The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานวิจัย-PISA-สมบูรณ์ที่สุด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tepnimit_f, 2022-04-07 00:54:55

รายงานวิจัย-PISA-สมบูรณ์ที่สุด

รายงานวิจัย-PISA-สมบูรณ์ที่สุด

45

ตารางที่ 1.1: (ต่อ) แสดงผลการประเมินความเหมาะสมของแผนการจดั การเรยี นรู้ เพอ่ื พัฒนาสมรรถนะ

ทางวทิ ยาศาสตร์ ตามแนวคดิ PISA จากผู้เชย่ี วชาญจำนวน 3 คน

ประเดน็ ทป่ี ระเมิน รายการประเมิน ̅ .

6.สอดคล้องกับกระบวนการสืบเสาะความรทู้ าง 4.67 0.58

วิทยาศาสตร์ตามแนวคดิ PISA ด้านแยกแยะไดว้ ่า

ประเดน็ ปัญหา หรอื คำถามใดสามารถตรวจสอบโดย

วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (B2)

7.สอดคลอ้ งกบั กระบวนการสบื เสาะความร้ทู าง 4.67 0.58

วทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคดิ PISA ด้านเสนอวธิ กี าร

ตรวจสอบปัญหาทางวิทยาศาสตร์ทกี่ ำหนดให้ (B3)

8.สอดคลอ้ งกับกระบวนการสืบเสาะความรทู้ าง 4.33 0.58

วทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคดิ PISA ด้านประเมนิ วธิ ีสำรวจ

ตรวจสอบปัญหาทางวิทยาศาสตร์ทีก่ ำหนดให้ (B4)

กิจกรรม 9.สอดคลอ้ งกับกระบวนการสืบเสาะความรูท้ าง 4.67 0.58

การเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคดิ PISA ดา้ นบรรยายและ

(ต่อ) ประเมนิ วธิ ีการต่าง ๆ ทน่ี กั วทิ ยาศาสตร์ใช้ในการ

ยนื ยันความนา่ เชื่อถือของขอ้ มลู ความเป็นกลาง และ

การสรปุ อา้ งอิง (B5)

10.สอดคล้องกับกระบวนการสบื เสาะความรทู้ าง 4.00 1.00

วทิ ยาศาสตร์ตามแนวคดิ PISA ด้านการแปลงขอ้ มลู ที่

นำเสนอในรูปแบบหน่งึ ไปสูร่ ปู แบบอืน่ (C1)

11.สอดคล้องกบั กระบวนการสืบเสาะความรูท้ าง 4.33 1.15

วิทยาศาสตร์ตามแนวคดิ PISA ด้านการวิเคราะหแ์ ละ

แปลความหมายประจกั ษ์พยาน(ข้อมลู )ทาง

วทิ ยาศาสตรแ์ ละลงขอ้ สรุป (C2)

1. มีกจิ กรรมการเรยี นการสอนโดยเน้นนักเรียนเป็น 4.33 0.58

การจัดการเรยี นรู้แบบ สำคญั 4.33 0.58
สืบเสาะหาความรู้ 2. รูปแบบการสอนและกิจกรรมที่หลากหลายในเชงิ 4.33 0.58
(5E) บูรณาการ
3. พฒั นานักเรียนให้เกิดแนวคิดเชงิ วิเคราะห์

สังเคราะห์ และสร้างสรรค์

46

ตารางที่ 1.1: (ต่อ) แสดงผลการประเมินความเหมาะสมของแผนการจดั การเรยี นรู้ เพื่อพฒั นาสมรรถนะ

ทางวิทยาศาสตร์ ตามแนวคดิ PISA จากผเู้ ชยี่ วชาญจำนวน 3 คน

ประเดน็ ทปี่ ระเมิน รายการประเมนิ ̅ .

การจดั การเรียนรแู้ บบ 4. สง่ เสรมิ ให้นกั เรยี นศกึ ษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง พรอ้ ม 4.00 1.00

สืบเสาะหาความรู้ แนะนำแหลง่ ความรเู้ พิม่ เตมิ

(5E) (ต่อ)

1. นักเรยี นไดใ้ ชส้ ือ่ และแหลง่ เรียนรู้ด้วยตนเอง 4.33 0.58

2.วสั ดอุ ปุ กรณ์ ส่อื และแหล่งเรียนรมู้ ีความ 4.33 0.58

ส่อื การเรยี นรู้ หลากหลาย

3.วสั ดอุ ปุ กรณ์ ส่ือและแหลง่ เรียนรูเ้ หมาะสมกบั 4.67 0.58

เนื้อหาสาระ

1.สอดคล้องกบั จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 4.67 0.58

2.สอดคล้องกับกระบวนการสบื เสาะความร้ทู าง 4.67 0.58

วทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคดิ PISA ด้านสามารถระบุ

ประเดน็ ของปัญหาท่ีตอ้ งการสำรวจตรวจสอบจาก

การศกึ ษาทางวทิ ยาศาสตร์ (B1)

3.สอดคลอ้ งกับกระบวนการสืบเสาะความรู้ทาง 4.33 0.58

วิทยาศาสตรต์ ามแนวคดิ PISA ดา้ นแยกแยะไดว้ ่า

ประเด็นปญั หา หรอื คำถามใดสามารถตรวจสอบโดย

วิธีการทางวทิ ยาศาสตร์ (B2)

การวดั และประเมินผล 4.สอดคลอ้ งกบั กระบวนการสบื เสาะความรู้ทาง 4.33 0.58
วิทยาศาสตรต์ ามแนวคดิ PISA ด้านเสนอวิธกี าร

ตรวจสอบปญั หาทางวิทยาศาสตรท์ ่ีกำหนดให้ (B3)

5.สอดคลอ้ งกับกระบวนการสบื เสาะความรูท้ าง 4.33 0.58

วทิ ยาศาสตร์ตามแนวคดิ PISA ด้านประเมินวธิ ีสำรวจ

ตรวจสอบปัญหาทางวทิ ยาศาสตรท์ ก่ี ำหนดให้ (B4)

6.สอดคล้องกับกระบวนการสืบเสาะความรทู้ าง 4.33 0.58

วทิ ยาศาสตร์ตามแนวคดิ PISA ดา้ นบรรยายและ

ประเมนิ วธิ กี ารตา่ ง ๆ ทน่ี ักวิทยาศาสตรใ์ ช้ในการ

ยนื ยันความน่าเช่ือถือของขอ้ มลู ความเปน็ กลาง และ

การสรุปอา้ งองิ (B5))

47

ตารางที่ 1.1: (ตอ่ ) แสดงผลการประเมินความเหมาะสมของแผนการจัดการเรยี นรู้ เพ่อื พัฒนาสมรรถนะ

ทางวทิ ยาศาสตร์ ตามแนวคดิ PISA จากผู้เชยี่ วชาญจำนวน 3 คน

ประเด็นท่ปี ระเมนิ รายการประเมิน ̅ .

7.สอดคล้องกับกระบวนการสบื เสาะความรูท้ าง 4.33 0.58

วทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคดิ PISA ดา้ นการแปลงขอ้ มลู ท่ี

การวดั และประเมนิ ผล นำเสนอในรูปแบบหนงึ่ ไปส่รู ูปแบบอ่นื (C1) 4.33 1.15
(ต่อ) 8.สอดคลอ้ งกบั กระบวนการสบื เสาะความรู้ทาง
วทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคดิ PISA ดา้ นการวิเคราะหแ์ ละ

แปลความหมายประจกั ษพ์ ยาน(ขอ้ มูล)ทาง

วิทยาศาสตร์และลงขอ้ สรปุ (C2)

จากตารางที่ 1.1 พบว่า แต่ละรายการท่ีประเมินของแต่ละประเด็นมีค่าเฉลี่ยตั้งแต่ 4.00
ซ่ึงผ่านเกณฑ์ประเมินข้ันต่ำคือ 3.50 ดังน้ัน จึงสรุปว่าแผนการจัดการเรียนรู้ เพ่ือพัฒนาสมรรถนะ
ทางวิทยาศาสตร์ ตามแนวคดิ PISA มคี วามเหมาะสม

48

ตารางท่ี 1.2: แสดงผลการประเมนิ ความเหมาะสมของการออกแบบกจิ กรรม เพื่อพฒั นาสมรรถนะทาง

วทิ ยาศาสตร์ ตามแนวคดิ PISA จากผเู้ ชี่ยวชาญจำนวน 3 คน

ประเด็นทป่ี ระเมนิ รายการประเมนิ ̅ .

1.เน้นให้นกั เรยี นเรียนร้จู ากการปฏิบตั ิจริง 5.00 0.00

2.สอดคล้องกบั จุดประสงคแ์ ละระดับช้นั ของนักเรยี น 4.67 0.58

3.สอดคล้องกับจุดประสงค์และเนอื้ หาสาระตาม 4.67 0.58

สมรรถนะของ PISA

4.สง่ เสริมสมรรถนะทางวิทยาศาสตรต์ ามแนวคดิ 4.67 0.58

PISA

5.สอดคล้องกับกระบวนการสบื เสาะความรทู้ าง 4.33 1.15

วทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคดิ PISA ด้านสามารถระบุ

ประเดน็ ของปญั หาท่ตี ้องการสำรวจตรวจสอบจาก

การศกึ ษาทางวทิ ยาศาสตร์ (B1)

6.สอดคล้องกับกระบวนการสบื เสาะความรทู้ าง 4.00 1.00

วทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคดิ PISA ด้านแยกแยะไดว้ า่

ประเดน็ ปัญหา หรือ คำถามใดสามารถตรวจสอบโดย

กจิ กรรม วิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์ (B2)

การเรียนรู้ 7.สอดคลอ้ งกบั กระบวนการสืบเสาะความรู้ทาง 4.67 0.58

วทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคดิ PISA ด้านเสนอวธิ กี าร

ตรวจสอบปญั หาทางวทิ ยาศาสตรท์ ี่กำหนดให้ (B3)

8.สอดคลอ้ งกับกระบวนการสืบเสาะความรทู้ าง 4.33 0.58

วิทยาศาสตรต์ ามแนวคดิ PISA ดา้ นประเมินวิธสี ำรวจ

ตรวจสอบปญั หาทางวิทยาศาสตร์ท่กี ำหนดให้ (B4)

9.สอดคลอ้ งกับกระบวนการสืบเสาะความร้ทู าง 4.33 1.15

วิทยาศาสตร์ตามแนวคดิ PISA ดา้ นบรรยายและ

ประเมินวิธีการตา่ ง ๆ ทน่ี ักวิทยาศาสตร์ใช้ในการ

ยนื ยนั ความนา่ เช่ือถอื ของขอ้ มลู ความเป็นกลาง และ

การสรปุ อ้างองิ (B5)

10. สอดคล้องกับกระบวนการสบื เสาะความรูท้ าง 4.00 1.00

วทิ ยาศาสตร์ตามแนวคดิ PISA ดา้ นการแปลงข้อมลู ท่ี

นำเสนอในรูปแบบหนงึ่ ไปสู่รูปแบบอ่ืน (C1)

49

ตารางท่ี 1.2: (ต่อ) แสดงผลการประเมนิ ความเหมาะสมของการออกแบบกจิ กรรม เพื่อพฒั นาสมรรถนะ

ทางวทิ ยาศาสตร์ ตามแนวคิด PISA จากผูเ้ ชย่ี วชาญจำนวน 3 คน

ประเด็นทีป่ ระเมิน รายการประเมนิ ̅ .

กจิ กรรม 11.สอดคล้องกับกระบวนการสบื เสาะความร้ทู าง 4.67 0.58
การเรียนรู้ วิทยาศาสตรต์ ามแนวคดิ PISA ด้านการวิเคราะหแ์ ละ
แปลความหมายประจักษ์พยาน(ขอ้ มูล)ทาง
(ตอ่ ) วทิ ยาศาสตร์และลงข้อสรปุ (C2)

1. นักเรียนได้ใช้สอ่ื และแหล่งเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง 4.33 0.58

2.วัสดุอุปกรณ์ ส่ือและแหลง่ เรียนรู้มีความ 4.00 1.00

สือ่ การเรียนรู้ หลากหลาย

3.วสั ดอุ ุปกรณ์ ส่ือและแหล่งเรียนรเู้ หมาะสมกับ 4.33 0.58

เนือ้ หาสาระ

1.สอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์การเรยี นรู้ 4.67 0.58

2.สอดคล้องกบั กระบวนการสบื เสาะความรู้ทาง 4.67 0.58

วทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคดิ PISA ด้านสามารถระบุ

ประเดน็ ของปญั หาที่ต้องการสำรวจตรวจสอบจาก

การศกึ ษาทางวิทยาศาสตร์ (B1)

3.สอดคล้องกบั กระบวนการสืบเสาะความรู้ทาง 4.33 0.58

วทิ ยาศาสตร์ตามแนวคดิ PISA ด้านแยกแยะไดว้ า่

การวดั และประเมนิ ผล ประเด็นปัญหา หรือ คำถามใดสามารถตรวจสอบโดย

วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ (B2)

4.สอดคล้องกบั กระบวนการสบื เสาะความรทู้ าง 4.33 0.58

วทิ ยาศาสตร์ตามแนวคดิ PISA ดา้ นเสนอวิธกี าร

ตรวจสอบปญั หาทางวทิ ยาศาสตรท์ กี่ ำหนดให้ (B3)

5.สอดคลอ้ งกบั กระบวนการสบื เสาะความรู้ทาง 4.33 0.58

วทิ ยาศาสตร์ตามแนวคดิ PISA ด้านประเมนิ วธิ ีสำรวจ

ตรวจสอบปญั หาทางวทิ ยาศาสตรท์ ่ีกำหนดให้ (B4)

50

ตารางที่ 1.2: (ต่อ) แสดงผลการประเมนิ ความเหมาะสมของการออกแบบกจิ กรรม เพือ่ พฒั นาสมรรถนะ

ทางวทิ ยาศาสตร์ ตามแนวคิด PISA จากผูเ้ ชย่ี วชาญจำนวน 3 คน

ประเด็นทป่ี ระเมิน รายการประเมิน ̅ .

6.สอดคลอ้ งกบั กระบวนการสบื เสาะความรู้ทาง 4.00 1.00

วิทยาศาสตรต์ ามแนวคดิ PISA ดา้ นบรรยายและ

ประเมนิ วิธีการต่าง ๆ ทนี่ ักวทิ ยาศาสตรใ์ ช้ในการ

ยืนยนั ความน่าเชอื่ ถือของข้อมลู ความเปน็ กลาง และ

การสรปุ อ้างอิง (B5)

การวดั และประเมนิ ผล 7.สอดคลอ้ งกับกระบวนการสืบเสาะความร้ทู าง 4.67 0.58

(ต่อ) วิทยาศาสตร์ตามแนวคดิ PISA ดา้ นการแปลงข้อมูลที่

นำเสนอในรปู แบบหนึง่ ไปสรู่ ปู แบบอ่นื (C1)

8.สอดคลอ้ งกบั กระบวนการสืบเสาะความรทู้ าง 4.67 0.58

วทิ ยาศาสตร์ตามแนวคดิ PISA ดา้ นการวเิ คราะหแ์ ละ

แปลความหมายประจักษ์พยาน(ขอ้ มูล)ทาง

วทิ ยาศาสตร์และลงข้อสรปุ (C2)

จากตารางที่ 1.2 พบว่า แต่ละรายการท่ีประเมินของแต่ละประเด็นมีค่าเฉลี่ยต้ังแต่ 4.00
ซ่ึงผ่านเกณฑ์ประเมินขั้นต่ำคือ 3.50 ดังน้ัน จึงสรุปว่าการออกแบบกิจกรรม เพ่ือพัฒนาสมรรถนะ
ทางวทิ ยาศาสตร์ ตามแนวคดิ PISA มีความเหมาะสม

51

ตารางท่ี 1.3: แสดงผลการประเมนิ ความเหมาะสมของแบบทดสอบ เพอ่ื พัฒนาสมรรถนะทาง

วทิ ยาศาสตร์ ตามแนวคดิ PISA จากผเู้ ชยี่ วชาญจำนวน 3 คน

ประเด็นท่ปี ระเมิน รายการประเมนิ ̅ .
0.58
1. ผลของการสงั เกตคือสงิ่ ใดในเชงิ วทิ ยาศาสตร์ (ขอ้ 1) 4.67 0.00
0.00
การสงั เกต 2. ขอ้ ใดตรงกบั ความหมายของการสงั เกต (ข้อ 2) 5.00
3. จากข้อมูลท่กี ำหนดใหจ้ ะจดั กระทำและสือ่ 5.00 0.58
1.15
ความหมายข้อมูลขอ้ ใดจงึ จะเหมาะสม (ข้อ 3)
0.58
1. “การตคี วาม” ขอ้ ใดทไี่ มป่ รากฏในขอ้ มลู (ขอ้ 4) 4.67 0.00
0.58
2. ขอ้ ใดคือ “หลักการ” ที่อา้ งอิงจากสารสนเทศของ 4.33
1.53
การตคี วามและลง ขอ้ มูล (ข้อ 5) 4.67 0.58
ขอ้ สรปุ ขอ้ มลู 3. ขอ้ ใดคอื “ขอ้ มูล” (ข้อ 6) 5.00
4. ข้อใดคือ “สารสนเทศ” ของข้อมลู (ขอ้ 7) 1.15

5. ขอ้ ใดคือ “ข้อเทจ็ จรงิ ” ท่ีอ้างอิงจากสารสนเทศ 4.67 1.00

ของขอ้ มูล (ขอ้ 8) 1.53

1. ข้อใดคอื “สารสนเทศของขอ้ มูล” (ข้อ 9) 3.66

2. วธิ กี ารเปรียบเทียบระยะความสูงของการกระดอน 4.67

คร้ังแรกของลูกปิงปองแตล่ ะย่หี ้อจะเลือกวิธกี าร

นำเสนอขอ้ มลู รูปแบบใดจงึ จะเหมาะสม (ข้อ 11)

การแปลงขอ้ มลู 3. จากผลการอภปิ รายคำถามขอ้ ท่ี 13 จงแสดง 4.33
วิธีการเรยี งลำดับระยะความสูงการกระดอนครง้ั แรก

ของลูกปงิ ปองแตล่ ะยหี่ อ้ (ข้อ 14)

4. ข้อมลู ใดท่ีมีความเหมาะสมในการจดั กระทำและ 4.00

ส่อื ความหมายดว้ ย “เรียงลำดับและแผนภูมแิ ทง่ ”

(ข้อ 15)

วเิ คราะห์และลง 1. ขอ้ ใดคอื “ข้อเท็จจริง” ที่เกิดจากการใช้ 3.66

ขอ้ สรุปขอ้ มลู สารสนเทศของขอ้ มูลทำการตคี วาม (ข้อ 10)

52

ตารางท่ี 1.3: (ต่อ) แสดงผลการประเมินความเหมาะสมของแบบทดสอบ เพ่อื พัฒนาสมรรถนะทาง

วทิ ยาศาสตร์ ตามแนวคดิ PISA จากผูเ้ ชย่ี วชาญจำนวน 3 คน

ประเด็นทป่ี ระเมิน รายการประเมนิ ̅ .

1. จะออกแบบตารางทีใ่ ชน้ ำเสนอผลการเปรยี บเทยี บ 3.67 2.31

ระยะความสงู ของการกระดอนคร้ังแรกของลูกปงิ ปอง

แต่ละยี่ห้ออยา่ งไรจงึ จะเหมาะสม (ข้อ 12)

การออกแบบการ 2. จากขอ้ มูลการทดลองท่มี อี ยู่ จะมวี ธิ ีการจดั การกับ 3.67 2.31

สำรวจขอ้ มูล ลกู ปิงปองแตล่ ะย่ีหอ้ อย่างไรจึงจะง่ายต่อการ

เปรยี บเทยี บให้เห็นความแตกต่างระยะความสงู การ

กระดอนคร้งั แรกของลูกปิงปองแต่ละยห่ี อ้ (ข้อ 13)

จากตารางท่ี 1.3 พบว่า แต่ละรายการท่ีประเมินของแต่ละประเด็นมีค่าเฉลี่ยตั้งแต่ 3.66
ซ่ึงผ่านเกณ ฑ์ประเมินข้ันต่ำคือ 3.50 ดังน้ัน จึงสรุปว่า แบบทดสอบ เพื่อพัฒนาสมรรถนะ
ทางวทิ ยาศาสตร์ ตามแนวคิด PISA มคี วามเหมาะสม

53

2.2 การหาประสทิ ธภิ าพเชงิ ประจักษ์ (Empirical Approach) วธิ กี ารหาประสิทธิภาพเชิง
ประจกั ษข์ องการออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้เพ่อื พฒั นาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ ตามแนวคดิ PISA จะใช้
วธิ ีการเทยี บกับเกณฑป์ ระสทิ ธภิ าพ E1/E2 = 75/75 โดยนำการออกแบบกิจกรรมการเรียนรเู้ พื่อพฒั นา
สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ ตามแนวคดิ PISA ทห่ี าประสทิ ธภิ าพเชงิ เหตุผลแล้วไปทดลองกบั กลุม่ นักเรยี น
ท่เี ป็นคนละกลมุ่ กับเป้าหมายการวิจยั แต่ตามขอ้ ตกลงดังระบุในบทท่ี 3 วา่ เน่อื งดว้ ยปัจจยั จำกดั บาง
ประการคือ โรงเรียนเทศบาลวดั หนองผา เป็นโรงเรียนขนาดเลก็ ซึง่ สำหรบั นักเรยี นระดับช้ัน
ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 เปดิ การเรียนการสอนเพียงชนั้ เรยี นเดียวและมนี กั เรียนจำนวนท้งั สน้ิ 332 คน การ
ทำวจิ ัยคร้งั นีผ้ ู้วจิ ัยขอละเวน้ การหาประสทิ ธิภาพเชงิ ประจักษข์ องการออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้เพอื่
พัฒนาสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตร์ ตามแนวคดิ PISA ดังข้อตกลงแล้วในบทที่ 3

การพัฒนาผลสมั ฤทธิการเรยี นรู้

1. คะแนนผลสมั ฤทธิการเรยี นรู้
จากการจดั กิจกรรมการเรียนรูเ้ รอ่ื งการแยกสารเนอ้ื ผสมโดยทดลองใช้การออกแบกิจกรรม

การเรียนรเู้ พอ่ื พฒั นาสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตร์ ตามแนวคิด PISA กบั นักเรยี นระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี
6ปีการศกึ ษา 2564 จำนวน 20 คน คะแนนผลสมั ฤทธก์ิ ารเรยี นรูข้ องนกั เรยี นจากการจดั กิจกรรมการ
เรียนร้ดู ังกล่าวแสดงดงั ตารางที่ 2

54

ตารางที่ 2: แสดงคะแนนผลสมั ฤทธ์ิการเรยี นรู้เรื่อง การแยกสารเนอ้ื ผสม จากการจดั กจิ กรรม

การเรียนรู้โดยทดลองใช้การออกแบบกิจกรรมการเรียนรเู้ พ่ือพัฒนาสมรรถนะทาง

วทิ ยาศาสตร์ ตามแนวคิด PISA กับกลุ่มตัวอย่าง เมื่อคะแนนเต็มเท่ากับ 30 คะแนน

ท่ี คะแนนหลังเรยี น

1 18

2 21

3 19

4 17

5 20

6 27

7 22

8 27

9 23

10 26

11 30

12 22

13 21

14 20

15 22

16 24

17 23

18 28

19 19

20 22

รวม 20 คน รวมคะแนน 451, ̅ = 22.55, . = 3.517
หรือ คา่ คะแนนเฉลีย่ รอ้ ยละ 75.17

จากตารางที่ 2 พบวา่ หลังการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ (Post-Test) เรื่อง การแยกสารเนอื้ ผสม
โดยทดลองใช้การออกแบบกิจกรรมการเรยี นร้เู พอื่ พฒั นาสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตร์ ตามแนวคิดPISA กบั
นักเรยี นระดับช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ซง่ึ เปน็ กลมุ่ ตวั อยา่ ง คา่ คะแนนเฉล่ียของผลสมั ฤทธก์ิ ารเรยี นร้เู ท่ากับ
22.55 คะแนนคิดเปน็ ร้อยละ 75.17 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเทา่ กับ 3.517

55

2. การเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธิการเรียนรู้
เมอื่ ใชว้ ธิ กี ารทางสถิติ One Sample t-Test วเิ คราะห์เปรียบเทยี บระดบั ผลสัมฤทธ์ิ

การเรียนร้เู รอื่ ง การแยกสารเนอ้ื ผสม ของกล่มุ ตวั อยา่ งทเ่ี กดิ จากการทดลองใช้การออกแบบกิจกรรมการ
เรียนรู้ เพอ่ื พัฒนาสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตร์ ตามแนวคดิ PISA กบั ผลการเรียนร้ตู ั้งแตร่ ะดับ ดี ตามเกณฑ์
สพฐ. (คะแนนรอ้ ยละ 65 – 100) ผลการเปรยี บเทียบแสดงดงั ตารางท่ี 3

ตารางที่ 3: แสดงผลการเปรียบเทยี บระดบั ผลสมั ฤทธกิ์ ารเรยี นร้เู รือ่ ง การแยกสารเนอ้ื ผสม ของ

กล่มุ ตัวอยา่ งซงึ่ ถกู จัดกจิ กรรมการเรยี นร้เู รื่องโดยทดลองใช้การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้

เพอ่ื พฒั นาสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตร์ ตามแนวคิด PISA กับผลการเรยี นรตู้ ง้ั แต่ระดบั ดี ตาม

เกณฑข์ อง สพฐ. (คา่ คะแนนรอ้ ยละ 65 –100) เม่ือ α = 0.05 หรอื ที่ระดับความเชอื่ ม่นั 95%

One –Sample Statistics

การทดสอบ จำนวน คะแนน ค่าคะแนน สว่ นเบย่ี งเบน เกณฑ์ระดบั ผลการเรยี นรขู้ อง สพฐ.
(คน) เตม็ เฉลย่ี (̅ ) มาตรฐาน ที่กำหนด และระดบั ผลการเรียนรู้ทเ่ี ทียบ

( )

หลงั เรยี น 20 30 22.55 3.517 เกณฑ์ สพฐ. ต้ังแต่ระดบั ดี (65-100 %)
ผลการเรยี นรู้ที่เทียบ ดี (75.17 %)

One –Sample Statistics

t df Sig. (2-tailed) Confidence Level (%)
.000 95
28.678 19

จากตารางท่ี 3 เมอ่ื ทำการวิเคราะห์เปรียบเทยี บระดับผลสัมฤทธก์ิ ารเรยี นรู้เร่อื ง การแยกสาร
เน้ือผสม กับการจดั กจิ กรรมโดยทดลองใช้การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ เพอ่ื พฒั นาสมรรถนะทาง
วทิ ยาศาสตร์ ตามแนวคดิ PISA กบั ผลการเรยี นรตู้ งั้ แต่ระดับ ดี ตามเกณฑ์ ของ สพฐ. (ร้อยละคา่ คะแนน
เฉลยี่ 65-100) ด้วยวิธกี ารทางสถติ ิ One Sample t-Test แบบ 2 ทาง พบวา่ t มคี ่าเท่ากับ 28.678
df มีคา่ เท่ากับ 19 ค่า p-value เท่ากบั .000 ซึ่งน้อยกว่าคา่ α ท่ี 0.05 ดงั น้นั จึงสรปุ วา่

1. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้เรอ่ื ง การแยกสารเนื้อผสม โดยทดลองใช้การออกแบบกิจกรรม
การเรียนรู้ เพือ่ พัฒนาสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตร์ ตามแนวคดิ PISA มผี ลต่อระดับผลสัมฤทธกิ์ ารเรยี นรู้
ของกลมุ่ ตวั อย่างแตกต่างกนั อยา่ งมีนัยสำคญั ทางสถติ ทิ ่ี α =0.05 หรอื ทร่ี ะดับความเชื่อม่ัน 95%

2. เม่อื เปรยี บเทียบระดบั ผลสมั ฤทธิ์การเรยี นรูก้ บั ผลการเรียนร้ตู ้งั แต่ระดบั ดี ตามเกณฑ์ของ
สพฐ.พบวา่ การจัดกิจกรรมการเรยี นรเู้ รือ่ ง การแยกสารเนอ้ื ผสม โดยทดลองใช้การออกแบบกิจกรรมการ

56

เรียนรู้ เพอ่ื พัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ ตามแนวคิด PISA ซง่ึ มีค่าคะแนนเฉล่ยี คิดเปน็ ร้อยละ 75.17
ซงึ่ สงู กว่าเกณฑร์ อ้ ยละ 65 ดงั นนั้ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้เรอื่ ง การแยกสารเนือ้ ผสม โดยทดลองใช้
การออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้ เพื่อพฒั นาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ ตามแนวคดิ PISA ทำใหร้ ะดับ
ผลสมั ฤทธิก์ ารเรียนรู้ของกลมุ่ ตวั อยา่ งสูงกวา่ ผลการเรียนรตู้ ง้ั แตร่ ะดบั ดี ตามเกณฑ์ ของ สพฐ. อยา่ งมี
นัยสำคัญทางสถติ ทิ ่ี α = 0.05 หรอื ทีร่ ะดบั ความเชอื่ ม่ัน 95%

จากผลการวิเคราะหข์ ้อมูลดงั ตารางท่ี 3 จงึ สรุปวา่ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้เรอ่ื ง การแยกสาร
เนอ้ื ผสม โดยทดลองใช้การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ ตามแนวคดิ
PISA มีผลตอ่ การพฒั นาผลสัมฤทธิ์การเรยี นรูข้ องนกั เรยี นระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 โรงเรยี นเทศบาลวัด
หนองผา อำเภอเมอื ง จงั หวัดอตุ รดิตถ์ ซึ่งสอดคล้องกับสมมตฐิ านการวจิ ยั ท่ีกำหนดวา่ นกั เรียนทไ่ี ด้รบั
การกจิ กรรมการเรียนร้เู พอ่ื พฒั นาสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตร์ตามแนวคดิ PISA มสี มรรถนะทาง
วทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคดิ PISA ระดับดขี ึน้ ไป

ระดบั ความพึงพอใจ

จากการจดั กิจกรรมการเรยี นรเู้ รอื่ ง การแยกสารเนื้อผสม โดยทดลองการออกแบบกิจกรรมการ
เรียนรู้ เพื่อพัฒนาสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตร์ ตามแนวคดิ PISA กบั นกั เรยี นระดับชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 ปี
การศกึ ษา 2564 ภาคเรยี นที่ 2 จำนวน 20 คน เมอ่ื วเิ คราะห์ระดับความพึงพอใจ ผลการวเิ คราะหแ์ สดง
ดังตารางที่ 4
ตารางที่ 4: แสดงระดบั ความพึงพอใจของนกั เรียนระดับชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 ปกี ารศกึ ษา 2564

จำนวน 20 คนที่มตี ่อการทดลองใช้การออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้ เพอ่ื พฒั นาสมรรถนะ
ทางวทิ ยาศาสตร์ ตามแนวคิด PISA จัดกจิ กรรมการเรียนรู้เรอื่ ง การแยกสารเน้ือผสม

ประเดน็ และรายการท่ปี ระเมนิ ̅ . ระดับความพงึ พอใจ

ด้านบทบาทครู 4.00 0.725 มาก
1. ครมู ีการเตรียมการสอนลว่ งหน้า

2. ครมู ีความสามารถในการถ่ายทอดความรูช้ ว่ ยให้นักเรียนเกดิ 4.10 0.852 มาก
การเรยี นรใู้ นเนอื้ หาวชิ า
4.20 0.894 มาก
3. ครูใหน้ ักเรยี นมสี ว่ นรว่ มในการคดิ วเิ คราะห์ แปลผลและ 4.20 1.056
สรุปผล 4.05 0.944 มาก
มาก
4. ครมู ีการตง้ั คำถามใหน้ กั เรยี นคดิ หาคำตอบไดด้ ้วยตนเอง
5. ครใู หค้ ำแนะนำและรบั ฟงั ความคดิ เห็นของนักเรยี น

รวม 4.11 0.894 มาก

57

ตารางที่ 4: (ตอ่ ) แสดงระดบั ความพึงพอใจของนกั เรียนระดับช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 6 ปกี ารศกึ ษา 2564

จำนวน 20 คนทีม่ ตี อ่ การทดลองใช้การออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้ เพอื่ พฒั นาสมรรถนะ

ทางวทิ ยาศาสตร์ ตามแนวคดิ PISA จดั กิจกรรมการเรียนรู้เรือ่ ง การแยกสารเนื้อผสม

ประเดน็ และรายการที่ประเมิน ̅ . ระดบั ความพงึ พอใจ
ดา้ นบทบาทนักเรยี น

1. นกั เรยี นมสี ว่ นรว่ มในการทำการทดลอง 4.50 0.760 มาก

2. นักเรียนมสี ่วนรว่ มในการอภิปรายและแลกเปลี่ยนความ 4.50 0.512 มาก
คดิ เหน็ กบั ผู้อื่น

3. นกั เรียนสามารถนำความรไู้ ปเชื่อมโยงกับชวี ิตประจำวนั 4.20 0.951 มาก
ได้

รวม 4.40 0.741 มาก

ประเด็นและรายการทป่ี ระเมิน ̅ . ระดับความพงึ พอใจ

ดา้ นการจดั การเรยี นการสอน

1. ครใู ชว้ ธิ กี ารสอนท่ีหลากหลายเหมาะสมกับเน้อื หาท่เี รียน 4.05 1.099 มาก

2. ครูมคี วามเปน็ กนั เอง และใหโ้ อกาสนักเรยี นในการ 4.20 0.951 มาก
ความคิดเหน็ เท่าเทียมกนั

3. ครมู กี ารใช้สือ่ การสอนและรปู แบบการจัดการเรียนการ 4.25 0.850 มาก
สอนท่ีน่าสนใจสง่ เสรมิ การเรียนรใู้ หแ้ ก่นกั เรยี น

รวม 4.17 0.967 มาก

ประเดน็ และรายการทปี่ ระเมิน ̅ . ระดบั ความพงึ พอใจ

ดา้ นการวัดและประเมนิ ผล

1. ครูใช้วิธกี ารวดั และประเมินผลอยา่ งหลากหลาย 4.40 0.680 มาก

2. ครมู ีการประเมนิ ผลทสี่ อดคลอ้ งกับกจิ กรรมการเรยี นรู้ 4.15 0.988 มาก

3. ครูเปิดเผยคะแนนทไ่ี ดจ้ ากการวดั ผล ทำให้นกั เรยี น มาก

ทราบขอ้ ผดิ พลาดของตนเองหรอื กลมุ่ และนำไป 4.05 0.944

ปรับปรุงในคร้ังต่อไป

รวม 4.20 0.870 มาก

รวมท้ังหมด 4.20 0.864 มาก

58

จากตารางที่ 4 พบว่า เมอื่ วิเคราะห์โดยภาพรวม นกั เรียนระดบั ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6โรงเรยี น
เทศบาลวดั หนองผา ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 จำนวน 20 คน มคี วามพงึ พอใชต้ ่อการทดลองใช้
การออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรู้เพือ่ พฒั นาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ ตามแนวคดิ PISA จัดกจิ กรรม
การเรียนร้เู รอ่ื ง การแยกสารเน้ือผสม ระดบั มาก ( ̅ = 4.20, . = 0.864) แตเ่ มื่อวเิ คราะหเ์ ปน็ ราย
ด้านโดยเรยี งลำดับระดบั ค่าเฉลย่ี จากระดับมากสดุ ไปหาน้อยสุด 4 ลำดบั พบว่า นกั เรยี นมีความพึง
พอใจต่อดา้ นบทบาทนกั เรยี น ( ̅ = 4.4, . = 0.741) มคี วามพงึ พอใจระดับมาก รองลงมาคอื ด้าน
การวัดและประเมนิ ผล ( ̅ = 4.2, . = 0.870) มีความพงึ พอใจระดับมาก รองลงมาคอื ด้านการ
จดั การเรยี นการสอน ( ̅ = 4.167, . = 0.967) มีความพงึ พอใจระดับมาก และลำดบั สดุ ทา้ ยคือ
ดา้ นบทบาทครู ( ̅ = 4.11, . = 0.894) มคี วามพงึ พอใจระดบั มาก

59

บทที่ 5

สรุป อภปิ ราย และข้อเสนอแนะ

สรุปผลการวิจยั

เป้าหมายของการวิจัยเพ่ือต้องการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะทาง
วิทยาศาสตร์ โดยอาศัยแนวคิด ทฤษฎี หลักการ วิธีการตามแนวคิด PISA สำหรับทดลองจัดกิจกรรม
การเรียนรู้เร่ือง การแยกสารผสม กับนักเรียนระดับช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6 โรงเรียนเทศบาลวดั หนองผา
อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ท้ังนี้ครูผู้สอนส่วนใหญ่ใช้วิธีการสอนแบบบรรยายตามหนังสือมากกว่าให้
นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ โดยเน้นครูเป็นศูนย์กลาง ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของการทดลองทางวิทยาศาสตร์
ครูผู้สอนมักจะออกแบบกิจกรรมให้นักเรียน โดยไม่เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ลองออกแบบกิจกรรมด้วย
ตนเอง ซึ่งทำให้นักเรียนขาดสมรรถนะด้านการประเมินและออกแบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์ และการแปลความหมายข้อมูลและการใช้ประจักษ์พยานในเชิงวิทยาศาสตร์ ส่งผลให้การ
ประเมินการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ PISA ในปี 2018 พบว่า ผลคะแนนการรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนไทย คือ
426 คะแนน ซึ่งอยู่ในช่วงลำดับท่ี 66 และต่ำกว่าคา่ เฉลี่ย OECD มากกว่าหน่ึงระดับและอยใู่ นกลมุ่ ล่างหรือ
กลุ่มที่มีผลการประเมินต่ำ ด้วยสาเหตุดังกล่าวผู้วิจัย จึงมีความสนใจวา่ การออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้
เพอ่ื พัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ ที่สร้างขึ้นตามแนวคิด ทฤษฎี หลักการ วิธกี ารตามแนวคิด PISA
ซึ่งมีการปรับปรุงข้อบกพร่องท่ีพบดังกล่าว เมื่อนำมาทดลองจัดกิจกรรมการเรียนรู้เร่ือง การแยกสาร
ผสม กับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนเทศบาลวัดหนองผา อำเภอเมือง จังหวัด
อุตรดิตถ์แล้ว ระดับผลการเรยี นรจู้ ะเปน็ อย่างไรเมื่อเทียบกับระดับผลการเรยี นรตู้ ามเกณฑข์ องสพฐ.

เม่ือจัดกิจกรรมการเรียนรู้เร่ืองการแยกสารผสม กับนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ปี
การศกึ ษา 2564 จำนวน 20 คน ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างโดยทดลองใช้การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อ
พัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ ตามแนวคิด PISA แล้วเปรียบเทียบระดับผลการเรียนรู้กับผลการ
เรียนรู้ระดับ ดี ตามเกณฑ์ของสพฐ. ซึ่งกำหนดเป็นเกณฑ์ประเมินผ่านด้วย One – Sample t Test
พรอ้ มทัง้ วดั ระดับความพึงพอใช้ ผลการวิจัยพบว่า

1. นักเรียนกลุ่มตัวอย่างมีผลการเรียนรู้ที่ระดับดี เมื่อเทียบตามเกณฑ์ของ สพฐ. ซึ่งระดับผล
การเรียนรู้ดังกล่าวสูงกว่า ระดับดี ที่กำหนดเป็นเกณฑ์ประเมินผ่านอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ี 0.05
หรือท่ีระดับความเชอ่ื มัน่ 95%

2. เมือ่ ทำการประเมินระดบั ความพงึ พอใจซ่งึ กำหนดเป็น 4 ด้านคอื ประกอบดว้ ยดา้ นบทบาท
ครู ด้านบทบาทนักเรียน ด้านการจัดการเรียนการสอน และด้านการวัดการประเมินผล พบว่า เม่ือ
วิเคราะห์โดยภาพรวม นักเรียนกลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจโดยภาพต่อการทดลองใช้การออกแบบ

60

กิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ ตามแนวคิด PISA ที่ระดับมาก แต่เมื่อ
วิเคราะห์เป็นรายด้านโดยใช้ค่าระดับค่าเฉลี่ยสูงสุดไปหาต่ำสุดเป็นเกณฑ์ พบว่า ความพึงพอใจด้าน
บทบาทนักเรียน ( ̅ = 4.4, . = 0.741) มีระดับค่าเฉล่ียสูงสุด มีความพึงพอใจระดับมาก ระดับ
ค่าเฉล่ียรองลงมาคือ ความพึงพอใจด้านการวัดการประเมินผล ( ̅ = 4.2, . = 0.870) มีความพึง
พอใจระดับมาก ระดับค่าเฉลี่ยรองลงมาคือ ความพึงพอใจด้านการจัดการเรียนการสอน ( ̅ = 4.167,
. = 0.967) มีความพึงพอใจระดับมาก และระดับค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ความพึงพอใจด้านบทบาทครู
( ̅ = 4.11, . = 0.894) มีความพึงพอใจระดับมาก

อภิปรายผลการวจิ ยั

จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าวในบทท่ี 4 ประเด็นท่ีจะหยิบยกขึ้นมาสู่การอภิปราย
ผลการวจิ ัยประกอบดว้ ยผลการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ และระดับความพงึ พอใจของนักเรียน แต่ละ
ประเด็นดังกลา่ ว นำมาอภปิ ราย ดงั น้ี

1. ผลการออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้
จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลในบทที่ 4 พบว่าผลการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ นักเรียนมี

ผลการเรียนรู้ระดับดี ต่อการทดลองใช้การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะทาง
วิทยาศาสตร์ ตามแนวคิด PISA จัดกิจกรรมการเรียนรู้เร่ือง การแยกสารผสม ที่ระดับมาก ท้ังนี้เป็น
เพราะวา่

1. นักเรียนสามารถระบุประเด็นของปัญหาท่ีต้องการสำรวจตรวจสอบจากการศึกษาทาง
วทิ ยาศาสตร์

2. นักเรียนสามารถแยกแยะได้ว่าประเด็นปัญหา หรือ คำถามใดสามารถตรวจสอบโดย
วธิ ีการทางวิทยาศาสตร์

3. นักเรยี นสามารถเสนอวธิ กี ารตรวจสอบปญั หาทางวทิ ยาศาสตรท์ กี่ ำหนดให้
4. นกั เรียนสามารถประเมินวธิ สี ำรวจตรวจสอบปัญหาทางวทิ ยาศาสตร์ทก่ี ำหนดให้
5.นักเรียนสามารถบรรยายและประเมินวิธีการต่าง ๆ ที่นักวิทยาศาสตร์ใช้ในการยืนยัน
ความนา่ เชอื่ ถอื ของขอ้ มูล ความเป็นกลาง และการสรุปอ้างองิ
6. นกั เรียนสามารถแปลงขอ้ มูลทน่ี ำเสนอในรูปแบบหนึ่งไปสูร่ ปู แบบอื่น
7. นักเรียนสามารถการวิเคราะห์และแปลความหมายประจักษ์พยาน(ข้อมูล)ทาง
วิทยาศาสตรแ์ ละลงข้อสรปุ
จากการอภิปรายผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลดังกล่าวข้างตน้ จึงลงข้อสรุปวา่ การจัดกจิ กรรมการ
เรียนรู้เร่ือง การแยกสารผสม โดยการทดลองใช้กิจกรรมการเรียนรู้มีผลต่อสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์
ตามแนวคิด PISA ซ่ึงสอดคล้องกับสมมติฐานการวิจัยที่กำหนดข้ึนคือ นักเรียนท่ีได้รับการจัดกิจกรรม

61

การเรียนรู้เพ่ือพัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ตามแนวคิด PISA มีสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ตาม
แนวคิด PISA ระดับดขี น้ึ ไป

2. ระดับความพึงพอใจของนักเรียน
จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลในบทท่ี 4 พบว่าระดับความพึงพอใจของนักเรียน นักเรียนมี

ความพึงพอใจต่อการทดลองใช้การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์
ตามแนวคิด PISA จัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่อง การแยกสารผสม ที่ระดับมาก ทั้งน้ีเป็นเพราะว่าครูมี
ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ในเน้ือหาวิชา นักเรียนมีส่วนร่วมใน
การทำการทดลอง อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้อ่ืน และสามารถนำความรู้ไปเช่ือมโยงกับ
ชีวิตประจำวนั ได้

จากการอภปิ รายผลการวเิ คราะห์ข้อมูลดงั กล่าวขา้ งตน้ จงึ ลงข้อสรปุ ว่า การจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้เรื่อง การแยกสารผสม โดยการทดลองใช้กิจกรรมการเรียนรู้มีผลต่อสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์
ตามแนวคิด PISA ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานการวิจัยท่ีกำหนดข้ึนคือ นักเรียนท่ีได้รับการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้เพ่ือพัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ตามแนวคิด PISA มีสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ตาม
แนวคดิ PISA ระดับดขี นึ้ ไป

ขอ้ เสนอแนะ

1. ข้อเสนอแนะการใช้ประโยชนผ์ ลการวจิ ัย
1.1 การออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้เพอื่ พัฒนาสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตร์ ตามแนวคดิ

PISA สำหรับนกั เรียนระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาลวดั หนองผา สามารถนำแผนการ
จัดการเรยี นรนู้ ี้ไปเปน็ แนวทางในการพัฒนาศักยภาพผเู้ รยี นตามประสบการณ์พ้ืนฐาน

1.2. สามารถนำมาพัฒนาการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ให้อยู่ใน
ระดับท่ีสูงขึน้

2. ข้อเสนอแนะการศกึ ษาเพิม่ เตมิ หรือทำวิจัยต่อยอด
2.1 ควรศึกษาและวิจัยเก่ียวกับรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในลักษณะต่าง ๆ

เพ่ือให้ผู้เรียนมีผลการเรียนรู้ท่ีสูงขึ้น และควรศึกษาหาวิธีการดำเนินงานให้บรรลุกับเป้าหมายในการ
เรยี นร้ใู หส้ ูงขน้ึ

2.2 ควรมีการมีการทบทวนเอกสารงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องในเรื่องการแยกสารผสม เพื่อให้มี
การพัฒนาต่อเน่ืองมากยงิ่ ขน้ึ

2.3 ควรมนี วตั กรรมทห่ี ลากหลายเพื่อสามารถนำไปตอ่ ยอดได้

62

เอกสารอ้างองิ

กนษิ ฐกานต์ เบญจพลาภรณ์,สกนธ์ชยั ชะนูนนั ท์,และจนิ ตนา กล่ำเทศ, (2561), การวิจัยเชิง
ปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการรู้วิทยาศาสตร์โดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน เร่ือง
ปริมาณสารสัมพันธ์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4, เข้าถึงได้จาก: 129666-Article
Text-846036-1-10-20200805.pdf สืบค้นเมือ่ วันที่ 27 ธันวาคม 2564

บรรณรกั ษ์ คุ้มรกั ษา, จริ าภรณ์ เพ็งคําปั้ง, (2564), การออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรแู้ บบสบื เสาะทาง
วทิ ยาศาสตรท์ ่ีส่งเสรมิ สมรรถนะการรู้วทิ ยาศาสตรต์ าม แนวทาง PISA เรือ่ ง อเิ ลก็ ทรอนิกส์
เบ้ืองต้น เพ่ือพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ในระดับช้ันมัธยมศึกษา
ตอนตน้ , เข้าถึงได้จาก: 54-Article Text-417-1-10-20210106.pdf
สบื คน้ เมอื่ วนั ท่ี 27 ธนั วาคม 2564

รัตนพร ทองรอด, (2557), ความหมายนวตั กรรมการศกึ ษา, เขา้ ถึงได้จาก:
https://sites.google.com/site/sghurhoaiykghphgp/extra-credit
สบื คน้ เมื่อวนั ท่ี 18 มนี าคม 2565

พิพิษณ์ สิทธศิ กั ดิ์, (2553), ความสำคญั /ประโยชน์ของการวจิ ัย, เขา้ ถงึ ไดจ้ าก:
https://rforvcd.wordpress.com/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8
%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8
%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8
%99%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8
%A7/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8
%B3%E0%B8%84%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8
%B0%E0%B9%82%E0%B8%A2%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B9%8C%E0%B8
%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2/?fbclid=IwAR1I4PRE6G
aN-3ESWTiQ0ysBNUS5qrqYgKnk8jNFDabCeI2OE4Vp6WZp1Ek
สบื คน้ เมอื่ วันที่ 18 มีนาคม 2565

จารวุ ฒั น์ เสนลิน้ , (2555), นวตั กรรมมีความสำคญั ต่อการศึกษาอยา่ งไร, เขา้ ถงึ ไดจ้ าก:
https://www.gotoknow.org/posts/334524 สบื ค้นเมอื่ วันท่ี 18 มนี าคม 2565

กรรณกิ าร์ อาภาภัสร์, (2559), การสรา้ งและการหาคุณภาพในการวิจยั , เขา้ ถึงไดจ้ าก:
https://sites.google.com/site/httpbitly42331316/phu-cad-tha/3-3-kar-srang-laea-
kar-ha-khunphaph-ni-kar-wicay สืบค้นเม่ือวนั ที่ 18 มนี าคม 2565

63

ตะวัน ภาษธี รรม, (2555), การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E), เขา้ ถึงได้จาก:
https://www.gotoknow.org/posts/211413 สบื คน้ เมอ่ื วนั ที่ 18 มนี าคม 2565

ภทั ริยา, (2553), ข้อดแี ละขอ้ จำกัด, เขา้ ถงึ ได้จาก:
http://da-inquiry-cycles.blogspot.com/p/blog-page_18.html
สบื คน้ เมอ่ื วันที่ 18 มีนาคม 2565

ชนุ หล,ี (2551), เคร่ืองมอื การวจิ ัย, เขา้ ถึงไดจ้ าก:
http://oknation.nationtv.tv/blog/maw-bin/2008/12/01/entry-5
สืบค้นเมอ่ื วนั ท่ี 21 มีนาคม 2565

พรี ะพงษ์ เคร่อื งสนุก, (2558), แบบทดสอบ, เข้าถึงไดจ้ าก:
https://www.gotoknow.org/posts/587302?fbclid=IwAR2PbsQvMZqdiH2bEiuJjoLZ
d8AGPjbnLNuLI3b8UznDHxjY8ajYRPVkZys สบื ค้นเมือ่ วนั ที่ 21 มีนาคม 2565

นัยทิพย์ ธรี พงษ์, (2555), เครื่องมือวิจัย, เข้าถึงได้จาก:
http://naiyatip-research.blogspot.com/p/research-tools.html
สบื คน้ เมอ่ื วันท่ี 21 มีนาคม 2565

เผชญิ กิจระการ, (มปป.), การวิเคราะหป์ ระสทิ ธภิ าพสื่อและเทคโนโลยีเพอื่ การศกึ ษา (E1/E2),
เขา้ ถึงได้จาก: https://so02.tci-
thaijo.org/index.php/jemmsu/article/download/154690/112503/
สืบคน้ เมือ่ 21 มนี าคม 2565

ไพโรจน์ คะเชนทร์, (มปป.), การหาประสทิ ธิภาพของสือ่ , เข้าถงึ ได้จาก:
http://elearning.psru.ac.th/courses/163/การหาประสทิ ธิภาพของส่อื .pdf
สืบค้นเมอ่ื 21 มนี าคม 2565

64

ภาคผนวก

65

ภาคผนวก ก

แบบบันทึกขอ้ ความขอเป็นผู้เชยี่ วชาญ

66

67

68

69

70

71

72

73

74

75

76

77

78

ภาคผนวก ข

แบบประเมนิ ความเท่ยี งตรงเชิงเนอ้ื หา (IOC)

79

80

81

82

83

84

85

86

87

88

89

90

91

92

93

94


Click to View FlipBook Version