The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การรวบรวมงานวิจัยในพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยคอกม้าและพื้นที่ข้างเคียง มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำฐานข้อมูลงานวิจัยที่ผ่านมาเพื่อสนับสนุนการวิจัยในอนาคต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Forestry Research Center, 2021-05-20 05:21:23

งานวิจัยในลุ่มน้ำห้วยคอกม้า

การรวบรวมงานวิจัยในพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยคอกม้าและพื้นที่ข้างเคียง มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำฐานข้อมูลงานวิจัยที่ผ่านมาเพื่อสนับสนุนการวิจัยในอนาคต

Keywords: ห้วยคอกม้า,ดอยปุย,งานวิจัย,พื้นที่สูง

การวเิ คราะห์การปกคลุมของเรือนยอดทสี่ ัมพนั ธ์ตอ่ จำนวนต้นและปรมิ าณซากพืช
ของป่าดบิ เขาดอยปยุ เชยี งใหม่

An annlysis of crown in relation to tree numbers and litterfall of hill-evergreen forest,
Doi Pui, Chiangmai
บวั เรศ ประไชโย (2519)

บทคดั ยอ่

การศึกษาเรอ่ื งน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือหาความสัมพันธ์ระหว่างการปกคลุมของเรอื นยอดกับจำนวนต้น

ปริมาตรของเน้ือไม้ และปรมิ าณซากพืชของไม้ในป่าดิบเขา เพ่ือใช้เปน็ แนวทางในการอนุรักษ์ดนิ และนำ้ ปา่ ไม้

เน่ืองจากมีการศึกษามาก่อนพบว่าการที่จะให้การปกคลุมของเรือนยอดมีผลในการอนุรักษ์ดินแล ะน้ำน้ัน

จะต้องเหลือการปกคลุมของเรือนยอดไว้ 70 เปอร์เซ็นต์ เป็นอย่างน้อย ท้ังนี้จะก่อให้เกิดผลต่อเนื่องไปถึง

แนวทางในการจดั การปา่ ไม้ด้วย

บริเวณท่ที ำการศกึ ษา ได้เลือกวางแปลงตัวิย่างเป็นรูปวงกลม รัศมี 17.84 เมตร ท้งั หมด 40 แปลง ใน

บริเวณป่าดิบเขา ดอยปุย เชียงใหม่ การดำเนินงานเร่ิมต้นต้ังแต่เดือนเมษายน พ.ศ. 2518 จนกระทั่งเดือน

กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2519 โดยทำการเก็บข้อมูลต่างๆ จากแปลงตัวอย่าง ไดแ้ ก่ การปกคลุมของเรอื นยอดของแต่

ละแปลงได้จากการถา่ ยรูปเรอื นยอดจากพ้ืนดินไปสูเ่ รือนยอด จำนวน 5 จุด นับจำนวนตน้ ไม้ทั้งหมดทมี่ ีความ

โตตั้งแต่ 10 เซนติเมตร ตรงระดบั สูงเพียงอกข้ึนไป และแยกจำนวนไม้ท่ีมขี นาดโตตั้งแต่ 50 เซนติเมตรขน้ึ ไป

เป็นไม้ที่ทีเป็นสินค้าได้ ทำการวัดความโต ความสูงของก่งิ แรก ความสูงท้ังหมด เพื่อนำไปคำนวณหาปรมิ าตร

ของเน้ือไม้และเก็บปริมาณซากพืชในแต่ละแปลงตัวอย่างขนาด 1x1 เมตร จำนวน 3 จุด โดยการสุ่มแล้ว

คำนวณหานำ้ หนักแหง้

จากข้อมูลต่างๆ เหล่านี้ เม่ือนำไปวิเคราะห์ทางสถิติแล้วพบว่า การปกคลุมของเรือนยอดกับจำนวน

ต้นทั้งหมดไม่มีความสมั พนั ธ์กัน แต่การปกคลุมของเรอื นยอดมคี วามสมั พันธอ์ ย่างมนี ยั สำคัญย่งิ กับสิ่งต่อไปนี้

1) จำนวนตน้ ของไม้ที่มีขนาดโตพอทำเป็นสินค้าได้ ในรูป N = 84.17 + 1.82X

2) ปรมิ าตรของเนอ้ื ไม้ทที่ ำเปน็ สนิ ค้าได้ Log V = 0.79 + 1.02

3) ปรมิ าณซากพืช Log L = 3.27 + 0.003X

เม่ือ N คอื จำนวนของตน้ ไม้ทที่ ำเปน็ สินค้าได้

V คอื ปริมาตรเน้ือไม้ทท่ี ำเปน็ สนิ คา้ ได้ (ลูกบาศก์เมตร)

L คือ ปรมิ าณซากพชื (กโิ ลกรมั ต่อเฮกแตร)์

X คือ การปกคลมุ ของเรอื นยอด (เปอรเ์ ซ็นต์)

จากความสมั พันธด์ ังกลา่ ว หากมกี ารจดั การป่าไมเ้ พอื่ จะให้มีการปกคลมุ ของเรือนยอด 70 เปอร์เซ็นต์

วง่ึ จะก่อใหเ้ กดิ ผลดใี นด้านอนรุ ักษ์ดนิ และน้ำ สมการเหลา่ น้ีจะสามารถประมาณสิ่งต่างๆ ไดด้ ังน้ี คอื 1) จำนวน

ตน้ 185-238 ต้น/เฮกแตร์ 2) ปริมาตรเน้ือไม้ 97.84-185.22 ลูกบาศก์เมตรต่อเฮกแตร์ และ 3) ปรมิ าณซาก

พืช 2,671.11 – 3,700.77 กิโลกรัม/เฮกแตร์ (ที่ระดับในการความเช่ือมั่น 99 เปอร์เซ็นต์) ดังนั้นหากมีการ

44

จัดการป่าดิบเขาเพ่ือจะให้ได้ผลในด้านการอนุรักษ์ดินและน้ำกับด้านการทำไม้ควบคู่กันไปแล้วจะสามารถ
ประมาณหาจำนวนต้นไม้ท่ีมีขนาดทำเป็นสินค้าได้ ปริมาตรเน้ือไม้ และปริมาณซากพืชที่จะกำหนดให้มี
เหลืออย่ใู นป่าดบิ เขาได้

Abstract
An analysis of crown cover in relation to tree number and litterfall was studied in hill

evergreen forest at Doi Pui, Chiangmai. The purpose of this study is to find out a guildline for
forest management and conservation. Some previous work suggested that, minimizing
surface runoff and erosion in this forest type, the crown cover should be maintain at least
70 percent. This study is an attempt to relate the finding to this previos suggestion.

Fifty circular plots of 0.1 hectare were randomly located throughout the forest.
Average crown cover was obtained from five canopy photographs taken at one fix point on
the center of plot andfour random points on half distance along plot radies. All trees with
girth at breast height ≥ 10 centimeters were counted and separated into two categories: all
trees and merchantable trees with girth at breast height ≥ 50 centimeters. Merchantable
volume was estimated by multiplying the basal area at breast height with height of first living branch,
Litterfall was collected and weighed in three square plots of 1 x 1 meter randomly located on the
ground of the study plot. Dry weight of litterfall in kilogram per hectare was converted from the
percentage moisture content after samples were dried in an oven at 70°C for 24 hours.

The results suggest that crown cover does not correlate with number of all trees in
the plot. However, good correlations are found between crown cover and number of
merchantable tree, merchantable volume, and amount of litterfall in following forms:

(1) merchantable tree (N, number of tree per hectare) and crown cover (X, percent).
N = 84.13 + 1.82 X

(2) merchantable volume (V, cubic meter per hectare) and crown cover (X, percent).
Log V = 0.79 + 1.02

(3) litterfall (L, kilogram per hectare) and crown cover (X, percent).
Log L = 3.27 + 0.003X

Applied these relationship to the minimum crown cover of 70 percent allowance to
be maintained for effective conservation of soils and water resulted in 185 – 238 trees per hectare of
morchantable trees 97.84 – 185.23 cubic meters per hectare of morchantable volume and
2,671.11-3,700.77 kilograms per hectare of litterfall respectively. These figures are expected to
be a good guildlind for managrmrnt and conservation of the hill evergreen forest.

45

การหมุนเวียนของธาตุอาหารในล่มุ น้ำขนาดเล็กของป่าดบิ เขา ดอยปยุ เชยี งใหม่
Cycle of Some Nutrients of Small Hill-evergreen Forest Watershed Doi Pui Chiangmai

บุญปลกู นาประกอบ (2519)

บทคัดย่อ
การจัดการลุ่มน้ำทางภาคเหนือของประเทศไทย ต้องประสพกับปัญหายุ่งยากในการดำเนินการ

เน่ืองจากขาดข้อมูลและความรู้พ้ืนฐาน เพื่อช่วยในการบริหาร อีกทั้งยังมีปัญหาการทำไร่เล่ือนลอย ซ่ึงถูก
ทอดท้ิงให้รกรา้ งไร้คุณคา่ เป็นผลเสียต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศเป็นอยา่ งมาก ภาควิชาอนุรกั ษ์วทิ ยา
คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้ทำการศึกษาลักษณะลำธารของป่าต้นน้ำ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
การหมุนเวยี นของธาตอุ าหารบริเวณปา่ ดบิ เขาธรรมชาติ สถานวี จิ ัยลมุ่ น้ำหว้ ยคอกม้า ดอยปุย จงั หวดั เชียงใหม่
เพ่ือเป็นบรรทัดฐานในการจัดการลุ่มน้ำอื่นๆ ตลอดจนการปรับปรุงแก้ไขพ้ืนท่ีรกร้างที่ถูกทอดท้ิงให้กลับคืน
สู่สภาพเดิม โยพิจารณาเปรียบเทียบจากระบบการหมุนเวียนธาตุอาหารจากป่าธรรมชาติ วิธีการนั้นได้เก็บ
ตวั อยา่ งน้ำฝน น้ำฝนใต้เรือนยอด น้ำตามต้น และนำ้ ในลำธาร สปั ดาห์ละหน่ึงครงั้ เกบ็ ดิน 10 หลุม ท่ีระดบั ลึก
0-20, 20-50, 50-100 และลกึ มากกว่า 100 เซนติเมตร เดือนละหน่ึงคร้ัง เช่นเดยี วกับการเก็บตัวอย่างก่งิ ไม้
ใบไม้ร่วงหล่นจากแปลงทดลองขนาด 0.75x0.75 เมตร นำมาวิเคราะห์ทางเคมี ธาตุที่ทำการวิเคราะห์ ได้แก่
K, Na, Ca, Mg, Fe และ Mn สำหรับดินและใบไม้ท่ีร่วงหล่นได้ศึกษา N และ P ด้วย ที่ไม่ได้วิเคราะห์ธาตุท้ัง
สองชนิดนี้จากตัวอย่างน้ำฝน นำ้ ฝนใตเ้ รือนยอด น้ำตามตน้ และนำ้ ในลำธาร เพราะผลงานท่ีผ่านมาปรากฏว่า
ทั้ง N และ P ในน้ำมีน้อยหรือแทบไม่มีเลย ระยะเวลาที่ทำการวิจัยเริ่มดำเนินการตั้งแต่เดือนเมษายน
พ.ศ. 2517 ถึง เดอื นมีนาคม พ.ศ. 2518 รวมเปน็ เวลาหนงึ่ ปีเต็ม

ผลการวิจัยปรากฏว่า K และ Na มีการหมุนเวียนใกล้สมดุลมากท่ีสุด ปริมาณเข้าสู่ลุ่มน้ำในน้ำฝน
12.26 และ 23.66 กิโลกรมั ต่อเฮกแตร์ตอ่ ปี สูญเสียไปกบั น้ำลำธาร 12.58 และ 27.71 กิโลกรมั ตอ่ เฮกแตร์ต่อ
ปี มีปริมาณสญู เสียสุทธิ 0.32 และ 4.05 กิโลกรัมต่อเฮกแตร์ต่อปี ตามลำดบั นับว่าการหมุนเวียนของ K และ
Na ได้รับการปรับปรุงแกไ้ ขตามธรรมชาตใิ ห้กลับสู่สภาพเดิมได้เร็วมาก สาเหตุอันสำคัญเป็นเพราะธาตุทง้ั สอง
นี้ถูกเคล่ือนย้ายในระบบไดอ้ ย่างรวดเร็ว อีกท้ังแหล่งทม่ี าได้แกก่ ารสลายตัวของแรแ่ ละท่เี จอื ปนมากับน้ำฝนให้
ปริมาณมาก ส่วน Ca, Mg และ Fe เข้าสู่ลุ่มน้ำ 15.99, 16.11 และ 0.09 กิโลกรัมตอ่ เฮกแตร์ต่อปี สูญเสียไป
เพยี ง 3.98, 2.51 และ 0.03 กิโลกรัมต่อเฮกแตรต์ ่อปี จงึ มกี ารสะสมในระบบหมุนเวียนน้ี 12.01, 13.60 และ
0.06 กิโลกรัมต่อเฮกแตรต์ ่อปี ตามลำดับ ธาตุพวกหลังน้ีได้รับเพ่ิมเติมจากแหล่งท่ีมาตามธรรมชาติน้อยกว่า
พวก K และ Na Mn น้ัน เนื่องจากมีเจือปนกับน้ำทุกชนิดน้อยมากจนวัดปริมาณไม่ได้ ดังน้ันลักษณะการ
หมุนเวียนจึงไม่สามารถแบ่งได้เด่นชัด สำหรับ N และ P จากผลการศึกษาท่ีผ่านมามีสภาพเช่นเดียวกับ Mn
เปน็ ท่ีนา่ สังเกตว่าลุ่มน้ำแห่งน้ีเคยถูกรบกวนจากไฟป่ามาแลว้ ทำให้ลักษณะการหมุนเวยี นของธาตุอาหารบาง
ชนิดเปลี่ยนไปจากสภาพธรรมชาติด้ังเดิมบ้าง ผลการทดลองยังได้สรุปให้เห็นอีกว่า ธาตุอาหารท่ีมีส่วน

46

หมุนเวียนในปา่ ดิบเขาธรรมชาติ ลมุ่ นำ้ หว้ ยคอกม้า จะเกดิ ขึ้นภายในวัฏจกั รของน้ำฝนใต้เรือนยอด น้ำตามต้น
ในใบไม้ทรี่ ว่ งหลน่ และจากดิน รว่ มเป็นระบบเดียวกัน

Abstract
There are many problems in manging the watershed in the north of Thailand. Basic

data and research are not available to pertain the management operation. Forested lands
were destroyed for agricutual purposes and finally left as un-valuable shifting areas. This
causes the diminishing socio-economic aspects, not only in the north itself but also to the
central part of the country. Knowledge of nutrient cycle on watershed ecosystem of natural
hill-evergreen is needed in order to set a basic in manipulation and rehabilitation all
destructive areas. Consequently, the Faculty of Forestry, Kasetsart University investigated the
nutrient cycling of natural hill-evergreen forest at Kog-Ma watershed Research Station, Doi
Pui, Chiengmai. The study was planned to collect some water from rainfall, throughfall,
stemflow, and streamflow, for once a week. Also the soils at depths of 0-20, 20-50, 50-100
and over 100 cm were collected monthly as well as litterfall from 0.75x0.75 meter plots. All
samples were analized to determine the amount of K, Na, Ca, Mg, Fe and Mn (N and P
extracted only from litterfall and soils because both elements in water). The experimental
period began from April 1974 through March 1975, approximately one year investigation.

Results found that K and Na moved rapidly almost to their normal conditions
because of their abilities to move quick in system and their major geologic and hydrologic
abundance. The budgets of K and Na consisted of input (K 12.26, Na 23.66 kg/ha/yr.) and
output (K 22.58, Na 27.71 kg/ha/yr) are near balanced status by indicating the losses of K
0.32 and Na 4.05 kg/ha/yr. Ca Mg and Fe moved to their normal conditions longer than K
and Na, because of their slowly movements in ecosystem and containing small amounts in
original sources. Their budgets consisted of inputs (Ca 15.99, Mg 16.11, and Fe 0.09 kg/ha/yr)
and outputs (Ca 3.98, Mg 2.51, and Fe 0.03 kg/ha/yr), with the results of net storage of Ca
12.01, Mg 13.60, and Fe 0.06 kg/ha/yr. Naturally, Mn as well as N and P containing in the
forest itself and never appeared in cycling condition for all experimental samples. Since Kog-
Ma Watershed Research Station used to disturb by forest fire, the present elements
condition has shown some changes from natural status. The result was shown the evident
summary that all elements recycling in the forest ecosystem occurred only in the water of
throughfall, and stemflow, also from litterfall and soils.

47

ลกั ษณะการรับรองรับน้ำฝนของไม้กอ่ เดือยในปา่ ดิบเขาดอยปยุ เชียงใหม่
INTERCEPTION CHARACTERISTICS OF CASTANOPSIS ACCUMINATISSIMA

IN HILL-EVERGREEN FOREST, DOI-PUI, CHIENGMAI
มานติ ย์ อนุรักษ์ไพบูลย์ (2519)

บทคัดย่อ
การวัดปริมาณน้ำฝนท่ถี ูกรองรบั โดยเรือนยอด, ปริมาณน้ำตามลำตน้ และน้ำฝนที่ทะลุผ่านเรอื นยอด

ของไม้ก่อเดือย ในป่าดิบเขา ดอยปุย เชียงใหม่ ทําการทดลองตั้งแต่เดือนเมษายน ถึง เดือนธันวาคม พ.ศ.
2513 ได้ ผลดงั นี้ปรมิ าณน้ำฝนที่ถูกรองรบั โดยเรอื นยอด, ปริมาณนำ้ ตามลำตน้ และน้ำฝนท่ีทะลุผา่ นเรอื นยอด
มี 18.96, 0.14, และ 84.01 เปอร์เซนต์ ตามลำดับ ลักษณะความหนาแนนของเรือนยอค, ปริมาณของฝน
และความหนกั เบาของฝน มีผลต่อการวดั ของปรมิ าณฝนใตเ้ รอื นยอด
Abstract

The measurement of interception,stemflow and throughfall of Castanopsis acuminatissima
Rehd. were taken in April to December,197O in hill-evergreen forest Doi-Pui Chiangmai. The
value of interception, stemflow and throughfall are 18.06, 0.14 and 84.01 percent
respectively. Characteristics of bark,crown density , amount of rainfall and rainfall intensity
influenced the measurment of rainfall under the trees.

48

ปรมิ าณธาตุอาหารภายในระบบนเิ วศน์ปา่ ดิบเขาดอยปยุ เชียงใหม่
Amount of Nutrient Elements in Hill-Evergreen forest Ecosystem at Doi Pui, Chiangmai

เกษม จนั ทรแ์ ก้ว และ บุญปลูก นาประกอบ (2520)

บทคดั ย่อ
การศึกษาธาตุอาหารในระบบนิเวศน์ของป่าดิบเขา ที่ดอยปุย เชียงใหม่ ซ่ึงเร่ิมต้ังแต่เดือนเมษายน

2517 ถงึ เดือนมนี าคม 2518 รวมเวลา 1 ปี โดยได้ศกึ ษาปริมาณธาตุอาหารพวก Ca, Mg, K, Na, Fe และ Mn
ในตัวอย่างน้ำฝนใต้เรือนยอด น้ำตามต้น ใบไม้ท่ีร่วงหล่น และดินท่ีระดับช้ันความลึก 0-20, 20-50, 50-100
และลึกมากกวา่ 100 เซนติเมตรผลการศกึ ษาสรปุ ได้ ดงั นี้

น้ำฝนใต้เรือนยอดท้ังหมด 1,780.2 มิลลิเมตร มีธาตุอาหารอยู่ K 47.19, Mg 28.42, Na 24.41, Ca
22.65 และ Fe 0.26 กิโลกรัมตอ่ เฮกแตร์ สว่ น Mn มีปริมาณ น้อยจนตรวจไม่พบในจํานวนดังกล่าวเป็น ส่วน
ท่ีถูกชะล้างมาจากส่วนเรือนยอดไม้เพียง K 33.54 , Mg 23.84, Ca 8.23 กิโลกรัมต่อเฮคแตร์เท่าน้ัน ส่วนท่ี
เหลือเป็นธาตุอาหารที่เจอื มากบั นำ้ ฝนก่อนแล้ว สําหรับน้ำตามต้นก็เป็นไปในทำนองเดียวกันแต่มีปริมาณน้อย
กว่ามาก คือมีปริมาณเพียง 0.07 มิลลิเมตร มีธาตุอาหารดังน้ี K 13.55, Mg 1.43, Ca 1.39, Na 1.09 และ
Fe 0.14 กรัมต่อเฮกแตร์ และเป็นส่วนที่ถูกชะล้างมาจากส่วนลำต้นเพียง 13.11, 0.87, 0.84, 0.28 และ
0.13 กรมั ต่อเฮคแตร์ตามลาํ ดบั

การร่วงหลน่ ของใบไมใ้ นปา่ ดบิ เขาทง้ั ปมี ี 4,548.25 กิโลกรมั ต่อเฮคแตร์ และมปี ริมาณ ธาตุอาหารใน
ใบไมท้ ่ีร่วงหล่นท้งั หมดดงั น้ี N 54.41, Ca 54.22, K 22.57, Mg 12.02, P 2.25, Mn 1.76 และ Fe 1.25
กโิ ลกรมั ต่อเฮคแตรต์ ามลำดับ ธาตอุ าหารแต่ละชนดิ ท่เี หลอื ในใบมากหรอื นอ้ ยข้นึ กบั ปริมาณท่พี ืชดูดนำ้ ขึน้ มา
ใช้ ความสามารถในการเคลอ่ื นยา้ ยของธาตุอาหารออกจากใบกอ่ นทจ่ี ะร่วงหลน่ เปน็ ตน้

ดินของป่าดิบเขานั้นมีความอุดมสมบูรณ์ของธาตุอาหาร เฉพาะชั้นบนเท่านั้น ชั้นล่างลงไป มีธาตุ
อาหารอยู่น้อย เพราะดินบนซึ่งลึกถึงระดับ 50 เซนติเมตร ในระดับ 20 เซนติเมตรแรกจะมีรากพืชอยู่อย่าง
หนาแนน่ และช้นั บนมีอินทรีย์วัตถสุ ะสมอยมู่ ากจงึ มีปรมิ าณธาตอุ าหารจํานวนมาก และลดลงมาเรื่อยตามระดับ
ความลึกจนถึงระดับ 50 เซนติเมตร ซ่งึ เป็นระดบั ทีร่ ากพืชท่ัวไปหย่งั ถึง ลึกกว่าระดับนีล้ ง ไปธาตุอาหารต่าง ๆ
มอี ยู่ในปริมาณนอ้ ยกว่าชน้ั บนท่ีได้กลา่ วมาแล้ว

49

Abstract
The study of nutrient elements in hill-evergreen forest ecosystem was planed to

collected some water from througfall all and stemflow, in the soils at depths sf 0-20, 20-50,
50-100 and over 100 cm as well as litterfall from 0.75 X 0.75 meter plots. All samples were
analized K, Ca, Mg, Fe and Mn (N and P extracted only from litterfall and soil). The
experimental period began from April 1974 through March 1975, approximately one Year
Investigation.

The total amount of nutrients in throughfall were K 47.19, Mg 28.42, Na 24.41, Cu
22.69 and Fe 0.26 kg/ha respectively, Mn was trace to determin Net of elements leaching
from crown cover were only K 33.65, Mg 23.84, Ca 8, 23, Na 3.00 and Fe 0.18 kg/ha/yr. The
rest of these elements were contaminated in the rain water. In the same way, stemflow
water that contented 1 13.54, Mg 1.1.3, Ca 1.39, Na 1.09 and Fe 0.14 gm/ha./yr, had
amount of elements leaching from stem only R 13.11, Mg O-37, Ca O.84,Na 0.28
and Fe 0.13 gm/ha annually.

The litterfall in hill-evergreen forest was 4,548.25 kg/ha/yr and contentod total
amounts of N 54.41, Ca 54.22, k 22.57, Mg 12.02, P 2.25, Mn 1.94, Na 1.76 and Fe 1.25 kg /h
respectively. Nutrient content remaining in leaf-litter depended on the mount that plant
take up to their activities, and mobilities of elements from leaves before old leaves falling to
forest floor

In the hill-evergreen forest, top soil to the depth of 20 cm was rich of nutrient
elements and organic matter,rosulting plant roots concentrated down to the depth of 50 cm
and then gradually decreased nutrients with small amount of roots at deeper zone.

50

ลกั ษณะโครงสร้างของป่าดิบเขาตามระดับความสูงตา่ งกันบริเวณดอยปยุ เชยี งใหม่
STRUCTURE OF HILL-EVERGREEN FOREST ALONG THE ALTITUDE AT DOI PUI, CHIANGMAI

สนทิ อกั ษรแก้ว และ สามัคคี บณุ ยะวฒั น์ (2520)

บทคัดยอ่
การศกึ ษาเก่ียวกับลักษณะโครงสร้างของปา่ ดบิ เขาบริเวณดอยปุย จังหวดั เชียงใหม่ ตามระดบั ความสูง

ของพนื้ ทจ่ี ากระดบั น้ำทะเลต่างกนั ระหว่าง 1,000 ถึง 1,600 เมตร ในปี พ.ศ.2520 พอสรปุ ได้ดังน้ี คอื
1.พื้นที่ป่าดิบเขาที่อยู่สูงจากระดับน้ำทะเลต่ำกว่า 1, 300 เมตร จะมีชนิดพันธุ์ไม้ข้ึนอยู่มากกว่าใน

พนื้ ทีซ่ ึ่งอยู่สูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 1,400 เมตรขน้ึ ไป โดยในบริเวณแรกพบวามีพรรณไม้เฉลี่ยประมาณ
83 ชนิด และบริเวณหลังมีประมาณ 16 ชนิดเท่าน้ัน สําหรับพันธ์ุไม้ท่ีพบขึ้นอยู่ทั่วไปในป่าดิบเขา เกือบทุก
ระดับความสูงได้แก่ ก่อเดือย ก่อแปน ก่อแหลม ก่อแดง กํายาน มะไก ไม้ห้าหรือหว้า และเหมือด เป็นต้น
สาํ หรับชนิดสำคัญท่ีพบมากในระดับต่ำกว่า 1, 300 เมตร ได้แก่ ก่อก้างด้าง ก่อน้ำ ก่อตาหมู และดงดำ ส่วน
ชนดิ พันธุ์ไม้ทส่ี ำคญั ที่พบทวั่ ไปในพื้นท่รี ะดับความสูงตั้งแต่ 1,500 เมตรข้ึนไป ได้แก่ มะขามปอ้ ม และแค ส่วน
ไม้ทะโล้ซ่ึงเป็นไม้สําคัญของป่าดิบเขาอีกชนิดหนึ่งจะพบว่าขึ้นอยู่เฉพาะบริเวณเชิงเขา (พ้ืนท่ีต่ำกว่า 1,200
เมตร) เท่าน้ัน แต่กพ็ บข้นึ กระจายอยู่บ้างในลาดเขาระหว่างความสูง 1,400 – 1,500 เมตร จากระดับน้ำทะเล
สว่ นไม้พ้นื ล่างท่ีสําคญั ได้แก่ เฟริ ์น เอือ้ งดิน หญ้าสามคม หญ้าแฝก และหญ้าคา และพร้อมกันน้ีจากการศึกษา
ลกั ษณะแห่งความคลายคลึงของสังคมป่าดบิ เขาตามระดับความสูงจากน้ำทะเล ต่างกันโดยคา่ ดรรชนีแห่งความ
คลายคลึงก็พบว่าลักษณะสังคมของป่าจะคลายคลึงกันมากระหว่างป่าดิบเขาที่ขึ้นอยู่ในบริเวณพ้ืนที่ตั้งแต่
1,000 – 1,300 เมตร จากระดับน้ำทะเลพวกหน่ึง และอีกพวกหน่ึงคือป่าดิบเขาที่ข้ึนอยู่ในบริเวณพื้นที่
ระดับสูงต้งั แต่ 1,400 – 1,600 เมตร จากระดับนำ้ ทะเล

2. การจัดช้นั ความสูงและการปกคลมุ ของเรอื นยอดของพรรณไม้ในปา่ ดิบเขาจะแปรเปลยี่ นไป ตาม
ระดับความสูงของพนื้ ที่จากระดับน้ำทะเล กล่าวคือพน้ื ทค่ี วามสงู ระหว่าง 1,000 - 1,500 เมตร พรรณไม้จะ
แบง่ ได้เปน็ 8 ช้นั ความสูง โดยมีไม้เดน่ เช่นพวกก่อเดือย ทะโล้ และมะไก๋ เป็นต้น และมีไม้สงู สุดประมาณ 38
เมตร และมีการปกคลมุ ของเรือนยอดเฉล่ียประมาณ 80 เปอร์เซนต์ ส่วนบริเวณพ้นื ท่สี ูงจาก ระดบั น้ำทะเล
ระหว่าง 1,500 - 1,600 เมตรขึน้ ไป สภาพชัน้ ความสงู ของพรรณไม้จะแบงได้เพียง 3 ชั้น โดยมีพวกก่อแป้น
ก่อแดง และสารภีดง เปน็ ไม้เดน่ และมตี ้นไม้ท่สี ูงสดุ ประมาณ 15 เมตรเท่าน้ัน และมี การปกคลมุ ของเรือน
ยอดประมาณ 77 เปอร์เซนต์

3. ป่าดิบเขาที่ข้ึนอยู่ในบริเวณพ่ืนท่ีความสูงจากระดับน้ำทะเลต่างกันระหว่าง 1,000 – 1,600เมตร
จะมคี วามหนาแน่นของพรรณไม้แตกตา่ งกัน โดยมีแนวโนม้ เพิ่มขึน้ เมื่อความสงู ของพืน้ ท่เี พิ่มขนึ้ กล่าวคือความ
หนาแน่นต่ำสูงที่พื้นที่สูงจากระดับน้ำทะเล 1,200 เมตร โดยมีประมาณ 1,289 ต้น/เฮกแตร์ และสูงสุดที่
1,500 เมตร คือ 4,331 ต้น/เฮกแตร์ ซึ่งตรงกนั ข้ามกับพื้นท่ีหน้าตัดซ่ึงมีแนวโนม้ ลดลง เมื่อความสูงของพื้นท่ี
เพ่ิมขึ้น คือพ้ืนที่หน้าตัดต่ำสุดท่ีบริเวณพื้นท่ีความสูง 1,500 เมตร ซึ่งมีเพียง 17.5 ม2/เฮกแตร์ และสูงสุดที่

51

1,100 เมตร คือประมาณ 55.1 ม2/เฮกแตร์ ซึ่งอันนี้แสดงให้เห็นว่า ในพื้นท่ีสูงป่าดิบเขาจะ ประกอบด้วยไม้
ขนาดเล็ก ส่วนพ้ืนท่ีในระดับต่ำจะประกอบไม้ขนาดใหญ่สําหรับ ความหนาแน่นและพ้ืนท่ีหน้าตัดของไม้เดน่ ที่
สำคัญในป่าดิบเขา โดยเฉพาะไม้ในสกุลไม้ก่อพบว่า ไม้กอ่ สกุล Castanopsis มีความหนาแน่นและฟื้นที่หน้า
ตัดลดลงเมื่อความสูงป็นที่พ้ืนที่เพิ่มข้ึนและมีแน้วโน้มเช่นเดียว กับไม้ก่อสกุล Lithocarpus ส่วนไม้ก่อสกุล
Quorcue จะมีแนวโน้นไปในทางตรงกนั ข้าม คอื มคี วามหนาแน่นและพืน้ ทห่ี น้าตัดเพิ่มข้ึนเมือ่ ความสงู เพิ่มขึ้น
ส่วนไม้เด่นชนิดอ่นื ๆ เช่น ทะโล้ หว้า และมะไก๋ จะมีความหนาแน่นและพื้นที่หน้าตัดลดลง เมื่อความสูงของ
พื้นที่เพ่ิมขึ้น ซ่ึงตรงกันข้ามกับไม้เหมือด และสารภีท่ีมีความหนาแน่นและพ้ืนที่หน้าตัดเพิ่มขึ้นเม่ือความสูง
พื้นท่ีเพ่ิมขึน้

4. สภาพการสืบพันธ์ุและการกระจายของลูกไม้ในป่าดบิ เขาพบวา่ ชนิดของลกู ไมม้ ีแนวโน้มลดลงเม่ือ
ความสูงพ้ืนที่เพมิ่ ขึ้น กล่าวคือในพ้ืนทสี่ ูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 1,000 เมตร มีลูกไม้สงู สดุ 14 ชนิด และ
ไม้พ้ืนล่างประมาณ 11 ชนิด ส่วนพ้ืนที่ระดับสูง 1,600 เมตร ปรากฏว่ามีลูกไม้เพียง 7 ชนิด และไม้พ้ืนล่าง
6 ชนิดเท่าน้ัน ซ่ึงตรงกันข้ามกับความหนาแน่นของลูกไม้และไม้พื้นล่าง ซ่ึงจะมีมากขึ้นเมื่อความสูงเพ่ิมข้ึน
สําหรับลูกไม้สำคัญๆ ในป่าดิบเขาโดยเฉพาะพวกไม้สกุลก่อ ปรากฏว่าลูกไม้ก่อสกุล Castanopsis มีข้ึนอยู่
ทั่วไป แต่พบมากในบริเวณเชิงเขา (สูง 1,000 เมตร) กับบริเวณลาดเขา (สูง 1,200 เมตร) ไม้ก่อในสกุล
Xithocarpus พบมากในบริเวณเชิงเขา(สูง 1,000 เมตร) เท่าน้ัน ส่วนไม่ก่อสกุล Quorcue มีมากบริเวณเชิง
เขา (สูง 1,000 เมตร) และเนินเขา(สูง 1,500 เมตร) ส่วนลูกไม่สำคัญชนิดอ่ืนๆ เช่น ลูกไม้ทะโล้ สารภี และ
หว้า จะพบในบริเวณเชิงเขาต่ำกว่าระดับ 1,200 เมตรลงมา ซึ่งตรงข้ามกับไม้เหมอื ดและกำยานจะพบในพื้นท่ี
ลาดเขา (สูง 1,400 เมตร) และสูงขึ้นไป ส่วนไม้พื้นล่างที่สำคัญพบว่าพวกเฟิรน์ จะมีปรมิ าณมากในบริเวณเชิง
เขา(สูง 1,000 เมตร) และบริเวณเนินเขา (สูง 1,600 เมตร) พวกหญ้าท่ีพบในพื้นที่ต่ำกว่า 1,300 เมตร เป็น
พวกหญ้าสามคม แต่เมอื่ พื้นที่สูงกว่า 1,400 เมตร จะเป็นพวกหญ้าแฝกและหญ้าคา

Abstract
Structural characteristics of the hill-evergreen forests along the altitudes between

1,000 to 1,600 m above m.s.l with 100 m intervals at Doi Pui, Ghiengmai was studied in
1 9 7 7 . The investigation were concerned with floristic composition, stand profile, crown-
cover, density, species distribution and natural regeneration. The results of investigation
were sumarized as follows:-

1. Hill-evergreen forests covering the areas below 1 ,3 0 0 m above m.s.l. had more
species than the forests at areas higher than 1;40 0 m above m.s.l with 4 3 species for the
former areas and 16 species for the latter areas respectively. The common species occurred
almost at all altitude are Kordouy (Castanopsis acuminatissa) Korpan (C. indica) Korlam (C.sp)
Kordang ( Quercus auriculatus) Kenyan (Styrax sp) Makai (Homalium damrongianum) War
(Syzygium cumini) and Meard (Manicala sp), at the areas below 1,300 m above m.s.l. to be

52

Korgangdang (Lithoaarpus garettianus) Kornam (L.auriculatus) Kortamoo (Q.Kerrii) and
Dongdam (Dyospyros sp) and at the areas higher than 1 ,4 0 0 m aboye m.s.l. the common
species are,Markampom (Phyllanthus embrica) and Care (Storospermum sp) Talo (Schima
wallichii) is also a common species in this forest type but it was abundantly found only at
areas below 1,200 m above m.s.l. but it sparsely occurredat the areas between 1,400 to
1 ,5 0 0 m. The common species of undergrowth are fern (Selaginella sp) Urngdin (Ground
orchid) Yasamkom (Fuirena umbellata) Yarak (Vativeria Zizanioides) and Yakar (Imperata
cylindriea). The indices of aimilaritylamong the hill-evergreen foresiy occurring at different
altitudes were also calculated. From the values of the indices of similarity, it can visualize
that communities at altitudes between 1,000 to 1,300 m above m.s.l. showed similarity but
they were different from the communities which occurred at areas between 1,400 to 1,600
m. above m.s.l.

2. Stand profile and crown-cover of the hill-evergreen forest varied to the altitudes.
The species composition in the areas between 1,000 to 1,400 m. above m.s.l. can be
classified into 4 layers which the common dominant species are Kordouy (Castanogsis
acuminatissa) Talo (Schima wallichii) and Makai (Homalium samronganum) with the highest
tree of 38 m and average crown-cover of 80 %. The forests at the areas between 1,500 to
1,600 m above m.s.l. show only 3 layers of stand profile with the highest tree of 15 m and
average crown-cover of approximately 77 % The common dominant species covered these
areas are Karpan (C. indica) Kordang (Quercus auriculatus) and Sarapeedong (Mesua ferrea)

3. The hill-evergreen forests occurred at different altitudes from 1,000 to 1,600 m
above m.s.l. have different densities which the values increase when the altitudes increase.
The lowest density was found in the forest at 1,200 m above m.s.l. with the value of 1,289
trees/hectare while the highest occurred at area of 1,500 m above m.s.l. with the value of
4,33 1 trees/hectare. In contrary, the basal areas of the trees showed higher values at the
areas of low altitudes than the high altitudes. The highest basal area with the value of 55.1
m2/hectare was found in the forest at the area of 1,100 m. above m.s.l. while the lowest
values of 17.5 m2/hectare occurred at the area of 1,500 m above m-s-l. The tree densities
and basal areas of important species particularly trees in Fam. Fagaceae and other five
species such as Talo (Schima wallichii) War (Syzygium cumini) Makai (Homalium
damrongianum) Meard (Manicala sp) and Sarapeedong (Mesua ferrea) are also investigated.
The densities and basal areas of Castanopsis showed decreasingly when the altitudes
increased which was similar to the Lithocarpus but the trend showed inversely for Quercus.

53

Talo (Schima wallichii) War (Syzygium cumini) and Makai (Homalium damrongianum) had the
higher densities and basal areas at low altitudes than high altitudes in contrast with
Meard (Manicala sp) and Sarapeedong (Mesua ferrea) which have highest densities
and basal areas at area with high altitudes.

4 . Natural regeneration and seedling distribution including udergrowth of the hill-
evergreen forests along the altitudes were also investigated. It was found that the areas at
the low altitudes had more species of seedlings and undergrowth than the areas at high
altitudes which 14 species of seedlings and 11 species of undergrowth were found at former
areas and 7 species of seedlings and 6 species of undergrowth to occur at the latter areas in
contrast to the densities of tree species which showed invesely relations. The seedling
density of important species particularly seedlings of trees in Fam. Fagaceae was found that
Castanopsis seedling were commonly found in this forest type but they were abundant at
areas of approximately between 1 ,0 0 0 to 1 ,2 0 0 m above m.s.l. of which Lithocarpus
seedlings were abundant only at area of 1 ,0 0 0 m above m.s.l. Quercus seedlings showed
abundantly at areas of 1,000 m and 1,500 m above m.s.l. Other important seedling such as
Talo (Schima wallichii) Sarapeedong (Mesua ferrea) and War (Syzygium cumini) were found to
be abundant at areas lower than 1,200 m above m.s.1. in contrast to Meard (Manicala sp)
and Kamyan (Styrax sp) which showed abundantly at areas higher than 1,300 m above m.s.l.
The common species of undergrowth are fern with having high density at areas of 1,000 m
and 1,600 m above m.s.l. Yasamkom (Fuirena umbellata) was the common species of grass
to be found at the areas lower than 1,300 m above m.s.l. which Yafak (Vativeria zizanioides)
and Yakar (Imperata cylindrica) are common at areas higher than 1,300 m above m.s.l.

54

การวเิ คราะห์ปริมาณน้ำไหลในลำธารปา่ ดบิ เขาธรรมชาติ บรเิ วณดอยปยุ จงั หวัดเชยี งใหม่
An analysis of streamflow in hill evergreen forest at Doi Pui, Chiangmai

เพมิ่ ศักดิ์ มกราภริ มย์ (2520)

บทคดั ย่อ
การวิเคราะห์ปริมาณน้ำไหลในลำธาร โดบรวบรวมข้อมลู ปรมิ าณนำ้ ฝนและน้ำในลำธารจากป่าดิบเขา

ธรรมชาติบริเวณลุ่มน้ำห้วยคอกม้า (ลุ่มน้ำย่อย D) ดอยปุย เชียงใหม่ ซ่ึงมีพื้นท่ี 87,900 ตารางเมตร ต้ังแต่ปี
พ.ศ. 2508 – 2518 ปรากฏวา่ มีอตั ราการไหลของน้ำในลำธารเฉลีย่ 36.14 x 10-4 ลบ.ม./วนิ าที และคำนวณ
ได้ 115,000 ลบ.ม. ต่อปี หรือ 1,300,000 ลบ.ม. ต่อปี ต่อพ้ืนที่ลุ่มน้ำ 1 ตร.กม. โดยประมาณเฉลี่ย
62 เปอร์เซ็นต์ ของปริมาณน้ำฝนรายปี การหาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำฝนเฉล่ียรายปีกับน้ำในลำธาร
โดยใช้ water-year เร่ิมจากเดือนพฤษภาคมสร้างสมการทำนายปริมาณน้ำในลำธารจากน้ำฝน ได้
Y = 1.063X – 836.7 โดยมีค่าความสัมพันธเ์ ท่ากบั 0.81 นอกจากนั้นยังได้สร้างกราฟแสดงลักษณะการไหล
ของน้ำในลำธารในชว่ งเวลาตา่ งๆ กัน จากปริมาณน้ำไหลในลำธารเฉลี่ยรายวันในระยะเวลา 9 ปี เพื่อแสดงถึง
ลักษณะการไหลของน้ำในลำธาร จากลักษณะของกราฟดังกล่าวอธิบายให้ทราบว่า ป่าดิบเขาธรรมชาติแห่งนี้
มีลักษณะการไหลของนำ้ ในลำธารสม่ำเสมอตลอดปี

Abstracts
An analysis of streamflow was studied in the natural hill evergreen forest at Kog Ma

Watershed Research Station, Doi Pui, Chiangmai. The data of rainfall and strenflow were
used from sub watershed D only from 1965-1975. The analysis of data found that the
average streanflow was 36.14 x 10-4 cubicmeter per second. The stream of this watershed
indicated as perennial with uniform flow. The mean annual discharge was 115,000 cubic
meters approxinately 1,300,000 cubic meters per one square kilometer which estimated 62
percent of annual rainfall left the watershed as streamflow. The relation between annual
rainfall and annual runoff decided water-year beginning in May basis showed the correlation
coefficient 0.81 with the linear regression of Y = 1.-63 X – 836.7 (when Y is streamflow and X
is rainfall).

55

มวลชีวภาพและปริมาณธาตอุ าหารของพชื ชัน้ ลา่ งในป่าดิบเขาดอยปยุ เชยี งใหม่
Biomass and nutrient content of undergrowth layer in hill evergreen forest,

Doi Pui, Chiangmai

วทิ ยา เฉดิ ดลิ ก (2521)

บทคดั ยอ่
การศึกษาเก่ียวกับมวลชีวภาพและปริมาณธาตุอาหารของพืชชั้นล่าง ได้ดำเนินการในป่าดิบเขา

ดอยปุย จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงเมษายน พ.ศ. 2519 โดยวางแปงตัวอย่างขนาด 2 x 10
ตารางเมตร ตามยางในแนวทิศเหนือ-ใต้ ตามระดับความสูงของพื้นท่ีจากระดับน้ำมะเลต้ังแต่ 1,010 เมตร
จนถึง 1,480 เมตร รวม 8 แปลงตัวอย่าง เพ่อื ศกึ ษามวลชีวภาพโดยตัดพืชชั้นลา่ งทุกประเภท รวมท้ังลกู ไม้ท่มี ี
เส้นผ่านศูนยก์ ลางของลำต้นทร่ี ะดับความสูงเพียงอกเทา่ กบั หรือตำ่ กว่า 4.5 เซนติเมตร โดยตัดชิดดินและแยก
ออกเปน็ ส่วนของลำต้น กง่ิ และใบของพวกไม้ยืนต้น (ลูกไมแ้ ละกลา้ ไม)้ และไม้พ่มุ สำหรับพวกพืชลม้ ลุก เฟริ ์น
และเถาวลั ย์ แยกเป็นสว่ นของลำตน้ และใบ ส่วนหญา้ ถอื เปน็ ใบทงั้ หมด และไดห้ านำ้ หนกั แห้งหรือมวลชวี ภาพ
เหนือพืน้ ดนิ ของส่วนต่างๆ รวมทง้ั ไดศ้ ึกษาความสมั พันธ์ระหวา่ งขนาดทบ่ี รเิ วณต่างๆ ของลำตน้ กบั น้ำหนักแห้ง
ของลำต้น ก่ิง และใบของพวกลูกไม้และกล้าไม้ของไม้ยืนต้น นับจำนวนชนิดและจำนวนต้นของลูกไม้และ
กล้าไม้ของไม้ยืนต้นกับไม้พุ่ม เพ่ือคำนวณดัชนีความแผกผันของชนิดจากแปลงตัวอย่างขนาด 2x10 ตาราง
เมตร ต่อจากแปลงตัวอย่างเดิมในระดับความสูงเดียวกัน และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างดัชนีความแผกผัน
ของชนิดกับปริมาณมวลชีวภาพของไม้ยืนต้นรวมกับไม้พุ่ม นอกจากนี้ได้ศึกษาปริมาณไนโตรเจน ฟอสฟอรัส
โปแตสเซยี ม แคลเซยี ม และแมกนีเซยี ม จากตวั อย่างลำตน้ ก่ิง และใบ ของพชื ชัน้ ล่างทุกประเภทด้วย

มวลชวี ภาพเหนอื พ้ืนดนิ ของพืชชั้นลา่ งทัง้ หมดทุกประเภทโดยเฉล่ยี มคี ่า 4.645 กิโลกรัม/เฮกแตร์ โดย
มีปริมาณมากท่ีสุดคือ 7,653 กิโลกรัม/เฮกแตร์ ทร่ี ะดับความสงู 1,240 เมตรจากระดบั น้ำทะเล และมปี ริมาณ
น้อยท่สี ุด 784.3 กิโลกรมั /เฮกแตร์ ท่รี ะดบั ความสูง 1,160 เมตร จากระดับนำ้ ทะเล และมุกระดับความสูงของ
พื้นท่ีจะมีมวลชีวภาพเหนือพื้นดินของลกู ไม้และกลา้ ไม้ของไมย้ ืนต้นมากท่ีสุด รองลงมาคือพวกเถาวัลย์ ไม้พุ่ม
สำหรับเฟิร์นและไม้ล้มลกุ มปี ริมาณใกล้เคียงกัน และหญ้ามนี ้อยท่ีสดุ และปรากฏว่ามวลชีวภาพของพืชช้ันล่าง
ทุกประเภทไม่มแี นวโนม้ ที่จะเพิ่มข้ึนตามระดบั ความสูงของพ้นื ที่ แต่มีความสัมพนธ์กับมวลชีวภาพเหนอื พืน้ ดิน
ของพวกลูกไม้และกล้าไม้ของไมย้ ืนต้น ซึ่งมวลชวี ภาพเหนอื พื้นดินของลูกไมแ้ ละกล้าไม้น้ีสามารถจะประมาณ
ได้จากขนาดลำต้น กล่าวคือ มวลชวี ภาพของลำต้นประมาณได้จากเสน้ ผ่าศนู ย์กลางของลำต้นท่ีระดับชิดดนิ ยก
กำลงั สองคูณด้วยความสูงท้ังหมดของลำตน้ ส่วนมวลชวี ภาพของก่ิงและใบประมาณได้จากเส้นผ่านศูนย์กลาง
ของลำตน้ ที่ระดับชดิ ดิน

มวลชีวภาพเหนือพื้นดินทั้งหมดของลูกไม้และกล้าไม้ของไม้ยืนต้นรวมกับไม้พุ่มสามารถประมาณได้
จากดัชนคี วามแผกผันในรูปของความสัมพันธท์ างแอลโลเมตรี อย่างไรก็ตาม ดชั นีความแผกผนั ของชนดิ พืชชั้น

56

ล่างสองประเภทนไ้ี ม่มีแนวโน้มท่จี ะเพมิ่ ขึ้นตามระดับความสูงของพนื้ ท่ีอกี เช่นกัน แตม่ แี นวโนม้ ที่จะสัมพนั ธ์กับ
ความลาดชนั และทิศทางดา้ นลาดของพนื้ ท่ี

ปรมิ าณธาตอุ าหารในพืชชัน้ ลา่ งทั้งหมดทุกประเภทโดยเฉลี่ยทกุ ระดบั ความสูงของพื้นท่ีแล้วมีปริมาณ
โพแทสเซียมมากท่ีสุด คือ 41.06 กิโลกรัมตอ่ เฮกแตร์ สำหรับฟอสฟอรสั มีปริมาณนอ้ ยที่สุดคือ 2.92 กิโลกรัม
ตอ่ เฮกแตร์ และปรากฏว่าปริมาณไนโตรเจน ฟอสฟอรสั โปแตสเซียม และแมกนเี ซียม ในพวกลูกไม้และกล้า
ไม้ของไมย้ ืนต้นมมี ากทสี่ ุด รองลงมาไดแ้ ก่ พวกเถาวลั ย์ ไมพ้ ุ่ม และพชื ล้มลกุ สว่ นเฟิร์นและหญา้ มปี รมิ าณน้อย

Abstracts
Biomass and nutrient content of the undergrowth in hill evergreen forest at Doi Pui,

Chiangmai were investigated during February to April, 1977. Eight 2 x 10 m2 quadrats were
randomly located on various altitudes ranging from 1,010 – 1,480 m above mean sea level.
All types of the undergrowth including tree sapling (diameter atbreast height equal to or less
than 4.5 cm), tree seedling, shrub, herb, grass. Fern and climber were clipped at the
aboveground level. Different biomass components of these undergrowth were recognized.
Stems, branches and leaves of tree sapling, tree seedling and shrub; stems and leaves of
herb, fern anf clinber; and only leaves of grass were separately detached and their fresh
weight were subsequently weighed in the field. The aboveground biomass by kg dry weight
per ha of the study area was converted from the water content of the ovendried
subsampkes. Allometric wquations were applied in order to establish the relationships
between stem dimentions and biomass of each component of tree sapling and tree
seedling. The shannon-Wienear index of species diversity was calculated for tree sapling,
tree seedling, and shrub in the 2x10 m2 quadrats established adjacently to the quadrats for
determining biomass and its index and aboveground biomass relationships was also
observed.

The total aboveground biomass of all sorts of undergrowth was 4,654 kg/ha with
maximum of biomass of 7,653.6 kg/ha, and minimum of 784.3 kg/ha at the 1,240 m and
1,160 m altitudes respectively.

57

The aboveground biomass of tree sapling and tree seedling appeared to be the
largest amount atall ranges of altitudes. Moderate amount of biomass was found in shrub,
herb, fern and climber while grass was the least. It was found that total amount of the
aboveground biomass did not show a definite trend with altitudes but suggested a relatively
high correlation with the biomass of tree sapling and tree seedling. The aboveground
biomass of tree sapling and tree seedling could be estimated by using an allometric
relationship between tree stem dimensions and biomass of each component. Stem biomass
could ne satisfastorily estimated by using the products of square of the tree stem diameter
at ground level multiplied by total tree height of which the branch and leaf were by only
daimeter at the stem bases, both as the dependent variables of the mentioned relationship.
The Shannon-Wiener index of species diversity of the combination of tree sapling, tree
seedling, and shrub was found to correlate well with the total aboveground biomass of
these kinds of undergrowth. Specific trend of this index in correspondence to altitude was
not clearly, however, slope and aspect showed some evidence on the variation of the index
value.

At all ranges of altitude, the undergrowth were found to contain the largest amount
of potassium with 41.06 kg/ha and with 2.92 kg/ha of phosphorus, the least. Five major
elements; nitrogen, phosphorus, potassium, calcu=ium andmagnesium showed the highest
amount in tree sapling and tree seedling and the moderate amount in climber, shrub and
herb while they were trace in fern and grass.

58

ปรมิ าณน้ำในช่วงแลง้ ฝนจากป่าดบิ เขาดอยปยุ เชยี งใหม่
SUMMER FLOW OF HILL-EVERGREEN FOREST AT DOI PUI, CHIANGMAI

เกษม จนั ทร์แกว้ และ เพ่ิมศกั ดิ์ มกราภริ มย์ (2522)

บทคัดยอ่
การศึกษาลักษณะอุทกวิทยาของดินท่ีสัมพันธ์กับน้ำในลําธารช่วงแล้งฝน ได้ดําเนินงานในป่าดิบเขา

ลุม่ น้ำห้วยคอกม้า (ลุ่มน้ำย่อย D) ในท้องท่ีปา่ ดอยปุย อําเภอเมือง จังหวดั เชียงใหม่ ทําการศึกษาโดยรวบรวม
ข้อมูลน้ำฝน น้ำในลําธาร ข้อมูลความชื้นดิน ต้ังแต่เริ่มโครงการวิจัยลุ่มน้ำห้วยคอกม้า ในปี พ.ศ.2508 จนถึง
ปัจจุบัน รวมท้ังได้เก็บรวบรวมตัว อยา่ งดินและชากอินทรยี ว์ ัตถุหน้าดนิ อกี ดว้ ย การศึกษาครั้งน้ีต้องการศึกษา
ปจั จยั ของดนิ ทางอุทกวิทยาทมี่ ีอทิ ธิพลต่อการไหลของน้ำช่วงแล้ง (เดอื นธันวาคม - มีนาคม) ผลการศกึ ษาสรุป
ได้ดังนี้

1. สมรรถนะการอุ้มน้ำของดินมีมากท่ีสุดบริเวณผิวดินแล้วค่อยๆ ลดลงจนถึงชั้นล่างสุด ทั้งนี้เป็น
เพราะว่าปริมาณอินทรีย์มีมากเป็นปัจจัยสําคัญท่ีช่วยให้ดินอุ้มน้ำสูงข้ึน ในทำนองเดียวกันปริมาณเคลย์หรือ
ดนิ เหนียวกย็ ังคงแสดงบทบาทต่อการอมุ้ นำ้ ของดนิ บริเวณดนิ ลึกๆ ลงไป สมบตั ดิ ังกล่าวนจ้ี งึ ทาํ ให้ความชื้นของ
ดินที่วัดในท้องที่มีแนวโน้มมากบริเวณผิวดิน แล้วค่อย ๆ ลดลงไป แต่ถ้าดินลึกมากเกิน 100 ซม. ขึ้นไปแล้ว
ความช้นื ในดินจะมีมากขึ้น ทัง้ นเ้ี ป็นเพราะอินทรยี ว์ ัตถุขนาดเล็กและเคลย์ต่างชว่ ยให้มีการอ้มุ นำ้ เพมิ่ ย่งิ ข้นึ

2. สมบัติของดินป่าดบิ เขาถึงแม้จะมีสมรรถนะการอมุ้ น้ำได้สูงมาก แต่การอุ้มน้ำของดินป่าดิบเขาจาก
จุดอิ่มตัวนั้นน้ำจะระบายออกอย่างรวดเร็ว ทัง้ นี้เป็นเพราะวาอินทรีย์วตั ถุที่ชว่ ยให้ดนิ มสี มรรถนะการอุ้มน้ำสูง
นัน้ ไมอ่ ยู่ในสภาวะที่อุ้มน้ำไดด้ ีพอ ดังนั้นเม่ือมีน้ำเข้าสู่ ระบบแล้ว น้ำจะระบายออกอย่างรวดเรว็ อน่ึง มีการ
ระบายน้ำสู่ลำธารตลอดเวลา เพราะท้องที่แห่งนีมีฝนตกอย่างสม่ำเสมอตลอดปี ซึ่งปริมาณที่ฝนตก ณ ท้องที่
แห่งนี้จะมีอทิ ธพิ ลต่อการไหลของน้ำในลำธาร โดยตรง แม้แต่ในช่วงแล้งฝนกต็ าม นอกจากกรณีท่ีมีภาวะแห้ง
แล้งติดต่อกันเป็นเวลานาน ปรมิ าณสาํ ฝนนอยกวา่ 10 มม. จะไม่มีอิทธิพลต่อปรมิ าณและลกั ษณะการไหลของ
น้ำในลําธารแต่อย่างใด อย่างไรก็ดี ถึงแม้ว่าดินในป่าดิบเขามีกรวดมากก็ตามยังคงมีปริมาณอนุภาคของดิน
ขนาดเล็กปะปนอยู่มาก โดยเฉพาะดินทีอ่ ยูล่ กึ ลงไป จะช่วยดูดซับนำ้ เอาไวไ้ ดน้ านแล้วค่อย ๆ ปลดปล่อยน้ำลง
สู่ลำธารอกี ประเด็นหนึ่งดว้ ย

3. ป่าดิบเขาดอยปุยสามารถให้น้ำในลําธารปีละประมาณ 65 เปอร์เซนต์ของปริมาณฝนท่ีตก หรือ
ประมาณ 1,760,000 ลบ.ม. ต่อพ้ืนที่หน่ึง ตร.กม. ซ่ึงแบ่งเป็นน้ำฤดูฝน 70 เปอร์เซนต์ (960,000 ลบ.ม. ต่อ
ตร.กม.) และน้ำในฤดูแล้ง 30 เปอร์เซนต์(400,000 ลบ.ม. ต่อ ตร.กม.) น้ำในฤดแู ลง้ ในลำธารน้ไี ดจ้ ากการตก
ของฝนในฤดูฝนท่ีสะสมและถูกดูดซับไวใ้ นดินเป็นส่วนใหญ่ ส่วนฝนในฤดูแล้งน้ันอาจมีอิทธิพลบ้างแต่คงมีผล
ต่อการ ให้น้ำในลำธารน้อยมาก เพราะมีเพียง 5 เปอร์เซ็นต์ของฝนท่ีตกท้ังปีเท่าน้ัน อย่างไรก็ดี ลักษณะของ
ไฮโดรกราฟของท้องท่ีแห่งน้ีจะข้ึนอย่างรวดเร็วแล้วลงอย่างรวดเร็วในช่วงเวลาหลังเกิด peak เล็กน้อย
ต่อจากนั้นค่อย ๆ ลดลง ซึ่งคํานวณค่าของ recession coefficient ของ direct flow ได้ประมาณ 0.4 ส่วน

59

ของ baseflow ได้ 0.98 ซ่ึงหมายถึงว่า การระบายน้ำออกจากลุ่มน้ำสู่ลำห้วยลำธารน้ันจะเกิดในส่วนของ
direct flow ในรูปของ Subsurface flow อยา่ งรวดเรว็ และชา้ ๆ ในสว่ นที่เปน็ baseflow นั่นเอง

Abstracts

The study on soil hydrological characteristics of hill-evergreen forest was taken in dry
period (December through March) at Kog-Ma Watershed Research Station, Doi Pui,Chiengmai.
Physical properties of soils were analised in various aspects Particularly water absorption
capacity, bulk density, particle density, porosity, texture, and organic matter. The results
found that hill-evergreen forest soil showed very high absorption especially at the ground
surface and tending to decrease at lower depth in the same manner as the amount of
organic matter. Soil also released water into stream rapidly after saturation condition and it
was slowly decreased at soil condition close to field capacity. This reasoned that organic
matter created macropores or inter aggregate pores which increased rate of drainage by
gravitational force. High quantity of smaller size of organic matter and clay content of the
soils at deeper levels showed the influences on high quantity and longer period of water
absorption. This condition resulted in the contribution of water to stream channel all year
round. In water quantitative point of view, the amount of flow was approximately 65
percent of annual rainfall or 1,360,000 cu.m. per sq.km. which was divided into 70 percent
(960,000 cu.m. per sq.km) of wet flow and 30 percent (400,000 cu.m. per sq.km.) of summer
flow. No dircet effect of summer rainfall is less than 10 mm to streamflow characteristics.

60

ผลกระทบของการใชท้ ดี่ นิ บนภูเขาต่อคุณภาพนำ้ บริเวณดอยปุย เชยี งใหม่
Impacts of Mountainous Land Uses on Stream Water Quality at Doi Pui, Chiangmai

อาระยา นันทโพธิเดช (2523)

บทคดั ย่อ
การศึกษาคุณภาพน้ำจากพ้ืนท่ีป่าดิบเขาธรรมชาติ พื้นท่ีเกษตรกรรม และพ้ืนที่หมู่บ้าน เขาเผ่าแม้ว

ดอยขุนช่างเค่ียน บริเวณดอยปุย จังหวัดเชียงใหม่ ต้ังแต่เดือนพฤษภาคม 2522 ถึง เดือนเมษายน 2523
พบวา่ อณุ หภูมขิ องน้ำเฉลยี่ ตลอดปี 19.1 19.1 และ 19.9 องศาเซลเซียส มีความเป็นกรดด่าง 6.79 6.40 และ
6.51 มีออกซิเจนละลายน้ำ 7.51 8.23 และ 6.29 มิลลกิ รมั ต่อลิตร มีความต้องการออกซิเจนทางชวี เคมี 0.57
0.48 และ0.82 มิลลิกรัมต่อลิตร มีปริมาณไนเตรท 0.134 0.467 และ0.438 มิลลิกรมั ของไนเตรท มีปริมาณ
ฟอสเฟตท้ังหมด 0.075 0.047 และ 0.095 มิลลิกรัมต่อลิตรของฟอสฟอรัส มีปริมาณบักเตรีท้ังหมดที่ 20
องศาเซลเซียส 1.25x102 5.80 x102 และ 13.59 x102 เซลต่อมิลลิลติ ร มีปริมาณบักเตรีทง้ั หมดท่ี 35 องศา
เซลเซียส 1.03 x102 4.00 x102 และ 10.97 x102 เซลต่อมิลลิเมตร มีปริมาณบักเตรี โคลิฟอร์มทั้งหมด
259 613 และ 3,845 MPN ต่อ 100 มิลลิลิตร มีปริมาณ fecal coliform 134 238 และ 1,698 MPN ต่อ
100 มิลลิลิตร มีปริมาณ fecal streptococci 78 191 และ 242 MPN ต่อ 100 มิลลิลิตร และมีอัตราส่วน
ของ fecal coliform ต่อ fecal streptococci 2.0 1.3 และ 7.1 ตามลำดับ บักเตรตี รวจพบในน้ำจากพืน้ ทที่ ั้ง
สามแห่งพบ 12 สกุลเหมือนกันคือ บักเตรีในสกุล Alcaligenes, Arizona, Bacillus, Chromobacterium,
Enterobacter, Escherichia, Flavobacterium, Klebsiella, Micrococcus, Pseudomonas, Serratia
และ Staphylococcus. ยกเว้นบักเตรีในสกุล Salmonella ซึ่งเป็นบักเตรีที่ทำให้เกิดโรค จะพบในน้ำจาก
พ้ืนท่หี มบู่ ้านชาว เขาเผ่าแม้วในช่วงที่มกี ารระบาดของโรคท้องร่วง

จากการเปรียบเทียบคุณภาพน้ำแต่ละด้านจากพื้นที่ที่มีกิจกรรมของมนุษย์เข้าไป เก่ียวข้องกับพื้นที่
ธรรมชาติ เพือ่ ใชบ้ อกถึงผลกระทบของการใชท้ ่ีดินที่มีต่อคุณภาพน้ำ พบว่า บักเตรีกลุม่ ต่าง ๆ เป็นดัชนแี สดง
ผลกระทบของการใช้ท่ีดินบนภูเขาท่ีมีต่อคุณภาพน้ำได้ชัดเจน กว่าดัชนีคุณภาพน้ำทางฟิสิกสและเคมี
ผลการศึกษาคุณภาพน้ำทางฟิสิกสและเคมีพบว่า ปริมาณไนเตรทในน้ำจะไดร้ บั ผลกระทบจากการใชท้ ี่ดินมาก
ที่สุด โดยการใช้ท่ีดินในรูปหมู่บ้านขาวเขาเผ่าแม้ว และพื้นที่เกษตรกรรม มีผลทำให้ปริมาณไนเตรทในน้ำ
เพ่ิมขึ้นจากสภาพป่าธรรมชาติ 3.27 และ 3.49 เท่าตามลำดับ สำหรับผลกระทบต่อคุณภาพน้ำทางบักเตรี
พบว่าพื้นที่หม่บู ้านชาวเขาเผ่าแม้ว ทำให้บักเตรีในกลุม่ โคลิฟอร์มเพ่ิมข้ึนจากเดมิ มากที่สุด โดยปริมาณบักเตรี
โคลิฟอร์มท้ังหมด และ fecal coliform เพิ่มข้ึนจากเดิม 14.08 และ 12.6 เท่าตาม ลำดับ และพบว่าการใช้
ทดี่ นิ เพื่อการเกษตรจะมผี ลกระทบต่อปริมาณบกั เตรที มี่ ีชีวติ ทั้งหมดมากท่สี ดุ คือ ทำใหป้ ริมาณบกั เตรที ่ีพบได้ที่
20 และ 35 องศาเซลเซียส เพิ่มขน้ึ จากเดมิ 4.6 และ 3.15 เท่าตามลำดบั กลา่ วโดยสรุปไดว้ ่าพน้ื ท่ีหมู่บ้านขาว
เขาเผา่ แม้วซ่งึ มีมนษุ ยแ์ ละกิจกรรมของมนษุ ย์มากทีส่ ดุ จะมีผลกระทบตอ่ คณุ ภาพน้ำมากกว่าพ้ืนที่เกษตรกรรม

61

Abstract
Studies of water quality from hill-everygreen forest, agriculture area and Maoe Chang

Khian village at Doi Poi, Chiengmai Province were performed during the period of May 1979
through April 1980. The results were as follows: temperature were 19.1, 19.1 and 19.9ºC, pH
were 6.79, 6.90 and 6.51; dissolved 'oxygen were 7.51, 8.23 and 6.29 mg/1; biochemical
oxygen demand were 0.57, 0.48 and 0.82 mg/1; nitrate were 0.134, 0.467 ad 0.438 mg/l as
N03; total phosphate were 0.075, 0.047 and 0.095 mg/l as P; total bacterial count at 20ºc
were 1.25 x 102, 5.80 x 102 and 13.59x102 cells/ml; total bacterial count at 35ºC were
1.03x102, 4.00x102 and 10.97x102 cells/ml; total coliform were 259, 613 and 3,845 MEN/100
ml; fecal coliform were 134, 238 and 1,698 MN/100 ml; fecal streptococci were 78, 191 and
242 MPN/100 ml; and ratio of fecal coliform to fecal streptococci were 2.0, 1.3 and 7.1
respectively. It was found that variations in water quality were affected by different land
uses and seasonal changes. Bacteria isolated from water samples were identified into 12
genera which were found to be the same in three land uses. They were Alcaligenes,
Arizona,Bacillus,Chromobacterium,Enterobacter,Escherichia,Flavobacterium,Klebsiella,Microc
occus, seudomonas,Serratia and Staphylococcus. Except genus Salmonella which was
found in stream water from Maoe village only during the epidemic period of diarrhea.

By the comparisons of these parameters of the impacted area to the natural area
were able to indicate the impacts of land use on water quality. It was found that bacterial
characteristics showed better impacts than physical and chemical indicators and nitrate was
found to be the best among physical and chemical parameters. Nitrate in stream water from
agriculture area and Maoe village were found to be 3.49 and 3.27 times higher than that of
hill-evergreen forest. As for bacteriological quality, coliform bacteria in water from human
settlement indicated the best impacts while the best impacted parameter in water from
agriculture area was total bacterial count. The study revealed that total coliform and fecal
coliform in water from Mace village were 14.8 and 12.6 times greater than those of hill-
evergreen forest. Total bacterial count of 20ºC and 35ºC of water from agriculture area was
4.6 and 3.9 times greater than those of hill-evergreen forest. In conclusion, huan settlement
like Maoe village gave more impacts on water quality than agriculture area.

62

การวิเคราะห์แบคทเี รยี ในนำ้ จากลุ่มน้ำปา่ ดบิ เขาบริเวณดอยปุย เชยี งใหม่
An Analysis of Bacterial Content in Water of the Hill Evergreen Watershed

at Doi Pui, Chiengmai.

จุฑาธปิ อยเู่ ย็น (2523)

บทคดั ย่อ
การวเิ คราะหป์ ริมาณแบคทีเรียท้ังหมด และปริมาณแบคทเี รยี โคลฟิ อรม์ ในน้ำจาก ป่าดิบเขาธรรมชาติ

ห้วยคอกม้า ดอยปุย เชียงใหม่ เพื่อตรวจคุณภาพน้ำทางชีววิทยา โดย ได้ตรวจวิเคราะห์จากตัวอย่างน้ำใน
ลำธารซ่งึ เก็บเดือนละคร้ัง ในระหว่างเดอื นเมษายน 2521 ถึงเดอื นพฤษภาคม 2522 ปริมาณแบคทเี รียทงั้ หมด
วิเคราะห์โดยวิธี Standard plate count บ่มท่ีอุณหภูมิ 3 ระดับคือ อุณหภูมิห้อง 20 และ 37 องศา
เซลเซียส สำหรับ ปริมาณแบคทีเรียโคลิฟอร์ม วิเคราะห์โดยใช้วิธี Multiple-Tube fermentation technic
และนอกจากนี้ยังได้วิเคราะห์คุณสมบัติของน้ำบางประการอีกด้วย เช่น อุณหภูมิ ความเป็นกรดเป็นด่าง
ปริมาณออกซิเจนละลาย และค่าความต้องการออกซเิ จนทางชีวเคมี

ผลการวิเคราะหส์ รุปได้ว่า ปริมาณแบคทีเรียท้ังหมดจากการบ่ม ณ อุณหภมู ิห้อง มีปริมาณสูงสุดใน
เดือนสิงหาคม ประมาณ 1.56 x 105 เซลต่อมิลลิลิตร และต่ำสุดประมาณ 7.17 x 102 เซลต่อมิลลิลิตร
ในเดือนธันวาคม ส่วนปริมาณสูงสดุ และต่ำสุดจากการบ่มที่อุญหภูมิ 20 และ 37 มิลลิลิตร กับมีค่าประมาณ
1.51 x 104 และ 2.83 x 102 เซลต่อมิลลิลิตร กับมีค่าประมาณ 1.06 x 103 และ 50 เซลต่อมิลลิลิตร
ตามลำดับ ปรมิ าณแบคทีเรยี ทัง้ หมดพบวา่ จะแปรผันไปตามฤดูกาล คอื จะมปี ริมาณมากในฤดฝู นและมีปริมาณ
น้อยในฤดูหนาวส่วนปัจจัยส่ิงแวดล้อมอื่นท่ีเก่ียวกับคุณสมบัตขิ องน้ำน้ันมีอิทธิพลต่อปริมาณแบคทีเรียทัง้ หมด
ทมี่ ใี น น้ำนอ้ ยมาก สำหรบั ปรมิ าณแบคทีเรียโคลิฟอรม์ ซ่ึงศึกษาใน 2 ลกั ษณะคอื ปรมิ าณแบคทีเรยี โคลิฟอร์ม
ทงั้ หมดกับปริมาณแบคทีเรียโคลิฟอร์มที่มีกำเนดิ มาจากอจุ จาระนน้ั ปรากฏว่า สามารถตรวจพบแบคทีเรยี โคลิ
ฟอร์มได้จากตัวอย่างน้ำทุกเดือน แบคทีเรียโคลิฟอร์มท้ังหมด ท่ีตรวจพบมีค่าเฉล่ียต่อเดือน ประมาณ 740
MPN/100 ml และปริมาณแบคทีเรียโคลิฟอร์มท่ี มีกำเนิดมาจากอุจจาระมีค่าเฉลี่ยต่อเดือน ประมาณ 435
MPN/100 ml โดยปริมาณแบคทีเรียโคลิฟอร์มที่มีกำเนิดมาจากอุจจาระมีค่าประมาณ 59 เปอร์เซ็นต์ของ
ปริมาณแบคทีเรียโคลิฟอร์ม ทั้งหมด จากการศึกษาครั้งน้ีสนับสนุนว่าปริมาณแบคทีเรียโคลิฟอร์ม น้ันแปร
เปล่ยี นไปตามการใช้ ประโยชน์ของพืน้ ทเ่ี หลา่ นน้ั มากกว่าตามปจั จัยสิ่งแวดล้อมอย่างอน่ื

ชนดิ ของแบคทีเรียท่ีแยกไดจ้ ากน้ำในบรเิ วณลุ่มน้ำดงั กลา่ ว แบง่ ไดเ้ ป็น 3 กลุ่ม ใหญ่ ๆ คือ กลมุ่ ท่ีหนึ่ง
รูปแท่ง แกรมลบ ซ่ึงพบเป็นปริมาณมากที่สุด เป็นเชื้อต่าง ๆ 17 สกุล ได้แก่ Citrobacter, Escherichia,
Enterobacter, Flavobacterium, และ Pseudomonas เป็นต้น กลุ่มท่ีสองมีลักษณะ เป็นรูปแท่ง แกรม
บวก สร้างสปอร์ต้องการอากาศ ในสกุล Bacillus และกลุ่มท่ีสามพบน้อยที่สุดเพียงประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์
เปน็ พวกรูปกลม แกรมบวก ในสกลุ Staphylococcus และ Micrococous.

63

การวิเคราะห์คุณภาพของน้ำบรเิ วณลุ่มน้ำปา่ ดิบเขา ดอยปุย เชียงใหม่ พอจะ กล่าวไดว้ า่ คณุ ภาพของ
น้ำในด้านลักษณะทางชีววิทยาอยู่ในสภาพที่ดี ดังน้ันสภาพป่าบริเวณ ลุ่มน้ำแห่งน้ีควรจะได้สงวนไว้เพ่ือเป็น
แหลง่ ต้นน้ำ สาหรบั การใช้ประโยชน์ของประชาชนในพ้ืนทสี่ ว่ นลา่ งตอ่ ไป

Abstract
An analysis of bacterial contents both total viable plate count and coliform bacteria

in the water flow of the hill evergreen watershed at Doi Pui, Chiengmai was conducted from
April, 1978 to May, 1979. The objective of this investigation is to determine the water quality
in terms of the biological characteristic in this natural forest type which is slightly disturbed
by human and other activities.

Water samples were collected monthly from the stream for analysis of bacterial
content and water properties. The total bacteria was analyzed by standard plate count
incubated at room -temperature, 20°C, and 37°C. The coliform bacteria was obtained by
using the Multiple-Tube fermentation technic. In addition, water samples were also
determined for temperature, pH, dissolved oxygen (D0). and biochemical oxygen demand
(BOD)

The results revealed that the average of total bacterial content at room temperature
to be about 1.67 x 105 cells/ml. The maximum value of total bacterial content was 1.56 x
104 cells/ml in August and the minimum value was approximately 7.17 x 102 cells/ml in
December. The total bacterial content at 20°C and 37°C were approximately 4.13 x 103 and
3.22 x 102 cells/ml respectively. The maximum and minimum values of the total bacterial
content for the former temperature was 1.51 x 104 and 2.83 x 102 cells/ml in May (1979) and
October while the maximum and minimum bacterial content in the latter temperature were
approximately 1.06 x 103 and 50 cells/ml in June and December respectively. The total
bacterial content varied to the seasonal changes of which number showed the highest value
occurring in the rainy season and lowest in winter.

Other environmental factors particularly water properties slightly influenced on the
total bacterial contents The coliform bacteria was studied under two types; the total
coliform count and fecal coliform count. The results indicated that both types of coliformy
were found every month. The total coliform bacteria was found to be 740 MPH/100 ml per
month while the fecal coliform was about 435 MPH/100 ml per month. The fecal coliform
was approximately 59% of the total coliform which was observed in this investigation. The

64

total coliform bacteria changed according to the use of the forest area to other activities
more than other environmental factors

Bacteria from the water flow of the hill evergreen water-shed was classified into
three major categories: the first group was the gram negative, rod shape which the common
genera found from the investigation were Citrobacter, Escherichia, Enterobacter,
Flavobacterium, and Pseudomonas, the second was gram positive aerobic sporeforming rod
in genus Bacillus and the third were gram positive cocci in genera Staphylococcus and
Micrococous.

The analysis of water quality in the hill evergreen water-shed at Doi Pui, Chiengmai
can we said that the water quality in terms of biological characteristic is good. Therefore, the
hill evergreen forest in this part of the country should be reserved as the watershed area for
water supply to the consumers of the lower parts of the watershed area.

65

การวิเคราะห์ชนิดและปรมิ าณบคั เตรีในล่มุ นำ้ ปา่ ดิบเขาดอยปุย เชียงใหม่
ANALYSIS OF SPECIES AND QUANTITY OF BACTERIA

IN HILL-EVERGREEN FOREST WATYERSTED AT DOI PUI, CHIANGMAI
เกษม จนั ทร์แกว้ และ จฑุ าธปิ อยูเ่ ยน็ (2524)

บทคัดย่อ
การวิเคราะหห์ าเชอ้ื บัคเตรีและโคลฟิ อรม์ เพือ่ ตรวจคณุ ภาพของน้ำทางชีววิทยาจากสภาพแหล่งน้ำบน

ภูเขาท่ีมีการใช้ที่ดิน 6 ประเภท ได้ทำขึ้นท่ีจังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างเดือนเมษายนถึงเดือนกันยายน 2521
โดยทำการเก็บน้ำตัวอย่างจากน้ำในลำธารเดือนละคร้ัง ผลการวเิ คราะห์พบว่า จะพบเช้ือบัคเตรีทั้งหมดและ
เช้อื โคลิฟอร์มบัคเตรีทุกสภาพการใชท้ ี่ดินพื้นทีแ่ หลง่ น้ำที่เป็นปา่ ธรรมชาติจะมีเชื้อบคั เตรนี ้อยที่สุด ป่ายิ่งทรุด
โทรมมากเท่าไหร่จะมีเช้ือบัคเตรีมากย่ิงขึ้น ถ้ามีการใช้ท่ีดินเพื่อการเกษตรหรือมีสัตว์เลือดอุ่นรวมท้ังคนด้วย
จะทำให้เชือ้ บัคเตรยี งิ่ มากขึ้นเช่นกนั
Abstract

An analysis of total available count and coliform bacterial content has been studied
from 6 land use patterns on mountainous lands in Chiengmai during 1978-1979. Water flow
in stream was collected every month. The results found that the bacterial contens of total
count and coliform has been contaminated in the water from all water resources areas. The
number of bacteria in water from natural forest was shown very low and trending to
increage with more activities of agrocultural lands and human settlement.

66

สมดลุ ของนำ้ ในป่าดิบเขาธรรมชาตดิ อยปยุ เชียงใหม่
Water Balance in the Hill-Evergreen Forest, Doi-Pui, Chiangmai

เรณู สวุ รรณรัตน์ (2524)

บทคัดยอ่
การวิจัยการสมดุลของน้ำป่าดิบเขาธรรมชาติ ได้ศึกษา ณ บริเวณสถานีวิจัยลุ่มน้ำ ที่ห้วยคอกม้า

ดอยปุย เชียงใหม่ ซึ่งใช้ข้อมูลที่รวบรวมไว้ระหวางปี ค.ศ. 1966 ถึงปี ค.ศ. 1978 ประกอบด้วยข้อมูลน้ำฝน
นำ้ ท่า และปริมาณความช้ืนของดินในการหาค่าปริมาณการคายน้ำ หาได้จากการหักคา่ ปริมาณน้ำท่าออกจาก
ปริมาณน้ำฝน โดย ให้ค่าการเปลี่ยนแปลง ความชื้นในดินเป็นศูนย์สําหรับการคํานวณค่ารายปี แต่จะ
เปลี่ยนแปลงไปตามการคํานวณรายเดือน ผลการศึกษาพบว่า ความสมดลุ รายปีของน้ำของป่าดิบเขาธรรมชาติ
นั้น ประกอบด้วยปริมาณน้ำฝน 2.025.4 มม. น้ำท่า 898.8 มม. (ประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์ของน้ำฝน) และ
น้ำคายระเหย 1,036.6 มม.(ประมาณ 50 เปอร์เซน็ ต์ของน้ำฝน)

ปริมาณน้ำที่เกิดจากการคายระเหยรายเดือน พบว่าเดือนกันยายนมีมากที่สุด (145.3 มม.) เพราะ
เป็นช่วงที่มีฝนตกมาก จึงมีน้ำให้แก่ขบวนการคายระเหยได้ตลอดเวลา ส่วนเดือนเมษายนมีการคายระเหย
นอ้ ยท่ีสดุ (21.7 มม.) เพราะว่าเป็นช่วงฤดูแล้ง มีฝนตกน้อยจึงไม่สามารถมีน้ำใหต้ ่อขบวนการคายระเหยมาก
พอ นอกจากนี้การคํานวณ อัตราการคายระเหยเฉลี่ยรายวันได้ประมาณ 2.4 มม. และสัมประสิทธิของถาด
ระเหยประมาณ 0.72

Abstract
Water balance investigation of natural hill-evergreen forest was conducted by taking

field data as collected during 1966-1978 at Kog-Ma Watershed Research Station, Doi pui,
Chiengmai. Necessary data were composed of rainfall, etreamflow, and soil moisture storage.
Evapotranspiration was determined by deducting the amount of streamflow from the
amount of rainfall, under the fact that soil moisture storage did not change in annual
calculation basis but contrary for the monthly calculation basis. The results found that
annual water balance of hill-evergreen forest would be fractionizcd as rainfall 2,065.4 mm.,
stream water 989.8 mm. (about 50 percent of rainfall), and ovapotranspiration 1,036.6 mm.
(about 50 percent of rainfall).

When the monthly evapotranspiration has taken in to consideration, September
found maximum quantity (145.3 mm) and minimum in April (21.7 mm), because of unlimited
and less rain water to provide to evapotranspiration process, respectively. Furthermore, daily
evapotranspiration and pan eoefificient were estimated 2.4 mm. per day and 0.72, repectively.

67

ปรมิ าณและลกั ษณะการไหลของนำ้ ในปา่ ดิบเขาดอยปุย เชียงใหม่
Quantity and Characteristics of the’ Streamflow of the

Hill-Evergreen Forest at Doi Pui, Chiangmai

ชลาทร ศรตี ุลานนท์ (2524)

บทคัดยอ่
ปริมาณและลักษณะการไหลของน้ำในลําธารของป่าดิบเขาธรรมชาติ ได้ศึกษาที่บริเวณสถานีวิจัย

ลุ่มน้ำห้วยคอกม้า ดอยปุย อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ซ่ึงอยู่สูงจากระดับน้ำทะเลระหว่าง 1300 - 1600
เมตร จากระดับน้ำทะเล โดยทําการศึกษาจากลุ่มน้ำขนาดเล็กสามขนาดและมีความลาดชันต่างๆ คือ ลุ่มน้ำ
หว้ ย C1 มีความลาดชัน 53 เปอร์เซนต์ และพน้ื ท่ี 4.25 เฮกแตร์ ลุ่มน้ำห้วย C3 มคี วามลาดชัน 45 เปอร์เซนต์
และพ้ืนท่ี 8.65 เฮกแตร์ และลุ่มน้ำหว้ ย D มคี วามลาดชัน 30 เปอรเ์ ซน็ ต์ และพื้นที่ 8.79 เปอรเ์ ซนต์

การวัดปริมาณน้ำและลักษณะการไหลของน้ำในลำธาร ได้ใช้เข่อื นวัดน้ำ 120-V Notch Weir พร้อม
ทั้งมีเครื่องวัดระดับน้ำอัตโนมัติและบันทึกความสูงของน้ำไหลลงในชาร์ทวัดน้ำท่ีมีการเปล่ียนทุกๆ เจ็ดวัน
แปรค่าความสูงของน้ำใหเ้ ปน็ ปรมิ าตรน้ำโดยใช้ rating curve ทไ่ี ด้เตรยี มการไว้เรียบร้อยแล้ว การวจิ ัยครง้ั น้ีใช้
ข้อมลู ตง้ั แต่เดอื นมกราคม 2505 ถึงเดอื นธนั วาคม 2521 รวมเวลา 13 ปี

ผลการวิจัยพบว่า ปริมาณน้ำของห้วย C1 เฉล่ียได้ 870,000 cu.m./sq.km./yr. ห้วย C3 เฉล่ียได้
720,000 cu.m./sq.km./yr. และห้วย D เฉล่ียได้ 1,314,000 cu.m./sq.km./yr. หรือคิดเป็นส่วนของ
ปริมาณน้ำฝนที่ตกในลุ่มน้ำทั้งสาม ได้เป็นดังนี้ คือ C1, C3 และ D เฉลี่ยได้ 47, 35 และ 27 เปอร์เซนต์ของ
ปริมาณน้ำฝน ในทาํ นองเดียวกนั เม่ือคดิ ค่าเฉล่ียปรมิ าณน้ำในลำธาร เฉล่ียจากลุ่มน้ำท้ังสามลุ่มน้ำได้ประมาณ
570,000 cu.m./sq.km./yr. หรือประมาณเฉลี่ย 50 เปอร์เซนต์ของปริมาณน้ำฝนที่ตก เน่ืองด้วยลุ่มน้ำห้วย
C3 ตงั้ อยู่ตอนบนสุดเปดิ รับแสงอาทิตย์เปน็ เหตุหน่งึ ที่ทําให้นำ้ ระเหยจากลุ่มน้ำมากกว่าหว้ ย C1 ซึง่ อยู่ในหบุ เขา
ตอนล่างลงมา และห้วย D อยู่ที่ลุ่มหุบเขาต่ำสดุ ด้วยเหตุนี้จึงมีผลทําให้ปริมาณน้ำที่ไหลในลำธารจากห้วย C1
น้อยท่สี ุด ห้วย C3 เปน็ อันดบั สอง และห้วย D มีน้ำไหลมากทีส่ ุด อย่างไรก็ดี ลุ่มน้ำบนภเู ขาทางภาคเหนือของ
ประเทศไทย จะมีลักษณะส่วนใหญ่คล้ายกันกับลักษณะของสามลุ่มน้ำน้ี จึงกล่าว ได้ว่าปริมาณน้ำไหลเฉลี่ย
จากสภาพลุ่มน้ำทัง้ สามแห่ง สามารถใช้เปน็ ตวั แทนของน้ำไหลจากป่าดิบเขาบนทส่ี ูง ซ่งึ สามารถน้ำไปประยุกต์
ได้

ความลาดชันแสดงอิทธิพลให้เห็นเด่นชัดมาก กล่าวคือลักษณะการไหลของน้ำ ในลาํ ธารของห้วย C1
ซ่ึงมีความลาดชัน 57 เปอร์เซนต์ จะมจี ุดยอดสุดของไฮโดรกราฟ ในเดือนกันยายนของทุกปี ครัน้ ความลาดชัน
ลดลงเหลือเพียง 45 เปอร์เซนต์ คอื ลุ่มน้ำ ห้วย C3 จะมีจุดยอดสุดของไฮโดรกราฟเลื่อนล่าไปอกี เปน็ ระหว่าง
เดือนกันยายนและเดือนตุลาคม ส่วนห้วย D มีความลาดชันน้อยคือประมาณ 30 เปอร์เซนต์ จึงมีผลทําให้
จุดยอดสุดของไฮโครกราฟเลอ่ื นไปล่าสุดคือประมาณเดือนตุลาคมของทุกปี ซึ่งหมายความว่าถา้ มีความลาดชัน
มาก โอกาสน้ำจะไหลลงสู่ลำธารได้เร็วขึน้ อน่ึง เมอื่ ได้ศึกษาลักษณะการขึน้ ของไฮโดรกราฟซ่ึงนับจากเวลาเริ่ม

68

ฝนตกแตละครั้งจนไฮโดรกราฟของน้ำในลำธาร ข้ึนจะมีเวลาแตกต่างกัน คือ ลุ่มน้ำทีม่ ีความลาดชันมาก เช่น
ห้วย C1 ใช้เวลาเพียง 60 นาที ห้วย C3 มีความลาดชันปานกลางใช้เวลา 70 นาที และห้วย D มีความลาดชัน
น้อยท่ีสุดใช้เวลานานถึง 50 นาที ช่วงเวลาท่ีน้ำฝนเริ่มตกจนกระทั่งน้ำในลําธารขึ้น (lagtime) น้ี จะมี
ความสัมพันธ์ต่อการตกของฝนครั้งที่แล้ว (antecident rainfall) ตก กล่าวคอื ถ้าฝนตกครั้งท่ีแล้ว เกิดข้ึนนาน
กว่า จะใช้เวลาตงั้ แต่ฝนเริ่มตกจนถงึ เวลาน้ำข้นึ ในลําธารนานกว่า

Abstract
Water quantity and flow characteristics in the stream of hill-evergreen forest area

have been studied on the elevation of 1300-1600 meters from mean sea level at Kog-Ma
Watershed Research Station, Doi Pui, Chiengmai. Three sub-watersheds were taking an
account to this investigation.which included of Huay C1 (mean slope 57 % and area coverage
4.65 hectares), Huay C3 (mean slope 45 % and area coverage 8.65 hectares), and Huay D
(mean slope 30 % and area coverage 8.79 hectares).

Determination of water quantity and flow characteristics was utilized 120-V Notch
weir with automatic staff gage to record the height of water in stream on 7-day period chart.
Interpretation of water height into discharge was applied the well-prepared rating curve.
However, this research project was taken from January 1966-December 1978, approximately
13 years period.

The results found the average water quantity of Huay C1 about 870,000
cu.m./sq.km./yr, Huay C3 about 720,000 cu.m./sq.km./yr, and Huay D about 1,314,000
cu.m./sq.km./hr. When the percentage of water flow to rainfall was taken into consideration,
the results also found the average of Huay C1, C3 and D about 47, 35, and 67 percent,
respectively. In addition, the total average of water flow of all three sub-watersheds was
calculated approximately 970,000 cu.m./sq.km./yr or 50 percent of rainfall. According to
Huay C1 locates on the top area which is exposed to the sun, this would be the reason why
the amount of water flow was the leastg also Huay C3 on the middle location which
produced flow in maximum. An experience of field study indicated that the mean area
condition of mountainous land in the north could easily found the characteristics very
similar as these three sub-watersheds. Water quantity of these areas would be taken as
representative of hill-evergreen forest on mountains one way or another.

Slope of watershed area was evidently influenced the highest flow concentration at
different time such as Huay C1 (57 % slope) found peak flow in September, Huay C3 (45
slope) in September-October, and Huay D (30 % slope) in October. In other words, the

69

watershed with steeper slope would produce flow faster than the area of less slope. This is
the reason.why the flow of Huay C1 consumed the lagtime the least about 60 minutes, Huey
C3 about 70 minutes, and Huey D about 90 minutes. The results also showed high
correlation between anteoident rainfall and lagtime. This would be interpreted that the
longer period of anteoident rainfall produced longer lagtime.

70

การกระจายชอ่ งวา่ งขนาดตา่ งๆ ของดินป่าดิบเขาและไรเ่ ลื่อนลอยบริเวณดอยปยุ เชยี งใหม่
Pore-Size Distribution of Hill-Evergreen Forest

and Shifting Cultivation Soils at Doi Pui, Chiengmai

วรี ะศักด์ิ อุดมโชค (2524)

บทคัดยอ่
การศึกษาการกระจายช่องว่างขนาดต่าง ๆ ของดินป่าดิบเขาและไร่เลื่อนลอย ท่ีสถานีวิจัยลุ่มน้ำ

หว้ ยคอกม้า คอยปุย เชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อ ทำการวเิ คราะห์และเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงการ
ใช้ประโยชน์ท่ีดินจากสภาพป่าดิบเขาธรรมชาติเป็นพื้นที่ไร่เลื่อนลอย ว่ามีผลต่อการกระจายขนาดซ่องว่างใน
ดินซึ่งมีอิทธิพล ต่อการเก็บกักน้ำและระบายน้ำจากดินอย่างไร การศึกษาน้ีใช้ตัวอย่างดินแปรสภาพในการ
ทดลองหาปริมาณอินทรียวัตถุในดิน การกระจายขนาดอนุภาคตินและความหนาแน่นอนุภาคของดินและใช้
ตัวอย่างดนิ คงสภาพเพื่อหาการกระจายช่องว่างขนาดต่าง ๆ ของดิน สัมประสิทธิ์ของการซมึ น้ำขณะดนิ อ่ิมตัว
ผลการทดลองและวิเคราะห์ขอ้ มูลพบว่า ดินป่าดิบเขามีปริมาณช่องวา่ งท้ังหมดในแต่ละความหนาของข้ันดิน
(A, B1, B2 และ B3) ประมาณ 0.64, 0.59 , 0.54 และ 0.49 % ของปริมาตรดิน ตามลำดับ เม่ือทำไร่เลื่อน
ลอยแลว้ ช่องว่างลดลงเหลอื 0.57, 0.54 , 0.49 และ 0.44 % ตามลำดับ การกระจายชอ่ งวา่ งเปลยื่ นแปลงไป
จากเดิมดังนี้ ดินข้ันบนและขั้น B1 มีช่องว่างขนาดใหญ่ที่ให้การระบายน้ำอย่างรวดเร็ว 18 % และ 10 %
ลดลงจากเดมิ 9 % และ 6 % ช่องว่างขนาดเล็กที่ให้การระบายน้ำอย่างช้าๆ ในดินช้นั บน 14 % เพ่ิมขน้ึ จาก
เดิม 2 % ดินชน้ั B2 และ B3 มีการเปล่ียนแปลงขนาดช่องไม่มากนัก จากการเปลี่ยนแปลงขนาดช่องว่างเม่ือ
เปลีย่ นสภาพจากปา่ ดิบเขาเป็นไรเ่ ลื่อนลอย ทำใหโ้ ครงสรา้ งของดินเปลื่ยนแปลงไป ซ่ึงแสดงได้โดยคา่ ของดัชนี
ของการกระจายชอ่ งว่างในดินช้นั A และ B1 ของดิน ป่าดิบเขา เปลี่ยนแปลงจาก 0.70 และ 0.84 เป็น 1.24
และ 0.86 ตามลำดับ ในขณะเดยี วกันการระบายน้ำตามแนวด่ิงและด้านข้างของดินลดลง โดยเฉพาะอย่างย่ิง
ชั้นอินทรียวัตถุของดินบริเวณป่าดิบเขาถูกทำลาย ปริมาณอินทรียวัตถุในดินแต่ละช้ันลดลง และความ
หนาแน่นรวมของดินแต่ละข้ันเพิ่มขึ้น จึงทำให้สมรรถนะในการระบายน้ำลดลงอย่างมาก ยังผลทำให้บริเวณ
พ้ืนท่ีไรเ่ ล่อื นลอยมโี อกาสทจ่ี ะเกิดน้ำไหลปา่ หน้าผิวดนิ ได้งา่ ยหลงั จากมฝี นตกในปริมาณไมม่ ากนกั

71

Abstract
The study on pore-size distribution of hill-evergreen forest and shifting cultivation

soil was conducted at Kog-Ma watershed research station, Doi Pui Chiengmai. The size
distribution of pores that contributed to storage and drainage water in soil were compared
between those two areas in particular depth of soil profiles. Physical properties of soils such
as particle-size distribution, particle density, and organic matter were analyzed from
disturbed soil samles and analysis of pore-size distribution and hydraulic conductivity were
studied from undisturbed soil samples. The results indicated that total porosity of hill-
evergreen forest soil (A, B1, B2 and B3 profiles) decreased from 0.64, 0.59, 0.54 and 0.49 % to
0.57, 0.54, 0.49, 0.44 % respectively after the utilization of land had been changed to shifting
cultivation area.

Quick drainage pores ( < 30 um) decreased abruptly in A and B1 horizons from 18 %
and 10 % to 9 % and 6 % respectively Slow drainage pores (9-30 um) in A horizon, on the
other hand, increased 2 % from 14 %. Pore-size distribution index in A and B1 horizons
changed from 0.7 and 0.84 to 1.21 and 0.86, but B2 and B3 horizons didn't change by these
impacts. The interpretation of these numbers designated that well-developed structure of
Hill-evergreen forest soil became pcor structure and this affected the permeability of water
in soil.

In reverse to trend of change in soil organic matter content, bulk density of shifting
cultivated soils increased in all soil profiles which implied that water absorptivity and
permeability of hill-evergreen forest soil were suppressed and surface runoff might be
induced in shifting cultivation area in spite of low intensity rainfall.

72

การใชแ้ ปลงขนาดเล็กหาคา่ ดชั นีการพงั ทลายและประสทิ ธิภาพการเคลอื่ นยา้ ยตะกอน
ของปา่ ดบิ เขาดอยปุย เชยี งใหม่

An Application of Small Plots to Determine the Erodibility Index and Sediment
Transport Efficiency of Hill-Evergreen Forest at Doi Pui, Chiangmai.

วีระชาติ เทพพพิ ธิ (2524)

บทคดั ย่อ
แปลงทดลองขนาด 1 x 1, 1 x 2 และ 1 x 3 ตารางเมตร ได้ถูก ใช้หาค่าดัชนีการพังทลายและ

ประสิทธภิ าพการเคลื่อนย้ายตะกอนหรือดัชนีพืชพันธุ์ของป่าดิบเขาดอยปุย ตำบลสเุ ทพ อำเภอเมือง จังหวัด
เชยี งใหม่ ณ สถานีวิจยั ลุ่มน้ำหว้ ยคอกม้า ต้ังแต่เดอื นมิถนุ ายน 2522 ถงึ กรกฎาคม 2523 โดยใช้ขอ้ มูลน้ำฝน
ท่ีตกตามธรรมชาตทิ ่ีมปี รมิ าณและอตั ราความหนักเบาแตกต่างกัน จำนวน 20 คร้ัง คำนวณตามรูปแบบสมการ
การสูญเสียดินสากล ผลการวิเคราะห์ปรากฏว่าได้ค่าดัชนีการพังทลายของดินท่ีเกิดจากพลังฝนเฉลี่ย 0.09
ส่วนค่าดัชนีการพังทลายที่เกิดจากพลังฝนผนวกกับน้ำไหลบ่าหน้าดิน เฉล่ีย 0.19 ซึ่งค่าที่คำนวณได้ในกรณี
หลังนม้ี ีค่าใกล้เคียงกบั ค่าที่ได้ จากการวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการและจาก nomograph ที่ได้มีผู้ศึกษาไว้แล้ว
คา่ ประสิทธิภาพการเคลื่อนย้ายตะกอนของป่าดิบเขาหรอื ค่าดัชนีฟีซทันธุ์ท่ีคำนวณได้จากแปลงทดลองขนาด
ตา่ ง ๆ กันนี้ มีคา่ เฉลี่ย 0.41

แปลงทดลองขนาดเล็กทั้ง 3 ขนาดดังกล่าว มีแนวโน้มท่ีจะให้ค่าดัชนีการพังทลายใกลเคียงกัน
แต่แปลงทดลองที่มีขนาด 1 X 1 ตารางเมตร มีค่าดังกล่าวผันแปรน้อยที่สุดซึ่งน่าที่จะใช้เป็นตัวแทนใน
การศึกษาดัชนีการฟังทลายของดินในป่าดิบเขาท้องท่ีอื่นท่ีมีเนื้อดินเป็น saridy loam ที่กำเนิดมาจาก
หนิ แกรนิตได้ ส่วนดัชนีพืชพันธ์ุ ทคี่ ำนวณได้ในคร้ังนี้อาจไม่เป็นค่าตัวแทนทด่ี ีของป่าดิบเขา เนื่องจากลักษณะ
พรรณพชื ที่ ปรากฏในแปลงทดลองมใิ ช่เปน็ ลกั ษณะพรรณพชื ตัวแทนปา่ ดิบเขาทีแ่ ท้จริง

73

Abstract
Three small adjecent plots of 1 x 1, 1 x 2 and 1 x 3 sq.m. were applied to determine

the erodibility index (K-factor) and cover factor (C-factor) thatappeared in the Universal Soil
Loss Equation (USLE) in the hill-evergreen forest at Kog-Ma Watershed Research Station, Doi
Pui, Chiengmai. Twenty natural rainstorms were used in this investigation. The average K
value estimated basing on rainfall factor was 0.09 and the average K-value estimated basing
on erosivity index was 0.19. K-value obtained from the later procedure was very close to the
value derived from soil analysis in the laboratory and the available nomograph. This
estimated K-value could represent for the sandy loam soil derived from the granitic parent
material under hill-evergreen forest; The average C-value estimated from these three
experimental plots was 0.41. It was not good to be a representative value for the natural
hill-evergreen forest because the plant cover occupies in the plots was not the typical
vegetation of hill evergreen forest.

Average K-values obtained from each plot size were almost the same, but 1 x 1 m2
plot showed the smallest variation. So, it could be used as the representative size to
determine K-value for applying in the USLE.

74

ลักษณะทางนเิ วศวิทยาบางประการของเฟิรน์ บรเิ วณปา่ ดิบเขาดอยปยุ เชียงใหม่
Some Ecological Characteristics of Ferns in Hill-Evergreen
Forest at Doi Pui, Chiengmai

กติ ติมา เมฆโกมล (2525)

บทคัดยอ่
การศึกษาลักษณะทางนิเวศนวิทยาบางประการของเฟิร์นบริเวณป่าดิบเขา ดอยปุย เชียงใหม่

เพื่อทราบถึงชนิดและปริมาณของเฟิร์น ตลอดจนการเจริญเติบโตในรอบปีตั้งแต่ เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2522
ถึงพฤษภาคม 2523 ในพื้นท่ีแตกต่างกนั 4 สภาพ คือ สภาพพ้ืนที่ ท่ีถางไม่ออกหมด สภาพพื้นท่ที ่ีเป็นไรร่ ้าง
อายุประมาณ 10 ปี สภาพพื้นท่ีท่ีถางไม้พ้ืนล่างออก แต่ยังมีไม้ใหญ่ปกคลุมอยู่ และสภาพพ้ืนที่ป่าธรรมชาติ
ผลปรากฏว่า ในสภาพพืน้ ท่ที ี่ถางไม้ออก หมดจะพบเฟิรน์ ชนิดเดียว คือ Pteridium aquilinum และตลอดปี
จะมีความหนาแน่น ระหว่าง 0.38-2.48 ใบ/ตารางเมตร โดยจะพบมากที่สุดในเดือนพฤศจิกายน ในสภาพ
พ้ืนที่ที่เป็นไร่ร้างอายุประมาณ 10 ปี พบว่ามีเฟิร์น 3 ชนิด ได้แก่ Pteridium aquilinum ตลอดปีมีความ
หนาแน่น 0.05-0.67 ใบ/ตารางเมตร โดยมีปริมาณสูงสุดในเดือนธันวาคม Pteris biaurita มีปริมาณเท่ากัน
ระหว่างเดือนตุลาคมถึงพฤษภาคม คือ 0.1 ใบ/ตารางเมตร และ Thelypteris hirsutipes ตลอดปีมีความ
หนาแนน่ 0.01-0.05 ใบ/ ตารางเมตร โดยมีปรมิ าณสูงสดุ ในเดอื นธนั วาคม บริเวณพื้นท่ีที่ถางไม้พ้ืนลา่ งออกแต่
ยังมีไม้ใหญ่ปกคลุมอยู่มีเฟิร์น 3 ชนิด ได้แก่ Pteris biaurita , Pteris ensiformis และ Thelypteris
hirsutipes ซึ่งเฟิร์นชนิดแรกมีความหนาแน่นตลอดปี 0.01-0.02 ใบ/ตารางเมตร ปริมาณสูงสุดอยู่ในเดือน
สิงหาคมถึงพฤษภาคม ชนิดท่ีสองมีจํานวนเล็กน้อย 0.1 ใบ/ตารางเมตร และชนิดสุดท้ายตลอดบีมีความ
หนาแน่น 0.01-0.42 ใน/ตารางเมตร โดยมีปริมาณสูงสุดในเดือนกรกฎาคมถึงธันวาคม ตามลำดับ สําหรับ
สภาพพื้นทปี่ ่าธรรมชาติพบ วา่ มีเพีรน์ 2 ชนิด ไดแ้ ก่ Thelypteris hirsutipes ตลอดปีมีความหนาแน่น 0.01-
0.23 ใบ/ตารางเมตร โดยมีปริมาณสูงสุดระหว่างเดือนตุลาคมถึงธันวาคม และพบว่ามี Leucostegia
immersa จำนวนเล็กนอ้ ยระหว่างเดอื นกรกฎาคมถึงเดือนกันยายน 0.01 ใบ/ ตารางเมตร การที่พบเฟริ ์นตา่ ง
ชนิดกันและปริมาณแตกต่างกันนั้น เนื่องจากว่าในสภาพพื้นท่ีดังกล่าวได้รับแสงไม่เท่ากัน มีความช้ืนสัมพัทธ์
ของอากาศแตกต่างกัน ประกอบกับอินทรีย์ วัตถุในดินมีปริมาณต่างกัน กล่าวคือ พ้ืนที่ที่ถางไม้ออกหมดจะ
ได้รับแสงแดดเต็มที่บริเวณน้ีมี ความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศและอินทรีย์วัตถุในดินต่ำ สภาพพื้นที่ท่ีเป็นไร่ร้าง
อายปุ ระมาณ 10 ปี จะมตี ้นไม้อื่นขนึ้ ทาํ ใหม้ รี ม่ เงาและมีอนิ ทรีย์วัตถุในดนิ บ้าง เช่นเดยี วกบั สภาพพืน้ ท่ีทถี่ างไม้
พื้นล่าง ออกแต่ยังมีไม้ใหญ่ปกคลุมอยู่ละมอี ินทรีย์วัตถุในดินสูงกว่าพื้นท่ีท่ีถางไม้ออกหมด ส่วนสภาพพ้ืนท่ีที่
เป็นป่าธรรมชาติจะมีความเข้มของแสงต่ำสุด และมีความช้ืนสัมพัทธ์ของอากาศรวมท้ังอินทรีย์วัตถุในดินสูง
กวา่ พื้นท่ีสภาพอ่ืน ๆ

การเจริญเติบโตของ Pteridium aquilinum และ Thelypteris hirsutipes มีการแตกใบในช่วงฤดู
ฝนจนถงึ ฤดหู นาวแล้วใบเฟิรน์ จะค่อย ๆ แห้งตายไปในฤดรู ้อน Pteris biaurita และ Pteris ensiformis มกี าร

75

เจริญตลอดทั้งปีโดยในฤดูร้อนเฟิร์นท้ัง 2 ชนิดน้ีก็ยังมีชีวิตอยู่ได้โดยไม่แห้งตายไปแต่อย่างใด ส่วน
Leucostegia immersa พบในช่วงฤดูฝนเท่านั้น จากการสังเกตในสภาพพืน้ ท่ีแปลงทดลองเฟริ ์นเหล่าน้ีมีการ
แพรพ่ ันธุ์จากลำตันเปน็ สว่ นใหญ่ ไม่พบโปรทัลสสั ท่ีงอกจากสปอร์ตามธรรมชาติเลย แตเ่ มอื่ นำ สปอร์ของเฟิร์น
ไปเพาะบนอาหารวุ้นในหอ้ งปฏบิ ตั ิการก็พบว่าสปอร์สามารถงอกได้ดี สปอร์ ของ Pteridium aquilinum และ
Pteris biaurita สามารถงอกได้ท้ังในท่ีมีแสงและไมม่ ีแสง แต่สปอร์ของ Pteridium aquilinum งอกได้ดใี นที่
มีแสง ส่วนสปอร์ของ Pteris biaurita งอกได้ดีทั้งท่ีมีแสงหรือไม่มีแสง สปอร์ของ Thelypteris hirsutipes
จะงอกในทมี่ ีแสงเท่าน้นั

Abstract
Some ecological characteristics of ferns in hill-evergreen forest were studied at Doi-

Pui, Chiengmai province. The objectives were to find out the species of ferns, density and its
growth during June 1980 - May 1981. Four different locations were selected : (1) opened
area (2) 1.0-years old area after shifting cultivation (3) area where only underground species
were removed but still had some trees covered this area and (4) natural forest area.

The results showed that only Pteridium aquilinum was found in opened area with
density of 0.38-2.48 fronds/m2 and the highest number of plant in November. In 10-years old
area after shifting cultivation, 3 fern species, Pteridium aquilinum, Pteris biaurita and
Thelypteris hirsutipeps were observed. The density of Pteridium aquilinum was found 0.05-
O.67 fronds/m2 with the highest number in December. Pteris biaurita was found about 0.01
fronds/m2 during October to May. The number of 0.01-0.05 fronds/m2 of Thelypteris
hirsutipeps was found all the year and the highest number was in December only. In the
area where only uderground species were removed, three species of ferns were found
particularly the species of Pteris biaurita, Pteris ensiformis and and Thelypteris hirsutipeps
during the study period. Pteris biaurita showed the density were 0.01-0.02 fronds/m2 with
the highest number during August to May. Pteris ensiformis was observed in small number
approximately to be 0.01 fronds/m2. Thelypteris hirsutipeps was found all the year with the
density values of 0.01-0.42 fronds/m2 and the highest number appearing during July to
September. In natural forest area, two species of ferns, Thelypteris hirsutipeps and
Leucostegia immersa, the density of former fern was 0.01-0.23 fronds/m2 with the highest
number from October to December while the latter species was observed with only 0.01
fronds/m2 during July to December. The density of ferns and different species from each
location varied to the relative humidity, percent of soil organic matter and light intensity.

76

In regards to growth and development, it was found out that Pteridium aquilinum,
and Thelypteris hirsutipeps were well developed from rainy season to winter but fronds
became dried in summer. Pteris biaurita and Pteris ensiformis grew up steadily all the year.
Leucostegia immersa was only present in rainy season. The reproduction of all these ferns
were almost propagated by their vegetative parts without any prothallus. It was observed in
natural condition. The present study includes the testing of spores germination in the
laboratory. It was found that, the germinating of Pteridium aquilinum would successfully in
media with light. The spores of Pteris biaurita germinated freely in both light and dark
conditions. But the spores of Thelypteris hirsutipeps germinated only under light condition.

77

ผลกระทบจากการใชท้ ่ดี ินประเภทตา่ งๆ บนภเู ขาตอ่ คณุ ภาพนำ้ บรเิ วณดอยปยุ และทุ่งจอ๊ เชยี งใหม่
Impact of Various Mountainous Landuse Types on Water Qualities
at Doi-Pui and Tung-Jaw, Chiangmai

อนนั ตศักดิ์ ส่องพราย (2525)

บทคดั ยอ่
การศึกษาผลกระทบจากการใชท้ ี่ดินประเภทต่าง ๆ บนภูเขาต่อคุณภาพน้ำ เชน่ อุณภหภูมิ ความขุ่น

สี การนำไฟฟ้า ความกระด้าง และความเป็นกรดเป็นด่างของน้ำ ณ สถานีวิจัยลุ่มน้ำห้วยคอกม้า ดอยปุย
อําเภอเมือง และโครงการหลวงพัฒนาต้นน้ำหน่วยท่ี 1 (ทุ่งจ๊อ) อําเภอแม่แตง จังหวัดเชยี งใหม่ ระหวา่ งเดือน
มถิ ุนายน 2523 ถึงเดือนพฤษภาคม 2524 ผลปรากฏว่า น้ำในลำธารจากพ้ืนท่ีป่าดิบเขาธรรมชาติ พื้นที่ป่า
ปลูกผสมป่าธรรมชาติ พ้ืนท่เี กษตรกรรม และฟน้ื ท่ีที่ต้งั ถ่ินฐานของมนุษย์ มีค่าเฉลีย่ ของอุณหภูมิ 19.8 , 20.1,
20.0 และ 20.3 องศาเซลเซยี ส ความขุน่ 1.2, 3.2, 425.0 และ 75.0 ppm SiO2 สี 15, 36, 1385 และ 287
units การนำไฟฟ้า 21, 51, 39 และ 60 micro-mhos/cm ความกระด้าง 5, 13, 12 และ 16 ppm CaCO3
และความเปน็ กรดเปน็ ด่าง 6.38, 6.84, 6.87 และ 6.80 ตามลำดับ

น้ๆในลําธารจากพื้นที่ป่าดิบเขาธรรมชาติมีค่าอุณหภูมิ ความขุ่น สี การนำไฟฟ้า ความกระด้างและ
ความเป็นกรดเปน็ ด่างต่ำกว่าทุกพ้ืนที่ แต่ความขนุ่ และสมี ีค่าใกล้เคียงกนั มาก กบั น้าในลําธารจากพ้ืนท่ีปา่ ปลูก
ส่วนน้ำในลำธารจากพื้นที่เกษตรกรรมมีค่าความขุ่นและสีสูงมากกว่าทุกพื้นท่ี แต่มีค่าการนำไฟฟ้าและความ
กระด้างต่ำกว่าพ้ืนที่ป่าปลูกผสมป่าธรรมชาติ และพ้ืนท่ีท่ีต้ังถ่ินฐานของมนุษย์ ส่วนน้ำในลําธารจากพื้นท่ีท่ีต้ัง
ถ่ินฐานของมนษุ ยม์ ีค่าอุณหภูมิ การนำไฟฟ้า และความกระดา้ งสงู กว่าทุกพ้ืนที่ สำหรับอุณหภูมิและความเป็น
กรดเป็นด่างของ น้ำในลำธารจากพื้นที่ป่าปลูกผสมป่าธรรมชาติ พ้ืนที่เกษตรกรรมและพื้นที่ที่ต้ังถิ่นฐานของ
มนุษย์ น้ันมีค่าเฉลี่ยไมต่ ่างกัน แตใ่ นพ้ืนที่เกษตรกรรมและพื้นที่ที่ตั้งถิ่นฐานของมนุษย์มีความผันแปรระหว่าง
เดือนมากกว่า

การศกึ ษาน้ีเน้นให้เห็นวา่ การเปล่ียนสภาพการใช้ที่ดินจากป่าดิบเขาไปใช้เพื่อ การเกษตรหรือการต้ัง
ถนิ่ ฐานของมนุษย์นั้นจะมผี ลกระทบต่อคูณภาพนำ้ ในลำธารโดยเฉพาะสีและความขนุ่ ของน้ำ ส่วนคุณภาพของ
น้ำประการอ่ืน ๆ นน้ั มีการเปลี่ยนแปลงน้อยมาก สามารถใชป้ ระโยชนใ์ นด้านอืน่ ๆ ไดอ้ ยา่ งกวา้ งขวาง ปัจจุบัน
ถงึ จะยังไม่เกิดผลเสยี หาย ต่อคุณภาพของน้ำมากนักก็ตาม แต่ถ้าไม่ป้องกัน ควบคมุ และดูแลอย่างใกลช้ ิดแล้ว
อาจจะทําให้เกิดผลเสียหายอย่างรุนแรงข้ึนได้ในอนาคต ดังนั้นการรักษาพ้ืนท่ีให้คงสภาพเป็นป่าดิบเขาหรือ
หากไดม้ ีการจดั การและปรับปรุงพ้นื ท่ีใหเ้ ป็นป่าท่ีอย่ใู นสภาพดีข้นึ ย่อมทําให้น้ำในลำธารมีคณุ ภาพดีขน้ึ ดว้ ย

78

Abstract
Impact studies of various land use types on the water qualities, such as temperature,

turbidity, color, electrical conductivity, hardness and pH, were conducted at the Kog-Ma
Watershed Research Station (Doi-Pui) and the Royal Watershed Development Project Unit 1
(Tung-Jaw) in Chiangmai during June 1980 to May 1981. It was found that the average values
of stream water from the hill-evergreen forest, reforestation, agroculture and human
settlement were as follows : temperature 19.8, 20.1, 20.0 and 20.3 C ; turbidity 1,2, 3.2,
425.0 and 75.0 ppm SiO2 ; color 15, 16, 1385 and 287 units ; electrical conductivity 21, 51,39
and 60 micro-mhos/cm ; hardness 5, 13, 12 and 16 ppm CaCO3 ; and pH 6.38, 6.84, 6.87 and
6.80 ; respectively.

The results indicated that the stream water temperature, turbidity, color, electrical
conductivity, hardness and pH of the hill-evergreen forest were lowest compared to the
other land use types, but turbidity and color were not much different from the reforestation.
The turbidity and color of stream water from the agroculture were higher than the other
areas while the values of electrical conductivity and hardness were lower than the
reforestation and human settlement. The temperature, electrical conductivity and hardness
of stream water from the human settlement were also higher than those areas. However,
the average values of the stream water temperature and pH from the reforestation,
agroculture and human settlement were not different but there was more monthly
fluctuation in the agroculture and human settlement areas.

This study confirmed that the changing of land use from the hill-evergreen forest to
agroculture and human settlement on highlands can affect the water qualities especially
color and turbidity of the stream water. The other water qualities did not change so much
and can be utilized for the general purposes. Although the adverse affect is not so serious
right now but without any preventive measures and or.good management practices the
stream water quality might be seriously affected in the future Therefore, remaining of the
natural hill-evergreen forest or the improving the disturbed land by enrichment planting will
surely improve the stream water quality.

79

บทบาทของป่าดบิ เขาตอ่ ขบวนการทางอทุ กวทิ ยาบริเวณดอยปยุ เชียงใหม่
Role of Hill-Evergreen Forest on Hydrological Process at Doi Pui in Chianqmai

บรรยง เลขาวิจิตร (2525)

บทคดั ยอ่
การศึกษาบทบาทของป่าดิบเขาต่อขบวนการทางอุทกวิทยา ได้ทำการศึกษา ณ บริเวณสถานีวิจัย

ลุ่มน้ำห้วยคอกมา ดอยปุย เชียงใหม่ โดยการนำขอ้ มูลน้ำฝน น้ำพืชหยด น้ำตามต้น และน้ำพืชยึด ตลอดจน
ข้อมูลการซึมน้ำผ่านผิวดิน น้ำไหลบ่าหน้าดิน น้ำท่า การหมุนเวียนของธาตุอาหาร และข้อมูลด้าน
อตุ ุนิยมวิทยา ซง่ึ ไดร้ วบรวมข้อมูลไวโ้ ดยภาควิชาอนุรกั ษ์วิทยา คณะวนศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์
ตงั้ แต่ปี พ.ศ. 2509-2524 รวม เวลา 16 ปี ผลการศึกษาพบว่าปริมาณหยาดน้ำฟ้าท้ังหมดท่ีตกลงสพู่ ้ืนท่ีลุ่มน้ำ
ปีละ 2,144 มม. แยกเป็นน้ำสองส่วน ๆ แรกได้แก่ น้ำฝน 2,095 มม. โดยตกในช่วงแล้งฝน (ธันวาคม -
มีนาคม) 4 เปอร์เซ็นต์ของปริมาณน้ำฝนรายปี และตกในช่วงฤดูฝน (เมษายน - พฤศจิกายน) 96 เปอร์เซ็นต์
ของปรมิ าณน้ำฝนรายปี ส่วนทสี่ องไดแ้ ก่ หยดน้ำจากหมอก 49 มม. หรอื ประมาณ 2.3 เปอร์เซน็ ต์ของน้ำฝนท่ี
วดั ได้ โดยเกิดข้ึนในช่วงฤดฝู น 47 มม. และชว่ งแลง้ ฝน 2 มม. และด้วยเหตุทีเ่ ป็นท้องท่ีที่มคี วามข้ึนเฉลี่ยตลอด
ปี สูงถึง 78 เปอรเ์ ซ็นต์ มฝี นตกนานเกือบตลอดทง้ั ปี ทำให้มีการคายระเหย เพียงวันละ 2 มม. เท่านนั้ แต่จะมี
น้ำพืชหยดมากถึง 2,000 มม. น้ำตามต้น 30 มม. และน้ำพืชหยด 113 มม. อีกท้ังมีพืชปกคลุมดินหนาแน่น
และดินซึมน้ำได้ดี จึง พบน้ำไหลบ่าหน้าดินเพียงปีละ 10 มม. เท่าน้ัน แต่พบปริมากน้ำไหลในลำธารมากถึง
1,378,000 ลบ.ม./ตร.กม./ปี หรือ 65 เปอรเ์ ซ็นตข์ องน้ำฝนรายปี ซ่ึงเป็นน้ำในฤดฝู น มากถึง 977,700 ลบ.ม./
ตร.กม./ปี และน้ำในฤดแู ล้ง 400,500 ลบ.ม./ตร.กม./ปี หรอื ประมาณ 70 และ 24 เปอร์เซ็นต์ของปริมาณน้ำ
ไหลในลำธาร ตามลำดบั น้ำส่วนต่าง ๆ เหล่านีท้ ั้งน้ำฝน น้ำพืชหยด น้ำตามต้น และน้ำในลำธาร ได้ชะลา้ งธาตุ
อาหารทส่ี ำคัญ เช่น N, P, K, Ca, Mg, Fe และ Mn ปะปนลงมาด้วย ในปริมาณท่แี ตกตา่ งกันไป อย่างไรก็ตาม
เป็นที่กล่าวได้ว่า ป่าดิบเขาธรรมชาติสามารถเพิ่มน้ำไดถ้ ึง 2-3 เปอร์เซ็นต์ของน้ำฝนที่วัดได้ อีกท้ังสามารถให้
น้ำในลำธารท่ีมีปริมาณมาก การคายระเหยน้อย และมีธาตุอาหารที่สำคัญถูก ชะล้างมากับน้ำด้วย จึงเหมาะ
อย่างยิ่งที่จะอนุรกั ษ์ไว้เป็นตน้ น้ำลำธารมากกวา่ ท่ีจะใชท้ ำประโยชนอย่างอน่ื

80

Abstract
The role of hill~evergreen forest in hydrological processnwas investigated at Kog-Ma

Watershed Research Station on Doi Pui Chiengmai. To be able to acheive the objectives of
the study, all collected data such as rainfall, throughfall, stemflow, interception,infiltration,
surface flow, streamflow, and nutrient Cycling from 1966-1981 were analysed. The results
foun that the whole water falling into the hill~evergreen forest was separately measured as
annual rainfall about 2,095 mm., and fog-drip about 49 m. or 2-3 percent of total rainfall
which was divided into a part of wet period (April - November) about 47 mm. and dry period
(December - March)about 2 m.. The investigation also found that there were a long range of
high relative humidity (average 78%) with less rate of evapotranspiration (about 2 mm./day)
but high amount of throughfall (2,000 m./yr.), stemflow (30 mm./yr.) interception (113
mm./yr.). The dense of plant cover was caused very less amount of surface flow of 10
mm./yr.. In addition, the amount of total flow was estimated to be about 1,378,000
cu.m@/sq. km./yr. or about 65 percent of annual rainfall which was divided into wet flow
977,000 cu.m./sq.km./yr. and summer flow 400,500 cu.m./sq.km./yr. or about 71 and 29
percent, respectively. However some important nutrient element such as N, P,K, Ca, Mg, Fe
and Mn were washed out and contaminated in the water of rainfall, throughfall, stemflow,
and streamflcw. Evidence from this study show that the hill~evergreen forest can catch fog-
drip becoming to be rain water of about 2.3 percent of annual rainfall, and also to carry
some important nutrients in the water cycling. This should be pinpointed out that
hill~evergreen forest would rather be the head water supply than altering to utilize for
another purpose.

81

สมดุลของน้ำจากพืน้ ทที่ ม่ี กี ารใช้ประโยชน์ทด่ี นิ บรเิ วณทุ่งจ๊อและดอยปยุ จังหวัดเชยี งใหม่
Water Balance of Land Use Patterns at Tung Jaw, Doi Pui, Chiengmai

สรุ นิ ทร์ นำประเสรฐิ (2525)

บทคัดยอ่
สมดุลของน้ำจากพื้นทที่ ่ีมีการใช้ประโยชน์ทด่ี ิน ได้ศึกษาวิจัยโดยการเก็บรวบรวม ขอ้ มลู น้ำฝน น้ำท่า

และความขึ้นของดินบริเวณทุ่งจ๊อ ดอยปุย จังหวัดเซียงใหม่ ตั้งแต่ เดือนมิถนุ ายน 2523 ถึง เดือนพฤษภาคม
2524 พ้ืนทีท่ ดลองแห่งหนึ่งคือดอยปุยมีสภาพเป็น ป่าดิบเขาท้ังหมด และถูกเลือกใหเ้ ป็นเสมือนพ้ืนที่ควบคุม
ส่วนพ้ืนท่ีอีกแห่งหน่ึงได้แก่ทุ่งจ๊อซ่ึง ประกอบด้วยการใช้ประโยชน์ท่ีดิน 3 รูปแบบคือ ป่าปลูก ไร่ เลื่อนลอย
และการเกษตรกรรม และสภาพต้ังเดิมของพื้นท่ีที่มีการใช้ประโยชน์ที่ดินแบบต่าง ๆ บรเิ วณทุ่งจ๊อน้เี ป็นป่าดิบ
เขามาก่อน การคายระเหยน้ำคำนวณจากความแตกต่างระหว่างปริมาณน้ำฝนและปริมาณน้ำท่ารวมกับการ
เปลีย่ นแปลงปริมาณความขน้ึ ของดิน

ผลจากการศึกษาพบวา่ บรเิ วณพื้นที่ป่าดิบเขาดอยปุยมปี ริมาณน้ำฝน (1,796.8 มลิ ลิเมตร ) มากกว่า
บริเวณทุ่งจ๊อ (1,450.6 มิลลิเมตร) ปริมาณน้ำท่าจากพ้ืนท่ีป่าดิบเขา พบว่ามีประมาณ 1,168.5 มิลลิเมตร
(65.0 เปอร์เซนต์ของปรมิ าณน้ำฝน) มากที่สุดเท่ากับ 165.2 มิลลิเมตรในเดือนกันยายน และนอ้ ยทสี่ ุดเทา่ กับ
55.0 มิลลิเมตรในเดือนพฤษภาคม ขณะท่ีปริมาณน้ำท่าจากพื้นที่ป่าปลูก พื้นท่ีไร่ เล่ือนลอย และพื้นท่ี
เกษตรกรรม มีประมาณ 322.3 มิลลิเมตร (22.2 เปอร์เซ็นต์ของปริมาณน้ำฝน) 98.3 มิลลิเมตร (6.8
เปอร์เซนต์ของปริมาณน้ำฝน) และ 882.7 มิลลิเมตร (60.9 เปอร์เซ็นต์ของปริมาณน้ำฝน) ตามลำดับ
โดยเฉพาะพ้ืนทีไ่ ร่เล่ือนลอยการไหลของน้ำในลำธารเกิดขน้ึ เพียง 4 เดอื นเทา่ นัน้ คือในช่วง ฤดฝู นตั้ง แต่เดือน
กรกฎาคมถึงเดอื นตุลาคม การเกบ็ กกั ความช้ืนของ ดินในพน้ื ที่ที่มีการ ใชป้ ระโยชน์ที่ดินทั้ง 4 ประเภท ปรากฏ
วา่ ไม่แตกตา่ งกนั มากนัก การคายระเหยน้ำรายปีใน พื้นท่ีปาดบิ เขา พน้ื ที่ปาปลูก พื้นท่ีไร่เลื่อนลอย และพ้ืนที่
เกษตรกรรม เท่ากับ 628.3 มิลลิเมตร (35.0 เปอร์เซนต์ของปริมาณน้ำฝน) 1,128.3 มิลลิเมตร (77.8
เปอร์เซนต์ ของปริมาณน้ำฝน) เปอร์เซ็นต์ของปริมาณน้ำฝน) และ 567.9 มิลลิเมตร (39.1 เปอร์เซนต์ของ
ปริมาณน้ำฝน) ตามลำดับ ส่วนการคายระเหยน้ำ รายเดือนจากพ้ืนท่ีท่ีมีการใช้ประโยชน์ท่ีดินทั้ง 4 ประเภท
ปรากฏว่ามีมากในช่วงฤดูฝน และมีน้อยในช่วงฤดูแล้ง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปริมาณน้ำฝน พืชคลุมดิน และลักษณะ
ของดิน การคายระเหย น้ำรายวันจากพ้ืนที่ป่าดิบเขา พ้ืนที่ป่าปลูก พ้ืนท่ีไร่เล่ือนลอย และพื้นที่เกษตรกรรม
เทา่ กบั 2.0, 3.7, 4.3, และ 2.5 ตามลำดบั

ผลจากการศกึ ษาคร้ังน้ีช้ีให้เห็นว่า การทําลายทรัพยากรป่าไมเ้ ปน็ ผลทําให้ปริมาณ การคายระเหยน้ำ
เพิ่มมากข้ึน และปริมาณการไหลของน้ำในลาธารลดน้อยลง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเม่ือป่า เปลี่ยนสภาพเป็นไร่
เลื่อนลอย แม้ว่าโครงการพัฒนาปลูกป่าจะได้ดําเนินการ เพื่อให้มีป่าคลุมพ้ืนที่แล้วก็ตาม การคายระเหยน้ำก็
ยงั คงแสดงค่าท่ีมากเช่นกัน จึงไม่ต้องสงสัย เลยว่าถา้ ปา่ บนภูเขาถูกทําลายแล้วท้ิงไว้เป็นไรเ่ ลื่อนลอย โอกาสท่ี
ละทาํ ใหก้ ารขาดแคลนน้ำในฤดรู อ้ นในอนาคตอาจจะพบอยู่ท่ัวไปในบริเวณแห่งนี้

82

Abstract
Water balance was investigated in various land use patterns by collecting data of

rainfall, streamflow, and soil moisture at Tung Jaw and Doi Pui, Chiengmai from June 1980
through May 1981. An experimental site, Doi Pui, was entirely hill-evergreen forest and was
selected as "control". Another site, Tung Jaw is composed of 3 patterns of land use, they
were reforestation, shifting area, and agroculture. And the original forest type of each land
use pattern at Tung Jaw was hill-evergreen forest. Evapotranspiration was estimated from
difference between rainfall and stream discharge plus the change of soil moisture storage.

The results found that hill-evergreen forest, Doi Pui provided greater amount of
rainfall (1,796.8 mm) than Tung Jaw (1,450.6 mm). Streamflow of hill-evergreen forest was
found abount 1,168.5 mm (65.0% of rainfall) with the maximum 165.2 mm in September
and the minimum 55.0 mm in May. While reforestation, shifting area, and agroculture
produced the streamflow about 322.3 mm (22.2% of rainfall), 98.3 mm (6.8% of rainfall), and
882.7 mm (60.9% of rainfall), respectively. Flow regime in shifting area contributed only 4
months of wet period, July through October. Soil moisture storage in all land use patterns
showed slightly difference. Annual evapotranspiration in hill-evergreen forest, reforestation,
shifting area and agroculture were equivalent to 628.3 mm (35.0% of rainfall), 1,128.3 mm
(77.8% of rainfall, 1,352.3 mm (93.2% of rainfall, and 567.9 mm (39.1% of rainfall),
respectively. Monthly evapotranspiration for all land use patterns found an increase in wet
season and decrease in dry season which were depending on amount of rainfall, plant
cover, and soil characteristics. Daily evapotranspiration from hill-evergreen forest,
reforestation, shifting area, and agroculture were equivalent to 2.0, 3.7, 4.3, and 2.5 mm,
respectively.

The result of this research indicated that forest destruction caused remarkedly an
increase of evapotranspiration and decrease of stream discharge, especially when the forest
was turned to be shifting area. Although, development program by reforestation has been
taken place in order to recovery the forest area, an evapotranspiration was still shown in
high quantity. Undoubtedly, if the forest lands on mountains were converted to be utilize
and finally to be left as shifting area, water shortage in the summer would be found around
the areas in the future.

83

ความเปล่ยี นแปลงของลักษณะโครงสร้างป่าดบิ เขาตามระดบั ความสูงต่างกันบรเิ วณดอยปุย เชยี งใหม่
The Dynamics of Hill-Evergreen Forest Structure along the Altitude
at Doi Pui, Chiengmai.

อรณุ เหลียววนวฒั น์ (2525)

บทคดั ยอ่
การศึกษาความเปลี่ยนแปลงของลักษณะโครงสร้างป่าดิบ เขาตามระดับความสูง ต่างกัน ณ บริเวณ

ป่าดบิ เขาดอยปุย จงั หวัดเชียงใหม่ ระหว่างเดือนเมษายนถึงกรกฎาคม 2523 ได้ดำเนินการดงั น้คี ือ วางแปลง
ตัวอย่างขนาด 20 x 20 เมตร จำนวน 2 แปลง ในแต่ละระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล คือ 1,ooo
1,1oo 1,2oo 1,300 1,400 1,500 และ 1,600 เมตร ตามลำดับ เพ่ือเก็บข้อมูลเกยี่ วกับชนิดไม้ อัตราการปก
คลุม เรือนยอด ความสูง และเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงอก (dbh.) เฉพาะไม้ยืนต้น (trees) ซึ่งมีขนาด dbh.
โตกว่า 10 เซน็ ติเมตร และวางแปลงตวั อย่างขนาด 4 x 4 เมตร เพ่ือ ศกึ ษากล้าไม้ (saplings) โดยบันทึกชนิด
ขนาด และความสูงของต้นไม้ทุกต้นในแปลงตัวอย่าง พร้อมทั้งหาน้ำหนักและศึกษาไม้พ้ืนล่างและลูกไม้
(undergrowths and seedlings) โดยใช้แปลงตัวอย่างขนาด 1 x 1 เมตร บันทึกชนิด จำนวน และน้ำหนัก
ของไม้พื้นล่างและลูกไม้ ในแปลงตัวอย่าง พร้อมนี้ได้เก็บตัวอย่างดนิ จากหลุมดิน ตัวอย่างตรงจุดกึ่งกลางของ
แปลงตัวอย่าง ขนาด 20 x 20 เมตร แปลงละ 1 หลุม ตามความลึก 4 ระดับ คอื 0-5, 5-10,20-30 และ 50-
70 เซน็ ติเมตร ตามลำดบั เพ่ือศึกษาสมบัติทางฟสิ ิกส์ และเคมขี องดิน ในแปลงตัวอย่างท่ีทาการศึกษา ผลของ
การศึกษาพอสรปุ ไดด้ ังนี้

พันธ์ุไม้ในป่าดิบเขาท่ีระดับความสูง 1,300 เมตร ลงมา จะมีมากกว่าพันธ์ุไม้ ที่ขึ้นอยู่ในระดบั ความ
สงู 1, 400 เมตร ข้นึ ไป โดยมพี นั ธ์ุไม้เฉลย่ี ประมาณ 39 ชนิด และ 22 ชนิด ตามลำดบั พันธุ์ไมท้ ีข่ น้ึ กระจายอยู่
เกอื บทุกระดับความสูงของพน้ื ที่ ได้แก่ ไม้ก่อ เดอื ย ก่อแป้น ก่อแดง ไก่ ส้มบ้ี สารภีป่า เหมอื ดตบ และเหมือด
คนตัวเมีย พันธ์ไุ มท้ ่ีพบมากในระดบั ความสงู 1, 300 เมตร จากระดบั น้ำทะเลลงมา ได้แก่ ไมก้ อ่ ก้างด้าง ก่อน้ำ
กอ่ แหลม จา้ หนุน และแสนนางวาน เปน็ ตน้ ส่วนพันธ์ุไมท้ ี่ขนึ้ อยู่มากท่ีระดับความสูง 1, 300 เมตร ขึ้นไป คือ
ไม้ค่าหด และพันธุ์ไม้ท่ีขน้ึ กระจายในช่วงระดับความสูง 1,000-1,500 เมตร ได้แก่ ไม้ทะโล้ กายาน และไม้ห้า
สำหรับไม้พ้ืนล่างที่สำคัญที่ข้ึนอยู่ในป่าดิบเขา แห่งน้ี ได้แก่ หญ้าคายหลวง หญ้าสามคม หญ้ายูง หัวระแอน
ขาว เอ้ืองดิน เอื้องมะพร้าว ลกั ษณะสงั คมของปา่ จะคล้ายคลึงกันมากระหว่างป่าดิบเขาท่ีขนึ้ อยู่ ช่วงความสูง
ของพื้นท่ี 1,000-1,400 เมตร เป็นพวกหนง่ึ และอีกพวกหนึ่งคอื สังคมป่าดิบเขาท่ีขึ้นอยู่ในช่วงระดับความสูง
ของพ้ืนที่ 1,500-1, 600 เมตร จากระดับน้ำทะเล สำหรับการจัดชั้นความสูงและการปกคลุม เรือนยอดของ
พันธ์ุไม้ในป่าดิบเขาจะเปลื่ยนแปลงไปตาม ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล กล่าวคือ ท่ีระดับความสูงของ
พนื้ ที่ 1,000-1,400 เมตร จากระดับน้ำทะเล พันธ์ุไม้แบ่งเป็น 4 ช้ันความสูง โดยมีไม้เดน่ คือ ไม้ก่อเดือย ห้า
ทะโล้ กายาน ไก่ และก่อหม่น และมีไม้ที่มีความสูงสูงสุดประมาณ 51 เมตร และมีการปกคลุมเรือนยอด
ประมาณ 86 เปอร์เซ็นต์ ส่วนบรเิ วณความสูงของพ้นื ท่ี 1,500-1,600 เมตร จากระดับน้ำทะเล ชน้ั ความสูงของ

84

พันธ์ไุ ม้แบ่งเป็น 3 ชั้น โดยมีไม้ก่อแป็น ก่อ เดือย สารภีป่า กอ่ แดง และเหมือดคนตัวเมยี เป็นไมเ้ ด่นและมไี มท้ ่ี
มีความสูงสงู สดุ ประมาณ 13 เมตร และมกี ารปกคลุมเรอื นยอดประมาณ 84 เปอร์เซ็นต์

ความหนาแน่นของพันธุ์ไม้ที่มคี วามสูงมากกว่า 1.30 เมตร มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เม่ือระดับความสูงของ
พ้นื ทีเ่ พมิ่ ขึ้น โดยมีความหนาแน่นต่ำสุดที่ระดับความสูง 1,000 เมตร จากระดบั น้ำทะเล คือ ประมาณ 3,738
ต้นต่อ เฮกแตร์ และสูงสุดท่ีระดับความสงู 1,300 เมตร คือ ประมาณ 5, 664 ต้นตอ่ เฮกแตร์ ตรงกันข้ามกับ
พืน้ ที่หน้าตัดของพันธุ์ไมซ้ ึ่งมีแนวโน้มลดลงเมอื่ ระดับความสูงของพ้ืนทเ่ี พิ่มขน้ึ ท้งั น้ีเพราะวา่ พื้นท่ีในระดบั สูง ๆ
จะประกอบด้วย พันธุ์ไม้ขนาดเล็ก สว่ นพ้ืนที่ในระดบั ต่ำ ๆ จะมีต้นไม้ขนาดใหญ่ข้ึนอยมู่ าก กล่าวคือ ที่ระดับ
ความสูงของพื้นท่ี 1,600 เมตร จะมพี ื้นที่หน้าตดั ต่ำสดุ คือ ประมาณ 23.94 ตารางเมตรต่อเฮกแตร์ และสงู สุด
ท่ีระดับความสูง 1,100 เมตร คือประมาณ 67.21 ตารางเมตรต่อเฮกแตร์ สำหรับสภาพการสืบพันธุ์และการ
กระจายของลูกไม้ในป่าดิบเขามีแนวโน้มลดลง เมื่อระดับความสูงของพื้นที่เพิ่มข้ึน กล่าวคือ ท่ีระดับความสูง
1,000 เมตร จากระดับน้ำทะเล มีลูกไม้ 6 ชนิด ในขณะท่ีระดับความสูง 1,600 เมตร มีลูกไม้เพียง 4 ชนิด
เท่านั้น ตรงกันข้ามกับจำนวนชนดิ ของไม้พ้ืนล่าง ซ่ึงมีแนวโน้มเพ่ิมมากขึ้นเมื่อระดับความสูงของพ้ืนท่ีเพิ่มข้ึน
ทร่ี ะดับความสูง 1,000 เมตร จากระดบั น้ำทะเล มีไม้พื้นลา่ ง 7 ชนิด ในขณะท่ี
ระดบั ความสงู 1,500 เมตร จะมไี ม้พืน้ ล่าง 9 ชนิด

มวลชีวภาพเหนือพ้ืนดินท้ังหมดของพันธุ์ไม้ในป่าดิบเขา มีค่าเฉลย่ี ประมาณ - 173.12 ตันตอ่ เฮกแตร์
โดยจะมีแนวโน้มลดลงเมื่อระดับความสูงของพ้ืนท่ีเพ่ิมข้ึน กล่าวคือ ที่ระดับความสูงของพ้ืนท่ี 1, 100 เมตร
จากระดบั น้ำทะเล จะมีคา่ สูงสูดประมาณ 336.23 ตันตอ่ เฮกแตร์ ในขณะที่ระดับความสูง 1,600 เมตร จะมี
ปริมาณมวลชีวภาพต่ำสุดประมาณ 50 141 ตันต่อเฮกแตร์ สำหรับค่าความมากหลายของชนิดพันธุ์ไม้
(species diversity) ของพันธ์ุไม้ท่ีมีความสูงมากกว่า 1.30 เมตร ในป่าดิบเขาแห่งน้ีต้ังแต่ระดับความสูง
1,000-1,300 เมตร จากระดับน้ำทะเล จะมีแนวโน้มเพ่ืมขึ้นเม่ือระดับความสูงของพ้ืนท่ี เพ่ิมข้ึน แต่เมื่อเลย
ระดับความสูง 1, 300 เมตร ขึ้นไป จะมีแนวโน้มลดลงเม่ือระดับความสูงของพ้ืนทเ่ี พ่ิมข้ึน ทำนองเดียวกันค่า
มากหลายของชนิดพนั ธ์ไุ มข้ องไม้พ้ืนล่างรวมทั้งลูก ไมท้ ี่มคี วามสงู ต่ำกว่า 1.30 เมตร ทขี่ น้ึ อยู่ในชว่ งระดบั ความ
สงู 1,100-1, 400 เมตร จะมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนเมื่อระดับความสูงของพืน้ ที่เพมิ่ ข้นึ และจะค่อยลดต่ำลงในระดับ
ความสูงของพ้ืนท่ี ต้ังแต่ 1,500 เมตร จากระดับน้ำทะเลขนึ้ ไป และสำหรับการกระจายของพันธุ์ ไมต้ ่าง ๆ ใน
ป่าดิบเขาจะแตกต่างกันไปตามระดับความสูงของพ้ืนท่ีต่าง ๆ กัน ซ่ึงนอกจาก จะมีสาเหตุจากปัจจัยหลาย
อยา่ ง เชน่ สภาพภูมิอากาศ ความลาดชัน และทิศทางด้านลาดแล้วยงั ข้นึ อยู่กับการ เปล่ียนแปลงสมบัติของดิน
ในพื้นท่ซี ึง่ พันธ์ไุ ม้ เหลา่ นั้นข้นึ อยอู่ ีกดว้ ย

Abstract
The dynamics of hill-evergreen forest structure along the altitudes between 1,000 to

1 ,6 0 0 m. above m.s.1 . at Doi Pui, Chiengmai was studies during April to July 1 9 8 0 . The
investigation was carried out from the two 20 x 20 m? sample plots of each altitude : 1,000
1,100 1,200 1,300 1,400 1,500 and 1,600 m. above m.s.l. to concern with species of trees,

85

crown-cover, height, and diameter at breast height (dbh.) of the trees over than 10 cm. dbh.
The 4 x 4 m? subplots were established to study the saplings recorded of their species,
sizes, and heights. For undergromths and seedlings, the 1 x 1 m. subplots were made to
investigate their species, undergrowth numbers, and seedling weight. The soil samples were
also collected from the center of the 20 x 20 plots, one for each plot, in 4 depths : 0-5, S-
10, 20-30, and 50-70 cm. respectively to study both physical and chemical properties of the
soil. The results of the study were summarized as follows :

Hill-evergreen forests covering the area below 1 ,3 0 0 m. above m.s.l. had more
species than the forests at the areas higher than 1,400 m. above m.s.l. with 39 species and
22 species respectively. The common species occurring at almost all altitudes were Kordouy
(Castanopsis acuminatissima),Korpan (C. indica),Kordang ( Quercus kingiang), Kai (Homalium
damrongianum), Sompee (Vaccinium donianum), Sarapeepa (Mesua ferrea) Meardtoup
(Aporosa roxburghii), and Meardkontuamia (Helicia excelsa), at the areas below 1 ,3 0 0 m.
above m.s.l. were Korkangdang (Lithocarpus garrettianus), Kornam( L. auriculatus), Korlam
(Castanopsis sp.), Chanoon (Butea sp.), and Sannangwarn (Duranta repens),and at the areas
higher than 1,300 m. above m.s.l. were Kahod (Engelhardtia spicasa). The comon species at
the areas between 1,000 to 1,400 m. were Talo (Schima wallichii)J Kamyan (Styrax sp.),and
Ha (Syzygiu cumini).Besides, the dominant species of undergrowths in this forest type were
Yakailuang (Arundinella hispida), Yasamkom (Fuirena umbellata), Yayoong (Andropogon
micranthus), Huara-ankao (Kaempferia pandurata),Erngdin (K. rotunda), Erngma- prao (Phajus
tankervillea), Kingtao(Zingiber spurium),and Pakprabdoi (Floscopa scandens). The indices of
similarity among the hill-evergreen forests occurring at different altitudes were also
calculated. From the values of the indices of similarity, it visualized that communities at
altitudes between 1 ,0 0 0 to 1 ,4 0 0 m. above m.s.l. showed similarity and so did the
communities at altitudes between 1,400 to 1,600 m. above m.s.l. otherwise, stand profile
and crown-cover of this forest type varied to the different altitudes. The species
composition in the areas between 1 ,0 0 0 to 1 ,4 0 0 m. above m.s.l. were classified into 4
layers, the common dominant species of which were Kordang (Castanopsis acuminatissima),
Ha (Syzygium gumini), Talo (Schima wallichii) , Kamyan (Styrax sp.), Kai (Homalium
damronggianum),and Kormon (Lithocarpus thamsoni) with the highest tree of 5 1 m. and
average crown-cover of 86%. The forest at the areas between 1,500 to 1,600 m. above m.s.l.
showed only 3 layers of stand profile with the highest tree of 1 3 m; and average crown-
cover of approximately 8 4 % . The comon dominant species covering these areas were

86

Korpan (C. indica), Kordouy (C. acuinatissima), Sarapeepa (Msua ferrea), Kordang (Quercus
kingiang) and Meardkontuamia (Helicia excelsa).

The hill-evergreen forest occurring at various altitudes from 1,000 to 1,600 m. above
m.s.l. had different densities, the value of which increased when the altitude increased. And
the lowest density was found in the forest at 1,000 m. above m.s.l. with the value of 3,738
trees/hectare while the highest occurred at the area of 1,300 m. above m.s.l. with the value
of approximately 5 ,6 6 4 trees/hectare. In contrary, the basal area of the trees decreased
when the altitudes increased since there were generally small trees in the higher altitude
areas while the lower altitude areas were mostly covered with large trees. The lowest basal
area with the value of 23.94 m²./hectare was found in the forest at the area of 1,600 m.
above m.s.l. while the highest value of 67.21 m²./hectare occurred at the area of 1,100 m.
aobve m.s.l. Natural regeneration and seedling distribution of hill-evergreen forest along the
altitudes were also investigated. It was found that the areas at the low altitudes had more
species of seedlings than that at high altitudes with 6 species at the area of 1,000 m. above
m.s.l and only 4 species at 1 , 6 0 0 m. above m.s.l. Having inversely relations, the
undergrowths increased when the altitudes increased, there were 7 species of undergrowths
at the area of 1,000 m. above m.s.l. while at the area of 1,500 m. above m.s.l., they were up
to 9 species.

Aboveground biomass of hill-evergreen forest along the altitudes was also recorded.
Its average was approximately 173.12 tons/hectare. Similar to the basal area of trees, the
aboveground biomass of trees decreased when the altitudes increased, the highest value of
aboveground biomass was about 336.23 tons/hectare at the area of 1,100 m. above m.s.l.
while the lowest was at the area of 1,600 m. above m.s.l. with the value of approximately
5 0 .4 1 tons/hectare. For species diversity of trees, it was discovered that the higher the
altitudes were, the ore values of species diversity occurred, at the areas between 1,000 to
1,300 m. above m.s.1. But at the areas exceeding 1,300 m. above m.s.1., the species diversity
became lesser while the altitudes were higher. In the same way, there were the increases of
species diversity of undergrowths including seedlings at the areas between 1,100 to 1,400 m.
above m.s.l. and they were continuously decreased at the areas exceeding 1,400 m. above
m.s.1 . The factors affecting the species distribution of all vegetations were climatic
conditions, slope, aspects, and the dynamics of soil properties in the areas which were
investigated.

87

การวเิ คราะห์โอกาสและรปู แบบการตกของฝนบนภูเขาสูงดอยปุย เชียงใหม่
An Analysis of Rain Falling Probability and Its Patterns
on Mountainous Land at Doi Pui, Chiengmai

พงษ์ชัย จันทนสมติ (2525)

บทคัดยอ่
การศกึ ษาโอกาสการ เกิดและรูปแบบของฝนบนภูเขาสงู บริเวณสถานีวิจัยล่มุ น้ำหว้ ย คอกม้า ดอยปุย

จังหวัดเชียงใหม่ ได้ใช้ข้อมูลน้ำฝนจากสถานีตรวจอากาศท่ีได้รวบรวมไว้เป็น เวลา 15 ปีคือ ระหว่าง พ.ศ.
2509-2523 โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือทําการวิเคราะห์โอกาส การเกิด ปริมาณ ความหนักเบา ช่วงเวลาการตก
และรูปแบบของฝนท่ีตกบนภูเขาสูง ผลการ ศึกษาพบว่า ฝนตกรายปีช่วง 15 ปี ต่ำสุด 1,432.6 มม. สูงสุด
2,603.4 มม.และเฉล่ีย รายปี 2,026.0 มม. สำหรับค่าสัมประสิทธิ์ความแปรปรวนคํานวณได้ 0.15 เดือน
สิงหาคม เป็นช่วงเวลาท่ีฝนตกมากท่ีสุดซ่ึงเฉล่ีย 15 ปี ได้ 396.5 มม. และต่ำสุดในเดือนกุมภาพันธ์ 3.3 มม.
ปีหน่ึง ๆ จะมีฝนตกประมาณ 164 ครง้ั ในเดอื นสงิ หาคมมีฝนตกถึง 31 ครั้ง เดือนกุมภาพนั ธ์มฝี นตกเพียงคร้ัง
เดียว การศึกษาสัมประสิทธ์ิความแปรปรวนพบว่าถ้าฝนตก มากคร้ังแล้วจะได้ลัมประสิทธิค์ วามแปรปรวนต่ำ
ในฤดแู ลง้ หรีอช่วงเวลาที่มีฝนตกน้อยครง้ั จะมสี ัมประสิทธิค์ วามแปรปรวนสงู

โอกาสการเกิดฝนในฤดูฝน (พฤษภาคม-ตุลาคม) จะมีเปอร์เซ็นต์สูงกว่าในฤดูแล้ง (พฤศจิกายน-
เมษายน) ฝนท่ีตกมีปริมาณต่ำกว่า 10 มม. นั้นมีโอกาสการเกิดสูงถึง 58.2 เปอร์เซ็นต์ ฝน 150-200 มม.
มีโอกาสตกเพยี ง 0.05 เปอร์เซน็ ต์ ขณะที่ฝนสูงกว่า 200 มม. ไม่มีโอกาสตกเลย สว่ นที่เหลือเป็นโอกาสการเกิด
ฝนระหว่างมากกว่า 10 มม. ถงึ 150 มม. มีโอกาสเกิดใกลเ้ คยี งกนั อย่างไรก็ตาม ผลการศึกษานี้สามารถแบ่ง
ฝนออกได้เป็น ๆ แรกมีฝนตกน้อย (กุมภาพันธ์) กลุ่มท่ีสองโอกาสตกปานกลาง (มกราคม เมษายน
พฤศจิกายน และธันวาคม) และสุดท้ายกลุ่มท่ีมีโอกาสฝนตกมากที่สุด (พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม
สงิ หาคม กันยายน และตลุ าคม )

ความหนักเบาของฝนที่ตกบริเวณดอยปุยพบว่า ฝนที่ตกต่ำกว่า 10 มม. ต่อ ชม มี เกิดขึ้นสูงสุดถึง
24.24 เปอร์เซ็นต์ รองลงมาได้แกฝ่ นระหวา่ ง 10-20 มม. ต่อชม มีเปน็ อนั ดับรอง 17.46 เปอร์เซน็ ต์ ส่วนในท่ี
มากกวา่ 200 มม. ตอ่ ชม มีเพยี ง 0.1 เปอรเ์ ซ็นต์ เท่านัน้ ความหนักเบาชว่ งท่เี หลือมกี ารเกิดไม่แตกตา่ งกนั มาก
นัก สําหรบั โอกาสการเกิดฝน มากกว่า 100 มม. ต่อชม น้ันมีโอกาสเกิด 91.86 เปอร์เซ็นต์ ซ่ึงหมายถึงว่าจะ
เกิดไดท้ ุกปีและฝน 400 มม. ตอ่ ชม ก็มีโอกาสเกดิ ข้ึนได้เหมอื นกนั แต่มโี อกาสการเกดิ นอ้ ยมาก

ชว่ งเวลาท่ีฝนตกบริเวณดอยปุยนั้นพบว่า เวลาที่ฝนตกต่ำกว่า 1 ชั่วโมง เกิดถึง 24.01 เปอร์เซน็ ต์ ซ่ึง
ฝนที่ตกต่ำกวา่ 15 นาทีรวมอยู่ด้วยถึง 12.30 เปอร์เซ็นต์ สว่ นฝนท่ี ตกนานกว่า 21 ชั่วโมงเกิดขึ้นเพียง 0.37
เปอร์เซน็ ต์ ฝนทต่ี กนานนอ้ ยกวา่ 1 ช่ัวโมงใน เดือนสงิ หาคมมีตกมากถงึ 8.25 เปอรเ์ ซ็นต์ สว่ นเดอื นกุมภาพนั ธ์
มเี พยี ง 0.16 เปอร์เซ็นต์ อนึ่ง โอกาสการเกิดนนั้ คาํ นวณได้ว่าระยะเวลาทฝี่ นตกท่ีนานมากกว่า 24 ช่ัวโมงขน้ึ ไป

88

มี โอกาสเกิดข้ึนทุกเดือน (ยกเว้นเดือนกุมภาพันธ์) เปอร์เซ็นต์ อย่างไรก็ตาม ฝนท่ีตกนานถึง 72 ชั่วโมงนั้นมี
โอกาสเกิดเพยี ง 0.01 เปอร์เซน็ ต์

รูปแบบของฝนทต่ี กนน้ั ผลการศึกษาชใ้ี หเ้ ห็นว่า ฝนระดับท่ีหนง่ึ (ปริมาณนอ้ ยกวา่ 10 มม.) มักมีความ
หนกั เบาสูงสุดในขณะที่ฝนเริ่มตก เวลานานขน้ึ ความหนักเบาจะไม่แน่นอน ฝนระดบั ท่ีสอง (10-30 มม.) ความ
หนักเบาสูงสุดเกิดข้ึนขณะฝนเริ่มตกเหมือนฝนระดับที่หน่ึงแต่จะเกิดภาวะเช่นน้ีภายในเวลาท่ีฝนตกไม่เกิน
1 ชั่วโมง เมื่อฝนตกนานมากขน้ึ ความหนัก เบาจะไม่แนน่ อน โดยเฉพาะย่วงเวลาท่ีฝนตกเกินกว่า 9 ช่วั โมง ฝน
ระดับสาม (30-60 มม.) จะเป็นฝนท่ีตกนานกว่า 15 นาที ความหนักเบาที่พบสูงสุดไม่เกิน 1 ช่ัวโมง ในช่วง
เวลาที่ฝนตกไม่เกิน 9 ชั่วโมง ถ้าตกนานกว่าน้ีความหนักเบาจะไม่แน่นอน ฝนระดับที่ส่ี (60-100 มม.)
การศกึ ษาพบว่าความหนักเบามีการกระจายไม่สม่ำเสมอ ตกหนักบ้างเบาบา้ ง ฝนระดับหา้ (มากกว่า 100 มม.)
ในช่วง 15 ปีมีฝนตกปรมิ าณน้ีเพียง 9 คร้ังเท่านั้น และจะเป็นฝนของช่วงเวลาตกต้ังแต่ 2 ชั่วโมงขึ้นไป ความ
หนักเบาสูงสุดเกิดขึ้นในช่วงเวลา 2 ชั่วโมงแรก บางคร้ังเกิดในฝนมากกว่า 2 ชั่วโมง และความหนักเบาที่
เกดิ ขึ้นนั้นไม่มากนกั

Abstract
An analysis of the probability of rainfall occurrence and its patterns was applied the

data of Kog-Ma Watershed Research Station, Doi Pui in Chiengmai. Rainfall data which were
collected at the climatic station during the period for l5 years (1 9 6 6 -1 9 8 0 ) have been
applied to investigate probability of quantity, intensity, duration, and its patterns. The results
showed that 15 year of, annual rainfall ranged between 1,432.6 mm and 2,603.4 mm, the
average of 2 ,0 2 6 .0 mm with the variation coefficient of 0 .1 5 . August is dominated of
maximum rainfall in averaged amount of 396.5 mm and minimum in February of 3.3 mm,
Rain falling in August was maximum about 31 storms, while February was the minimum only
1 storm. The study of variation coefficient indicated that the more the rain falling the
smaller the variation coefficient. Dry period showed small number of storms with
uncertainty value of variation coefficient.

An occurrence of rainfall was found higher percentage in wet season (May-October)
than in dry period (November-April). Less than 1 0 mm of rainfall indicated the highest
probable occurrence about 58.20 percent, the amount of 150-200 mm revealed only 0.05
percent while 200 mm and greater amount had no sign for falling. However, rain of 10-150
mm showed equal chance of falling. Further-more, the investigation was found three groups
of rainfall; first, less probability of rain falling (February only); second, medium probability
rain falling (January, April, November, and December); and the highest probability of
rainfalling (May, June, July, August, September, and October).

89

Rainfall intensity of less than l0 mm/hr prossessed with 24.24 percent, while those of
10—20 and 200 mm/hr did. only 17.46 and 0.1 percent, respectively, and the rest indicated
more or less percentages. In so far, rainfall of greater than 100 mm/hr revealed the probable
occurrence 9 1 .8 6 percent which meant that rain could occur every year while rainfall of
greater than 400 m/hr was found very less chance of occurrence.

Rainfall duration at Doi Pui has found that the less than1-hr duration was 4 2 .0 1
percent of the total occurrence which included the less than 15-minute duration of 12.30
percent. The greater 24-hr duration occurred only 0.37 percent. However, the greater than 1-
hr duration was dominated in August about 8.25 percent of total falling, while in February
was only 0.16 percent. Probable occurrence was approximated and found that the longer
than 2 4 -hr duration of rainfall occurred in every month (except February); while 7 2 -hr
duration had a chance of occurrence only 0.01 percent.

Rainfall patterns which indicated first class of rainfall ( less l0 mm) often found
maximum intensity at the beginning and un certainty increasing the intensity when the
falling time was longer. Second class rainfall (10 -30 mm) showed the same pattern as the
first class rainfall but high intensity occurred in the first hour of falling, and also the
uncertain intensity showed evidently after an hours of falling. Third class rainfall (30-66 m)
was found n that only the case of falling time more than 1 5 minutes and the maximum
intensity occurred not more than l hour of less than 9 hours of falling, if longer period the
uncertainty rainfall intensity usually would be found. Fourth class rainfall (60-100 mm)
showed the distribution of intensity not in the same pattern, low and high intensity indicated
all time of falling, but the maximum intensity occurred at the period which not longer than
6 hours of falling. Last class rainfall (greater 100 mm) found only 9 storms for 15 years of
collection and duration was more than 2 hours. The moderate intensity found at the time
not more than 2 hours of falling, some storms occurred in longer period.

90

การประยุกตก์ ารใช้ภาพถา่ ยจากระยะไกลในการสำรวจสัณฐานบริเวณอุทยานแห่งชาติดอยปุย เชยี งใหม่
Application of Remote Sensing in a Morphological Survey
at Doi Suthep - Pui National Park, Chiangmai

วรงค์ ฤกษ์รจุ ิพมิ ล (2525)

บทคดั ย่อ
การศึกษา เร่ืองน้ีเปน็ การประยุกต์การใช้ภาพถ่ายจากระยะไกลในการสำรวจ สัณฐานบริเวณอุทยาน

แห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย จังหวัดเชียงใหม่ เพ่ือจําแนกลักษณะสัณฐานโดย การแปลภาพถ่ายทางอากาศมาตรา
สว่ น 1:50,000 ภาพถา่ ยดาวเทียมสีผสม แผนที่ธรณีวิทยา และการจำแนกความลาดชนั โดยวิธวี งกลมจากแผน
ทีภ่ ูมิประเทศของกรมแผนที่ทหาร มาตราส่วน 1 : 50,000 นอกจากน้ียังได้ทําการสารวจภาคสนามประกอบ
อีกด้วย และได้ทําแผนที่แสดง ความลาดชัน แผนที่แสดง สัณฐานบริเวณอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย
จังหวดั เชียงใหม่

ผลการศึกษา สามารถจําแนกลักษณะสัณฐานออกได้ 4 ประเภทคือ 1) ทาง ระบายน้ำ (drainage)
2) สันเขาและยอดเขา (ridge and peak) 3) แนวโครงสร้าง (lineament) และ 4) ท่ีลุ่มราบตะกอนลําน้ำ
(alluvial flat) ส่วนลกั ษณะความลาดชนั ของพื้นที่นนั้ จำแนกออกเป็น 4 ระดบั คอื 1) ช้ันความลาดชัน 0-12%
มพี ้ืนท่ี 18.72 ตารางกโิ ลเมตร คิดเปน็ 11% ของพ้ืนท่ีท้งั หมดซ่ึงพบอยบู่ นที่ลุ่มราบตะกอนลำน้ำและ แถบเชิง
เขา 2) ช้ันความลาดชัน 12-35% มีพ้ืนที่ 104.40 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 61% ของพื้นท่ีทั้งหมด ซ่ึงมพี ้ืนที่
มากท่ีสุดจะกระจายท่ัวไปในบริเวณอุทยาน 3) ข้ันความลาดชัน 35-50% มีพ้ืนที่ 44.44 ตารางกิโลเมตร คิด
เป็น 26% ของพ้ืนที่ทั้งหมดจะอยู่ตอนกลางของอุทยาน และ 4) ช้ันความลาดชัน 50 - 85% มีพ้ืนท่ี 3.80
ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 2% ของ พ้ืนที่จะพบบริเวณยอดเขา ส่วนความลาดชันมากกว่า 85% ขึ้นไปไม่
สามารถวิเคราะห์ออกมา ได้ ข้ันความลาดชันเหล่านี้ได้ทําการสุ่มตรวจสอบบางจุดในภาคสนาม ผลปรากฏว่า
ให้ความถูกต้องสูงถึง 82% แสดงว่าการวิเคราะห์ความลาดชันโดยวิธีวงกลมมีประสิทธิภาพสูง ท้ังสะดวกใน
การศกึ ษาและประหยดั งบประมาณ

ภาพถ่ายทางอากาศแสะภาพถา่ ยดาวเทยี มตา่ งก็มีขีดจำกดั ในการใหร้ ายละเอยี ด ถ้าตอ้ งการข้อมูลละ
เอียดอยู่ในบริเวณแคบ ๆ ควรศึกษา จากภาพถ่ายทางอากาศ แต่ถ้าต้องการข้อมูลอย่างหยาบ ๆ และความ
รวดเร็วในพ้ืนที่ขนาดใหญ่ควรศึกษาจากภาพถ่ายดาวเทียม ส่วนความสัมพันธ์ระหว่างความลาดชันกับความ
หนาแน่นของลำธารน้ันได้กำหนดให้ชนั้ ความลาดชันเป็น Y ความหนาแน่นของลำธาร เป็น X หรือ Y = f (X)
จากสมมติฐานท่ีว่า ถ้าความหนาแน่นของลำธาร เพ่ิมขึ้น ความลาดชันละเพ่ิมข้ึนด้วย สมการถดถอยได้ค่า
Y = 33.77 + (-1.09X) ค่าสัมประสิทธ์ิสัหสัมพันธ (r) มีค่า – 0.22 แสดงว่า ความหนาแน่นของลำธาร และ
ความลาดชันไมม่ คี วามสัมพันธ์กันในพ้ืนท่ีนี้ เน่ืองจากการเกิดลำธารข้นึ อยู่กับปจั จยั อื่นๆ ได้แก่ ภมู ิอากาศ พืช
พรรณ ลักษณะทางธรณีวิทยา การใช้ที่ดิน และความสามารถในการแปลภาพ เป็นต้น ดังนั้นจากสมการ
ดังกล่าวจึงไม่สามารถนำไปใช้เพ่ือคาดคะเนความลาดชันจากความหนาแน่นของลำธาร นอกจากน้ีลักษณะ

91

สณั ฐานและความลาดยนั สามารถนําไปวางแผน การใชท้ ่ีดินบนภูเขา โดยอาศัยหลักการจำแนกสมรรถนะของ
ดนิ และการใช้ทีด่ ิน หลักการจัดการ ตลอดจนใชม้ าตรการทางดา้ นกฎหมายควบคู่ไปด้วย.

Abstract
This study is the application of remote sensing in a morphological survey of Doi

Suthep-Pui National Park, Chiangmai in order to classify the morphological characteristics of
the area. In order to interpret the aerial photograph scale 1:50,000, false color composite,
geological map is appliedc The circle interception method is applied for slope classification
by using a topographic map of scale 1:5 0 , 0 0 0 , obtained from the Royal Thai Survey
Department, A field survey in the area has also been conducted. Slope and morphological
maps of Doi Suthep-Pui National Park, Chiangmai are produced by these techniques.

From this study, the morphological of the area is classified into 4 types--drainage,
ridge and peakg lineament, and alluvial flat. Slope of the area is classified into 4 classes:
1) 0-12% slope covering the area of 18.72 kmg, 11% of the total area. This area is found in
alluvial flat and foothills. 2) 12-35% slope covering the area of 104.40 kmz, 61% of the total
area.This is the largest area found throughout the park. 3) 35-50% slope covering 44.44 kmz,
26% of the total area. This area is in the central part of the park. 4) 50-85% slope covering
3.80 km², 2% of the total area. This area is found on peaks. Areas of over 85% slope are
unclassifiable. In order to verify the findings of slope classification, field survey has been
conducted in a number of spots in the area and it is proved that 8 2 % of the findings in
checked spots are correct. This showed the high efficiency of the circle interception method
in slope analysiso This technique has also been proved to be convenient and economical.

Aerial photographs and satellite images have different limitations in providing
informationo Aerial photographs should be used if detailed information in small areas is to
be obtained. If a bird's eye view of large areas is requiredg satellite images are more
appropriate.

Regression analysis is used to analyze the correlation between slope and stream
density. The hypothesis stated that the degree of slope is positively correlated to the
density of stream, when slope = Y and stream density = X or Y = f(X); Y = 33.77 + (-1.09X)
and the correlation coefficient (r) = -0.22. It means that stream density in the survey area is
not correlated to sloper This suggests that the development of streams depends on other
factors such as climate, vegetation, geological characteristics, land use and the aerial

92

photograph interpretation ability, etc. It is, therefore, suggested that slope cannot be
predicted from stream density. However, the information on morphological characteristics
and slope are useful for landuse planning in mountainous areas in terms of land capacity
classification and land use, watershed management, and the exercise of legal measures.

การศึกษาธาตอุ าหารในนำ้ ที่มาจากการใช้ทดี่ ินประเภทต่างๆ บนท่สี ูง บรเิ วณดอยปุยและทงุ่ จ๊อ เชยี งใหม่
Determination of Nutrients in Streaméwater of Various

Mountainous Land Use Patterns at Doi Pui and Tung Jaw Chiangmai.

โสภณ พวงเพชร (2526)

บทคดั ยอ่
การศกึ ษาปริมาณธาตุอาหารในน้ำท่ีได้จากการใช้ท่ีดินสี่รปู แบบคือ 1) ป่าดิบเขาธรรมชาติ (ห้วย D)

ดอยปยุ อำเภอเมือง (2) ป่าปลูกผสมป่าธรรมชาติ (3) ที่ทำการเกษตร และ (4) ที่อยู่อาศยั ณ บรเิ วณโครงการ
หลวง พฒั นาลุ่มน้ำหน่วยท่ี 1 ทุ่งจ๊อ เชยี งใหม่ ระหว่างเดอื นเมษายน 2521 ถงึ เดอื นมีนาคม 2525 ทำการเก็บ
ตัวอย่างน้ำประมาณสัปดาหที่ 3 ของทุก ๆ เดือน เพ่ือนํามาวิเคราะห์หาปริมาณความเข้มข้นของไนเตรต-
ไนโตรเจน(NO3-N) และฟอสเฟต-ฟอสฟอรัส(PO4-P) ไอออน

ผลจากการวเิ คราะห์ไดจากการใชท่ีดินสี่รูปแบบ พบว่าความเข้มข้นของไนเตรต-ไนโตรเจน (NO3-N)
ท่มี าจากลุ่มน้ำพื้นท่ีอยู่อาศัยมีความผนั แปร มากท่ีสดุ รองลงมาพ้ืนท่ีลุ่มน้ำป่าดิบเขาธรรมชาติ ป่าปลกู ผสมป่า
ธรรมชาติและน้อยท่ีสุดคือท่ีทําการเกษตร ความเข้มข้นเฉล่ียตลอดปีของไนเตรต-ไนโตรเจน (N03 - N)
อย่างไรก็ตาม ผลการวิเคราะห์ปรากฏว่าพื้นที่อยูอาศัยมีปริมาณไนเตรต-ไนโตรเจนสูง คือ 79.4 ppb (ug/l)
รองลงมาป่าปลูกผสมป่าธรรมชาติ ป่าดิบเขาธรรมชาติ 38. 1, 36.6 ppb (ug/l) และน้อยที่สุดคือท่ีทํา
การเกษตร 22.0 ppb (ug/l) ส่วนการวิเคราะห์ปริมาณความเข้มข้นของฟอสเฟต-ฟอสฟอรสั (PO4 - P) ในน้ำ
พบว่า พ้ืนท่ีอยอู่ าศยั มีความผนั แปรมากท่ีสดุ รองลงมาท่ีทำการเกษตร ป่าปลกู ผสมปา่ ธรรมชาติ และน้อยทส่ี ุด
คือ ป่าดิบเขาธรรมชาติ ความเข้มข้นเฉลี่ยตลอดปีของฟอสเฟตฟอสฟอรัส(PO4-P) ผลการศึกษาพบว่าที่อยู่
อาศยั มีค่าสูงสุด 88.73 ppb (ug/l) รองลงมาท่ีทําการเกษตรป่าปลกู ผสมป่าธรรมชาติ 42.2 และ 37.65 ppb
(ug/l) และน้อยที่สุด 28.14 ppb (ug/l) คือป่าดิบเขาธรรมชาติ สรุปได้ว่า พ้ืนท่ีอยู่อาศัย การเกษตรและป่า
ปลูกผสมป่าธรรมชาติมีผลต่อปริมาณความเข้มข้นของสารธาตุอาหารในน้ำลำธาร โดยการให้ทั้งปริมาณไน
เตรต- ไนโตรเจน และฟอสเฟต-ฟอสฟอรัส ในปริมาณที่มากกว่าป่าดิบเขาธรรมชาติอย่างเห็นได้ชัด ซึ่งอาจมี
ผลตอ่ คุณภาพของน้ำในลำธารได้

93


Click to View FlipBook Version