แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 5
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ท21101 ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 นริ าศภูเขาทอง เวลา ๑๐ คาบ
เรื่อง การอา่ นทำนองเสนาะ เวลา 2 ชัว่ โมง
ผู้สอน นางสาวณัฐฐินนั ท์ สิมพา โรงเรียนบ้านนาดีสร้างบง
หมายเหตุ…………………………………………………………………………………………………………………………
มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสรา้ งความรูแ้ ละความคิดไปใช้ติดสนิ ใจแก้
ปัญหาและสรา้ งวสิ ัยทัศน์ในการดำเนินชวี ิต และมีนิสัยรักการอา่ น
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่าง
เหน็ คุณค่าและนำมาประยุกตใ์ ช้ในชีวิตจรงิ
ตัวช้ีวดั
ท ๑.๑ ม. ๑/๑ อา่ นออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกตอ้ ง
ท ๑.๑ ม. ๑/๒ จับใจความสำคญั จากเร่อื งท่ีอ่าน
ท ๑.๑ ม. ๑/๓ ระบเุ หตุและผล และขอ้ เท็จจริงจรงิ กบั ขอ้ คิดเหน็ จากเร่อื งทีอ่ ่าน
ท ๑.๑ ม. ๑/๖ ระบขุ อ้ สังเกตและความสมเหตุสมผลของงานเขียนประเภทชกั จูง
โน้มนา้ วใจ
ท๕.๑ ม.๑/๒ วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมที่อา่ นพรอ้ มยกเหตุผลประกอบ
ท๕.๑ ม.๑/๕ ท่องจำบทอาขยานตามทก่ี ำหนดและบทร้อยกรองทีม่ ีคณุ ค่าตามความ
สนใจ
สาระสำคญั
การอา่ นออกเสียงคำบทร้อยกรองถอ้ ยทำนองเสนาะผูอ้ ่านต้องอ่านถกู ต้องตามชนดิ ของคำ
ประพนั ธ์ ทั้ง ด้านอักขระ การเวน้ วรรคตอน ระดบั สูงตำ่ ของเสียงตามบริบทแห่งเนอื้ หา จึงจะทำให้
เกิดอรรถรสและเพ่มิ คณุ ค่าเดน่ ชดั ทางดา้ นวรรณศิลป์
จุดประสงค์การเรยี นรู้
๑. อา่ นทำนองเสนาะกลอนสภุ าพได้
๒. ถอดบทรอ้ ยกรองเปน็ รอ้ ยแก้วได้
๓. จบั ใจความสำคัญของเรื่องที่อา่ นได้
4. กระบวนการทำงาน กระบวนการกลุม่ และกระบวนการนำเสนอผลงาน
สมรรถนะหลัก
□ ๑. ความสามารถในการสอื่ สาร
□ ๒. ความสามารถในการคิด
□ ๓. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
□ ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ
□ ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (A)
□๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
□๒. ซอ่ื สตั ย์สุจรติ
□๓. มีวนิ ัย
□๔. ใฝ่เรยี นรู้
□๕.อยู่อย่างพอเพียง
□๖.ม่งุ มัน่ ในการทำงาน
□๗. รักความเป็นไทย
□๘.มีจติ สาธารณะ
แนวความคิดเพ่ือการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ ๒๑
□สาระวิชาหลัก (Core Subject)
□ทักษะดา้ นการเรียนร้แู ละนวัตกรรม
□ทักษะดา้ นสารสนเทศและเทคโนโลยี
□ทกั ษะด้านชวี ิตและอาชพี
สาระการเรียนรู้
๑. การอ่านทำนองเสนาะกลอนสภุ าพ
๒. การถอดบทร้อยกรองเป็นรอ้ ยแก้ว
๓. การอา่ นและบอกความหมายคำยาก
กระบวนการจดั การเรยี นรู้ (ขัน้ ตอน/กระบวนการ) ชั่วโมงท่ี ๑-๒
ข้นั นำ
๑. ครูสนทนากับนกั เรยี นเกยี่ วกับหลักเกณฑ์การอ่านบทรอ้ ยกรองเป็นทำนองธรรมดา
และทำนองเสนาะ(A)
๒. ครสู มุ่ เรียกนกั เรียน ๒ คน ใหอ้ ่านบทร้อยกรองจากแผนภูมิท่ีครูติดบนกระดานเป็น
ทำนองธรรมดาและทำนองเสนาะให้เพื่อนในชั้นเรยี นฟัง (V,A)
ขัน้ สอน
๑. นกั เรยี นแบ่งกลุ่มออกเป็นกลมุ่ ละ ๔ – ๕ คน แต่ละกลมุ่ ประกอบไปด้วย
นักเรียนที่มรี ะดับภูมิปญั ญาสูง กลาง และตำ่ ให้แตล่ ะกลุ่มเลอื กหัวหน้ากลุ่ม รองหัวหนา้ กลุ่ม และ
เลขานกุ ารกลุ่ม ควรใช้กลุม่ เดิมตลอดบทเรยี น(K)
๒. ครูอธิบายลักษณะการอา่ นทำนองเสนาะนักเรยี นซกั ถามขอ้ สงสยั จากน้ันให้
นกั เรยี นศึกใบความรู้เรือ่ ง การอ่านทำนองเสนาะ (V,A)
๓. เปิดเทปการอา่ นทำนองเสนาะหรือครูอา่ นใหน้ กั เรยี นฟงั นกั เรยี นฝึกอ่านตาม
จากนนั้ ให้แตล่ ะกลุม่ อา่ นทำนองเสนาะกล่มุ ละ ๕ บท รว่ มกนั วิจารณก์ ารอ่านของแต่ละกลุ่ม(A)
๔. หวั หน้ากลมุ่ แต่ละกลุ่มดแู ลให้สมาชิกทกุ คนอา่ นทำนองเสนาะคนละ ๓ บท และ
ประเมนิ การอา่ นของสมาชิกทุกคน(R,A)
๕. นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ ทำใบกิจกรรมการเรียนรทู้ ี่ ๑ คัดลอกคำกลอนจากนริ าศภเู ขา
ทองกลมุ่ ละ ๓ บท แลว้ ถอดคำกลอนเป็นร้อยแกว้ เสร็จแล้วนำสง่ ครูตรวจสอบและประเมินผล
จากน้ันประกาศผลการประเมินใหท้ ุกกลมุ่ ไดร้ ับทราบ(K)
๖. นกั เรยี นทุกคนทำใบกจิ กรรมการเรียนรทู้ ่ี ๒ หาความหมายของคำทก่ี ำหนดให้
เสร็จแลว้ ครเู ฉลยบนกระดานนกั เรียนแลกเปลี่ยนกันตรวจนำส่งครูสรุปและประกาศผล(K)
ข้ันสรปุ
นักเรยี นสรุปการอ่านกลอนนริ าศ การท่องจำบทอาขยาน ข้อเท็จจรงิ กบั ขอ้ คิดเหน็
จากเรื่องท่ีอา่ นและบนั ทึกลงสมุด (K)
สอ่ื (วัสดุ-อุปกรณ์-สง่ิ พิมพ์) / นวัตกรรม / ICT
๑. เทป / ซีดี
๒. ใบกิจกรรมการเรยี นรูท้ ี่ ๑
๓ ใบกจิ กรรมการเรียนร้ทู ่ี ๒
๔ หนังสอื เรียน ชดุ วรรณคดีวจิ กั ษ์ ช้ัน ม. ๑
๕. เฉลยใบกจิ กรรมการเรยี นรู้
๖. แบบประเมนิ พฤติกรรมและผลงานระหวา่ งเรยี น
แหลง่ เรยี นรู้
หอ้ งสมุด
การวัดและการประเมินการเรยี นรู้
ภาระงาน/ชิ้นงาน วธิ กี ารวัด เครอื่ งมือวัด เกณฑท์ ่ใี ชป้ ระเมนิ
๑. การอา่ น สงั เกตพฤตกิ รรม แบบประเมินพฤตกิ รรมและ ผ่านเกณฑร์ ้อยละ ๖๐
ทำนองเสนาะ
กลอนสุภาพ ผลงานระหวา่ งเรยี น
๒. การถอดบท ประเมนิ ผลงานการ แบบประเมนิ พฤติกรรมและ ผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ ๖๐
รอ้ ยกรองเปน็ ถอดคำประพันธ์ ผลงานระหวา่ งเรียน
ร้อยแก้ว
แบบประเมนิ ใบกิจกรรม ผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ ๖๐
๓. การเก็บ ประเมนิ การจับ
ใจความสำคัญ ใจความสำคัญ
ของเรือ่ งทอ่ี ่าน
ทกั ษะ/กระบวนการ (P) เครอื่ งมือวดั เกณฑ์ทใี่ ชป้ ระเมนิ
ภาระงาน/ชน้ิ งาน วธิ กี ารวัด แบบสังเกตพฤตกิ รรม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๖๐
๑. กระบวนการ สังเกตพฤติกรรม
ทำงาน
๒. กระบวนการ สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ ๖๐
กลมุ่
สงั เกตรปู แบบและ แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ ๖๐
๓. กระบวนการ วิธกี ารนำเสนอ
นำเสนอผลงาน
กจิ กรรมเสนอแนะ
....................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ลงชอ่ื ....................................................ผเู้ ขียนแผนการจัดการเรยี นรู้
..................../.............../...................
แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
คำชี้แจง:ใหผ้ สู้ อนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด ✓ลงในชอ่ ง
ที่ตรงกับระดบั คะแนน
คุณลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน
อนั พึงประสงค์ดา้ น ๔๓๒๑
๑. รักชาติ ศาสน์ ๑.๑ ยนื ตรงเมอ่ื ได้ยินเพลงชาติ ร้องเพลงชาตไิ ด้ และ
กษัตริย์ อธิบายความหมายของเพลงชาติ
๑.๒ ปฏบิ ัตติ นตามสิทธิและหนา้ ท่ีของพลเมอื งดี
๑.๓ ใหค้ วามร่วมมอื รว่ มใจ ในการทำกจิ กรรมกบั สมาชิก
ในโรงเรยี นและชมุ ชน
๑.๔ เขา้ รว่ มกจิ กรรมและมสี ่วนรว่ มในการจัดกจิ กรรมท่ี
สร้างความสามัคคีปรองดอง และเปน็ ประโยชน์ต่อ
โรงเรยี น ชมุ ชน และสังคม ชน่ื ชมความเปน็ ชาติไทย
๑.๕ เขา้ รว่ มกิจกรรมทางศาสนาทีต่ นนบั ถอื ปฏบิ ัตติ น
ตามหลักของศาสนาอย่างสม่ำเสมอ เป็นแบบอย่างท่ีดี
ของศาสนกิ ชน
๑.๖ เข้าร่วมกจิ กรรมและมีสว่ นร่วมในการจดั กิจกรรมท่ี
เกย่ี วขอ้ งกบั สถาบันพระมหากษัตริย์ตามทีโ่ รงเรียนและ
ชุมชนจดั ขึน้ ชืน่ ชมในพระราชกรณียกิจพระปรชี าสามารถ
ของพระมหากษตั ริย์และพระราชวงศ์
๒. ซอ่ื สตั ย์ สุจรติ ๒.๑ ให้ข้อมูลที่ถูกตอ้ ง และเป็นจรงิ
๒.๒ ปฏบิ ตั ใิ นสงิ่ ทีถ่ กู ต้อง ละอาย และเกรงกลวั ทจี่ ะ
กระทำความผดิ ทำตามสญั ญาทตี่ นใหไ้ ว้กบั เพือ่ น พอ่ แม่
หรอื ผู้ปกครอง และครู เปน็ แบบอย่างท่ีดีด้านความ
ซอ่ื สตั ย์
๒.๓ ปฏบิ ตั ติ นตอ่ ผอู้ ่นื ดว้ ยความซอ่ื ตรง ไมห่ าประโยชน์
ในทางทไี่ มถ่ ูกต้องและเปน็ แบบอยา่ งที่ดแี ก่เพอ่ื นด้าน
ความซ่ือสัตย์
๓. มวี นิ ัย ๓.๑ ปฏบิ ตั ิตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ขอ้ บงั คับ
รบั ผดิ ชอบ ของครอบครัวโรงเรยี น และสังคม ไมล่ ะเมิดสทิ ธขิ องผอู้ ืน่
ตรงตอ่ เวลาในการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตา่ งๆ ในชีวิตประจำวนั
และรับผดิ ชอบในการทำงาน
๔. ใฝ่เรียนรู้ ๔.๑ แสวงหาขอ้ มูลจากแหล่งการเรียนรตู้ ่างๆ
๔.๒ มีการจดบันทกึ ความรอู้ ย่างเป็นระบบ
๔.๓ สรปุ ความรไู้ ดอ้ ย่างมีเหตผุ ล
๕. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง ๕.๑ ใชท้ รพั ยส์ นิ ของตนเอง เชน่ สง่ิ ของ เครือ่ งใช้ ฯลฯ
อยา่ งประหยัดคุม้ คา่ และเก็บรักษาดแู ลอยา่ งดี และใช้
เวลาอย่างเหมาะสม
๕.๒ ใช้ทรพั ยากรของสว่ นรวมอยา่ งประหยัด คมุ้ คา่ และ
เก็บรกั ษาดูแลอย่างดี
๕.๓ ปฏิบัติตนและตดั สินใจด้วยความรอบคอบ มเี หตุผล
๕.๔ ไมเ่ อาเปรียบผอู้ ืน่ และไมท่ ำให้ผู้อื่นเดือดรอ้ น
พรอ้ มใหอ้ ภัยเมื่อผอู้ ืน่ กระทำผิดพลาด
๕.๕ วางแผนการเรยี น การทำงานและการใช้
ชีวติ ประจำวันบนพ้ืนฐานของความรู้ ข้อมูล ขา่ วสาร
๕.๖ รเู้ ท่าทันการเปล่ยี นแปลง ทางสังคม และ
สภาพแวดล้อม ยอมรับและปรับตัว อยู่รว่ มกับผู้อ่ืนได้
อย่างมคี วามสขุ
๖. มงุ่ มั่นในการ ๖.๑ มีความตง้ั ใจและพยายามในการทำงานทไ่ี ด้รบั
ทำงาน มอบหมาย
๖.๒ มีความอดทนและไมท่ ้อแท้ตอ่ อปุ สรรคเพอ่ื ใหง้ าน
สำเร็จ
๗. รักความเป็นไทย ๗.๑ มจี ติ สำนกึ ในการอนุรักษ์วฒั นธรรมและภมู ปิ ญั ญา
ไทย
๗.๒ เห็นคณุ ค่าและปฏบิ ัติตนตามวฒั นธรรมไทย
๘. มจี ติ สาธารณะ ๘.๑ รจู้ ักช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูทำงาน
๘.๒ อาสาทำงาน ช่วยคดิ ช่วยทำ แบ่งปนั สง่ิ ของ และ
ชว่ ยแก้ปัญหาให้ผู้อื่น
๘.๓ ดแู ล รกั ษาทรัพยส์ นิ ของหอ้ งเรยี น โรงเรียน ชุมชน
๘.๔ เข้าร่วมกจิ กรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์
ของโรงเรยี นและชมุ ชน
ลงช่ือ..........................................ผู้ประเมนิ
............../.................../................
ใบความรทู้ ่ี ๑
๑. ความหมายของ “การอา่ นทำนองเสนาะ”
การอ่านทำนองเสนาะคือวธิ ีการอ่านออกเสยี งอย่างไพเราะตามลลี าของบทรอ้ ยกรอง
ประเภท โคลงฉันท์ กาพย์ กลอน ( พจนานกุ รม ฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ หน้า ๓๘๙ )
บางคนใหค้ วามหมายว่า การอา่ นทำนองเสนาะคอื การอา่ นตามทำนอง ( ทำนอง =
ระบบเสียงสงู ต่ำ ซงึ่ มีจงั หวะส้ันยาว ) เพือ่ ให้เกิดความเสนาะ ( เสนาะ , นา่ ฟัง , เพราะ , วังเวงใจ )
๒. วัตถุประสงค์ในการอ่านทำนองเสนาะ
การอา่ นทำนองเสนาะเปน็ การอา่ นใหค้ นอน่ื ฟงั ฉะนัน้ ทำนองเสนาะตอ้ งอา่ นออกเสียง
เสยี งทำให้เกดิ ความรู้สกึ ทำให้เห็นความงาม เหน็ ความไพเราะ เห็นภาพพจน์ ผฟู้ ังสัมผัสด้วยเสียงจึงจะ
เขา้ ถงึ รสและความงามของบทร้อยกรอง ท่ีเรียกว่าอา่ นแลว้ ฟงั พริง้ – เพราะเสนาะโสด การอา่ นทำนอง
เสนาะจงึ มงุ่ ให้ผฟู้ ังเขา้ ถงึ รสและเห็นความงามของบทรอ้ ยกรอง
๓. ทม่ี าของการอ่านทำนองเสนาะ
เขา้ ใจว่า การอ่านทำนองเสนาะมมี านานแล้วแต่คร้ังกรงุ สโุ ขทยั เทา่ ทปี่ รากฎหลกั ฐานใน
ศลิ าจารกึ พอ่ ขนุ รามคำแหง พทุ ธศกั ราช ๑๘๓๕ หลกั ที่หนงึ่ บรรทดั ท่ี ๑๘ - ๒๐ ดังความว่า
“ ด้วยเสียงพาเสยี งพณิ เสียงเลื้อน เสยี งขบั ใครจักมกั เลน่ เล่น ใครจักมกั หวั – หวั ใครมักจกั เลื้อน
เลอื้ น ”
ทม่ี าของต้นเค้าของการอา่ นทำนองเสนาะพอจะสันนิษฐานไดว้ ่า น่าจะมบี ่อเกดิ จากการ
ดำเนนิ วิถีชวี ิตของคนไทยสมัยกอ่ นท่ีมคี วามเก่ยี วพันกบั การร้องเพลงทำนองตา่ ง ๆ ตลอดมา ทั้งน้ี
จากเหตุผลท่วี า่ คนไทยมีนิสัยชอบพูดคำคล้องจองใหม้ ีจงั หวะด้วยลักษณะสัมผสั เสมอ ประกอบกับคำ
ภาษาไทยทีม่ ีวรรณยกุ ต์กำกับจงึ ทำให้คำมีระดบั เสยี งสงู ตำ่ เหมอื นเสียงดนตรี เมือ่ ประดษิ ฐท์ ำนองง่าย
ๆ ใส่เข้าไปก็ทำให้สามารถสร้างบทเพลงร้องข้ึนมาไดแ้ ลว้ ดังนน้ั คนไทยจึงมีโอกาสไดฟ้ งั และชืน่ ชม
กบั การร้องเพลงทำนองต่าง ๆ ตัง้ แตเ่ กิดจนตายทีเดียว
ศิลปะการอา่ นทำนองเสนาะจึงขึน้ อยกู่ ับความสามารถของผู้อา่ น และความไพเราะของ
บทประพันธแ์ ตล่ ะประเภท โดยเฉพาะอย่างย่ิงผู้อ่านทำนองเสนาะจึงต้องศึกษาวธิ กี ารอา่ นให้ไพเราะ
และตอ้ งหม่นั ฝกึ ฝนการอา่ นจนเกดิ ความชำนาญ
อนึง่ ศิลปะการอ่านทำนองเสนาะอย่ทู ต่ี วั ผอู้ ่านตอ้ งรจู้ ัก วิธีการอา่ นทอดเสยี ง โดยผ่อน
จงั หวะใหช้ ้าลง การเอื้อนเสยี ง โดยการลากเสียงชา้ ๆ เพือ่ ให้เข้าจังหวะและใหห้ างเสียงให้ไพเราะ
การครั่นเสยี ง โดยทำเสียงสะดุดสะเทือนเพ่ือความไพเราะเหมาะสมกับบทกวบี างตอน การหลบเสียง
โดยการหักเหให้พลกิ กลับจากเสยี งสูงลงมาเป็นต่ำ หรือจากเสยี งตำ่ ขนึ้ ไปเปน็ เสียงสูง เนือ่ งจาก
ผ้อู า่ นไม่สามารถที่จะดำเนินตามทำนองต่อไปไดเ้ ป็นการหลบหนีจากเสียงทเี่ กนิ ความสามารถ จึงตอ้ ง
หักเหทำนองพลกิ กลับเข้ามาดำเนินทำนองในเขตเสยี งของตน และ การกระแทกเสียง โดยการอา่ น
กระชากเสียงใหด้ ังผิดปกติในโอกาสท่ีแสดงความโกรธหรือความไมพ่ อใจหรอื เมื่อตอ้ งการเน้นเสยี ง
( มนตรี ตราโมท ๒๕๒๗ : ๕๐ )
๔. รสที่ใช้ในการอ่านทำนองเสนาะ
๔.๑ รสถอ้ ย ( คำพูด ) แต่ละคำมรี สในคำของตนเอง ผอู้ ่านจะตอ้ งอ่านใหเ้ กิดรสถอ้ ย
ตัวอย่าง
สกั วาหวานอื่นมหี ม่นื แสน ไมเ่ หมือนแม้นพจมานท่ีหวานหอม
กล่นิ ประเทียบเปรยี บดวงพวงพะยอม อาจจะนอ้ มจิตโน้มดว้ ยโลมลม
แม้นลอ้ ลามหยามหยาบไม่ปลาบปลืม้ ดงั ดูดด่ืมบอระเพด็ ต้องเข็ดขม
ผดู้ ไี พร่ไม่ประกอบชอบอารมณ์ ใครฟงั ลมเมนิ หนา้ ระอาเอย
( พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอกรมหลวงบดินทรไ์ พศาลโสภณ )
๔.๒ รสความ (เรอื่ งราวทอี่ ่าน) ข้อความท่อี ่านมเี รอื่ งราวเกยี่ วกบั อะไร เช่น โศกเศร้า
สนุกสนาน ต่นื เต้น โกรธ รัก เวลาอ่านตอ้ งอ่านใหม้ ีลลี าไปตามลักษณะของเนอื้ เรือ่ งนั้น ๆ
ตัวอยา่ ง : บทโศกตอนทนี่ างวนั ทองไปส่งพลายงามให้ไปหาย่าทองประศรีที่สุพรรณบรุ ี
ลกู กแ็ ลดูแม่แม่ดลู ูก ตา่ งพนั ผูกเพยี งว่าเลือดตาไหล
สะอน้ื รำ่ อำลาดว้ ยอาลัย แล้วแข็งใจจากนางตามทางมา
เหลยี วหลังยังเห็นแมแ่ ลเขม้น แม่กเ็ ห็นลูกนอ้ ยละห้อยหา
แต่เหลียวเหลยี วเลีย้ วลบั วับวญิ ญาณ์ โอ้เปล่าตาตา่ งสะอ้ืนยนื ตะลึง
( เสภาขนุ ชา้ งขนุ แผน ตอนกำเนดิ พลายงาม : สุนทรภู่ )
ตวั อย่าง :บทสนกุ สนาน ในนริ าศพระบาท ขณะมีมวยปลำ้
ละครหยดุ อุตลุดดว้ ยมวยปล้ำ ยืนประจำหมายสเู้ ปน็ คู่ขนั
มงคลใส่สวมหัวไม่กลวั กัน ต้ังประจันจดจบั ขยับมอื
ตเี ข้าปับรบั โปกสองมอื ปิด ประจบติดเตะผางหมอ้ ขวา้ งหวอื
กระหวัดหวดิ หวิวผวาเสยี งฮาฮือ คนดอู ้อเออกนั สนั่นอึง
๔.๓ รสทำนอง ( ระบบสงู ตำ่ ซึ่งมจี งั หวะสน้ั ยาว ) ในบทรอ้ ยกรองไทยจะประกอบด้วย
ทำนองตา่ ง ๆ เชน่ ทำนองโคลง ทำนองฉันท์ ทำนองกาพย์ ทำนองกลอน และทำนองร่ายเปน็
ต้น ผอู้ ่านจะตอ้ งอา่ นใหถ้ กู ตอ้ งตามทำนองของร้อยกรองนัน้ เช่น โคลงสี่สุภาพ
สัตว์ พวกหนึง่ นชี้ อ่ื พหบุ า ทาแฮ
มี อเนกสมญา ยอกย้อน
เทา้ เกิดยงิ่ จตั วา ควรนับ เขานอ
มาก จวบหมนื่ แสนซ้อน สุดพ้นประมาณ ฯ
๔.๔ รสคล้องจอง ในบทรอ้ งกรองตอ้ งมคี ำคลอ้ งจองในคำคล้องจองน้ันตอ้ งใหอ้ อก
เสียงตอ่ เนื่องกนั โดยเนน้ เสียงสัมผัสนอกเปน็ สำคัญ เช่น
ถงึ โรงเหล้าเตากลั่นควนั โขมง มีคันโพงผูกสายไว้ปลายเสา
โอบ้ าปกรรมน้ำนรกเจยี วอกเรา ใหม้ วั เมาเหมอื นหน่งึ บ้าเปน็ น่าอาย
ทำบญุ บวชกรวดน้ำขอสำเร็จ พระสรรเพชญโพธญิ าณประมาณหมาย
ถงึ สุราพารอดไม่วอดตาม ไม่ใกล้กรายแกลง้ เมินก็เกนิ ไป
ไมเ่ มาหล้าแต่เรายังเมารกั สุดจะหักห้ามจิตคิดไฉน
ถึงเมาเหลา้ เช้าสายก็หายไป แตม่ าใจนีป้ ระจำทกุ ค่ำคืน
( นิราศภเู ขาทอง : สุนทรภู่ )
๔.๕ รสภาพ เสียงทำให้เกิดภาพ ในแต่ละคำจะแฝงไปดว้ ยภาพในการอ่านให้
เหน็ ภาพตอ้ งใชเ้ สียง สงู – ตำ่ ดงั – คอ่ ย แล้วแตจ่ ะใหเ้ กดิ ภาพอยา่ งไร เชน่
“ มดเอย๋ มดแดง เล็กเล็กเร่ียวแรงแข็งขยนั ”
“ สุพรรณหงสท์ รงพู่ห้อย งามชดชอ้ ยลอยหลังสินธุ์ ”
“ อยธุ ยายศล่มแล้ว ลอยสวรรค์ ลงฤา ”
๕. หลักการอ่านทำนองเสนาะ มดี งั น้ี
๕.๑ กอ่ นอ่านทำนองเสนาะให้แบ่งคำแบ่งวรรคให้ถูกต้องตามหลกั คำประพันธเ์ สียก่อน
โดยตอ้ งระวงั ในเรือ่ งความหมายของคำด้วย เพราะคำบางคำอ่านแยกคำกนั ไม่ได้ เช่น
“ สรอ้ ยคอขนมยรุ ะ ยูงงาม ”
( ขน – มยุระ , ขนม – ยรุ ะ )
“ หวนหว่ งม่วงหมอนทอง อีกอกร่องรสโอชา ”
( อีก – อก – รอ่ ง , อี – กอ – กรอ่ ง )
“ ดเุ หว่าจับเตา่ ร้างรอ้ ง เหมือนจากหอ้ งมาหยารัศมี ”
( เหมอื น – มด , เหมอื น – มด – อด )
๕.๒ อา่ นออกเสยี งธรรมดาให้คล่องกอ่ น
๕.๓ อ่านให้ชัดเจน โดยเฉพาะออกเสียง ร ล และคำควบกลำ้ ให้ถูกตอ้ ง เช่น
“ เกิดเปน็ ชายชาตรอี ยา่ ข้ีขลาด บรรยากาศปลอดโปรง่ โล่งสมอง
หยิบนำ้ ปลาตราสับปะรดให้ทดลอง ไหนเล่านอ้ งครมี นวดหนา้ ทาใหท้ ี
เน้ือนนั้ มโี ปรตีนกนิ เข้าไว้ คนเคราะหร์ า้ ยคลุ้มคล่ังเรอื่ งหนงั ผี
ใช้นำ้ คลองกรองเสยี กอ่ นจงึ จะดี เห็นมาลีคลบ่ี านหน้าบา้ นเอย ”
๕.๔ อา่ นใหเ้ อือ้ สมั ผัส เรยี กวา่ คำแปรเสยี ง เพอื่ ให้เกิดเสยี งท่ีไพเราะ เช่น
พระสมทุ รสุดลึกลน้ คณนา
( อา่ นว่า พระ – สะ – หมุด – สุด – ลกึ – ลน้ คน – นะ – นา )
ขา้ ขอเคารพอภวิ าท ในพระบาทบพติ รอดิสร
( ขา้ – ขอ – เคา – รบ – อบ – พิ – วาด ใน – พระ – บาด – บอ – พดิ – อะ – ดดิ – สอน )
ขอสมหวงั ตั้งประโยชนโ์ พธญิ าณ
( อ่านว่า ขอ – สม – หวงั – ตงั้ – ประ – โหยด – โพด – พิ – ยาน )
๕.๕ ระวงั ๓ ต อย่าให้ ตกหล่น อย่าตอ่ เตมิ และอยา่ ตู่ตวั
๕.๖ อา่ นให้ถูกจงั หวะ คำประพันธ์แตล่ ะประเภทจะมีจงั หวะแตกตา่ งกนั ต้องอา่ น
ใหถ้ ูกวรรคตอนตามแบบแผนของคำประพันธน์ ัน้ ๆ เช่น
มุทงิ คนาฉันท์ ( ๒ - ๒ - ๓ )
“ ปะ๊ โทน่ / ป๊ะโทน / ปะ๊ โทน่ โทน บุรษุ / สโิ อน / สะเอวไหว
อนงค์ / นำเคลือ่ น / เขยือ้ นไป สะบดั / สไป / วิไลตา ”
๕.๗ อ่านใหถ้ ูกทำนองของคำประพันธน์ ัน้ ๆ ( รสทำนอง )
๕.๘ ผอู้ า่ นตอ้ งใสอ่ ารมณ์ตามรสความของบทประพันธ์น้ัน ๆ รสรัก โศก ตน่ื เตน้
ขบขัน โกรธ แล้วใสน่ ำ้ เสยี งให้สอดคล้องกบั รสหรืออารมณต์ ่าง ๆ เหล่านนั้
๕.๙ อา่ นใหเ้ สยี งดงั ( พอทจ่ี ะไดย้ ินกนั ทวั่ ถึง ) ไม่ใช่ตะโกน
๕.๑๐ ถา้ เปน็ ฉันท์ ต้องอ่านให้ถูกต้องตามบงั คับของครุ - ลหุ ของฉันท์น้นั ๆ
ลหุคอื ที่ผสมดว้ ยสระเสียงสนั้ และไม่มีตวั สะกด เช่น เตะ บุ และ
เถอะ ผัวะ ยกเวน้ ก็ บอ่ นอกจาก นถี้ ือเป็นคำครุ ( คะ – รุ ) ทั้งหมด
ลหุให้เคร่ืองหมาย ( ุ ) แทนในการเขยี น
ครุ ใชเ้ ครื่องหมาย ( ั ) แทนในการเขียน
ตัวอย่าง : วสันตดลิ กฉันท์ ๑๔ มีครุ - ลหุ ดังนี้
ัั ั ุ ั ุ ุ ุ ั ุุัุ ัั
ั ั ุ ัุ ุ ุ ั ุุ ัุ ั ั
อา้ เพศกเ็ พศนชุ อนงค์ อรองค์กับอบบาง
( อ่านว่า อ้า – เพด – ก็ – เพด – นุ – ชะ – อะ – นง อะ – ระ – อง – กอ้ – บอบ – บาง )
ควรแตผ่ ดงุ สิรสิ ะอาง ศภุ ลักษณ์ประโลมใจ
( อา่ นวา่ ควน – แต่ – ผะ – ดุง – สิ – หริ – สะ – อาง สุ – พะ – ลกั – ประ – โลม – ใจ )
๕.๑๑ เวลาอา่ นอ่านอย่าให้เสยี งขาดเปน็ ชว่ ง ๆ ต้องให้เสียงตดิ ตอ่ กันตลอด เช่น
“ วนั นนั้ จนั ทร มีดารากร เปน็ บรวิ าร เหน็ ส้ินดินฟา้ ในป่าทา่ ธาร มาลีคลี่
บาน ใบก้านอรชร ”
๕.๑๒ เวลาจบให้ทอดเสียงช้า ๆ
๖. ประโยชนท์ ี่ได้รบั จากการอ่านทำนองเสนาะ
๖.๑ ช่วยใหผ้ ูฟ้ ังเขา้ ถึงถึงรสและเหน็ ความงามของบทร้อยกรองท่อี ่าน
๖.๒ ช่วยใหผ้ ู้ฟังไดร้ ับความไพเราะและเกิดความซาบซึ้ง ( อาการรสู้ กึ จบั ใจอย่างลกึ ซ้งึ )
๖.๓ ชว่ ยใหเ้ กิดความสนกุ สนาน ความเพลิดเพลนิ
๖.๔ ชว่ ยใหจ้ ำบทรอ้ ยกรองได้รวดเร็วและแม่นยำ
๖.๕ ช่วยกล่อมเกลาจติ ใจให้เป็นคนออ่ นโยนและเยอื นเยน็
๖.๖ ชว่ ยสบื ทอดวัฒนธรรม ในการอา่ นทำนองเสนาะไว้เปน็ มรดกตอ่ ไป
ใบกิจกรรมการเรียนร้ทู ี่ ๑
คำช้ีแจง ให้นักเรียนแตล่ ะกลุ่มคัดเลือกคำกลอนจากเรอ่ื งนริ าศภเู ขาทอง กลุ่มละ บท แล้วถอดคำ
กลอนนัน้ เป็นรอ้ ยแก้ว
คำกลอนที่คัดเลอื กมาคือ.....
................................................................................................................................. ..
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
ใบกจิ กรรมการเรียนรทู้ ี่ ๒
คำชี้แจง ใหน้ กั เรียนบอกความหมายของคำท่กี ำหนดใหต้ อ่ ไปน้ี
ลำดบั ที่ คำ ความหมาย
๑ ก้ามกุ้ง ..................................................................................................
๒ เกรยี ด ..................................................................................................
๓ ขยอ้ น ..................................................................................................
๔ ขวาก ..................................................................................................
๕ ขามใจ ..................................................................................................
๖ เครอื่ งมังสา ..................................................................................................
๗ ชลมารค ..................................................................................................
๘ ตบะ ..................................................................................................
๙ นรังสรรค์ ..................................................................................................
๑๐ ธบิ ดี ..................................................................................................
๑๑ นิพพาน ..................................................................................................
๑๒ นโิ รธ ..................................................................................................
๑๓ บรมธาตุ ..................................................................................................
๑๔ บัทม์ ..................................................................................................
๑๕ ปทุมชาติ ..................................................................................................
๑๖ ผ่านเกล้า ..................................................................................................
๑๗ พจนารถ ..................................................................................................
๑๘ พรรษา ..................................................................................................
๑๙ พระสุริยง ..................................................................................................
๒๐ ภิญโญ ..................................................................................................
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 6
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ท21101 ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 1
หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 2 นริ าศภเู ขาทอง เวลา ๑๐ คาบ
เรื่อง เสียงในภาษาชนิดและหนา้ ท่ีของคำ เวลา 4 ชั่วโมง
ผสู้ อน นางสาวณฐั ฐินนั ท์ สมิ พา โรงเรียนบา้ นนาดสี ร้างบง
หมายเหต…ุ ………………………………………………………………………………………………………………………
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ยี นแปลงของ
ภาษาและพลงั ของภาษา ภมู ปิ ัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบัติของชาติ
ตวั ชวี้ ดั
ท ๔.๑ ม ๑/๑ อธบิ ายลกั ษณะของเสยี งในภาษาไทย
ท ๔.๑ ม ๑/๓ วิเคราะห์ชนิดและหน้าทข่ี องคำในประโยค
สาระสำคัญ
เสียงในภาษาไทย ประกอบด้วย เสยี งสระ เสียงพยญั ชนะ และเสยี งวรรณยกุ ต์ คำแต่ละ
คำจะประกอบดว้ ยเสยี งทงั้ สามชนดิ ซง่ึ เสียงนีท้ ำใหแ้ ยกความหมายของคำได้ ผเู้ รียนจงึ ควรศกึ ษาให้เกิด
ความเข้าใจเกีย่ วกับความหมายของเสยี งในภาษาไทย ชนดิ ของเสยี งในภาษาไทย ฐานที่เกดิ เสียงใน
ภาษาไทย การประกอบเสยี งเปน็ พยางคแ์ ละคำ ชนิดและหนา้ ที่ของคำ เพอื่ ให้มคี วามรคู้ วามเข้าใจเร่ือง
เสียงในภาษา สามารถวิเคราะห์องค์ประกอบของพยางคแ์ ละคำ ตลอดจนสามารถออกเสียงภาษาไทยให้
ถกู ต้องและชัดเจน เพือ่ ใหก้ ารส่อื สารสามารถส่ือความไดเ้ ข้าใจถูกต้องตรงกัน
จุดประสงค์การเรยี นรู้
๑. บอกความหมายของเสียงและชนิดของคำในภาษาได้
๒. วิเคราะหช์ นดิ และหนา้ ท่ขี องคำในประโยค
สมรรถนะหลัก
□๑.ความสามารถในการสื่อสาร
□ ๒.ความสามารถในการคิด
□ ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา
□ ๔.ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต
□ ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A)
□๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
□๒. ซือ่ สัตย์สุจริต
□๓. มวี นิ ัย
□๔. ใฝ่เรียนรู้
□๕. อยู่อย่างพอเพียง
□๖. มุ่งมัน่ ในการทำงาน
□๗. รกั ความเปน็ ไทย
□๘. มจี ิตสาธารณะ
แนวความคดิ เพ่ือการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑
□สาระวิชาหลัก (Core Subject)
□ทกั ษะด้านการเรียนรูแ้ ละนวตั กรรม
□ทักษะดา้ นสารสนเทศและเทคโนโลยี
□ทักษะด้านชวี ิตและอาชีพ
สาระการเรยี นรู้
-เสียงในภาษาไทย
-ชนดิ และหนา้ ท่ขี องคำ
กระบวนการจัดการเรยี นรู้ (ขนั้ ตอน/กระบวนการ) ชัว่ โมงท่ี ๑-๒ เสยี งในภาษไทย
ข้นั นำ
๑.นกั เรียนฟงั เพลง "ขดั ใจ" (เพลงอื่น ๆ) หลงั จากนั้นครูตั้งคำถามวา่ นักเรียนรจู้ กั เพลง
นห้ี รอื ไม่ เพลงนเี้ ป็นเพลงภาษาอะไรนกั เรยี นเขา้ ใจความหมายของเพลงน้หี รือไม่ เพราะเหตุใด นักเรียน
จึงเขา้ ใจความหมายของเพลงนี้(A)
๒. ครูสรปุ วา่ นักเรยี นเขา้ ใจความหมายของเพลงเพราะได้ยนิ เสยี งร้องภาษาไทย
พรอ้ มกับตงั้ คำถามวา่ นกั เรียนทราบหรอื ไม่ว่าเสยี งในภาษาไทยเกิดข้ึนได้อย่างไร
ข้ันสอน
๑. นกั เรยี นเลือกเนื้อเพลงขดั ใจตอนทปี่ ระทบั ใจมา ๑ ตอน พร้อมท้งั อ่านออกเสยี ง
อ่านเน้ือเพลงขัดใจตอนที่ตอนที่นกั เรียนเลือก เช่น (R)
" จำเป็นตอ้ งขัดใจตวั เอง ขม่ ตาลงแล้วหนั หลังกลับ
ปลอบใจว่าไม่เป็นไร คดิ ว่าเปน็ ความสขุ เลก็ ๆนอ้ ยๆไป "
๒. ครตู ัง้ คำถามจากเน้อื เพลง ดงั นี้ (A)
- เนื้อเพลงทน่ี ักเรียนเลือกมา มีกพ่ี ยางค์ หรอื ออกเสยี งกค่ี ร้ัง
- แต่ละพยางค์ เช่น /หนั / / หลงั / /กลับ/ ประกอบด้วยเสยี งใดบ้าง
๓. นักเรียนชว่ ยกนั บอกองค์ประกอบของพยางค์ (K)
๔. ครูสรปุ ว่า พยางค์ทีม่ คี วามหมายในภาษาไทย ประกอบด้วย เสยี งพยญั ชนะตน้
เสยี งสระ เสยี งพยัญชนะทา้ ย และเสยี งวรรณยุกต์ (บางพยางคไ์ ม่มเี สยี งพยัญชนะท้ายก็ได้)
๕. ครูตั้งคำถามดงั น้ี
- คำว่า หนั ประกอบด้วย เสียงพยัญชนะต้น /ห/ เสยี งสระ /อะ/
เสียงพยัญชนะทา้ ย /น/ เสยี งวรรณยุกต์ /จตั วา/ แตล่ ะเสยี ง เกิดขึ้นได้อย่างไร (A)
๖.ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั สรุปวา่ เสยี งเกดิ จากลม จากปอดเดนิ ทางผ่านอวยั วะในการ
ออกเสยี ง ได้แก่ เสน้ เสียง หลอดลม ชอ่ งปาก ผา่ นอวยั วะในช่องปาก เช่น เพดานแข็ง เพดานออ่ น
ปุม่ เหงือก ฟนั ริมฝปี าก เกิดเปน็ เสยี งตา่ ง ๆ (A)
๗.นกั เรียนใชฝ้ ่ามือวางหา่ งจากปากเล็กน้อยแล้วออกเสียง คำ จากเน้อื เพลง เช่น
/จำ/ /เป็น/ /ต้อง/ /ขัด/ /ใจ/ และสงั เกตว่า ลักษณะในการออกเสยี งคำแต่ละคำแตกต่างกนั (K)
๘.ครูและนกั เรียนรว่ มกนั อธบิ ายเหตุผลทที่ ำให้ลกั ษณะการออกเสยี งคำต่างกันว่าเปน็
เพราะ ขณะทอี่ อกเสยี งคำ ประกอบด้วย เสยี งสระ และพยัญชนะ ซงึ่ ขณะออกเสยี ง สระ เสียงทเี่ ปล่ง
ออกมาแตกตา่ งกนั เพราะการบงั คับรปู ปากและระดบั ลน้ิ ให้เปน็ เสียงท่ีตอ้ งการ ขณะออกเสียงพยัญชนะ
เสียงท่ีเปลง่ ออกมาแตกตา่ งกันเพราะ อวยั วะภายในช่องปาก และริมฝีปากบงั คับลมใหเ้ ป็นเสียงที่
ตอ้ งการ (K)
ข้ันสรปุ
๙. นกั เรียนสรุปความรเู้ ร่อื งเสยี งในภาษาไทย (K)
๑๐. ครมู อบหมายใหน้ ักเรยี นศึกษารายละเอยี ดเรื่องเสียงในภาษาไทยจากสอื่ หรือ
แหลง่ เรียนรตู้ ่าง ๆ เช่น คน้ ควา้ เพ่มิ เติมจากห้องสมุด ศึกษาจากสอื่ การสอนเรอ่ื งเสยี งในภาษาไทยจาก
ยทู ูปเปน็ ต้น (K)
๑๑. ครูมอบหมายภาระงานให้นกั เรียนวเิ คราะห์องค์ประกอบของพยางคจ์ ากเพลงที่
นักเรยี นช่นื ชอบ โดยเลือกเน้ือเพลงทอ่ นท่นี กั เรยี นประทบั ใจมา ๑ ทอ่ น และเลือกคำพยางคเ์ ดยี วท่ี
นักเรยี นจะวิเคราะห์พยางค์มา ๕ คำ เขยี นตอบลงในสมดุ (K)
กระบวนการจัดการเรียนรู้ (ขน้ั ตอน/กระบวนการ) ช่วั โมงที่ ๓-๔ ชนิดและหนา้ ท่ีของคำในประโยค
ขัน้ นำ
๑. นกั เรียนอ่านคำขวญั ทอ่ งเท่ียวของจังหวัดจันทบุรี ทีว่ ่า "จันทบุรี เมืองแห่ง
ความสุข สขุ ทุกวันทจ่ี นั ทบรุ ี" หลงั จากนัน้ ครูตั้งคำถามว่า จากคำขวญั ท่องเที่ยวจังหวัดจนั ทบรุ ี
นกั เรยี นคดิ วา่ มีคำชนดิ ใดบ้างท่ีปรากฏในคำขวัญ (V,R)
๒. ครกู ล่าวว่าจาก คำขวญั ข้างต้น มี คำอยู่ ๓ ชนิด จาก ๗ ชนิด ได้แก่ คำนาม คำ
บพุ บท คำกริยา นกั เรยี นร้หู รอื ไม่วา่ คำท้ังเจด็ ชนดิ ประกอบด้วยคำชนดิ ใด และทำหน้าท่ีใดในประโยค
ขัน้ สอน
๑. ครูแจกบัตรคำ ที่มีคำทัง้ ๗ ชนิด ตามจำนวนนกั เรยี น ทม่ี ใี นหอ้ งเรียน
(บางคำประกอบประโยคและขีดเสน้ ใต้เพ่ือใหเ้ ข้าใจย่งิ ขึ้น)
๒. นกั เรียนพจิ ารณาว่าคำที่นักเรียนไดร้ บั เปน็ คำชนดิ ใด แลว้ ไปรวมกลมุ่ ตามทีค่ รู
กำหนดไว้ดังน้ี คำนาม คำสรรพนาม คำกรยิ า คำวิเศษณ์ คำบพุ บท คำสนั ธาน และคำอุทาน (K)
๓. นกั เรียนแต่ละกลุม่ พจิ ารณาว่าคำทเ่ี พ่ือนนำมาน้นั เปน็ ชนิดเดยี วกันกับทีค่ รูกำหนด
หรือไม่ หากไมใ่ ชส่ ามารถเปล่ียนกลมุ่ ได้(K)
๔.ครูและนักเรียนชว่ ยกันตรวจคำตอบว่า แต่ละกลมุ่ มคี ำตามชนิดของคำท่ีกำหนด
หรอื ไม่ และลบคะแนนตามทีต่ อบผดิ จาก ๑๐ คะแนน และแก้ไขให้อยใู่ นกลุม่ ท่ถี กู ต้อง(K)
๕. ครูแจกตาราง หนา้ ทขี่ องคำใหน้ กั เรียนทกุ คน ชว่ ยกนั วเิ คราะหแ์ ละตอบคำถาม(K)
๖.นกั เรียนช่วยกันนำคำทมี่ เี ตมิ ลงในช่องว่าง พรอ้ มทัง้ ศกึ ษาหน้าทขี่ องคำในประโยค
ข้ันสรุป
นกั เรยี นและครสู รุปหนา้ ทีข่ องคำในประโยควา่ คำแต่ละชนดิ ทำหน้าท่ีในประโยค
ตา่ งกนั เช่น คำนามอาจทำหน้าที่เป็นประธานหรือกรรมในประโยค คำกริยา ทำหนา้ ทแี่ สดงอาการ คำ
วเิ ศษณท์ ำหนา้ ทข่ี ยายคำนามให้มคี วามหมายชดั เจนย่งิ ขนึ้ เปน็ ตน้ (K)
- ครมู อบหมายใหน้ กั เรยี นไปคน้ คว้าเพิม่ เตมิ จากสื่อและแหล่งเรียนรอู้ ่ืน เช่น ค้นควา้
เพิม่ เตมิ จากห้องสมุด หรือ ส่อื การสอนเร่อื งชนดิ และหนา้ ที่ของคำในประโยคจากยูทูป (K)
- ครมู อบหมายภาระงานให้นักเรยี นเคราะห์ชนิดและหนา้ ที่ของคำในประโยคจากคำ
ขวญั ท่องเท่ยี วของจังหวดั ต่าง ๆทน่ี ักเรียนสนใจ (K)
ส่ือ (วสั ดุ-อุปกรณ์-สิง่ พมิ พ)์ / นวตั กรรม / ICT
- เพลงขดั ใจ
- บตั รคำ
- ตารางวเิ คราะหช์ นดิ ของเสยี งในพยางค์
- ตารางหน้าทข่ี องคำในประโยค
แหลง่ เรยี นรู้
๑. ห้องสมดุ
๒. สอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส์ www.youtube.com
การวัดและการประเมินการเรยี นรู้
วธิ ีการวดั และการประเมนิ เครือ่ งมือวัดและประเมิน เกณฑ์การวดั
แบบประเมินผลงาน ผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ ๖๐
ดา้ นความรู้ (K) -ประเมินจากผลงานวิเคราะหพ์ ยางค์
แบบประเมนิ การทำงาน ผา่ นเกณฑร์ อ้ ยละ ๖๐
-ประเมินจากผลงานวเิ คราะหช์ นดิ ละ กลุ่ม
หน้าทข่ี องคำในประโยค
ด้านทักษะ / กระบวนการกลุ่ม
กระบวนการ (P)
ด้านคณุ ธรรม ใฝ่เรยี นรู้ ประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ ๖๐
ประสงค์
จรยิ ธรรม
ค่านยิ ม (A)
กิจกรรมเสนอแนะ
....................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
ลงช่อื ....................................................ผเู้ ขยี นแผนการจดั การเรียนรู้
..................../.............../...................
แบบประเมนิ การทำงานกลุม่
กลุม่ ..........................................................................................................
สมาชกิ ในกลุ่ม ๑.......................................................................
๒. ......................................................................
๓.......................................................................
๔. ......................................................................
๕.......................................................................
๖. ......................................................................
พฤตกิ รรมที่สงั เกต คะแนน หมายเหตุ
๔๓๒
๑. มสี ่วนรว่ มในการแสดงความคิดเหน็ ๕ ๑
๒. มคี วามกระตอื รือรน้ ในการทำงาน
๓. รับผดิ ชอบในงานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย
๔. มขี ัน้ ตอนในการทำงานอย่างเปน็ ระบบ
๕. ใช้เวลาในการทำงานอยา่ งเหมาะสม
รวม
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ
๑๓-๑๕ ดี
๘-๑๒ ปานกลาง
๕-๗ ปรบั ปรงุ
แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
คำชี้แจง:ใหผ้ สู้ อนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด ✓ลงในชอ่ ง
ที่ตรงกับระดบั คะแนน
คุณลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน
อนั พึงประสงค์ดา้ น ๔๓๒๑
๑. รักชาติ ศาสน์ ๑.๑ ยนื ตรงเม่ือไดย้ ินเพลงชาติ ร้องเพลงชาตไิ ด้ และ
กษัตริย์ อธิบายความหมายของเพลงชาติ
๑.๒ ปฏบิ ตั ติ นตามสิทธิและหนา้ ทข่ี องพลเมอื งดี
๑.๓ ใหค้ วามร่วมมอื รว่ มใจ ในการทำกจิ กรรมกับสมาชิก
ในโรงเรยี นและชมุ ชน
๑.๔ เขา้ ร่วมกจิ กรรมและมสี ่วนรว่ มในการจัดกิจกรรมที่
สร้างความสามัคคีปรองดอง และเปน็ ประโยชน์ต่อ
โรงเรยี น ชมุ ชน และสังคม ชน่ื ชมความเปน็ ชาติไทย
๑.๕ เขา้ ร่วมกจิ กรรมทางศาสนาทตี่ นนบั ถอื ปฏบิ ัตติ น
ตามหลักของศาสนาอย่างสม่ำเสมอ เป็นแบบอย่างท่ดี ี
ของศาสนกิ ชน
๑.๖ เข้าร่วมกจิ กรรมและมีสว่ นร่วมในการจดั กิจกรรมท่ี
เกย่ี วขอ้ งกับสถาบันพระมหากษัตรยิ ์ตามทีโ่ รงเรียนและ
ชุมชนจดั ขึน้ ชนื่ ชมในพระราชกรณียกิจพระปรชี าสามารถ
ของพระมหากษตั ริย์และพระราชวงศ์
๒. ซอ่ื สตั ย์ สุจรติ ๒.๑ ให้ข้อมูลที่ถูกตอ้ ง และเป็นจรงิ
๒.๒ ปฏบิ ตั ิในสงิ่ ทีถ่ กู ต้อง ละอาย และเกรงกลัวทจี่ ะ
กระทำความผิด ทำตามสญั ญาท่ีตนใหไ้ ว้กับเพ่อื น พอ่ แม่
หรอื ผู้ปกครอง และครู เปน็ แบบอย่างท่ีดีดา้ นความ
ซอ่ื สตั ย์
๒.๓ ปฏบิ ตั ิตนตอ่ ผอู้ ่นื ดว้ ยความซอ่ื ตรง ไมห่ าประโยชน์
ในทางทไี่ ม่ถูกต้องและเปน็ แบบอยา่ งที่ดีแก่เพอื่ นด้าน
ความซ่ือสัตย์
๓. มวี นิ ัย ๓.๑ ปฏิบตั ติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบงั คบั
รบั ผดิ ชอบ ของครอบครวั โรงเรยี น และสังคม ไมล่ ะเมิดสิทธขิ องผูอ้ ืน่
ตรงตอ่ เวลาในการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตา่ งๆ ในชีวิตประจำวนั
และรับผดิ ชอบในการทำงาน
๔. ใฝ่เรียนรู้ ๔.๑ แสวงหาขอ้ มูลจากแหล่งการเรียนรตู้ า่ งๆ
๔.๒ มกี ารจดบันทกึ ความรอู้ ย่างเป็นระบบ
๔.๓ สรปุ ความรูไ้ ดอ้ ย่างมีเหตผุ ล
๕. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง ๕.๑ ใชท้ รัพย์สนิ ของตนเอง เชน่ สง่ิ ของ เครือ่ งใช้ ฯลฯ
อยา่ งประหยัดคุม้ คา่ และเก็บรักษาดแู ลอย่างดี และใช้
เวลาอย่างเหมาะสม
๕.๒ ใช้ทรพั ยากรของสว่ นรวมอยา่ งประหยัด คุม้ คา่ และ
เก็บรกั ษาดูแลอย่างดี
๕.๓ ปฏิบัติตนและตดั สินใจดว้ ยความรอบคอบ มเี หตุผล
๕.๔ ไมเ่ อาเปรียบผอู้ ืน่ และไมท่ ำให้ผู้อ่นื เดอื ดร้อน
พรอ้ มใหอ้ ภัยเมื่อผอู้ ืน่ กระทำผิดพลาด
๕.๕ วางแผนการเรยี น การทำงานและการใช้
ชีวติ ประจำวันบนพ้ืนฐานของความรู้ ข้อมูล ขา่ วสาร
๕.๖ รเู้ ทา่ ทันการเปล่ยี นแปลง ทางสังคม และ
สภาพแวดล้อม ยอมรับและปรับตัว อยู่ร่วมกบั ผู้อ่ืนได้
อย่างมคี วามสขุ
๖. มงุ่ มั่นในการ ๖.๑ มีความตง้ั ใจและพยายามในการทำงานทไ่ี ด้รบั
ทำงาน มอบหมาย
๖.๒ มีความอดทนและไมท่ ้อแท้ตอ่ อปุ สรรคเพ่ือใหง้ าน
สำเร็จ
๗. รักความเป็นไทย ๗.๑ มจี ิตสำนกึ ในการอนุรักษ์วฒั นธรรมและภมู ปิ ญั ญา
ไทย
๗.๒ เหน็ คณุ ค่าและปฏบิ ัติตนตามวฒั นธรรมไทย
๘. มจี ติ สาธารณะ ๘.๑ รจู้ ักช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูทำงาน
๘.๒ อาสาทำงาน ช่วยคดิ ช่วยทำ แบ่งปันสงิ่ ของ และ
ชว่ ยแก้ปัญหาให้ผู้อื่น
๘.๓ ดแู ล รกั ษาทรัพยส์ นิ ของหอ้ งเรยี น โรงเรียน ชุมชน
๘.๔ เขา้ ร่วมกจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์
ของโรงเรยี นและชมุ ชน
ลงช่ือ..........................................ผปู้ ระเมนิ
............../.................../................
ประธาน ส่วนขยาย กรยิ า ใบงานท่ี 1 สว่ นขยายกรรม ส่วนเติมเตม็
ประธาน วเิ คราะห์ชนดิ และหน้าทขี่ องคำ
ส่วนขยายกรยิ า เช่ือม กรรม
ชนิดของ
คำ
ประโยค นักเรยี นมีเงินมาก
ชนดิ ของ
คำ
ประโยค ครูและนักเรยี นรบั ประทานขนม
ชนิดของ
คำ
ประโยค เดก็ กลมุ่ นน้ั ต่างเลน่ ตกุ๊ ตาตัวโตอย่างมีความสุข
ตารางวเิ คราะห์เสยี งในภาษาไท
เนื้อเพลงตอน
............................................................................
............................................................................
ที่ คำ เสียงพยัญชนะตน้ เสียงสระ
เดี่ยว ควบกลำ้ สั้น ยาว ผสม
สงู กลาง ตำ่ ต่ำคู่ ร ล ว
เด่ยี ว
๑
๒
๓
๔
๕
ทยจากเพลง.............................
นที่ประทับใจ
...........................................................................
.................................................. .........................
เสียง เสยี งวรรณยุกต์ คำเป็น คำตาย หมายเหตุ
พยัญชนะท้าย
สา เอก โท ตรี จตั วา
มัญ
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 7
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ท21101 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1
หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 2 นริ าศภเู ขาทอง เวลา ๑๐ คาบ
เร่อื ง การอ่านสญั ลักษณแ์ ละแผนที่ เวลา 1 ชวั่ โมง
ผสู้ อน นางสาวณัฐฐินนั ท์ สมิ พา โรงเรยี นบ้านนาดสี ร้างบง
หมายเหตุ…………………………………………………………………………………………………………………………
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรแู้ ละความคดิ เพอ่ื นำไปใช้ตดั สนิ ใจ แกป้ ัญหา
ในการดำเนินชวี ติ และมนี สิ ัยรักการอา่ น
ตัวชี้วัด
ท ๑.๑ ม ๑/๗ ปฏบิ ัติตามคู่มอื แนะนำวิธีการใชง้ านของเคร่อื งมือหรือเครือ่ งใชใ้ นระดับท่ยี ากขึ้น
สาระสำคัญ
คู่มือ คอื เอกสารทร่ี ะบุรายละเอยี ดหรือวธิ กี ารใช้งานของเคร่อื งมือหรือเครอื่ งใช้ต่าง ๆ แผนที่
นบั เป็นค่มู อื ชนดิ หน่งึ ท่ีระบรุ ายละเอยี ดเก่ยี วกบั ลักษณะภมู ิประเทศ สิ่งกอ่ สร้าง เส้นทาง โดยกำหนดเป็น
สัญลกั ษณต์ ่าง ๆ เพ่อื เปน็ แนวทางในดารเดนิ ทาง ผู้เรยี นจงึ ควรศกึ ษาวธิ ีอ่านแผนท่ี ในลักษณะต่าง ๆ
โดยเฉพาะแผนที่สำหรบั การท่องเทีย่ ว เพือ่ ใช้ในการเดินทางหรอื อธิบายให้ผูอ้ ื่นเขา้ ใจและเดินทางได้อยา่ ง
ถกู ตอ้ ง
จุดประสงค์การเรียนรู้
๑. บอกความหมายของแผนทไ่ี ด้
๒. บอกความหมายของสัญลักษณ์ที่อยู่ในแผนท่ีได้
3. อธบิ ายการเดนิ ทางจากการอ่านแผนทไี่ ด้ถูกต้อง
สมรรถนะหลัก
□๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร
□ ๒. ความสามารถในการคิด
□ ๓. ความสามารถในการแกป้ ญั หา
□ ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
□ ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
ด้านคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
□๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์
□๒. ซื่อสตั ย์สุจรติ
□๓. มีวนิ ยั
□๔. ใฝ่เรียนรู้
□๕. อยู่อย่างพอเพียง
□๖. มุง่ มัน่ ในการทำงาน
□๗. รกั ความเปน็ ไทย
□๘. มีจติ สาธารณะ
แนวความคดิ เพอื่ การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑
□ สาระวชิ าหลกั (Core Subject)
□ ทักษะด้านการเรยี นรู้และนวตั กรรม
□ ทักษะด้านสารสนเทศและเทคโนโลยี
□ ทักษะดา้ นชีวิตและอาชพี
สาระการเรียนรู้
- การอา่ นและปฏิบตั ิตามเอกสารคมู่ ือ
กระบวนการจดั การเรียนรู้ (ขั้นตอน/กระบวนการ)
ขน้ั นำ
๑. ครใู ช้คำถามนำวา่ หากนกั เรียนตอ้ งการไปเท่ยี ว เจดภี เู ขาทอง จังหวัดพระนครศรี อยธุ ยา
แตน่ ักเรยี นไม่ร้ทู าง นกั เรียนจะมีวิธีการใดบา้ งเพอ่ื จะใหท้ ำใหน้ กั เรียนเดินทางไปไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งและไม่หลงทาง
(K,P)
๒. ครูสรุปว่าวิธีการที่ชว่ ยในการเดินทางไปยังจุดหมายปลายทางไดอ้ ย่างรวดเร็วและถูกต้อง
วธิ ีหนึ่ง คือการเดินทางตามแผนท่ีซึ่งเราต้องเข้าใจความหมายของสัญลกั ษณ์ตา่ ง ๆ รู้ทิศการเดินทาง รวมถึงรู้
สถานทส่ี ําคญั ทีเ่ ป็นจุดสงั เกต(K,P)
ข้ันสอน
๑. นักเรียนแบ่งกลุ่มกันกลุ่มละประมาณ ๔-๕ คน ครูแจกแผนที่ให้และบอกจุดเริ่มต้นการ
เดินทาง จากน้ันให้แต่ละกลมุ่ เดินทางตามคำสั่งของครู เช่นการเดนิ ไปทางทิศตะวันออก เดินทางไปตามภเู ขา
ข้ามทางรถไฟ ฯลฯ จนกระท่ังถึงจุดหมาย ครูตรวจสอบจุดหมายปลายทางของแต่ละกลุ่มว่าถูกต้องหรือไม่
และร่วมกนั อภิปรายว่ากลุ่มท่ีเดนิ ทางสำเรจ็ และหลงทางเกิดขึ้นจากสาเหตใุ ดบ้าง (ทักษะพสิ ยั )
๒. ครูสอนความหมายของสัญลักษณ์ท่ีพบบ่อยในแผนที่ คือ สัญลักษณ์บอกทิศทางและ
สญั ลกั ษณ์ทางภูมิศาสตร์ (K,P)
๓. นักเรียนนำแผนที่สถานท่ีท่องเท่ียวท่ีเตรียมมาแล้วกำหนดจุดเริ่มต้นและ จุดหมาย
ปลายทาง และเขียนอธบิ ายการเดินทางอย่างละเอียด(K,P)
๔.ครแู ละนกั เรียนสรปุ กิจกรรมการอา่ นแผนที่(K,P)
ขั้นสรุป
๑.ครูและนักเรียนชว่ ยกันสรุปการอธบิ ายความหมายของขอ้ มูลจากการอ่านแผนท่ีเพ่ือใช้ใน
การเดนิ ทาง
สื่อ (วัสดุ-อุปกรณ์-สงิ่ พิมพ์) / นวตั กรรม / ICT
- แผนทก่ี จิ กรรมการเดนิ ทางตามคำสง่ั
- สญั ลักษณบ์ อกทศิ ทางและสญั ลักษณ์ทางภมู ศิ าสตร์
แหล่งเรยี นรู้
๑. หอ้ งสมดุ
๒. www. youtube.com (ทางหลวงแนะนำเส้นทาง, สญั ลักษณ์ตา่ งๆบนแผนท่ี, ประเภทของแผนที่)
บรู ณาการ (ถ้าม)ี
- กลุม่ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สะระภูมิศาสตร์
การวัดและการประเมินการเรียนรู้
วิธกี ารวัดและการประเมิน เครอ่ื งมือวัดและประเมิน เกณฑ์การวัด
ด้านความรู้ (K) - การเขยี นอธิบายการเดินทาง แบบประเมนิ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๖๐
ด้านทกั ษะ / กระบวนการ (P) -การทำงานกลุ่ม แบบสงั เกต ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ ๖๐
ดา้ นคณุ ธรรม -สงั เกต -แบบสังเกต ผา่ นเกณฑ์รอ้ ยละ ๖๐
จริยธรรม
ค่านยิ ม (A)
กิจกรรมเสนอแนะ
..............................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
ลงชือ่ ....................................................ผ้เู ขยี นแผนการจดั การเรียนรู้
..................../.............../...................
ใบงานการอธบิ ายการเดินทางจากแผนทส่ี ถานทท่ี อ่ งเที่ยว
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑
ชื่อ.......................................................................................ชั้น......................................เลขท.ี่ .................
คำสง่ั : นกั เรยี นเขยี นอธบิ ายการเดนิ ทางตามแผนทีส่ ถานท่ีทอ่ งเท่ยี วเพือ่ ไปยัง คงุ้ วิมาน โดยเริ่มจาก
น้ำตกเขาสอยดาว หรอื น้ำตกตรอกนอง และเขยี นอยา่ งน้อย ๕ ลำดบั การเดินทาง
แผนทสี่ ถานทท่ี ่องเทยี่ ว.....................................................................
ชื่อ-นามสกุล......................................................................ชัน้ ...................................เลขที่.......................
อธิบายการเดนิ ทางตามแผนท่สี ถานทท่ี อ่ งเทีย่ วเพอื่ ไปยงั .............................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
แบบประเมินการทำงานกลุ่ม
กลุม่ ..........................................................................................................
สมาชิกในกลุ่ม ๑.......................................................................
๒. ......................................................................
๓. ......................................................................
๔. ......................................................................
๕. ......................................................................
๖. ......................................................................
พฤติกรรมท่ีสังเกต คะแนน หมายเหตุ
๔๓๒
๑. มสี ว่ นร่วมในการแสดงความคดิ เห็น ๕ ๑
๒. มคี วามกระตอื รือร้นในการทำงาน
๓. รบั ผดิ ชอบในงานทไ่ี ด้รบั มอบหมาย
๔. มีขนั้ ตอนในการทำงานอยา่ งเปน็ ระบบ
๕. ใชเ้ วลาในการทำงานอยา่ งเหมาะสม
รวม
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
๑๓-๑๕ ดี
๘-๑๒ ปานกลาง
๕-๗ ปรับปรงุ
แบบประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์
คำชี้แจง:ใหผ้ สู้ อนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด ✓ลงในชอ่ ง
ที่ตรงกับระดบั คะแนน
คุณลกั ษณะ รายการประเมิน ระดบั คะแนน
อนั พึงประสงค์ดา้ น ๔๓๒๑
๑. รักชาติ ศาสน์ ๑.๑ ยนื ตรงเม่ือได้ยินเพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้ และ
กษัตริย์ อธิบายความหมายของเพลงชาติ
๑.๒ ปฏิบัตติ นตามสิทธิและหนา้ ทขี่ องพลเมอื งดี
๑.๓ ใหค้ วามรว่ มมือ ร่วมใจ ในการทำกิจกรรมกับสมาชิก
ในโรงเรยี นและชุมชน
๑.๔ เขา้ รว่ มกิจกรรมและมสี ่วนร่วมในการจัดกจิ กรรมท่ี
สร้างความสามัคคปี รองดอง และเปน็ ประโยชน์ต่อ
โรงเรยี น ชุมชน และสงั คม ชน่ื ชมความเป็นชาติไทย
๑.๕ เขา้ ร่วมกจิ กรรมทางศาสนาท่ีตนนับถอื ปฏิบัติตน
ตามหลักของศาสนาอย่างสมำ่ เสมอ เปน็ แบบอย่างท่ดี ี
ของศาสนิกชน
๑.๖ เข้าร่วมกจิ กรรมและมีส่วนรว่ มในการจัดกิจกรรมท่ี
เกย่ี วขอ้ งกับสถาบนั พระมหากษัตริย์ตามทีโ่ รงเรียนและ
ชุมชนจดั ขน้ึ ช่ืนชมในพระราชกรณยี กิจพระปรีชาสามารถ
ของพระมหากษตั ริย์และพระราชวงศ์
๒. ซอ่ื สตั ย์ สุจรติ ๒.๑ ให้ขอ้ มลู ท่ถี ูกตอ้ ง และเป็นจริง
๒.๒ ปฏบิ ตั ใิ นสงิ่ ท่ถี กู ต้อง ละอาย และเกรงกลวั ท่ีจะ
กระทำความผิด ทำตามสญั ญาทต่ี นให้ไว้กับเพื่อน พ่อแม่
หรอื ผู้ปกครอง และครู เป็นแบบอย่างทีด่ ีด้านความ
ซอ่ื สตั ย์
๒.๓ ปฏิบัติตนต่อผูอ้ ่ืนด้วยความซอ่ื ตรง ไมห่ าประโยชน์
ในทางทไี่ ม่ถูกต้องและเปน็ แบบอย่างทด่ี แี ก่เพ่อื นด้าน
ความซ่ือสัตย์
๓. มวี นิ ัย ๓.๑ ปฏบิ ตั ิตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ขอ้ บังคบั
รบั ผดิ ชอบ ของครอบครัวโรงเรียน และสงั คม ไมล่ ะเมดิ สิทธขิ องผอู้ ืน่
ตรงตอ่ เวลาในการปฏิบัติกิจกรรมตา่ งๆ ในชีวิตประจำวนั
และรับผดิ ชอบในการทำงาน
๔. ใฝ่เรียนรู้ ๔.๑ แสวงหาขอ้ มลู จากแหล่งการเรยี นรู้ต่างๆ
๔.๒ มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ
๔.๓ สรปุ ความรู้ได้อยา่ งมีเหตุผล
๕. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง ๕.๑ ใชท้ รพั ยส์ นิ ของตนเอง เช่น ส่งิ ของ เครือ่ งใช้ ฯลฯ
อย่างประหยดั คุ้มค่า และเกบ็ รักษาดูแลอย่างดี และใช้
เวลาอยา่ งเหมาะสม
๕.๒ ใชท้ รัพยากรของส่วนรวมอยา่ งประหยัด คมุ้ คา่ และ
เกบ็ รกั ษาดูแลอยา่ งดี
๕.๓ ปฏิบัติตนและตดั สนิ ใจด้วยความรอบคอบ มีเหตุผล
๕.๔ ไมเ่ อาเปรียบผอู้ ่นื และไมท่ ำให้ผอู้ ่ืนเดือดรอ้ น
พร้อมให้อภัยเมื่อผู้อนื่ กระทำผิดพลาด
๕.๕ วางแผนการเรียน การทำงานและการใช้
ชวี ิตประจำวนั บนพ้ืนฐานของความรู้ ข้อมูล ขา่ วสาร
๕.๖ รเู้ ท่าทันการเปลี่ยนแปลง ทางสงั คม และ
สภาพแวดลอ้ ม ยอมรบั และปรับตัว อยรู่ ว่ มกบั ผู้อ่ืนได้
อย่างมคี วามสขุ
๖. มงุ่ มั่นในการ ๖.๑ มีความตงั้ ใจและพยายามในการทำงานทีไ่ ด้รับ
ทำงาน มอบหมาย
๖.๒ มคี วามอดทนและไม่ทอ้ แท้ต่ออปุ สรรคเพอ่ื ใหง้ าน
สำเร็จ
๗. รักความเป็นไทย ๗.๑ มจี ิตสำนึกในการอนุรักษว์ ัฒนธรรมและภมู ปิ ญั ญา
ไทย
๗.๒ เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวฒั นธรรมไทย
๘. มจี ติ สาธารณะ ๘.๑ ร้จู ักชว่ ยพอ่ แม่ ผ้ปู กครอง และครูทำงาน
๘.๒ อาสาทำงาน ช่วยคิด ช่วยทำ แบ่งปันส่งิ ของ และ
ช่วยแกป้ ญั หาให้ผอู้ ื่น
๘.๓ ดแู ล รกั ษาทรัพยส์ นิ ของห้องเรียน โรงเรยี น ชุมชน
๘.๔ เข้ารว่ มกจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์
ของโรงเรยี นและชุมชน
ลงช่อื ..........................................ผปู้ ระเมนิ
............../.................../................
แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 8 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ท21101 เวลา ๑๐ คาบ
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 นริ าศภูเขาทอง
เวลา 2 ชวั่ โมง
เร่ือง สรปุ องคค์ วามรู้
ผู้สอน นางสาวณัฐฐินนั ท์ สิมพา โรงเรยี นบา้ นนาดสี ร้างบง
หมายเหตุ…………………………………………………………………………………………………………………………
มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟงั และดอู ยา่ งมีวจิ ารณญาณและพดู แสดงความรู้
ความคดิ และความร้สู ึกในโอกาสตา่ ง ๆ ไดอ้ ย่างมีวจิ ารณญาณและสร้างสรรค์
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ ง
เหน็ คุณค่าและนำมาประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตจริง
ตวั ช้วี ัด
ท ๓.๑ ม ๑/๑ พดู สรุปใจความสำคญั จากเรือ่ งทฟ่ี ังและดู
ท ๓.๑ ม ๑/๒ เล่าเรือ่ งยอ่ จากเรือ่ งทฟี่ ังและดู
ท ๓.๑ ม ๑/๖ มมี ารยาทในการฟงั การดู การพูด
ท ๕.๑ ม ๑/๓ อธบิ ายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอา่ น
สาระสำคัญ
การพดู สรุปใจความสำคัญจากเรอื่ งทฟ่ี ังและดู คือการพดู ถงึ เรื่องทฟ่ี ังและดู โดยกล่าวถงึ
ประเด็นสำคัญของเรื่อง ผเู้ รียนจึงต้องศกึ ษาวิธีพูดสรุปใจความสำคญั จากเรือ่ งท่ีฟงั หรอื ดเู พ่อื ใหป้ ฏิบัตไิ ด้
ถกู ตอ้ งและมมี ารยาทในการพดู
การเล่าเรื่องย่อจากเรื่องทฟ่ี ังและดู คอื การเล่าเร่ืองโดยบอกรายละเอียดเกยี่ วกับตวั ละคร
เหตุการณ์ ฉาก หรือรายละเอยี ดอืน่ ๆ ทเี่ กี่ยวข้อง ผู้เรยี นจึงต้องศกึ ษาวธิ เี ลา่ เรื่องย่อจากเรื่องท่ีฟังและดู
เพอ่ื ใหเ้ ล่าเรือ่ งย่อไดถ้ ูกต้องและมีมารยาทในการพูด
มารยาทในการฟงั การดู การพดู เปน็ คุณลกั ษณะท่พี งึ ประสงคข์ องผู้ฟงั ผ้ดู ู และผู้พูดทด่ี ี
ผเู้ รียนจงึ ตอ้ งศกึ ษาลักษณะของผู้ฟังที่ดี เพื่อให้เป็นผู้ฟงั ที่ดี
วรรณคดี คือ งานเขยี นท่ีผ่านการเวลามายาวนาน ได้รับการยกย่องมคี ณุ ค่าในดา้ นต่าง ๆ
ไดแ้ ก่คณุ คา่ ด้านเน้อื หา ผู้เรยี นจึงควรศึกษาเพ่ือให้สามารถอธิบายคณุ ค่าของวรรณคดแี ละวรรณกรรม
และเหน็ คณุ คา่ เกิดความภาคภมู ใิ จในความเปน็ ไทย
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
๑. อธิบายหลกั การพดู สรุปใจความสำคญั จากเรอ่ื งท่ฟี ังและดูได้
๒. พดู สรุปใจความสำคัญจากเร่อื งท่ฟี ังและดไู ด้
๓. แสดงมารยาทท่ดี ีในการฟงั การดู การพูดได้
สมรรถนะหลัก
□๑.ความสามารถในการสื่อสาร
□ ๒.ความสามารถในการคิด
□ ๓. ความสามารถในการแก้ปญั หา
□ ๔.ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต
□ ๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
ดา้ นคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ (A)
□๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์
□๒. ซือ่ สตั ย์สุจรติ
□๓. มวี นิ ัย
□๔. ใฝ่เรียนรู้
□๕.อยู่อย่างพอเพียง
□๖.มุ่งมั่นในการทำงาน
□๗. รกั ความเป็นไทย
□๘.มจี ติ สาธารณะ
แนวความคดิ เพื่อการเรยี นร้ใู นศตวรรษที่ ๒๑
□สาระวิชาหลัก (Core Subject)
□ทกั ษะดา้ นการเรียนร้แู ละนวัตกรรม
□ทกั ษะดา้ นสารสนเทศและเทคโนโลยี
□ทกั ษะดา้ นชวี ติ และอาชพี
สาระการเรียนรู้
- พูดสรปุ ใจความ พูดแสดงความรคู้ วามคิดอย่างสร้างสรรค์จากเรอ่ื งทฟี่ ังและดู
- มารยาทในการฟัง การดู และการพดู
- การวิเคราะห์คุณค่าและข้อคิดจากวรรณคดแี ละวรรณกรรม
กระบวนการจัดการเรียนรู้ (ขน้ั ตอน/กระบวนการ)
ชวั่ โมงท่ี ๑ พดู สรปุ ใจความสำคัญและการเล่าเร่อื งยอ่ จากการฟังและการดู
ขัน้ นำ
๑.นกั เรยี นฟงั เพลง สุนทรภู่ เมอ่ื ฟงั จบครูถามว่าเพลงนเี้ ปน็ เรื่องเกี่ยวกบั อะไร
ครสู รุปว่า การกล่าวประเด็นหลักหรอื แนวคิดของเรอื่ ง และเลา่ เร่ืองโดย่อ เป็นพูดสรปุ ใจความสำคัญ
และการเลา่ เรอ่ื งของเร่ืองยอ่ จากเร่อื ง(A)
ข้ันสอน
๑.นักเรียนศกึ ษาเรื่องหลกั การพูดสรุปใจความสำคญั จากเรอื่ งท่ีฟังและดู ดังน้ี (K)
- การพดู สรปุ ใจความสำคัญจากเร่ืองทพ่ี งั และดู คือ การพูดโดยกลา่ วถึง
ประเดน็ สำคญั ของเรอ่ื ง และบอกใจความสำคญั หากเปน็ เรอื งราวหรอื เหตกุ ารณ์ อาจกล่าวถงึ ตัวละคร
ฉาก เหตกุ ารณ์ เปน็ ตน้ หากไมเ่ ป็นเรอื่ งราว อาจกล่าวถงึ ใจความสำคญั ของเรอื่ ง เช่น วธิ ีการทำอาหาร
ประโยชนข์ องการออกกำลงั กายเปน็ ตน้
- วิธกี ารพูดสรปุ ใจความสำคญั จากเรอื่ งท่ีพังและดู
๑. ฟงั และดเู รือ่ งให้จบ
๒. บอกประเดน็ หรือแนวคดิ พร้อมท้งั จับใจความสำคญั ของเรอื่ ง
๓. เขียนบทพดู ประกอบด้วย ประเดน็ หรือแนวคิดของเรอ่ื ง
ใจความสำคญั ของเร่ือง
๔. ฝกึ พูด โดยการฝกึ ทา่ ทางในการยนื นำ้ เสยี ง ลีลาในการพดู
๕. พดู สรุปใจความสำคัญตามท่ีได้เตรียมตัวไว้
๒.นกั เรียนศึกษาเรอื่ งหลกั การพดู เล่าเรอ่ื งย่อเร่อื งทฟ่ี งั และดู ดงั น้ี (K)
- การพดู เล่าเร่ืองย่อ คือ การพดู เล่าเหตกุ ารณ์ หรือ เลา่ ตามลำดบั เน้ือหาของ
เรอื่ ง หากเปน็ เรอื งราวหรอื เหตุการณ์ เล่าโดยไมต่ ้องระบแุ นวคิดของเร่ือง และเล่าถงึ ตวั ละครหรือ
เหตุการณ์ตามลำดบั หากไมเ่ ป็นเร่ืองราว อาจเล่ารายละเอียดคร่าว ๆ ตามลำดับเนือ้ หา
- วธิ ีการพูดเลา่ เรอ่ื งจากเรอ่ื งที่ฟังและดู
๑. ฟงั และดูเร่อื งให้จบ
๒. จับใจความสำคัญของเร่อื ง
๓. เขียนบทพดู ประกอบดว้ ย ใจความสำคัญของเรื่อง
๔. ฝกึ พูด โดยการฝึกท่าทางในการยืน นำ้ เสยี ง ลีลาในการพูด
๕. เล่าเรอื่ งยอ่ ตามที่ได้เตรยี มตัวไว้
๓. นักเรียนดแู อนนิเมชนั เร่ือง นริ าศภเู ขาทอง และฝึกพูดสรปุ ใจความสำคัญและเล่า
เรอื่ งยอ่ จากเรือ่ งที่ฟงั และดู(V,A)
๔. ตัวแทนนกั เรียน ๒-๓ คน ออกมาพูดหนา้ ชนั้ เรียน หลังจากน้นั ครูและเพ่ือนๆ
ชว่ ยกนั ประเมินและให้กำลงั ใจ(K)
ขั้นสรุป
นักเรียนและครสู รุปวา่ การพูดสรุปใจความสำคญั ว่า ต้องกล่าวถงึ ประเดน็ สำคญั หรอื
แนวคิดของเร่อื งคอื และกล่าวถงึ ใจความสำคัญของเรือ่ งตามเนอ้ื หาของเร่ือง
การเล่าเรอ่ื งยอ่ จากการฟังและการดู เปน็ การเล่าตามลำดบั เหตกุ ารณ์ หรอื การเล่า
เน้ือหาตามหัวขอ้ หรือประเด็น โดยไมต่ อ้ งบอกว่าเรอื่ งทเ่ี ลา่ เป็นเรอ่ื งเกย่ี วกบั อะไร(K)
กระบวนการจัดการเรียนรู้ (ขน้ั ตอน/กระบวนการ) ช่ัวโมงท่ี ๒ อธบิ ายคณุ คา่ ของวรรณคดแี ละ
วรรณกรรมทอ่ี ่าน
ขน้ั นำ
๑.นกั เรยี นอา่ นบทอาขยานจากเร่ืองนริ าศภเู ขาทอง เมอื่ อา่ นจบครถู ามว่า จากบท
อาขยานขา้ งตน้ สนุ ทรภู่เดินทางมาถึงท่ใี ด รูส้ ึกเช่นไร นกั เรียนได้รับความร้เู รอื่ งใด นักเรยี นไดข้ ้อคิดใด
ครสู รุปวา่ บทอาขยานจากเร่ืองนริ าศภูเขาทองนี้ มเี พียง ๕ บท แต่ใหค้ ุณคา่ มากมาย เชน่ คุณค่าด้าน
ประวตั ศิ าสตร์ คุณค่าด้านวัฒนาธรรมประเพณี และให้ข้อคดิ ในการใช้ชวี ติ (R)
ข้นั สอน
๑. นักเรียนชว่ ยกนั ระดมความคิดว่า นักเรยี นจะมวี ิธีการอยา่ งไรในการศึกษาเพอ่ื ให้
ทราบคุณคา่ ของวรรณคดีและวรรณกรรม (K)
๒. นกั เรียนศกึ ษาขน้ั ตอนในการศึกษาคุณค่าของวรรณคดแี ละวรรณกรรม ดงั นี้
(K)
๑. อา่ นวรรณคดแี ละวรรณกรรมหลาย ๆ รอบ เพ่อื ใหท้ ราบรายละเอียด
ของเรือ่ ง
๒. พิจารณาลกั ษณะคำประพันธ์ โดยศกึ ษารูปแบบและฉนั ทลกั ษณ์ คุณคา่
ด้านวรรณศลิ ป์ เชน่ สมั ผัส ภาพพจน์ รส โวหารในการแต่ง เป็นต้น
๓. พิจารณาเนือ้ หาเพื่อศกึ ษาความรู้ด้านตา่ ง ๆ เช่น ความรดู้ ้าน
ประวตั ศิ าสตร์ ภมู ิศาสตร์ วฒั นธรรมประเพณี วถิ ีชีวติ คำสอนหรอื ข้อคิด
ทสี่ ามารถนำไปใชใ้ นชวี ติ เป็นตน้
๔. สรปุ คุณคา่ ที่ไดโ้ ดยใช้แผนภาพความคิด (mind map) โดยระบุ หวั ขอ้
หลักเป็นช่ือเรอ่ื งของวรรณคดีและวรรณกรรม หัวข้อรอง เป็นประเดน็
คณุ ค่า ได้แก่ ๑.ลักษณะคำประพันธ์ ๒. เนอ้ื หาของวรรณคดีและ
วรรณกรรม ๓. คุณค่าด้านเนอื้ หา และ ๔. คุณคา่ วรรณศิลป์ และระบุ
หัวขอ้ ย่อยของประเด็นคุณค่าตามรายละเอียดทีศ่ ึกษา
๓. ฝึกพิจารณาคณุ ค่าวรรณคดี เร่ือง นริ าศภเู ขาทอง จากบทอาขยานนิราศภูเขาทอง
ตามลำดบั ข้นั ตอน (K)
๔. นักเรยี น ๒- ๓ คน นำเสนอผลงานหนา้ ชนั้ ครูและนักเรียนชว่ ยกนั ประเมนิ ผลงาน
และชน่ื ชม(K)
ขัน้ สรุป
ครูสรปุ ว่า การอธิบายคณุ คา่ วรรณคดีและวรรณกรรมเป็นการแสดงออกให้เหน็ ความ
นักเรยี นเปน็ ผู้ใฝเ่ รยี นรูศ้ ึกษาคน้ คว้าจนเกดิ ความเขา้ ใจและเห็นคุณค่าของวรรณคดี จนสามารถอธบิ าย
คณุ ค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมได้ ซ่งึ นกั เรียนจะไดร้ ับทั้งความรแู้ ละขอ้ คดิ จากการศกึ ษาคณุ ค่าของ
วรรณคดีและวรรณกรรมท่สี ามารถนำไปใช้ในการดำเนนิ ชีวติ ได้(K)
ครมู อบหมายภาระงานใหน้ ักเรียน ดงั น้ี (K)
๑. นักเรยี นแบ่งกลมุ่ ๆ ละ ๕-๖ คน พูดอธบิ ายคุณค่าของวรรณคดี
เรือ่ ง นริ าศภูเขาทอง
๒. สมาชิกอย่างน้อย ๓ คน พดู อธบิ ายคุณค่าของวรรณคดเี ร่ืองนริ าศภเู ขา
ทอง ตามลำดับ ดังนี้
- พูดสรุปใจความสำคัญจากเรื่องนริ าศภูเขาทอง
- เลา่ เร่อื งย่อจากวรรณคดีเรือ่ งนิราศภเู ขทอง
- บอกคุณค่าของวรรณคดเี รอ่ื งนิราศภูเขาอง
- บันทกึ เปน็ วดิ ีโอ และสง่ งานเข้าไปในกลุ่ม นกั เรยี นชน้ั ม.๑
ตามหอ้ งเรียน ทางเฟซบุ๊ค
สอ่ื (วสั ดุ-อปุ กรณ์-สง่ิ พิมพ์) / นวตั กรรม / ICT
แหล่งเรยี นรู้
๑. ห้องสมดุ
๒. www.youtube.com (เพลงสนุ ทรภู่, แอนนเิ มชนั เรอื่ งนริ าศภูเขาทอง)
๓. www. google.com (นิราศภูเขาทอง)
บรู ณาการ
- การงานอาชีพและเทคโนโลยี
การวดั และการประเมนิ การเรยี นรู้
วธิ ีการวัดและการประเมิน เคร่ืองมอื วัดและประเมิน เกณฑก์ ารวดั
ผา่ นเกณฑ์รอ้ ยละ ๖๐
ดา้ นความรู้ (K) -ประเมนิ จากใบงานเร่อื งการพูดสรปุ แบบประเมนิ ผลงาน
ผา่ นเกณฑร์ อ้ ยละ ๖๐
ใจความสำคญั จากเร่อื งทฟ่ี ังและดู ผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ ๖๐
-ประเมินจากใบงานเรือ่ งการเลา่ เร่อื ง
ยอ่ จากเรอื่ งท่ฟี งั และดู
-ประเมินจากใบงานเร่อื งการอธิบาย
คุณค่าวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีอ่าน
ด้านทกั ษะ / -ประเมนิ จากพูดสรุปความรู้และคุณค่า แบบประเมนิ การพดู สรปุ
กระบวนการ (P) ของวรรณคดเี ร่ืองนิราศภเู ขาทอง ความรู้และคณุ ค่าของ
วรรณคดแี ละวรรณกรรม
ด้านคุณธรรม -ประเมนิ จากการสงั เกต - แบบสงั เกตมารยาทใน
จรยิ ธรรม การฟงั การดู การพดู
ค่านิยม (A)
กจิ กรรมเสนอแนะ
....................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
ลงชอื่ ....................................................ผู้เขียนแผนการจดั การเรียนรู้
..................../.............../...................
แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
คำช้ีแจง:ให้ผู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ✓ลงในช่อง
ที่ตรงกบั ระดับคะแนน
คุณลักษณะ รายการประเมนิ ระดับคะแนน
อันพงึ ประสงคด์ ้าน ๔๓๒๑
๑. รกั ชาติ ศาสน์ ๑.๑ ยืนตรงเมื่อไดย้ นิ เพลงชาติ รอ้ งเพลงชาตไิ ด้ และ
กษัตริย์ อธบิ ายความหมายของเพลงชาติ
๑.๒ ปฏิบัตติ นตามสิทธแิ ละหน้าท่ขี องพลเมืองดี
๑.๓ ให้ความรว่ มมือ รว่ มใจ ในการทำกิจกรรมกบั สมาชกิ
ในโรงเรียนและชุมชน
๑.๔ เข้าร่วมกจิ กรรมและมสี ว่ นร่วมในการจัดกิจกรรมที่
สร้างความสามัคคปี รองดอง และเปน็ ประโยชนต์ ่อ
โรงเรยี น ชมุ ชน และสังคม ชืน่ ชมความเป็นชาตไิ ทย
๑.๕ เขา้ ร่วมกิจกรรมทางศาสนาทต่ี นนบั ถือ ปฏิบัตติ น
ตามหลกั ของศาสนาอย่างสม่ำเสมอ เปน็ แบบอยา่ งท่ีดี
ของศาสนิกชน
๑.๖ เข้ารว่ มกจิ กรรมและมีส่วนร่วมในการจัดกจิ กรรมที่
เก่ยี วขอ้ งกบั สถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ตามทโี่ รงเรียนและ
ชุมชนจัดข้นึ ชน่ื ชมในพระราชกรณยี กิจพระปรีชาสามารถ
ของพระมหากษัตริยแ์ ละพระราชวงศ์
๒. ซอื่ สตั ย์ สุจริต ๒.๑ ให้ขอ้ มลู ทถี่ ูกตอ้ ง และเปน็ จริง
๒.๒ ปฏิบตั ใิ นสงิ่ ทถ่ี กู ตอ้ ง ละอาย และเกรงกลัวทจ่ี ะ
กระทำความผิด ทำตามสญั ญาท่ตี นใหไ้ วก้ บั เพื่อน พ่อแม่
หรือผู้ปกครอง และครู เปน็ แบบอย่างทดี่ ีด้านความ
ซื่อสตั ย์
๒.๓ ปฏิบัตติ นต่อผอู้ ืน่ ด้วยความซ่ือตรง ไม่หาประโยชน์
ในทางทไี่ ม่ถูกตอ้ งและเป็นแบบอยา่ งท่ีดีแก่เพอื่ นดา้ น
ความซ่ือสตั ย์
๓. มวี นิ ยั ๓.๑ ปฏบิ ตั ติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ขอ้ บังคับ
รับผิดชอบ ของครอบครัวโรงเรียน และสังคม ไมล่ ะเมิดสทิ ธิของผูอ้ ืน่
ตรงตอ่ เวลาในการปฏิบตั ิกจิ กรรมตา่ งๆ ในชีวิตประจำวนั
และรับผดิ ชอบในการทำงาน
๔. ใฝ่เรียนรู้ ๔.๑ แสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้ตา่ งๆ
๔.๒ มกี ารจดบนั ทกึ ความรอู้ ย่างเปน็ ระบบ
๔.๓ สรุปความรู้ได้อยา่ งมีเหตผุ ล
๕. อยอู่ ย่างพอเพยี ง ๕.๑ ใชท้ รัพย์สินของตนเอง เช่น ส่ิงของ เครอ่ื งใช้ ฯลฯ
อยา่ งประหยดั คุม้ คา่ และเก็บรักษาดูแลอยา่ งดี และใช้
เวลาอยา่ งเหมาะสม
๕.๒ ใชท้ รัพยากรของสว่ นรวมอยา่ งประหยัด ค้มุ คา่ และ
เก็บรกั ษาดูแลอยา่ งดี
๕.๓ ปฏบิ ตั ิตนและตัดสนิ ใจดว้ ยความรอบคอบ มีเหตุผล
๕.๔ ไม่เอาเปรียบผอู้ ่ืน และไม่ทำใหผ้ ้อู นื่ เดือดรอ้ น
พร้อมใหอ้ ภยั เมือ่ ผูอ้ ืน่ กระทำผดิ พลาด
๕.๕ วางแผนการเรียน การทำงานและการใช้
ชวี ติ ประจำวนั บนพ้นื ฐานของความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร
๕.๖ ร้เู ทา่ ทันการเปลย่ี นแปลง ทางสงั คม และ
สภาพแวดล้อม ยอมรับและปรับตวั อย่รู ว่ มกับผอู้ ื่นได้
อยา่ งมคี วามสุข
๖. มุง่ ม่นั ในการ ๖.๑ มีความตง้ั ใจและพยายามในการทำงานที่ได้รบั
ทำงาน มอบหมาย
๖.๒ มคี วามอดทนและไมท่ อ้ แท้ต่ออุปสรรคเพ่ือให้งาน
สำเรจ็
๗. รกั ความเปน็ ไทย ๗.๑ มีจิตสำนกึ ในการอนุรักษ์วฒั นธรรมและภูมิปัญญา
ไทย
๗.๒ เห็นคณุ ค่าและปฏิบัตติ นตามวัฒนธรรมไทย
๘. มจี ิตสาธารณะ ๘.๑ รจู้ กั ชว่ ยพ่อแม่ ผปู้ กครอง และครูทำงาน
๘.๒ อาสาทำงาน ช่วยคิด ชว่ ยทำ แบง่ ปันสง่ิ ของ และ
ชว่ ยแก้ปัญหาใหผ้ ู้อ่ืน
๘.๓ ดแู ล รกั ษาทรัพยส์ นิ ของห้องเรียน โรงเรยี น ชมุ ชน
๘.๔ เข้ารว่ มกิจกรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์
ของโรงเรียนและชมุ ชน
ลงชือ่ ..........................................ผู้ประเมิน
............../.................../................
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 1 ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1
กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ท21121 เวลา ๑๐ คาบ
หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 3 โคลงโลกนติ ิ
เรือ่ ง ประวตั ิความเป็นมา เวลา 1 ช่ัวโมง
ผูส้ อน นางสาวณัฐฐินนั ท์ สมิ พา โรงเรยี นบ้านนาดีสร้างบง
หมายเหต…ุ ………………………………………………………………………………………………………………………
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคดิ เห็น วจิ ารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอยา่ งเหน็
คณุ ค่าและนำมาประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ จริง
ตวั ช้ีวัด
ท ๕.๑ ม.๑/๑ สรุปเน้อื หาวรรณคดีและวรรณกรรมทอ่ี า่ น
สาระสำคัญ
โคลงโลกนิติ เปน็ สุภาษิตไทยโบราณท่มี ีการรวบรวมและชำระโดยสมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรม
พระยาเดชาดิศร ในสมยั รชั กาลที่ ๓ เนื้อหาของโคลงแต่ละบทให้คติสอนใจ ทั้งในเร่อื งการพฒั นาตนเองและ
การปฏิบตั ติ นต่อผูอ้ ื่น ซึ่งเนื้อหาและแนวคดิ ของโคลงโลกนิติ ยังคงทันสมยั และสามารถนำมาปฏิบตั ิใน
ชีวติ ประจำวันได้
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
ความรู้ (K)
๑. การสรปุ ความร้แู ละขอ้ คิดจากการอา่ นเพ่อื ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตจรงิ
ทักษะ/กระบวนการ (P)
๑. สรปุ เนื้อหาวรรณคดแี ละวรรณกรรมที่อา่ น
สมรรถนะหลกั
๑. ความสามารถในการส่อื สาร
๒. ความสามารถในการคดิ
๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา
๔. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต
๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
ด้านคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (A)
๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
๒. ซอ่ื สตั ยส์ ุจรติ
๓. มีวนิ ยั
๔. ใฝเ่ รียนรู้
๕. อยู่อย่างพอเพียง
๖. มุ่งมั่นในการทำงาน
๗. รกั ความเป็นไทย
๘. มีจิตสาธารณะ
แนวความคิดเพ่อื การเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี ๒๑
๑. สาระวชิ าหลัก (Core Subjects)
๒. ทกั ษะด้านการเรยี นรู้และนวัตกรรม
๓. ทักษะดา้ นสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี
๔. ทักษะด้านชีวติ และอาชพี
สาระการเรียนรู้
วรรณคดีและวรรณกรรมเก่ียวกับสภุ าษิตคำสอน
กระบวนการจดั การเรียนรู้ (ขน้ั ตอน/กระบวนการ)
ขัน้ ท่ี ๑ สงั เกต ตระหนัก
๑. ครูสนทนากับนักเรียนเก่ียวกับลักษณะของวรรณคดีคำสอนจากนั้นให้นักเรียนยกตัวอย่างวรรณคดี
ประเภทคำสอน
๒. นกั เรียนศึกษาวรรณคดเี ร่ือง โคลงโลกนติ ิ จากหนงั สอื เรยี น R
๓. ครูให้นกั เรียนเปรียบเทียบความเหมอื นและความแตกตา่ งระหว่างโคลงโลกนติ กิ บั เรือ่ งสุภาษิตพระ
ร่วง
๔. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๔ คน คละกันตามความสามารถ คือ เก่ง ปานกลางค่อนข้างเก่ง
ปานกลางค่อนข้างอ่อน และออ่ น จากนนั้ ครแู จ้งให้นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกันสรุปเน้ือหาวรรณคดีเรื่อง โคลง
โลกนิติ
ขน้ั ที่ ๒ วางแผนปฏบิ ตั ิ
๕. นกั เรียนแตล่ ะกลุม่ ช่วยกนั วางแผนและกำหนดแนวทางในการสรุปเนอื้ หา
ขั้นท่ี ๓ ลงมอื ปฏิบตั ิ
๖. นักเรยี นแต่ละกลมุ่ ชว่ ยกันศกึ ษาวรรณคดีเรื่อง โคลงโลกนิติ จากหนังสือเรียน ตามทไ่ี ด้ร่วมกันกำหนด
แนวทางการสรุป เน้ือหา
ขั้นที่ ๔ พฒั นาความรู้ ความเข้าใจ
๗. สมาชิกในแตล่ ะกลุ่มนำความรู้ทีไ่ ดจ้ ากการศกึ ษามาเรียบเรียง ตีความ ขยายความเพ่ือสรุปเน้อื หา
ของวรรณคดี เรือ่ ง โคลงโลกนิติ
๘. นกั เรยี นแต่ละกล่มุ รว่ มกนั ตรวจสอบเน้ือหาของวรรณคดเี รอ่ื งโคลงโลกนติ ิ แลว้ สรปุ เป็นผลงานของกลมุ่
และบนั ทึกลงใน
ข้ันที่ ๕ สรปุ
๙. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ สง่ ตัวแทนออกมานำเสนผลงานในใบงานท่ี ๒.๑ หน้าชั้นเรยี น
๑๐. ครูและนกั เรยี นกลุ่มอืน่ รว่ มกนั ตรวจสอบความถกู ต้องและความสมบรู ณข์ องการสรุปเนอ้ื หา
๑๑.นกั เรียนตอบคำถามกระตุ้นความคดิ
สอ่ื (วัสดุ-อปุ กรณ์-สง่ิ พมิ พ์) / นวตั กรรม / ICT
๑. หนังสอื เรยี น ภาษาไทย : วรรณคดีและวรรณกรรม ม.๑
๒. ใบงานที่ ๒.๑ เรื่อง การสรปุ เนอื้ หาโคลงโลกนิติ
แหลง่ การเรียนรู้
-
การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ เครือ่ งมือวัดและประเมินผล เกณฑก์ ารวัด
วธิ กี ารวดั ผลและการประเมนิ ผล - แบบสงั เกตพฤติกรรมการ -ระดบั คุณภาพ ๒ ผา่ น
ทำงานกล่มุ เกณฑ์
ด้านความรู้ (K) - สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ -แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วย -(ประเมนิ ตามสภาพจรงิ )
การเรียนรทู้ ่ี ๒
-ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรียน หน่วย -ใบงานที่ ๒.๑ -ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์
การเรยี นรทู้ ่ี ๒ - ระดบั คุณภาพ ๒ ผา่ น
-ตรวจใบงานที่ ๒.๑ -แบบประเมินการนำเสนอ เกณฑ์
ผลงาน - ระดบั คณุ ภาพ ๒ ผ่าน
ด้านทักษะ/ -ประเมินการนำเสนอผลงาน เกณฑ์
กระบวนการ (P) - แบบประเมนิ คุณลักษณะอัน
พึงประสงค์
ดา้ นคณุ ธรรม - สงั เกตการใฝเ่ รยี นรู้ มคี วาม
จรยิ ธรรม และ รับผิดชอบ และรกั ความเป็นไทย
คา่ นยิ ม (A)
กิจกรรมเสนอแนะ
................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ลงชอ่ื .....................................................ผู้เขียนแผนการจดั การเรยี นรู้
................/.................../................
ใบงานที่ ๒.๑
การสรุปเนอื้ หาโคลงโลกนติ ิ
คำชีแ้ จง ให้นักเรยี นอ่านวรรณคดเี รอ่ื ง โคลงโลกนิติ แลว้ สรุปเน้ือหา
เฉลย ใบงานท่ี ๒.๑
การสรปุ เนอื้ หาโคลงโลกนติ ิ
คำช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นอ่านวรรณคดีเรื่อง โคลงโลกนติ ิ แลว้ สรุปเนื้อหา
(ตัวอย่าง)
โคลงโลกนิติ เป็นวรรณคดที มี่ มี าตงั้ แต่สมยั โบราณ มที มี่ าจากภาษาบาลี พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยู่หวั ทรง
พระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหก้ รมพระยาเดชาดศิ รรวบรวมโคลงของเก่านามาชาระใหม่ แลว้ นาข้นึ ทูลเกลา้ ฯ ถวายเพอื่
จารกึ ไวบ้ นแผน่ ศลิ าประดบั ไวท้ ศี่ าลาสที่ ศิ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม ตอนทเี่ รยี นในระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑
มที งั้ หมด ๒๔ บท มเี น้อื หาสอนใหผ้ ูอ้ า่ นนาไปประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ เป็นแนวทางสาหรบั การดารงชวี ติ อย่ใู นสงั คมไดอ้ ย่างมี
ความสขุ เชน่ สอนใหย้ ดึ มนั่ ในความดี สอนใหม้ ไี มตรจี ติ สอนใหค้ ดิ กตญั ญู สอนใหร้ ูจ้ กั รกั ษาความสตั ย์ สอนใหห้ ดั
เลอื กคบคน สอนใหส้ นใจการศกึ ษา สอนใหพ้ งึ่ พาตนเอง สอนให้เป็นผูร้ ูจ้ กั ประมาณตน สอนใหเ้ ป็นคนตงั้ ใจจรงิ
สอนใหล้ ะท้งิ ความโออ้ วด เป็นต้น
(พิจารณาตามคำตอบของนกั เรยี น โดยให้อยใู่ นดุลยพินจิ ของครผู ู้สอน)
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 1
กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย ท21121 เวลา ๑๐ คาบ
หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 3 โคลงโลกนิติ
เร่อื ง การวิเคราะห์คณุ คา่ และขอ้ คิดจากวรรณคดีและวรรณกรรม เวลา 1 ช่ัวโมง
ผูส้ อน นางสาวณฐั ฐินนั ท์ สิมพา โรงเรียนบ้านนาดสี ร้างบง
หมายเหตุ…………………………………………………………………………………………………………………………
มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคดิ เหน็ วจิ ารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอย่างเหน็
คุณค่าและนำมาประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ จรงิ
ตวั ชีว้ ัด
ท ๕.๑ ม.๑/๒ วิเคราะหว์ รรณคดีและวรรณกรรมที่อา่ นพร้อมยกเหตผุ ลประกอบ
สาระสำคัญ
โคลงโลกนติ ิ เปน็ วรรณคดีสภุ าษิตคำสอนที่นำมาจากคมั ภีรค์ ำสอนท่เี ปน็ คาถาภาษาบาลี จึงต้อง
อาศยั การวิเคราะห์รปู แบบ และลกั ษณะคำประพนั ธ์ พร้อมกับยกเหตุผลประกอบการวิเคราะห์
จุดประสงค์การเรยี นรู้
ความรู้ (K)
๑. การวเิ คราะหร์ ูปแบบและลกั ษณะคำประพันธข์ องวรรณคดเี รอื่ ง โคลงโลกนติ ิ
ทกั ษะ/กระบวนการ (P)
๑. วเิ คราะห์รปู แบบและลักษณะคำประพนั ธข์ องวรรณคดเี รือ่ ง โคลงโลกนติ ิ พรอ้ มยกเหตุผล
ประกอบได้
สมรรถนะหลกั
๑. ความสามารถในการส่ือสาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา
๔. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต
๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
ด้านคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (A)
๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
๒. ซอ่ื สตั ยส์ ุจรติ
๓. มวี นิ ัย
๔. ใฝเ่ รยี นรู้
๕. อยู่อย่างพอเพียง
๖. มุ่งมน่ั ในการทำงาน
๗. รกั ความเป็นไทย
๘. มีจิตสาธารณะ
แนวความคดิ เพือ่ การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑
๑. สาระวิชาหลัก (Core Subjects)
๒. ทักษะด้านการเรยี นรู้และนวัตกรรม
๓. ทักษะดา้ นสารสนเทศ สอื่ และเทคโนโลยี
๔. ทักษะดา้ นชวี ิตและอาชพี
สาระการเรียนรู้
การวิเคราะห์คุณค่าและขอ้ คดิ จากวรรณคดีและวรรณกรรม
กระบวนการจัดการเรียนรู้ (ขนั้ ตอน/กระบวนการ)
วธิ สี อนโดยการจัดการเรยี นรู้แบบร่วมมือ : เทคนคิ คคู่ ิดส่ีสหาย
ข้ันนำเขา้ สูบ่ ทเรยี น
๑. ครูนำตัวอย่างบทประพนั ธจ์ ากวรรณคดเี ร่อื ง โคลงโลกนิติ มาแสดงให้นกั เรียนดทู ่ีหนา้ ชั้นเรียน
แล้วให้นกั เรยี นอา่ นออกเสยี งพรอ้ มกนั
๒.นักเรยี นร่วมกันสังเกตความแตกต่างของคำประพันธ์ทั้ง ๒ หมายเลข ตามความเขา้ ใจของนักเรียน
ข้ันสอน
๓. นักเรยี นกลมุ่ เดมิ (จากแผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑) ร่วมกนั ศึกษาวรรณคดีเร่อื ง โคลงโลกนติ ิ : ลกั ษณะ
คำประพนั ธ์ จากหนงั สือเรยี น
๔. ครใู ห้นักเรียนแต่ละกลมุ่ ร่วมกนั นำความรู้ทไี่ ด้จากการศกึ ษามาวิเคราะหแ์ ละอธิบายความแตกตา่ งของ
ตวั อยา่ งบทประพันธ์ทง้ั ๒ หมายเลข จากน้นั ครูสุ่มตัวแทน ๒-๓ กล่มุ สรปุ ผลท่ีเปน็ มติของกลุ่ม
๕. ครกู ำหนดใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกันวิเคราะห์และอธิบายความรู้จากวรรณคดีเรื่อง โคลงโลกนติ ิ ตาม
ประเด็นทก่ี ำหนดดังน้ี
๑) วิเคราะหแ์ ละอธิบายรปู แบบของวรรณคดี พร้อมยกเหตผุ ลประกอบ
๒) วิเคราะห์และอธบิ ายลกั ษณะคำประพนั ธ์ของวรรณคดีพรอ้ มยกเหตุผลประกอบ
๖. นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกันสรปุ ผลการวิเคราะหร์ ูปแบบและอธิบายลกั ษณะคำประพันธ์ของวรรณคดี
เรอ่ื ง โคลงโลกนติ พิ ร้อมยกเหตุผลประกอบ จากนน้ั ส่งตวั แทนกล่มุ ออกไปนำเสนอผลการวิเคราะหข์ องกลมุ่ ที่
หนา้ ชัน้ เรยี น
๗. นักเรียนแตล่ ะกลุม่ ร่วมกันทำใบงานที่ ๒.๒ เรือ่ ง รูปแบบและลักษณะคำประพนั ธ์โคลงโลกนติ ิ โดยให้
สมาชกิ แต่ละคนในกลุ่มหาคำตอบในใบงานดว้ ยตนเองจนครบทุกข้อ จากนน้ั จบั คู่กบั เพอ่ื นในกล่มุ ผลัดกัน
อธิบายคำตอบของตนเองให้เพ่ือนฟงั (นักเรยี นอีกคหู่ น่งึ กป็ ฏบิ ตั ิกจิ กรรมเช่นเดียวกัน)
๘. สมาชิกรวมกล่มุ เดิม (๔ คน) ผลดั กนั อธิบายคำตอบของคู่ตนเองใหเ้ พอื่ นอีกคู่หนง่ึ ฟัง และสรุปคำตอบท่ี
เป็นมติของกลมุ่ แลว้ บันทกึ คำตอบลงในใบงานที่ ๒.๒ เสร็จแล้วนำส่งครตู รวจ
๙. นกั เรยี นตอบคำถามกระตุ้นความคดิ
ขั้นสรปุ
๑๐. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มรว่ มกนั สรุปรูปแบบและลักษณะคำประพันธ์ของวรรณคดเี รอ่ื ง โคลงโลกนิติ
๑๑. นกั เรยี นตอบคำถามกระตุ้นความคิด
ส่ือ(วัสดุ-อปุ กรณ์-สง่ิ พมิ พ์) / นวตั กรรม / ICT
๑. หนงั สือเรยี น ภาษาไทย : วรรณคดแี ละวรรณกรรม ม.๑
๒. ตวั อย่างบทประพนั ธ์
๓. ใบงานที่ ๒.๒ เรือ่ ง รูปแบบและลักษณะคำประพนั ธโ์ คลงโลกนติ ิ
แหล่งการเรียนรู้
-
การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ เครือ่ งมอื วัดและประเมินผล เกณฑ์การวัด
วิธกี ารวดั ผลและการประเมินผล - แบบสังเกตพฤตกิ รรมการ -ระดบั คุณภาพ ๒ ผา่ น
ทำงานกลุ่ม เกณฑ์
ดา้ นความรู้ (K) - สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม - -ใบงานท่ี ๒.๒ -ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์
-ตรวจใบงานท่ี ๒.๒ -แบบประเมนิ การนำเสนอ - ระดบั คณุ ภาพ ๒ ผ่าน
ผลงาน เกณฑ์
ด้านทกั ษะ/ -ประเมนิ การนำเสนอผลงาน
กระบวนการ (P) - แบบประเมนิ คุณลักษณะอัน - ระดบั คุณภาพ ๒ ผ่าน
พึงประสงค์ เกณฑ์
ด้านคณุ ธรรม - สังเกตการใฝเ่ รียนรู้ มคี วาม
จรยิ ธรรม และ รับผดิ ชอบ และรกั ความเปน็ ไทย
คา่ นิยม (A)
กิจกรรมเสนอแนะ
................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ลงช่อื .....................................................ผู้เขียนแผนการจัดการเรยี นรู้
................/.................../................