ดินบนภูเขาต่อลักษณะการไหลของน้ำนี้ได้ศึกษาโดยการเก็บรวบรวมข้อมูล

น้ำฝนและน้ำท่า บริเวณดอยปุย จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งแต่ พ.ศ. 2523 - 2528 โดยเลือกพื้นท่ีทดลองสามแบบ
คือ 1) บริเวณดอยปุย เลือกพื้นที่ลุ่มน้ำป่าดิบเขาธรรมชาติ มีสภาพเป็นป่าดิบเขาธรรมชาติท้ังหมดซึ่งใช้เป็น
พื้นท่ีควบคุม 2) พื้นท่ีอยู่อาศัยของมนุษย์ และ 3) พื้นี่เกษตรกรรม ซึ่งพ้ืนที่ดังกล่าวน้ีเคยเป็นป่าดิบเขา
ธรรมชาติมากอ่ นทงั้ สิ้น

ผลการศึกษาพบว่า บริเวณดอยปุยมีปริมาณน้ำฝนประมาณ 1,861.0 มิลลิเมตร โดยเม่ือพ้ืนท่ี
ป่าดบิ เขาถกู เปลี่ยนเปน็ พนื้ ทอ่ี ยู่อาศยั ของมนุษย์ พน้ื ทเี่ กษตรกรรมจะมีปริมาณน้ำไหลในลำธารลดลง มนี ำ้ ไหล
ในลำธารตลอดปี มีการเปล่ียนแปลงของปริมาณน้ำในลำธารเกิดข้ึนเร็ว โดยมีเปอร์เซนต์การให้น้ำในลำธาร
ในช่วงน้ำหลากมากข้ึน และในช่วงแล้งฝนน้อยลง พ้ืนที่ป่าดิบเขาธรรมชาติให้ปริมาณน้ำในลำธาร 1,542,000
ลูก บ าศก์ เมตรต่อตารางกิ โลเมตรต่อปี (8 2.9 เปอ ร์เซ น ต์ขอ งปริมาณ น้ ำฝน ) เป็น น้ำใน ช่วง
น้ำหลาก 67.9 เปอร์เซนต์ และช่วงแล้งฝน 32.1 เปอร์เซนต์ พื้นท่ีอยู่อาศยั ของมนุษย์ให้ปริมาณน้ำในลำธาร
ประมาณ 1,134,000 ลูกบาศก์เมตรต่อตารางกิโลเมตรต่อปี (60.9 เปอร์เซนต์ของปริมาณน้ำฝน) เป็นน้ำ
ในช่วงน้ำหลาก 70.2 เปอรเ์ ซ็นต์ และช่วงแล้งฝน 29.8 เปอร์เซนต์ พ้ืนท่ีเกษตรกรรมให้ปริมาณน้ำในลำธาร
ประมาณ 1,064,000 ลูกบาศก์ต่อตารางกิโลเมตรต่อปี (57.2 เปอร์เซนต์ของปริมาณน้ำฝน) เป็นน้ำในช่วงน้ำ
หลาก 81.3 เปอร์เซนต์ และช่วงแล้งฝน 18.7 เปอรเ์ ซนต์

การศึกษาช่วงฝนตกน้ำข้ึน ซ่ึงหมายถึงช่วงระยะห่างระหว่างช่วงเวลาท่ีฝนเริ่มตก และน้ำเริ่มเพิ่มขึ้น
ในลำธาร พบว่าในพ้นื ท่ีป่าดิบเขาธรรมชาติจะมชี ่วงฝนตกน้ำขึ้นยาวกวา่ ในพ้ืนทที่ ี่มีการใช้ประโยชน์แบบอื่นๆ
เช่น พ้ืนท่ีอยู่อาศัยของมนุษย์ และพื้นท่ีเกษตรกรรม จะไม่แสดงความแตกต่างของช่วงฝนตกน้ำข้ึนมากนัก
นอกจากนี้ยังพบว่าปริมาณน้ำฝน และระยะเวลาการตกของฝนจะไม่มีอิทธิพลโดยตรงต่อช่วงฝนตกน้ำข้ึน
ในทุกพนื้ ทก่ี ารใช้ประโยชน์ท่ีดิน ท้ังน้ีจะขน้ึ อยกู่ บั ปริมาณฝนตกครง้ั กอ่ นและความช้ืนดินขณะนั้นเป็นสำคญั

การคาดคะเนโอกาสท่ีเกิดการขาดน้ำในลำธาร พื้นท่ีเกษตรกรรมจะมีโอกาสขาดน้ำเป็นอำดับแรก
รองลงมาคอื พนื้ ท่อี ยูอ่ าศยั ของมนุษย์ พ้นื ท่ปี ่าดบิ เขาธรรมชาติจะไม่มีโอกาสทจี่ ะขาดนำ้ ในลำธารเลย

130

Abstract
Impacts of Mountainous Land Use on Surface Water investigated in three land use

patterns on mountainous watershed at Doi Pui in Chiangmai province from 1980-1985. An
experimental site at Doi Pui was composed of three land use patterns : hill evergreen forest,
Chang Kien settlement, and agroculture area (wild peach plantation). .

Results found that the hill evergreen forest watershed at Doi Pui contributed stream
water 1,542,000 cu.m/km2/yr 82.0% of annual rainfall which was divided into wet flow 67.9
% and dry flow 32.1 % While Chang Kine human settlement site found the stream water
1,134,000 cu.m/Ikm2/yr or about 60.9% of annual rainfall (wet flow 70.2% and dry flow 29.8
%) and Agricultural area 1,064,000 cu..m/ km2/ yr or about 57.2% of annual rainfall (wet flow
81.3 % and dry flow 18.7 %). The findings indicated that conversion of natural hill evergreen
forest land to. be any types land use such as agroculture and human settlement had
unevitably caused the decreases of stream water, as the same manner as dry flow and
increase wet flow. High rate of evapotranspiration was expected in non-forested areas
(agroculture, and human settlement,while the hill evergreen forest was opposite.

The study was also concentrated on lag time which is the period starts rising. The
from beginning of rainfalling until the streamflow hiil-evergreen forest watershed was shown
the longer time than the other types of land use for Chang Kien human settlement and
Agroculture landLuse. However,later three types did not show significantly differenced
Furthermore, amount of rainfall and its duration did not directly influence on lag time in all
types of land use only antecident rainfall and soil moisture had concerned with this
phenomena.

Prediction of the most probable occurrence of water shortage in stream was made in
all land use types and found that agroculture area (wild peach plantation) seemed to be the
first priority while Chang Kien human settlement would be the second. Natural hill
evergreen forest watershed did not show any evidence of drying out of stream water.

131

ผลการใชท้ ดี่ นิ บนภเู ขาตอ่ ไสเ้ ดือนฝอยในดินและในน้ำบริเวณทุ่งจอ๊ และดอยสุเทพ-ปุย จังหวัดเชียงใหม่
Effect of Landuses on Soil and Freshwater Nematodes

in Mountainous Areas at Tung Jaw and Doi Pui, Chiangmai

สคุ นธ์ วัฒนะพันธุ์ (2529)

บทคัดยอ่
การศึกษาชนิดและปรมิ าณไส้เดอื นฝอยในดนิ และในน้ำจากพืน้ ท่ีที่มีการใช้ ประโยชน์ทีด่ ิน 4 ประเภท

คือ พื้นที่ป่าดิบเขาธรรมชาติบริเวณสถานีวิจัยลุ่มน้ำห้วยคอกม้า(ดอยปุย) และพ้ืนท่ีป่าปลูกผสมป่าธรรมชาติ
พ้ืนท่ี เกษตรกรรม พ้ืนท่ีการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ บริเวณโครงการหลวงพัฒนาต้นน้ำ หน่วยท่ี 1 (ทุ่งจ๊อ )
จงั หวัดเชียงใหม่ เก็บข้อมูลตงั้ แต่ เดอื นพฤษภาคม 2524 ถงึ เดือนเมษายน 2525 โดยเก็บตัวอย่างทั้งหมด 144
ตัวอย่าง เป็นดินที่ระดบั ความลึก 10 และ 50 เซนติเมตร 96 ตัวอยา่ ง และน้ำ 48 ตัวอย่าง นำมาแยกไส้เดือน
ฝอยออกจากดนิ และน้ำโดยวิธี sieving and gravity technique

ผลการศึกษาพบไส้เดือนฝอยในดินและในน้ำจากบริเวณพ้ืนที่ 4 แห่ง มีท้ังหมด 35 สกุล (genera)
แ ย ก เป็ น ไส้ เดื อ น ฝ อ ย ศั ต รู พื ช 15 ส กุ ล คื อ Aphclenchoides, Aphelenchus, Criconemoides,
Ditylenchus, Helicotylenchus, Hemicriconemoides, Heterodera, Longidorus, Meloidogyne,
Pratylenchus,Trichodorus, Tylenchorhynchus, Tylenchulus และ Xiphinema, ไส้เดือนฝอยท่ีหากิน
เป็ น อิ ส ร ะ 2 0 ส กุ ล คื อ Acrobeles, Acrobeloides, Aphanolaimus, Cephalobus, Chryptonchus,
Cylindrolaimus, Dorylaimus, Eucephalobus, Ironus , Mesorhabditis, Mononchus, Panagrolaimus,
Placodira, Plectus, Prismatolaimus, Protorhabditis, Rhabditis, Rhabdolaimus, Swangeria แ ล ะ
Tylencholaimus.

ปริมาณไส้ เดือนฝอยท่ีพบในช่วงตลอดระยะเวลาของการศึกษาจากดินที่ระดับ ความลึก 10
เซนติเมตรต่อตัวอย่างดิน 6 ลิตรของแต่ละพื้นท่ี บริเวณที่พบไส้เดือนฝอยมากที่สุดคือพื้นที่ เกษตรกรรมพบ
ท้ังหมด 2,293 ตัว รองลงมาคือพื้นท่ีป่าดิบธรรมชาติ 1,479 ตัวทพ้ืนท่ีการต้ังถิ่นฐานของมนุษย์มี 1,139 ตัว
พ้ืนที่ป่าปลูกผสมป่าธรรมชาตมิ ี 1,034 ตัว ในดนิ ที่ระดับความลึก 50 เซนติเมตรต่อตัวอย่างดิน 6 ลติ รของแต่
ละพื้นที่ พบไส้เดือนฝอย ในพื้นท่ีเกษตรกรรม 432 ตัว พื้นที่การต้ังถ่ินฐานของมนุษย์ 339 ตัว พื้นทป่ี ่าดิบเขา
ธรรมชาติ 268 ตัว พื้นที่ปา่ ปลกู ผสมป่าธรรมชาติ 193 ตวั และจากตัวอย่างน้ำ 60 ลิตรของแต่ละ พื้นท่ี พบไส้
เดือนฝอยในพื้นทีก่ ารต้ังถิ่นฐานของมนุษย์ 49 ตวั พ้ืนท่เี กษตรกรรม 31 ตวั พื้นที่ปา่ ดบิ เขาธรรมชาติ 17 ตัว
และพื้นท่ีป่าปลูกผสมป่าธรรมชาติ 13 ตัว ไส้เดือนฝอยสกุลท่ีพบปริมาณมากท่ีสุดได้แก่ Helicotylenchus
รองลงมาคือ Tylenchus และ Heterodera ตามลำดับ ซ่ึงพบในพื้นที่เกษตรกรรมท้ัง 3 สกุล ไส้เดือนฝอยท่ี
พบมากท่ีสุดในพ้ืนท่ีป่าดิบเขา ธรรมชาติคือ Dorylaimus ไส้เดือนฝอยท่ีพบมากท่ีสุดในพื้นท่ีป่าปลูกผสมป่า
ธรรมชาติคือ Tylenchus และไส้เดือนฝอยท่ีพ บมากที่สุดในพ้ื นท่ีการต้ังถ่ิน ฐานของมนุษย์คื อ
Helicotylenchus และ Dorylaimus ปริมาณไส้เดือนฝอยท่ีพบในพ้ืนที่ทั้ง 4 แห่ง เปลี่ยนแปลงตามปริมาณ

132

ความชื้นในดินคือ ประชากรไส้เดือนฝอยสูงข้ึนเมือ่ มีความชื้นในดินพอเหมาะในช่วงฤดูฝนและฤดูหนาว และ
ประชากรลดลงเมือ่ มีความชื้นในดนิ มากเกนิ ไปในฤดูฝนและนอ้ ยเกนิ ไปในฤดแู ล้ง

การเปรียบเทียบปริมาณไส้เดือนฝอยที่พบในดินและในน้ำต่อลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดินทั้ง 4
ประเภท พบว่าในพื้นที่เกษตรกรรมมีการเปล่ียนแปลงเพ่ิมข้ึนไปจากธรรมชาตบิ ้างในช่วงฤดูเพาะปลกู แต่ยัง
นบั ว่ามปี รมิ าณต่ำ

Abstract
A study on types and quantity of soil inhabiting and freshwater nematodes from 4

types of landuses, hill-evergreen forest area at Kog-Ma Watershed Research Station (Doi Pui),
and reforestation area, agricultural area, human-settlement area at the Royal Watershed
Development Project Unit One (Tung Jaw) in Chiangmai, was conducted during May 1981 to
April 1982. Soil and water samples were randomly collected. Altogether, 9 6 soil samples
collected at 10 cm. and 50 cm. depths and 48 water samples were processed in laboratory
by using sieving and gravity technique.

Result revealed that 35 nematode genera were found; 15 genera were plant
parasites,i.e Aphclenchoides, Aphelenchus, Criconemoides, Ditylenchus, Helicotylenchus,
Hemicriconemoides, Heterodera, Longidorus, Meloidogyne, Pratylenchus,Trichodorus,
Tylenchorhynchus, Tylenchulus and Xiphinema, 20 genera were free-living ones, i.e.
Acrobeles, Acrobeloides, Aphanolaimus, Cephalobus, Chryptonchus, Cylindrolaimus,
Dorylaimus, Eucephalobus, Ironus ,Mesorhabditis, Mononchus, Panagrolaimus, Placodira,
Plectus, Prismatolaimus, Protorhabditis, Rhabditis, Rhabdolaimus, Swangeria, and
Tylencholaimus.

Quantitatively of nematodes were found; from soil at 10 cm. depth per 6 liters of soil
samples in each area, 2,293 nematodes from agricultural area; 1,479 nematodes from hill-
evergreen forest area; 1 ,1 3 9 nematodes from human-settlement area; 1,0 3 4 nematodes
from reforestation area. Nematodes were found fro soil at 50 cm. depth per 6 liters of soil
samples in each area, 432 nematodes from agricultural area; 33 9 nematodes from huma-
settlement area; 2 6 8 nematodes from hill-evergreen forest area; 1 9 3 nematodes from
reforestation area. Nematodes were found from water samples in 60 liters of water in each
area, 4 9 nematodes from human-settlement area; 3 l nematodes from agricultural area, l7
nematodes from hill-evergreen forest area, 1 3 nematodes from reforestation area.
Helicotylenchus, an important nematode was the dominant genera, Tylenchus and
Heterodera were less common, respectively from agricultural area. Dorylaimus was the

133

dominant genera from hill-evergreen forest area. Tylenchus was the dominant genera from
reforestation area. Helicotylenchus and Dorylaimus were the dominant genera from huan-
settlement area.

Comparison of population dynamics in the 4 landuse types indicated that there was
small difference in nematode population and soil moisture content seem to be one of the
most important factors for nematode existence in these areas. The most suitable period was
between rainy season and cold season.

134

อทิ ธิพลของทศิ ด้านลาดต่อปริมาณ ไนโตรเจน ฟอสฟอรสั และ โปแตสเซยี ม
ในพืชและดิน บริเวณป่าดิบเขา ดอยปยุ เขียงใหม่

Effects of Aspects on Nitrogen, Phoaphorul, and Potassium Contents
in Plants and Soils at Hill Evergreen Forest at Doi Pui, Chiangnai.

มนตรี จงลกั ษมณี (2529)

บทคดั ยอ่
การศึกษาอิทธิพลของทิศด้านลาดต่อปริมาณไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโปแตสเซียม ในพืชและดิน

บริเวณป่าดิบเขา ดอยปุย เชียงใหม่ ได้ดำเนินการ ระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2525 ถึงเดือนมีนาคม พ.ศ.
2527 โดยวางแปลงศึกษาในพ้ืนท่คี วามลาดชันท้ังส่ีทิศด้านลาดซ่ึงมลี ักษณะใกล้เคียงกนั การศกึ ษาได้ รวมถึง
ลักษณะโครงสร้างของป่าดิบเขา การสะสมธาตุอาหารหลักคือไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโปแตสเซียมในพืช
และในดิน โดยวางแปลงขนาด 20 x 20 เมตร ในทิศทางด้านลาดท้ัง 4 ทิศๆละ 3 แปลง เก็บตัวอย่างพืชและ
ดนิ เพื่อมาหาปรมิ าณไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโปแตสเซียม ผลจากการศกึ ษาปรากฏว่า ในทิศทางด้านลาด
ทงั้ ส่ีแห่งสภาพของป่ารวมทั้งชนดิ พนั ธ์ุไม้ ความหนาแน่น และมวลชีวภาพแตกต่างกัน ความอุดมสมบูรณ์จะมี
มากทางด้านลาดทิศตะวันตกและส่วนทางทิศทางด้านลาดไปทางทิศใต้และตะวันออกความอุดมสมบูรณ์
ปริมาณการสะสมไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโปแตสเซียมในพ้ืนที่ข้ึนอยู่ในเเต่ละทิศด้านลาดต่างกันเล็กน้อย
กล่าวคือในทิศทางด้านลาดไปทางทิศเหนือมี ปริมาณการสะสมไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโปแตสเซียมในพืช
มากทส่ี ดุ ประมาณ 446.7, 29.4, และ 310.9 กิโลกรัมต่อเฮคแตร์ตามลำดบั รองลงมาได้แก่ ดา้ นลาดไปทางทิศ
ตะวันตกประมาณ 385.8, 25.6 และ 283.1 กิโลกรัมต่อเฮดแตร์ ด้านลาดไปทางทิศใต้ประมาณ 305.5, 20.5
และ 242.0 กิโลกรัมต่อเฮดแตร์ และธาตุทั้งสามชนิดมีปริมาณในพืชน้อยท่ีสุดถือในพ้ืนท่ีด้านลาด ไปทางทิศ
ตะวันออกโดยมีประมาณ 191.1,12.6 และ 138.5 กิโลกรัม การสะสมธาตุอาหารดังกลาวส่วนใหญ่จะพบใน
ไม้ยืนต้นซ่ึงมี ขนาดใหญ่ รองลงได้แก่ไม้พื้นล่าง และน้อยที่สุดได้แก่ลูกไม้และกล้าไม้ ตามลาดับ สำหรับการ
สะสมของไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโปแตสเซียมในดินจะแตกต่างกัน ท้ังทิศทางด้านลาดและระดับความลึก
ของดิน กล่าวคือการสะสมธาตุอาหาร ไนโตรเจนในดินทิศด้านลาดไปทางทิศเหนือมีมากท่ีสุดประมาณ 0.552
เปอร์เซ็นต์ รองลงมาได้แก่ ด้านลาดไปทางทิศตะวันออกประมาณ 0. 470 เปอร์เซ็นต์ ไปทางทิศใต้ประมาณ
0.349 เปอรเซ็นต์ และน้อยท่ีสุดได้แก่ด้านลาดไปทางทิศตะวันตกโดยมีประมาณ 0.341 เปอร์เซ็นต์สําหรับ
ปริมาณการสะสมฟอสฟอรสั ในทิศทางด้านลาดไปทางทศิ ตะวันออกมมี ากท่ีสุดประมาณ 7.07 ppm รองลงมา
ได้แก่ดา้ นลาดไปทางทิศตะวนั ตกประมาณ 5.87 ppm ไปทางทิศเหนือประมาณ 4.80 ppm และน้อยที่สุดคือ
ด้านลาดไปทางทิศใต้ โดยมีประมาณ 4.13 ppm ตามลำดบั ส่วนปรมิ าณการสะสมโปแตสเซียมในดิน ทศิ ด้าน
ลาดไปทางทิศตะวันออกมีมากที่สุดประมาณ 40.67 ppm ได้แก่ด้านลาดไปทางทศิ ใต้ประมาณ 31.06 ppm
ด้านลาดไปทางทิศตะวันตก 29. 07 ppm และปริมาณน้อยท่ีสุดคือด้านลาดไปทางทิศเหนือโดยมี ประมาณ

135

22.47 ppm ตามลำดับ กรณีความลึกของดินการสะสมอาหารจะมีมากที่สุดบริเวณผิวดินและจะลดลงตาม
ความลกึ ของดิน

Abstract
The investigation of the effects of aspects on nitrogen, phosphorus and potassium

contents in plants and soils of hill evergreen forest was carried out at Doi Pui, Chiangmai
province from October, 1982 to March, 1985. Three study plots, 20 X 20 m in size were laid
out in each aspect, north, south, east and west. Forest structure including species
composition, stand density and biomass was investigated. Plant and soil samples were
collected to determine the nitrogen, phosphorus and potassium contents. The results of
study have shown that the forest communities in terms of species composition, stand
density and biomass were more fertile in west and north aspects than those in east and
south aspectse The nitrogen, phosphorus and potassium contents in plants and soils in
various aspects were slighly different. Nitrogen, phosphorus and potassium contents in
plants of north aspect were highest with the values of about 446.7, 29.4 and 310.9 kgs/ha
respectivelv.The lowest content of nitrogen, phosphorus and potassium in plants were
found in east aspect with the values of approximately 1 9 1 .1 , 1 2 .6 and 1 3 8 .5 kgs/ha
respectively.The nitrogen, phosphorus and potassium contents in plants of the west aspect
were ,385.8, 25.6 and 283.1 kgs/ha and in south aspect were 305.5, 20.5 and 242.0 kgs/ha
respectively. High nitrogen, phosphorus and potassium contents were observed in larger
trees while the sapling, seedling and undergrowth contained low nitrogen, phosphorus and
potassium.

Regarding to the nitrogen, phosphorus and potassium contents in soils, they varried
to the aspect directions and soil depths. Soils at north aspect contained highest nitrogen
with a value of about 0.552 percent while the lowest value was found in the west aspect
(0.341 percent).In the east and south aspects, the nitrogen contents in soils were 0.470 and
0.349 percent. Phosphorus content in soils was highest in the east aspect ( 7.07 ppm) and
the lowest ( 4.13 ppm) was found in the south aspect. Soils in the west and north aspects
contented phosphorus about 5.87 and 4.80 ppm respectively. Potassium content in soils at
different aspects were found that the value was highest at east aspect ( 4 0 .6 7 ppm) and
lowest at north aspect ( 22.47 ppm). In the south and west aspects, the potassium contents
in soils were approximately 31.06 and 29.07 ppm respectively.

136

อุปสงคข์ องการนนั ทนาการกลางแจ้งของอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปยุ
Demand for Outdoor Recreation of Doi Suthep-Pui National Park

ชนินทร รตั ตสัมพันธ์ (2529)

บทคัดย่อ
ปัญหาท่ีสำคัญอย่างหน่ึงในการวางแผนการจัดการพ้ืนที่ เพื่อการนันทนาการของประเทศไทย คือ

การขาดการศกึ ษาวิจยั ขอ้ มลู เกย่ี วกบั การนนั ทนาการภายในประเทศ พนื้ ทน่ี นั ทนาการสว่ นใหญ่ยังไม่ไดร้ ับการ
พัฒนาให้เหมาะสมกับศักยภาพของทรัพยากร โดยเฉพาะอย่างย่ิงการนันทนาการในเขตอุทยานแห่ง ชาติ
วัตถุประสงค์หลักในการศึกษาเร่อื งนี้ ก็เพื่อวิเคราะห์อุปสงคข์ องการนันทนาการกลางแจ้งของอทุ ยานแหง่ ชาติ
ดอยสุเทพ-ปุย เพื่อหามูลค่าที่เป็นเงินตราอันเกดิ จากการนันทนาการของอทุ ยานฯ โดยผลการวิจยั ท่ีได้จะช่วย
ในการประเมินค่า การตัดสินใจลงทุน การวางแผนการจัดการพ้ืนท่ีนันทนาการ เพื่อให้ใช้ทรัพยากรเกิด
ประโยชนส์ ูงสุด

การศึกษานี้ใช้วิธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าสัมประสิทธ์ิ
สหสัมพันธ์ และการคำนวณสมการถดถอยโดยวิธีกำลังสองน้อยท่ีสุด เพ่ือให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ดังกล่าว
ข้อมูลทใ่ี ช้ในการวิเคราะหค์ ือ กลุ่มนกั ท่องเทยี่ วในพืน้ ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาตดิ อยสเุ ทพ-ปุย รวมทงั้ หมดจำนวน 300
ราย โดยแบ่งช่วงเวลาในการเก็บข้อมูลเป็น 2 ช่วง คือ ช่วงที่มีจำนวนนักท่องเที่ยวมากในเดือน เมษายน -
พฤษภาคม 2528 และช่วงที่มีนักท่องเท่ียวน้อยในเดือนมิถุนายน-กันยายน 2528 ท้ังน้ีเพ่ือให้ข้อมูลท่ีได้มี
ลักษณะเหมาะสมกับสภาพความเป็นจริงของการท่องเทีย่ ว ผลจากการศึกษาพบว่า สมการของเสน้ อุปสงคข์ อง
การนันทนาการอยูใ่ นรูปสมการ

y = 0.38 - 0.0004x

ในเม่ือ y คือจำนวนบุคคลหรือนักท่องเที่ยวท่ีเข้าไปร่วมกิจกรรมนันทนาการ x คือรายจ่ายของ
นักท่องเท่ียวเพ่ือการนันทนาการ จากสมการแสดงเส้นอุปสงค์ของการนันทนาการของอุทยานแห่งชาติดอยสุ
เทพ-ปุย สามารถหามูลคา่ ท่ีเป็นเงินจากการนันทนาการได้ 195 ล้านบาทต่อปี โดยพบปัจจัยท่ีมีผลตอ่ อุปสงค์
ของนันทนาการมากท่ีสุดคือ ค่าใช้จ่ายในการนันทนาการ ซึ่งจะเป็นปฏิภาคผกผันกับอัตราการเดินทางไป
นนั ทนาการของอทุ ยานแห่งชาติดอยสเุ ทพ-ปุย นอกจากนี้นักทอ่ งเท่ยี วส่วนใหญ่ได้ เสนอแนะสิ่งท่คี วรปรับปรุง
ทั่วไปเกี่ยวกับการนันทนาการภายในอุทยานฯ คือ การควบคุมจัดสภาพความเป็นระเบียบของร้านค้า สิ่ง
อำนวยความสะดวกต่างๆ และจัดแบ่งเขตให้เป็นสัดส่วนโดยจัดสร้างส่ิงปลูกสร้างต่างๆ ให้เหมาะสมกลมกลืน
กับสภาพพ้ืนที่ ควรจดั ให้มีศูนยน์ ักท่องเท่ียวเพื่อให้เกิดประโยชนก์ ับนักท่องเที่ยวทีส่ ุด และเพ่อื ความปลอดภัย
ควรจัดเจ้าหนา้ ท่เี พ่ิมเตมิ ใหพ้ อเพยี งกับจำนวนนกั ทอ่ งเที่ยวด้วย

137

Abstract
A fundamental problem in managanent planning for recreation areas in Thailand was

the shortage of studies and research works on recreation. Most recreation areas were not
developed up to their resource potentials, especially recreation resources in national park.
The purposes of the study were to survey demand for outdoor recreation of Doi Suthep-Pui
National Park and to compute its tangible recreation values. The study's findings were
expected to use as guidelines for investment decisions and management planning in the
future.

This study was statistically analysed by using mean, percentage, correlation
coefficient, and equation regression analysis by ordinary least square. The analysis based on
field interviews of 3 0 0 on-site visitors to Doi Suthep-Pui National Park. The surveys were
conducted during the months of Apri1—May and June-September 1985. The results from
the study showed that the demand for recreation was represented by the equation:

y = 0.38 - 0.0004x

Where y was the number of users of recreation area and x was the expenditure for
recreation. Consequently, the demand for recreation of Doi Suthep - Pui National Park were
computed at 195 million baht. It was also found that the main factor affecting the demand
for recreation was the expenditure which was negatively correlated with the number of
visitors. As recreation development was concerned, most park visitors wanted to have more
facilities; to see buildings relocated and redesigned; to have a visitor center; and to see
more safety measures.

138

การทดแทนของสงั คมพืชกบั ปรมิ าณตะกอนบนพืน้ ที่หลงั การทำไรเ่ ลอ่ื นลอยในป่าดบิ เขา
ดอยปุย เชยี งใหม่

Plant Succession in Relation to Sediment in different after Shifting Cultivation
at Doi Pui, Chiengmai

สนิท อกั ษรแก้ว สามัคคี บุณยะวฒั น์ และ ปรีชา ธรรมานนท์ (2520)

บทคดั ย่อ
การศึกษาเก่ียวกับการทดแทนของสังคมพืชและปริมาณตะกอนในพื้นที่ที่ผ่านการทําไร่มาแล้ว 2 ปี,

4 ปี (พ้ืนท่ีไม่มีการเผาและมกี ารเผา) 10 ปี และในป่าธรรมชาติที่ได้ทําการป้องกันไฟมาแล้ว 10 ปี ในบรเิ วณ
ป่าดิบเขา ท้องท่ลี มุ่ น้ำหว้ ยคอกม้า ดอยปยุ เชียงใหม่ ปี พ.ศ. 2505 - 20 ซ่ึงพอสรปุ

1. พรรณไม้ท่ีพบในพ้ืนท่ีผ่านการทําไร่มาแล้ว 2 ปี มี 35 ชนดิ ในพน้ื ท่ีทําไร่มาแล้ว 4 ปี ซงึ่ มีการเผา
จาํ นวน 37 ชนิด และพื้นทไี่ ม่ได้เผา 52 ชนิด สว่ นในพืน้ ที่ 10 ปีหลังจากการทําไร่ และในปา่ ธรรมชาติซงึ่ มีการ
ปอ้ งกันไฟมาแล้ว 10 ปี ปรากฏวา่ มพี รรณไม้ข้นึ อยู่ 29 และ 34 ชนดิ ตามลาํ ดบั

2. คา่ ของดรรชนีแห่งความคลา้ ยคลงึ (Index of similarity) มีค่าสูงสุด (0.53) ระหว่างพ้ืนที่ที่ได้ผ่าน
การทําไรม่ าแลว้ 4 ปี ท่ีมีการเผาและไม่มกี ารเผา ส่วนค่าต่ำสุด (0.20) ปรากฏว่าในระหว่างพื้นท่ีทผี่ ่านการทํา
ไร่มาแล้ว 2 ปี กับ 10 ปี ป่าธรรมชาติ สําหรับพื้นที่ท่ีผ่านการทําไร่มาแล้ว 10 ปีกับป่าธรรมชาติที่ป้องกันไฟ
มาแล้ว 10 ปี มีค่า 0.25 ซึง่ ผลอันนแ้ี สดงวาการทดแทนของสังคมพืชในพ้ืนทีท่ ีไ่ ด้ผา่ นการทาํ ไร่มาแลวในป่าดิบ
เขานี้ตอ้ งใช้เวลานานทเี ดยี ว

3. ผลการศึกษาการทดแทนของสังคมพืชในพ้นื ทีต่ ่างกัน โดยพรรณไมท้ ี่สําคัญ พบวา่ ในพื้นท่ีหลังจาก
การทําไร่มาแล้ว 2 ปี กับ 4 ปี ซงึ่ ไดเ้ ผามีไม้ตระกลู ก่อ(Castanopsis) อยู่น้อยมาก แต่ใน พื้นที่ 4 ปีไม่เผา และ
10 ปีที่ได้ผ่านการทําไร่มาแล้ว และในป่าธรรมชาติซ่ึงมีการป้องกันไฟมาแล้ว จะมีไม้ก่อในตระกูลน้ีเพิ่มข้ึน
เร่ือย ๆ โดยเฉพาะในพื้นที่ป่าธรรมชาติ 10 ปี ซึ่งได้ป้องกันไฟมาแล้วมีขึ้นอยู่อย่างหนาแน่น ซึ่งผิดกับไม้ก่อ
ตระกลู (Quercus) ซ่ึงปรากฏอยู่นอ้ ยในพน้ื ที่อายุ 2 ปี และก็หายไปในอายุ 4 ปี และจะเริ่มนใี้ หมใ่ นอายุ 10 ปี
หลังจากผ่านการทําไร่ ส่วนในป่าธรรมชาตหิ ลังจากได้ทําการป้องกันไฟมาแล้ว 10 ปี ก็มีปริมาณลดน้อยลงไป
อีก พวกสาบเสือ (Eupatorium odoratum) จะมีปริมาณเพ่ิมขึ้นจนถึงพ้ืนที่อายุ 6 ปี แต่ปรากฏว่าในพื้นที่
อายุ 4 ปีที่ไม่เผาจะมีสาบเสือมากกว่าแปลงที่เผา ต่อจากนั้นจะมีปริมาณลดลง และแทบจะไม่มีเลยในป่า
ธรรมชาติ พวกหญ้าคา (Imperata cylindrica) จะมีปริมาณเพ่ิมข้ึนจนถึงพื้นที่ผ่านการทำไร่มาแล้ว 4 ปี และ
จะลดนอ้ ยลงเม่ืออายุ 10 ปี ส่วนในป่าธรรมชาติซงึ่ ไดท้ าํ การป้องกันไฟมาแล้ว 10 ปแี ทบไม่ปรากฏอยูเ่ ลย และ
เป็นทนี่ ่าสังเกตว่าในพ้ืนที่ 4 ปี ซงึ่ เผาไฟนัน้ จะมหี ญ้าคาข้นึ อยู่มากกว่าพืน้ ท่ไี ม่เผา พวกเฟิร์นมปี รมิ าณใกลเ้ คียง
กันในทุกสภาพพื้นที่ แต่จะลดลงอย่างเห็นได้ชัดในพื้นที่ป่าธรรมชาติซ่ึงได้ทําการป้องกันไฟ สําหรับทะโล้
(Schima wallichii) จะปรากฏคร้ังแรกในพื้นที่ที่ผ่านการทําไร่มาแล้ว 10 ปี และในป่าธรรมชาติซ่ึงทําการ
ป้องกันไฟแต่มปี รมิ าณน้อยมาก พวกอ้าหลวงจะเร่ิมปรากฏในพ้ืนทตี่ ั้งแตเริ่มหลงั จากผ่านการทาํ ไร่มาแล้ว แต่

139

จะถูกกลุ่มและหายไปในพื้นที่ป่าธรรมชาติที่ได้ป้องกันไม่มาแล้ว สําหรบั (Scleropyrium spp.) จะปรากฏใน
พื้นท่ีหลังจากการทำไร่มาแล้วท้ังสองสภาพ และ อายุ 10 ปี และจะมีปริมาณน้อยใก้ลเคียงกัน ส่วนในป่า
ธรรมชาติท่ีมกี ารป้องกันไฟมาแล้วนั้นแทบจะไม่มหี รอื มนี ้อยมาก

5. ผลจากการวัดปริมาณตะกอน ปรากฏว่าพ้ืนท่ีที่ผ่านการทําไร่มาแล้ว 2 ปี มีประมาณ 777.7
กิโลกรัมต่อเฮกแตร์ ซึ่งมีปริมาณสงู สดุ สวนในพ้ืนที่ท่ีผ่านการทาํ ไร่มาแล้ว 4 ปี ซึ่งไม่ได้เผามปี ระมาณ 129.3
กิโลกรัมต่อเฮกแตร์ และในที่เผาประมาณ 119.4 กิโลกรัมต่อเฮกแตร์ ซึ่งมีปริมาณต่ำสุดสําหรับในพ้ืนท่ีอายุ
10 ปี หลังจากการทําไร่และในป่าธรรมชาติซึ่งได้ป้องกันไฟมาแล้ว 10 ปี มีปริมาณตะกอนประมาณ 124.0
และ 163.8 กิโลกรัมต่อเฮกแตร์ ตามลาํ ดบั

5. ปริมาณตะกอนทีว่ ัดได้จากสภาพพน้ื ท่ีต่างๆ นั้นจะพบวา่ ความสัมพันธ์อยา่ งเห็นได้ชัดกับชนิดและ
ปริมาณของพรรณพืชท่ีขึ้นปกคลุมพื้นที่เหล่านั้น พวกไม่พ้ืนล่าง (undergrowth) โดยเฉพาะพวกหญ้าคาเป็น
พชื ที่สำคัญต่อผลการพังทลายของดิน ท้ังน้ีหมายถึงว่าถ้าพ้ืนท่ีใดมกี ารปกคลุมด้วยหญ้าคาเต็มพื้นที่แล้วจะทํา
ใหก้ ารพงั ทลายของดินมนี ้อย เว้นเสยี จากถา้ หญาค้าขน้ึ กระจัดกระจายหรือเกิดไฟไหม้แล้วการพังทลายของดิน
ก็จะมีปริมาณสูงไปด้วย นอกจากน้ีเรือนยอดของต้นไม้ก็เป็นส่วนหนึ่งในการช่วยป้องกันดินพังทลาย แต่มี
ประสิทธิภาพน้อยกว่าพวกไม้พนื้ ล่าง

Abstract
Plant succession in relation to sediment in different areas after shifting cultivation

was studied at hill~evergreen forest, Doi Pui,Chiengmai province. The study areas including
fire locations the 2, 4 (bured and unburned), and 10-year-old after shifting cultivation and
the natural hill-evergreen forest where the area was protected from fire for approximately
10 years. The results of the investigation were summarized as follows:

1. There were 35 species occurring in the 2-year old area of the shifting cultivation,
37 species in the 4-year-old burned area and 52 species for unburned area which was the
same age. The area of the 10-year-old after shifting cultivation and in the 10-year-old natural
forest with fire controlled had 29 and 34 species respectively.

2. Index of similarity showed highest value (0.53) between the unburned and burned
areas of the 4-year-old while the lowest value (0.20) was found in the areas between the 2-
year-old after shifting cultivation and the 10-year fire controlled natural forest. The area of
the 10-years after shifting cultivation and the natural forest of 10-years fire controlled had
value of the index of similarity about 0.25. This value indicated that the succession in the
hill-evergreen forest where the areas of shifting cultivation have been practised needs a long
time to develop for being the climax hill-evergreen forest.

140

3. The results of successional study in different locations showed that Castanopsis
was slightly occurred in the 2-and 4-year (burned) Old after shifting cultivation in contrast to
the areas of the 4-year (unburned), 10-years-old after shifting cultivation having higher
number of Castanopsis and to be abundant in the natural forest with fire controlled for 10
years. Quercus species was also rare in th 2-year-old than it was disappeared in the 4-year-
old area after shifting cultivation. However, it again appeared in the 10-year-old area after
shifting cultivation. In the natural forest of 10-years fire controlled, guercus also slightly
eccurred.

Eupatorium Odoratum and Imperata cylindrica were abundant in the areas whore
shifting cultivation has passed for a few years but they were almost absent in the areas after
shifting cultivation for many years and the natural forest. However, it was found that
Eupatirum odoratum showed a lighter number in the unburned areas while Imperata
cylindrica was aboundant in the burned areas. Other dominant species such as Schima
wallichii and Scleropyrium gpp. firstly appeared in the 10-year-old area after shifting
cultivation

4. The amount of sediment in different locations were found that the 2-year-old area
after shifting cultivation had the highest sediment with the value of 777.7 kg/ha and the
lowest sediment (119.4 kg/ha) found in the 4-year-old area after shifting cultivation. The
lowest amount of the sediment occurred in this area because of a very dense of species
particularly Imperata cylindrica. The 4-year-old unburned area, 10-year-old after shifting
cultivation and the natural forest of 10-year fire controlled had the sediment approximately
129.3, 125.0, and 163.8 kg/ha.

5. The variation of amount of sediment in different locations depends on the Species
and Huber by species which cover the areas. Undergrowth Particularly Imperata cylindrica is
the most important species in this area to protect soil erosion. In addition, crown cover is
also a factor to diminish the soil erosion but there is lesser effects in comparison to the
undergrowth.

141

ประยุกต์ขบวนการทางอุทกวทิ ยาเพอ่ื การประเมินนำ้ ทา่ ในลุม่ นำ้ ขนาดเล็กของปา่ ดบิ เขา
ดอยปยุ เชยี งใหม่

Applied Hydrological Process for Assessing the Strearnflow in Small Watershed of
Hill -Evergreen Forest, Doi Pui, Chiang Mai

สมศักดิ์ โทสงั คหะทิสากุล (2530)

บทคดั ย่อ
การประยุกตข์ บวนการทางอุทกวิทยา เพอ่ื การประเมินน้ำทา่ ได้ทำการศกึ ษาท่ี ห้วยยอ่ ย D ของลุ่มน้ำ

ห้วยคอกม้า ดอยปุย เชียงใหม่ ซ่ึงเป็นป่าดิบเขาธรรมชาติ โดยการใช้ข้อมูลรายเดือนของปริมาณน้ำฝน น้ำ
ระเหยจากถาดระเหยน้ำ และปรมิ าณน้ำท่า ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2509 ถึง 2525 ได้ผลการศึกษาดังนี้ คอื นำ้ ฝนท่ตี ก
ลงมาบางส่วนจะถูกต้นไมแ้ ละสงิ่ ปกคลุมดินยึดไว้ด้วยขบวนการนำ้ พืชยืด ซึง่ สามารถประเมินปริมาณนำ้ พืชยืด
ได้จากสมการ เส้นตรงของความสัมพันธระหว่างปริมาณน้ำฝนกับน้ำพืชยืด และน้ำพืชยืดน้ีก็จะระเหยคืนสู่
บรรยากาศหมด น้ำฝนที่เหลือจากน้ำพืชยืดท่ีตกลงสู่ฟื้นดนิ จะซึมผา่ นผิวดินทัง้ หมด ไม่เกิดนำ้ ไหล บ่าหนาดิน
เนื่องจากป่าดิบ เขาดอยปุยมีอัตราการซึมน้ำผ่านผิวดินสูงมาก และปริมาณน้ำในลาธาร ท้ังหมดของแต่ละ
เดือน จะได้รับอิทธิพลจากปริมาณน้ำฝนที่ซึมลงสู่ดินในเดือนเดียวกันและในเดือน ก่อนหน้านั้น ซ่ึงสามารถ
ประเมนิ ปรมิ าณน้ำในลำธารทงั้ หมดจากสมการรีเกรซชนั แบบหลายช้ัน ของความสมั พันธระหวา่ งปริมาณนาใน
ลำธารทั้งหมดกับปริมาณน้ำฝนท่ีชึมผ่านผิวดินในเดือนเดียวในการประเมินปริมาณน้ำท่าสามารถประเมินได้
จากปรมิ าณนำ้ ในลำธารทง้ั หมด ลบปรมิ าณนำ้ ทสี่ ูญเสยี ไปโดยขบวนการคายระเหยนำ้ (Ec) เนื่องจากนำ้ ในดิน
บางสวนถูกพืชดูดไปใช้ในขบวนการคายน้ำและบางสวนระเหยจากน้ำในลำธารโดยตรง ซึ่งในการหาค่า Ec
สามารถประเมินไดจ้ าก

Ec = (ปริมาณนำ้ ระเหยจากถาดระเหยน้ำ X ส.ป.ส. ของถาดระเหยน้ำ) – ปริมาณนำ้ ระเหย จากนำ้ พชื ยืด (ในกรณีทมี่ ีฝนตก)
Ec = (ปรมิ าณน้ำระเหยจากถาดระเหยน้ำ X ส.ป.ส. ของถาดระเหยน้ำ) (ในกรณีที่ไม่มฝี นตก)

จากการทดสอบความถูกต้องของโมเดลนี้ในลุ่มน้ำห้วยคอกม้า ปรากฏว่าในปีที่มีน้ำท่ามาก การ
ประเมินปรมิ าณน้ำท่าจะได้นอ้ ยกว่าปริมาณน้ำท่าที่ตรวจวดั ไดจ้ รงิ เพราะว่า โมเดลนี้ปริมาณนำ้ พืชยดื จะมาก
ข้ึนตามปรมิ าณฝนท่ีตก แต่ข้อเท็จจริงปริมาณน้ำพืชยึดจะมีค่าคงท่ี เม่ือถึงจุดอ่ิมตัว ดังนั้น ปีที่มีน้ำท่ามากก็
เน่ืองมาจากมีปริมาณน้ำฝนตกมากด้วย ทำให้การ ประเมินปริมาณน้ำพืชยึดผิดพลาดไป คอื ได้ค่ามากกว่าท่ี
เป็นจริง ส่วนปีที่น้ำท่าน้อยปริมาณ น้ำท่าท่ีประเมินได้จะมากกว่าที่ตรวจวัดได้จริง แต่เม่ือ ทดสอบค่า
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธจะเห็น ได้ว่า ปริมาณน้ำท่าท่ีประเมิน ได้มีความสัมพันธ์ไปในทางเดียวกันกับปริมาณ
นำ้ ท่าทต่ี รวจวดั ได้ อยา่ งมีนยั สำคัญย่งิ และคา่ เฉล่ียราย เดือนของปริมาณน้ำท่าทีป่ ระเมินได้กับที่ตรวจวัด ได้
มีแนวโน้มคลา้ ยคลึงกัน และมคี า่ ความสมั พนั ธ์กนั สูงถึง 0.96 เมอื่ ประยุกต์โมเดลน้ีใช้กบั ลุ่มน้ำ ห้วยแม่ใน ซง่ึ มี

142

สภาพป่าดิบเขาถงึ 84 เปอรเ์ ซ็นต์ ปรากฏว่า ใช้ได้ดีมีความสัมพันธ์กันอย่างมี นยั สำคัญย่ิง แตไ่ ม่สามารถใช้ได้
กบั ลุ่มนำ้ ห้วยทุ่งจ้อซึ่งมีการใช้ประโยชน์ที่ดินแบบผสมผสาน เน่ืองจากมีน้ำไหลบ่าหนา้ ดิน เกิดขึน้ เมื่อมีฝนตก
นอกจากนป้ี รมิ าณน้ำทา่ ท่ีตรวจวดั ได้บางสวน ถูกนำไปใชเ้ พอื่ การเกษตรและกจิ กรรมอน่ื ๆ ของมนษุ ย์ ทำให้
ปริมาณนำ้ ท่าที่ประเมินไดม้ ีค่า มากกว่าทตี่ รวจวัดไดจ้ รงิ ๆ อย่างมาก ดงั นั้น โมเดลน้ีจงึ ใชไ้ ดด้ ีกบั ลุ่มนำ้ ขนาด
เลก็ ของธรรมขาติท่ไี ม่มีนำ้ ไหลบ่าหนาดินเท่านั้น

Abstract
The applications of hydrological process to assess the streamflow has been carried

out in the hill-evergreen forest at subwatershed D of Kog—Ma Watershed, Doi Pui, Chiang
Mai, using monthly rainfall, evaporation from pan and streamflow data collected from 1966
to 1982. The results of the study showed that some amount of rainfall was intercepted by
trees and covering plant through the interception processes, which can be assessed by a
linear equation of rainfall and interception relationship. lntercepted water totally
evaporated to the atmosphere. Since the hill-evergreen forest has rather high infiltration
rate, all net rainfall was infiltrated into the soil, without any surface runoff. The total flow in
each month was influenced by subsurface flow which infiltrated into the soil in the same
and preceding months.Therefore, total flow can be assessed by multiple regression of the
relationship between total flow and subsurface flow of the same and 1, 2, 3, 4 and 5
preceding months. Streamflow was calculated by subtracting water loss by
evapotranspiration (EC) from the total flow. This EC can be assessed by :

In case of rainfall; EC = (evaporation from pan x coefficient of pan)
- evapotranspiration from interception

In case of no rainfall; EC = evaporation from pan x coefficient of pan

The validation of the model was done in the subwatershed D of Kog-Ma Watershed.
The result revealed that the assessed streamflow was less than the observed volume in the
high water year. This was because the interception computed in this model would increase
according to the rainfall. But actually the interception will remain constant when it reaches
saturation. Therefore, the high water year was caused by the heavy rainfall, thus making an
error in this assessment of interception. That is the computation of interception will reveal
higher volume than its actual quantity. As for the low water year, the assessed streamflow
will also show the greater volume than the observed streamflow. However, the correlation

143


Click to View FlipBook Version