The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอนภาษาไทย ชั้น ม.1
ภาคเรียนที่1
นางสาวณัฐฐินันท์ สิมพา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nattinan Simpha, 2021-09-12 05:00:49

แผนการสอนภาษาไทย ชั้น ม.1

แผนการสอนภาษาไทย ชั้น ม.1
ภาคเรียนที่1
นางสาวณัฐฐินันท์ สิมพา

เรียนวชิ าตา่ ง ๆ (K)
๑๒. นกั เรียนร่วมกนั สรุปเรื่อง หลักการฟงั และการดู เขียนเปน็ แผนภาพความคิด (A R)
๑๓. นักเรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรียน

สอื่ (วัสดุ-อปุ กรณ์-สิ่งพิมพ์) / นวัตกรรม / ICT
๑. แบบทดสอบกอ่ นเรียน - หลังเรียน
๒. ภาพเด็กดนู ิทรรศการ
๓. ภาพเด็กกำลังใช้อินเทอร์เนต็
๔. ภาพเด็กกำลงั ฟงั การบรรยาย การปาฐกถา
๕. สมุดภาพนิทาน
๖. ใบงานเรื่องหลักท่ัวไปในการฟังและการดู
๗. หนงั สือเรยี น รายวิชาพนื้ ฐาน ภาษาไทย ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑
๘. แบบฝกึ ทกั ษะ รายวชิ าพืน้ ฐาน ภาษาไทย ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑

แหลง่ การเรยี นรู้
ห้องสมดุ โรงเรยี น
หอ้ งคอมพวิ เตอร์

การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ เครือ่ งมือวัดและประเมินผล เกณฑ์การวัด

วิธกี ารวดั ผลและการประเมนิ ผล ๑. แบบสังเกตการตอบคำถามและการ ๑. ผา่ นร้อยละ ๗๐
ด้านความรู้ ๑. สังเกตการตอบคำถามและการแสดง แสดงความคิดเหน็ ๒. ผา่ นรอ้ ยละ ๗๐
๒. แบบบันทกึ คะแนนการทำกิจกรรม ๓. ผ่านรอ้ ยละ ๗๐
(K) ความคดิ เหน็ ๓. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
๒. ตรวจผลการทำกจิ กรรม
๓. ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรียน

ด้านทกั ษะ/ ๑. ประเมินทกั ษะการฟงั และการดู ๑. แบบประเมนิ ทักษะการฟังและการดู ๑. ผา่ นรอ้ ยละ ๗๐
กระบวนการ ๒. ประเมินทกั ษะกระบวนการแสวงหา ๒. แบบประเมนิ ทกั ษะการแสวงหาความรู้ ๒. ผา่ นร้อยละ ๗๐
๓. แบบประเมินทักษะกระบวนการคิด ๓. ผา่ นรอ้ ยละ ๗๐
(P) ความรู้ ๔. แบบประเมินทักษะกระบวนการกล่มุ ๔. ผ่านร้อยละ ๗๐
๓. ประเมินทักษะกระบวนการคดิ
๔. ประเมนิ ทักษะกระบวนการกลุ่ม ๑. แบบประเมินพฤติกรรมในการทำงาน ๑. ผ่านร้อยละ ๗๐
เป็นรายบคุ คลในด้านความสนใจและต้ังใจ ๒. ผ่านรอ้ ยละ ๗๐
ดา้ นคุณธรรม ๑. ประเมนิ พฤติกรรมในการทำงานเปน็ เรียน ความรับผิดชอบในการทำกิจกรรม
จรยิ ธรรม รายบุคคลในด้านความสนใจและต้งั ใจ ความมรี ะเบียบวินยั ในการทำงาน ฯลฯ
และค่านยิ ม เรียน ความรบั ผดิ ชอบในการทำกิจกรรม ๒. แบบประเมนิ มารยาทในการฟงั และ
(A) ความมีระเบยี บวนิ ัยในการทำงาน ฯลฯ การดู
๒. ประเมนิ มารยาทในการฟงั และการดู

กจิ กรรมเสนอแนะ
๑. นกั เรียนแลกเปล่ียนประสบการณเ์ ก่ยี วกบั การฟังและการดูท่เี ป็นความรู้และความบนั เทิง

ใหเ้ พือ่ นฟงั และบอกประโยชน์ท่ีไดร้ บั การจากฟังและการดู
๒. นักเรยี นฟังรายการวทิ ยหุ รือชมรายการโทรทศั น์ตามความสนใจ แล้วสรปุ ความท่ีไดจ้ าก

การฟงั และดู บนั ทึกลงในสมุดบันทึกประจำวันสว่ นตัว

ลงชือ่ ...........................................................ผ้เู ขียนแผนการจดั การเรยี นรู้
............./................/...............

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 5

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ท21121 ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๔ สุภาษติ พระร่วง เวลา ๑๐ คาบ

เรือ่ ง การพฒั นาประสิทธภิ าพการฟังและการดู เวลา 1 ชัว่ โมง

ผ้สู อน นางสาวณัฐฐินนั ท์ สิมพา โรงเรียนบ้านนาดีสรา้ งบง

หมายเหต…ุ ………………………………………………………………………………………………………………………

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟังและดูอย่างมีวจิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้
ความคิด และความรสู้ ึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวจิ ารณญาณและ
สร้างสรรค์

ตัวชวี้ ัด
ท ๓.๑.๑ พดู สรุปใจความสำคญั ของเรอื่ งที่ฟังและดู

ท ๓.๑.๖ มมี ารยาทในการฟงั การดู และการพูด

สาระสำคัญ
การพัฒนาประสทิ ธิภาพการฟงั และการดูทำไดโ้ ดยการต้งั จุดม่งุ หมายในการฟงั และการดู พจิ ารณา

นำ้ เสียง ความหมายของคำและสิ่งท่ีดู จับใจความสำคัญของเร่ืองได้ แยกแยะข้อเท็จจริง และข้อคดิ เห็น จบั

ประเด็นสำคญั สรปุ ความสำคัญ และสามารถจดบันทึกความรู้จากเร่อื งทฟี่ งั และดไู ดค้ รบทุกประเด็น

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

๑. วเิ คราะหข์ อ้ เท็จจรงิ และขอ้ คดิ เห็นจากการฟงั และการดูได้

๒. จดบนั ทกึ จากเร่ืองท่ฟี งั หรือดไู ดค้ รบทุกประเดน็

3. มีมารยาทในการฟังและการดู

สมรรถนะหลัก
 ๑. ความสามารถในการสื่อสาร
 ๒. ความสามารถในการคิด
 ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา

 ๔. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต
 ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

ด้านคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
 ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
 ๒. ซอื่ สัตยส์ ุจริต
 ๓. มีวินัย
 ๔. ใฝ่เรยี นรู้
 ๕. อยู่อยา่ งพอเพยี ง
 ๖. มุ่งมนั่ ในการทำงาน
 ๗. รกั ความเปน็ ไทย

 ๘. มีจติ สาธารณะ
แนวความคิดเพอื่ การเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี ๒๑

 ๑. สาระวิชาหลกั (Core Subjects)
 ๒. ทกั ษะดา้ นการเรียนร้แู ละนวตั กรรม
 ๓. ทกั ษะดา้ นสารสนเทศ ส่ือ และเทคโนโลยี
 ๔. ทักษะด้านชวี ติ และอาชพี

สาระการเรยี นรู้
การพัฒนาประสิทธิภาพการฟังและการดู

กระบวนการจัดการเรียนรู้ (ข้ันตอน/กระบวนการ)
ชัว่ โมงที่ ๑

๑. ครูนำภาพข่าว ภาพการ์ตูนล้อการเมอื ง ภาพงานศิลปะทม่ี ีรายละเอยี ดใต้ภาพสั้น ๆ ใหน้ ักเรียนดู
แล้วสนทนาร่วมกนั ว่าเปน็ ภาพอะไร มคี วามหมายว่าอยา่ งไร เปน็ ข้อเท็จจริงหรอื ขอ้ คดิ เห็น และภาพเหลา่ นนั้
มีจุดประสงค์ในเรอ่ื งใด (V A)

๒. แบง่ นกั เรียนออกเป็นกลมุ่ ละ ๙ คน โดยจดั ให้แต่กลมุ่ คละกนั มที ง้ั คนเก่ง ปานกลาง และออ่ น
รวมอยู่ในกลุ่ม (K)

๓. ครูแบง่ เนอื้ หาออกเป็นหัวข้อยอ่ ย เพือ่ ให้นกั เรยี นศกึ ษา ดังนี้ (A R)
คนที่ ๑ ศกึ ษาเรื่อง การต้งั จดุ ประสงค์ในการฟงั และการดู
คนท่ี ๒ ศกึ ษาเรือ่ ง การสรปุ ความจากเร่อื งท่ฟี งั และดู
คนที่ ๓ ศกึ ษาเรื่อง การจับประเด็นของเรื่องทฟ่ี งั และดู
คนท่ี ๔ ศกึ ษาเรื่อง การใชน้ ำ้ เสยี ง ถอ้ ยคำของผู้พูด และกริ ยิ าท่าทางของสิง่ ทีฟ่ งั และดู
คนท่ี ๕ ศกึ ษาเร่ือง การจบั ใจความสำคญั ของเรื่องทฟ่ี ังและดู
คนท่ี ๖ ศกึ ษาเรอ่ื ง การวินิจฉยั ข้อเทจ็ จริงและข้อคิดเหน็ จากการฟงั และการดู
คนที่ ๗ ศึกษาเร่อื ง การฟงั และการดูสือ่ รูปแบบต่าง ๆ
คนท่ี ๘ ศึกษาเรอ่ื ง การจดบันทึกความรู้จากการฟงั และการดู
คนท่ี ๙ ศกึ ษาเรื่อง มารยาทในการฟังและการดู

๔. ให้แต่ละคนในกล่มุ จบั สลากหวั ข้อท่จี ะไปศกึ ษาไมใ่ หซ้ ำ้ กนั ผทู้ ีจ่ ับสลากไดห้ ัวขอ้ เดยี วกนั ของ แต่
ละกลมุ่ จะตอ้ งไปศกึ ษาร่วมกนั โดยศกึ ษาจากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานภาษาไทย ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑
แล้วรว่ มอภิปราย ซกั ถาม แสดงความคิดเหน็ สรุปสาระสำคญั และจดบนั ทกึ (A R)

๕. ใหแ้ ต่ละคนในกลุ่มทดสอบความรู้ความเข้าใจ โดยอธบิ ายให้เพ่อื นในกลมุ่ ฟงั และตอบขอ้ สงสยั
เพอื่ นในกลุ่มอยา่ งถกู ต้อง แมน่ ยำ (A)

๖. ใหแ้ ต่ละคนกลับไปยงั กลุ่มเดมิ ของตน แล้วผลัดกันอธบิ ายเพือ่ ถา่ ยทอดความรทู้ ่ตี นไปศกึ ษา มาให้
เพอื่ นในกลุม่ ฟังจนครบทั้ง ๙ หัวข้อ ครูส่มุ ถามนักเรียนเกยี่ วกับหัวข้อทศี่ ึกษามาหวั ขอ้ ละ ๑ คน (A)

๗. นกั เรียนทำใบงานเรอ่ื ง การพัฒนาประสทิ ธิภาพการฟังและการดู แลว้ สง่ ครูตรวจสอบ ความ
ถูกต้อง (R)

๘. นักเรียนทำกจิ กรรมท่เี ก่ยี วกบั การพฒั นาประสิทธิภาพการฟังและการดู แล้วช่วยกันเฉลยคำตอบ
(A R)

๙. นกั เรยี นนำความรเู้ กย่ี วกับเรอ่ื ง การพัฒนาประสิทธิภาพการฟังและการดู ไปปรับประยุกต์ใชใ้ น
ชีวติ ประจำวนั

๑๐. นักเรยี นรว่ มกนั สรุปเรื่อง การพัฒนาประสิทธิภาพการฟังและการดู เขยี นเปน็ แผนภาพความคิด
๑๑. นกั เรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรียน แล้วช่วยกนั เฉลยคำตอบ

สอื่ (วัสดุ-อุปกรณ์-ส่งิ พมิ พ์) / นวัตกรรม / ICT
๑. แบบทดสอบหลังเรยี น

๒. ภาพขา่ ว
๓. ภาพการต์ นู ล้อการเมือง

๔. ภาพงานศิลปะ
๕. สลาก
๖. ใบงานเรอื่ ง การพฒั นาประสทิ ธภิ าพการฟงั และการดู

๗. หนังสอื เรยี น รายวิชาพน้ื ฐาน ภาษาไทย ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๑
๘. แบบฝึกทักษะ รายวชิ าพื้นฐาน ภาษาไทย ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑

แหลง่ การเรยี นรู้ เครอ่ื งมือวดั และประเมนิ ผล เกณฑก์ ารวัด
หอ้ งสมดุ โรงเรียน
ห้องคอมพิวเตอร์ ๑. แบบสังเกตการตอบคำถามและ ๑. ผ่านร้อยละ ๗๐

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ การแสดงความคิดเห็น ๒. ผ่านร้อยละ ๗๐
วธิ กี ารวัดผลและการประเมินผล
๒. แบบบันทกึ คะแนนการทำกิจกรรม ๓. ผา่ นร้อยละ ๗๐
ดา้ นความรู้ ๑. สงั เกตการตอบคำถามและการแสดง
(K) ความคิดเห็น ๓. แบบทดสอบหลงั เรียน
๒. ตรวจผลการทำกจิ กรรม
๓. ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน ๑. แบบประเมินทกั ษะการฟงั และ การ ๑. ผา่ นรอ้ ยละ ๗๐

ด้านทกั ษะ/ ๑. ประเมินทกั ษะการฟงั และการดู ดู ๒. ผา่ นร้อยละ ๗๐
กระบวนการ ๒. ประเมินทกั ษะกระบวนการแสวงหา
๒. แบบประเมนิ ทักษะการแสวง หา ๓. ผา่ นรอ้ ยละ ๗๐
(P) ความรู้
๓. ประเมินทักษะกระบวนการคิด ความรู้ ๔. ผ่านร้อยละ ๗๐
๔. ประเมินทักษะกระบวนการกลุม่
๓. แบบประเมนิ ทักษะกระบวนการคดิ
ดา้ นคุณธรรม ๑. ประเมินพฤติกรรมในการทำงานเปน็
จรยิ ธรรม รายบุคคลในดา้ นความสนใจและตง้ั ใจ ๔. แบบประเมนิ ทกั ษะกระบวน การ
และคา่ นยิ ม เรยี น ความรบั ผิดชอบในการทำกิจกรรม
(A) ความมีระเบียบวนิ ยั ในการทำงาน ฯลฯ กลมุ่
๒. ประเมนิ มารยาทในการฟงั และการดู
๑. แบบประเมนิ พฤติกรรมในการทำ ๑. ผ่านรอ้ ยละ ๗๐

งานเป็นรายบคุ คลในด้านความสนใจ ๒. ผา่ นรอ้ ยละ ๗๐

และต้งั ใจเรียน ความรบั ผิดชอบใน การ

ทำกจิ กรรม ความมีระเบียบวินัย ใน

การทำงาน ฯลฯ

๒. แบบประเมินมารยาทในการฟัง

และการดู

กิจกรรมเสนอแนะ
๑. นกั เรียนชมนทิ รรศการหรอื ดูวีดทิ ัศน์เกย่ี วกับเรอ่ื งตา่ ง ๆ เพอื่ เพิ่มประสิทธภิ าพการฟังและการดู
๒. นกั เรียนฟงั รายการวิทยหุ รอื ชมรายการโทรทัศน์ แล้วสรุปความทีไ่ ดจ้ ากการฟงั และการดู นำ

ข้อสรปุ ดงั กล่าวมาแยกแยะข้อเท็จจรงิ และขอ้ คดิ เห็น แล้วบันทึกลงสมุด สง่ ครู
ลงชือ่

...........................................................ผู้เขียนแผนการจัดการเรียนรู้
............./................/...............

แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 6

กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ท21121 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ สุภาษติ พระร่วง เวลา ๑๐ คาบ

เร่ือง สำนวน คำพังเพย และสภุ าษติ เวลา 3 ชว่ั โมง

ผ้สู อน นางสาวณฐั ฐนิ นั ท์ สมิ พา โรงเรียนบ้านนาดสี รา้ งบง

หมายเหตุ…………………………………………………………………………………………………………………………

มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ยี นแปลงของภาษา
และพลังของภาษา ภมู ปิ ญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็น สมบตั ิ

ของชาติ
ตวั ชีว้ ัด

ท๔.๑ ม. ๑/๖ จำแนกและการใช้สำนวนทเี่ ปน็ คำพังเพยและสภุ าษิต

สาระสำคัญ

สำนวน คำพงั เพย และสุภาษิตทใ่ี ช้อยใู่ นชีวติ ประจำวนั ควรคำนึงถงึ ความถูกตอ้ ง และใช้ให้เหมาะสม
ตามความหมายและบริบทของการใชส้ ำนวน เพื่อใหก้ ารส่ือสารน้นั สมั ฤทธ์ิผล

จุดประสงค์การเรยี นรู้

ความรู้ (K)

๑. อธิบายความหมายของสุภาษติ

2. เชือ่ มโยงคำสอนจากสุภาษติ พระร่วงกับสำนวนไทย

3. เหน็ คณุ ค่าของสภุ าษิตท่ีสามารถเปน็ แนวทางในการดำเนนิ ชีวติ

สมรรถนะหลัก
 ๑. ความสามารถในการส่อื สาร
 ๒. ความสามารถในการคิด
 ๓. ความสามารถในการแกป้ ัญหา

 ๔. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต
 ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A)
 ๑. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
 ๒. ซื่อสัตย์สุจรติ
 ๓. มวี ินัย
 ๔. ใฝ่เรยี นรู้
 ๕. อยู่อยา่ งพอเพียง
 ๖. มุ่งมนั่ ในการทำงาน
 ๗. รักความเปน็ ไทย
 ๘. มีจติ สาธารณะ

แนวความคดิ เพ่อื การเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑
 ๑. สาระวชิ าหลกั (Core Subjects)
 ๒. ทักษะด้านการเรียนรูแ้ ละนวัตกรรม
 ๓. ทกั ษะดา้ นสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี
 ๔. ทกั ษะด้านชีวติ และอาชพี

สาระการเรียนรู้
๑. ความหมายของสำนวน สุภาษิต และคำพงั เพย
๒. ลกั ษณะของสุภาษติ และคำพงั เพย
๓. คุณค่าของสำนวนไทย

กระบวนการจัดการเรยี นรู้ (ขั้นตอน/กระบวนการ)
ชว่ั โมงท่ี ๑

๑. นกั เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4
๒. ครอู ธิบายให้นักเรยี นเข้าใจนยิ ามคำวา่ สำนวน คำพงั เพย และสุภาษติ (A)
๓. ครอู ธบิ ายท่ีมาของสำนวน คำพังเพย และสุภาษิต (A)
๔. นักเรยี นชว่ ยกันยกตัวอยา่ งสำนวน คำพังเพย และสุภาษิต พรอ้ มอธบิ ายความหมาย และวธิ ีการ ใช้
ให้ถูกตอ้ งตามความหมายของสำนวน (A)
๕. ใหน้ ักเรียนแตล่ ะคนยกตัวอยา่ งสำนวนทใ่ี ช้ในชวี ิตประจำวนั พร้อมอธิบายความหมายของสำนวน
หากตอบผิดให้เพ่ือนนักเรยี นช่วยกันแกไ้ ขคำตอบให้ถูกต้อง (A)
๖. ให้นักเรียนรวบรวมสำนวนจากหนงั สอื เรยี นหรอื แหล่งการเรยี นรตู้ า่ งๆ ใหไ้ ดม้ ากทสี่ ุดแลว้ เขยี นสำนวน
ทมี่ าของสำนวน พร้อมความหมายลงในสมุด โดยสำนวนมที ี่มาจากแหล่งต่างๆ ดังน้ี (R)

- สำนวนท่ีมาจากนทิ าน
- สำนวนท่มี าจากธรรมชาติ/สภาพแวดล้อม
- สำนวนท่ีมาจากพฤติกรรมของคน
- สำนวนทม่ี าจากการดำเนินชีวติ
- สำนวนที่มาจากอวยั วะต่างๆ
๗. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันสรปุ ความรเู้ ก่ยี วกับความหมายและท่มี าของสำนวน (A)
ชั่วโมงที่ ๒
๘. ให้นกั เรยี นอาสาสมัครหรือสุม่ เรียกนกั เรียนออกมานำเสนอข้อมูลท่ีสืบค้นได้ทีห่ นา้ ช้นั เรยี น โดยมีครู
และเพอื่ นนกั เรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกตอ้ ง และใหข้ ้อเสนอแนะเพิ่มเติม (A)
๙. ครแู บ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลมุ่ ละ 5 คน คละกันตามความสามารถ แลว้ ให้สมาชกิ ในแต่ละกลุ่ม
แลกเปล่ยี นความรูเ้ ก่ียวกับ สำนวน คำพงั เพย และสุภาษิตทต่ี นไดศ้ ึกษามาเพอ่ื ให้มีความรู้ความเข้าใจมาก
ยิ่งข้ึน (A K)
๑๐. ให้นักเรียนเล่นเกมต่อสำนวน โดยครูเป็นผู้บอกทม่ี าของสำนวน จากน้ันใหน้ กั เรียนแขง่ ขนั กนั
เพือ่ บอกความหมายและทมี่ าของสำนวน หากกลุ่มใดตอบได้ถกู ต้องจะไดส้ ทิ ธิในการกำหนดท่มี าของสำนวน
ในขอ้ ตอ่ ไป หากกลมุ่ ใดตอบผิดจะตอ้ งยตุ ิการเล่นในทนั ที และกลุ่มทีต่ อบไดถ้ ูกต้องมากที่สุดถือเป็นผชู้ นะ (V
A R K)

๑๑. ครอู ธบิ ายใหน้ กั เรยี นเขา้ ใจวา่ การใช้สำนวนนอกจากจะตอ้ งคำนงึ ถึงความหมายของสำนวนแล้ว
ยงั ตอ้ งใช้ให้เหมาะสมกับสถานการณ์และบริบทในการใชด้ ว้ ย (A)

๑๒. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปความรเู้ ร่อื ง การใช้สำนวนในสถานการณ์และบรบิ ทต่างๆ (A)
ชวั่ โมงท่ี ๓

๑๓. ให้นักเรียนศึกษาใบความรูเ้ รื่องสำนวน คำพังเพย และสภุ าษติ การใช้สำนวนในสถานการณ์ และ
บริบทตา่ งๆ (R)

๑๔. ให้นกั เรียนทำใบงานท่ี ๑.๑ เรอื่ ง จบั คู่รสู้ ำนวน เพื่อทบทวนความรู้ทเ่ี รยี นมา จากน้ันครแู ละ
นักเรยี น ช่วยกันเฉลยคำตอบในใบงาน ๖(A R)

๑๕. ครูแบง่ นักเรียนเป็นกลมุ่ กลุ่มละ ๕ คน คละกนั ตามความสามารถ แล้วครูให้แต่ละกลุ่มนำสำนวน
ที่รวบรวมได้จากแหล่งการเรียนรตู้ ่างๆ ในชวั่ โมงท่ี ๑ มาจดั ทำเป็นสมุดภาพสำนวนไทย โดยให้นกั เรียน วาด
ภาพ ประกอบสำนวนใหเ้ หมาะสม พรอ้ มอธิบายความหมายของสำนวนใหถ้ ูกต้อง เพอื่ รวบรวมไวเ้ ป็น หนังสือ
สำหรับคน้ คว้าประจำห้อง โดยครกู ำหนดระยะเวลาในการทำตามความเหมาะสม (V A R K)

สอ่ื (วสั ดุ-อุปกรณ์-สง่ิ พมิ พ)์ / นวัตกรรม / ICT
๑. หนงั สือเรยี น ภาษาไทย : หลกั ภาษาและการใชภ้ าษา ม.๑
๒. หนังสือค้นควา้ เพ่มิ เติม
๑) กาญจนาคพนั ธ์.ุ สำนวนไทย. กรุงเทพฯ : รวมสาสน์ , ๒๕๒๑.
๒) กระทรวงศึกษาธกิ าร กรมวชิ าการ ศนู ย์พฒั นาหนงั สือ. สำนวนไทย. กรงุ เทพฯ:
ศูนย์พัฒนาหนงั สือ กรมวชิ าการ กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๔๓.
๓) ราชบณั ฑติ ยสถาน. รวมความร้ใู นการใช้ภาษาไทย. กรงุ เทพฯ : ราชบัณฑติ ยสถาน, ๒๕๕๐.
๔) ราชบัณฑิตยสถาน. ภาษิต คำพังเพย สำนวนไทยประเภทตา่ งๆ. พิมพค์ ร้ังท่ี ๖.
กรุงเทพฯ : ราชบณั ฑิตยสถาน, ๒๕๓๔.
๕) วิจติ รมาตรา, ขนุ . สำนวนไทย. กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญป่ี นุ่ ), ๒๕๔๑.
๓. เกมต่อสำนวน
๔. ใบงานท่ี ๑.๑ เร่อื ง จบั ครู่ สู้ ำนวน

แหลง่ การเรยี นรู้
๑. หอ้ งสมุด
๒. แหล่งขอ้ มลู สารสนเทศ
http://thaiidiom.kapook.com
http://pasathai01.exteen.com
http://www.kroobannok.com/1569
th.wikipedia.org/wiki/สำนวนไทย

การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้

วิธกี ารวัดผลและการประเมินผล เคร่ืองมือวดั และประเมินผล เกณฑก์ ารวัด

ด้านความรู้ (K) ๑. นกั เรียนทำแบบทดสอบ หลัง ๑. แบบทดสอบหลังเรียน ๑. ผ่านร้อยละ ๖๐
เรียน

ดา้ นทกั ษะ/ ๑. นักเรยี นทำใบงานที่ ๑.๑ ๑. ใบงานที่ ๑.๑ ๑. ผา่ นร้อยละ ๖๐

กระบวนการ ๒. นกั เรียนทำสมุดภาพ สำนวน ๒. แบบประเมนิ ผลงาน สมุด ๒. ผ่านรอ้ ยละ ๖๐

(P) ไทย ภาพสำนวนไทย

ดา้ นคณุ ธรรม ๑. สังเกตพฤติกรรมการ ทำงาน ๑. แบบสงั เกตพฤติกรรม ๑. ผา่ นรอ้ ยละ ๖๐

จริยธรรม และ กลมุ่ การทำงานกล่มุ

คา่ นิยม (A)

กิจกรรมเสนอแนะ

นกั เรยี นควรศกึ ษาสำนวน สภุ าษิต และคำพงั เพยไทยเพ่ิมเติมจากหนงั สือ สำนวน สภุ าษิตและคำ
พังเพย ของราชบณั ฑติ ยสถาน

ลงชอ่ื .....................................................ผเู้ ขยี นแผนการจดั การเรียนรู้
................/.................../................

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 7

กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ท21121 ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1

หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๔ สภุ าษิตพระร่วง เวลา ๑๐ คาบ

เร่อื ง การอ่านวเิ คราะห์และประเมนิ คุณค่าวรรณคดี เวลา 3 ชั่วโมง

ผ้สู อน นางสาวณฐั ฐนิ นั ท์ สมิ พา โรงเรียนบา้ นนาดสี รา้ งบง

หมายเหตุ…………………………………………………………………………………………………………………………

มาตรฐานการเรยี นรู้ เขา้ ใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทย
มาตรฐาน ท ๕.๑ อยา่ งเห็นคณุ คา่ และนำมาประยกุ ต์ใช้ในชีวิตจรงิ

ตวั ช้วี ัด สรปุ เน้อื หาวรรณคดีและวรรณกรรมท่อี ่าน
ท ๕.๑.๑ วิเคราะหว์ รรณคดแี ละวรรณกรรม ทอ่ี ่านพร้อมยกเหตุผลประกอบ
ท ๕.๑.๒
อธบิ ายคณุ ค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอา่ น
ท ๕.๑.๓ สรุปความรูแ้ ละข้อคดิ จากการอา่ นเพื่อประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตจริง
ท่องจำบทอาขยานตามทก่ี ำหนดและบทร้อยกรองทม่ี ีคณุ คา่ ตามความสนใจ
ท ๕.๑.๔

ท ๕.๑.๕

สาระสำคัญ
การอา่ นเพ่ือวเิ คราะห์วิจารณ์เปน็ การอ่านทตี่ อ้ งใช้ทกั ษะหลายดา้ น เพื่อวิเคราะห์วจิ ารณ์และ

ประเมนิ คา่ เรอื่ งท่ีอา่ น ท้ังนี้ควรมีการพจิ ารณาเร่อื งทอ่ี า่ นอยา่ งละเอียด มเี หตุผลในการประเมนิ และนำความรู้

ความคิดไปใชใ้ นการดำเนินชีวิตได้

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

ความรู้ (K)

๑. สรปุ เนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอ่านได้

๒. .วเิ คราะหว์ รรณคดีและวรรณกรรม ทอ่ี า่ นพรอ้ มยกเหตผุ ลประกอบได้

3. ท่องจำบทอาขยานบทหลักตามที่กำหนดได้

สมรรถนะหลัก
 ๑. ความสามารถในการสอื่ สาร
 ๒. ความสามารถในการคิด
 ๓. ความสามารถในการแก้ปญั หา

 ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ
 ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A)
 ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์
 ๒. ซื่อสัตยส์ ุจรติ
 ๓. มีวนิ ยั

 ๔. ใฝ่เรียนรู้
 ๕. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง
 ๖. มุ่งมนั่ ในการทำงาน
 ๗. รักความเปน็ ไทย
 ๘. มีจติ สาธารณะ
แนวความคิดเพ่อื การเรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ ๒๑
 ๑. สาระวชิ าหลกั (Core Subjects)
 ๒. ทักษะดา้ นการเรยี นรู้และนวัตกรรม
 ๓. ทักษะด้านสารสนเทศ สือ่ และเทคโนโลยี
 ๔. ทกั ษะด้านชวี ิตและอาชีพ

สาระการเรียนรู้

วรรณคดแี ละวรรณกรรมเกยี่ วกบั

- ศาสนา

- ประเพณี

- พิธีกรรม

- สภุ าษิตคำสอน

- เหตกุ ารณ์ประวัตศิ าสตร์

- บนั เทงิ คดี

- บันทึกการเดนิ ทาง
- วรรณกรรมทอ้ งถน่ิ
การวิเคราะห์คุณคา่ และข้อคดิ จากวรรณคดีและวรรณกรรม
บทอาขยานและบทรอ้ ยกรองที่มคี ณุ ค่า
- บทอาขยานตามท่ีกำหนด
- บทร้อยกรองตามความสนใจ
กระบวนการจัดการเรยี นรู้ (ข้นั ตอน/กระบวนการ)
ชว่ั โมงท่ี ๑

๑. นักเรียนทำแบบทดสอบกอ่ นการเรียนรู้
๒. นักเรียนศกึ ษาใบความรูเ้ ร่ืองความหมายของวรรณคดี วรรณกรรม และการแบง่ ประเภท
วรรณคดี (R)
๓. นกั เรียนร่วมกจิ กรรมแบ่งประเภทวรรณคดี โดยครูแจกรายช่อื วรรณคดีให้นกั เรยี นนำไปเขยี น
ทกี่ ระดานใหถ้ กู ตอ้ งตามประเภทที่กำหนดไว้ให้ (V A R K)
๔. นักเรยี นรว่ มกนั ตรวจผลงาน อภิปราย และซักถาม (V A R K)
ชว่ั โมงที่ ๒
๕. นกั เรียนศกึ ษาวิธีการวิเคราะหค์ ณุ ค่าและขอ้ คิดจากใบความรู้ (R)
๖. นักเรยี นอา่ นบทวเิ คราะห์เรือ่ งสุภาษิตพระร่วงในหนังสอื เรียนวรรณคดีวิจักษ์ เลม่ ๒ (R)

๗. แบง่ นักเรียนออกเป็นกลุ่มละ ๕ คน เพอื่ ชว่ ยกนั สรุปคุณค่าและข้อคิดจาก สุภาษิต พระร่วง
รว่ มกัน แลว้ เขียนแผนภาพความคิดในหวั ขอ้ “คุณค่าและขอ้ คิดจากสภุ าษติ พระรว่ ง” พร้อมทัง้ ตกแตง่ ให้
สวยงาม (V A R K)

๘. แตล่ ะกลมุ่ ส่งตัวแทนออกมานำเสนอหนา้ หอ้ งเรียน (A K)
ชัว่ โมงที่ ๓

๙. นักเรียนทำใบงานแนวคดิ และคตธิ รรมจากวรรณคดี (R)
๑๐. นกั เรียนชว่ ยกนั วเิ คราะห์ว่าวรรคใดในเนอ้ื เรื่องสภุ าษติ พระร่วงทีม่ คี วามไพเราะ มีคณุ คา่
สามารถนำไปประยุกตใ์ ชไ้ ด้ จากน้ันใหน้ ักเรยี นพิมพ์เผยแพรใ่ นส่ือโซเชียลมีเดีย (V A R K)
๑๑. ทำแบบทดสอบหลงั เรยี น

ส่อื (วัสดุ-อุปกรณ์-สิง่ พมิ พ์) / นวตั กรรม / ICT
๑. แบบทดสอบกอ่ นเรียน- หลงั เรยี น
๒. หนังสือวรรณคดวี จิ ักษ์ เลม่ ๒
๓. ใบความรู้ความหมายของวรรณคดี วรรณกรรม และการแบ่งประเภทของวรรณคดี
๔. ใบความรเู้ รื่องการวเิ คราะหค์ ุณค่าและข้อคดิ จากวรรณคดี
๕. ใบงานเร่ืองแนวคดิ และคตธิ รรมจากวรรณคดี

แหลง่ การเรียนรู้
1. หอ้ งคอมพิวเตอร์
2. ห้องสมุด

บูรณาการ (ถ้ามี).........................................................................

การวดั และประเมินผลการเรียนรู้

วธิ ีการวดั ผลและการประเมนิ ผล เคร่ืองมอื วดั และประเมนิ ผล เกณฑก์ ารวัด
๑. ผ่านร้อยละ ๖๐
ด้านความรู้ (K) ๑. ทำแบบทดสอบกอ่ นเรียนหลังเรียน ๑. แบบทดสอบก่อน-หลงั เรยี น ๒. ผา่ นร้อยละ ๘๐

๒. เขยี นแผนภาพความคิด ๒. แบบประเมินแผนภาพ ๓. ผา่ นร้อยละ ๗๐

ความคดิ ๑. ผ่านรอ้ ยละ ๖๐

๓. ทำใบงานแนวคิดและคตธิ รรมใน ๓. ใบงานแนวคดิ และคติธรรม ๒. ผา่ นร้อยละ ๖๐

วรรณคดี ในวรรณคดี ๑. ผา่ นร้อยละ ๖๐

ด้านทกั ษะ/ ๑. กิจกรรมแบง่ ประเภทวรรณคดี ๑. แบบประเมินทักษะ/ ๒. ผ่านรอ้ ยละ ๖๐
กระบวนการ (P) ๒. กจิ กรรมเผยแพร่วรรคทองใน กระบวนการในการทำกจิ กรรม
๒. แบบประเมินการนำไป

วรรณคดีในสื่อโซเชยี ลมีเดยี เผยแพร่ต่อสาธารณะ

ดา้ นคณุ ธรรม ๑. สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่ ๑. แบบสังเกตพฤติกรรมการ

จริยธรรม และ ทำงานกลุ่ม

คา่ นิยม (A) ๒. สังเกตการปฏิบตั งิ าน ๒. แบบสงั เกตการปฏิบตั งิ าน

กจิ กรรมเสนอแนะ
๑. ควรใหน้ กั เรียนหาข้อมลู เพิ่มเตมิ จากเวบ็ ไซตต์ ่างๆ เพื่อเพิ่มพนู ความรู้

ลงชื่อ.....................................................ผู้เขียนแผนการจดั การเรยี นรู้
................/.................../................


Click to View FlipBook Version