The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอนภาษาไทย ชั้น ม.1
ภาคเรียนที่1
นางสาวณัฐฐินันท์ สิมพา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nattinan Simpha, 2021-09-12 05:00:49

แผนการสอนภาษาไทย ชั้น ม.1

แผนการสอนภาษาไทย ชั้น ม.1
ภาคเรียนที่1
นางสาวณัฐฐินันท์ สิมพา

แผนการจดั การเรียนรู้

ม.1 รายวิชา ภาษาไทยพื้นฐาน ท21101

นางสาวณฐั ฐนิ ันท์ สิมพา
ตาแหนง่ ครูผูช้ ่วย

โรงเรียนบา้ นนาดสี ร้างบง
สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ท21121 ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 1

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๑ สมบตั ิวรรณคดไี ทย เวลา ๑๐ คาบ

เรื่อง วเิ คราะห์วรรณคดไี ทย เวลา 2 ชัว่ โมง

ผูส้ อน นางสาวณัฐฐินนั ท์ สิมพา โรงเรยี นบ้านนาดีสรา้ งบง

หมายเหต…ุ ………………………………………………………………………………………………………………………………

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสรา้ งความรู้และความคิดเพ่อื นำไปใช้ตดั สนิ ใจ แก้ปัญหาใน
การดำเนนิ ชีวิต และมนี สิ ัยรกั การอา่ น
มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียนเขยี นสอ่ื สาร เขยี นเรยี งความ ยอ่ ความ และเขยี นเรอ่ื งราวใน
รูปแบบตา่ งๆ เขียนรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ ควา้
อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
มาตรฐาน ท 5.1 เขา้ ใจและแสดงความคดิ เห็น วจิ ารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเหน็
คณุ ค่าและนำมาประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตจรงิ

ตัวชวี้ ัด
ท 1.1 ม.1/2 ตคี วามคำยากในเอกสารวชิ าการ โดยพจิ ารณาจากบริบท
ท 2.1 ม.1/9 มมี ารยาทในการเขยี น
ท 5.1 ม.1/2 วเิ คราะหว์ รรณคดีและวรรณกรรมท่ีอ่านพร้อมยกเหตุผลประกอบ
ท 5.1 ม.1/3 อธบิ ายคุณคา่ ของวรรณคดีและวรรณกรรมทอ่ี ่าน
ท 5.1 ม.1/4 สรุปความรู้และขอ้ คิดจากการอา่ นเพื่อประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ จรงิ สาระการเรยี นรู้

สาระสำคัญ
การวิเคราะห์วรรณคดีไทย หมายถึง การพิจารณาคุณค่าของงานประพันธ์ต่าง ๆ สามารถพิจารณาคุณค่าได้ใน

3 ลักษณะ คอื คุณคา่ ด้านวรรณศิลป์ คุณคา่ ด้านเนือ้ หา คณุ ค่าด้านสงั คม

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
ความรู้ (K)
1. การวเิ คราะห์คุณค่าของวรรณคดีไทยและวรรณกรรมทอ้ งถิน่ (K)
2. การสรุปความจากการอ่าน (K)
ทักษะ/กระบวนการ (P)
3. ฝึกวเิ คราะหค์ ณุ คา่ ของวรรณคดีไทยและวรรณกรรมท้องถนิ่ (P)
4. ฝึกเขยี นอธบิ ายวเิ คราะหค์ ุณค่าของวรรณคดไี ทยและวรรณกรรมทอ้ งถ่นิ (P)
5. ฝกึ สรุปความจากเร่อื งท่ีอา่ น (P)
เจตคติ (A)
6. เหน็ คุณคา่ และซาบซง้ึ (A)
7. รักการอ่าน ใฝเ่ รียนรู้ รักการแสวงหาความรู้ นำความรู้ทไี่ ด้จากการอ่านไปประยุกตใ์ ชใ้ น
ชีวติ จริง (A)

สมรรถนะหลกั
 1. ความสามารถในการสอื่ สาร
 2. ความสามารถในการคิด

3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

ด้านคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (A)
1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
2. ซื่อสัตยส์ ุจรติ
3. มีวินยั

 4. ใฝ่เรียนรู้
 5. อยู่อย่างพอเพียง
 6. มุง่ มน่ั ในการทำงาน
 7. รกั ความเป็นไทย

8. มีจติ สาธารณะ

แนวความคิดเพอื่ การเรียนร้ใู นศตวรรษท่ี 21
 1. สาระวชิ าหลกั (Core Subjects)
 2. ทักษะด้านการเรยี นรูแ้ ละนวัตกรรม

3. ทักษะด้านสารสนเทศ ส่ือ และเทคโนโลยี
 4. ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ

กระบวนการจดั การเรียนรู้ (ข้นั ตอน/กระบวนการ)

ขัน้ ที่ 1 การนำเข้าส่บู ทเรยี น
1. ครแู จ้งตัวชว้ี ัดการเรียนรู้
2. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน สมบัติวรรณคดีไทย เสร็จแล้วนำส่งครูตรวจสอบความถูกต้อง และ

ประกาศผลโดยทีย่ ังไมต่ อ้ งเฉลย (R)

ข้ันที่ 2 การจัดกระบวนการเรียนรู้
3. นักเรียนสังเกตตัวละครในวรรณคดีไทยท่ีครูนำเสนอในสไลด์ Power Point จากนั้นร่วมกันสนทนากับ

นกั เรียนเพ่ือซักถามว่าเปน็ ตวั ละครในวรรณคดไี ทยเรอื่ งใด นักเรยี นช่นื ชอบวรรณคดีไทยเรื่องใดบา้ ง และผู้แต่งวรรณคดี
เร่อื งทช่ี อบคือใคร แต่งในสมยั ใด ตัวละครมีใครบ้าง นักเรยี นตอบอย่างอิสรเสรี โดยครูส่มุ ถามทีละคน 3 – 5 คนแล้ว
ถามนกั เรยี นคนอน่ื ๆ ว่ารูจ้ กั วรรณคดเี ร่อื งน้ันหรอื ไม่ (R A K)

4. นกั เรยี นอ่านในใจบทเรียน ตอน บทนำ สมบตั ิวรรณคดีของไทยในหนงั สือเรียนภาษาไทย ม.๑
ชดุ วรรณคดวี จิ ักษ์ แลว้ แบ่งกลมุ่ การศึกษาค้นควา้ ตามจำนวนที่เหมาะสม จากแหลง่ เรียนรูห้ ้องสมุด ดว้ ยประเด็นต่อไปนี้
(R K)

1. คำว่าศลิ ปะ หมายความว่าอยา่ งไร
2. วรรณคดไี ทย ให้คุณค่าแกค่ นไทยในด้านใดบ้าง
3. วรรณคดมี ุขปาฐะ หมายความวา่ อยา่ งไร
4. วรรณคดีลายลักษณ์ หมายความวา่ อย่างไร
5. จินตนาการในวรรณคดี หมายความวา่ อย่างไร

6. วรรณคดไี ทยใหค้ ณุ ค่าดา้ นคุณธรรมแก่ผ้ศู ึกษาอยา่ งไร
7. วรรณกรรมมีลกั ษณะอย่างไร

8. วรรณคดีมีลักษณะอย่างไร
9. วรรณคดีกบั วรรณกรรมมคี วามเหมือนและแตกตา่ งกนั อย่างไร
10. ใหย้ กตัวอยา่ งวรรณกรรมและวรรณคดอี ย่างละ ๒ เรอื่ ง

ขัน้ ท่ี 3 การนำเสนอความรู้
จากนนั้ นกั เรียนนำเสนอผลการศกึ ษาคน้ คว้าและอภิปรายความถกู ตอ้ งรว่ มกัน

5. นกั เรยี นนำเสนอถึงความเป็นเอกลักษณ์ของไทยนอกจากวรรณคดีทร่ี ู้จักแลว้ จากน้ันใหน้ ักเรยี นนำเอกลักษณ์
ทแ่ี ตกต่างกนั ของประเทศอาเซยี นทเี่ รารจู้ ักมาอยา่ งละ ๑ ประเทศ (R)

6. นกั เรียนเขียนลำดับความสำคัญของคณุ ค่าวรรณคดที ่เี ป็นสมบตั ิของไทยทางด้านการเรียนรู้วรรณคดไี ทย และ
การนำเสนอความภมู ใิ จของวรรณคดไี ทยต่อประเทศอาเซียนลงสมดุ (R K)

ขน้ั ที่ 4 สรุปความรู้
7. นักเรียนนำเสนอการเขียน(ครูสุ่มถาม) และร่วมกันสรุปเน้ือหาของคุณค่าจากการวิเคราะห์ เร่ือง สมบัติ

วรรณคดไี ทย (V R A K)

สอื่ (วัสดุ-อุปกรณ์-สงิ่ พมิ พ)์ / นวัตกรรม / ICT
1. รปู ภาพประกอบบทเรยี น

2. แบบทดสอบก่อน-หลังเรยี น
3. บัตรกิจกรรมการเรยี นรทู้ ่ี 1

4. หนังสือเรียน ชุด วรรณคดีวิจกั ษ์ ช้ัน ม. 1
5. เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน-หลงั เรียน
6. แบบประเมินการสังเกตพฤตกิ รรม

แหลง่ การเรยี นรู้
1. หอ้ งสมดุ

2. อินเทอร์เน็ต
บรู ณาการเข้ากบั ความรู้เรือ่ งอาเซียน

การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้

ด้านความรู้ (K) วธิ กี ารวดั ผลและการประเมินผล เครอ่ื งมอื วดั และประเมินผล เกณฑก์ ารวดั
1. นกั เรียนทำแบบทดสอบก่อน
ด้านทักษะ/ เรียน 1. แบบทดสอบก่อนเรยี น 1. ร้อยละ 60 ขน้ึ ไป
กระบวนการ (P) 2. นกั เรียนเล่าเรอ่ื งและต้ัง – ตอบ 2. ตรวจงานรายบคุ คล 2. รอ้ ยละ 60 ข้ึนไป
คำถามสอบกอ่ นเรยี น 3. แบบประเมินรายกลุ่ม 3. สงั เกตรายกลุ่ม

นกั เรยี นกจิ กรรมกลุม่ การศกึ ษา 1. แบบประเมนิ การสังเกต รอ้ ยละ 60 ข้นึ ไป
ค้นควา้ และการนำเสนอ พฤตกิ รรม รอ้ ยละ 60 ขึน้ ไป
2. แบบประเมินผลงาน
ดา้ นคณุ ธรรม 1. ประเมนิ พฤติกรรมและผลงาน
จริยธรรม และคา่ นยิ ม ระหวา่ งเรียน แบบประเมินพฤติกรรมและผลงาน
ระหว่างเรียน
(A)

กิจกรรมเสนอแนะ
..........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................

ลงช่ือ.....................................................ผู้เขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้
................/.................../................

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 2

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ท21121 ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๑ สมบัติวรรณคดีไทย เวลา ๑๐ คาบ

เรือ่ ง การวิเคราะหแ์ ละอธิบายคณุ คา่ ด้านวรรณศลิ ป์ เวลา 2 ช่วั โมง

ผู้สอน นางสาวณัฐฐนิ นั ท์ สมิ พา โรงเรียนบ้านนาดสี ร้างบง

หมายเหตุ…………………………………………………………………………………………………………………………………

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท 5.1 เขา้ ใจและแสดงความคิดเห็น วจิ ารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ งเหน็
คุณคา่ และนำมาประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ จริง

ตัวชว้ี ัด
ท 5.1 ม.1/2 วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมทีอ่ า่ นพร้อมยกเหตผุ ลประกอบ
ท 5.1 ม.1/3 อธิบายคุณค่าของวรรณคดแี ละวรรณกรรมที่อา่ น
ท 5.1 ม.2/4 สรปุ ความรูแ้ ละขอ้ คิดจากการอา่ นเพอื่ ประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตจริงสาระสำคัญ

สาระสำคญั
วรรณคดี คือเร่ืองราวที่ถ่ายทอดเน้ือหาความรู้สะท้อนความรู้สึกนึกคิด จินตนาการ ในการดำเนินเร่ือง ท่ีมี

วรรณศลิ ป์เป็นศิลปะในการแต่งผ่านคำประพันธช์ นิดต่างๆ ท่ีได้รับการยอมรบั ในดา้ นความงดงามทางภาษา และมีความ
ไพเราะ ผูอ้ า่ นจึงตอ้ งวิเคราะห์และอธบิ ายคณุ ค่าดา้ นวรรณศิลปจ์ ากวรรณคดีที่อา่ น

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
ความรู้ (K)
1. บอกความหมายของวรรณศิลปไ์ ด้ (K)
ทกั ษะ/กระบวนการ (P)
2. วิเคราะห์คุณค่าดา้ นวรรณศิลปข์ องวรรณคดีเร่ือง นริ าศภเู ขาทอง พรอ้ มยกเหตุผลประกอบ
ได้ (P)
3. นำความรู้มาอธิบายวิเคราะห์คุณคา่ ด้านวรรณศิลป์ของวรรณคดีไทยท่ีศึกษาได้ (P)
เจตคติ (P)
4. เห็นคณุ คา่ และซาบซึ้ง (A)
5. รักการอา่ น ใฝเ่ รียนรู้ รกั การแสวงหาความรู้ นำความรู้ท่ไี ด้จากการอ่านไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ
จริง (A)

สมรรถนะหลัก
 1. ความสามารถในการสื่อสาร
 2. ความสามารถในการคดิ

3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

ด้านคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (A)
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซอ่ื สัตย์สุจริต
3. มีวินัย

 4. ใฝเ่ รียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง

 6. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน
 7. รักความเป็นไทย

8. มจี ติ สาธารณะ

แนวความคิดเพอื่ การเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21
1. สาระวิชาหลัก (Core Subjects)
2. ทักษะด้านการเรียนรแู้ ละนวัตกรรม
3. ทกั ษะด้านสารสนเทศ สอ่ื และเทคโนโลยี
4. ทักษะดา้ นชีวติ และอาชพี

กระบวนการจัดการเรียนรู้ (ขัน้ ตอน/กระบวนการ)

ขั้นท่ี 1 การนำเขา้ สูบ่ ทเรียน
1. ครนู ำตัวอยา่ งบทประพนั ธจ์ ากวรรณคดี มาให้นักเรียนอ่านออกเสียงพร้อมกัน (A)
2. นักเรยี นแสดงความคดิ เห็นตามประเด็นท่คี รูกำหนด ดงั นี้ (V)
- บทประพนั ธด์ ังกล่าวมลี ักษณะของการใชค้ ำอย่างไร
- คำท่นี ำมาใชใ้ นบทประพันธ์ดงั กล่าวมีความหมายแตกตา่ งกนั อยา่ งไร
- บทประพนั ธด์ ังกลา่ วมคี วามงาม และมคี ุณคา่ อย่างไร
3. อธิบายให้นักเรยี นเข้าใจว่า การอา่ นวรรณคดีจะต้องร้จู ักการพิจารณาคุณค่าด้านวรรณศิลป์ จึงจะทำให้เห็น

ความงดงามและความไพเราะทไี่ ดร้ ับจากบทประพนั ธท์ ่ีกวไี ดถ้ ่ายทอดเปน็ ลายลักษณอ์ ักษรไว้ (V)

ขนั้ ที่ 2 การจดั กระบวนการเรยี นรู้
4. นักเรียนกลุ่มเดมิ ร่วมกันวางแผนในการศึกษาวรรณคดีที่แต่ละกลุ่มสนใจ โดยวิเคราะหค์ ุณค่าด้านวรรณศิลป์

พรอ้ มยกเหตุผลประกอบและอธิบายคุณคา่ (V A K)
5. ครูกำหนดประเด็นการวเิ คราะหแ์ ละอธิบายคุณคา่ ดา้ นวรรณศลิ ป์ของวรรณคดีใหน้ ักเรียน ดังนี้
1) คุณค่าดา้ นการเลน่ เสยี งสัมผสั
2) คุณค่าดา้ นการเปรยี บท่ีลกึ ซง้ึ กนิ ใจ
3) คุณค่าด้านการใชค้ ำเพือ่ สรา้ งจินตนาการ (V A K)
6. นักเรียนแต่ละกลุ่มวิเคราะห์คุณค่าด้านวรรณศลิ ป์จากตัวอยา่ งบทประพันธ์ (จากข้ันนำเข้าสบู่ ทเรยี น) พร้อม

ยกเหตุผลประกอบและอธบิ ายคุณค่า (V A K)
7. สมาชกิ แตล่ ะกลมุ่ สรุปผลการวเิ คราะหค์ ณุ คา่ ด้านวรรณศิลป์จากนนั้ ครูขออาสาสมคั รตัวแทนกลุม่

2-3 กลุ่ม สรุปผลการวิเคราะห์และยกเหตผุ ลประกอบ พรอ้ มอธิบายคณุ คา่ (V A K)
8. นกั เรียนกลมุ่ อ่ืนๆ ช่วยกันตรวจสอบความถกู ต้อง หรอื แสดงความคิดเห็นเพิ่มเตมิ
9. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มช่วยกันทำใบงาน เรือ่ ง คุณค่าดา้ นวรรณศิลป์ของวรรณคดี โดยให้สมาชิกแต่ละคนปฏิบัติ

กจิ กรรม ดังน้ี (V A R K)
- สมาชกิ คนท่ี 1 เขียนวเิ คราะห์คุณคา่ วรรณศลิ ป์ ขอ้ 1 แลว้ ส่งตอ่ ใหส้ มาชกิ คนท่ี 2

- สมาชิกคนที่ 2 อา่ นการวิเคราะหค์ ุณคา่ วรรณศิลป์ของสมาชิกคนที่ 1 แลว้ เขียนวเิ คราะห์เพ่ิมเติม และส่ง
ตอ่ ใหส้ มาชกิ คนที่ 3

- สมาชกิ คนที่ 3 อ่านการวิเคราะห์คุณค่าวรรณศิลป์ของสมาชิกคนที่ 2 แลว้ เขียนวิเคราะห์เพ่ิมเติม และส่ง
ต่อให้สมาชิกคนที่ 4

- สมาชกิ คนที่ 4 อ่านการวิเคราะหค์ ุณคา่ วรรณศิลป์ของสมาชกิ คนท่ี 3 แล้วเขียนวิเคราะห์เพิ่มเตมิ และส่ง

ต่อให้สมาชิกคนท่ี 1 เร่ิมเขียนวิเคราะห์คุณค่าวรรณศิลป์ ข้อ 2 ก็ให้เริ่มจากสมาชิกคนท่ี 2 ผลัดเปล่ียนหน้าที่กัน โดย
สมาชกิ แตล่ ะคนในกลุ่มจะไดม้ ีโอกาสอา่ นและเขียนวเิ คราะหห์ มนุ เวียนกนั ไปเรื่อยๆ จนเสรจ็

ทกุ ข้อ
10. สมาชกิ ในแต่ละกลุ่มร่วมกนั ตรวจสอบความถูกต้อง แล้วสรปุ ผลเพื่อบนั ทึกข้อมลู ลงในใบงาน จากนน้ั นำส่ง

ครูตรวจ (V K)

ขัน้ ที่ 4 สรปุ ความรู้
11. นักเรียนร่วมกันสรุปผลการวิเคราะห์และอธิบายคุณค่าด้านวรรณศิลป์ของวรรณคดีที่นักเรียนแต่ละกลุ่ม

สนใจ (R A K)

สื่อ(วสั ดุ-อปุ กรณ์-ส่งิ พิมพ)์ / นวตั กรรม / ICT
1. หนังสอื เรียน ภาษาไทย : วรรณคดแี ละวรรณกรรม ม.1
2. ตวั อยา่ งบทประพนั ธ์

3. ใบงาน เรอื่ ง คณุ ค่าด้านวรรณศิลปน์ ริ าศภเู ขาทอง
แหล่งการเรียนรู้

-

การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้

วิธีการวดั ผลและการประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมนิ ผล เกณฑ์การวัด
ร้อยละ 60 ข้นึ ไป
ด้านความรู้ (K) นักเรยี นอธบิ ายสรปุ ความรู้ แบบประเมนิ พฤติกรรมการเรียนรู้ ร้อยละ 60 ข้ึนไป

ด้านทกั ษะ/ นักเรียนทำกิจกรรมกลุม่ และการ แบบประเมนิ ผลงานการนำเสนอ ร้อยละ 60 ขนึ้ ไป
กระบวนการ (P) นำเสนอ

ด้านคุณธรรม

จรยิ ธรรม และคา่ นยิ ม ประเมินพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม

(A)

กิจกรรมเสนอแนะ
..........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................

ลงช่อื .....................................................ผู้เขียนแผนการจัดการเรียนรู้
................/.................../................

แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 3

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ท21121 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1

หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑ สมบตั ิวรรณคดีไทย เวลา ๑๐ คาบ

เร่ือง การสรปุ ความรแู้ ละเนื้อหา เวลา 2 ชว่ั โมง

ผ้สู อน นางสาวณฐั ฐนิ นั ท์ สมิ พา โรงเรียนบา้ นนาดสี ร้างบง

หมายเหตุ…………………………………………………………………………………………………………………………………

มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเหน็ วิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็นคณุ คา่
และนำมาประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตจรงิ

ตัวชี้วัด

ม.1/4 สรปุ ความร้แู ละขอ้ คดิ จากการอา่ นเพื่อประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ จริง

สาระสำคญั
การวเิ คราะหค์ ณุ ค่าวรรณคดีเร่ืองทน่ี กั เรยี นสนใจ จะต้องสรุปความรแู้ ละขอ้ คิดจากการอ่านเพื่อนำไปประยุกต์ใช้

ในชวี ิตจรงิ

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
ความรู้ (K)
1. สรุปความรแู้ ละขอ้ คดิ จากการอ่านเพื่อประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตจริงได้

ทกั ษะ/กระบวนการ (P)
1. ฝึกวเิ คราะหว์ รรณคดีและวรรณกรรม
2. ฝกึ วเิ คราะห์คุณค่าของวรรณคดแี ละวรรณกรรม

สมรรถนะหลัก
 1. ความสามารถในการสอื่ สาร
 2. ความสามารถในการคิด

3. ความสามารถในการแก้ปญั หา
 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ

5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
2. ซ่ือสตั ย์สุจรติ
3. มวี ินัย

 4. ใฝเ่ รียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง

 6. ม่งุ มน่ั ในการทำงาน
 7. รักความเปน็ ไทย

8. มีจติ สาธารณะ

แนวความคิดเพือ่ การเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21
 1. สาระวิชาหลกั (Core Subjects)
 2. ทักษะด้านการเรียนรูแ้ ละนวตั กรรม

3. ทักษะดา้ นสารสนเทศ สอ่ื และเทคโนโลยี
 4. ทักษะด้านชวี ิตและอาชพี

สาระการเรยี นรู้
1 สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
- การวิเคราะหค์ ณุ ค่าและขอ้ คิดจากวรรณคดแี ละวรรณกรรม
2 สาระการเรียนรทู้ ้องถิ่น
(พิจารณาตามหลกั สูตรสถานศึกษา)

กระบวนการจัดการเรียนรู้ (ขั้นตอน/กระบวนการ)

ขัน้ นำเข้าสู่บทเรียน

ครซู กั ถามนกั เรยี นเก่ยี วกบั ประเภทของหนังสอื ทน่ี ักเรียนชอบอ่าน จากน้ันร่วมกนั อภปิ รายคุณค่าท่ีไดร้ บั จากการ
อ่าน และการนำความรูแ้ ละข้อคิดจากการอ่านไปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ จริง (V A K)

ขัน้ สอน
1. นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ ทำงานท่รี บั มอบหมาย โดยให้สมาชิกในแตล่ ะกลุ่มจับคู่กันเปน็ 2 คู่ แล้วให้แต่ละคปู่ ฏิบตั ิ
กิจกรรม ดังนี้ (V A R K)
- สมาชิกคนที่ 1 อ่านโจทย์คำถาม และเขียนคำตอบ
- สมาชิกคนที่ 2 เปน็ ฝ่ายสงั เกต ตรวจสอบคำตอบ
ใหส้ มาชิกแตล่ ะคู่เปลี่ยนบทบาทกนั ในคำถามข้อต่อไป
2. นักเรยี นรวมกล่มุ เดมิ ใหแ้ ต่ละคูน่ ำคำตอบของคู่ตนเองมานำเสนอใหเ้ พือ่ นอีกคหู่ นง่ึ ฟงั เพือ่ ช่วยกนั ตรวจสอบ
ความถกู ต้อง เสร็จแล้วนำสง่ ครู (V A R K)

ขนั้ สรปุ
นักเรยี นและครูรว่ มกนั สรุปความรแู้ ละข้อคิดท่ีได้จากการศกึ ษาวรรณคดี จากนนั้ รว่ มกนั บอกแนวทางในการนำ

ความรู้และข้อคิดไปปรบั ใช้ในชวี ติ ประจำวัน (R K)

สือ่ (วสั ดุ-อุปกรณ์-ส่งิ พิมพ)์ / นวตั กรรม / ICT
1. ส่อื การเรยี นรู้
- แบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู้ ภาษาไทย ม.1
2. แหลง่ การเรยี นรู้
- หอ้ งสมุด

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เคร่อื งมือวัดและประเมินผล เกณฑก์ ารวัด
วธิ กี ารวดั ผลและการประเมนิ ผล

ด้านความรู้ (K) ประเมินการนำเสนอผลงาน แบบประเมินการนำเสนอผลงาน ร้อยละ 60 ขน้ึ ไป

ดา้ นทักษะ/ สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม ร้อยละ 60 ขึ้นไป
กระบวนการ (P) สังเกตการใฝเ่ รยี นรู้ มงุ่ มัน่ ในการ
ดา้ นคุณธรรม(A) ทำงาน และรักความเปน็ ไทย แบบประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ร้อยละ 60 ขึ้นไป
จริยธรรมและค่านิยม

กิจกรรมเสนอแนะ
..........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื .....................................................ผ้เู ขยี นแผนการจัดการเรียนรู้
................/.................../................

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 4

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ท21121 ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ ๑ สมบตั ิวรรณคดไี ทย เวลา ๑๐ คาบ

เร่อื ง การสรปุ ความรแู้ ละข้อคิด เวลา 2 ชั่วโมง

ผสู้ อน นางสาวณฐั ฐินนั ท์ สมิ พา โรงเรยี นบา้ นนาดสี รา้ งบง

หมายเหตุ…………………………………………………………………………………………………………………………………

มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเหน็ คุณค่าและนำมา
ประยุกต์ใช้ในชวี ติ จรงิ

ตวั ชว้ี ัด

ม.1/4 สรปุ ความร้แู ละข้อคดิ จากการอ่านเพ่อื ประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ จรงิ

สาระสำคญั
การวเิ คราะห์คุณค่าวรรณคดเี รอื่ ง นิราศภูเขาทอง จะต้องสรปุ ความร้แู ละขอ้ คดิ จากการอา่ นเพื่อนำไปประยุกตใ์ ช้

ในชีวิตจริง

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
ความรู้ (K)

1. นักเรยี นสามารถสรปุ ขอ้ คิดจากการอ่านเพือ่ ประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตจรงิ ได้

ทกั ษะ/กระบวนการ (P)
1. นกั เรียนศึกษาวรรณคดีท่ีสนใจเพ่ือบอกขอ้ คิดทพ่ี บในวรรณคดี
2. บอกหลกั การสุปขอ้ คิดในการแก้ปญั หาของนักเรยี น

สมรรถนะหลัก
 1. ความสามารถในการส่อื สาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A)

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
 2. ซื่อสตั ย์สุจริต
 3. มีวนิ ยั
 4. ใฝ่เรยี นรู้
 5. อยู่อย่างพอเพียง
 6. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน
 7. รักความเป็นไทย
 8. มีจติ สาธารณะ

แนวความคิดเพือ่ การเรียนร้ใู นศตวรรษที่ 21

 1. สาระวิชาหลกั (Core Subjects)
 2. ทกั ษะดา้ นการเรียนรู้และนวัตกรรม
 3. ทักษะด้านสารสนเทศ ส่อื และเทคโนโลยี
 4. ทกั ษะด้านชวี ิตและอาชีพ

สาระการเรยี นรู้
1 สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
- การวเิ คราะหค์ ุณค่าและขอ้ คิดจากวรรณคดแี ละวรรณกรรม
2 สาระการเรียนร้ทู ้องถิ่น
(พจิ ารณาตามหลกั สตู รสถานศึกษา)

กระบวนการจัดการเรยี นรู้ (ขั้นตอน/กระบวนการ)

ข้ันท่ี 1 นำเข้าสู่บทเรียน

1. ครูซักถามนักเรียนเก่ยี วกบั ประเภทของหนงั สือที่นกั เรยี นชอบอา่ น (V R)
2. นกั เรียนรว่ มกนั อภปิ รายคณุ คา่ ที่ได้รับจากการอ่าน และการนำความรู้และขอ้ คิดจากการอา่ นไปใช้ประโยชนใ์ น

ชีวติ จริง (R K)
ขน้ั ท่ี 2 สอน

1. นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ ทำใบงาน เรอ่ื ง ความรู้และข้อคดิ จากวรรณคดที นี่ ักเรียนแต่ละกลุม่ สนใจ

โดยให้สมาชิกในแต่ละกลุ่มจบั คู่กนั เป็น 2 คู่ แลว้ ใหแ้ ต่ละคู่ปฏิบัติกิจกรรม ดงั น้ี

- สมาชกิ คนท่ี 1 อา่ นโจทยค์ ำถาม และเขียนคำตอบ

- สมาชกิ คนที่ 2 เป็นฝา่ ยสงั เกต ตรวจสอบคำตอบ

ใหส้ มาชกิ แต่ละคู่เปลีย่ นบทบาทกันในคำถามข้อต่อไป (V A R K)

2. นักเรียนรวมกลมุ่ เดิม (4 คน) ใหแ้ ตล่ ะคู่นำคำตอบของคตู่ นเองมานำเสนอใหเ้ พือ่ นอกี คู่หนึง่ ฟงั เพอ่ื ชว่ ยกนั

ตรวจสอบ ความถูกตอ้ ง เสร็จแล้วนำใบงานท่ี 1.3 ส่งครู (V A R K)

3. นกั เรยี นตอบคำถามกระตนุ้ ความคิด (V K)

4. นกั เรียนแต่ละคนทำกจิ กรรมจากแบบวัดฯ ตอนที่ 5 กิจกรรม ตามตวั ช้ีวดั : กิจกรรมที่ 1.2 เปน็

การบา้ น1. ครูเปดิ ซดี กี ารอ่านทำนองเสนาะแบบต่างๆ ใหน้ ักเรียนฟงั จากนนั้ ครูอธบิ ายใหน้ ักเรียนเขา้ ใจวา่ การ

อ่านบทรอ้ ยกรองสามารถอา่ นเป็นทำนองเสนาะแบบตา่ งๆ ได้ (V A R K)

2. นกั เรียนแต่ละกล่มุ ฝึกอา่ นทำนองเสนาะตามแบบท่ีสนใจ (V A R K)

ขัน้ ท่ี 3 สรปุ

นกั เรียนและครรู ว่ มกันสรปุ ความรแู้ ละข้อคิดทไี่ ด้จากการศกึ ษาวรรณคดีของแต่ละกลุ่ม จากนัน้ รว่ มกนั บอกแนวทาง
ในการนำความรู้และข้อคดิ ไปปรบั ใชใ้ นชวี ิตประจำวนั (R K)

สือ่ (วัสดุ-อปุ กรณ์-ส่ิงพิมพ์) / นวัตกรรม / ICT

1. สอ่ื การเรียนรู้
1. ซดี ีการอา่ นทำนองเสนาะ
2. บทอาขยานตามท่ีนักเรยี นแตล่ ะกล่มุ สนใจ

2. แหลง่ การเรยี นรู้ เกณฑ์การวัด
1. หนังสือเรยี นวชิ าภาษาไทย ชน้ั มัฌธยมศึกษาปีท่ี 1

การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้

วิธกี ารวัดผลและการประเมนิ ผล เคร่ืองมือวัดและประเมินผล

ด้านความรู้ (K) ประเมินการการทอ่ งจำบทอาขยาน แบบประเมินการทอ่ งจำบทอาขยาน รอ้ ยละ 60 ขน้ึ ไป
แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม รอ้ ยละ 60 ขึ้นไป
ด้านทกั ษะ/ สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ แบบประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ร้อยละ 60 ขึ้นไป
กระบวนการ (P)

ด้านคุณธรรม

จรยิ ธรรม และ สงั เกตการใฝเ่ รยี นรู้ มงุ่ มั่นในการ

คา่ นิยม (A) ทำงาน และรักความเป็นไทย

กิจกรรมเสนอแนะ
...........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื .....................................................ผู้เขียนแผนการจัดการเรียนรู้
................/.................../................

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 5

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ท21121 ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ สมบตั ิวรรณคดไี ทย เวลา ๑๐ คาบ

เรอ่ื ง ศิลปะการประพันธใ์ นวรรณคดี เวลา 2 ชวั่ โมง

ผสู้ อน นางสาวณฐั ฐินนั ท์ สมิ พา โรงเรียนบา้ นนาดีสร้างบง

หมายเหตุ…………………………………………………………………………………………………………………………………

มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ งเหน็ คุณคา่ และนำมา
ประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตจรงิ

ตวั ชว้ี ัด

ม 1/2 วเิ คราะหว์ รรณคดีและวรรณกรรมทีอ่ ่านพร้อมยกเหตุผลประกอบ
ม 1/3 อธบิ ายคณุ ค่าของวรรณคดแี ละวรรณกรรมทอี่ ่าน

สาระสำคัญ
การเลน่ คำเล่นเสยี งเพือ่ ใหเ้ กิดภาพพจนถ์ ือว่าเปน็ ศลิ ปะในการแตง่ บทประพันธ์ในวรรณคดไี ทย ผู้เรยี นตอ้ ง

เรยี นร้เู ร่อื งกฎเกณฑ์รูปแบบฉนั ทลักษณข์ องคำประพนั ธช์ นิดตา่ งๆเพอ่ื เป็นพน้ื ฐานสำคญั ในการฝึกหัดแต่งคำประพนั ธ์
งา่ ยๆเพอื่ ใช้ในโอกาสต่างๆ

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
ความรู้ (K)
1. นักเรียนสามารถบอกหลกั การวิเคราะห์วรรณคดแี ละวรรณกรรมทสี่ นใจได้

ทักษะ/กระบวนการ (P)
1. ฝึกวิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมทีน่ ักเรียนสนใจ
2. ฝึกวิเคราะหค์ ุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่นักเรียนสนใจ

สมรรถนะหลกั
 1. ความสามารถในการสือ่ สาร
 2. ความสามารถในการคดิ

3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา
 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A)

 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
 2. ซ่ือสตั ย์สจุ รติ
 3. มีวินยั
 4. ใฝเ่ รียนรู้
 5. อยู่อย่างพอเพียง
 6. มุ่งม่ันในการทำงาน

 7. รักความเปน็ ไทย
 8. มจี ติ สาธารณะ

แนวความคิดเพอ่ื การเรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี 21

 1. สาระวชิ าหลัก (Core Subjects)
 2. ทกั ษะดา้ นการเรยี นรู้และนวัตกรรม
 3. ทกั ษะดา้ นสารสนเทศ ส่อื และเทคโนโลยี
 4. ทกั ษะดา้ นชีวิตและอาชีพ
สาระการเรยี นรู้
1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
- หลัการวเิ คราะห์วรรณคดแี ละวรรณกรรมทอี่ ่านพรอ้ มบอกเหตุผลประกอบ
- อธบิ ายคุณค่าของวรรณคดีและวรรรกรรมที่นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ สนใจ
2 สาระการเรียนรูท้ อ้ งถ่ิน
(พจิ ารณาตามหลกั สตู รสถานศึกษา)

กระบวนการจดั การเรยี นรู้ (ขัน้ ตอน/กระบวนการ)

ขน้ั นำเขา้ สู่บทเรยี น
ครนู ำตัวอยา่ งบทประพนั ธ์จากวรรณคดี มาใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั สงั เกตความแตกตา่ งของคำประพันธท์ งั้ 2
หมายเลข ตามความเข้าใจของนกั เรยี น (V)

ขนั้ สอน
1. นกั เรยี นแบง่ กล่มุ รว่ มกนั ศึกษาวรรณคดีที่นกั เรยี นสนใจ : ลกั ษณะคำประพนั ธ์ (K)
2. ครูให้นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกนั นำความรู้ท่ไี ด้จากการศกึ ษามาวเิ คราะหแ์ ละอธิบายความแตกตา่ งของตวั อยา่ งบท
ประพนั ธแ์ ละสรุปผลทเ่ี ปน็ มตขิ องกลุม่ (V K)
3. ครกู ำหนดใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลุ่มรว่ มกันวิเคราะหแ์ ละอธบิ ายความรู้จากวรรณคดที นี่ ักเรยี นสนใจ ตามประเดน็ ท่ี
กำหนด จากน้ันสง่ ตวั แทนกลมุ่ ออกไปนำเสนอผลการวิเคราะห์ (V R K)
4. นักเรียนแต่ละกลมุ่ รว่ มกนั ทำใบงาน เร่อื ง รปู แบบและลักษณะคำประพนั ธ์ โดยให้สมาชกิ แต่ละคนในกลุม่ หา
คำตอบด้วยตนเองจนครบทุกขอ้ จากน้นั จับคูก่ ับเพือ่ นในกลมุ่ ผลัดกันอธิบายคำตอบของตนเองใหเ้ พอ่ื นฟงั
(นักเรียนอีกคู่หน่ึงก็ปฏิบัตกิ ิจกรรมเช่นเดียวกนั ) (V A R K)
5. สมาชกิ แต่ละกลุม่ ผลัดกันอธบิ ายคำตอบของคูต่ นเองใหเ้ พือ่ นอกี คหู่ น่งึ ฟงั และสรุปคำตอบ ท่ีเป็นมตขิ องกลมุ่
แลว้ บนั ทกึ คำตอบลงในสมดุ เสร็จแล้วนำสง่ ครตู รวจ (V A R K)

ข้ันสรุป
นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มร่วมกนั สรุปรปู แบบและลักษณะคำประพันธข์ องวรรณคดที ่ีนกั เรียนแต่ละกล่มุ สนใจ (K)

ส่อื (วสั ดุ-อปุ กรณ์-ส่งิ พมิ พ)์ / นวัตกรรม / ICT
1 ส่ือการเรียนรู้
1) หนงั สอื เรียน ภาษาไทย : วรรณคดแี ละวรรณกรรม ม.1
2) ตวั อย่างบทประพันธ์
3) ใบงาน เรอื่ ง รปู แบบและลักษณะคำประพันธ์
2 แหลง่ การเรยี นรู้

การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ เครอ่ื งมอื วัดและประเมนิ ผล เกณฑก์ ารวัด
วิธกี ารวัดผลและการประเมินผล

ด้านความรู้ (K) ประเมินการการนำเสนอผลงาน แบบประเมินการนำเสนอผลงาน ร้อยละ 60 ขึ้นไป
แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม รอ้ ยละ 60 ขึน้ ไป
ดา้ นทักษะ/ สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุม่ แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ รอ้ ยละ 60 ขึ้นไป
กระบวนการ (P)

ด้านคุณธรรม สงั เกตการใฝ่เรยี นรู้ มุง่ ม่นั ในการ

จริยธรรม และ ทำงาน และรกั ความเป็นไทย

ค่านยิ ม (A)

กจิ กรรมเสนอแนะ
...........................................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................

ลงชอื่ .....................................................ผู้เขียนแผนการจดั การเรยี นรู้
................/.................../................

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 6

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ท21121 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๑ สมบตั ิวรรณคดีไทย เวลา ๑๐ คาบ

เรอื่ ง การท่องจำบทอาขยาน เวลา 2 ชว่ั โมง

ผสู้ อน นางสาวณัฐฐนิ นั ท์ สิมพา โรงเรยี นบ้านนาดีสร้างบง

หมายเหตุ…………………………………………………………………………………………………………………………………

มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเหน็ คุณคา่ และนำมา
ประยุกต์ใชใ้ นชีวติ จริง

ตัวชี้วัด

ม.1/5 ท่องจำบทอาขยานตามทีก่ ำหนดและบทร้อยกรองทม่ี ีคณุ ค่าตามความสนใจ

สาระสำคัญ
การอา่ นวรรณคดีทีน่ ักเรียนสนใจ เปน็ วรรณคดีที่มีคณุ ค่า ให้ข้อคดิ จึงควรนำบทอาขยานท่ีนักเรยี นสนใจมาทอ่ งจำ

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
ความรู้ (K)
1. นักเรียนสามารถท่องจำบทอาขยานตามที่นักเรยี นสนใจจากวรรณคดีท่ีเลอื กมาได้

ทกั ษะ/กระบวนการ (P)
1. นกั เรียนแบง่ กลุ่มศึกษาวรรณคดีที่สนใจเพือ่ บอกปญั หาท่พี บในวรรณคดี
2. บอกหลักการแก้ปัญหาของนักเรียนแต่ละลมุ่

สมรรถนะหลัก
 1. ความสามารถในการสื่อสาร
 2. ความสามารถในการคิด

3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา
 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ

5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)

 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
 2. ซื่อสัตย์สุจรติ
 3. มีวนิ ัย
 4. ใฝ่เรียนรู้
 5. อยู่อย่างพอเพียง
 6. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน
 7. รักความเป็นไทย
 8. มจี ติ สาธารณะ

แนวความคดิ เพื่อการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21

 1. สาระวิชาหลกั (Core Subjects)
 2. ทักษะด้านการเรยี นรู้และนวัตกรรม
 3. ทกั ษะดา้ นสารสนเทศ ส่อื และเทคโนโลยี
 4. ทักษะดา้ นชวี ติ และอาชีพ

สาระการเรียนรู้
1 สาระการเรยี นร้แู กนกลาง
- บทอาขยานและบทร้อยกรองทม่ี ีคุณค่า
- บทอาขยานตามท่ีนกั เรียนสนใจจากวรรณคดี
2 สาระการเรยี นร้ทู อ้ งถิน่
(พจิ ารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา)

กระบวนการจดั การเรียนรู้ (ขนั้ ตอน/กระบวนการ)

ขนั้ ที่ 1 อธบิ ายปญั หา
1. นักเรียนแตก่ ล่มุ ช่วยกันอา่ นบทอาขยานจากวรรณคดีท่นี กั เรยี นแต่ละกลุม่ สนใจ (V R)
2. สมาชกิ ในแต่ละกลุ่มรว่ มกนั แสดงความคิดเห็นเก่ยี วกับการอ่านของสมาชกิ กลมุ่ วา่ อ่านเหมอื นกันหรือแตกต่างกนั
อย่างไร (R K)

ขั้นที่ 2 อธิบายกฎ หรอื หลักการเพอ่ื การแก้ปญั หา
1. ครูเปดิ ซดี กี ารอา่ นทำนองเสนาะแบบตา่ งๆ ให้นักเรียนฟัง จากน้นั ครอู ธบิ ายให้นกั เรยี นเขา้ ใจว่า การอา่ นบทร้อย
กรองสามารถอา่ นเปน็ ทำนองเสนาะแบบต่างๆ ได้ (V A K)
2. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ฝึกอา่ นทำนองเสนาะตามแบบท่สี นใจ (V R K)

ขั้นที่ 3 ตดั สนิ ใจ
นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ เลอื กใชว้ ิธีใดวิธหี น่งึ มาฝึกอ่านบทอาขยานตามวรรณคดีที่นักเรยี นสนใจ จนสมาชกิ ในกลมุ่ เกิด
ความเชย่ี วชาญ (V A R K)

ขั้นท่ี 4 พสิ ูจน์ หรอื ตรวจคำตอบ
นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ออกมาท่องจำบทอาขยานตามวรรณคดที ่ีนักเรียนแต่ละกลุม่ สนใจ และนักเรยี น

ได้ฝึกมา โดยครูประเมนิ ผลและให้คำแนะนำในการปรบั ปรงุ แก้ไขผลงานการท่องจำบทอาขยาน (V A R K)

ส่อื (วสั ดุ-อุปกรณ์-สิ่งพิมพ์) / นวัตกรรม / ICT
1. สื่อการเรยี นรู้
1. ซดี ีการอ่านทำนองเสนาะ
2. บทอาขยานตามทีน่ กั เรยี นแตล่ ะกลุ่มสนใจ
2. แหล่งการเรียนรู้
1. หนังสอื เรยี นวิชาภาษาไทย ช้นั มฌั ธยมศกึ ษาปีที่ 1

การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ เครอ่ื งมอื วัดและประเมนิ ผล เกณฑก์ ารวัด
วธิ ีการวดั ผลและการประเมนิ ผล

ดา้ นความรู้ (K) ประเมินการการทอ่ งจำบทอาขยาน แบบประเมินการท่องจำบทอาขยาน ร้อยละ 60 ข้นึ ไป
แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม ร้อยละ 60 ขึน้ ไป
ดา้ นทกั ษะ/ สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่ แบบประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์รอ้ ยละ 60 ขนึ้ ไป
กระบวนการ (P)
สงั เกตการใฝ่เรียนรู้ มุ่งมน่ั ในการ
ดา้ นคุณธรรม ทำงาน และรักความเป็นไทย
จริยธรรม และ
คา่ นยิ ม (A)

กิจกรรมเสนอแนะ
..........................................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................

ลงชอื่ .....................................................ผ้เู ขียนแผนการจดั การเรยี นรู้
................/.................../................

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๑

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ท21121 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 นริ าศภเู ขาทอง เวลา ๑๐ คาบ

เรอ่ื ง ประวตั ิความเปน็ มา เวลา 1 ช่ัวโมง

ผู้สอน นางสาวณฐั ฐินนั ท์ สิมพา โรงเรียนบ้านนาดีสร้างบง

หมายเหตุ…………………………………………………………………………………………………………………………………

มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลัง
ของภาษา ภูมปิ ญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบัติของชาติ

มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคดิ เห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ งเหน็ คณุ ค่า

และนำมาประยกุ ต์ใช้ในชีวิตจรงิ
ตัวชวี้ ัด

ท ๕.๑ ม. ๑/๒ วเิ คราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมทอี่ า่ นพร้อมยกเหตผุ ลประกอบ
ท ๕.๑ ม. ๑/๓ อธิบายคุณคา่ ของวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีอา่ น
ท ๕.๑ ม. ๑/๔ สรปุ ความรแู้ ละข้อคดิ จากการอา่ นเพือ่ ประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตจริง

สาระสำคัญ

การอ่านวรรณคดแี ต่ละเร่อื งจำเป็นอยา่ งย่งิ ทจ่ี ะต้องเรียนร้ปู ระวตั ิผูแ้ ต่ง เพื่อให้เข้าถงึ แกน่ ของเรื่อง
แลว้ นำมาประกอบการวเิ คราะห์เหตกุ ารณ์เรอื่ งราวภายในเรือ่ งวา่ ผแู้ ตง่ ตอ้ งการมุ่งเนน้ ไปในทิศทางใด อกี ท้ังยงั
เปน็ การยกยอ่ งชืน่ ชมและรำลึกคณุ งามความดีความรคู้ วามสามารถของผู้แต่งที่ไดส้ ร้างสรรค์มรดกทางภาษาไว้
ให้คนรุน่ หลังไดศ้ กึ ษาเรยี นรแู้ ละเกดิ ความภาคภูมิใจในฝีมือคนไทย

จุดประสงค์การเรียนรู้
ความรู้ (K)
๑. บอกประวัติและผลงานดีเด่นของผแู้ ต่งวรรณคดที ี่ศึกษาได้

๒. บอกขอ้ คิดและคุณค่าของวรรณคดีที่ศึกษาได้
ทกั ษะ/กระบวนการ (P)

๑. วเิ คราะห์วรรณคดีท่ีศกึ ษาได้
๒. สรปุ ความรู้จากวรรณคดีท่ีศึกษาได้
สมรรถนะหลัก

๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร
๒. ความสามารถในการคดิ

๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา
๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

ด้านคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (A)
๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์

๒. ซอ่ื สัตย์สุจริต
๓. มวี นิ ัย

๔. ใฝเ่ รียนรู้
๕. อยู่อย่างพอเพียง

๖. ม่งุ ม่ันในการทำงาน
๗. รกั ความเป็นไทย
๘. มจี ติ สาธารณะ

แนวการคิดเพื่อการเรยี นรู้ในศตวรรษท่๒ี ๑
๑ สาระวิชาหลกั (Core Subjects)

๒. ทักษะด้านการเรียนร้แู ละนวตั กรรม
๓. ทักษะด้านสารสนเทศ สอ่ื และเทคโนโลยี
๔. ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ

สาระการเรียนรู้

๑. ประวตั สิ ุนทรภู่
๒. ผลงานดเี ดน่ ของสนุ ทรภู่

การจดั กระบวนการจัดการเรยี นรู้ (ขนั้ ตอน/กระบวนการ)

๑. นักเรยี นทำแบบทดสอบประเมินผลก่อนเรยี น(ทกั ษะด้านความรู้(K)

๒. ขออาสาสมัครออกมาอา่ นกลอนให้เพ่ือนฟงั (A)

ไม่เมาเหลา้ แลว้ แตเ่ รายงั เมารัก สุดจะหกั ห้ามจติ คิดไฉน

ถงึ เมาเหลา้ เช้าสายก็หายไป แตเ่ มาใจน้ปี ระจำทุกค่ำคนื

ซกั ถามนกั เรียนว่าเคยไดย้ ินคำกลอนบทนห้ี รือไม่ นกั เรียนทราบไหมว่ามาจากวรรณคดีเร่ืองใด

ใครเป็นผูแ้ ตง่ แนวคำตอบก็คอื มาจากวรรณคดีเรื่องนริ าศภเู ขาทอง แต่งโดยกวเี อกของไทยสมยั

รัตนโกสนิ ทรต์ อนต้น คือสนุ ทรภู่ แต่เปน็ คำกลอนทพ่ี ดู กันตดิ ปากในทุกยคุ ทุกสมัย จากน้นั ให้นักเรียนอา่ น

พรอ้ มกัน

๓. นักเรียนทกุ คนอ่านในใจ ประวัติสุนทรภู่ จากใบความรู้ จากนัน้ รว่ มกันสนทนาถงึ

ประวัตแิ ละผลงานสุนทรภู่ ครูตงั้ คำถามให้นักเรยี นแขง่ ขนั กันตอบ ให้นกั เรียนยกตัวอย่างคำกลอนของ

สุนทรภู่ท่ีนกั เรียนชอบทส่ี ดุ (K)

๔. นกั เรียนทุกคนบอกชอ่ื วรรณคดีทีเ่ ป็นผลงานของสุนทรภู่ คนละ ๑ เรอ่ื งโดยไมซ่ ้ำกัน ( K)

๕. นักเรยี นทำใบกิจกรรมการเรยี นรทู้ ่ี ๑ เสร็จแลว้ นำส่งครูตรวจสอบประเมนิ ผลและประกาศผล

การประเมิน พรอ้ มทัง้ แนะนำแกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ งเปน็ รายๆ

๖. นักเรยี นทกุ คนทำแบบทดสอบหลังเรียนบทที่ ๑ นริ าศภูเขาทอง เสร็จแล้วนำส่งครูตรวจสอบ

ความถกู ต้องและประกาศผลโดยทย่ี ังไมต่ ้องเฉลย(K)

สอื่ ( วสั ดุ-อุปกรณ์- สิ่งพิมพ์ ) /นวัตกรรม/ ICT

๑. รูปภาพประกอบบทเรยี น
๒. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น-หลังเรียน
๓. หนังสือเรียน ชุด วรรณคดีวิจักษ์ ช้นั ม.๑

แหลง่ การเรียนรู้
ห้องสมุด

การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ เคร่อื งมอื วัดและ เกณฑก์ ารวัด
ประเมินผล คะแนนผ่านเกณฑร์ ้อยละ ๖๐
วิธีการวดั ผลและการ
ประเมินผล แบบทดสอบประเมนิ ผล
ก่อนเรียน
ด้านความรู้ (K) นักเรียนทำแบบทดสอบ
ประเมินผลก่อนเรียน

ด้านทักษะ/ นักเรียนทำใบกิจกรรมการ ใบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๑ คะแนนผา่ นเกณฑ์รอ้ ยละ ๖๐
กระบวน (P) เรียนรทู้ ่ี ๑ เรอื่ งประวัติและ
ผลงานของสุนทรภู่
ดา้ นคุณธรรม
จริยธรรมและ สังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี น แบบประเมนิ คุณลักษณะอัน คะแนนผา่ นเกณฑร์ อ้ ยละ ๖๐
ค่านยิ ม (A) ในการเข้ารว่ มกิจกรรม พงึ ประสงค์

กิจกรรมเสนอแนะ

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงช่อื .......................................ผู้เขียนแผนการจัดการเรยี นรู้
......./................../...........

ใบความร้ทู ี่ ๑
.

ประวัตผิ แู้ ตง่ นริ าศภูเขาทอง สนุ ทรภู่

สุนทรภู่เป็นกวีเอกของไทยในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งมีศิลปะการเรียบเรียงคำขึ้นเป็นบท
ร้อยกรองท่ีเป่ียมล้นด้วยอรรถรสและคุณค่าแห่งวรรณศิลป์ประเภทกลอนสุภาพท่ีโดดเด่นท่ีสุดหาคนจับยาก
สุนทรภู่มีชวี ติ ทไี่ ม่ค่อยราบร่ืนนักทั้งด้านชวี ติ ครอบครัวและหนา้ ที่การงาน มีชวี ติ เหมือนนยิ ายในยามรงุ่ เรอื งมี
ทั้งชื่อเสียงเกียรติยศแต่ในยามตกอับแสนลำบากยากแค้น แต่ไม่ว่าสุนทรภู่จะอยู่ในห้วงเวลาเช่นใดก็ตามแต่
สนุ ทรภกู่ ็สามารถสร้างสรรคบ์ ทร้อยกรองที่ทรงคณุ ค่าเป่ียมล้นด้วยคุณภาพตามรูปแบบฉนั ทลักษณ์และแทรก
อุทาหรณส์ อนใจจนพูดกนั ติดปากในยคุ ทุกสมยั งานเขียนของสนุ ทรภูจ่ งึ เป็นมรดกอันล้ำคา่ ของแผ่นดนิ ควรค่า
แกก่ ารอนุรักษ์สืบสานใหเ้ ป็นมรดกของชาตสิ ืบต่อไป

สุนทรภู่ เกิดเม่อื วันจนั ทร์ท่ี ๒๒ มิถนุ ายน พุทธศกั ราช ๒๓๒๙ ในรชั กาลพระบาทสมเด็จ
พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช บิดาเป็นคนบ้านกลำ่ อำเภอแกลง จังหวัดระยอง มารดาเป็นคนเมืองใด
ไมป่ รากฏแต่เป็นนางนมของพระองค์เจ้าจงกล พระธิดาในกรมพระราชวังหลัง สุนทรภเู่ รียนหนังสือครง้ั แรก
กับพระทวี่ ดั ชีปะขาวหรือวัดศรสี ุดาราม รมิ คลองบางกอกนอ้ ย ตอ่ มามารดาพาเข้าไปถวายตวั เปน็ ขา้ ในกรม
พระราชวงั หลัง

เม่ือเป็นหนุ่ม สุนทรภู่ได้ชอบผู้หญิงคนหนึ่ง ชื่อนางจัน ความที่เป็นคนเจ้าบทเจ้ากลอน
สุนทรภู่ได้แต่งเพลงยาวเก้ียวพาราสีนางจัน ทำให้บิดาของนางไม่พอใจ ให้คนไปจับและนำความข้ึนกราบ
บังคมทูลพระราชวังหลัง ทำให้สุนทรภู่ถูกจองจำคุก แต่สุนทรภู่ก็ถูกจองจำอยู่ไม่นานก็ได้รับการปล่อยตัว
เพราะกรมพระราชวงั หลังประชวรและทิวงคต สุนทรภู่ต้องการบวชเพื่อล้างอัปมงคลจึงไปหาบิดาที่เมืองแก
ลง สุนทรภู่เดินทางไปเมอื งแกลงโดยทางเรือการเดินทางเป็นไปด้วยความยากลำบาก เมื่อไปถึงแล้วก็ไม่ได้
บวชตามที่คิดเพราะสุนทรภู่ได้ล้มป่วยลงแทบเอาชีวิตไม่รอด ในคราวไปเมืองแกลงครั้งน้ันสุนทรภู่ได้แต่ง
นริ าศเมืองแกลง ซ่งึ เปน็ นริ าศเรอ่ื งแรกของสนุ ทรภู่

เม่อื กลบั มาจากเมืองแกลง สนุ ทรภไู่ ด้รบั พระเมตตาจากเจา้ ครอกทองอยู่ พระอคั รชายาของ
กรมพระราชวงั หลัง ทรงช่วยให้สนุ ทรภู่ได้แตง่ งานอยู่กินกับนางจันสมปรารถนา แตส่ ุนทรภ่กู ไ็ ม่มีความสุข
เพราะสุนทรภู่กินเหล้าและเจ้าชู้ทำให้นางจันโกรธมีเรื่องทะเลาะเบาะกัน ต่อมาสุนทรภู่ได้ถวายตัวเป็น
มหาดเล็กของพระองค์เจ้าปฐมวงศ์และได้ตามเสด็จไปนมัสการพระพุทธบาทใน พ.ศ.๒๓๕๐ ทำให้ได้เขียน
นิราศ เรื่องท่ี ๒ คอื นริ าศพระบาท

เม่ือกลับมาจากพระพุทธบาทแล้ว นางจันก็ไม่ยอมคืนดีด้วย ทำให้สุนทรภู่กลุ้มใจเสียใจกิน
เหล้าหนักข้ึนกว่าเดิม จนพระองค์เจ้าปฐมวงศ์ทรงเอือมระอา สุนทรภู่น้อยใจจึงเดินทางไปเมืองเพชรบุรี
สนุ ทรภู่ได้ไปอาศยั อยูก่ ับหมอ่ มบุนนาค ในกรมพระราชวังหลงั และไดแ้ ต่งนิราศเมืองเพชร

เมื่อสุนทรภู่อายุได้ ๓๕ ปี ชีวิตของสุนทรภู่เริ่มดีขึ้น ด้วยเหตุที่พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศ
หลา้ นภาลยั ทรงโปรดการกวี ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้า ฯ ให้เป็นกวีท่ีปรึกษาและทรงตงั้ ใหเ้ ปน็ ขุนสุนทรโวหาร
ในกรมพระอาลักษณ์ นอกจากน้ันยังพระราชทานเรือนหลวงซึ่งอยู่ทางทิศใต้ของท่าช้างให้เป็นท่ีอยู่ ชีวิต
สนุ ทรภ่มู ีความสุขมากในช่วงนี้เพราะไดอ้ ยู่กนั พรอ้ มหน้าคอื นางจนั และหนพู ัดบุตรชาย แต่สนุ ทรภ่กู ็ยงั คงกิน
เหล้าเจ้าชู้เหมือนเดิมจนได้ไปติดพันกับผู้หญิงอีกคนหนึ่งคือ นางน่ิม และได้เสียเป็นสามีภรรยากันนางจัน
โกรธมากเกดิ ทะเลาะกนั อยา่ งรุนแรง สุนทรภเู่ มาสุราและได้ทำรา้ ยลุงซ่งึ เป็นพี่ชายของนางจนั ซง่ึ ไดเ้ ข้ามาหา้ ม

ปราม ทำให้สุนทรภู่ถูกจองจำอีกครั้งหนึ่ง และในระหว่างถกู จองจำในคุกคร้ังนี้สนุ ทรภู่ได้แต่งกลอนนิทาย
เรอ่ื ง พระอภยั มณี เพ่อื ขายเลี้ยงตัวในยามตกทกุ ข์ไดย้ าก

ภายหลังพ้นโทษสุนทรภู่ได้เป็นพระอาจารย์ถวายอักษรพระราชโอรสในรัชกาลที่ ๒ แต่เม่ือถึง
ช่วงสมัยรัชกาลที่ ๓ สุนทรภไู่ ดถ้ ูกปลดออกราชการเพราะสนุ ทรภ่ไู ด้มีพฤติกรรมทีไ่ ม่เปน็ ทพ่ี งึ พระราชประสงค์

ของพระองค์อยเู่ สมอๆตั้งแต่พระองค์ยังมิได้สถาปนาข้นึ เป็นพระมหากษัตริย์ ในช่วงนี้สนุ ทรภู่ออกบวช เม่ือ
ลาสิกขาแลว้ สุนทรภไู่ ด้เข้าถวายตัวอย่กู ับพระองคเ์ จา้ ลกั ขณานุคุณพระราชโอรสในรัชกาลที่ ๓ ได้ปหี นงึ่ คร้ัน
เจ้านายพระองค์นี้ส้ินพระชนม์สุนทรภู่ขาดที่พึ่งได้รับความลำบากมาก ต้องล่องเรือแต่งหนังสือขายเล้ียงชีพ

ในบ้ันปลายชีวิตสุนทรภู่ได้รับการอุปถัมภ์จากกรมหมื่นอัปสรสุดาเทพ และได้รับตำแหน่งเป็นเจ้ากรม
อาลักษณ์ฝ่ายพระราชวังบวร มีบรรดาศักดิ์เป็นพระสุนทรโวหาร จนกระท่ังถึงแก่กรรมลงในสมัย

พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว เน่ืองจากสุนทรภู่มีชวี ิตอยใู่ นรัชสมัยรัชกาลท่ี ๑ ถึงรัชสมัยรัชกาลที่
๔ แหง่ กรงุ รตั นโกสินทร์ สนุ ทรภูจ่ ึงได้รบั สมญานามวา่ “ กวสี แ่ี ผ่นดนิ ”

สุนทรภูถ่ ือว่าเป็นกวีโดยแท้ ไม่ว่าทุกข์หรอื สุขกส็ ามารถแต่งกลอนได้ ยามทุกข์สนุ ทรภู่แต่งข้ึน

เพ่ือระบายความทุกข์ ในยามสุข สนุ ทรภู่แต่งกลอนเพ่ือยกยอ่ งผมู้ พี ระคุณหรือเพื่อเปน็ อุทาหรณ์สอนใจแก่คน
ทัว่ ไป คำกลอนที่สุนทรภู่แต่งข้ึนนับว่าเป็นผลงานที่ทรงคุณค่าและเป็นแบบอย่างท่ีดีของบทร้อยกรองเพราะ

ถูกต้องตามรูปแบบฉันทลักษณ์ ใช้คำเรยี บเรียงขึ้นได้อย่างสละสลวยทำให้คนในรุ่นหลงั ได้นำมาพูดกันจนติด
ปากในทุกด้าน สุนทรภู่จึงเป็นบุคลกรท่ีสำคัญที่สร้างสรรค์งานเขียนไว้เป็นมรดกอันล้ำค่าของชาติสืบต่อไป

สนุ ทรภถู่ งึ แก่กรรมเมื่อ พ.ศ. ๒๓๙๘ ในรัชกาลที่ ๔ แหง่ กรุงรตั นโกสินทร์ มีสริ อิ ายุรวม ๖๙

ปี องค์การศึกษาวทิ ยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ ( UNESCO) ยกย่องสุนทรภู่วา่ เป็นกวสี ำคัญ
คนหนึ่งของโลก ในปี ๒๕๒๙

ใบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๑

คำช้แี จง ให้นกั เรียนตอบคำถามตอ่ ไปน้ี
๑. เหตุใดสนุ ทรภจู่ งึ ไดร้ ับสมญานามว่าเป็นกวีสี่แผ่นดนิ

๒. นริ าศภเู ขาทอง ได้รับการยกย่องจากหนว่ ยงานใด ให้เป็นยอดแห่งกลอนนริ าศ
๓. กลอนนทิ านของสนุ ทรภ่เู ร่อื งใดท่ีไดร้ ับการยกยอ่ งใหเ้ ป็นยอดของกลอนนทิ าน
๔. ในสมัยรัชกาลของพระมหากษตั รยิ พ์ ระองค์ใดท่ีสนุ ทรภู่มชี วี ิตรุ่งโรจน์ทส่ี ดุ

๕. ลกั ษณะโดดเด่นของบทประพันธข์ องสนุ ทรภทู่ ่เี หนือกวีท่านอ่ืนคอื เรื่องใด
๖. วรรณคดเี รื่องใดของสุนทรภู่ ทต่ี ัวละครเกิดจากจนิ ตนาการเชิงวทิ ยาศาสตร์

๗. สุนทรภมู่ ีบคุ ลิกลกั ษณะอยา่ งไร
๘. สุนทรภู่เดินทางไปนมสั การเจดยี ภ์ เู ขาทองอยา่ งไร
๙. สนุ ทรภู่เดนิ ทางไปนมัสการพระเจดีย์ภเู ขาทองในชว่ งรัชกาลใด

๑๐. เคร่ืองอัฏฐะ หมายถงึ อะไร

เฉลยใบกจิ กรรมการเรยี นรู้ที่ ๑
คำชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนตอบคำถามตอ่ ไปน้ี

๑. เพราะเกิดในสมัยรชั กาลท่ี ๑ และมชี ีวติ อยู่จนถงึ รชั กาลท่ี ๔
๒. วรรณคดีสโมสร

๓. พระอภยั มณี
๔. รัชกาลท่ี ๒
๕. มีสมั ผัสในทกุ วรรค

๖. พระอภยั มณี
๗. ข้เี มา เจ้าชู้

๘. ทางเรือ
๙. รัชกาลท่ี ๓
๑๐. เครอื่ งใชข้ องพระสงฆ์ ได้แก่ สบง จวี ร สังฆาฏิ รัดประคด บาตร

มดี เขม็ เครอ่ื งกรองนำ้

แบบทดสอบก่อนเรยี น
คำช้แี จง ตอนที่ ๑ ให้นกั เรยี นเลอื กตอบคำตอบที่ถูกตอ้ งท่สี ดุ เพยี งข้อเดียว

๑. ชวี ติ ของสนุ ทรภู่มีทง้ั รุ่งเรืองและตกอบั สาเหตุใดทำให้สุนทรภู่ ตกอบั
ก. ศัตรู

ข. ผ้หู ญิง
ค. สรุ า
ง. สรุ าและผู้หญงิ

๒. “กวีสแี่ ผ่นดิน” เป็นสมญานามของบุคคลทา่ นใด
ก. พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หล้านภาลยั

ข. กรมหม่ืนนราทพิ ยป์ ระพันธพ์ งศ์
ค. กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์
ง. สนุ ทรภู่

๓. วรรณคดนี ริ าศ หมายความวา่ อย่างไร
ก. วรรณคดีท่ีแตง่ ขึน้ เพื่อการเต้าลีลาศ

ข. วรรณคดีท่แี ต่งข้ึนเพื่อบันทึกความร้สู ึกของผู้เดนิ ทาง
ค. วรรณคดีที่แตง่ ขน้ึ เพ่ือบนั ทกึ เหตกุ ารณ์ทางประวตั ศิ าสตร์
ง. วรรณคดีที่แตง่ ขึ้นเพือ่ ประกอบการทำพธิ ีกรรมอยา่ งใดอย่างหนง่ึ

๔. นริ าศส่วนมากแต่งด้วยคำประพนั ธ์ประเภทใด
ก. กลอนสุภาพ

ข. โคลง
ค. ฉันท์
ง. กาพย์

๕. นิราศเร่ืองใดแตง่ ดว้ ยโคลงสส่ี ภุ าพ
ก. นิราศนรินทร์

ข. นิราศพระบาท
ค. นิราศเมอื งแกลง
ง. นิราศเดือน

๖. ข้อใดคือลกั ษณะเดน่ ของคำกลอนท่ีสุนทรภแู่ ต่ง
ก. มแี ปดคำทุกวรรค

ข. มีเจ็ดคำทุกวรรค
ค. มสี มั ผัสในทกุ วรรค
ง. มสี ัมผสั อักษรทุกวรรค

๗. การเดินทางไปนมสั การเจดยี ภ์ ูเขาทองของสนุ ทรภู่เริ่มต้นจกที่ใด
ก. บางพลัด

ข. พระบรมมหาราชวงั
ค. ตลาดขวญั
ง. วัดราชบูรณะ

๘. คำกลอนในข้อใดท่มี แี สดงให้เห็นว่าสนุ ทรภูช่ อบด่ืมสุราท่ีเด่นชัดทส่ี ดุ

ก. ถงึ โรงเหลา้ เตากลั่นควันโขมงมคี ันโยงผูกสายไว้ปลายเสา

โอบ้ าปกรรมนำ้ นรกเจยี วอกเรา ให้มัวเมาเหมือนหนงึ่ บ้าให้นา่ อาย

ข. ไม่เมาเหลา้ แล้วแตเ่ รายังเมารัก สดุ จะหักห้ามจติ คิดไฉน

ถึงเมาเหลา้ เชา้ สายก็หายไป แตเ่ มาใจนีป้ ระจำทุกค่ำคืน

ค. ถงึ บางพดู พูดดีเปน็ ศรีศกั ด์ิ มคี นรกั รสถอ้ ยอรอ่ ยจิต

แม้นพดู ชั่วตัวตายทำลายมติ ร จะพาลผดิ กับมนุษยเ์ พราะพูดจา

ง. ทำบญุ กรวดน้ำขอสำเรจ็ พระสรรเพชญโพธญิ าณประมาณหมาย

ถงึ สรุ าพารอดไมว่ อดวาย ไมใ่ กล้กรายแกลง้ เมนิ ก็เกินไป

๙. ชลมารค หมายความวา่ อย่างไร

ก. ทางบก

ข. ทางนำ้

ค. ทางอากาศ

ง. ทางเกวยี น

๑๐.อ่านคำกลอนนีแ้ ลว้ ตอบคำถาม

เคยหมอบใกล้ได้กลิน่ สุคนธต์ รลบ ละอองอบรสร่ืนช่ืนนาสา

สิน้ แผ่นดนิ สน้ิ รสสคุ นธา วาสนาเรากส็ น้ิ เหมือนกลนิ่ สุคนธ์

๑๐. คำวา่ สิน้ แผ่นดินในคำกลอนนห้ี มายความว่าอยา่ งไร

ก. ไม่มที อ่ี ยู่

ข. ไมม่ ญี าตพิ ่นี อ้ ง

ค. รัชกาลท่ี ๒ เสดจ็ สวรรคต

ง. สนุ ทรภู่ติดคกุ

ตอนที่ ๒ (๕ คะแนน )

คำช้แี จง ให้นกั เรยี นอา่ นคำกลอนต่อไปนีแ้ ล้วอธิบายความหมายเป็นรอ้ ยแก้ว

ครัน้ รุ่งเชา้ เข้าเปน็ วนั อุโบสถ เจรญิ รสธรรมาบชู าฉลอง

ไปเจดียท์ ชี่ ่อื ภเู ขาทอง ดูสงู ลอ่ งลอยฟา้ นภาลยั

อยกู่ ลางทงุ่ รงุ่ โรจนส์ นั โดษเดน่ เป็นที่เลน่ นาวาคงคาใส

ทพ่ี ้นื ลานฐานปทั มถ์ ดั บันได คงคาไหลล้อมรอบเปน็ ขอบคนั

มเี จดยี ว์ ิหารเปน็ ลานวดั ในจังหวัดวงแขวงกำแพงกน้ั

ท่อี งคก์ อ่ ย่อเหลยี่ มสลับกนั เปน็ สามช้ันเชงิ ชานตระหง่านงาม

บันไดมีสี่ด้านสำราญร่นื ตา่ งชมชนื่ ชวนกนั ขึ้นช้นั สาม

ประทกั ษิณจนิ ตนาพยายาม ไดเ้ สรจ็ สามรอบคำนับอภิวนั ท์

มหี ้องถ้ำสำหรบั จุดเทียนถวาย ด้วยพระพายพัดเวยี นดเู หยี นหัน

เป็นลมทักษิณาวรรตนา่ อัศจรรย์ แต่ทกุ วนั นชี้ ราหนกั หนานกั

ทั้งองคฐ์ านรานร้าวถึงเกา้ แฉก เผยอแยกยอดทรดุ ก็หลุดหัก

โอ้เจดียท์ ี่สร้างยงั ร้างรกั เสยี ดายนกั นกึ นา่ นำ้ ตากระเซ็น

กระนห้ี รอื ชอ่ื เสยี งเกยี รตยิ ศ จะมิหมดล่วงหน้าทันตาเหน็

เปน็ ผดู้ ีมมี ากแล้วยากเย็น คดิ กเ็ ปน็ อนิจจงั เสยี ทงั้ นน้ั

เฉลยข้อสอบกอ่ นเรยี น-หลังเรยี น

ตอนท่ี ๑ ใหน้ กั เรยี นเลอื กตอบคำตอบที่ถกู ต้องท่ีสดุ เพยี งข้อเดยี ว
๑. ชวี ิตของสุนทรภู่มีท้งั รงุ่ เรอื งและตกอับ สาเหตุใดทำให้สุนทรภู่ ตกอบั

ก. ศัตรู
ข. ผ้หู ญงิ
ค. สรุ า

ง. สรุ าและผ้หู ญิง
๒. “กวสี ี่แผน่ ดิน” เป็นสมญานามของบคุ คลทา่ นใด

ก. พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหล้านภาลยั
ข. กรมหมื่นนราทิพย์ประพนั ธพ์ งศ์
ค. กรมหม่ืนเจษฎาบดนิ ทร์

ง. สุนทรภู่
๓. วรรณคดีนริ าศ หมายความว่าอย่างไร

ก. วรรณคดที ีแ่ ต่งขนึ้ เพือ่ การเต้าลีลาศ
ข. วรรณคดีทีแ่ ตง่ ขน้ึ เพ่ือบันทึกความรสู้ ึกของผู้เดินทาง
ค. วรรณคดีทีแ่ ต่งขน้ึ เพื่อบนั ทกึ เหตกุ ารณท์ างประวตั ศิ าสตร์

ง. วรรณคดที ่แี ตง่ ขึ้นเพอื่ ประกอบการทำพธิ กี รรมอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่
๔. นิราศสว่ นมากแต่งดว้ ยคำประพันธ์ประเภทใด

ก. กลอนสภุ าพ
ข. โคลง
ค. ฉันท์

ง. กาพย์
๕. นริ าศเรอ่ื งใดแต่งดว้ ยโคลงส่สี ุภาพ

ก. นิราศนรินทร์
ข. นริ าศพระบาท
ค. นริ าศเมอื งแกลง

ง. นิราศเดือน
๖. ขอ้ ใดคอื ลกั ษณะเดน่ ของคำกลอนทส่ี ุนทรภ่แู ต่ง

ก. มแี ปดคำทกุ วรรค
ข. มีเจ็ดคำทุกวรรค
ค. มสี มั ผสั ในทกุ วรรค

ง. มีสมั ผสั อักษรทุกวรรค
๗. การเดินทางไปนมัสการเจดียภ์ ูเขาทองของสุนทรภู่เริ่มต้นจกทีใ่ ด

ก. บางพลดั
ข. พระบรมมหาราชวงั
ค. ตลาดขวัญ

ง. วัดราชบูรณะ

๘. คำกลอนในขอ้ ใดที่มแี สดงใหเ้ ห็นว่าสุนทรภชู่ อบดื่มสุราท่ีเด่นชัดที่สดุ

ก. ถงึ โรงเหลา้ เตากล่นั ควันโขมงมีคนั โยงผูกสายไว้ปลายเสา

โอบ้ าปกรรมน้ำนรกเจยี วอกเรา ใหม้ ัวเมาเหมือนหนง่ึ บ้าให้นา่ อาย

ข. ไมเ่ มาเหลา้ แลว้ แต่เรายังเมารัก สดุ จะหักห้ามจติ คิดไฉน

ถึงเมาเหลา้ เชา้ สายก็หายไป แต่เมาใจนีป้ ระจำทกุ คำ่ คนื

ค. ถึงบางพูดพดู ดเี ปน็ ศรีศกั ด์ิ มีคนรกั รสถ้อยอร่อยจิต

แม้นพูดชัว่ ตวั ตายทำลายมิตร จะพาลผดิ กับมนุษย์เพราะพูดจา

ง. ทำบุญกรวดน้ำขอสำเร็จ พระสรรเพชญโพธญิ าณประมาณหมาย

ถึงสุราพารอดไม่วอดวาย ไมใ่ กลก้ รายแกลง้ เมนิ ก็เกนิ ไป

๙. ชลมารค หมายความว่าอย่างไร

ก. ทางบก

ข. ทางนำ้

ค. ทางอากาศ

ง. ทางเกวียน

๑๐. - ๑๑ อา่ นคำกลอนนี้แลว้ ตอบคำถาม

เคยหมอบใกล้ได้กล่ินสุคนธ์ตรลบ ละอองอบรสรื่นช่ืนนาสา

ส้นิ แผน่ ดนิ สน้ิ รสสคุ นธา วาสนาเราก็สนิ้ เหมือนกลนิ่ สคุ นธ์

๑๐. คำว่าส้นิ แผน่ ดินในคำกลอนน้ีหมายความว่าอยา่ งไร

ก. ไม่มที อ่ี ยู่

ข. ไมม่ ีญาติพนี่ อ้ ง

ค. รชั กาลที่ ๒ เสด็จสวรรคต

ง. สุนทรภู่ติดคกุ

ตอนที่ ๒ อยใู่ นดลุ พนิ จิ ของครู

แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

คำช้แี จง : ให้ผู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในช่องท่ี

ตรงกับระดบั คะแนน

คณุ ลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดับคะแนน

อันพงึ ประสงคด์ ้าน ๔๓๒๑

๑. รักชาติ ศาสน์ ๑.๑ ยืนตรงเม่อื ไดย้ นิ เพลงชาติ ร้องเพลงชาตไิ ด้ และอธบิ าย

กษตั ริย์ ความหมายของเพลงชาติ

๑.๒ ปฏิบตั ิตนตามสทิ ธแิ ละหน้าท่ขี องพลเมอื งดี

๑.๓ ให้ความรว่ มมอื ร่วมใจ ในการทำกิจกรรมกับสมาชกิ ใน

โรงเรียนและชุมชน

๑.๔ เขา้ รว่ มกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจดั กจิ กรรมที่สรา้ ง

ความสามัคคปี รองดอง และเป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชน

และสังคม ช่นื ชมความเป็นชาตไิ ทย

๑.๕ เขา้ ร่วมกิจกรรมทางศาสนาทีต่ นนบั ถือ ปฏบิ ัตติ นตาม

หลกั ของศาสนาอย่างสมำ่ เสมอ เปน็ แบบอย่างทดี่ ีของศาสนกิ

ชน

๑.๖ เขา้ รว่ มกจิ กรรมและมีส่วนรว่ มในการจัดกิจกรรมท่ี

เกยี่ วข้องกับสถาบันพระมหากษัตริย์ตามทีโ่ รงเรียนและชมุ ชน

จัดข้ึน ชื่นชมในพระราชกรณียกิจพระปรีชาสามารถของ

พระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์

๒. ซื่อสัตย์ สจุ ริต ๒.๑ ให้ข้อมูลทถ่ี ูกต้อง และเปน็ จรงิ

๒.๒ ปฏบิ ตั ใิ นส่งิ ท่ถี กู ต้อง ละอาย และเกรงกลวั ท่จี ะกระทำ

ความผิด ทำตามสัญญาที่ตนใหไ้ ว้กบั เพอ่ื น พอ่ แม่ หรือ

ผู้ปกครอง และครู เป็นแบบอย่างท่ีดีดา้ นความซือ่ สตั ย์

๒.๓ ปฏิบัติตนต่อผูอ้ นื่ ด้วยความซื่อตรง ไมห่ าประโยชน์

ในทางทไี่ มถ่ ูกตอ้ งและเป็นแบบอย่างทีด่ ีแก่เพ่อื นด้านความ

ซ่ือสัตย์

๓. มีวนิ ัย ๓.๑ ปฏบิ ัติตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ขอ้ บงั คับของ

รบั ผดิ ชอบ ครอบครัวโรงเรยี น และสงั คม ไมล่ ะเมดิ สทิ ธขิ องผู้อ่นื ตรงตอ่

เวลาในการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจำวนั และ

รับผิดชอบในการทำงาน

๔. ใฝ่เรียนรู้ ๔.๑ แสวงหาขอ้ มลู จากแหล่งการเรยี นร้ตู า่ งๆ

๔.๒ มกี ารจดบันทกึ ความร้อู ยา่ งเปน็ ระบบ

๔.๓ สรุปความรไู้ ดอ้ ย่างมีเหตุผล

๕. อย่อู ย่างพอเพยี ง ๕.๑ ใช้ทรัพย์สนิ ของตนเอง เช่น สง่ิ ของ เครือ่ งใช้ ฯลฯ อยา่ ง

ประหยดั คุ้มค่า และเกบ็ รกั ษาดแู ลอยา่ งดี และใชเ้ วลาอย่าง

เหมาะสม
๕.๒ ใชท้ รพั ยากรของสว่ นรวมอย่างประหยัด ค้มุ ค่า และเก็บ
รักษาดแู ลอย่างดี
๕.๓ ปฏิบัตติ นและตัดสนิ ใจด้วยความรอบคอบ มีเหตุผล
๕.๔ ไมเ่ อาเปรียบผอู้ นื่ และไมท่ ำให้ผู้อน่ื เดือดรอ้ น พรอ้ มให้
อภัยเมอื่ ผู้อื่นกระทำผิดพลาด
๕.๕ วางแผนการเรียน การทำงานและการใช้ชีวติ ประจำวัน
บนพนื้ ฐานของความรู้ ขอ้ มลู ขา่ วสาร
๕.๖ รเู้ ทา่ ทนั การเปลย่ี นแปลง ทางสงั คม และสภาพแวดล้อม
ยอมรบั และปรบั ตัว อยรู่ ว่ มกับผอู้ น่ื ได้อยา่ งมคี วามสุข
๖. มงุ่ ม่นั ในการ ๖.๑ มคี วามตง้ั ใจและพยายามในการทำงานที่ไดร้ บั มอบหมาย
ทำงาน ๖.๒ มคี วามอดทนและไมท่ อ้ แท้ตอ่ อปุ สรรคเพื่อให้งานสำเร็จ
๗. รักความเป็นไทย ๗.๑ มจี ติ สำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภมู ิปัญญาไทย
๗.๒ เหน็ คณุ ค่าและปฏบิ ัตติ นตามวฒั นธรรมไทย
๘. มจี ติ สาธารณะ ๘.๑ รจู้ กั ชว่ ยพ่อแม่ ผ้ปู กครอง และครูทำงาน
๘.๒ อาสาทำงาน ช่วยคิด ช่วยทำ แบง่ ปนั ส่ิงของ และช่วย
แก้ปญั หาใหผ้ ้อู ืน่
๘.๓ ดูแล รักษาทรัพย์สนิ ของหอ้ งเรยี น โรงเรยี น ชุมชน
๘.๔ เข้ารว่ มกิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชนข์ อง
โรงเรียนและชมุ ชน

ลงชือ่ ..........................................ผู้ประเมนิ
............../.................../...........

แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 2

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ท21121 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 นิราศภูเขาทอง เวลา ๑๐ คาบ

เรื่อง การอา่ นจบั ใจความสำคญั เวลา 1 ชวั่ โมง

ผสู้ อน นางสาวณัฐฐนิ นั ท์ สิมพา โรงเรียนบ้านนาดีสร้างบง

หมายเหต…ุ ………………………………………………………………………………………………………………………………

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพอ่ื นำไปใชต้ ัดสนิ ใจแก้ปญั หาใน
การดำเนินชวี ติ และมีนสิ ยั รักการอ่าน

ตวั ชี้วัด
ท ๑.๑ ม. ๑/๒ จับใจความสำคัญจากเร่อื งท่อี า่ น

ท ๑.๑ ม. ๑/๙ มีมารยาทในการอา่ น

สาระสำคัญ

การอ่านจบั ใจความเปน็ การอา่ นระดบั พ้ืนฐาน ซึ่งมคี วามสำคัญอยา่ งยงิ่ ในการศกึ ษาหาความรู้ มี
วัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับข้อความหรอื เรื่องราวท่ีอ่าน ผู้ท่ีมีทกั ษะการอา่ นจับใจความสูงจะ
สามารถเขา้ ใจเนอื้ หาท่ีปรากฏในข้อความหรอื เรอ่ื งที่อา่ นอย่างรวดเร็วและแมน่ ยำ ซงึ่ จะเปน็ พนื้ ฐานในการ
วเิ คราะหห์ รือตีความเรอื่ งราวน้ัน ๆ ตอ่ ไป

จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. อธิบายหลกั การอ่านจับใจความได้
2. ตงั้ คำถามเกย่ี วกบั วรรณคดเี ร่ืองทีอ่ า่ นได้
3. จับใจความสำคญั จากวรรณคดีเรอ่ื งทีอ่ ่านได้
สมรรถนะหลกั
⁄ ๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร
๒. ความสามารถในการคดิ
๓. ความสามารถในการแก้ปญั หา
๔. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต
๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

ด้านคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
๒. ซ่อื สตั ยส์ จุ ริต
๓. มีวินยั
๔. ใฝ่เรียนรู้

๕. อยู่อย่างพอเพียง
๖. ม่งุ ม่นั ในการทำงาน
๗. รักความเป็นไทย
๘. มจี ติ สาธารณะ
แนวการคิดเพ่อื การเรยี นรใู้ นศตวรรษท๒ี่ ๑
๑ สาระวิชาหลกั (Core Subjects)
๒. ทักษะด้านการเรียนรแู้ ละนวัตกรรม
๓. ทกั ษะด้านสารสนเทศ ส่ือ และเทคโนโลยี
๔. ทกั ษะดา้ นชีวิตและอาชพี

สาระการเรยี นรู้
หลักการอ่านจับใจความ

การจัดกระบวนการจัดการเรียนรู้ (ขน้ั ตอน/กระบวนการ)
๑. นกั เรยี นออกมาหน้าชัน้ เรยี น ๕ คน ครใู ห้นกั เรียนคนแรกมาอา่ นแถบข้อความทีค่ รเู ตรยี มไว้โดย

อ่านในใจ ดงั นี้ (R,A)
“เด็กผ้ชู ายถบี รถจกั รยานใหเ้ ดก็ ผู้หญงิ นง่ั ซ้อนทา้ ย ท้ังสองชมธรรมชาตเิ พลินไป จึงเกือบชนเด็กทีเ่ ดนิ

อยู่ข้างหน้า”
จากนั้นให้คนแรกกระซบิ บอกข้อความท่ีอ่านกับเพื่อนคนต่อไปเป็นทอด ๆ จนถึงคนสุดท้าย แล้วให้คน

สดุ ท้ายบอกข้อความท่ีได้ฟงั กับเพ่ือนในชัน้ เรียน หลงั จากนัน้ จงึ ให้คนแรกบอกข้อความท่ีอ่านจากครูใหท้ ุกคน
ฟังวา่ ตรงกนั หรอื ไม่

๒. ครอู ธิบายให้นักเรียนฟงั วา่ ในชีวติ ประจำวันเราจะมโี อกาสได้นำเร่อื งที่อา่ นมาเลา่ ให้ผอู้ ืน่ ฟังอยู่
เสมอ ดังนัน้ การอา่ นจับใจความจึงเปน็ เรื่องสำคัญ เพราะจะได้นำมาถ่ายทอดได้อย่างถกู ตอ้ ง

ขนั้ จัดกระบวนการเรยี นรู้
๓. นักเรียนศึกษาความรู้เรอ่ื ง การอ่านจับใจความ แล้วร่วมกนั สรปุ ความเข้าใจ ครเู ป็นผู้อธิบาย
เพ่ิมเตมิ (K)
๔. นักเรียนชว่ ยกันตั้งคำถามทส่ี นใจเก่ียวกับนิราศภูเขาทอง ครบู ันทกึ คำถามเหล่านั้นบนกระดาน
เชน่ - สุนทรภอู่ อกเดนิ ทางจากทใ่ี ด (K)

- สนุ ทรภูเ่ ดินทางไปอยา่ งไร
- สนุ ทรภูค่ ิดถงึ ใครในขณะเดนิ ทาง
- สุนทรภู่เดนิ ทางไปกบั ใคร
- สนุ ทรภเู่ ดินทางไปภเู ขาทองเพื่ออะไร
๕. นักเรยี นชว่ ยกนั อา่ นและแปลความคำประพนั ธใ์ นนริ าศภูเขาทองทีละบท ครอู าจจับฉลาก
หมายเลขประจำตัวนักเรียนทลี ะคน เพ่ือผลัดกนั อ่านและแปลความคำประพนั ธ์ ครชู ่วยอธิบายเพ่ิมเติม
ในขณะทีอ่ า่ นเมอื่ พบคำตอบของคำถามใหน้ กั เรยี นบนั ทกึ ไว้ และมอบหมายใหค้ ้นควา้ เพมิ่ เติมจากห้องสมุด (K)
๖. เมื่ออา่ นนริ าศภเู ขาทองจบให้นกั เรียนตอบคำถามทีต่ ง้ั ไว้พรอ้ มกนั อีกครัง้ (K)
ขน้ั สรุปบทเรียน
๗. นกั เรียนและครรู ่วมกันสรุปความรู้ ดงั นี้ (K)

การอา่ นจบั ใจความเปน็ การอา่ นระดับพื้นฐาน ซึ่งมคี วามสำคัญอยา่ งยิง่ ในการศึกษาหาความรู้
มีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือสร้างความเข้าใจเก่ียวกับข้อความหรือเรื่องราวที่อ่าน ผู้ทม่ี ีทักษะการอ่านจับใจความสงู จะ

สามารถเข้าใจเนอื้ หาที่ปรากฏในข้อความหรอื เรือ่ งท่อี า่ นอย่างรวดเรว็ และแมน่ ยำ ซ่ึงจะเป็นพน้ื ฐานในการ
วิเคราะห์หรอื ตีความเรื่องราวนน้ั ๆ ต่อไป

๘. นกั เรียนรว่ มกนั แสดงความคิดเห็น โดยครใู ช้คำถามทา้ ทาย ดงั น้ี (K)
- การอ่านจับใจความในชีวิตประจำวนั ของนกั เรยี น ควรปรับปรุงอย่างไรบ้าง

สื่อ (วสั ดุ-อุปกรณ์- สิง่ พิมพ)์ /นวตั กรรม/ ICT
๑. แถบขอ้ ความ

๒. ฉลาก

แหลง่ การเรียนรู้
หอ้ งสมุด

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ เครอื่ งมือวดั และประเมินผล เกณฑก์ ารวัด

วิธีการวดั ผลและการ แบบสังเกตพฤติกรรม ผ่านเกณฑก์ ารประเมิน
ประเมนิ ผล รายบุคคล รอ้ ยละ ๖๐

ดา้ นความรู้ (K) -การตั้งคำถาม
-การอา่ นจับใจความ

ดา้ นทักษะ/ สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี น แบบสังเกตพฤติกรรมการ ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ
กระบวน (P)
ในการทำงานกล่มุ ทำงานกลุ่ม ร้อยละ ๖๐

ดา้ นคณุ ธรรม สงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี น แบบประเมินคุณลักษณะอนั ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ

จริยธรรมและ ในการเข้ารว่ มกจิ กรรม พงึ ประสงค์ ร้อยละ ๖๐
ค่านยิ ม (A)

กจิ กรรมเสนอแนะ

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.......................................ผเู้ ขียนแผนการจัดการเรยี นรู้
......./................../...........

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม

ชือ่ กลมุ่ ชนั้

คำช้แี จง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในชอ่ ง

ท่ีตรงกับระดบั คะแนน

ลำดบั ที่ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน

๔๓๒๑

๑ การแบ่งหนา้ ท่กี ันอย่างเหมาะสม

๒ ความร่วมมือกันทำงาน

๓ การแสดงความคิดเห็น

๔ การรับฟงั ความคิดเห็น

๕ ความมีน้ำใจช่วยเหลือกัน

รวม

ลงชอื่ ...................................................ผู้ประเมิน

............../.................../................

เกณฑ์การใหค้ ะแนน

ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ ๔ คะแนน

ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครง้ั ให้ ๓ คะแนน

ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบางคร้งั ให้ ๒ คะแนน

ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมนอ้ ยครัง้ ให้ ๑ คะแนน

เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ

ชว่ งคะแนน ระดบั
๑๘ - ๒๐ คณุ ภาพ

ดีมาก

๑๔ - ๑๗ ดี

๑๐ - ๑๓ พอใช้

ต่ำกว่า ๑๐ ปรบั ปรุง

แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์

คำช้ีแจง:ใหผ้ สู้ อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ✓ลงในชอ่ งท่ีตรง

กบั ระดบั คะแนน

คณุ ลกั ษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน

อนั พงึ ประสงคด์ า้ น ๔๓๒๑

๑. รักชาติ ศาสน์ ๑.๑ ยนื ตรงเม่อื ได้ยนิ เพลงชาติ รอ้ งเพลงชาตไิ ด้ และอธิบาย

กษตั ริย์ ความหมายของเพลงชาติ

๑.๒ ปฏิบัตติ นตามสิทธแิ ละหน้าที่ของพลเมืองดี

๑.๓ ให้ความร่วมมือ รว่ มใจ ในการทำกจิ กรรมกบั สมาชิกใน

โรงเรียนและชุมชน

๑.๔ เขา้ รว่ มกิจกรรมและมสี ่วนรว่ มในการจัดกิจกรรมทีส่ ร้าง

ความสามัคคปี รองดอง และเป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชน

และสังคม ชืน่ ชมความเป็นชาตไิ ทย

๑.๕ เข้ารว่ มกิจกรรมทางศาสนาท่ีตนนับถอื ปฏิบัติตนตาม

หลักของศาสนาอย่างสมำ่ เสมอ เปน็ แบบอย่างท่ดี ีของศาสนิก

ชน

๑.๖ เข้ารว่ มกจิ กรรมและมีสว่ นรว่ มในการจัดกิจกรรมท่ี

เกีย่ วขอ้ งกบั สถาบันพระมหากษัตริย์ตามท่โี รงเรียนและชมุ ชน

จดั ขนึ้ ช่ืนชมในพระราชกรณียกิจพระปรีชาสามารถของ

พระมหากษัตรยิ ์และพระราชวงศ์

๒. ซอ่ื สัตย์ สุจรติ ๒.๑ ให้ข้อมูลท่ถี ูกต้อง และเปน็ จรงิ

๒.๒ ปฏบิ ัติในส่งิ ที่ถูกต้อง ละอาย และเกรงกลวั ที่จะกระทำ

ความผิด ทำตามสญั ญาที่ตนให้ไวก้ บั เพื่อน พอ่ แม่ หรอื

ผปู้ กครอง และครู เป็นแบบอยา่ งท่ีดีดา้ นความซอื่ สตั ย์

๒.๓ ปฏบิ ัติตนต่อผูอ้ ืน่ ดว้ ยความซื่อตรง ไมห่ าประโยชน์

ในทางทไ่ี ม่ถูกต้องและเป็นแบบอย่างทดี่ แี ก่เพอ่ื นด้านความ

ซ่อื สัตย์

๓. มวี นิ ัย รับผดิ ชอบ ๓.๑ ปฏิบัตติ ามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ขอ้ บังคับของ

ครอบครัวโรงเรยี น และสังคม ไมล่ ะเมดิ สทิ ธขิ องผู้อ่ืน ตรงต่อ

เวลาในการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมตา่ งๆ ในชวี ติ ประจำวนั และ

รบั ผิดชอบในการทำงาน

๔. ใฝ่เรยี นรู้ ๔.๑ แสวงหาขอ้ มลู จากแหลง่ การเรยี นรตู้ า่ งๆ
๕. อยู่อยา่ งพอเพยี ง ๔.๒ มกี ารจดบนั ทึกความร้อู ย่างเป็นระบบ
๔.๓ สรุปความรู้ได้อยา่ งมีเหตุผล

๕.๑ ใช้ทรัพย์สินของตนเอง เช่น สงิ่ ของ เครอ่ื งใช้ ฯลฯ อย่าง
ประหยดั คุ้มค่า และเกบ็ รกั ษาดูแลอย่างดี และใชเ้ วลาอยา่ ง

๖. มงุ่ มนั่ ในการ เหมาะสม
ทำงาน ๕.๒ ใช้ทรพั ยากรของสว่ นรวมอย่างประหยัด คุ้มค่า และเก็บ
๗. รกั ความเป็นไทย รกั ษาดูแลอย่างดี

๘. มจี ติ สาธารณะ ๕.๓ ปฏิบัติตนและตดั สินใจด้วยความรอบคอบ มีเหตุผล

๕.๔ ไมเ่ อาเปรียบผอู้ ืน่ และไมท่ ำให้ผู้อ่ืนเดอื ดร้อน พร้อมให้
อภัยเมอื่ ผอู้ ่นื กระทำผดิ พลาด

๕.๕ วางแผนการเรียน การทำงานและการใช้ชีวติ ประจำวนั
บนพ้นื ฐานของความรู้ ขอ้ มูล ข่าวสาร

๕.๖ รูเ้ ท่าทนั การเปลีย่ นแปลง ทางสงั คม และสภาพแวดลอ้ ม
ยอมรบั และปรับตวั อยู่ร่วมกบั ผ้อู ื่นไดอ้ ย่างมีความสุข

๖.๑ มคี วามตง้ั ใจและพยายามในการทำงานท่ไี ดร้ บั มอบหมาย
๖.๒ มคี วามอดทนและไมท่ อ้ แท้ต่ออุปสรรคเพ่อื ให้งานสำเรจ็

๗.๑ มีจติ สำนกึ ในการอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทย

๗.๒ เหน็ คุณค่าและปฏบิ ัติตนตามวฒั นธรรมไทย

๘.๑ ร้จู กั ช่วยพ่อแม่ ผปู้ กครอง และครูทำงาน

๘.๒ อาสาทำงาน ช่วยคดิ ช่วยทำ แบ่งปนั สิง่ ของ และช่วย
แกป้ ญั หาให้ผ้อู ื่น

๘.๓ ดแู ล รักษาทรพั ย์สนิ ของหอ้ งเรียน โรงเรียน ชุมชน

๘.๔ เข้าร่วมกิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ของ
โรงเรยี นและชมุ ชน

ลงชอ่ื ...........................................ผปู้ ระเมนิ
................./......................./..................

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 3

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ท21101 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 2 นริ าศภเู ขาทอง เวลา ๑๐ คาบ

เรือ่ ง การเขยี นบรรยายประสบการณ์ เวลา 1 ช่วั โมง

ผู้สอน นางสาวณฐั ฐนิ นั ท์ สมิ พา โรงเรียนบา้ นนาดีสรา้ งบง

หมายเหต…ุ ………………………………………………………………………………………………………………………………

มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสอ่ื สาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขยี นเรอ่ื งราว
ในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้
อย่างมปี ระสิทธภิ าพ

ตวั ช้ีวัด

ท ๒.๑ ม. ๑/๒ เขยี นบรรยายประสบการณ์โดยระบุสาระสำคญั และรายละเอยี ดสนับสนนุ
ท ๒.๑ ม. ๑/๙ มมี ารยาทในการเขยี น

สาระสำคญั
การศึกษาคน้ คว้าขอ้ มูลเพอื่ นำมาใชใ้ นการเขยี น ทำให้งานเขยี นนน้ั น่าสนใจ มีคุณภาพน่าเช่อื ถอื และ

เพ่มิ พนู ความร้แู กผ่ อู้ ่าน

จุดประสงค์การเรยี นรู้

1. บอกแหล่งความรูท้ ่ีใช้ศึกษาคน้ คว้าขอ้ มูลเก่ยี วกบั สถานท่ีสำคญั ได้
2. ศกึ ษาคน้ คว้าข้อมลู เกีย่ วกับสถานทส่ี ำคัญ

สมรรถนะหลัก
๑. ความสามารถในการส่ือสาร
๒. ความสามารถในการคิด

๓. ความสามารถในการแกป้ ญั หา
๔. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต

๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ (A)

๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

๒. ซ่ือสตั ยส์ ุจรติ
๓. มีวนิ ัย

๔. ใฝเ่ รียนรู้
๕. อยู่อย่างพอเพียง
๖. มงุ่ มั่นในการทำงาน

๗. รักความเปน็ ไทย
๘. มีจติ สาธารณะ

แนวการคิดเพอื่ การเรียนรใู้ นศตวรรษที่๒๑
๑ สาระวชิ าหลัก (Core Subjects)
๒. ทกั ษะด้านการเรียนรูแ้ ละนวัตกรรม
๓. ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี
๔. ทักษะดา้ นชวี ิตและอาชีพ

สาระการเรียนรู้
การศกึ ษาคน้ ควา้ ข้อมูลเพ่อื นำมาใช้ในการเขยี นบรรยายประสบการณ์

การจัดกระบวนการจัดการเรยี นรู้ (ขน้ั ตอน/กระบวนการ)
ขัน้ นำเขา้ สบู่ ทเรยี น

๑. นักเรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น โดยครใู ช้คำถามทา้ ทาย ดังนี้ (K)
- ผู้ท่ีจะเขยี นผลงานตา่ ง ๆ ต้องเตรียมตัวอย่างไรบา้ ง

๒. นกั เรียนทเ่ี คยไปเจดียภ์ เู ขาทองทจ่ี ังหวัดพระนครศรีอยุธยาหรอื ภูเขาทอง ทว่ี ัดสระเกศราช
วรมหาวหิ ารท่กี รุงเทพมหานคร เล่าเก่ียวกบั สถานทแี่ ละบรรยากาศใหเ้ พื่อนฟัง (K)

ข้ันจดั กระบวนการเรียนรู้ ( K)
๓. นักเรยี นรว่ มกนั สนทนาเก่ียวกับสถานท่ีสำคญั อื่น ๆ ท่ีเคยไป แล้วรสู้ กึ ประทับใจ
๔. นักเรยี นชว่ ยกันบอกแหลง่ ความรทู้ ใี่ ชศ้ ึกษาค้นควา้ ข้อมลู เกีย่ วกบั สถานที่สำคญั เช่น หนงั สือ
นิตยสาร แผ่นพับ อินเทอร์เนต็
๕. ครนู ำนกั เรียนไปหอ้ งสมดุ เพอ่ื ศกึ ษาคน้ ควา้ ขอ้ มลู เกี่ยวกบั สถานที่สำคัญที่นักเรยี นต้องการนำมา
เขียนแนะนำให้ผู้อืน่ ได้อ่าน โดยครูกำหนดใหน้ ักเรยี นทีเ่ คยไปภเู ขาทองแห่งใดแห่งหนง่ึ คน้ คว้าข้อมูลเพิ่มเตมิ
เกยี่ วกับสถานที่แห่งน้ัน ส่วนนกั เรยี นคนอ่ืน ๆ ให้คน้ ควา้ ข้อมูลเพม่ิ เตมิ เก่ยี วกบั สถานที่ทีต่ นเองเคยไปแลว้ รูส้ กึ
ประทบั ใจ ซึ่งขอบข่ายในการคน้ ควา้ (K) ไดแ้ ก่

- ท่ีตง้ั
- ลกั ษณะภูมิประเทศ
- ประวตั ิความเป็นมา
- ตำนานและความเชอ่ื
- ลักษณะเดน่ อน่ื ๆ ทนี่ า่ สนใจ
๖. นกั เรยี นบนั ทกึ ขอ้ มลู ที่ศึกษาคน้ คว้า และใช้แผนภาพความคดิ ชว่ ยจัดระบบข้อมูล (K)
ขน้ั สรปุ บทเรยี น
๗. นักเรยี นและครูรว่ มกันสรุปความรู้ ดงั น้ี (K)
การศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพอ่ื นำมาใช้ในการเขียน ทำให้งานเขียนนน้ั น่าสนใจ มีคุณภาพนา่ เช่ือถือ
และเพม่ิ พนู ความรแู้ กผ่ ู้อ่าน

สอ่ื ( วสั ดุ-อุปกรณ์- สิง่ พิมพ์ ) /นวัตกรรม/ ICT

๑. สื่อส่งิ พิมพ์และสอื่ อเิ ล็กทรอนิกส์

๒. แผ่นพับ

แหล่งการเรยี นรู้
หอ้ งสมดุ

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

วิธกี ารวดั ผลและการ เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์การวดั

ประเมินผล

ดา้ นความรู้ (K) สังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนใน แบบสงั เกตพฤติกรรมการ ผ่านเกณฑก์ ารประเมิน
การเข้าร่วมกิจกรรม เข้ารว่ มกิจกรรม
ร้อยละ ๖๐

ดา้ นทักษะ/ สังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นใน แบบสังเกตพฤตกิ รรมการ ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ
กระบวน (P) การเขา้ ร่วมกิจกรรม เข้าร่วมกจิ กรรม
ร้อยละ ๖๐

ด้านคณุ ธรรม สังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี น แบบประเมนิ คุณลักษณะอนั ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ
จรยิ ธรรมและ ในการเขา้ ร่วมกจิ กรรม พงึ ประสงค์
ร้อยละ ๖๐
ค่านยิ ม (A)

กจิ กรรมเสนอแนะ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงช่ือ.......................................ผู้เขียนแผนการจดั การเรยี นรู้
......./................../...........

แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์

คำช้ีแจง : ให้ผู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี ✓ลงในช่องท่ี

ตรงกับระดบั คะแนน

คุณลกั ษณะ รายการประเมิน ระดบั คะแนน

อันพงึ ประสงค์ด้าน ๔๓๒๑

๑. รักชาติ ศาสน์ ๑.๑ ยืนตรงเม่อื ได้ยนิ เพลงชาติ รอ้ งเพลงชาตไิ ด้ และอธิบาย

กษตั รยิ ์ ความหมายของเพลงชาติ

๑.๒ ปฏิบัตติ นตามสทิ ธิและหน้าท่ีของพลเมืองดี

๑.๓ ใหค้ วามร่วมมือ รว่ มใจ ในการทำกิจกรรมกับสมาชกิ ใน

โรงเรยี นและชมุ ชน

๑.๔ เขา้ รว่ มกจิ กรรมและมีส่วนรว่ มในการจดั กิจกรรมทีส่ รา้ ง

ความสามัคคปี รองดอง และเป็นประโยชน์ตอ่ โรงเรียน ชุมชน

และสังคม ชน่ื ชมความเปน็ ชาตไิ ทย

๑.๕ เขา้ ร่วมกิจกรรมทางศาสนาทตี่ นนับถอื ปฏบิ ัติตนตาม

หลกั ของศาสนาอย่างสมำ่ เสมอ เปน็ แบบอยา่ งท่ีดีของศาสนิก

ชน

๑.๖ เขา้ รว่ มกิจกรรมและมสี ่วนร่วมในการจดั กิจกรรมท่ี

เกีย่ วขอ้ งกบั สถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ตามท่โี รงเรยี นและชุมชน

จัดข้นึ ช่ืนชมในพระราชกรณยี กจิ พระปรีชาสามารถของ

พระมหากษัตรยิ ์และพระราชวงศ์

๒. ซ่ือสตั ย์ สุจริต ๒.๑ ให้ขอ้ มลู ทถี่ กู ต้อง และเปน็ จริง

๒.๒ ปฏิบตั ิในสง่ิ ทถี่ กู ต้อง ละอาย และเกรงกลัวท่จี ะกระทำ

ความผิด ทำตามสัญญาทีต่ นใหไ้ ว้กบั เพือ่ น พ่อแม่ หรือ

ผปู้ กครอง และครู เปน็ แบบอย่างท่ีดีดา้ นความซอ่ื สตั ย์

๒.๓ ปฏิบตั ิตนตอ่ ผูอ้ ืน่ ดว้ ยความซอื่ ตรง ไมห่ าประโยชน์

ในทางท่ไี ม่ถูกต้องและเปน็ แบบอยา่ งทด่ี แี ก่เพ่ือนด้านความ

ซอื่ สตั ย์

๓. มวี นิ ยั รับผิดชอบ ๓.๑ ปฏิบตั ิตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบงั คับของ

ครอบครัวโรงเรยี น และสงั คม ไม่ละเมดิ สทิ ธิของผู้อ่นื ตรงต่อ

เวลาในการปฏบิ ตั ิกิจกรรมต่างๆ ในชวี ิตประจำวนั และ

รับผิดชอบในการทำงาน

๔. ใฝเ่ รยี นรู้ ๔.๑ แสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรียนรตู้ ่างๆ
๕. อยู่อยา่ งพอเพียง ๔.๒ มกี ารจดบันทึกความรูอ้ ย่างเปน็ ระบบ
๔.๓ สรุปความรไู้ ดอ้ ยา่ งมเี หตผุ ล

๕.๑ ใชท้ รพั ยส์ นิ ของตนเอง เชน่ สง่ิ ของ เครอ่ื งใช้ ฯลฯ อย่าง
ประหยดั คุ้มค่า และเกบ็ รกั ษาดูแลอย่างดี และใช้เวลาอยา่ ง

๖. มุ่งมั่นในการ เหมาะสม
ทำงาน ๕.๒ ใชท้ รัพยากรของสว่ นรวมอย่างประหยัด ค้มุ ค่า และเก็บ
๗. รกั ความเป็นไทย รักษาดูแลอย่างดี

๘. มจี ิตสาธารณะ ๕.๓ ปฏิบตั ิตนและตดั สนิ ใจด้วยความรอบคอบ มเี หตุผล

๕.๔ ไม่เอาเปรยี บผอู้ ่นื และไมท่ ำใหผ้ ู้อนื่ เดือดรอ้ น พรอ้ มให้
อภัยเมื่อผอู้ ่นื กระทำผิดพลาด

๕.๕ วางแผนการเรยี น การทำงานและการใชช้ ีวติ ประจำวนั
บนพ้ืนฐานของความรู้ ขอ้ มูล ข่าวสาร

๕.๖ รเู้ ท่าทันการเปล่ยี นแปลง ทางสังคม และสภาพแวดล้อม
ยอมรับและปรับตัว อยูร่ ่วมกบั ผ้อู น่ื ได้อย่างมีความสขุ

๖.๑ มคี วามตัง้ ใจและพยายามในการทำงานทไ่ี ด้รบั มอบหมาย
๖.๒ มีความอดทนและไม่ทอ้ แท้ตอ่ อุปสรรคเพอ่ื ใหง้ านสำเร็จ

๗.๑ มจี ิตสำนกึ ในการอนรุ กั ษ์วฒั นธรรมและภูมิปญั ญาไทย

๗.๒ เห็นคณุ ค่าและปฏบิ ัตติ นตามวฒั นธรรมไทย

๘.๑ รู้จักชว่ ยพอ่ แม่ ผู้ปกครอง และครทู ำงาน

๘.๒ อาสาทำงาน ช่วยคดิ ช่วยทำ แบ่งปันส่ิงของ และช่วย
แก้ปัญหาให้ผอู้ น่ื

๘.๓ ดูแล รกั ษาทรพั ย์สนิ ของหอ้ งเรยี น โรงเรยี น ชุมชน

๘.๔ เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชนข์ อง
โรงเรยี นและชุมชน

ลงช่ือ..........................................ผู้ประเมิน
............../.................../................

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 4

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ท21101 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 นริ าศภเู ขาทอง เวลา ๑๐ คาบ

เรือ่ ง การเขียนบรรยายประสบการณ์ เวลา 1 ช่วั โมง

ผสู้ อน นางสาวณัฐฐินนั ท์ สิมพา โรงเรียนบา้ นนาดสี ร้างบง

หมายเหตุ…………………………………………………………………………………………………………………………………

มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสือ่ สาร เขียนเรียงความ ยอ่ ความ และเขียนเร่ืองราว
ในรปู แบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้
อย่างมีประสิทธิภาพ

ตัวช้ีวัด
ท ๒.๑ ม. ๑/๒ เขยี นบรรยายประสบการณโ์ ดยระบสุ าระสำคญั และรายละเอยี ดสนบั สนุน
ท ๒.๑ ม. ๑/๙ มีมารยาทในการเขยี น

สาระสำคัญ
การเขียนบรรยายประสบการณน์ ้ัน ผ้เู ขยี นตอ้ งมีความรเู้ กี่ยวกบั สถานทนี่ ั้นๆ และไปสถานทน่ี ้ันมาจรงิ

และควรศึกษาคน้ คว้าเพิม่ เตมิ จากแหลง่ ความรู้ที่เชื่อถอื ได้ จงึ จะทำใหง้ านเขยี นนั้นนา่ สนใจและเพิ่มพนู ความรแู้ ก่
ผู้อ่านย่ิงขึ้น

จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. อธบิ ายหลักการเขียนบรรยายประสบการณ์ใหน้ า่ สนใจได้

2. เขียนบรรยายประสบการณโ์ ดยระบสุ าระสำคญั และรายละเอียดสนับสนนุ

สมรรถนะหลัก

๑. ความสามารถในการสื่อสาร
๒. ความสามารถในการคดิ

๓. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A)
๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์

๒. ซื่อสัตยส์ ุจรติ
๓. มวี ินยั
๔. ใฝ่เรยี นรู้

๕. อยู่อย่างพอเพียง
๖. มุง่ มั่นในการทำงาน

๗. รักความเป็นไทย
๘. มจี ิตสาธารณะ
แนวการคิดเพ่ือการเรียนร้ใู นศตวรรษท๒่ี ๑
๑ สาระวิชาหลัก (Core Subjects)
๒. ทักษะด้านการเรียนรแู้ ละนวัตกรรม
๓. ทกั ษะดา้ นสารสนเทศ ส่ือ และเทคโนโลยี
๔. ทักษะดา้ นชีวติ และอาชีพ

สาระการเรยี นรู้
การเขยี นบรรยายประสบการณ์

การจัดกระบวนการจัดการเรียนรู้ (ข้นั ตอน/กระบวนการ)
ข้นั นำเข้าสบู่ ทเรยี น(A)
๑. นักเรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็น โดยครูใช้คำถามท้าทาย ดังนี้ (K)
- เพราะเหตุใดเมื่อนักเรยี นอ่านหรือดสู ารคดีท่องเท่ยี ว นกั เรยี นจึงอยากไปเทย่ี วสถานท่แี หง่ นัน้
ขนั้ จัดกระบวนการเรียนรู้ (K,P)
๒. นักเรียนศึกษาความรูเ้ รื่อง การเขียนบรรยายประสบการณแ์ ล้วรว่ มกันสรปุ ความเข้าใจ ครเู ปน็ ผู้

อธบิ ายเพ่ิมเติม (K)
๓. นกั เรียนร่วมกนั ศกึ ษาตวั อยา่ งการเขยี นบรรยายประสบการณท์ ไี่ ด้ทอ่ งเท่ียวในจังหวัดต่าง ๆ จาก

นติ ยสารท่ีครเู ตรียมมาหรอื มอบหมายใหน้ กั เรียนชว่ ยกนั นำมาเท่าที่จะหาได้ เพอ่ื สังเกตกลวิธกี ารนำเสนอให้
น่าสนใจ(K)

๔. นกั เรยี นทำใบงาน เร่ือง การเขยี นบรรยายประสบการณต์ ามที่ได้ศึกษาข้อมูลในช่วั โมงที่ผ่านมา(K)
๕. นกั เรียนออกมาอา่ นงานเขียนของตนเองให้เพอื่ นฟังหน้าช้นั เรียน ทุกคนรว่ มกันวิจารณ์และ
เสนอแนะ เจ้าของผลงานนำไปปรับปรุง (A,R)
๖. นกั เรยี นรว่ มกนั คัดเลอื กผลงานท่ีดนี ำไปจัดแสดงบนปา้ ยนเิ ทศ อาจหาภาพประกอบหรือตกแตง่ ให้
นา่ สนใจ(K)
ขัน้ สรปุ บทเรยี น
๗. นักเรยี นและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี (K)

การเขยี นบรรยายประสบการณ์ ผู้เขยี นต้องมคี วามรเู้ กยี่ วกับสถานทนี่ ้ัน ๆ และเคยไปสถานท่นี น้ั
มาแล้ว และควรศกึ ษาค้นคว้าเพิ่มเตมิ จากแหลง่ ความร้ทู ี่เชอื่ ถือได้ จงึ จะทำให้งานเขยี นนนั้ นา่ สนใจและเพิ่มพูน
ความรู้แกผ่ ู้อ่านยงิ่ ขึน้

สอ่ื ( วสั ดุ-อปุ กรณ์- ส่งิ พมิ พ์ ) /นวตั กรรม/ ICT
ตวั อย่างการเขยี นบรรยายประสบการณ์

แหล่งการเรยี นรู้
ห้องสมุด

การวดั และประเมินผลการเรียนรู้

วธิ ีการวัดผลและการ เครื่องมือวดั และประเมินผล เกณฑ์การวัด

ประเมนิ ผล

ดา้ นความรู้ (K) สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นใน แบบพฤติกรรมของนกั เรยี น ผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๖๐

การเขา้ รว่ มกิจกรรม ในการเข้าร่วมกิจกรรม

ดา้ นทักษะ/ เขยี นบรรยายประสบการณ์ ใบงานการเขียนบรรยาย ผา่ นเกณฑ์รอ้ ยละ ๖๐
กระบวน (P) ประสบการณ์

ด้านคณุ ธรรม สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี น แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั ผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ ๖๐
จริยธรรมและ
ค่านิยม (A) ในการเขา้ รว่ มกิจกรรม พึงประสงค์

กิจกรรมเสนอแนะ
..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื .......................................ผเู้ ขียนแผนการจดั การเรียนรู้
......./................../...........

แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

คำช้ีแจง:ใหผ้ สู้ อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ✓ลงในชอ่ งท่ีตรง

กบั ระดบั คะแนน

คณุ ลกั ษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน

อนั พงึ ประสงคด์ า้ น ๔๓๒๑

๑. รักชาติ ศาสน์ ๑.๑ ยนื ตรงเม่อื ได้ยนิ เพลงชาติ รอ้ งเพลงชาตไิ ด้ และอธบิ าย

กษตั ริย์ ความหมายของเพลงชาติ

๑.๒ ปฏิบัตติ นตามสิทธิและหน้าทขี่ องพลเมอื งดี

๑.๓ ให้ความร่วมมือ รว่ มใจ ในการทำกจิ กรรมกับสมาชิกใน

โรงเรียนและชุมชน

๑.๔ เขา้ รว่ มกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่สร้าง

ความสามัคคปี รองดอง และเป็นประโยชน์ตอ่ โรงเรยี น ชุมชน

และสังคม ชืน่ ชมความเป็นชาตไิ ทย

๑.๕ เข้ารว่ มกิจกรรมทางศาสนาทีต่ นนับถอื ปฏิบัตติ นตาม

หลักของศาสนาอย่างสมำ่ เสมอ เปน็ แบบอย่างท่ดี ีของศาสนิก

ชน

๑.๖ เข้ารว่ มกจิ กรรมและมสี ว่ นรว่ มในการจัดกิจกรรมที่

เกีย่ วขอ้ งกบั สถาบันพระมหากษัตรยิ ์ตามท่โี รงเรียนและชมุ ชน

จดั ขนึ้ ชน่ื ชมในพระราชกรณียกิจพระปรชี าสามารถของ

พระมหากษตั รยิ ์และพระราชวงศ์

๒. ซอ่ื สัตย์ สุจรติ ๒.๑ ใหข้ ้อมูลท่ถี ูกต้อง และเปน็ จริง

๒.๒ ปฏบิ ัติในส่งิ ที่ถูกต้อง ละอาย และเกรงกลวั ที่จะกระทำ

ความผิด ทำตามสญั ญาที่ตนให้ไว้กับเพ่อื น พอ่ แม่ หรอื

ผปู้ กครอง และครู เป็นแบบอยา่ งทดี่ ีด้านความซอื่ สัตย์

๒.๓ ปฏบิ ตั ิตนตอ่ ผูอ้ ืน่ ดว้ ยความซ่อื ตรง ไมห่ าประโยชน์

ในทางทไ่ี ม่ถูกต้องและเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เพื่อนด้านความ

ซ่อื สัตย์

๓. มวี นิ ัย รับผดิ ชอบ ๓.๑ ปฏิบตั ิตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ขอ้ บังคับของ

ครอบครัวโรงเรยี น และสังคม ไมล่ ะเมดิ สทิ ธขิ องผู้อื่น ตรงต่อ

เวลาในการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตา่ งๆ ในชวี ิตประจำวนั และ

รบั ผิดชอบในการทำงาน

๔. ใฝ่เรยี นรู้ ๔.๑ แสวงหาขอ้ มลู จากแหลง่ การเรยี นรตู้ า่ งๆ
๕. อยู่อยา่ งพอเพยี ง ๔.๒ มกี ารจดบนั ทึกความรู้อย่างเปน็ ระบบ
๔.๓ สรุปความรู้ได้อยา่ งมีเหตุผล

๕.๑ ใช้ทรัพย์สินของตนเอง เช่น สิ่งของ เครอ่ื งใช้ ฯลฯ อย่าง
ประหยดั คุม้ ค่า และเก็บรักษาดูแลอยา่ งดี และใช้เวลาอยา่ ง

๖. มุ่งมั่นในการ เหมาะสม
ทำงาน ๕.๒ ใชท้ รัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยัด ค้มุ ค่า และเก็บ
๗. รกั ความเป็นไทย รักษาดูแลอย่างดี

๘. มจี ิตสาธารณะ ๕.๓ ปฏิบตั ิตนและตดั สนิ ใจด้วยความรอบคอบ มเี หตุผล

๕.๔ ไม่เอาเปรยี บผอู้ ่นื และไมท่ ำให้ผอู้ ืน่ เดอื ดรอ้ น พรอ้ มให้
อภัยเมื่อผอู้ ่นื กระทำผิดพลาด

๕.๕ วางแผนการเรยี น การทำงานและการใช้ชีวติ ประจำวนั
บนพ้ืนฐานของความรู้ ขอ้ มูล ข่าวสาร

๕.๖ รเู้ ท่าทันการเปล่ยี นแปลง ทางสงั คม และสภาพแวดล้อม
ยอมรับและปรบั ตัว อยู่ร่วมกบั ผอู้ ืน่ ได้อย่างมคี วามสขุ

๖.๑ มคี วามตัง้ ใจและพยายามในการทำงานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย
๖.๒ มีความอดทนและไม่ทอ้ แท้ตอ่ อุปสรรคเพือ่ ใหง้ านสำเร็จ

๗.๑ มจี ิตสำนกึ ในการอนรุ ักษ์วฒั นธรรมและภูมิปญั ญาไทย

๗.๒ เห็นคณุ ค่าและปฏบิ ัตติ นตามวัฒนธรรมไทย

๘.๑ รู้จักชว่ ยพอ่ แม่ ผู้ปกครอง และครูทำงาน

๘.๒ อาสาทำงาน ช่วยคดิ ช่วยทำ แบ่งปนั สิง่ ของ และช่วย
แก้ปัญหาให้ผอู้ ่ืน

๘.๓ ดูแล รกั ษาทรพั ย์สนิ ของหอ้ งเรยี น โรงเรียน ชุมชน

๘.๔ เขา้ ร่วมกิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชนข์ อง
โรงเรยี นและชุมชน

ลงช่ือ..........................................ผู้ประเมิน
............../.................../................

ใบงาน
เร่อื ง การเขียนบรรยายประสบการณ์

ช่อื …………………………………………………………….ช้นั ………………………………เลขท่ี…………………………..

คำช้แี จง : ใหน้ ักเรียนเขยี นบรรยายประสบการณ์เกีย่ วกับสถานท่ีที่ตนเองเคยไปแล้วรสู้ ึกประทบั ใจ ความยาว
๘-๑๐ บรรทัด

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..


Click to View FlipBook Version