The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การรวบรวมงานวิจัยในพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยคอกม้าและพื้นที่ข้างเคียง มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำฐานข้อมูลงานวิจัยที่ผ่านมาเพื่อสนับสนุนการวิจัยในอนาคต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Forestry Research Center, 2021-05-20 05:21:23

งานวิจัยในลุ่มน้ำห้วยคอกม้า

การรวบรวมงานวิจัยในพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยคอกม้าและพื้นที่ข้างเคียง มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำฐานข้อมูลงานวิจัยที่ผ่านมาเพื่อสนับสนุนการวิจัยในอนาคต

Keywords: ห้วยคอกม้า,ดอยปุย,งานวิจัย,พื้นที่สูง

โครงสร้างทางสังคมของสัตว์ขาปลอ้ งในดนิ บริเวณอทุ ยานแหง่ ชาตดิ อนสเุ ทพ-ปยุ จงั หวดั เชยี งใหม่
Community Structure of Soil Arthropod Community in in Doi Suthep-Pui National Park,

Chiang Mai Province

สิรีมาตร จิตปาโล เดชา วิวัฒนว์ ิทยา วยิ ะวัฒน์ ใจตรง (2559)

บทคดั ยอ่
การศึกษาความมากมายของสังคมสัตว์ขาปล้องในดิน บริเวณอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย จังหวัด

เชียงใหม่ ดำเนินการระหวา่ งเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2556 ถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 มีวัตถุประสงค์เพ่ือ
ศึกษาการเปล่ียนแปลง ความมากมาย และกลุ่มสัตว์ขาปล้องในดินในป่าเต็งรัง ป่ารอยต่อ และป่าดิบเขา
โดยการสุ่มเก็บตัวอย่างดินในป่าเต็งรัง ป่ารอยต่อ และป่าดิบเขา ด้วย Soil cores ขนาดพื้นที่หน้าตัด
25 ตารางเซนติเมตร ลึก 4 เซนติเมตร จำนวน 20 ตัวอย่าง ในพ้ืนท่ีขนาด 25 x 10 เมตร ทำการสำรวจ
ภาคสนามทุก ๆ 2 เดือน

การศึกมา พบสัตว์ขาปล้องในดินทั้งหมด 22 กลุ่ม ความมากมายเฉล่ียทั้งพ้ืนที่ เท่ากับ 60,737.78
ตัว/ตารางเมตร สัตวข์ าปล้องในดินกลุ่ม Acari และ Coleambola เป็นกลุ่มที่มีความมากมายสูงที่สุด เท่ากับ
12,970.37±2368.49 และ 4,902.22±824.82 ตัวตารางเมตร ตามลำดับ รวมกันแล้วคิดเป็น 88.27
เปอร์เซ็นต์ ของสัตว์ขาปล้องในดินทั้งหมดป่าเต็งรงั พบสัตว์ขาปล้องในดินมากท่ีสุด (21 กลุ่ม) ความมากมาย
ของสัตวข์ าปล้องในดนิ เฉลีย่ มากท่ีสุดในปา่ รอยต่อ เทา่ กับ 22,991.11±4539.30 ตัว/ตารางเมตร สตั ว์ขาปล้อง
ในดินกลุ่ม Acari (13937.78±2347.81) และ Collembola (6,706.67±1,139.53) พบมากท้ังป่าเต็งรัง
(11,737.78±2261.68 และ 1,417.78±276.55 ตัวตารางเมตร) ป่ารอยต่อ (13,937.78±2347.81 และ
6,706±1 1 39.53) และป่าดิบเขา (13.235.56±2493,99 และ 6,582.22±1058.38) ในฤดแู ล้ง พบกลมุ่ และ
ความมากมายของสัตว์ขาปล้องในดินมากกว่าในฤดฝู น โดยฤดูแล้ง พบ 22 กลุ่ม (22.924.44±4567.44) และ
ฤดูฝน พบ 18 กลุ่ม (17547.41±4103.10) ดังน้ันจากการศกึ มาในคร้งั น้ีแสดงให้เห็นว่าในทกุ พน้ื ทก่ี ลมุ่ สัตวข์ า
ปล้องในดินทสี่ ามารถครอบครองพ้ืนท่ีเป็นกลุ่มเด่น คอื Acari และ Collembola การศึกษาในคร้ังนี้ สามารถ
เปน็ ขอ้ มลู พื้นฐานที่จะใชเ้ ป็นตัวช้วี ัดสขุ ภาพของปา่ ไม้

194

Abstract
Study on abundance of soil arthropod community was carried out at Doi Suthep-Pui

National Park, Chiang Mai Province during July 2013 to May 2014 . The objectives were to
study changes in the abundance and group of soil arthropods in Dry Dipterocarp Forest(DDF),
Ecotone Area (ECO) and Hill Evergreen Forest (HEF). Study plots were selected in DDF, ECO
and HEF. In the study site, we established a plot of 25 x 10 m in area.Soil arthropods were
collected by soil cores with a cross-sectional area of 25 cm2 and a depth of 4 cm. The 20
samples were picked up interval two months in each area.

The results showed a total of 2 2 soil arthropod groups was collected. Mean
abundance of soil arthropods was 6 0 ,7 3 7 .7 3 m2. Acari and Collembola were dominant
groups (12,970.37±2368.49 and 4,902.22±824.82 /m2 respectively), accounting for 88.27% of
the arthropods in the soil. The most number of soil arthropods (21 groups) was occured in
DDF. The most mean abundance of soil arthropods was 22,991.11±4539.30 m2 in ECO area.
Acari and Collembola were dominant groups in DDF (11,737.78±2261.68, 1,417.78±276.55),
ECO (13,937.78±2,347.81, 6,706±1,139.53 and HEF (13,235.56±2,495.99, 6,582.22±1,058.38).
There were more number of soil arthropod groups and abundance in the dry season than in
the rainy season, being 22 groups (22,924.44±4567.44/m2) in the dry season and 18 groups
(17547.41±4,103. 10/m2) was appeared

195

พลวัตของกล้าไม้ตน้ บริเวณชอ่ งว่างและภายใตเ้ รอื นยอดป่าเขาระดับต่ำ
อุทยานแห่งชาติดอนสเุ ทพ-ปยุ จงั หวดั เชียงใหม่

มนัส พมิ พร์ ัตน์ (2559)

บทคดั ย่อ
การศกึ ษาพลวตั ของกล้าไม้ต้นบริเวณช่องวา่ งและภายใต้เรอื นยอดปา่ เขาระดบั ตำ่ มีวัตถปุ ระสงค์เพ่ือ

ต้องการทราบความหลากชนิดและพลวัตของกล้าไม้บริเวณพื้นที่ช่องว่างระหว่างเรือนยอดและได้เรือนยอด
ดำเนินการโดยคัดเลือกเลือกจดุ ศึกษา จำนวน 9 จุดสุ่ม ในแต่ละพื้นที่ จากน้ันวางแปลงตวั อย่างกล้าไม้ขนาด
1 x 1 เมตร จำนวน 5 แปลง ในแต่ละจุดสุ่ม (รวม 90 แปลงตัวอย่าง) แต่ละแปลงสำรวจชนิดกล้าไม้ โคยติด
หมายเลขกล้าไม้จำแนกชนิด และติดตามการเกิดและการตายของกล้าไม้ทุก ๆ เดือน ต้ังเแต่ เดือน สิงหาคม
2555 -ธนั วาคม 2538

ผลการศึกษาความหลากชนิดของกล้าไม้ปา่ ดบิ เขาระดับต่ำ พบชนดิ พันธ์ไุ มจ้ ำนวน 105 ชนิด 80 สกุล
48 วงศ์ โดยไม้วงศ์ก่อ (FAGACEAE) และ ไม้วงศ์อบเชย (LAURACEAE) มีจำนวนชนิดมากที่สุดคือ 10 ชนิด
รองลงมาคือ ไม้ในวงศ์เปล้า (EUPHORBIACEAE) และวงศ์เขยตาย (RUTACEAE) มีจำนวน 7 ชนิด ปัจจัย
แวดล้อมโดยฉพาะความเข้มแสงมีความแตกห่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (3 < 0 001) ระหว่างพื้นท่ี
โดยพ้ืนท่ีช่องว่างระหว่างเรือนยอดมีความเข้มแสงเฉลี่ยสูงกว่าพื้นที่ได้เรือนยอด (7,913±5131.044 และ
4,277.50±2353.76 ลักซ์ ตามลำดับ) ส่วนอุณหภูมิพบว่าไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิต
ระหว่างพื้นที่ แต่ภายในพ้ืนที่มีความแตกต่างของอุณหภูมิระหว่างช่วงฤดูกาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
(P < 0.01) โดยช่วงฤดูฝนมีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงกว่าช่วงฤดูแล้ง พลวัตของกล้าไม้พบว่าอัตราการเพิ่มพูนมีค่าสูง
กว่าอัตราการตายทั้งในพืน้ ท่ีช่องว่างระหว่างเรือนยอด (ร้อยละ 2.50±2.06 และ 1.18±0.44 ต่อปี ตามลำคบั )
และให้เรือนยอด (ร้อยละ 3.12±2.64 และ 1.80±0.92 ต่อปี ตามลำดับ) ส่งผลให้ความหนาแน่นของกล้าไม้
เพิ่มขึ้นทั้งสองพ้ืนท่ี เม่ือพิจารณาลักษณะกล้าไม้ตามความต้องการแสงสว่างในการเติบโต สามารถจำแนก
กล้าไม้เป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มชนิดท่ีต้องการแสงสว่างมาก (light demanding species:) ได้แก่ เต้าเลื่อม
เมียดต้น และเหมือคจ้ีคง ส่วนใหญ่เป็นพันธ์ุไม้เบิกนำท่ีสามารถต้ังตัวได้ดีในพื้นท่ีช่องว่างระหว่างเรือนยอด
และ กลุ่มชนิดท่ีทนร่ม (shade tolerance species) ได้แก่ หวา้ ลิง อินทวา และนวล อย่างไรก็ตาม ก่อเดือย
และกอ่ ใบเสื่อม ซ่ึงเป็นไม้เด่นในระดับเรือนยอดชัน้ บนพบว่ากล้ำไม้สามารถตั้งตัวได้ดีท้ังสองพ้ืนที่ การรบกวน
พื้นท่ีป่าท่ีเกิดจากการโค่นล้มของต้นไม้ใหญ่ตามธรรมชาติทำให้ความเข้มเเสงบริเวณพ้ืนป่าเพ่ิมมาก ขึ้นเปิด
โอกาสใหใ้ ห้พันธุไ์ มบ้ อกนำสามารถดำรงไว้ซึ่งชนดิ พนั ธุ์ในปา่ ดิบเขาไดข้ ณะเดียวกันเมื่อพันธุ์ไมเ้ บิกนำเตบิ โตข้ึน
ก็มีส่วนช่วยปรับเปลี่ยนปัจจัยแวดล้อมให้มีความเหมาะสมต่อการตั้งตัวของพรรณไม้ท้องถิ่น ดังน้ัน การ
คัดเลือกชนดิ พชื ท่ีมคี วามเหมาะสมและต้ังตัวได้ดีในสภาพความเข้มแสงสงู ย่อมช่วยทำให้การฟื้นฟูปมีประสิทธิ
กาพและประสบความสำเรจ็ มากขึ้นโดยฉพาะเพ่อื การปรับเปลย่ี นปัจจัยแวดล้อมใหม้ ีความเหมาะสมต่อการต้ัง
ตัวของพรรณไม้ทอ้ งถ่ิน

196

Abstract
The study on dynamics of tree seedlings under gap and crown canopy in lower

montane evergreen forest aimed to clarify the seedling diversity and dynamics under gap
and crown canopy. Nine random sample study sites in under gap and crown canopy were
selected. Five seedling quadrats, 1x1 m, were established in each site (total 9 0 quadrats).
Every quadrat, all seedlings were tagged and identified, while, seedling monitoring was done
every month since August 2012 to December 2 0 15 which new recruitment and mortality
seedlings were recorded.

The results showed that total seedlings of 105 species in 80 genera and 48 families
were found. The family FAGACEAE and LAURACEAE had the highest species number (each of
1 0 species), followed by EUPHORBIACEAE and RUTACBAE with each of 7 species. Light
intensity between areas was statistical significantly different (P<0 .0 0 1 ) where higher light
intensity was found under gap than crown canopy (7,918±5,131.044 and 4,277.50±2,353.76
Iuxr, respectively). The temperature differences between sites had no detected. However, it
was significantly different (P<0.001) between the season which high temperature in the rainy
season was observed. Seedling dynamics showed that mean annual recruitment rate had
higher than snorality rate in both sites, under gap (2 .5 0 ± 2 .0 6 and 1 .1 8 ± 0 .4 4 % .yr',
respectively) and under crown canopy (3 .1 2 ± 2 .6 4 and 1 .8 0 ± 0 .9 2 % .yr', respectively).
Indicating that dense seedling density was found in both sites. Considering on light intensity,
seedling can be devided into two types based, light demanding and shade tolerance
species. Species of Macaranga indica, Litsea martabarnica, and Cinnamomum iners was light
demanding species where mostly found under gap conditions. Indicating these species were
pioneer species. While, species of Syzygium pyrifolum, Persea gamblei and Garcinia
merguensis was shade tolerance species where occupied under crown canopy. However,
seedling of Castanopsis acuminarissima and C. tribuloides which were dominance on top
canopy can be established both under gap and crown canopy. Natural disturbance by big
tree fell down led to increase light intensity on the forest floor and facilitated the suitable
environmental factors for seedling regeneration. This event very importance to maintain the
pioneer species. Thus, the application on suitable species for forest restoration will induce
good success, on natural regeneration, especially under high light intensity.

197

Plant Diversity and Utilization on Ethnobotany of Local People
at Hmong Doi Pui Village in Doi Suthep-Pui National Park, Chiang Mai Province

Arerut Yarnvudhi1, Sarawood Sungkaew, Sutheera Hermhuk, Pasuta Sunthornhao
and Surin Onprom (2016)

Abstract
The study on plant diversity and utilization on ethnobotany of local people was

conducted in montane forest adjacent to Hmong village at Doi Suthep-Pui National Park,
Chiang Mai Province during January to December 2016. It aimed to compare plant
biodiversity and utilization of ethonobotany of local people between natural montane
forest (NMF) and forest edge adjacent to Hmong Village Doi Pui. The three sampling plots, 20
m x 50 m, were established in each site. All plant with diameter at breast height larger than
1 cm. were measured and identified. The information of plant utilization was being
interviewed from ethnobotanists, herbal healers, and villagers.

The result showed the total, 53 families, 98 genera and 133 species of plants were
found in the study areas. The 42 families, 72 genera and 90 species were existed in the NMF,
while 39 families, 51 genera and 71 species in the forest edge. The similarity of families,
genera and species were 30, 46, and 65 respectively in both sites. Trees distribution pattern
based on diameter class in the two forest areas was found in a negative exponential growth
form. Indicating they can be maintained their forest structure in the future. However,
considering the distribution of sapling, DBH < 5 cm., the bell-shape form was found in the
forest edge. Indicting the effected of ethnobotanical used on plant regeneration was
detected. The highest ethnobotanical used was a food group (39 species), while the lowest
was a dying color group (6 species). The most utilized species was Castanopsis diversifolia,
Dendrocalamus hamiltonii, and Diplazium escculentum. Regarding sustainable used of the
forest edge, the agroforestry should be promoted by planted the utilized species in their
agricultural areas or used as a buffer zone between the forest and agricultural areas.

198

Collaboration and Conflict—Developing Forest Restoration Techniques for Northern
Thailand’s Upper Watersheds Whilst Meeting the Needs of Science and Communities

Stephen Elliott, Sutthathorn Chairuangsri, Cherdsak Kuaraksa, Sudarat Sangkum,
Kwankhao Sinhaseni, Dia Shannon, Phuttida Nippanon and Benjapan Manohan (2019)

Abstract
This paper describes an early example of Forest Landscape Restoration (FLR), which

resulted from collaboration between a university, local community, and national park
authority in the upper Mae Sa Valley, near Chiang Mai City, northern Thailand. Working
together, the Hmong community of Ban Mae Sa Mai, Doi Suthep National Park Authority and
Chiang Mai University’s Forest Restoration Research Unit (FORRU-CMU) established a
chronosequence of trial restoration plots from 1996 to 2013, to test the framework-species
method of forest restoration. The project developed successful restoration techniques and
gained insights into the factors that influence villagers’ participation in forest restoration.
Recovery of forest biomass, carbon storage, structure, biodiversity and ecological functioning
exceeded expectations. Villagers appreciated the improved water security resulting from the
project, as well as a better relationship with the park authority and increased land security.
Recently, however, tree chopping and a breakdown in fire-prevention measures (perhaps
symptoms of “project fatigue”) have threatened the sustainability of the plot system. The
project demonstrates the importance of a sound scientific basis for forest restoration
projects, long-term institutional support, and appropriate funding mechanisms, to achieve
sustainability.

199

Altitudinal Effect on Diversity and Distribution of Araceae in Doi Suthep-Pui National
Park, Chiang Mai Province in Thailand

Oraphan Sungkajanttranon, Dokrak Marod, Sahanat Petchsri, Kritsiam Kongsatree,
Anothai Peankonchong, Thunthicha Chotpiseksit and Benjawan Supnuam (2019)

Abstract
The relationships between Araceae diversity and altitude gradients in mountain

ecosystem at Doi Suthep-Pui National Park, Chiang Mai Province in Thailand, were studied
during January 2016-March 2018. The strip-plots, 10 m × 1,000 m along the five nature trails,
were established from 300-500, 501-800, 801-1,100, 1,101-1,400, 1,401-1,685 m above mean
sea level (amsl). Twenty species of 11 genera were found. Alocasia navicularis and Lemna
sp. were found at 300-500 m amsl, wild taro (Colocasia esculenta) was at 300-800 m amsl,
A. acuminata was at 300-1,400 m amsl, while Amorphophallus krausei, Hapaline
benthamiana, Lasia spinosa, Rhaphidophora chevalieri and R. megaphylla were at 501-800 m
amsl, but dwarf taro (C. affinis) was at 501-1,400 m amsl, Homalomena aromatica was at
801-1,100 m amsl, A. fuscus, A. thaiensis were at 801-1,685 m amsl, A. yunnanensis was at
1,101-1,685 m amsl, only five species, Arisaema consanguineum, A. kerrii, Remusatia
hookeriana, R. peepla and Sauromatum horsfieldii were found at 1,401-1,685 m amsl.
Species diversity in the rainy season was the highest (1.75), the top five dominant species
were dwarf taro (C. affinis), wild taro (C. esculenta), A. fuscus, A. acuminata and A. thaiensis
(importance value index (IVI%): 61.54, 24.13, 17.12, 16.52 and 9.60, respectively). In dry
season, the dominant species was wild taro. The altitude gradients showed the main effect
on diversity and distribution of Araceae.

200

การตรวจสอบ และการคาดการณ์การเปล่ยี นแปลงรปู แบบการใชป้ ระโยชนท์ ดี่ ิน
ในอทุ ยานแห่งชาตดิ อยสเุ ทพ-ปยุ จงั หวัดเชียงใหม่

สธุ ีระ เหิมฮึก และ ดอกรัก มารอด (2563)

บทคดั ยอ่
การศกึ ษาการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดนิ ในพ้ืนท่ีอนรุ ักษ์ เป็นส่ิงจำเป็นต่อการกำหนดรูปแบบ

การจัดการและการปอ้ งกันพ้ืนท่ี เพ่อื การลดการเปล่ยี นแปลงของพน้ื ท่ปี า่ ไม้ การศึกษาครั้งน้ีมีวัตถปุ ระสงคเ์ พื่อ
ศกึ ษาการเปลีย่ นแปลงการใช้ประโยชนท์ ี่ดินในพื้นที่อุทยานแหง่ ชาติดอยสเุ ทพ-ปุย จงั หวดั เชยี งใหม่ ระหว่างปี
พ.ศ. 2543, 2551 และ 2559 และคาดการณ์การเปล่ียนแปลงไปในปี 2567 โดยใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม
Landsat 5-TM (2543) และ 8-TM (2551, 2559) ในการศึกษา โดยวิเคราะห์ร่วมระหว่างโปรแกรม
สารสนเทศทางภมู ิศาสตร์ (ArcGIS ver. 10.1) และโปรแกรม Geospatial Monitoring and Modeling (ver.
9.2) ด้วยวิธีการแบบจำลองของมาร์คอฟ ผนวกกับการเข้าวางแปลงขนาด 30x30 เมตร (ขนาดเท่ากับความ
ละเอียดของภาพถา่ ยดาวเทียม) สำรวจพืน้ ที่จรงิ ในแตล่ ะรูปแบบการใชป้ ระโยชน์ที่ดนิ

ผลการศึกษาพบว่า พื้นท่ีป่าในอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย มีการลดลงอย่างต่อเนื่องในช่วง
ระยะเวลาการศึกษา ในช่วง 16 ปี กล่าวคือ ช่วงแรก (พ.ศ. 2543-2551) และช่วงที่ 2 (พ.ศ. 2551-2559)
พ้ืนที่ป่าเปล่ียนเป็นพื้นที่เกษตรกรรมและชุมชนประมาณ 2.19 ตร.กม. และ 5.70 ตร.กม. ตามลำดับ
โดยเฉพาะป่าผสมผลดั ใบ และป่าดิบเขาระดับตา่ํ และมีแนวโน้มคลา้ ยกันในการคาดการณใ์ นปี พ.ศ. 2567 ซ่ึง
แสดงให้เห็นถึงผลกระทบของการกระจายตัวของหย่อมป่า จากการสูญเสียพ้ืนท่ีป่าข้างต้นอาจส่งผลต่อการ
สญู เสียถ่ินที่อยู่อาศัยของสง่ิ มีชีวิต ซ่ึงจะทำ ให้ความหลากหลายทางชีวภาพลดลง ดังน้ัน แผนการจดั การควร
ไดร้ ับการพฒั นาเพือ่ การใช้ทีด่ ินอย่างยั่งยนื ต่อไป

201

Abstract
The study about land-use changes, especially in conserved forests, is necessary to

determine the processes of management and protection of the area. This study aimed to
detect land-use changes between 2000, 2008, and 2016 and predict the situation in the year
20 2 4 in the Doi Suthep-Pui National Park, Chiang Mai province. Landsat–5 TM (2 0 0 0 ) and
Landsat–8 TM (2 0 0 8 and 2 0 1 6 ) satellite images were analyzed to predict the land–use
changes around 2 0 2 4 combined with an analysis between geographic information system
(GIS) and CA–Markov model using the geospatial monitoring and modeling program.
Temporary plots of 30 m x 30 m size (similar to satellite image resolution), were established
in each land-use type to check the ground accuracy.

The results showed that the forest area in Doi Suthep-Pui National Park decreased
during the study period (16 years). Through the first period (2000-2008), 2.19 km2 and second
period (2 0 0 8 -2 0 1 6 ), 5 .0 5 km2 of forest changed to either agriculture or urban lands,
especially mixed deciduous forest and lower montane forest. There was a similar trend in
the 2024 prediction, showing an effect on the distribution of forest patches. A habitat loss
would be expected to result in a biodiversity, thus, a management plan in the future should
be developed to practice sustainable land-use changes.

202

เอกสารและสง่ิ อ้างอิง

กติ ตมิ า เมฆโกมล. 2525. ลกั ษณะทางนิเวศวทิ ยาบางประการของเฟิร์นบริเวณปา่ ดบิ เขาดอยปยุ
เชียงใหม่. วิทยานพิ นธ์ปรญิ ญาโท มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ.

กติ ชิ ัย รัตนะ. 2538. ลักษณะโครงสร้างของป่าดบิ เขาธรรมชาติของพื้นท่ตี น้ น้ำลำธาร ดอยปยุ จังหวัด
เชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปรญิ ญาโท มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ.

เกษม จนั ทรแ์ กว้ นพิ นธ์ ตง้ั ธรรม สามัคคี บุณยะวฒั น์ วชิ า นิยม สทิ ธิชัย ตันธนะสฤษด์ิ
ถนอม ดาวงาม และ ยลจิต เอกอุรุ. 2527. ผลกระทบของการใชท้ ่ีดนิ บนภเู ขาประเภทต่างๆ ต่อ
สมบัติทางกายภาพของนำ้ บรเิ วณดอยปุย เชยี งใหม่. การวจิ ยั ลมุ่ น้ำที่หว้ ยคอกมา้ เลม่ ท่ี 40.
คณะวนศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

เกษม จนั ทรแ์ กว้ นิพนธ์ ตัง้ ธรรม สามคั คี บุณยะวัฒน์ วชิ า นยิ ม สทิ ธชิ ัย ตันธนะสฤษดิ์ ถนอม ดาว
งาม และ ยลจิต เอกอรุ ุ. 2527. การกระจายชอ่ งวา่ งขนาดต่างๆ ของดนิ ปา่ ดิบ เขาธรรมชาติและ
ไรเ่ ลือ่ นลอย บริเวณดอยปุย เชียงใหม่. การวิจยั ลุ่มน้ำท่หี ว้ ยคอกม้า เลม่ ที่ 39. คณะวนศาสตร์
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

เกษม จันทร์แก้ว และ จรินทร์ นาคศิริ. 2519. สมรรถนะการซมึ น้ำผา่ นผิวดนิ ของปา่ ดิบเขาธรรมชาตดิ อย
ปุย เชียงใหม่. การวิจยั ล่มุ น้ำท่ีห้วยคอกม้า เลม่ ท่ี 25, มกราคม 2519. คณะวนศาสตร์
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

เกษม จนั ทรแ์ กว้ และ จุฑาธปิ อยู่เย็น. 2424. การวเิ คราะหช์ นิดและปรมิ าณบคั เตรีในลมุ่ น้ำป่าดบิ เขา
ดอยปยุ เชยี งใหม่. การวิจัยลุ่มน้ำทห่ี ้วยคอกมา้ เลม่ ท่ี 35,กรกฏาคม 2524. คณะวนศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ.

เกษม จนั ทร์แกว้ และ บุญปลูก นาประกอบ. 2520. ปรมิ าณธาตอุ าหารภายในระบบนิเวศน์ปา่ ดบิ เขาดอย
ปุย เชียงใหม่. การวจิ ยั ล่มุ นำ้ ท่หี ว้ ยคอกมา้ เล่มท่ี 30, มนี าคม 2520. คณะวนศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ.

เกษม จันทรแ์ กว้ และ เพม่ิ ศักด์ิ มกราภิรมย์. 2522. ปรมิ าณน้ำในช่วงแลง้ ฝนจากป่าดิบเขาดอยปุย
เชียงใหม่. การวจิ ยั ลมุ่ น้ำท่หี ้วยคอกม้า เล่มที่ 34, มิถุนายน 2522. คณะวนศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ.

เกษม จนั ทรแ์ กว้ สามัคคี บุณยะวัฒน์ วิชา นยิ ม และ สิทธิชยั ตันธนะสฤษดิ์. 2529. ผลกระทบของการใช้
ท่ีดนิ บนภูเขาตอ่ ลักษณะการไหลของน้ำ บรเิ วณสถานวี จิ ยั ลุ่มน้ำห้วยคอกม้า ดอยปุย เชยี งใหม่.
ภาควชิ าอนุรักษวิทยา คณะวนศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์.

203

เกษม จนั ทรแ์ กว้ และ วชิ าญ ตนั นุกิจ. 2516. ปจั จัยสำคัญที่มผี ลตอ่ ความคงทนของดินปา่ ดบิ เขา บรเิ วณ
ดอยปุย จงั หวัดเชียงใหม่. การวจิ ยั ลุม่ น้ำทห่ี ว้ ยคอกม้า เลม่ ที่ 12, พฤษภาคม พ.ศ. 2516.
คณะวนศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

เกษม จนั ทรแ์ กว้ สามัคคี บณุ ยะวัฒน์ วชิ า นยิ ม และ สทิ ธิชยั ตนั ธนะสฤษดิ์. 2526. ผลกระทบของการใช้
ท่ดี ินบนภเู ขาตอ่ ลักษณะการไหลของนำ้ บรเิ วณสถานีลุ่มนำ้ หว้ ยคอกม้า ดอยปุย เชยี งใหม่.
ภาควชิ าอนรุ กั ษวิทยา คณะวนศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์.

แกว้ หล่อพฒั นเกษม. 2510. การศึกษาความชืน้ ของดนิ ในป่าดงดิบเขาและปา่ ถกู ถางดอยปยุ เชยี งใหม่.
วทิ ยานพิ นธ์ (วน.บ.) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

จรินทร์ นาคศิริ. 2516. การหาสมรรถนะการซมึ ได้ของนำ้ ผา่ นผิวดนิ ปา่ ดิบเขา บริเวณเทือกเขาเขาดอยปุย
เชียงใหม่. วทิ ยานิพนธป์ ริญญาโท มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

จารุจนิ ต์ นภตี ะภัฏ. 2530. สตั วป์ า่ ในบริเวณอุทยานแห่งชาติดอยสเุ ทพ-ปยุ . ภาควิชาอนรุ ักษวิทยา
คณะวนศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์.

จฑุ าธิป อยเู่ ยน็ . 2523. การวิเคราะห์แบคทีเรยี ในนำ้ จากลุ่มนำ้ ปา่ ดบิ เขาบริเวณดอยปยุ เชยี งใหม่.
วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญาโท มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

ฉันทนา อคั ควัฒน์. 2527. การออกแบบตกแต่งพืน้ ท่ีนนั ทนาการโดยใชพ้ ันธุไ์ ม้ท้องถนิ่ ศกึ ษาเฉพาะบรเิ วณ
นำ้ ตกหว้ ยแก้ว อุทยานแห่งชาตดิ อยสเุ ทพ-ปุย. วทิ ยานพิ นธป์ ริญญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,
กรุงเทพฯ.

ชนินทร รัตตสัมพันธ์. 2529. อุปสงคข์ องการนนั ทนาการกลางแจ้งของอุทยานแห่งชาตดิ อยสุเทพ-ปุย.
วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญาโท มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ.

ชลาทร ศรตี ุลานนท์. 2524. ปริมาณและลกั ษณะการไหลของนำ้ ในป่าดบิ เขาดอยปุย เชียงใหม่.
วิทยานพิ นธ์ปริญญาโท มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

ณรงค์ มหรรณพ. 2526. ศกั ยภาพการให้นำ้ ทา่ ของลมุ่ น้ำบนภูเขาทม่ี ีการใชท้ ่ีดินแบบตา่ งๆ บริเวณทุ่งจ๊อ
และดอยปุย เชียงใหม่. วทิ ยานพิ นธ์ปรญิ ญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ.

ณฐั พงศ์ คงกระพนั ธ์ ศุภลักษณ์ ศริ ิ ดอกรัก มารอด และ ประทีป ด้วงแค. 2559. ความหลากชนิดและ
รูปแบบการหากินดา้ นต้งั ของนกในแนวรอยตอ่ ระหวา่ งป่าเตง็ รังและปา่ ดิบเขาระดบั ตำ่ อุทยาน
แห่งชาตดิ อยสุเทพ-ปุย จงั หวดั เชียงใหม่. ภาควชิ าชีววิทยาปา่ ไม้ คณะวนศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร,์ กรุงเทพฯ.

204

ดอกรัก มารอด สราวธุ สงั ข์แก้ว ประทปี ด้วงแค แหลมไทย อาษานอก ต่อลาภ คำโย สุธีระ เหิมฮึก อำพร
ปานมงคล และ สถติ ย์ ถนิ่ กำแพง. 2558. ความหลากหลายของพรรณพืชป่าดิบเขาระดับต่ำบรเิ วณ
ล่มุ นำ้ ห้วยคอกม้า อุทยานแห่งชาตดิ อยสุเทพ-ปยุ จังหวดั เชียงใหม่. เอกสารประกอบการประชมุ
วิชาการและนำเสนอผลงานวชิ าการเครอื ขา่ ยงานวจิ ยั นิเวศวิทยาป่าไมป้ ระเทศไทย: องคค์ วามรดู้ า้ น
นิเวศวิทยาเพอ่ื การจดั การที่ยง่ั ยืน ระหวา่ งวนั ที่ 22-23 มกราคม 2558 ณ คณะเกษตรศาสตร์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลยั นเรศวร จงั หวัดพิษณุโลก. น. หนา้ 51-60.

ธรี ศักด์ิ บญุ ชดู วง. 2526. ผลกระทบจากการใช้ท่ีดนิ ประเภทตา่ ง ๆ ต่อสมบัตทิ างกายภาพของน้ำบริเวณ
ดอยปุย เชยี งใหม่. วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญาโท มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ.

นงนชุ จันทราช. 2528. การศกึ ษาปริมาณคารบ์ อนไดออกไซดใ์ นนำ้ ที่ไหลผา่ นพ้นื ท่ีการใช้ท่ีดนิ ประเภท
ตา่ งกนั บนภูเขาบริเวณดอยปยุ จงั หวดั เชียงใหม่. วิทยานพิ นธป์ รญิ ญาโท
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ.

นพิ นธ์ ต้ังธรรม. 2513. การศกึ ษาเบอ้ื งตน้ เก่ยี วกับปริมาณน้ำฝนทีถ่ ูกสกัดก้ันโดยเรือนยอด น้ำฝนที่ตกผ่าน
เรือนยอดลงมา นำ้ ฝนที่ไหลลงมาตามลำต้นไม้ และการเคล่ือนยา้ ยธาตอุ าหารจากเรอื นยอดลงมา
ตามลำตน้ และชะล้างลงมาจากใบไมใ้ นปา่ ดิบเขา ลมุ่ น้ำหว้ ยคอกมา้ ดอยปยุ เชียงใหม่. การวจิ ยั
ลุม่ น้ำทีห่ ว้ ยคอกม้า เลม่ ที่ 5, ตุลาคม พ.ศ. 2513. คณะวนศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์,
กรุงเทพฯ.

นิวัติ เรืองพานิช. 2513. ความสัมพันธร์ ะหว่างปริมาณน้ำฝนและลักษณะการไหลของนำ้ ในลำธารลุม่ นำ้
หว้ ยคอกม้า ดอยปุย เชยี งใหม่. การวจิ ัยลุม่ น้ำท่ีห้วยคอกมา้ เลม่ ที่ 6, ตุลาคม พ.ศ. 2513.
คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ.

นิวตั ิ เรืองพานชิ . 2514. อทิ ธพิ ลของความหนาแนน่ ของเรอื นยอดทมี่ ตี อ่ การสญู เสียดนิ และนำ้ ในปา่ ดบิ เขา.
รายงานวนศาสตรว์ ิจัย เล่มที่ 13, มถิ นุ ายน พ.ศ. 2514. คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,
กรงุ เทพฯ.

บรรยง เลขาวิจิตร. 2525. บทบาทของปา่ ดิบเขาต่อขบวนการทางอทุ กวทิ ยาบรเิ วณดอยปุย เชียงใหม่.
วทิ ยานิพนธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

บัวเรศ ประไชโย. 2519. การวิเคราะหก์ ารปกคลุมของเรอื นยอดทส่ี มั พนั ธต์ ่อจำนวนตน้ และปรมิ าณซากพชื
ของปา่ ดิบเขาดอยปุย เชียงใหม่.วทิ ยานพิ นธ์ปรญิ ญาโท มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ.

บญุ ปลกู นาประกอบ. 2519. การหมนุ เวียนของธาตุอาหารในล่มุ นำ้ ขนาดเลก็ ของป่าดบิ เขา ดอยปุย
เชยี งใหม่. วิทยานพิ นธ์ปริญญาโท มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

ประชุม สนั ทัดการ. 2516. การเสอื่ มคุณสมบตั ิของดนิ ปา่ ดบิ เขาภายหลงั ถกู แผ้วถางในช่วงเวลาตา่ งกนั
บรเิ วณดอยปุย เชียงใหม่. วิทยานิพนธป์ รญิ ญาโท มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ.

205

ปทั ม์ ญาติมาก. 2555. แนวทางการใช้ประโยชน์ท่ดี นิ เชิงนิเวศบรเิ วณพืน้ ท่ีเชื่อมต่อเขตอทุ ยานแหง่ ชาติ
ดอยสเุ ทพ – ปยุ อำเภอเมืองและอำเภอหางดง จงั หวดั เชยี งใหม่. วิทยานิพนธ์ปรญิ ญาโท
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ.

พงษ์ชยั จนั ทนสมติ . 2525. การวเิ คราะห์โอกาสและรูปแบบการตกของฝนบนภูเขาสูงดอยปยุ เชียงใหม่.
วทิ ยานิพนธป์ ริญญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ.

พงษศ์ กั ดิ์ ลาภอดุ มเลิศ. 2518. สมการสหสัมพันธ์เพอ่ื การประเมินน้ำไหลจากลุม่ นำ้ ขนาดเล็กปา่ ดิบเขา
ดอยปุย เชียงใหม่.วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ.

พงษ์ศักดิ์ ลาภอดุ ม สามัคคี บุญยะวฒั น์ และเกษม จันทร์แกว้ . 2518. ความผนั แปรของน้ำฝนบริเวณทมี่ ี
ความสงู แตกตา่ งกันเพยี งเล็กน้อยของสถานีวิจัยลมุ่ นำ้ หว้ ยคอกม้า ดอยปยุ เชียงใหม่. การวิจัยลุ่ม
นำ้ ทีห่ ว้ ยคอกมา้ เล่มท่ี 22, สิงหาคม พ.ศ. 2518. คณะวนศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์,
กรุงเทพฯ.

พงษ์ศกั ดิ์ ลาภอุดมเลิศ ประชมุ สนั ทัดการ และ เกษม จันทร์แกว้ . 2517. ความผนั แปรของปรมิ าณ
อินทรยี วตั ถุภายหลังการแผว้ ถางป่าดบิ เขา ดอยปุย เชยี งใหม่. การวิจยั ล่มุ น้ำที่ห้วยคอกมา้ เลม่ ที่
18, มถิ ุนายน พ.ศ. 2517. คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

พรชัย ปรีชาปัญญา. 2527. การสูญเสยี ดินและนำ้ จากการประยกุ ต์ระบบวนเกษตร : การศึกษาเฉพาะกรณี
การทำสวนกาแฟในปา่ ดบิ เขาท่ดี อยปยุ เชยี งใหม.่ วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญาโท
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ.

พิชญลกั ษณ์ พิชญกุล. 2548. กลยทุ ธใ์ นการยกระดบั มาตรฐานแหลง่ ทอ่ งเท่ียวทางธรรมชาตใิ นจงั หวัด
เชียงใหมก่ รณศี ึกษาอทุ ยานแหง่ ชาติดอยสุเทพ-ปุย. คณะบรหิ ารธรุ กิจ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่.

พิศาล วสวุ านิช. 2511. ลักษณะโครงสรา้ งของป่าดบิ เขาในบริเวณห้วยคอกมา้ ดอยปุย เชียงใหม่.
วทิ ยานิพนธ์ (วน.บ.) มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

เพม่ิ ศกั ด์ิ มกราภิรมย์. 2520. การวเิ คราะห์ปรมิ าณนำ้ ไหลในลำธารปา่ ดิบเขาธรรมชาติ บริเวณดอยปุย
จงั หวัดเชียงใหม่. ปญั หาพิเศษระดบั ปริญญาโท ภาควชิ าวนวัฒนวทิ ยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,
กรุงเทพฯ.

ภาควิชาอนุรกั ษวิทยา คณะวนศาสตร.์ การวิจัยการจัดการลุ่มน้ำบนภเู ขาทห่ี ้วยคอกมา้ บนดอยปยุ
เชยี งใหม่. การวิจัยลมุ่ นำ้ ทห่ี ้วยคอกม้า เลม่ ท่ี 1, มนี าคม 2512. คณะวนศาสตร์
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

มงคล วรรณประเสรฐิ . 2528. ลกั ษณะโครงสรา้ งและการกระจายของขนาดชอ่ งวา่ งในปา่ ดิบเขาธรรมชาติ
ดอยปยุ จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปรญิ ญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ.

206

มนตรี จงลกั ษมณี. 2529. อทิ ธิพลของทศิ ด้านลาดต่อปรมิ าณ ไนโตรเจน ฟอสฟอรสั และ โปแตสเซียม ใน
พืชและดิน บริเวณปา่ ดิบเขา ดอยปุย เขียงใหม่. วิทยานพิ นธ์ปริญญาโท มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์
กรงุ เทพฯ.

มนัส สุวรรณ และ จริ ะ ปรังเขียว. 2536. การจัดทำแผนการจัดการและพฒั นาการใชท้ ่ีดนิ ของอทุ ยาน
แหง่ ชาตดิ อยสุเทพ-ปุย. ภาควิชาภมู ิศาสตร์ คณะสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

มนสั พิมพร์ ัตน์. 2559. พลวัตของกล้าไมต้ น้ บรเิ วณชอ่ งวา่ งและภายใต้เรอื นยอดปา่ เขาระดบั ตำ่ อุทยาน
แหง่ ชาตดิ อนสุเทพ-ปยุ จงั หวดั เชียงใหม่. วิทยานิพนธป์ รญิ ญาโท, มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.์

มรกต วชั รมสุ กิ . 2541. การศึกษาเบื้องต้นของสภาพปา่ และพรรณไม้บรเิ วณอทุ ยานแหง่ ชาติดอยสเุ ทพ –
ปุย จงั หวัดเชียงใหม่. วทิ ยานิพนธป์ รญิ ญาโท มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ.

มานิตย์ อนรุ ักษไ์ พบลู ย์. 2519. ลักษณะการรับรองรบั นำ้ ฝนของไมก้ ่อเดอื ยในปา่ ดิบเขาดอยปุย เชียงใหม่.
ปัญหาพเิ ศษระดับปรญิ ญาโท ภาควิชาวนวฒั นวทิ ยา มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

ยุวดี พลพิทกั ษ์. 2557. อาหารของสัตวส์ ะเทินนำ้ สะเทินบกบรเิ วณปา่ ดบิ เขา อุทยานแห่งชาตดิ อยสเุ ทพ-
ปุย จังหวดั เชียงใหม่. วทิ ยานิพนธป์ รญิ ญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

โยธิน จงบรุ ี. 2554. การมสี ่วนร่วมของชาวเขาเผา่ ม้งในการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรป่าไม้ในพืน้ ทอ่ี ุทยานแห่งชาติ
ดอยสเุ ทพ – ปยุ จงั หวัดเชียงใหม่. วทิ ยานิพนธป์ ริญญาโท มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

เรณู สวุ รรณรัตน์. 2524. สมดุลของน้ำในป่าดิบเขาธรรมชาติดอยปุย เชียงใหม่. วทิ ยานิพนธ์ปริญญาโท
มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

วรงค์ ฤกษร์ จุ ิพมิ ล. 2525. การประยกุ ตก์ ารใชภ้ าพถา่ ยจากระยะไกลในการสำรวจสัณฐานบริเวณอุทยาน
แหง่ ชาติดอยปุย เชยี งใหม่. วิทยานิพนธป์ ริญญาโท มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ.

วรวชิ อทิ ธิโชติ. 2528. ความชืน้ สมั พัทธก์ ับอุณหภูมิของอากาศบนภูเขา ดอยปุย เชียงใหม่. วทิ ยานิพนธ์
ปริญญาโท มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

วชิ าญ ตนั นกุ ิจ. 2516. สมรรถภาพการพงั ทลายของดนิ ทส่ี มั พันธ์กับสมบตั ิทางฟิสกิ ส์และเคมีบรเิ วณ
ป่าดบิ เขา ดอยปุย เชียงใหม่. วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญาโท มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

วทิ ยา เฉดิ ดลิ ก. 2521. มวลชีวภาพและปริมาณธาตอุ าหารของพืชชั้นล่างในปา่ ดิบเขาดอยปุย เชียงใหม่.
วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญาโท มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

วิภารตั น์ ทองเดจ็ . 2555. ประยกุ ตแ์ บบจำลอง Penman, Penman – Monteith และ Rutter เพ่อื
ประมาณคา่ การคายระเหยน้ำของปา่ ดิบเขา บริเวณลุม่ นำ้ ห้วยคอกม้า ดอยปุย จังหวัดเชียงใหม่.
วิทยานพิ นธป์ รญิ ญาโท มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ.

207

วีระชาติ เทพพิพิธ. 2524. การใช้แปลงขนาดเล็กหาค่าดัชนีการพังทลายและประสิทธิภาพการเคลื่อนย้าย
ตะกอนของป่าดิบเขาดอยปุย เชียงใหม่. วิทยานพิ นธป์ ริญญาโท มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์,
กรงุ เทพฯ.

วีระศกั ด์ิ อุดมโชค. 2524. การกระจายช่องว่างขนาดตา่ งๆ ของดินปา่ ดบิ เขาและไร่เลอื่ นลอยบริเวณดอย
ปยุ เชียงใหม่. วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญาโท มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

ศิริ อัคคะอัคร และ สานติ ย์ กิตตสิ ัทโธ. 2535. ลักษณะของเชอ้ื เพลิงในป่าเต็งรงั อุทยานแหง่ ชาติ
ดอยสเุ ทพ-ปุย จังหวดั เชยี งใหม่. สำนกั งานชว่ ยเหลือผู้ประสบภัยธรรมชาติ กรมป่าไม้, กรงุ เทพฯ.

ศริ ิ อคั คะอคั ร. 2539. การจัดระดับชัน้ อันตรายจากไฟป่าในปา่ เตง็ รัง อุทยานแหง่ ชาติดอยสเุ ทพ-ปุย.
ส่วนจัดการไฟป่าและภยั ธรรมชาติ สำนกั ปอ้ งกันและปราบปราม กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.

ศริ ธิ ญั ญา พมิ าน. 2545. การประเมนิ อัตราการคายน้ําของเทพทาโร และกอ่ หม่น ในปา่ ดบิ เขา ดอยปยุ จ.
เชยี งใหม่ โดยใช้แบบจำลอง Penman-Monteith. วิทยานพิ นธ์ปริญญาโท
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ.

ศภุ ลกั ษณ์ ศิริ ประทีป ดว้ งแค และ ดอกรัก มารอด. 2558. รปู แบบการหากนิ ด้านตัง้ ของนกในแปลงถาวร
ปา่ ดบิ เขาหว้ ยคอกม้า จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปรญิ ญาโท มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์,
กรุงเทพฯ.

สนิท อกั ษรแกว้ และ สามคั คี บณุ ยะวัฒน์. 2520. ลักษณะโครงสรา้ งของป่าดิบเขาตามระดบั ความสูง
ต่างกันบรเิ วณดอยปยุ เชียงใหม่. การวจิ ยั ลมุ่ น้ำที่หว้ ยคอกมา้ เลม่ ท่ี 32, ธันวาคม 2520.
คณะวนศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

สนทิ อกั ษรแก้ว สามัคคี บุณยะวฒั น์ และ ปรชี า ธรรมานนท์. 2520. การทดแทนของสังคมพืชกบั ปรมิ าณ
ตะกอนบนพนื้ ทีห่ ลังการทำไรเ่ ล่อื นลอยในปา่ ดบิ เขา ดอยปุย เชียงใหม่. การวจิ ยั ล่มุ นำ้ ทห่ี ้วยคอก
ม้าเลม่ ที่ 31. คณะวนศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ.

สมพร ภตู ยิ านันต์ หริ ัญรามเดช และ เจมส์ แฟรงคลนิ แมกซเ์ วล. 2534. การสำรวจและเก็บตวั อยา่ งพันธุไ์ ม้
สมนุ ไพรบริเวณดอยสเุ ทพ-ปยุ . กรงุ สยาม, กรงุ เทพฯ.

สมศักดิ์ ทองจลุ . 2510. ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งความหนาของดนิ หน้าในระดับความลาดชันตา่ งๆ
ในป่าดงดิบเขา ดอยปยุ . วิทยานพิ นธ์ (วน.บ.) มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

สมศกั ด์ิ โทสงั คหะทิสากลุ . 2530. ประยกุ ต์ขบวนการทางอทุ กวทิ ยาเพ่อื การประเมินน้ำทา่ ในลมุ่ นำ้ ขนาด
เลก็ ของปา่ ดิบเขา ดอยปยุ เชยี งใหม่. วิทยานพิ นธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

สัญญา ศรลมั พ์. 2528. การสูญเสียไนโตรเจน ฟอสฟอรัสและโปแตสเซียมจากสวนกาแฟในปา่ ดบิ เขาดอย
ปุย เชียงใหม่. วิทยานพิ นธ์ปรญิ ญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

208

สามคั คี บญุ ยะวัฒน์ และ เกษม จันทรแ์ ก้ว. 2518. การวิเคราะห์ลักษณะฝนและจำนวนเครื่องวัดน้ำฝนใน
ล่มุ น้ำขนาดเล็กบนภูเขาดอยปยุ เชียงใหม่. การวิจยั ลมุ่ นำ้ ท่หี ว้ ยคอกม้าเลม่ ที่ 21, กรกฎาคม พ.ศ.
2518. คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ.

สามคั คี บุณยะวฒั น์ และ ชมุ พล งามผอ่ งใส. 2517. การวิเคราะห์ปริมาณการสะสมและการสลายตวั ของ
เศษไมใ้ บไม้ในป่าดิบเขา ดอยปยุ เชยี งใหม่. การวจิ ัยลุ่มน้ำท่ีหว้ ยคอกม้า เล่มท่ี 17, มนี าคม พ.ศ.
2517. คณะวนศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

สามคั คี บุณยะวัฒน์ สรุ ินทร์ นำมาประเสรฐิ และ เกษม จนั ทร์แกว้ . 2526. ผลของการใช้ประโยชนท์ ี่ดินต่อ
สมดุลของน้ำบริเวณดอยปยุ และทุ่งจ๊อ. การวจิ ัยลุม่ น้ำที่ห้วยคอกม้า เลม่ ท่ี 37, ตุลาคม 2526. คณะ
วนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ.

สิรีมาตร จิตปาโล เดชา ววิ ัฒน์วทิ ยา และ วยิ ะวฒั น์ ใจตรง. 2559. โครงสรา้ งทางสังคมของสัตว์ขาปลอ้ งใน
ดนิ บรเิ วณอทุ ยานแห่งชาตดิ อนสุเทพ-ปุย จงั หวัดเชียงใหม่. วารสารวนศาสตร์ 36(1): 11-21.

สุคนธ์ วฒั นะพนั ธุ์. 2529. ผลการใชท้ ่ีดินบนภูเขาตอ่ ไสเ้ ดือนฝอยในดินและในน้ำบริเวณท่งุ จอ๊ และ
ดอยสุเทพ-ปยุ จังหวดั เชยี งใหม่. วิทยานิพนธ์ปรญิ ญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

สชุ าติ วนวัฒนาวงศ์. 2510. การสำรวจความเปน็ อยูแ่ ละอาชพี ทางกสิกรรมของพวกชาวเขาเผา่ แม้ว
ดอยปุย จ.เชยี งใหม่. วทิ ยานิพนธ์ (วน.บ.) มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

สุทธชิ ัย วริ ิยโกศล. 2510. การศกึ ษาปริมาณอินทรียวัตถุและเนอ้ื ดนิ ในระดบั ความลาดเอียงต่างๆ กัน
ในป่าดงดิบทีด่ อยปุย. วิทยานิพนธ์ (วน.บ.) มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

สุธีระ เหิมฮกึ และ ดอกรกั มารอด. 2563. การตรวจสอบ และการคาดการณ์การเปลยี่ นแปลงรปู แบบการ
ใชป้ ระโยชน์ทีด่ ินในอทุ ยานแหง่ ชาติดอยสเุ ทพ-ปุย จังหวดั เชยี งใหม่. วารสารวนศาสตรไ์ ทย 39 (1):
97-109.

สุธีระ เหมิ ฮกึ . 2557. การต้ังตวั ของพันธ์ุไมบ้ ริเวณแนวรอยต่อป่าดิบเขาระดับต่ำ อุทยานแหง่ ชาติดอยสุ
เทพ-ปุย จังหวดั เชียงใหม่. วิทยานิพนธป์ รญิ ญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

สุปาณี วชิ ญานันต์. 2527. การวิเคราะห์หาปริมาณซัลเฟตในดิน นำ้ ดนิ ตะกอนของลำธารและการดดู
ซบั ซลั เฟตของดินจากบริเวณทุ่งจอ๊ และดอยปยุ เชยี งใหม่. วทิ ยานิพนธป์ ริญญาโท
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

สุรศรี บำรุงวงศ์. 2526. ผลการใชท้ ี่ดินบนภูเขาต่อไสเ้ ดอื นฝอยในดินและในนำ้ บริเวณดอยปยุ จงั หวัด
เชยี งใหม่. วิทยานพิ นธป์ รญิ ญาโท มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

สุรนิ ทร์ นำประเสริฐ. 2525. สมดลุ ของนำ้ จากพน้ื ทีท่ ี่มกี ารใชป้ ระโยชน์ที่ดนิ บรเิ วณทุง่ จอ๊ และดอยปุย
จงั หวดั เชยี งใหม่. วิทยานพิ นธ์ปรญิ ญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

209

เสาวภา สนธไิ ชย และ อารยา จาตเิ สถียร. 2539. การศกึ ษาอารโ์ ทรปอดในดนิ ระหวา่ งดนิ ในปา่ ธรรมชาติ
และดนิ ในพนื้ ทีเ่ พาะปลูกบนดอยสุเทพ-ปยุ . สำนักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ, กรุงเทพฯ.

โสภณ พวงเพชร. 2526. การศึกษาธาตอุ าหารในนำ้ ทีม่ าจากการใชท้ ดี่ นิ ประเภทต่างๆ บนที่สูง บรเิ วณดอย
ปยุ และทุ่งจ๊อ เชยี งใหม่. วทิ ยานิพนธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ.

หทัยรตั น์ จันโทวาท. 2554. การตอบสนองตอ่ กฎระเบียบและมาตรการจัดการผู้ใช้ประโยชนด์ ้าน
นนั ทนาการของผมู้ าเยือนอุทยานแหง่ ชาติดอยสุเทพ-ปยุ จงั หวัดเชียงใหม่. วิทยานพิ นธป์ ริญญาโท
มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

อนงค์ทพิ ย์ พงษส์ วุ ิเชษศักด์ิ. 2531. การสำรวจการใชท้ ี่ดินและผลผลติ ป่าไม้เพื่อวางแผนอุทยานแห่งชาติ
ดอยสุเทพ-ปยุ เชยี งใหม่. วทิ ยานพิ นธ์ปรญิ ญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ.

อนันตศกั ด์ิ ส่องพราย. 2525. ผลกระทบจากการใชท้ ีด่ ินประเภทตา่ งๆ บนภูเขาตอ่ คุณภาพนำ้ บรเิ วณ
ดอยปุยและทุง่ จอ๊ เชยี งใหม่. วิทยานพิ นธ์ปรญิ ญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ.

อนนั ตศักด์ิ สอ่ งพราย. 2527. การศึกษาชนดิ และการประเมนิ ค่าไทรและมะเด่ือพ้นื เมอื งบนดอยสุเทพ-ปุย
จงั หวดั เชียงใหม่. วิทยานิพนธป์ รญิ ญาโท มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ.

อนนั ตศกั ดิ์ ส่องพราย. 2527. ผลกระทบจากการใชป้ ระโยชน์ทด่ี นิ ต่อคณุ ภาพของน้ำบรเิ วณดอยปยุ และ
ท่งุ จอ๊ เชยี งใหม่. วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

อภิรดี ฟูสมบัติ. 2528. ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งเฟินกับสภาพแวดลอ้ มบริเวณปา่ ดิบเขาดอยปยุ เชยี งใหม่.
วิทยานิพนธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ.

อภิษฎา เรอื งเกตุ อัมพร ปานมงคล ดอกรกั มารอด และ ประทีป ด้วงแค. 2559. การเลอื กใช้ประโยชนไ์ มผ้ ล
ของสตั ว์ปา่ ในแปลงถาวรปา่ ดบิ เขาระดบั ตำ่ บรเิ วณลุม่ น้ำหว้ ยคอกมา้ อทุ ยานแห่งชาตดิ อยสุเทพ-
ปยุ จังหวดั เชียงใหม่. ภาควิชาชีววิทยาป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ.

อรณุ เหลียววนวฒั น์. 2525. ความเปลี่ยนแปลงของลกั ษณะโครงสรา้ งปา่ ดบิ เขาตามระดบั ความสูงตา่ งกนั
บริเวณดอยปุย เชยี งใหม่. วิทยานิพนธป์ รญิ ญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ.

อญั ชัญ ตณั ฑเทศ. 2554. การศึกษาการรบั ร้สู ภาพภูมิทัศน์ของผมู้ าเยือนอทุ ยานแห่งชาติดอยสุเทพ – ปุย.
วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญาโท มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ.

อัฐสณั ห์ นครศรี. 2528. ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งพรรณไม้กับสภาพแวดล้อมบรเิ วณป่าดิบเขาดอยสุเทพ-ปยุ
เชียงใหม่. วิทยานิพนธป์ รญิ ญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

อาระยา นันทโพธิเดช. 2523. ผลกระทบของการใชท้ ่ีดินบนภเู ขาตอ่ คณุ ภาพน้ำบรเิ วณดอยปุย เชยี งใหม่.
วิทยานิพนธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ.

210

Arerut Yarnvudhi1, Sarawood Sungkaew, Sutheera Hermhuk, Pasuta Sunthornhao and Surin
Onprom. 2016. Plant Diversity and Utilization on Ethnobotany of Local People at
Hmong Doi Pui Village in Doi Suthep-Pui National Park, Chiang Mai Province. Thai J.
For. 35 (3) : 136-146.

Oraphan Sungkajanttranon, Dokrak Marod, Sahanat Petchsri, Kritsiam Kongsatree, Anothai
Peankonchong, Thunthicha Chotpiseksit and Benjawan Supnuam. 2019. Altitudinal
Effect on Diversity and Distribution of Araceae in Doi Suthep-Pui National Park,
Chiang Mai Province in Thailand. Journal of Agricultural Science and Technology B 9
(2019): 49-59.

Stephen Elliott, Sutthathorn Chairuangsri, Cherdsak Kuaraksa, Sudarat Sangkum, Kwankhao
Sinhaseni, Dia Shannon, Phuttida Nippanon and Benjapan Manohan. 2019.
Collaboration and Conflict—Developing Forest Restoration Techniques for
Northern Thailand’s Upper Watersheds Whilst Meeting the Needs of Science and
Communities. Forests 2019, 10, 732.

211


Click to View FlipBook Version