The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การรวบรวมงานวิจัยในพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยคอกม้าและพื้นที่ข้างเคียง มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำฐานข้อมูลงานวิจัยที่ผ่านมาเพื่อสนับสนุนการวิจัยในอนาคต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Forestry Research Center, 2021-05-20 05:21:23

งานวิจัยในลุ่มน้ำห้วยคอกม้า

การรวบรวมงานวิจัยในพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยคอกม้าและพื้นที่ข้างเคียง มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำฐานข้อมูลงานวิจัยที่ผ่านมาเพื่อสนับสนุนการวิจัยในอนาคต

Keywords: ห้วยคอกม้า,ดอยปุย,งานวิจัย,พื้นที่สูง

coefficient showed that the assessed volume of streamflow was significantly related to its
observed volume, and the monthly average of the assessed volume was also similar to the
observed volume gaining correlation coefficient at 0.963, With respect to the application of
this model to Huay Mae Nai Watershed which is covered by 84 per cent of hill-evergreen
forest, the results turn out to be acceptable, but it is not applicable to Huay Tung Jaw
integrated land use watershed, due to the occurring of surface runoff and loss of streamflow
in agriculture and other human activities. Therefore,/this model can be applicable only to
small watershed of hill-evergreen forest with no surface runoff occurring.

144

สตั วป์ า่ ในบรเิ วณอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย
Wildlife in Doi Suthep-Pui National Park

จารจุ นิ ต์ นภีตะภัฏ (2530)

บทคัดย่อ
การศึกษาชนิดและนิเวศนวิทยาของสตั วป์ ่าในบริเวณอุทยานแห่งชาตดิ อยสุเทพ-ปุย จงั หวัดเชียงใหม่

ไดก้ ระทำจากเอกสารและการสำรวจโดยตรง โดยสาขาวิจัยนิเวศวิทยาสถาบนั วิจัยวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
แห่งประเทศไทย ได้พบว่ามีสัตว์ป่าที่เคยอาศัย และยังพบอาศัยอยู่ในบริเวณอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย
จำนวน 489 ชนิด แยกออกได้เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 50 ชนิด นก 361 ชนิด สัตว์คร่ึงน้ำครึ่งบก 28 ชนิด
และสตั ว์เล้ือยคลาน 50 ชนดิ สัตว์ปา่ จำพวกนกมปี ริมาณชนิด สูงสุดถึง 73.97 เปอร์เซ็นต์ หรอื ประมาณสาม
ในสี่ของจำนวนสัตว์ป่าทง้ั หมด นเิ วสนวทิ ยาของสัตวป์ า่ แตล่ ะจำพวกไดร้ บั การศึกษาในดา้ นทเี่ ก่ยี วพันกบั ปัจจัย
สภาพและประเภทของป่า ความสูง และแหล่งอาหาร ฯลฯ นอกจากนี้สัตว์ป่าที่มีค่าทางการอนุรักษ์
ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ี่จดั วา่ หาได้ยากใกลจ้ ะสญู พันธจุ์ ำนวน 16 ชนิด และสตั ว์ป่าท่ไี ด้รบั การตงั้ ชื่อเป็นชนิดใหม่
หรอื ชนิดยอ่ ยใหม่ โดยมีดอยสเุ ทพเป็นสถานทพ่ี บครั้งแรกจำนวน 10 ชนดิ

Abstract
Wildlife indigenous to Doi Suthep-Pui National Park, ChiangMai Province, is intensively

studied for species diversity and ecology by the Staff of the Ecological Research Department,
Thailand Institute of Scientific and Technological Research, by means of the literature review
and actual surveys irregularly conducted in the Park. It reveals that species of wild animals,
both ever existed and still existing, are known to occur in Doi Suthep-Pui National Park, of
which there are 50 mamals, 361 birds 28 amphibians and 50 reptiles. Birds comprise the
majority of about three-fourths (73.97 %) of the total existing wildlife. Ecological factors such
as orest type, altitude, food and shelter, etc., are discussed for each particular animal group.
The known 16 species of endangered wildlife, together with those l0 species with Doi
Suthep as a type locality, are also reported.

145

การสำรวจการใชท้ ด่ี นิ และผลผลิตป่าไม้เพอ่ื วางแผนอุทยานแห่งชาตดิ อยสเุ ทพ-ปยุ เชยี งใหม่

Land Use and Forest Production Studies for Doi Suthep-Pui National Park Management Planning

อนงคท์ ิพย์ พงษ์สุวเิ ชษศกั ดิ์ (2531)

บทคัดย่อ
การสำรวจเพื่อจำแนกประเภทการใช้ที่ดินในบริเวณอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย จงั หวัดเชียงใหม่

ได้ดำเนินการโดยใช้ภาพถ่ายทางอากาศ มาตราส่วน 1 : 15,000 ถ่ายทำในปี พ.ศ. 2526-2527 และแผนท่ี
ระวางของกรมแผนท่ีทหาร มาตราส่วน 1 : 50,000 ประกอบในการจดั ทำแผนทีก่ ารใช้ทดี่ ิน และแผนที่แสดง
ความลาดชัน ซ่ึงไดแ้ บ่งป่าออกเป็นประเภทต่าง ๆ แล้วทำการสำรวจภาคพื้นดิน เพอื่ ตรวจสอบ ความถกู ต้อง
ของการแปลภาพ เกบ็ รวบรวมข้อมูลพืชพรรณ และบริเวณที่มีความงดงามตาม ธรรมชาติ ในการสำรวจ เพื่อ
เก็บข้อมูลพืชพรรณได้ใช้วิธี line plot system ในพื้นท่ีของป่าแต่ละประเภทซ่ึงจะใช้จำนวนตัวอย่างตาม
อตั ราสว่ นของเนอื้ ท่ี และกำหนดวางแปลงตัวอยาง เพ่ือ เก็บรวบรวมข้อมลู ตอ่ ไป

ผลการศึกษาพบว่า จากเนื้อท่ีทั้งหมดของอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย 262.50 ตารางกิโลเมตร
(164,062.50 ไร่) สามารถจำแนกประเภทการใช้ที่ดินออก เป็น 11 ประเภท คือ ป่าดงดิบ 55.03 ตาราง
กิโลเมตร (20.96%) ป่าสน 4.88 ตารางกิโลเมตร (1.86%) ป่าเบญจพรรณ 46.94 ตารางกิโลเมตร
(17.88%) ป่าเตง็ รัง 50.19 ตารางกิโลเมตร (19.12%) สวนป่าไม้สน 7.1 ตารางกิโลเมตร (2.70%) สวนป่า
ไม้สัก 3.26 ตารางกิโลเมตร (1.24%) สวนป่าไม้กระยาเลย 6.00 ตารางกิโลเมตร (2.29%) ไร่ร้าง 49.35
ตารางกิโลเมตร (18.80%) พ้ืนที่ปลูกพืชไร่ 34.83 ตารางกิโลเมตร (13.27%) ที่นา 3.70 ตารางกิโลเมตร
(1.41%) และท่ีพักอาศัย 1 .22 ตารางกโิ ลเมตร (0.47%)

ลักษณะความลาดชันของพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย พบว่าบริเวณท่ีมี ความลาดชันน้อย
(0- 16%) จะอยู่ตอนล่างของพื้นท่ีอุทยานฯ และอยู่บริเวณริมห้วยบริเวณที่มีความลาดชันปานกลาง
(16-35%) พบมากทสี่ ุด กระจายอยู่ท่ัวไปโดยเฉพาะ บริเวณโดยรอบอุทยานฯ ได้แก่บริเวณท่ีเปน็ เนินเขาและ
ภูเขาตา่ ง ๆ ส่วนบริเวณที่มีความลาดชันมาก (มากกว่า 35%) พบมากในบริเวณใกล้ยอดเขาสูงและตามสนั เขา
ท่วั ไป

ผลจากการสารวจแจงนับไม้ที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางที่ระดับความสูงเพียงอก (1 - 30 เมตร) ต้ังแต่
10 เซ็นติเมตรข้ึนไปพบว่าป่าดงดิบมีความหนาแน่นของตน้ ไม้ 235 ต้นต่อ เฮกแตร์ ปริมาตรไม้ทที่ ำเป็นสนิ ค้า
ได้ 21 1.74 ลกู บาศกเ์ มตรต่อเฮกแตร์ คดิ เป็นปรมิ าตรไม์ท้ังหมด 1 ,165,205.22 ลกู บาศกเ์ มตร มีมวลชีวภาพ
เฉล่ยี 250.16 ตันต่อ เฮกแตร์ คิดเปน็ มวลชีวภาพทั้งหมด 1,376 ,608.46 ตัน ป่าสนเขามีความหนาแน่นของ
ต้นไม้ 198 ต้นต่อเฮกแตร์ ปริมาตรไม้ท่ีทำเป็นสินค้าได้ 98.93 ลูกบาศก์เมตรต่อเฮกแตร์ คิดเป็นปริมาตรไม้
ทั้งหมด 48,277.84 ลูกบาศก์เมตร มีมวลชีวภาพเฉล่ีย 97.83 ตันต่อ เฮกแตร์ คิดเป็นมวลชีวภาพทั้งหมด
47,737.62 ตัน ป่าเบญจพรรณมีความหนาแน่นของต้นไม้ 153 ต้นต่อเฮกแตร์ ปริมาตรไม้ที่ทำเป็นสินค้าได้
165.72 ลูกบาศก์เมตรต่อเฮกแตร์ คิดเป็นปริมาตรไม์ท้ังหมด 777,889.68 ลูกบาศก์เมตร มมี วลชีวภาพเฉล่ีย

146

188.05 ตนั ต่อ เฮกแตร์ คิดเป็นมวลชวี ภาพทัง้ หมด 882,720.78 ตัน ป่าเต็งรังมคี วามหนาแน่นของต้นไม้ 217
ต้นต่อ เฮกแตร์ ปริมาตรไม้ที่ทาเป็นสินค้าได้ 49. 20 ลูกบาศก์เมตรต่อเฮกแตร์ คิดเป็นปริมาตรไม้ท้ังหมด
246,934.80 ลูกบาศก์เมตร มีมวลชีวภาพเฉล่ีย 91.70 คันต่อเฮกแตร์ คิดเป็นมวลชีวภาพท้ังหมด
460,246. 31 ตนั

บริเวณที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวบริเวณอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย ได้แก่ อนุสาวรีย์ครูบาศรีวิชัย
วัดพระธาตุดอยสุเทพ พระตาหนักภูพิงค์ราชนิเวศน์ สถานทีที่มีศักยภาพสูงในการพักผ่อนและการศึกษาหา
ความรู้ เป็นบริเวณทม่ี ีทิวทัศน์ธรรมชาติงดงาม ได้แก่ น้ำตก หนา้ ผา บ้านแม้วดอยปุย และบา้ นแม้วช้างเคี่ยน
เป็นต้น นอกจากนั้นยังมีสถานท่ีท่ีใช้ในกิจกรรมพิเศษเป็นท่ีตั้งของสถานีทดลองพืชผลเกษตร สวนสัตว์
เชียงใหม่ และโครงการหลวงอีกด้วย

Abstract
The study of land classification of Doi Suthep-Pui National Park, Chiangmai province

was carried out by using aerial photograph with the scale of 1 : 15,000, taken in 1983-1984.
Topographic maps with 1 : 50,000 scale were used for land use map and ingredient map.
Ground surveys were carried out to verify a map and update data obtained from photo-
interpretation and to collect data about vegetation and attractive areas. A proportional
allocation technique was applied to allocate and distribute,sample plots by using line plot
system method within each forest type.

Results showed that the total area of Doi Suthep-Pui hational Park was about 262.50
km² (l64,062.50 rais), Eleven land use categories were identified. They were 55.03 km² of
evergreen forest or 20.96 percent of the total area 4.88 km² or 1.86 percent of pine forest,
46.94 km² or 17.88 percent of mixed diciduous forest, 50.19 km² or 19.12 percent of dry
dipterocarp forest, 7.10 km² or 2.70 percent of pine plantation, 3.26 km² or 1.24 percent of
teak plantation, 6.00 km² or 2.29 percent of non teak plantation, 49.35 km² or 18.80 percent
of old clearing,34.83 km² or 13.27 percent of agricultural area, 3.70 km² or 1.41 percent of
paddy field and 1.22 kmz or 0.47 percent of residential area.

The physiography of Doi Suthep-Pui National Park consists of gentle slope (0-15%) in
the south and also were found along the river. Moderate slope (16-35%) predominantly
occupy the hill and mountain. Steep slope (over 35%) were found on the mountain tops
and ridges.

The results of forest inventory showed that the average stand density of trees over
10 cm in diameter at breast height (DBH) was 235 trees per hectare in the evergreen forest.
Total merchantable volume is 1,165,205.22 m³ or 211.74 m³ per hectare. dry weight of

147

forest biomass of stems, branches and leaves was 1,376,608.46 tons or 250.16 tons per
hectare, The average stand density of pine forest was 198 trees per hectare. Total merchan-
table volume was 48,277.84 m³ or 98.93 m³ per hectare and total dry weight biomass was
47,737.62 tons or 97.82 tons per hectare. The average stand density of mixed deciduous
forest was 153 trees per hectare. Total merchantable volume was 777,889.68 m³ or 165.72
m³ per hectare and total dry weight biomass was 882,720.78 tons or 187.96 tons per
hectare. The average stand density of dry dipterocarp forest was 217 trees per hectare. Total
merchantable volume was 246,934.80 m³ or 49.20 m³ per hectare and total dry weight
biomass was 460,246.31 tons or 91.70 tons per hectare.

The most attractive areas in the National Park were Kruba Sriwichai statute, Wat Phra
That Doi Suthep and Phuphing Palace, the waterfall, cliff, Ban Maeo Doi Pui, Ban Maeo
Chang Khian and Chiangmai zoo were considered as a high potential recreational areas.
Besides that there were some special projects such as high land agriculture experiment
stations under the King project and many others.

148

การสำรวจและเกบ็ ตวั อยา่ งพันธ์ไุ มส้ มุนไพรบรเิ วณดอยสเุ ทพ-ปุย
Survey and herbarium of medical vascular flora of Doi Suthep-Pui

สมพร ภูตยิ านนั ต์ หริ ัญรามเดช และ เจมส์ แฟรงคลนิ แมกซ์เวล (2534)

บทคดั ยอ่
พพิ ิธภัณฑ์สมุนไพรคณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้เก็บตัวอย่างพืชแห้ง จนถึงปจั จุบัน

มากกวา่ 9,285 ตัวอย่าง, 238 ตระกลู (270 ตระกลู ) จากกรกฏาคม 2530 จนถงึ ปัจจุบันมีตวั อยา่ งพชื จำนวน
2,044 ตัวอย่าง เก็บจากอุทยานแห่งชาตดิ อยสเุ ทพ-ปุย มีท้งั พืชเศรษฐกจิ พืชสมนุ ไพรและพืชตัวอย่างสำหรับ
นกั พฤกษศาสตร์ ประกอบด้วย 193 ตระกูล ในจำนวน 228 ตระกูลท่ีมีในประเทศไทย พบพืชตระกูลใหม่คือ
ตระกูล Lardizabalaceae, พืชที่พบใหม่สำหรับประเทศไทย 11 ชนิด, พืชท่ีเพ่ิมรายละเอียดให้ถูกต้องใหม่
3 ชนิด, พืชที่เปล่ียนสายพันธ์ใุ หม่ 2 ชนิด และพืชชนดิ ใหม่อยา่ งนอ้ ย 2 ชนดิ นอกจากนีอ้ าจพืชที่ใหม่ในวงการ
วทิ ยาศาสตร์อกี เป็นจำนวนมาก

การศึกษาวิจัยน้ีจะมีประโยชน์ต่อนักวิทยาศาสตร์ นักศึกษา ที่จะศึกษาวิจัย พฤกษเคมี,พฤกษ
ภมู ิศาสตร์ นเิ วศวทิ ยา กีฏวิทยา การงอกของเมลด็ สายพนั ธขุ์ องพืช ฯลฯ ต่อไป

Abstract
The herbarium now includes over 9,285 specimens 238 family (270) in Medicinal

Plant Herbarium, faculty of Pharmacy CMU. From July 1987 until now a total of 2044
species, are collected from Doi Sutep-Pui National Park, some of which are of considerable
economic, medicinal and botanical interest Vascular plants in the National Park comprising
193 of the 228 known families of vascular plants in Thailand includes one new family record
for the flora of Thailand (Lardizabalaceae), eleven species new records for Thailand, three
emended description, two new combinations, and at least two new species, with several
others that are probably undescribed and new to science

This research has enabled other scientists and students to do in other fields
(phytochemistry, phytogeography, ecology. entomology, seed germination, ethnobotany,
etc.) on Dol Sutep-Pui National Park and nearby forested areas

149

ลกั ษณะของเชอื้ เพลิงในป่าเตง็ รงั อุทยานแห่งชาตดิ อยสเุ ทพ-ปุย จงั หวัดเชียงใหม่
Fuel Characteristics in Dry Dipterocarp Forest
at Doi Suthep-Pui National Park, Chiengmai.

ศริ ิ อัคคะอคั ร และ สานิตย์ กติ ตสิ ัทโธ (2535)

บทคดั ยอ่
การศึกษาลักษณะของเชื้อเพลิงในป่าเต็งรัง อุทยานแห่งชาติสุเทพ-ปุย จังหวัดเชียงใหม่ ดำเนินการ

ระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2534 ถึงเดือนพฤษภาคม 2535 โดยเก็บข้อมูลจากแปลงตัวอย่างขนาด 1X1 ม2
จำนวน 780 แปลง ผลการศึกษาพบว่าเช้ือเพลิงหลักท่ีมีความสำคัญท่ีสุดในพ้ืนที่ได้แก่ ใบไม้ รองลงมาได้แก่
หญ้าและไม้พ้ืนลา่ ง ส่วนก่ิงกา้ นไม้แหง้ มคี วามสำคัญน้อยมาก

ปริมาณเช้ือเพลิงเฉลี่ยตลอดฤดูไฟป่าเท่ากับ 5,190 กิโลกรัม/เฮกแตร์ เมื่อแยกตามประเภทของ
เชอ้ื เพลงิ ปรากฏว่า ใบไม้มีปริมาณมากท่ีสดุ คือ 1,980 กิโลกรัม ถัดลงมาได้แก่ หญ้า ไม้พ้ืนล่าง และกิ่งก้านไม้
แห้ง ซ่ึงมีปริมาณ 1,480 , 1,070 และ 660 กโิ ลกรัม ตามลำดับ ทั้งนี้จะมีปรมิ าณการสะสมของเช้ือเพลิงมาก
ที่สุดในช่วงเดือนมีนาคมถึงเมษายน ความต่อเนื่องของเชื้อเพลิงโดยเฉล่ียตลอดฤดูไฟป่า คิดเป็น 89% ของ
พน้ื ที่ โดยใบไม้มคี วามต่อเนื่องมากท่ีสดุ คอื 43% ถัดลงมา ได้แก่ หญ้า ไม้พื้นลา่ ง และก่ิงกา้ นไม้แหง้ ซงึ่ มีความ
ต่อเน่ือง 31% , 23% และ 8% ตามลำดับ โดยเช้ือเพลิงจะมีความต่อเนื่องตลอดพื้นที่ (100%) ในช่วงเดือน
มีนาคมถงึ เมษายน ความสงู ของเชื้อเพลิงโดยเฉลี่ย ตลอดฤดไู ฟป่าเท่ากบั 15 ซม. โดยหญ้ามีความสูงมากท่ีสุด
ถงึ 26 ซม. ถัดลงมาได้แก่ไม้พ้ืนล่างสูง 20 ซม. สำหรับใบไม้และก่ิงก้านไม้แห้ง มีความหนาของชั้นการสะสม
บนพืน้ ที่ปา่ เท่ากบั 8 และ 4 ซม. ตามลำดบั ทงั้ นี้เชือ้ เพลิงมความสงู มากที่สุด 2 ชว่ ง คือช่วงเดือนพฤศจิกายน
ตอ่ เดือนธันวาคม และอีกชว่ งหนึง่ ในเดือนกุมภาพนั ธ์

เชื้อเพลิงมีความชันเฉลี่ยตลอดฤดูไฟป่าเท่ากับ 19% โดยในช่วงต้นเดือนเมษายนจะมคี วามชันต่ำสุด
คอื 5% ท้ังนี้ความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศเปน็ ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงความช้ืนของเชอ้ื เพลงิ โดย
มอี ทิ ธิพลถงึ 54.31%

150

Abstract
The study of Fuel Characteristics in Dry Dipterocar Forest was conducted in Doi

Suthep-Pui National Park, Chiengmai during the period of November 1991 to May 1992 by
laying out 780 of 1x1 m plots in the study area. The results showed that litter was the main
fuel type of the area while the second important fuel type was grass. Undergrowth and dry
twig were less significant in the area.

Average loads of fuel during fire season was 5,190 kg/ha. This was composed of 1,980
kg. of litter, 1,480 kg. of grass, 1,070 kg. of undergrowth and 660 kg. of twig. The
accumulation of fuel reach its maximum load in March and April. Fuel dispersal of litter,
grass, undergrowth and twig were 43%, 31%, 23% and 8% of the area respectively with the
average fuel dispersal of 89% of the area. Fuel covered 100% of the area in March and April.
Height of litter, grass, undergrowth and twig were 26, 20, 8 and 4 cm. respectively which
resulted in the average fuel height of 15 cm. There were 2 periods during fire season when
fuel height reach its maximum which were in November - December and in February.

Average fuel moisture content was 19% with the lowest moisture content of 5% in
April. In this regard, relative humidity was a major factor affecting fuel moisture content.

151

การจดั ทำแผนการจดั การและพฒั นาการใช้ที่ดินของอทุ ยานแห่งชาตดิ อยสุเทพ-ปุย

มนสั สุวรรณ และ จิระ ปรงั เขยี ว (2536)

ดอยสุเทพ-ปุย เป็นสภาพธรรมชาติประเภทป่าเขาท่ีมีความสําคัญมากทั้งในด้านนิเวศวิทยา สังคม
วัฒนธรรม และกายภาพ ดอยสุเทพ-ปุยในเชิงนิเวศวิทยาพบว่าเป็นถ่ินที่อาศัยและปรากฎของพืชและสัตว์
มากมายหลายชนิด และในจาํ นวนพชื และสัตว์เหล่านี้มีอยู่บางชนิดบางประเภทจัดเป็นสิ่งมีชีวิตที่หายากและมี
ปรากฏอยู่เฉพาะเท่านั้น ในเชิงสังคมวัฒนธรรม ดอยสุเทพ-ปุย เป็นที่ตั้งของพระธาตุดอยสุเทพซึ่งถือเป็นสิ่ง
ศักด์ิสิทธ์ิที่เป็นส่ิงคู่บ้านคู่เมืองของชาวล้านนา และเป็นท่ีเลื่อมใสของประชาชนโดยทั่วไป นอกจากน้ียังเป็น
ที่ต้งั ของพระตําหนักภูพงิ คร์ าชนิเวศน์ แปรพระราชฐานของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว พระบรมราชินีนาถ
และพระราชโอรส พระราชธิดา ในเชิงกายภาพ ดอยสุเทพ-ปยุ ถือวา่ เป็นปอดของชาวเมืองเชียงใหมท่ ่ีช่วยทํา
ใหอ้ ากาศบริสุทธิ์ อุณหภมู ิของอากาศเย็นสบาย และสาํ คญั ทสี่ ุดคือเปน็ แหล่งตน้ น้ำลาํ ธารทส่ี ําคัญของแมน่ ้ำปงิ

ดว้ ยความสําคญั ดังกลา่ ว รฐั บาลจึงได้ออกกฎหมายเพอ่ื ใหส้ ่วนหน่ึงของดอยสเุ ทพ-ปุย เป็นพ้ืนท่ีท่ีตอ้ ง
กําหนดไว้เป็นการเฉพาะเพื่อให้คงความสําคัญตา่ งๆ เอาไว้ เริม่ ตง้ั แต่ได้มีการตราพระราชกฤษฎีกากําหนดป่า
ดอยสุเทพเป็นป่าหวงห้ามเมื่อ พ.ศ. 2492 และเมื่อปี พ.ศ. 2507 คณะรัฐมนตรีก็ได้มีมติให้ออกเป็น
กฎกระทรวงกาํ หนดป่าดอยสุเทพเปน็ ป่าสงวนแห่งชาติ พน้ื ท่ีสงวนดังกลา่ วได้ถกู ขยายให้ครอบคลุมพื้นที่มาก
ขน้ึ โดยรัฐบาลได้ออกพระราชกฤษฎีกาอกี 2 ฉบบั เมอื่ ปี พ.ศ. 2524 และปี พ.ศ. 2525 โดยกําหนดพ้นื ทดี่ อยสุ
เทพ-ปุยในเขต 4 อำเภอของจังหวัดเชียงใหม่ อาํ เภอเมืองเชยี งใหม่ ๕ อําเภอแม่ริม อำเภอหางดงและอำเภอ
แม่แตง 262.5 ตารางกิโลเมตร หรอื ประมาณ 164,062.50 ไร่ เป็นอุทยานแห่งชาติ

การออกพระราชกฤษฎีกาเพื่อกําหนดเขตอุทยานแห่งชาติ แม้จะก่อให้เกิดผลดีอย่างมากในเชิง
นิเวศวิทยา เชิงการอนรักษ์และเชิงกายภาพ ก็พบว่าได้มีปัญหาสําคัญท่ีจัดว่าเป็นปัญหาเรื้อรังจนถึงปัจจุบัน
เกดิ ข้ึนเชน่ กัน ปัญหานี้คือปัญหาการถือครองท่ดี ินในเขตอุทยานแห่งชาติ ตามนัยแห่งพระราชบญญตอุทยาน
แห่งชาติ การเข้าไปตั้งถิ่นฐานและ/หรือแสวงหาผลประโยชน์ใดๆ ภายในเขตอทุ ยานแห่งชาตเิ ป็นการกระทําที่
ผิดกฎหมาย ประเด็นของความเป็นปัญหาเรือรังอยู่ตรงที่ว่าการกําหนดเขตอุทยานแห่งชาติกระทําภายหลัง
หลังจากทปี่ ระชาชนจํานวนหนิงได้เขา้ ไปต้ังถ่นิ ฐาน อยกู่ ่อนแล้ว ยิ่งไปกวา่ นี้คอื ประเด็นปัญหามใิ ช่มีเฉพาะกับ
ประชาชนเทา่ น้นั หากยงั รวมไปถึงสว่ นราชการต่างๆ ท่เี ขา้ ไปใช้ประโยชนท์ ี่ดินภายในเขตอทุ ยานแห่งชาตดิ ้วย

สว่ นราชการท่ีมีหน้าท่ีรบั ผิดชอบโดยตรง คือ กองอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไมจ้ ําเป็นต้อง เป็นผู้ที่เผชิญ
ปัญหาดังกล่าวอย่างหลีกเล่ียงไม่ได้ ท่ีสาํ คญั คือปัญหาการบุกรกุ ของประชาชนและสว่ นราชการในเขตอุทยาน
แห่งชาตดิ อยสุเทพ-ปุยมิใช่ปัญหาทีมีความเรียบง่ายธรรมดา แต่เป็นปัญหาที่มีความแยบยลและละเอียดอ่อน
นันก็หมายความว่าการแก้ไขปัญหาไม่ใช่กิจกรรมท่ีจะกระทําได้โดยง่ายและราบรื่น หากต้องอาศัยความ
พิถีพถิ นั รอบคอบ การจะแก้ปัญหาให้หมดสินไปโดยสินเชิงนน่ั คงทําไดย้ ากแต่จะมวี ธิ ีการใดและอยา่ งไรทีจ่ ะลด
ความรุนแรงของปญั หานันให้มากทีส่ ุดเท่าที่จะทาํ ได้ ในลกั ษณะท่เี รียกวา่ "บัวไมใ่ ห้ช้า น้ำไม่ให้ขุ่น" น่ันแหละท่ี
นา่ จะเป็นมาตรการท่ีดีทีส่ ุด

152

การศกึ ษาน้ี คือความพยายามท่ีจะหามาตรการในการจัดการและข้อเสนอแนะในเชิงท่ีสามารถนําไป
ปฏิบัติได้สําหรับอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย ที่จะได้กล่าวต่อไปนี้ เป็นผลที่ได้รับจากการวิเคราะห์ข้อมูล
หลักฐานท้ังที่คณะผ้วู ิจยั รวบรวมด้วยตัวเองในภาคสนาม การพบปะสนทนากับเจ้าหน้าทีอ่ ุทยานแห่งชาติดอย
สุเทพ-ปุย และส่ิงพิมพ์ท่ีเกี่ยวข้อง ตลอดจนการใช้เทคนิคการแปลภาพถ่ายทางอากาศและการตรวจสอบ
ภาคพ้นื ดนิ ประกอบ

153

ลกั ษณะโครงสรา้ งของป่าดบิ เขาธรรมชาติของพ้นื ท่ีต้นนำ้ ลำธาร ดอยปุยจงั หวดั เชียงใหม่
Structural Characteristics of Natural Hill Evergreen Forest at Water Supply

Doi-pui, Changwat Chiang Mai.

กิติชยั รตั นะ (2538)

บทคดั ยอ่
ลักษณะโครงสร้างของป่าดิบเขาธรรมชาติของพ้ืนที่ต้นน้ำลำธาร ดอยปุย จังหวัดเชียงใหม่ ได้

ทำการศกึ ษาต้ังแต่เดือนมกราคม 2537 ถงึ เดอื นมีนาคม 2538 โดยวัดต้นไมท้ ี่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงอก
ตัง้ แต่ 4.5 เซนติเมตรขึ้นไป ในแปลงตัวอย่างขนาด 10x10 ตารางเมตร จำนวน 50 แปลง (0.5 เฮกแตร์) ผล
การศึกษาปรากฏว่า ปา่ ดิบเขาดอยปยุ มีจำนวนชนิดพรรณไม้ 38 ชนดิ มคี วามหนาแนน่ 1,014 ตน้ ต่อเฮกแตร์
มเี ปอร์เซ็นต์พนื้ ทห่ี นา้ ตัดต่อพ้นื ที่แปลงตวั อยา่ งเท่ากับ 0.2816 เปอร์เซ็นต์ ดรรชนีความแผกผันคำนวณโดยใช้
วิธีต่างๆ ได้แก่ Fisher's index (α), Shannon-Wiener index (H), Simpson's index (D), Mclntosh MC1
และ Mclntosh MC2 มีค่าเทา่ กับ 9.5128, 4.2801, 0.9589, 0.7701 และ 0.7322 ตามลำดับ ส่วน richness
index ในรูป R1 และ R2 มีค่า 5.940 และ 1.688 ตามลำดับ ค่า diversity index โดยใช้ Hill's diversity
number ซึ่ง λ, H, N1 และ N2 มีค่า 0.04, 2.97, 19.40 และ 22.65 ตามลำดับ ค่า diversity index ได้ค่า
E1, E2, E3, E4 และ E5 เท่ากบั 0.815, 0.815, 0.497, 1.168 และ 3.034 ตามลำดับ ต้นไม้มีการกระจาย ตาม
ช้ันขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเป็นแบบ L-shape และมีการกระจายตามช้ันความสูงเป็นรูประฆังคว่ำ (bell
shape) เบ้ซ้าย ซ่ึงแสดงถึงการทดแทนอยู่ในข้ันดี จำนวนชนิดพรรณไม้เด่นท่ีประมาณได้จากค่าดรรชนี
ความสำคัญ (IVI) สอดคล้องกับค่าที่ได้จากการประมาณค่า d ที่ต่ำที่สุดจากสมการของ Ohsawa (1984)
ความสมั พันธ์ระหว่างจำนวนชนิดกับจำนวนต้น ในรูป S-N curve ปรากฏว่า S(50), S(100 ) และ b มีค่าเท่ากับ
11.2182, 16.3236 และ 16.9596 ตามลำดับ การแบ่งชน้ั ความสูงตามแนวดิ่งโดยวิธี Profile diagram ให้ผล
สอดคล้องกับวิธี Crown depth diagram ซ่ึงแบ่งชั้นเรือนยอดได้ 3 ชั้น คือ ที่ระดับสูงกว่า 18.5, 8.5-18.5
และ ต่ำกว่า 8.5 เมตร รูปแบบการกระจายของพรรณไม้โดยวิธี Morisita's index (Iδ) และ m*-m
regression ให้ผลสอดคล้องกัน โดยพรรณไม้ท้ังหมดกระจายเป็นแบบสุ่ม ส่วนพรรณไม้เด่น 10 ชนิด มีการ
กระจายเปน็ แบบกลุ่ม พ้นื ท่ที ่ถี กู ปกคลมุ โดยเรือนยอดของพรรณไมค้ ิดเป็น 71.029 เปอร์เซน็ ต์

การประมาณมวลชีวภาพเหนือพ้ืนดินท้ังหมด โดยวิธีแอลโลเมตรี และ Non destructive method
เท่ากับ 195 และ 169.1697 ตันต่อเฮกแตร์ ตามลำดับ ค่าเฉล่ียเรขาคณิต ของปริมาณแสงสว่างสัมพัทธ์ท่ี
ระดับพ้ืนดินมีค่าเท่ากับ 3.73 เปอร์เซ็นต์ และมีการกระจายเป็นแบบ bell-shape เม่ือปรับส่วนการแจกแจง
ความถ่ีแสงสว่างสัมพัทธ์ดังกล่าวอยู่ในรูป lognormal สำหรับบทบาทของป่าดิบเขาธรรมชาติต่อการอนุรักษ์
ดนิ และน้ำน้นั ศกึ ษาโดยการเรียบเรยี งจากรายงานการวจิ ยั ต่างๆ ที่ได้มีผ้ทู ำการศึกษาไว้

154

Abstract

Structural Characteristics of Nature Hill Evergreen Forest at Water Supply Doi-Pui,
Changwat Chiangmai was investigated from January 1994 to March 1995. Trees, which
diameter at breast height exceed 4.5 centimeters, were measured within 50 sample plot (0.5
hectare), 10x10 m2 in size of each. The results revealed that the forest consists of 38 tree
species with the density of 1,014 trees per hectare. The basal area of the trees in 0.2816
percent of the sample plot area. The values of species diversity calculated by using the
following formulars: Fisher's index ( α) , Shannon-Wiener index ( H) , Simpson's index ( D) ,
Mclntosh MC1 แ ล ะ Mclntosh MC2 were 9 . 5 1 2 8 , 4.2801, 0.9589, 0.7701 and 0.7322,
respectively. The richness indicies of R1 and R2 are 5.940 and 1.688, respectively. The values
of diversity index by using Hill' diversity number of λ, H, N1 and N2 are 0.04, 2.97, 19.40 and
22.65, respectively. The values of evenness index ; E1, E2, E3, E4 and E5 are 0.815, 0.815,
0.497 , 1.168 and 3.034, respectively. DBH and H distribution of the trees are L and bell
shape, respectively; it indicates that the forest is at good succession. The dominant tree
species determinant tree species determined by using IVI was similar to that determined by
using the minimum value of d from the equation of Ohsawa (1 9 8 4 ). Relative number of
species and number of trees (S-N curve) which S(50), S(100 ) and b are 11.2182, 16.3236 and
16.9596, respectively. The vertical stratification determined by using Profile diagram method
and Crown depth diagram method which could by divide into three layers including above
18.5 m, 8.5-18.5 m and below 8.5 m. Regarding to tree distribution pattern by using Morisita's
index (Iδ) and m*-m regression method, the total individuals of the trees were random but
for the trees were random but for the with high values of IVI were contagious. Crown cover
of the forest was 71.029 percent.

Total above ground biomass of the trees estimated by using Allometric correlation
method and non-destructive method are 195 and 169.1697 tons per hectare, respectively.
Geometric mean values of relation light intensity at ground level were 3.73 percent with
lognormal frequency distribution of the relation light intensity. Role of Hill evergreen forest
on soil and water conservation were also reviewed.

155

การศกึ ษาอารโ์ ทรปอดในดินระหว่างดนิ ในป่าธรรมชาตแิ ละดนิ ในพน้ื ทเ่ี พาะปลกู บนดอยสุเทพ-ปยุ
A comparison of soil arthropod communities between forested
and cultivated land in Doi Suthep-Pui National Park

เสาวภา สนธิไชย และ อารยา จาตเิ สถยี ร (2539)

บทคดั ย่อ
การศึกษาอาร์โทรปอดในดินระหว่างดนิ ในป่าธรรมชาติ และดินพ้ืนทเ่ี พาะปลกู ท่ี สถานีวิจัยขุนช่างเกี่ย

นของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย อําเภอเมือง จงั หวัดเชียงใหม่
ที่ละติจูด 18° 50' 38.9"-18° 50' 37.4" N uR: ลองติจูด 98° 53' 31.7"- 98° 53' 21.6" E ระดับความสูง
1100–1500 เมตรเหนือน้ำทะเล โดยใช้พลัวมือตักดินในควอแรทขนาด 25x25 ซม. ลึก 10 ซม. เดือนละ 1
ครั้ง ตั้งแต่ เดือนพฤษภาคม 2538 ถึงเดือนเมษายน 2539 แยกตัวอย่างอาร์โทรปอดในดินด้วย Tulgren
funnel และเกบ็ รกั ษาตัวอย่างสัตว์ในอัลกอฮอล์ 70 เปอร์เซนต์ เพ่ือจําแนกวนิ ิจฉัย จนถึงระดับต่ำสดุ เท่าท่ีจะ
ทําไดท้ ภี่ าควชิ าชีววิทยา คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่

อาร์โทรปอดในดินท้ังหมดมี 157 สปีชีส์โดยพบในป่าธรรมชาติ 5,500 ตัว จํานวน 144 สปีชีส์ และ
พบในพ้ืนที่เพาะปลูก 3310 ตัว จํานวน 98 สปีชีส์ วงศ์อารโ์ ทรปอดในตินที่ พบแทบทุกเดือนในปา่ ธรรมชาติ
ได้แก่ Carabidae, Ptilidae, Staphylinidae, Formicidae, Termitidae, รวมท้ัง class Symphyla และ
order Collembola โดยมี Formicidae จํานวนมากท่ี ในพ้ืนที่เพาะปลูก Collembola, Cecidomyiidae
และ Symphyla โดยมี Collembola จํานวนมากท่ีสุด ยิ่งกว่าน้ันอาร์โทรปอดในดินที่พบได้เฉพาะในป่า
ธรรม ช าติ มี 59 ส ปี ชีส์ (จาก ทั้ งห ม ด 8 2 9 ตั ว) ตั วอ ย่างเช่ น Napalmatoinlus, Coccotrypes
Carpophagus, C. nedius, C. cirrinamoni, Xyleborus perforans, EuConnus Sp., Orphnebius sp.,
Osorius sp., Paragonus sp., Anotylus sp., Scopaeus Sp., Pselaphus Sp., Zethoprus Sp., Stenus
sp. เป็นต้น มีเพียง 13 สปีชีส์ (จากท้ังหมด 27 ตัว) ที่พบได้เฉพาะในพ้ืนท่ีเพาะปลูก ตัวอย่าง เช่น
Prosopodesmus, Psychodidae sp. 3, Anoplolepis gracilipes, เป็นต้น สำหรับอาร์โทรปอดในดินที่พบ
ได้ท้ัง 2 พื้นที่มี 85 สปีชีส์ (จากจํานวน 8,004 ตัว) ตัวอย่างเช่น Cryptops sp., Onthophagus,
Scydmaenus sensu lato sp., Carpelimus sp., Oxytelopsis pseudopsina, Lobochilus sp.,
Lathrobium sp., Dimerini, Xantholinini, Erichsonius sp. เป็นต้น

ดัชนีความหลากหลายของอาร์โทรปอดในดินของป่าธรรมชาติ และพ้ืนท่ีเพาะปลูกมีค่าเท่ากับ 1.93
และ 1.70 ตามลําดบั แสดงว่าคอมมิวนติ ีของอาร์โทรปอดในดินของป่าธรรมชาติมคี วามซับซอ้ นมากกว่า และ
เม่ือวิเคราะห์หาค่าความแตกต่างของจํานวนตัวอาร์โทรปอดในดินจากทัง ANOVA พบวา่ มีความแตกต่างกัน
อย่างมีนัยสําคัญที่ระดับความสําคัญ 0.03 และจํานวนสปีชีส์ของอาร์โทรปอดในดินของป่าธรรมชาติก็มี
มากกวา่ (oc=.0001 ) อารโ์ ทรปอดในดินของป่าธรรมชาติมีสหสัมพันธด์ ้วยกันเองมากกว่าจะมีสหสมั พันธ์กับ
ปัจจัยส่ิงแวดล้อมเช่น ปริมาณน้ำฝน อุณหภูมิดิน pH ของดิน เป็นต้น ในทางตรงกันข้ามอาร์โทรปอดในดิน

156

ของพืน้ ท่ีเพาะปลูกมีสหสัมพันธก์ ับปัจจัยสิ่งแวดล้อมดังกล่าวมากกวา่ เมื่อเปรียบเทยี บคุณสมบัติทางกายภาพ
และเคมีของดนิ ระหว่างสองพืนที จากป่าธรรมชาตมิ ีความหนาแน่นมากกว่าและสามารถอุ้มนาํ ได้มากกว่าด้วย
ซงึ่ ทังสองพืน้ ทีมี N P K Ca และ Mg แตกตา่ งกัน อย่างมีนัยสําคัญด้วยความเช่ือมนั ทีมากกว่า 99 เปอรเ์ ซน็ ต์
สาํ หรับดินในพ้ืนท่ีเพาะปลูกมีความเป็นกรดมากกว่าและมีสารอินทรยี ์น้อยกว่า สลายซากใบไม้แหง้ ท่ีบรรจุถุง
ตาขา่ ยไนลอ่ น (ขนาด 20x15 ซม. ขนาดตาข่าย 2 มม.) ของทั้งสองพนื้ ท่ีไม่แตกต่างกัน

Abstract
A comparison of the soil arthropod fauna was made between a native tropical

secondary forest and adjacent cultivated land belonging to Chiang Mai University’s, Faculty
of Agriculture in Doi Suthep-Pui National Park, northern Thailand. The study site was at 18°
50' 38.9"-18° 50' 37.4" N and 98° 53' 31.7"- 98° 53' 21.6" E, 1100-1500 m elevation. Samples
were collected with a spade, from 25 cm2 quadrats, 10 cm in depth, once per month from
May 1995 to April 1996. Soil arthropods were extracted with Tullgren funnels. Specimens
were kept in 70% alcohol for identification at the Department of Biology, Faculty of Science,
Chiang Mai University.

Altogether 157 soil arthropod species were found in both study areas; 5,550
individuals of 144 species in the forest compared with 3310 individuals of 98 species in
cultivated land. Soil arthropod families found in almost every month in the forest were
Carabidae, Ptilidae, Staphylinidae, Formicidae, Termitidae; class Symphyla and order
Collembola were also included. The Formicidae had the highest numbers. Collembola,
Cecidomyiidae and Symphyla were found in cultivated land every month and Collembola
had the highest numbers. Furthermore, 59 species (totalling 829 individuals) were found only
in forested, land eg. Napalmatoinlus, Coccotrypes carpophagus, C. nedius, C. cirrinamqni,
Xyleborus perforans, Euconnus sp., Orphnebius sp., Osorius sp., Paragonus sp., Anotylus sp.,
Scopaeus sp., Pselaphus sp., Zethoprus sp., Stenus sp. etc. Only 13 species (totalling 27
individuals) were restricted to cultivated land, eg. Prosopodesmus, Psychodidae sp. 3,
Anoplolepis gracilipes, etc. Eighty five species (totalling 8004 individuals) were found in both
forested and cultivated land, eg. Cryptops sp., Onthophagus, Scydmaenus sensu Iato sp.
Carpelimus sp., Oxytelopsis pseudopsina, Lobochilus sp., Lathrobium sp., Dimerini,
Xantholinini, Erichsonius sp., etc.

The species diversity indecies of soil arthropods in forested land and cultivated land
were 1.93 and 1.70 respectively, showing that the soil arthropod community was more
complex in forested land than in cultivated land. An ANOVA showed that forested land had

157

significatly more individuals at the 0.03 significance level and had significantly more species
than cltivated land (oc= .0001 Soil arthropods in forested land were more correlated with
each other than with environmental factors, such as rainfall, soil temperature, pH, etc. On
the other hand, soil arthropods in cultivated land were more correlated with such
environmental factors.

Soil from forested land had a higher density and water content than cultivated land.
Differences between the two areas in N, P, K, Ca and Mg were significantly at the level
confidence of more than 99%. Cultivated soil was more acid and had less organic matter.
Decomposition rates of leaf litter in nylon mesh bags (20x15 cm, with 2 mm mesh size) were
not significant difference in both areas.

158

การจัดระดับชนั้ อนั ตรายจากไฟป่าในปา่ เตง็ รงั อทุ ยานแหง่ ชาติดอยสเุ ทพ-ปยุ
Fire Danger Rating in Dry Dipterocarp Forest at Doi Suthep - Pui National Park

ศริ ิ อคั คะอคั ร (2539)

บทคดั ย่อ
การศึกษาเรื่องการจัดระดับช้ันอันตรายจากไฟป่าในป่าเต็งรัง อุทยานแห่งชาติ ดอยสุเทพ -ปุย

ได้ดําเนินการระหว่างเดือนตุลาคม 2535 ถึงเดือนกันยายน 2538 รวมเวลา 3 ปี โดยวางแปลงทดลองขนาด
10 x 10 เมตร2 จํานวน 100 แปลง บนพ้ืนที่ที่กาํ หนดปัจจัย ด้านภมู ิประเทศให้คงที่ คือสูงจากระดับน้ำทะเล
ปานกลางอยูร่ ะหว่าง 400- 450 เมตร ความลาดชันอยู่ระหวา่ ง 25 - 30 % และทิศดา้ นลาดทางทิศตะวนั ออก
เฉียงใต้ จากนัน้ ทยอยเผา แปลงทดลองในช่วงตา่ งๆ กันตลอดปี เพอ่ื เกบ็ ขอ้ มลู โดยการเผาแปลงทดลองแตล่ ะ
ครั้งจะเผาระหว่างเวลา 12.00 - 14.00 น. ซึ่งปรากฎว่าสามารถเผาแปลงทดลองแล้วมีการลุกลามของไฟ
ทําให้เก็บข้อมลู ไดท้ ้งั สิ้น 60 แปลง

ผลการศึกษาพบว่า ช่วงฤดูไฟป่าอยู่ระหว่างเดือนธันวาคมถึงเดือนพฤษภาคม โดยเดือนมีนาคมเป็น
ช่วงท่ีไฟป่ามีความรุนแรงและอันตรายสูงสุด อัตราการลุกลามของไฟมี ค่าระหว่าง 0.28 - 6.41 เมตร/นาที
โดยมีค่าเฉลียตลอดฤดูไฟป่าเท่ากับ 1.72 เมตร/ นาที ความรุนแรงของไฟมีค่าระหว่าง 33.72 – 883.58
กโิ ลวัตต์/เมตร โดยมีค่าเฉล่ีย ตลอดฤดูไฟป่าเท่ากับ 249.26 กิโลวัตต์/เมตร ความช้ืนของเชอ้ื เพลิงเป็นปัจจัย
ส่ิงแวดล้อม ตัวเดียวในการศึกษาครั้งน้ีทีมีอิทธิพลต่อความรุนแรงของไฟอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (ท่ี 0.05)
โดยสามารถอธิบายความผันแปรของความรุนแรงของไฟได้ประมาณร้อยละ 35 และโดยใช้ความซ้ืนของ
เชื้อเพลิงเป็นเกณฑ์กำหนดระดับอันตรายจากไฟป่า ได้แบ่งระดับอันตรายจากไฟป่าเพ่ือจัดทําดัชนีไฟได้เป็น
4 ระดับ คือ ระดับสูงมาก เม่ือความข้ึนของเชื้อเพลิงน้อยกว่า 15 % ระดับสูงเมื่อความช้ืนของเชื้อเพลิงอยู่
ระหวา่ ง 15-26 % ระดบั ปานกลางเมื่อความชนื้ ของเชื้อเพลิงอยู่ระหวา่ ง 26-37 % และระดับต่ำเมื่อความชื้น
ของเชื้อเพลงิ มากกว่า 37 % หลังจากน้นั ไดก้ ําหนดมาตรการควบคุมไฟปา่ ในแตล่ ะระดับอนั ตรายจากดัชนีไฟ
ทจี่ ดั ทำขึ้น

159

Abstract
The study of “Fire Danger Rating In Dry Dipterocarp Forest at Doi Suthep- Pul

National Park” was conducted during October 1992 to September 19 One hundred of 10x
10 m2 sample plots were laid out on fixed topography ; 400-450 msl, 25-30 % slope and
southeastern aspect. The sample plots were burnt in sequence by setting fire at noon - 2
pm. Of the day. In the final, 60 out of 100 sample plots were be able to burn and data were
collected.

The results shown that fire season ranged from December to May with its peak in
march. Rate of fire spread ranged from 0.28-6.41 m/m with the average of 1.72 m/m. Fireline
intensity ranged from 33.72-883.58 Kw/m with the average of 249.26 kw/m. Statistically, fuel
moisture content was the only significant environmental factor affecting fireline intensity (at
0.05 confident interval). Therefore fuel moisture content was used as criterion for rating fire
danger in order set afire index. The fire index purposed from this study is composed of 4
fire danger classesi Extreme when fuel moisture content lower than 15 %, High when fuel
moisture content in between 15- 26 %, Moderate when fuel moisture content in between
26-37 % and Low when fuel moisture content higher than 87 %. Eventually fire control
measure for each fire danger class were recommended.

160

การศึกษาเบอื้ งตน้ ของสภาพป่าและพรรณไม้บรเิ วณอทุ ยานแห่งชาตดิ อยสุเทพ – ปยุ จงั หวัดเชียงใหม่
A Preliminary Study on Vegetation and Floral of Doi Suthep – pui National Park,
Changwat Chiang Mai.

มรกต วชั รมุสกิ (2541)

บทคัดย่อ
การศึกษาเบื้องต้นของสภาพป่าและพรรณไม้บริเวณอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย เชียงใหม่ ได้

ทำการศึกษาโดยการเดินเท้าสำรวจ และเก็บตัวอย่างพันธ์ุไม้เด่นในแปลงทดลอง พร้อมทั้งบันทึกสภาพที่พบ
โดยได้วางแปลงทดลองตามความสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลาง ต้ังแต่ 600 – 1,500 เมตร ทุกๆ ระดบั 100
เมตร สำหรับตัวอย่างทเี่ กบ็ มาไดน้ ำไปตรวจสอบเอกลักษณ์ โดยใช้ลักษณะทางสัณฐานวิทยา จากตำราพรรณ
ไม้ และเทียบเคียงกับตวั อย่างพรรณไม้แห้ง เพ่ือตรวจสอบช่ือวิทยาศาสตร์ที่ถูกต้อง พรอ้ มท้ังวิเคราะห์ข้อมูล
สนาม และภาพถ่ายของพรรณไมแ้ ต่ละชนดิ ประกอบ และตรวจสอบขนั้ สุดทา้ ยโดยผเู้ ชี่ยวชาญ จากการศกึ ษา
พบวา่ สงั คมพืชในพืน้ ที่ศกึ ษา แบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ ปา่ ผลดั ใบ และป่าไมผ่ ลัดใบ

ป่าผลัดใบ จำแนกออกได้เป็น 2 ชนิด คือ ป่าเบญจพรรณ พบท่ีระดับความสูงประมาณ 700 เมตร
พันธ์ุไม้เด่น ไดแ้ ก่ ยางปาย (Dipterocarpus costatus Gaertn.f.) ก่อตาหมู (Lithocarpus lindleyanus A.
Camus) และเหมือดคน (Helicia nilagirica Bedd.) และป่าเต็งรัง พบที่ระดับความสูงประมาณ 800 -
1 ,0 0 0 เม ต ร พั น ธ์ุ ไม้ เด่ น ได้ แ ก่ เต็ ง (Shorea obtusa Wall.) รั ง (S. siamensis Miq.) เหี ย ง
(Dipterocarpus obtusifolius Teijsm. ex Miq.) และ ทะโล้ (Schima wallichii Korth.)

ปา่ ไม่ผลดั ใบ จำแนกย่อยได้เป็น 2 ชนดิ คือ ป่าดบิ เขาท่รี ะดับ 600 เมตร พันธไุ์ มเ้ ด่น ได้แก่ ยางแดง
(Dipterocarpus turbinatus Gaertn. f.) ตาเสือ(Aphanamixis polystachya Parker) และสนสามใบ
(Pinus kesiya Royle ex Gard.) และป่าดิบเขาที่ระดับ 1,000-1,500 เมตร พันธ์ุไม้เด่น ได้แก่ ก่อแป้น
(Castanopsis diversifolia King) ก่อเดือย (C. acuminatissima A.DC.) ก่อแดง (Quercus kingiana
Craib) เหมือดคน และทะโล้ ได้จัดทำคำบรรยายพรรณไม้เด่นในพื้นท่ศี ึกษา พร้อมภาพถ่ายและภาพลายเส้น
ประกอบจำนวน 60 ชนิด

161

Abstract
A preliminary study on vegetation and floral of Doi Suthep-Pui National Park,

Changwat Chiang Mai was conducted by ground survey, collecting specimens, photographs,
and recording plant habitats. Experimental plots were laid at every 100 m. altitude from the
elevation 600 – 1,500. Collected specimens were identified by using morphological
characters supported by field information and photographs, compared with specimens from
major herbaria through flora and Botanical literature and rechecked by specialists. The result
indicated two main types of vegetation in the study area: Deciduous forest and Evergreen
forest.

Deciduous forest are classified into two subtypes : Mixed deciduous forest at 700 m.
the dominant species were Yang pai ( Dipterocarpus costatus Gaertn.f.) , Ko taa muu
(Lithocarpus lindleyanus A. Camus), and Mueat khon (Helicia nilagirica Bedd.) : and Dry
difterocarp forest at 800 – 1,000 m. the dominant species were Teng (Shorea obtusa Wall.),
Rang ( S. siamensis Miq.) Hiang ( Dipterocarpus obtusifolius Teijsm. ex Miq.) and Tha lo
(Schima wallichii Korth.).

Evergreen forest are classified into two subtypes: Hill evergreen forest at 600 m. the
dominant species were Yaang daend ( Dipterocarpus turbinatus Gaertn. f.) , Taa suea
(Aphanamixis polystachya Parker) and Son saam bai (Pinus kesiya Royle ex Gard.): and Hill
evergreen forest at 1,000 – 1,500 m. the dominant species in the studied area are described
with description, line drawing illustrations, and photographs.

162

การประเมนิ อัตราการคายนํ้าของเทพทาโร และกอ่ หม่น ในปา่ ดบิ เขา ดอยปุย จ.เชียงใหม่
โดยใชแ้ บบจำลอง Penman-Monteith

Estimating Transpiration Rate of Cinnamomum porrectum and Lithocarpus elegans in
Hill Evergreen Forest, Doi Pui, Changwat Chiang Mai, Using Penman-Monteith Model

ศริ ิธัญญา พิมาน (2545)

บทคัดย่อ
การศึกษาอัตราการคายน้ำของพรรณไม้ 2 ชนิด คือ เทพทาโร และก่อหม่น บริเวณป่าดิบเขา

จ.เชียงใหม่ ด้วยเคร่ืองมือ Leaf Chamber Analysis ทําการตรวจวัดต้ังแต่เดือนสิงหาคม 2542 ถึงเดือน
กรกฎาคม 2543 ในช่วงเวลา 7.00 น.-17.00 น. โดยศึกษารูปแบบความผันแปรและปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่มี
อิทธพิ ลตอ่ อตั รา อตั ราการคายน้ำในฤดูฝนมรี ูปแบบไม่แน่นอนและผันแปรขน้ึ ลงตลอดวันจน กระท่ังหมดแสง
ในรอบวัน ในฤดหู นาวอัตราการคายนำ้ จะเพ่ิมขึน้ อย่างรวดเร็วในช่วงเช้า หลงั จากน้นั จะลดต่ำ ลงในช่วงเที่ยง
และจะเพิ่มข้ึนอีกครั้งในชว่ งบ่าย แล้วจะลดต่าลงจนหมดแสงไปในรอบวนั สาํ หรบั ฤดูร้อน อตั ราการคายน้ำจะ
ค่อยๆเพ่ิมสูงขนึ้ ในช่วงเช้าจนถงึ จุดสูงสดุ ในช่วงเท่ียง และค่อยๆลดต่ําลงในช่วงบ่ายจนแสง หมดไปในรอบวัน
ซึ่งค่าการคายน้ำเฉล่ียตลอดรอบวันของพรรณไม้ท้ัง 2 ชนิด มีค่าสูงสุดในฤดูหนาว รองลงมา คือฤดูฝน และ
น้อยสุดในฤดูร้อน เมื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการคายน้ำกับปัจจัยสิ่งแวดล้อม พบว่า ปัจจัย
สง่ิ แวดล้อมท่ีสัมพันธ์กบั อัตราการคายน้ำของต้นเทพทาโรมากที่สุดในฤดูฝน คือ ความสามารถในการเปิค ปิค
ปากใบ ในฤดูหนาวและในฤดูร้อน คือ ปัจจัยความเข้มแสง สําหรับอัตราการคายน้ำของต้นก่อหม่น จะ
สมั พันธ์กับปัจจัยความสามารถในการเปิดปิดปากใบมากที่สุดในท้ัง 3 ฤดกู าล เมอื่ ใช้ข้อมูลภูมิอากาศซงึ่ บันทึก
โดยเคร่ืองบันทึกข้อมูลอัตโนมัติคํานวณอัตราการคายระเหยน้ำด้วยแบบจําลอง Penman-Monteith เพ่ือ
ประยกุ ต์ ใช้ในการประเมินอัตราการคายน้ำของพรรณไม้ท้ัง 2 ชนดิ พบว่า อัตราการ คายน้ำของตน้ เทพทาโร
สามารถ ประเมินโดยใชแ้ บบจําลองได้ดีท่ีสุดจากสมการในเดือนมีนาคม 2543 คือ y = 14525x + 0.711 โดย
มีค่าความ สัมพันธ์ (r) เท่ากับ 0.782 มีความแปรปรวนเฉลี่ย (MSE) 0.024 รองลงมาคือสมการในเดือน
มิถุนายน 2543 โดย y = 0.557x + 1,2101 มีค่าความสัมพันธ์ (r) เท่ากับ 0.594 มีความแปรปรวนเฉล่ีย
(MSE) 0.167 สําหรบั อัตราการคายน้ำของต้นก่อหม่น สามารถประเมินโดยใชแ้ บบจําลองได้ดที ่ีสุดจากสมการ
ในเดือน มีนาคม 2543 คือ y = 0.662x +0.4089 โดยมีค่าความสัมพันธ์ (r) สูงที่สุด เท่ากับ 0.805 มีความ
แปรปรวน เฉล่ีย (MSE) 0.002 รองลงมาคือสมการในเดือนพฤษภาคม 2543 โดย y = 0.4224x + 1.7934 มี
ค่าความ สัมพันธ์ (r) เท่ากับ 0.607 มีความแปรปรวนเฉลี่ย (MSE) 0.012 ส่วนในช่วงเดือนอื่นๆ มีค่า
ความสัมพันธ์ นอ้ ยมากถึงปานกลาง ดงั นั้น การประเมินอตั ราการคายน้ำโดยประยุกตใ์ ช้แบบจําลอง Penigan-
Monteith ของพรรณไม้ทั้ง 2 ชนิด สามารถนํามาใช้ประเมินได้อย่างเหมาะสมที่สุดในช่วงฤดูร้อนและต้นฤดู
ฝนซงึ่ ช่วงเวลาดังกล่าวจะมคี วามแปรปรวนของสภาพภมู ิอากาศนอ้ ยที่สุด

163

Abstract
Transpiration rate of two species, Cinarrtontuut porrecrum and Litirocarpus elegarts in

Hill Evergreen Forest, Doi Pui, Chiang Mai was observed by Leaf Chamber Analysis during
August 1999 to July 2000, 7:00 am-5:00 pm to clarify the seasonal pattern of transpiration
rate. The transpiration pattern in rainy season varied through the day. In the winter, the
transpiration pattern showed the peak in the morning,decreased at noon and increase again
in the afternoon. In the summer, the transpiration pattern increased in the morning and
reached the peak on the noon. Then, it decreased in the afternoon. The mean of total
transpiration of two spices was highest in the winter, fallowed by the rainy season and
lowest in the summer. The relationship between transpiration rate and environment factors
was studied and indicated that the stomatal conductance was the most influential factor
affecting transpiration rate of Cinnamomum porrectum in rainy season. The light intensity
was the most essential factor in the winter and summer. In the case of Lithocarpns etegarts,
the stomatal conductance was most influential factor on transpiration rate through the three
seasons. Evapotranspiration rate was calculated from Penman - Monteith model using data
of micrometeorology was collected by data logger to estimate transpiration rate of two hill-
evergreen spices. The equation of Cimiainouunir porrecriim which shows good representation
for estimating transpiration rate on June 2000 was y = 1.4525x + 0.711] with the highest
correlation value ( r ) of 0.782, with mean square error (MSE) of 0.024. In the case of March
2000, the equation for transpiration rate estimation with to highest correlation was y =
0.557x + 1.2101, r = 0.594, MSE = 0.167. The equation of Litirocarpus eiegans which shows
good representation for estimating transpiration rate on June 2000 was y = 0.662x + 0.4089
with the highest correlation value ( r ) 0.805, with mean square error (MSE) of 0.002. In the
case of May 2000, the equation of transpiration rate was y = 0.4224x + 1.2934, with r = 0.607
and MSE = 0.012. In ease of other months, the correlation value ranged from very low to
moderate. The estimation of transpiration rate of two evergreen spices by applied for
Penman Monteith model seems to be suitable for dry season and at early rainy season in
which there was less variation in micro-meteorological condition.

164

กลยุทธ์ในการยกระดับมาตรฐานแหลง่ ทอ่ งเท่ียวทางธรรมชาตใิ นจงั หวดั เชียงใหม่
กรณศี ึกษาอทุ ยานแหง่ ชาตดิ อยสเุ ทพ-ปุย

Standard Upgrading Strategies for Natural Tourist in Chiang Mai Province:
Case Srudy of Doi Pui – Pui National Natural Park

พิชญลกั ษณ์ พชิ ญกุล (2548)

บทคดั ยอ่
การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือประเมินระดับความเป็นมาตรฐานของอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย

และเพ่ือสร้างกลยุทธ์ระดับปฏิบัติการในการยกระดับมาตรฐานแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติในจังหวัด
เชียงใหม่ โดยใช้อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย เป็นกรณีศึกษา แล้วนำเสนอผลการศึกษาแก่หน่วยงานท่ี
เกี่ยวข้องในการพฒั นาการท่องเท่ียวทางธรรมชาตเิ พอ่ื กอ่ ให้เกดิ การพัฒนาปรบั ปรงุ จุดอ่อน เสรมิ จุดแข็ง และ
สรา้ งการเจรญิ เตบิ โตอย่างยั่งยนื ขอ้ มลู ในการวิจยั คร้งั น้ีรวบรวมจากการทบทวนเอกสาร การสำรวจภาคสนาม
การสมั ภาษณ์ และการประชมุ ระดมสมอง โดยสาระสำคัญของงานวจิ ัยชิ้นน้ีสามารถออกได้เปน็ 3 สว่ น คอื ผล
การประเมินระดับความเป็นมาตรฐานของอุทยานแหง่ ชาติสุเทพ-ปุย ผลการวเิ คราะห์จดุ แข็ง จุดอ่อน โอกาส
และอุปสรรคของแต่ละพื้นท่ี และกลลยุทธ์ระดับปฏฺบัติการด้านการท่องเที่ยวของพื้นที่ เนื่องจากพื้นท่ีใน
อทุ ยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย มีความแตกต่างกัน การศึกษาคร้ังน้ีจึงงได้เลือก 4 พ้ืนที่ ที่มีความแตกต่างกัน
เป็นพื้นท่ีตัวอย่างท่ีทำการศึกษา คือ น้ำตกแม่สา พระตำหนักภูพิงค์ราชนิเวศน์ และวัดพระธาตุดอยสุเทพ
วรวิหาร และหม่บู า้ นชาวเขาดอยปุย

การประเมินระดับความเปน็ มาตรฐานของอุทยานแห่งชาติดอยสเุ ทพ-ปยุ นั้น เป็นการประเมินโดยใช้
เกณฑ์ดัชนีวัดคุณภาพมาตรฐานแหล่งท่องเท่ียว ซึ่งจัดทำโดยโครงการศึกษาวิจัยการจัดการมนุษย์กับ
สิ่งแวดล้อมภาคเหนือ บัณฑิตวิยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ร่วมกับสถาบันส่ิงแวดล้อมไทย (ปี 2544) ซึ่ง
ประเด็นสำหรับการตรวจสอบมี 7 มิติ ประกอบด้วย ลักษณะทางกายภาพของแหล่งท่องเที่ยว การรักษา
คุณภาพส่ิงแวดล้อม เศรษฐกิจและสังคม ศิลปวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์และโบราณคดี คุณค่าทางการเรียนรู้
และการศึกษา และการบริหาร ผลการประเมินระบุว่าพื้นท่ีพระตำหนักภูพงค์ราชนิเวศน์ น้ำตกแม่สาและวัด
พระธาตุดอยสุเทพวรวหิ ารมีรัดบมาตรฐานอยู่ในเกณฑด์ ี โดยได้คะแนนมาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเทย่ี วรวม
เท่ากับรอ้ ยละ 70 67 และ 62 ตามลำดับ และหมบู่ ้านชาวเขาดอยปุยมีระดับมาตรฐานอยู่ในเกณฑ์ปานกลาง
และไดค้ ะแนนมาตรฐานคณุ ภาพแหล่งทอ่ งเทยี่ วรวมเท่ากบั ร้อยละ 52

ผลการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคของแต่ละพื้นท่ี พบว่าน้ำตกแม่สามีจุดแข็งคือ
เรื่องลักษณะทางกายภาพและความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติ จุดอ่อนคือการบริหารจัดการในช่วงนอก
ฤดูกาลท่องเที่ยว โอกาสคือช่ือเสียงและงบประมาณท่ีได้รบั สว่ นอปุ สรรคคือความเสี่ยงต่อการที่ระบบนิเวศน์
จะถูกรบกวนจากการท่องเที่ยว พระตำหนักภูพงค์ราชนิเวศน์มีจุดแข็งคือการบริหารโดยสำนักพระราชวัง
จุดอ่อนคือพื้นท่ีท่ีอยู่ภายนอกพระตำหนักมีปัญหาเร่ืองการจัดการขยะ โอกาสคือสภาพอากาศท่ีหนาวเย็น
แตกต่างจากพ้ืนราบ ทำใหเ้ พาะปลูกพืชเมอื งหนาวได้ และอุปสรรคคือความแตกตา่ งกันของการบรหิ ารจัดการ

165

ของพ้ืนท่ีในและนอกพระตำหนัก วัดพระธาตุดอยสุเทพ วรวิหารมีจุดแข็งคือการมีช่ือเสียงว่าเป็นวัด
คู่บ้านคู่เมืองของเชียงใหมแ่ ละมีศลิ ปะแบบล้านนา จุดอ่อนคือเรอื่ งการกำจัดขยะและการดแู ลสง่ิ ปลูกสร้างทั้ง
เก่าและใหม่ โอกาสคือการได้รับงบประมาณและเงินสนับสนุนจากภาครัฐและเอกชนอย่างเพียงพอ ส่วน
อุปสรรคคือการมีนักท่องเที่ยวจำนวนมากทำให้ยากต่อการควบคุม หมู่บ้านชาวเขาดอยปุยมีจุดแข็งคือ
วัฒนธรรมและวิถีชีวิตแบบดั้งเดิมของชนเผ่า จุดอ่อนคือความม่พร้อมของสาธารูปโภคและสาธารณูปการ
โอกาสคือการมีเอกลักษณ์ท้ังดา้ นวัฒนธรรมและวถิ คี วามเป็นอยู่ ส่วนอปุ สรรค คอื การขาดงบประมาณในการ
พัฒนาและอิทธิพลจากสังคมเมอื งท่ีทำใหว้ ถิ ีชีวติ แบบเดมิ เปล่ียนไป

กลยุทธ์ในการยกระดับมาตรฐานแหลง่ ท่องเท่ียวในการวิจัยคร้งั น้ีเป็นกลยทุ ธ์ท่ีมีความเหมาะสมท่ีจะ
ดำเนินการได้ทันที สามารถดำเนินการได้แล้วเสร็จภายในหน่ึงปีและแต่ละกิจกรรมนั้นควรดำเนินการอย่าง
ต่อเนื่องเพ่ือให้เกิดผลที่ย่ังยืนไปในระยะยาว โดยน้ำตกแม่สามีกลยุทธ์หลักคือการจัดการเพ่ือการอนุรักษ์
ส่ิงแวดล้อมและระบบนิเวศน์ พระตำหนักภูพิงค์ราชนิเวศน์มีกลยุทธ์หลักคือการจัดการเพ่ือการอนุรักษ์
สง่ิ แวดล้อมและระบบนิเวศน์โดยชุมชนมีส่วนร่วม วดั พระธาตุดอยสุเทพวรวิหารมีกลยุทธห์ ลักคือการอนรุ ักษ์
ศิลปวัฒนธรรม ให้คงเอกลักษณ์แบบล้านนาประกอบกับการอนุรักษ์สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและ
ส่ิงแวดล้อม และหมู่บ้านชาวเขาดอยปุยมีกลยุทธ์หลักคือการสืบทอดวัฒนธรรมและวิถีชีวิตด้ังเดิมและการ
อนุรกั ษส์ ภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ

Abstract
This research was aimed to evaluate the standard level of Doi Suthep-Pui Natural

National Park to develop standard upgrading strategies for natural tourist sites in Chiang Mai
province by using Doi Suthep –Pui Natural Park as a case study. Then, the research will br
presented to the organizations that were involved in natural tourism development in order
to improve weakness, support strenghts and develop sustainable growth. The information in
this research was collected by reviewing documents, field survey, interviewing and
brainstroming meeting. The mail content of this research could be devidaed into 3 parts;
standard level evaluation result of Doi Suthep-Pui Natural National Park, strength-weakness-
opportunities and treats assessment result of each selected areas and its tourism functional
level strategies. Since there were various types of areas within Doi Suyhep-Pui Natural
National Park, this research chose 4 different areas to be selected areas of study, the places
were Mae-Sa water falls, Bhubing Palace, Wat Phrathat Doi Suthep Rajavoravihara and hill
tribe village, Doi Pui.

The standard level evaluation of Doi Suthep-Pui Natural National Park was conducted
following the criteria of tourist sites quality standard index developed by Human nd
Environment Management Research Projects, Northern Territory, Graduated School, Chiang

166

Mai University and Thai Environmental Ibstitute (Year 2002). The assessment criteria consist
of 7 dimensions including physical appearance of the place, environmental protection,
economics and socials, arts and culture, history and archaeaology, values of learning and
management. The results showed that Bhubing Palace, Mae-Sa water falls and Wat Phrathat
Doi Suthep Rajavoravihara were in good level of standard with score 70%, 67% and 62%,
respectively. While hill tribe village, Doi Pui was in modeerate level of standard with score
52%.

The results of strengths-weakness-opportunities and treats assessment showed that
the strength of Mae-Sa water falls were its physical appearance and prosperous nature, the
weakness was the declining of management effectiveness in low season, the opportunities
were its reputation and sufficient budget, the treat was the vulnerable of nature. For
Blubbing Palace, its strength was that it was managed by the Palace Bureau, the weakness
was the garbage management problem outside the palace, the opportunities was the cooler
temperature that cold climate plants could grow and the threat was the different in
management of the area inside and outside the palace. Wat Phrathat Doi Suthep
Rajavoravihara’s strength was its reputation Chiang Mai’s highest respected temple with
Lanna style arts, the weakness were garbage management problem and the management of
new and old buildings, the opportunities was the sufficient budget from government and
private sectors and the threat was a high number of tourist that were difficult of control. The
hill tribe village, Doi Pui’s strength was its unique culture and ancient living style of the tribe,
the weakness was the insufficient and low quality of infrastructure and utilities, its
opportunities was the identities of both culture and life styles that attract tourists and its
threats were the lack of budget for development and the social influence that change the
tribe’s life style.

The strategies for upgrading natural tourist sites in this research were suitable to
immediately implement and could be finish within one year and each acactivities should be
conducted continously to create a sustainable results. The main strategy of Mae-Sa water
falls was management for protect and maintain environmental, while the main strategiess of
Bhubing Palace was also to protect and maintain environment byt needed to have local
peaple participation. The main strategies of Wat Phrathat Doi Suthep Rajavoravihara were to
maintain the Lanna identities of the temple together with protecting the environment. The
main strategies of hill tribe village, Doi Pui were to maintain the culture and ancient life style
and also to protect the nature.

167

การมสี ่วนรว่ มของชาวเขาเผา่ ม้งในการอนุรักษ์ทรพั ยากรปา่ ไม้
ในพนื้ ทีอ่ ทุ ยานแหง่ ชาติดอยสเุ ทพ – ปุย จังหวัดเชยี งใหม่

Hmong Hilltribe Participation in Forest Resource Conservation at Doi Suthep – Pui
National Park, Changwat Chiang Mai

โยธิน จงบรุ ี (2554)

บทคัดยอ่
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาสภาพทางเศรษฐกิจและสังคม ระดับการมีส่วนร่วมและ

เปรียบเทียบปัจจัยท่ีมีผลต่อการมีส่วนร่วมของชาวเขาเผ่าม้งในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ในพ้ืนที่อุทยาน
แห่งชาติดอยสุเทพ – ปุย อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างชาวเขาเผ่าม้งที่มีสภาพทางเศรษฐกิจและ
สังคมแตกต่างกัน ข้อมูลท่ีใช้ในการศึกษารวบรวมโดยใช้แบบสัมภาษณ์ไปสัมภาษณ์ชาวเขาเผ่าม้งที่ตั้ง
บ้านเรือนอยู่อาศัยในท้องท่ีหมู่ที่ 4 บ้านขุนช่างเค่ียน ตำบลช้างเผือก และหมู่ท่ี 11 บ้านดอยปุยตำบลสุเทพ
อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ รวมจำนวน 208 ราย วิธีวิเคราะห์ทางสถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐานใช้สถิติที
(t-test) และสถิติเอฟ (F-test) กำหนดนัยสำคัญทางสถิติไว้ท่ีระดับ .05 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม
คอมพิวเตอร์สำเรจ็ รูป

ผลการศึกษาพบว่า ชาวเขาเผ่าม้งตัวอย่างที่ทำการศึกษาส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุเฉลี่ย40.94 ปี
ไม่ได้เรียนหนังสือ มีจำนวนสมาชิกในครัวเรือนเฉล่ีย 6.52 คน มีอาชีพเกษตรกรรม (ปลูกพืชผัก/ผลไม้) เป็น
อาชีพหลัก ไม่มีอาชีพรอง มภี ูมิลำเนาต้ังบ้านเรอื นอยู่ดง้ั เดมิ ในหมู่บา้ น มีรายได้และรายจ่ายรวมของครวั เรือน
เฉลยี่ 97,062.50 บาทตอ่ ปี และ 84,411.06 บาทตอ่ ปี ตามลำดับ มีระยะเวลาการต้ังถนิ่ ฐานเฉล่ยี 33.97 ปี มี
ขนาดพื้นท่ีถือครองเฉลี่ย 10.83 ไร่ ส่วนใหญ่เป็นสมาชิกกลุ่มทางสังคม เคยได้รับการฝึกอบรม และเคยมี
ประสบการณ์เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ชาวเขาเผ่าม้งมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ใน
พื้นที่อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ – ปุย อำเภอเมือง จังหวัด เชียงใหม่ อยู่ในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ยระดับ
การมสี ่วนร่วม เทา่ กบั 2.72 ส่วนปัจจัยที่มีผลตอ่ การมสี ว่ นร่วมของชาวเขาเผ่าม้งในการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรปา่ ไม้
ในพ้ืนที่อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ – ปุย จังหวัดเชียงใหม่ ได้แก่ อาชีพหลัก การได้รับการฝึกอบรม และ
ความคนุ้ เคยกบั เจา้ หนา้ ท่ี

168

Abstract
The objective of this study were to determine socio-economic condition,

participation level and factors affecting Hmong hilltribe participation in forest resource
conservation at Doi Suthep - Pui National Park, Changwat Chiang Mai among the differents
socio - economic groups. The designed interviewing schedule was used for gathering the
information from 208 respondents who residing in Mue 4, Ban Khun Chang Kein, Tambon
hang Pheik and Mue 11, Ban Dai-Pui, Tambon Suthep, Amphoe Muang, Changwat Chiang Mai.
The hypothesis were tested by statistical software package for t-test and F-test with the
significant level of .05

The results were found that the most of the respondents were female with the
average age of 40.94 years, illiterate, the average number of household members was 6.25.
Their main occupation was agriculture (vegetables, planting fruit garden) and without
subsidiary occupation, their domiciles were in the present site, their average annual
household income and expenditure were 97,062.50 and 84,411.06 baht respectively. The
average resettled period was 33.97 years, their average size of land holding was 10.83 rais.
Most of the social group members, used to attend training course, having experience in
forest resource conservation and participating in forest resource conservation in the national
park at a moderate level with the average score of 2.72. Factors affecting participation in
forest resource conservation in the national park were main occupation, training course
attendance, and familiarity with the foresters.

169

การศึกษาการรับร้สู ภาพภมู ิทศั น์ของผู้มาเยอื นอทุ ยานแห่งชาติดอยสุเทพ – ปยุ
A Study on Landscape Perception of Visitors to Doi Suthep – Pui National Park.

อญั ชัญ ตัณฑเทศ (2554)

บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาการรับรู้สภาพภูมิทัศน์ของผู้มาเยือน เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผล

ต่อการรับรู้สภาพภูมิทัศน์ของผู้มาเยือน เพ่ือศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้สภาพภูมิทัศน์กับคุณภาพ
ประสบการณ์นันทนาการและความต้องการในการกลับมาเยือนพื้นท่ี และเพื่อนาเสนอแนวคิดในการอนุรักษ์
สภาพภูมิทัศน์ทางธรรมชาติในแหล่งนันทนาการหลักของอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย โดยผู้วิจัยได้เก็บ
รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามจากผู้มาเยือน จานวน 486 ชุด และการสารวจสภาพภูมิทัศน์จริงในพ้ืนท่ี
ผลการศึกษาการรับรู้สภาพภูมิทัศน์ของผู้มาเยอื น พบว่า ผู้มาเยอื นสว่ นใหญ่มคี วามเห็นว่า จดุ เด่น/เอกลักษณ์
ของอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ – ปุย คือ ความเป็นธรรมชาติ ความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติ ป่าไม้เมือง
หนาวและมนี ้าตกท่ีสวยงาม การรบั รู้สภาพภมู ิทัศนท์ างธรรมชาติมีคา่ เฉลี่ยคะแนนการรับร้มู ากท่สี ดุ ในประเด็น
ว่า แหลง่ นนั ทนาการมสี ภาพภมู ิอากาศท่สี ดชืน่ เหมาะสาหรับการพกั ผ่อนหย่อนใจ สว่ นการรบั ร้สู ภาพภมู ทิ ัศน์
ที่มนุษย์สร้างขึ้น มีค่าเฉลี่ยคะแนนการรับรู้มากที่สุดในประเด็นว่า จุดชมวิวมีการออกแบบเพ่ืออานวยความ
สะดวกด้านความปลอดภัยของผ้มู าเยือน ในส่วนของการทดสอบสมมติฐานเพื่อตอบคาถามการวิจัยพบว่า มีตัว
แปรทั้งสิน้ 7 ตวั แปรท่ีมอี ิทธิพลตอ่ การรบั รสู้ ภาพภูมิทัศน์ของผมู้ าเยือนอย่างมนี ัยสาคัญทางสถติ ิ โดยสามารถ
อธิบายความผันแปรในการรับรู้ได้ประมาณร้อยละ 36.2 (F=17.297; P-value=.000; R2=0.362) ปัจจัยที่มี
อิทธพิ ลมากท่สี ุด คือ ความรู้เกี่ยวกบั การจดั การอทุ ยานแห่งชาติ (Beta=-0.291; P-value=.000) และการรบั รู้
ต่อสภาพภูมิทศั น์มคี วามสมั พันธ์กบั คุณภาพประสบการณ์นันทนาการ ซ่ึงประกอบด้วยความพึงพอใจโดยรวม
ในการมาเยือนพื้นท่ี ความพึงพอใจต่อสภาพภูมิทัศน์ และประสบการณ์นันทนาการท่ีได้รับจากการเข้าร่วม
กจิ กรรม และความต้องการในการกลับมาเยือนอย่างมีนัยสาคัญทางสถติ ิ (r=.385, P-value=.000; r=.451,P-
value=.000; r=.477, P-value=.000; r=.266, P-value=.000 ตามลาดับ) และจากผลการสารวจสภาพภูมิ
ทัศน์ทั่วไปพร้อมทั้งประเมินศักยภาพของสภาพภูมิทัศน์และความเหมาะสม/กลมกลืนของ สิ่งอานวยความ
สะดวกที่ปรากฏในพ้ืนที่โดยรวมแล้ว พบว่าสภาพภูมิทัศน์ของอทุ ยานแห่งชาติดอยสเุ ทพ – ปยุ มีศกั ยภาพอยู่
ในระดับปานกลางและมีความเหมาะสม/กลมกลืนของสิ่งอานวยความสะดวกที่ปรากฏในพ้ืนท่ีโดยรวมอยู่ใน
ระดบั ปานกลางเชน่ กนั

170

Abstract
The objectives of this research were to study landscape perception of visitors to Doi

Suthep-Pui national park, to determine factors affecting the perception and relationship
between landscape perception, quality recreation experience, and need for revisit the
national park, and to develop a design concept for natural landscape conservation in major
recreation sites of Doi Suthep-Pui national park. Visitor survey by questionnaire was
conducted and 486 visitors participated in the survey. The researcher also conducted
landscape inventory at all major recreation sites within the park. The study results revealed
that most visitors thought that naturalness, richness of forest and beautiful waterfall were
the unique features of Doi Suthep-Pui. Among natural environment aspects of the park, the
majority of visitors rated nice and fresh weather with highest perception score while safety
area for viewing scenery was rated highest among man-made environment aspects of the
park. Result from hypothesis testing using multiple regression analysis shown that 7
independent variables significantly influenced landscape perception of park’s visitors and
accounted for 36.2 percent of variance in the perception (F=17.297; P-value=.000; R2=0.362)
The most influencing variable was knowledge in national park management (Beta=- 0.291; P-
value=.000). Correlation analysis found that landscape perception significantly correlated
with overall satisfaction in visiting the park, satisfaction toward landscape, recreation
experience gained from the visit, and need for revisit the park in the future (r=.385,
P-value=.000; r=.451, P-value=.000; r=.477, P-value=.000; r=.266, P-value=.000, respectively).
Finally, landscape inventory and analysis concluded that park’s landscape potential and
facilities suitability were moderate.

171

การตอบสนองตอ่ กฎระเบียบและมาตรการจัดการผ้ใู ชป้ ระโยชนด์ ้านนันทนาการ
ของผมู้ าเยือนอุทยานแหง่ ชาติดอยสุเทพ-ปยุ จังหวัดเชยี งใหม่

Responses toward Regulations and Recreational User Management Measures of Visitors
to Doi Suthep-Pui National Park, Chiang Mai Province

หทัยรตั น์ จันโทวาท (2554)

บทคดั ยอ่
การศึกษาคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้กฎระเบียบและมาตรการจัดการผู้ใช้ประโยชน์ด้าน

นันทนาการในอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ - ปุย ของผู้มาเยือน เพ่ือศึกษาพฤติกรรมการตอบสนองต่อ
กฎระเบียบ และมาตรการจัดการผู้ใช้ประโยชน์ด้านนันทนาการของผู้มาเยือนอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย
และเพ่ือศึกษาปัจจัยท่มี ีอิทธิพลต่อการตอบสนองต่อกฎระเบียบของผู้มาเยือนอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย
โดยเก็บข้อมูลจากผู้มาเยือนอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ - ปุย จำนวน 420 คน ด้วยแบบสอบถาม และแบบ
สังเกตพฤติกรรมของผู้มาเยือน และทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การวิเคราะห์ปัจจัย การ
วิเคราะห์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์ถดถอยพหุผลการศึกษาพบว่า ผู้มาเยือนส่วนใหญ่ท้ังชาวไทยและ
ชาวต่างชาติมีค่าเฉล่ียรวมการรับรู้กฎระเบียบและมาตรการจัดการผู้ใช้ประโยชน์ด้านนันทนาการของผู้มา
เยือนอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ - ปยุ อยใู่ นระดบั ปานกลาง และมีพฤตกิ รรมการตอบสนองต่อกฎระเบียบและ
มาตรการจัดการผใู้ ช้ประโยชนด์ า้ นนันทนาการคอ่ นไปทางบวก โดยผลการวิเคราะห์สหสัมพันธร์ ะหว่างตัวแปร
อิสระ 17 ตัวกับการตอบสนองต่อกฎระเบียบและมาตรการจัดการผู้ใช้ประโยชน์ด้านนันทนาการพบว่ามีตัว
แปรอสิ ระจำนวน 6 ตัวแปรคือ ความรู้เกี่ยวกับกฎระเบยี บและมาตรการจัดการผู้ใช้ประโยชน์ความรเู้ กย่ี วกับ
ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม ภมู ิลำเนา แรงจูงใจด้านการไดพ้ ัฒนาทักษะทางกายภาพ การผจญภยั และความท้า
ทาย ระยะเวลาในการประกอบกิจกรรมนันทนาการ และการบังคับใช้กฎระเบียบ มีความสัมพันธ์กับการ
ตอบสนองต่อกฎระเบียบและมาตรการจัดการผู้ใช้ประโยชน์ด้านนันทนาการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r =
0.312,p-value = 0.01; r = 0.221, p-value = 0.01; r = -0.219, p-value = 0.01; r = -0.109, p-value
= 0.05; r = 0.138,p-value = 0.01 และ r = 0.213, p-value = 0.01 ตามลำดับ) เม่ือทดสอบความมี
อทิ ธิพลของตัวแปรอสิ ระท้ัง 17 ตัว กบั ตัวแปรตามคือ การตอบสนองตอ่ กฎระเบียบและมาตรการจัดการผูใ้ ช้
ประโยชน์ด้านนันทนาการ ด้วยวิธีการวิเคราะห์ถดถอยพหุ พบว่าตัวแปรอิสระทุกตัวรวมกันมีอิทธิพลต่อตัว
แปรตามอย่างมีนัยสำคัญทางสถติ ิ โดยปัจจัยดังกลา่ วส่งผลให้เกิดการแปรผันในตัวแปรตามรอ้ ยละ 21.70 (F =
6.536; p-value = 0.000; multiple r = 0.465; r2 =0.217) โดยตัวแปรท่ีมีอิทธิพลมากท่ีสุดคือ การบังคับ
ใชก้ ฎระเบยี บ (beta = 0.255; p-value = 0.000)

172

Abstract
The objectives of this research were to study the perception and responses toward

regulations and recreational user management measures of visitors to Doi Suthep-Pui
National Park and to determine factors influencing those responses. A visitor survey by
questionnaire was conducted and 420 visitors participated in the survey. Observation
methods were also employed in order to obtain detailed information on visitors’ behavior.
The survey data were analyzed using descriptive statistics, factor analysis, correlation
analysis, and multiple regression analysis. The study results revealed that the average score
of visitor perception toward the regulations and recreational user management measures
was moderate and most visitors responded positively to the regulations and management
measures. Correlation analysis found 6 independent variables from 17 variables significantly
correlated to visitors’ responses toward regulations and recreational management measures.
These were: knowledge toward the regulations and management measures (r = 0.312,
pvalue = 0.01); knowledge toward environmental impacts from recreational uses of natural
areas (r = 0.221, p-value = 0.01); users’ residence (r = -0.219, p-value = 0.01); motivation for
physical development, challenges, and adventure (r = -0.109; p-value = 0.05); time period

engaging in recreational activities (r = 0.138, p-value = 0.01); and park regulation
enforcement (r = 0.213, p-value = 0.01). However, multiple regression analysis found only

five independent variables significantly influenced the responses of visitors toward
regulations and recreational management measures, and accounted for 21.70% of the
variance in the responses (F = 6.536, p-value = 0.000, r2 = 0.217). The variable with the most

influence was park regulation enforcement (beta = 0.255, p-value = 0.000).

173

การประยุกต์แบบจำลอง Penman, Penman – Monteith และ Rutter เพอ่ื ประมาณค่าการคายระเหย
นำ้ ของปา่ ดิบเขา บรเิ วณลุ่มนำ้ หว้ ยคอกมา้ ดอยปุย จังหวัดเชียงใหม่

Application of Penman, Penman – Monteith and Rutter Model for Estimating
Evapotranspiration of Hill Evergreen Forest at Huai Kog ma Watershed, Doi Pui,

Chiang Mai Province.

วภิ ารตั น์ ทองเดจ็ (2555)

บทคัดยอ่
การศึกษานี้เป็นการประยุกต์แบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพ่ือรวบรวมแบบจำลอง Penman,

Penman – Monteith และ Rutter ประมาณค่าการคายระเหยน้ำของป่าดิบเขา บริเวณลุ่มน้ำห้วย คอกม้า
ดอยปุย จังหวัดเชียงใหม่ และนำค่าที่ได้เปรียบเทียบกับค่าที่วัดด้วยวิธี Eddy – Correlation โดยใช้ค่า
ประสิทธิภาพในการจำลองแบบ (model efficiency; NSE) ของ Nash and Sutclife (1970) ในการ
ปรับเทียบและทวนสอบความถูกต้องของแบบจำลอง ซึง่ ผลการศึกษาสรุปไดด้ ังน้ี

การตรวจสอบความถูกต้องของแบบจำลอง (NSE) น้ำพืชยึดราย 10 นาที พบว่า มีค่าประสิทธิภาพ
ของแบบจำลองใกล้เคียงกับราย 30 นาที คือ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.8858 และ 0.8890 ตามลำดับ ส่วนการ
ตรวจสอบความถูกต้องของแบบจำลองการคายน้ำของพืช พบว่า ราย 10 นาที มีค่าประสิทธิภาพของ
แบบจำลองเฉล่ียสูงกว่าราย 30 นาที คือ มีคา่ เฉลี่ยเท่ากับ 0.3965 และ 0.3181 ตามลำดับ ส่วนผลการทวน
สอบแบบจำลองกระบวนการน้ำพืชยึดราย 10 นาที และ 30 นาที พบวา่ ค่าประสิทธิภาพของการจำลองแบบ
ต่ำกว่าราย 30 นาที มีอยู่ระหว่าง 0.5138 – 0.8981 หรือมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.7661 และ มีค่าอยู่ระหว่าง
0.8654 – 0.9559 หรือมีคา่ เฉล่ียเทา่ กับ 0.9141 ตามลำดบั สว่ นผลการทวนสอบความถกู ต้องของแบบจำลอง
การคายน้ำของราย 10 นาที และ 30 นาที พบว่า แบบจำลองราย 30 นาที มีความถูกต้องมากกว่าราย 10
นาที โดยมีค่าประสิทธิภาพในการจำลองแบบอยรู่ ะหวา่ ง 0.1395 – 0.5361 หรอื มคี ่าเฉล่ีย 0.3596 และมีค่า
อยู่ระหว่าง 0.2066 – 0.4916 หรือมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 0.3433 ตามลำดับ การคายระเหยน้ำท่ีประมาณได้จาก

แบบจำลองจากข้อมูลปี พ.ศ. 2551 ราย 10 นาที มคี ่าเท่ากับ 1,261.97 มลิ ลเิ มตรตอ่ ปี หรือมีค่าเฉลย่ี รายวัน
อยรู่ ะหว่าง 2.82 – 4.52 มิลลิเมตรต่อวัน สว่ นข้อมูลราย 30 นาที มีค่าเท่ากับ 1,024.39 มิลลเิ มตรต่อปี หรือ

มีค่าเฉลีย่ รายวันอย่รู ะหว่าง 1.86 – 4.63 มิลลเิ มตรต่อวัน

174

Abstract
This study was the application of mathematical model coupling the Penman,

Penman – Monteith and Rutter's model to estimate evapotranspiration of a hill evergreen
forest at Huai Kong Ma, Doipui, Chieng Mai province, northern of Thailand. The results
obtained from the model were compared with that measured from the Eddy-Correlation
method. Nash and Sutclife's parameter showing efficiency of the model (NSE) was employed
for calibration and verification of the model. The results were summarized as follows.

The accuracy of model calibration showed that rainfall intercepted water derived
from the Rutter's model based on 10 minute data was equal to 0.8858 which was
approximate to using 30 minute that was equal to 0.8890. Average NSE of transpiration
estimation based on Penman, Penman – Monteith model using 10 minute data was equal to
0.3965 which was higher than using 30 minute (0.3181). Model verification has shown lower
accuracy both for rainfall interception and transpiration estimation. NSE using 10 minute data
was around 0.5130 – 0.8981 or 0.7661 by average which was lower than using 30 minute
data that was equal to 0.8654 – 0.9559 or 0.9141 by average. Verification of transpiration
model shows similar result as that from the interception model. NSE using 30 minute data
was around 0.1395 – 0.5361 or equal to 0.3596 by average which was higher than the result
using 10 minute data that NSE was around 0.266 – 0.4916 or 0.3433 by average. Estimated
evapotranspiration of 2008 from the model based on 10 minute data is equal to 1,261.97
mm/year or 2.82 – 4.52 mm/day while using 30 minute was equal to 1,024.39 mm/year or
1.86 – 4.63 mm/day.

175

แนวทางการใช้ประโยชนท์ ดี่ ินเชิงนเิ วศบรเิ วณพนื้ ทเี่ ชื่อมต่อเขตอุทยานแหง่ ชาตดิ อยสเุ ทพ – ปยุ อำเภอ
เมืองและอำเภอหางดง จงั หวดั เชียงใหม่

Guideline for Ecological Landuse the Adjacent Area to Doi Suthep – Pui National Park,
Amphoe Mueang and Amphoe Hang Dong Chiang Mai Province.

ปัทม์ ญาติมาก (2555)

บทคัดย่อ
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาลักษณะและแนวโน้มการเปล่ียนแปลงการใช้ประโยชน์ท่ีดิน

บริเวณพ้ืนที่เช่ือมต่อกับเขตอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ – ปุย ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงการ
ใช้ประโยชน์ที่ดินซ่ึงส่งผลกระทบต่อศักยภาพและข้อจำกัดในการพัฒนาพ้ืนท่ี เพื่อเสนอแนวทางการใช้
ประโยชน์ที่ดินเชิงนิเวศและมาตรการในการอนุรักษ์และพัฒนาท่ีเหมาะสมกับศักยภาพของพ้ืนที่ และ
สอดคลอ้ งกบั วิถีชวี ิตชุมชน จากการศึกษาเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ท่ีดนิ ปี พ.ศ. 2545 –
2553 พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ท่ีดินจำนวน 3,784 ไร่ คิดเป็น ร้อยละ 26.30 ของพื้นท่ี
ท้ังหมด การใช้ประโยชน์ที่ดินมีสัดส่วนเพิ่มขึน้ มากที่สุด ได้แก่ พื้นท่ีชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง 3,418 ไร่ คิดเป็น
ร้อยละ 90.32 ในกลุ่มท่ีมีสัดส่วนพ้ืนที่ลดลงมากท่ีสุด ได้แก่ พื้นท่ีเกษตรกรรม 3,418 ไร่ คิดเป็น ร้อยละ
83.45 ของพ้ืนท่ีเปล่ียนแปลงท้ังหมด และปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลง ได้แก่ การมีระยะทางเข้าถึง
ใกล้กับแหล่งความเจริญของเมอื ง โครงการพัฒนาจากภาครฐั และการขยายตัวของธุรกจิ ท่องเที่ยวและบริการ
โดยเฉพาะพื้นท่เี มืองเชียงใหม่ซง่ึ ติดกับเขตอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ – ปุย และพ้นื ท่ีชายขอบของเมืองซ่ึงไว
ต่อการเปล่ียนแปลง ปัจจบุ ันสถานการณ์ดา้ นประโยชน์ที่ดินเมืองมีแนวโน้มขยายตัวรกุ ล้ำพ้ืนท่ีเขตป่าอนุรกั ษ์
และส่งผลกระทบต่อการสูญเสียพื้นที่เกษตรกรรม คุณภาพสิ่งแวดล้อมเสื่อมสภาพลง และการใช้ประโยชน์
ท่ดี นิ ไม่สอดคล้องกับศักยภาพหรือโครงสร้างพื้นฐานที่ภาครฐั ได้ลงทุนไว้แลว้ การขยายตัวของชุมชนเมืองแบบ
กระจัดกระจายมีความหนาแน่นตามเส้นทางคมนาคมสายหลักและโครงการพัฒนาของภาครัฐ โดยมีทิศ
ทางการขยายตัวของเมืองสู่พ้ืนที่ชานเมืองด้านทิศใต้ของเมืองเชียงใหม่ อีกทั้งปัจจุบันยังไม่มีการกำหนดพื้นท่ี
กันชน เพื่อทำหน้าท่ีป้องกันผลกระทบท่ีจะเกิดขึ้นกับพื้นท่ีดงั กล่าวหรือแม้แต่การรักษาแถบกันชนสีเขียว เพ่ือ
การป้องกันการขยายตัวของเมือง ยังไม่มีความชัดเจนในแนวทางและรปู แบบท่ีจะนำไปใช้อย่างเป็นรูปธรรม
แต่พบว่ายังมีกิจกรรมการใช้ประโยชน์พื้นที่ซ่ึงสอดคล้องกับศักยภาพและมีความเป็นไปได้ท่ีจะกำหนดแนว
ทางการอนรุ ักษ์และการพฒั นาโดยสอดคล้องกบั แนวคิดการจดั การพืน้ ที่กนั ชน การใช้ประโยชน์ท่ีดินเชิงนิเวศ
ดว้ ยการกำหนด 1) พ้นื ท่ีสงวน 2) พืน้ ที่อนุรกั ษ์ ซงึ่ เป็นพน้ื ท่กี ันชนภายในพน้ื ที่อนุรกั ษ์ปา่ ไม้โดยมกี ารจำกัดการ
ใช้ทรัพยากร ห้ามตั้งชุมชน มีการควบคุมการใช้สอยภายใต้ข้อกำหนดของอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ – ปุย
สง่ เสรมิ การทำเกษตรกรรมแบบยัง่ ยืน เช่น วนเกษตร การจัดการป่าชุมชน สง่ เสรมิ การท่องเทย่ี วเชงิ นิเวศ และ
ในส่วนของการกำหนดพื้นที่กันชนภายนอกพื้นที่อนุรักษ์ให้เป็น 3) พ้ืนที่บริการโดยส่งเสริมการใช้ท่ีดินแบบ
ผสมผสาน อาคารสิ่งก่อสร้างท่ีคำนึงถึงส่ิงแวดล้อม กำหนดขอบเขตการเติบโตของเมือง ปกป้องและรักษา

176

ความต่อเน่ืองของพน้ื ท่กี ันชนสีเขียวระหว่างพ้ืนท่ีป่าอนุรักษ์ พืน้ ที่เมอื ง พ้ืนท่ีชนบทชานเมือง โดยกำหนดให้มี
การพัฒนาพ้ืนที่เฉพาะพ้ืนที่หรอื พื้นทยี่ ุทธศาสตร์ซึ่งอยู่ในกรอบการวางผังเมืองรวมเมืองเชียงใหม่ผสานความ
ร่วมมอื ท้งั ในส่วนของนโยบายภาครัฐ ศกึ ษาศักยภาพของพ้ืนที่ และคำนงึ ถึงความต้องการของชมุ ชนเปน็ สำคญั

Abstract
The aims of this study are to investigate the quality and patterns of the land use

change in areas that bored on Doi Suthep-Pui National Park, to study factors that influence
those changes and their effects on the potential and limitation for development, and to
suggest guidelines for ecological land usage, including preventative measures and the
appropriateness of the potential development of such areas in accordance with the needs
of those living within the community. By comparing the changes in the land use from 2002
to 2010, the study found that the change is 3,784 rai, or 26.30 percent of the entire area.
The largest increase is 3,148 rai of community and building areas (or 90.32 percent). The
largest decrease is 3,418 rai of agricultural area. Moreover, factors that influence such
changes are the proximity to urban growth, the government's development projects, and the
expansion of tourism and service businesses. Chiang Mai, especially the area in close
proximity to Doi Suthep-Pui National Park, is sensitive area. At present, the pattern of land
use for one's own benefit has encroached on the Doi Suthep-Pui National Park area, the
encroachment has effects on the agricultural areas and quality of the environment
degenerate. Further, the land usage does not conform to the potential or infrastructure that
the government has envisioned and funded. In addition, rapid urban expansion of the
population has been identified around the major transportation routes and the
government's development projects. The direction of this expansion is moving from the city
itself to the southern suburbs of Chiang Mai. Furthermore, there are currently no buffer
areas to allow for protection against these harmful effects upon conservation areas. Even
with the maintenance of a green belt to prevent and control the growth of the city, there
are no clear and substantial guidelines in place. On the other hand, it has been found that
there are activities for land usage that are potentially suitable while working within the
guidelines for conservation and development that are in line with the concept of buffer
zone management, and ecological land use by determining 1) preserved area 2) conserved
area is buffer zone inside protected area of the park by fixing resource usage, preventing the
encroachment of communities, using control under the National Park rules, supporting
sustainable agriculture, Additionally, it is necessary to necessary to support ecotourism and

177

outside protected area by determining 3 ) service area promoting combined land use,
considering the environment throughout construction and determining the boundaries of
urban growth. Therefore, it is critical to include, protect and green belt corridor and other
such areas between the conservation areas, city and suburban areas where the
comprehensive plan could have damaging effects on the specific goals of development
strategies, cooperation and integration in to government policies is necessary, the potential
of the region and consider the needs of the community.

178

ผลกระทบจากการใช้ที่ดนิ ประเภทตา่ ง ๆ ต่อสมบัติทางกายภาพของนำ้ บรเิ วณดอยปยุ เชยี งใหม่
Impact of Various Land Use Categories on Physical Properties of Water
at Doi Pui, Chiangmai

ธีรศกั ด์ิ บุญชดู วง (2526)

บทคดั ย่อ
การศึกษาผลกระทบของการใช้ประโยชน์ท่ีดินท่ีมีต่อสมบัติทางกายภาพของน้ำในสภาพการใช้

ประโยชน์ต่าง ๆ คือ ป่าดิบเขาธรรมชาติ, สวนท้อ และหมู่บ้านชาวเขาเผ่าแม้วในบริเวณดอยปุยจังหวัด
เชียงใหม่ โดยมวี ัตถุประสงค์เพื่อทำการวเิ คราะห์สมบัติทางกายภาพในแงข่ องความข่นุ , สี, ความเป็นกรดเป็น
ดา่ ง, อุณหภูมิ, ความกระด้างและการนำกระแสไฟฟ้าของน้ำท่ีเป็นผลมาจากการใช้ประโยชน์ในสภาพตา่ ง ๆ
โดยได้ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลทุก ๆ สัปดาห์ที่สองของเดือน ตั้งแต่ เดือนเมษายน 2522 จนถึงเดือน
มีนาคม 2523 รวม 12 เดอื น ผลการศึกษาปรากฏว่าความขนุ่ และสขี องน้ำจากพ้นื ที่ลุ่มนำ้ หมู่บ้านชาวเขา
เผา่ แมว้ มีค่าสงู ท่ีสดุ และมีความผันแปรในแต่ละเดือนมาก โดยจะผนั แปรไปตามปริมาณน้ำฝนในแต่ละเดือน
อยา่ งเห็นได้ชัด รองลงมาคือ น้ำจากพ้ืนท่ีลมุ่ น้ำสวนทอ้ และปา่ ดิบเขาธรรมชาติ โดยมีคา่ ความขุ่นโดยเฉล่ียของ
น้ำ 13.2, 6.9 และ 1.3 JTU. และค่าสีเฉลี่ยของน้ำ 99.83, 57.08 และ 22.67 Units ตามลำดับ
ทงั้ นเี้ นื่องจากในหมู่บา้ นชาวเขาเผา่ แม้วมีปริมาณสิ่งปกคลุมดนิ และอินทรียวัตถุในดินน้อยกว่าในพ้ืนทีส่ วนท้อ
และป่าดบิ เขาธรรมชาติ ทง้ั ยังมกี จิ กรรมของมนุษย์ในพื้นท่ีแห่งนี้มากกวา่ พืน้ ท่แี ห่งอ่ืน จงึ ทำให้เกิดสิ่งเจอื ปนใน
น้ำแลว้ กอ่ ให้เกิดความขุ่นและสีมากกวา่ ในพ้นื ทสี่ วนท้อและป่าดิบเขาธรรมชาติ

ความเป็นกรดเป็นด่างของน้ำจากทั้งสามสภาพพ้ืนท่ีการใช้ประโยชน์ทด่ี ินไม่เปลี่ยนแปลงมากนัก คือ
ผนั แปรอยรู่ ะหวา่ ง 6.00 – 7.22 แตอ่ ย่างไรก็ดปี รากฏว่าน้ำจากหมูบ่ า้ นชาวเขาเผ่าแม้วมคี วามเป็นกรดเป็น
ด่างโดยเฉลี่ยต่ำกว่าในพ้ืนทป่ี ่าดิบเขาธรรมชาติ และพ้ืนท่ีสวนท้อ คือ 6.46, 6.79 และ 6.95 ตามลำดับ ทั้งนี้
น่าจะเนือ่ งมาจากการพดั พาของสารอินทรยี จ์ ากกิจกรรมของมนษุ ยแ์ ละสตั ว์เลี้ยง และกจิ กรรมของจลุ นิ ทรีย์ใน
นำ้ ซึ่งมีผลทำให้ความเป็นกรดเป็นด่างของน้ำมีค่าต่ำลง อนึ่ง การจุดไหมเ้ ผาปา่ ทเ่ี กิดข้ึนในพน้ื ที่สวนท้อและป่า
ดิบเขาธรรมชาตกิ เ็ ป็นอกี เหตหุ นง่ึ ทที่ ำใหค้ วามเป็นกรดเป็นด่างเพ่มิ ขน้ึ ไดบ้ า้ ง

สำหรับอุณหภูมิของน้ำจากพ้ืนที่ลุ่มน้ำท้ังสามสภาพ การใช้ประโยชน์ที่ดินจะมีค่ าสูงสุดในเดือน
พฤษภาคม และตำ่ สดุ ในกุมภาพันธ์ โดยอณุ หภูมิเฉลีย่ ของน้ำจากพื้นทลี่ ุ่มน้ำหมู่บา้ นชาวเขาเผ่าแม้วจะสูงกว่า
พื้นที่ลุ่มน้ำป่าดิบเขาธรรมชาติ และพื้นที่ลุ่มน้ำสวนท้อ คือ 19.7, 19.0 และ 18.7 องศาเซลเซียส
ตามลำดบั ทง้ั น้เี นือ่ งจากกจิ กรรมในการใชป้ ระโยชน์พืน้ ทแี่ ละกิจกรรมของจลุ ินทรีย์ในน้ำ สำหรับความผันแปร
ของอุณหภมู ิของน้ำในแต่ละเดือนจะผนั แปรไปตามอุณหภูมขิ องอากาศและสภาพการปกคลุมของพชื ปา่ ไม้ ถ้า
มพี ชื คลุมดินมากก็จะทำใหอ้ ณุ หภมู ิเปลยี่ นแปลงไปไดน้ อ้ ย และตรงกนั ข้ามถา้ พืชคลุมดินน้อยอุณหภมู ิของนำ้ ก็

179

เปลี่ยนแปลงได้มาก ในการนี้จึงปรากฏว่าในพ้ืนที่ป่าดิบเขาธรรมชาติมีความผันแปรน้อยกว่าในพื้นท่ีสวนท้อ
และหมู่บา้ นชาวเขาเผา่ แม้ว

คา่ ความกระด้างของน้ำและค่าการนำกระแสไฟฟ้าของน้ำจะมีแนวโน้มไปดว้ ยกนั คือ ถ้าหากมีความ
กระด้างมากการนำกระแสไฟฟ้าของนำ้ จะมากด้วย สำหรับสภาพการใชป้ ระโยชนท์ ี่ดนิ ทัง้ สามอย่างนั้นปรากฏ
ว่าในพ้ืนท่ีลุ่มน้ำสวนท้อจะมีค่าเฉล่ียมากกว่าในพ้ืนทล่ี ุ่มน้ำหม่บู ้านชาวเขาเผ่าแม้ว และป่าดิบเขาธรรมชาตโิ ดย
มคี ่าความกระด้างเฉลี่ย 147.26, 97.66 และ 78.75 ppm CaCO3 และค่าการนำกระแสไฟฟ้าเฉลี่ย
0.126, 0.084 และ 0.036 mmho/cm ตามลำดบั ท้ังน้นี ่าจะเนื่องมาจากการใช้ประโยชน์พน้ื ท่ี คือเม่ือ
เป็นปา่ ธรรมชาติการไหลของน้ำลงสู่ลำธารจะเป็นนำ้ ใต้ดิน แทบจะไม่มีการไหลบ่าหน้าดนิ เลย การชะลา้ งพวก
แคลเซียมคาร์บอเนต และแมกนเี ซียมคาร์บอเนต ลงส่ลู ำนำ้ จึงมีนอ้ ยและเม่ือเปลี่ยนสภาพป่าไปเป็นที่อยู่อาศัย
การไหลของน้ำก็จะเกิดในลักษณะของน้ำไหลบ่าหน้าดินเป็นส่วนใหญ่การชะล้างพวกแคลเซียมคาร์บอเนต
และแมกนีเซียมคาร์บอเนตลงสู่ลำน้ำมากข้ึน และมากยิ่งขึ้นเม่ือเปล่ียนสภาพป่าไปเป็นพ้ืนท่ีเกษตรกรรมทำ
สวนท้อ เพราะทำให้เกิดท้ังน้ำไหลบ่าหน้าดินและใต้ดิน การชะล้างจึงมีมาก สำหรับความผันแปรของความ
กระดา้ งและการนำกระแสไฟฟ้าของน้ำในแต่ละเดอื นจะผันแปรไปตามปรมิ าณฝน โดยจะมีค่าสูงภายหลงั จาก
เดือนท่ีมีฝนตกหนกั

คุณภาพของน้ำในลำธารทางด้านกายภาพท่ีเก่ียวกับความขุ่น สี ความเป็นกรดเป็นด่าง อุณหภูมิ
ความกระด้าง และการนำกระแสไฟฟ้า โดยสรปุ แล้วในพ้ืนท่ปี ่าดิบเขาธรรมชาติ น้ำมีคุณภาพได้มาตรฐานเพ่ือ
ใช้ในการบริโภค สำหรับในพ้ืนที่สวนท้อน้ำมีคุณภาพต่ำกว่ามาตรฐานเล็กน้อย จำเป็นท่ีจะต้องกักเก็บน้ำไว้
เพื่อให้ตกตะกอนระยะหนึ่งก่อนท่ีจะนำไปบริโภค ส่วนในพื้นที่หมู่บ้านชาวเขาเผ่าแม้วน้ำมีคุณภาพต่ำกว่า
มาตรฐานไม่เหมาะทจ่ี ะใชใ้ นการบริโภค แตน่ ำ้ จากทั้งสามสภาพการใชป้ ระโยชน์ที่ดินยังสามารถใช้ในการเล้ียง
สัตวแ์ ละการชลประธานเพื่อการเพาะปลกู ได้

ผลการศึกษาช้ีให้เห็นว่าการเปล่ียนแปลงสภาพพื้นที่ลุ่มน้ำจากป่าดิบเขาธรรมชาติ เป็นพื้นท่ี
เกษตรกรรมทำสวนทอ้ และแหลง่ ท่ีอย่อู าศยั ก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพของน้ำทางด้านกายภาพอย่างเห็น
ได้ชัด ดังน้ันพื้นที่ต้นน้ำลำธารบนภูเขาสูงท่ีมีป่าดิบเขาธรรมชาติปกคลุมจึงควรอย่างยิ่งที่จะต้องอนุรักษ์ไว้
เพ่อื ให้เป็นแหลง่ น้ำทีม่ ีคุณภาพดี และสามารถนำไปใชป้ ระโยชนใ์ นทุก ๆ ทางได้ตลอดไป

180

Abstract
The impact study of land use categories on physical properties of water was

conducted at Doi Pui Chiangmai in the watershed areas of hill-evergreen forest, wild peach
orchard, and Mao hill-tribe village. Stream water was collected every second week of the
month during the period of April 1979 through March 1980. The physical properties of water
were separately analyzed color, turbidity, pH, temperature hardness, and electrical
conductivity.

The results found that water color was quantified the highest value at Mao hill-tribe
village 99.83 units and varied evidently with monthly rainfall, wild peach orchard 57.08 units
and hill-evergreen forest 22.67 units the least. Turbidity also found the same trend of water
of water color, Mao hill-tribe village was the highest value (1 3 .2 JTU), and hill-evergreen
forest (1.3 JTU) the least. It was reasoned that less plant cover and organic matter as well as
more human activities in the Mao hill-tribe village than the other types of land use would
cause higher values of color and turbidity in the stream water.

pH of water found in the range of 6.00 to 7.22 with average value of Mao hill-tribe
village at 6.46, hill-evergreen forest at 6.79 and wild peach orchard at 6.95. Wash out of
waste materials from human and animal activities as well as micro-organisms would cause
high acidity of stream water. Also, forest fire would another reason of high acidity in the
stream water of hill-evergreen forest and wild peach orchard areas.

Water temperature of all land use patterns found the maximum in and the minimum
in February with the average value in Mao hill-tribe village, hill-evergreen forest and wild
peach orchard 19.7, 19.9 and 18.7 ๐ c respectively. Land use and micro-organism activities
would be the cause of temperature fluctuation as well as air temperature and inversely with
the percentage of plant cover.

Hardness and electrical conductivity of water showed the same trend of variation.
The results of analysis for hardness quality of water found the maximum in wild peach
orchard watershed (147.26 ppm CaCO3) while values found in Mao hill-tribe village and hill-
evergreen forest were 97.660 and 78.75 ppm CaCO3, respectively. In the same manner,
electrical conductivity found 0.126, 0.084 and 0.036 mmho/cm in the wild peach orchard,
hill-tribe village, and hill-evergreen forest, respectively. No surface flow and small parts of
waste washes in to the stream water in the hill-evergreen forest would cause less hardness
and electrical conductivity than other two land use types. However, values of hardness and
electrical conductivity will vary directly of the amount of rainfall.

181

Summary speaking, physical properties of water in terms of turbidity, color, pH,
temperature, hardness and electrical conductivity in the hill-evergreen forest would be on
standard. But stream water in the wild peach orchard was slightly lower standard, deposition
of suspended sediment is recommended before using the water. Unfortunately, stream
water of Moa hill-tribe village was lowering standard and not suitable to use. However,
stream water of all land use types could be used for raising the animals and irrigation for
cultivating crops.

The investigation was pointed out that changing the hill-evergreen forest to be
another land use types such as wild peach orchard and human settlement impacted
evidently on physical properties of stream water. Therefore, protection of highland
watershed with dense forest cover is very necessary to conserve land in order to contribute
good water quality for any purposes of using.

182

การตั้งตวั ของพนั ธุไ์ มบ้ ริเวณแนวรอยต่อปา่ ดบิ เขาระดับตำ่ อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปยุ
จงั หวัดเชยี งใหม่

Establishment of Plant Species along the Ecotone of Lower Montane Evergreen Forest
at Doi Suthep–Pui National Park, Chiang Mai Province.

สุธรี ะ เหมิ ฮกึ (2557)

บทคัดย่อ
การศึกษาการต้ังตัวของพันธุ์ไม้บริเวณแนวรอยต่อป่าดิบเขาระดับต่ำ ดำเนินการในพื้นท่ีอุทยาน

แห่งชาตดิ อยสุเทพ – ปยุ จังหวัดเชียงใหม่ มีวตั ถุประสงค์เพ่อื ศกึ ษาแนวทางการสบื พันธุข์ องพันธ์ุไม้ตามการ
เปล่ียนแปลงของสภาพภูมิอากาศบริเวณแนวรอยต่อป่า โดยวางแปลงถาวรแบบแถบ ขนาด 30 เมตร x 600
เมตร ตั้งแต่ระดับความสูง 900 จนถึง 1,100 เมตร จากระดับน้ำทะเล แบ่งแปลงย่อยขนาด 10 x 10 เมตร
และขนาด 1 x 1 เมตร เพ่อื สำรวจชนดิ พันธไ์ุ ม้ใหญ่ และกล้าไม้ ตามลำดบั (จำนวน 180 แปลงในแตล่ ะขนาด)
พร้อมท้ังติดตามพลวัตกล้าไม้ต่อการเปล่ียนแปลงของปัจจัยแวดล้อม คอื ความชื้นดิน อุณหภูมิ และความเข้ม
แสง ทุก ๆ เดอื น ระหว่างปี พ.ศ. 2555 – 2556

ผลการศึกษา พบชนิดพันธ์ุไมท้ ้ังหมด 55 วงศ์ จาก 99 สกลุ 141 ชนิด แยกเป็นพันธไ์ุ มใ้ นปา่ เต็งรัง
จำนวน 34 วงศ์ 57 สกุล 69 ชนิด และป่าดิบเขาระดับต่ำ จำนวน 48 วงศ์ 86 สกุล 118 ชนิด การกระจาย
ของต้นไม้ตามขนาดช้ันเส้นผ่านศูนย์กลาง พบว่า มีแนวโน้มการเพิ่มข้ึนแบบชี้กำลังเชิงลบท้ังสองป่าแสดงให้
เหน็ วา่ สามารถรักษาโครงสร้างป่าตามธรรมชาติไดด้ ี ผลการวเิ คราะห์ปัจจัยแวดล้อมที่ส่งผลตอ่ การปรากฏของ
หมูไ่ ม้พบว่า ความสูงจากระดับน้ำทะเลเป็นปจั จัยสำคญั ต่อการปรากฏของพันธุ์ไมใ้ นสองชนิดปา่ ท่ีระดับความ
สงู 940 – 980 เมตรจากระดับน้ำทะเล มีการขึ้นร่วมกันของชนิดพันธพุ์ ืชจากปา่ เต็งรัง และป่าดิบเขาระดับ
ตำ่ เป็นจำนวนมาก ทั้งในระดับไม้ใหญ่และไม้รุ่น (r = 0.98 และ 0.95 ตามลำดับ) เช่น ก่อตาควาย เหียง เต็ง
เมียดต้น ทะโล้ และก่อเดือย เป็นต้น อัตราการรอดตายของกล้าไม้กลุ่มป่าเต็งรัง มีอัตราการรอดตายสูงกว่า
กลุ่มพันธไุ์ ม้ในป่าดบิ เขาระดับต่ำในบรเิ วณแนวรอยต่อปา่ ดังน้ัน หากเกิดการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศที่
สง่ ผลให้อุณหภูมิสูงขึ้น จะทำให้พันธ์ุพืชในป่าเต็งรังมีแนวโน้มขยายพ้ืนท่ปี กคลุมในบริเวณแนวรอยต่อป่าและ
รุกข้ึนไปตั้งตัวในพื้นที่ระดับสูงมากขึ้น ในขณะเดียวกันพันธ์ุไม้ในป่าดิบเขาระดับตำ่ ก็จะหายไปจากพื้นที่แนว
รอยตอ่ ป่า

183

Abstract
Study on Establishment of plant species along the ecotone of the deciduous

dipterocarp forest and lower montane forest was carried out at Doi Suthep–Pui National
Park. The objectives aimed to clarify tree regeneration along the ecotone based on climate
changes. Permanent belt plot, 30 m x 600 m, was established along the altitudinal gradient
from 900 to 1,100 m above sea level (als.). Subplots of 10 m x 10 m and 1 m x 1 m were
divided for tree and seedling study, total 180 subplots of each size. In addition, seedling
dynamics related to climatic changes, soil moisture content, temperature and light intensity,
were monitored in every month during 2012 – 2013

The result showed that tree species of 55 families, 99 genera and 141 species were
found. Those species can be divided into two forest types; the deciduous dipterocarp forest,
DDF, (34 families, 57 genera and 69 species) and the lower montane forest, LMF, (48 families,
57 genera and 72 species). The diameter class distribution of trees in the DDF and LMF had
the same growth from of negative exponential growth curve. Indicating that these forests
can maintain their forest structure in the natural ways. The result of canonical
correspondence analysis showed that the altitudinal gradient was the main environmental
factors to determine the species distribution both tree and sapling stages (r = 0.97 and 0.95,
respectively). The ecotone between DDF and LMF occurred at elevation range 940 to 980 m
asl. which had a coexisted species such as Quercus brandisiana Dipterocarp obtusifolius
Schima wallichii and Castanopsis acuminatissima. However, seedling survival rate of DDF
was higher than LMF in ecotone area. Indicating that if the global Warming occur the species
of DDF can be survived and invaded into high altitude, while, LMF species will be
disappeared from the ecotone.

184

อาหารของสตั ว์สะเทินน้ำสะเทินบกบรเิ วณปา่ ดบิ เขา อุทยานแหง่ ชาตดิ อยสุเทพ-ปยุ
จงั หวัดเชียงใหม่

Diet of Amphibians in Hill Evergreen Forest at Doi Suthep-Pui National Park,
Chiang Mai Province

ยุวดี พลพทิ กั ษ์ (2557)

บทคดั ยอ่
การศึกษาอาหารของสัตว์สะเทินน้า สะเทินบกบริเวณป่ าดิบเขา อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ - ปุย

จงั หวัดเชียงใหม่ ได้ดา เนินการสา รวจ โดยใช้วิธีการเดินสา รวจ (line transect) และใช้กับดักหลุม (pitfall
trap) ภายในแปลงถาวรขนาด 16 เฮคแตร์ เพ่ือเก็บกองมูลมาวิเคราะห์เป็นประจา ทุกเดือนตั้งแต่เดือน
มกราคมถึงเดือน ธันวาคม 2556 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทราบชนิดอาหาร และการเลือกกินอาหารของสัตว์
สะเทินน้า สะเทนิ บก

ผลการศึกษาพบสัตว์สะเทินน้า สะเทินบกท้งั หมด 296 ตัว จา แนกออกเป็น 11 ชนิด 8 สกุล 5 วงศ์
2 อนั ดับ และไดก้ องมลู ทัง้ หมด 222 กอง สามารถจา แนกชนิดอาหารได้ 45 วงศ์ 17 อันดบั 6 ชนั้ จดั อยูใ่ น 2
ไฟลัม คือกลุ่มสัตว์ขาข้อปล้อง (Phylum Arthropoda) มีค่าความถี่การปรากฏ 97.7% รองลงมาคือ สัตว์ใน
กลุ่มหอย (Phylum Mollusca) มีคา่ ความถ่ีการปรากฏ 2.3% เปอรเ์ ซ็นตค์ วามถ่กี ารปรากฏของชนิดอาหารที่
พบมากที่สุด 5 อันดับ ได้แก่ อันดับ Hymenoptera (ผึ้ง ต่อ แตน) 40.1 % รองลงมาได้แก่ อันดับ
Coleoptera (ด้วง) 39.6 % อันดับ Orthoptera (ตั๊กแตน) 17.1 % อนั ดับ Blattodea (แมลงสาบ) 13.5 %
และอันดับ Hemiptera (มวน) 13.5% ชนิดอาหารในอันดับ Hymenoptera มเี ปอร์เซ็นต์ความถ่ีการปรากฏ
สูงท่ีสุด อยู่ในวงศ์ Formicidae (มด) 38.3 % ระหว่างปริมาตรอาหารมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความกว้าง
ของปาก ความยาวลา ตัว และน้า หนักของสัตว์ สะเทินน้า สะเทินบกอย่างมีนัยสา คัญทางสถิติ (p < 0.05)
พบว่าค่าดัชนีการเลือกกินชนิดอาหาร (Electivity index, E) ที่สัตว์สะเทินน้า สะเทินบกเลือกกินหรือเสาะ
แสวงหามากที่สุด และไม่ขึ้นอยู่กับปริมาณใน ธรรมชาติ ( E > 0.5) ตลอดทั้งปี คือแมลงในวงศ์
Tenebrionidae ส่วนในฤดูฝนเลือกกินแมลงในวงศ์ Tenebrionidae, Sclerosomatidae, Hydrophilidae,
Gryllidae, Dytiscidae, Cydnidae และ Coccinellidae ตามลา ดับ และในฤดูแล้งเลือกกินแมลงในวงศ์
Tenebrionidae, Sclerosomatidae, Hydrophilidae และ Acrididae ตามลา ดับ การศึกษาครั้งนี้ชี้ให้เห็น
ถึงสัตว์สะเทินน้า สะเทินบกเป็นผู้บริโภคแมลงได้หลากหลาย (generalist) จึงควรมีการศึกษาหรือติดตาม
ข้อมูลในระยะยาว เพ่ือทราบการเปลี่ยนแปลงชนิดอาหาร และสามารถนา ไปชี้วัดผลกระทบที่เกิดจากการ
เปลี่ยนแปลงท่เี กิดข้ึนกบั ระบบนเิ วศตอ่ ไป

185

Abstract
A study on diet of amphibians was conducted at hill evergreen forest in Doi Suthep-

Pui National Park, Chiang Mai Province. Observations were carried out by walking on line
transects and pitfall traps in 16 hectare permanent plot during January to December 2013.
This study aims to examine the diet species and electivity index of amphibians.

The results recorded 296 observations of amphibians, consisting of 11 species, 8
genera and 5 families. The totals of 222 fecal pellets were collected. Identification from the
diet 45 families 17 orders 6 classes in 2 phylums were used by the animals. Frequency of
occurrence indicated that the main prey of amphibians was Phylum Arthropoda (97.7%). Five
insect orders were among the high frequency of occurrences of prey item; Hymenoptera
(40.1%), Coleoptera (39.6), Orthoptera (17.1%), Blattodea and Hemiptera (13.5%).
Hymenoptera had the highest frequency of occurrence by which most of them were
formicidae (38.3%). The relationship between volume and the body size of amphibians are
positively correlated statistically significantly different (p < 0.05) by the volume of food will
be increased. Amphibian on the size of the body. Considering on the index to select the
type of food eaten (Electivity index, E) showed that amphibians most eating or seeking did
not depend on the quantity appearias in nature (E > 0.5). Overall appearence, they feed on
insects in the Tenebrionidae family. In rainy season, they used insects in the families
Tenebrionidae, Sclerosomatidae, Hydrophilidae, Gryllidae, Dytiscidae, Cydnidae and
Coccinellidae, but during the dry season they used insects in the families Tenebrionidae,
Sclerosomatidae, Hydrophilidae and Acrididae. This study pointed out that amphibians
consumed variety of insects.

186

ความหลากหลายของพรรณพชื ปา่ ดบิ เขาระดบั ต่ำบรเิ วณลมุ่ นำ้ ห้วยคอกมา้
อทุ ยานแห่งชาตดิ อยสเุ ทพ-ปุย จงั หวดั เชียงใหม่

Plant diversity of lower montane evergreen forest at Huai kogma watershed area,
Doi Suthep-pui National Park, Chiang mai province

ดอกรกั มารอด สราวุธ สงั ข์แกว้ ประทีป ดว้ งแค แหลมไทย อาษานอก
ตอ่ ลาภ คำโย สธุ ีระ เหิมฮกึ อำพร ปานมงคล และ สถติ ย์ ถิน่ กำแพง (2558)

บทคดั ยอ่
ทำการวางแปลงตัวอย่างถาวรขนาด 16 เฮคแตร์ (400 x 400 m) บริเวณป่าดบิ เขาระดับต่ำ ลุ่มน้ำ

ห้วยคอกม้า อทุ ยานดอยสเุ ทพ-ปยุ เม่ือปี พ.ศ. 2553เพอ่ื ศกึ ษาความกลากหลายของพรรณพชื สำรวจพรรณไม้
ทุกชนดิ ท่ีมีขนาดเส้นผ่านศนู ยืกลางเพียงอกตั้งแต่ 2 เซนติเมตร โดยตดิ หมายเลขเบอรต์ น้ วัดขนาด จำแนก
ชนิดและระบุพิกัดต้นไม้ในแปลงถาวร

ผลการศึกษา พบชนิดพรรณไม้ 189 ชนิด 131 สกุล และ 60 วงศ์ มีความหนาแน่นและพื้นท่ีหนา้ ตัด
ของไม้ใหญ่เท่ากับ 883.56 ต้นต่อเฮคแตร์ และ 33.02 ตารางเมตรต่อเฮคแตร์ ตามลำดับ พรรณไม้เด่นเมื่อ
พิจารณาจากดัชนีค่าความสำคัญ ได้แก่ ก่อเดือย (34.83%) ก่อหร่ัง (12.14%) ทะโล้ (11.87%) กำยาน
(11.26%) ยาแก้ (9.44%) อินทวา (8.48%) และเมียดต้น (7.84%) เป็นต้น วงศ์ท่ีมีจำนวนชนิดมากท่ีสุดคือ
วงศ์ไม้อบเชย (Lauraceae) พบจำนวน 19 ชนิด รองลงมาได้แก่ วงศ์ไม้เปล้าหลวง (Euphobiaceae) และ
วงศไ์ มก้ อ่ (Fagaceae) มีจำนวน 17 และ 12 ชนิด ตามลำดับ รูปแบบการกระจายของต้นไมต้ ามขนาดช้ันเส้น
ผ่านศูนย์กลาง พบว่าเป็นแบบ negative exponential บ่งบอกถึงการเจรญิ ทดแทนด้านโครงสร้างของไม้ใน
ป่าเป็นไปได้ด้วยดี สำหรับการกระจายเชิงพื้นที่ของพันธุ์ไม้เด่นมีความแตกตา่ งกันตามระดับความสูง โดยก่อ
เดือยและก่อหรั่งมีการกระจายตัวอย่างหนาแน่นบริเวณยอดเขา ส่วนก่อใบเล่ือมมีการกระจายค่อนข้างแคบ
พบเฉพาะบรเิ วณท่ีราบลุ่มตามรอ่ งห้วย แสดงว่า ความต้องการด้านนิเวศวทิ ยาส่งผลต่อการกระจายเชิงพื้นที่
ของพืช ดังนั้น การประยุกต์ใช้พรรณไม้เพ่ือการฟ้ืนฟูป่าจำเป็นต้องพิจารณาถึงความต้องการทางนิเวศวิทยา
ของพรรณไม้วา่ มีความเหมาะสมเพยี งใด

187

Abstract
A 16 ha (400x400 m) permanent plot was established to study on plant diversity in

lower montane evergreen forest at Huai Kogma watershed area in Doi Suthep-Pui National
Park during 2010. All trees with diameter at breast height larger than 2cm were tagged,
measured, identified and tree coordination (x, y) was also mapped.

The results showed that high species number was found, 189 species, 131 genera
and 60 families. Tree density and basal area of tree with DBH larger 4.5 cm were 883.56
individual. ha-1 and 33.02 m2ha-1, respectively. Dominance species based on importance
value index was Castanopsis accuminatissima (34.83%), Castanopsis armata (12.14%), Styrax
benzoides (11.87%), Schima wallichii (11.26%), Vernonia volkameriiolia (9.44%), Persea
Gamblei (8.48%) and Litsea martabanica (7.84%). The dominance family with highest species
number was Lauraceae (19 species) followed by Euphobiaceae (17 species) and Fagaceae
(12 species). The pattern ofsize distribution based on diameter class was a negative
exponential form (L-shape), indicating the forest regenerarion was going well. The spatial
pattern of tree varied among species and related to altitudinal. High dense popu;ation of
was Castanopsis accuminatissima and Castanopsis armata was found in higher altitude than
Castanopsis tribuloides which mostly distributed adjacent to the valley. Indicating the
ecological niche had high influenced on tree distribution. Thus, the ecological niche of tree
species is very important to concern for applying in the restoration program.

188

รูปแบบการหากนิ ด้านตัง้ ของนกในแปลงถาวรปา่ ดิบเขาหว้ ยคอกมา้ จงั หวัดเชยี งใหม่
Vertical Foraging Patterns of Birds in Hill Evergreen Forest Permanent Plot

at Huai Kok Ma, Chiang Mai Province

ศภุ ลักษณ์ ศิริ ประทปี ด้วงแค และ ดอกรัก มารอด (2558)

บทคดั ยอ่
การศึกษารูปแบบการหากินด้านตั้งของนกในแปลงถาวรป่าดิบเขาห้วยคอกม้า จังหวัดเชียงใหม่

ดำเนนิ การสำรวจเป็นประจำทุกเดือนตัง้ แต่เดือนธนั วาคม 2554 – เดือนพฤศจิกายน 2555 โดยใช้การสำรวจ
แบบเส้นตรง Line transect จำนวนทั้งหมด 7 เส้น ภายในแปลงถาวรขนาด 16 เฮกตาร์ (400 x 400 เมตร)
เพื่อศึกษาเปรยี บเทียบบริเวณเรอื นยอดแนน่ ทึบและบรเิ วณช่องว่างของเรือนยอด วิเคราะห์ช่วงความสูงที่นกใช้
หากินจากค่าความสูงเฉลี่ยและส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน (mean±s.d.) ผลการศกึ ษาพบนกทง้ั สนิ้ 86 ชนดิ จาก
26 วงศ์ 8 อันดับ การจัดกลุ่มนกตามระดับชั้นความสูงด้านตั้งด้วยวิธี cluster analysis พบว่าบริเวณเรือน
ยอดแน่นทึบแบ่งนกได้ 4 กลุ่ม บริเวณช่องว่างของเรือนยอดแบ่งนกได้ 3 กลุ่ม ในบริเวณเรือนยอดแน่นทึบ
และบริเวณช่องว่างของเรือนยอดชนิดนกที่มีช่วงความสูงในการหากินกว้างที่สุด คือ นกโพระดกคอสีฟ้า
(Megalaima asiatica) นกเขียวก้านตองทอ้ งสสี ้ม (Chloropsis hardwickii) มีค่าเท่ากับ 28.25±11.56 และ
26.00±14.76 เมตร ตามลำดับ นกท่ีมีช่วงความสูงในการหากินแคบที่สุด คือ นกจู๋เต้นคิ้วยาว (Napothera
epilepidota) นกกางเขนน้ําหัวขาว (Enicurus leschenaulti) มีค่าเท่ากับ 0.12±0.21 และ 0.10±0.36
เมตร ตามลำดับ ข้อมูลท่ีได้จากการศึกษาครง้ั นี้เป็นข้อมูลท่สี ำคญั ต่อการจัดการถ่ินท่ีอยู่อาศัยและเป็นความรู้
พื้นฐานท่มี ปี ระโยชน์ในการทำความเขา้ ใจรูปแบบการหากินดา้ นต้ังของนกมากย่ิงขึน้ ในอนาคต

Abstract
A study of the vertical foraging patterns of birds in hill evergreen forest permanent

plot at Huai Kok Ma, Chiang Mai Province was conducted monthly from December 2011 to
November 2012. Seven line-transects were placed in a 16 hectare permanent plot for
comparison between closed canopy and canopy gap. Eighty-six species of birds were
recorded from 26 families, 8 genera. The vertical strata using cluster analysis classified 4
groups of birds at closed canopy localities and 3 groups at canopy gap localities. The
statistic used analyzing the range of foraging height were mean and standard deviation, the
highest range at the closed canopy and at the canopy gap were 28.25±11.56 (Megalaima
asiatica) and 26.00±14.76 meters (Chloropsis hardwickii) respectively. The lowest range were
0.12±0.21 (Napothera epilepidota) and 0.10± 0.36 meters (Enicurus leschenaulti)
respectively. This study is important in term of habitat management and it is a basic
knowledge for further understanding in vertical foraging patterns of birds.

189

ความหลากชนดิ และรูปแบบการหากินดา้ นตั้งของนก
ในแนวรอยตอ่ ระหว่างปา่ เตง็ รงั และป่าดิบเขาระดบั ต่ำ อุทยานแหง่ ชาตดิ อยสุเทพ-ปยุ จงั หวดั เชียงใหม่
Species Diversity and Vertical Foraging Patterns of Birds in Ecotone of Lower Montane

Forest in Doi Suthep–Pui National Park, Chiang Mai Province

ณัฐพงศ์ คงกระพันธ์ ศภุ ลักษณ์ ศริ ิ ดอกรัก มารอด และ ประทปี ด้วงแค (2559)

บทคดั ยอ่
การศึกษาความหลากชนิดและรูปแบบการหากินด้านตั้งของนกในแนวรอยตอ่ ระหวา่ งป่าดบิ เขาระดับ

ต่ำและป่าเต็งรัง จังหวัดเชียงใหม่ ได้ดำเนินการสำรวจภาคสนามตั้งแต่เดือนธันวาคม 2557 ถึง เดือน
พฤศจิกายน 2558 โดยใช้การสำรวจแบบเส้นตรง Line transect ภายในแปลงถาวรขนาด 1.8 เฮกตาร์ (600
x 30 เมตร) เพ่ือศึกษาความหลากชนิดของนกในแต่ละสังคมพืช ผลการศึกษาพบนกทั้งส้ิน 44 ชนิด จาก 19
วงศ์ 3 อันดับ จัดเป็นนกประจำถิ่น 39 ชนิด นกอพยพในช่วงฤดูหนาว 4 ชนิด และนกอพยพผ่าน 1 ชนิด ผล
การศึกษาพบว่าบรเิ วณแนวรอยตอ่ ระหว่างปา่ มีคา่ ความหลากชนิด (H’) สูงทสี่ ุด เทา่ กบั 2.771 และบริเวณป่า
ดิบเขาระดับต่ำมคี ่าความหลากชนดิ (H’) ต่ำท่ีสุด เท่ากับ 2.370 จากการจดั กลุ่มสังคมนกตามระดบั ช้ันความ
สูงด้านตั้งด้วยวิธี cluster analysis สามารถนกออกเป็น 3 กลุ่มได้อย่างชัดเจน เมื่อทำการวิเคราะห์
ชว่ งความสูงทน่ี กใช้หากินจากค่าความสูงเฉล่ียพรอ้ มกบั คา่ สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน (mean±s.d.) เป็นรายชนิด
พบว่า ในบริเวณที่ทำการศึกษานกท่ีมีช่วงความสูงในการหากินกว้างท่ีสุด คือ นกกะรางหัวหงอก (Garrulax
leucolophus) พบหากนิ ท่ีความสูงต้ังแต่พ้ืนดนิ ถงึ สูงสุดที่ 16.7 เมตร โดยมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 3.81±7.10 เมตร
รองลงมา คือ นกจับแมลงคอน้ำตาลแดง (Cyornis banyumas) พบหากินที่ความสูงตั้งแต่ 3.2 จนถึง 19.6
เมตร โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 11.68±4.82 เมตร นกท่ีมีช่วงความสูงในการหากินแคบที่สุด คือ นกจับแมลงสี
น้ำตาล (Muscicapa latirostris) พบหากินท่ีความสูง ระหว่าง 11 ถึง 12 เมตรเท่าน้ัน โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ
11.8±0.44 เมตร รองลงมา คือ นกเขนนอ้ ยไซบีเรยี (Luscinia cyane) พบหากินที่ความสูงตั้งแตพ่ ้ืนดินถึง 2
เมตร มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.28±0.75 เมตร จะเห็นได้ว่าข้อมูลที่ได้จากการศึกษาครั้งน้ีเป็นข้อมูลที่สาคัญซึ่ง
สามารถใช้ในการทำนายชนิดหรือกลมุ่ นกทีม่ ีการปรับตัวเม่ือถ่ินท่ีอยู่อาศัยมีการเปล่ยี นแปลงซึ่งเป็นข้อมูลทาง
วิชาการที่สาคญั ต่อการวางแผนอนุรักษ์ในพ้ืนทนี่ ้ตี อ่ ไปในอนาคต

190

Abstract
A study of species diversity and vertical foraging patterns of birds in the ecotone

between the lower montane evergreen forest and the dry dipterocarp forest, Chiang Mai
Province was conducted monthly from December 2014 to November 2015.Line-transects
were placed in a 1.8 hectare permanent plot for studying species diversity in each
association. Forty-four species of birds were recorded from 19 families, 3 genera. The
Shannon-Wiener indices (H') highest at the ecotone were 2.771 and the Shannon-Wiener
indices (H') at the lower montane were 2.370. Vertical strata using cluster analysis classified 3
groups of birds in the study area. The statistics used for analyzing the range of foraging
height were mean and standard deviation. The highest range were 3.81±7.10 (Garrulax
leucolophus) height above the ground - 16.7 meter and 11.68±4.82 meters (Cyornis
banyumas) height above 3.2 – 19.6 meter from the ground, respectively. The lowest range
were 11.8±0.44 (Muscicapa latirostris) height above 11 – 12 meter from the ground and
0.28± 0.75 meters (Luscinia cyane) height above the ground - 2 meter, respectively. This
study is important in terms of habitat management and is basic knowledge for further
understanding the vertical foraging patterns of birds.

191

การเลอื กใชป้ ระโยชนไ์ มผ้ ลของสัตวป์ า่ ในแปลงถาวรปา่ ดิบเขาระดบั ต่ำ บริเวณลุ่มน้ำห้วยคอกมา้
อุทยานแหง่ ชาติดอยสุเทพ-ปุย จังหวดั เชยี งใหม่

Wildlife Utilization on Selected Fruit Plants in Permanent Plot of the Lower Montane
Evergreen Forest at Huai Kogma Watershed Area, Doi Suthep-Pui National Park,
Chiang Mai Province

อภษิ ฎา เรืองเกตุ อัมพร ปานมงคล ดอกรัก มารอด และ ประทีป ดว้ งแค (2559)

บทคัดยอ่
การศกึ ษาชนดิ ของสตั ว์ทเ่ี ลอื กใชป้ ระโยชน์ผลของพชื 8 ชนิดในพน้ื ทปี่ า่ ดบิ เขาระดบั ต่ำ บริเวณลุ่มนำ้

หว้ ยคอกม้า อุทยานแหง่ ชาติดอยสุเทพ – ปุย จังหวัดเชียงใหม่ ได้แก่ ละมุดสบี ุนทา (Madhuca floribunda)
ก่ อ เดื อ ย (Castanopsis acuminatissima) พ ะ ว า (Garcinia speciosa) ม ะ เด่ื อ ป ล้ อ ง หิ น (Ficus
semicordata) มะมือ (Choerospondias axillaris) เหมอื ดคนตัวผู้ (Helicia nilagirica) น้วิ มอื พระนารายณ์
(Schefflera sp.) และกล้วยป่า (Musa acuminata) ทำการศกึ ษาด้วยการติดต้ังกล้องดักถ่ายภาพอัตโนมัตใิ น
บรเิ วณที่ติดผลของพืชและบนพ้ืนบรเิ วณที่ผลร่วงหล่น โดยติดตั้งกล้องดักถ่ายภาพท้ังหมด 24 กล้อง คิดเป็น
705 trap-nights หรอื 16,920 trap-hours ระหวา่ งเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 - เดือนมกราคม พ.ศ. 2559
และวเิ คราะหห์ าคา่ ดัชนกี ารเลอื กใช้ประโยชน์ เพื่อต้องการทราบชนิดพืชที่สตั ว์ปา่ เขา้ มาใช้ประโยชน์มากทส่ี ุด

ผลการศกึ ษา พบว่ากล้องดักถา่ ยภาพอัตโนมัติบนั ทึกภาพเคลอื่ นไหวของสตั ว์ป่าได้ 389 คลิป จำแนก
เป็นสัตว์ป่ากินผลไม้จำนวน 13 ชนิด ได้แก่ กลุ่มสัตว์เล้ียงลูกด้วยนม 9 ชนิด คือ กระรอกท้องแดง
(Callosciurus erythraeus) กระรอกดินแก้มแดง (Dremomys rufigensis) กระรอกบินเล็กแก้มขาว
(Hylopetes phayrei) กระเล็นขนปลายหูส้ัน (Tamiops mcclellandi) กระแตเหนือ (Tupaia belangeri)
หนู (rat) อีเห็นข้างลาย (Paradoxurus hermaphroditus) อีเห็นเครือ (Paguma larvata) และลิงกัง
(Macaca nemestrina) และกลุ่มนก 4 ชนิด คือ นกปรอดสีข้ีเถ้า (Hemixos flavala) นกปรอดโอ่งเมือง
เหนือ (Alophoixus pallidus) นกปรอดเหลืองหัวจุก (Pycnonotus flaviventris) และนกปรอดภูเขา
(Ixos mcclellandii) สัตว์กินผลไม้ส่วนใหญ่เลือกใช้ประโยชน์จากผลของต้นละมุดสีบุนทา (Madhuca
floribunda) มากท่ีสุด (จำนวน 8 ชนิด) รองลงมาคือ ก่อเดือย (Castanopsis acuminatissima) (5 ชนิด)
และมะเด่อื ปล้องหนิ (Ficus semicordata) (5 ชนิด) ในขณะท่กี ล้วยป่า (Musa acuminata) ซึ่งเป็นพชื ลม้ ลุก
กพ็ บสตั ว์กนิ ผลไม้เข้ามาใช้ประโยชน์มากเช่นกัน (7 ชนิด) ผลการวิเคราะห์ดัชนีการเลือกใช้ประโยชน์จำเพาะ
ของสัตว์กินผลไม้ พบว่าละมุดสีบุนทาเป็นชนิดพืชท่ีสัตว์กินผลไม้เลือกเข้าใชส้ ูงสุด บ่งบอกได้ว่าพืชชนิดนเ้ี ป็น
พืชสำคญั สำหรบั สตั ว์กินผลไม้ในพื้นท่ี

192

Abstract
This study aimed to clarify the wildlife diversity who utilized the selected fruit trees

in permanent plot of the lower montane evergreen forest at Huai Kogma watershed area,
Doi Suthep-Pui national park, Chiang Mai province. Eight fruit tree species were selected
which included Madhuca floribunda, Castanopsis acuminatissima, Garcinia speciosa, Ficus
semicordata, Choerospondias axillaris, Helicia nilagirica, Scheffera sp., and Musa acuminata.
Camera traps were set up and placed on fruit position and at the ground where fruits fell
down (24 camera traps that’s approximatively 705 trap-nights or 16,920 trap-hours) during
February 2015-January 2016.

The result showed that thirteen frugivorous species were captured (389 clips)
included mammals; Callosciurus erythraeus, Dremomys rufigensis, Hylopetes phayrei,
Tamiops mcclellandi, Paradoxurus hermaphrodites, Paguma larvata and Macaca nemestrina,
birds; Hemixos flavala, Alophoixus pallidus, Pycnonotus flaviventris and Ixos mcclellandii.
Frugivores mostly utilized fruit trees of Madhuca floribunda (8 species) and followed by
Castanopsis acuminatissima (5 species) and Ficus semicordata (5 species). In addition, many
frugivores were also recorded for utilizing fruits of herbaceous species, (Musa acuminate).
The selectivity index showed that highest valued, 1 was detected on fruit of Madhuca
floribunda even though it had low mature tree density, 0.19 individual.ha-1. Indicating this
tree species can be promoted as key stone species, including

193


Click to View FlipBook Version