The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chaimath2514, 2022-05-26 10:26:14

สังคมศึกษา

ส 32101

บันทกึ ข้อความ

สว่ นราชการ โรงเรียนพนมศึกษา วนั ท่ี 17 พฤษภาคม 2565
ท่ี พเิ ศษ/2565
เร่ือง ขออนุมัติใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้

เรยี น ผอู้ ำนวยการโรงเรียนพนมศึกษา
สิ่งทีแ่ นบมาดว้ ย แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาสงั คมศึกษา ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5

เนื่องด้วยข้าพเจ้านางสาวพัชราภรณ์ กลิ่นเกษร ตำแหน่ง ครู โรงเรียนพนมศึกษา ได้รับ
มอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่การสอนตามคำสั่งที่ 85/2565 เรื่องมอบหมายงานสอน ภาคเรียนท่ี 1
ปีการศึกษา 2565 ซึ่งทางกลุ่มบริหารงานวิชาการได้มอบหมายให้ครูทุกคน จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้
อย่างน้อยคนละ 1 รายวิชานั้น ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานสายการสอนประจำกลุม่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
ศาสนา และวฒั นธรรม ไดจ้ ดั ทำแผนการจดั การเรยี นรู้ ในรายวชิ าสังคมศกึ ษา ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 5

บัดนี้ ข้าพเจ้าได้ดำเนินการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้เป็นท่ีเรียบร้อยแล้ว จึงขออนุมัติใช้
แผนการจัดการเรียนรู้ดังกล่าว เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
ต่อไป

จึงเรยี นมาเพอ่ื โปรดพิจารณาอนมุ ตั ิ

ลงชอ่ื .........................................

(นางสาวพัชราภรณ์ กลน่ิ เกษร)

ครูผสู้ อน

ลงชือ่ ......................................... ลงช่ือ .........................................

(นายธีระศักด์ิ ยอดมณีย์) (นางสาวณฐั ญิ า คาโส)
หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม หัวหนา้ กลุม่ บรหิ ารงานวชิ าการ

ความคดิ เห็นผู้อำนวยการ

 อนมุ ัติ

 ไม่อนุมตั ิ .................................................................................................................. ...............

ลงชื่อ .........................................

(นางผกา สามารถ)
ผู้อำนวยการโรงเรียนพนมศกึ ษา

แผนการจดั การเรยี นรู้

รายวชิ า สงั คมศกึ ษา รหสั วิชา ส32101
ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 40 ช่ัวโมง/ภาคเรยี น
ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2565
จำนวน 1 หน่วยกิต

การกำหนดการใชแ้ ผนการจัดการเรยี นรู้
รายการตรวจสอบและกลัน่ กรอง การใชแ้ ผนการเรยี นรู้

ความคดิ เห็น ความคิดเหน็

……………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………..

ลงช่อื ................................................ ลงชอ่ื ................................................
(นายธีระศักดิ์ ยอดมณยี ์) (นางสาวณัฐญิ า คาโส)

หวั หนา้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา หัวหน้ากล่มุ บรหิ ารงานวิชาการ
และวฒั นธรรม

………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………..

ลงชอื่ ................................................
(นางผกา สามารถ)

ผู้อำนวยการโรงเรียนพนมศกึ ษา

คำนำ

แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาสังคมศึกษา (ส32101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่มนี้ได้จัดทำขึ้นเพื่อ
ใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมและ
กระบวนการเรียนรู้ สามารถสร้างองคค์ วามร้ไู ดด้ ว้ ยตนเอง ทงั้ เปน็ รายบคุ คลและรายกลมุ่ สร้างสถานการณ์
การเรยี นร้ทู งั้ ในห้องเรียนและนอกห้องเรยี น ทำให้นักเรียนสามารถเช่ือมโยงความรใู้ นกลุ่มสาระการเรียนรู้
อื่น ๆ ได้ในเชิงบูรณาการด้วยวิธีการที่หลากหลาย เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุป
ความรู้ด้วยตนเอง ทำให้นักเรียนได้รับการพัฒนาทั้งด้านความรู้ ด้านทักษะ/กระบวนการ และด้าน
คณุ ธรรม จริยธรรม และค่านยิ มท่ีดี นำไปสู่การอยู่ร่วมกันในสงั คมอย่างสันติสุข

การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาสังคมศึกษา (ส32101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่มนี้ได้
จัดทำตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 ซงึ่ ครอบคลุมสาระและมาตรฐานการ
เรียนรู้กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โดยได้นำเสนอแผนการจัดการเรียนรู้เป็นรายชั่วโมง
ตามหน่วยการเรียนรู้ และในแต่ละหน่วยการเรยี นรู้ยังมีการวัดและประเมินผลการเรยี นรูท้ ั้ง 3 ด้าน ได้แก่
ด้านความรู้ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ และด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ ม

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าสงั คมศกึ ษา (ส32101) ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 5 เลม่ น้ีได้ออกแบบการ
เรยี นรูด้ ้วยเทคนคิ และวธิ ีการสอนอยา่ งหลากหลาย เพือ่ การจดั การเรยี นรสู้ ำหรบั นักเรียนใหบ้ รรลุเป้าหมาย
ของหลกั สตู รต่อไป

นางสาวพัชราภรณ์ กล่ินเกษร
ผูจ้ ดั ทำ

สารบัญ

เรื่อง

คำนำ
สารบญั
คำอธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน
โครงสร้างรายวิชา
ตารางวิเคราะห์ผู้เรยี น
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 2
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 3
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 4
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 8
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 9
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 10
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 11
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 12
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 13
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 15
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 16
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 18
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 19
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 20
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 21
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 22
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 23

สารบัญ

เรอ่ื ง

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 24
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 25
ภาคผนวก

คำอธิบายรายวชิ า

รายวชิ าสงั คมศกึ ษา กลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 จำนวน 1 หนว่ ยกิต

รหสั วิชา ส32101 เวลา 40 ชั่วโมง

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ศึกษา วิเคราะห์ ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา หลักการของพระพุทธศาสนากับหลัก
วิทยาศาสตร์ การฝึกฝนและพัฒนาตนเอง การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพในพระพุทธศาสนา
พระพุทธเจ้าในฐานะเป็นมนุษย์ผู้ฝึกตนได้อย่างสูงสุดในการตรัสรู้ การก่อตั้ง วิธีการสอน และการเผยแผ่
พระพุทธศาสนา ประวตั ิพทุ ธสาวก พทุ ธสาวกิ า (พระอนรุ ุทธเถระ พระองคลุ ิมาลเถระ พระธัมมทินนาเถรี
จิตตคหบดี) ศาสนิกชนตัวอย่าง (สมเด็จพระนารายณ์มหาราช พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาสภิกขุ)
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปญั ญานันทภิกขุ)) ชาดก (มโหสถชาดก)

วิเคราะห์และปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา พระรัตนตรัย หลักธรรมในกรอบ

อริยสัจ 4 ประกอบด้วย ทุกข์ (ขันธ์ 5-โลกธรรม 8) สมุทัย (กรรมนิยาม-กรรม 12 มิจฉาวณิชชา 5) นิโรธ

(วิมุตติ 5) มรรค (อปริหานิยธรรม 7 ปาปณิกธรรม 3 ทิฏฐธัมมิกัตถสังวัตตนิกธรรม 4 โภคอาทิยะ 5

อรยิ วัฑฒิ 5 มงคล 38 (ถกู โลกธรรมจิตไม่หวั่น จิตไม่เศรา้ โศก จิตไม่มัวหมอง จิตเกษม) พุทธ

ศาสนสุภาษิต (คนขยันเอาการเอางาน กระทำเหมาะสม ย่อมหาทรัพย์ได้ เกิดเป็นคนควรจะพยายาม

จนกว่าจะประสบความสำเร็จ ความสันโดษเป็นทรัพย์อย่างยิ่ง การเป็นหนี้เป็นทุกข์ในโลก) การสังคายนา

พระไตรปิฎก ปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดีต่อสมาชิกในครอบครัวและสังคม ปฏิบัติตนตามศาสนพิธี

พิธีกรรมของพระพุทธศาสนา (พิธีบรรพชาอปุ สมบท บุญพธิ ี ทานพิธี กุศลพิธี) สวดมนต์แปลและแผ่เมตตา

และบริหารจิตและเจริญปัญญาภาวนาตามหลักสติปัฏฐาน การพัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคิดแบบแยกแยะ

ส่วนประกอบ วิธีคิดแบบวิภัชชวาท การสัมมนาและเสนอแนวทางในการธำรงรักษาพระพุทธศาสนา และ

ศาสนาที่ตนนับถือ อันส่งผลถึงการพัฒนาตน พัฒนาชาติ และโลก หลักธรรมทางศาสนาในการอยู่ร่วมกัน

อย่างสันติสุขโดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญ

สถานการณแ์ ละแกป้ ัญหา กระบวนการปฏบิ ตั ิ และกระบวนการกลุ่ม

เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิต นำไปแก้ปัญหาและพัฒนา
ตนเองและครอบครัว มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่
เรยี นรู้ มุ่งมน่ั ในการทำงาน รกั ความเปน็ ไทย มจี ติ สาธารณะ สามารถดำเนนิ ชวี ิตอยูร่ ่วมกันได้อยา่ งสันติสขุ

ตวั ชี้วดั ม.4-6/2 ม.4-6/6 ม.4-6/7 ม.4-6/8 ม.4-6/13
ส 1.1 ม.4-6/14 ม.4-6/15 ม.4-6/16 ม.4-6/19 ม.4-6/20
ม.4-6/21 ม.4-6/22
ส 1.2 ม.4-6/4 ม.4-6/5
ม.4-6/1 ม.4-6/2

รวม 16 ตวั ชี้วดั

โครงสร้างแผนการจัดการเรียนรู้

รายวชิ า สังคมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 5 เวลา 40 ช่ัวโมง
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565

ลำดับ ชือ่ หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั
ท่ี เรยี นรู/้ ตัวชวี้ ดั (ชว่ั โมง) คะแนน

1 ประวัตแิ ละความสำคญั ส 1.1 ม.4-6/6 พระพทุ ธศาสนามีลกั ษณะเป็นประชาธปิ ไตยใน 4
ของพระพุทธศาสนา ม.4-6/7 หมู่สงฆ์ หลักการของพระพุทธศาสนามที งั้ ความ
ม.4-6/8 สอดคล้องและความแตกต่างกับหลัก
วิทยาศาสตร์ โดยมีวธิ ีการคดิ สอดคลอ้ งกบั วิธี
คดิ แบบวทิ ยาศาสตร์ พระพุทธศาสนามี
ความสำคญั ตอ่ การฝึกฝนและพัฒนาตนเอง การ
พงึ่ ตนเอง และมุ่งอสิ รภาพ

2 พุทธประวตั ิ พระสาวก ศา ส 1.1 ม.4-6/2 พระพทุ ธเจ้าเปน็ มนษุ ย์ผฝู้ ึกตนไดอ้ ย่างสงู สดุ ใน 6

สนกิ ชนตวั อยา่ ง และ ม.4-6/14 การตรสั รู้ การกอ่ ตง้ั วิธีการสอนและการเผยแผ่

ชาดก พระพทุ ธศาสนา การศกึ ษาพุทธ-ประวัติ

ประวตั พิ ุทธสาวก พุทธสาวกิ า ศาสนิก

ชนตัวอย่าง ชาดก ย่อมทำให้ไดข้ อ้ คดิ เพ่อื

นำไปเป็นแบบอย่างในการดำเนนิ ชีวิต

3 หลักธรรมทาง ส 1.1 ม.4-6/13 หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนาในกรอบอรยิ สจั 10
พระพุทธศาสนา ม.4-6/16 4 เป็นหลักสำคญั ท่ผี ้ปู ฏิบตั ติ ามยอ่ มดำเนินชีวิต
ไปในทางที่ถูกต้อง สง่ ผลตอ่ การอยูร่ ว่ มกนั อย่าง
สนั ติสุขและการอยูร่ ว่ มกนั เป็นชาติอย่าง
สมานฉนั ท์

4 พระไตรปฎิ กและ ส 1.1 ม.4-6/13 การสังคายนาพระไตรปฎิ กมีคณุ คา่ และ 4
พุทธศาสนสุภาษิต ม.4-6/15 ความสำคญั ตอ่ พระพุทธศาสนา และการ
เผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา นอกจากนัน้ พุทธ-ศาสน
สุภาษติ ยงั มีขอ้ คิดซึง่ เปน็ คตเิ ตือนใจบุคคลให้
ปฏิบตั ิตนในทางทถี่ ูกตอ้ ง

5 หนา้ ที่ชาวพทุ ธและมารยาท ส 1.2 ม.4-6/1 ชาวพุทธที่ดีพึงศึกษาความเข้าใจในกิจและ 3

ชาวพุทธ บทบาทหน้าทขี่ องพระภกิ ษุ ปฏิบตั ิตนต่อ

พระภกิ ษอุ ย่างเหมาะสม เปน็ สมาชิกทด่ี ี ของ

ครอบครวั และสังคม ปฏิบตั ติ นตาม หลัก

ปฏสิ นั ถาร 2

ลำดบั ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก
ที่ เรียนรู/้ ตัวชีว้ ดั (ชว่ั โมง) คะแนน

6 วนั สำคญั ทาง ส 1.1 ม.4-6/20 พุทธศาสนิกชนทกุ คนพึงปฏิบัติตนตามหลักธรรม 4
พระพุทธศาสนา ส 1.2 ม.4-6/2 คติธรรม ที่เก่ยี วเน่ืองในวนั สำคญั ทาง
และศาสนพธิ ี พระพุทธศาสนา เขา้ ร่วมศาสนพิธี พธิ ีกรรม สวด
ม.4-6/4 มนต์อยา่ งถกู ตอ้ ง

7 การบริหารจติ และ ส 1.1 ม.4-6/19 การสวดมนตแ์ ปล แผเ่ มตตา การบริหารจติ ตาม 4
การเจรญิ ปัญญา
ม.4-6/20 หลักสตปิ ฏั ฐาน การเจรญิ ปัญญาดว้ ยการคดิ
แบบแยกแยะส่วนประกอบ การคดิ แบบวิภัช

ชวาท ยอ่ มทำให้การดำเนนิ ชวี ติ เปน็ ไปในทางท่ี

ถูกตอ้ ง

8 พระพุทธศาสนากบั การ ส 1.1 ม.4-6/22 พระพุทธศาสนามีหลักธรรมคำสอนที่มี 3
แกป้ ัญหาและการพฒั นา ส 1.2 ม.4-6/5 ความสำคัญต่อการนำไปใช้ในการแก้ปัญหา
และพัฒนาสังคม ซึ่งบุคคลควรมีส่วนร่วม
ในการธำรงรักษา ปกป้อง คุ้มครอง
พระพุทธศาสนา

9 หลกั ธรรมทางศาสนา ส 1.1 ม.4-6/21 หลักธรรมในการอยรู่ ่วมกันอยา่ งสนั ตสิ ุขของทกุ 2

ในการอยรู่ ว่ มกันอย่างสนั ติ ศาสนาน้นั มคี วามสอดคลอ้ งกัน ศาสนกิ -ชนทกุ

สุข คนพึงรว่ มมอื กนั และสนับสนุนใหผ้ ้อู นื่ เห็น

ความสำคญั ของการทำความดตี อ่ กัน

โรงเรยี นพนมศกึ ษา

ตารางวิเคราะหผ์ เู้ รยี นด้านผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน

วัตถุประสงค์ 1. เพือ่ นำไปออกแบบการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกบั ความสามารถของนกั เรียน

2. เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาผ้เู รียนด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น

กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวชิ า สงั คมศึกษา รหัสวิชา ส32101

ภาคเรยี นที่ 1/2565 ชื่อผู้สอน นางสาวพัชราภรณ์ กล่นิ เกษร

สรุปผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นพนื้ ฐานท่ีใช้ในการเรียนวิชานี้

ระดับคุณภาพของ GPA ของกลุ่ม จำนวนคน ร้อยละ
ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน

ปรบั ปรุง ต่ำกว่า 2.00 23 17.29

พอใช้ 2.00 – 2.50 30 22.56

ดี สงู กวา่ 2.50 80 60.15

แนวทางการจดั กจิ กรรม

ผลสมั ฤทธิ์ รอ้ ยละ กจิ กรรมแก้ไขหรือพัฒนา จำนวน เคร่อื งมอื /
ทางการ เดิม เปา้ หมาย ในแผนการเรียนรู้ วธิ ีการประเมนิ
เรยี น
60.15 80.00 1. กจิ กรรมการเรยี นการสอนดำเนนิ 1. แบบฝกึ หดั ทา้ ย
ดี เชน่ เดยี วกบั นกั เรยี นกลมุ่ อืน่ ๆ ในชั้น บท
เรียน 2. แบบบันทึกการ
พอใช้ 2. ใหน้ กั เรียนกลุ่มนเ้ี ป็นผดู้ ำเนินการ เก็บคะแนน
เฉลยแบบฝกึ หดั ตามสมควร 3. แบบบนั ทึกหลัง
ปรับปรงุ 3. ให้นกั เรียนกลุ่มนเี้ ปน็ ผ้ชู ว่ ยเหลอื การสอน
เพอ่ื นในเรยี น การทำแบบฝกึ ต่าง ๆ เป็น 4. แผนการจัดการ
ผอู้ ธบิ าย (ผู้ช่วยคร)ู สอนเพือ่ นกลมุ่ อ่อน เรยี นรู้
ทย่ี งั ไม่เข้าใจ 5. ช้นิ งาน
4. ใหแ้ บบฝึกพิเศษเพม่ิ เตมิ
5. ทำชิ้นงานเพ่มิ เตม่ิ 1. แบบฝกึ หดั ทา้ ย
บท
22.56 20 1. กิจกรรมการเรียนการสอนดำเนิน 2. แบบบันทกึ การ
เช่นเดียวกบั นกั เรยี นกลมุ่ อน่ื ๆในช้นั เกบ็ คะแนน
เรียน มกี ารทดลอง ใบงาน แบบฝกึ หัด 3. แบบบนั ทึกหลงั
2. ให้นักเรียนกลุ่มนจ้ี ับคู่ประกบตวั ตอ่ การสอน
ตัวกับนักเรยี นกลุม่ เกง่ 4. แผนการจัดการ
3. ใหน้ กั เรยี นศึกษาเพิ่มเตมิ จากสอื่ การ เรียนรู้
เรยี นร้ใู นสถานที่ตา่ งๆ 5. ชิน้ งาน
4. นักเรยี นกลุ่มเกง่ นำความรู้ทไี่ ดจ้ าก
การทำแบฝกึ หดั พเิ ศษเพม่ิ เตมิ มาสอน 1. แบบฝึกคู่ขนาน
ต่อนักเรียนทอี่ ยกู่ ลุ่มพอใช้ 2. แบบบันทกึ การ
เก็บคะแนน
17.29 0 1. กจิ กรรมการเรียนการสอนดำเนิน 3. แบบบันทกึ หลัง
เชน่ เดยี วกับนกั เรยี นกลมุ่ อื่น ๆ เพมิ่ เตมิ การสอน
แบบฝกึ คู่ขนาน 4. แผนการจัดการ
2. ให้นกั เรยี นกลมุ่ นจ้ี บั ค่ปู ระกบตวั ตอ่ เรยี นรู้
ตวั กบั นักเรยี นกล่มุ เก่งและปานกลาง 5. ช้ินงาน
3. จัดสอนซอ่ มเสรมิ ในเน้อื หาท่ีไมผ่ ่าน
เกณฑก์ ารประเมิน หรอื ยงั ไมเ่ ขา้ ใจแก่
นกั เรยี นกลมุ่ นี้

แบบวเิ คราะหน์ กั เรยี นเป็นรายบุคคล

เกยี่ วกับความถนัด / ความสนใจ รายวิชา สงั คมศึกษา ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 1

เลขที่ ชือ่ - สกุล ระดับความถนดั / ความสนใจ หมายเหตุ

1 นายชยุตรา สาคร 3 210
2 นายธนพฒั สารจิตต์
3 นายปริญญา นยุ้ ย่อง 
4 นายปุณณัตถ์ นรารักษ์ 
5 นายพงษ์นรนิ ทร์ กองกุล 
6 นายภูมิพฒั สมั พนั ธ์ 
7 นายภรู ิณัฐ รินเกล่อื น
8 นายสทุ ธิวงค์ ทพิ ยม์ าก 
9 นางสาวกชกร แก้วนพคุณ 
10 นางสาวกนกวรรณ ส้มเมือง
11 นางสาวกฤตยิ าวรรณ จันทรแ์ สงกลุ 
12 นางสาวกณั ฐกิ า ถาพร 
13 นางสาวเกตนส์ ริ ี ทิพย์เดช 
14 นางสาวเกศรา ศรทั ธาสุข 
15 นางสาวขวญั ติมา รักสที อง 
16 นางสาวชมพูนทุ ชัยธรรม 
17 นางสาวณัฏฐนนั ท์ ทรัพยเ์ รอื งเนตร 
18 นางสาวณัฐธิดา คงเดมิ
19 นางสาวทพิ วลั ย์ ปูจ่ ันทร์ 
20 นางสาวธดิ ารตั น์ พลลอื 
21 นางสาวบุษกร ทองจนั ทร์ 
22 นางสาวใบเงนิ ชว่ ยศรี 
23 นางสาวพิมพช์ นก กองแก้ว 
24 นางสาวภทั รตกิ า ขาวจิตต์ 
25 นางสาวรตริ ส รกั กะเปา 
26 นางสาวรมดิ า เรืองไชย 
27 นางสาวลดาวลั ย์ ชไู ทย 






28 นางสาววรษิ ฐา แสงจง 
29 นางสาววลั ย์ลกิ า ดำพนั ธ์ 
30 นางสาวศลษิ า มากแก้ว 
31 นางสาวสวรินทร์ รัตนพนั ธ์ 
32 นางสาวสายธาร จรรยท์ ัน 
33 นางสาวสภุ าวดี ศรนี ลิ 
34 นางสาวสุวคนธ์ สงเคราะห์ 
35 นางสาวโสรยา ฉิมฤทธิ์ 
36 นางสาวไอลดา วรรณศรี 
37 นายรฐั ภูมิ สขุ กรี 

หมายเหตุ ประเมนิ จากระดบั ผลการเรยี นรรู้ ายวชิ าสังคมศกึ ษา

ระดบั 3 มคี วามถนัด / ความสนใจมากทสี่ ดุ
ระดบั 2 มีความถนัด / ความสนใจมาก
ระดับ 1 มีความถนดั / ความสนใจน้อย
ระดบั 0 ไม่มคี วามถนัด / ความสนใจเลย

แบบวิเคราะหน์ กั เรยี นเป็นรายบุคคล

เกี่ยวกบั ความถนัด / ความสนใจ รายวชิ า สงั คมศึกษา ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 หอ้ ง 2

เลขท่ี ชอ่ื - สกุล ระดบั ความถนัด / ความสนใจ หมายเหตุ

1 นายก้องภพ อดุ มวงศศ์ ริ ิ 3 210
2 นายจลุ จักร ดารุณภกั ดี
3 นายชนาธปิ ฉตั รทอง 
4 นายชวัลกร นาคสวาท 
5 นายธนพัฒน์ สาเรศ
6 นายภูตะวัน ทองตำลึง 
7 นายภรู ณิ ฐั ชทู รพั ย์ 
8 นายภรู ทิ ตั เกดิ ชูกุล
9 นายภูรพิ ฒั น์ โภคัย 
10 นายเมธสั เวชพราหมณ์ 
11 นายศกั ดิ์สทิ ธิ์ วงศ์สวสั ดิ์
12 นายศักรินทร์ ชพู นม 
13 นายศิริวฒั น์ บุญชมุ 
14 นายสปิ ปกร จนิ ดาพล
15 นางสาวคุณญั ญา ทองชนะ 
16 นางสาวชญานษิ ฐ์ อินทอง 
17 นางสาวธิมาภรณ์ พพิ ิธเสมา 
18 นางสาวนชุ วรา วาดวงปราง 
19 นางสาวบษุ ราคมั คงวุธ 
20 นางสาวปณิดา ชาตวิ งษ์ 
21 นางสาวประภาภรณ์ แสนภมู ี 
22 นางสาวรัญชดิ า รกั โคตร 
23 นางสาววิภาวดี เหมือนใจ 
24 นางสาววลิ าวัณย์ สุวรรณคง 
25 นางสาวศธติ า ซุยจนิ า 
26 นางสาวศศิกาญจน์ อภโิ มทย์ 
27 นางสาวศศิภา ปั้นทอง 







28 นางสาวศภุ มาศ ราชสมบัติ 
29 นางสาวสริ ภิ ัทร จุ้ยทองคำ 
30 นางสาวสชุ านรี คงเดมิ 
31 นางสาวสธุ ติ า ดาศรี 
32 นางสาวสนุ ิษา ทองจาร
33 นางสาวอนสุ รา ฤกษ์อ่อน 
34 นางสาวอรสิ รา เวชวานชิ 
35 นางสาวอาทิมา ปรกึ ษาเหตุ 


หมายเหตุ ประเมินจากระดบั ผลการเรยี นรูร้ ายวิชาสังคมศกึ ษา
ระดบั 3 มคี วามถนดั / ความสนใจมากท่สี ดุ
ระดับ 2 มีความถนัด / ความสนใจมาก
ระดบั 1 มีความถนัด / ความสนใจน้อย
ระดับ 0 ไมม่ คี วามถนดั / ความสนใจเลย

แบบวิเคราะหน์ กั เรยี นเปน็ รายบุคคล

เกยี่ วกับความถนัด / ความสนใจ รายวชิ า สังคมศึกษา ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 5 หอ้ ง 3

เลขที่ ช่อื - สกลุ ระดบั ความถนัด / ความสนใจ หมายเหตุ

1 นายกฤษฎา คงเรอื ง 3 210
2 นายชลภัทร พูลเงนิ
3 นายดลุ ยว์ ตั น์ พัฒน์บุตร 
4 นายธีรพงศ์ ปาลคะเชนทร์ 
5 นายปรวทิ ย์ ศิรวิ ัฒน์ 
6 นายป้องรกั ษ์ ลมิ้ วิชติ 
7 นายพลธกร เสนาประชาราษฎร์ 
8 นายภาณวุ ัฒน์ สัมพนั ธ์ 
9 นายวรภทั ร วราชยั 
10 นายวริทธ์ิ มกุ ดา 
11 นายสบุ รรณ วฒุ พิ งศ์ 
12 นางสาวจนั ทกานต์ พนาลี 
13 นางสาวจิรวรรณ มมี าก 
14 นางสาวจริ ชั ญา รามวงศ์ 
15 นางสาวชนกนารี ขนั ทอง 
16 นางสาวฌชั ชฏาภา เจริญ 
17 นางสาวณฏั ฐณชิ า คนโอ 
18 นางสาวธญั สินี นฤมิตรพรสุข 
19 นางสาวธารทิพย์ เขยี วดำ 
20 นางสาวธิดารัตน์ ทองเนียม 
21 นางสาวเบญจรัตน์ บวั แก้ว 
22 นางสาวปวนั รตั น์ ชรู ักษ์ 
23 นางสาวพมิ พว์ ิภา ละออ 
24 นางสาวภาวณิ ี สขุ ขี 
25 นางสาวมนทิรา ศกั ดา 
26 นางสาวมาตกิ า รฐั แฉล้ม 



หมายเหตุ ประเมนิ จากระดับผลการเรยี นรู้รายวชิ าสงั คมศึกษา
ระดบั 3 มคี วามถนัด / ความสนใจมากท่สี ดุ
ระดบั 2 มคี วามถนดั / ความสนใจมาก
ระดับ 1 มคี วามถนดั / ความสนใจนอ้ ย
ระดับ 0 ไม่มีความถนัด / ความสนใจเลย

แบบวิเคราะห์นกั เรียนเปน็ รายบุคคล

เกี่ยวกบั ความถนัด / ความสนใจ รายวิชา สังคมศึกษา ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 หอ้ ง 4

เลขท่ี ช่ือ - สกลุ ระดับความถนัด / ความสนใจ หมายเหตุ

1 นายกรวทิ อกึ ทองจอม 3 210
2 นายกิตติภพ ปลอดภัย
3 นายจริ วฒั น์ บุญลึก 
4 นายโชคชัย ทองยวน 
5 นายณฐั ภัทร พลเยย่ี ม 
6 นายทนิ กร ชะบากาญจน์ 
7 นายแทนไท แสงทอง 
8 นายธรี พล ศรชนะ 
9 นายนรวิชญ์ วงแหวน 
10 นายปิยทศั น์ ปลอดทุกข์ 
11 นายภาณพุ งศ์ ชพู นม 
12 นายเมธีพฒั น์ สาคร 
13 นายศรัณยู พนิ เศษ 
14 นายศภุ กร รตั นละออ 
15 นายศุภชยั ทองสขุ 
16 นายศภุ ณัฐ จามจุรีย์ 
17 นายสุภวทั น์ ทพิ ย์เดช 
18 นายอัตถชยั วงศรี 
19 นางสาวกลั ยาณี บวรสุวรรณ์ 
20 นางสาวขจีพรรณ ศรพี ิทักษ์ 
21 นางสาวจนั ทร์จริ า เทยี มยม 
22 นางสาวจริ ชั ญา นาคสนั 
23 นางสาวชนาพร ทบั แก้ว 
24 นางสาวชลธชิ า หล่ยุ จวิ๋ 
25 นางสาวณัฐณชิ า แคล่วคล่อง 
26 นางสาวธญั ญลกั ษณ์ พรหมชาติ 
27 นางสาวนฤมล โอภาสะ 



28 นางสาวปรียาภรณ์ สขุ ขัง 
29 นางสาวปยิ มาส เย็นใจ 
30 นางสาวพรกนก แกน่ งูเหลอื ม 
31 นางสาวพรธิตา หนบู ญุ 
32 นางสาวพรรณนพิ า วชิ ติ ชู 
33 นางสาวลลติ ภัทร กนั คง 
34 นางสาวสิริกร คงไล่ 
35 นางสาวสุนนั ทา หลวงปลอด 

หมายเหตุ ประเมนิ จากระดบั ผลการเรยี นรูร้ ายวชิ าสังคมศึกษา
ระดับ 3 มีความถนัด / ความสนใจมากท่สี ดุ
ระดับ 2 มีความถนัด / ความสนใจมาก
ระดับ 1 มีความถนัด / ความสนใจนอ้ ย
ระดบั 0 ไมม่ คี วามถนดั / ความสนใจเลย

การวดั ผลและประเมนิ ผล

การวดั ผลการเรยี นรู้

1. การวัดผลระหวา่ งเรยี น 50 คะแนน
2. การวดั ผลกลางภาคเรยี น 20 คะแนน
3. การวดั ผลปลายภาคเรยี น 30 คะแนน
4. รวมการวัดผลตลอดภาคเรียน 100 คะแนน

การประเมินผลการเรยี นรู้

เกณฑ์การตดั สินผลการประเมนิ ผล การเรยี นรู้กลมุ่ สาระการเรียนรู้

ระดบั ผลการเรยี น ความหมาย ชว่ งคะแนนเปน็ ร้อยละ
4 ดเี ยย่ี ม 80 – 100
3.5 ดมี าก 75 – 79
3 ดี 70 – 74
2.5 คอ่ นข้างดี 65 – 69
2 น่าพอใช้ 60 – 64
1.5 พอใช้ 55 – 59
1 ผา่ น 50 – 54
0 0 – 49
ตำ่ กวา่ เกณฑ์

การประเมินการอา่ น คดิ วเิ คราะห์และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงคน์ น้ั ใหร้ ะดับผล
การประเมนิ เปน็ ดีเยี่ยม ดี และผ่าน

ดเี ยย่ี ม หมายถึง มผี ลงานทแ่ี สดงถึงความสามารถในการอา่ น คดิ วเิ คราะห์และ เขียนที่มี
ดี หมายถึง คุณภาพดเี ลิศอยู่เสมอ
ผ่าน หมายถงึ
ไม่ผา่ น หมายถึง มผี ลงานท่แี สดงถึงความสามารถในการอ่าน คดิ วิเคราะห์และเขยี นท่ีมี
คณุ ภาพเป็นทย่ี อมรับ

มผี ลงานทแ่ี สดงถึงความสามารถในการอา่ น คดิ วเิ คราะห์และเขียนท่ีมี
คุณภาพเปน็ ท่ยี อมรบั แต่ยงั มีข้อบกพร่องบาง ประการ

ไมม่ ีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอา่ น คดิ วิเคราะหแ์ ละเขียน
หรอื ถ้ามีผลงาน ผลงานนัน้ ยังมขี ้อบกพรอ่ งทต่ี ้องได้รบั การปรบั ปรุง
แก้ไขหลายประการ

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1

กลมุ่ สาระการเรียนร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 5
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 เรือ่ ง ประวตั แิ ละความสำคัญของพระพทุ ธศาสนา เวลา 4 ชวั่ โมง
เร่ือง ลกั ษณะประชาธปิ ไตยในพระพทุ ธศาสนา
ครผู สู้ อนช่อื นางสาวพัชราภรณ์ กลิ่นเกษร เวลาทใ่ี ช้สอน 1 ช่ัวโมง
โรงเรียนพนมศึกษา

............................................................................................................................. .................................................

สาระสำคัญ
พระพุทธศาสนามีลกั ษณะประชาธปิ ไตย สามารถวิเคราะห์ไดจ้ ากกิจกรรมและพิธกี รรมต่างๆ

ในหมู่สงฆ์

มาตรฐานการเรยี นรู้
ส 1.1 รู้ และเขา้ ใจประวัติ ความสำคญั ศาสดา หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาทตี่ นนบั ถือ

และศาสนาอน่ื มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยดึ มน่ั และปฏบิ ัติตามหลกั ธรรม เพ่อื อยู่รว่ มกนั อย่างสนั ตสิ ุข

ตัวชี้วัด ม.4-6/6 วิเคราะหล์ กั ษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา หรอื แนวคิดของศาสนาทต่ี นนับ
ถือตามทก่ี ำหนด

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธิบายประวตั ิ และความสำคญั ของพระพทุ ธศาสนา (K)
2. วิเคราะห์ลักษณะของประชาธปิ ไตยตามหลักศาสนาที่ตนนับถอื (P)
3. เหน็ ความสำคญั ในการศึกษาข้อมูลทางพระพทุ ธศาสนา ทส่ี ามารถนำไปใชป้ ระโยชน์ในการดำเนิน

ชีวติ ประจำวนั ได้ (A)

สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคดิ
1) ทักษะการคิดวิเคราะห์
- ทักษะการใหเ้ หตุผล
- ทักษะการตคี วาม

2) ทกั ษะการคิดสังเคราะห์

3) ทกั ษะกระบวนการคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ
- ทักษะการรวบรวมขอ้ มูล
- ทักษะการเชือ่ มโยง
- ทกั ษะการสรุปลงความเหน็

3. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต
1) กระบวนการปฏบิ ตั ิ
2) กระบวนการทำงานกล่มุ

คุณลักษณะอนั พึงประสงค์
1. มีวินัย
- ปฏบิ ัติตามขอ้ ตกลง กฎระเบยี บ กตกิ าทีต่ กลงกนั ในห้องเรยี น

2. ใฝ่เรยี นรู้
- ผ้เู รียนตั้งใจเรียน เพียรพยายาม ในการเรียนรู้

3. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน
- ตั้งใจและพยายามทำงานที่ได้รับมอบหมาย

สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ลักษณะประชาธปิ ไตยในพระพุทธศาสนา

ชิน้ งานหรอื ภาระงาน
ใบงานท่ี 1 เรื่อง ลกั ษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา

ขน้ั ตอนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
ขนั้ นำเขา้ ส่บู ทเรยี น
1. ครูถามคำถามเพื่อกระตนุ้ ความคดิ นกั เรียน สังคมของชาวพุทธมลี ักษณะเปน็ สังคมประชาธิปไตย

อย่างไรบ้าง จงยกตวั อยา่ ง (พิจารณาตามคำตอบของนกั เรยี น โดยใหอ้ ยูใ่ นดุลยพินจิ ของครูผูส้ อน)

2. ครใู ห้นักเรียนเล่าถึงประสบการณเ์ ดิมเก่ียวกับหลักการสำคญั ของประชาธปิ ไตยที่นกั เรียนเคยเรยี น
เช่น - ความเสมอภาคเทา่ เทียมกนั ในสังคม

- สิทธิเสรีภาพของบคุ คลท่ีจะทำอะไรอยู่ภายในขอบเขตของกฎ ระเบยี บ กฎหมาย
- หลกั นิตธิ รรม การถอื กฎหมายเป็นกฎกติกาทีท่ ุกคนต้องปฏิบัตติ าม

- หลักการใช้เหตผุ ล เปดิ โอกาสใหท้ ุกคนมกี ารแลกเปลีย่ นความคดิ เห็นและมกี ารโต้แยง้ อยา่ งมีเหตุผล
- หลักอำนาจอธปิ ไตยมาจากประชาชน
ครอู ธบิ ายเชอื่ มโยงให้นกั เรียนเข้าใจวา่ พระพทุ ธศาสนานัน้ มลี ักษณะสอดคล้องกับหลกั การ
ประชาธปิ ไตย ดงั ตัวอย่าง คำกล่าวของอาจารยส์ ุชพี ปัญญานภุ าพ นักปราชญ์ทางพระพุทธศาสนาว่า
“พระพุทธศาสนาเป็นตัวอยา่ งแห่งลัทธปิ ระชาธิปไตยที่เก่าแกท่ ีส่ ดุ ของโลก มีหลกั การและวธิ ีการ อันทนั สมยั
มาจนทุกวันนี้”

ขั้นสอน
3. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 6 คน ตามความสมัครใจ แล้วครูให้แต่ละกลุ่มศึกษาความรู้ เรื่อง
ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา จากหนังสือเรียน หนังสือค้นคว้าเพิ่มเติม ห้องสมุด ห้องจริยธรรม
และแหล่งขอ้ มลู สารสนเทศ โดยสมาชิกแตล่ ะคนนำความร้ทู ี่ไดจ้ ากการศึกษามาบันทกึ ลงในสมดุ
4. นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มนำความร้ทู ่ีไดจ้ ากการศกึ ษามาสนทนาแลกเปลย่ี นความรู้กัน และชว่ ยกนั ทำ
ใบงานที่ 1 เร่ือง ลักษณะประชาธปิ ไตยในพระพุทธศาสนา ซง่ึ นักเรียนแตล่ ะกลุม่ จะสังเคราะห์ความรู้ท่ีอ่าน
ออกมาเป็นประเด็นสำคัญ แล้วเขยี นเป็นแผนผงั ความคิด โดยครูสมุ่ เรียกนักเรียน 2-3 กลมุ่ นำเสนอผลงาน
หน้าชัน้ เรยี น และให้กลมุ่ อน่ื ทีม่ ผี ลงานแตกตา่ งออกไปไดน้ ำเสนอเพิ่มเตมิ

ข้ันสรุปบทเรียน
5. ครใู ห้นกั เรยี นช่วยกันวิเคราะห์วา่ ในปัจจบุ นั น้มี ีกิจกรรมหรือพธิ กี รรมใดในหมู่สงฆท์ แ่ี สดงถึงความ
เป็นประชาธิปไตยบา้ ง ซึ่งนักเรียนสามารถตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นได้อย่างหลากหลาย
- การทำพิธีกรรมอปุ สมบท ผู้อปุ สมบทจะตอ้ งไดร้ ับการยอมรับของหมสู่ งฆเ์ ป็นเอกฉันท์

- การประชุมของคณะสงฆข์ องวดั เพ่ือทำกจิ กรรมหรือทำงานตา่ งๆ เพ่ือเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา หรอื
พฒั นาวดั กม็ ีการรบั ฟงั ความคดิ เห็นจากพระภกิ ษแุ ต่ละรปู ซึง่ ต่างก็มีเหตุผล แลว้ มาประมวลเปน็ แนวคดิ ของ
คณะในการดำเนนิ งาน เปน็ ต้น

6. ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั สรุปสาระสำคัญของลักษณะประชาธิปไตยในพระพทุ ธศาสนา

ส่อื และแหล่งเรียนรู้
1. หนงั สอื เรียน พระพทุ ธศาสนา ม.5
2. ใบงานท่ี 1 เรอื่ ง ลักษณะประชาธปิ ไตยในพระพุทธศาสนา
3. ห้องจรยิ ธรรม
4. ห้องสมดุ

การบูรณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (2 ห่วง 3 เงื่อนไข)

หลักความพอประมาณ ใชเ้ วลาในการศกึ ษา ค้นคว้าหาความรู้

ทำงานเหมาะกับเวลาความคุ้มคา่ ในอุปกรณก์ ารเรยี น

หลักมีเหตผุ ล การอธบิ ายโดยการใช้หลักการทางพระพุทธศาสนา

การแกป้ ัญหาโดยใช้หลักการทางพระพุทธศาสนา

หลกั สร้างภมู คิ ้มุ กันในตวั ท่ีดี การมีน้ำใจ มีความรบั ผดิ ชอบ การทำงานเป็นหมู่คณะ

การวางแผนในการทำงาน

เงือ่ นไขความรู้ อธิบายประวัติ และความสำคัญของพระพทุ ธศาสนา

เง่อื นไขคุณธรรม มวี ินัย ใฝเ่ รยี นรู้ ซอ่ื สัตย์ มุ่งม่ันในการทำงาน

การบูรณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง 2 เงอ่ื นไข
ความรู้
ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง 3 หว่ ง คณุ ธรรม
พอประมาณ
มเี หตผุ ล
มภี มู คิ ุม้ กนั ในตัวทด่ี ี

ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 4 มติ ิ

เศรษฐกจิ สังคม ส่งิ แวดลอ้ ม วัฒนธรรม

การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ เครื่องมือ เกณฑ์

วิธีการ แบบประเมินใบงานที่ 1 เรอ่ื ง ลกั ษณะ รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ตรวจใบงานท่ี 1 เรอ่ื ง ลักษณะ
ประชาธปิ ไตยในพระพทุ ธศาสนา ประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา

ประเมินการนำเสนอผลงาน แบบประเมินการนำเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นใน
การเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่ แบบสงั เกตพฤติกรรมการเข้ารว่ ม ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์
คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
กิจกรรมรายกลุ่ม

แบบประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์

ประสงค์

ใบงานท่ี 1
เรื่อง ลกั ษณะประชาธปิ ไตยในพระพทุ ธศาสนา

คำชี้แจง ใหน้ ักเรยี นเขยี นแผนผังความคิดแสดงลกั ษณะประชาธปิ ไตยในพระพุทธศาสนา

ลกั ษณะประชาธิปไตย
ในพระพทุ ธศาสนา

ใบงานที่ 1 เฉลย
เร่อื ง ลกั ษณะประชาธปิ ไตยในพระพุทธศาสนา

คำชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนเขยี นแผนผังความคดิ แสดงลกั ษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา

การทาสงั ฆกรรม พระสงฆต์ ้อง การมมี ตเิ ป็นเอกฉนั ทใ์ นการตรวจสอบ
ยดึ ถอื ประโยชน์สว่ นรวมเป็นทตี่ งั้ คุณสมบตั ผิ มู้ าขอบวชในพธิ อี ุปสมบท

การยอมรบั ผลของการประชุมเมอื่ ตน พระพุทธองคเ์ คารพมตสิ งฆ์
มธี ุระตอ้ งออกจาก ทปี่ ระชุม

ลกั ษณะประชาธิปไตย
ในพระพทุ ธศาสนา

ภกิ ษุทุกรปู จะตอ้ งเขา้ ประชุมตาม พระสงฆม์ คี วามสาคญั กวา่
หน้าที่ พระศาสดาในฐานะปัจเจก
ชน

การตดั สนิ ปัญหาในทปี่ ระชุม กจิ กรรมของพระสงฆท์ ุกรปู
สงฆใ์ หถ้ อื เอาเสยี งขา้ งมาก ตอ้ งถอื วา่ เป็นเรอื่ งสาคญั
เช่น การประชุมทาอุโบสถ
สงั ฆกรรม

(พจิ ารณาตามคาตอบของนักเรยี น โดยใหอ้ ย่ใู นดุลยพนิ ิจของครผู สู้ อน)

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 2

กลุม่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 5

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 เรื่อง ประวตั ิและความสำคัญของพระพุทธศาสนา เวลา 4 ชวั่ โมง

เรอื่ ง หลกั การของพระพุทธศาสนากบั หลกั วทิ ยาศาสตร์ เวลาท่ใี ช้สอน 2 ชัว่ โมง

ครูผสู้ อนชื่อ นางสาวพชั ราภรณ์ กลน่ิ เกษร โรงเรียนพนมศกึ ษา

............................................................................................................................. .................................................

สาระสำคัญ
พระพุทธศาสนามีหลักการสำคัญทมี่ ีท้งั ความสอดคล้องและความแตกต่างกันกบั หลักวทิ ยาศาสตร์

ส่วนวธิ ี การคดิ ของพระพุทธศาสนานั้นมคี วามสอดคล้องกบั วธิ ีคิดแบบวทิ ยาศาสตร์

มาตรฐานการเรยี นรู้
ส 1.1 รู้ และเขา้ ใจประวตั ิ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาทีต่ นนบั ถือ

และศาสนาอื่น มีศรัทธาท่ถี ูกตอ้ ง ยดึ ม่ัน และปฏิบัติตามหลักธรรม เพอ่ื อยู่รว่ มกนั อยา่ งสนั ตสิ ุข

ตัวช้ีวดั ม.4-6/7 วเิ คราะห์หลักการของพระพทุ ธศาสนากบั หลักวิทยาศาสตร์ หรอื แนวคิดของศาสนาที่
ตนนับถอื ตามที่กำหนด

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธิบายความสัมพันธ์ของพุทธศาสนา หรือแนวคดิ ของศาสนาท่ีตนนบั ถือกับวิทยาศาสตร์ (K)
2. วเิ คราะหล์ ักษณะความสัมพันธ์ของพุทธศาสนากบั วิทยาศาสตร์ (P)
3. เหน็ ความสำคัญในการศึกษาข้อมูลทางพระพุทธศาสนา ทีส่ ามารถนำไปใช้ประโยชนใ์ นการดำเนนิ

ชวี ิตประจำวันได้ (A)

สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น
1. ความสามารถในการส่ือสาร
2. ความสามารถในการคิด
1) ทักษะการคดิ วเิ คราะห์
- ทกั ษะการใหเ้ หตผุ ล - ทักษะการตีความ
3. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ
1) กระบวนการปฏบิ ตั ิ 2) กระบวนการทำงานกล่มุ

คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
1. มวี ินยั
- ปฏบิ ตั ติ ามขอ้ ตกลง กฎระเบยี บ กตกิ าทต่ี กลงกนั ในห้องเรียน

2. ใฝเ่ รียนรู้
- ผู้เรียนต้งั ใจเรียน เพยี รพยายาม ในการเรยี นรู้

3. มงุ่ ม่ันในการทำงาน
- ตงั้ ใจและพยายามทำงานท่ีได้รับมอบหมาย

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
1. หลกั การของพระพุทธศาสนากบั หลกั วิทยาศาสตร์
2. การคิดตามนัยแหง่ พระพุทธศาสนาและการคดิ แบบวิทยาศาสตร์

ช้ินงานหรอื ภาระงาน
ใบงานที่ 2 เร่ือง หลกั การของพระพุทธศาสนากับหลกั วทิ ยาศาสตร์
ใบงานท่ี 3 เรอ่ื ง การคิดตามนัยแห่งพระพทุ ธศาสนาและการคดิ แบบวทิ ยาศาสตร์

ขั้นตอนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
ข้ันนำเข้าสู่บทเรียน (ชว่ั โมงที่ 1)
1. ครูนำข่าวหรือเหตุการณต์ ่างๆ ที่แสดงถึงความเชอื่ ของบุคคล หรอื กลุ่มบคุ คลมาให้นกั เรยี นอา่ น

แล้วใหน้ ักเรยี นชว่ ยกันแสดงความคิดเห็นว่า ขา่ วหรอื เหตุการณใ์ ดทีส่ อดคลอ้ งกับหลกั การทางวิทยาศาสตร์
2. ครูอธบิ ายเชื่อมโยงใหน้ ักเรียนเข้าใจวา่ หลักการสำคญั ของวทิ ยาศาสตร์ คือ เช่ือในเหตุผล ก่อนจะ

เชอื่ อะไรน้ันจะต้องมกี ารพสิ ูจนใ์ หเ้ ห็นจริง มีหลักฐานมายนื ยนั ถา้ มีข้อสงสยั อะไรต้องพิสูจนจ์ นไดค้ ำตอบที่
แทจ้ รงิ ซ่งึ หลกั การของพระพุทธศาสนามีส่วนทส่ี อดคลอ้ งกับหลักวิทยาศาสตร์ และมสี ่วนทแี่ ตกต่างกับหลกั
วทิ ยาศาสตร์ พร้อมยกตัวอยา่ งประกอบ เพ่ือใหน้ ักเรียนเขา้ ใจชัดเจนมากยิ่งขึน้

ขนั้ สอน
3. ครูใหน้ กั เรยี นกลุ่มเดิม (จากแผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 1) รว่ มกนั ศึกษาความรเู้ ร่ือง หลักการของ
พระพทุ ธศาสนากบั หลกั วิทยาศาสตร์ จากหนงั สือเรยี น หนังสอื ค้นคว้าเพิ่มเติม หอ้ งสมุด หอ้ งจริยธรรม และ
แหลง่ ข้อมลู สารสนเทศในหัวข้อต่อไปนี้

1) ความสอดคล้องกัน
2) ความแตกตา่ ง

4. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุม่ จับคูก่ นั เปน็ 3 คู่ ให้แตล่ ะคชู่ ว่ ยกนั ทำใบงานที่ 2 เรอ่ื งหลกั การของ
พระพทุ ธศาสนากบั หลักวทิ ยาศาสตร์

5. นกั เรยี นแตล่ ะคนู่ ำผลงานของคู่ตนเองมาอธิบายแลกเปลี่ยนกบั เพ่ือนอีกคหู่ นงึ่ ภายในกลมุ่ แลว้
ช่วยกนั ตรวจสอบความถูกต้องของคำตอบ แลว้ หลอมรวมเปน็ ผลงานของกล่มุ

ขนั้ สรุป
6. ครสู ุ่มตัวแทนกลมุ่ นำเสนอผลงานในใบงานท่ี 2 กลมุ่ ละ 1 หวั ขอ้ แล้วใหก้ ลมุ่ อนื่ ท่ีมผี ลงานแตกตา่ ง
กันออกไปนำเสนอเพมิ่ เติม

ขัน้ นำเข้าสบู่ ทเรียน (ช่วั โมงที่ 2)
1. ครูถามคำถามกระตนุ้ ความคิดนักเรยี นว่า การท่ีนำผ้าสเี หลืองไปพนั รอบตน้ ไม้แล้วบอกว่าเปน็ การ
บวชตน้ ไม้นน้ั เปน็ หลักการของพระพทุ ธศาสนาหรือไม่ อธบิ ายเหตผุ ล (พิจารณาตามคำตอบของนกั เรยี น โดย
ใหอ้ ยใู่ น ดุลยพินิจของครูผูส้ อน)
ขั้นสอน

2. ครูให้นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้เพ่ิมเตมิ เรื่อง การคิดตามนัยแห่งพระพุทธศาสนาและ
การคิดแบบวิทยาศาสตร์ จากหนงั สอื เรยี น และศึกษาใบความรู้ เรอ่ื ง วธิ ีคดิ ตามหลักพทุ ธธรรม (โยนโิ ส
มนสกิ าร) แลว้ ช่วยกันทำใบงานที่ 3 เรอ่ื ง การคิดตามนยั แห่งพระพุทธศาสนาและการคิดแบบวิทยาศาสตร์

3. นักเรยี นแต่ละกลุ่มนำเสนอผลงานในใบงานที่ 3 หนา้ ช้นั เรยี น ครูและเพ่ือนนักเรยี นตรวจสอบ
ความถูกต้อง และแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม

ข้นั สรปุ ผล
4. ครตู รวจสอบความรูค้ วามเขา้ ใจของนกั เรียนจากการทำใบงาน และรว่ มกนั สรุปสาระสำคญั ของ
เรื่อง หลักการของพระพุทธศาสนากบั หลกั วิทยาศาสตร์

สอื่ และแหล่งเรียนรู้
1. หนังสอื เรยี น พระพุทธศาสนา ม.5
2. ใบงานท่ี 2 เรอื่ ง หลกั การของพระพทุ ธศาสนากบั หลักวิทยาศาสตร์
3. ใบงานท่ี 3 เรื่อง การคดิ ตามนัยแห่งพระพุทธศาสนาและการคิดแบบวทิ ยาศาสตร์
4. ห้องจริยธรรม
5. หอ้ งสมดุ

การบูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (2 ห่วง 3 เงื่อนไข)

หลกั ความพอประมาณ ใชเ้ วลาในการศกึ ษา คน้ ควา้ หาความรู้

ทำงานเหมาะกับเวลาความคุ้มคา่ ในอปุ กรณ์การเรยี น

หลักมเี หตุผล การอธบิ ายโดยการใชห้ ลกั การทางพระพุทธศาสนา

การแก้ปัญหาโดยใชห้ ลักการทางพระพุทธศาสนา

หลักสรา้ งภูมคิ ุ้มกันในตัวที่ดี การมนี ำ้ ใจ มีความรบั ผดิ ชอบ การทำงานเป็นหมู่คณะ

การวางแผนในการทำงาน

เง่ือนไขความรู้ อธบิ ายความสัมพันธ์ของพุทธศาสนา หรือแนวคดิ ของศาสนาท่ีตนนับถือกบั

วิทยาศาสตร์

เงือ่ นไขคุณธรรม มวี ินยั ใฝ่เรียนรู้ ซอ่ื สตั ย์ มงุ่ ม่นั ในการทำงาน

การบูรณาการตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2 เงือ่ นไข
ความรู้
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3 หว่ ง คุณธรรม
พอประมาณ
มเี หตผุ ล
มีภมู คิ ุ้มกนั ในตัวท่ดี ี

ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 4 มิติ

เศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดล้อม วัฒนธรรม

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

วธิ ีการ เครื่องมือ เกณฑ์
ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ตรวจใบงานที่ 2 เรอ่ื ง หลกั การ แบบประเมนิ ใบงานท่ี 2 เรือ่ ง
ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ของพระพุทธศาสนากบั หลกั หลักการของพระพุทธศาสนากับหลัก
ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์
วิทยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์
ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
ตรวจใบงานที่ 3 เร่อื ง การคิดตาม แบบประเมินใบงานท่ี 3 เร่อื ง การคดิ

นยั แหง่ พระพทุ ธศาสนาและการ ตามนยั แห่งพระพุทธศาสนาและการ

คดิ แบบวทิ ยาศาสตร์ คดิ แบบวิทยาศาสตร์

ประเมนิ การนำเสนอผลงาน แบบประเมินการนำเสนอผลงาน

สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นใน แบบสงั เกตพฤติกรรมการเข้าร่วม

การเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ กจิ กรรมรายกลมุ่

คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ แบบประเมิน คณุ ลักษณะอนั พึง

ประสงค์

ใบงานที่ 2

เรอื่ ง หลักการของพระพุทธศาสนากับหลักวทิ ยาศาสตร์

คำชี้แจง ให้นักเรียนเปรียบเทียบหลักการของพระพทุ ธศาสนากบั หลักวทิ ยาศาสตรใ์ นส่วนท่มี ี
ความสอดคล้อง และในส่วนท่มี ีความแตกตา่ ง

1. ดา้ นความ หลักการของพระพทุ ธศาสนา หลกั วิทยาศาสตร์
สอดคล้อง

1) ดา้ น
ความเชอ่ื

2) ด้าน
ความรู้

2 ด้านความ หลักการของพระพทุ ธศาสนา หลกั วิทยาศาสตร์
. แตกตา่ ง

1) มุง่ เขา้ ใจ
ปรากฏการ
ณ์ธรรมชาติ

2) ต้องการรู้กฎ
ธรรมชาติ

3) การยอมรับ
โลกแห่ง
สสาร

4) มงุ่ เอาความ
จริงมาตีแผ่

ใบงานที่ 2

เฉลยเรอ่ื ง หลักการของพระพทุ ธศาสนากบั หลกั วิทยาศาสตร์

คำชี้แจง ให้นักเรยี นเปรียบเทยี บหลักการของพระพุทธศาสนากับหลกั วิทยาศาสตรใ์ นส่วนทีม่ ี
ความสอดคล้อง และในสว่ นทีม่ คี วามแตกตา่ ง

1. ด้านความ หลักการของพระพทุ ธศาสนา หลกั วิทยาศาสตร์
สอดคล้อง

1) ด้าน - มีคำสอนว่า จะเชอ่ื อะไร แคไ่ หน จะเช่อื อะไรตอ้ งมีการพสิ จู น์ เชื่อ
ความเช่ือ จะตอ้ งพสิ ูจนด์ ้วยตนเองโดย ใน
เหตผุ ล
อาศัยสติ
ปญั ญา และเหตผุ ล

- สอนเรอ่ื งศรทั ธา เพอ่ื เปน็ เครอื่ ง
จูงใจ

ให้คนเข้าไปทดสอบความจริง
หลักธรรม

ศรทั ธาจะต้องมีปัญญากำกับ

2) ด้าน ความรู้ทไี่ ด้จากประสบการณ์ คอื ยอมรับความรู้ท่เี ริ่มต้นจาก

ความรู้ ตา หู ประสบการณ์

จมกู ลิน้ กาย ได้ประสบความร้สู กึ ทไ่ี ด้พบเหน็ ส่ิงต่างๆ แลว้ อยากรู้

นกึ คดิ และ

บางอย่างดว้ ย เช่น รสู้ กึ ดีใจ รสู้ กึ แสวงหาคำอธิบาย มีการทดสอบ

เสียใจ ประสบการณ์และการทดลอง

ประสบการณ์จากความทุกข์

2 ด้านความ หลักการของพระพทุ ธศาสนา หลักวทิ ยาศาสตร์
. แตกต่าง

1) มงุ่ เขา้ ใจ มงุ่ สอนใหเ้ ปน็ คนดี หรือเป็นคน ตอ้ งการรู้ว่า อะไรเป็นสาเหตุ

ปรากฏการ โดย สมบรู ณ์ เปน็ วถิ ชี วี ิตของ อะไรเป็น ผลท่ีตามมา

ณธ์ รรมชาติ มนุษยม์ ากกว่ากฎเกี่ยวกบั ส่งิ ไรช้ วี ติ

2) ตอ้ งการร้กู ฎ เน้นให้คนควบคมุ ภายในจิตใจ เนน้ การควบคมุ ธรรมชาติ

ธรรมชาติ ตวั เองให้มจี ิตใจดงี าม สันตสิ ุขที่ ภายนอก มงุ่ ปรับธรรมชาติ
แทจ้ ริงจึงจะเกดิ ข้นึ

3) การยอมรับ สจั ธรรมสงู สดุ (นิพพาน) เป็น ยอมรับโลกแหง่ สสารทีร่ ับรดู้ ว้ ย
โลกแห่ง สภาวะทป่ี ระสาทสัมผสั ของมนษุ ย์ ประสาทสมั ผัสท่ี 5 ว่ามจี ริง โลกท่ี
สสาร ปถุ ชุ นท่เี ต็มไปดว้ ยกเิ ลสตัณหา ไม่ พน้ จากนั้นวทิ ยาศาสตรไ์ มย่ อมรบั
สามารถจะรับรู้ได้

4) มุ่งเอาความ เน้นเรือ่ งศีลธรรม ความดี ความช่ัว สนใจเพียงค้นความจริงมาตแี ผใ่ ห้

จริงมาตแี ผ่ มงุ่ ให้มนษุ ยม์ ีความสุขเป็นลำดบั ขั้น ประจกั ษ์ ไม่สนใจเรอ่ื งศลี ธรรม
เรอื่ ยๆจนถึงความสงบสขุ อันสงู สดุ ความดี ความชวั่

คอื นิพพาน

(พจิ ารณาตามคาตอบของนักเรยี น โดยใหอ้ ยใู่ นดุลยพนิ จิ ของครผู สู้ อน)

ใบงานที่ 3

เรือ่ ง การคดิ ตามนยั แหง่ พระพทุ ธศาสนาและการคิดแบบวิทยาศาสตร์

คำชแ้ี จง ให้นกั เรยี นร่วมกันวเิ คราะห์ในหัวข้อท่ีกำหนด

1. การคดิ ของพระพุทธเจา้ วิธใี ดท่ีมีความสอดคล้องกับกระบวนการคดิ แบบวิทยาศาสตร์ จงอธบิ าย
พร้อมยกตัวอยา่ ง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

2. นกั เรียนคิดวา่ วิธีคดิ ทางพระพทุ ธศาสนาวิธีใดท่ีสามารถนำไปใช้ในการคิดในข้นั ตอน
ต่างๆ ของวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์บ้าง จงอธิบาย พร้อมยกตวั อย่าง

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ใบงานที่ 3

เฉลยเรอื่ ง การคดิ ตามนยั แห่งพระพุทธศาสนาและการคดิ แบบวิทยาศาสตร์

คำชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนรว่ มกันวเิ คราะหใ์ นหัวข้อทก่ี ำหนด

1. การคดิ ของพระพทุ ธเจ้าวธิ ใี ดที่มีความสอดคลอ้ งกับกระบวนการคดิ แบบวิทยาศาสตร์ จงอธบิ าย
พร้อมยกตัวอยา่ ง

การคดิ แบบอริยสจั จ์ คือ คิดตามเหตผุ ล สบื สาวหาเหตแุ ล้วแก้ปัญหาทตี่ ้นเหตุ สอดคลอ้ งกับ
ขนั้ ตอนของวธิ ีการ ทางวทิ ยาศาสตร์ เชน่

ขนั้ ที่ 1 ตงั้ ปัญหา / กำหนดปัญหา
ทรงเหน็ วา่ ทุกข์เปน็ ปัญหา จะต้องหาคำตอบเพือ่ แก้ปญั หา

ขัน้ ที่ 2 ตั้งสมมติฐาน / ต้ังคำตอบชัว่ คราว
ทรงตง้ั คำตอบชั่วคราว เจ้าลทั ธสิ ำนักต่างๆ อาจใหค้ ำตอบได้

ขัน้ ที่ 3 รวบรวมข้อมลู
ทรงรวบรวมขอ้ มูล เสดจ็ ไปตามสำนกั ต่างๆ ลองทรมานกาย อดอาหารตามลัทธิสำนัก

ต่างๆ
ข้นั ที่ 4 วเิ คราะห์ขอ้ มูล
ทรงวเิ คราะห์ข้อมลู ในการใช้พระวรกายในการบำเพ็ญเพยี รทางกาย โดยใช้พระวรกาย

ของพระองค์เก็บข้อมูล และวิเคราะห์ควบคกู่ นั ไป แสดงถงึ คำสอนของสำนักต่างๆ มใิ ชค่ ำตอบท่ี
ถูกตอ้ ง

ขั้นที่ 5 ตรวจสอบสมมตุ ฐิ าน
ถา้ คำตอบชวั่ คราวน้นั ถูก ก็รับเปน็ คำอธิบายหรือเป็นทฤษฎไี ว้ จนกวา่ จะมขี ้อมูลใหม่

มาหกั ล้าง ถ้าคำตอช่วั คราวนัน้ ผดิ กป็ รบั ปรงุ หาคำตอบใหม่ เมือ่ พระองคท์ รงเห็นว่า คำตอบ
ช่วั คราวท่ตี ้งั ไว้นั้นผดิ พระองค์กเ็ ปลีย่ นแปลงวิธีการ โดยหนั มาทดลองการบำเพ็ญเพียรทางจิต
แทน จนประสบความสำเร็จ ไดต้ รสั ร้คู วามจรงิ อนั เป็นคำตอบทถ่ี กู ตอ้ งเก่ยี วกบั ปัญหาเรื่อง ความ
ทุกข์

ข้ันท่ี 6 ขนั้ สรปุ
นำคำอธิบายในขัน้ ท่ี 5 ไปประยุกตใ์ ช้ในการแกป้ ัญหา ทรงนำคำตอบท่ีไดไ้ ปเผยแพร่แก่

ชาวโลก เพอื่ แกป้ ัญหาเรอ่ื ง ความทุกข์ ให้แกม่ วลมนุษย์

2. นกั เรียนคดิ วา่ วธิ คี ดิ ทางพระพุทธศาสนาวธิ ีใดทสี่ ามารถนำไปใช้ในการคิดในขั้นตอน
ตา่ งๆ ของวิธีการทางวทิ ยาศาสตรบ์ ้าง จงอธิบาย พร้อมยกตวั อยา่ ง
ตอบตามความคดิ ของนักเรยี น เช่น

- วธิ คี ดิ แบบแยกแยะองค์ประกอบ นำไปใชใ้ นขั้นท่ี 1 คอื ต้ังปัญหาหรอื กำหนดปญั หา
- วิธคี ดิ แบบแยกแยะองคป์ ระกอบ นำไปใช้ในข้นั ท่ี 2 คอื การตงั้ สมมุติฐาน / ตง้ั
คำตอบช่วั คราว และในขนั้ ที่ 3 รวบรวมข้อมูล และในขนั้ ท่ี 4 วิเคราะห์ขอ้ มูล
- วิธีคิดเชอื่ มโยงหลกั การและความมงุ่ หมาย นำไปใช้ในขั้นที่ 2 คอื การต้ังสมมุตฐิ าน /
ตัง้ คำตอบช่วั คราว
- วิธีคิดแบบคณุ โทษและทางออก นำไปใช้ในขัน้ ท่ี 4 วเิ คราะหข์ อ้ มูล ขั้นที่ 5
ตรวจสอบสมมุติฐาน และในขัน้ ที่ 6 ข้ันสรปุ
- วิธคี ดิ แบบคุณค่าแท้ คุณคา่ เทียม นำไปใช้ในข้ันท่ี 4 วเิ คราะหข์ อ้ มลู
- วธิ คี ิดแบบปลกุ เรา้ คุณธรรม นำไปใช้ในขนั้ ท่ี 1 คือ ตงั้ ปัญหาหรอื กำหนดปัญหา
- วธิ คี ิดแบบเป็นอยู่ในปจั จุบัน นำไปใชใ้ นขัน้ ท่ี 3 รวบรวมขอ้ มูล ขน้ั ท่ี 4 วเิ คราะห์
ขอ้ มูล ข้นั ท่ี 5 ตรวจสอบสมมตุ ฐิ าน และในขนั้ ที่ 6 ข้ันสรุป
- วธิ ีคิดแบบวภิ ัชชวาทใชจ้ ำแนกประเด็นและแงม่ มุ ตา่ งๆ สามารถนำไปใช้กบั วิธกี าร
ทางวทิ ยาศาสตรต์ ง้ั แต่ขน้ั ที่ 1 – 6

(พจิ ารณาตามคาตอบของนกั เรยี น โดยใหอ้ ยใู่ นดุลยพนิ จิ ของครผู สู้ อน)

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 3

กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 5

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรอ่ื ง ประวตั แิ ละความสำคัญของพระพทุ ธศาสนา เวลา 4 ชว่ั โมง

เรอ่ื ง ความสำคัญของพระพุทธศาสนา เวลาท่ใี ชส้ อน 1 ชั่วโมง

ครผู สู้ อนช่ือ นางสาวพัชราภรณ์ กลนิ่ เกษร โรงเรียนพนมศกึ ษา

............................................................................................................................. .................................................

สาระสำคัญ
พระพทุ ธศาสนามีความสำคัญตอ่ การฝึกฝนและพฒั นาตนเอง การพึง่ พาตนเอง และการมุ่งอสิ รภาพ

มาตรฐานการเรยี นรู้
ส 1.1 รู้ และเขา้ ใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ

และศาสนาอื่น มีศรัทธาทถี่ ูกต้อง ยึดมน่ั และปฏบิ ตั ิตามหลกั ธรรม เพื่ออยรู่ ว่ มกนั อย่างสนั ตสิ ขุ

ตวั ชวี้ ัด ม.4-6/8 วเิ คราะหก์ ารฝกึ ฝนและพัฒนาตนเอง การพึ่งตนเอง และการม่งุ อสิ รภาพใน
พระพุทธศาสนาหรือแนวคดิ ของศาสนาทต่ี นนบั ถือตามที่กำหนด

จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. อธิบาย และเข้าใจถึงความสำคัญของพระพุทธศาสนา (K)
2. วิเคราะหก์ ารฝึกฝนและพัฒนาตนเอง การพึง่ ตนเอง และการมุ่งอิสรภาพในทางพระพุทธศาสนาได้

(P)
3. เห็นความสำคัญในการศกึ ษาข้อมลู ทางพระพุทธศาสนา ท่ีสามารถนำไปใช้ประโยชนใ์ นการดำเนิน

ชวี ติ ประจำวันได้ (A)

สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียน
1. ความสามารถในการสอ่ื สาร
2. ความสามารถในการคิด
1) ทักษะการวิเคราะห์ 2) ทักษะการนำความรู้ไปใช้
3. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต
1) กระบวนการปฏบิ ัติ 2) กระบวนการทำงานกลมุ่

คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวนิ ยั
- ปฏบิ ตั ิตามขอ้ ตกลง กฎระเบียบ กติกาที่ตกลงกนั ในห้องเรยี น

2. ใฝเ่ รยี นรู้
- ผเู้ รียนตัง้ ใจเรยี น เพยี รพยายาม ในการเรยี นรู้

3. มุ่งมนั่ ในการทำงาน
- ตั้งใจและพยายามทำงานท่ีได้รับมอบหมาย

สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1. พระพุทธศาสนาเนน้ การฝึกหดั อบรมตน การพงึ่ ตนเอง และการม่งุ อสิ รภาพ

ช้นิ งานหรือภาระงาน
ใบงานท่ี 4 เรอ่ื ง ความสำคัญของพระพุทธศาสนา

ข้นั ตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำเข้าสบู่ ทเรียน
1. ครูให้นักเรียนดภู าพต่อไปน้ี
- ภาพคนงานกำลงั ทำงานในโรงงาน
- ภาพนักเรียนกำลังทำกิจกรรมตา่ งๆ
- ภาพชาวนากำลังทำนา
- แม่คา้ พ่อคา้ กำลงั ขายสินค้า
2. ครใู หน้ ักเรยี นรว่ มกนั แสดงความคิดเห็นโดยการตอบคำถามต่อไปนี้
- การท่บี ุคคลในภาพจะดำเนินกิจกรรมจนประสบความสำเรจ็ นั้นจะต้องมหี ลกั การสำคัญเปน็

แนวทางในการปฏบิ ตั ิอย่างไรบ้าง จงอธิบายเหตุผล

ข้นั สอน

3. ครอู ธบิ ายเชอื่ มโยงใหน้ ักเรียนเข้าใจว่า พระพุทธศาสนาเนน้ การฝึกหัด การอบรมตน และการ
พ่งึ พาตนเอง พระพุทธศาสนามุ่งอิสรภาพ แลว้ ใหน้ ักเรยี นศึกษาความรู้เก่ียวกับความสำคัญของ
พระพุทธศาสนา ดังน้ี

1) พระพุทธศาสนาเนน้ การฝึกหดั อบรมตน และการพ่ึงพาตนเอง
2) พระพทุ ธศาสนาม่งุ อสิ รภาพ

4. นักเรยี นกลุ่มเดิม (จากแผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 1) จับคู่กันเปน็ 3 คู่ แล้วใหแ้ ต่ละค่ทู ำใบงานที่ 4
เรอ่ื ง ความสำคัญของพระพุทธศาสนา โดยให้อ่านกรณีศึกษาท่ี 1 และกรณศี ึกษา ที่ 2 แลว้ ตอบคำถามโดย
นกั เรยี นแต่ละคู่ผลดั กนั เล่าผลงานจากการตอบคำถามในกรณศี ึกษา และอภปิ รายรว่ มกันในแต่ละกรณีศึกษา
จนไดข้ ้อสรปุ เป็นผลงานของกลมุ่

5. ครใู หส้ มาชิกแตล่ ะกลุ่มนำเสนอผลงานในใบงานที่ 4 หนา้ ชัน้ เรยี น กลุ่มละ 1 กรณีศกึ ษา ครู
ตรวจสอบความถูกตอ้ งและให้ข้อเสนอแนะเพม่ิ เตมิ

ขน้ั สรุปผล
6. ครูและนักเรยี นช่วยกนั สรุปสาระสำคัญเก่ยี วกับความสำคญั ของพระพทุ ธศาสนา ในหัวขอ้ ตอ่ ไปนี้

1) พระพุทธศาสนาเนน้ การฝึกหัดอบรมตน และการพงึ่ พาตนเอง
2) พระพุทธศาสนามงุ่ อสิ รภาพ

สอ่ื และแหล่งเรียนรู้
1. หนงั สอื เรยี น พระพุทธศาสนา ม.5
2. ใบงานที่ 4 เร่ือง ความสำคัญของพระพุทธศาสนา
3. ห้องจริยธรรม
4. หอ้ งสมดุ

การบรู ณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (2 ห่วง 3 เง่ือนไข)

หลกั ความพอประมาณ ใช้เวลาในการศกึ ษา ค้นคว้าหาความรู้

ทำงานเหมาะกับเวลาความคุ้มคา่ ในอุปกรณก์ ารเรยี น

หลักมเี หตผุ ล การอธิบายโดยการใชห้ ลักการทางพระพุทธศาสนา

การแกป้ ัญหาโดยใชห้ ลักการทางพระพุทธศาสนา

หลักสรา้ งภูมคิ ุ้มกันในตัวท่ีดี การมนี ำ้ ใจ มีความรับผิดชอบ การทำงานเป็นหมู่คณะ

การวางแผนในการทำงาน

เงอื่ นไขความรู้ อธบิ าย และเข้าใจถึงความสำคัญของพระพทุ ธศาสนา

เงอ่ื นไขคุณธรรม มวี ินยั ใฝเ่ รยี นรู้ ซอ่ื สตั ย์ มงุ่ มั่นในการทำงาน

การบรู ณาการตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2 เง่ือนไข
ความรู้
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง คณุ ธรรม
พอประมาณ
มีเหตผุ ล
มีภูมคิ ้มุ กนั ในตัวที่ดี

ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 4 มิติ

เศรษฐกิจ สงั คม สิ่งแวดลอ้ ม วฒั นธรรม

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เคร่ืองมอื เกณฑ์
แบบประเมนิ ใบงานท่ี 4 เรือ่ ง ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
วิธกี าร ความสำคญั ของพระพุทธศาสนา
ตรวจใบงานท่ี 4 เร่อื ง ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
ความสำคัญของพระพุทธศาสนา แบบประเมินการนำเสนอผลงาน ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
แบบสงั เกตพฤติกรรมการเข้ารว่ ม
ประเมินการนำเสนอผลงาน กจิ กรรมรายกลมุ่ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนใน แบบประเมิน คณุ ลกั ษณะอนั พึง
การเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ ประสงค์
คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

ใบงานที่ 4

เรอ่ื ง ความสำคัญของพระพทุ ธศาสนา

คำช้แี จง ใหน้ กั เรยี นอ่านกรณีศกึ ษา แลว้ ตอบคำถาม

กรณีศึกษาท่ี 1
กบ เป็นลูกคนโตของพ่อแม่ ในจำนวนลูก 3 คน พ่อแม่ของกบมีอำชีพรบั จ้ำงจึงมีฐำนะ
คอ่ นขำ้ งยำกจน กบตอ้ งช่วยพอ่ แม่ทำงำนบำ้ น เมอ่ื กลบั จำกโรงเรยี น วนั หยุดกช็ ว่ ยแมซ่ กั ผำ้ รดี ผำ้
แมบ่ อกกบั กบว่ำ กบเป็นพค่ี นโต ควรจะช่วย แบง่ เบำภำระงำนบำ้ นของแม่บำ้ ง เพรำะแม่กลบั จำก
ทำงำนนอกบำ้ นกเ็ หน่อื ยแลว้ เมอ่ื ว่ำงจำกงำนบำ้ น กบจะรบี ทำกำรบำ้ นตำมทค่ี รสู งั่ และอำ่ นหนงั สอื
ทบทวนควำมรู้ทไ่ี ด้เรยี นไป โดยไม่ต้องมใี ครเตอื น กบเป็นเดก็ ทม่ี คี วำมมุ่งมนั่ ในกำรเรยี น เม่อื
สงสยั วชิ ำท่เี รยี นในเร่อื งใดก็จะขอคำแนะนำจำกครูและเพ่อื นท่เี รียนเก่ง ถงึ แม้ว่ำพ่อและแม่จะ
ทำงำนหนกั แต่กห็ ำ เวลำพำกบไปทำบุญและฟังธรรมะท่ีวดั ซง่ึ กบจะนำขอ้ คดิ ทไ่ี ดม้ ำใชใ้ นกำร
ปฏบิ ตั ติ นเสมอ กบสำมำรถปฏิบตั ิตำมหลกั เบญจศีล-เบญจธรรม ส่งผลให้กบเป็นผู้ท่เี พ่อื นให้
ควำมไว้วำงใจในควำมเป็นคนซ่อื สตั ย์ พูดแต่ควำมจรงิ และเม่อื ทำงโรงเรยี นมกี ำรตรวจสอบหำ
นกั เรยี นทเ่ี สพยำเสพตดิ คุณครปู ระจำชนั้ กใ็ หค้ ำรบั รองในควำมประพฤตขิ องกบ

คำถาม
1. กบมกี ารกระทำทแ่ี สดงว่าไดฝ้ ึกหัด อบรมตน และพ่ึงพาตนอย่างไรบ้าง จงยกตัวอย่าง

…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. การกระทำของกบจดั วา่ เปน็ การฝกึ ฝนตนเองหรือพัฒนาตนเองในระดับใด จงอธบิ าย
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. นักเรยี นสามารถประพฤติตนในการฝกึ ตนหรือพัฒนาตนเองตามหลักธรรมของ
พระพุทธศาสนาในระดบั ใด จงยกตัวอยา่ งประกอบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………

กรณศี กึ ษาท่ี 2
ศรันย์เรียนจบการศึกษาระดับปริญญาตรีตามที่เขาตั้งใจ และเป็นไปตามความมุ่งหวังของพ่อแม่
เขาเป็นพี่คนโตจึงเป็นแบบอย่างที่ดี ที่ทำให้น้องทุกคนเอาอย่าง ศรันย์ทำงานมีรายได้พอเลี้ยงตนเอง
และช่วยเหลือทางบ้านตามสมควร เขาเป็นคนที่มีความเพียรพยายามทำงาน มีผลงานออกมาเป็นที่
ประจักษ์จึงได้เลื่อนตำแหน่งสูงขึ้น จนกระทั่งได้เป็นหัวหน้าแผนก การที่ศรันย์เป็นหัวหน้าที่มีลูกน้อง
จำนวนมาก ทำให้เขาต้องวางตนอย่างเหมาะสมกับทุกคนเพื่อไม่ให้เกิดความลำเอียง ถึงแม้ว่าลูกน้อง
บางคนจะชอบพดู จายกย่องเขา แตเ่ ขาไม่ได้หลงไปกับคำเยินยอ บางครัง้ จะมบี างคนท่ีไม่ชอบเขาท่ีเด่น
กว่าแล้วแกล้งพูดจาใส่ร้ายเขา เขาก็ไม่ถือโกรธ ให้ผลการทำงานเป็นเครื่องพิสูจน์ความจริง มีบริษัท
หลายแห่งมาชวนเขาไปทำงานโดยให้เงินเดือนสูงกว่า เขาก็ปฏิเสธ เพราะเขาคิดว่าการที่เขาประสบ
ความสำเร็จ ความก้าวหนา้ ในการงานและมฐี านะม่นั คงนน้ั ก็เพราะเขามีความพอเพยี งต่อการดำรงชีวิต
เขาไม่หวังในทรัพย์สินเงินทางจำนวนมากที่บริษัทอื่นมายื่นข้อเสนอให้ เพราะเขามีความสุขกับการ
ทำงาน ทั้งนี้เนื่องจากเขาศึกษาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาและนำไปประยุกต์ปฏิบัติในการดำเนิน
ชีวิต

คำถาม
1. การปฏบิ ตั ิตนของศรันยส์ อดคลอ้ งกบั การมุ่งส่อู สิ รภาพตามหลักธรรมของพระพทุ ธศาสนา

อยา่ งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………...

2. นักเรียนสามารถปฏิบตั ติ นตามหลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา ซึง่ เปน็ เส้นทางอันจะนำไปสู่
อสิ รภาพอย่างไร จงยกตวั อย่างประกอบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบงานท่ี 4 เฉลย

เรือ่ ง ความสำคัญของพระพุทธศาสนา

คำช้แี จง ให้นกั เรียนอ่านกรณีศึกษา แล้วตอบคำถาม

กรณีศึกษาท่ี 1

กบ เป็นลูกคนโตของพ่อแม่ ในจำนวนลูก 3 คน พ่อแม่ของกบมีอำชีพรบั จ้ำงจึงมีฐำนะ
คอ่ นขำ้ งยำกจน กบตอ้ งชว่ ยพอ่ แมท่ ำงำนบำ้ น เมอ่ื กลบั จำกโรงเรยี น วนั หยดุ กช็ ว่ ยแม่ซกั ผำ้ รดี ผำ้
แมบ่ อกกบั กบวำ่ กบเป็นพค่ี นโต ควรจะชว่ ย แบง่ เบำภำระงำนบำ้ นของแมบ่ ำ้ ง เพรำะแมก่ ลบั จำก
ทำงำนนอกบำ้ นกเ็ หน่อื ยแลว้ เมอ่ื ว่ำงจำกงำนบำ้ น กบจะรบี ทำกำรบำ้ นตำมทค่ี รสู งั่ และอ่ำนหนงั สอื
ทบทวนควำมรูท้ ไ่ี ดเ้ รยี นไป โดยไม่ต้องมใี ครเตอื น กบเป็นเดก็ ทม่ี คี วำมมุ่งมนั่ ในกำรเรยี น เม่อื
สงสยั วชิ ำท่เี รยี นในเร่อื งใดก็จะขอคำแนะนำจำกครูและเพ่อื นท่เี รยี นเก่ง ถึงแม้ว่ำพ่อ และแม่จะ
ทำงำนหนัก แต่กห็ ำ เวลำพำกบไปทำบุญและฟังธรรมะทว่ี ดั ซ่งึ กบจะนำขอ้ คดิ ทไ่ี ดม้ ำใชใ้ นกำร
ปฏบิ ตั ิตนเสมอ กบสำมำรถปฏิบตั ติ ำมหลกั เบญจศีล-เบญจธรรม ส่งผลให้กบเป็นผู้ท่เี พ่อื นให้
ควำมไว้วำงใจในควำมเป็นคนซ่อื สตั ย์ พูดแต่ควำมจรงิ และเม่อื ทำงโรงเรยี นมกี ำรตรวจสอ บหำ
นกั เรยี นทเ่ี สพยำเสพตดิ คณุ ครปู ระจำชนั้ กใ็ หค้ ำรบั รองในควำมประพฤตขิ องกบ

คำถาม
1. กบมีการกระทำทแี่ สดงวา่ ได้ฝกึ หดั อบรมตน และพ่ึงพาตนอยา่ งไรบา้ ง จงยกตัวอย่าง
กบชว่ ยพ่อแม่ทำงานบ้าน รีบทำการบ้าน มงุ่ มั่นในการเรียน ถา้ สงสัยวชิ าทเ่ี รียนกข็ อ

คำแนะนำจากครู และเพ่ือนท่ีเก่ง

2. การกระทำของกบจัดวา่ เปน็ การฝึกฝนตนเองหรือพัฒนาตนเองในระดบั ใด จงอธบิ าย
ระดบั กลั ยาณปุถชุ น คอื มีศลี 5 ธรรม 5 เกือบถึงขนั้ สมบูรณ์

3. นักเรียนสามารถประพฤตติ นในการฝึกตนหรือพัฒนาตนเองตามหลกั ธรรมของ
พระพทุ ธศาสนาในระดับใด จงยกตวั อย่างประกอบ

(พจิ ารณาตามคำตอบของนกั เรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินจิ ของครผู สู้ อน)

กรณศี กึ ษาที่ 2
ศรันย์เรียนจบการศึกษาระดับปริญญาตรีตามที่เขาตั้งใจ และเป็นไปตามความมุ่งหวังของพ่อแม่
เขาเป็นพี่คนโตจึงเป็นแบบอย่างที่ดี ที่ทำให้น้องทุกคนเอาอย่าง ศรันย์ทำงานมีรายได้พอเลี้ยงตนเอง
และช่วยเหลือทางบ้านตามสมควร เขาเป็นคนที่มีความเพียรพยายามทำงาน มีผลงานออกมาเป็นที่
ประจักษ์จึงได้เลื่อนตำแหน่งสูงขึ้น จนกระทั่งได้เป็นหัวหน้าแผนก การที่ศรันย์เป็นหัวหน้าที่มีลูกน้อง
จำนวนมาก ทำให้เขาต้องวางตนอย่างเหมาะสมกับทุกคนเพื่อไม่ให้เกิดความลำเอียง ถึงแม้ว่าลูกน้อง
บางคนจะชอบพดู จายกย่องเขา แต่เขาไม่ได้หลงไปกับคำเยินยอ บางคร้ังจะมบี างคนที่ไม่ชอบเขาที่เด่น
กว่าแล้วแกล้งพูดจาใส่ร้ายเขา เขาก็ไม่ถือโกรธ ให้ผลการทำงานเป็นเครื่องพิสูจน์ความจริง มีบริษัท
หลายแห่งมาชวนเขาไปทำงานโดยให้เงินเดือนสูงกว่า เขาก็ปฏิเสธ เพราะเขาคิดว่าการที่เขาประสบ
ความสำเรจ็ ความกา้ วหน้าในการงานและมีฐานะม่นั คงนั้น ก็เพราะเขามคี วามพอเพียงต่อการดำรงชีวิต
เขาไม่หวังในทรัพย์สินเงินทางจำนวนมากที่บริษัทอื่นมายื่นข้อเสนอให้ เพราะเขามีความสุขกับการ
ทำงาน ทั้งนี้เนื่องจากเขาศึกษาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาและนำไปประยุกต์ปฏิบัติในการดำเนิน
ชีวติ

คำถาม
1. การปฏิบัติตนของศรนั ยส์ อดคล้องกบั การมุ่งสู่อสิ รภาพตามหลักธรรมของพระพทุ ธศาสนา

อย่างไร
ศรันยม์ ีเป้าหมายของชวี ิตอย่างเหมาะสม คอื การเล่าเรียนจนจบปรญิ ญา ทำงานมาเพ่อื

เล้ยี งตนเองและครอบครัว มีชีวติ อย่างพอเพียง มีการฝึกอบรมตนเองใหพ้ น้ จากความโลภ เช่น
ถึงแมจ้ ะมบี ริษทั อ่ืนมาเสนอให้เงนิ เดอื นสูงกวา่ ท่เี ดิมกไ็ ม่ไป เพราะสำนกึ ในบุญคุณของที่ทำงาน
แห่งแรก ซงึ่ เปน็ สถาบันทท่ี ำให้เขามกี ารงานท่ีมนั่ คง เขาสามารถ ฝกึ ฝนตนเอง ไม่ให้มีความหลงใน
คำสรรเสรญิ เยินยอจากลูกน้อง เขาไม่มีความโกรธคนทช่ี อบพูดจาใสร่ ้ายเขา

2. นักเรียนสามารถปฏิบตั ติ นตามหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา ซง่ึ เปน็ เสน้ ทางอันจะนำไปสู่
อิสรภาพอยา่ งไร จงยกตัวอยา่ งประกอบ

(พิจารณาตามคำตอบของนกั เรียน โดยให้อยู่ในดุลยพนิ จิ ของครผู สู้ อน)

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 4

กล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 5

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 2 เรอื่ ง พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนกิ ชนตัวอย่าง และชาดก เวลา 6 ชว่ั โมง

เรอื่ ง พุทธประวตั ิ และชาดก เวลาทีใ่ ชส้ อน 2 ช่วั โมง

ครผู ู้สอนชอ่ื นางสาวพชั ราภรณ์ กลน่ิ เกษร โรงเรียนพนมศกึ ษา

............................................................................................................................. .................................................

สาระสำคญั
พระพทุ ธเจ้าเป็นมนุษยผ์ ้ฝู ึกตนไดอ้ ย่างสูงสดุ ในการตรสั รู้ การก่อตัง้ วธิ กี ารสอนและการเผยแผ่

พระพทุ ธศาสนา ซ่ึงการศึกษาพทุ ธประวัติ และชาดก ย่อมทำใหไ้ ด้ข้อคิด เพื่อนำไปเปน็ แบบอย่างในการดำเนนิ
ชีวติ

มาตรฐานการเรียนรู้
ส 1.1 รู้ และเขา้ ใจประวตั ิ ความสำคญั ศาสดา หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาทตี่ นนับถือ

และศาสนาอนื่ มศี รัทธาทีถ่ ูกต้อง ยึดมัน่ และปฏบิ ัตติ ามหลักธรรม เพอ่ื อยูร่ ่วมกนั อย่างสันติสุข

ตวั ชว้ี ดั ม.4-6/2 วเิ คราะหพ์ ระพุทธเจา้ ในฐานะเป็นมนุษย์ผู้ฝึกตนได้อยา่ งสูงสุดในการตรัสรู้ การกอ่ ต้งั
วิธีการสอนและการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา หรือวเิ คราะหป์ ระวตั ิศาสดาทตี่ นนับถือตามท่ีกำหนด

ตวั ชี้วดั ม.4-6/14 วเิ คราะห์ข้อคิดและแบบอย่างการดำเนินชวี ติ จากประวัตสิ าวก ชาดก เรื่องเลา่
และศาสนิกชนตวั อย่างตามที่กำหนด

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธบิ ายพุทธประวตั ิของพระพุทธเจา้ ได้ (K)
2. วเิ คราะห์วธิ กี ารสอน ข้อคิด และแบบอย่างการดำเนินชีวิตจากมโหสถชาดกได้ (P)
3. เหน็ ความสำคัญในการศกึ ษาข้อมลู ทางพระพุทธศาสนา ทีส่ ามารถนำไปใช้ประโยชนใ์ นการดำเนิน

ชวี ติ ประจำวนั ได้ (A)

สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น 3) ทักษะการสรปุ อ้างอิง
1. ความสามารถในการสอื่ สาร
2. ความสามารถในการคิด
1) ทักษะการวเิ คราะห์ 2) ทักษะการประยุกตใ์ ช้ตวามรู้
3. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต
1) กระบวนการปฏบิ ัติ 2) กระบวนการทำงานกลมุ่


Click to View FlipBook Version