The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานวิจัย-PISA-สมบูรณ์ที่สุด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tepnimit_f, 2022-04-07 00:54:55

รายงานวิจัย-PISA-สมบูรณ์ที่สุด

รายงานวิจัย-PISA-สมบูรณ์ที่สุด

รายงานวจิ ัยเพ่อื พัฒนากระบวนการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์

เรอ่ื ง การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพอ่ื พัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตรต์ ามแนวคดิ PISA
สำหรับนกั เรียนระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6 โรงเรียนเทศบาลวัดหนองผา

ผ้จู ดั ทำ

1. นายธนดล อู่ตมุ้ รหสั นักศกึ ษา 62031050144

2. นางสาวเสาวลักษณ์ ภพู ชื รหัสนกั ศกึ ษา 62031050154

3. นางสาวพิรดา แสงศรีจันทร์ รหัสนักศึกษา 62031050160

4. นายเทพนิมิต วัฒนทรัพยกุล รหัสนักศกึ ษา 62031050162

ชั้นปที ี่ 3 Section 02

อาจารย์ท่ปี รกึ ษา
อาจารยอ์ สิ ระ ทับสีสด

รายงานเลม่ น้ีเป็นสว่ นหนง่ึ ของรายวิชา การวิจัยเพอ่ื พัฒนากระบวนการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์
สาขาวทิ ยาศาสตร์ทว่ั ไป คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอตุ รดติ ถ์
ปีการศึกษา 2564

รายงานวิจัยเพอ่ื พัฒนากระบวนการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์

เร่อื ง การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพ่อื พัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ตามแนวคดิ PISA
สำหรบั นักเรียนระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนเทศบาลวัดหนองผา
โดย

1. นายธนดล อู่ตมุ้ รหสั นักศึกษา 62031050144
2. นางสาวเสาวลกั ษณ์ ภพู ืช รหสั นกั ศกึ ษา 62031050154
3. นางสาวพิรดา แสงศรจี นั ทร์ รหสั นกั ศกึ ษา 62031050160
4. นายเทพนิมิต วัฒนทรพั ยกลุ รหัสนกั ศึกษา 62031050162

ช้ันปีท่ี 3 Section 02

อาจารย์ท่ีปรกึ ษา
อาจารย์อิสระ ทับสีสด

รายงานเลม่ นี้เปน็ ส่วนหนึง่ ของรายวิชา การวจิ ัยเพ่อื พฒั นากระบวนการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์
สาขาวิทยาศาสตรท์ ่ัวไป คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อตุ รดติ ถ์
ปีการศกึ ษา 2564



ชอื่ โครงงาน การออกแบบกจิ กรรมการเรยี นร้เู พอ่ื พัฒนาสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคดิ
PISA สำหรบั นกั เรยี นระดับชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาลวดั หนองผา

ชอื่ ผทู้ ำโครงงาน 1. นายธนดล อตู่ ้มุ รหสั นักศกึ ษา 62031050144

2. นางสาวเสาวลกั ษณ์ ภพู ืช รหสั นักศกึ ษา 62031050154

3. นางสาวพริ ดา แสงศรีจนั ทร์ รหสั นักศึกษา 62031050160

4. นายเทพนมิ ติ วฒั นทรพั ยกุล รหสั นักศึกษา 62031050162

อาจารยท์ ีป่ รึกษา อาจารยอ์ ิสระ ทับสีสด

สถานศึกษา มหาวิทยาลัยราชภฏั อตุ รดติ ถ์วทิ ยาเขตทงุ่ กะโล่

ปีการศกึ ษา 2565

บทคัดย่อ
กาวิจัยเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เร่ือง การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อ
พัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ตามแนวคิด PISA สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียน
เทศบาลวัดหนองผา มีวัตถุประสงค์ 1) เพ่ือสร้างกิจกรรมการเรียนรู้ สำหรับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือ
พฒั นาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ตามแนวคดิ PISA ของนกั เรียนระดับช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 2) เพ่ือทดลอง
และศึกษาผลการทดลองใช้กิจกรรมการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรยี นรเู้ พ่อื พัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์
ตามแนวคิด PISA กับนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 3) เพ่ือศึกษาระดับความพึงพอใจของนักเรียน
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ท่ีมีต่อการทดลองใช้กิจกรรมการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนา
สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ตามแนวคิด PISA โดยกลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนระดับช้ัน
ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาลวัดหนองผา อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
2564 จำนวน 20 คน วิธีการคัดเลือก เทียบเคียงกับใช้วิธีการสุ่มแบบอาศัยความน่าจะเป็นอย่างง่าย
(Simple Random Sampling)

เครอ่ื งมอื ท่ีใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) กิจกรรมการเรียนรู้เพอ่ื พัฒนาสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตร์
ตามแนวคิด PISA เร่ือง แยกสารเน้ือผสม 2) แผนการจัดการเรียนรู้ เร่ือง แยกสารเนื้อผสม 3) แบบทดสอบ
เร่ือง การแยกสารเนื้อผสม 4) แบบสอบถามวัดระดับความพึงพอใจ เรื่อง แบบวัดระดับความพึงพอใจของ
นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาลวัดหนองผา ท่ีมีต่อการจัดกิจกรรม เพ่ือพัฒนา

สมรรถนะทาง วิทยาศาสตร์ตามแนวคิด PISA วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ( ̅ ) ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน

( .) ใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป (SPSS) และทดสอบค่าที (One-Sample t-Test)



ผลวจิ ัยพบว่า
1. กิจกรรมการเรียนรู้ สำหรับการจัดกิจกรรมการเรียนรูเ้ พ่ือพัฒนาสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตร์
ตามแนวคิด PISA ของนกั เรียนระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6
2. นักเรียนระดับช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6 มสี มรรถนะทางวิทยาศาสตร์ตามแนวคดิ PISA ระดบั ดี
เมือ่ จดั กจิ กรรมการเรยี นรเู้ พือ่ พัฒนาสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตร์ตามแนวคดิ PISA
3. ผลการศึกษาควาพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาลวัด
หนองผา ท่ีมีต่อการจัดกิจกรรม เพ่ือพัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตรต์ ามแนวคิด PISA เรือ่ ง การแยก
สารเนื้อผสม โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( ̅ = 4.20, . = 0.864) เม่ือวิเคราะห์เป็นรายด้านโดย
เรยี งลำดบั ระดบั คา่ เฉล่ียจากระดับมากสุดไปหาน้อยสุด 4 ลำดบั พบวา่ นักเรียนมีความพึงพอใจตอ่ ดา้ น
บทบาทนักเรียน ( ̅ = 4.4, . = 0.741) มีความพึงพอใจระดับมาก รองลงมาคือ ด้านการวัดและ
ประเมินผล ( ̅ = 4.2, . = 0.870) มีความพึงพอใจระดับมาก รองลงมาคือ ด้านการจัดการเรียน
การสอน ( ̅ = 4.167, . = 0.967) มีความพึงพอใจระดับมาก และลำดับสุดท้ายคือ ด้านบทบาทครู
( ̅ = 4.11, . = 0.894) มีความพึงพอใจระดับมาก



สารบญั หน้า

บทคดั ย่อ ข
กติ ติกรรมประกาศ ค
สารบัญ จ
สารบญั ตาราง 1
บทท่ี 1 บทนำ 1
5
ทีม่ าและความสำคัญ 5
คำถามการวจิ ัย 5
วตั ถุประสงคก์ ารวจิ ยั 6
ผลและประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะได้รบั 7
ขอบเขตการวิจัย 10
นยิ ามคำศัพท์เฉพาะ 11
สมมตฐิ านการวจิ ยั 11
บทท่ี 2 การทบทวนเอกสารและงานวิจยั ที่เกย่ี วข้อง 13
การวจิ ยั 14
นวตั กรรมทางการศกึ ษา 16
กิจกรรมการเรียนรเู้ พื่อพฒั นาสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตร์ ตามแนวคิด PISA 18
การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) 19
การหาคณุ ภาพของนวตั กรรม 21
เคร่อื งมอื การวิจัย 22
ระดับความพึงพอใจ 33
สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ ตามแนวคดิ PISA 33
บทท่ี 3 วิธดี ำเนินการวิจัย 33
ระเบยี บวิธีวิจยั 34
แหล่งขอ้ มูลการวิจยั 39
เครือ่ งมอื การวจิ ยั 39
การดำเนนิ การรวบรวมข้อมูล 40
การวเิ คราะห์ขอ้ มูล
การนำเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล



สารบญั (ต่อ) หน้า
41
บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล 41
ผลการพฒั นาการออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้ 53
การพัฒนาผลสัมฤทธ์กิ ารเรยี นรู้ 56
ระดับความพึงพอใจ 59
59
บทที่ 5 สรุป อภิปราย และข้อเสนอแนะ 60
สรุปผลการวิจยั 61
อภปิ รายผลการวจิ ยั 62
ข้อเสนอแนะ 64
65
เอกสารอ้างอิง 78
ภาคผนวก 133
146
ภาคผนวก ก แบบบันทึกขอ้ ความขอเชญิ เปน็ ผู้เช่ียวชาญ 189
ภาคผนวก ข แบบประเมินความเท่ยี งตรงเชงิ เน้ือหา (IOC) 239
ภาคผนวก ค สรุปผลแบบประเมินความเที่ยงตรงเชิงเนอื้ หา (IOC)
ภาคผนวก ง แบบประเมินความเหมาะสมของนวัตกรรมเครื่องมอื การวจิ ัย
ภาคผนวก จ เอกสารอ่ืน ๆ
ภาคผนวก ฉ ภาพประกอบ

1

บทท่ี 1

บทนำ

ท่ีมาและความสำคญั

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 บัญญัติความตามมาตรา 22 ว่า การจัดการ
ศกึ ษาต้องยดึ หลกั ว่า ผู้เรียนทกุ คนสามารถเรยี นรแู้ ละพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรยี นทุกคนมีความสำคัญ
ที่สดุ กระบวนการจัดการศึกษาตอ้ งส่งเสรมิ ให้ผูเ้ รยี นสามารถพัฒนาตามธรรมชาตแิ ละเต็มตามศักยภาพ
ความตามมาตรา 24 (1) บัญญัติว่า การจดั กระบวนการเรียนรู้ ใหส้ ถานศึกษาและหน่วยงานที่เก่ยี วขอ้ ง
จัดเนือ้ หาสาระและกจิ กรรมให้สอดคล้องกบั ความสนใจและความถนัดของผูเ้ รียนโดยคำนึงถงึ ความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล และความตอนหนึ่ง (5) ของมาตราเดียวกันบัญญัติว่า ให้ผู้สอนสามารถใช้การวิจัยเป็น
ส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ และความตามมาตรา 30 บัญญัติว่า ให้สถานศึกษาพัฒนา
กระบวนการเรยี นการสอนทมี่ ีประสทิ ธิภาพ รวมทงั้ ส่งเสริมใหผ้ สู้ อนสามารถวจิ ัยเพื่อพัฒนาการเรียนร้ทู ่ี
เหมาะสมกับผเู้ รียนในแตล่ ะสถานศกึ ษา จากความตามมาตราดังกล่าวถงึ ตีความว่า ภายหลงั ท่ีผสู้ อนจัด
กิจกรรมการเรียนรู้สาระการเรียนรู้ใด ๆ ด้วยวิธีและเทคนิคการสอนวิธีการใดวิธีการหนึ่งแล้ว เม่ือทำ
การวัดและประเมินผลพบว่ามีผลอย่างใดอย่างหนึ่งคือ จำนวนผู้เรียนท้ังช้ันเรียน จำนวนผู้เรียนส่วนมาก
ของชั้นเรียนหรือผู้เรียนจำนวนส่วนน้อยของช้ันเรียนมีผลสัมฤทธ์ิการเรียนรู้ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่
ผู้สอนกำหนดขึ้น ผลการประเมินดังกล่าวไม่สามารถลงข้อสรุปว่า ผลสัมฤทธ์ิการเรียนรู้ของผู้เรียนไม่
ผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่ผู้สอนกำหนดและถูกตัดสินให้ “ตก” ในสาระการเรียนรู้นั้น แต่ผู้สอนต้องพึง
ตระหนักเสมอว่าการที่ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิการเรียนรู้ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดอาจเป็นเพราะว่า
วิธีและเทคนคิ การสอนตามท่ผี ู้สอนนำมาใช้จัดกิจกรรมการเรยี นร้อู าจนั้นไมส่ อดคล้องกับความถนดั และ
ความสนใจของผู้เรียน ดังน้ัน ผู้สอนจึงตอ้ งค้นหาวธิ ีและเทคนิคการสอนวธิ ีใหมท่ ่ีเหมาะสมกับความถนัด
และความสนใจของผู้เรยี น การทำวิจัยของผู้สอนจะใช้เปน็ หลักฐานยืนยันวา่ วธิ ีและเทคนิคการสอนวิธี
ใหม่ท่ีผู้สอนนำมาใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้น้ันมีผลการพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ของผู้เรียนหรือไม่
อย่างไร เมื่อเปรียบเทียบ เปรยี บเทียบกับวิธีและเทคนิคการสอนวิธีเดิม ด้วยเหตุดังกล่าวจึงตอบคำถาม
วา่ ทำไมผ้สู อนจงึ ตอ้ งทำวิจัย ทง้ั วิจัยเพอื่ พฒั นาและแก้ปญั หาผูเ้ รียน (อิสระ ทับสสี ด, 2564)

2

ว 2.1 ป. 6/1 กำหนดข้อความเฉพาะตวั ชี้วัดวา่ อธิบายและเปรียบเทียบการแยกสารผสม โดย
การหยิบออก การร่อน การใช้แม่เหล็กดึงดูดการรินออก การกรอง และการตกตะกอน โดยใช้หลกั ฐาน
เชิงประจักษ์ สาระการเรียนรู้แกนกลางดงั กล่าวกำหนดอยใู่ นหนังสอื เรียนรายวชิ าพื้นฐาน วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้ชื่อเร่ืองว่า
การแยกสารเน้ือผสม หนังสือดังกล่าวจัดทำโดยสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีหรือ
สสวท.

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ให้กับนักเรียนระดับชั้น
โรงเรียนชุมชนผาเลือดวิทยาคารท่ีเคยเป็นมาพบว่า เฉพาะเร่ือง ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงของ
สสารของกลุ่มสาระการเรียนรู้ดังกล่าวจะจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหา
ความรู้ 5E ส่วนการประเมินผลการเรียนรู้จะประเมิน 3 ด้านรวมกันคือ ด้านความรู้ (K) ด้านทักษะ/
กระบวนการ (P) และด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) และกำหนดระดับผลการการเรียนรู้ที่ประเมิน
เป็น 4 ระดับตามเกณฑ์ประเมินของสำนักงานการศึกษาขั้นพ้ืนฐานคือ คือ ดีมาก มีร้อยละของค่าคะแนน
เฉล่ีย 80 – 100 ดี รอ้ ยละ 65 – 79 กำลังพัฒนา(ผ่าน) ร้อยละ 50 – 64 และตอ้ งปรบั ปรุง (ไม่ผา่ น) ต่ำ
กวา่ ร้อยละ 50 สำหรบั เกณฑ์การประเมินผ่านเฉพาะรายบุคคลน้ัน นักเรียนแต่ละคนต้องมีผลการเรยี นรู้
ต้ังแต่ระดับ ดี ส่วนเกณฑ์การประเมินผ่านท้ังช้ันเรียนน้ัน ต้องมีนักเรียนอย่างน้อยร้อยละ 70 ของ
จำนวนทัง้ หมด มีผลการเรยี นรตู้ ง้ั แต่ระดับ ดี

PISA หรือ Programme for International Student Assessment เป็นโครงการประเมินผล
นักเรียนนานาชาติของประเทศสมาชิกองค์การเพื่อความร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิ จ
(Organisation for Economic Co-operation and Development หรือ OECD) โดยมีจุดประสงค์
เพื่อสำรวจว่าระบบการศึกษาของแต่ละประเทศได้เตรียมเยาวชนให้พร้อมสำหรับการใช้ชีวิตและการมี
ส่วนร่วมในสังคมในอนาคตเพียงพอหรือไม่ ด้วยการประเมินกับนักเรียนท่ีมีอายุอยู่ในช่วง 15 ปี การ
ประเมินดังกล่าวตั้งอยู่บนหลักการพ้ืนฐานที่ว่าคุณภาพของการศึกษาเป็นตัวชี้วัดศักยภาพของการ
พัฒนาทางเศรษฐกิจ กลา่ วคือ ประเทศที่ การศึกษามคี ุณภาพ ย่อมสามารถสรา้ งเยาวชนท่ีมศี กั ยภาพสูง
ทำใหป้ ระเทศน้นั มีโอกาสสูงทีจ่ ะประสบความสำเร็จ ในการแข่งขนั ทางเศรษฐกิจในอนาคต ซึ่งตัวชีว้ ัด ว
2.1 ป. 6/1 อธิบายและเปรียบเทียบการแยกสารผสม โดยการหยิบออก การร่อน การใช้แม่เหล็กดงึ ดูด
การรินออก การกรอง และการตกตะกอน โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ตรงกับสมรรถนะของวิทยาศาสตร์ตามแนว PISA ด้านการ
ประเมินและออกแบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ (Evaluate and Design

3

Scientific Enquiry) ในสมรรถนะน้ี จำเป็นต้องใช้ความรู้เก่ียวกับลักษณะสำคัญของการสำรวจ
ตรวจสอบทางวิทยาศาสตร์ โดยผู้ทม่ี สี มรรถนะการประเมินและออกแบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้
ทางวิทยาศาสตร์สามารถทำสิ่งต่อไปนี้ 1. สามารถระบุประเด็นปัญหาท่ีต้องการสำรวจตรวจสอบจาก
การศึกษาทางวิทยาศาสตร์ที่กำหนดให้ 2. แยกแยะได้ว่าประเด็นปัญหาหรือคำถามใดสามารถ
ตรวจสอบได้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ 3. เสนอวิธีสำรวจตรวจสอบปัญหาทางวิทยาศาสตร์ที่
กำหนดให้ 4. ประเมินวิธีสำรวจตรวจสอบปญั หาทางวิทยาศาสตร์ที่กำหนดให้ 5. บรรยายและประเมิน
วิธีการต่าง ๆ ท่ีนักวิทยาศาสตร์ใช้ในการยืนยันถึงความน่าเชื่อถือของข้อมูล และความเป็นกลางและ
การสรุปอ้างอิง จากคำอธิบาย และสมรรถนะด้านการแปลความหมายข้อมูลและการใช้ประจักษ์พยาน
ในเชิงวิทยาศาสตร์ (Interpret Data and Evidence Scientifically) ในสมรรถนะน้ีจำเป็นต้องใช้
เคร่อื งมือทางคณติ ศาสตรใ์ นการวิเคราะห์หรอื สรุปข้อมูลและใช้ความสามารถในการใช้วิธกี ารพ้นื ฐานใน
การแปลงขอ้ มูลเป็นการแสดงแทนในรปู แบบอ่ืน ๆ โดยผทู้ ี่มสี มรรถนะการแปลความหมายขอ้ มูลและใช้
ประจักษ์พยานเชิงวิทยาศาสตร์สามารถทำสิ่งต่อไปน้ี 1. แปลงข้อมูลที่นำเสนอในรูปแบบหนึ่งไปสู่
รูปแบบอื่น 2. วิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ และลงข้อสรุป (อิสระ ทับสีสด,
2563)

ในการออกแบบกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ พบว่า ครูผู้สอนส่วนใหญ่ใช้
วธิ ีการสอนแบบบรรยายตามหนงั สือมากกวา่ ให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ โดยเน้นครูเป็นศูนย์กลาง ไม่ว่า
จะเป็นในเรื่องของการทดลองทางวทิ ยาศาสตร์ ครูผู้สอนมกั จะออกแบบกิจกรรมให้นักเรียน โดยไม่เปิด
โอกาสให้นักเรียนได้ลองออกแบบกิจกรรมด้วยตนเอง ซึ่งทำให้นักเรียนขาดสมรรถนะด้านการประเมิน
และออกแบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และการแปลความหมายข้อมูลและการ
ใช้ประจักษ์พยานในเชิงวิทยาศาสตร์ ส่งผลให้การประเมินการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ PISA ในปี 2018
พบว่า ผลคะแนนการรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนไทย คือ 426 คะแนน ซ่ึงอยู่ในช่วงลำดับที่ 66 และต่ำ
กวา่ ค่าเฉลย่ี OECD มากกว่าหน่ึงระดับและอยใู่ นกลมุ่ ล่างหรือกลุม่ ท่ีมีผลการประเมนิ ตำ่ โดยตามเกณฑ์
ของ PISA ได้กำหนดให้ระดับ 2 เป็นระดับพื้นฐานต่ำสุดที่ นักเรียนท่ีจบการศึกษาข้ันพื้นฐานควรจะมี
และเป็นระดับที่แสดงว่าพอจะมีความรู้และทักษะวิทยาศาสตร์พอจะใช้ ประโยชน์ได้ในสถานการณ์
ง่ายๆ ไม่ซับซ้อน แต่สำหรบั นกั เรียนไทยได้มีการประเมินการรูว้ ิทยาศาสตร์ไม่ถงึ ระดับ 2 อยู่ 44% จาก
ข้อมูลสะท้ อนให้เห็นว่านักเรียนส่วน ให ญ่ ไม่ส ามารถน ำความรู้พ้ื นฐานมาใช้เพื่ อระบุประเด็นท าง
วิทยาศาสตร์ ไม่สามารถอธิบายปรากฏการณ์ ตีความข้อมูลหรือบอกปัญหาจากการทดลองง่ายๆ ไม่
ซับซ้อนได้ ซึ่งในชีวิตประจำวันท่ีนักเรียนต้องเผชิญกับปัญหาส่งผลให้นักเรียนไม่รู้ว่าปัญหาใดเป็น

4

ประเด็นทางวิทยาศาสตร์จึงทำให้ขาดโอกาสที่จะนำการเผชิญปัญหาในชีวิตประจำวันมาใช้ให้เกิด
ประโยชน์ (กนิษฐกานต์ เบญจพลาภรณ์, สกนธช์ ัย ชะนูนันทแ์ ละจินตนา กล่ำเทศ, 2561, หนา้ 2-3)

การออกแบบกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ครูผู้สอนควรออกแบบรูปแบบการสอนที่หลากหลาย
เช่น การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5E การใช้ปัญหาเป็นฐาน PBL การเรียนโดยใชว้ ัฏจักรการเรียนรแู้ บบ
7E โมเดลซิปปา เป็นต้น แต่ในการวิจัยคร้ังนี้ ใช้การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5E ซ่ึงสอดคล้องกับ
แนวคดิ ของ PISA

จากปัญหาการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอน และผลการประเมินการเรียนรู้
วทิ ยาศาสตร์ PISA ทมี่ ีผลการประเมินต่ำ โดยตามเกณฑข์ อง PISA ผวู้ จิ ัยจงึ มแี นวคิดที่จะพฒั นารูปแบบ
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีส่งเสริมสมรรถนะ PISA ทางด้านสมรรถนะการประเมินและออกแบบ
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ 1. สามารถระบุประเด็นปัญหาที่ต้องการสำรวจ
ตรวจสอบจากการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ที่กำหนดให้ 2. แยกแยะได้ว่าประเด็นปัญหาหรือคำถามใด
สามารถตรวจสอบไดด้ ้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ 3. เสนอวธิ ีสำรวจตรวจสอบปัญหาทางวิทยาศาสตรท์ ี่
กำหนดให้ 4. ประเมนิ วิธีสำรวจตรวจสอบปญั หาทางวิทยาศาสตร์ท่ีกำหนดให้ 5. บรรยายและประเมิน
วธิ ีการต่าง ๆ ที่นักวทิ ยาศาสตร์ใช้ในการยืนยันถึงความนา่ เชือ่ ถอื ของขอ้ มูล และด้านสมรรถนะการแปล
ความหมายข้อมูลและใช้ประจักษ์พยานเชิงวิทยาศาสตร์ 1. แปลงข้อมูลท่ีนำเสนอในรูปแบบหนึ่งไปสู่
รปู แบบอน่ื 2. วิเคราะห์และแปลความหมายข้อมลู ทางวทิ ยาศาสตร์ และลงข้อสรุป

ดว้ ยบทบาทหน้าทข่ี องผสู้ อน ตามพ.ร.บ. การศึกษาแหง่ ชาตพิ .ศ. 2542 มาตรา ท่ี 22 มาตรา ที่ 24
วงเลบ็ 5 มาตราท่ี 30 และจากขอ้ บกพรอ่ งของการออกแบบกจิ กรรมการเรียนรูเ้ พอ่ื พฒั นาสมรรถนะทาง
วิทยาศาสตร์ตามแนวคดิ PISA สำหรับนกั เรยี นระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรยี นเทศบาลวดั หนองผา
และความสำคัญของการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้เรอ่ื ง การแยกสารเนอื้ ผสม ผู้วิจยั จงึ มีแนวคดิ ทจ่ี ะทำวจิ ัย
สรา้ งหรอื พฒั นาการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ตามแนวคดิ PISA
โดยทดลองใช้กบั นกั เรียนระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 โรงเรยี นเทศบาลวดั หนองผา อำเภอเมือง จังหวัด
อุตรดติ ถ์ ปกี ารศกึ ษา 2564 ผลการวิจัยจะทำใหน้ กั เรยี นระดับชน้ั ดงั กลา่ วมผี ลการเรียนรู้เร่ือง การแยก
สารเนอ้ื ผสมเพมิ่ ขึน้

5

คำถามการวจิ ัย

1. การสร้างกิจกรรมการเรียนรู้ สำหรับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาสมรรถนะทาง
วิทยาศาสตรต์ ามแนวคิด PISA ของนกั เรียนระดับช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6

2. ผลการศึกษาการทดลองใช้กิจกรรมการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาสมรรถนะ
ทางวิทยาศาสตร์ตามแนวคิด PISA กบั นักเรยี นระดับช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6 เป็นอยา่ งไร

3. ผลการศึกษาระดับความพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ท่ีมีต่อการ
ทดลองใช้กิจกรรมการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ตามแนวคิด
PISA เปน็ อยา่ งไร

วตั ถปุ ระสงคก์ ารวิจัย

1. เพื่อสร้างกิจกรรมการเรียนรู้ สำหรับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาสมรรถนะทาง
วทิ ยาศาสตร์ตามแนวคดิ PISA ของนกั เรยี นระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6

2. เพ่ือทดลองและศึกษาผลการทดลองใช้กิจกรรมการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพือ่ พัฒนา
สมรรถนะทางวทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคิด PISA กับนกั เรยี นระดับช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 6

3. เพ่ือศึกษาระดับความพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ท่ีมีต่อการทดลอง
ใชก้ ิจกรรมการเรยี นรู้ จัดกจิ กรรมการเรยี นรเู้ พอื่ พัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ตามแนวคดิ PISA

ผลและประโยชนท์ คี่ าดว่าจะได้รับ

1. มีกิจกรรมการเรียนรู้ สำหรับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาสมรรถนะทาง
วิทยาศาสตรต์ ามแนวคดิ PISA ของนักเรียนระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6

2. นักเรียนระดับช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6 มีสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคิด PISA ระดบั ดี
ขน้ึ ไป เมือ่ จดั กจิ กรรมการเรยี นรเู้ พอื่ พัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ตามแนวคิด PISA

3. นกั เรยี นมีความพึงพอใจต่อการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้เพ่ือพัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์
ตามแนวคิด PISA ระดบั ดขี น้ึ ไป

6

ขอบเขตการวิจยั

1. ขอบเขตด้านแหลง่ ขอ้ มลู การวจิ ยั
1.1 ประชากร นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนเทศบาลวัดหนองผา อำเภอเมือง

จังหวัดอตุ รดิตถ์ ซ่ึงเทยี บเคียงประชากรทีม่ ีจำนวนไมจ่ ำกดั (Infinite Population)
1.2 กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนเทศบาลวัดหนองผา อำเภอ

เมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 20 คน วิธีการคัดเลือก เทียบเคียงกับ
ใช้วิธีการสุ่มแบบอาศัยความน่าจะเป็นอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เพราะถือว่านักเรียน
แต่ละคนของระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของแต่ละปีการศึกษา เมื่อวิเคราะห์โดยภาพรวมแล้วพบว่า
มาจากบริบทของชมุ ชนเดียวกันจงึ สร้างข้อสรปุ ว่าไม่มีความแตกต่างกนั ประชากรของนักเรียนดังกล่าว
จึงเป็นเอกพันธ์ (Homogeneous Population) สามารถคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการสุ่มแบบ
อาศัยความนา่ จะเป็นอย่างง่าย

2. ขอบเขตด้านตวั แปร
2.1 ตวั แปรอิสระ
การจดั กิจกรรมการเรียนร้เู พอื่ พฒั นาสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคิด PISA

กบั นกั เรียนระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 โดยทดลองใช้กจิ กรรมการเรียนรู้

2.2 ตวั แปรตาม
1. ผลการเรยี นร้เู รือ่ ง การแยกสารเนอื้ ผสม จากการจัดกจิ กรรมการเรียนร้กู บั นักเรยี น

ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 โดยใช้กจิ กรรมการเรยี นรู้
2. ระดับความพึงพอใจของนกั เรยี นระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ทม่ี ีตอ่ การจดั กิจกรรม

การเรียนรเู้ รอ่ื งการแยกสารเนือ้ ผสม โดยทดลองใช้กิจกรรมการเรียนรู้

3. ขอบเขตดา้ นเน้อื หา
การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้เพ่อื พัฒนาสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคิด PISA

4. ขอบเขตด้านระยะเวลาและสถานท่ี
ดำเนินการวิจัยระหว่างวนั ท่ี 27 ธนั วาคม 2564 ถงึ 30 มนี าคม 2565 ณ โรงเรยี นเทศบาล

วดั หนองผา อำเภอเมอื ง จงั หวัดอุตรดิตถ์

7

นยิ ามคำศัพทเ์ ฉพาะ

1. นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หมายถึง นักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 6
โรงเรยี นเทศบาลวดั หนองผา อำเภอเมอื งเมอื ง จังหวดั อุตรดติ ถ์

2. กิจกรรมการเรียนรู้ หมายถึง การปฏิบัติต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับการจัดการเรียนรู้เพ่ือให้การ
จัดการเรียนรู้ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ และการเรียนรู้ของนักเรียนบรรลุตามจุดประสงค์ของการ
จัดการเรียนรทู้ ่ีกำหนดไว้

3. ผลการเรียนรู้ หมายถงึ
3.1 สมรรถนะการเรียนรู้ด้านสมรรถนะการประเมินและออกแบบกระบวนการสืบเสาะหา

ความร้ทู างวทิ ยาศาสตร์ ประกอบด้วย
1. สามารถระบุประเด็นปัญหาท่ีต้องการสำรวจตรวจสอบจากการศึกษาทาง

วิทยาศาสตรท์ ่กี ำหนดให้
2. แยกแยะได้ว่าประเด็นปัญหาหรือคำถามใดสามารถตรวจสอบได้ด้วยวิธีการทาง

วิทยาศาสตร์
3. เสนอวธิ สี ำรวจตรวจสอบปัญหาทางวิทยาศาสตรท์ ี่กำหนดให้
4. ประเมินวธิ สี ำรวจตรวจสอบปัญหาทางวทิ ยาศาสตรท์ ี่กำหนดให้
5. บรรยายและประเมินวิธีการต่าง ๆ ท่ีนักวิทยาศาสตร์ใช้ในการยืนยันถึงความ

น่าเชอ่ื ถอื ของข้อมลู
6. แปลงข้อมลู ท่ีนำเสนอในรปู แบบหน่งึ ไปสู่รูปแบบอน่ื
7. วิเคราะหแ์ ละแปลความหมายขอ้ มลู ทางวทิ ยาศาสตร์ และลงขอ้ สรุป

3.2 ค่าคะแนนเฉลย่ี รวมผลการเรยี นรขู้ องนกั เรียนระดับช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 6 จากผลการ
ทดสอบสมรรถนะการเรยี นรูด้ า้ น

1. สามารถระบุประเด็นปัญหาที่ต้องการสำรวจตรวจสอบจากการศึกษาทาง
วิทยาศาสตรท์ ่กี ำหนดให้

2. แยกแยะได้ว่าประเด็นปัญหาหรือคำถามใดสามารถตรวจสอบได้ด้วยวิธีการทาง
วิทยาศาสตร์

3. เสนอวิธีสำรวจตรวจสอบปัญหาทางวิทยาศาสตร์ทก่ี ำหนดให้
4. ประเมนิ วธิ ีสำรวจตรวจสอบปญั หาทางวิทยาศาสตรท์ กี่ ำหนดให้
5. บรรยายและประเมินวิธีการต่าง ๆ ที่นักวิทยาศาสตร์ใช้ในการยืนยันถึงความ
นา่ เช่อื ถือของขอ้ มลู

8

6. แปลงข้อมูลทนี่ ำเสนอในรปู แบบหนง่ึ ไปส่รู ปู แบบอน่ื
7. วเิ คราะห์และแปลความหมายข้อมลู ทางวิทยาศาสตร์ และลงข้อสรุปที่มีอยูเ่ ดิมของ
นักเรยี นดว้ ยแบบทดสอบก่อนการทดลองจดั กจิ กรรมการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้
3.3 ค่าคะแนนเฉลี่ยรวมผลการเรียนรู้ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 จากผลการ
ทดสอบสมรรถนะการเรียนรดู้ า้ น
1. สามารถระบุประเด็นปัญหาที่ต้องการสำรวจตรวจสอบจากการศึกษาทางวิทยาศาสตร์
ที่กำหนดให้
2. แยกแยะได้ว่าประเด็นปัญหาหรือคำถามใดสามารถตรวจสอบได้ด้วยวิธีการทาง
วิทยาศาสตร์
3. เสนอวิธีสำรวจตรวจสอบปัญหาทางวิทยาศาสตรท์ ี่กำหนดให้
4. ประเมนิ วธิ สี ำรวจตรวจสอบปญั หาทางวทิ ยาศาสตร์ที่กำหนดให้
5. บรรยายและประเมินวิธีการต่าง ๆ ที่นักวิทยาศาสตร์ใช้ในการยืนยันถึงความ
น่าเช่ือถอื ของขอ้ มูล
6. แปลงข้อมูลทีน่ ำเสนอในรปู แบบหน่ึงไปส่รู ูปแบบอื่น
7. วิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ และลงขอ้ สรุปที่เปลี่ยนแปลง
ของนกั เรียนด้วยแบบทดสอบหลังการทดลองจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้
4. ระดับผลการเรียนรู้ หมายถงึ ระดับผลการเรยี นร้ทู ี่กำหนดตามเกณฑว์ ดั และประเมินผล
ของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน (2550) ดังน้ี
ดีเยีย่ ม หรือ ระดบั 4.00 มคี ่ารอ้ ยละของค่าคะแนนเฉลีย่ 80-100
ดมี าก หรอื ระดบั 3.50 มคี ่ารอ้ ยละของคา่ คะแนนเฉล่ยี 75-79
ดี หรอื ระดับ 3.00 มีค่ารอ้ ยละของคา่ คะแนนเฉลยี่ 70-74
ค่อนขา้ งดี หรือ ระดบั 2.50 มคี า่ รอ้ ยละของคา่ คะแนนเฉลี่ย 65-69
ปานกลาง หรือ ระดับ 2.00 มคี า่ รอ้ ยละของคา่ คะแนนเฉลย่ี 60-64
พอใช้ หรอื ระดบั 1.50 มคี ่ารอ้ ยละของค่าคะแนนเฉลยี่ 55-59
ผา่ นเกณฑ์ข้ันต่ำ หรอื ระดบั 1.00 มคี า่ รอ้ ยละของคา่ คะแนนเฉลย่ี 50-54
ตำกว่าเกณฑ์ หรอื ระดบั 0.00 มคี ่าร้อยละของคา่ คะแนนเฉล่ียน้อยกว่า 50
5. การพัฒนาผลการเรยี นรู้ หมายถงึ ผลการเปรียบเทยี บค่าคะแนนเฉลย่ี รวมผลการเรยี นรู้
จากผลการทดสอบสมรรถนะการเรยี นรดู้ า้ น

9

1. สามารถระบุประเด็นปัญหาท่ีต้องการสำรวจตรวจสอบจากการศึกษาทาง
วทิ ยาศาสตร์ทก่ี ำหนดให้

2. แยกแยะได้ว่าประเด็นปัญหาหรือคำถามใดสามารถตรวจสอบได้ด้วยวิธีการทาง
วทิ ยาศาสตร์

3. เสนอวธิ สี ำรวจตรวจสอบปัญหาทางวิทยาศาสตร์ท่ีกำหนดให้
4. ประเมินวิธสี ำรวจตรวจสอบปัญหาทางวทิ ยาศาสตรท์ ก่ี ำหนดให้
5. บรรยายและประเมินวิธีการต่าง ๆ ที่นักวิทยาศาสตร์ใช้ในการยืนยันถึงความ
นา่ เชอ่ื ถือของขอ้ มูล
6. แปลงข้อมูลท่นี ำเสนอในรูปแบบหน่งึ ไปสรู่ ูปแบบอืน่
7. วิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ และลงข้อสรุปท่ีมีอยู่เดิมด้วย
แบบทดสอบก่อนการทดลองจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้กับค่าคะแนนเฉล่ียรวมผล
การเรียนรู้จากผลการทดสอบสมรรถนะการเรียนรู้ด้าน
1. สามารถระบุประเด็นปัญหาท่ีต้องการสำรวจตรวจสอบจากการศึกษาทาง
วิทยาศาสตรท์ ี่กำหนดให้
2. แยกแยะได้ว่าประเด็นปัญหาหรือคำถามใดสามารถตรวจสอบได้ด้วยวิธีการทาง
วทิ ยาศาสตร์
3. เสนอวิธีสำรวจตรวจสอบปัญหาทางวทิ ยาศาสตรท์ ี่กำหนดให้
4. ประเมนิ วิธสี ำรวจตรวจสอบปัญหาทางวทิ ยาศาสตร์ทีก่ ำหนดให้
5. บรรยายและประเมินวิธีการต่าง ๆ ท่ีนักวิทยาศาสตร์ใช้ในการยืนยันถึงความ
น่าเช่ือถอื ของข้อมูล
6. แปลงขอ้ มลู ทนี่ ำเสนอในรูปแบบหนง่ึ ไปส่รู ปู แบบอนื่
7. วิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ และลงข้อสรุปที่เปลี่ยนแปลง
ของนักเรียนด้วยแบบทดสอบหลังการทดลองจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ เม่ือ
วเิ คราะหเ์ ปรียบเทียบดว้ ย One – Sample t Test ทีร่ ะดบั นยั สำคญั ทางสถิติ 0.05 (α 0.05)
6. ความพึงพอใจ หมายถึง ความพึงพอใจของนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน
เทศบาลวัดหนองผา อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ท่ีมีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เร่ือง การแยกสาร
ผสม โดยทดลองใช้กิจกรรมการเรียนรู้ ประกอบด้วยด้านบทบาทครู ด้านบทบาทนักเรียน ด้านการ
จดั การเรียนการสอน ด้านการวดั และประเมินผล

10

7. ระดับความพึงพอใจ หมายถึง ระดับความพึงพอใจแบบประมาณค่า (Likert Scale) โดย

เรียงลำดบั จากระดับมากทสี่ ุดถึงน้อยท่ีสุด 5 ระดับคือ มีความพึงพอใจมากที่สดุ มคี วามพึงพอใจมาก มี

ความพึงพอใจปานกลาง มคี วามพงึ พอใจค่อนขา้ งน้อย และมีความพงึ พอใจนอ้ ยทสี่ ุด แต่ละระดับดังกลา่ ว

กำหนดโดยเกณฑ์ช่วงคา่ เฉล่ียของบญุ ชม ศรสี ะอาด ดังน้ี

ระดับความพงึ พอใจ ระดับคา่ เฉลี่ย

คะแนนเฉลีย่ 4.51 – 5.00 มคี วามพงึ พอใจท่ีระดับมากสุด

คะแนนเฉลยี่ 3.51 – 4.50 มีความพงึ พอใจท่รี ะดับมาก

คะแนนเฉลย่ี 2.51 – 3.50 มคี วามพึงพอใจท่ีระดับปานกลาง

คะแนนเฉลีย่ 1.51 – 2.50 มคี วามพึงพอใจที่ระดับนอ้ ย

คะแนนเฉลีย่ 1.00 – 1.50 มีความพงึ พอใจท่ีระดบั นอ้ ยสุด

สมมตฐิ านการวจิ ยั

การออกแบบกิจกรรมการเรียนรูเ้ พอ่ื พัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตรต์ ามแนวคิด PISA
สำหรับนกั เรียนระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 โรงเรยี นเทศบาลวัดหนองผา

1. นกั เรียนท่ีได้รบั การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพฒั นาสมรรถนะทางวิทยาศาสตรต์ ามแนวคิด
PISA มีสมรรถนะทางวิทยาศาสตรต์ ามแนวคดิ PISA ระดับดีขนึ้ ไป

กรอบแนวคิดการวจิ ัย

ตวั แปรต้น ตวั แปรตาม

การจดั กิจกรรมการเรียนรูเ้ พอื่ พัฒนา 1. ผลการเรียนรู้เรื่อง การแยกสารเนื้อผสม
สมรรถนะทางวทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคิด จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กับนักเรียน
PISA กับนักเรยี นระดบั ชน้ั ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โดยใช้กิจกรรม
ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 โดยทดลองใช้ การเรียนรู้
กจิ กรรมการเรียนรู้ 2. ระดับความพึงพอใจของนักเรียนระดับช้ัน
ประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้เรื่องการแยกสารเน้ือผสม โดย
ทดลองใชก้ ิจกรรมการเรยี นรู้

11

บทท่ี 2
การทบทวนเอกสารและงานวจิ ัยที่เก่ียวข้อง

การทำวิจัยในช้ันเรียนเรื่อง การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาสมรรถนะทาง
วิทยาศาสตร์ ตามแนวคิด PISA สำหรับนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาลวัดหนองผา
ผู้วจิ ัยขอเสนอผลการทบทวนเอกสารและงานวิจยั ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งประกอบด้วยหัวขอ้ หลักตามลำดบั ดังนี้

1. การวจิ ัย
2. นวตั กรรมทางการศึกษา
3. กจิ กรรมการเรยี นรเู้ พือ่ พฒั นาสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตร์ตามแนวคดิ PISA
4. การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5E)
5. การหาคณุ ภาพของนวตั กรรม
6. เคร่อื งมือการวจิ ยั
7. ระดับความพึงพอใจ
8. สมรรถนะทางวิทยาศาสตรต์ ามแนวคดิ PISA
แต่ละหัวขอ้ หลกั ดงั กลา่ ว นำเสนอรายละเอียดตามลำดบั ขน้ั ดงั น้ี

การวจิ ัย

1. ความหมายของการวจิ ยั
หมายถึง กระบวนการศึกษาค้นคว้าความจริง ความรู้ท่ีเราสงสัย เพื่อหาคำตอบหรือ

ข้อเท็จจริงท่ีดำเนินไปอย่างมีระเบียบ และเป็นที่ยอมรับกนั ในทางวิชาการด้วยวธิ ีการท่ีเชอ่ื ถือได้ เพื่อให้
ได้มาซึ่งคำตอบทถ่ี กู ต้องต่อปญั หาทตี่ ัง้ ไว้ (รตั นพร ทองรอด, 2557)

2. ความจำเปน็ ทคี่ รูต้องทำการวจิ ัย
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 บัญญัติความตามมาตรา 22 ว่า การจัดการ

ศกึ ษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทกุ คนสามารถเรยี นร้แู ละพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนทุกคนมคี วามสำคัญ
ทสี่ ุด กระบวนการจดั การศกึ ษาตอ้ งสง่ เสรมิ ใหผ้ ้เู รียนสามารถพฒั นาตามธรรมชาตแิ ละเต็มตามศักยภาพ
ความตามมาตรา 24 (1) บัญญตั ิวา่ การจดั กระบวนการเรียนรู้ ให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกีย่ วขอ้ ง
จดั เน้ือหาสาระและกจิ กรรมใหส้ อดคลอ้ งกบั ความสนใจและความถนดั ของผเู้ รียนโดยคำนึงถงึ ความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล และความตอนหนึ่ง (5) ของมาตราเดียวกันบัญญัติว่า ให้ผู้สอนสามารถใช้การวิจัยเป็น
ส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ และความตามมาตรา 30 บัญญัติว่า ให้สถานศึกษาพัฒนา
กระบวนการเรยี นการสอนท่ีมีประสทิ ธิภาพ รวมท้งั ส่งเสรมิ ให้ผู้สอนสามารถวจิ ัยเพอื่ พฒั นาการเรยี นรูท้ ่ี
เหมาะสมกับผเู้ รยี นในแตล่ ะสถานศึกษา จากความตามมาตราดังกล่าวถึงตคี วามว่า ภายหลงั ที่ผสู้ อนจัด

12

กิจกรรมการเรียนรู้สาระการเรียนรู้ใด ๆ ด้วยวิธีและเทคนิคการสอนวิธีการใดวิธีการหนึ่งแล้ว เมื่อทำ
การวดั และประเมินผลพบว่ามีผลอย่างใดอย่างหนึ่งคือ จำนวนผู้เรียนท้งั ช้ันเรียน จำนวนผู้เรียนส่วนมาก
ของชั้นเรียนหรือผู้เรียนจำนวนส่วนน้อยของช้ันเรียนมีผลสัมฤทธ์ิการเรียนรู้ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่
ผู้สอนกำหนดขึ้น ผลการประเมินดังกล่าวไม่สามารถลงข้อสรุปว่า ผลสัมฤทธ์ิการเรียนรู้ของผู้เรียนไม่
ผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่ผู้สอนกำหนดและถูกตัดสินให้ “ตก” ในสาระการเรียนรู้นั้น แต่ผู้สอนต้องพึง
ตระหนักเสมอว่าการท่ีผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิการเรียนรู้ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดอาจเป็นเพราะว่า
วิธแี ละเทคนิคการสอนตามทีผ่ ู้สอนนำมาใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้อาจน้นั ไม่สอดคล้องกับความถนัดและ
ความสนใจของผู้เรียน ดังนน้ั ผู้สอนจึงต้องค้นหาวธิ ีและเทคนิคการสอนวธิ ีใหมท่ ่ีเหมาะสมกับความถนัด
และความสนใจของผู้เรยี น การทำวิจัยของผู้สอนจะใช้เปน็ หลักฐานยืนยันวา่ วธิ ีและเทคนิคการสอนวิธี
ใหม่ที่ผู้สอนนำมาใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้นั้นมีผลการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิการเรียนรู้ของผู้เรียนหรือไม่
อย่างไร เมื่อเปรียบเทียบ เปรียบเทียบกับวิธีและเทคนิคการสอนวิธีเดิม ด้วยเหตุดังกล่าวจึงตอบคำถาม
วา่ ทำไมผูส้ อนจึงตอ้ งทำวจิ ยั ทง้ั วิจัยเพ่อื พัฒนาและแก้ปัญหาผ้เู รียน

3. ประโยชน/์ ความสำคญั ของการวจิ ัย
3.1 การวิจัย สามารถใช้แก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถูกต้องและยุติธรรม สามารถนำ

ความร้ทู ไ่ี ด้จากการวจิ ัยไปใชป้ ระโยชน์ในการปฏบิ ัติ หรอื แกป้ ัญหาโดยตรง ช่วยทำให้ผูป้ ฏบิ ัติไดเ้ ลือกวิธี
ปฏิบัตทิ ดี่ ีท่ีสดุ ก่อใหเ้ กิดการประหยดั

3.2 การวิจัยจะช่วยให้เข้าใจปรากฏการณ์และพฤติกรรมต่าง ๆ ได้ดีขึ้น และสามารถใช้
ทำนายปรากฏการณ์และพฤติกรรมต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพมากกว่าการคาดคะเน
แบบสามัญสำนึก

3.3 การวิจัยสามารถช่วยในด้านการกำหนดนโยบาย การวางแผนงาน การตัดสินปัญหา
หรอื การวนิ ิจฉยั ส่งั การของผู้บรหิ ารให้เป็นได้อย่างถูกตอ้ ง และรวดเร็ว ช่วยในการกำหนดนโยบาย หรือ
หลักปฏิบตั ิงานต่าง ๆ เปน็ ไปดว้ ยความถูกตอ้ ง เหมาะสมและมปี ระสิทธิภาพ

3.4 การวจิ ัยสามารถตอบคำถามท่ียงั คลุมเครอื ใหก้ ระจา่ งชดั ยง่ิ ขึน้
3.5 การวิจัยจะช่วยกระตุ้นความสนใจของนักวิชาการ ให้มีการใช้ผลการวิจัยและทำงาน
คน้ คว้าวจิ ัยต่อไป
3.6 การวิจยั จะทำให้ทราบข้อเทจ็ จรงิ ตา่ ง ๆ ซ่ึงนำมาใช้เป็นประโยชน์เพือ่ การปรับปรงุ หรือ
พฒั นาบคุ คลและหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ใหเ้ จรญิ ก้าวหนา้ ดียง่ิ ขึน้
3.7 ชว่ ยให้ค้นพบทฤษฎีและสิ่งประดิษฐใ์ หม่ ๆ เพ่ือให้มนษุ ย์ไดด้ ำเนินชีวิตอยใู่ นโลกอย่างมี
ความสุขสบาย

13

3.8 การวิจยั ทำใหม้ ีผลงานวจิ ัยเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะช่วยเสริมใหท้ ราบข้อเทจ็ จริงได้กว้างขวาง
และชัดยิ่งขึ้น ช่วยพยากรณ์ผลภายหน้าของสถานการณ์ ปรากฏการณ์และพฤติกรรมต่าง ๆ ได้อย่าง
ถูกต้อง

3.9 การวจิ ยั จะช่วยกระตุ้นบคุ คลให้มเี หตุผล รูจ้ ักคิด และคน้ คว้าหาความรอู้ ย่เู สมอ
3.10 การวิจัยช่วยให้มีเคร่ืองมือและเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่ทันสมัยเกิดข้ึนอยู่ตลอดเวลา ซ่ึง
อำนวยความสะดวกสบายใหแ้ ก่มนุษยเ์ ปน็ อยา่ งมาก (พิพิษณ์ สทิ ธิศักด์ิ, 2553)

นวตั กรรมทางการศึกษา

1. ความหมาย
การนำเอาส่ิงใหม่ซ่ึงอาจจะอยู่ในรูปของความคิดหรือการกระทำ รวมท้ังส่ิงประดิษฐ์ก็ตาม

เข้ามาใช้ในระบบการศึกษา เพื่อมุ่งหวังที่จะเปล่ียนแปลงส่ิงที่มีอยู่เดิมให้ระบบการจัดการศึกษามี
ประสิทธิภาพยิ่งข้ึน ทำให้ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็วเกิดแรงจูงใจในการเรียน และ
ชว่ ยให้ประหยดั เวลาในการเรียน (รัตนพร ทองรอด, 2557)

2. การจำแนกประเภท
1. นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร เป็นการใช้วิธีการใหม่ๆในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้อง

กับสภาพแวดล้อมในท้อง ถ่ิน และตอบสนองความต้องการสอนบุคคลให้มากข้ึน เน่ืองจากหลักสูตร
จะต้องมีการเปลยี่ นแปลงอยเู่ สมอ เพอ่ื ให้สอดคลอ้ งกับความก้าวหน้าทางดา้ นเทคโนโลยี เศรษฐกิจและ
สังคมของประเทศและของโลก นวัตกรรมทางด้านหลักสูตรได้แก่ การพัฒนาหลักสูตรบูรณาการ
หลกั สตู รรายบุคคล หลักสตู รกิจกรรมและประสบการณ์ และหลักสูตรท้องถิ่น

2. นวัตกรรมการเรยี นการสอน เป็นการใช้วิธีระบบในการปรับปรงุ และคดิ ค้นพฒั นาวิธีสอน
แบบใหม่ๆ ที่สามารถตอบสนองการเรียนรายบุคคล การสอนแบบผู้เรยี นเป็นศูนยก์ ลาง การเรยี นแบบมี
ส่วนร่วม การเรียนรู้แบบแก้ปัญหา การพัฒนาวิธีสอนจำเป็นต้องอาศัยวิธีการและเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้า
มาจัดการและสนบั สนุนการเรยี นการสอน

3. นวัตกรรมสื่อการสอน เนื่องจากมีความก้าวหน้าของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เครือข่ายและเทคโนโลยีโทรคมนาคม ทำให้นักการศึกษาพยายามนำศักยภาพของ
เทคโนโลยีเหล่านี้มาใช้ในการผลิตส่ือการ เรียนการสอนใหม่ๆ จำนวนมากมาย ท้ังการเรียนด้วยตนเอง
การเรียนเป็นกลุ่ม และการเรียนแบบมวลชน ตลอดจนส่ือท่ีใช้เพื่อสนับสนุนการฝึกอบรมผ่านเครือข่าย
คอมพิวเตอร์

14

4. นวัตกรรมทางด้านการประเมินผล เป็นนวัตกรรมที่ใช้เป็นเครื่องมือเพ่ือการวัดผลและ
ประเมินผลได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และทำได้อย่างรวดเร็ว รวมไปถึงการวิจัยทางการศึกษา การวิจัย
สถาบัน ด้วยการประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มาสนับสนุนการวัดผล ประเมินผลของสถานศึกษา
ครู อาจารย์

5. นวตั กรรมการบริหารจดั การ เปน็ การใชน้ วัตกรรมท่เี กย่ี วขอ้ งกบั การใชส้ ารสนเทศมาชว่ ย
ในการบริหาร จัดการ เพ่ือการตัดสินใจของผู้บริหารการศึกษา ให้มีความรวดเร็วทันเหตุการณ์ ทันต่อ
การเปลี่ยนแปลงของโลก นวัตกรรมการศึกษาที่นำมาใช้ทางด้านการบริหารจะเกี่ยวข้องกับระบบการ
จัดการ ฐานขอ้ มูลในหน่วยงานสถานศึกษา (รตั นพร ทองรอด, 2557)

3. ความสำคญั
3.1 เพ่ือให้ทนั สมยั ต่อการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี และสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป
3.2 เพ่ือแก้ไขปญั หาทางดา้ นการศกึ ษาบางอย่างท่เี กิดข้ึนอย่างมปี ระสิทธิภาพ
3.3 เพื่อแก้ไขปัญหาทางด้านการศึกษาในบางเรื่อง เช่น ปัญหาท่ีเกี่ยวเน่ืองกับจำนวน

ผเู้ รยี นทมี่ ากขนึ้ การพฒั นาหลักสูตรให้ทันสมยั การผลติ และพฒั นาสอ่ื ใหม่ ๆ ข้นึ มา
3.4 เพือ่ ตอบสนองการเรยี นรูข้ องมนษุ ยใ์ ห้เพ่ิมมากขนึ้ ดว้ ยระยะเวลาทส่ี ัน้ ลง
3.5 การใช้นวัตกรรมมาประยุกต์ในระบบการบริหารจัดการด้านการศึกษาก็มีส่วนช่วยให้

การใชท้ รพั ยากรการเรยี นรู้เปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพ (จารวุ ัฒน์ เสนล้ิน, 2555)

กจิ กรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคดิ PISA

กลา่ วโดยละเอียด ดงั นี้
1. แนวคดิ /ทฤษฎี/หลกั การ/วธิ ีการ

ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ PISA 2021 จำแนกความรู้ทางวิทยาศาสตร์ออกเป็น 3
องค์ประกอบคือ ความรู้ด้านเนือ้ หา หมายถึง ความรู้ที่เก่ียวกับปรากฏการณธ์ รรมชาตขิ องโลก (จำแนก
เป็นกฎ เกณฑ์ หลักการ ทฤษฎี ข้อเท็จจริงความจริง มโนมติ) และส่ิงประดิษฐ์ทางเทคโนโลยี ความรู้
ด้านกระบวนการ หมายถงึ ความรู้เก่ียวกบั วธิ ีการหรือกระบวนการหาความร้ทู างวทิ ยาศาสตร์ทจี่ ะไดม้ า
ซึ่งความรู้วิทยาศาสตร์ทางวิทยาศาสตร์ด้านเน้ือหา และความรู้เกี่ยวกับความรู้ที่สร้างข้ึน หมายถึง
ความรู้ท่ีเกิดขึ้นจากระบวนการหาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ ความเข้าใจเหตุผลพ้ืนฐานของกระบวนการ
สร้างความรู้ (อิสระ ทบั สีสด, 2563)

15

2. องคป์ ระกอบ/โครงสร้าง/ลำดบั ขนั้
ลําดับขั้นการจดั ประสบการณเ์ รยี นรู้
1. ขน้ั สรา้ งความสนใจ
- ขัน้ สังเกต
- ขน้ั กาํ หนดปัญหา
2. ขน้ั สาํ รวจและค้นหา-อธิบายและลงข้อสรุป
- ข้นั กําหนดสมมติฐาน
- ข้นั รวบรวมข้อมูล
- จดั กระทาํ และสือ่ ความหมายขอ้ มูล
- ขน้ั วเิ คราะห์ อภิปราย และลงข้อสรุปขอ้ มลู
3. ขนั้ ขยายความรู้
4. ขน้ั ประเมินตนเอง
5. ขน้ั นําเสนอขอ้ ค้นพบ (อิสระ ทบั สีสด, 2563)

3. ข้อด/ี ข้อเสีย
ข้อดี
1. นักเรียนสามารถระบุประเด็นของปัญหาที่ต้องการสำรวจตรวจสอบจากการศึกษาทาง

วิทยาศาสตร์
2. นักเรียนสามารถแยกแยะได้ว่าประเด็นปัญหา หรือ คำถามใดสามารถตรวจสอบโดย

วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์
3. นกั เรยี นสามารถเสนอวิธกี ารตรวจสอบปัญหาทางวทิ ยาศาสตร์ที่กำหนดให้
4. นักเรียนสามารถประเมนิ วธิ ีสำรวจตรวจสอบปัญหาทางวทิ ยาศาสตร์ทกี่ ำหนดให้
5.นักเรียนสามารถบรรยายและประเมินวิธีการต่าง ๆ ท่ีนักวิทยาศาสตร์ใช้ในการยืนยัน

ความน่าเชื่อถือของขอ้ มูล ความเป็นกลาง และการสรุปอ้างองิ
6. นักเรยี นสามารถแปลงข้อมูลที่นำเสนอในรปู แบบหนง่ึ ไปสรู่ ูปแบบอืน่
7. นักเรียนสามารถการวิเคราะห์และแปลความหมายประจักษ์พยาน(ข้อมูล)ทาง

วิทยาศาสตร์และลงข้อสรปุ
ข้อเสีย
-

16

4. วธิ ีการใช้
1. ออกแบบวิธีการสังเกต
2. เลอื กวิธกี ารจดั กระทำขอ้ มลู
3. เลือกรูปแบบการสอื่ ความหมายขอ้ มลู
4. การลงขอ้ สรุปขอ้ มลู

การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5E)

1. ความหมาย
ทิศนา แขมมณี (2557, หนา้ 141) ไดก้ ลา่ วถงึ การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ หมายถึง

การสอนท่ผี สู้ อนกระต้นุ ให้ผูเ้ รยี นเกดิ คำถาม เกิดความคิด และลงมอื เสาะแสวงหาความรู้ เพือ่ นำมา
ประมวลหาคำตอบหรือขอ้ สรปุ ด้วยตนเองโดยทผี่ ู้สอนช่วยอำนวยความสะดวกในการเรียนรใู้ นดา้ น
ตา่ ง ๆ ให้แก่ผเู้ รียน เชน่ ในด้านการสืบคน้ หาแหล่งความรู้การศกึ ษาข้อมลู การวเิ คราะห์ การสรุป
ขอ้ มลู การอภิปรายโต้แย้งทางวชิ าการ และการทำงานร่วมกบั ผอู้ ื่น เป็นต้น

2. แนวคิด/ทฤษฎ/ี หลักการ/วธิ ีการ
การเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ใน 5 ขั้นตอนนี้ เป็นรูปแบบหนึ่งของการเรียนรู้ท่ี

เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ครูมีบทบาทสำคัญในการเป็นผู้อำนวยความสะดวกในการสนับสนุนให้ผู้เรียน
แสดงบทของตนเองใหเ้ ต็มทเ่ี พอื่ สร้างองค์ความรู้ดว้ ยตนเอง

3. องคป์ ระกอบ/โครงสรา้ ง/ลำดบั ข้ัน
สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.) ไดส้ รุปไว้ 5 ขั้นตอน ดงั น้ี
ขน้ั ที่ 1 ขน้ั สร้างความสนใจ (Engagement) เปน็ การนำเข้าสู่บทเรยี นซงึ่ อาจเกดิ ความสนใจ

ความสงสัย จากเหตุการณ์ท่ีกำลังเกิดข้ึน เป็นการกระตุ้นให้เกิดความสนใจใคร่รู้ นำไปสู่ประเด็นที่จะ
ศึกษาคน้ ควา้ ใหช้ ดั เจนยง่ิ ข้นึ

ข้ันที่ 2 สำรวจและค้นหา (Exploration) เป็นการทำความเข้าใจในประเด็นที่ศึกษา วิธี
การศึกษาอาจเป็นการตรวจสอบ การทดลอง การปฏิบัติ การสืบค้นความรู้ เพื่อให้ได้มาซ่ึงข้อมูลอย่าง
พอเพยี งในการที่จะใชใ้ นข้ันต่อไป

ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) เป็นการนำข้อมูลข้อสนเทศที่ได้มาวิเคราะห์
แปลผล สรุปผล และนำเสนอในรูปของภาพวาด ตาราง แผนภูมิ การค้นพบในขั้นนี้อาจเป็นการ
สนบั สนนุ หรือโตแ้ ย้งสมมตฐิ านกไ็ ด้ ผลทไ่ี ด้สามารถสร้างความรู้และชว่ ยใหเ้ กดิ การเรยี นรูไ้ ด้

ขน้ั ท่ี 4 ขยายความรู้ (Elaboration) เป็นการนำความรูท้ ่ีสร้างข้นึ ไปเช่ือมโยงกับความรเู้ ดิม
หรือแนวคดิ ท่ีไดค้ ้นคว้าเพิ่มเติม หรือนำข้อสรปุ ไปอธิบายสถานการณ์เหตุการณ์ต่าง ๆ ทำให้เกิดความรู้
ที่กวา้ งขน้ึ

17

ขั้นที่ 5 ประเมิน (Evaluation) เป็นการประเมินการเรียนรู้ด้วยกระบวนการต่าง ๆ ว่ามี
ความรูอ้ ะไรบ้าง รูม้ ากน้อยเพียงใดและนำไปประยุกต์ความรู้สู่เรื่องอนื่ ๆ (ตะวนั ภาษีธรรม, 2555)

4. ขอ้ ดี/ข้อเสยี
ข้อดีของการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
1. นักเรียนมีโอกาสได้พัฒนาความคิดอย่างเต็มท่ี ได้ศึกษาด้วยตนเองจึงมีความอยาก

รอู้ ยู่ตลอดเวลา
2. นักเรียนมีโอกาสได้ฝึกความคิด และฝึกการกระทำ ทำให้ได้เรียนรู้วิธีจัดระบบ

ความคิดและวธิ ีสบื เสาะแสวงหาความรดู้ ้วยตนเองทำใหค้ วามรู้คงทนและถ่ายโยงการเรียนรู้ได้ กล่าวคือ
ทำใหส้ ามารถจดจำไดน้ านและนำไปใช้ในสถานการณ์ใหม่อีกดว้ ย

3. นกั เรียนเป็นศูนยก์ ลางของการเรียนการสอน
4. นักเรยี นสามารถเรยี นรู้มโนทัศน์และหลกั การทางวทิ ยาศาสตรไ์ ดเ้ ร็วขน้ึ
5. นักเรียนจะเปน็ ผมู้ ีเจตคติท่ีดตี อ่ การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์
ขอ้ จำกดั ของการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
1. ในการสอนแตล่ ะคร้งั ตอ้ งใชเ้ วลาในการสอนมาก
2. ถ้าสถานการณ์ที่ครูสร้างข้ึนไม่ทำให้น่าสงสัยแปลกใจ จะทำให้นักเรียนเบื่อหน่าย
ถ้าครูไม่เข้าใจบทบาทหน้าท่ีในการสอนวิธีน้ีมุ่งควบคุมพฤติกรรมขอ งนักเรียนมากเกินไปจะทำให้
นกั เรยี นไมม่ ีโอกาสได้สืบเสาะหาความรู้ดว้ ยตนเอง
3. ในกรณีที่นักเรียนมีระดับสติปัญญาต่ำและเนื้อหาค่อนข้างยาก นักเรียนอาจจะไม่
สามารถศกึ ษาหาความรูด้ ้วยตนเองได้
4. นักเรียนบางคนที่ยังไม่เป็นผู้ใหญ่พอ ทำให้ขาดแรงจูงใจท่ีจะศึกษาปัญหาและ
นักเรียนที่ตอ้ งการแรงกระตุ้นเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความกระตือรือร้นในการเรียนมาก ๆ อาจจะพอตอบคำถามได้
แตน่ กั เรยี นไมป่ ระสบความสำเรจ็ ในการเรียนดว้ ยวิธีนเี้ ทา่ ทค่ี วร
5. การใช้สอนแบบนี้อยู่เสมอ อาจทำให้ความสนใจของนักเรียนในการศึกษาค้นคว้า
ลดลง (ภัทริยา, 2553)

18

การหาคณุ ภาพของนวัตกรรม

1. การหาคุณภาพ
1.1 การหาคุณภาพเชงิ เหตผุ ล
1.1.1 ความหมาย กระบวนการน้ีเป็นการหาประสิทธิภาพ โดยใช้หลักของความรู้

และเหตุผลในการตัดสินคุณค่าของสื่อการเรียนการสอน โดยอาศัยผู้เชี่ยวชาญ (Panel of Experts)
เป็นผู้พิจารณาตัดสินคุณค่า ซึ่งเป็นการหาความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหา (Content Validiy) และความ
เหมาะสมในดา้ นความถกู ตอ้ งของการนำไปใช้ (Usability) (เผชิญ กิจระการ, มปป.)

1.1.2 วิธีการ ผลจากการประเมินของผู้เชี่ยวชาญแต่ละคนจะนำมาหาประสิทธิภาพ
โดยใช้สูตรดงั นี้

= 2 − 1



เมอ่ื CVR แทน ประสทิ ธภิ าพเชงิ เหตผุ ล
แทน จำนวนผู้เช่ยี วชาญทีย่ อมรบั
N แทน จำนวนผู้เช่ียวชาญทัง้ หมด

1.2 การหาคุณภาพเชิงประจกั ษ์
1.2.1 ความหมาย วิธีการน้ีจะนำส่ือไปทดลองใช้กับกลุ่มนักเรียนเป้าหมาย การหา

ประสิทธิภาพของส่ือ ส่วนมากใช้วิธีการหาประสิทธิภาพด้วยวิธีน้ี ประสิทธิภาพท่ีวัดส่วนใหญ่จะ
พิจารณาจากเปอร์เซ็นต์การทำแบบฝึกหัดหรือกระบวนการเรียน หรือแบบทดสอบย่อย โดยแสดงเป็น
ค่าตัวเลข 2 ตวั เช่น E1/E2 = 80/80, E1/E2 = 85/85, E1/E2 = 90/90 เปน็ ต้น (ไพโรจน์ คะเชนทร,์ มปป.)

1.2.2 วิธีการ การหาค่า E1 และ E2 ใชส้ ูตรดังนี้


1 = × 100



เมอื่ 1 แทน ร้อยละของคะแนนเฉล่ียที่นักเรียนท้ังหมดทำแบบฝึกหัด หรือ แบบทดสอบย่อยทุก
ชุดรวมกนั

∑ แทน คะแนนของแบบฝึกหัดหรอื ของแบบทดสอบย่อยทุกชุดรวมกัน
แทน คะแนนเตม็ ของแบบฝกึ หัดทกุ ชุดรวมกนั
แทน จำนวนนกั เรียนทัง้ หมด

19


2 = × 100



เม่ือ 2 แทน ร้อยละของคะแนนเฉล่ียทน่ี ักเรยี นทั้งหมดทำแบบทดสอบหลงั เรียน
∑ แทน คะแนนรวมของแบบทดสอบหลังเรียน
แทน คะแนนเต็มของแบบทดสอบหลงั เรยี น
แทน จำนวนนักเรียนทั้งหมด

เคร่ืองมือการวิจัย

1. ความหมาย
หมายถึง วัสดุ อุปกรณ์หรือเทคนิควิธีการที่ผู้วิจัยใช้ในการเก็บข้อมูลการวิจัย รวมทั้งโดย

การพิจารณาเลือกใช้เครื่องมือและเทคนิควิธกี ารที่มีผู้เช่ียวชาญ หรือนักวิชาการได้คิดสร้างไว้เพ่ือใช้ใน
การวิจยั (ชนุ หล,ี 2551)

2. การจำแนกประเภท
แบบสอบถาม เป็นเคร่ืองมือท่ใี ช้รวบรวมข้อมลู ประกอบด้วยชุดของข้อคำถามท่ีตอ้ งการให้

กลุ่มตวั อยา่ งตอบ โดยกาเครอ่ื งหมายหรือเขยี นตอบ หรือกรณีที่กลุ่มตัวอย่างอ่านหนังสือไม่ได้หรืออ่าน
ได้ยาก อาจใชว้ ธิ สี มั ภาษณ์ตามแบบสอบถาม นิยมถามเก่ยี วกับข้อเทจ็ จรงิ ความคิดเหน็ สว่ นบคุ คล
(ชนุ หล,ี 2551)

แบบทดสอบ คือ ชุดของคำถามที่สร้างข้ึน เพื่อใหผ้ ถู้ ูกทดสอบแสดงพฤติกรรมอย่างใดอย่าง
หนงึ่ ออกมาใหผ้ ้สู อบสงั เกตได้ และวัดได้ แบบทดสอบเปน็ เครื่องมือวดั พฤติกรรมด้านพุทธิพสิ ัย ซง่ึ ถือว่า
เปน็ สตปิ ัญญาของมนุษยว์ า่ มีความรู้หรอื ไม่เพียงใด (พรี ะพงษ์ เครอื่ งสนุก, 2558)

3. ข้ันตอนการหาคุณภาพ
3.1 การหาค่าความเทีย่ งตรงเชงิ เนื้อหา (Content Validity)
3.1.1 ความหมาย เนื้อหาคำถามตรงตามกับสิ่งท่ีตอ้ งการจะวดั หรือวัตถปุ ระสงค์และ

เปน็ ไปตามสัดส่วนของความสำคญั ในแต่ละเน้ือหาดว้ ย โดยการหาความสอดคล้องกันระหว่างข้อคำถาม
แตล่ ะข้อกบั จุดประสงค์ (Index of Item - Objective Congruence หรือ IOC) (บวั แสงใส, 2556)

3.1.2 วธิ ีการหาค่าความเที่ยงตรง ให้ผู้เชยี่ วชาญตงั้ แต่ 3 คนข้นึ ไป ประเมินความ
สอดคล้องระหวา่ งข้อคำถามในเครือ่ งมือกับเน้อื หาทต่ี ้องการวัด จากนัน้ นำผลการประเมินมาคำนวณค่า
IOC โดยใช้สตู ร

20

= ∑



เม่อื ∑ แทน ผลรวมของคะแนนจากผู้เชยี่ วชาญ
N แทน จำนวนผเู้ ชี่ยวชาญ

3.2 การหาค่าความเชือ่ มนั่ (Reliability)
3.2.1 ความหมาย ข้อมูลที่ทำการรวบรวมด้วยเครื่องมือย่างใดอย่างหน่ึง วิธีการใด

วิธีการหนึ่งมีความเชื่อม่ันว่าถูกต้อง ผลคือทำให้คำตอบของปัญหาทางวิทยาศาสตร์ท่ีทำการสำรวจ
ตรวจสอบน้ันถูกตอ้ ง และมีความเชื่อมั่นทน่ี ำมาส่กู ารสรุปอ้างอิง (อิสระ ทับสีสด, 2563)

3.2.2 วิธีการหาค่าความเช่ือมั่น ทดสอบความเช่ือม่ันของแบบสอบถามโดยใช้
โปรแกรมสำเร็จรูปการทดสอบความเชื่อมั่นของแบบสอบถามโดยใช้สูตรสัมประสิทธิแอลฟ่า
(Coefficient) ของครอนบคั (Cronbach) ดงั น้ี (สมบตั ิทา้ ยเรอื คำ, 2551)

α = 1 (1 − ∑ 2 2 )


โดยที่ คอื สัมประสทิ ธแิ์ อลฟา
K คอื จำนวนข้อคำถาม

∑ 2 คอื ผลรวมของความแปรปรวนของคะแนนแตล่ ะข้อ
2 คอื ความแปรปรวนของคะแนนรวม

โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟา (Cronbach’s alpha coefficient; α) ซ่ึงการประเมินความ
เท่ียงสัมประสิทธ์ิแอลฟาได้มีการพิจารณาจากเกณฑ์การประเมินความเท่ียงสัมประสิทธ์ิแอลฟา
ของครอน บาค ดงั น้ี (ศิรชิ ัย กาญจนวาสี, 2544)

คา่ สมั ประสทิ ธแิ์ อลฟา (α) การแปลความหมายระดบั ความเท่ยี ง
มากกวา่ .9 ดีมาก
มากกวา่ .8 ดี
มากกว่า .7 พอใช้
มากกว่า .6 ค่อนขา้ งพอใช้
มากกว่า .5 ตำ่
น้อยกว่า หรือ เท่ากับ .5 ไมส่ ามารถรับได้

21

ในการหาความเช่ือม่ันโดยหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (Cronbach’s alpha coefficient) ที่ค่า
ระดับความเช่ือมั่นของแบบสอบถามเท่ากับ 0.96 ซ่ึงถือได้ว่าอยู่ในระดับดีมากหมายถึงแบบสอบถามมี
ความน่าเชื่อถอื และสามารถนำไปศกึ ษากบั กลุ่มตัวอย่างจริงได้

ระดบั ความพงึ พอใจ

1. ความหมาย
หมายถึง ความรู้สึกของบุคคลที่มีต่อการทำงานในทางบวก เป็นความสุขของบุคคลที่เกิด

จากการปฏิบัติงานและได้ผลตอบแทนคือ ผลท่ีเป็นความพึงพอใจท่ีทำให้บุคคลเกิดความรู้สึก
กระตือรือร้น มีความมุ่งมั่น และมีขวัญกำลังใจที่จะทำงาน ซึ่งส่ิงเหล่านี้จะมีผลต่อประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลของการทำงาน รวมทั้งส่งผลต่อความสำเร็จและการบรรลุเป้าหมายขององค์กร (ปรียาพร
วงศอ์ นตุ รโรจน์,2553)

2. เครื่องมอื วัดระดับความพงึ พอใจ
แบบวัดระดับความพึงพอใจของนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนเทศบาลวัด

หนองผา อำเภอเมอื ง จงั หวัดอุตรดติ ถ์ ทมี่ ีต่อการจัดกจิ กรรมเพ่ือพัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ตาม
แนวคิด PISA

3. วธิ ีการสร้างเครือ่ งมือวดั ระดับความพงึ พอใจ
3.1 ศกึ ษาวธิ ีการสรา้ งแบบสอบถามความพงึ พอใจเพ่อื เปน็ กรอบในการสรา้ งคำถาม
3.2 สร้างแบบสอบถามความพงึ พอใจโดยใช้ข้อคำถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating

Scale) กำหนดค่าคะแนนเป็น 5 ระดับ ตามวิธีของลิเคิร์ท (Likert) และกำหนดเกณฑ์มาทำข้อมูลใน
การประเมิน จำนวน 14 ข้อคำถาม ซึ่งประกอบด้วยความคิดเห็นเก่ียวกับด้านบทบาทครู ด้านบทบาท
นักเรยี น ดา้ นการจัดการเรียนการสอน ดา้ นการวัดและประเมินผล

3.3 นำแบบสอบถามความพึงพอใจเสนอผู้เชี่ยวชาญ เพ่ือตรวจความถูกต้องและเหมาะสม
ของแบบสอบถาม แล้วปรับปรงุ แก้ไขตามข้อเสนอแนะท่ีไดจ้ ากผู้เชีย่ วชาญ (กรรณกิ าร์ อาภาภสั ร์, 2559)

4. การประเมินระดบั ความพึงพอใจดว้ ยค่าเฉลยี่ ระดับความพึงพอใจ
คา่ เฉล่ีย ระดับความพึงพอใจมากที่สดุ
ระดบั ความพึงพอใจมาก
ค่าเฉลย่ี 4.50 – 5.00 ระดับความพงึ พอใจปานกลาง
ค่าเฉลี่ย 3.50 – 4.49 ระดับความพงึ พอใจนอ้ ย
คา่ เฉลี่ย 2.50 – 3.49 ระดบั ความพึงพอใจนอ้ ยทสี่ ุด
คา่ เฉลี่ย 1.50 – 2.49
ค่าเฉลี่ย 1.00 – 1.49

22

สมรรถนะทางวทิ ยาศาสตร์ตามแนวคดิ PISA

1. ความหมาย
ความฉลาดร้ดู า้ นวิทยาศาสตร์

2. การจำแนกประเภท กรอบการประเมนิ ออกเป็น 3 สมรรถนะ ดงั นี้
1. การอธิบายปรากฏการณใ์ นเชงิ วทิ ยาศาสตร์ (Explain Phenomenon Scientifically)
การอธิบายปรากฏการณ์ในเชิงวิทยาศาสตร์ หรือ EPS (Explaining Phenomena

Scientifically) หมายถึง การอธิบายปรากฏการณโ์ ดยใช้ความร้วู ิทยาศาสตร์ที่สมเหตุสมผลกับประจักษ์
พยาน(ข้อมูล) ท่ีมี และยังรวมถึงความสามารถท่ีจะบรรยาย ตีความปรากฏการณ์ พยากรณ์จาก
ประจักษ์พยานทางวิทยาศาสตร์ รวมถึงการประเมินความสมเหตุสมผลของคำอธิบายปรากฏการณ์
(หลักฐานอ้างอิงสนับสนุนคำอธิบาย) สมรรถนะด้านการอธิบายปรากฏการณ์ในเชิงวิทยาศาสตร์
จำแนกเปน็ 5 สมรรถนะยอ่ ย แต่ละสมรรถนะย่อยแทนดว้ ยสญั ลกั ษณ์ A1-A5 ดังนี้

1.1 = A1 นำความรู้ทางวทิ ยาศาสตรม์ าสร้างคำอธบิ ายอยา่ งสมเหตุสมผล
หมายถึง การรับรู้ปรากฏการณ์ในเชิงวิทยาศาสตร์ท่ีเกิดข้ึนและระบุประเด็นที่

ตอ้ งการคำอธิบายให้กับปรากฏการณน์ ั้น ประเมินความรู้ทางวทิ ยาศาสตรเ์ ดิมทีม่ ีมาก่อนพรอ้ มท้ังเสนอ
คำอธบิ ายทสี่ อดคลอ้ งกบั ประจักษ์พยาน (ขอ้ มลู ) ทางวทิ ยาศาสตรท์ ่ีมี

1.2 = A2 ระบุ ใช้ สร้างตัวแบบ และนำเสนอขอ้ มลู เพ่อื ใช้ในการอภปิ ราย
หมายถึง การระบุ หรือสร้างตัวแบบ (Model) เพ่ือใช้ประกอบคำอธิบาย

ปรากฏการณ์ในเชิงวทิ ยาศาสตร์ โดยเฉพาะเม่ือคำอธบิ ายนัน้ มลี กั ษณะเปน็ นามธรรม ดังนัน้ ตวั แบบทม่ี ี
อยู่จึงใช้สำหรับอ้างอิงหรือสนับสนุนการอธิบายน้ัน ตัวอย่างคำอธิบายปรากฏการณ์ในเชิงวิทยาศาสตร์
เช่น การอธิบายโครงสร้างของ DNA หรือ RNA ด้วยตัวแบบสามมิติ การอธิบายโครงสร้างโมเลกุลของ
น้ำด้วยตัวแบบสามมติ ิ เปน็ ตน้

1.3 = A3 เสนอสมมตฐิ านเพื่อใชใ้ นการอธบิ าย หมายถงึ
1) ความสามารถท่ีจะอธิบาย/ให้เหตุผลกับการเกิดปรากฏการณ์ในเชิงวิทยาศาสตร์

ใหม่ท่ีพบว่ามีบางประเด็นท่ีแตกต่างจากความรู้ทางวิทยาศาสตร์เดิมท่ีมีมาก่อน เม่ือประเด็นดังกล่าว
“คาดว่าน่าจะเป็นสาเหตทุ ำให้ปรากฏการณ์ในเชิงวิทยาศาสตร์ใหมน่ ั้น” เช่น ความรูท้ างวิทยาศาสตร์
เดมิ ท่ีมมี ากอ่ นคอื contractile vacuole ของ paramecium จะมกี ารยดื และหดตัวเพ่ือปรับสมดลุ ของ
น้ำภายในเซลล์ ปรากฏการณ์ ในเชิงวิทยาศาสตร์ใหม่ที่พบและมีประเด็นที่แตกต่างจากความรู้เดิมที่มี
มาก่อนคือ สังเกตพบว่า contractile vacuole ของparamecium ท่ีเลย้ี งใน media ท่ีแตกต่างกัน จะ
มีอัตราการยืดและหดตัวของ contractile vacuole แตกต่างกัน ดังนั้น สมมติฐานที่นำเสนอเพ่ือ
อธิบายเหตุผลของปรากฏการณ์การยืดและหดตัวของ contractile vacuole แตกต่างกันว่า เพราะ
media ท่ีใช้เลี้ยง paramecium มีความเข้มข้นแตกต่างกันจึงมีผลต่ออัตราการยืดและหดตัวของ

23

contractile vacuole ซึ่งตามกฎของการแพร่ เมื่อสารสารละลายมีความต่างศักย์ของความเข้มข้น
อัตราการแพร่ของสารละลายเป็นปฏิภาคตรงกับความเข้มของสารละลายนั้น ข้อมูลการทดลองจะใช้
อ้างอิงเพอ่ื สนบั สนุนหรอื ปฏิเสธสมมตฐิ าน

2) การคาดคะเนปรากฏการณ์ในเชิงวิทยาศาสตร์ที่ใหม่คาดว่าจะเกิดข้ึน เมื่อสังเกต
พบว่า มีประเด็นใหม่ทีแ่ ตกต่างจากความรู้ทางวทิ ยาศาสตรเ์ ดมิ ท่ีมีมาก่อน และประเด็นดังกล่าวคาดว่า
น่าจะที่ทำให้เกิดปรากฏการณ์ในเชิงวิทยาศาสตร์ใหม่ท่ีแตกต่างจากความรู้เดิมที่มีมาก่อน เช่น ความรู้
ทางวิทยาศาสตรเ์ ดิมท่ีมมี าก่อนคอื ใบพชื ทั่วไปจะมีสีเขียวเพราะสารท่ีเรียกว่าคลอโรฟลิ ล์ซง่ึ ทำหนา้ ท่ใี น
การสังเคราะห์ด้วยแสง แต่จากการสังเกตพบว่ามีใบพืชบางชนิดอาจจะเป็นบางส่วนหรือทั้งหมดของใบ
มสี อี ่ืนทไี่ ม่ใช่สีเขียว ผลการสงั เกตดังกล่าวคอื ประเด็นใหมท่ ี่แตกตา่ งจากความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์เดมิ ท่ีมี
มาก่อนและคาดว่าน่าจะมีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังน้ัน สมมติฐานท่ี
นำเสนอเพ่ืออธิบายปรากฏการณ์การมีสีอื่นของใบของพืชบางชนิดว่า ใบของพืชที่ถึงแม้จะมีสีอื่น
แท้จริงแล้วจะมีสีเขียวเป็นส่วนประกอบอยู่ด้วย ใบของพืชมีหน้าท่ีในการสังเคราะห์ด้วยแสง ดังน้ัน
ถงึ แมจ้ ะมสี ีอื่นยอ่ มต้องมีสีเขยี วเป็นส่วนประกอบเสมอ ข้อมลู การทดลองจะใช้อ้างองิ เพื่อสนับสนุนหรือ
ปฏิเสธสมมติฐาน

สมมติฐานท่ีนำเสนอเพ่ืออธิบายปรากฏการณ์ในเชิงวิทยาศาสตร์อย่างหน่ึงอย่างใด
ดังกล่าวมาแล้ว เมื่อนำเสนอแล้ว สมมติฐานนั้นต้อง: 1 ) ไม่เป็นความรู้ทางวิทยาศาสตร์เดิมท่ีมีมาก่อน
2) อา้ งอิงความรูท้ างวิทยาศาสตร์ทีเ่ ป็นความรเู้ ดมิ มากอ่ นเพ่อื สนับสนนุ สมมติฐานท่นี ำเสนอน้นั และ 3)
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เดิมท่ีมาก่อนและนำมาอ้างอิงเพื่อสนับสนุนสมมติฐานต้องสอดคล้องกับ
ปรากฏการณใ์ นเชงิ วทิ ยาศาสตรใ์ หม่ท้ังทเี่ กิดขึน้ แล้วหรือคาดว่าจะเกดิ

1.4 = A4 พยากรณก์ ารเปลีย่ นแปลงในเชิงวทิ ยาศาสตรโ์ ดยใช้ความเป็นเหตเุ ปน็ ผลท่เี ป็นไปได้
หมายถึง การให้คำอธิบายกับปรากฏการณ์ในเชิงวิทยาศาสตร์ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นโดย

อา้ งอิงความรู้ทางวิทยาศาสตรเ์ ดมิ ทมี่ ีมาก่อนการพยากรณ์ จำแนกเปน็ 2 ลกั ษณะ
ลักษณะแรก เป็นการพยากรณ์เป็นขอ้ มลู การสังเกต พยากรณโ์ ดยเช่ือมโยงขอ้ มูลการ

สังเกตนั้นกับปรากฏการณ์ในเชิงวิทยาศาสตร์ท่ีเคยเกิดขึ้นแล้ว และมีเง่ือนไขของการเกิดเช่นเดียวกับ
ข้อมูลการสังเกตท่ีอยู่ เช่น นายโชคดีรู้ว่า ทุกคร้ังท่ีนายเสียสละชวนนายสมชายไปทานอาหารกลาง
วันท่ีร้าน นายเสียสละเป็นฝ่ายจ่ายเงนิ ทุกครงั้ (ปรากฏการณ์ในเชงิ วิทยาศาสตร์ท่เี คยเกิดขึ้นแล้ว) วันน้ี
โชคดีเห็นนายเสียสละชวนนายชมชายไปทานอาหารกลางวันเหมือนเดมิ (ข้อมลู การสงั เกตทีเ่ ป็นเงอื่ นไข
ซ่ึงจะนำมาสู่การพยากรณ์) นายโชคดีนึกพยากรณ์ในใจว่า วันนี้นายเสียสละต้องเป็นฝ่ายจ่ายค่าอาหาร
เหมือนเดิม (คำพยากรณ์ปรากฏการณ์ในเชิงวิทยาศาสตร์ท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึนตามเง่ือนไขของข้อมูลการ
สังเกตคือ นายเสียสละพานายสมชายไปทานอาหารกลางวนั )

24

ลักษณะท่ีสอง เป็นการพยากรณ์เป็นข้อมูลเชิงปริมาณ พยากรณ์โดยใช้ความสัมพันธ์แบบ
ฟงั ชนั กร์ ะหวา่ งตวั แปรอิสระและตัวแปรตาม หรืออาจกล่าวว่า เป็นการพยากรณโ์ ดยใช้ข้อมูลจากกราฟ
โดยแกน x คือตัวแปรอิสระ ส่วนแกน y คือตัวแปรตาม ทุก ๆ ตำแหน่งบนเส้นกราฟล้วนมีค่าเชิง
ปริมาณอย่างใดอย่างหนึ่งทั้งหมดท่ีเกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระกับตัวแปรตาม ดังนั้น
การพยากรณ์คือการระบุค่าใด ๆ ที่มิได้แสดงในกราฟน้ัน ความถูกต้องของการพยากรณ์จึงอ้างอิงตาม
ความสมั พนั ธแ์ บบฟังชันกร์ ะหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตามท่พี บ

1.5 = A5 อธบิ ายถงึ ศักยภาพของความรทู้ างวิทยาศาสตร์ที่สามารถนาํ ไปใช้เพื่อสงั คม

2. การประเมินและออกแบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ (Evaluated
and Design Scientific Enquiry)

หมายถึง ความสามารถในการอธิบายและประเมินคุณค่าของการสำรวจตรวจสอบทาง
วิทยาศาสตร์ และนำเสนอแนวทางพร้อมทั้งดำเนินการสำรวจตรวจสอบเพ่ือตอบคำถามอย่างเป็น
วิทยาศาสตร์ สมรรถนะการประเมินและออกแบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
จำแนกเปน็ 5 สมรรถนะย่อย แต่ละสมรรถนะย่อยแทนดว้ ยสญั ลักษณ์ B1-B5 ดังนี้

2.1 = B1 สามารถระบุประเด็นของปัญหาที่ต้องการสำรวจตรวจสอบจากการศึกษาทาง
วิทยาศาสตร์

เมอ่ื อ้างถงึ ปรัชญาวทิ ยาศาสตรแ์ นวใหม่ที่กล่าวว่า ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เป็นความรู้ท่เี กิด
จากการสร้างสรรค์ของแต่ละบุคคลซ่ึงมีอิทธิพลมาจากความรู้ทางวิทยาศาสตร์เดิมท่ีมีมาก่อน และ
อิทธิพลจากสิ่งแวดล้อมหรือบริบทของสังคม ดังนั้น สมรรถนะด้านความสามารถระบุประเด็นของ
ปัญหาท่ีต้องการสำรวจตรวจสอบจากการศึกษาทางวิทยาศาสตร์จึงหมายถึง ความสามารถในการ
คน้ พบประเด็นใหมท่ ีแ่ ตกต่างจากความรู้ทางวิทยาศาสตรเ์ ดมิ ท่ีมีมาก่อน และจากสิ่งแวดลอ้ มหรือบรบิ ท
ของสังคม ประเด็นใหม่ท่ีค้นพบดังกล่าวจะถูกนำมากำหนดเป็นประเด็นของปัญหาที่ต้องคิดค้นหา
คำตอบหรือตรวจสอบโดยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ผลจากรตรวจสอบหรือ
คำตอบของปัญหาคือการตอ่ ยอดความรทู้ างวิทยาศาสตรเ์ ดิมทีม่ ีมาก่อน

2.2 = B2 แยกแยะได้ว่าประเด็นปัญหา หรือ คำถามใดสามารถตรวจสอบโดยวิธีการทาง
วทิ ยาศาสตร์

ถ้าวิเคราะห์แต่ละตัวชี้วัดของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์นั้นจะพบว่า เมื่อใช้
แหลง่ ท่ีมาของเปน็ เกณฑ์ วิธกี ารสำรวจตรวจสอบประเดน็ ของปัญหาโดยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้
ทางวิทยาศาสตรน์ ั้น จำแนกเป็น 3 ประเภทคือ ประเด็นของปญั หาทตี่ ้องตรวจสอบโดย: 1) วิธีการทาง
วิทยาศาสตร์ อาจเรียกว่า ปัญหาการทดลอง 2) การวัด นับ หรือการสังเกต อาจเรียกว่าปัญหาการ
สำรวจ และ 3) การสบื ค้น เช่น ขอ้ มลู จากเอกสาร จากวทิ ยากร หรอื จากวดิ ีโอ เป็นต้น

25

อาจเรยี กว่าปญั หาการสบื ค้น สำหรับประเด็นของปัญหาทตี่ ้องตรวจสอบโดยวิธกี ารทางวทิ ยาศาสตรน์ ั้น
มีลักษณะทสี่ ำคญั คือ

1) สามารถเสนอสมมติฐานเพ่ืออธิบายปรากฏการณ์ในเชิงวิทยาศาสตร์ใหม่ที่เกิดแล้ว
หรือทีค่ าดว่าจะเกดิ ขอ้ มูลการทดลองจะเปน็ หลักฐานเพอื่ สนับสนุนหรอื ปฏิเสธสมมตฐิ านท่ีนำเสนอนั้น

2) ต้องมีการกำหนดและควบคุมตัวแปรของการทดลองคือ ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม
และตัวแปรทต่ี อ้ งควบคุม ทง้ั นเ้ี พื่อใหเ้ กิดสภาพแวดลอ้ มการทดลองตามเง่ือนท่ีเป็นประเด็นของปญั หา

3) ข้อมูลการทดลองเกิดขึ้นจากการจัดสภาพแวดล้อมให้สอดคล้องกับเงื่อนไขท่ีเป็น
ประเด็นของปัญหา หรือสอดคล้องกับตัวแปรอิสระ ข้อมูลการทดลองอาจเป็นเชิงปริมาณ (ข้อมูลจาก
การวัด หรอื นับ) หรือข้อมูลเชงิ คุณภาพ (ขอ้ มูลจากการสังเกต)

2.3 = B3 เสนอวธิ กี ารตรวจสอบปญั หาทางวิทยาศาสตร์ทก่ี ำหนดให้
เม่ือวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ปัญหาทาง

วิทยาศาสตร์ท่ีต้องสำรวจตรวจสอบจากการศึกษาทางวิทยาศาสตร์จำแนกเป็น 3 ประเภทเม่ือใช้
แหลง่ ที่มาของขอ้ มลู เปน็ เกณฑ์ ซึง่ กลา่ วถึงแล้วในการกล่าวถึงสมรรถนะด้าน B2

2.4 = B4 ประเมินวิธสี ำรวจตรวจสอบปญั หาทางวทิ ยาศาสตรท์ กี่ ำหนดให้
วิธีสำรวจตรวจสอบของแต่ละปัญหาทางวิทยาศาสตร์ตามที่เลือกแล้วน้ัน แม้

วัตถุประสงค์ของอย่างเดียวกัน แต่วิธีการสำรวจตรวจสอบนั้นสามารถออกแบบอย่างหลากหลาย
รูปแบบ ขึ้นอยู่กับแนวคิดและความรู้ที่มีของผู้ออกแบบ แต่ละรูปแบบที่ออกแบบแล้วน้ันอาจมีข้อดี
ข้อเสีย และส่วนที่ปรับปรุงแก้ไขแตกต่างกัน ดังนั้น ก่อนลงมือปฏิบัติการสำรวจตรวจสอบปัญหาทาง
วิทยาศาสตรต์ ามวิธกี ารทเ่ี ลอื กและออกแบบ จึงควรมีการประเมินรปู แบบวิธกี ารท่อี อกแบบโดยมีเกณฑ์
การประเมินคือ รูปแบบท่ีประเมินแล้วต้องมีปัจจัยจำกัดน้อยสุดแต่ให้ผลการสำรวจตรวจสอบปัญหา
ทางวทิ ยาศาสตรท์ ก่ี ำหนดถูกต้องและแมน่ ยำมากท่ีสดุ

2.5 = B5 บรรยายและประเมินวิธีการต่าง ๆ ท่ีนักวิทยาศาสตร์ใช้ในการยืนยันความ
น่าเชอ่ื ถอื ของข้อมลู ความเปน็ กลาง และการสรปุ อ้างองิ

เพ่ือความเข้าใจข้อความของสมรรถนะด้าน B5 ต้องเข้าใจแต่ละคำสำคัญท่ีปรากฏใน
ขอ้ ความดังสมรรถนะระบุ ดังน้ี

1. ข้อมูล (ประจักษ์พยาน) หมายถึง ส่ิงที่ใช้ในการยืนยัน สนับสนุน อ้างอิงผลการ
ตรวจสอบปัญหาทางวิทยาศาสตร์ที่กำหนด ข้อมูลปรากฏอยู่ทุกหนทุกแห่งเราสามารถรับข้อมูลด้วย
เครื่องมือรับอย่างใดอย่างหนึ่งตามลักษณะของข้อมูลที่เราต้องการ เกณฑ์สำหรับจำแนกประเภทของ
ข้อมูลมี 3 เกณฑท์ ส่ี ำคญั คอื

1) จำแนกตามเกณฑ์เครื่องมือรวบรวมข้อมูล ข้อมูลจำแนกเป็น 5 ประเภทคือ
ข้อมลู การวดั การนบั การสงั เกต ข้อมูลการทดลอง และข้อมูลจากแหล่งสบื คน้

26

2) จำแนกตามเกณฑ์แหล่งที่มาของข้อมูล ข้อมูลจำแนกเป็น 2 ประเภทคือ
ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) หมายถึง ข้อมูลท่ีผู้ต้องการใช้รวบรวมด้วยตัวเองโดยใช้เครื่องมือท่ี
เหมาะสม และขอ้ มูลทุติยภูมิ (Secondary Data) หมายถึง ข้อมูลท่มี ผี ูร้ วบรวมก่อนหน้าแล้ว ผตู้ อ้ งการ
ใช้ขอ้ มลู สามารถรับขอ้ มลู ประเภทนด้ี ้วยช่องทางการสื่อสารต่างๆ

3) จำแนกตามเกณฑ์ผลการรวบรวมข้อมูล จำแนกข้อมูลเป็น 2 ประเภทคือ
ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) หมายถึง ข้อมูลท่ีมีหน่วยวัดหรือนับกำกับตัวเลขที่ได้จากการ
วัดหรือนับ และข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) หมายถึง ข้อมูลท่ีไม่มีหน่วยวัดหรือนับกำกับ
เปน็ ข้อมูลเกีย่ วกบั คณุ ลักษณะ การเปลย่ี นแปลง และสภาวะที่ดำรงอยู่ ณ เวลาทที่ ำการรวบรวมขอ้ มลู

2. วธิ ีการรวบรวมข้อมลู เม่ืออ้างอิงหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานเป็นเกณฑ์
ปญั หาทางวิทยาศาสตร์ท่ีตอ้ งการสำรวจตรวจสอบจำแนกเป็น 3 ลักษณะดังกล่าวในสมรรถนะด้าน B2
แล้ว วิธกี ารรวบรวมขอ้ มูลทางวทิ ยาศาสตร์จำแนกเปน็

1) ข้อมูลเชิงคุณภาพและเป็นข้อมูลปฐมภูมิ ใช้วิธีการสังเกต วิธีการสัมภาษณ์
การสนทนากล่มุ

2) ขอ้ มลู เชิงปริมาณและเป็นขอ้ มูลปฐมภูมิ ใชว้ ิธกี ารวัด นับ และการทดลอง
3) ข้อมูลจากแหล่งสืบค้นและเป็นข้อมูลทุติยภูมิ ใช้วิธีการสืบค้นจากแหล่ง
สบื ค้นจากแหล่งสบื คน้ ต่างๆ
3. เคร่ืองมือรวบรวมข้อมูล หมายถึง เครื่องมือท่ีใช้รับข้อมูล เคร่ืองมือรวบรวมมูล
จะตอ้ งสอดคล้องลกั ษณะของขอ้ มลู ทีต่ อ้ ง เครือ่ งมอื รวบรวมรวมขอ้ มลู จำแนกตามลกั ษณะข้อมูล ดังน้ี
1) ข้อมูลเชิงปริมาณ ใช้เคร่ืองมือวัดและนับทุกชนิดซ่ึงข้อมูลที่รวบรวมข้อมูล
ดว้ ยเคร่อื งมอื ประเภทน้ตี อ้ งมีหน่วยวัดและกำกับเสมอ
2) ข้อมูลเชิงคุณภาพ การใช้ประสาทสัมผัสท้ัง 5 หรือการสังเกตของผู้รวบรวม
ข้อมูลเป็นเคร่ืองมือสำคัญสำหรับการรวบรวมข้อมูล การรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพทางวิทยาศาสตร์
บางคร้ังอาจต้องมีเคร่ืองมือช่วย เช่น กล้องจุลทรรศน์ ตัว indicator ต่าง ๆ และการสัมภาษณ์เป็นอีก
เครอื่ งมือประเภทหนึ่งท่สี ำคญั สำหรับการใช้รวบรวมเชิงคณุ ภาพ
4. วิธีการรวบรวมข้อมูล หมายถึง 1) การวางแผน 2) การปฏิบัติการรวบรวมข้อมูล
ดว้ ยวิธกี ารและเครื่องมอื รวบรวมมลู ท่เี ลอื กหรอื ออกแบบแล้ว และยงั รวมถึงวธิ ีการบนั ทกึ ขอ้ มลู
5. ความน่าเช่ือถือของข้อมูล หมายถึง ข้อมูลที่ทำการรวบรวมด้วยเครื่องมืออย่างใด
อย่างหนึ่ง วิธกี ารใดวิธีการหน่ึงมีความเช่ือมั่นว่าถูกต้อง ผลคือทำใหค้ ำตอบของปัญหาทางวทิ ยาศาสตร์
ท่ีทำการสำรวจตรวจสอบนั้นถูกต้อง และมีความเช่ือม่ันท่ีนำมาสู่การสรุปอ้างอิง แต่อย่างไรก็ตาม ใน
การดำเนนิ การตรวจสอบปัญหาทางวิทยาศาสตรน์ ั้น ข้อมูลท่ีทำการรวบรวมอาจมีความคลาดเคล่อื นซึ่ง
มผี ลต่อความนา่ เชอื่ ถือของข้อมลู ความคลาดเคลือ่ นของข้อมลู มาจากปัจจยั ทีส่ ำคัญ 3 ประการคอื

27

1) จากเคร่ืองมอื ทีใ่ ช้รวบรวมขอ้ มูล สาเหตุความคลาดเคลื่อนมาจาก
1.1) ความเชื่อมน่ั ของเคร่ืองมือ (Reliability หรือ Precision) เคร่ืองมือที่มี

ความเช่ือมั่น หมายถึง เครื่องมือท่ีใช้วดั นับ สังเกต ของส่ิงเดียว แม้ทำซ้ำกันหลายครัง้ ยังคงให้ผลจาก
การวัด นบั หรอื สังเกตเหมือนกันทกุ คร้งั

1.2) ความถูกต้องของเครื่องมือ (Accuracy) เคร่ืองมือท่ีมีความถูกต้อง
หมายถึง เม่ือนำผลจากการวัด นับด้วยเคร่ืองมือท่ีอยู่ไปเทียบกับการเคร่ืองมือมาตรฐาน จะต้องให้ผล
การวดั หรอื นับนน้ั เทา่ กนั

1.3) ความไวของเคร่ืองมือ (Sensitivity) หมายถึง ค่าละเอียดหรือ scale
ต่ำสุดท่ีเครื่องมือน้ันสามารถวัดหรือนับได้ ข้อมูลการวัดหรือนับจากเครื่องมือค่าละเอียดต่างกัน จะทำ
ให้ผลการวัดและนับแตกต่างกัน สำหรับข้อมูลเชิงคุณภาพ ความไวของเครื่องมือ หมายถึง ความ
ละเอยี ดลออในการสังเกตและการสัมภาษณ์

2) จากผู้ใชเ้ คร่ืองมือรวบรวมข้อมลู ความคลาดเคลอ่ื นของข้อมลู จากผู้ใช้เครื่อง
มือประกอบด้วย

2.1) การเลอื กใช้เครื่องมือท่วี ัด นบั หรือสงั เกตไม่สอดคลอ้ งกบั ลักษณะของ
หน่วยขอ้ มูลทต่ี ้องการวัดหรอื นับ

2.2) ทักษะการใช้เครื่องมือเพ่ือวัด นับสังเกตหน่วยข้อมูลที่ต้องการวัด นับ
หรือสังเกต

2.3) ความละเอียดลออในการอ่านค่าทเี่ ปน็ ผลจากการวดั นบั หรอื สงั เกต
2.4) ความเข้าใจในการวัดหรือนับหน่วยข้อมูลการวัด นับ ที่สำคัญคือ ต้อง
เข้าใจว่าหน่วยข้อมูลลักษณะใดท่ีเมื่อวัดหรือนับแล้วต้องแสดงผลด้วยค่าเฉล่ีย ลักษณะใดท่ีไม่ต้อง
แสดงผลด้วยค่าเฉลี่ย
2.5) ความเข้าใจวิธีการสุ่มหน่วยข้อมูลท่ีต้องวัดเพ่ือเป็นตัวแทนผลการวัด
หรือนับกรณีที่ผลการวัดหรือนบั นนั้ ตอ้ งใชค้ า่ เฉลีย่
3) จากผลการคำนวณ ข้อมูลท่ีใช้สำหรับการตรวจสอบบางปัญหาทาง
วิทยาศาสตรอ์ าจต้องนำเสนอในลักษณะท่ีเป็นผลจากการคำนวณด้วยวิธีการทางคณิตศาสตร์ เช่น การ
คำนวณหาคา่ เฉล่ยี หาค่ารอ้ ยละ การกำหนดหน่วยทศนยิ มท่เี ป็นผลจากการวดั หรอื นับ เป็นตน้
6. ความเป็นกลาง หมายถึง การยอมรับ หรือ ปฏิเสธข้อมูลท่ีเป็นผลจากการรวบรวม
โดยปราศจากอคติ หรอื ความคิดเหน็ ใด ๆ ของผ้รู วบรวมขอ้ มูล
7. การสรุปอ้างอิง หมายถึง การนำสารสนเทศของข้อมูลชุดหนึ่งของปัญหาทาง
วิทยาศาสตร์ท่ที ำการสำรวจตรวจสอบมาตีความ หรอื ขยายความ เป็นความร้วู ิทยาศาสตร์อยา่ งใดอย่าง
หนึง่

28

3. การแปลความหมายข้อมูลและการใช้ประจักษ์พยานทางวิทยาศาสตร์ (Interpret Data
and Evidence Scientifically)

การแปลความหมายข้อมูลและการใช้ประจักษ์พยานทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง การให้
คำอธิบายปรากฏการณ์ในเชิงวิทยาศาสตร์ โดยใช้ข้อมูลและประจักษ์พยานทางวิทยาศาสตร์ (ซ่ึงเป็น
หลักฐานเชิงประจักษ์อ้างอิงเพ่ือสนับสนุนการให้คำอธิบายนั้น การแปลความหมายข้อมูลและการใช้
ประจักษ์พยานทางวิทยาศาสตร์ จำแนกเป็นเป็น 5 สมรรถนะย่อย แต่ละสมรรถนะย่อยแทนด้วย
สญั ลักษณ์ C1-C5 ดงั น้ี

3.1 = C1 การแปลงขอ้ มูลทีน่ ำเสนอในรปู แบบหนึ่งไปสู่รูปแบบอนื่
การแปลงข้อมูลท่ีนำเสนอหรือที่มีจากรูปหนึ่งไปสู่รูปแบบอ่ืนที่แตกต่างจากเดิมมี

จุดประสงค์เพ่ือให้เขา้ ใจขอ้ มูลน้ันง่ายขนึ้ ซงึ่ จะนำมาสู่การวิเคราะห์ ลงข้อสรปุ และอธบิ ายปรากฏการณ์
ในเชิงวิทยาศาสตร์ตามความสัมพันธ์ของข้อมูลน้ัน การแปลงข้อมูลที่นำเสนอจะต้องกระทำเสมอเมื่อ
ข้อมูลนั้นมาจากผลสำรวจตรวจสอบแต่ละปัญหาทางวิทยาศาสตร์ด้วยวิธีการที่ออกแบบน้ัน กล่าวคือ
ข้อมูลทท่ี ำการรวบรวมและบันทึกในระยะแรกน้ันจัดเป็นข้อมูลดิบ (Raw Data) ขาดความเป็นระเบียบ
ยากที่จะหาความสัมพันธ์อย่างใดอย่างหน่ึงตามวัตถุประสงค์ของการสำรวจตรวจสอบ ข้อมูลดังกล่าว
จำเป็นต้องนำมาจัดกระทำและส่ือความหมาย (Data Organization and Communication) ด้วย
วิธีการและรูปแบบท่ีเหมาะสม เช่น จัดกระทำข้อมูลเช่น แปลงเป็นค่าร้อยละ การหาค่าเฉลี่ย การ
บรรยายเขียนใหม่ด้วยความเข้าใจของตนเอง โดยต้องปราศจากความคดิ เหน็ สว่ นตัว (logic approach)
การจัดกลุ่ม การใช้สัญลักษณ์ เป็นต้น ส่วนรูปแบบการสื่อความหมาย เช่น กราฟ ตาราง แผนภูมิ
รูปแบบต่าง ๆ ซ่ึงรวมถึงแผนผังความคิด เป็นต้น ส่วนข้อมูลรูปแบบอื่นน้ัน การแปลงข้อมูลท่ีนำเสนอ
จะใช้วิธีการและรูปแบบใด ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการนำเสนอ เช่น การแปลข้อมูลที่ต้องการเสนอ
ผลของความสัมพันธ์แบบฟังก์ชันระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม โดยการใช้กราฟจะทำให้สื่อ
ความหมายข้อมูลนัน้ งา่ ยกว่าการใช้ตาราง เปน็ ต้น

3.2 = C2 การวเิ คราะห์และแปลความหมายประจักษ์พยาน (ข้อมูล) ทางวิทยาศาสตร์และ
ลงข้อสรุป

การวิเคราะห์และแปลความหมายประจักษ์พยาน (ข้อมูล) ทางวิทยาศาสตร์และลง
ข้อสรุป หมายถึง การนำข้อมูลของปรากฏการณ์ในเชิงวิทยาศาสตร์ที่แปลอยู่ในรูปแบบท่ีเหมาะสม
วิเคราะห์แยกแยะเพือ่ หาความสมั พันธ์อย่างใดอยา่ งหนึง่ ความสมั พันธ์ที่คน้ พบจะถูกนำมาอ้างองิ เพอ่ื ลง
ข้อสรุปเป็นคำอธิบาย ปรากฏการณ์ในเชิงวิทยาศาสตร์ท่ีเกิดจากข้อมูลน้ัน เมื่อใช้กรอบของทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นเกณฑ์ วิธีการวิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลจำแนกเป็น การ
คำนวณ การพยากรณ์ การเสนอสมมติฐาน การลงความคิดเห็น และการตีความและลงข้อสรุป สำหรับ
การวิเคราะห์และการแปลความหมายขอ้ มูลด้วยวิธีเสนอสมมตฐิ าน การพยากรณ์ PISA กำหนดให้เป็น

29

สรรถนะ A3-A4 แล้ว ดังน้ันในที่น้ีจึงขอกล่าวเฉพาะการวิเคราะห์และแปลความหมายประจักษ์พยาน
(ขอ้ มูล) ทางวทิ ยาศาสตร์และลงขอ้ สรปุ ด้วยวธิ ีการคำนวณ การลงความคิดเหน็ และการตีความ และลง
ข้อสรปุ ขอ้ มลู ดงั นี้

1. การคำนวณ เปน็ วิธีการวิเคราะหข์ อ้ มลู เชิงปริมาณทีใ่ ชว้ ธิ กี ารทางคณิตศาสตร์ สว่ น
จะใช้วิธีใดขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์การวิเคราะห์คำตอบของวิธีการทางคณิตศาสตร์ที่ใช้ คือผลลงข้อสรุป
ข้อมูล ซง่ึ จะอ้างองิ ความถูกต้องดว้ ยวธิ กี ารทนี่ ำมาวเิ คราะห์และความถูกตอ้ งของคดิ คำนวณ

2. การตีความและลงข้อสรุปข้อมูล ( interpreting data conclusion) มักเป็นการ
วิเคราะห์ข้อมูลดิบอาจเป็นข้อมูลการทดลอง การวัด การสังเกต การนับ หรือ ที่ถูกแปลงเพ่ือนำเสนอ
ด้วยรูปแบบท่ีเหมาะสม ผลการลงข้อสรุปข้อมูลคือปรากฏการณ์ในเชิงวิทยาศาสตร์โดยอ้างอิง
ความสัมพันธ์ที่พบในชุดของข้อมูลน้ัน ซึ่งก็คือสารสนเทศเฉพาะท่ีเป็นขอบเขตของข้อมูลที่ทำการ
วิเคราะห์ และข้อมูลบางชุดอาจต้องมีการตีความขยายสารสนเทศเป็นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ด้าน
เน้ือหาอย่างใดอย่างหน่ึง ความถูกต้องของการตีความจะอ้างอิงสารสนเทศของข้อมูลที่ทำการวิเคราะห์
ก่อนหนา้ แล้ว

3. การลงความคิดเห็น (Inference) เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลการสังเกตของ
ปรากฏการณ์ในเชิงวิทยาศาสตร์อย่างใดอย่างหน่ึง การรับรู้ข้อมูลอาจรับรู้เฉพาะหน้าหรือช่องทางการ
สื่อสาร ผลการลงข้อสรปุ ข้อมลู คือ การอธิบายปรากฏการณ์น้ันโดยอ้างอิงเหตุการณ์/ประสบการณ์เดิม
ท่ีสอดคล้องกับข้อมูลการสังเกตน้ัน การลงความเห็นไม่จำเป็นต้องมีการพิสูจน์เหมือนการนำเสนอ
สมมติฐาน ความถูกต้องของการลงความคิดเห็นขึ้นอยู่กับความละเอียดลออของข้อมูลการสังเกตและ
เหตุการณ์/ประสบการณ์เดมิ ท่ผี ้ลู งความคิดเห็นมมี าก่อน

3.3 = C3 ระบุข้อสันนษิ ฐาน ประจักษ์พยาน และเหตผุ ลในเรื่องที่เกีย่ วกับวิทยาศาสตร์
PISA 2015 กล่าวถึง สมรรถนะด้าน C3 ว่า เป็นสมรรถนะการใช้ประจักษ์พยานทาง

วิทยาศาสตร์ซ่ึงใช้คำย่อว่า USE (Using Scientific Evidence) วัตถุประสงค์ของสมรรถนะต้องการให้
นกั เรียนรคู้ วามหมายและความสำคัญของส่ิงที่คน้ พบจากการคน้ คว้าทางวิทยาศาสตร์ และนำมาใช้เป็น
พื้นฐานของการคิด การลงข้อสรปุ การบอกเล่า และการสอื่ สาร ประจักษ์พยานทางวิทยาศาสตร์ต้องใช้
ความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ความรดู้ ้านเนื้อหา หรอื ด้านกระบวนการ หรอื ทง้ั สองด้านรว่ มกัน

ประจักษ์พยานทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Evidence) หมายถึง หลักฐานเชิง
ประจักษ์ (Empirical Evidence) ท่ีใช้สำหรับอ้างอิงเพ่ือท่ีจะสนับสนุนหรือปฏิเสธปรากฏการณ์ในเชิง
วิทยาศาสตร์ ทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Theory) หรือสมมติฐานอาจเปล่ียนแปลงได้ถ้ามี
ประจักษ์พยานทางวิทยาศาสตร์ท่ีดีกว่า เช่น เม่ือก่อนเช่ือทฤษฎีว่า โลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาล
เพราะประจักษ์พยานทางวิทยาศาสตร์ ณ เวลานั้น สังเกตเห็นว่าโลกอยู่กับที่โดยมีดวงดาวและดวง
อาทิตย์เคลื่อนที่รอบโลก แต่ต่อมามีประจักษ์ทางวิทยาศาสตร์ใหม่เก่ียวกับการเคล่ือนที่ของจักวาลและ

30

โลกเคลื่อนท่ีรอบดวงอาทิตย์ไปพร้อมกับการเคลอ่ื นท่ีของจักวาล ทฤษฎีเช่อื ว่าว่าโลกเป็นศนู ย์กลางของ
จกั รวาลจึงถูกยกเลิก และการเคลื่อนที่ของโลกถูกสร้างเป็นข้อเท็จจริงใหม่ เป็นต้น ประจักษ์พยานทาง
วิทยาศาสตร์ เกิดข้ึนจากข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ที่สร้างขึ้น ณ เวลาหนึ่ง และอาจเปล่ียนแปลงได้ถ้ามี
ประจักษ์พยานอ่ืนท่ีดีกว่า ยกเว้นถ้าประจักษ์พยานน้ันเป็นความจริง (Truth) ประจักษ์พยานทาง
วิทยาศาสตร์สร้างข้ึนจากการใช้: ข้อมูลการสังเกต ข้อเท็จจริง การให้เหตุผลแบบอุปนัย (Inductive
Reasoning) การให้เหตุผลแบบนิรนัย (Deduction Reasoning) การสำรวจตรวจสอบ (testing) และ
การประเมิน (Evaluation) มาตรฐานของประจักษ์พยานทางวิทยาศาสตร์ของสาขาวิชาต่างกัน อาจ
ต่างกัน ผลการวิเคราะห์ทางสถิติ (Statistical Analysis) ท่ีถูกต้องและแม่นยำ ความสามารถของ
ควบคุมทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Controls) เช่น ตัวแปรทางวิทยาศาสตร์จัดว่าเป็นประจักษ์ทาง
วทิ ยาศาสตรท์ ่ีน่าเชือ่ ถือมากทส่ี ุด

3.4 = C4 แยกแยะระหว่างข้อโต้แย้งท่ีมาจากประจักษ์พยาน และทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์
กับทมี่ าจากพิจารณาสงิ่ อืน่

3.5 = C5 ประเมินข้อโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์และประจักษ์พยานจากแหล่งท่ีมาที่
หลากหลาย (เช่นหนงั สอื พมิ พ์ อินเทอรเ์ น็ต และวารสาร)

การโต้แยง้ ทางวทิ ยาศาสตร์ หมายถึง การที่บคุ คลพยายามทีจ่ ะสรา้ งสนับสนุน คัดคา้ น
หรือปรับปรุงข้อกล่าวอ้างทางวิทยาศาสตร์ (Scientific claim) เพ่ือนำมาสู่การยืนยันความถูกต้องและ
การลงข้อสรุปท่ีน่าเช่ือถือ รวมถึงได้รับการยอมรับของนักวิทยาศาสตร์บนพื้นฐานของประจักษ์พยาน
ทางวทิ ยาศาสตร์

องค์ประกอบของการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ประกอบด้วย ข้อกล่าวอ้าง (Claim)
เหตุผลสนับสนุนข้อกล่าวอ้าง (Warrant) หลักฐานสนับสนุนเหตุผล (Evidence) ข้อกล่าวอ้างท่ีต่าง
ออกไป (Counter claim) และการโตแ้ ย้งกลับ (Rebuttal) ซึง่ แต่ละองค์ประกอบมี (เอกภูมิ จนั ทรขนั ต
,2559) ให้รายละเอยี ดแต่ละองค์ประกอบ ดงั นี้

1. ข้อกล่าวอ้าง (Claim) เป็นการนำเสนอผลท่ีได้จากการศึกษา ค้นคว้า ทดลองหรือ
เป็นการนำเสนอความคิดเห็นของตนเองตอ่ ประเด็นซงึ่ กำลังเปน็ ทพ่ี ิจารณา

2. เหตุผลสนับสนุนข้อกล่าวอ้าง (Warrant) เป็นการใช้เหตุผลในการแสดง
ความสมั พนั ธร์ ะหว่างขอ้ มูลทไ่ี ด้จากการศกึ ษา คน้ คว้า ทดลองกับขอ้ กล่าวอา้ ง เพ่อื สนับสนุนให้ขอ้ กล่าว
อา้ งท่ีนำเสนอมีความน่าเชื่อถอื ซ่ึงเหตุผลสนับสนุนข้อกล่าวอา้ งนอี้ าจได้รบั การโต้แย้งหรือ คัดค้านจาก
ผู้อื่นกไ็ ด้

3. หลักฐานสนับสนุนเหตุผล (Evidence) เป็นการนำเสนอข้อเท็จจริงหรือข้อมูลเพื่อ
ประกอบการอธิบายเหตุผลท่ีใช้สนับสนุนข้อกล่าวอ้าง เพ่ือทำให้ข้อกล่าวอ้างน้ันเป็นที่ยอมรับ โดย
หลักฐานนั้นอาจได้มาจากการสังเกตปรากฏการณ์ต่าง ๆ โดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ซึ่งข้อเท็จจรงิ หรือ

31

ข้อมูลที่เป็นไปได้ เช่น สี กลิ่น รูปร่าง สถานะ เป็นต้น รวมถึงข้อเท็จจริงหรือข้อมูลได้จากการศึกษา
งานวิจัยหรือการทดลองอื่นท่ีมีผู้เก็บรวบรวมไว้แล้ว ท้ังนี้หลักฐาน สนับสนุน เหตุผลจะต้องมาจาก
แหล่งขอ้ มูลทมี่ ีความนา่ เช่ือถอื หรือสามารถทำการทดลองซำ้ แล้วให้ผลเช่นเดยี วกับผลท่ีนำเสนอ

4. ข้อกล่าวอ้างท่ีต่างออกไป (Counter claim) เป็นข้อโต้แย้งที่เกิดข้ึนจากการให้
เหตผุ ลตอ่ ข้อกลา่ วอา้ งที่มีผนู้ ำเสนอในตอนแรกซ่ึงแตกต่างไปจากเดมิ กล่าวคือ เปน็ การใหเ้ หตุผลตอ่ ข้อ
กล่าวอ้างจากมุมมองใหม่ ๆ ที่ผู้นำเสนอข้อกล่าวอ้างไม่ได้กล่าวถึง หรือไม่ได้นำมาพิจารณาไว้ในการ
นำเสนอข้อกล่าวอ้างในตอนแรก ทำให้ข้อกล่าวอ้างเดิมมีความน่าเช่ือถือน้อยลง เป็นกระบวนการที่
นำมาใช้เพื่อหาทางขจดั ขอ้ ผดิ พลาดของขอ้ กล่าวอ้างท่ีได้สร้างข้นึ ไว้ในตอนแรก

5. การโต้แย้งกลับ (Rebuttal) เป็นการโต้แย้งเพ่ือทำให้ข้อกล่าวอ้างท่ีต่างออกไปจาก
ข้อกล่าวอ้างเดมิ มีความนา่ เชอื่ ถอื ลดลงและตกไปในท่ีสุด โดยการหาพยานหลักฐานและการให้เหตผุ ลที่
มคี วามนา่ เชื่อถอื มากกวา่ มาสนบั สนุน

3. วิธี/เครอ่ื งมอื วัดและประเมินผล
1. การวัดผล เกณฑ์การให้คะแนนรูบริคแบบ formative rubric score สำหรับการ

วัดผลสมรรถนะจะให้คะแนนเป็นแต่รายประเด็นย่อย(Items) ของแต่ละสมรรถนะ ซ่ึงแตกต่างกับการ
ให้คะแนนโดยใชเ้ กณฑ์คะแนนรูบรคิ แบบ holistic rubric score ซง่ึ เป็นการใหค้ ะแนนแบบภาพรวมซ่ึง
มีความเป็นปรนัย (objective) น้อยกว่าแบบ formative rubric score ท่ีทำให้คะแนนการวัด
สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์มีค่าใกล้ความจริงมากกว่า ส่วนแต่ละประเด็นของแต่ละสมรรถนะจะมีกี่
คะแนนข้ึนอยู่กับดุลพินิจของครู อาจให้คะแนนเท่ากันทุกข้อ เช่น แต่ละประเด็นมี 4 คะแนนเป็นต้น
แต่ขอเสนอแนะว่า แต่ละประเด็นไม่ควรกำหนดเป็น 1-2 คะแนน เพราะการซอยคะแนนที่ต่ำกว่า 1
หรอื 2 คะแนนเปน็ ทศนิยม จะทำใหย้ ากลำบากต่อการให้คะแนนและนำมาประเมนิ ผลภายหลงั

2. เกณฑ์กำหนดระดับสมรรถนะ เมอื่ อ้างอิงการกำหนดระดับคณุ ภาพเพื่อประเมินผล
การเรยี นรู้ของแต่ละตัวชี้วัดของนักเรียนนั้น ครูจะกำหนดกี่ระดับขึ้นอยู่กับดุลพินิจของตนเอง ท่ีพบมัก
เป็น 3-4 ระดับ เช่น เม่ือกำหนดเป็น 4 ระดับ แต่ละระดับกำหนดชื่อเรียกประจำระดับเป็น ดีมาก ดี
พอใช้ และต้องปรบั ปรงุ เป็นตน้ จากเกณฑ์กำหนดผลการเรียนรู้ของตวั ชีว้ ัดดงั กล่าว จึงใช้เป็นแนวทาง
ในการสรา้ งเกณฑ์กำหนดระดับสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตรจ์ ากแต่ละแผนการจัดการเรยี นรดู้ ้วยคะแนน
แบบ formative rubric score ดงั นี้

32

2.1 เกณฑ์กำหนดระดับสมรรถนะรวม หมายถึง เกณฑ์ท่ีสร้างข้ึนโดยไม่แยก
สมรรถนะเป็นรายด้าน เม่ือกำหนดสมรรถนะเป็น 4 ระดับ แต่ละระดับเขียนเกณฑ์กำหนดระดับโดย
แสดงชว่ งรอ้ ยละของคะแนนรูบริคเต็มของทุกสมรรถนะรวมกนั ดังตัวอยา่ ง

เกณฑ์กำหนดระดบั สมรรถนะรวมดว้ ยคะแนนรวมของรบู รคิ แบบ formative rubric score

มคี ะแนนร้อยละ 80-100 ของคะแนนเตม็ นกั เรยี นมรี ะดบั คุณภาพสมรรถนะทร่ี ะดบั ดมี าก
มีคะแนนร้อยละ 70-79 ของคะแนนเตม็ นักเรียนมรี ะดบั คณุ ภาพสมรรถนะทร่ี ะดบั ดี
มคี ะแนนร้อยละ 60-69 ของคะแนนเตม็ นักเรยี นมรี ะดบั คณุ ภาพสมรรถนะทร่ี ะดับ พอใช้ (ปานกลาง)
มคี ะแนนนอ้ ยกวา่ ร้อยละ 60 ของคะแนน นกั เรยี นมรี ะดับคุณภาพสมรรถนะทร่ี ะดับ ตอ้ งปรับปรงุ

2.2 เกณฑ์กำหนดระดับสมรรถนะเป็นรายด้าน หมายถึง เกณฑ์ที่สร้างข้ึนโดย
แยกสมรรถนะที่ประเมินเป็นรายด้าน เมื่อกำหนดสมรรถนะเป็น 4 ระดับ แต่ละระดับเขียนเกณฑ์โดย
แสดงช่วงร้อยละของคะแนนรูบริคเต็มแต่ละสมรรถนะรวมกัน ส่วนการกำหนดช่วงระดับอาจใช้เกณฑ์
เดยี วกับเกณฑก์ ำหนดระดับสมรรถนะรวม

3. เกณฑ์ประเมินผลผ่านสมรรถนะ หมายถึง เกณฑ์ที่สร้างข้ึนเพ่ือตัดสินว่า เมื่อทำการ
ประเมินผลแล้ว นักเรียนต้องมีสมรรถนะอย่างน้อยที่ระดับใดจึงจะถือว่า มีผลการประเมินผ่าน
สมรรถนะทางดา้ นวทิ ยาศาสตรข์ องแตล่ ะแผนการจดั การเรียนรู้ เกณฑ์การประเมนิ ท่ีสร้างข้นึ แบ่งเปน็ 2
ระดับ คือ เกณฑ์การประเมินผ่านสมรรถนะท้ังชั้นเรียน และเกณฑ์ประเมินผ่านสมรรถนะนักเรียนเป็น
รายบุคคล ดังน้ี

3.1 เกณฑ์ประเมินผ่านสมรรถนะเป็นรายบุคล หมายถึง เกณฑ์ท่ีสร้างขึ้นเพื่อ
แสดงให้เห็นว่าเมื่อทำการประเมินผลแล้ว นักเรียนแต่ละคนมีผลการประเมินสมรรถนะที่ระดับใด และ
ต้องมีผลการประเมินอย่างน้อยท่ีระดับสมรรถนะใดจึงจะถือว่าผ่านการประเมิน เช่น ต้องมีผลการ
ประเมินสมรรถนะต้ังแต่ระดับ ดี จึงจะถือว่าผ่านการประเมินด้านสมรรถนะของแผนการจัดการเรยี นรู้
น้นั

3.2 เกณฑ์ประเมินผลผ่านสมรรถนะทั้งช้ันเรียน หมายถึง เกณฑ์ที่สร้างข้ึนเพ่ือ
แสดงใหเ้ ห็นวา่ เมอ่ื ประเมนิ ด้วยภาพรวมทัง้ ชน้ั เรยี นแลว้ จะต้องมนี ักเรยี นที่มีผลการประเมนิ ผ่านเกณฑ์
การประเมินตามระดับสมรรถนะที่กำหนดจำนวนร้อยละเท่าไรจึงจะถือว่า แผนการจัดการเรียนรู้ท่ีใช้มี
ผลต่อการพัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตรด์ ังท่ีระบุในแผนการจัดการเรียนรู้ เช่น ต้องมีนกั เรียนอย่าง
น้อยรอ้ ยละ 80 มีผลการระดับสมรรถนะตั้งแต่ระดับ ดี เป็นต้น (อิสระ ทับสีสด, 2563)

33

บทท่ี 3

วธิ ีดำเนนิ การวจิ ัย

การวิจัยเรื่อง การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ตาม
แนวคิด PISA สำหรับนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนเทศบาลวัดหนองผา ผู้วิจัย
ดำเนินการวิจยั ตามกรอบของหัวขอ้ ตา่ ง ๆ ดังน้ี

ระเบียบวิธีวิจยั

ดำเนินการวจิ ัยโดยใช้ระเบยี บวธิ กี ารวจิ ยั กงึ่ ทดลอง (Quasi Experiment Research) รว่ มกับ
วจิ ัยเชงิ ปฏิบตั กิ าร (Action Research) วเิ คราะห์ขอ้ มลู จากขอ้ มูลเชิงปริมาณ (Qualitative Data)
รว่ มกับขอ้ มูลเชิงคณุ ภาพ (Quantitative Data)

แหลง่ ข้อมูลการวิจยั

1. ประชากร
นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนเทศบาลวัดหนองผา อำเภอเมือง จังหวัด

อุตรดิตถ์ เทียบเคียงประชากรท่ีมจี ำนวนไม่จำกดั (Infinite Population)
2. กลุ่มตัวอยา่ ง
นักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนเทศบาลวัดหนองผา อำเภอเมือง จังหวัด

อุตรดิตถ์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 20 คน วิธีการคัดเลือก เทียบเคียงกับใช้วิธีการสุ่ม
แบบอาศัยความน่าจะเป็นอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เพราะถือว่านักเรียนแต่ละคนของ
ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ของแต่ละปีการศึกษาเม่ือวิเคราะห์โดยภาพรวมแล้วพบว่า มาจากบริบท
ของชุมชนเดียวกันจึงสร้างข้อสรุปว่าไม่มีความแตกต่างกัน ประชากรของนักเรียนดังกล่าวจึงเป็นเอก
พันธ์ (Homogeneous Population) สามารถคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการสุ่มแบบอาศัยความ
น่าจะเป็นอย่างงา่ ย

กลุ่มเป้าหมาย
นักเรยี นระดับชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรยี นเทศบาลวดั หนองผา อำเภอเมือง จังหวัด
อุตรดติ ถ์ ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2565 จำนวน 20 คน ซ่ึงเปน็ จำนวนนกั เรียนทง้ั ชัน้ เรียน

34

เครือ่ งมอื การวิจัย

1. นวตั กรรม
1.1 เคร่ืองมือท่ีเป็นนวัตกรรม นวัตกรรมที่สร้างหรือพัฒนาต่อยอดจากนวัตกรรมเดิมเพื่อ

ทดลองใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับการพัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ตามแนวคิด PISA สำหรับ
นักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 คือ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาสมรรถนะทาง
วิทยาศาสตร์ตามแนวคิด PISA

1.2 วิธกี ารสรา้ งและหาประสทิ ธิภาพ ดำเนินการสรา้ งและหาประสิทธิภาพทงั้ เชิงเหตผุ ล
(Rational Approach) และเชิงประจกั ษ์ (Empirical Approach) ตามแนวคดิ ของ เผชิญ กิจระการ
(2544) ดงั น้ี

การสรา้ งและหาประสทิ ธิภาพเชงิ เหตุผล ให้ดำเนินการตามลำดับขน้ั
1. ทำการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพ่ือศึกษาแนวคิด ทฤษฎี หลักการ
วิธีการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ตาม
แนวคิด PISA ซ่ึงการวิจัยน้ีจะสร้างหรือพัฒนาโดยอ้างอิงตามแนวคิด ทฤษฎี หลักการ วิธีการของอิสระ
ทบั สีสด (2563)
2. สร้างฉบับร่างการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์
ตามแนวคดิ PISA โดยอา้ งองิ จากผลการศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ัยท่ีเกีย่ วข้องดังกลา่ วขอ้ 1 กอ่ นหนา้
3. สร้างแบบประเมินความเหมาะสมของการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนา
สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ตามแนวคิด PISA เพ่ือให้ผู้เชียวชาญประเมินประสิทธิภาพเชิงเหตุผล
แบบประเมินความเหมาะสมท่สี ร้างแสดงแลว้ ในภาคผนวก ง
4. สร้างแบบประเมินค่าดรรชนีความสอดคล้อง (Index of Item –Objective
Congruence: IOC) ของแบบประเมินความเหมาะสมเพ่ือใหผ้ เู้ ชียวชาญทำการประเมนิ ค่าความเทย่ี งตรง
เชิงเน้อื หา (Content Validity) ของแตล่ ะข้อคำถาม(Item) ของแต่ละประเด็น แบบประเมนิ ค่า IOC
กลา่ วแลว้ ในภาคผนวก ข
5. นำแบบประเมินค่า IOC ของแบบประเมินความเหมาะสมของการออกแบบ
กิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ตามแนวคิด PISA ให้ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษา ด้าน
เทคโนโลยีการศึกษา และด้านการวิจัยหรอื การวดั ประเมนิ ผลด้านละ 1 คน ทำการประเมนิ ความเที่ยงตรง
เชิงเนื้อหาของแต่ละข้อคำถามของแต่ละประเด็น แต่ละข้อคำถามที่ประเมินต้องมีค่าเฉลี่ยอย่างน้อย
0.5 หรือ ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 2 ใน 3 คน เห็นว่ามีความตรง จึงจะตัดสินว่า ข้อคำถามนั้นมีความ
เที่ยงตรง

35

ผลการประเมินพบว่า แต่ละขอ้ คำถามของแบบประเมินความเหมาะสมของนวตั กรรมมี
คา่ IOC ระหว่าง 0.67 ถงึ 1.00 หรือผู้เชี่ยวชาญจำนวน 2 ใน 3 คนเหน็ ว่ามีความตรง จงึ ลงข้อสรปุ วา่
แบบสอบถามเพือ่ วดั ความเหมาะสมของนวัตกรรมมีความเที่ยงตรง ผลการประเมนิ ความเทยี่ งตรงของแต่
ละข้อคำถามของแบบสอบถามวดั ความเหมาะสมของนวตั กรรมแสดงแลว้ ดงั ภาคผนวก ค

6. นำการออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้เพอ่ื พัฒนาสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตร์ตามแนวคดิ
PISA ที่สร้างฉบับรา่ งแล้วไปให้ผูเ้ ช่ียวชาญดา้ นเทคโนโลยกี ารศกึ ษา ดา้ นภาษา และดา้ นการวจิ ยั หรอื การ
วัดประเมนิ ผลดา้ นละ 1 คน รวมทัง้ สนิ้ จำนวน 3 คน ทำการประเมนิ ความเหมาะสมด้วยแบบประเมินแต่
ละขอ้ คำถามของแตล่ ะประเด็นที่ประเมนิ ตอ้ งมีค่าเฉลย่ี อยา่ งนอ้ ย 3.50 จึงจะตัดสนิ ว่า ข้อคำถามท่ี
ประเมนิ มีความเหมาะสม

7. นำการออกแบบกิจกรรมการเรียนรเู้ พอื่ พัฒนาสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตร์ตามแนวคดิ
PISA ที่ผา่ นการประเมนิ ดังกลา่ วขอ้ 6 มาแกไ้ ขปรบั ปรุงตามคำแนะนำของผ้เู ชีย่ วชาญ

8. จัดทำรูปเลม่ การออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรเู้ พ่ือพัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์
ตามแนวคิด PISA ท่ผี า่ นการสรา้ งและหาคุณภาพเชิงเหตุผลแล้ว

การสรา้ งและหาประสิทธภิ าพเชิงประจกั ษ์ ดำเนินการตอ่ จากผลการหาประสทิ ธภิ าพ
เชงิ เหตผุ ล

1. นำการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ตามแนวคิด
PISA ที่จัดทำเป็นรูปเล่มแล้วมาทดลองใช้เพื่อหาประสิทธิภาพเชิงประจักษ์กับนักเรียนระดับช้ัน
ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาลวัดหนองผา อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ซ่ึงเป็นคนละกลุ่มกับ
กลุ่มเป้าหมายการวิจัย การหาประสิทธิภาพจะใช้วิธีการเทียบกับเกณฑ์ประสิทธิภาพ E /E = 75/75

12

เมอ่ื
E หมายถึง รอ้ ยละของคะแนนรวมท้ังหมดจากการทำกจิ กรรม และการทดสอบ

1

ยอ่ ยระหวา่ งการทดลองใช้การออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้เพื่อพฒั นาสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตร์ตามแนวคดิ
PISA ซงึ่ เกณฑ์ประเมนิ ผ่านคอื ร้อยละ 75

E หมายถงึ ร้อยละของคะแนนรวมทงั้ หมดจากการทำแบบทดสอบภายหลงั สิ้นสดุ
2

การทดลองใช้การออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรเู้ พอ่ื พัฒนาสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคดิ PISAซึง่
เกณฑป์ ระเมินผา่ นคอื รอ้ ยละ 75

การตัดสินประสทิ ธภิ าพจากการทดลองใช้การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนา
สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ตามแนวคิด PISA เมื่อเทียบกับเกณฑ์ประสิทธิภาพท่ีกำหนดขึ้นว่า ถ้าค่าร้อย
ละของคะแนนท่ีคำนวณของ E = 75 ± 2.55 แสดงว่า ประสิทธิภาพของ E เป็นไปตามเกณฑ์ร้อยละ

11

36

75แต่ถ้ามากกว่า หรือน้อยกว่า 75 ± 2.5 แสดงว่า ประสิทธภิ าพของ E1 สูงกวา่ หรือ น้อยกว่าเกณฑ์
ที่ต้ัง ต้องปรับนวัตกรรมให้เท่ากับเกณฑ์ที่ตั้งคือ 75 ส่วนการตัดสินประสิทธิภาพของ E2 ทำ
เช่นเดียวกับ E1 และถ้าร้อยละของคะแนนระหว่าง E1และ E2 ต่างกันมากกว่าร้อยละ 5 แสดงว่า
ประสิทธิภาพของการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ตามแนวคิด
PISA มีประสทิ ธิภาพไม่เปน็ ไปตามเกณฑ์ ตอ้ งทำการปรบั ปรงุ ใหม่

2. จัดทำรูปเล่มการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์
ตามแนวคิด PISA พร้อมสำหรบั การนำไปทดลองใช้กับนักเรยี นระดับชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6 ซึ่งเปน็ กลุ่มที่
เปา้ หมายการวิจยั

ข้อตกลง เนื่องด้วยปัจจัยจำกัดบางประการคือ 1) โรงเรียนเทศบาลวัดหนองผา เป็น
โรงเรียนขนาดเล็ก ซ่ึงสำหรับนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 แล้วเปิดการเรียนการสอนเพียงช้ัน
เรียนเดียวและมีนักเรียนจำนวนท้ังส้ิน 20 คน 2) ขาดโรงเรียนท่ีมีบริบทใกล้เคียงกัน 3) ขาดความ
ยินยอมของโรงเรียนท่ีมีบริบทใกล้เคียงกันท่ีจะให้ผู้วิจัยนำการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์
เร่ือง การแยกสารเนื้อผสม ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนา
สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ตามแนวคิด PISA ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 มาทดลองใช้กับนักเรียน
ระดับชั้นเดียวกันเพื่อหาประสิทธิภาพเชิงประจักษ์ (ระบุปัจจัยใดปัจจัยหน่ึงหรือมากกว่า 1 ปัจจัย
ร่วมกันตามความเป็นจริง) ดังนั้น ด้วยปัจจัยจำกัดดังกล่าว จึงสร้างข้อตกลงว่า การทำวิจัยครั้งน้ีผู้วิจัย
ขอละเวน้ การหาประสทิ ธภิ าพเชิงประจกั ษ์ของการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เร่ือง การแยก
สารเนื้อผสม ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะทาง
วิทยาศาสตร์ตามแนวคดิ PISA ของนกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6

2. เครอื่ งมือรวบรวมข้อมลู
2.1 ชนิดของเครื่องมือ เครื่องมือท่ีใช้รวบรวมข้อมูลประกอบด้วยแบบสอบถามวัดระดับ

ความพงึ พอใจ และแบบทดสอบ
2.2 วิธีการสร้างและหาประสิทธิภาพ ดำเนินการสร้างและหาประสิทธิภาพท้ังเชิงเหตุผล

และเชงิ ประจักษด์ งั นี้
การสร้างและหาประสิทธภิ าพเชิงเหตุผล ดำเนินการตามลำดับขนั้
1. ทำการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้องเพ่ือศึกษาแนวคิด ทฤษฎี หลักการ

วธิ ีการท่ีเก่ียวข้องกับการสร้างแบบสอบถามวัดระดับความพึงพอใจ และแบบทดสอบ เคร่ืองมือรวบรวม
ข้อมูลแตล่ ะชนิดจะสร้างตามแนวคดิ ทฤษฎี หลักการ วธิ กี ารตา่ ง ๆ ดังน้ี

1.1 แบบสอบถามวัดระดับความพึงพอใจ สร้างตามแนวคิด ทฤษฎีของ หลักการ
วธิ กี ารของอสิ ระ ทับสีสด (2563)

1.2 แบบทดสอบสรา้ งตามแนวคดิ ทฤษฎีของหลักการวธิ กี ารของอิสระทบั สสี ด (2563)

37

2. สรา้ งฉบับร่างแบบสอบถามวัดระดับความพงึ พอใจ และแบบทดสอบ โดยอ้างองิ ผล
การศกึ ษาเอกสารและงานวิจัยทเ่ี กยี่ วขอ้ งดังกลา่ วขอ้ ย่อยข้อ1 กอ่ นหน้า

3. สร้างแบบประเมินคา่ IOC เพอื่ ให้ผ้เู ชียวชาญทำการประเมินความเที่ยงตรงเชงิ เนื้อหา
แตล่ ะขอ้ คำถามของแต่ละประเด็นของเครือ่ งมือรวบรวมขอ้ มูลแตล่ ะชนิด แบบประเมินค่า IOC ของ
เคร่ืองมอื รวบรวมขอ้ มลู แต่ละชนดิ กลา่ วแลว้ ในภาคผนวก ข

4. นำแบบประเมินค่า IOC ของเคร่ืองมือรวบรวมข้อมูลแต่ละชนิดท่ีสร้างฉบับร่างไป
ให้ผู้เชย่ี วชาญด้านภาษา ด้านเทคโนโลยีการศึกษา และด้านการวิจัยหรือการวัดประเมินผลด้านละ 1 คน
ทำการประเมินความเทยี่ งตรงเชงิ เนือ้ หาของแตล่ ะข้อคำถามของแต่ละประเดน็ ดว้ ยแบบประเมนิ IOC แต่ละ
ข้อคำถามของแตล่ ะประเดน็ ท่ีประเมินตอ้ งมีคา่ เฉลยี่ อย่างน้อย 0.5 หรือ ผูเ้ ช่ียวชาญจำนวน 2 ใน 3 คน
เห็นวา่ มีความตรง จงึ จะตดั สินว่า ข้อคำถามน้นั มคี วามเท่ียงตรง ผลการประเมินพบวา่

4.1 แต่ละข้อคำถามของแบบทดสอบมีค่าดรรชนคี วามสอดคล้องระหว่าง 0.67 ถึง
1.00 หรือผู้เชี่ยวชาญจำนวน 2 ใน 3 คนเห็นว่ามีความตรง จึงลงข้อสรุปว่า แต่ละข้อของแบบทดสอบ
สอบมีความเท่ียงตรง ผลการประเมินความเท่ียงตรงของแต่ละข้อคำถามของแบบทดสอบแสดงแล้วดัง
ภาคผนวก ข

4.2 แต่ละข้อคำถามของแบบสอบถามวัดระดับความพึงพอใจมีค่าดรรชนีความ
สอดคลอ้ งระหวา่ ง 0.67 ถงึ 1.00 หรอื ผเู้ ชย่ี วชาญจำนวน 2 ใน 3 คนจงึ ลงข้อสรุปว่า แบบสอบถามวดั
ระดบั ความพึงพอใจมีความเที่ยงตรง ผลการประเมินความเท่ียงตรงของแต่ละข้อคำถามของแบบถามวัด
ระดับความพงึ พอใจแสดงแล้วดงั ภาคผนวก ข

4.3 แตล่ ะขอ้ คำถามของการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาสมรรถนะทาง
วิทยาศาสตร์ PISA มีค่าดรรชนีความสอดคลอ้ งระหว่าง 0.67 ถงึ 1.00 หรือผูเ้ ช่ยี วชาญจำนวน 2 ใน 3
คนจงึ ลงขอ้ สรุปว่า แบบสอบถามวัดระดบั ความพึงพอใจมคี วามเท่ยี งตรง ผลการประเมินความเทย่ี งตรง
ของแตล่ ะข้อคำถามของแบบถามวดั ระดับความพึงพอใจแสดงแล้วดงั ภาคผนวก ข

4.4 แต่ละขอ้ คำถามของแผนการจดั การเรียนรู้ เพ่ือพัฒนาสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตร์
PISA มีค่าดรรชนีความสอดคลอ้ งระหวา่ ง 0.67 ถึง 1.00 หรือผ้เู ชย่ี วชาญจำนวน 2 ใน 3 คนจงึ ลง
ขอ้ สรุปว่า แบบสอบถามวัดระดบั ความพึงพอใจมีความเท่ยี งตรง ผลการประเมินความเทย่ี งตรงของแต่
ละขอ้ คำถามของแบบถามวดั ระดับความพึงพอใจแสดงแล้วดังภาคผนวก ข

5. นำเคร่ืองมือรวบรวมข้อมูลแต่ละชนิดท่ีผ่านการประเมินดังกล่าวข้อ 4 มาแก้ไข
ปรบั ปรงุ ตามคำแนะนำของผู้เช่ยี วชาญ

6. จัดทำรปู เล่มเครื่องมือรวบรวมข้อมูลแตล่ ะชนดิ ทท่ี ำการแกไ้ ขแล้วตามคำแนะนำของ
ผ้เู ช่ียวชาญ

38

การสร้างและหาประสทิ ธภิ าพเชงิ ประจกั ษ์ ดำเนนิ การต่อจากผลการหาประสทิ ธภิ าพ
เชิงเหตผุ ล

1. นำเคร่ืองมือรวบรวมข้อมูลแต่ละชนิดที่จัดทำเป็นรูปเล่มแล้วมาหาค่าความเช่ือมั่น
(Reliability) โดยทดลองใช้กับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนเทศบาลวัดหนองผา
อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ซ่ึงเป็นคนละกลุ่มกับกลุ่มที่เป็นเป้าหมายการวิจัย การหาค่าความเชื่อมั่นใช้
วิธีการหาค่าสัมประสิทธ์ิแอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) โดยมีเกณฑ์
ประเมนิ ผ่านท้งั ฉบับท่ี 0.7 ถา้ นอ้ ยกวา่ ตอ้ งทำการปรบั ปรงุ เคร่อื งมือใหม่

2. ปรับปรุงเครื่องมือรวบรวมข้อมูลแต่ละชนิดหากพบว่า ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาต่ำกว่า
0.7

3. ยกเว้นแบบทดสอบ จัดทำรูปเล่มเคร่ืองมือรวบรวมข้อมูลแต่ละชนิด พร้อมสำหรับ
การนำไปทดลองใช้กับนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาลวัดหนองผา อำเภอเมือง
จังหวัดอตุ รดติ ถ์ ซง่ึ เป็นกล่มุ เป้าหมายการวิจัย

สำหรับแบบทดสอบนั้น เมื่อทำการประเมินความเที่ยงตรงและความเชื่อมั่นแล้ว ก่อน
นำไปทดลองใช้กับนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ซึ่งเป็นกลุ่มที่เป้าหมายการวิจยั ต้องดำเนินการ
ตอ่ จากข้อ 3 เพ่อื หาค่าความยากง่าย และคา่ อำนาจ การจำแนกตอ่ ดงั น้ี

4. นำแบทดสอบแต่ละข้อมาวิเคราะห์ความยากง่ายด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเรจ็ รูป
ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป SPSS ข้อคำถามท่ีดีของแบบทดสอบประเภท 4 ตัวเลือกจะมีค่า
ความยากง่ายระหว่าง 0.20 – 0.80 (สุมาลี จันทร์ชะลอ. 2542) ถ้าเป็นประเภทแบบถูก-ผิด จะมีค่า
ความยากง่ายระหว่าง 0.60–0.95 (Nunnally.1967; อ้างถงึ ใน เยาวดี รางชัยกุลวบิ ลู ย์ศร.ี 2552)

5. นำแบบทดสอบแต่ละข้อมาวิเคราะหค์ า่ อำนาจการจำแนกโดยใช้ SPSS แบบทดสอบท่ี
มคี า่ อำนาจการจำแนกตงั้ 0.2 เป็นแบบทดสอบท่ีสามารถใชไ้ ด้

6. จดั ทำรปู เลม่ ของแบบทดสอบ พร้อมสำหรบั การนำไปทดลองใชก้ บั นักเรียนระดบั
ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 โรงเรยี นเทศบาลวดั หนองผา จงั หวดั อตุ รดติ ถ์ ซ่งึ เป็นกล่มุ เปา้ หมายการวจิ ยั

ขอ้ ตกลง เน่อื งดว้ ยปจั จยั จำกดั บางประการเช่นเดียวกบั ดังกลา่ วแล้วในหัวข้อ “วธิ ีการ
สร้างและหาคุณภาพของนวตั กรรม” จงึ สรา้ งข้อตกลงวา่ การวจิ ัยครั้งนจี้ ะละเว้นการหาประสิทธิภาพ
เชิงประจักษ์ซ่ึงประกอบดว้ ย การหาคา่ ความเชือ่ มั่นของเคร่ืองมอื รวบรวมข้อมลู ทุกชนดิ การหาคา่ ความ
ยากง่าย และค่าอำนาจการจำแนกซงึ่ เฉพาะสำหรบั แบบทดสอบ

39

การดำเนินการรวบรวมขอ้ มูล

1. ทำหนังสอื ถึงคณบดีคณะบดีคณะครุศาสตร์เพ่อื ร้องขอใหอ้ อกหนังสือราชการถงึ ผ้อู ำนวยการ
โรงเรียนเทศบาลวัดหนองผา อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ เพื่อขออนุญาตท่ีจะทดลองใช้การออกแบบ
กิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ตามแนวคิด PISA จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อ
พัฒนาผลสัมฤทธ์ิการเรียนรเู้ รือ่ ง การแยกสารเนื้อผสม ของนักเรียนระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6

2. ประชุม ช้ีแจง และสร้างข้อตกลงกับนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 เก่ียวการทดลองใช้
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ตามแนวคิด PISA จัดกิจกรรมการ
เรียนรเู้ พอ่ื พฒั นาผลสัมฤทธ์ิการเรียนรู้เรอื่ ง การแยกสารเน้ือผสม กบั นักเรียนระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6

3. จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ิการเรียนรู้เรื่อง การแยกสารเน้ือผสม กับ
นักเรียนระดับชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6 โดยทดลองใช้การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาสมรรถนะ
ทางวิทยาศาสตร์ตามแนวคดิ PISA

4. ทำการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ภายหลังการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธ์ิการเรียนรู้เรื่อง การแยกสารเนื้อผสม โดยทดลองใช้การ
ออกแบบกจิ กรรมการเรียนรเู้ พื่อพฒั นาสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตร์ตามแนวคิด PISA

5. ให้นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ตอบแบบสอบถามวัดระดับความพึงพอใจจากการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ิการเรียนรู้เรื่อง การแยกสารเนื้อผสม โดยทดลองใช้การ
ออกแบบกจิ กรรมการเรียนร้เู พื่อพฒั นาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ตามแนวคดิ PISA

การวิเคราะหข์ ้อมลู

1. การวเิ คราะหข์ อ้ มูลเพ่อื หาคุณภาพและประสทิ ธิภาพของเครือ่ งมือการวิจัย
1.1 ความเหมาะสมของนวตั กรรมทีส่ ร้างหรอื พัฒนาตอ่ ยอด วิเคราะห์ดว้ ยคา่ เฉลีย่ และ

สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน วธิ กี ารวเิ คราะหใ์ ชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอร์สำเรจ็ รปู
1.2 ประสิทธภิ าพเชิงประจกั ษ์ของนวัตกรรมทีส่ รา้ งหรือพฒั นาตอ่ ยอดวเิ คราะหด์ ว้ ยเกณฑ์

ประสทิ ธภิ าพ E /E วธิ กี ารวเิ คราะห์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอรส์ ำเร็จรปู
12
1.3 ความเทย่ี งตรงเชิงเนอ้ื หาของเคร่อื งมือรวบรวมขอ้ มูลแต่ละชนดิ วิเคราะห์ดว้ ยคา่ ดรรชนี

ความสอดคลอ้ งหรอื IOC วิธกี ารวิเคราะห์ใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรปู
1.4 ความเชอื่ มน่ั ของเคร่อื งมอื รวบรวมข้อมูลแตล่ ะชนดิ วเิ คราะห์ดว้ ยค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา

ของครอนบาค วธิ กี ารวเิ คราะห์ใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเรจ็ รปู
1.5 ความยากงา่ ยของแบบทดสอบแต่ละข้อวิธกี ารวเิ คราะห์ใชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอรส์ ำเรจ็ รูป
1.6 ค่าอำนาจการจำแนกของแบบทดสอบแต่ละข้อ วิธกี ารวเิ คราะห์ใช้โปรแกรมคอมพวิ เตอร์

สำเรจ็ รปู

40

2. การวิเคราะห์ข้อมลู การวจิ ัย
2.1 ผลการเรียนรูข้ องนักเรียน วเิ คราะห์ดว้ ยคา่ คะแนนเฉลีย่ และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน
2.2 ระดับผลการเรียนรู้ของนักเรียน วิเคราะห์โดยการเปรียบเทียบร้อยละของค่าคะแนน

เฉลี่ยกับระดับผลการเรยี นรู้ตามเกณฑข์ อง สพฐ.
2.3 ผลการทดลองใช้การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์

ตามแนวคดิ PISA วเิ คราะห์ด้วยวิธกี ารทางสถติ โิ ดยใช้ One -Sample t Test ทีร่ ะดบั นัยสำคัญทางสถิตทิ ี่
α 0.05 หรอื ท่รี ะดับความเชือ่ มัน่ 95% วิธีการวเิ คราะหใ์ ช้โปรแกรมคอมพวิ เตอรส์ ำเรจ็ รปู

2.4 ระดับความพึงพอใจ วิเคราะห์ด้วยค่าเฉล่ียและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วธิ กี ารวเิ คราะห์
ใช้โปรแกรมคอมพวิ เตอรส์ ำเรจ็ รูป

2.5 เกณฑป์ ระเมนิ ระดบั ความพึงพอใจของนกั เรียน วเิ คราะหด์ ว้ ยช่วงระดบั ค่าเฉลย่ี ตาม
เกณฑข์ องบญุ ชม ศรีสะอาด

การนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมลู

นำเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมูลดว้ ยตาราง พรอ้ มทงั้ บรรยายเป็นความเรียงประกอบ

41

บทท่ี 4
ผลการวิเคราะหขอ้ มลู

การ วิจยั เร่ือง การออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์
ตามแนวคิด PISA สำหรับนักเรยี นระดบั ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรยี นเทศบาลวดั หนองผา ผวู้ จิ ัยเสนอ
ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู ตามประเดน็ ของวตั ถปุ ระสงคก์ ารวจิ ัย ดงั นี้

1. เพอ่ื สรา้ ง กจิ กรรมการเรียนรู้ สําหรบั การจดั กจิ กรรมการ เรยี นรู้ เพอ่ื พฒั นา สมรรถนะทาง
วิทยาศาสตรต์ ามแนวคิด PISA ของนกั เรยี นระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6

2. เพื่อทดลองและศึกษาผลการทดลองใช้ กิจกรรมการเรียนรู้ จดั กิจกรรมการเรยี นรู้เพอ่ื พัฒนา
สมรรถนะทางวทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคดิ PISA กับนกั เรยี นระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 6
3. เพ่อื ศกึ ษาระดบั ความพงึ พอใจ ของนักเรยี นระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 ที่มีตอ่ การทดลองใช้
กิจกรรมการเรียนรู้ จดั กจิ กรรมการเรียนรู้เพอ่ื พฒั นาสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตร์ตามแนวคิด PISA

ผลการพัฒนาการออกแบบกิจกรรมการเรียนรเู้พือ่ พฒั นาสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตรตามแนวคิดPISA
1. นวัตกรรมท่สี รา้ ง
1.1 แผนการจดั การเรยี นรูท้ งั้ สิ้น 2 แผน
1) แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1 ใชจ้ ัดกจิ กรรมการเรียนรู้เรอ่ื ง การแยกสารผสมที่เป็น

ของแข็งขนาดแตกตา่ งกัน และใชเ้ วลา 2 คาบ
2) แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 2 ใช้จดั กิจกรรมการเรียนร้เู รื่อง การแยกสารผสมท่เี ป็น

ของแขง็ ออกจากของเหลว และใช้เวลา 2 คาบ
1.2 ใบกจิ กรรมทั้งส้นิ 2 ใบกิจกรรม
1) ใบกจิ กรรมที่ 1 เรอื่ ง การแยกสารผสมที่เป็นของแขง็ ขนาดแตกต่างกัน
2) ใบกจิ กรรมที่ 2 เรอื่ ง การแยกสารผสมที่เปน็ ของแข็งออกจากของเหลว
1.3 แบบทดสอบท้ังส้ิน 1 ชุด เร่ือง การแยกสารเน้อื ผสม
1.4 แบบวดั ระดบั ความพึงพอใจ 1 ชุด เร่อื ง แบบวดั ระดับความพงึ พอใจของนกั เรียนระดับ

ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาลวดั หนองผา ทีม่ ตี อ่ การจดั กิจกรรมเพอื่ พฒั นาสมรรถนะทาง
วิทยาศาสตร์ตามแนวคดิ PISA

รายละเอยี ดของการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ เพ่อื พัฒนาสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตร์ ตาม
แนวคิด PISA แสดงแล้วดงั ภาคผนวก จ

42

2. การหาประสิทธภิ าพของนวัตกรรม
2.1 การหาประสิทธิภาพเชงิ เหตผุ ล(Rational Approach)เมื่อประเมนิ ความเหมาะสม

ของการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูเ้ พอื่ พัฒนาสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตร์ ตามแนวคดิ PISA ดว้ ยแบบ
ประเมินความเหมาะสมจากผู้เช่ยี วชาญจำนวน 3 คน ผลการประเมินแสดงดังตารางท่ี 1

ตารางที่ 1.1: แสดงผลการประเมินความเหมาะสมของแผนการจดั การเรียนรู้ เพอ่ื พฒั นาสมรรถนะทาง

วทิ ยาศาสตร์ ตามแนวคดิ PISA จากผูเ้ ชยี่ วชาญจำนวน 3 คน

ประเด็นท่ปี ระเมิน รายการประเมิน ̅ .

มาตรฐานและการ 1. มอี งคป์ ระกอบสำคัญครบถว้ นสมั พันธก์ นั 5.00 0.00

จดั การเรียนรู้ 2. สอดคลอ้ งสัมพนั ธก์ ับหน่วยการเรยี นรทู้ ่ีกำหนดไว้ 5.00 0.00

1. มีความชดั เจนครอบคลุมเนื้อหาสาระ 4.67 0.58

2. พัฒนานกั เรยี นดา้ นความรทู้ ักษะกระบวนการและ 4.67 0.58

เจตคติ

3. สอดคล้องกบั กระบวนการสืบเสาะความรู้ทาง 4.67 0.58

วิทยาศาสตรต์ ามแนวคดิ PISA ด้านสามารถระบุ

ประเดน็ ของปัญหาท่ีต้องการสำรวจตรวจสอบจาก

การศกึ ษาทางวทิ ยาศาสตร์ (B1)

4.สอดคล้องกับกระบวนการสืบเสาะความรู้ทาง 5.00 0.00

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ วิทยาศาสตรต์ ามแนวคดิ PISA ดา้ นแยกแยะไดว้ ่า

ประเด็นปญั หา หรือ คำถามใดสามารถตรวจสอบโดย

วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ (B2)

5.สอดคลอ้ งกบั กระบวนการสืบเสาะความรู้ทาง 5.00 0.00

วทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคดิ PISA ดา้ นเสนอวิธกี าร

ตรวจสอบปัญหาทางวิทยาศาสตร์ทกี่ ำหนดให้ (B3)

6.สอดคลอ้ งกับกระบวนการสืบเสาะความรู้ทาง 4.67 0.58

วิทยาศาสตร์ตามแนวคดิ PISA ด้านประเมนิ วธิ สี ำรวจ

ตรวจสอบปญั หาทางวทิ ยาศาสตร์ทีก่ ำหนดให้ (B4)

43

ตารางที่ 1.1: (ต่อ) แสดงผลการประเมินความเหมาะสมของแผนการจดั การเรยี นรู้ เพ่ือพฒั นาสมรรถนะ

ทางวิทยาศาสตร์ ตามแนวคดิ PISA จากผเู้ ชย่ี วชาญจำนวน 3 คน

ประเด็นท่ีประเมนิ รายการประเมิน ̅ .

8.สอดคล้องกับกระบวนการสืบเสาะความรูท้ าง 4.67 0.58

วิทยาศาสตรต์ ามแนวคดิ PISA ด้านการแปลงขอ้ มลู ที่

นำเสนอในรูปแบบหน่งึ ไปส่รู ปู แบบอืน่ (C1)

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 9.สอดคลอ้ งกับกระบวนการสบื เสาะความรทู้ าง 4.67 0.58

(ต่อ) วทิ ยาศาสตร์ตามแนวคดิ PISA ดา้ นการวิเคราะหแ์ ละ

แปลความหมายประจักษพ์ ยาน(ขอ้ มลู )ทาง

วทิ ยาศาสตรแ์ ละลงขอ้ สรปุ (C2)

1.สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ 5.00 0.00

2.คำถามเขา้ ใจงา่ ย สอดคล้องกบั บทเรียน 4.00 1.00

3.สามารถตรวจสอบสิ่งทไ่ี ด้เรียนรูจ้ ากบทเรียน 4.00 1.00

4.เสริมสร้างทกั ษะและกระบวนการคดิ ของผู้เรยี น 5.00 0.00

5.สอดคลอ้ งกับกระบวนการสบื เสาะความรู้ทาง 4.33 0.58

วทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคดิ PISA ดา้ นสามารถระบุ

ประเด็นของปญั หาท่ตี ้องการสำรวจตรวจสอบจาก

การศกึ ษาทางวิทยาศาสตร์ (B1)

แบบทดสอบ 6.สอดคล้องกับกระบวนการสืบเสาะความรู้ทาง 4.67 0.58
วิทยาศาสตรต์ ามแนวคดิ PISA ดา้ นแยกแยะไดว้ ่า

ประเด็นปญั หา หรอื คำถามใดสามารถตรวจสอบโดย

วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ (B2)

7.สอดคลอ้ งกบั กระบวนการสบื เสาะความรู้ทาง 4.33 0.58

วิทยาศาสตร์ตามแนวคดิ PISA ด้านเสนอวธิ กี าร

ตรวจสอบปัญหาทางวิทยาศาสตรท์ ่ีกำหนดให้ (B3)

8.สอดคลอ้ งกบั กระบวนการสบื เสาะความรทู้ าง 4.33 0.58

วิทยาศาสตรต์ ามแนวคดิ PISA ดา้ นประเมนิ วิธสี ำรวจ

ตรวจสอบปญั หาทางวทิ ยาศาสตรท์ ีก่ ำหนดให้ (B4)

44

ตารางที่ 1.1: (ตอ่ ) แสดงผลการประเมินความเหมาะสมของแผนการจดั การเรยี นรู้ เพอ่ื พฒั นาสมรรถนะ

ทางวทิ ยาศาสตร์ ตามแนวคดิ PISA จากผูเ้ ชยี่ วชาญจำนวน 3 คน

ประเด็นทปี่ ระเมิน รายการประเมิน ̅ .

9.สอดคลอ้ งกับกระบวนการสบื เสาะความรู้ทาง 4.00 1.00

วทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคดิ PISA ด้านบรรยายและ

ประเมนิ วิธกี ารตา่ ง ๆ ทนี่ กั วิทยาศาสตรใ์ ชใ้ นการ

ยืนยันความน่าเชอื่ ถอื ของข้อมูล ความเปน็ กลาง และ

การสรุปอ้างอิง (B5)

แบบทดสอบ 10.สอดคล้องกบั กระบวนการสบื เสาะความรู้ทาง 4.33 0.58
(ต่อ) วทิ ยาศาสตร์ตามแนวคดิ PISA ดา้ นการแปลงข้อมลู ที่
นำเสนอในรปู แบบหนง่ึ ไปส่รู ูปแบบอื่น (C1)

11.สอดคลอ้ งกบั กระบวนการสบื เสาะความรทู้ าง 4.33 0.58

วิทยาศาสตร์ตามแนวคดิ PISA ดา้ นการวเิ คราะหแ์ ละ

แปลความหมายประจักษ์พยาน(ขอ้ มลู )ทาง

วิทยาศาสตรแ์ ละลงข้อสรุป (C2)

1.เนน้ ให้นกั เรยี นเรยี นรู้จากการปฏบิ ตั ิจริง 5.00 0.00

2.สอดคล้องกบั จุดประสงคแ์ ละระดบั ช้ันของนักเรยี น 5.00 0.00

3.สอดคล้องกับจุดประสงค์และเนือ้ หาสาระตาม 4.67 0.58

สมรรถนะของ PISA

4.ส่งเสรมิ สมรรถนะทางวทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคดิ 4.67 0.58

PISA

กจิ กรรม 5.สอดคลอ้ งกับกระบวนการสบื เสาะความร้ทู าง 5.00 0.00

การเรียนรู้ วิทยาศาสตรต์ ามแนวคดิ PISA ดา้ นสามารถระบุ

ประเด็นของปญั หาท่ตี อ้ งการสำรวจตรวจสอบจาก

การศกึ ษาทางวทิ ยาศาสตร์ (B1)

6.สอดคลอ้ งกับกระบวนการสืบเสาะความรทู้ าง 4.67 0.58

วทิ ยาศาสตร์ตามแนวคดิ PISA ดา้ นแยกแยะได้วา่

ประเดน็ ปญั หา หรือ คำถามใดสามารถตรวจสอบโดย

วธิ ีการทางวิทยาศาสตร์ (B2)


Click to View FlipBook Version