The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานวิจัย-PISA-สมบูรณ์ที่สุด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tepnimit_f, 2022-04-07 00:54:55

รายงานวิจัย-PISA-สมบูรณ์ที่สุด

รายงานวิจัย-PISA-สมบูรณ์ที่สุด

145

ดา้ นที่ทำ รายการทที่ ำการประเมนิ ระดับความเที่ยงตรง ระดบั ผลการประเมิน คา่ เฉลยี่ สรปุ
การประเมิน ของผเู้ ชย่ี วชาญ รวมท้งั ผล
12 3 3 ท่าน

6.สอดคลอ้ งกบั กระบวนการสบื เสาะความรูท้ าง +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้

วิทยาศาสตร์ตามแนวคดิ PISA ดา้ นบรรยายและประเมิน

วธิ กี ารตา่ ง ๆ ทนี่ ักวทิ ยาศาสตรใ์ ชใ้ นการยืนยันความ

นา่ เชอ่ื ถือของขอ้ มูล ความเปน็ กลาง และการสรุปอา้ งอิง

การวดั และ (B5) +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้
ประเมินผล 7.สอดคล้องกบั กระบวนการสบื เสาะความรทู้ าง
วิทยาศาสตร์ตามแนวคดิ PISA ด้านการแปลงขอ้ มลู ท่ี
(ตอ่ ) นำเสนอในรปู แบบหน่งึ ไปสู่รูปแบบอ่นื (C1)

8.สอดคล้องกับกระบวนการสืบเสาะความรูท้ าง +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้

วทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคดิ PISA ดา้ นการวิเคราะหแ์ ละ

แปลความหมายประจักษพ์ ยาน(ขอ้ มูล)ทางวทิ ยาศาสตร์

และลงขอ้ สรุป (C2)

146

ภาคผนวก ง

แบบประเมนิ ความเหมาะสมของนวัตกรรม
เครือ่ งมอื การวจิ ัย

147

148

149

150

151

152

153

154

155

156

157

158

159

160

161

162

163

164

165

166

167

168

169

170

171

172

173

174

175

176

177

178

179

180

181

182

183

184

185

186

ภาคผนวก จ

เอกสารอื่น ๆ

187

แผนการจดั การเรียนรู้

รหสั -ชือ่ รายวชิ า วิทยาศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 การแยกสารเน้ือผสม ระดับชัน้ ป.6 ภาคเรยี นท่ี 1 จํานวน 2 คาบ/สปั ดาห์

แผนการเรยี นรู้ที่ 1 เรอื่ ง การแยกสารผสมทเี่ ปน็ ของแข็งขนาดแตกต่างกนั เวลา 2 คาบ

ช่ือผู้สอน นายธนดล อตู่ มุ้ , นางสาวเสาวลักษณ์ ภพู ืช, นางสาวพริ ดา แสงศรจี ันทร์,

นายเทพนมิ ิต วฒั นทรัพยกลุ โรงเรยี นเทศบาลวดั หนองผา

วนั ที่....... เดอื น...................พ.ศ.2565 คะแนนเก็บ....... คะแนน

มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสารความสัมพันธ์ระหว่าง

สมบัติของสสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคหลักและธรรมชาติของการ
เปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี

ตัวช้ีวดั
ว 2.1 ป. 6/1 อธิบายและเปรียบเทียบการแยกสารผสม โดยการหยิบออก การร่อน

การใชแ้ ม่เหลก็ ดงึ ดูดการรินออก การกรอง และการตกตะกอน โดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์

สาระสําคญั
1. ด้านเน้ือหา: สารผสมท่ีเป็นของแข็ง เมอื่ แยกด้วยเครื่องมือท่ีแตกต่างกันจะได้ผลท่ีแตกต่าง

กนั
2. ด้านทักษะกระบวนการ: นำสารท่เี ป็นของแข็งมาแยก ดว้ ยเครือ่ งมอื ทตี่ า่ งชนิดกัน
3. ด้านลักษณะอันพึงประสงค์: ความเป็นผู้อยากรู้อยากเห็น และมีนิสัยใฝ่เรียนรู้ทําให้ค้นพบ

ความร้ใู หมท่ แ่ี ตกต่างจากเดมิ

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. ด้านความรู้ (Knowledge) เพอื่ ให้นักเรียนสามารถ:
1.1 สามารถออกแบบวิธีการตรวจสอบการแยกสารผสมที่เป็นของแข็ง จากเคร่ืองมือท่ี

ออกแบบให้
1.2 สามารถออกแบบวิธีการแปลงข้อมูล การแยกสารผสมที่เป็นของแข็งด้วยเครื่องมือแยกต่าง

ชนดิ กนั
1.3 สามารถวิเคราะห์ อภิปราย และลงข้อสรุปข้อมูลการแยกสารผสมท่ีเป็นของแข็ง ด้วย

เครื่องมอื แยกที่แตกต่างกัน

188

2. ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (Process/Products) เพอ่ื ใหน้ กั เรียนสามารถ:
2.1 สามารถทำการตรวจสอบผลการแยกสารผสมทเี่ ป็นของแข็ง ดว้ ยเคร่อื งมือแยกทอ่ี อกแบบ

ให้
2.2 สามารถใชว้ ัสดุอุปกรณ์ถกู ตอ้ งตามวิธกี ารทีม่ ี
2.3 สามารถบนั ทึกขอ้ มูลการตรวจสอบผลการแยกสารผสมทเ่ี ปน็ ของแขง็ ตามวิธีการทม่ี ี
2.4 สามารถแปลงข้อมูลของการแยกสารผสมที่เป็นของแข็ง ด้วยเครื่องมือแยกต่างชนิดกัน

ตามวิธกี ารจดั และรูปแบบการส่ือความหมายท่อี อกแบบ
3. ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (Attitude) เพื่อใหน้ กั เรยี นเปน็ :
3.1 ผทู้ ม่ี คี วามเปน็ ผู้อยากรู้อยากเหน็
3.2 ผทู้ มี่ นี ิสยั ใฝ่เรยี นรู้

สมรรถนะนักเรยี น
ผลการจดั การเรียนรตู้ ามแผนที่ออกแบบนักเรยี นเกิดสมรรถนะทางดา้ น:
1. การสอ่ื สาร
2. การคดิ
3. การแก้ปญั หา
4. การใชท้ กั ษะชีวติ (เดก็ จะได้ตอนทาํ งานรว่ มกนั )
5. การใช้เทคโนโลยี

สาระการเรยี นรู้ (เนอ้ื หา)
สารผสมทเี่ ปน็ ของแข็ง เม่อื แยกด้วยเครือ่ งมอื ท่ีแตกตา่ งกนั จะได้ผลทแ่ี ตกตา่ งกัน

วธิ ีการจัดประสบการเรยี นรู้ (วธิ ีการสอน)
ใช้การจัดการเรยี นร้แู บบ 5E

ลาํ ดบั ขนั้ การจดั ประสบการณ์เรียนรู้
1. ข้นั สรา้ งความสนใจ จัดกิจกรรมการเรียนร้จู าํ แนกเปน็ 3 ข้นั ย่อยตามลําดับคือ
ขัน้ สงั เกต
1.1 ทบทวนความรู้เดิม/ประสบการณ์เดิมเกี่ยวกับการแยกสารโดยวิธีการฝัดข้าวจากคลิป

วดิ ิโอ ผลการทบทวนตอ้ งอธบิ ายความหมายและลักษณะของสารผสมพร้อมทงั้ ความหมายของการแยก
ของผสม ผลการลงข้อสรุปจากคลิปวิดิโอสรปุ ได้ 2 ประเดน็ คือ ประเด็นแรก สารผสม หมายถึง สารท่ีมี
ลักษณะเน้ือสารไม่ผสมกลมกลืนกันเป็นเนื้อเดียวกัน เกิดจากสารอย่างน้อย 2 ชนิดขึ้นไปมาผสมกัน

189

โดยเนื้อสารจะแยกกันเป็นส่วน ๆ และประเด็นที่สอง ลักษณะของสารผสม เป็นของแข็งที่มีขนาด
ต่างกัน ดังตัวอย่างในวิดีโอการฝัดข้าว จะเห็นได้ว่า มีสารผสม 2 ชนิดคือ ข้าวเปลือกและข้าวสาร ซ่ึงมี
ลักษณะของสารผสมท่ีแตกต่างกัน โดยข้าวสารจะมีขนาดเล็กและน้ำหนักมากกว่าข้าวเปลือก จึงทำให้
ข้าวเปลือกทีม่ ีขนาดใหญแ่ ละน้ำหนกั เบากระเด็นออก

1.2 ครูนําเสนอเหตุการณ์ใหม่/ประสบการณ์ใหม่โดยให้นักเรียนสังเกตลักษณะและสมบัติ
ของสารผสมที่เป็นของแข็งผสมกับของแข็งต่างชนิดกัน ผลการสังเกตต้องสามารถระบุขนาดและชนิดของ
ของแขง็ ทท่ี ำใหเ้ กดิ สารผสม

1.3 อภิปรายคําถามรว่ มกับนักเรียนเพ่ือวิเคราะห์ อภิปราย และลงข้อสรปุ ข้อมูลการสังเกต
จาก 1.2 เพ่ือสร้างประเด็นใหม่ที่แตกต่างจากความรู้เดิม/ประสบการณ์เดิม ผลการอภิปรายต้องลง
ข้อสรุปว่า สารผสมที่นำมาให้นักเรียนสังเกตมีลักษณะและสมบัติของสารผสมที่เป็นของแข็งผสมกับ
ของแข็งแตกต่างกนั

ขั้นกําหนดปญั หา
1.4 ครูนําผลการวิเคราะห์ อภิปราย และลงข้อสรุปข้อมูลการสังเกตดังกล่าวข้อ 1.3 มาให้
นักเรยี น กําหนดเปน็ ประเดน็ ของปัญหาทีต่ อ้ งคดิ ค้นหาคําตอบ
1.5 จากประเด็นที่นักเรยี นสังเกตเห็นวา่ สารผสมทเี่ ป็นของแขง็ ต่างชนิดกนั นักเรยี นคดิ ว่า
อะไรคือปัญหาทีต่ อ้ งการหาคำตอบ

2. ขั้นสาํ รวจและคน้ หา-อธิบายและลงขอ้ สรุป
ขนั้ กาํ หนดสมมตฐิ าน

ขั้นรวบรวมขอ้ มลู
2.1 แบ่งนกั เรียนออกเป็นกลมุ่ ๆ ละ 4 คน โดยจาํ แนกเป็น เกง่ : ปานกลาง: อ่อน = 1:2:1
2.2 แจกใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง การแยกสารผสมท่ีเป็นของแข็งขนาดแตกต่างกัน พร้อมทั้ง

แจกวสั ดุอุปกรณ์การสงั เกตดงั รายการในใบกิจกรรมที่ 1 ให้กบั นกั เรียนแต่ละกลมุ่
2.3 สมาชิกแตล่ ะกล่มุ ออกแบบวิธีการตรวจสอบการแยกสารผสมทเ่ี ปน็ ของแขง็ จากเคร่ืองมอื ที่

ออกแบบใหล้ งในใบกิจกรรมที่ 1 ตอนท่ี 1: การออกแบบวิธกี ารตรวจสอบการแยกสารผสมทเ่ี ปน็ ของแขง็
2.4 อภิปรายคำถามในใบกจิ กรรมท่ี 1
2.5 นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอวิธีการตรวจสอบการแยกสารผสมที่เป็นของแข็ง จาก

เครื่องมือท่ีออกแบบใหห้ นา้ ชนั้ เรียน โดยครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย เพอื่ หาขอ้ สรุปวธิ ีการตรวจสอบ
การแยกสารผสมทีเ่ ป็นของแข็ง จากเครือ่ งมือท่ีออกแบบให้ และประเมนิ วิธีการตรวจสอบการแยกสารผสม
ของแต่ละกลุ่ม พร้อมทั้งให้เหตผุ ล

190

2.6 ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทําการทดสอบวิธีการตรวจสอบการแยกสารผสมท่ีเป็นของแข็ง จาก
เคร่อื งมอื ที่ออกแบบให้ ตามวธิ ีการและวัสดอุ ปุ กรณ์ท่ีมี

2.7 นกั เรยี นบนั ทกึ ข้อมูลการตรวจสอบผลการแยกสารผสมท่ีเป็นของแข็งตามวธิ กี ารที่มีลงในใบกิจกรรม
ท่ี 1 ตอนท่ี 2: บันทึกขอ้ มลู การตรวจสอบผล

จัดกระทาํ และสอื่ ความหมายขอ้ มูล
2.8 ให้นกั เรียนตอบคำถามในใบกิจกรรมท่ี 1 ตอนที่ 3: การออกแบบวธิ กี ารจดั กระทำและส่ือ
ความหมายขอ้ มลู
2.9 อภปิ รายคำถามในใบกจิ กรรมท่ี 1 ตอนท่ี 3
2.10 ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำข้อมูลท่ีได้จากการสำรวจตรวจสอบมาจัดกระทำและสื่อ
ความหมายข้อมลู ตามวธิ กี ารและรปู แบบทอ่ี อกแบบลงในใบกจิ กรรมท่ี 1 ตอนที่ 4: การจัดกระทำและสื่อ
ความหมายข้อมลู
2.11 นกั เรยี นนาํ เสนอผลการจัดกระทาํ และสอื่ ความหมายข้อมลู หนา้ ช้ันเรยี น

ข้ันวเิ คราะห์ อภปิ ราย และลงขอ้ สรปุ ขอ้ มลู
2.12 ให้นักเรียนตอบคําถามในใบกิจกรรมที่ 1 ตอนท่ี 5: ลงข้อสรุปเป็นสารสนเทศและ
ข้อเท็จจริงทางวิทยาศาสตร์
2.13 อภปิ รายคําถามในใบกิจกรรมท่ี 1 ตอนที่ 5

3. ขนั้ ขยายความรู้
-

4. ข้นั ประเมินตนเอง
ใหน้ กั เรยี นประเมินผลการเรียนรูข้ องตนเองโดยการตอบคาํ ถามของครู

5. ข้ันนาํ เสนอข้อค้นพบ
-

สือ่ และแหล่งการเรียนรู้
1. ใบกิจกรรมท่ี 1 กลมุ่ ละ 1 ชุด

2. ลูกปัด 15 ลูก, แป้ง 5 กรัม, กอ้ นหิน 5 ก้อน, ข้าวสาร 5 กรัม, ลูกแม็ก 1 แถว, บกี เกอร์ขนาด 250 ml 1
บีกเกอร์, แก้วพลาสตกิ 5 ใบ, ถาดใสส่ าร 1 ถาด, ตะแกรงร่อนสารขนาดต่างกนั 3 อัน,
แท่งแม่เหล็ก 1 คู่

191

การวดั และประเมินผล
1. กรอบการวัดและประเมนิ ผล กําหนดกรอบการวดั และประเมินผลดังตาราง

ตาราง: แสดงกรอบการวดั และประเมนิ ผล

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ (ขอ้ ท)่ี ประเดน็ ท่ีวัดและประเมนิ ผล วธิ ีการวดั ผล เครอ่ื งมอื วดั ผล
1.1 (K) การออกแบบวิธกี ารสงั เกต การตอบคาํ ถาม ใบกจิ กรรมที่ 1 ตอนที่ 1
เลอื กวธิ กี ารจดั กระทำขอ้ มูล การตอบคาํ ถาม ใบกจิ กรรมที่ 1 ตอนท่ี 3
1.2 (K) เลือกรูปแบบการสือ่ ความหมายข้อมลู การตอบคาํ ถาม ใบกิจกรรมท่ี 1 ตอนที่ 3
การตอบคาํ ถาม ใบกิจกรรมที่ 1 ตอนที่ 5
1.3 (K) การลงข้อสรุปข้อมูล
2.1 (P) การสังเกต แบบสงั เกต
2.2 (P) สงั เกตตามลำดับขัน้ วิธีการรว่ มกับวัสดุอปุ กรณ์ท่ีมี การสังเกต แบบสงั เกต
2.3 (P) การใช้วัสดุอุปกรณก์ ารสงั เกต ตรวจผลงาน ใบกิจกรรมท่ี 1 ตอนท่ี 2
2.4 (P) ข้อมูลการสงั เกต ตรวจผลงาน ใบกจิ กรรมท่ี 1 ตอนที่ 4
3.1 (A) การจดั กระทำข้อมลู และการส่ือความหมายข้อมลู การสังเกต แบบสังเกต
3.2 (A) ความอยากรู้อยากเหน็ การสงั เกต แบบสงั เกต
มีนิสัยใฝ่เรียนรู้

2. เกณฑก์ ารประเมนิ
2.1 เกณฑ์การประเมนิ คะแนนรูบริค (Rubric Score) ใชเ้ กณฑป์ ระเมนิ โดย เขียนตวั รูบรคิ แบบ
แยกใหค้ ะแนนเปน็ รายข้อ (Analytical Rubric Score หรือ Formative Rubric Score) ดงั ตาราง

ตาราง: แสดงเกณฑ์การประเมนิ คะแนนรบู รคิ เขยี นโดยเขยี นตวั รบู รคิ แบบแยกให้คะแนนเป็นรายข้อ

จดุ ประสงค์ท่ี 1.1 (B3) เกณฑร์ ูบรคิ ของแตล่ ะประเดน็ จํานวนคะแนนแต่ละเกณฑ์ของรูบริค (ด้าน)
ประเด็นท่ที าํ การประเมิน ออกแบบวธิ กี ารการสังเกตอย่างเหมาะสม K คะแนน P คะแนน A คะแนน
/ 10
การออกแบบวิธกี ารสังเกต

จดุ ประสงคท์ ี่ 1.2 (C1,C2) เกณฑ์รบู ริคของแต่ละประเดน็ จํานวนคะแนนแต่ละเกณฑ์ของรบู ริค (ด้าน)
ประเดน็ ท่ีทาํ การประเมิน เลือกวธิ ีการจัดกระทำข้อมูลอย่างเหมาะสม K คะแนน P คะแนน A คะแนน
/2
เลอื กวิธกี ารจดั กระทำข้อมลู

เลือกรปู แบบการส่อื ใหเ้ หตผุ ลของการเลอื กวิธกี ารจัดกระทำข้อมูลที่ / 3
ความหมายข้อมลู กำหนดขึน้ / 2
เลือกรูปแบบการสื่อความหมายขอ้ มลู ทจ่ี ดั
กระทาํ แลว้ อยา่ งเหมาะสม

ให้เหตุผลในการเลือกรูปแบบการส่ือ /3
ความหมายขอ้ มูลท่จี ดั กระทาํ แล้วได้

ออกแบบรูปแบบการสื่อความหมายข้อมูลท่ีจดั / 5
กระทําแล้วอย่างเหมาะสม

192

จุดประสงค์ท่ี 1.3 (C2) เกณฑร์ ูบรคิ ของแตล่ ะประเด็น จาํ นวนคะแนนแต่ละเกณฑ์ของรบู ริค (ด้าน)
ประเดน็ ทท่ี ําการประเมิน K คะแนน P คะแนน A คะแนน
การลงขอ้ สรปุ ขอ้ มูล ระบุองคร์ วมของขอ้ มลู /2
ระบจุ ดุ ประสงค์ของการวิเคราะห์ข้อมลู /3
การตคี วามโดยการอา้ งองิ แยกแยะข้อมลู ท้งั หมดเปน็ องคป์ ระกอบ /2
สารสนเทศ ย่อย
รวมคะแนนผลการเรยี นรู้ดน้ (K) อธบิ ายคุณสมบัตเิ ฉพาะของแต่ละ /3
องคป์ ระกอบยอ่ ย
จดุ ประสงค์ที่ 2.1 (B3,B4) วิเคราะห์ความสมั พนั ธข์ องแตล่ ะ /4
ประเดน็ ทที่ ําการประเมิน องคป์ ระกอบย่อยตามจดุ ประสงคก์ าร
สงั เกตตามลาํ ดับขนั้ วธิ ีการ วิเคราะห์ /3
รว่ มกับวัสดุอุปกรณท์ ีม่ ี ลงขอ้ สรปุ ข้อมลู เป็นสารสนเทศตาม
จุดประสงคท์ ี่ 2.2 (B5) ความสัมพนั ธ์ทีพ่ บ /5
ประเด็นทที่ าํ การประเมิน
การใชว้ สั ดอุ ุปกรณก์ ารสงั เกต ตคี วามข้อมูลโดยอา้ งองิ สารสนเทศเพื่อสรุปเป็นความรทู้ าง 47
วิทยาศาสตร์ จาํ นวนคะแนนแต่ละเกณฑ์ของรบู ริค(ด้าน)
K คะแนน P คะแนน A คะแนน
เกณฑ์รบู รคิ ของแตล่ ะประเด็น
/5
ทาํ การสงั เกตถกู ต้องตามลําดับขน้ั วธิ กี าร

เกณฑร์ บู ริคของแต่ละประเด็น จํานวนคะแนนแต่ละเกณฑ์ของรบู ริค (ด้าน)
ใชว้ ัสดุอุปกรณ์การสงั เกตถูกตอ้ งตามวธิ ีการ K คะแนน P คะแนน A คะแนน

/5

จดุ ประสงคท์ ี่ 2.3 (B5) เกณฑร์ ูบรคิ ของแตล่ ะประเด็น จํานวนคะแนนแต่ละเกณฑ์ของรบู ริค (ดา้ น)
ประเดน็ ท่ที าํ การประเมิน K คะแนน P คะแนน A คะแนน
แสดงจำนวนข้อมูลการสงั เกตครบถ้วน
ข้อมลู การสังเกต บรรยายคณุ สมบัตทิ ตี่ ้องการสังเกตของแต่ละวัตถหุ รอื /5
ปรากฏการณค์ รบถ้วน /5

บรรยายคณุ สมบัตทิ ต่ี ้องการสงั เกตของแต่ละวตั ถุหรอื /5
ปรากฏการณถ์ กู ตอ้ งและครบถว้ น

193

จุดประสงค์ท่ี 2.4 (C1,C2) เกณฑ์รูบริคของแต่ละประเด็น จาํ นวนคะแนนแตล่ ะเกณฑ์ของรบู ริค (ด้าน)
ประเด็นทีท่ ําการประเมิน K คะแนน P คะแนน A คะแนน
จัดกระทำข้อมูลถูกตอ้ งตามวิธกี ารทกี่ ำหนด
การจัดกระทำขอ้ มลู และ จดั กระทำขอ้ มูลตรงตามวธิ ีการท่กี ำหนดครบทุกตวั /5
การส่อื ความหมายข้อมูล
/5

สื่อความหมายขอ้ มูลท่จี ดั กระทำแล้วถกู ต้องตามรปู แบบที่ /5
ออกแบบ

รวมคะแนนผลการเรยี นรดู้ า้ น (P) 40
จุดประสงค์ท่ี 3.1
เกณฑร์ ูบรคิ ของแตล่ ะประเด็น จาํ นวนคะแนนแต่ละเกณฑ์ของรูบริค (ดา้ น)
ประเด็นทท่ี ําการประเมิน K คะแนน P คะแนน A คะแนน
มีความเป็นผ้อู ยากร้อู ยากเหน็ มคี วามอดทนทีจ่ ะเรยี นรตู้ อ่ เหตุการณ์
ใหม่/ประสบการณ์ใหม่ /4
จดุ ประสงคท์ ่ี 3.2
ประเดน็ ทท่ี าํ การประเมิน มีมุมมองทหี่ ลากหลายตอ่ แตล่ ะ /4
ใฝเ่ รียนรู้ เหตกุ ารณใ์ หม่/ประสบการณ์ใหม่

เกณฑร์ บู ริคของแต่ละประเดน็ จํานวนคะแนนแต่ละเกณฑ์ของรูบริค (ดา้ น)
K คะแนน P คะแนน A คะแนน
มีความเพียรพยายามในการแสวงหา
ความรู้ /4

อยากรู้อยากเห็น สนใจเขา้ รว่ มกจิ กรรม /4
สง่ เสริมการเรียนรู้

คน้ ควา้ หาความร้ดู ว้ ยตนเอง /4
/4
แลกเปลยี่ นถา่ ยทอดเผยแพรค่ วามรู้นํา
ความรู้ไปประยุกต์ ใช้ในชีวิตประจาํ วนั

บันทกึ วเิ คราะห์ ตรวจสอบส่งิ ทเ่ี รียนรู้สรปุ เป็นองค์ความรู้ /4

มุ่งม่ัน ตั้งใจเรียนรู้เพ่อื พัฒนาตนเอง / 4
รวมคะแนนผลการเรียนรูด้ า้ น (A) 47+40+40 = 127 คะแนน 40
รวมคะแนนผลการเรียนรูท้ ัง้ 3 ดา้ น

194

2.2 เกณฑก์ าํ หนดระดับผลการเรยี นรู้ กาํ หนดเกณฑแ์ บบแยกเปน็ รายดา้ นคอื ดา้ น
ความรู้ (K) ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) และด้านคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) แต่ละดา้ นกําหนดระดับ
ผลการเรียนรู้ เป็น 4 ระดับคอื ระดับดีมาก ระดบั ดี ระดับพอใช้ และระดบั ต้องปรับปรงุ แต่ละระดับ
กาํ หนด เกณฑ์การประเมนิ จากคะแนนเต็มรบู รคิ ดงั นี้

ดา้ นความรู้ (K)
มีคะแนนรบู ริคอยา่ งนอ้ ยร้อยละ 80 ของคะแนนเตม็ มผี ลการเรียนรทู้ รี่ ะดบั ดีมาก
มีคะแนนรูบรคิ ร้อยละ 65 – 79 ของคะแนนเตม็ มีผลการเรยี นรูท้ ร่ี ะดับ ดี
มคี ะแนนรูบรคิ ร้อยละ 50 – 64 ของคะแนนเต็ม มผี ลการเรยี นรู้ทร่ี ะดบั พอใช้
มคี ะแนนรูบรคิ นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 50 ของคะแนนเตม็ มีผลการเรียนรทู้ ี่ระดบั ตอ้ งปรับปรุง
ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P)
มีคะแนนรูบริคอยา่ งน้อยรอ้ ยละ 80 ของคะแนนเตม็ มีผลการเรยี นรู้ทร่ี ะดับ ดมี าก
มคี ะแนนรบู รคิ ร้อยละ 65 – 79 ของคะแนนเต็ม มีผลการเรียนรู้ทร่ี ะดบั ดี
มคี ะแนนรบู รคิ ร้อยละ 50 – 64 ของคะแนนเต็ม มผี ลการเรยี นรทู้ รี่ ะดบั พอใช้
มีคะแนนรูบริคน้อยกวา่ รอ้ ยละ 50 ของคะแนนเต็ม มีผลการเรียนรทู้ รี่ ะดับ ต้องปรบั ปรงุ
ดา้ นคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ (A)
มีคะแนนรูบริคอยา่ งน้อยร้อยละ 80 ของคะแนนเต็ม มผี ลการเรยี นรทู้ ่ีระดับ ดมี าก
มีคะแนนรบู รคิ รอ้ ยละ 65 – 79 ของคะแนนเตม็ มีผลการเรียนรทู้ ร่ี ะดบั ดี
มคี ะแนนรบู ริคร้อยละ 50 – 64 ของคะแนนเต็ม มผี ลการเรียนรู้ทร่ี ะดับ พอใช้
มคี ะแนนรูบรคิ น้อยกว่ารอ้ ยละ 50 ของคะแนนเตม็ มีผลการเรียนรทู้ ี่ระดบั ต้องปรับปรุง
2.3 เกณฑป์ ระเมนิ ผลผ่านการเรยี นรู้ใช้เกณฑ์ประเมนิ แบบแยกเปน็ รายด้าน คอื ด้าน
ความรู้ด้านทักษะกระบวนการ และด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ แต่ละด้านกําหนดเกณฑ์ประเมิน
ผา่ นผล การเรียนรู้โดยองิ ระดบั มาตรฐานผลการเรียนรู้ ดังนี้
ดา้ นความรู้ (K)
ระดับบคุ คล นักเรยี นตอ้ งมีผลการเรียนรอู้ ย่างนอ้ ยตง้ั แต่ระดบั ดี ถอื ว่า ผา่ นการประเมนิ
(ประกันผลการเรียนรู้ของนักเรยี น)
ระดบั ช้ันเรียน มจี ํานวนนกั เรยี นอย่างน้อยรอ้ ยละ 65 ของจํานวนทั้งหมดมีผลการเรยี นรู้
อยา่ งนอ้ ยตงั้ แต่ระดับ ดี ถอื วา่ การจดั ประสบการณ์เรียนรู้บรรลตุ ามจุดประสงคก์ ารเรยี นรทู้ ่ีกาํ หนดใน
แผนการจัดการเรียนรู้ (ประกนั การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ของครู)


Click to View FlipBook Version