The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมข้อเขียนบันทึกนานาสภาวะ ณ ขณะเขียน <br>ของนักเรียนเขียนเรื่อง จากรายวิชา “ศิลปะการเขียนร้อยแก้ว” <br>ผู้จัดพิมพ์และผู้เผยแพร่: ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by arts.readthinkwrite, 2023-07-15 01:58:55

เมื่อฉันร้อยเศษทรายให้กลายเป็นแก้ว

รวมข้อเขียนบันทึกนานาสภาวะ ณ ขณะเขียน <br>ของนักเรียนเขียนเรื่อง จากรายวิชา “ศิลปะการเขียนร้อยแก้ว” <br>ผู้จัดพิมพ์และผู้เผยแพร่: ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Keywords: writing,graphic art,experience,essay,creativewriting,youngwriter,การเขียน,ประสบการณ์,นักเรียนเขียนเรื่อง,นักเขียน,criticism,การวิจารณ์

แดระบบนิเวศที่เปนมิตร สำหรับการอาน การเขียน และการวิจารณ เมื่อฉันร้อยเศษทราย ให้กลายเป็นแก้ว รวมข้อเขียนบันทึกนานาสภาวะ ณ ขณะเขียน ของนักเรียนเขียนเรื่อง จากรายวิชา “ศิลปะการเขียนรอยแก้ว” ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


2 | นักเรียนเขียนเรื่อง รวมข้อเขียนบันทึกนานาสภาวะ ณ ขณะเขียน จากรายวิชา “ศิลปะการเขียนรอยแก้ว”


เมื่อฉันรอยเศษทรายใหกลายเปนแก้ว | 3 หนังสือชุด “วิชญมาลา” รวมผลงานสรางสรรค์ลำดับที่  เมื่อฉันร้อยเศษทราย ให้กลายเป็นแก้ว นักเรียนเขียนเรื่อง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สุณิชา จุลอักษร ชุติมน ชาวดง เทวบุตร เทพนรินทร กองบรรณาธิการ ธมลวรรณ จิ้มลิ้มเลิศ ณิชาภัทร จันทสิงห ผูช่วยบรรณาธิการ หัตถกาญจนอารีศิลป บรรณาธิการ


4 | นักเรียนเขียนเรื่อง เมื่อฉันร้อยเศษทรายให้กลายเป็นแก้ว: รวมข้อเขียนบันทึกนานาสภาวะ ณ ขณะเขียน ของนักเรียนเขียนเรื่อง จากรายวิชา “ศิลปะการเขียนรอยแก้ว” ลิขสิทธิ์ผลงานเปนของผูสรางผลงาน จัดทำโดย หัตถกาญจนอารีศิลป เกวลิน ถนอมทอง จณิศา ชาญวุฒิ ชนินทบุญเหลือง ชมัยภร บางคมบาง ชุติมน ชาวดง ณภัทร ชาติทอง ณิชาภัทร จันทสิงห เทวบุตร เทพนรินทร ธนกร เกตุแก้ว ธนพงษเมืองศิลปศาสตร ธมลวรรณ จิ้มลิ้มเลิศ ธัญลักษณทองสุข ธีสุวรรณ ปติภากร นิชานันทนันทศิริศรณ พัชริญา เลิศปญญาโรจน ฟาใส หลามณี เมษา ภมรทรัพย ศราวุธ วังหลวง สมรทอง พูลภักดี สุณิชา จุลอักษร สุวรรณา เกรียงไกรเพ็ชร อัลวานีนาดามัน อัศวุธ อุปติ © สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับเพิ่มเติม) พ.ศ. 2558 ISBN: 978-616-407-861-1 พิมพครั้งแรก: กรกฎาคม 2566 ผูรับผิดชอบจัดพิมพ: ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เอกภาษาไทย อักษรฯ จุฬาฯ [email protected] 02-218-4687 พิมพที่: จำนวนจัดพิมพแบบรูปเลม: โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ถนนพญาไท แขวงวังใหม เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ [email protected] 02-218-3549 300 เลม การจัดทำหนังสือเลมนี้ไดรับทุนสนับสนุนจาก โครงการพัฒนาศักยภาพนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยสูความเปนเลิศ ประจำปงบประมาณ 2566 สำนักบริหารวิชาการ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เผยแพรในรูปแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส(e-book) ใหอานไดฟรี เปนการถาวรผานแพลตฟอรมออนไลนและเผยแพรเปนหนังสือ แบบรูปเลมโดยการแจกจ่าย (ไมมีการจัดจำหนาย)


เมื่อฉันรอยเศษทรายใหกลายเปนแก้ว | 5 ที่ปรึกษา: ผูทรงคุณวุฒิประจำหนังสือ: บรรณาธิการ: หัวหนาภาควิชาภาษาไทย (รองศาสตราจารยดร.ปรมินทจารุวร) อาจารยชมัยภร บางคมบาง คุณนิชานันทนันทศิริศรณ คุณศศิวิมล นทธีสุระเดชชะมงคล หัตถกาญจนอารีศิลป ผูช่วยบรรณาธิการ: ธมลวรรณ จิ้มลิ้มเลิศ ณิชาภัทร จันทสิงห ผูช่วยจัดสารบัญเลม: ผูพิสูจนอักษร: ชุติมน ชาวดง เทวบุตร เทพนรินทร หัตถกาญจนอารีศิลป ผูจัดหนาหนังสือ: ผูออกแบบปก: ธมลวรรณ จิ้มลิ้มเลิศ หัตถกาญจนอารีศิลป เทวบุตร เทพนรินทร สุณิชา จุลอักษร ผูวาดภาพประกอบ: สุณิชา จุลอักษร ผูตั้งชื่อหนังสือ: ผูแตงบทกวี: ผูเผยแพร: สุณิชา จุลอักษร ชมัยภร บางคมบาง อัศวุธ อุปติ ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย https://www.arts.chula.ac.th/thai/thaiarchives/ ข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแหงชาติ เมื่อฉันรอยเศษทรายใหกลายเปนแก้ว: รวมข้อเขียนบันทึกนานา สภาวะ ณ ขณะเขียน ของนักเรียนเขียนเรื่อง จากรายวิชา “ศิลปะการเขียนรอยแก้ว.” — กรุงเทพฯ: ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2566. 246 หนา.—(วิชญมาลา). 1. การเขียน I. หัตถกาญจนอารีศิลป. II. สุณิชา จุลอักษร, ผูวาด ภาพประกอบ. III. ชื่อเรื่อง. 808.02 ISBN 978-616-407-861-1


6 | นักเรียนเขียนเรื่อง สารบัญ เรื่อง หนา คำนำ  หัวหนาภาควิชาภาษาไทย จากบรรณาธิการ 13 หัตถกาญจนอารีศิลป กวาจะเปนชื่อเลม 17 สุณิชา จุลอักษร กวาจะเปนสารบัญเลม 18 ณิชาภัทร จันทสิงห ชุติมน ชาวดง กวาจะเปนปกและภาพประกอบ 24 สุณิชา จุลอักษร บทกวี: สูวรรณกรรม 27 ชมัยภร แสงกระจ่าง I. นานาทัศนะ มองหลากมุม...นักเขียน & นักวิจารณ นักปรุงอักษรกับบานแหงการรังสรรค์ 31 Whalien54 ทรายสี ถึงพระเจ้า 43 ดอกดิน คู่มือแดฉันที่พยายามจะเปนตัวฉันตอไปเช่นนี้ 51 น้ำทวมเมฆ


เมื่อฉันรอยเศษทรายใหกลายเปนแก้ว | 7 สารบัญ เรื่อง หนา เรื่อง I. นานาทัศนะ มองหลากมุม...นักเขียน & นักวิจารณ(ตอ) ระหวางนักเขียนกับนักวิจารณ: การประสานไมตรีที่ยังไมสําเร็จ 61 สุวรรณา เกรียงไกรเพ็ชร ระยะทางอันหางใกลของนักเขียน ตัวบท และนักวิจารณ ในจักรวาลอาน-คิด-เขียน 69 น้ำทวมเมฆ emma II. ความเรียงสะทอนสภาวะ ณ ขณะกอเรื่อง เมื่อฉันรอยเศษทรายใหกลายเปนแก้ว 93 ทรายสี ทามกลางมหาสมุทรคำและความคิด 99 ปาสน บีเดิลยอด(ไม)กวี 105 ฉวนหลิน อยากไปสวนรถไฟ 115 ฌอง ปแอร พื้นที่ของตัวอักษร เรื่องราว และนัก(เรียน)เขียนเรื่อง 123 ปรดา


8 | นักเรียนเขียนเรื่อง สารบัญ III. เรื่องสั้นที่กลั่นจากประสบการณจนเปนเรื่อง A Little Bit 135 esther บันทึกประสบการณทะลุมิติของนักอยากเขียนคนหนึ่ง 149 จับฉ่ายขายฝน ฉันกับฉันและฉัน 173 ตะวันชิงพลบ อาชญากรในดินแดนมหัศจรรย 191 Alice M. ชานชาลาที่ n 205 DWIN เรื่องรับเชิญ: วานยา จอหนนีและออสซีแมนเดียส 223 ธีสุวรรณ ปติภากร บทกวี: ผงทราย ไฟหลอม และแก้วเจียระไน 236 อัศวุธ อุปติ คำตาม...เมื่อเศษทรายกลายเปนตึกสูง 239 นิชานันทนันทศิริศรณ คนทำงานหนังสือ 245 ผลงานหนังสือฉบับอานฟรีe-book 246


เมื่อฉันรอยเศษทรายใหกลายเปนแก้ว | 9 คํานํา “วิชญมาลา” หรือ “มาลัยดอกไมแหงนักปราชญ” เปนโครงการพัฒนา วิชาการของภาควิชาภาษาไทยซึ่งรวบรวมผลงานของนิสิตภาควิชาภาษาไทย ทั้งในระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาในรูปแบบ “วรรณมาลัย” (Anthology) โดยจัดพิมพเปนหนังสือเพื่อเผยแพรออกสูสาธารณชนในชื่อ ชุด “วิชญมาลา” ประกอบดวยหนังสือจำนวน 5 เลม ไดแก่ ลำดับที่  วิชญมาลา: รวมบทความวิชาการดาน ภาษาและวรรณคดีไทย (2557) ลำดับที่  วิชญมาลา: ประชุมอรรถบทเขมรภาษาอนุวาท (2562) ลำดับที่ 3 เขียนเลนเปนเรื่อง: รวมผลงาน สรางสรรค์ของนิสิตภาควิชาภาษาไทย (2563) ลำดับที่ 4 รวมเรื่องสั้นชุด วิกลวิกาล (2566) ลำดับที่ 5 เมื่อฉันรอยเศษทรายใหกลายเปนแก้ว รวมข้อเขียนบันทึกนานาสภาวะ ณ ขณะเขียน ของนักเรียนเขียนเรื่อง จากรายวิชา “ศิลปะการเขียนรอยแก้ว” (2566) หนังสือลำดับที่ 1 และ 2 เปนผลงานวิชาการและผลงานแปลของ นิสิต โดยมีอาจารย ดร.ใกลรุง อามระดิษเปนบรรณาธิการ สวนหนังสือ ลำดับที่ 3 4 และ 5 เปนผลงานสรางสรรค์ของนิสิตระดับปริญญาตรีโดยมี ผูช่วยศาสตราจารยหัตถกาญจนอารีศิลป เปนบรรณาธิการ ในโลกยุค disruption AI กำลังเรียนรูวิธีการสรางงานเขียนใน รูปแบบตางๆ และเรียนรูภาษาไทยอยางไมหยุดนิ่ง จนมีการคาดการณกันวา


10 | นักเรียนเขียนเรื่อง ในอนาคตอันใกลนี้AI จะเปนผูช่วยที่สำคัญจำเปนสำหรับการทำงานสรางสรรค์ และจะมีความสามารถในการเรียนรูและสรางงานเขียนที่มีความสมบูรณได มากยิ่งขึ้นเรื่อยๆ ประสบการณที่เหลานักเรียนเขียนเรื่องไดสัมผัสผ านการอบรมเชิง ปฏิบัติการและกิจกรรมตางๆ ที่อาจารยผูสอนประจำรายวิชาไดออกแบบไว ในรายวิชา “2201432 ศิลปะการเขียนรอยแก้ว” นี้นับวามีคุณค่า โดยเฉพาะ อยางยิ่งเมื่อประสบการณเหลานั้นผานกระบวนการสะทอนคิดอยางตกผลึก เพื่อกลั่นออกมาเปน “(รอย)แก้ว” ที่เรียงรอยขึ้นจากทรายละเอียดทั้งในมิติ ความคิดและความรูสึกดวยแลว ก็ทำใหรวมข้อเขียนในหลากหลายลักษณะ ในหนังสือเลมนี้กลายเปน “บันทึกประสบการณภาคสนาม ณ ขณะเขียน” ของเหลานักเรียนเขียนเรื่องซึ่งนาจะเปนผลงานที่ประทับอยูในจิตใจของผูอาน ที่อยูใน “สนามวรรณกรรม” ทั้งในมิติที่เกี่ยวข้องกับการสราง การเสพ การ วิจารณและการทำงานหนังสือ หนังสือเลมนี้แสดงใหเห็นความสำคัญของการทำงานภาคสนาม ผานการลงมือปฏิบัติอยางเอาจริงเอาจังของทั้งผูเรียน ผูสอน และทีมงานทำ หนังสือ เนื้องานที่สะทอนความเปนมนุษยในมิติที่ซับซ้อนและซึมลึกนั้น ช่วยฉายใหเห็นศักยภาพแหงการรูสึกและการครุนคิดพินิจนึก อันเปนความ แตกตางระหวางมนุษยกับปญญาประดิษฐและถือเปนผลผลิตในก้าวแรกๆ ที่สำคัญใน “การสรางคน” เพื่อลงสูสนามวรรณกรรม ทั้งที่เปนสนามนักเขียน สนามคอนเทนต สนามการสื่อสารองค์กร และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ สื่อสารและการออกแบบ—ทั้งในพื้นที่จริงและเสมือนจริง--ซึ่งยังตองอาศัย ความสามารถในการคิดวิเคราะหการคิดอยางมีวิจารณญาณ ตลอดจนการคิด อยางสรางสรรค์ในการพัฒนาศักยภาพของตนเองอยางตอเนื่อง และเพื่อ ใหมีความสามารถในการทำงานรวมกับเทคโนโลยีสมัยใหมในฐานะ “เพื่อน” ที่รวม “สนามชีวิตและการงาน” ตอไปได


เมื่อฉันรอยเศษทรายใหกลายเปนแก้ว | 11 ภาควิชาภาษาไทยขอขอบคุณ “โครงการพัฒนาศักยภาพนิสิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยสูความเปนเลิศ” สำนักบริหารวิชาการ จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย ที่ใหทุนสนับสนุนการดำเนินงานและการจัดพิมพหนังสือ การ เผยแพรหนังสือเลมนี้เปนไปเพื่อประโยชนทางการศึกษา โดยจะเผยแพรเปน หนังสืออิเล็กทรอนิกส(e-book) ใหอานไดฟรีเปนการถาวรผานแพลตฟอรม ออนไลนและเผยแพรเปนหนังสือแบบรูปเลมโดยการแจกจ่าย (ไมมีการจัด จำหนาย) เราทุกคนลวนมีบาดแผล ความทุกข์ทน ความสุข ความสนุก ความ สมหวัง ความผิดหวัง ความมั่นใจ หรือความไรความเชื่อมั่น สิ่งเหลานี้เปน ประสบการณอันสามัญที่คนทำงานสรางสรรค์ตองเผชิญเมื่อตัดสินใจลงเลน ในสนามวรรณกรรม ภาควิชาภาษาไทยหวังเปนอยางยิ่งวา เมื่อฉันรอย เศษทรายใหกลายเปนแก้ว : รวมข้อเขียนบันทึกนานาสภาวะ ณ ขณะเขียน ของนักเรียนเขียนเรื่อง จากรายวิชา “ศิลปะการเขียนรอยแก้ว” เลมนี้จะ มีส วนสรางแรงบันดาลใจและแรงบันดาลความคิดใหแก่ นักเรียน นิสิต นักศึกษา ตลอดจนนักอาน และผูสนใจดานการเขียนเชิงสรางสรรค์ดาน วรรณกรรมศึกษาและวรรณกรรมวิจารณตอไป เพื่อที่ เรา จะสามารถยืนระยะอยูในสนามแหงการเขียน การอาน และการวิจารณ—ทั้งในพื้นที ่การงานและการใช้ชีวิต ทั้งในพื้นที่จริงและ เสมือนจริง--อยางมีสุขภาวะที่ดีได รองศาสตราจารยดร.ปรมินทจารุวร หัวหนาภาควิชาภาษาไทย 11 กรกฎาคม 2566


12 | นักเรียนเขียนเรื่อง “‘ความสมบูรณแบบในความไมสมบูรณแบบ’ คือสิ่งที่ผมตกตะกอน จากการอานบันทึกสภาวะ ณ ขณะเขียน ทั้ง 15 เรื่อง ของนักเขียนผูแทน ตนเปนเศษทราย เมื่อการเติบโตไดพรากเอาจินตนาการ ความสนุก และ ความมั่นใจในการเขียนไป การอยูรอดในฐานะผูสรางสรรค์แหงบรรณพิภพ จำตองรังสรรค์งานเขียนที่สมบูรณแบบจนละเลยความสุขและสุขภาพจิตของ ตน บันทึกเหลานี้ไดสะทอนคิดถึงการเปลี่ยนแปลงภายในจิตใจภายหลังการ เรียนวิชาศิลปะการเขียนรอยแก้ว บางคนยอมยอนมอง เยียวยา และเปด เปลือยบาดแผลในอดีตที่เคยปกปด บางคนพรอมนอมรับเอาความ ไมสมบูรณแบบของตนเองไปเปนข้อดีและทุกคนไดเรียนรูที่จะเจียระไน เศษทรายในเหลี่ยมมุมที่สมบูรณแบบที่สุด งดงามที่สุด และเปนตัวของ ตัวเองที่สุดออกมา นับวาเปนหนังสือที่สามารถนำพาใหผมไดเข้า(ไปนั่งใน) ใจนักเขียนไดเปนอยางดี” เทวบุตร เทพนรินทร นิสิตภาควิชาภาษาไทยและผูพิสูจนอักษร, “บันทึกความรูสึกหลังการอาน”


เมื่อฉันรอยเศษทรายใหกลายเปนแก้ว | 13 จากบรรณาธิการ ความทะเยอทะยานอยางแรกและอยางเดียวที่ทำใหเราเลือกที่จะ ทำงานดานการศึกษา คือความปรารถนาที่จะสราง “พื้นที่แหงการเรียนรู” (learning space) สำหรับนักเรียนวรรณกรรมและนักเรียนเขียนเรื่อง เรา อยากสรางหองเรียนที่มีระบบนิเวศที่ดีมีอากาศถายเทสะดวก เปนพื้นที่ ปลอดภัย ในขณะเดียวกันก็บรรจุความเครียดไวในระดับที่พอเหมาะพอเจาะ สำหรับเปนเชื้อไฟในการสรางงาน เปนหองปฏิบัติการที่ทาทายใหไดทดลอง สรางอะไรใหมๆ ที่พรอมจะลมเหลวและสำเร็จไปดวยกัน โดยมีกัลยาณมิตร ที่คอยแลกเปลี่ยนเรียนรูและเติบโตไปดวยกัน กัลยาณมิตรอันเปนเพื่อนแทที่ กลาพูดความจริงจากใจโดยไมมุงราย ดวยวิธีการที่ไมทำรายหัวจิตหัวใจของ กันและกัน กัลยาณมิตรที่รวมรูสึกและรวมเรียนรูอยูเคียงข้างกัน กลาวไดวา บัดนี้เรามี “หองเรียนเชิงปฏิบัติ” ที่เนนการ “ก ่อเรื่อง” อยูหลักๆ 3 หอง คือ หองเรียน “ศิลปะการเขียนรอยแก้ว” หองเรียน “ศิลปะ การเลาเรื่อง” และหองเรียน “วรรณกรรมวิจารณ” ซึ่งคุณนักอานอาจเคย ติดตามผลงานบรรณาธิการของเรา ที่เปนงานตีพิมพผลงานของนิสิตจากชั้น เรียนทั้งในรูปแบบ “หนังสือวิจารณซ้อนวิจารณ” และ “หนังสือรวมเรื่องสั้น” มาบางแลว หนังสือเลมนี้นับเปนผลงานบรรณาธิการในลำดับที่ 10 ในชีวิต การทำงานยางเข้าปที่ 9 ของเรา—ครูที่บังเอิญอยางตั้งใจมาทำงานบรรณาธิการ --เราเริ่มตนงานบรรณาธิการในนามเพจอิสระชื่อ “อาน-คิด-เขียน” จากนั้นก็ สลับไปทำงานหนังสือโดยไดรับทุนสนับสนุนจากตนสังกัดในวาระโอกาสที่ แตกตางกันออกไป สำหรับเรา งานบรรณาธิการเปนงานที่ทั้งอบอุนและหนาวเหน็บ เปนความกลาในความกลัว และเปนความโดดเดี่ยวแตไมเปลี่ยวเหงาเสีย ทีเดียว เราคิดวาสภาวะเช่นนี้แทรกซึมอยูในกระบวนการสรางงานศิลปะทุก


14 | นักเรียนเขียนเรื่อง แขนง เช่นเดียวกับเหลานักเรียนเขียนเรื่องที่พยายามสรางงานตามโจทย อยางตอเนื่องเพื่อเรียนรูวิธีการสรางงาน เราคิดวาเขาเหลานั้นยอมตอง เผชิญความหนาวเหน็บ ความกลัว และความโดดเดี่ยว ณ ขณะทำงานเช่นกัน หนาที่ของเราก็คือ พยายามสรางหองเรียนที่มีฮีตเตอรมีแสงสวางพอเหมาะ และทำหนาที่เปดเพลงบรรเลงเพราะๆ สำหรับทุกคนเทาที่เราจะทำได หนังสือเลมนี้เกิดขึ้นจากความไมตั้งใจ (อีกแลว)—ก็ความไมตั้งใจนี่ แหละที่ทำใหเราไมคาดหวังจนเกร็ง ไมตีกรอบจนขาดอิสระ ไมเครียดและ กดดัน จนรางกายเต็มไปดวยอาการอักเสบ—และแลว...ผลงานจากรายวิชา “ศิลปะการเขียนรอยแก้ว” จากชั้นเรียนออนไลนรอยเปอรเซ็นตปการศึกษา 2564 (มกราคม-พฤษภาคม 2565) ในสถานการณการแพรระบาดของเชื้อ ไวรัสโควิด-19 ในชื่อเลม เมื่อฉันรอยเศษทรายใหกลายเปนแก้ว ก็ค่อยๆ ก่อรางสรางตัวตนขึ้น หนังสือเลมนี้รวบรวม painpoint ของนัก(อยาก)เขียนที่กำลังฝก วิชาการเขียนอยางขะมักเขมน และเคี่ยวกรำตัวเองใหสรางชิ้นงานตามโจทย อันทาทายและตามเดดไลนที่กำหนด เพราะการเขียนเปนงานหนัก (เช่น เดียวกับการทำงานทุกอยางใหดี) และเราตระหนักรูสิ่งนี้หนังสือเลมนี้จึง ก่อรางสรางขึ้นดวยวัตถุประสงค์เดียว คือเพื่อบอกคุณนักอานทุกคน—ทั้งที่ ควบสถานะนักเขียน นักวิจารณบรรณาธิการ หรือคนทำงานในแวดวง หนังสือ—วา คุณไมไดอยูเพียงลำพัง มิใช่คุณที่เผชิญ “นานาสภาวะ” เช่นนั้น เทานั้น แตยังมี‘เรา’ ทั้งหลายที่เปนเพื่อนทุกข์ (และสุข) แอบซ่อนตัวอยูใน แหงหนตำบลตางๆ ทั้งโดยปรากฏตัวและไมปรากฏกาย หนังสือเลมนี้ทำหนาที่ในการบันทึก “เสียง” ของนักเขียนรุนเยาว ซึ่งยังขาดพื้นที่อยางเปนรูปธรรมในการบันทึกประสบการณความรูสึกนึกคิด และการสะทอนยอนคิด (reflection) ในอาณาบริเวณของการสรางงานที่ ไมอาจแยกขาดจากการเสพ การวิจารณและงานบรรณาธิการไดสำหรับเรา


เมื่อฉันรอยเศษทรายใหกลายเปนแก้ว | 15 เราอาจสนใจนอยกวานอย วาทั้งเขาและเธอจะเติบโตไปเปนอะไร ยังคง ทำงานเขียนอยูหรือไม เพราะสิ่งที่เราใหคุณค่าคือการไดบันทึกประสบการณ ภาคสนามของนักเรียนเขียนเรื่องไวเปนลายลักษณซึ่งเราเชื่อวาสิ่งเหลานี้มี คุณค่าในตัวของตัวเอง ไมวาเขาหรือเธอจะเติบโตไปในเสนทางสายใดก็ตาม เราคิดวาเรากำลังเก็บรวบรวมช ่วงเวลานั้นไวก็เทานั้น—แมเปนเพียงเสี้ยว แหงความทรงจำ (เทาที่ตัวอักษรจะสามารถบันทึกไวไดก็ตาม) ในฐานะบรรณาธิการ เราตั้งใจทำหนังสือเลมนี้เพื่อทุกคน ไมวาคุณ จะเปนนักอ านในวัยเดียวกับเหลานักเรียนเขียนเรื่อง อ อนเยาวหรือมีอายุ มากกวา ไมวาคุณจะมีความฝนอยากเปนนักเขียน ไดเดินทางตามความฝน หรือไมก็ตาม ไมวาคุณจะเปนนักวิจารณบรรณาธิการ คนทำงานหนังสือ หรือใครก็ตามในแวดวงศิลปะและวรรณกรรม เราเชื่อวาทั้ง 15 ข้อเขียนและ 1 เรื่องรับเชิญในหนังสือเลมนี้จะทำงานกับคุณในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง และเราอยากชวนคุณใหมองกวางออกไป ถึงมิติของคำวา “เขียน” “อาน” และ “วิจารณ” โดยไมจำเปนวาคุณตองเปน “นัก-” ใดๆ เพราะ คำกริยาเหลานี้มีความหมายอันกวางขวางและครอบคลุมอาณาบริเวณใน ชีวิตสวนตางๆ ของเรา ทั้งในพื้นที่สวนบุคคลและพื้นที่สาธารณะ เราหวังวาหนังสือเลมนี้จะช ่วยปลุกปลอบและปลดปลอยเหลานัก สรางเรื่องใหเปนอิสระ คุณอาจจะไดรูจักวิธีในการ “เก็บกู้” ตัวเอง ไดเรียนรู วิธีที่จะ “บริหารจัดการความเสี่ยง” เมื่อนำความรูสึกและประสบการณของตน มาใช้ในการสรางงาน เพื่อที่จะทำใหการเขียนเปนการเยียวยา มิใช่การบอน เซาะรางและใจใหพังภินทรวมไปถึงมีสวนในการทำใหคุณไดลองแสวงหาวิธี ที่จะ “สรางภูมิคุ้มกัน” ใหแก่ตนเองได... เหนือสิ ่งอื่นใด เราปรารถนาใหหนังสือเลมนี้มีสวนในการสราง ระบบนิเวศที่เปนมิตรสำหรับการอาน การเขียน และการวิจารณ


16 | นักเรียนเขียนเรื่อง ขอขอบคุณทุกคนที่มีสวนเกี่ยวข้องในหนังสือเลมนี้นักเรียนเขียน เรื่อง--ทั้งที่เปนนิสิตเอกภาษาไทยและนิสิตเอกตางๆ ซึ่งไดรวมชั้นเรียนมา ดวยกัน, ธมลวรรณ จิ้มลิ้มเลิศ ณิชาภัทร จันทสิงห ผูช่วยบรรณาธิการ, สุณิชา จุลอักษร ผูออกแบบปกและภาพประกอบ, เทวบุตร เทพนรินทรผู- พิสูจนอักษร, ชุติมน ชาวดง ผูช ่วยจัดเรียงสารบัญเลม, ธีสุวรรณ ปติภากร ผูเขียนเรื่องรับเชิญ, อัศวุธ อุปติผูเขียนบทกวีปดเลม, ผูช ่วยศาสตราจารย สุวรรณา เกรียงไกรเพ็ชรซึ่งใหความอนุเคราะหข้อเขียนเพื่อตีพิมพไวใน หนังสือ, รองศาสตราจารยดร.ปรมินทจารุวร ที่ปรึกษาโครงการ, สำนัก บริหารวิชาการ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ผูใหทุนสนับสนุนการดำเนินงาน และการจัดพิมพหนังสือ ตลอดจนผูทรงคุณวุฒิประจำหนังสือที่กรุณาให ความเห็นที ่เปนประโยชนในการจัดทำหนังสือ ขอขอบพระคุณอาจารย ชมัยภร บางคมบาง ที่กรุณาเขียนบทกวีเปดเลมในชื่อ “สูวรรณกรรม” คุณ ศศิวิมล นทธีสุระเดชชะมงคล ที่กรุณาอานประเมินผลงานของนิสิต และ คุณนิชานันทนันทศิริศรณที่เขียน “คำตาม” หนังสือไวในชื่อเรื่อง “เมื่อเศษทรายกลายเปนตึกสูง” ซึ่งเปนบทปดเรื่องที่ชวนใหไดยอนทวนถึงการทำงาน หนังสือของเราตลอดระยะเวลาที่ผานมา ทายที่สุด ขอขอบคุณนักอานที่ให การตอนรับหนังสือเลมนี้ไวในออมอานค่ะ เรารูจักกันเพราะหนังสือ และคุณจะไดพบเรา ---บ.ก.— คนนี้ใน “รางอวตาร” ตางๆ ซึ่งโลดแลนอยางเริงรา(?)อยูในหนังสือเลมนี้ในชื่อเสียง เรียงนามและตำแหนงแหงที่อันหลากหลาย สวนจะเปนใครบางนั้น ขอมอบ ใหเปนการตีความโดยอิสระของคุณนักอานนะคะ แด...การเดินทางครั้งตอไปในนามอาน-คิด-เขียน ดวยความจริงจังและจริงใจ หัตถกาญจนอารีศิลป 11 กรกฎาคม 2566


เมื่อฉันรอยเศษทรายใหกลายเปนแก้ว | 17 กว่าจะเป็นชื่อเล่ม เมื่อฉันรอยเศษทรายใหกลายเปนแก้ว มีที่มาจากชื่อความเรียงที่ สะทอนเรื่องราวจากรายวิชา “ศิลปะการเขียนรอยแก้ว” ที่เราตั้งขึ้น เรานิยาม เสนทางการเขียนของเราดวยวลีนี้เพราะรูสึกวาชีวิตช่วงนั้นช่างเหมือน “ทราย” อดีตผลึกแรที่ถูกกัดกรอนจนกลายเปนเศษผง แตในรายวิชานี้เราไดกวาดเก็บ เศษตัวตนอันแตกสลายขึ้นมาเรียงรอยเปนรอยแก้วชิ้นตางๆ ดวยความหวังวา อาจมีสักเหลี่ยมสักมุมหนึ่งของคนธรรมดาเช่นเราที่จะแปรเปลี่ยนเปนบางสิ่งที่ มีคุณค่าบางอยาง ดวยความหวังวา “เศษทราย” อาจกลายรางไปเปน “แก้ว” ในเวลาตอมา เมื่อฉันรอยเศษทรายใหกลายเปนแก้ว ไดรับโอกาส จากกองบรรณาธิการใหเติบโตมาเปนชื่อหนังสือเลมนี้เรายินดีมากที่ไดเฝามอง ความหมายของชื่อนี้เติบโต แมจะมีเสียงบอกวาชื่อนี้ “เชย” แตทุกคนก็ยัง ยืนยันการตัดสินใจเดิม และเราเองก็มองวาในมุมหนึ่ง ชื่อนี้ก็สะทอนความเปน หนังสือเลมนี้ไดลงตัวดีเหมือนกัน เพราะเหลานักเรียนเขียนเรื่อง ผูซึ่งเรียงรอย ตะกอนความคิดจากสนามวิชาศิลปะการเขียนรอยแก้วแหงนี้และสะทอนไปถึง สนามชีวิตนั้น ตางก็เปนเหมือน “ทราย” ทรายที่ถูกกัดเซาะโดยลมสภาวะ อารมณพัดพาโดยกระแสประสบการณขึ้นรูปทีละนอยโดยมุมมองความคิดอาน จนในที่สุดก็กลายเปน “แก้ว” แก้วเปลาที่เฝารองรับสลับกับกลั่นกรองสรรพสิ่ง ที่รินลงมา แก้วกระจกที่เฝาซึมซับสลับกับสะทอนแสงสีนานากลับออกไป แมจะอ านหองเรียนเขียนเรื่องแหงนี้ผ านมุมมองและความเปนมาที่ ตางกัน แตสิ่งหนึ่งที ่เรามีรวมกันเสมอคือความไม สมบูรณแบบ และเราได เรียนรูเมื่อไม นานมานี้เองวา แทที่จริงอาจเปนข้อดีเพราะตราบใดที่เรายัง ไมสมบูรณก็หมายความวาจะยังมีที่วางใหการเรียนรูอยูเสมอไป สุณิชา จุลอักษร นักเรียนเขียนเรื่อง  อักษรศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ จุฬาฯ


18 | นักเรียนเขียนเรื่อง กว่าจะเป็นสารบัญเล่ม ช ่องวางระหวาง “นักอาน” และ “นักเขียน” ถือกำเนิดขึ้นจากเสน แบงแหงบทบาทที่แตกตางระหวางการเปนผูเสพและการเปนผูสรรค์สราง ผลงาน แมจะดูเหมือนวาตางฝายตางอยูกันคนละฟากฝง แตในความจริง แลวนักเขียนก็คือนักอานคนหนึ่งที่ก้าวข้ามเสนแบงแหงบทบาท จากนักอาน สูการเปนนักเขียน และยังคงข้ามไปมาระหวางเขตแดนทั้งสองฝง พวกเขา ออกเดินทางบนเสนทางแหงจินตนาการ ตัวอักษร และการสรางสรรค์ เสนทางที่แมแตเจ้าตัวเองก็ไมรูวาหนทางข้างหนาจะเปนเช่นไร บางครั้งก็ หลงทางและผิดพลาด บางครั้งหัวใจก็เปยมไปดวยความปลื้มปติและความ ภาคภูมิใจ บางครั้งก็รูสึกอึดอัด ขัดแยง และสับสน ประสบการณบนเสนทาง แหงการเปนนักเขียนของแตละคนลวนแตกตางกันออกไป ทวาพวกเขาก็ เชื่อมตอกันดวยสายใยแหงความรูสึกในฐานะคนหัวอกเดียวกัน หนังสือ เลมนี้จะพาทุกทานไปเปดประสบการณทำความรูจักกับโลกของเหลานักอาน ผูเติบโตมาเปนนัก(เรียน)เขียนเรื ่อง สัมผัสถึงความรูสึกนึกคิด ไปจนถึง ตัวตนบางแง่มุมที่พวกเขาเก็บซ่อนไว เมื่อฉันรอยเศษทรายใหกลายเปนแก้ว ประกอบดวย “งานเขียน รอยแก้ว” ของนักเรียนเขียนเรื่องจำนวน 15 เรื่อง (และเรื่องรับเชิญอีก  เรื่อง) แบงออกเปนสามหมวดหลักๆ คือ หนึ่ง นานาทัศนะ มองหลากมุม... นักเขียน & นักวิจารณ สอง ความเรียงสะทอนสภาวะ ณ ขณะก่อเรื่อง และ สาม เรื่องสั้นที่กลั่นจากประสบการณจนเปนเรื่อง (fiction) ที่เรียงลำดับ เช่นนี้ก็เพื่อใหผูอานค่อยๆ ออกเดินทางไปกับเราโดยทำความเข้าใจมุมมอง และความคิดความอานของเหลานักเรียนเขียนเรื่องอย างค่อยเปนค่อยไป จวบจนทำความรูจักกันมากขึ้นเรื่อยๆ เปนลำดับ เพื่อที่เรา—ทั้งนักอานและ นักเขียน—จะสามารถตอกันไดติด สนทนากันไดสนุกไปตลอดระยะเวลาที่ อานหนังสือเลมนี้


เมื่อฉันรอยเศษทรายใหกลายเปนแก้ว | 19 หมวด I. นานาทัศนะ มองหลากมุม...นักเขียน & นักวิจารณ ประกอบดวยผลงาน 5 เรื่อง งานเขียนแตละเรื่องในหมวดนี้ตางก็ทำหนาที่ เปนสะพานเชื่อมความสัมพันธเพื่อใหนักอาน นักเขียน รวมถึงนักวิจารณ สามารถเข้าใจกันและกันไดมากยิ่งขึ้น เราจัดใหเรื่อง “นักปรุงอักษรกับบาน แหงการรังสรรค์” เปนเรื่องลำดับที่หนึ่ง เพื่อชี้ชวนใหผูอานไดทำความเข้าใจ แนวคิดสำคัญของหนังสือเลมนี้ ผานการฉายใหเห็นกระบวนการทำงาน เขียนในโลกยุคดิจิทัล สถานการณที่นักเขียนตองเผชิญ ไปจนถึงความคิด และสภาวะจิตใจของนักเขียน เช่น ความไมมั่นใจ ความสงสัยในความสามารถ ของตนเอง การตอสูภายในจิตใจ ระหวางกระบวนการสรางงานจวบจนการ เผยแพรผลงานสูสาธารณะ จากนั้นจึงสงไมตอใหเรื่อง “ถึงพระเจ้า” ซึ่งจะพาใหผูอานลงลึกไป ถึงภายในจิตใจของนักเขียนที่คับคั่งไปดวยความไมมั่นใจและคำถามที่ยาก จะตอบ นับเปนการรับช่วงอารมณตอจากเรื่องที่แลว ก่อนจะคลี่คลายความ รูสึกอันคับข้องใจที่ภายในเปยมไปดวยคำถามไวในเรื่องตอมาคือเรื่อง “คู่มือ แดฉันที่พยายามจะเปนตัวฉันตอไปเช่นนี้” ซึ่งแสดงใหเห็นภาพของนักเขียน ที่สามารถข้ามผานอะไรตอมิอะไรมาไดดวยการเรียนรูการขบคิดจนตกผลึก และตอบคำถามในใจของตัวเองไดในที่สุด เมื่อผูอานไดทำความเข้าใจจิตใจของนักเขียนและสถานการณที่ พวกเขาตองเผชิญเปนที่เรียบรอยแลว ขั้นตอไปก็คือการพาผูอานไปสอง สำรวจรอยราวที่ยากจะประสานของนักเขียนและนักวิจารณ ผานความเรียง เรื่อง “ระหวางนักเขียนกับนักวิจารณ: การประสานไมตรีที่ยังไมสำเร็จ” ซึ่ง แมวาผลงานชิ้นนี้จะเขียนมานานตั้งแตป2516 แลว แตก็มีประเด็นชวนคิด ที่ยังคงรวมสมัยอยูเสมอ ก่อนจะตอยอดไปสูผลงานสงทายในหมวดนี้ที่ชวน ผูอ านไปสองสำรวจสารพันรูปแบบความสัมพันธระหวางนักเขียนและนัก วิจารณในเชิงอุปมาอุปไมยกับคู่ความสัมพันธตางๆ ที่เราพบเห็นไดในเรื่องเลา


20 | นักเรียนเขียนเรื่อง หรือสถานการณจริง (ที่เหนือจริง) ในชีวิตประจำวัน ซึ่งผูเขียนบทความทั้งสอง คนนำเสนอออกมาไดอยางแหวกแนวทั้งเนื้อหาและภาพประกอบในผลงาน เรื่อง “ระยะทางอันหางใกลของนักเขียน ตัวบท และนักวิจารณใน จักรวาลอาน-คิด-เขียน” ดวยแนวคิดตั้งตนที่วา นักเขียนกับนักวิจารณอาจดู เหมือนอยูหางไกลคนละฟากฝง แตอันที่จริง สถานะทั้งสองกลับอยูใกลกัน มากกวาที่คิด ไมตางจากการอยูในจักรวาลหรือในวงโคจรเดียวกัน จึงเกิด เปนไอเดียการสรางสรรค์ “ไอเทมลับ” ที่จะช ่วยประสานรอยราวระหวางคู่ ความสัมพันธตางๆ เพื่อทำใหการวิจารณยังคงประสานไมตรีไวได ในหมวด II. ความเรียงสะทอนสภาวะ ณ ขณะก่อเรื่อง ก็ประกอบ ดวยผลงาน 5 เรื่องเช่นเดียวกัน เราเริ่มตนหมวดนี้ดวยเรื่อง “เมื่อฉันรอย เศษทรายใหกลายเปนแก้ว” ซึ่งเหมาะที่จะเปนพื้นที่แรกใหผูอานไดทำความ รูจักกับชั้นเรียน “ศิลปะการเขียนรอยแก้ว” คลาสเรียนที่จะไดรับการหยิบ ยกขึ้นมาพูดถึงตอในเรื่องตอๆ ไป ผานเรื่องเลาที่เรียบง่ายทวาสละสลวย ซึ่งมีที่มาจากการสะทอนยอนคิดถึงประสบการณการทำกิจกรรมและการ สรางงานจากหองเรียนเขียนเรื่อง จากนั้นจึงจะพาผูอานไปแหวกวายใน “ทามกลางมหาสมุทรคำและความคิด” ซึ่งมีลักษณะรวมดานเนื้อหากับ เรื่องแรกตรงที่ผูเขียนเรื ่องทั้งสองคนตางก็เรียนรูที ่จะไม ยึดติดในความ สมบูรณแบบที่บั่นทอนกำลังของตัวเอง จากนั้น เราจะพาคุณไปทำความรูจักกับ “บีเดิลยอด(ไม)กวี” เมื่อ โจทยในการเขียนงานกลายเปนปจจัยสำคัญที่ทำใหผูเขียนตองยอนกลับไป ทบทวนชีวิตของตัวเอง เพื ่อพยายามเข้าไปอยู ในกระบวนการบางอยาง เพื่อใหแผลเก ่าไดตกสะเก็ด เพียงเพื่อที่จะสามารถกลับมาสรางงานไดอีก ครั้ง ในขณะที่เรื่องตอมาอยาง “อยากไปสวนรถไฟ” ก็เลาถึงการเผชิญหนา กับอดีตอันเปนบาดแผลฉกรรจ์ที่ทำใหผูเขียนไมมั่นใจในการเขียนงานของ ตัวเองเสมอมา จวบจนไดพิสูจนความไมมั่นใจดวยการกลับมาลงมือทำอีกครั้ง


เมื่อฉันรอยเศษทรายใหกลายเปนแก้ว | 21 จะเห็นวา ความเรียงทั้ง 4 เรื่องนี้ตางก็มีชั้นเรียนรายวิชาศิลปะการ เขียนรอยแก้ว ซึ่งเปนทั้งพื้นที่และผูคน ช่วยสนับสนุนและผลักดันเหลา นักเรียนเขียนเรื่องใหออกจากคอมฟอรตโซน และก้าวข้ามอุปสรรคในใจได ในที่สุด “พื้นที่ของตัวอักษร เรื่องราว และนัก(เรียน)เขียนเรื่อง” เปน ความเรียงที่เราเลือกใหเปนเรื่องสงทายในหมวดความเรียงสะทอนความรูสึก นึกคิดจากชั้นเรียนศิลปะการเขียนรอยแก้ว ก็เพราะเปนเรื่องที่ใหภาพของการ ก้าวพนออกมานอกหองเรียนมากที่สุด เปนการก้าวสูโลกกวาง สูโลกความเปน จริง ที่ทำใหรูสึกวา การเขียนไมไดหยุดอยูแค่เพียงภายในหองเรียนเทานั้น สวนสุดทายซึ่งเปนหมวดฟกชั่นหรือเรื่องแตง มีชื่อวา III. เรื่องสั้นที่ กลั่นจากประสบการณจนเปนเรื่อง ซึ่งเปนผลผลิตจากประสบการณและ การตกตะกอนความคิดของนัก(เรียน)เขียนเรื่อง ประกอบดวยเรื ่องสั้น จำนวน  เรื่อง ในบรรดาทั้งสามหมวดหมู เราจัดวางหมวดนี้ไวเปนลำดับ สุดทาย เพราะตองการชี้ชวนใหผูอ านค่อยๆ ออกเดินทางผ านภูมิทัศน (landscape) อันกวางขวางในกระบวนการสรางและเผยแพรงานในหมวด ที่หนึ่ง ก ่อนลงลึกถึงนานาสภาวะของนักเขียนในหวงเวลาและสถานการณ ตางๆ ผ านงานสารคดี (non-fiction) ในหมวดที่สอง ก ่อนจะชวนผูอานมา ตีความเรื่องแตง (fiction) เพื่อขยายขอบฟาของการสรางงาน การเสพงาน และการวิจารณในแวดวงศิลปะ (ที่ไมจำกัดแค่วงวรรณกรรม) เราตั้งใจเปดเรื่องในหมวดนี้ดวยเรื่องสั้นขนาดสั้นอยาง “A Little Bit” ซึ่งเนนนำเสนอสภาวะของศิลปน (ซึ่งเปนเช่นเดียวกับนักเขียนและ คนทำงานศิลปะอื่นๆ) ทั้งในช่วงก่อนการสรางงาน ณ ขณะสรางงาน และ หลังจากที่งานเผยแพรแลว โดยใช้กลวิธีการเลาเรื่องแบบบทสัมภาษณตัด สลับกับการบรรยายถึงเหตุการณในหวงอดีต จากนั้น เราจึงพาไปสัมผัส เรื่องสั้นที่ใช้ประสบการณจริงเปนวัตถุดิบในการสรางเรื่องอยาง “บันทึก


22 | นักเรียนเขียนเรื่อง ประสบการณทะลุมิติของนักอยากเขียนคนหนึ่ง” ซึ่งชวนใหผูอานยอนกลับ ไประลึกถึงวัยเยาวและวันวาน ซึ่งเปนช่วงเวลาที่เต็มไปดวยแรงใจและไฟฝน ในการสรางงาน ในขณะที่ตัวละครในเรื่องและผูอาน (บางคน) กำลังยางเข้า สูวัยทำงานที่กำลังจะหมดไฟ แตแลว...คุณก็อาจไดรับไฟบางอยางหลังจากที่ อานเรื่องนี้จบลงก็เปนได เรื่องลำดับที่สามคือเรื่อง“ ฉันกับฉันและฉัน” ซึ่งใช้ลูกเลนอยาง การสนทนากับตัวเองในการดำเนินเรื่อง ซึ่งเราเห็นความคลายคลึงกับเรื่อง ก่อนหนา เพียงแตเปลี่ยนจากวัยที่แตกตาง เปนหัวโขน (หรืออวตารตาม หนาที่) ที่แตกตาง นับเปนบทสนทนาเชิงถกเถียงที่ชวนคิด หลังจากที่ผูอาน ไดอุนเครื่องไปกับเรื่องสั้นเรื่องก่อนแลว เรื่องสั้นรองสุดทายในหมวดนี้มีชื่อเรื่องวา “อาชญากรในดินแดน มหัศจรรย” ซึ่งเดนที่การใช้น้ำเสียงและเลนลอกับกระบวนการสรางเรื่องแตง โดยไดรับแรงบันดาลใจจาก “มารุตมองทะเล” ของปราบดา หยุน เราอยาก บอกผูอานวา ทำใจใหรมๆ แลวผจญภัยไปในโลกมหัศจรรยที่อะไรตอมิอะไร ถูกบิด ถูกปรุง แตสนุก (เปนบา) เลย และแลว เราก็พาผูอานเดินทางมาถึง “ชานชาลาที่n” ซึ่งเปรียบ การเขียนเข้ากับการออกเดินทางไปในพื้นที่ใหมๆ นอกอาณาเขตเดิม โดย ไมรูวาจุดหมายปลายทางหรือจุดสิ้นสุดของการเดินทางจะเปนเช ่นไร หรือบางทีจุดจบก็กลับกลายเปนเพียงจุดเริ่มตนของการเดินทางครั้งใหม ซึ่งเปนสิ่งที่เราตั้งใจจะสงสารไปถึงผูอ านทุกคนทั้งที่ยังคงรักหรือเคยรัก “การเขียน” จึงเหมาะจะเปนเรื่องสงทายของชุดงานเขียนที่เปนผลงาน ของนักเรียนเขียนเรื่อง ก่อนที่จะสงไมตอใหเรื่องรับเชิญอยาง “วานยา จอหนนีและออสซีแมนเดียส” เขียนโดยนักเขียนที่เปนนักอานและนักแสดง ละครเวทีซึ่งไดมารวมเปดโลกทัศนและมุมมองเพื่อขยายขอบฟาของ “การเขียน” “การอ าน” และ “การวิจารณ” ไปในอาณาบริเวณทางศิลปะที่


เมื่อฉันรอยเศษทรายใหกลายเปนแก้ว | 23 กวางขวางออกไป ดวยการครุนคิดและทดลองที่จะเปนใครบางคน ทั้งที่เปนเรา และไมใช่เรา แตยังคงเปนสวนหนึ่งของเรา นอกจาก “งานเขียนรอยแก้ว” แลว บรรณาธิการยังไดเรียนเชิญ ผูทรงคุณวุฒิเขียนบทกวีเปดเลม และเชื้อเชิญกวีรุนเยาวซึ่งเปนนองๆ ใน ภาควิชาภาษาไทยมารวมเขียนบทกวีปดเลมดวย เรายินดีอยางยิ่งที่ไดมีสวนรวมในงานบรรณาธิการหนังสือ เมื่อฉัน รอยเศษทรายใหกลายเปนแก้ว รวมข้อเขียนบันทึกนานาสภาวะ ณ ขณะ เขียน ของนักเรียนเขียนเรื่อง จากรายวิชา “ศิลปะการเขียนรอยแก้ว” ขอขอบคุณบรรณาธิการที่มอบโอกาสอันทาทายและประสบการณใหมใหแก่ เราผานหนังสือเลมนี้ ชุติมน ชาวดง นักเรียนเขียนเรื่อง  อักษรศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย จุฬาฯ ณิชาภัทร จันทสิงห นักเรียนวรรณกรรมวิจารณ อักษรศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย จุฬาฯ


24 | นักเรียนเขียนเรื่อง กว่าจะเป็นปกและภาพประกอบ ปกหนังสือเลมนี้ผานการเติบโตมาอยางยาวไกล เริ่มแรกเดิมทีปกหนังสือเลมนี้คือภาพที่เราตอยอดมาจากภาพ ประกอบความเรียง “เมื่อฉันรอยเศษทรายใหกลายเปนแก้ว” โดยมีแร ทราย และแก้วน้ำ เปนองค์ประกอบหลักอยูบนพื้นหลังสีน้ำตาล แตทั้งบรรณาธิการ และเราก็เห็นพองตองกันวายังเปนปกที่แพภาพประกอบข้างใน ต อมาบรรณาธิการไดชวนใหเราเพิ ่มความแปลกใหม  ดวยการนำ ภาพประกอบบางสวนจากในเลมมาจัดวางไวในรูปรางเรขาคณิต โจทยนี้คลาย จะไม ซับซ้อน แตกลับเปนเรื ่องทาทายสำหรับเรา ว าจะจัดวางอย างไรดี จนกระทั่งเราลองสรางสามเหลี่ยม และนำมาเรียงตอกันเลนๆ จึงเกิดเปนลาย สามเหลี่ยมแซมภาพอยางที่ปรากฏในปกไดอยางบังเอิญแตลงตัว และหลังจาก ผานการปรับเสริมเติมแตงทีละนอยๆ ปกก็ค่อยๆ เข้ารูปเข้ารอยมากขึ้นเรื่อยๆ และกลายมาเปนหนาตาในแบบที่ผูอานไดเห็นอยูนี้ แมจะออกแบบเสร็จแลว แตปกก็ยังไมหยุดเดินทาง เมื่อกลับมา มองอีกครั้ง เราก็เห็นวา มองๆ ดูแลว ลายสามเหลี่ยมนี้ก็คลายกับกลอง สลับลาย จะวาไปก็ยิ่งเข้ากับหนังสือเลมนี้พอดิบพอดีเพราะแมแผนแก้ว กระจกของของเลนชิ้นนี้จะสะทอนวัตถุอยางเดียวกัน แตเมื่อสะทอนจากมุม ที่แตกตางกัน ก็กลับก่อกำเนิดเปนภาพลวดลายที่แตกตางหลากหลายไมรู จบ ซึ่งก็คงเหมือนกับนักเรียนเขียนเรื่องที่ลอง “อาน” วิชา “ศิลปะการเขียน รอยแก้ว” ผานสายตาอันหลากหลาย จนสะทอนออกมาเปนผลงานสรางสรรค์ อันหลากสีเหลานี้ และเมื่อใดที่ผูอานเริ่มออกเดินทางไปในหนังสือเลมนี้ผานแก้วแหง มุมมองของทาน เราก็เชื ่อวาลวดลายแหงความคิดจะเติบโตยิ่งขึ้นไปอีก อยางไมมีที่สิ้นสุดแนนอน


เมื่อฉันรอยเศษทรายใหกลายเปนแก้ว | 25 ในหนังสือเลมนี้เรายังมีโอกาสไดออกแบบภาพประกอบงานเขียน รอยแก้วทั้ง  เรื่องดวย (เวนเสียแตภาพประกอบในบทความชื่อ “ระยะทาง อันหางใกลของนักเขียน ตัวบท และนักวิจารณในจักรวาล อาน-คิด-เขียน” ซึ่งออกแบบโดย “น้ำทวมเมฆ” หนึ่งในผูเขียนเรื่อง) สำหรับเรา การออกแบบภาพประกอบ ในครั้งนี้เหมือนการแปล เราแปลสิ่งนามธรรมอยางสาร มุมมอง และมวลความรูสึกที่เราสัมผัสไดใน งานแตละชิ้นใหออกมาเปนสีเปนเสน เปนพื้นผิว จนเปนภาพ ดังนั้น นอกจากเปน “นักเรียนเขียนเรื่อง” แลว เรายังไดทดลองเปน “นักเรียนแปล ภาพ” อีกดวย เราเริ่มตนออกแบบภาพประกอบชุดนี้ดวยการหาจังหวะที่เงียบจน ไดยินเสียงความคิดเพื่ออ านงานแตละชิ้น เราจดคำ องค์ประกอบ และ ใจความสำคัญตางๆ เอาไวก่อนจะนำมาสิ่งเหลานี้มาเปนวัตถุดิบก ่อราง ภาพขึ้นในหัว และหยิบจับองค์ประกอบตางๆ ที่รูสึกวา ‘ใช่’ มาผสมผสาน กันเพื่อทำใหภาพนั้นเปนจริง เราตั้งใจใหภาพชุดนี้มีลักษณะคลายศิลปะ ปะติด เพื่อใหเข้ากับงานเขียนในหนังสือเลมนี้ที่ประกอบขึ้นมาจากความรูสึก นึกคิดหลากหลาย เราผสมความเหนือจริงที่ตองอาศัยการตีความเข้าไป เพื่อสะทอนภาพในเวลาที่โลกภายในกับโลกภายนอกมีปฏิสัมพันธกันใน พื้นที่ความคิด ในการออกแบบครั้งนี้บางภาพใช้เวลาเพียงสองชั่วโมงก็ลงตัว แต บางภาพกลับกินเวลานานเปนสัปดาหๆ และเรื่องตลกที่สุดก็คือ ไมมีครั้งไหน ที่ภาพสุดทายจะออกมาเหมือนภาพแรกที่ตั้งใจ แตทุกภาพก็เติบโตในแบบ ของมัน เราจึงไดเรียนรูวา เราเปนผูประกอบภาพก็จริงอยูแตบางครั้งเราก็ ตองปลอยใหภาพประกอบตัวเองขึ้นมาบาง สุณิชา จุลอักษร นักเรียนเขียนเรื่อง และ นัก(ลอง)ออกแบบภาพประกอบ  อักษรศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ จุฬาฯ


26 | นักเรียนเขียนเรื่อง Special Content แปลเรื่องเป็นรูป: บันทึกการออกแบบภาพประกอบหนังสือ เมื่อฉันร้อยเศษทรายให้กลายเป็นแก้ว อานเนื้อหา(ฉบับเต็ม) “กวาจะเปน (แตละ) ภาพประกอบ” ไดโดยสแกน QR Code *มีการเปดเผยเนื้อหาสำคัญของเรื่อง*


เมื่อฉันรอยเศษทรายใหกลายเปนแก้ว | 27 บทกวี สู่วรรณกรรม เหมือนดอกไมใกลใกลจะผลิบาน มวลเกสรชุ่มน้ำหวานฉ่ำเต็มที่ กลีบขยายก้านขยับรับวารี ใบแบงใบไหวคลี่สะทานสะเทือน เตรียมตน อิ่มก้านใบใตฟากวาง เตรียมกลั่นแสงแตงสรางกลางลมเลื่อน เตรียมความหอมพรอมรินกินแสงเดือน เตรียมไหวเคลื่อนก้าวใหมไมเชือนแช เปนภาวะขณะดอกไมใกลจะบาน ใจเรงอานใจในใหแนวแน ตาขยับจับภาพซาบดวงแด อักษรแผอักษรผายขยายตัว ทีละถอยทีละคำลงหลนรวง รินจากดวงหฤทัยซ่านไปทั่ว เปนประโยคพรางพรายไหลระรัว ที่หมนมัวสวางเพริดเปดฟาพลัน


28 | นักเรียนเขียนเรื่อง เปนภาวะขณะเขียนขณะสราง เปนภาวะที่ทุกอยางกระจ่างฝน เปนภาวะประมวลสวมรวมใจกัน จึงบัดนั้น งานเขียนเกิดกำเนิดตน เปนตัวตนเปนดวงใจเปนนัยถอย ที่เรียงรอยสรรพสรางจากกลางหน เปนงานเขียนฉายฉานบรรสานกมล ที่ก้าวจากปจเจกชนสูสาธารณะ สูความเปนสมบัติอัศจรรย สูการยืนยันความเปนอิสระ สูการวิพากษวิวาทะ เจิดจรัสทุกขณะ เปนวรรณกรรม ชมัยภร แสงกระจ่าง ศิลปนแหงชาติสาขาวรรณศิลป 26 มิถุนายน 2566


เมื่อฉันรอยเศษทรายใหกลายเปนแก้ว | 29 I. นานาทัศนะ มองหลากมุม...นักเขียน & นักวิจารณ


30 | นักเรียนเขียนเรื่อง


เมื่อฉันรอยเศษทรายใหกลายเปนแก้ว | 31 นักปรุงอักษรกับบ้านแห่งการรังสรรค์ เรื่องและภาพประกอบ: Whalien54 และ ทรายสี หากใหเปรียบเปรย นักเขียนทุกคนก็คงเหมือนกับเจ้าของพื้นที่แหง การสรางสรรค์ของตนเอง ผูใช้ปากกาวิเศษคู่ใจอยางทักษะปรุงตัวอักษรให กลายเปนนานาอาหารแห งความคิด ก ่อนเสิรฟใหผูอื ่นไดลิ้มรสและรับ สารอาหารอันหลากหลายผานการอาน เราไดเห็นมุมมองตางๆ ผานผลผลิตที่สำเร็จแลวของนักเขียนอยาง งานเขียน แตในความจริงแลว เบื้องหลังกระบวนการทำงานของนักเขียน และตัวนักเขียนเองก็มีอะไรใหเรา “อาน” เช่นกัน วันนี้เราขอชวนทุกคนมาสองเรื่องราวหลังประตูบานแหงการ รังสรรค์เดินทางทองไปในหองหับแหงประสบการณและสภาวะตางๆ ทั้ง ดานบวกและดานลบที่นักเขียนพบเจอไปดวยกัน ผ านเรื่องเลาที่รอยเรียง จากปากของนักปรุงอักษรเดินดิน ผูเปนผูเสพ ผูสราง และผูเสิรฟ หากพรอมแลว เราขอเชิญทุกคนพบกับนิทานของนักปรุงอักษรที่จะ พาคุณไปสัมผัสเรื่องราวของผูสรางสรรค์ที่ไมใช่ผูวิเศษ และบางทีเราก็อาจ ไมจำเปนตองเปนผูวิเศษเพื่อเปนผูสรางสรรค์ ... ฉันลืมตาตื่นจากฝนอันเลือนราง แมจำรายละเอียดไมไดทุกอย าง แตความรูสึกที่ติดค้างนั้นชัดเจน


32 | นักเรียนเขียนเรื่อง ความปรารถนาไดก่อกำเนิดขึ้นอีกครั้ง เช้าที่สดใสสองสวางไมเทา กับไฟที่ลุกโชนในตัวฉัน พื้นที่สี่เหลี่ยมแหงตัวตนบรรจุเรื่องราวของเด็กนอย ที่พกความมุงมั่นและความหลงใหลมาเต็มเปยม ในหมูบานเล็กๆ แหงนี้ที่หล อเลี้ยงผูคนดวยตัวอักษรวิเศษแหง เรื่องราว ฉันคือหนึ่งในผูอยูอาศัย และมีบานแหงการรังสรรค์เปนของตนเอง ฉันกวาดสายตามองดูชั้นหนังสือภายในหอง มันเปนหนังสือที่ฉันได “เสพ” ไปแลว หลายเรื่องเปนเลมโปรดเพราะรสชาติที่อรอยจัดจ้าน หลาย เรื ่องเปนการเรียนรูใหเพลิดเพลินใจเช่นรสที ่กลมกล อมของมัน และอีก หลายเรื่องอาจนับเปนการทาทายความคิดและความเชื่อแบบที่บรรยาย รสชาติออกมาไมได แตถึงกระนั้น พวกเขาลวนเปนสวนประกอบของความหิวโหยและ แรงผลักดันใหฉันในวันนี้ไดเปน “นักปรุงอักษร” ชั้นเลิศ มื้อตอไปจะเปนเวลาแหงการนำเสนอผลงาน ตัวอักษรพรอมถูก รอยเรียงเพื่อหลอเลี้ยงเหลาแขกผูมีเกียรติทุกทาน ฉันพรอมแลวสำหรับการผลิตอักษรในวันนี้! ... เข้ามาในหองที่เต็มไปดวยวัตถุดิบมากมายใหเลือกสรร มันเปน พื้นที่แหงการผลิตของฉัน จึงมักจะเปนพื้นที ่แห งการใช้เวลาจมจ ่อมที่ ยาวนานที่สุดเมื่อมีภารกิจของนักปรุงอักษร ฉันใครครวญมองดูชั้นวางตางๆ ทั้งเปดตูเย็นและตูเก็บของ หยิบ นั่นจับนี่ออกมาวางเรียงกันเพื่อไตรตรองทบทวนอีกครั้ง วาจะใช้อะไรปรุง แตงผลงานของฉันในวันนี้บาง


เมื่อฉันรอยเศษทรายใหกลายเปนแก้ว | 33 เครื่องมือสำคัญที่สุดคือปากกาวิเศษอันเปนสิ่งที่จะสรางเหลาอักษร แหงจินตนาการใหออกมามีตัวตน ฉันตรงไปหยิบมันขึ้นมา—เจ้าเพื่อนยาก ของฉัน หยิบหมึกที่เตรียมไวใสบรรจุลงไป ผลึกจากงานจานเก่าก็เปนตัวเลือก ที่ดีหยิบนั่นจับโนน จานกระดาษสีซีดพรอมถูกเติมเต็มโดยเหล าอักขระ วิเศษแลว ขีดเขียนดั่งรายรำ น้ำหมึกก ่อรางสรางเปนเรื่องราวใหโลดแลนใน จินตนาการ ภาพความฝนเริ่มเดนชัดสูสายตา ประกายสีสันเจิดจ้าลองลอย เต็มไปทั่วหองสี่เหลี่ยมแหงการสราง หัวใจเทากำปนเริงรายินดีฉันตวัดขีด เขียนมันดวยความตื่นเตนและคาดหวัง รอคอยใหเรื่องเลาของฉันประจักษสู สายตาเหลาแขกเหรื่อ มีช ่วงเวลาที่ฉันไมแนใจบาง บางครั้งก็หยิบจับวัตถุดิบใสลงไปผิด สูตรโดยไมรูตัว บางครั้งฉันเองก็อยากจะสรางสูตรปรุงอักษรเปนของตนเอง อำนาจแหงการตัดสินรสชาติเหลานั้นไมไดขึ้นอยูกับฉัน กระนั้น ฉันเองก็เรียนรูการลองผิดลองถูกจากมันไดแมอาจจะ ออกมาไมอรอย ฉันก็คิดเพียงวาจะไดยอนกลับมาแก้ตัวใหมอีกครั้งเมื่อถึง เวลาครั้งตอไป จานกระดาษกำลังตอเติมดวยเหลาอักษร ซ้อนเรียงกันหลายหนา จนฉันคิดวาพอแลวสำหรับแขกที่จะมาเยี่ยมเยียนในวันนี้ฉันลองชิมมันไป บาง เสนสีและตัวอักษรทั้งหลายออกมาเริงระบำบนอากาศ ฉันเฝามองพวก เขาผ านสายตาของผูสราง ซ่อมแซมแก้ไขความผิดพลาดเมื่อพบเข้า หมาย มาดเอาไวว านี ่จะเปนผลงานยอดเยี ่ยมที่สรางความสุขใหใครต อใครได อิ่มเอม ...


34 | นักเรียนเขียนเรื่อง ณ พื้นที่จัดแสดงผลงาน ฉันกำหนดเวลาเอาไวแลว ทำการจัดเรียง เรื่องราวที่ไดตระเตรียมเอาไวเสร็จสรรพ จานกระดาษที่รอยเรียงไปดวย ตัวหนังสือของฉันกำลังสองแสงเปลงประกาย รอคอยที่จะไดบรรเลงสราง สีสันใหพื้นที่จัดแสดงแหงนี้ ติ๊ง! เสียงสัญญาณบอกความพรอมของการรับชมผลงานจานพิเศษของ ฉันไดเริ่มขึ้นแลว เหลาผูคนที่สัญจรไปมาคงจะเห็นและไดยินสัญญาณจาก หนาบานซึ่งไดเปดประตูพรอมตอนรับแลว ทันทีที่พวกเขาก้าวเข้ามาก็จะถูก นับเปนแขกผูมีเกียรติของฉันทันทีฉันรอคอยดวยใบหนาเปอนยิ้มยินดีกอด ปากกาวิเศษเพื่อนยากของฉันไวกับตัวดวยความหวงแหน ผูคนเริ่มทยอยเข้ามา ในช่วงแรกยังมีเพียงหยิบมือ กระนั้นเอง งาน เฉลิมฉลองแห งตัวอักษรและพื้นที ่สรรค์สรางเรื่องเลาก็ดำเนินขึ้นอยาง ครื้นเครงตามความปรารถนาของผูเสพ ฉันมองเห็นความปติของแขกที่มา เยี่ยมเยือน พวกเขาสวนใหญตางอิ่มหนำสำราญไปกับอักษรปรุงแตงของฉัน บางคนเดินตรงเข้ามาหาฉันพรอมใหคำแนะนำสำหรับการผลิตครั้ง ตอไป บางคนเดินเข้าหาฉันเพื่อกลาวชื่นชมผลงานครั้งนี้ “นี่มันยอดเยี่ยมไปเลย รอจานตอไปของคุณนะ!” ฉันยิ้มรับดวยความเต็มใจ เก็บทุกความคิดเห็นของพวกเขาเอาไว บางอยางสามารถแปลงเปนวัตถุดิบใหม ไดเสียดวยซ้ำ หมายมาดว าครั้ง ตอไปเหลาอักษรของฉันจะเลิศรสขึ้นไปอีกตามที่พวกเขาคาดหวัง ไมนาน หองรับแขกแหงนี้ก็เนืองแนนไปดวยเหลาผูคนหนาใหมที่คง ไดรับการบอกตอกันถึงผลงานของฉัน


เมื่อฉันรอยเศษทรายใหกลายเปนแก้ว | 35 รอยยิ้มของฉันกวางขึ้น อกและหลังยืดตรงดวยความภาคภูมิใจ กำลังใจจากพวกเขาสงตอมาถึงฉัน เหลานักเสพไดรับการหลอเลี้ยงดวย ผลงานแหงตัวอักษร ในขณะเดียวกัน นักปรุงอักษรก็ไดรับการหลอเลี้ยงดวย เสียงตอบรับจากแขกนักอานอักษร ระหวางที่กำลังยืนกระหยิ่มยิ้มระรื่น ใครบางคนก็พุงตรงเข้ามาหา ฉัน เขาเปนหนึ่งในแขกที่กรูกันเข้ามา กระนั้นบนดวงหนากลับไมมีความปติ ยินดีหรืออิ่มเอมใจเช ่นคนอื่น กลับกัน เขามีใบหนาถมึงทึง มุงราย ราวกับ หมายมาดวาพรอมจะทำลายสิ่งใดก็ตามที่อยูตรงหนา และตอนนี้ที่อยูตรงหนาเขาก็คือตัวฉัน “งานของคุณนี่มันขยะดีๆ นี่เอง!” เขาตะโกนก้อง ใบหนาฉันซีดเผือด เหลือบมองเลยผานหลังของเขา ไป ที่ซึ่งเงาสีดำจากตัวเขากำลังขยายขึ้นจนใหญคับหอง ... ทันใดนั้น ฉันไดยินเสียงตะกุกตะกักดังขึ้นจากหลังบาน ที่จริงแลว ที่นี่ยังมีอีกหองหนึ่ง หองที่ซ่อนตัวอยูในซอกหลืบที่มืดดำที่สุดของบาน ไมมี ใครรูจักที่นี่ แตฉันรูจักดี ที่นี่คือหองปดซะหนา—หองลับที่ฉันไมอยากรับ ฉันอำพรางและผนึกหองนี้ไวอยางแนนหนาดวยมนตรที่ชื่อวา มิอยากรับ มิอยากรูและซ่อนสิ่งหนึ่งไวในหองนี้…สิ่งที่ตื่นขึ้นทุกครั้งพรอม เสียงของบรรดาแขก สิ่งที่ไลลาฉันซ้ำแลวซ้ำเลา สิ่งที่ฉันไมไดเพียงตองการ ซ่อนเรนใหพนสายตาของแขกเหรื่อ แตเพื่อใหพนจากสายตาของฉันเอง


36 | นักเรียนเขียนเรื่อง ฉันไดยินเสียงคำรามดังก้อง ฉันไดยินเสียงผนังบานสั่นสะเทือน ประตูเริ่มพัง มนตรของฉันในที่สุดก็ไมสามารถตานทานได แลวมันก็ออกมา—สัตวประหลาดที่หิวกระหายทุกความรูสึกภาคภูมิใจ ของฉัน—สายตาของมันช่างเหมือนกับสายตาของฉัน เสียงของมันก็เหมือน เสียงของฉัน เพียงแตมันอาฆาตมาดรายเสียจนฉันไมอาจทานทน เมื่อนานมาแลว มันช ่างง่ายดายที่จะกำราบสัตวประหลาดตนนี้ให หลับใหลไมออกมาก่อกวน เพียงแค่ฉันหยิบปากกาวิเศษที่สวรรค์ประทาน ใหออกมา แลวรอยเรียงอักขระนานาไปบนอากาศ ตัวอักษรเหลานั้นก็ราย ระบำรอบตัวฉัน เรืองแสงสวางทรงพลัง ฉันเองก็รูสึกทรงพลัง ถอยความที่ ฉันสรรค์สรางช ่างแข็งแกรง เมื่อนานมาแลว ใครๆ ก็มักพูดเช่นนั้น มันทำ หนาที่เปนเกราะ—เกราะที่สะทอนพลังรายกลับไปสูสัตวประหลาด จนมัน กลายเปนอากาศธาตุในสายตาฉัน จนมันไมอาจทำอะไรฉันได—แตนับวัน รางของมันยิ่งใหญขึ้นเรื่อยๆ ในขณะที่ฉันกลับตัวเล็กลีบลงทุกทีๆ และอนิจจา ฉันรูสึกวาอักษรของฉันยิ่งเปราะบางลงทุกทีๆ ราวกับ ของขวัญจากสวรรค์มันเปนเรื่องลวง “อักษรเจ้าไมไดวิเศษ เจ้าไมรูรึ” สัตวประหลาดแสยะยิ้มราวกับรูทัน ทุกความคิดของฉัน มันสาดน้ำลายนาขยะแขยงของมันใสฉัน เสียงของมัน ทำใหฉันถอยรน เทาที่เริ่มจะไมมั่นคงของฉันสะดุดลม เจ้าสัตวประหลาดยิ่ง ไดใจ “ลมอีกแลวรึรูใช่ไหมวาเจ้าลมเมื่อไร มีฝาเทานับรอยรอเหยียบเจ้า อยูนะ” มันยางกรายเข้ามาใกลฉันเรื่อยๆ น้ำลายข้นเหนียวหนืดเปอนไปทั่ว หอง มือยาวของมันพุงมาฉกปากกาไปจากมือฉัน ก่อนจะทำลายมันจนสิ้น มันมองซากปากกา ก่อนจะมองฉันอยางเยาะเยย “เจ้ามันไมใช่คน เก่ง ก็เปนแค่ของเส็งเคร็งไมตางกัน” ...


เมื่อฉันรอยเศษทรายใหกลายเปนแก้ว | 37 ทันใดนั้น มือของมันก็เปลี่ยนเปาหมายมาเปนตัวฉัน พยายามจะ บดขยี้ตัวตนฉันใหสิ้นซาก ฉันวิ่งหนีเพราะนั่นเปนสิ่งเดียวที่ฉันนึกออก และ ใจของฉันรูดีวาจะตองมุงไปที่ใด หองน้ำ นั่นละที่หมายของฉัน—ที่ที่เหม็นอับดวยกลิ่นความสับสน เปยก ปอนไปดวยหยาดเหงื่อความอ อนลาที่มองไมเห็น แตก็พนจากสายตาของ ทุกคนที่จับจ้อง—ฉันมาซ่อนตัวซ่อนตนที ่นี่ทุกครั้งที่เหลาแขกยกโขยงมา เยี่ยมเยือน หรือทุกครั้งที่สัตวประหลาดนั้นออกอาละวาด แมจะเปนที่ที่ทำ ใหฉันเริ่มจะขาดอากาศแหงความมั่นใจ แตก็เปนที่ที่ทำใหฉันไดถายไดเท ฉันปลอยใหตัวเองเปลาเปลือยและปวกเปยก นั่งกอดเข่าคุดคู้อยูใน อาง ฉันปดความคิดแลวเปดฝกบัว ปลอยใหไฟในตัวฉันค่อยๆ ดับมอดไป กับสายน้ำที่ไหลไปไมตางจากเวลา—ไฟที่ฉันเคยคิดไปเองวาจะไมมีวันดับ เหมือนปากกาวิเศษที่จะไมมีวันสูญ—ตุกตาเปดยางตัวจิ๋วเมื่อสมัยยังเด็ก บัดนี้มีสีเหลืองคล้ำ ลอยไปลอยมาบนผิวน้ำอยางสิ้นไรซึ่งจิตวิญญาณ ฉัน เอื้อมมือไปจิ้มมัน แลวก็นึกถึงตัวเองขึ้นมา เปนเปดไมพอ ยังปลอมแถมตัวกะเปยกอีก ฉันยิ้มแหง นั่งเขี่ยเปดไปมา เขี่ยไปเขี่ยมา เขี่ยไปเขี่ยมา พลางฟง เสียงน้ำจากก๊อกหยดติ๋งๆ ไปอยางไมมีจุดหมาย เห็นทีฉันคงจะเปนแค่ นักเขี่ย ไมใช่นักเขียนอะไรอยางที่คิดจริงๆ สินะ ฉันนั่งใหเวลาฆ่าฉัน นั่งวนอยูในอางครั้งแลวครั้งเลา ไมตางจากเจ้า เปดจิ๋วตัวนั้นที่ลอยวนอยูในน้ำอยางทุลักทุเล ฉันวนอยูในอางเช่นนั้น จนไม รูจะวนไปที่ใดอีก ฉันฆ่าเวลาและเวลาก็ฆ่าฉัน ฆ่าช้าๆ จนฉันเกิดใหมอีกครั้ง


38 | นักเรียนเขียนเรื่อง ฉันลุกไปที่อางลางหนา ยืนขึ้นสบตากับเงาตัวเองในกระจกนิ่งนาน คำถามบางคำผุดพรายขึ้นมา นักเขียนที่เขียนไมไดยังเปนนักเขียนอยูไหม แลวนักเขียนที่เขียนไมดียังเปนนักเขียนอยูเหรอ ฉันยืนนิ่ง ก่อนจะเปดก๊อก อางลางหนา ฉันวักน้ำลางหนา น้ำเย็นๆ ค่อยๆ ลางคำพูดของแขก (ไมไดรับ เชิญ) ที่ฝงลึกในใจฉันเสียยิ่งกวาคราบที่ฝงลึกในโถชักโครก ฉันค่อยๆ ชำระ ลางน้ำลายยืดยาวของสัตวประหลาดที่เปรอะเปอนไปทั่วจิตใจ จากนั้นลืม ตาขึ้นอีกครั้ง มองจ้องภาพตัวเองในกระจก กระจกนั่นทั้งบานเล็ก แตกราว เลอะฝุนเขรอะ แต กระจกก็ยัง สะทอนไดเสมอ ถาเช่นนั้น ฉันก็คงไมตางกัน ที่สำคัญ เจ้าเปดเหลืองคล้ำ ตัวนั้นก็ไมเห็นจะจมน้ำสักที มือที่เพิ่งฟนจากความเหนื่อยออนของฉันหยิบเสื้อผาขึ้นมาสวมใส อีกครั้ง ก่อนจะเปดประตูออกไปอีกครา ... ฉันทิ้งหองนอน หองรับแขก หองครัว หองลับ และหองน้ำไว เบื้องหลัง ปลายเทาของฉันก้าวไปบนกระเบื้องเย็นวาบของลานโลงที่ไรผนัง กำแพง อยางเชื่องช้าแตหนักแนน นานแลวที่ไมไดมาที่นี่ ตอนนี้ฉันอยูบนระเบียง หลายครั้งฉันหลงลืมไปแลวว าที ่นี ่เปนส วนหนึ ่งของบานหลังนี้ เพราะฉันมัวแตวิ ่งวุ นจากหองนั้นไปหองนี้ไมเคยไดหยุดนิ ่ง ไม เคยได วางเวน แตที่นี่ช่างตางออกไป ที่นี่ไมมีอะไรเลย นอกเสียจากสายลมแหง ความสงบที่พัดมาปะทะสมอง นอกเสียจากความวางเปลาที่ทำหนาที่เสมือน


เมื่อฉันรอยเศษทรายใหกลายเปนแก้ว | 39 ประตูเปดรับสรรพสิ่ง ฉันเห็นทองฟาที่เปลี่ยนสีสันไปเรื่อยๆ เห็นเพื่อนบาน ที่สนทนากันเรื่องนั้นเรื่องนี้และไดยินเสียงหายใจของฉันเอง ฉันมองลงไป ยังดานลาง เห็นดอกไมแหงความคิดหลากสีสันที่ฉันทดลองปลูกไวอยูใน สวน บางก็ออกดอกสะพรั่ง บางแคระแกร็น บางถูกคนข้างบานสาปแช่งให เหี่ยวตายไวๆ ทุกวี่ทุกวัน แตอยางไรเสีย มันก็ลวนยังมีชีวิต ฉันไมมีปากกาวิเศษแลว หรือฉันอาจไมมีตั้งแตแรก แตนั่นสำคัญ เพียงใดกัน ฉันก็คงเหมือนระเบียงนี่ ไมมีอะไรเลย แตนั่นละที่ทำใหฉันเห็น ทุกสิ่ง ทำใหฉันไดยินทุกอยาง—นั่นละพลัง ข้ารับแลว ข้ารูแลว ฉันตัดสินใจทองมนตรกับตนเองอยางแผวเบา เพื่อเปดผนึกหองลับในบานหองนั้นที่ฉันเคยซุกซ่อน ฉันอาจเปนแค่ของ เส็งเคร็งดังวา แตนาประหลาดที่ฉันกลับรูสึกแข็งแกรงดังเช่นเมื่อครั้งเก่า และนาประหลาดที่เสียงรองก้องของสัตวประหลาดนั่นก็พลันหายสิ้นไปดวย ในความเงียบงันนั้น บางอยางถักทอก่อตัวขึ้นในมือฉันอีกครั้ง— ปากกา ปากกาที่ไมไดวิเศษ ฉันยิ้มใหกับตัวเองเล็กๆ ก่อนจะเริงระบำอีกครั้งและขีดเขียนไปบน กำแพงบาน บนใบไมและบนอากาศ วิเศษไมวิเศษ ก็เขียนบนกระดาษแผ นเดียวกัน และกระดาษแผน นั้นคือโลกใบนี้.


40 | นักเรียนเขียนเรื่อง “ฉันไมมีปากกาวิเศษแลว หรือฉันอาจไมมีตั้งแตแรก แตนั่นสำคัญเพียงใดกัน ฉันก็คงเหมือนระเบียงนี่ ไมมีอะไรเลย แตนั่นละที่ทำใหฉันเห็นทุกสิ่ง ทำใหฉันไดยินทุกอยาง —นั่นละพลัง” “นักปรุงอักษรกับบานแหงการรังสรรค์” ของ Whalien54 และ ทรายสี


เมื่อฉันรอยเศษทรายใหกลายเปนแก้ว | 41 กวาจะเปน นักปรุงอักษรกับบ้านแห่งการรังสรรค์ ตอนสรางงาน เรามีไอเดียเรื่อง “พื้นที่” และตองการขยายไอเดียนี้ ใหเปนรูปธรรมและนำมาใช้บอกเลาสิ่งนามธรรม ซึ่งก็คือความรูสึกนึกคิดซึ่ง เปนประสบการณรวมของเหลานักเขียน เราหยิบเบื้องหลังกระบวนการเขียน มาเลา เพื่อใหเห็นนักเขียนในมุมที่ไมไดสำเร็จหรือสมบูรณแบบเสมอ โดยใช้ ภาพของบานและหอง เพราะบานมีทั้งพื้นที่และกรอบ มีทั้งความเปน สวนตัวและการอยูรวมกับคนอื่น เช่นเดียวกับการเขียน เราเลือกใช้เสียงเลา แบบนิทาน เพื่อชวนใหคนอานไดเพลิดเพลินไปกับการตีความ ดวยหวังวา นิทานเรื่องนี้จะทำใหคนอ านมองเห็น “กิจวัตรทางความรูสึกของนักเขียน” อยางเราๆ และเห็นวาความขรุขระบนเสนทางการเขียนเปนเรื่องธรรมดา ขอใหงานชิ้นนี้เปนเพื่อนของทุกคนที่กำลังเรียนรูวิธีการทำงาน สรางสรรค์ผานการลงมือทำ ขอใหเราสามารถรับมือกับเสียงสะทอนกลับ หลังการสรางงานไปดวยกันค่ะ Whalien54 สนใจภาษา วรรณกรรม การเขียน ศิลปะ ดนตรีประวัติศาสตร การเตนรำ และทวิตเตอร ทรายสี สนใจงานเขียน งานศิลป ความสัมพันธระหวางโลกภายนอก และโลกภายใน


42 | นักเรียนเขียนเรื่อง


เมื่อฉันรอยเศษทรายใหกลายเปนแก้ว | 43 ถึง พระเจ้า, ดอกดิน ถึง พระเจ้า, นี่ผมคิดมากเกินไปหรือเปลา โลกนี้เริ่มอยูยากเกินไปแลวหรือเปลานะ ใครบางคนเคยบอกกับผมวา “ชีวิตเปนเรื่องของทิศทางไมใช่ความเร็ว” หากชีวิตเปนเช่นนี้แลวผมจะรูไดอยางไรวาผมมาถูกทาง ขนาดบางครั้งผม คิดมาอยางดีแลว แตกลับผิดทางเสียไดพระองค์เล นตลกกับผมหรือ บางครั้งกวาสัญญาณข้างทางจะบอกเปนนัยใหผมนึกสงสัยวาคงจะมาผิด ทาง มันก็เกือบจะถึงจุดหมายอยูแลวในอีกไมกี่เอื้อมมือ จนผมไมอาจฝนใจ กลับหลังหัน แลวทิ้งระยะทางหลายรอยกิโลใหสูญเปลาเพื่อกลับไปเริ่มตน ใหม แตจะใหไปตอเพื่อเจอกับผลลัพธที่ไมพึงพอใจแนๆ นั้น ก็ดูไมใช่ทางที่ดี สักเทาไหร ในช่วงสองถึงสามเดือนที่ผานมา ผมเจอเหตุการณแนวนี้มานับ ครั้งไมถวน เช่นในช ่วงที่ผมตองเขียนเรื่องสั้นเพื่อสงเปนงานเก็บคะแนน ก่อนจะเขียน ผมตั้งธง คียเวิรด ใจความสำคัญที่อยากสื่อสารผานเรื่องเลา เรื่องนี้เอาไวจากนั้นจึงเริ่มรางโครงเรื่อง วางแผนนูน นี่ นั่น สารพัดสิ่ง เพื่อ ใหรัดกุม ครอบคลุม และสบายตอตัวเองตอนลงมือเขียนจริงมากที่สุด พอ ถึงช ่วงกิจกรรมแลกเปลี่ยนไอเดียในคาบ ผมก็นำสิ่งเหลานี้ไปเสนอ แตพอ พูดไป ใจก็กลับรูสึกขัดแยงในตัวเอง…ผมไมชอบไอเดียนี้เลย ผมเขียนไมได


44 | นักเรียนเขียนเรื่อง แนๆ…ถึงจะไมชอบก็เถอะ สุดทายผมก็ยังไมไดโยนไอเดียนี้ทิ้ง ยังคงเก็บ เอาไวจนกระทั่งไมกี่ชั่วโมงก่อนการนำเสนอโครงเรื่องใหวิทยากรพี่เลี้ยง ประจำกลุม (mentor) ฟง ผมก็ตัดสินใจโละทุกอย างทิ้ง ผมเลือกจะกลับ หลังหันแลวทิ้งระยะทางทั้งหมดที ่ไดเดินมา แตมันก็ไม ใช ่การยอนมาสู จุดเริ่มตนเสียทีเดียว ผมคิดวามันเปนเพียงการเปลี่ยนองศาในเข็มทิศที่จะมุง ไปเพียงเล็กนอยเทานั้น อยางไรก็ดีผมตัดสินใจไปตอโดยไมไดนึกหวั่นเกรง เลยวา ทางใหมที่เลือกเดินจะเปนทางที่ผิดอีกเช่นกัน เพราะผมมีความรูสึก ของตัวเองเปนเครื่องวัด ผมจึงเชื่อสนิทใจ วาผมเลือกถูกทางและผลลัพธที่ เกิดขึ้นก็ยืนยันเช่นนั้น ใช่วาผมจะยอมหันหลังใหกับทางที่ผิดเสมอไป ทุกวันนี้มีหลายเรื่อง ที่ผมไมยอมหันหลังกลับสักทีใช่วาผมไมรูตัวเองวาตองการอะไร อยากไดสิ่ง ไหน หรืออยากใหชีวิตเปนเช่นไร แตเหมือนแรงดึงดูดจากปลายทางนั้นมี กำลังแรงกวากำลังของอารมณความรูสึกภายใน ยิ่งฝนอยูเทาไหร ผมก็ยิ่ง ทรมานมากขึ้นเทานั้น ผมวอนขอพระองค์ใหช่วยดลบันดาล ช ่วยทำใหการ หันหลังกลับใหกับเรื่องเหลานี้ง่ายเหมือนกับตอนเขียนเรื่องสั้นไดหรือไม ผมไมไหวแลว ไดโปรด ชายผูหนึ่งที่กำลังหมดเรี่ยวแรง ----------------------------------------- หมายเหตุบรรณาธิการ 1. เรื ่องสั้นที่ผูเขียนกลาวถึงหมายถึง เรื ่องสั้น “กระซิบ” ของ ดอกดิน ต อมาไดตีพิมพในรวม เรื่องสั้นชุด วิกลวิกาล (2566) จัดพิมพและเผยแพรโดยภาควิชาภาษาไทย อักษรฯ จุฬาฯ ผูสนใจสามารถอานฟรีe-book ไดทางแอปพลิเคชัน Meb, CU-eBook Store และ TK Read 2. วิทยากรพี่เลี้ยงประจำกลุมที่กลาวถึงคือคุณศศิวิมล นทธีสุระเดชชะมงคล ซึ่งผูรับผิดชอบ รายวิชาศิลปะการเขียนรอยแก้ว ไดเรียนเชิญเปนวิทยากรอบรมเชิงปฏิบัติการในหัวข้อ “การ เขียนเรื่องสั้น” ซึ่งจัดขึ้นระหวางเดือนกุมภาพันธถึงมีนาคม 2565 โดยมีคุณจิดานันท เหลืองเพียรสมุท และ คุณอดิศร ไพรวัฒนานุพันธรวมเปนทีมวิทยากรพี่เลี้ยงดวย


เมื่อฉันรอยเศษทรายใหกลายเปนแก้ว | 45 ถึง พระเจ้า, ผมทวนถามตัวเองอยูทุกวี่วันวา คนเรามีคุณค่าดวยสิ่งใดกัน ไฉน เลย พระองค์จึงไมสรางใหเรามีคุณค่าในตัวเองโดยไมตองเปรียบกับสิ่งอื่นใด ยิ่งผมไดทองเที่ยวไปในโลกของคอนเทนตออนไลนและความเรียง ของนักเขียนชื่อดังทั้งหลายแลว ผมยิ่งพบวา แก ่นหลักของเรื่องราวเหลานี้ มักเกิดจากการผสมของสองสิ่งหรือหลายสิ่งเข้าดวยกัน ทั้งการยกตัวอยาง การเปรียบเทียบ และการเชื่อมโยง เพื่อใหคอนเทนตนาสนใจและแปลกใหม เพราะความแตกตางจะทำใหโดดเดนและดึงดูดสายตานักอ านไดดียิ่งกวา แตกลวิธีการเลาเรื่องแบบนี้กลับทำใหผมอยากยอนถามใครสักคน—อาจจะ เปนพระองค์ก็ได—วาหากไมมีการเปรียบเทียบแลว สิ่งนั้นจะไรค่าเลยหรือ ของสองสิ่งที่นำมาเปรียบเทียบกันนั้น เมื่ออยูโดดๆ แบบไมสัมพันธกับสิ่งใด และหากในบรรดาคอนเทนตเหลานั้นไมมีมาตรวัดคุณค่าตางๆ เข้ามาเกี่ยวข้อง สิ่งของทั้งหลายจะยังมีคุณค่าอยูหรือไม ไมใช่แค่เพราะกลวิธีของนักคิดคอนเทนตเหลานี้เทานั้นที่ชวนใหผม ตั้งคำถามกับคุณค่าของสรรพสิ ่ง แตดวยมาตราวัด คำเปรียบเปรย หรือ แมแตการวัดคุณค่าแบบทั่วไปของคนเรา เช่น เขาดีกวาเธอ เธอเก่งกวาเขา ก็ทำใหผมอดคิดไมไดวา หากผมจะลงมือเขียนอธิบายตัวเองในทุกแง่ทุกมุม โดยไมเปรียบเทียบและไมเชื ่อมโยงกับสิ่งอื ่นใด ผมจะยังสามารถทำได หรือไม แลวผูอ านจะเข้าใจภาพของผมไดตรงกับความเปนจริงหรือไม ในเมื ่อผมกำลังอธิบายโดยที ่ไมไดเชื ่อมโยงหรือเปรียบเทียบกับสิ่งที่เขา คุ้นเคยเพื่อใหเกิดความเข้าใจที่ตรงกันเลย สุดทายนี้ผมมีคำถามหนึ่งที่อยากไดคำตอบจากพระองค์อยางยิ่ง… หากเราจะเปนสิ่งหนึ ่งสิ่งใดไดก็ตอเมื่อเราคลายคลึงหรือเหมือนกับสิ่ง เหลานั้น เช่น เลือดเปนสีแดงไดก็ตอเมื่อสีของมันคลายกับสีแดง ใบไมจะ


46 | นักเรียนเขียนเรื่อง เปนใบไมไดก็ตอเมื่อมีรูปรางและลักษณะตางๆ ทั้งทางกายภาพและ ชีวภาพคลายใบไม…แลวถาผมไมเหมือนกับใคร สิ่งใด หรืออะไรเลย ผมจะ ยังมีคุณค่าหรือไมครับ ชายผูหนึ่งที่กำลังรูสึกหมดคุณค่า


เมื่อฉันรอยเศษทรายใหกลายเปนแก้ว | 47 ถึง พระเจ้า, ผมเขียนจดหมายฉบับนี้มาเพียงเพื่อบอกกลาวพระองค์วา ผมมี ความหวังที่จะมีความสุขแลวตั้งแตที่ผมเริ่มรูจักการเขียน ผมรูสึกตัวเบาหวิว เหมือนเศษเสี้ยวของความทุกข์กายและใจหลุดลอยไปกับตัวหนังสือ หลังจากนั้น ผมก็ไดเรียนรูวิธีปลดปลอยความคิดฟุงซ่านที่กำลังหนักหัวอยู ใหจางหายไป ก่อนจะเอนตัวลงหนุนหมอนในแตละวัน ตลอดเวลาที่ผานมา ผมเพียรแต “อาน” และ “คิด” อยูเสมอมา จนมาวันนี้ผมไดเจอกระบวนการสุดทายของการเรียนรูนั่นคือ “การเขียน” เพราะชีวิตของเราเรียนรูไมรูจบ หากจะวาไปจริงๆ แลว การเขียนก็ไมไดมี หนาที่แค่ช่วยจดและจำความรูของเราไวเหมือนที่ใครตอใครพร่ำสอน แตการ เขียนยังเปนการทิ้งความรูออกไปเสียบาง เพราะบางครั้ง การไดรูหรือเรียนรู บางสิ่งมักจะมาพรอมกับความหนักใจ ความคิดมาก และความกังวลได เช่นกัน แตพระองค์ครับ แมผมจะเขียนไปมากเทาไหร ทำไมถึงดูเหมือนยัง มีอะไรกดทับผมอยูตลอดเลย ถึงจะเบาลงแตก็ไมไดทำใหมันหายหนักสัก เทาไหร หรือแทจริงแลวปญหาไมไดอยูที่การรูจักเขียนหรือครับ หรือแทจริง แลวการแก้ปญหาที่ถูกตองไมใช่การเขียน แตเปนการไมอานและไมคิด หรือ แทจริงแลวปญหาไมไดอยูที่อื่นไกล แตอยูใกลเพียงช่องอก—หัวใจ—ของผมนี้ เอง ชายผูหนึ่งที่กำลังมีความหวัง.


48 | นักเรียนเขียนเรื่อง “ผมมีคำถามหนึ่งที่อยากไดคำตอบจากพระองค์อยางยิ่ง… หากเราจะเปนสิ่งหนึ่งสิ่งใดได ก็ตอเมื่อเราคลายคลึงหรือเหมือนกับสิ่งเหลานั้น... แลวถาผมไมเหมือนกับใคร สิ่งใด หรืออะไรเลย ผมจะยังมีคุณค่าหรือไมครับ” “ถึง พระเจ้า,” ของ ดอกดิน


Click to View FlipBook Version