The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระระพิน พุทฺธิสาโร (ด้วงลอย/พลอยบุตร). (2554). การศึกษาเชิงสำรวจขบวนการพุทธใหม่ในประเทศไทย - A Survey Study on New Buddhist Movements in Thailand. สารนิพนธ์ของการศึกษา รายวิชาสัมมนา พระพุทธศาสนากับวิทยาการโลกยุคใหม่ ตามหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาพระพุทธศาสนา
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พุทธศักราช 2554

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by raphind, 2022-04-20 20:31:54

A Survey Study on New Buddhist Movements in Thailand

พระระพิน พุทฺธิสาโร (ด้วงลอย/พลอยบุตร). (2554). การศึกษาเชิงสำรวจขบวนการพุทธใหม่ในประเทศไทย - A Survey Study on New Buddhist Movements in Thailand. สารนิพนธ์ของการศึกษา รายวิชาสัมมนา พระพุทธศาสนากับวิทยาการโลกยุคใหม่ ตามหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาพระพุทธศาสนา
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พุทธศักราช 2554

A Survey Study on New
Buddhist Movements in Thailand

การศึกษาเชิงสำรวจ
ขบวนการพุทธใหม่ในประเทศไทย

พระระพิน
พุทธิสาโร

การศกึ ษาเชงิ สารวจขบวนการพทุ ธใหม่ในประเทศไทย
A SURVEY STUDY ON NEW BUDDHIST MOVEMENTS IN THAILAND

พระระพนิ พุทธฺ ิสาโร (ดว้ งลอย)

สาร
สารนิพนธ์ฉบับนเี้ ป็นสว่ นหน่งึ ของการศึกษา
รายวิชาสัมมนา พระพทุ ธศาสนากบั วทิ ยาการโลกยุคใหม่
ตามหลกั สูตรปริญญาพทุ ธศาสตรดษุ ฎบี ัณฑติ

สาขาพระพุทธศาสนา
บัณฑติ วิทยาลัย

มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั
พทุ ธศักราช ๒๕๕๔

การศึกษาเชิงสารวจขบวนการพทุ ธใหม่ในประเทศไทย

พระระพิน พุทธฺ ิสาโร (ดว้ งลอย)

สารนิพนธ์ฉบบั นเ้ี ป็นส่วนหนง่ึ ของการศึกษา
รายวชิ าสมั มนา พระพุทธศาสนากับวิทยาการโลกยุคใหม่

ตามหลักสูตรปริญญาพทุ ธศาสตรด์ ษุ ฎีบัณฑติ
สาขาพระพทุ ธศาสนา
บณั ฑิตวทิ ยาลยั

มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย
พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๔

(ลิขสทิ ธิ์น้ีเป็นของ มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั )

A Survey Study on New Buddhist Movements in Thailand

Phra Raphin Buddhisãro (Duangloi)

A Thematic Paper Concerning the Qualifying Examination in the
Specified Subject in Seminar on Buddhism and New World Perspectives Submitted in Partial

Fulfillment of the Requirement for the Award
of the Degree of Doctor of Philosophy
(Buddhist Studies)

Graduate School
Mahachulalongkornrajavidyalaya University

Bangkok,Thailand
B.E.2554

(Copyright by Mahachulalongkornrajavidyalaya University)

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อนุมัติให้นับสารนิพนธ์
ฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการสอบวัดคุณสมบัติ รายวิชาสัมมนาพระพุทธศาสนากับวิทยาการโลกยุคใหม่
ตามหลกั สตู รปรญิ ญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวชิ าพระพทุ ธศาสนา

...........................................................
(พระสธุ ีธรรมานวุ ัตร, ผศ.ดร.)
คณบดีบณั ฑติ วิทยาลยั

คณะกรรมการตรวจสอบสารนพิ นธ์ ......................................................ประธานกรรมการ
(พระมหาโชว์ ทสสฺ นีโย, ดร.)

.....................................................กรรมการ
(ดร.ศศิวรรณ กาลงั สนิ เสริม)

......................................................กรรมการ
(ดร.ประพันธ์ ศุภษร)

อาจารย์ที่ปรึกษา ดร. ประพันธ์ ศภุ ษร

(ก)

ช่ือสารนิพนธ์ : การศึกษาเชิงสารวจขบวนการพทุ ธใหม่ในประเทศไทย

ผ้วู ิจัย : พระระพิน พทุ ฺธิสาโร (ดว้ งลอย/พลอยบตุ ร)

ปริญญา : พทุ ธศาสตรดุษฎีบณั ฑติ (พระพทุ ธศาสนา)

อาจารย์ท่ีปรึกษาสารนพิ นธ์

: ดร. ประพนั ธ์ ศุภษร ป.ธ.๗, พธ.บ., ศศ.ม., พธ.ด. (พระพุทธศาสนา)

วนั ทเี่ สร็จสมบรู ณ์ : ๒ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๕

บทคัดย่อ
สารนิพนธ์ฉบับน้ี มีวตั ถุประสงค์เพ่ือ (๑) ศึกษาแนวคิด เหตุผล ท่ีเป็ นปัจจัยให้เกิด
“ขบวนการพทุ ธใหม”่ ในประเทศไทย (๒) ศึกษาเชิงสารวจขบวนการพุทธใหม่ ทเ่ี กิดข้นึ ในสงั คมไทย
(๓) ท้งั วิเคราะหผ์ ลท่ีเกิดข้นึ จาก “ขบวนการพุทธใหม่” ต่อสงั คมไทย โดยเป็นการวจิ ยั เชิงคุณภาพ เนน้
การวิจยั ทางเอกสาร ผลการศกึ ษาพบว่า
ความเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนในดา้ นต่าง ๆ อาทิ การเมือง สังคม เศรษฐกิจ วฒั นธรรม เป็ น
ปัจจยั ส่งผลให้เกิดกลุ่มพระพุทธศาสนาอย่างใหม่ ภายใตก้ ารปรับตวั เพื่อสนองตอบ และ/หรือไหล่บ่า
ไปตามกระแสการเปลี่ยนแปลงน้ัน เป็ นปรากฏการณ์ ความเคล่ือนไหวในสังคมไทย อาทิ กลุ่ม
พทุ ธธรรมเพ่ือสังคม ทมี่ ีท้งั หลกั การ/ปฏิบตั ิการ กล่มุ สตรีเพศกบั ศาสนา “ภิกษุณี-ชี” กลุม่ ตคี วามพุทธ
ธรรม ท่เี พ่ือส่งเสริมการรู้และปฏบิ ตั ิ เช่น สวนโมกข์ สนั ติอโศก ธรรมกาย กลมุ่ พทุ ธพาณิชยท์ ีร่ ะดมทุน
ผา่ น “วตั ถุมงคล” กลมุ่ ไสยองิ พทุ ธ ผ่านพฤติกรรม “สานกั ทรง” กลุ่มปฏบิ ตั ิ “พระกรรมฐาน” เป็นตน้
ผลท่ีเกิดในภาพรวมเป็ นท้ังส่งเสริมหลกั พุทธธรรม และมีไม่น้อยที่ขัดกัน ในหลักการ
คาสอน แนวคิด หลกั ปฏิบตั ิ เป็ นภาพต่อเนื่องของ “ขบวนการพุทธใหม่” ท่ีเกิดข้ึนในองค์รวมของ
พระพุทธศาสนาในประเทศไทย ซ่ึงบางกรณีเลยไปถึงข้นั การล่วงละเมดิ พระธรรมวินยั หรือกฎหมาย
เป็ นตน้
แนวโนม้ ของ “ขบวนการพทุ ธใหม”่ ในประเทศไทย เป็นไปตามสถานการณ์แวดลอ้ ม โดย
มีศาสนิกผนู้ บั ถอื ปฏบิ ตั ิ ทเ่ี ป็นไปตาม “จริต” ความพึงใจเฉพาะทย่ี อมรบั สนบั สนุนต่อกลมุ่ หน่ึง แตอ่ าจ
ไม่เห็นด้วย คัดคา้ นต่ออีกกลุ่มหน่ึงบนฐานของศรัทธา การตีความ แนวปฏิบัติ หลักทางสังคม
พทุ ธธรรมจะเป็นเกณฑว์ ดั แมใ้ นบางสานกั จะไดร้ ับการยอมรับในช่วงท่ีเจา้ สานกั ยงั มีชีวิตอยู่ เท่าน้นั ก็
ตาม แต่กม็ ีบางกลุ่มสานกั ท่เี ปล่ียนผนู้ า ผูก้ ่อต้งั แลว้ ก็ยงั คงมีพฒั นาการอย่างต่อเนื่องในสังคมไทย

(ข)

Thematic Paper Title : A Survey Study on New Buddhist Movements in Thailand

Researcher : Phra Raphin Buddhisãaro (Duangloi/Ploybutr)

Degree : Doctor of Philosophy (Buddhist Studies)

Thematic Paper Supervisor

: Dr.Prapun Suphasorn Pali VII, B.A., M.A., Ph.D. (Buddhist Studies)

Date of Completion : February 2, 2012

ABSTRACT

This thematic paper aims at: 1) studying the factors leading to “New Buddhist Movements” in
Thailand; 2) studying survey on the New Buddhist Movements in Thai Societies; and 3) analyzing
feedback of the New Buddhist Movements towards Thai Societies. This paper is a qualitative document
style of research.

From the research, it was found that the changes in numerous aspects, i.e. politics, societies,
economy, culture, all of which are the results in new Buddhist movements under the circumstances of
the response and the following of those changes that are the movement phenomena of Thai societies
such as socially engaged Buddhism movement (theoretical /practical aspect), feminist and religious
group “Bhikkhuni–Chi”, Interpretative group for knowledge and practice, i.e. Suanmoke, Santiasoke,
Dhammakaya, commercial groups through “auspicious objects”, the animatism :– An animism through
Medium-ship and Meditational group.

It appears that these are supportive principles of Buddhism and some contradictory,
teachings, concepts, and practical principle results from the “New Buddhist Movements” occurring as a
whole in Thai Buddhism, some of which violate Dhammavinaya or Law etc.

Tendency of the new Buddhist Movements in Thailand in accordance with surrounding
circumstances that followers adhere to the particular groups’ temperaments, satisfaction, some of which
adhere to particular groups but may not agree to some groups based on faiths, interpretation, practices,
social norms, and Buddhadhamma as measurements. Some groups gain popularity while the head of
group is still alive, though some groups change the positions of their heads. They still develop
continually in Thai societies.

(ค)

กติ ตกิ รรมประกาศ

ขอคุณงามความดีของครูอาจารยท์ ่ีมีตอ่ ผูว้ ิจยั ท้งั ผสู้ อนในรายวิชา ผแู้ นะนา เจ้าหน้าท่ีบณั ฑิต
คณะกรรมการผูส้ อบสาระนิพนธ์ จงเป็ น “ปฏิการะ” ต่อ “พระรัตนตรัย” และพระพุทธศาสนาให้สถิต
มนั่ คงสืบไปร่วมกนั

หากงานน้ีพอจะมปี ระโยชนแ์ ละคณุ ค่าอนั ใดอนั เป็นผลจากการศึกษาวจิ ัยน้ี ตอ่ ผศู้ ึกษาวิจยั ใน
ช้นั หลงั ๆ ให้เขา้ ใจต่อองคค์ วามรู้ในทางพระพทุ ธศาสนาย่ิงข้ึนแลว้ ขอคุณงามความดีเหล่าน้นั ให้เป็ น
พทุ ธบูชา ธรรมบชู า สังฆบชู า อาจริยบชู า เป็นคุณูปการต่อการส่งเสริม รกั ษา สืบทอดอายุพระพุทธศาสนา
ให้พระพุทธศาสนาสถิตมน่ั คงสืบไป

ขอกราบขอบพระคุณต่อพระสุธีธรรมานุวตั ร (เทียบ สิริญาโณ,ป.ธ.๙,Ph.D) คณบดีบณั ฑิต
วทิ ยาลยั ทเี่ ต็มพร้อมดว้ ยเมตตา ใส่ใจ ถามไถ่ถงึ ความกา้ วหนา้ ของการศกึ ษาของนกั ศกึ ษาทุก ๆ ท่าน และท่ี
สาคญั กระตุน้ เร้าให้เกิดการพฒั นางานของนกั ศึกษา ผ่านระบบบริหารซ่ึงเป็ นเร่ืองที่ควรระลึกถึงนามา
กล่าวกราบขอบพระคุณดว้ ยความสานึกยิ่ง

ขอขอบคณุ ดว้ ยความสานึกต่อ ดร.ประพนั ธ์ ศุภษร รองคณบดีบณั ฑิตวทิ ยาลยั ที่เมตตารับเป็นที่
ปรึกษาสารนิพนธ์ และใหค้ าแนะนา แนวคิด รวมท้งั ความรู้ มุมมอง ในการเขยี นงานท่ีเป็ นประโยชน์ และขอ
กราบขอบพระคุณต่อ พระมหาโชว์ ทสฺสนีโย (ป.ธ.๗, Ph.D) ประธานสอบ ดร.ศศิวรรณ กาลงั สินเสริม
คณะกรรมการสอบ ท่ใี หค้ าแนะนาในการสอบปรับแก้ ท่ีเป็นประโยชน์ยง่ิ ดร.ดวงกมล ทองคณารกั ษ์ ท่ี
ชว่ ยตรวจทาน พร้อมคาแนะนาทเ่ี ป็นประโยชน์ จงึ ขอขอบคุณทุกท่านไวด้ ว้ ยไมตรีจิต

ขอขอบคณุ ต่อเจา้ หนา้ ที่บณั ฑิตทกุ ท่าน อาทิ พระครูใบฎีกาสน่นั ทยรกฺโข เจา้ หนา้ ท่ีบณั ฑิต
วิทยาลยั ที่เมตตาตรวจรูปแบบให้ถูกต้องก่อนสอบ คุณอุดม จันทิมา ผปู้ ระสานงานในทุก ๆ เร่ือง และ
ข้นั ตอนต่าง ๆ รศ.ชูศกั ด์ิ ทพิ ยเ์ กษร ที่ให้คาแนะนาตรวจแกบ้ ทคดั ย่อ อย่างรวดเร็ว กระฉับกระเฉงใส่ใจ
จนกระทงั่ สมบูรณ์ซ่ึงเป็ นบุคลิกท่ีแตกต่างกับวยั อย่างส้ินเชิง รวมท้งั คณาจารยข์ องบณั ฑติ วิทยาลยั ทุก ๆ
ท่าน ท้งั เจา้ หนา้ ที่ ซ่ึงจะถกู เก็บไวเ้ ป็นความทรงจา

ขอขอบคุณต่อกลั ยาณมิตรเพื่อนร่วมช้นั เรียน รุ่น ๕ ทุกทา่ น ในฐานะเพ่ือนร่วมช้ัน และเป็ น
กลั ยาณมิตรท่เี ก้อื หนุนต่อการศึกษานบั แตต่ น้ จนกระทงั่ ปัจจุบนั ท้งั การใหค้ าแนะนา การเขียนงาน การให้
ขอ้ มลู หยบิ ยืมอุปกรณ์เคร่ืองใช้ อาทิ กลอ้ ง เครื่องบนั ทึกเสียง การช่วยแปลบทคดั ย่อ จนมีพฒั นาการต่อ
งานวจิ ยั ดงั ปรากฏท้งั สนบั สนุนทนุ รอน ท่กี ิน ที่นอน พาหนะการเดนิ ทาง รบั ส่งเมอื่ ไป กลบั ทางเดียวกนั ท้งั
เก้ือกลู กนั และกนั ตามโอกาสท้งั พระมหาบรู ณะ ชาตเมโธเจา้ อาวาสวดั ฉิมทายกาวาส พระครูพิพิธปริยตั กิ จิ
(ชยนั ต์ พุทฺธธมฺโม) เจ้าอาวาวดั ซับชะอม พระมหาอุดร สุทธิญาโณ วดั ชนะสงคราม พระมหาธานินธ์

(ง)

อาทิตฺตวโร ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวดั ปรินายก พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต วดั อรุณราชวราราม คุณพูนสุข
มาศรงั สรรค์ คณุ รุ่งศกั ด์ิ ศิวาชัญ คุณสุมาลี วุฒิจนิ ดา คุณเอ้ือมอร ชลวร คุณศุวภรณ์ แนวจาปา คุณสุเมธ
โสฬส รวมท้งั ตน้ แบบทเี่ พื่อน ๆ มุ่งทาตาม ดร.นนั ทพล โรจนโกศล ดร.สมจิตรา กติ ติมานนท์ เพ่ือนร่วม
รุ่นทีเ่ รียนจบไปก่อนหนา้ น้ี

ดร.พิเชฐ ท่ังโต คุณเรืองอรุณ คาพิมาน คุณพรศรี ใจสว่าง คุณปิ ยะดา แพรดา คุณตอ้ งตา
คริสเตนเซ่น ทใี่ ห้โอกาส ทุนรอน และหยบิ ยืมไดต้ ามโอกาส

ที่สาคญั สมาชิกในครอบครัว แม่พลอย ด้วงลอย /พี่ชาย สมพงษ์ พาน(ต่าย) สมบตั ิ (พจน์)
สมบรู ณ์ (รุ่ง) นอ้ งชาย ดิเรก และวชั รินทร์ (แสง) ที่เป็นจุดเร่ิมตน้ และย่างกา้ วร่วมกนั มาตลอดเวลา

พระราชพฤฒาจารย์ (ห้อม อมโร) พระอุปัชฌาย์ และอดีตเจ้าอาวาสวดั คูหาสุวรรณ และอดีต
เจา้ คณะจงั หวดั สุโขทยั พระครูสุพฒั นพธิ าน (ทองดี มหาวโี ร) อดตี เจา้ อาวาสวดั คลองตะเคียน “หลวงนา้ ”
ท่ีเป็นผรู้ ิเริ่มให้ทางเดินต้งั แต่ตน้ จนกระทง่ั ปัจจบุ นั

ขอบกราบขอบพระคุณต่ออุปการคุณ ของพระครูพิศาลวิริยคุณ (สิงห์โต เทศกาล) อดีตเจ้า
อาวาสวดั บึงทองหลาง กรุงเทพ ในฐานะประธานมูลนิธิพระครูธรรมสมาจารย์ (อุปัชฌายพ์ กั ธมฺมทตฺโต)
มูลนิธิพระครูพิศาลวิริยคุณ (สิงห์โต เทศกาล) ท่ีได้จดั มอบทุนการศึกษาให้ ภายใตก้ ารประสานของ
ดร.พิเชฐ ทงั่ โต มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั และกรรมการมลู นิธิ ฯ จานวน ๑๕๐,๐๐๐ บาท

มลู นิธิมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั จานวน ๙๐,๐๐๐ หมื่นบาท ซ่ึงทนุ น้ีแต่เดิมเป็ นสิทธ์ิอนั
พึงได้ของ พระมหาชยันต์ พุทฺธธมฺโม (พระครูพิพิธปริยตั ิกิจ) กัลยาณมิตร ร่วมช้ันเรียนเจ้าอาวาส
วดั ซับชะอม จงั หวดั สระบุรี แต่ท่านเห็นว่าผูว้ ิจยั มีงบจากดั และน่าจะไดป้ ระโยชน์จากทุนน้ีมากกว่า จึง
สละทุนให้ ทนุ น้นั จึงขยบั มาเป็นของผอู้ ย่ลู าดบั ถดั ไปคือผวู้ จิ ยั

กองทุนปลูกรากแก้วศาสนทายาท วดั พระรามเก้ากาญจนาภิเษก กรุงเทพมหานคร โดย
พระเดชพระคุณพระพระธรรมบณั ฑิต (อภิพล อภิพโล) พระราชญาณกวี (สุวิทย์ ปิ ยวิชฺโช ป.ธ.๙)ได้
มอบทุน สนบั สนุนการศึกษา จานวน ๓๐,๐๐๐ บาท

ผศ.ดร.พลับพลึง คงชนะ (คณะสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทร์วโิ รฒ) ท่ีปรึกษาสานกั
ศิลปวฒั นธรรม มหาวิทยาลยั ราชภฎั สวนดุสิต ผเู้ ป็ นครูของผูว้ จิ ยั ในคราวเรียนปริญญาโท ที่ยงั คงวิญญาณ
แห่งความเป็ นครู เก้ือหนุน ท้งั ทุนและความรู้ ด้วยความเป็ นครูตลอดมา ได้มอบถวายทุน สนับสนุน
การศกึ ษา ทาเล่ม เขา้ ปก ถา่ ยเอกสาร จานวน ๔๕,๐๐๐ บาท

พระระพนิ พทุ ฺธิสาโร (ดว้ งลอย/พลอยบตุ ร)
๒ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๕

สารบัญ (จ)

เร่ือง หน้า
บทคดั ยอ่ ภาษาไทย ก
บทคดั ยอ่ ภาษาองั กฤษ ข
กิตตกิ รรมประกาศ ค
สารบญั จ
สารบญั แผนภาพ ซ
สารบญั ตาราง ฌ
คาอธิบายสัญลกั ษณ์และคาย่อ ญ

บทที่ ๑ บทนา ๑
๑.๑ ความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา ๕
๑.๒ วตั ถปุ ระสงคใ์ นการวจิ ยั ๕
๑.๓ ปัญหาทีต่ อ้ งการทราบ ๕
๑.๔ ขอบเขตและกรอบการวจิ ยั ๖
๑.๕ นิยามศพั ทท์ ีใ่ ชใ้ นการวจิ ยั ๑๐
๑.๖ ทบทวนเอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ๒๖
๑.๗ วธิ ีการดาเนินการวจิ ยั ๒๘
๑.๘ กรอบแนวคดิ ทฤษฎีท่ใี ชใ้ นการวจิ ยั ๒๙
๑.๙ ประโยชน์ทีค่ าดว่าจะไดร้ บั
๓๐
บทท่ี ๒ ปัยจยั ให้เกดิ “ขบวนการพทุ ธใหม”่ ในประเทศไทย ๔๐
๒.๑ ความหมายและท่ีมาของขบวนการพทุ ธใหม่ ๔๑
๒.๒ แนวคดิ ที่ส่งผลต่อการเกดิ ขบวนการพทุ ธใหม่ ๔๖
๒.๒.๑ แนวคดิ การเร่ืองการเปลี่ยนแปลง ๕๔
๒.๒.๒ แนวคดิ เรื่องสตรีนิยม
๒.๒.๓ แนวคดิ ทฤษฎีปรากฏการณ์

(ฉ)

๒.๒.๔ แนวคดิ ฆราวาสนิยม ๕๖
๒.๒.๕ แนวคิดปัจเจกนิยม ๕๗
๒.๒.๖ แนวคิดทนุ นิยม/นิยมทนุ แนวพุทธ ๕๘
๒.๒.๗ แนวคิดพหุลกั ษณ์ /ทวนิ ิยม ๖๒
๒.๒.๘ แนวคิดพระพุทธศาสนากบั การเขา้ ไปรบั ใชส้ งั คม/ศาสนาเพอ่ื สังคม ๖๓
๒.๒.๙ แนวคดิ เรื่องศรัทธาและการสรา้ งศรทั ธา ๖๖
๒.๒.๑๐ แนวคิดเร่ืองการตีความหลกั คาสอน ๖๘
๒.๓ สาเหตทุ ่นี าไปสู่การเกดิ พทุ ธใหมใ่ นสังคมไทย ๗๐
๒.๓.๑ ปัจจยั ภายในองคก์ ารพทุ ธกระแสหลกั ๗๒
๒.๓.๒ ปัจจยั ภายนอกองคก์ รพทุ ธกระแสหลกั ๗๗

บทที่ ๓ พฒั นาการขบวนการพุทธใหมใ่ นประเทศไทย ๘๕
๓.๑ ขบวนการพทุ ธใหม่ในสังคมไทย ๘๗
๓.๒ กลุ่มเพศวถิ ี ๘๙
๓.๑.๑ กล่มุ ภิกษณุ ีเพศ ๙๘
๓.๑.๒ แม่ชี ๑๐๖
๓.๑.๓ กลุ่มเพศวิถีสตรี “อุบาสิกา” ๑๑๑
๓.๓ กลุ่มตคี วามใหม่ ๑๑๕
๓.๓.๑ สานกั สวนโมกข์ ๑๑๘
๓.๓.๒ สานกั สันติอโศก ๑๒๑
๓.๓.๓ สานกั วดั พระธรรมกาย ๑๒๔
๓.๔ กลุม่ พระพทุ ธศาสนาเพ่ือสังคม ๑๒๘
๓.๔.๑ กล่มุ หลกั การพุทธธรรมเพ่อื สังคม ๑๓๔
๓.๔.๒ กลมุ่ ปฏบิ ตั ิการเชิงพุทธเพือ่ สงั คม ๑๔๓
๓.๕ กล่มุ ปฏบิ ตั ิ สานกั ปฏิบตั ิ ๑๔๖
๓.๓.๑ วิธีปฏิบตั ิแนวอานาปานสติ ๑๕๐
๓.๓.๒ วธิ ีปฏบิ ตั ิวชิ ชาธรรมกาย (หลวงพ่อสด) ๑๕๑
๓.๓.๓ วธิ ีปฏิบตั ิแนวสติปัฎฐาน (พอง-ยบุ )

๓.๓.๔ วธิ ีปฏบิ ตั ิแนวสมาธิแบบเคลื่อนไหว (ช)
๓.๖ กลมุ่ ไสย อิงพุทธ-กลุม่ ทรง
๓.๗ กล่มุ พุทธพาณิชย์ (วตั ถมุ ีฤทธ์ิ/วตั ถุมงคล/พระเคร่ือง) ๑๕๓
๑๕๗
บทที่ ๔ ผลของขบวนการพทุ ธใหมต่ อ่ สังคมไทย ๑๖๖
๔.๑ ผลของ “ขบวนการพทุ ธใหม”่ ต่อสังคม
๔.๑.๑ สงั คมใกล้ ๑๗๔
๔.๑.๒ สงั คมไกล ๑๗๔
๔.๒ ผลตอ่ ความเป็นปัจเจก ๑๗๕
๔.๓ ผลต่อหลกั การ ๑๗๕
๔.๔ ผลตอ่ วตั รปฏิบตั ิ ๑๗๕
๔.๕ ผลตอ่ คณะสงฆ์ ๑๗๖
๔.๖ ผลต่อสงั คมในภาพรวมของปรากฏการณข์ บวนการพทุ ธใหม่ ๑๘๐
๔.๗ แนวโนม้ ของขบวนการพุทธใหมใ่ นประเทศไทย ๑๘๒
๑๘๗
บทที่ ๕ สรุป
๕.๑ บทสรุป ๑๙๒
๕.๒ ขอ้ เสนอแนะ ๑๙๔
๑๙๖
บรรณานกุ รม ๒๑๓
ประวตั ผิ วู้ จิ ยั

สารบญั แผนภาพ (ซ)

แผนภาพที่ หนา้
๑.๑ ปรากฏการณ์ของความเคลื่อนไหวของขบวนการพุทธใหม่ในสงั คมไทย ๖
๑.๒ กรอบคดิ วิธีการดาเนินการวจิ ยั ๒๘
๒.๑ พฒั นาการของการเกิดพทุ ธใหม่ ๔๐
๒.๒ สมการทฤษฎีแนวคิดทางสังคม ๔๔
๒.๓ ปิ รามิดวธิ ีการสร้างศรัทธา ของขบวนการพุทธใหมใ่ นประเทศไทย ๖๗
๒.๔ ปรากฏการณเ์ กี่ยวกบั ความเช่ือทมี่ ผี ลตอ่ การสรา้ งขบวนการพุทธใหม่ ๖๘
๒.๕ ผงั แสดงผลตอ่ ความเช่ือในวตั ถมุ ฤี ทธ์ิและไสยศาสตร์ ๗๖
๓.๑ เพศวถิ กี บั การมสี ่วนร่วมทางศาสนาในสังคมไทย ๑๑๐
๓.๒ ผงั ความสมั พนั ธ์ของกลุ่มตคี วาม ๑๒๓
๓.๓ กรอบการปฏิบตั ขิ องกลุ่มพุทธธรรมเพื่อสงั คม ๑๓๓
๓.๔ แผนผงั ความสัมพนั ธข์ องกลมุ่ ปฏิบตั กิ ารเชิงพทุ ธในสังคมไทย ๑๔๒
๓.๕ กลมุ่ แนวปฏบิ ตั ใิ นสังคมไทย ๑๕๖
๓.๖ ผงั ความสมั พนั ธข์ องสานกั ทรง /พทุ ธ ๑๖๒
๓.๗ ผงั ความสมั พนั ธข์ องกลุ่มวตั ถุมีฤทธ์ิ วตั ถุมงคล พระเครื่อง ๑๗๑

สารบัญตาราง (ฌ)

ตาราง หนา้
๓.๑ ตารางแสดงวธิ ีการตคี วามของหลวงพ่อพุทธทาส ๑๑๖
๓.๒ ตารางเปรียบเทยี บวิธีการปฏิบตั ขิ องกลุ่มสายปฏบิ ตั ิ ๑๕๓

(ญ)

คาอธิบายสัญลักษณ์และคาย่อ

การใช้อกั ษรย่อ

อักษรย่อในสารนิพนธ์ฉบับน้ี ใช้อ้างอิงพระไตรปิ ฎก ฉบับมหาจุฬาเตปิ ฏก ๒๕๐๐

พระไตรปิ ฎกภาษาไทย ฉบบั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๒๕๓๙ อรรถกถาภาษาบาลี ฉบบั มหาจุฬา

อฏฺ กถา อรรถกถาภาษาไทย ฉบบั มหามกุฏราชวิทยาลยั ฎีกา ปกรณวิเสส อรรถกถาปกรณวิเสส ภาษา
บาลี ฉบบั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั เรียงตามลาดบั คมั ภรี ์ ดงั น้ี

ก. คาย่อพระไตรปิ ฎก

พระวนิ ยั ปิ ฎก

ว.ิ มหา. (ไทย) = วนิ ยั ปิ ฎก มหาวิภงั ค์ (ภาษาไทย)
(ภาษาไทย)
ว.ิ ม. (ไทย) = วนิ ยั ปิ ฎก มหาวรรค (ภาษาไทย)

ว.ิ จู (ไทย) = วนิ ยั ปิ ฏก จฬู วรรค

พระสุตตนั ตปิ ฎก

ที.สี. (ไทย) = สุตตนั ตปิ ฎก ทฆี นิกาย สีลขนั ธวรรค (ภาษาไทย)
ท.ี ม. (ไทย) =
ที.ปา. (ไทย) = สุตตนั ตปิ ฎก ทฆี นิกาย มหาวรรค (ภาษาไทย)
ม.ม. (ไทย) =
ม.อุ. (ไทย) = สุตตนั ตปิ ฎก ทฆี นิกาย ปาฏิกวรรค (ภาษาไทย)
ส.ส. (ไทย) =
ส.ข. (ไทย) = สุตตนั ตปิ ฎก มชั ฌิมนิกาย มชั ฌิมปัณณาสก์ (ภาษาไทย)
องฺ. อฏฺฐก. (ไทย) =
องฺ.ทสก. (ไทย) = สุตตนั ตปิ ฎก มชั ฌิมนิกาย อปุ ริปัณณาสก์ (ภาษาไทย)
ขุ.ขุ. (ไทย) =
ข.ุ ธ. (ไทย) = สุตตนั ตปิ ฎก สงั ยุตตนิกาย สคาถวรรค (ภาษาไทย)
ข.ุ อ.ุ (ไทย) =
ขุ.อติ ิ. (ไทย) = สุตตนั ตปิ ฎก สงั ยตุ ตนิกาย ขนั ธวรรค (ภาษาไทย)

สุตตนั ตปิ ฎก องั คุตตรนิกาย อฏั ฐกนิบาต (ภาษาไทย)

สุตตนั ตปิ ฎก องั คตุ ตรนิกาย ทสกนิบาต (ภาษาไทย)

สุตตนั ตปิ ฎก ขุททกนิกาย ขทุ ทกปาฐะ (ภาษาไทย)

สุตตนั ตปิ ฎก ขุททกนกิ าย ธรรมบท (ภาษาไทย)

สุตตนั ตปิ ฎก ขทุ ทกนกิ าย อุทาน (ภาษาไทย)

สุตตนั ตปิ ฎก ขุททกนิกาย อติ ิวุตฺตกะ (ภาษาไทย)

(ฎ)

ข.ุ สุ. (ไทย) = สุตตนั ตปิ ฎก ขทุ ทกนิกาย สุตตนิบาต (ภาษาไทย)

ขุ.วิ. (ไทย) = สุตตนั ตปิ ฎก ขุททกนิกาย วิมานวตั ถุ (ภาษาไทย)

ข.ุ เถรี (ไทย) = สุตตนั ตปิ ฎก ขุททกนิกาย เถรีคาถา (ภาษาไทย)

ข.ุ ชา (ไทย) = สุตตนั ตปิ ฎก ขุททกนกิ าย ชาดก (ภาษาไทย)

ข.ุ จู. (ไทย) = สุตตนั ตปิ ฎก ขทุ ทกนิกาย มหานิทเทส (ภาษาไทย)

ข.ุ ป. (ไทย) = สุตตนั ตปิ ฎก ขุททกนกิ าย ปฏสิ ัมภิทามรรค (ภาษาไทย)

การใช้หมายเลขย่อ

การใชส้ ัญลกั ษณ์ยอ่ ในพระไตรปิ ฎก จะแจง้ เล่ม/ขอ้ /หนา้ หลงั คาย่อตามลาดบั เชน่
ที.สี.(บาล)ี ๙/๓/๓๖ หมายถึง สุตฺตนฺตปิ ฏก ทีฆนิกาย สีลขนฺธวคฺค พระไตรปิ ฎกภาษาบาลี เล่มที่ ๙ ขอ้ ท่ี
๓ หนา้ ๓๖, ที.สี.(ไทย) ๙/๓/๕๐ หมายถึง สุตตนั ตปิ ฎก ทีฆนิกาย สีลขนั ธวรรค พระไตรปิ ฎกภาษาไทย
เล่มท่ี ๙ ขอ้ ที่ ๓ หนา้ ๕๐

การใชส้ ัญลกั ษณ์ย่อในอรรถกถา จะแจง้ เล่ม/(ขอ้ )/หน้า หลงั คาย่อตามลาดับ เช่น ที.ม.อ.
(บาลี) ๒/๑๓๒/๒๐๐ หมายถึง ทีฆนิกาย สุมงฺคลวิลาสินี มหาวคฺคอฏฺ ฐกถา ฉบบั อรรถกถาภาษาบาลี
มหาจฬุ าอฏฺ กถา เล่มท่ี ๒ ขอ้ ๑๓๒ หนา้ ๒๐๐

บทท่ี ๑
บทนำ

๑.๑ ควำมเปน็ มำ และควำมสำคัญของปญั หำ
พระพุทธศาสนามีคาสอนเร่ือง “การเปล่ียนแปลง” (ไตรลักษณ์) ซ่ึงหมายถึงสามัญ

ลักษณะ คือ กฎธรรมดาของสรรพส่ิงท้ังปวง ไม่เที่ยง ไม่คงท่ี ไม่ยั่งยืน เกิดข้ึนแล้วเสื่อมสลายไป
เปน็ ธรรมดา (อนิจจลกั ษณะ) ไม่สามารถทนอยู่ในสภาพเดิมได้ (ทุกขสัจจ์) ไมส่ ามารถบังคับบัญชา
ใหเ้ ปน็ ไปตามต้องการได้ (อนัตตา) สอดรับกับแนวคิดท่ีว่า “ธรรมชาติความเป็นจริงของสรรพสิ่ง
ล้วนเชื่อมโยงอย่างเคล่ือนไหว (Dynamic Inter-connectedness) เป็นปัจจัยต่อกันและกัน ซ่ึงสอดรับ
กับแนวคิด “การเปล่ียนแปลง” ท่ีเกิดข้ึนภายใต้ความหลากหลายซับซ้อนด้วยเหตุผลทางเศรษฐกิจ
การเมือง สังคม วัฒนธรรม ความเช่ือ ท้ังมีความพยายามของกลุ่มความเช่ือทางศาสนา ท่ีให้มีการ
“ปรับ” เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งเข้าไปมีส่วนร่วมในการสร้าง “พัฒนาการทางศาสนา”
ใหม่ รองรับอนาคตดังกรณีการปฏิรูปพระพุทธศาสนาเข้าสู่ความเป็นเหตุเป็นผลตามแนว
วิทยาศาสตร์ ในช่วงวชิรญาณภิกขุ (พ.ศ. ๓๖๗- ๓๙๔) และรัชกาลท่ี ๔ (พ.ศ. ๓๙๔- ๔ )๓
การกาเนิดกฎหมาย ร.ศ. (พ.ศ. ๔๔๕) ทาให้เกิดมหาเถรสมาคมองค์กรปกครองคณะสงฆ์
การเกิดสวนโมกข์ สันติอโศก และธรรมกาย รวมทั้งขบวนการอ่ืน ๆ ที่ปรากฏอยู่ ตอบรับกับความ
เปล่ียนแปลง ของกลุ่มทางศาสนาเช่นในปัจจุบัน ทุกคร้ังที่มีกระแสความคิดหรือกระแสความ
เปลยี่ นแปลงอย่างใหม่ไหลบ่าเข้ามาในสังคม หากเป็นกระแสใหญ่ ผลท่ีเกิดขึ้นกับศาสนาดั้งเดิมใน
สังคมน้ันมักจะมี ๔ แบบ คือ๔ (๑) ศำสนำนั้นถูกลดบทบำทลง หมายถึง ปรับเพื่อรองรับความ
เปล่ียนแปลง กรณีปรับให้พระพุทธศาสนามีความเป็นเหตุเป็นผลมากข้ึนในช่วงสมัยรัชกาลที่ ๓
และ ๔ ในเวลาเดียวกันชดุ เหตผุ ลของการเปลีย่ นแปลง กค็ อื ศาสนาด้ังเดิมไม่สามารถตอบสนองต่อ

ส.สฬา. (ไทย) ๘/ / - .
[ออนไลน]์ , แหล่งที่มา : http://www,ryt9,com/s/tpd/899164 ( ๐ มิถุนายน ๕๕๓).
๓ ดร.วินัย พงษ์ศรีเพียร, “การพระศาสนากับการจัดระเบียบสังคมไทยต้ังแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จ
พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว”, ในพระพุทธศำสนำและ
สถำบนั สงฆ์กับสงั คมไทย, วินัย พงศ์ศรีเพียร, วีรวัลย์ งามสันติกุล บรรณาธิการ, (กรุงเทพมหานคร : สานักงาน
สนบั สนนุ กองทนุ วจิ ยั (สกว.), ๕๔๙), หน้า ๗๕- ๘๐.
๔พระไพศาล วิสาโล, พุทธศำสนำไทยในอนำคตแนวโน้มและทำงออกจำกวิกฤติ ,
(กรุงเทพมหานคร: มลู นิธสิ ดศรีสฤษดว์ิ งศ์, ๕๔๖), หนา้ ๔๙.

การเปล่ียนแปลงอันใดได้เลย ดังปรากฏในทัศนะของ จิม แอล เทเลอร์ (Jim L.Taylor) ที่มองการ
เกิดข้ึนของสานักธรรมกายและสันติอโศกท่ีได้รับการสนับสนุนจากชนชั้นกลางว่า “ชนชั้นกลาง
รู้สึกกดดัน เหน่ือยหน่ายกับความเฉื่อยอืดอาดของคณะสงฆ์กระแสหลัก รวมท้ังความไร้
ประสิทธิภาพของคณะสงฆ์ในการแก้ปัญหาในภาวะปัจจุบัน”๕ รวมถึงการแสวงหา “ค่านิยม
ส่วนตวั และการตอบสนองความพึงใจเชิงปจั เจก”๖ การปฏิรูปศาสนาของรัชกาลที่ ๕ การก่อตัวของ
สวนโมกข์ ธรรมกาย และสันติอโศก ล้วนมีฐานและแนวคิดจากส่วนน้ี ( ) ศาสนาด้ังเดิมโอน
อ่อนผอ่ นไปตามสถานการณ์ใหม่หรอื ความคิดใหม่ พฤติการณ์แนวคิดนี้คือการผสมผสานระหว่าง
พฤตกิ รรมความเชือ่ ต่าง ๆ จานวนมาก จนกลายเป็นส่วนหนึ่งที่ถูกหลอมกลายเป็นเน้ือเดียวกัน ทั้ง
ที่ในความเป็นจริงมีการแยกส่วนกันอย่างชัดเจน ดังกรณีพุทธ-ไสย พุทธพาณิชย์ สานักทรงซ่ึง
ปรากฏอยู่จานวนมากในสังคมไทย รวมไปถึงแนวคิดสิทธิ หน้าที่ และเพศวิถีท่ีปรากฏเป็นการ
ขับเคล่ือนปรากฏอยู่ในสังคมไทย (๓) เกิดการปรับตัวในศาสนาเพื่อธารงคุณค่าเดิมเอาไว้ การลุก
ขน้ึ มากอ่ ต้ังธรรมยตุ ิกนิกาย ลว้ นตอบสนองแนวคดิ การแสวงหาคุณค่าด้ังเดิมไว้ ซึ่งปรากฏในส่วนของ
สานักธรรมยุตที่มีพัฒนาการเริ่มต้นในช่วง พ.ศ. ๓๖๗ - ๓๗๙ ล่วงถึงสวนโมกข์ และสันติอโศก
(๔) ศาสนานัน้ ปิดตัวเองและพยายามกลบั ไปหา “ความจริงแท้” ในอดีต พัฒนาการทางพุทธศาสนา
ในประเทศไทยส่วนน้ีจะพบในสานักปฏิบัติสายวัดป่า การตีความเพ่ือปฏิบัติของสานักถ้ากระบอก
หรือวัดสามแยกกับการตีความเรื่อง “เงิน” ผ่านแนวคิดเดิมในคัมภีร์พระไตรปิฎก รวมไปถึง
สนั ติอโศกกบั การตคี วามปฏิบัติยอ้ นกลบั ไปส่รู ากฐานเดมิ ในคมั ภรี ์ทางพระพทุ ธศาสนา เปน็ ต้น

กระแสโลกานุวัตรในเชิงวัฒนธรรม (Culture globalization) ส่งผลให้เกิดแนวคิดต่าง ๆ
จานวนมาก ทั้งเป็นส่วนให้เกิด “นวัตกรรมความเช่ือ” อย่างใหม่ในประเทศไทย ไม่ว่าจะเป็น
ปัจเจกนิยม (Individualism) สิทธิ (Right) สตรีนิยม(Feminism) รวมท้ังแนวคิด“โลกียวิสัย”
(Secularization) ตามคาอธิบายของพระไพศาล วิสาโล รวมทั้งการที่ชาวพุทธมีความเข้าใจต่อ
หลักการทางพระพุทธศาสนาอย่างจากัด ทาให้ส่วนหน่ึงแสวงหาความเช่ือท่ีเป็นปัจเจกกันมากข้ึน

๕ Jim L,Taylor, “The New Buddhist Movement in Thailand : An Individualistic Revolution”,
Reform and Politic Dissonnance, Journal of Southeast Asian Studies, (March 1990 ) : 134-139.

๖ Marja-Leena Heikkilä-Horn, Buddhism with Open Eyes : Belief and Practice of Santi Asoke,
(Bangkok : Fah Apai Co.Ltd., 1977 ), p.48.



ท้ัง ๆ ทอ่ี งคก์ รหนว่ ยยอ่ ยของพุทธกระแสหลัก คอื “วัด” ได้กระจายตัวยึดคลุมพ้ืนท่ีไปทั่วประเทศ๗
แต่งานของคณะสงฆ์กระแสหลกั ต่อบรบิ ทสงั คมไทย เป็นไปอยา่ งจากัด จึงปรากฏเพียง “พิธีกรรม-
บุญ-ประเพณี” เป็นต้น คล้ายทัศนะของ จิม แอล เทเลอร์ ท่ีมองการเปลี่ยนแปลงน้ีว่าเป็นความไร้
ประสิทธิภาพของคณะสงฆ์ในการแก้ปัญหา๘ ซึ่งแนวคิดน้ีไม่ต่างจากนักวิชาการท่านอื่น ๆ อาทิ
นิธิ เอียวศรีวงศ์๙ อภิญญา เฟื่องฟูสกุล ๐ โรรี แม็คเคนซี ที่ศึกษาเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาใน
ประเทศไทยเช่นกัน เห็นว่า ขบวนการพุทธใหม่เกิดข้ึนภายใต้ความเปล่ียนแปลงและไม่พร้อมของ
องค์กรกระแสหลัก จึงทาให้เกิดการแสวงหาทางออก เฉพาะในความเชื่อทางพระพุทธศาสนากัน
มากขึ้น รวมถึงแนวคิดเรื่องการจัดองค์กรท่ีเหมาะสม ความพึงพอใจเชิงปัจเจก และแนวทางการ
แก้ปญั หาอย่างทนั ทว่ งที ซ่งึ มสี ่วนอย่างสาคัญต่อการเกิดปรากฏการณ์เหล่านี้ พระไพศาล วิสาโล
มองกระบวนการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึนในสังคมไทยอย่างมีเงื่อนไข ไม่ว่าจะด้วยเหตุของการ
เปล่ียนแปลงในองค์รวมของสังคมท่ีสัมพันธ์กับความหลากหลายของคณะสงฆ์ ท่ีบ่งช้ีถึงความไร้
เอกภาพและความอ่อนแอขององค์กรปกครองคณะสงฆ์ กลุ่มผู้นับถือ การแสวงหาศาสนาในเชิง
ปัจเจกท่ีสัมพันธ์ไปถึงบทบาทของผู้หญิงกับศาสนา เส้นแบ่งของฆราวาสกับพระสงฆ์ รวมไปถึง
ศาสนาในแบบฆราวาสและลัทธิพิธีที่เกิดขึ้นอย่างไม่ปราณีปราศรัย สภาพเหล่านี้คือปรากฏการณ์
ทางพระพุทธศาสนาในองค์รวมท่ีเกิดข้ึนในประเทศไทยตามทัศนะของท่าน ดังน้ัน ความ
หลากหลายนี้ ทาให้มีชาวพทุ ธที่ปฏบิ ตั แิ ตกตา่ งกนั ตลอดจนเข้าใจและรบั รพู้ ทุ ธศาสนาด้วยวิธีการที่

๗วัดทั่วประเทศ จานวน ๓๔,๓๓ วัด มีพระสงฆ์-สามเณร จานวน ๓๓๐,๕๓๕ รูป (สถิติโดย
สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ สารวจในเดือน ธันวาคม พ.ศ. ๕๔๘) จากสาโมนประชากรเม่ือ พ.ศ.

๕๔๓ มีชาวพุทธ จานวน ๕๗,๓ ๔,๖๐๐ คน ถ้าแบ่งตามสัดส่วนวัดจะกระจายไปตามหมู่บ้านทั่วประเทศ มี
วดั ๔ วดั ต่อ ตาบล (ท่วั ประเทศ ๗,๔ ๔ ตาบล) ในสัดสว่ นของชาวพทุ ธ จานวน ๔๗ คน ต่อพระสงฆ์ รปู .

๘ Jim L,Taylor, “The New Buddhist Movement in Thailand : An Individualistic Revolution”,
Reform and Politic Dissonnance, Journal of Southeast Asian Studies, (March 1990 ) : 134-139.

๙ นิธิ เอียวศรวี งศ,์ “อนำคตองค์กรสงฆ์” ในมองอนำคตบทวเิ ครำะห์เพอ่ื ปรับเปลีย่ นทศิ ทำง
สังคมไทย, เอกวทิ ย์ ณ ถลาง บรรณาธิการ, (กรงุ เทพมหานคร : มลู นธิ ิปญั ญา, ๕๓๖), หน้า ๙- ๔.

๐ Apinya Feungfusakul, “Buddhist Reform Movements in Contemporary Thai Urban Context :
Thammakai and Santi Asok”, Dissertation of Doctoral Degree, (Philosophy : University of Bielefeld,1993),
pp. 44-47.

Rory Mackenzie, New Buddhist Movement in Thailand : Toward an Understand of Wat
Phra Dhammakaya and Santi Asoke, (London and New York : Taylor & Franci Group, 2007), pp. 18-25.

พระไพศาล วิสาโล, พุทธศำสนำไทยในอนำคตแนวโนม้ และทำงออกจำกวิกฤต,ิ หนา้ ๔๐- ๕๐.



ไม่เหมือนกัน พระพุทธศาสนาส่วนหนึ่ง จึงถูกปรับเพื่อตอบสนองกลุ่มคน ๓ และความซับซ้อน
ของสังคม ๔ ดังแนวคิดของคายส์ ท่ีมองปรากฏการณ์น้ีอย่างมีส่วนสัมพันธ์ว่า “การเปล่ียนแปลง
ของโลกและสังคมชาวพุทธท่ีเกิดจากพลังของความทันสมัย แล้วก่อให้เกิดพุทธศาสนาแบบ
สมัยใหม่ (Modernist Buddhism) ซึ่งสามารถพิจารณาได้จากลัทธิชาตินิยมเชิงพุทธ (Buddhist
Nationalism) และขบวนการหรือลัทธิพุทธศาสนาท่ีเน้นหลักธรรมคาสอนที่ปรากฏในคัมภีร์
(Buddhist fundamentalism)” ๕

ขบวนการพระพุทธศาสนาประเทศไทย มีมิติที่หลากหลาย แยกส่วน และมีการใช้
ประยกุ ต์พุทธธรรมข้ึนมาเพ่ือตอบสนองลักษณะเฉพาะกลุ่มมากข้ึน แต่ก็ยังมีเป้าหมายหรือรูปแบบ
ที่สัมพันธ์กับพระพุทธศาสนาในภาพรวม และคัมภีร์กระแสหลัก คือ “พระไตรปิฎก” ทาให้เห็น
ขบวนการขับเคล่ือนใหม่ (New Movement) ของกลุ่มพระพุทธศาสนาที่นอกเหนือจากเดิมที่เคยมี
พร้อมท้ังมีผลต่อสังคมท่ีมีลักษณะเฉพาะ ตอบสนองความเป็นปัจเจกเชิงกลุ่มมากย่ิงข้ึน
พระพุทธศาสนาในภาพลักษณ์ขององค์กรกาลังถูกท้าทาย ๖ ภายใต้สถานการณ์การเปล่ียนแปลง
และในอีกความหมายหน่ึงอาจเป็นเพียงปรากฏการณ์หน่ึงท่ีตอบรับแนวคิด “เปลี่ยนแปลง” เพ่ือ
เปล่ียนไปสู่อีกรูปแบบหน่ึงในสังคมเล็ก ในภาพของสังคมองค์รวมเท่านั้น ในมุมของผู้วิจัย
“ขบวนการพุทธใหม่” จึงเปน็ พัฒนาการของสงั คม ที่กาลงั หารปู แบบที่เหมาะสมภายใต้สถานการณ์
ดังกล่าว ซึ่งมีความเป็นปัจเจกเพิ่มมากขึ้น อาจตีความได้ว่า ความอ่อนตัวของพุทธศาสนากระแส
หลกั แนวคิดเชงิ ปรบั เปล่ียนสังคม สภาพบีบรดั ทางสังคม เศรษฐกจิ การเมอื งและวัฒนธรรม จึงเป็น
“เหตุผล” ในการอธบิ ายปรากฏการณ์ “พทุ ธใหม่”ในประเทศไทย

ดังนั้นในการศึกษานี้ ผู้วิจัยมุ่งศึกษาในเชิงสารวจของกลุ่ม “ขบวนการพุทธใหม่” ใน
ภาพรวม เพ่อื ใหเ้ ห็นถงึ พัฒนาการ ความเคลอ่ื นไหวในประเทศไทย ที่มีส่วนสัมพันธ์กัน ในลักษณะ
ที่ซับซ้อนและมีการเปลี่ยนแปลงตามเหตุปัจจัยท่ีเกิดขึ้น ดาเนินไปอยู่ พร้อมท้ังขยายเครือข่ายจน
เกิดเป็นผลปฏิบัติในเชิงสังคม อย่างที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบัน มีภาพลักษณ์ที่หลากหลาย แต่ยังเกาะ

๓ พระไพศาล วิสาโล, พทุ ธศำสนำไทยในอนำคตแนวโน้มและทำงออกจำกวกิ ฤติ, หน้า ๔๙.
๔ เร่อื งเดียวกนั , หน้า ๔๐.
๕ พัฒนา กิติอาษา, “ความเป็นอนิจจังของพุทธไทย : จากสิ่งตกทอดผูกพันจากอดีต ถึงความ
ทันสมัยแตกตัวออกเป็นเสี่ยง” ใน วารสารสังคมศาสตร์ฉบับพิเศษ มานุษยวิทยา อุษาคเนย์ และชาร์ลส์ คายส์ :
Anthropology, Southeast Asia and Charles Keyes”, ใน วำรสำรสงั คมศำสตร์ : ปที ่ี ๙ ฉบับที่ / ๕๕๐: ๓๗.
๖เพ่ิมเติมใน พรศักด์ิ ธนพฒั นพงศ์, “มหาเถรสมาคมกับการยอมรับการมีส่วนร่วมของพระสงฆ์ ใน
การปฏิรูปการปกครองคณะสงฆ์ ในการปฏิรูปการปกครองคณะสงฆ์”, วิทยำนิพนธ์นิติศำสตรมหำบัณฑิต,
(บณั ฑิตวิทยาลยั : จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย, ๕๔ ), หน้า บทคัดยอ่ .



เก่ียวอยู่กับพระพุทธศาสนา หรือประกาศตัวเองต่อสาธารณะว่าเป็นพระพุทธศาสนา แม้จะมี
เปา้ หมายและแนวทางทีแ่ ตกตา่ งไปกต็ าม

. วตั ถุประสงค์ในกำรวจิ ยั
. . เพ่อื ศึกษาปัจจัยกระบวนการเกดิ “ขบวนการพทุ ธใหม่” ในประเทศไทย
. . เพื่อศกึ ษาเชงิ สารวจขบวนการพทุ ธใหม่ ทเี่ กิดขึ้นในสังคมไทย
. .๓ เพื่อศึกษาวเิ คราะหผ์ ลของ “ขบวนการพุทธใหม่” ตอ่ สังคมไทย

๑.๓ ปญั หำทีต่ ้องกำรทรำบ
.๓. มีปจั จยั อะไร ที่สง่ ผลให้เกิด “ขบวนการพทุ ธใหม่” ในประเทศไทย ?
.๓. ขบวนการพุทธใหม่ ท่ีเกิดข้ึนในสังคมไทย ท่ีทาการศึกษาเชิงสารวจ มีลักษณะ

ความเป็น และรายละเอยี ดอย่างไร ?
.๓.๓ ผลของ “ขบวนการพุทธใหม่” ที่ปรากฏในสังคมไทย ? และมีผลกระทบต่อ

สงั คมในสังคมองค์รวมอยา่ งไร ?

๑.๔ ขอบเขตและกรอบในกำรวิจัย
โดยจะศกึ ษาเฉพาะพฒั นาการขบวนการพุทธใหม่ จาแนกเปน็ ( ) กลุม่ เพศภำวะ คือ กลุ่ม

ภิกษุณี แม่ชี ( ) กลุ่มตีควำมใหม่ อาทิ สานักพระธรรมกาย สันติอโศก (๓) สำนักปฏิบัติ อาทิ
สานกั ปฏบิ ตั แิ นวสติปัฎฐาน แนวสมาธแิ บบเคล่อื นไหว เป็นต้น (๔) กลุ่มไสย-อิงพุทธ อาทิ สานัก
ทรงต่างๆ (๕) กลุ่มวัตถุมีฤทธ์ิ (พุทธทุนนิยม) อาทิ วัดหรือสานักท่ีมีการผลิตวัตถุทาง
พระพทุ ธศาสนาในเชิงพาณชิ ย์ เปน็ ต้น (๖) กล่มุ พระพุทธศำสนำเพ่ือสังคม ท่ีจาแนกเป็น (ก) กลุ่ม
หลักพุทธธรรมเพ่ือสังคม อาทิ พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) เป็นต้น (ข) กลุ่มปฏิบัติการเชิงพุทธ
อาทิ วัดสวนแก้ว หรือวัดพระบาทน้าพุ หรือกลุ่มสัจจะออมทรัพย์ของพระอาจารย์สุบิน ปณีโต จ.ตราด
เปน็ ต้น ๗ โดยเป็นการศกึ ษาถงึ ความเคลอ่ื นไหวเชิงกลุ่มองค์กรเหล่านี้ในภาพรวมเพ่ือสะท้อนให้เห็นถึง
ปรากฏการณ์ของความเคลื่อนไหวในแบบชาวพุทธหรืออิงแอบกับพุทธศาสนา โดยอาจพิจารณา
แผนภาพ . ประกอบเพอ่ื ให้เหน็ โครงสรา้ งความเช่อื มโยงภาพรวมได้

๗ ยุทธพงษ์ แสงโสดา, “บทบาทพระสงฆ์กับการแก้ปัญหาสังคมไทย ศึกษาเฉพาะกรณีกลุ่มสัจจะ
สะสมทรัพย์ จงั หวดั จันทบุรี”,วทิ ยำนพิ นธ์อักษรศำสตร์มหำบัณฑิต,(บณั ฑติ วิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหามหิดล, ๕๔๔),
หน้า บทคดั ยอ่ .



พระพทุ ธศาสนา เถรวาท - ไตรปฎิ ก ผงั ๒ มโนทัศนข์ บวนกำรพุทธใหม่ในสังคมไทย

พุทธบริษทั ๔ พทุ ธกระแสหลัก (ตามโครงสร้าง) สวนโมขก์
กล่มุ สงฆ์กระแสหลกั – พ.ร.บ.สงฆ์ สันติอโศก
แนวคิดปัจเจกนิยม,สตรีนิยม,ฆราวาส ธรรมกาย
นิยม,พทุ ธพานชิ ย,์ ไสยพาณิชย์, ฯลฯ

ขบวนการพุทธใหม่ กลุ่มตีความใหม่

กล่มุ พระพทุ ธศาสนาเพ่ือสงั คม กลุม่ เพศวถิ ี ภิกษณุ ี

วัดญาณเวศสกวัน- เสขิยธรรม แมช่ ี

กลมุ่ วตั ถมุ ีฤทธิ์ (พุทธทุนนยิ ม)

วดั สวนแกว้ -วัดพระบาทน้าพุ

ยวุ พทุ ธ-เสถยี รธรรมสถาน ฯ พระพุทธรูปศกั ด์ิสิทธ์ิ การระดมทุน
เกจิศกั ด์สิ ิทธิ์ แม่ชี

สานกั ปฏิบตั ติ ่าง ๆ

กลุม่ องิ กบั พทุ ธหลัก สานกั ทรง-เสด็จพอ่ ร.๕
ดมทุนแม่ชี
สานักแนวปฏบิ ัติอ่ืน ๆ สานกั อานาปานสติ
กวนอมิ , กลุ่มชณิ บณั ชร ฯ
หลวงป่ชู า-หลวงปูม่ น่ั สานักเคล่ือนไหว

แผนภำพท่ี ๑.๑ ปรำกฏกำรณ์ของควำมเคลอื่ นไหวของขบวนกำรพทุ ธใหม่ในสงั คมไทย

๑.๕ นิยำมศัพท์เฉพำะที่ใช้ในกำรศึกษำ
ขบวนกำรพุทธใหม่ (New Buddhist Movement) คือกลุ่มชาวพุทธที่อยู่ภายใต้การ

เปลย่ี นแปลงอย่างใหม่และปรับตัวเปลี่ยนแปลง ตามเงื่อนไขของการเปล่ียนแปลงนั้น ๆ ๘ โดยการ
ขับเคลื่อนนี้ส่งผลเป็นปรากฏการณ์ จนก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในลักษณะต่าง ๆ เป็นกลุ่มใหม่
ดงั กรณีสานักสันติอโศกท่ีแตกต่างจากคณะสงฆ์กระแสหลัก วัดพระธรรมกายกับการตีความที่ต่าง
จากคัมภีร์เดิม สานักทรงต่าง ๆ กับการอิงแอบอยู่กับรูปแบบทางพุทธศาสนา เป็นต้น ก่อให้เกิด
ปรากฏการณต์ อบรับกับความเปลี่ยนแปลงในภาพรวมของสังคม ไมอ่ ยู่ภายใต้การสนับสนุนของรัฐ
ขัดแย้งกับระบบการปกครองเชิงโครงสรา้ ง และขอ้ เท็จจรงิ ทป่ี รากฏในคัมภีร์

๘พระไพศาล วสิ าโล, พุทธศำสนำไทยในอนำคตแนวโนม้ และทำงออกจำกวกิ ฤติ, หน้า ๔๐- ๕๐.



ปรำกฏกำรณ์ (Phenomena)๑ คือ การศึกษาผ่านพฤติกรรม สภาพความนึกคิดท่ีสะท้อน
ความเป็นปัจเจกบุคคลหน่ึง ๆ ท่ีเกิดข้ึนจริง ในการแสดงออกทางศาสนาท่ีเกิดขึ้นหรือสามารถ
สังเกตเห็นได้ อันเนื่องจากกลุ่มผู้นับถือได้ปฏิบัติจนทาให้เห็นเป็นปรากฏการณ์ เช่น การรวมกลุ่ม
ทากจิ กรรมร่วมกันทุกปขี องกลมุ่ สานกั ทรง เปน็ ตน้

กำรศึกษำเชิงสำรวจ (Survey Research)๒ คือ การศึกษาท่ีมีจุดหมายเพื่อสารวจ
ขอ้ เท็จจริง ผา่ นปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนในสังคมไทย ผ่านความรู้ ความคิดเห็น เจตคติ ความคาดหวัง
ของกล่มุ เป้าหมายที่ศึกษาในแต่ละกลุ่ม โดยศึกษาทั้งจากเอกสาร การสังเกตการณ์อย่างมีส่วนร่วม
การสมั ภาษณ์ ภายใต้กรอบท่ีว่า ใคร ทาอะไร ท่ีไหน อย่างไร ? เพื่อดูปรากฏการณ์ที่เกิดข้ึน และ
เป็นพฒั นาการในสังคม

กำรศึกษำเชิงสำรวจขบวนกำรพุทธใหม่ (New Movement Buddhist) คือ การศึกษา
แสวงหาข้อมูลเก่ียวกับกลุ่มชาวพุทธท่ีปรากฏมีอยู่ในสังคมไทย และมีพัฒนาการ ตามเง่ือนไขการ
เปลี่ยนแปลงนั้น ๆ จนเป็นปรากฏการณ์ (Phenomena) วิวาท (conflict) มีภาพลักษณ์ต่างไปจาก
พุทธเดิม รวมท้ังก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงในลักษณะต่าง ๆ เช่น การแปลกแยกจากคณะสงฆ์
กระแสหลักของสานักสันติอโศก หรือกลุ่มสตรีภิกษุณีเพศ การตีความต่างจากคัมภีร์เดิม การสร้าง
เครือข่ายอย่างเป็นระบบในการทางานพระพุทธศาสนาร่วมกัน เช่น วัดพระธรรมกาย หรือ
รูปแบบที่อิงอยู่กับพุทธแต่เนื้อแท้ไม่ใช่พุทธ เช่น สานักทรงต่าง ๆ เป็นต้น กลุ่มชาวพุทธใหม่ท่ี
สามารถสร้างผลเป็นปรากฏการณต์ อ่ สังคมได้ อาทิ

( ) กล่มุ เพศภำวะ คอื การนาแนวคดิ เกีย่ วกบั “เพศ” มาสร้างค่านิยมภายใต้การรับกระแส
โลกานวุ ตั รในเชงิ วัฒนธรรม (Cultural globalization) ท่ีส่งผลเป็นโลกทัศน์ ความเชื่อ ค่านิยมที่มีมา

๑ ศึกษาแนวคิดปรากฏการณ์จาก วิโรจน์ สารรัตนะ, บทวิเครำะห์องค์กำรทำงกำรศึกษำไทย : จำก
กรอบแนวคิดเชิงทฤษฎีเพื่อควำมเข้ำใจในปรำกฎกำรณ์, (กรุงเทพมหานคร : อักษราพิพัฒน์, ๕๔๔), และ
สมเกียรติ ตั้งนโม แปลและเรียบเรียง, Phenomenology : ๒๒ หน้ำ เก่ียวกับปรำกฏกำรณ์วิทยำเบื้องต้น,
http://www,midnightuniv,org/midnight ๕๔๔/๐๐๐๙๙๙๙๔๔๙.html, ( มิถุนายน ๕๕๔).

๐ ศุภกิจ วงศ์วิวัฒนนุกิจ, พจนำนุกรมศัพท์กำรวิจัยและสถิติ, (กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั , ๕๕๐), หนา้ ๐๐ .

ไพศาล วิสาโล, พทุ ธศำสนำไทยในอนำคตแนวโนม้ และทำงออกจำกวิกฤต,ิ หนา้ ๔๐- ๕๐.
พุทฺธิสาโร, “พุทธศาสนา ชาติพันธ์ุ และเครือข่ายชาวพุทธ”, ใน พระอำทิตย์ชิงดวง : รวม
บทควำมทำงวชิ ำกำร ทร่ี ะลึกในวำระ ๖ ปแี ละเกษียณอำยรุ ำชกำร พลบั พลึง คงชนะ, พลับพลึง คงชนะและคณะ,
(กรงุ เทพมหานคร : ภาควิชาประวตั ิศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ, ๕๔๙ :).



จาก “ตะวันตก” ๓ ซ่ึงในงานวิจัยนี้ หมายถึง กลุ่มภิกษณุ ี แมช่ ี หรอื เพศภาวะอ่ืน ๆ ที่มีส่วนร่วมทาง
ศาสนาโดยใช้คาว่า เพศ เป็นตัวอธิบายปรากฏการณ์ทางสังคม และการปฏิบัติทางศาสนา เช่น
ภกิ ษุณธี ัมมนันทา (ฉตั รสมุ าลย์ กบลิ สิงห์) สามเณรสี าระ และจงดี (บุตรสาวของนรินทร์ ภาษิต) แม่
ชี ในความหมายของเพศภาวะท่ีใช้เพศในการอธิบายอัตลักษณ์ ตัวตนและการมีส่วนร่วมในมิติทาง
ศาสนา สาหรับกลุ่มเพศวถิ ีอาจรวมไปถึงกลุ่มเพศท่ี ๓ ๔ ดังที่ปรากฏเป็นข่าวการเข้ามาบวชและทา
ผิดวนิ ยั รวมไปถึงประเด็นสทิ ธิการบวชในสงั คมไทย

( ) กลุ่มตีควำมใหม่ คือ การให้คาอธิบายใหม่ต่อปรากฏการณ์ทางคาสอน คาอธิบาย
เพ่ิมต่อคาสอนในทางพระพุทธศาสนาเพิ่มขึ้น เพื่อให้เกิดความเข้าใจเชิงลึกต่อคาสอนใน
พระพุทธศาสนา รวมไปถึงการนาไปสู่กระบวนการปฏิบัติอย่างแท้จริงในกระบวนการทาง
พระพุทธศาสนา เช่น การตีความภาษาคนภาษาธรรมของพุทธทาสภิกขุ การให้คาอธิบายต่อ
แนวคิดเรื่องมังสวิรัติ บุญนิยม ศีลนิยมท่ีมีผลต่อการปฏิบัติของกลุ่มสันติอโศก รวมไปถึงการให้
คาอธิบายต่อบุญในมิติท่ีหลากหลายและสามารถปฏิบัติได้จริงของวัดพระธรรมกาย กรณีถวาย
อาหารของพระพุทธเจ้า ล้วนเกิดจากการตีความและให้คาอธิบายใหม่ต่อพระพุทธศาสนาใน
ภาพรวมอยา่ งท่ปี รากฏ

(๓) สำนักปฏบิ ัติ คือ กลมุ่ ทีน่ าพระพุทธศาสนามาสู่การขับเคล่ือนในแนวทางปฏิบัติซึ่ง
มสี านกั ดังกล่าวครอบคลุมอยู่ท่ัวประเทศไทย แต่มีวัตรปฏิบัติและแหล่งกาเนิดอาจแตกต่างกัน แต่
ในเวลาเดียวกันก็เกาะเก่ียวอยู่กับพระพุทธศาสนาในโครงสร้าง ดังงานวิจัย ท่ีจัดแบ่งสานักปฏิบัติ
ในประเทศไทย เป็นกลุ่มปฏิบัติตามแนวอานาปานสติ ของหลวงปู่ม่ัน และศิษย์ในชั้นหลังท่ีมี
พัฒนาการเชิงสังคมไทย และนานาชาติอย่างหลวงปู่ชา สุภทฺโท แนวสติปัฎฐาน ในแบบพม่า ท่ี
สร้างปรากฏการณ์ต่อพระพุทธศาสนาอย่างหลากหลายจนมีสานักปฏิบัติและแนวปฏิบัติ
อย่างกว้างขวางท่ีมีจุดกาเนิดจากคัมภีร์พระไตรปิฎก อันมีจุดกาเนิดจากวัดมหาธาตุในสมัย
พระพิมลธรรม (อาจ อาสภมหาเถร) พระธรรมธีราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทธิ) และมีผลเป็น
พัฒนาการในสังคมเช่น มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ

๓ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์, ประวัติศำสตร์ของเพศวิถี : ประวัติศำสตร์เรื่องเพศ/เร่ืองเพศใน
ประวัติศำสตร์ไทย, (กรุงเทพมหานคร มูลนิธิสร้างความเข้าใจเร่ืองสุขภาพผู้หญิง(สคส), สถาบันวิจัยประชากร
และสงั คม, มหาวิทยาลัยมหิดล, ๕๕ ), หนา้ ๐- .

๔พุทฺธิสาโร, “บณั เฑาะย์ กะเทย เกย์ : ประเด็นปัญหาว่าด้วยบวชในสังคมไทย”, ใน “เพศวิถีศึกษำ
ในสังคมไทย : วิพำกษ์องค์ควำมรู้และธรรมเนียมปฏิบัติเรื่องเพศวิถีศึกษำในสังคมไทย”, (สานักงาน
เลขานุการจัดการประชุมประจาปีเพศวิถีศึกษาในสังคมไทย ครั้งที่ คณะสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล, ๕๕ ).



ฐิตธมฺโม) ยุวพุทธิกสมาคม โดย ดร. สิริ กรินชัย ล้วนเป็นพัฒนาการท่ีเน่ืองต่อจากแนวปฏิบัติใน
ส่วนนี้ รวมไปถึงการปฏิบัติในแนวหลวงพ่อสด แห่งวัดปากน้าท่ีมีพัฒนาการจนกระท่ังเกิดแนว
ปฏิบตั ิ “ธรรมกาย” ก่อให้เกิดการขับเคล่ือนเป็นพัฒนาการทางสังคมอย่างวัดพระธรรมกาย และวัด
หลวงพ่อสดธรรมกายาราม เป็นต้น รวมไปถึงสานักที่มีแนวปฏิบัติผสมผสาน สานักปฏิบัติแนว
เคล่ือนไหวแบบหลวงพ่อเทียน มโนมยิทธิแบบหลวงพ่อฤาษีลิงดา การปฏิบัติในแนวอริยมรรค
แบบหลวงพ่อธี วัดพระธาตุห้วยบง หรือสานักจากต่างประเทศ อย่างโคเอ็งก้า สานักอนุตรธรรม
สานักในแนวมหายานแห่งหมู่บ้านพลัม ล้วนเป็นแนวปฏิบัติที่มีเกิดอยู่ในสังคมไทย ดังนั้น นิยาม
ของสานักปฏิบัติ คือ การนาแนวปฏิบัติที่มีอยู่ในสังคมไทยและมีผลเป็นปรากฏการณ์และการ
ขับเคลอื่ นในสังคมในภาพกวา้ งและมีผลเปน็ การขบั เคลือ่ นและการปฏบิ ัติในสงั คมไทย

(๔) กลุ่มไสย-องิ พุทธ คือ ความพยายามทจ่ี ะอธิบายถึง ปรากฏการณ์ทางพระพุทธศาสนา
อกี กลุ่มหน่ึงท่ีเอาแนวคิดจากหลาย ๆ ฐานมาสู่การปฏิบัติที่ผสมความเชื่อด้ังเดิม ผี พุทธ ออกมาใน
ลกั ษณะตา่ ง ๆ ซ่งึ การปฏบิ ตั สิ านกั พระพุทธศาสนาในแนวนสี้ ่วนใหญ่เกดิ ข้ึนในส่วนของสานักทรง
เจ้า หรือแนวความคิดเกี่ยวกับพุทธท่ีมีเรื่องความเชื่อด้ังเดิมและวิญญาณผสมอยู่ด้วย แต่หลักใหญ่
ของการศึกษาจะมุ่งไปทพ่ี ัฒนาการของสานักทรงเป็นดา้ นหลัก

(๕) กลุม่ วัตถุมีฤทธ์ิ (พุทธทุนนิยม) คือ กลุ่มวัดหรือกลุ่มที่ผลิตวัตถุมงคลนานาชนิดเพ่ือ
การพาณิชย์ ซ่ึงทั้งในวัดและสถานประกอบการที่ปรากฏในงานวิจัย ใช้เทคนิคทางการตลาด การ
ออกแบบผลติ ภัณฑ์ ท่ีเปน็ แรงจูงใจนาไปสูก่ าร “ซอ้ื -ขาย” ในเชิงพาณชิ ยอ์ ย่างเป็นระบบและแรงขับ
ต่อสงั คมอยา่ งสูง ดงั กรณี จตคุ ามรามเทพ เปน็ ตน้

(๖) กลุ่มพระพุทธศำสนำเพื่อสังคม (Socially Engage Buddhism) หมำยถึง กลุ่มที่นา
พระพุทธศาสนาเข้าไปมีมิติเกาะเก่ียวกับสังคมอย่างเป็นระบบและก่อให้เกิดการขับเคลื่อนในเชิง
สังคม กลุ่มพระพุทธศาสนาที่มีมิติเกาะเก่ียวอยู่กับสังคมทั้งในส่วนหลักการและปฏิบัติการ อาจ
จาแนกได้เป็น กลมุ่ คอื

(ก) กลุม่ พทุ ธธรรมเพื่อสังคม หมายถึง ผู้ที่นาหลักคาสอนในทางพระพุทธศาสนา
มาประยุกต์ ให้ความรู้ การปรับใช้ นาไปใช้ อันเป็นการสะท้อนหลักคิดในทางพระพุทธศาสนาต่อ
สภาพประเด็นต่าง ๆ ในสังคมองค์รวม ซ่งึ หมายถึง สง่ เสริมให้นาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาไป
ใชใ้ นสงั คมอย่างเป็นระบบ และตอบรับกับประเด็นทางสังคมด้วย กลุ่มขบวนการพุทธเหล่าน้ี อาทิ
หลวงพ่อพุทธทาส พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ.ปยุตโฺ ต) พระไพศาล วิสาโล พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี
ส.ศิวรกั ษ์ นายแพทย์ประเวศ วะสี เป็นตน้

(ข) กล่มุ ปฏิบตั กิ ำรเชงิ พุทธเพือ่ สงั คม (รับใช้/บรกิ าร) หมายถึง การนาหลักคิดทาง
พระพุทธศาสนาไปขับเคลื่อนหมู่ กลุ่ม ท้ังรวมไปถึงการลงไปสู่พฤติกรรมเป็นผู้นา กระทา ปฏิบัติ



ในลักษณะของการเข้าไปพัวพันอย่างสร้างสรรค์ จนเป็นพัฒนาการของพระพุทธศาสนาในอีก
รูปแบบหน่ึง อาทิ สานักวัดสวนแก้วของพระราชธรรมวิเทศ (พยอม กัลยาโณ) วัดพระบาทน้าพุ
กลมุ่ สจั จะออมทรัพย์ พระสงฆก์ ับส่งิ แวดลอ้ ม กล่มุ พระสงฆ์กับการพัฒนาทอ้ งถิ่น เป็นตน้

๑.๖ ทบทวนเอกสำรและงำนวจิ ัยที่เกย่ี วขอ้ ง
งานวจิ ยั ทเี่ กี่ยวกับ “ขบวนการพทุ ธใหมใ่ นประเทศไทย” ไม่ปรากฏมีงานวิจัยโดยตรง แต่

ก็มีงานท่ีมีลักษณะเฉพาะไปในแต่ละกลุ่ม เช่น ธรรมกาย สันติอโศก สวนโมกข์ ตามความ
เคลอื่ นไหวของกล่มุ น้ัน ๆ รวมท้งั แง่มุมและประเด็นท่ีนาไปสู่การศึกษาของสานักพระพุทธศาสนา
ในแต่ละสานักโดยมีพัฒนาการ รูปแบบ รวมท้ังการขับเคล่ือนในลักษณะท่ีแตกต่างกัน แต่หลัก
ใหญ่ใจความเปน็ ไปตามกรอบของสาขาวิชาที่ศึกษาและสภาพการสนใจ รวมทั้งวิธีวิทยาของแต่ละ
สาขา โดยมีงานวิจัยท่ีให้ข้อมูลในแต่ละกลุ่ม ซึ่งจาแนกจัดกลุ่มตามฐานท่ีปรากฏ ส่วนหน่ึงเพื่อ
ศึกษาภาพรวมของงานวจิ ัยท่ีปรากฏของกลุ่มน้ัน ดังน้ี

๑.๖.๑ งำนวจิ ยั ท่ีสะทอ้ นแนวคิดต่อกำรเปลี่ยนแปลงของกลุ่มพระพทุ ธศำสนำในประเทศไทย
พระไพศำล วิสำโล ในผลงานทางวิชาการเร่ือง “พุทธศาสนาไทยในอนาคต แนวโน้ม
และทางออกจากวิกฤติ” กล่าวถึงพระพุทธศาสนาในประเทศไทยในช่วงเวลาต่าง ๆ โดยให้นิยาม
ความหมายของ “กลุ่มพุทธใหม่” และในเวลาเดียวกันยังสะท้อนให้เห็นถึงเหตุปัจจัยเก่ียวเน่ืองต่อ
การแสวงหาพื้นที่ของกลุ่มชาวพุทธ ในลักษณะต่าง ๆ จนดูประหนึ่งเป็นความแปลกแยกของ
พระพุทธศาสนาในไทย งานนี้จะให้ภาพกว้างของพระพุทธศาสนาในประเทศไทยได้เป็นอย่างดี
รวมถึงภาพขององค์กรปกครองคณะสงฆ์ที่ไม่สามารถสนองตอบต่อการเปล่ียนแปลงได้ทันท่วงที
และรองรับปัญหาใหม่ ๆ ได้ จึงเป็นแรงขับก่อให้เกิดพุทธใหม่กลุ่มต่าง ๆ ในประเทศไทย ดัง
ปรากฏในงานวิจัยงานวิจัยของ อธิเทพ ผาทา ๕ คะนึงนิตย์ จันทบุตร ๖ สายธาร อินทวาดี ๗

๕ อธเิ ทพ ผาทา, “การศึกษารูปแบบและกระบวนการแก้ปัญหาในพระพุทธศาสนาเถรวาท : ศึกษา
เฉพาะกรณีอธิกรณสมถะ ๗ และกฎนิคหกรรมของมหาเถรสมาคมในพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๕๐๕
แก้ไขเพมิ่ เติม (ฉบบั ท่ี ) พ.ศ. ๕๓๕”, วิทยำนิพนธ์พุทธศำสตรดุษฎีบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๕๕๐), หน้า บทคัดยอ่ .

๖คะนึงนิตย์ จันทบุตร, กำรเคล่ือนไหวของยุวสงฆ์ไทยรุ่นแรก พ.ศ. ๒๔๗๗-๒๔๘๘,
(กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๕ ๘), หน้า - ๓.

๗สายธาร อินทวาดี, “บทบาทมหาเถรสมาคมในการแก้ปัญหาคณะสงฆ์ไทย พ.ศ. ๔๔๕-
๕๓๐”, วิทยำนิพนธ์ศิลปศำสตรมหำบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ๕๓๕),
หนา้ บทคัดย่อ.

พูนศักด์ิ ชูตาภา ๘ ในงานวิจัยเหล่านี้มอง “มหาเถรสมาคม” ว่าปรับตัวไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
และแกป้ ญั หาทีเ่ กิดข้ึนไม่ทนั ท่วงที ซง่ึ เป็นการสะทอ้ นปัญหาขององคก์ ารปกครองคณะสงฆ์ ท่ีส่วน
หน่ึงเป็นตัวขับเคลื่อนให้เกิดปรากฏการณ์ “พุทธใหม่” ซ่ึงแนวคิดเหล่านี้ยังปรากฏในงานวิจัยของ
มาเรีย-เลนา เฮกินา-โฮร์น ๙ จิม แอลเทเลอร์๓๐ โรรี แม็คเคนซี๓ ว่าองค์กรกระแสหลักท่ีมีผลต่อ
การขับเคล่ือนให้เกิด “นวตั กรรมใหม่” ทางพทุ ธศาสนาในประเทศไทย ท่ีเกิดขึ้นและสามารถนาผล
การศึกษาจากงานวิจัยน้ีไปอธิบายสมมติฐาน เก่ียวกับการปกครองคณะสงฆ์ท่ีเป็นสาเหตุทาให้เกิด
กระบวนการพุทธใหมไ่ ด้ รวมท้ังงานท่ีเป็นแนวคิดของพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) ซ่ึงมอง
ปรากฏการณข์ องพระพทุ ธศาสนาพรอ้ มเสนอทางออก ทางแก้ และการให้ความรู้เท่าทันต่อประเด็น
ทางพระพุทธศาสนาอย่างมีมุมมองและอาศัยฐานคิดพระพุทธศาสนา ดังปรากฏในงาน พุทธวิธี
แก้ปัญหาเพอื่ ศตวรรษท่ี ๓ พุทธศาสนากบั สงั คมไทย๓๓ ทางออกของสงั คมไทย๓๔ เป็นตน้

๑.๖.๒ งำนวิจยั เกย่ี วกบั สิทธิ ของกลุ่มเพศวถิ กี ับศำสนำ (ภกิ ษณุ ี-แมช่ ี)
งานวิจยั เกีย่ ว “สตรี” ต่อศาสนาท่ีเกิดข้นึ ในสงั คมไทย โดยศึกษาวจิ ยั ถึงประวัติ พัฒนาการ
บทบาท และแนวคิดท่ีปรากฏในกลุ่มสตรีเพศต่อศาสนา จนพัฒนางานวิจัยไปถึง “สิทธิสตรี” กับ
พนื้ ที่ทางศาสนา โดยมีกรอบคิดเรื่องเพศ (Genders) มาเป็นตัวขับเคลื่อน ดังปรากฏในงานวิจัยสตรี
กับบทบาทของภิกษุณี แนวคิดสิทธิในการบวช และพ้ืนที่ทางศาสนา บทบาท การบรรลุธรรม ที่

๘พนู ศกั ด์ิ ชตู าภา, “ปัญหาการบรหิ ารงานของมหาเถรสมาคม : ศกึ ษาปัญหาด้านการจดั โครงสร้าง
องคก์ าร”, วทิ ยำนิพนธ์รัฐศำสตรมหำบณั ฑิต, (คณะรัฐศาสตร์ : มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์, ๕๔๔),
หน้า บทคัดยอ่ .

๙เพิ่มเติมจาก Marja-Leena Heikkilä-Horn, Buddhism with Open Eyes : Belief and Practice of
Santi Askok, (Bangkok : Fah Apai Co.Ltd, 1977), pp. 46-50.

๓๐ Jim L,Taylor,“The New Buddhist Movment in Thailand : An Individualistic Revolution,
Reform and Politic Dissonnance”, Journal of Southeast Asian Studies, (March 1990), : 135-139.

๓ Rory Mackenzie, New Budshist Movment in Thailand : Toward an Understand of Wat
Phra Dhammakaya and Santi Asoke, (London and New York : Taylor & Franci Group, 2007).

๓ พระธรรมปฎิ ก (ป.อ.ปยุตฺโต), พทุ ธวิธแี ก้ปญั หำเพื่อศตวรรษท่ี ๒๑ = A Buddhist solution for
the twenty-first century, (กรุงเทพมหานคร: บริษทั สหธรรมิก จากดั , ๕๓๗).

๓๓พระธรรมปฎิ ก(ป.อ.ปยุตโฺ ต),พุทธศำสนำกบั สงั คมไทย,(กรงุ เทพมหานคร:มูลนธิ โิ กมลคีมทอง, ๕๓ ).
๓๔พระธรรมปฎิ ก(ป,อ,ปยุตฺโต),ทำงออกของสงั คมไทย,(กรงุ เทพมหานคร:มลู นธิ ิพทุ ธธรรม, ๕๓ ).

ปรากฏนับแต่คร้ังพุทธกาล และเหตุผลในการส้ินไป อาทิ บรรณจบ บรรณรุจิ๓๕ เสมอ บุญมา๓๖
ก ฤ ษ ณ า รั ก ษ า โ ฉ ม ๓๗ พ ร ะ ม ห า สั ง เ ว ย ธ มฺ ม เ น ตฺ ติ โ ก ( เ น ต ร นิ มิ ต ร )๓๘
นาวาเอกทองย้อย แสงสินชัย และ ชานาญ นิศารัตน์๓๙ พระมหาชินวัฒน์ แสงชาตรี๔๐ ซ่ึงสะท้อน
ภาพ “สตรี” ในคมั ภีร์ทางพระพทุ ธศาสนา นอกจากน้ี ยงั มีงานวิจัยของกลุ่ม “เพศวิถี” ทางศาสนาท่ี
มองถึงสถานภาพของสตรีเพศต่อสิทธ์ิในการบวช ปฏิบัติ หรือภาพลักษณ์ของกลุ่ม สถานภาพของ
นกั บวชสตรี หรือกลุ่มผู้เข้ามาบวชเพ่ืองานพระศาสนาที่เป็นกลุ่มผู้หญิง ที่ปรากฏในเพศสภาพของ
แม่ชี ดังปรากฏในงานของ ลัดดาวัลย์ ต๊ะมาฟู๔ ที่ผู้วิจัยพยายามสะท้อนความเหล่ือมล้าระหว่าง
สถานะของนักบวช (สตรี) หรือประชาชนคนหนึ่งที่แต่งตัว (ชุดแม่ชี) แตกต่างไปจากคนปกติ ซึ่ง
ส่งผลเป็นการร่วมกลุ่มเพ่ือการขับเคลื่อนผ่าน “เพศวิถี” ประหน่ึงเป็นการสร้างพ้ืนที่ต่อรองโดยใช้
เพศแห่งสตรีเป็นตัวขับเคล่ือน เช่น สถาบันแม่ชีไทย เป็นต้น หรือในงานของ ลลิตา ยาวังเสน การ
ต่อรองเชิงพื้นที่ของนักบวชหญิง: กรณีศึกษาสามเณรีในสานักปฏิบัติธรรมหนึ่งในจังหวัด
เชยี งใหม่๔ ทศ่ี ึกษาโดยมุ่งไปท่พี ้ืนทีข่ องสตรีในฐานะนักบวชท่ีข้ามไปถึงสามเณรี ภิกษุณี ที่เธอให้
คานิยามว่า “ผู้หญิงห่มจีวร” ที่เกาะเก่ียวอยู่กับศรัทธา แนวปฏิบัติ และการยอมรับในฐานะเป็น
นักบวชผู้หญิงที่ผู้เขียนงานวิจัยใช้คาว่า “พื้นที่” รวมถึงงานค้นคว้า วิจัยของฉัตรสุมาลย์

๓๕บรรจบ บรรณรุจิ, “สถานภาพของสตรีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท”, ในรวมบทควำม
วิชำกำรทำงพระพุทธศำสนำ, (กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๕๔๘),
หน้า ๖๓- ๘๔.

๓๖เสมอ บญุ มา, “ภิกษณุ ีในพระพทุ ธศาสนา”, วิทยำนพิ นธ์อักษรศำสตรมหำบัณฑิต, (บณั ฑติ วทิ ยาลัย :
จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลัย, ๕ ).

๓๗กฤษณา รักษาโฉม, “การศึกษาปัญหาเร่ืองการเส่ือมสูญของภิกษุณีสงฆ์ในพระพุทธศาสนาเถรวาท”,
วทิ ยำนิพนธ์พุทธศำสตรดุษฎบี ณั ฑติ , (บัณฑิตวทิ ยาลัย : มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , ๕๕๐).

๓๘พระมหาสังเวย ธมมเนตติโก (เนตรนิมิตร), “ การศึกษาเชิงวิเคราะห์เรื่อง ชีวิตภิกษุณีกับการบรรลุ
อรหันต์ผล :เฉพาะที่ปรากฏในเถรีคาถา”, วิทยำนิพนธ์พุทธศำสตรมหำบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหา
จฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๕๓๖).

๓๙นาวาเอกทองยอ้ ย แสงสินชัย และชานาญนิศารัตน์, ไขปริศนำปัญหำภิกษุณี, (กรุงเทพมหานคร :
สหธรรมิก, ๕๔๔).

๔๐พระมหาชินวัฒน์ แสงชาตรี, “ศึกษาวิเคราะห์บทบาทของภิกษุณีในสมัยพุทธกาล”, รำยงำน
กำรศึกษำอิสระปรญิ ญำศลิ ปศำสตรมหำบณั ฑติ , (บณั ฑิตวทิ ยาลยั : มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ , ๕๔๘).

๔ ลดั ดาวัลย์ ตะ๊ มาฟู, “แม่ชี : โลกของผหู้ ญิงที่ถูกลมื ”, วทิ ยำนพิ นธศ์ ิลปศำสตรมหำบณั ฑติ ,
(บณั ฑติ วิทยาลยั : มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม,่ ๕๔๘).

๔ ลลติ า ยาวังเสน, “การต่อรองเชิงพื้นท่ีของนักบวชหญิง:กรณีศึกษาสามเณรีในสานักปฏิบัติธรรม
หนึ่งในจงั หวดั เชียงใหม่”, วทิ ยำนิพนธ์ศิลปศำสตรมหำบัณฑติ , (บัณฑติ วิทยาลยั : มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่, ๕๔๗).



กบิลสิงห์๔๓ ที่ผลิตท้ังงานวิจัยเก่ียวกับสิทธิสตรีต่อการบวชภิกษุณี รวมทั้งเป็นผู้บวชเองด้วย
สอดคล้องกับงานวิจัยของพระมหากมล ถาวรโร “การศึกษาวิเคราะห์บทบาทของสตรีใน
พระพุทธศาสนา : ศึกษาเฉพาะกรณีบทบาทของสตรีในสังคมไทยปัจจุบัน”๔๔ ซึ่งก็ทาการศึกษาไว้
ในรายละเอียดในภาพท่ีกว้างกว่า ถึงไม่ได้ใช้คาว่าพื้นที่ แต่ใช้คาว่า “บทบาท” ของสตรีในมิติท่ี
สัมพนั ธอ์ ยู่กับศาสนา ซ่งึ ให้ภาพของสตรีที่กว้างกว่าท้ังในส่วนของสิทธิตามรัฐธรรมนูญ อาทิ การ
อุปถัมภ์ การปฏิบัติธรรม การเป็นแม่ชี หรือผู้หญิงท่ีทางานเป็นผู้เผยแผ่ สอนกรรมฐาน โดยมี
ลักษณะใกล้เคียงกับงานวิจัยของ สมัคร งามแสง๔๕ ที่จาเพาะบทบาทของ “ผู้หญิง” กับการปฏิบัติ
ธรรมโดย ทาให้เห็นบทบาทของผู้หญิงในการปฏิบัติตามหลัก และทางานเพ่ือพระพุทธศาสนาใน
ลักษณะต่าง ๆ ดังเช่น สานักเสถียรธรรมสถานในงานวิจัยของฐิติรัตน์ รักษ์ใจตรง “ศึกษาการใช้
อานาปานสติภาวนาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของเสถียรธรรมสถาน” ในปี พ.ศ. ๕๔๘” บทบาท
การสอนกรรมฐานโดย ดร.คุณแม่สิริ กรินชัย ของ สมุ าลี อนิ ทรวนิช๔๖

นอกจากนี้ ยงั มีงานวิจัยที่พยายามเสนอทางเลือกต่อสังคม พร้อมท้ังศึกษาให้เห็นบทบาท
ของการมีอยู่ต่อสังคม ของกลุ่มสตรีในเพศนักบวชภิกษุณี แม่ชี ว่ามีประโยชน์ หรือความสาคัญ
อย่างไรดังปรากฏในงานของ พลเผ่า เพ็งวิภาศ๔๗ พรหมโชติ ไตรเวช๔๘ สุขใจ พุทธวิเศษ๔๙ และ

๔๓ ฉตั รสุมาลย์ กบลิ สิงห,์ ผู้พลิกฟ้นื ภกิ ษุณสี งฆ,์ (กรงุ เทพมหานคร : รว่ มด้วยช่วยกนั , ๕๔๗).
๔๔ พระมหากมล ถาวโร, “การศึกษาวิเคราะห์บทบาทของสตรีในพระพุทธศาสนา : ศึกษาเฉพาะ
กรณีบทบาทของสตรีในสังคมไทยปัจจุบัน” , วิทยำนิพนธ์พุทธศำสตรดุษฎีบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย :
มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๕๕๐).
๔๕ สมัคร งามแสง, “ศึกษาบทบาทของสตรีในองค์กรพุทธศาสนาในสังคมไทยปัจจุบัน : ศึกษา
เฉพาะกรณีวัดปทุมวนาราม วัดสังฆทาน สานักปฏิบัติธรรมเสถียรธรรมสถานและสานักปฏิบัติธรรมสวนแก้ว”,
วทิ ยำนิพนธ์พทุ ธศำสตรมหำบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลยั : มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๕๕๐).
๔๖ สมุ าลี อนิ ทรวนชิ , “กรณีศกึ ษาวธิ ีปฏิบตั ิธรรมและผูป้ ฏิบัติธรรมตามแนวของคณุ แม่สริ ิ กรินชยั ” ,
วทิ ยำนพิ นธ์ศลิ ปศำสตรมหำบณั ฑิต, (บณั ฑิตวทิ ยาลยั : มหาวิทยาลัยเชียงใหม,่ ๕๓ ), หน้า บทคดั ยอ่ .
๔๗ พลเผ่า เพ็งวิภาศ, “ศึกษาวิเคราะห์ประโยชน์จากการมีภิกษุณีในสังคมไทย”, รำยงำนกำรศึกษำ
อิสระปริญญำศลิ ปศำสตรมหำบัณฑติ , (บัณฑติ วิทยาลัย : มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น, ๕๔๘).
๔๘พรหมโชติ ไตรเวช, “ทัศนคติต่อบทบาทของตนเอง ในการพัฒนาสังคมของแม่ชีไทย : ศึกษา
เฉพาะกรณีจังหวัดราชบุรี ”, วิทยำนิพนธ์สังคมศำสตรมหำบัณฑิต , (คณะสังคมศาสตร์ :
มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์, ๕๓๕), หน้า บทคัดยอ่ .
๔๙ สุขใจ พุทธวิเศษ, “สถานภาพและบทบาทของ แม่ชีในสังคมไทย ศึกษากรณีวัดสร้อยทอง”,
วิทยำนิพนธ์สังคมสงเครำะห์ศำสตรมหำบณั ฑติ , (บัณฑิตวิทยาลัย : จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั , ๕ ๗).



ประคอง สิงหนาทนิติรักษ์๕๐ สมชาย ไมตรี และคณะ๕ รวมท้ังชุดเหตุผลในการตัดสินใจเข้าสู่
กระบวนการบวชเป็นแม่ชที ่ีปรากฏในงานประเสริฐ ทองเกตุ ๕ เปน็ ตน้

ภาพรวมของงานวิจัยทางด้านเพศสตรี อาจจาแนกเป็นงานวิจัยที่มีประวัติความเป็นมา
เก่ียวกับสตรีกับการบวช บทบาทหน้าท่ีในคร้ังพุทธกาล ให้ภาพท่ีเกาะเก่ียวมาจนกระทั่งปัจจุบัน
เริ่มต้ังแต่การก่อตัว พัฒนา โดยอาศัยแนวคิดหลาย ๆ ชุดเหตุผล เช่น สิทธิในฐานะเป็นมนุษย์ เป็น
ชาวพุทธทจี่ ะเข้าถึงมติ ทิ างศาสนา การอิงอาศยั กฎหมาย รวมไปถงึ การใหค้ าอธิบาย ตคี วาม สร้างชุด
คาอธิบายใหม่ จนพัฒนาไปสู่สถานะของการเข้ามาถือบวช ปฏิบัติในเพศของนักบวชในลักษณะ
ต่าง ๆ อาทิ แม่ชี ที่มีคู่สังคมไทยมาแต่เดิม สิกขมาตุ (สานักสันติอโศก) สามเณรี ภิกษุณี ที่สัมพันธ์
กับสายศรีลังกาและมหายานจากจีน ไต้หวัน และเวียดนาม เป็นต้น ด้วยชุดเหตุผลและเง่ือนไขที่
แตกต่างกันไปตามชุดเหตุผล โดยสัมพันธ์อยู่กับชุดความรู้เดิมในพระไตรปิฎก ประวัติแห่งภิกษุณี
ด้ังเดิมในครั้งพุทธกาล โดยอาศัยแนวคิดเร่ืองสิทธิ การสร้างตัวตน การเข้าถึงการปฏิบัติธรรมและ
ในฐานะท่ีมนุษย์ผู้หญิงคนหน่ึง จะพึงกระทาได้ ซึ่งงานวิจัยเหล่านี้จะทาให้เห็นภาพเคลื่อนไหว
จนกระท่ังพัฒนาเป็นพทุ ธใหม่ตามวตั ถุประสงค์ของการศกึ ษาวิจยั นี้

๑.๖.๓ งำนวิจัยเก่ียวกับกลมุ่ กำรตคี วำม
การตีความใหม่บนฐานของชุดความรู้เดิม หรือคัมภีร์ด้ังเดิมคือพระไตรปิฎกเป็น
พฒั นาการอยา่ งหน่ึงของพระพุทธศาสนาในประเทศไทย ที่มีผลแตกต่างกันในการให้คาอธิบายต่อ
ชุดความรู้ความคิดของพระพุทธศาสนาและในเวลาเดียวกันพัฒนาการของพระพุทธศาสนากลุ่ม
ตีความ ก็ส่งผลในภาพรวมต่อพระพุทธศาสนาอาทิ ความขัดแย้ง วิวาทะ รวมไปถึงการดาเนินการ
ทางกฎหมายต่อกล่มุ การตคี วามนนั้ เช่น สวนโมกข์ สันติอโศก สานักวัดพระธรรมกาย โดยเอกสาร
และงานวิจยั ท่เี ก่ียวขอ้ งจาแนกเปน็
ก) ศึกษำถึงพัฒนำกำรของแต่ละสำนัก คือ ศึกษาถึงประวัติความเป็นมา เทคนิคการสอน
วิธีการตีความ และการให้คาอธิบายต่อหลักคาสอนในภาพรวม ๆ ดังปรากฏในงานของ

๕๐ ประคอง สิงหนาทนิติรักษ์, “บทบาทของแม่ชีไทยในการพัฒนาสังคม”, วิทยำนิพนธ์สังคม
สงเครำะหศ์ ำสตรมหำบณั ฑิต, (คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ : มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์, ๕ ๖).

๕ สมชาย ไมตรี, พระครปู ลัดเชี่ยว ชติ ินฺทฺริโย, เสรี แก้ววรรณา, “การศึกษาความเป็นไปได้ของการ
บวชภิกษุณีในประเทศไทย : A Study of feasibility of Bhikkhuni ordination in Thailand”, รำยงำนกำรวิจัย,
(สถาบนั วจิ ัยพุทธศาสตร์ : มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณร์ าชวทิ ยาลยั , ๕๔๖).

๕ ประเสริฐ ทองเกตุ , “เหตุผลของการตัดสินใจบวชชีและความต้องการการศึกษาของแม่ชีไทย”,
วิทยำนิพนธ์กำรศึกษำมหำบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, ๕๓๔),
หน้า บทคดั ยอ่ .



ขัตติยา ขัติยวรา (การก่อรูปทางอัตลักษณ์ของขบวนการเคล่ือนไหวทางศาสนา : กรณีศึกษาชุมชน
สันติอโศก)๕๓ ธัญญา สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (โครงสร้างอานาจของชุมชน : ศึกษากรณีชุมชนชาว
อโศก)๕๔ รวมทั้งงานวิจัยของ Rory Mackenzie (New Buddhist Movements in Thailand : Towards an
understanding of Wat Phra Dhammakaya and Santi Asok)๕๕ Juliana Essen (Right Development : The
Santi Asoke Buddhist Reform Movement of Thailand)๕๖Apinya Feungfusakul (Buddhist Reform Movements
in Contempory Thai Urban Context : Thammmakai and Santi Asok)๕๗ และ อัชวัน หงิมรักษา
(กระบวนการขดั เกลาทางสังคมและพัฒนาบุคลากรของวัดพระธรรมกาย)๕๘ เปน็ ตน้

ข) ศึกษำในฐำนะเปน็ ชดุ ควำมคิด ท่ปี รากฏมอี ยใู่ นพระพุทธศาสนาและพระไตรปิฎกและ
เป็นพัฒนาการทางด้านพระพุทธศาสนาในประเทศไทย เช่น ชุดความคิดการตีความของหลวงพ่อ
พุทธทาส ในส่วนท่ีเป็นแนวคิดทางสังคม การเมือง เช่น สมศักดิ์ เนียมเล็ก (วิเคราะห์ความคิดทาง
การเมืองของพุทธทาสภิกขุ) ๕๙ แนวคิดการตีความเรื่อง “จิตว่าง” ของพระฟอง อภิวณฺโณ

๕๓ ขัตติยา ขัติยวรา, “การก่อรูปทางอัตลักษณ์ของขบวนการเคล่ือนไหวทางศาสนา : กรณีศึกษา
ชุมชนสนั ตอิ โศก”, วทิ ยำนพิ นธ์ศลิ ปศำสตรมหำบัณฑติ , (บัณฑิตวทิ ยาลยั : มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่, ๕๔๗).

๕๔ ธัญญา สนิทวงศ์ ณ อยุธยา, “โครงสร้างอานาจของชุมชน : ศึกษากรณีชุมชนชาวอโศก”,
วิทยำนิพนธ์พัฒนบริหำรมหำบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, ๕๓๖),
หน้า บทคดั ยอ่ .

๕๕ Rory Mackenzie, New Buddhist Movements in Thailand : Towards an understanding of
Wat Phra Dhammakaya and Santi Asok, pp.125-127.

๕๖ Juliana Essen , Right Development : The Santi Asoke Buddhist Reform Movement of
Thailand, (New York : Lexington Books, 2005).

๕๗ Apinya Feungfusakul, “Buddhist Reform Movements in Contempory Thai Urban Context :
Thammmakai and Santi Asok”, Dissertation of Doctoral Degree, (Philosophy : University of Bielefeld, 1993).

๕๘อัชวัน หงิมรักษา, “กระบวนการขัดเกลาทางสังคมและพัฒนาบุคลากรของวัดพระธรรมกาย”,
วทิ ยำนพิ นธ์ศึกษำศำสตรมหำบัณฑติ , (บณั ฑิตวทิ ยาลยั : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๕๔๖).

๕๙ สมศักดิ์ เนียมเล็ก, “วิเคราะห์ความคิดทางการเมอื งของพุทธทาสภิกขุ”,วิทยำนิพนธ์ศิลปศำสตร-
มหำบัณฑติ , (บณั ฑติ วิทยาลยั : มหาวิทยาลัยรามคาแหง, ๕๔๔). หน้า บทคดั ย่อ.



(สวัสดี)๖๐ การตีความ “พระเจ้า” ของพระมหาบูรณ์เชน สณิกปุญโญ (สุขคุ้ม)๖ การตีความด้วย
ภาษาคนภาษาธรรม ของพระมหาจริ ะศักด์ิ ธมมฺ เมธี (สงั เมฆ)๖ อิทธิพลของศาสนาอ่ืน ๆ และนิกาย
เซนในงานการศึกษาตีความของหลวงพ่อพุทธทาสเช่นในงาน นายรัตนชัย บุญศรี ๖๓การตีความ
เรื่องอนัตตา ของวรารัตน์ วีระเทศ๖๔ รวมทั้งเทคนิคการตีความด้วยภาษาเพ่ือการสื่อสารธรรมของ
ปุณยนชุ ชุติมา๖๕

ในสว่ นการตีความของสานักวัดพระธรรมกายปรากฏในงานวิจัยของ พระมหาไสว โชติโก
ใ น ง า น วิ จั ย เ รื่ อ ง “ ก า ร ศึ ก ษ า วิ เ ค ร า ะ ห์ ธ ร ร ม ก า ย ใ น พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ”๖๖
พระมหาทองคูณ ธีรปญฺโญ (ขนันไทย)๖๗ สรกานต์ ศรีตองอ่อน คาสอนเร่ืองการสร้างบารมีของวัด
พระธรรมกาย๖๘ อัคคี ศรีทราชัยกุล ความยึดม่ันผูกพันในศาสนาของชาวพุทธ : ศึกษาเฉพาะกรณี

๖๐ พระฟอง อภิวณฺโณ (สวัสดี), “การศึกษาเชิงวิเคราะห์แนวคิดเร่ือง จิตว่าง ของท่านพุทธทาส”,
วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบณั ฑิต, (บัณฑิตวิทยาลยั : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๕๓๕), หนา้ บทคัดยอ่ .

๖ พระมหาบูรณ์เชน สณิกปุญโญ (สุขคุ้ม), “การศึกษาวิเคราะห์มโนทัศน์เร่ืองพระเจ้าในทรรศนะ
ของท่านพุทธทาส”, วิทยำนิพนธ์พุทธศำสตรมหำบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วทิ ยาลัย, ๕๔๔).

๖ พระมหาจิระศักดิ์ ธมฺมเมธี (สังเมฆ), “การศึกษาวิเคราะห์เร่ืองปัญหาภาษาในพระพุทธศาสนา
ศึกษาเฉพาะกรณีและแนวคิดเรอ่ื งภาษาคนภาษาธรรมของพุทธทาสภิกขุ”, วิทยำนิพนธ์พุทธศำสตรมหำบัณฑิต
(บณั ฑิตวิทยาลยั : มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๕๔๔).

๖๓ นายรัตนชัย บุญศรี, “อิทธิพลของพระพุทธศาสนานิกายเซนในงานของท่านพุทธทาสภิกขุ”,
วิทยำนิพนธ์พทุ ธศำสตรมหำบัณฑิต, (บณั ฑติ วิทยาลยั : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , ๕๔๕).

๖๔ วรารัตน์ วรี ะเทศ, “วิเคราะห์หลกั อนัตตาในทัศนะพทุ ธทาสภกิ ขุ”, วิทยำนพิ นธศ์ ลิ ปศำสตร
มหำบณั ฑติ , (บณั ฑติ วทิ ยาลัย : มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วิทยาเขตปตั ตานี, ๕๔๐).

๖๕ปุณยนชุ ชตุ ิมา, “ปรชั ญาการส่อื สารในธรรมสารของพุทธทาสภกิ ขุ”, วิทยำนพิ นธ์นเิ ทศศำสตร-
มหำบัณฑิต, (บณั ฑิตวทิ ยาลัย : จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , ๕๔๓).

๖๖ พระมหาไสว โชตโิ ก, “การศึกษาวิเคราะหธ์ รรมกายในพระพทุ ธศาสนา”, วิทยำนิพนธ์
พุทธศำสตรมหำบณั ฑติ (พทุ ธศำสนำ), (บัณฑติ วิทยาลยั : มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๕๔๓).

๖๗ พระมหาทองคณู ธีรปญฺโญ (ขนันไทย), “การศกึ ษาเปรียบเทยี บเร่ือง นิพพานในพระพุทธศาสนา
เถรวาทมหายานนิกายโยคาจารและวัดพระธรรมกาย”, วิทยำนิพนธ์พุทธศำสตรมหำบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย :
มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๕๕ ).

๖๘สรกานต์ ศรีตองอ่อน, “คาสอนเรื่องการสร้างบารมีของวัดพระธรรมกาย= Wat Phra
Dhammakaya's teachings on parami fulfillmen”, วิทยำนิพนธ์อักษรศำสตรมหำบัณฑิต,(บัณฑิตวิทยาลัย :
จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย, ๕๔๗).



ชาวพุทธในกลุ่มวัดพระธรรมกายพุทธสถานสันติอโศก และวัดชลประทานรังสฤษดิ์ ๖ Roderick
Mackenzie An Analysis of the Wat Phra Dhammakaya and Santi Asoke Movements and their
Appoaches to Spiritual Development๗๐ โดยงานทั้งหมดจะเป็นการให้คาอธิบายกับวิธีการและ
เทคนิคในการให้คาอธิบายตีความเก่ียวกับคาสอนของสานักวัดพระธรรมกายโดยมีเป้าหมายเพ่ือ
การปฏิบตั ิ และ/หรอื สง่ เสริมให้เกดิ การปฏิบตั ิ

ตะวัน เกยี รตบิ ญุ ญาฤทธ์ิ, การศกึ ษาเปรียบเทียบศีลวตั รและบทบาททางสังคมของ "พระ
ชาวอโศก" กับพุทธบัญญัติว่าด้วยจุลศีล มัชฌิมศีล มหาศีล : ศึกษาเฉพาะกรณี พุทธสถานสันติ
อโศก กรงุ เทพมหานคร๗ ปรชี า เป่ียมพงศ์สานต์ และคณะ สังเคราะห์องค์ความรู้เก่ียวกับเศรษฐกิจ
พอเพียง๗๒ Sunai Setbunsang ๗๓ สมบัติ จันทรวงศ์ (ชุมชนปฐมอโศก : การศึกษาพุทธยูโทเปีย)๗๔
สุนัย เศรษฐ์บญุ สร้าง (การเปลย่ี นกระบวนทศั น์ของพุทธศาสนาในสังคมไทย)๗๕ เป็นต้น

ค) กลุ่มงำนศึกษำที่ให้คำอธิบำยร่วม โต้แย้ง และตีโต้ โดยยึดอยู่กับคัมภีร์ดั้งเดิมกรณี
พระไตรปิฎก โดยงานวิจัยหรือเอกสารชุดนี้ส่วนใหญ่จะเป็นการให้คาอธิบาย ช้ีแจง ตอบโต้และ
ปะทะทางหลักการ ความคิด และชุดเหตุผลที่อิงอาศัย ยึดอยู่กับแนวคิดหลักที่อาศัยฐานคิดจาก
พระไตรปิฎกอาทิ พระมหานรากร ช่างบุ "(อคติ" กับปัญหาอธิกรณ์ในพุทธศาสนา : กรณีศึกษา

๖ อัคคี ศรีทราชยั กุล, “ความยึดม่นั ผูกพันในศาสนาของชาวพุทธ : ศึกษาเฉพาะกรณีชาวพุทธในกลุ่ม
วัดพระธรรมกายพุทธสถานสันติอโศก และวัดชลประทานรังสฤษฏ์”, วิทยำนิพนธ์สังคมสงเครำะห์ศำสตร
มหำบัณฑติ , (คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ : มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์, ๕๓๖).

๗๐ Roderick Mackenzie, “An Analysis of the Wat Phra Dhammakaya and Santi Asoke
Movements and their Approaches to Spiritual Development”, pp.99-103.

๗๑ ตะวัน เกียรติบุญญาฤทธ์ิ, “การศึกษาเปรียบเทียบศีลวัตรและบทบาททางสังคมของ "พระชาว
อโศก" กับพุทธบัญญัติว่าด้วยจุลศีล มัชฌิมศีล มหาศีล : ศึกษาเฉพาะกรณี พุทธสถานสันติอโศก
กรงุ เทพมหานคร”, วทิ ยำนพิ นธ์อักษรศำสตรมหำบัณฑติ , (บัณฑิตวิทยาลยั : มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล, ๕ ๕).

๗ ปรชี า เปยี่ มพงศส์ านต์ และคณะ, สังเครำะหอ์ งค์ควำมรู้เกีย่ วกับเศรษฐกิจพอเพียง,
(กรุงเทพมหานคร : สานักงานกองทนุ สนบั สนนุ การวจิ ยั , ๕๔๙).

๗๓Sunai Setbunsang , “Political Ideology in Buddhism : A Case Study of Santi Asoke's
Paradigm”, Master Thesis of Master Degree, (Thammasat University, 1990).

๗๔ สมบัติ จนั ทรวงศ,์ ชมุ ชนปฐมอโศก : กำรศกึ ษำพทุ ธยูโทเปีย, (กรงุ เทพมหานคร:โรงพมิ พม์ ลู นิธิ
ธรรมสันติ, ๕๓ ).

๗๕สุนยั เศรษฐบ์ ุญสรา้ ง, กำรเปลย่ี นกระบวนทศั นข์ องพุทธศำสนำในสงั คมไทย, (กรุงเทพมหานคร :
กล่ันแก่น, ๕๔ ).



สานักสันติอโศก)๗๖พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) ต่อสร้างความเข้าใจท่ีถูกต้องต่อกรณีการ
ตีความของสานักสันติอโศก๗๗ สานักวัดพระธรรมกาย (กรณีธรรมกาย)๗๘ กลุ่มเพศวิถีต่อการบวช
ภิกษุณี รวมไปถึงการตีความต่อประเด็นอ่อนไหวทางสังคมและความเชื่อ ชุดความคิดที่ปรากฏใน
“เหตุเกดิ พ.ศ. ” ๗๙ของพระมโนเมตตานนโฺ ท ๘๐ เปน็ ตน้

๑.๖.๔ งำนิวิจยั เก่ียวกับแนวของสำนกั ปฏิบัติต่ำง ๆ
กลุม่ สานกั ปฏบิ ตั ิเป็นกล่มุ ท่ีมกี ารขบั เคลื่อนพระพุทธศาสนาในประเทศไทยอย่างต่อเน่ือง
และมีพัฒนาการเชิงสังคมอย่างสูง ซึ่งมีงานวิจัยที่ได้ทาการศึกษากลุ่มสานักปฏิบัติต่าง ๆ ซ่ึงมี
ลกั ษณะแตกต่างกัน อาทิ วริยา ชินวรรโณ และคณะ๘ ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง “วิวัฒนาการการตีความ
คาสอนเรื่องสมาธิในพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทในประเทศไทย” ศึกษาในกรุงรัตนโกสินทร์ตั้งแต่
พ.ศ. ๕๐๐ เป็นต้นไป ผลการศึกษาวิจัยพบว่า การตีความคาสอนเรื่องสมาธิ ตลอดจนการนามา
เป็นวิธีในการสอน และปฏิบัติ จะมีความแตกต่างกันออกไป ตามสิ่งท่ีนามาใช้พิจารณาแบ่ง
ออกเป็นสายสาคญั ๕ สาย คอื

๗๖ พระมหานรากร ช่างบุ, "อคติ" กับปัญหาอธิกรณ์ในพุทธศาสนา : กรณีศึกษาสานักสันติอโศก=
Agati and the legal investigations in Buddhism : a case study of the School of Santi Asoka”, วิทยำนิพนธ์
ศิลปศำสตรมหำบัณฑติ , (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์, ๕๕ ).

๗๗ พระราชวรมุนี (ประยุทธ์), แรงจูงใจในกำรเขียน กรณีสันติอโศก, (กรุงเทพมหานคร: คณะพุทธ
บริษัท, ๕๓ ), พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตฺโต), กรณีสันติอโศก, (กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิพุทธธรรม,

๕๓ ), พระเทพเวที (ปยุทธ์ ปยุตฺโต), เพ่ือควำมเข้ำใจปัญหำโพธิรักษ์ : รวมทั้งบทควำมพิเศษและบทพิสูจน์,
( กรุงเทพมหานคร : มลู นิธิพทุ ธธรรม, ๕๓๓), พระเทพเวที (ประยทุ ธ์ ปยุตฺโต), เพ่ือควำมเขำ้ ใจปญั หำโพธิรกั ษ์
และบทควำมพิเศษ : โพธริ กั ษ์ทำผดิ อะไร?, ( ม.ป.ท. : คณะชาวพทุ ธแห่งประเทศไทย, ๕๓ ).

๗๘ พระธรรมปฎิ ก (ป.อ. ปยุตฺโต), กรณธี รรมกำย : เอกสำรเพ่ือพระธรรมวินัย, ( กรุงเทพมหานคร :
มูลนิธิพุทธธรรม, ๕๔ ), พระธรรมปิฎก (ป,อ, ปยุตฺโต), กรณีธรรมกำย : บทเรียนเพ่ือกำรศึกษำ
พระพุทธศำสนำ และสร้ำงสรรค์สังคมไทย, (กรุงเทพมหานคร : บริษัท ธรรมสาร จากัด, ๕๔ ),
พระธรรมปฎิ ก (ป.อ. ปยตุ โฺ ต), นิพพำน อนัตตำ (กรงุ เทพมหานคร : มลู นธิ พิ ุทธธรรม, ๕๔ ).

๗๙ โดยงานของท่านจะเป็นประเด็นโต้แย้งบทศึกษา พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), กรณีเงื่อนงำ :
พระพุทธเจ้ำปรินิพพำนด้วยโรคอะไร, (กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิพุทธธรรม, ๕๔๓), ทัศนะของ
พระพุทธศำสนำต่อสตรแี ละกำรบวชเปน็ ภกิ ษุณี, (กรงุ เทพมหานคร : มูลนิธิพทุ ธธรรม, ๕๔๔), ปัญหำภิกษุณี :
บททดสอบสังคมไทย ,(กรงุ เทพมหานคร : สขุ ภาพใจ, ๕๔๔).

๘๐พระมโน เมตตฺ านนฺโท, เหตเุ กดิ พ.ศ.๑=B.E. 0001, (กรุงเทพมหานคร : พระอาทิตย์, ๕๔๕).
๘ วริยา ชินวรรโณ และคณะ, วิวัฒนำกำรกำรตีควำมคำสอนเรื่องสมำธิในพระพุทธศำสนำฝ่ำย
เถรวำทในประเทศไทย, พิมพค์ ร้งั ท่ี ๓, (กรงุ เทพมหานคร : จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๕๔๘).



. สำยอำนำปำนสติ คือ การพิจารณาลมหายใจเข้า ออก และบริกรรมภาวนาว่า “พุทโธ”
เป็นแบบท่ีนิยมมาแต่เดิม ได้แก่ กลุ่มพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต ท่ีปรากฏในงานวิจัย Mrs,
Phassarapha Phaisarnariyasap ในงานวิจัยเร่ือง A Study of Most Venerable Mun Bhuridatta
Thera’s Method of Citta Bhuvana “Buddho” Practice๘ พระมหาประเสริฐ พรหมจันทร์ (ศึกษา
วิเคราะห์หลักปฏิบัติอานาปานสติภาวนาเฉพาะกรณีคาสอนพุทธทาสภิกขุ)๘๓ ขวัญชนก เรนนี๘๔
(ดชั นคี วามสุขของวัยรุ่นจังหวัดนครสวรรค์ในกลุ่มท่ีเข้ารับการฝึกสมาธิหลักสูตรศิลปะการพัฒนา
ชีวิตดว้ ยอานาปานสติภาวนาของเสถยี รธรรมสถาน) เป็นตน้

. สำยธุดงค์กรรมฐำนอีสำน มีพ้ืนฐานจากสายอานาปานสติ แต่มีลักษณะเป็นพระป่า
ต้องออกธุดงค์ หรือมีวัด สานัก หรือท่ีอยู่อาศัยอยู่ในป่า หรือถูกจัดทาให้เป็นสภาพป่า นัยหนึ่งเป็น
การออกแบบให้สอดคล้องกับพระธรรมวินัย อีกนัยหน่ึงเป็นการรักษารูปแบบตามแนวปฏิบัติของครู
อาจารย์ มีมากในแถบอีสาน ภาวดี พันธรักษ์ ๘๕(ปัจจัยทางกายภาพและสังคมท่ีมีผลต่อการตัดสินใจ
ไปวัดป่าธรรมยุต : กรณีศึกษาวัดในจังหวัดสกลนคร) แม่ชีศิริวรรณ จาเนียรบุญ๘๖(ศึกษารูปแบบและ
วธิ ีการปฏิบตั กิ มั มฏั ฐานฐานของพระอธิการสนอง กตปญุ โฺ ญ วดั สังฆทาน จงั หวดั นนทบุรี)

๓. แนวสติปัฎฐำน หรือสายวัดมหาธาตุ เป็นสายใหญ่สายหนึ่ง ที่เผยแผ่แนวการสอน
สมาธิไปตามวิทยาเขตของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ได้แนวปฏิบัติจากพม่า โดยหลักปฏิบัติ
เป็นไปตามแนว “สติปัฎฐาน” ใช้สติเป็นองค์ในการพิจารณา มีคาบริกรรม “หนอ” โดยใช้สติดู
อาการหลัก ๆ ในร่างกาย โดยเฉพาะ “พอง-ยุบ” ของหน้าท้อง ที่ปรากฏในงานวิจัยของ

๘ Mrs. Phassarapha Phaisarnariyasap, “A Study of Most Venerable Mun Bhūridatta Thera’s
Method of Citta Bhāvanā “Buddho” Practice”, Master of Arts (Buddhist Studies )
Mahachulalongkornrajavidayalaya University, 2006).

๘๓พระมหาประเสริฐ พรหมจันทร์, “ศึกษาวิเคราะห์หลักปฏิบัติอานาปานสติภาวนาเฉพาะกรณีคา
สอนพทุ ธทาสภิกขุ”, สำรนิพนธด์ ษุ ฎีบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั , ๕๕ ).

๘๔ขวัญชนก เรนนี, “ดัชนีความสุขของวัยรุ่นจังหวัดนครสวรรค์ในกลุ่มที่เข้ารับการฝึกสมาธิ
หลักสูตรศิลปะการพัฒนา ชีวิตด้วยอานาปานสติภาวนาของเสถียรธรรมสถาน”, วิทยำนิพนธ์ครุศำสตร
มหำบณั ฑิต, (บณั ฑติ วิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏภเู กต็ , ๕๕๓).

๘๕ภาวดี พันธรักษ์, “ปัจจัยทางกายภาพและสังคมที่มีผลต่อการตัดสินใจไปวัดป่าธรรมยุติ :
กรณีศึกษาวัดในจังหวัดสกลนคร”, วิทยำนิพนธ์กำรศึกษำมหำบัณฑิต (ภูมิศำสตร์), (บัณฑิตวิทยาลัย :
มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ, ๕๔๕).

๘๖แม่ชศี ริ วิ รรณ จาเนยี รบุญ, “รปู แบบและวิธีการปฏิบัติกัมมัฎฐานของพระอธิการสนอง กตปุญฺโญ
วดั สังฆทาน จังหวัดนนทบุรี”, วิทยำนิพนธ์พทุ ธศำสตรมหำบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลยั , ๕๕๐).



พระครูประคุณสรกจิ (สชุ าติ ชโิ นรโส) ๘๗(การศึกษาการสอนวิปัสสนากัมมัฏฐานตามแนวทางของ
สานกั วิปัสสนาวิเวกอาศรม) จุฑามาศ วารีแสงทิพย์๘๘(การศึกษาพัฒนาการของวิปัสสนากรรมฐาน
ในประเทศไทย) พรรณราย รัตนไพฑูรย์ ๘๙(การศึกษาวิธีปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวคาสอน
ของพระธรรมธรี ราชมหามุนี) พระมหาเรอื งฤทธิ์ สุธโี ร (ยศโสธร) ๙๐พระสุภีร์ สดุ สงวน๙ เปน็ ต้น

๔. สำยธรรมกำย ได้แก่การสอนตามแนวหลวงพ่อวัดปากน้าภาษีเจริญ พิจารณา ดวง
แกว้ ท่ีบรเิ วณศูนยก์ ลางของร่างกาย ดงั ปรากฏในงานพระมงคลเทพมุนี(สด จนฺทสโร) “พุทธภาวนา
วชิ ชาธรรมกาย”๙ พระมหาเสริมชัย ชยมงคฺ โล๙๓ และงานของกรรณกิ าร์ รกั ขมุ แก้ว๙๔ เป็นตน้

๕. สำยประยุกต์ มีการสังเคราะห์แนวคาสอนในพระพุทธศาสนาใช้อธิบายการปฏิบัติ
และสอนสมาธิ เช่น อาจารย์พร รัตนสุวรรณ แนวปฏิบัติสมาธิแบบเคล่ือนไหวตามแนวปฏิบัติของ

๘๗ พระครูประคณุ สรกจิ (สุชาติ ชิโนรโส), “การศึกษาการสอนวิปัสนากัมมัฎฐานตามแนวทางของ
สานักวิปัสนาวิเวกอาศรม”, วิทยำนิพนธ์พุทธศำสตรมหำบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย, ๕๓๘).

๘๘ จุฑามาศ วารีแสงทิพย์ , “การศึกษาพัฒนาการของวิปัสสนากรรมฐานในประเทศไทย”, สำร
นิพนธ์ดษุ ฎีบณั ฑิต, (บณั ฑติ วิทยาลยั : มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๕๕ ).

๘๙ พรรณราย รตั นไพฑูรย์ , “การศกึ ษาวธิ ีปฏบิ ัตวิ ิปสั สนากรรมฐานตามแนวคาสอนของพระธรรมธีรราช
มหามุนี”, วทิ ยำนพิ นธ์พุทธศำสนำมหำบัณฑิต, (บณั ฑติ วทิ ยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๕๔๓),
หน้า บทคดั ย่อ.

๙๐พระมหาเรืองฤทธิ์ สุธีโร, “การศึกษาเปรียบเทียบแนวปฏิบัติกัมมัฎฐานของพระสงฆ์ไทยใน
ปัจจุบัน : ศึกษากรณีวัดอัมพวัน สิงห์บุรี และวัดจันทาราม อุทัยธานี”, วิทยำนิพนธ์ศำสนศำสตรมหำบัณฑิต,
(บณั ฑิตวทิ ยาลยั : มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๕๔๙), หนา้ บทคัดยอ่ .

๙ พระสุภรี ์ สุดสงวน, “วิเคราะหว์ ธิ ีการปรบั อินทรียใ์ ห้สมดุลในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ตาม
แนวสติปฎั ฐาน ๔”, วิทยำนพิ นธ์ศลิ ปศำสตรมหำบณั ฑติ , (บัณฑิตวิทยาลยั : มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่, ๕๕ ).

๙ พระมงคลเทพมุนี (สด จนทสโร), พทุ ธภำวนำวชิ ชำธรรมกำย, (กรุงเทพมหานคร : มลู นธิ ิพทุ ธ
ภาวนาวชิ ชาธรรมกาย, ๕ ๕).

๙๓ พระมหาเสริมชยั ชยมงฺคโล, ทำงมรรคผลนพิ พำน : ธรรมปฏิบตั ถิ งึ ธรรมกำย, (ราชบรุ ี : มูลนิธิ
พทุ ธภาวนาวชิ ชาธรรมกาย, ๕๔๐).

๙๔ กรรณิการ์ รักขมุ แกว้ , “ผลของการฝกึ สมาธิ การเจรญิ ภาวนาตามแนววชิ าธรรมกายที่มีต่อ เวลาปฏิกิริยา
ตอบสนองแบบง่ายและเชิงซ้อน”, วิทยำนิพนธ์พลศึกษำมหำบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,

๕ ๓).

หลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ ที่ปรากฏในงานวิจัยพระมหาวีรพันธ์ ชุติปญฺโญ๙๕ และพระมหานิพนธ์
มหาธมฺมรกฺขติ โฺ ต๙๖ นอกจากนีย้ ังมสี ายจากต่างประเทศเช่น โคเอ็งก้า๙๗ และการปฏิบัติของหมู่บ้าน
พลัมในประเทศไทย๙๘ตามแนวของท่านติช นทั ฮันท์๙๙ เปน็ ต้น

สานกั ต่าง ๆ เหล่านี้ มีสาขาของการปฏบิ ัติ กระจัดกระจายตามภาคต่าง ๆ ทั่วประเทศไทย
และมีอิทธิพลในทางความคิดต่อพระพุทธศาสนิกชนที่ยึดถือแนวทางปฏิบัติของสานักเหล่านี้ และ
แม้ว่าแต่ละสานักล้วนมีแนวทางปฏิบัติแตกต่างกันออกไป แต่โดยสรุปแล้วอาจกล่าวได้ว่า ทุก
สานักต่างให้ความสาคัญกับการฝึกอบรมสมาธิว่า เป็นการปฏิบัติ ใน ลักษณะ คือ ในทาง
หลักการและวิธีการ ทางหลักการ คือ เป็นการอบรมเพื่อเข้าถึงธรรม ส่วนวิธีการ คือ การคิดค้น
เทคนิคและวิธีปฏิบัติต่าง ๆ เพ่ือผู้ปฏิบัติสามารถบรรลุผลสาเร็จได้ตามเป้าหมายท่ีกาหนดไว้ คือ
การกาจดั กเิ ลสและความชวั่ ตา่ ง ๆ ใหห้ มดไป

๑.๖.๕ งำนวิจัยเก่ยี วกับ ไสยองิ พทุ ธ/สำนกั ทรง
สาหรับงานวิจัยเก่ียวข้องกับกลุ่มขบวนการพุทธใหม่ หรืออิงอยู่กับพระพุทธศาสนาโดย
อาศัยฐานคิดจากความเชื่อด้ังเดิม ท่ีในพระไตรปิฎกเรียกพฤติกรรมความเชื่อกลุ่มน้ีว่า “ติรัจฉาน
วิชา” รวมทั้ง รับมาผสมผสานจนกลายเป็นเอกลักษณ์เฉพาะและสามารถขับเคล่ือนความเป็น
พระพุทธศาสนาในแบบที่ตัวเองต้องการโดยมีกลุ่มที่ศึกษาเร่ืองดังกล่าวไว้ อาทิ งานวิจัยของ

๙๕ พระมหาวีรพันธ์ ชุติปญฺโญ, “ศึกษาวิเคราะห์การตีความและวิธีการสอนธรรมะของหลวงพ่อเทียน
จิตฺตสุโภ”, วิทยำนิพนธ์พุทธศำสตรมหำบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,

๕๔๖).
๙๖ พระมหานิพนธ์ มหาธมมฺ รกฺขิตฺโต (แสงแก้ว), “การศึกษาเปรียบเทียบแนวการปฏิบัติกรรมฐาน

ของหลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ และพุทธทาสภิกขุ”, วิทยำนิพนธ์พุทธศำสตรมหำบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย :
มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , ๕๔๖).

๗ พล เวียงสันเทียะ, ผลของการฝึกอานาปานสติโดยใช้เทคนิคการอบรมตามแนวทางท่านอาจารย์
โกเอน็ ก้าท่ีมีตอ่ พฤติกรรมการกระทาผดิ วินัยและความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี
๕ : กรณีศึกษาโรงเรียนบ้านหนองกุง จังหวัดชัยภูมิ , วิทยำนิพนธ์บัณฑิตศึกษำ, (บัณฑิตวิทยาลัย :
มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น, ๕๔๓).

๙๘ แนวคดิ และแนวปฏบิ ตั ิของสานกั ปฏิบัตทเี่ ป็นศษิ ยข์ องท่านตชิ นทั ฮนั ท์ [ออนไลน์],แหล่งทมี่ า :
www,thaiplumvillage,org ( มถิ ุนายน ๕๕๓).

๙๙ฑฆี ายุวฒั ก์ สวัสดลิ์ ออ, “การวเิ คราะหก์ ารเจริญสตติ ามแนวทางของ ตชิ นทั ฮนั ห์”, วทิ ยำนพิ นธ์
ศลิ ปศำสตรมหำบณั ฑิต, (บณั ฑติ วทิ ยาลยั : มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่, ๕๕ ).

ณัฐธิมา ไชยสิทธิ์ (รัฐไทยกับไสยเวทย์) ๐๐ พระมหาทวีศักด์ิ ใครบุตร (ดิรัจฉานวิชชา : ศึกษาเชิง
วิเคราะห์ทรรศนะและแนวปฏิบัติในสังคมไทย) ๐ กลุ่มความเช่ือเก่ียวกับจิตวิญญาณที่เป็นภาพ
สะท้อนสังคมไทย ในงานของความเช่ือเรื่องผีของ บุญมี ปาริชาติธนกุล ๐ ซึ่งความเช่ือท่ีอยู่กับ
เผ่าพันธุ์ของมนุษย์มาแต่บรรพกาล แต่ก็พัฒนาผสมผสานเป็นความเช่ือที่กระทาสืบต่อ ๆ กันมา
รวมท้ังได้กลายเป็นพลังขับเคลื่อนให้เกิดความเช่ืออ่ืน ๆ ตามมา เช่น สานักทรงท่ีมีอยู่จานวนมาก
ตามปรากฏในงานวิจัยของ พระเฑียรวิทย์ อตฺตสนฺโต (โอชาวัฒน์) รตพร ปัทมเจริญ ๐๓
เบญจรัชต์ เมอื งไทย ๐๔ นิภาวรรณ วิรชั นิภาวรรณ ๐๕ โดยทกุ ทา่ นให้ความหมายต่อการเจริญเติบโต
ของกลุ่มความเชื่อดังกล่าวไว้ใกล้เคียงกันคือความเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ ความมุ่งหวังต่อการ
พึ่งพิงทางจิตใจ และความม่ันคงในชีวิตเป็นพลังขับเคล่ือนทาให้กลุ่มสานักทรง เจริญเติบโตและ
เป็นพัฒนาการหนง่ึ ในสงั คมไทย

แต่ก็มีงานท่ีทาการสังเคราะห์เทียบเคียงระหว่างไสยศาสตร์กับพุทธศาสตร์ เพื่อช้ีชัดให้
เห็นความเหมือนความต่างโดยใช้กรอบของพุทธศาสตร์ตามทัศนะของพระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต)
ในงานวิจัยของพระประเสริฐ ชุตินฺธโร (สุนทรวิวัฒน์) ให้ภาพความเหมือนความต่างของ
ไสยศาสตร์และพุทธศาสตร์ตรงที่ปลายทางคือการพ้นทุกข์ สุริยา สมุทคุปต์ิ ๐๖ ทรงเจ้าเข้าผี : วาท

๐๐ ณัฐธิมา ไชยสิทธ์ิ, “รัฐไทยกับไสยเวทย์”, วิทยำนิพนธ์ศิลปศำสตรมหำบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย:
มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง, ๕๔๖), หน้า บทคัดย่อ.

๐ พระมหาทวีศักดิ์ ใครบุตร, “ดิรัจฉานวิชชา : ศึกษาเชิงวิเคราะห์ทรรศนะและแนวปฏิบัติใน
สังคมไทย”, วิทยำนิพนธศ์ ิลปศำสตรมหำบณั ฑติ (คณะศิลปศาสตร์ : มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์, ๕๔๔).

๐ บญุ มี ปาริชาติธนกุล, “ความเชอื่ เรื่องผีในพิธีกรรมของชาวไทยโซ่งบ้านไผ่หูช้าง อาเภอบางเลน
จงั หวดั นครปฐม”, วทิ ยำนิพนธ์ศิลปศำสตรมหำบัณฑิต, (บัณฑติ วิทยาลยั : มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง, ๕๔๖).

๐๓รตพร ปัทมเจริญ, “กระบวนการเข้าสู่การเป็นร่างทรง : กรณีศึกษาร่างทรงในเขต อ. เมือง จ.
นครปฐม”, วิทยำนิพนธ์สังคมวิทยำและมำนุษยวิทยำมหำบัณฑิต, (คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา :
มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์, ๕๔๓).

๐๔ เบญจรัชต์ เมืองไทย, “พิธีทรงเจ้า : พิธีกรรมกับโครงสร้างสังคมท่ีหนองขาว”, วิทยำนิพนธ์
ศลิ ปศำสตรมหำบัณฑติ , (บณั ฑติ วิทยาลยั :มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร, ๕๔๓).

๐๕ นิภาวรรณ วิรัชนิภาวรรณ, “ร่างทรง : บทบาทที่มีต่อสังคมปัจจุบัน กรณีศึกษาท่ีอาเภอเมือง
จังหวดั ฉะเชิงเทรา”, วิทยำนิพนธศ์ ิลปศำสตรมหำบณั ฑติ , (บณั ฑิตวทิ ยาลยั : มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร, ๕๓ ).

๐๖ สุริยา สมุทคปุ ต,ิ์ ทรงเจ้ำเข้ำผี : วำทกรรมของลัทธพิ ธิ ีและวกิ ฤตกิ ำรณข์ องควำมทนั สมัยใน
สังคมไทย, (กรงุ เทพมหานคร : ศนู ยม์ านษุ ยวทิ ยาสิรินธร, ๕๓๙).



กรรมของลัทธิพิธีและวิกฤติการณ์ของความทันสมัยในสังคมไทย ส. ศิวรักษ์ ๐๗ เรไร สืบสุข
ไสยศาสตร์ในวรรณคดีไทยสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น (พ.ศ. ๓ ๕- ๓๙๔) ๐๘ Terwial ๐๙กับ
ภาพที่แยกไม่ออกระหว่างพิธีกรรมความเช่ือและไสยศาสตร์ท่ีปรากฏอยู่ในกลุ่มพระสงฆ์ในงานวิจัย
Monks and magic : an analysis of religious ceremonies in central Thailand สอดคล้องกับงานของ J.M.
Cadet๑๑ ในงาน Monks, mountains and magic : explorations of Thailand ภาพของพระพุทธศาสนา
ภายใต้ความเคลื่อนไหวแนวนี้ผสมกลมกลืนจนแทบแยกไม่มีในสังคมไทยนับแต่อดีตจนกระท่ัง
ปัจจบุ ัน

สาหรบั งานวจิ ยั ในสว่ นนจ้ี ะทาใหเ้ หน็ พัฒนาการของกลุ่มขับเคลื่อนพระพุทธศาสนาแนว
“ไสย-พุทธ” พร้อมท้ังจะนาไปเป็นฐานข้อมูลในการวิเคราะห์และให้คาอธิบายต่อปรากฏการณ์
พระพทุ ธศาสนาในแต่ละกลมุ่ ทที่ าการศึกษา

๑.๖.๖ งำนวิจยั เกย่ี วกับพุทธศำสนำเพ่อื สังคม
งานวจิ ัยของกลมุ่ พระพุทธศาสนาเพือ่ สังคม เมอ่ื พิจารณาตามแนวคดิ ทางพระพุทธศาสนา
ก็จะเป็นกลุ่มท่ีมีส่วนร่วมต่อสังคมไทยมานานพร้อมกับการมีอยู่ของพระพุทธศาสนาในประเทศ
ไทย โดยมีงานวจิ ยั ที่เกี่ยวข้อง และจัดแบง่ ได้เปน็
ก) กลุ่มพุทธธรรมเพื่อสังคม โดยนาหลักธรรมไปเผยแผ่ต่อสาธารณะ นาหลักธรรมไป
ผลักดันสังคมอย่างมีส่วนร่วม นาไปประยุกต์ใช้ อาทิ หลวงพ่อพุทธทาส พระพรหมคุณาภรณ์
(ป.อ.ปยตุ ฺโต) พระมหาวฒุ ิชัย วชริ เมธี พระไพศาล วิสาโล
ข) กลุ่มปฏิบัติกำรเชิงพุทธ คือกลุ่มท่ีนาหลักพุทธธรรม ไปสู่การปฏิบัติการในเชิงสังคม
เช่น กลุ่มเสขิยธรรม ส.ศิวรักษ์ พระราชธรรมวาที (พยอม กัลยาโณ) พระอุดมประชานาถ (อลงกต )
พระไพศาล วิศาลโล พระสุบิน ปณีโต กลุ่มเสขิยธรรม ซ่ึงมีงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง เช่น พระมหามาโนช
ศึกษา (พระพุทธศาสนากับการพัฒนาสังคม : ศึกษาความคิดเห็นของพระสังฆาธิการต่อการพัฒนา

๐๗ ส, ศิวรักษ,์ พุทธกับไสยในสงั คมไทย, (กรุงเทพมหานคร : คณะกรรมการศาสนาเพื่อการพัฒนา
: สถาบันสนั ติประชาธรรม, ๕๓๘).

๐๘ เรไร สบื สุข, “ไสยศาสตรใ์ นวรรณคดีไทยสมยั รตั นโกสินทร์ตอนต้น (พ.ศ. ๓ ๕- ๓๙๔)” ,
วิทยำนพิ นธก์ ำรศกึ ษำมหำบัณฑิต (ภำษำไทย), (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ, ๕ ).

๐๙Terwiel,Berend Jan, Monks and magic : an analysis of religious ceremonies in central
Thailand, (London : Curzon, 1979).

๑๑ J. M. Cadet, Monks, mountains and magic : explorations of Thailand, (Chiang Mai :
Browne, 1990).



สังคมของพระพยอม กัลยาโณ) พระมหาจรูญโรจน์ กวิวโส (การประยุกต์ใช้พุทธธรรมกับ
การทากจิ กรรมในชุมชนของพระสงฆก์ ลมุ่ เสขยิ ธรรม) เปน็ ต้น

.๖.๗ งำนวจิ ัยกลุ่มพทุ ธพำณชิ ย์-พทุ ธทนุ นยิ ม
กลุ่มพุทธพาณิชย์ ในความหมายของการระดมทุนตามแนวทางพระพุทธศาสนา ซึ่งเป็น
ภาพลกั ษณ์ท่ปี รากฏเปน็ ผลประโยชนจ์ านวนมาก รวมท้ังมพี ลงั ขบั เคลอ่ื นสงั คมในภาพรวมอย่างสูง
งานวิจยั ท่ีเกีย่ วข้องกับการศึกษาวิจยั นี้ตง้ั แต่พฒั นาการพระเคร่อื ง จนพัฒนาเป็นพุทธพาณิชย์ วิธีการ
ระดมทุน ที่อาศัยเทคนิคการประชาสัมพันธ์ การตลาด การสร้างความเช่ือ ที่อิงอาศัยอยู่กับฐานคิด
ทางพระพุทธศาสนาและวัดท่ีเป็นแหล่งผลิต โดยงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องและจะให้คาอธิบายร่วมกับ
กลุ่มนี้ได้ อาทิ งานของบุศรา สว่างศรี (พุทธพาณิชย์ : พระเครื่อง) ๓ พระมหามนตรี วลฺลโภ ใน
งานวิจัยเรื่อง อิทธิพลของวัตถุมงคล ที่มีต่อสังคมไทยในปัจจุบัน ๔ ชายนา ภาววิมล
(พุทธพาณชิ ย์ ผลกระทบจากการใช้สอ่ื สานมวลชนในการโฆษณาประชาสัมพันธ์เพ่ือจาหน่ายพระ
เคร่ืองที่มตี ่อทัศนคติ และความเชือ่ ของพุทธศาสนิกชน ในเรื่องสัญลักษณ์ของศาสนา) ๕ งานวิจัย
เหล่าน้ีท่ีให้ภาพต่อความเชื่อต่อวัตถุมงคลในสังคมไทย และผลการวิจัยได้ข้อสรุปว่าเพราะวัตถุ
มงคลเกย่ี วขอ้ งกบั พระพุทธศาสนาจงึ เป็นแรงจงู ท่ีนาไปสกู่ ารเช่ือบูชา รวมท้ังความเชื่อต่ออิทธิฤทธิ์
ปาฎิหารย์ต่อวัตถุมีฤทธิ์ตามคากล่าวอ้างในเชิงชวนเช่ือปรากฏผ่านส่ือ ซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัย
ของชนิดา ดังก้อง (ปัจจัยภายนอกท่ีมีอิทธิพลต่อการบูชาวัตถุมงคลจตุคามรามเทพในจังหวัด

พระมหามาโนช ศึกษา, “พระพุทธศาสนากับการพัฒนาสังคม : ศึกษาความคิดเห็นของพระ
สังฆาธิการต่อการพัฒนาสังคมของพระพยอม กัลป์ยาโณ”, วิทยำนิพนธ์สังคมสงเครำะห์ศำสตรมหำบัณฑิต,
(คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๕๓๙), หน้า บทคัดยอ่ .

พระมหาจรูญโรจน์ กวิวโส, “การประยุกต์ใช้พุทธธรรมกับการทากิจกรรมในชุมชนของ
พระสงฆ์ กลุ่มเสขิยธรรม”, วิทยำนิพนธ์สังคมสงเครำะห์ศำสตรมหำบัณฑิต , (คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๕๔๕).

๓ บุศรา สว่างศรี, “พุทธพาณิชย์ : พระเคร่ือง”, วิทยำนิพนธ์ศิลปศำสตรมหำบัณฑิต,
(ประวตั ศิ ำสตรศ์ ิลปะ), (บณั ฑิตวิทยาลัย : มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร, ๕๕๐).

๔พระมหามนตรี วลลฺ โภ, “ อิทธิพลของวตั ถมุ งคล ทม่ี ตี อ่ สงั คมไทยในปจั จบุ นั ”, วิทยำนิพนธ์
พุทธศำสตรมหำบณั ฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๕๔ ).

๕ชายนา ภาววิมล, “พุทธพาณิชย์ ผลกระทบจากการใช้สื่อสานมวลชนในการโฆษณา
ประชาสัมพันธ์เพ่ือจาหน่ายพระเครื่องที่มีต่อทัศนคติ และความเชื่อของพุทธศาสนิกชน ในเร่ืองสัญลักษณ์ของ
ศาสนา”, วทิ ยำนิพนธ์นเิ ทศศำสตรม์ หำบณั ฑิต, (บณั ฑิตวทิ ยาลยั : จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั , ๕๓๗).



ร้อยเอ็ด) ๖ งานวิจัยของกฤษฎา พิณศรี (จตุคามรามเทพ การถือกาเนิดของเทพเจ้าองค์ใหม่ใน
สังคมไทย) ๗อภิรักษ์ จุฬาศินนท์ (แรงจูงใจในการบูชาวัตถุมงคลของหลวงพ่ออุตตมะ จังหวัด
กาญจนบรุ ี) ๘ ไพศาล เอกบุญเขต (ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเช่าพระเคร่ืองของผู้บริโภค
ที่ศูนย์พระเคร่ืองตลาดนัดจตุจักร) ๙ อรรถพันธุ์ สงวนเสริมศรี (ปัจจัยที่มีผลต่อความนิยม
พระเคร่ือง) ๐ อัชรา ม่ันคง (การศึกษาเจตคติและความสนใจพระเคร่ืองในฐานะที่เป็นสื่อของชาว
กรุงเทพมหานคร) วรี ะพงษ์ ภูมลู เจษฎา วิวัฒนภ์ ทั รกุล ๓ สชุ าติ จันทรมณี ๔(ทัศนคติและ
พฤติกรรมของผู้บริโภคที่มีต่อการเช่าบูชาองค์จตุคามรามเทพ) โดยในงานวิจัยส่วนใหญ่ล้วนให้
คาอธิบายเก่ียวกับแรงจูงใจ ความเชื่อเชิงปัจเจก รวมไปถึงผลคาดหวัง จึงมีผลต่อการบริโภค “วัตถุ
มงคล-ของขลัง” ในฐานะเป็นสินค้าที่สัมพันธ์กับความเช่ือ ซ่ึงภาพเหล่าน้ีมีผลต่อการขับเคล่ือนทั้ง
ในสว่ นของการผลติ การโฆษณาประชาสัมพนั ธ์ และการใช้จา่ ยตอ่ “วัตถุ” ที่ถูกจัดทาข้ึน โดยมีช่อง
ทางการตลอดเข้ามามีส่วนร่วมในการขับเคล่ือน ดังนั้นงานวิจัยในส่วนนี้จะเป็นฐานในการสืบค้น
และให้คาอธิบายเพ่ิมต่อปรากฏการณ์ขบวนการขับเคลื่อนพระพุทธศาสนาในประเทศไทยในกลุ่ม
ของวตั ถุมงคล และพระเครือ่ งได้

๖ชนิดา ดังก้อง, “ปัจจัยภายนอกท่ีมีอิทธิพลต่อการบูชาวัตถุมงคลจตุคามรามเทพในจังหวัด
ร้อยเอ็ด”,วิทยำนิพนธ์บริหำรธรุ กิจมหำบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลยั : มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ๕๕ ).

๗ กฤษฎา พณิ ศรี, “จตุคามรามเทพ การถือกาเนิดของเทพเจ้าองค์ใหม่ในสังคมไทย”, วำรสำรศิลปะและ
วัฒนธรรมลุ่มแม่นำ้ มูล มหำวิทยำลัยรำชภัฏสรุ นิ ทร์,ป. ฉ. (ประจาปีการศกึ ษา ๕๕๐), หนา้ ๓๙-๔๔.

๘ อภิรักษ์ จุฬาศินนท์, “แรงจูงใจในการบูชาวัตถุมงคลของหลวงพ่ออุตตมะ จังหวัดกาญจนบุรี”,
วิทยำนพิ นธบ์ ริหำรธุรกิจมหำบณั ฑิต, (บณั ฑิตวิทยาลยั : มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนดุสิต, ๕๔๙).

๙ ไพศาล เอกบญุ เขต, “ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเช่าพระเคร่ืองของผู้บริโภคท่ีศูนย์พระเครื่อง
ตลาดนัดจตจุ ักร”, วิทยำนิพนธ์บรหิ ำรธุรกิจมหำบณั ฑติ , (บัณฑิตวิทยาลยั : มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ, ๕๔๗).

๐ อรรถพันธุ์ สงวนเสริมศรี, “ปัจจัยที่มีผลต่อความนิยมพระเคร่ือง”, วิทยำนิพนธ์พัฒนบริหำร
ศำสตรมหำบัณฑิต, (บัณฑติ วทิ ยาลยั : สถาบันบัณฑิตพัฒนบรหิ ารศาสตร์, ๕๔๐).

อชั รา ม่นั คง, “การศกึ ษาเจตคติและความสนใจพระเครอ่ื งในฐานะทเี่ ปน็ ส่ือของชาว
กรงุ เทพมหานคร”, วิทยำนพิ นธ์นิเทศศำสตรมหำบัณฑิต, (บณั ฑิตวิทยาลัย : มหาวทิ ยาลยั สยาม, ๕๓๖).

วีระพงษ์ ภูมูล, “ปัจจัยทผ่ี ลต่อพฤตกิ รรมการเชา่ พระเครื่องของผบู้ รโิ ภคในกรงุ เทพมหานคร” ,
สำรนพิ นธบ์ รหิ ำรธุรกิจมหำบัณฑติ , (บณั ฑติ วทิ ยาลัย : มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ, ๕๕ ).

๓ เจษฎา ววิ ัฒน์ภทั รกุล, “ปจั จยั สู่ความสาเรจ็ ของผปู้ ระกอบการพระเคร่อื งยา่ นเยาวราช” , สำร
นพิ นธบ์ รหิ ำรธรุ กิจมหำบณั ฑติ , (บัณฑติ วทิ ยาลัย : มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ, ๕๔๘).

๔ สชุ าติ จนั ทรมณ,ี “ทัศนคตแิ ละพฤติกรรมของผบู้ ริโภคทมี่ ีตอ่ การเช่าบชู าองคจ์ ตคุ ามรามเทพ” ,
สำรนพิ นธบ์ รหิ ำรธรุ กิจมหำบัณฑติ , (บัณฑติ วทิ ยาลยั : มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ, ๕๕ ).



๑.๗ วธิ กี ำรดำเนินกำรวจิ ัย

การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยเป็นการศึกษาผ่านการวิจัย (Documentary
Research) และการวจิ ยั เชิงสารวจ (Survey Research) อนั เปน็ ไปตามหัวข้อวิจัย โดยอาศัยวิธีการทาง
มนุษยว์ ิทยาในการเข้าไปสงั เกตอยา่ งมีส่วนรว่ ม วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาสิ่งที่เคยมีใน
อดีต และสงั คมวทิ ยาศึกษาเปน็ ปรากฏการณ์ในเชิงสังคม หรอื แนวคิดทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม
วฒั นธรรม วิธวี ิทยาอน่ื ใดทจ่ี ะมีส่วนเสริมใหเ้ กดิ การขับเคลื่อนงานวิจัยอย่างเป็นระบบและสามารถ
สังเคราะห์องค์ความรู้กลุ่มเป้าหมาย “พุทธใหม่” ที่เกิดขึ้นใหม่จนกระท่ังเป็นปรากฏการณ์ทาง
สงั คมในประเทศไทยได้ ซงึ่ อาจจาแนกวธิ ีวจิ ัยไดค้ ือ

(ก) ศึกษำค้นควำ้ จำกเอกสำร (Documentary Research)
๑) เอกสำรช้ันปฐมภมู ิ (Primary Sources)ไดแ้ ก่ พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย และคัมภีร์
อรรถกถาอื่น ๆ ซึ่งผวู้ จิ ัยใช้เอกสารในส่วนของคัมภีร์พระไตรปิฎกในฉบับของสถาบันการศึกษาท่ี
ผู้วิจัยศึกษาอยู่เป็นกรอบหลักในการศึกษาแนวคิดทางพระพุทธศาสนา เช่น แนวคิดความ
เปลี่ยนแปลงกับไตรลักษณ์เพ่ือนามาประยุกต์ใช้เสริมอธิ บายความเปลี่ยนแปลงที่ปรากฏใน
สังคมไทย รวมทั้งศึกษาแนวคิดด้ังเดิมที่ปรากฏในคัมภีร์พร้อมท้ังถูกนามาสร้างคาอธิบายใหม่ ใน
กรณีของกลุม่ ตีความใหม่ หรือกลุ่มอื่น ๆ เพราะส่วนใหญ่ยึดอยู่กับแนวคิดเดิม อันมีรากฐานมาจาก
คมั ภีร์พระไตรปฎิ ก
๒) เอกสำรชัน้ ทุตยิ ภมู ิ (Secondary Sources) ได้แก่ หนังสอื ท่ีจดั พิมพ์เผยแผ่ บทวิจารณ์
บทสัมภาษณ์ และเอกสารอ่ืน ๆ อาทิ เช่น วิทยานิพนธ์ สาระนิพนธ์ บทความทางวิชาการ และ
หนังสืออ่ืน ๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น ของสานักนั้น ๆ ที่ทาการศึกษาทั้งโดยตรงและอ้อม โดยมุ่งหวัง
เป็นแนวคิดทฤษฎี และองค์ความรู้ที่จะถูกนามาเป็นกรอบในการศึกษาน้ี เพ่ือใช้เป็นฐานในการ
เขียนรายงานวจิ ยั ฉบบั สมบูรณ์ ทัง้ แนวคิด ทฤษฎี ตามกรอบของการศึกษาน้ี

(ข) กำรศึกษำวจิ ัยโดยกำรสำรวจ
( ) ศึกษำเอกสำร สิ่งพิมพ์ ซึ่งสถานท่ีนั้น ๆ หรือสานักที่เป็นกลุ่มกรณีศึกษาผลิต จัดทา
สร้างขึ้นมาเอง ท่ีปรากฏในห้องสมุดของสานักเหล่านั้น เช่น ห้องสมุดสานักสันติอโศก
วัดพระธรรมกาย วดั สวนแก้ว เป็นต้น ซึ่งมีผู้วิจัยทาวิจัยไว้ และนามามอบให้ ซ่ึงสะท้อนทัศนะของ
ศาสนิกได้ว่า บางกรณีการตีความ หรือให้คาอธิบายอาจไม่ตรงกับแนวคิด หรือเจตนารมณ์ที่กลุ่ม
แนวปฏิบตั นิ น้ั ๆ ตอ้ งการ เป็นตน้
( ) กำรเข้ำไปสังเกตกำรณ์อย่ำงมีส่วนร่วม ยังกลุ่มเป้าหมาย และกรณีที่ทาการศึกษา
เพอ่ื ศึกษาดูพัฒนาการของแต่ละกลุ่มตามปรากฏการณ์ที่เข้าไปมีส่วนร่วม กรณีของผู้วิจัยได้ใช้เวลา



สว่ นหน่ึงทั้งโดยความชอบส่วนตวั ในการเข้าไปสัมผสั บรรยากาศในการพบกับผู้นากลุ่มทางศาสนา
เช่น การทางานวิจัยกลุ่มเก่ียวกับประเด็นการตีความมังสวิรัติ ซ่ึงได้สัมภาษณ์และพบกับ “สมณะ
โพธริ ักษ์” และอีกหลาย ๆ คร้ังท่ีผู้วิจัยเข้าไปในฐานะผู้สังเกตการณ์ ศึกษาดูงานในสถานท่ีจริงของ
( ) สานักสันติอโศก ( ) วัดพระบาทน้าพุ (ลพบุรี) (๓) วัดพระธรรมกาย (๔) วัดสวนแก้ว (๕)
เสถียรธรรมสถาน (๖) กลุ่มเสขิยธรรม การดาเนินกิจกรรมของสุลักษณ์ ศิวรักษ์ (๗) พระไพศาล
วิสาโล เปน็ ตน้ เพอ่ื ดกู ารดาเนินงานและกิจกรรมของวัดพร้อมแนวทางในการขับเคล่ือน พร้อมกัน
นน้ั การเขา้ ไปในสถานการณ์จรงิ ก่ึงสงั เกตการณ์คอื เข้าไปในฐานะผู้ประกอบพิธีกรรมให้กับสานัก
ทรงต่าง ๆ ท่ีแต่เดิมไม่ได้รู้สึกว่าเป็นความ “แปลกแยก” แต่เม่ือได้ไปบ่อย ๆ และศึกษามองผ่าน
ปรากฏการณ์จงึ ทาให้เหน็ เป็น “ความเคลือ่ นไหว” ที่เหมือนอิงแอบอย่างมีเอกลักษณ์ รวมไปถึงการ
เขา้ ไปสงั เกตการณใ์ นฐานะผู้เข้าร่วมพิธีของสานักผู้ปฏิบัติแนว “อนุตรธรรม” ท่ีผสมผสานแนวคิด
ทั้งในฝ่ายมหายาน เถรวาท พุทธไทย พุทธจีนออกมาเป็น “พุทธ” ในมิติเกาะเกี่ยวกับคนไทย
สงั คมไทย แต่คนสว่ นใหญก่ ็ไมไ่ ด้รสู้ ึกถึงความแปลกต่าง มองในองค์รวมวา่ นค่ี ือพระพทุ ธศาสนา

ในส่วนของสานักปฏิบัติ ผู้วิจัยเองมีประสบการณ์ ทั้งในส่วนของนิสิตที่ต้องเข้าสู่
กระบวนการปฏิบัติตามเงื่อนไขของหลักสูตรในการศึกษาของมหาวิทยาลัยสงฆ์ และในฐานะผู้
สังเกตการณ์อย่างมีส่วนร่วม ในสานักต่าง ๆ เช่น วิเวกอาศรม จังหวัดชลบุรี วัดมหาธาตุ คณะ ๕
วัดอัมพวัน จังหวัดสิงห์บุรี วัดปากน้า (ภาษีเจริญ) สวนโมกขพลาราม รวมไปถึงการได้พบปะ
แลกเปลี่ยนกับครูอาจารย์ที่มีแนวปฏิบัติที่แตกต่างกัน ผลที่ได้คือทัศนะต่อการปฏิบัติ ความเข้าใจ
ต่อการปฏิบัติ รวมไปถึงการวินิจฉัยต่อการปฏิบัติไปด้วย ตรงน้ีส่งผลเป็นวิธีการปฏิบัติท่ีไปขมวด
รวมเป็น คาว่า “ใช่” หรือไม่ใช่ต่อแนวปฏิบัติทันที การท่ีผู้วิจัยอยู่ในสังคมไทย และอาศัยอยู่ใน
หน่วย “วัด” สิ่งหน่ึงท่ีสะท้อนและเห็นเป็นปรากฏการณ์เสมอมาคือ ระบบพุทธทุนนิยม การระดม
ทุนแบบวัด การเห็นสภาพของวัดในการตอบรับกับปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างไม่ทันท่วงที ซ่ึงเป็น
ปรากฏการณ์ท่ีผู้วิจัยเห็นผ่านประสบการณ์ท่ีดาเนินชีวิตอยู่ ในฐานะผู้ร่วมประกอบพิธีเอง ที่ช่วย
ให้เห็นแนวทางกลุ่ม “วัตถุมีฤทธ์ิ-พุทธทุนนิยม-พุทธทุนนิยม” ที่มีวัตถุถูกกระทาให้เช่ือว่าเป็น
“มงคล” เป็นสินค้ามีช่องทางส่ือในการกระจายสินค้าอย่างเป็นระบบ ซึ่งผู้วิจัยเองเคยอยู่ในสานัก
ของ “เกจิ” รวมท้ังเป็นผู้ร่วมพิธี ผลิต และเป็นผู้เช่าบูชาตามแรงโฆษณา ของสื่อและกระแส
ตอบสนองที่เกิดข้ึน ทักษะและประสบการณ์เหล่าน้ีคือประสบการณ์ตรง และ การสังเกตอย่างมี
ส่วนรว่ ม ซงึ่ จะถูกนามาใช้วิเคราะหต์ ีความตามกรอบของการศกึ ษาวจิ ยั น้ี

(๓) กำรสัมภำษณ์กลุ่มเป้ำหมำยท่ีทำกำรศึกษำ ในแต่ละกลุ่ม เพื่อดูทัศนะแนวคิด และ
วิธีการ รวมไปถึงสาเหตุ เพ่ือแสวงหาคาตอบของกระบวนการพุทธใหม่ในเชิงปัจเจกและกลุ่มร่วม
ในแต่ละกลุ่ม นอกเหนือจากการเขา้ ไปมสี ่วนรว่ มโดยตรงต่อสานักแนวคิดและพิธีกรรมแล้วการได้



สอบถามผู้เข้าร่วมพิธีกรรมอย่างมีเป้าหมาย การสัมภาษณ์ผู้ที่ก่อต้ังสานักนั้น ๆ โดยตรง เช่น สมณ
โพธิรักษณ์ แม่ชีศันสนีย์ เสถียรสุต การฟังบรรยายแนวคิดในโอกาสต่าง ๆ อาทิ พระภาวนาวิริยคุณ
(ทตฺตชีโว) แห่งวัดพระธรรมกาย พระราชธรรมวิเทศ (พยอม กัลยาโณ) วัดสวนแก้ว
พระอดุ มประชาทร (อลงกต ติกฺขปญฺโญ) วัดพระบาทน้าพุ ในคราวศึกษาดูงานในสานักท่ีกล่าวมา
รวมทง้ั การฟังเอาความจากส่ือแถบเสยี ง ที่สะทอ้ นแนวคิด การตคี วามของกลุ่มท่ีทาการศึกษา ซึ่งถูก
ผลติ ออกมาทงั้ ในเชงิ เผยแผ่ ในเชิงพาณิชย์ นยั หนง่ึ เพ่อื การถอดรหัสแนวคิดของท่านเหล่านั้น มาใช้
อธบิ ายความถงึ ปรากฏการณข์ องกลุม่ เป้าหมายทศี่ กึ ษาเหลา่ นนั้ (ดแู ผนภาพที่ . )

ข้ันท่ี ๑ ขั้นท่ี ๒ ขั้นท่ี ๓ วิเครำะห์ผลท่ีปรากฏต่อ
ศึ ก ษ ำ ท ฤ ษ ฎี ที่ จ ะ ใ ช้ เ ป็ น ศึกษำ เข้ำร่วม สังเกตกำรณ์ สังคมในภาพรวม อาทิ ความ
กรอบในการอธิบายปรากฏการณ์ จำแนกจดั กลุ่มขบวนการพุทธใหม่ ขัดแย้ง ววิ าทะ รวมถงึ การขบั เคล่ือน
ข อ ง ค ว า ม เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง ภ า ย ใ ต้ ภายใ ต้การเปล่ี ยนแปล งผ่าน พุทธศาสนาแนวใหม่
ขบวนการพุทธใหม่ท่ีปรากฏใน การศึกษาเชิงสารวจ ศึกษาผ่าน
สังคมไทยผ่านเอกสารงานวิจัยท่ี ปรากฏการณ์ทางสังคม อาทิ กลุ่ม ขัน้ ที่ ๔ สังเคราะห์แนวคดิ ทม่ี ีผลต่อ
เ กี่ ย ว ข้ อ ง อ า ทิ ท ฤ ษ ฎี ก า ร เ พ ศ วิ ถี , ก ลุ่ ม พุ ท ธ พ า ณิ ช ย์ -ไ ส ย การขับเคล่ือนขบวนการพุทธใหม่
เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง , ป ร า ก ฏ ก า ร ณ์ พาณิชย์,กลุ่มพระพุทธศาสนาเพ่ือ ในประเทศไทยจนพัฒนาเป็น
,ฆราวาสนิยม,ทุนนิยม,ปัจเจกชน สังคม,กลุ่มสานักปฏิบัติ รวมทั้ง
นิยม,สตรีนิยม,พุทธพาณิชย์,ไสย กลุ่มตีความพระพุทธศาสนาแนว
พาณชิ ย์ ทกุ ข์/ดบั ทกุ ข์ เปน็ ตน้ ใหม่ เปน็ ต้น

ขั้นที่ ๖ สรุป ขัน้ ท่ี ๕ ขบวนการพุทธใหม่

แผนภาพท่ี ๑. กรอบคิดวิธีการดาเนนิ การวิจยั

วิจยั
๑.๘ กรอบแนวคดิ และทฤษฎีที่ใชใ้ นกำรวจิ ัย

ในงานวิจัย “ขบวนการพุทธใหม่ในประเทศไทย” ผวู้ จิ ยั จะนาแนวคิดและทฤษฎี
ก) แนวคดิ และทฤษฎีทำงพระพุทธศำสนำ ทฤษฎเี ปลีย่ นแปลง (ไตรลักษณ์) ทฤษฎีทุกข์
และความดับทุกข์ กระบวนการพึ่งพาอาศัยกัน(ธรรมนิยาม) กระบวนทัศน์แบบองค์รวม
(ปฏิจจสมุปบาท) และเอกภาพ ทางสังคมแนวพุทธ (สังฆะและพุทธบริษัท ๔) และแนวคิดประชา
สงั คมเชิงพุทธ เปน็ ต้น



ข) แนวคิดและทฤษฎีตะวันตก แนวคิดปรากฏการณ์ ทุนนิยม สตรีนิยม โลกาภิวัตน์
เสรีนิยม แนวคิดตัวบท การตคี วาม เปน็ ตน้

เพื่อวิเคราะห์หาพฤติกรรมความคิด ทาความเข้าใจปรากฏการณ์และความเช่ือของกลุ่ม
“ขบวนการพุทธใหม่” ที่บางครั้งอยู่นอกเหนือเหตุผลและมโนทัศน์ ท่ีสัมพันธ์ถึงความคิดเรื่องการ
ต่อตา้ นขดั ขนื แนวคดิ เรื่องอานาจ แนวคดิ ความเปน็ ชมุ ชน และแนวคดิ พฤตกิ รรมเชิงศลี ธรรม

๑. ประโยชนท์ ่คี ำดว่ำจะได้รบั
.๙. ทราบปัจจัยที่ทาให้เกดิ กระบวนการเกิด “ขบวนการพุทธใหม่” ในประเทศไทย
.๙. ทราบพัฒนาการของกลุ่มขบวนการพทุ ธใหมใ่ นองค์รวม ทีเ่ กิดข้นึ ในสงั คมไทย
.๙.๓ ทราบผลการวเิ คราะห์ “ขบวนการพทุ ธใหม่” ทปี่ รากฏในสงั คมไทย

บทที่ ๒

ปยั จัยให้เกิด “ขบวนการพุทธใหม่” ในประเทศไทย

ก่อนที่จะทำกำรศึกษำกลุ่มขบวนกำรพุทธใหม่ในสังคมไทย ผู้วิจัยจะได้ทำกำรศึกษำ
สืบคน้ แนวคดิ เหตผุ ล แรงขบั ท่ีมผี ลต่อพระพุทธศำสนำในประเทศไทย โดยใช้แนวคิดทฤษฎีและ
กรอบคิดในกำรทำวิจัยเพื่อสะท้อนให้เห็นถึงชุดเหตุผล ควำมจำเป็น ท่ีทำให้เกิดกำรขับเคล่ือนเป็น
“ขบวนกำรพทุ ธใหม่” ในประเทศไทย

๒.๑ ความหมายและท่ีมาของขบวนการพุทธใหม่
ขบวนกำรพุทธใหม่ยังไม่ปรำกฏหลักฐำนว่ำมีกำรศึกษำหรือกล่ำวถึงโดยตรง แต่ก็มี

ผูใ้ หค้ ำอธบิ ำยในลกั ษณะต่ำง ๆ ประหนงึ่ เป็นกำรบอกว่ำน่ีคือพระพุทธศำสนำอย่ำงใหม่ในประเทศไทย
ซึง่ มีผใู้ หค้ ำนยิ ำม ทศั นะ มมุ มองในลักษณะตำ่ ง ๆ ดังนี้

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)๑ ให้ทัศนะที่ไม่ได้ช้ีชัดว่ำเป็นพุทธใหม่อย่ำงไร ?
แต่สำมำรถสังเครำะห์จำกแนวคิด ผ่ำนกำรเขียนและให้คำอธิบำยใหม่ ๆ ต่อหลักกำรทำง
พระพุทธศำสนำ ท่ีผู้วิจัยจัดท่ำนเป็นกลุ่มพุทธธรรมเพ่ือสังคม ที่มีวิธีกำรสร้ำงนิยำม ให้คำอธิบำย
เพ่ิม ผ่ำนกำรศึกษำตีควำม และกำรให้คำอธิบำยต่อหลักคิดทำงพระพุทธศำสนำต่อศำสตร์อ่ืน ๆ ท่ี
ส่งผลเป็นปรำกฏกำรณ์ทำงสังคมในวงกว้ำง เช่น พุทธศำสนำกับกำรศึกษำ เศรษฐศำสตร์

ถึงท่ำนจะไม่ได้บอกว่ำท่ำนเองเป็นพุทธใหม่ หรือว่ำกำรขับเคลื่อนแต่พฤติกรรมและกำรกระทำ
ของท่ำนเป็นลักษณะของกำรทำงำนเพ่ือพระพุทธศำสนำที่เข้ำไปเกำะเก่ียวและให้ควำมสำคัญกับชีวิตและวิธีคิด
ต่อพระพุทธศำสนำอย่ำงมีควำมหมำย รำยละเอียดใน Suluk Sivaloksa Editor, “Socially Engaged Buddhism for
the New Millennium”. Essys in honor of The Ven. Phra Dhammapitika (Bhikkhu P.A. Payutto) on his 60Th
birthday anniversary, Sathirakoses-Nagapradipa Foundation, Foundation for Children, Bangkok 12 may 1999.

รำยละเอียดใน พระพรหมคุณำภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต), พระพุทธศาสนากับการศึกษาในอดีต.
(กรงุ เทพมหำนคร : มหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, ๕ ).

รำยละเอียดใน พระพรหมคุณำภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต), เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ = Buddhist
economics, (กรุงเทพมหำนคร : สหธรรมิก, ๕๔๘), และ อภิชัย พันธุเสน, พุทธเศรษฐศาสตร์: วิวัฒนาการ ทฤษฎี
และการประยุกต์กบั เศรษฐศาสตร์สาขาตา่ ง ๆ, (กรุงเทพมหำนคร : อมรนิ ทร์, ๕๔๔).

รัฐศำสตร์ นิติศำสตร์๔ วิทยำศำสตร์๕กำรแพทย์ ส่ิงแวดล้อม และศำสตร์อื่น ๆ ปรับประยุกต์ ให้
สอดคล้องกับศำสตร์ต่ำง ๆ โดยยึดโยงอยู่กับหลักพุทธธรรม ซึ่งพระพรหมคุณำภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)
ท่ำนไม่ได้ให้คำนิยำมตรง ๆ ว่ำพระพุทธศำสนำอย่ำงใหม่หรือขบวนกำรพระพุทธศำสนำท่ีจะเกิดขึ้น
ใหม่เป็นอย่ำงไร แต่จำกภำรกิจท่ีท่ำนกระทำ รวมทั้งแนวคิดอำจให้คำอธิบำยและตอบได้ในส่วนของ
กำรนำพระพุทธศำสนำเขำ้ ไปเกย่ี วขอ้ งกบั สังคมอย่ำงมีเง่อื นไขบนฐำนแห่งควำมเป็นพระพุทธศำสนำ

ในงำน “พุทธศำสนำไทยในอนำคต แนวโน้มและทำงออกจำกวิกฤติ” พระไพศำล
วิสำโล๘ ให้ทัศนะไว้ว่ำ กำรเกิดขึ้นของกลุ่มพระพุทธศำสนำด้ำนต่ำง ๆ ภำยใต้ควำมเปล่ียนแปลงต่อ
สถำนกำรณ์ต่ำง ๆ ทั้งกำรปรับตัวไม่ทันต่อกำรเปล่ียนแปลง หรือถูกทำให้เป็นเพียงเครื่องมือ
สนองตอบเฉพำะกลุ่ม เป็นด้ำนหลักไม่ได้เป็นไปเพื่อพระพุทธศำสนำในองค์รวม ภำวะต่ำง ๆ เหล่ำน้ี
จึงเป็นนิยำมควำมเปลยี่ นแปลงของพระพุทธศำสนำในประเทศไทย ทปี่ รำกฏในงำนคน้ ควำ้ ของท่ำน

ในบทควำมทำงวิชำกำรของพระมหำสมจินต์ สมฺมำปญฺโญ ในช่ือ “ New Trends in
Contemporary Buddhism” ท่ีมองพัฒนำกำรพระพุทธศำสนำในด้ำนต่ำง ๆ ว่ำ ก่อให้เกิด
กระบวนกำรทำงศำสนำในลักษณะที่หลำกหลำย อำทิ กระบวนกำรสีเขียว (Green Movement)
ชำตินิยมแห่งพระพุทธศำสนำ (Buddhist Nationalism) ย้อนกลับไปทบทวนคำสอนและคุณค่ำของ
พระพุทธศำสนำแบบเดิม (Re-Assertion of the Teaching and Values of Traditional Buddhism)
ย้อนกลบั ไปหำรำกฐำนดง้ั เดิมของพระพุทธศำสนำ (Radical Return to the Root of Buddhism) สตรี
นิยมแห่งพระพุทธศำสนำ (Buddhist Feminism) เล่ำเทพนิยำยแห่งพระพุทธศำสนำรูปแบบใหม่
(Re-Mythologization of the Buddhist Tradition) รวมไปถึงพระพุทธศำสนำกับกำรค้นพบใหม่

๔รำยละเอยี ดใน พระธรรมปฎิ ก (ป.อ. ปยตุ ฺโต), นิตศิ าสตรแ์ นวพทุ ธ รฐั ศาสตร์แนวพุทธ เศรษฐศาสตร์
แนวพทุ ธ, (กรุงเทพมหำนคร : โรงพิมพ์บริษัทสหธรรมกิ , ๕๔๔).

๕รำยละเอยี ดใน พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต), พทุ ธศาสนาในฐานะเปน็ รากฐานของวทิ ยาศาสตร์, พิมพ์
คร้งั ที่ , (กรงุ เทพมหำนคร: มูลนิธพิ ุทธธรรม, ๕๔ ).

รำยละเอียดใน พระพรหมคุณำภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต), การแพทย์ยุคใหม่ในพุทธทัศน์,
(กรุงเทพมหำนคร : บริษทั สหธรรมิก จำกัด, ๕๕๐), หนำ้ -๔๙.

รำยละเอียดใน พระพรหมคุณำภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต), คนไทยกับป่า, (กรุงเทพมหำนคร : กำร
ปิโตรเลยี มแหง่ ประเทศไทย, ๕ ).

พระไพศำล วิสำโล, แนวโน้มของพุทธศาสนาไทยในศตวรรษท่ี ๒๑, (กรุงเทพมหำนคร: มูลนิธิสด
ศรีสฤษดิว์ งศ์, ๕๔ ), หน้ำ ๐๐- ๐.

พระมหำสมจินต์ สมฺมำปญฺโญ ''สถานการณ์และทิศทางของพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน''
[ออนไลน์],แหล่งท่ีมำ http://www.mcu.ac.th/site/articlecontent_desc.php?article_id=464&articlegroup_id=97
( ๕ พ.ย. ๕๕ ).

พระพุทธศำสนำแห่งกำรค้นพบ (Exploratory Buddhism) กระแสลัทธิหลังยุคโครงสร้ำงนิยมหรือ
หลังยุคใหม่ (Post structuralism, or Postmodernism) เข้ำมำมีบทบำทในกลุ่มคนที่อ่ำนคัมภีร์แล้วมี
ควำมเห็นไม่ตรงกัน คำตอบต่อปัญหำหนึ่งอำจมีมำกกว่ำหน่ึง ศำสตร์แห่งกำรตีควำม
(Hermeneutics) ก็เข้ำมำมีบทบำทในเรื่องนี้ เป็นต้น ถึงผู้เขียนไม่ได้ใช้คำว่ำ “ขบวนกำรพุทธใหม่”
โดยตรง แต่พัฒนำกำรของแต่ละกลุ่มที่เป็นกลุ่มตัวอย่ำง ย่อมสะท้อนถึงภำพลักษณ์และกำร
ปรำกฏตัวของกล่มุ พระพทุ ธศำสนำทั้งในประเทศและตำ่ งประเทศได้

พระมหำสมบูรณ์ วุฒิกโร๑ ให้แนวคิดไว้ในบทควำมพระพุทธศำสนำเพ่ือสังคม
(Socially Engaged Buddhism) ซ่ึงเป็นช่ือสำหรับใช้เรียกขบวนกำรพระพุทธศำสนำแนวใหม่ที่
เกิดข้ึนเพ่ือตอบสนองปัญหำสังคมโลกยุคใหม่ หมำยถึง ทัศนะที่ว่ำพระพุทธศำสนำกับสังคมต้อง
ผูกพัน (must be engaged) เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ไม่มีกำรแยกเร่ืองศำสนำกับสังคมออกจำกกัน
รวมทั้งควำมพยำยำมที่จะตีควำมพุทธธรรมให้ครอบคลุมปัญหำใหม่ ๆ ที่เกิดข้ึนในสังคมปัจจุบัน
เพรำะเห็นว่ำกำรสอนแบบจำรีตที่เน้นกำรแก้ปัญหำของปัจเจกบุคคล ไม่เพียงพอต่อกำรตอบปัญหำ
สังคมยุคใหม่ที่เต็มไปด้วยควำมสลับซับซ้อนได้ กำรแก้ปัญหำควำมทุกข์ของปัจเจกบุคคลและ
สังคมสำมำรถดำเนินควบคู่กันไปได้ อีกควำมหมำยหนึ่ง พระพุทธศำสนำเพื่อสังคม หมำยถึง
ขบวนกำรหรือกลุ่มนักกิจกรรมชำวพุทธเพ่ือสังคม (Engaged Buddhists) ท่ีพยำยำมนำ
พระพุทธศำสนำเข้ำไปมีส่วนร่วมในกำรแก้ปัญหำสังคม เช่น ปัญหำควำมอยุติธรรมทำงสังคม
ปญั หำส่งิ แวดล้อม ปญั หำควำมรุนแรง ปญั หำทำงเศรษฐกจิ ปัญหำทำงกำรเมือง

ในบทควำมเรื่อง ''Celeb-Buddhism : พระพุทธศำสนำเพื่อชุมชนคนเซเลป'' ของ
พระมหำหรรษำ ธมฺมหำโส ซ่ึงให้ทัศนะว่ำเป็นกลุ่มชำวพุทธใหม่ภำยใต้กำรนำพระพุทธศำสนำใน
มุมที่กลุ่มตนเองต้องกำรและนิยำมขึ้น ที่ท่ำนมองว่ำ “...คนกลุ่มหน่ึงที่เข้ำมำปฏิสัมพันธ์
อธิบำย ตีควำม และประยุกต์ใช้พระพุทธศำสนำให้สอดรับกับวิถีชีวิต และกำรทำงำนซึ่งเอื้อต่อ
ควำมสำเร็จ ช่ือเสียง และเงินทอง เรำได้เรียกคนกลุ่มน้ีว่ำ “กลุ่มคนเซเลป” คำถำมคือ “กลุ่มคนกลุ่มน้ี
มีท่ำทีและมุมมองต่อพระพุทธศำสนำอย่ำงไร” และ “ได้นำหลักกำรทำงพระพุทธศำสนำไป
ประยุกต์ใช้กับชีวิตและกำรทำงำนเพื่อสร้ำง และรักษำชื่อเสียงของตัวเองอย่ำงไร” อีกทั้งเรำจะ
ออกแบบผลิตภณั ฑ์ สนิ คำ้ หรือกำรบริกำรท่ีเก่ียวข้องกับพระพุทธศำสนำตำมหลักของ ๔ Ps (Product,
Place, Pricing และ Promotion) อย่ำงไร จึงจะสอดรบั วถิ ีชวี ติ และกำรทำงำนของคนเหลำ่ น้ี...”

๑ พระมหำสมบูรณ์ วุฒิกโร, ''พระพุทธศาสนาเพ่ือสังคม”, [ออนไลน์],แหล่งที่มำ
''http://www.mcu.ac.th/site/articlecontent_desc.php?article_id=437&articlegroup_id=102, ( ๕ พ.ย. ๕๕ ).

พระมหำหรรษำ ธมฺมหำโส,ผศ.ดร. (2553) 'Celeb-Buddhism: พระพุทธศำสนำเพื่อชุมชนคนเซเลป'
[ออนไลน์], แหลง่ ท่ีมำ : http://www.gotoknow.org/blog/buddhism-and-modern-sciences/401626, ( ๕ ส.ค. ๕ ๕ ).

พระมหำสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต และพุทฺธิสำโร ให้คำนิยำมในบทควำมเกี่ยวกับกลุ่ม
พระพุทธศำสนำใหมท่ ่ีเรียกว่ำ “ขบวนกำรพุทธใหม่” โดยเกิดขึ้นผ่ำนปรำกฏกำรณ์ “ใหม่” มีมุมใน
กำรนำพระพุทธศำสนำในมิติท่ีตน กลุ่มตนพึงใจ ในภำพลักษณ์ต่ำง ๆ ท่ีเกิดข้ึนในประเทศไทย
โดยรวม คือ กำรขับเคล่ือนผ่ำนโลกทัศน์ ควำมเชื่อ ทัศนคติ และกิจกรรมใหม่ ๆ หรือคงเดิมแต่มี
เทคนิคทำงกำรตลำด กำรระดมทุน และเงื่อนไขทำงสงั คมมำเป็นสว่ นสนับสนนุ

มำเรีย-เลนำ เฮกิลำ-โฮร์น ๔ ให้ทัศนะต่อปรำกฏกำรณ์พระพุทธศำสนำในประเทศไทย ใน
งำนช่ือ Buddhism with Open Eyes : Belief and Practice of Santi Asoke ที่มองควำมขัดแย้งของสำนัก
สันติอโศก กระท่ังทำให้เกิดเหตุกำรณ์ข้อพิพำททำงกฎหมำย ไปสู่กำรกระทำปัพพำชนียกรรม ขับออก
จำกคณะสงค์ไทย ทำให้คณะสงฆ์ของสำนักสันติอโศก มีพัฒนำกำรและลักษณะอย่ำงใหม่ท่ีเป็น
เอกเทศ แม้จะไมไ่ ดร้ บั กำรสนับสนุนจำกรัฐ แต่ได้รับกำรสนบั สนุนจำกกลมุ่ ทนุ ทำงเศรษฐกจิ เป็นตน้

ปีเตอร์ เอ แจคสัน ๕ ใน Buddhist, Legistamation and Conflict, The Political Functoin
of Urban Thai Buddhist ที่มองภำพควำมเคล่ือนไหวของขบวนพุทธใหม่ในประเทศไทยผ่ำน
ธรรมกำยและสันติอโศกว่ำ “เป็นปรำกฏกำรณ์กำรเติบโตของชนช้ันกลำงใหม่ที่เลือกรับกลุ่มใหม่
ครูใหม่ มำกกว่ำทจ่ี ะรับกลุ่มท่ีคณะสงฆ์รับรอง หรือรัฐให้กำรสนับสนุนเป็นตัวแทนกลุ่มชนช้ันสูง
และปกครองโดยชนช้ันสูง ในขณะที่คณะสงฆ์ของกลุ่มสำมัญชนคือธรรมกำยและสันติอโศกน้ัน
สนับสนนุ โดยกลุ่มทีอ่ ่อนแอทำงดำ้ นกำรเมอื ง แต่เข้มแขง็ ในดำ้ นเศรษฐกิจ”

นอกจำกน้ี ยังปรำกฏคำน้ีในบทควำมของ อเลน ทูเรน และเยอเก็น ฮาเบอมาส (Alain
Touraine & Jurgen Habermas) ระบุว่ำ ขบวนกำรทำงสังคมสมัยใหม่เกิดขึ้นจำกควำมล้มเหลวของ
ระบอบประชำธิปไตย ในสังคมนวยุคที่ไม่สำมำรถประกันเสรีภำพ ควำมเสมอภำค และภรำดรภำพ

Phra Maha Somphong Santacitto. “New Buddhist Movement in Thailand : Mainstream
Socially Engage Buddhism ?” in Global Recovery The Buddist Perspective. The 7Th International Buddhist
Conference, ๒๓-๒๕ May ๒๕๕๓/๒ ๑ , Thailand, pp. ๙- ๐.

พทุ ธสิ ำโร. “กำรศึกษำเชงิ สำรวจขบวนกำรพทุ ธใหม่ในประเทศไทย” ใน พระพุทธศาสนากับการ
ฟืน้ ตวั จากวกิ ฤติโลก. รวมบทความประชุมวิชาการทางพระพุทธศาสนานานาชาติ ครั้งท่ี ๗ เน่ืองในวันวิสาขบูชา
วนั สาคญั สากลของโลก, - ๕ พฤษภำคม ๕๕ , (กรงุ เทพมหำนคร : เซ็นจูรี, ๕๕ ), หนำ้ ๕๘๘- ๕.

๔ Marja-Leena Heikkilä-Horn, Buddhism with Open Eyes : Belief and Practice of Santi
Askok, (Bangkok : Fah Apai Co.Ltd. 1977), p.46.

๕Peter A. Jackson. Buddhist, Legistamation and Conflict, The Political Functoin of Urban
Thai Buddhist. (Singapore, 1998), pp. 9-10.



ของปัจเจกบุคคลได้อย่ำงสมบูรณ์ ซึ่งเป็นเพรำะกำรปกครองของรัฐ ท่ีตกอยู่ภำยใต้อำนำจกำรควบคุม
ส่งผลบีบบงั คับให้เกดิ กำรกระทำรวมหมู่ (Collective Action) เพือ่ นำเอำสิทธเิ หล่ำนั้นกลบั คนื มำ

จิม แอล เทเลอร์๑๗ ในบทควำมชื่อ “The New Buddhist Movement in Thailand : An
Individualistic Revolution, Reform and Politic Dissonance ท่ีมองท้ังธรรมกำยและสันติอโศก
คล้ำย ๆ กนั ว่ำ เปน็ “กลมุ่ ทว่ี พิ ำกษร์ ะบบสงั คมไทยอย่ำงรุนแรง” รวมไปถึงเป็น “ประดิษฐกรรมสิ่ง
สร้ำงของชนชั้นกลำง” ที่เน่ืองด้วยชนช้ันกลำง เข้ำเป็นสมำชิกของทั้งสองสำนัก นอกจำกนี้ เขำยัง
มองเฉพำะในสว่ นของสำนักสนั ติอโศกว่ำ เป็นกลุ่มทีพ่ ยำยำมเชอ่ื มต่อระหวำ่ งอดีตและปัจจุบัน เพ่ือ
หันกลับไปสู่ค่ำนยิ มสงั คมแบบชำวพทุ ธทเ่ี คยมใี นอดีต สู่กำรอยู่ร่วมกันเป็นหมู่กลุ่มทำงศำสนำโดย
รักษำสภำวะปจั เจกบุคคล” ขบวนกำรสันตอิ โศกมองตนเองเป็นรูปแบบของสงั คมแหง่ อนำคต

โรร่ี แม็คเคนซี ๘ ในงำน New Buddhist Movment in Thailand : Toward an Understand
of Wat Phra Dhammakaya and Santi Asoke และในงำนวิจัยระดับปริญญำเอกของ โรเดอริค แม็ค
เคนซี ๙ ได้ให้ควำมหมำยเป็นกำรขับเคลื่อนขบวนกำรกลุ่มที่มีภำพลักษณ์แตกต่ำงไปจำกเดิม
สอดรับกับทัศนะของ ฉัตรทิพย์ นำถสุภำ ๐ ท่ีมองควำมเคล่ือนไหวผ่ำนกลุ่มพลังทำงศำสนำอย่ำง
“ผีบุญ” ท่ีนำควำมเชื่อศรัทธำมำเป็นแรงขับให้เกิดควำมเคลื่อนไหวผ่ำนพฤติกรรมทำงศำสนำ
และคำน้ีเคยถกู นำมำใชเ้ รียก สำนักสวนโมกข์ของพทุ ธทำส และ“กลุ่มสนั ติอโศก” ด้วย

ผำสุก พงษ์ไพจิตร, “ทฤษฎีขบวนกำรเคล่ือนไหวทำงสังคมใช้กับสังคมไทยได้หรือไม่ ?, (อ้ำง
จำกพิชญรัชต์ บุญชว่ ย, “พทุ ธศำสนำเพ่อื สังคม กรณีศึกษำมูลนิธิฉือจี้ ไต้หวัน”, วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์,
ปที ่ี ๔ ฉบบั ที่ , (กรกฎำคม- กนั ยำยน ๕๕ ) : ๔ .

Jim L.Taylor.“The New Buddhist Movment in Thailand : An Individualistic Revolution,
Reform and Politic Dissonnance, Journal of Southeast Asian Studies, (March 1990).

๘ Rory Mackenzie, “New Budshist Movment in Thailand : Toward an Understand of Wat Phra
Dhammakaya and Santi Asoke”, pp.100-120.

๙ Roderick Mackenzie, “An Analysis of the Wat Phra Dhammakaya and Santi Asoke
Movements and their Approaches to Spiritual Development”, Dissertation of Doctoral Degree, (Philosophy :
Universisity of , 2005).

๐กบฏผู้มีบุญที่สำคัญที่สุดเกิดข้ึนในภำคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยระหว่ำง
พ.ศ. ๔๔๔- ๔๔๕. ดูรำยละเอยี ดเพ่มิ เติมใน พรเพญ็ ฮน่ั ตระกลู , อจั ฉรำพร กมุทพสิ มัย บรรณำธิกำร, ความเชื่อ
พระศรีอาริย์ และกบฏผมู้ ีบุญในสังคมไทย, (กรงุ เทพมหำนคร : สรำ้ งสรรค์, ๕ ).

สวุ ิทย์ ธรี ศำศวัต,ประวตั ิศาสตร์เศรษฐกิจชุมชนหมบู่ ้านอีสาน ๒๔ -๒๕๔๔,
(กรงุ เทพมหำนคร : สำนักกองทุนสนบั สนุนกำรวิจยั , ๕๔ ), หน้ำ ๙ - ๙๔.


Click to View FlipBook Version