The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ต้านทุจริต-ม.3 (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by beerlovely2517, 2019-09-07 02:22:24

ต้านทุจริต-ม.3 (1)

ต้านทุจริต-ม.3 (1)

- 48 -

เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๑ “ระบบการคิดฐานสอง”

- 49 -

แผนการจัดการเรียนรู้

หนว่ ยท่ี ๑ ช่ือหนว่ ย การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม ชัน้ มัธยมศึกษาปที ๓่ี

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๓ เรื่องระบบคิดฐาน10 เวลา 2 ชว่ั โมง

1. ผลการเรียนรู้

๑.๑ มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกี่ยวกบั ผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม

๑.๒ สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนกับผลประโยชนส์ ว่ นรวมได้

๑.๓ ตระหนักและเหน็ ความสาคญั ของการต่อตา้ นและป้องกนั การทจุ ริต

2. จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถ

2.1 มีความรู้ ความเขา้ ใจเกีย่ วกับระบบการคดิ ฐาน 2

2.2 สามารถคิดแยกแยะการทุจรติ ท่ีอาจจะเกิดข้ึนระบบการคิดฐาน10

2.3 ตระหนักและเหน็ ความสาคญั ของการต่อตา้ นและปอ้ งกันการทุจรติ

๓. สาระการเรียนรู้

3.1 ความรู้

ระบบคิด “ฐาน10 (Analog)” เปนระบบการคิดวิเคราะหขอมูล ท่ีมีตัวเลขหลายตัว และอาจ
หมายถึงโอกาสท่ีจะเลือกไดหลายทาง เกิดความคิดท่ีหลากหลาย ซับซอน หากนามาเปรียบเทียบกับการ
ปฏบิ ตั ิงานของเจาหนาทขี่ องรัฐ จะทาใหเจาหนาท่ี ของรฐั ตองคิดเยอะ ตองใชดุลยพินิจเยอะ อาจจะนาประโย
ชนสวนบุคคลและประโยชนสวนรวม มาปะปนกันได แยกประโยชนสวนบุคคลและประโยชนสวนรวมออกจาก
กันไมได

3.2 ทกั ษะ / กระบวนการ (สมรรถนะทเ่ี กิด)

1) ความสามารถในการสื่อสาร

(ทักษะการอ่าน ทกั ษะการฟัง ทกั ษะการพดู ทกั ษะการเขยี น)

2) ความสามารถในการคดิ

3.3 ทกั ษะการวเิ คราะห์

(ทักษะการจดั กล่มุ ทกั ษะการสรุป)

3.3 คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ / คา่ นิยม

1) มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์

2) ซอื่ สัตย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณใ์ นส่งิ ที่ดงี ามเพื่อส่วนรวม

3) ใฝห่ าความรู้ หมนั่ ศึกษาเล่าเรียนทัง้ ทางตรง และทางอ้อม

๔) มีศลี ธรรม รักษาความสัตย์ หวงั ดตี อ่ ผู้อน่ื เผ่อื แผ่และแบ่งปัน

๕) มีระเบียบวนิ ยั เคารพกฎหมาย ผู้น้อยร้จู ักการเคารพผใู้ หญ่

- 50 -

๖) มีความเข้มแข่งท้งั ร่างกายและจิตใจไมย่ อมแพ้ต่ออานาจฝ่ายตา่ หรือกเิ ลส มคี วามละอายเกรงกลวั
ตอ่ บาปตามหลักของศาสนา
๔. กิจกรรมการเรียนรู้ (วิธีสอนโดยการจัดการเรียนรแู้ บบคน้ พบ) (Discovery Method)

4.1 ขน้ั ตอนการเรียนรู้
1) ชวั่ โมงท่ี 1
ข้ันท่ี 1 ขนั้ นา
1. ครูรว่ มกับนกั เรียนถามตอบเกีย่ วกับอาชีพใดในประเทศไทยทไ่ี ม่พบการทุจริตในอาชพี นน้ั ๆ
2. ครูร่วมถามตอบกบั นกั เรยี นเกี่ยวกบั การคิดระบบฐานสบิ ในอาชีพใดท่ีสร้างความเสียหายใหแ้ ก่

ประเทศชาติได้มากท่ีสุด
3. ครรู ว่ มกันถามตอบกับนักเรยี นเกย่ี วกับอาขีพนักเรยี นพบการทจุ ริตในกลุม่ นกั เรียนได้หรือไม่
ขนั้ ที่ ๒. ขั้นสอน
4. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนเป็น ๕ กลมุ่ และให้นั่งเปน็ กลมุ่
5. ครแู จกใบงานที่ ๔ ใหก้ ับนักเรียนแตล่ ะกลมุ่
6. นักเรียนแต่ละกลมุ่ รว่ มกนั ศกึ ษาความรู้ ระบบคดิ ฐานสบิ จากใบความรู้ ห้องสมุด และ

แหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ
7. นกั เรียนร่วมกันจดั ทาใบงานที่ ๔
8. ครูอธิบายเพ่ิมเตมิ ในส่วนท่ีนักเรียนสงสยั และซักถาม

2) ชว่ั โมงที่ 2
ข้ันท่ี ๓. ขั้นฝกึ ทกั ษะ
1. นกั เรยี นแต่ละกลุม่ ร่วมกันสนทนาแลกเปลีย่ นความคิดเหน็ เกย่ี วกบั หัวขอ้ ทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย
2. นักเรยี นแต่ละกลุ่มรว่ มกนั ทาใบงานท่ี ๔ เรือ่ งระบบคิดฐานสบิ โดยให้นกั เรยี นแต่ละคนใน
กลมุ่

ช่วยกันคิดหาคาตอบ และช่วยกันอธิบายคาตอบให้เพ่ือนในกลมุ่ ฟังจนทกุ คนในกล่มุ มีความรู้ความเข้าใจท่ี
ถูกต้องชัดเจน

3. ครูสมุ่ เลอื กนักเรียน ๓ คน ของแตล่ ะกลุ่ม นาเสนอคาตอบในใบงานท่ี ๔ หนา้ ชัน้ เรียน
4. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้มีโอกาสถามตอบในประเด็นที่สงสัย และให้มีการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ซง่ึ
กนั และกนั
5. ครูเป็นผู้ตรวจสอบความถูกต้อง และอธิบายเพิ่มเตมิ ในส่วนทบี่ กพร่อง
ข้ันท่ี ๔. สรปุ ผล
6. ครูมอบหมายใหน้ ักเรยี นแต่ละกลมุ่ นาข้อมูลไปจัดบอรด์ เพ่ือการเรยี นรูข้ องเพื่อนรว่ มชั้น

- 51 -

และนกั เรียนอืน่ ทส่ี นใจเพ่ิมเติม
7. นกั เรียนสรปุ ความรทู้ ี่ได้ลงสมุดของแตล่ ะคน
8. ครูและนกั เรียนร่วมกันสรปุ การปอ้ งกันการทุจรติ ดว้ ยการเลกิ คิดระบบฐานสิบ
9. ครแู ละนกั เรียนร่วมกันสรุปการปอ้ งกันการทจุ รติ ในอาชพี ตา่ ง ๆ รวมถึงการประกอบอาชีพ

ของตนในอนาคต
๔.๒ ส่ือการเรียนรู้ / แหล่งการเรียนรู้
๑) ส่อื การเรยี นรู้
1. ใบความรู้ เรือ่ งระบบคดิ ฐานสบิ
2. ใบงาน เร่อื งระบบคิดฐานสิบ
3. แบบทดสอบ
4. วีดิทศั น์ เรอื่ ง แกท้ ุจรติ คิดฐานสอง
5. เครอ่ื งคอมพวิ เตอรท์ ่เี ชอ่ื มต่อระบบอินเตอร์เนต็
2) แหลง่ เรียนรู้
1. ห้องสมุดโรงเรยี น
2. แหล่งข้อมลู สารสนเทศ
http://web.uprightschool.net/
https://www.nacc.go.th/more_news.php?cid=592
https://youtu.be/FEfrARhWnGc

๕. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๕.1 วธิ กี ารประเมนิ
1) ประเมนิ ใบงานท่ี ๒ และ ๓
2) ประเมินการนาเสนองาน
3) สังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล
๔) สังเกตคณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค์
5) ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๑
๕.๒ เคร่อื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการประเมิน
๑) แบบประเมนิ ผลงานใบงานที่ ๒ และ ๓
๒) แบบประเมินการนาเสนอผลงาน
๓) แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล

- 52 -

๔) แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
5) แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1
5.3 เกณฑ์การตดั สนิ
1) ใบงานท่ี ๒ และ ใบงานที่ 3

1. นกั เรียนตอ้ งผ่านเกณฑ์การประเมิน ใน ระดับดีขน้ึ ไป
2) แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน

1. นักเรียนต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน ใน ระดับดีขนึ้ ไป
3) แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล

1. นักเรยี นตอ้ งผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ใน ระดับดขี น้ึ ไป
๔) แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

1. นกั เรยี นต้องผ่านเกณฑ์การประเมนิ ใน ระดับดีขนึ้ ไป
5) แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

1. นกั เรียนต้องผา่ นเกณฑ์การประเมิน ใน ระดบั ดีข้ึนไป

๖. บันทึกหลงั การจดั การเรยี นรู้
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงชอื่ ................................................ ครูผูส้ อน
(.................................................)

- 53 -

ใบความรู้
เรอ่ื ง ระบบคิดฐานสบิ (Analog)

ระบบคดิ “ฐานสิบ (Analog)”

เป นระบบการคิดวิเคราะห ข อมูล ท่ีมี
ตัวเลขหลายตัว และอาจหมายถึงโอกาสท่ีจะเลือก
ไดหลายทาง เกิดความคิดที่หลากหลาย ซับซอน
หากนามาเปรียบเทียบกับการปฏิบัติงานของ
เจาหนาท่ีของรัฐ จะทาใหเจาหนาที่ ของรัฐตองคิด
เยอะ ตองใชดุลยพินิจเยอะ อาจจะนาประโยชน์
ส่วนตนและประโยชนสวนรวม มาปะปนกันได แยก
ประโยชน ส วนบุคคลและประโยชน ส วนรวมออก
จากกนั ไมไ่ ด้

“การปฏิบัติงานแบบใชระบบคิดฐานสิบ
(Analog)” คือ การที่เจาหนาที่ของรัฐ ยังมีระบบ
การคิดทย่ี งั แยกเร่ืองตาแหนงหนาท่ีกับเรื่องสวนตน
ออกจากกันไม ได นาประโยชน์ส่วนตนและ
ประโยชนสวนรวมมาปะปนกันไปหมด แยกแยะไม
ออกว าส่ิงไหนคือประโยชน์ส่วนตนส่ิงไหนคือ
ประโยชนสวนรวม นาบคุ ลากรหรอื ทรพั ยสินของราชการมาใชเพอื่ ประโยชนสวนบุคคล เบียดบังราชการ เห็น
แกประโยชนสวนบุคคล เครือญาติ หรือพวกพอง เหนือกวาประโยชนของสวนรวมหรือของหนวยงาน จะคอย
แสวงหาประโยชนจากตาแหนงหนาท่ี ราชการ กรณีเกิดการขัดกันระหวางประโยชนสวนบุคคลและประโยชน
สวนรวม จะยึดประโยชน์ส่วนตนเปนหลกั

- 54 -

- 55 -

- 56 -

ใบงานที่ ๔
เรื่อง ระบบคิดฐานสิบ (Analog)
คาส่งั
1. ให้นกั เรียนศึกษาและวเิ คราะห์ขา่ วที่กาหนดใหแ้ ลว้ ตอบคาถามดงั ต่อไปน้ี

- 57 -

- 58 -

2. จงตอบคาถามต่อไปน้ีให้ถกู ต้องเหมาะสมที่สุด
1. หวั ขอ้ ขา่ ว
............................................................................................................................. .................................................
2. ความสงสยั ท่ีเกดิ ข้ึนหลงั จากอ่านขา่ ว
............................................................................................................................. .................................................
3. ขอ้ สงั เกตได้จากข่าว
..................................................................................................................................................... .........................
4. ส่ิงที่สัมผสั ไดจ้ ากขา่ ว
.................................................................................................... ..........................................................................
5. สารวจข้อเทจ็ จรงิ ของขอ้ มูลทีไ่ ด้จากขา่ ว
............................................................................................................................. .................................................
6. สืบค้นข้อมลู เพิ่มเตมิ ที่ได้คือ
............................................................................................................................. .................................................
7. จากจดุ ทส่ี งสยั จุดทส่ี งั เกต ได้สัมผสั สารวจ ตรวจสอบสบื คน้ ขอ้ มลู จากข่าวที่ได้ศึกษาวเิ คราะห์แล้วนนั้ พบ
ประเด็นสาคญั คอื
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
8. จากข่าวขา้ งต้นผลการตัดสินจะเป็นเช่นไร
....................................................................................................................................... .......................................
........................................................................................... ............................................................. ......................
9. หมอวันชัยใชร้ ะบบการคิดแบบใด จึงได้ดาเนนิ การเชน่ ข่าวขา้ งต้น
............................................................................................................................. .................................................
10. นกั เรยี น จะนากรณีตวั อยา่ งดงั ขา่ ว ไปประยกุ ต์ใชใ้ นการดาเนนิ ชีวิตอยา่ งไร
............................................................................................................................. .................................................

- 59 -

ผลการตัดสนิ

- 60 -

แบบประเมนิ ผลงาน

คาช้ีแจงให้ครูผูส้ อนประเมนิ ผลงานงานนกั เรยี นตามรายการท่ีกาหนดแล้วขีดลงในช่องท่ีตรงกับ

หมายเลข

ท่ี รายการประเมนิ ระดับคุณภาพ 1
432

1. ตรงจามจุดประสงค์

2. มคี วามถูกตอ้ ง

3. ภาษาท่ีใช้/วิธกี ารนาเสนอเขา้ ใจง่าย

4. มคี วามคิดสรา้ งสรรค์

5. มีความเปน็ ระเบียบชัดเจน

เกณฑ์การประเมนิ ให้ 4 คะแนน
ผลงานสมบรู ณช์ ัดเจน ให้ 3 คะแนน
ผลงานมขี อ้ บกพร่องบางสว่ น
ผลงานมขี ้อบกพร่องเปน็ สว่ นใหญ่ ให้ 2 คะแนน
ผลงานมขี อ้ บกพร่องมาก ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
18-20 ดมี าก
14-17 ดี
10-13 พอใช้
ต่ากวา่ 10 ปรบั ปร่งุ

- 61 -

แบบประเมินการนาเสนอผลงาน
เรอื่ ง ระบบคิดฐานสบิ

คาช้แี จง ใหผ้ สู้ อน ประเมินการนาเสนอผลงานของนักเรียนตามรายการท่ีกาหนด แลว้ ขดี √ ลงในช่อง
ท่ี ตรงกับคะแนน

ลาดบั ท่ี รายการประเมิน ๔ ระดับคะแนน ๑
๓๒
๑ เนอื้ หาละเอียดชดั เจน
๒ ความถูกต้องของเนื้อหา
๓ ภาษาทีใ่ ชเ้ ข้าใจง่าย
๔ ประโยชน์ท่ีได้จากการนาเสนอ
๕ วธิ ีการนาเสนอผลงาน

รวม

ลงช่อื ..................................................................... ผูป้ ระเมิน

.........../............................./.....................

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน

ผลงานหรือพฤตกิ รรมสมบรู ณ์ชดั เจน ให้ ๔ คะแนน

ผลงานหรอื พฤตกิ รรมมขี ้อบกพรง่ อบางสว่ น ให้ ๓ คะแนน

ผลงานหรอื พฤตกิ รรมมขี ้อบกพร่องเป็นส่วนใหญ่ ให้ ๒ คะแนน

ผลงานหรือพฤติกรรมมขี ้อบกพรอ่ งมาก ให้ ๑ คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ
๑๘ – ๒๐ ดมี าก
๑๔ – ๑๗ ดี
๑๐ – ๑๓ พอใช้
ตา่ กว่า ๑๐ ปรบั ปรุง

- 62 -

แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานของนักเรียนเปน็ รายบุคคล

กลมุ่ ท…่ี …................................

คาชีแ้ จง ผสู้ อนสังเกตการทางานของนกั เรียน โดยทาเคร่ืองหมายถูกลงในช่องที่ตรงกบั ความเปน็ จรงิ

พฤติกรรม ความสนใจ การมีส่วน การรบั ฟงั การตอบ ความรบั ผิด รวม
ชือ่ -สกลุ ในการเรยี น ร่วมแสดง ความคดิ คาถาม ชอบต่องาน คะแน
ความคิด เห็นของผู้ ที่ไดร้ ับมอบ
๒๑๐ เห็นในการ ๒๑๐ น
อภปิ ราย อ่นื หมาย
๑๐
๒๑๐ ๒๑๐ ๒๑๐

ลงชอ่ื ..................................................................... ผูป้ ระเมนิ

.........../............................./.....................

เกณฑก์ ารให้คะแนน

ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชัดเจน ให้ ๒ คะแนน

ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่งอบางส่วน ให้ ๑ คะแนน

ผลงานหรอื พฤตกิ รรมมีข้อบกพร่องมาก ให้ ๐ คะแนน

เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ

๙ – ๑๐ ดีมาก

๗ – ๘ ดี

๔ - ๖ พอใช้

๐ – ๔ ปรับปรงุ

- 63 -

แบบประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ของนักเรียน

พฤติ 1) มคี วามรัก 2) ซือ่ สัตย์ 3) ใฝห่ า ๔) มศี ลี ธรรม ๔) มีระเบยี บ ๖) มีความเข้ม หมา

กรรม ชาติ ศาสนา เสียสละ ความรู้ หมัน่ รักษาความ วนิ ัย เคารพ แขง่ ทงั้ รา่ งกาย ย

พระมหากษัตริ อดทน มี ศึกษาเลา่ เรยี น สัตย์ หวังดีต่อ กฎหมาย และจติ ใจไม่ เหตุ

เลข ย์ อุดมการณใ์ น ทั้งทางตรง ผู้อ่ืน เผื่อแผ่ ผนู้ อ้ ยรจู้ ักการ ยอมแพต้ ่อ

ท่ี สิ่งท่ีดงี ามเพ่อื และทางอ้อม และแบง่ ปัน เคารพผูใ้ หญ่ อานาจฝา่ ยต่า

ส่วนรวม หรอื กเิ ลส มี

ความละอาย

เกรงกลวั ต่อ

ชอื่ - บาปตามหลัก

นามสกลุ ของศาสนา

321032103210321032103210

ลงชือ่ ..................................................................... ผู้

ประเมิน

.........../............................./.....................

เกณฑ์การใหค้ ะแนน

ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสมบูรณ์ชัดเจน ให้ ๓ คะแนน

ผลงานหรอื พฤติกรรมมขี ้อบกพร่องบางสว่ น ให้ ๒ คะแนน

ผลงานหรือพฤตกิ รรมมีข้อบกพรอ่ งเป็นสว่ นใหญ่ ให้ ๑ คะแนน

ผลงานหรือพฤติกรรมมขี ้อบกพร่องมาก ให้ ๐ คะแนน

เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ

๑๖ – ๑๘ ดมี าก

๑๓ – ๑๔ ดี

๑๐ – ๑๒ พอใช้

ตา่ กวา่ ๑๐ ปรับปรงุ

- 64 -

แบบทดสอบหลังเรยี น
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๑ “ระบบการคดิ ฐานสิบ”
คาช้แี จง ให้นักเรียนบอกการทจุ ริตท่ีอาจเกดิ ขน้ึ ได้กับบคุ คล ๑๐ สาขาอาชพี ซ่ึงผลเสยี ต่อประเทศชาติ จาก
การคิดระบบฐานสิบ จานวน ๑๐ ข้อ ๑๐ คะแนน
๑. การทุจรติ ที่อาจเกิดขึ้นได้ในอาชพี “หมอ” ไดแ้ ก่
............................................................................................................................. .................................................
..................................................................................................................................................... .........................
๒. การทจุ รติ ที่อาจเกดิ ขึ้นได้ในอาชีพ “พยาบาล” ไดแ้ ก่
........................................................... .......................................................................................... .........................
............................................................................................................................. .................................................
๓. การทจุ ริตท่ีอาจเกิดขึ้นได้ในอาชีพ “ทหาร” ได้แก่
............................................................................................................................. .................................................
..................................................................................................................................................... .........................
๔. การทุจริตท่ีอาจเกิดขึน้ ได้ในอาชพี “ตารวจ” ได้แก่
........................................................... .......................................................................................... .........................
............................................................................................................................. .................................................
๔. การทจุ ริตทอ่ี าจเกิดขน้ึ ไดใ้ นอาชีพ “คร”ู ได้แก่
............................................................................................................................. .................................................
..................................................................................................................................................... .........................
๖. การทุจรติ ที่อาจเกดิ ขน้ึ ได้ในอาชีพ “นายอาเภอ” ได้แก่
......................................................... ............................................................................................ .........................
............................................................................................................................. .................................................
๗. การทจุ รติ ทอ่ี าจเกิดขึ้นได้ในอาชีพ “ผูว้ า่ ราชการ” ไดแ้ ก่
............................................................................................................................. .................................................

- 65 -

๘. การทจุ ริตทอ่ี าจเกดิ ขึ้นไดใ้ นอาชีพ “ผู้อานวยการสถานศึกษา” ได้แก่
............................................................................................................................. .................................................
..................................................................................................................................................... .........................
๙. การทุจรติ ท่ีอาจเกิดขน้ึ ไดใ้ นอาชพี “พนักงานขับรถ” ได้แก่
........................................................ ............................................................................................. .........................
............................................................................................................................. .................................................
๑๐. การทจุ ริตท่อี าจเกดิ ขน้ึ ไดใ้ นอาชพี “ช่างไฟ” ไดแ้ ก่
............................................................................................................................. .................................................
..................................................................................................................................................... .........................

เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
9 – 10 ดมี าก
7-8 ดี
5–6 พอใช้
ตา่ กว่า 5 ปรับปรงุ

- 66 -

แผนการจดั การเรยี นรู้
หนว่ ยที่ 1 ชือ่ หน่วย การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์สว่ นรวม ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๔ เร่ือง ความแตกต่างระหว่างจริยธรรมและการทจุ รติ (ชุมชน สงั คม) เวลา ๒ ช่ัวโมง

1. ผลการเรียนรู้
๑.๑ มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกี่ยวกับผลประโยชน์สว่ นตนกบั ผลประโยชนส์ ว่ นรวม
๑.๒ สามารถคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชนส์ ว่ นรวมได้
๑.๓ ตระหนกั และเห็นความสาคัญของการต่อต้านและป้องกันการทุจรติ

2. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ นักเรยี นสามารถ
2.1 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกับความแตกต่างระหวา่ งจรยิ ธรรมและการทจุ รติ
2.2 สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งจรยิ ธรรมและการทจุ รติ (ชมุ ชน สงั คม)สว่ นรวมไดใ้ นรูปแบบต่างๆ
2.3 ตระหนักและเหน็ ความสาคญั ของการตอ่ ตา้ นและป้องกันการทุจรติ

3. สาระการเรียนรู้
3.1 ความรู้
1) สาเหตขุ องการทจุ ริตและทิศทางการป้องกันการทุจรติ ในประเทศไทย
๒) ทฤษฎี ความหมาย และรูปแบบของการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนกับประโยชน์ส่วนรวม

(Conflict of interest)
๓) แก้ “ทจุ รติ ” ต้องคิดแยกแยะปรับวิธคี ดิ พฤติกรรมเปล่ยี น สงั คมเปลี่ยนประเทศชาตเิ ปลีย่ น โลก

เปล่ยี น
๔) ตวั อยา่ งการขัดกันระหว่างประโยชนส์ ่วนตนกบั ประโยชนส์ ว่ นรวมในรูปแบบตา่ งๆ

๓.๒. ทกั ษะ / กระบวนการ (สมรรถนะท่ีเกดิ )
1) ความสามารถในการสื่อสาร
1. ความสามารถในการคดิ
2. ทักษะการคิดวเิ คราะห์
3. ทกั ษะการคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ
2) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ
1. กระบวนการทางานกลุม่

๓.๓ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ / คา่ นยิ ม
1) มคี วามรักชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์

- 67 -

2) ซอ่ื สตั ย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณใ์ นส่ิงท่ีดงี ามเพื่อส่วนรวม

3) กตญั ญตู ่อพ่อแม่ ผปู้ กครอง ครูบาอาจารย์

4) ใฝห่ าความรู้ หม่นั ศึกษาเล่าเรียนท้ังทางตรง และทางอ้อม

5) รักษาวฒั นธรรมประเพณีไทยอนั งดงาม

6) มศี ลี ธรรม รักษาความสตั ย์ หวังดีตอ่ ผู้อ่ืน เผือ่ แผ่และแบง่ ปัน

7) เข้าใจเรียนร้กู ารเปน็ ประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุขท่ีถูกต้อง

8) มรี ะเบยี บวินยั เคารพกฎหมาย ผ้นู ้อยรู้จักการเคารพผใู้ หญ่

9) มีสติร้ตู วั รู้คดิ รูท้ า รู้ปฏิบตั ติ ามพระราชดารสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั

10) รู้จักดารงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 9 รู้จักอดออมไว้ใช้เมื่อยามจาเป็น มีไว้พอกินพอใช้ถ้าเหลือก็แจกจ่ายจาหน่าย และ
พรอ้ มทจี่ ะขยายกจิ การเม่ือมีความพร้อม เมื่อมีภมู ิคมุ้ กันที่ดี

11) มคี วามเข้มแขง่ ทงั้ รา่ งกายและจิตใจไมย่ อมแพ้ตอ่ อานาจฝา่ ยตา่ หรือกิเลส มคี วามละอายเกรง
กลวั ตอ่ บาปตามหลักของศาสนา

๔. กิจกรรมการเรยี นรู้

๔.๑ ข้นั ตอนการเรียนรู้

1) ชว่ั โมงที่ 1

ขั้นที่ 1 เตรียมการ
1. ครเู ตรียมวดี ีโอให้นักเรียนดูเรอื่ ง นิมนต์ย้ิมเดล่ีคนดีไม่คอรัปชน่ั ตอนแป๊ะเจย๊ี ตอนส่งเสริม
ลูกนอ้ ง และวีดีโอเรอ่ื ง รบั สนิ บน ฉายท่ีหน้าชนั้ เรียน แลว้ ครูพดู สอบถาม นักเรียนว่า วดี ีโอท้งั ๒ เรือ่ ง มีผล
อยา่ งไรตอ่ ชมุ ชน สงั คม ดา้ นจริยธรรม กบั การทจุ รติ ยกตัวอย่างประเทศไทยของเรามลี กั ษณะอย่างไร แลว้ ให้
นักเรียนออกมาบอกและอธิบายประกอบสถานการณ์ว่าอะไรเปน็ จรยิ ธรรม อะไรเปน็ การทจุ รติ

ข้ันที่ 2 เสนอตวั อยา่ ง

๑. ครูแจกกระดาษขนาด A4 ให้นกั เรยี นคนละ 1 แผน่ ให้นกั เรียนสรุป Mind Map ตามที่

ครูกาหนดลงบนกระดาษให้ถูกต้อง ไวน้ าเสนอนิทรรศการ

๒. ให้นักเรียนนาเสนอผลงานตนเองและศึกษาความรู้จากคลิปต่างๆ เพ่ิมเติมเพื่อเสริมความรู้
จากแหล่งเรียนรู้

2) ช่ัวโมงท่ี 2

ข้ันที่ 3 เปรยี บเทยี บ

๑. นักเรยี นแบ่งกลุ่มละ ๓ กล่มุ ละๆ ๔ คน รว่ มกนั ศึกษาความรูแ้ ละสรปุ สาระสาคัญตาม
ประเดน็ ที่ครูกาหนด จากสถานการณท์ ่นี ักเรียนได้ดู แล้วให้ตวั แทนกล่มุ ออกมาจบั สลากหมายเลขกลุ่มและรับ
สถานการณจ์ าลองท่ี ๑ – ๔ ตามลาดบั ท่จี ับฉลากได้

- 68 -

๒. ครูกาหนดระยะเวลาในการทางานกลุม่ ร่วมกนั ตามความเหมาะสม แล้วสุ่มเรียกตวั แทนกลุ่ม

ออกมานาเสนอความรู้ที่หน้าชน้ั เรียน ตามลาดับกลุม่ ที่ 1 - ๓

๓. ให้นักเรยี นกล่มุ อนื่ ๆ ตั้งประเด็นคาถามหลังจากทีต่ ัวแทนกลุ่มนาเสนอความร้จู บแลว้ กลุ่ม
ละ ๑ คาถาม แลว้ ให้กลมุ่ ทเ่ี ป็นเจ้าของเร่ืองช่วยกันตอบคาถามให้ถูกต้อง

ขน้ั ที่ 4 สรปุ กฎเกณฑ์

๑ .ใหน้ ักเรยี นร่วมกนั สรุปประเดน็ ความรู้ท่ีได้รบั จดลงในสมดุ แลว้ ครตู ้งั ประเด็นคาถามให้
นกั เรียนช่วยกันตอบ หรอื สุ่มเรยี กนกั เรียนใหต้ อบเปน็ รายบุคคล

๒. ให้นักเรียนร่วมกันศึกษาความรู้ ตามสถานการณ์จาลองและร่วมแสดงความคิดเห็นว่า
ลักษณะของสถานการณ์จาลองที่ได้รับมีความแตกต่างระหว่างจริยธรรมและการทุจริต มีความสาคัญต่อชุมชน
สงั คมหรอื ไม่ อย่างไร

๓. ครแู ละนักเรียนร่วมกันสรุปความรเู้ ปน็ Mind Map และวิเคราะห์แสดงความคดิ เห็น

๔. ให้นกั เรยี นชว่ ยกันยกตวั อย่างโรงเรยี น ชุมชนของตนเอง วา่ เปน็ อยา่ งไร ณ ปัจจุบนั จะร่วมกัน

ตระหนกั ให้ความสาคัญเร่ืองน้ีได้อย่างไร

๕. ครอู ธบิ ายให้นักเรียนทราบว่า จริยธรรมและการทจุ ริต ของแตล่ ะชุมชน สงั คม มีความ
สอดคลอ้ งหรือเก่ยี วขอ้ งกบั วถิ ีชีวิต ถา้ คนเราไมเ่ ห็นความสาคญั หรอื แยกแยะไม่ออกว่าผลกระทบท่เี กดิ จะสง่ ผล
ต่อสังคม ชุมชนในอนาคตในด้านตา่ งๆอย่างไร

๖. นักเรียนได้รับการช้ีแนะจากครูผู้สอนสามารถศึกษาความรู้เสริมเพ่ิมเติมเร่ือง ความ
แตกตา่ งระหวา่ งจรยิ ธรรมและการทุจริต ของโรงเรียนสจุ รติ ไดใ้ นเว็ปไซตข์ องโรงเรียนสุจริต

ขัน้ ที่ 5 นาไปใช้

๗.ใหน้ ักเรยี นแต่ละกลุ่มหาข้อความการกระทา พฤติกรรม หรือเร่อื งราวทเ่ี ป็นข้อความ

สถานการณเ์ พิ่มเตมิ มาเขียนใส่ในกระดาษฟลปิ ชารท์ ทคี่ รแู จกให้ แล้วใหส้ มาชกิ ในกลุ่มช่วยกนั เผยแพร่ให้
นักเรยี น ครู ชมุ ชน หรอื นามาจดั ปา้ ยนิเทศเพอ่ื ปลุกจิตสานึกกระตนุ้ จรยิ ธรรมตา้ นทุจรติ

๘.นกั เรียนแต่ละกลุ่มสง่ ตัวแทนออกมานาเสนอผลงานที่หนา้ ช้นั เรยี น โดยครแู ละเพื่อน

นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะเพ่ือนาไปประยุกต์ใช้เม่ือเจอสถานการณ์การทุจริตใน
อนาคตและเหตกุ ารณป์ ัจจบุ ัน

4.2 สอ่ื การเรียนรู้ / แหล่งการเรียนรู้

1) ส่ือการเรยี นรู้

1. วดี โี อ เร่อื ง นมิ นตย์ ิ้มเดลค่ี นดไี มค่ อรัปชั่น ตอนแป๊ะเจีย๊ ะ ตอนส่งเสรมิ ลกู น้อง

2. วดี โี อ เร่อื ง รับสนิ บน ฯลฯ

3. หนังสอื เรยี น/หนงั สือพิมพ์ ฯลฯ

4. ภาพขา่ ว ฯลฯ

- 69 -

5. ภาพยนตรส์ ้นั ๆ /คลปิ วีดีโอ ฯลฯ

6. ใบความรู้/ สถานการณจ์ าลองที่ ๑-๔

ใบความรู้การนาโครงการสาธารณะลงในเขตเลือกตัง้ เพื่อประโยชน์ในทางการเมือง

ใบความร้กู ารใชต้ าแหน่งหน้าท่แี สวงหาประโยชน์แก่เครือญาติ

ใบความรู้การใชอ้ ิทธิพลเข้าไปมผี ลต่อการตัดสนิ ใจของเจา้ หนา้ ทร่ี ัฐหรอื หน่วยงานของรฐั อื่น

ใบความรูก้ ารขดั กนั แห่งผลประโยชน์สว่ นตนกบั ประโยชน์ส่วนรวมประเภทอน่ื ๆ

2) สือ่ การเรียนรู้

1. แหลง่ เรยี นรใู้ นโรงเรียน ชมุ ชน /สถานการณท์ ี่พบไดใ้ นชุมชน

2. ห้องสมุดโรงเรียน

3. หอ้ งเทคโนโลยใี นโรงเรียน

๕. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้

5.1 วธิ ีการประเมิน

1) สอบถาบ/สมั ภาษณ์

รายการประเมนิ คาอธบิ ายระดับคุณภาพ / ระดับคะแนน

ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1)

1. ความเข้าใจเกยี่ วกบั มคี วามเข้าใจเก่ียวกบั ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั ความ ความเขา้ ใจเกีย่ วกบั ความ
ความแตกตา่ งระหวา่ ง ความแตกตา่ งระหว่าง
จริยธรรมและการทุจรติ จริยธรรมและการทุจรติ แตกต่างระหว่าง แตกต่างระหว่าง
(ชุมชน สังคม) (ชุมชน สงั คม)ได้ถกู ตอ้ ง
ทกุ ประเดน็ จริยธรรมและการทุจรติ จริยธรรมและการทุจริต

(ชมุ ชน สงั คม)ได้ถูกตอ้ ง (ชมุ ชน สังคม) ไมถ่ กู ตอ้ ง

บางส่วน

2. สามารถคดิ แยกแยะ สามารถคดิ แยกแยะ คดิ แยกแยะความ ไมส่ ามารถคิดแยกแยะ

ความแตกต่างระหว่าง ความแตกตา่ งระหว่าง แตกตา่ งระหวา่ ง ความแตกตา่ งระหว่าง

จรยิ ธรรมและการทจุ ริต จริยธรรมและการทจุ ริต จรยิ ธรรมและการทุจริต จริยธรรมและการทุจรติ

(ชมุ ชน สังคม)ส่วนรวมได้ (ชุมชน สังคม)สว่ นรวมได้ (ชุมชน สังคม)ส่วนรวมได้ (ชมุ ชน สงั คม)สว่ นรวมได้

ในรปู แบบต่างๆได้ หลากหลายรปู แบบ บางรปู แบบ

3. ตระหนักและเหน็ ตระหนักและเห็น ตระหนกั และเหน็ ไมต่ ระหนักและไม่เห็น

ความสาคัญของจรยิ ธรรม ความสาคญั ของจริยธรรม ความสาคัญของจรยิ ธรรม ความสาคัญของจรยิ ธรรม

และการตา้ นทจุ รติ ใน และการต้านทุจรติ ในรปู และการต้านทุจริตใน และการต้านทจุ ริตใน

รูปแบบตา่ งๆได้ ทกุ รูปแบบ รูปแบบตา่ งๆได้ รูปแบบตา่ งๆได้

- 70 -

๕.๒ เครื่องมือท่ีใช้ในการประเมิน

1) แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานของนักเรยี นเปน็ รายบุคคล

2) ผลงานนักเรยี น

5.3 เกณฑก์ ารตัดสิน

1) เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ (ขอ้ ๑)

ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ

7 - 9 ดี

4 - 6 พอใช้

1 - 3 ปรับปรุง

2) เกณฑ์การตัดสินคุณภาพพฤตกิ รรมการทางานของนักเรียน

ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ
8 - 10
5–7 ดี
0-4 พอใช้
ปรับปรุง

6. บนั ทึกหลงั สอน

............................................................................................................................. ...................................

............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ................................................ ครผู สู้ อน
(.................................................)

- 71 -

แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานของนักเรยี นเป็นรายบุคคล
กล่มุ ที่……..........

คาชีแ้ จง ผ้สู อนสงั เกตการทางานของนักเรยี น โดยทาเคร่ืองหมายถกู ลงในช่องทีต่ รงกบั ความเปน็ จริง

พฤติกรรม ความสนใจ การมสี ่วนรว่ ม การรบั ฟัง การตอบ ความรับผดิ รวม
ในการเรยี น แสดง ความคดิ เห็น คาถาม ชอบตอ่ งาน คะแนน
ของผู้อ่นื ทไ่ี ด้รับมอบ
ความคิดเห็นใน
การ หมาย

อภปิ ราย

ชอื่ -สกุล 2 1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0 10

1

2

3

4

5

6

เกณฑ์การประเมนิ
ให้คะแนน 0-4 ถ้าการทางานนั้นอยู่ในระดับตอ้ งปรับปรงุ
ให้คะแนน 5-7 ถา้ การทางานนั้นอยู่ในระดับพอใช้
ให้คะแนน 8-10 ถา้ การทางานนั้นอย่ใู นระดับดี

ลงชอื่ ……………………………………………………
(…………………………………………………..)

ผปู้ ระเมนิ

- 72 -

ตวั อยา่ ง
ระบบคดิ ฐานสบิ & ระบบคิดฐานสอง

- 73 -

สถานการณท์ ่ี ๑

๑. การนาโครงการสาธารณะลงในเขตเลอื กต้ังเพอื่ ประโยชน์ในทางการเมอื ง

๑ นายกองค์การบริหารส่วนตาบลแห่งหนึ่งร่วมกับพวก แก้ไขเปล่ียนแปลงรายละเอียดโครงการ
ปรับปรุงและซ่อมแซมถนนคนเดินใหม่ ในตาบลที่ตนมีฐานเสียงโดยไม่ผ่านความเห็นชอบจากสภาฯ และตรวจ
รับงานทั้งท่ีไม่ถูกต้องตามแบบรูปรายการท่ีกาหนด รวมทั้งเมื่อดาเนินการแล้วเสร็จได้ติดป้ายช่ือของตนและพวก
การกระทาดังกล่าวมีมูลเป็นการกระทาการฝ่าฝืนต่อความสงบเรียบร้อย หรือสวัสดิภาพของประชาชน หรือ
ละเลยไม่ปฏิบัติตาม หรือปฏิบัติการไม่ชอบด้วยอานาจหน้าท่ี มีมูลความผิดทั้งทางวินัยอย่างร้ายแรงและทาง
อาญา คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีหนังสือแจ้งผลการพิจารณาของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ให้ผู้มีอานาจ แต่งต้ัง
ถอดถอน และสานกั งานคณะกรรมการการเลือกต้ังทราบ

๒ การทีน่ กั การเมอื งในจังหวดั ขอเพ่มิ งบประมาณเพื่อนาโครงการตดั ถนน สร้างสะพานลงในจังหวัด
โดยใช้ช่อื หรือนามสกลุ ของตนเองเปน็ ชอื่ สะพาน

๓ การทรี่ ฐั มนตรีอนุมัติโครงการไปลงในพ้ืนท่ีหรอื บา้ นเกดิ ของตนเอง

สถานการณท์ ี่ ๒

๒. การใชต้ าแหนง่ หน้าท่ีแสวงหาประโยชน์แก่เครือญาติ

พนักงานสอบสวนละเว้นไม่นาบันทึกการจับกุมที่เจ้าหน้าที่ตารวจชุดจับกุม ทาข้ึนในวันเกิดเหตุ
รวมเข้าสานวน แต่กลับเปลี่ยนบันทึกและแก้ไขข้อหาในบันทึก การจับกุม เพื่อช่วยเหลือผู้ต้องหาซ่ึงเป็นญาติ
ของตนใหร้ บั โทษน้อยลง คณะกรรมการ ป.ป.ช. พิจารณาแล้วมมี ลู ความผิดทางอาญาและทางวนิ ยั อย่างร้ายแรง

สถานการณท์ ่ี ๓

๓. การใช้อิทธิพลเข้าไปมีผลตอ่ การตดั สนิ ใจของเจา้ หนา้ ท่ีรัฐหรอื หน่วยงานของรัฐอ่ืน

๑ เจ้าหน้าที่ของรัฐใช้ตาแหน่งหน้าท่ีในฐานะผู้บริหาร เข้าแทรกแซงการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ี ให้
ปฏิบตั ิหนา้ ที่โดยมิชอบดว้ ยระเบียบ และกฎหมายหรือฝ่าฝนื จรยิ ธรรม

๒ นายเอ เป็นหัวหน้าส่วนราชการแห่งหนึ่งในจังหวัด รู้จักสนิทสนมกับ นายบี หัวหน้าส่วนราชการอีก
แห่งหนึ่งในจังหวัดเดียวกัน นายเอ จึงใช้ความสัมพันธ์ส่วนตัวฝากลูกชาย คือ นายซี เข้ารับราชการภายใต้
สังกัดของนายบี

- 74 -

สถานการณท์ ่ี ๔

๔. การขัดกนั แห่งผลประโยชน์สว่ นบุคคลกับประโยชน์ส่วนรวมประเภทอื่นๆ

๑ การเดินทางไปราชการต่างจังหวัดโดยไม่คานึงถึงจานวนคน จานวนงาน และจานวนวันอย่างเหมาะสม
อาทิ เดินทางไปราชการจานวน 10 วัน แต่ใช้เวลาในการทางานจริงเพียง 6 วัน โดยอีก 4 วัน เป็นการเดินทาง
ท่องเท่ียวในสถานทีต่ ่าง ๆ

๒ เจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติไม่ใช้เวลาในราชการปฏิบัติงานอย่างเต็มที่ เนื่องจากต้องการปฏิบัติงานนอก
เวลาราชการ เพราะสามารถเบิกเงินงบประมาณคา่ ตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการได้

๓ เจ้าหนา้ ทขี่ องรฐั ลงเวลาปฏิบัตงิ านนอกเวลาราชการ โดยมไิ ด้อยู่ปฏบิ ัตงิ านในชว่ งเวลาน้นั อยา่ ง
แทจ้ รงิ แต่กลับใช้เวลาดังกล่าวปฏิบัตกิ จิ ธุระส่วนตัว

- 75 -

แผนการจดั การเรยี นรู้

หนว่ ยท่ี ๑ ช่ือหน่วย การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕ เรื่อง ประโยชนส์ ่วนตนและประโยชนส์ ว่ นรวม และการขดั กนั ระหว่างประโยชน์

ส่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวม (ชุมชน สงั คม) เวลา ๒ ช่ัวโมง

๑. ผลการเรียนรู้

๑.๑ มีความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม

๑.2 สามารถคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตน กับสว่ นรวมได้

๑.3 ตระหนักและเหน็ ความสาคัญของการต่อตา้ นและป้องกันการทจุ ริต

๒. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

๒.๑ สามารถแยกแยะ พร้อมยกตวั อย่างระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชนส์ ว่ นรวมได้

๒.2 สามารถคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน กับส่วนรวมได้

๒.3 ตระหนักและเหน็ ความสาคัญของการต่อตา้ นและป้องกนั การทุจริต

๓. สาระการเรยี นรู้

3.1 ความรู้

ประโยชน์ส่วนตน หมายถึง การท่ีบุคคลท่ัวไปในสถานะเอกชนหรือเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ใน

สถานะเอกชนไดท้ ากจิ กรรมหรอื ได้การกระทาตา่ งๆ เพื่อประโยชนส์ ว่ นตน ครอบครวั ญาติ เพื่อนหรือของกลุ่ม

ในสังคม ที่มีความสัมพันธ์กันในรูปแบบต่างๆ เช่น การประกอบอาชีพ การค้า การลงทุน เพ่ือหาประโยชน์

ในทางการเงนิ หรือในทางทรพั ยส์ นิ ต่างๆ เปน็ ต้น

ประโยชนส์ ว่ นรวมหรอื ประโยชน์สาธารณะ หมายถึงการที่บคุ คลใดๆ ในสถานะที่เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ
(ผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ หรือเจ้าหน้าท่ีของรัฐในหน่วยงานของรัฐ) ได้
กระทาการใดๆ ตามหน้าที่หรือได้ปฏิบัติหน้าที่ อันเป็นการดาเนินการในอีกส่วนหน่ึง ที่แยกออกมาจากการ
ดาเนินการตามหน้าท่ีในสถานะของเอกชน การกระทาการใดๆ ของเจ้าหน้าที่ของรัฐจึงมีวัตถุประสงค์หรือมี
เป้าหมายเพอ่ื ประโยชนข์ องสว่ นรวม หรือการรักษาผลประโยชน์ส่วนรวม

การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวมของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ หมายถึง
การที่เจ้าหน้าที่ของรัฐ ได้ตกอยู่ในฐานะเป็น ผู้มีส่วนได้เสีย ในรูปแบบต่างๆตามท่ีกฎหมายบัญญัติ
ห้ามไว้ และยังได้เข้าไปพิจารณาดาเนินการ ในกิจการสาธารณะที่เป็นการดาเนินการตามอานาจหน้าท่ีใน
กิจการของรัฐเพ่ือประโยชน์ของรัฐ แต่เมื่อเจ้าหน้าที่ของรัฐพิจารณาได้มีผลประโยชน์ส่วนตนเข้าไป
แอบแฝงหรอื ไดน้ าประโยชนส์ ่วนตนเขา้ ไปมอี ิทธิพลตอ่ การตัดสินใจ หรือเข้าไปเก่ียวข้องในการตัดสินใจในการ
ดาเนินการใดๆ ตามอานาจหน้าที่ของการดาเนนิ งานทีเ่ ป็นกิจการสว่ นรวมของรฐั

3.2 ทักษะ / กระบวนการ (สมรรถนะที่เกดิ )

1) ความสามารถในการคิด

1. ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ การคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ

- 76 -

2. ทกั ษะกระบวนการคิดเชงิ สร้างสรรค์
2) ความสามารถในการส่ือสาร

(อา่ น ฟงั พูด เขยี น)
3) ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต

(การสังเกต การระบุ จาแนก วเิ คราะห์ จดั กลุ่ม สรปุ )
3.3 คุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ / คา่ นยิ ม

๑) มีศลี ธรรม รักษาความสตั ย์ หวังดตี อ่ ผูอ้ นื่ เผอ่ื แผ่และแบง่ ปัน
๒) มรี ะเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผนู้ อ้ ยรู้จกั การเคารพผใู้ หญ่
๓) มีสติรู้ตวั รคู้ ิด รูท้ า รูป้ ฏิบัติตามพระราชดารสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว
๔) มคี วามเข้มแข็งท้งั รา่ งกายและจติ ใจไม่ยอมแพต้ อ่ อานาจฝ่ายตา่ หรอื กเิ ลส มคี วามละอายเกรงกลัว
ตอ่ บาปตามหลักของศาสนา
๔.กิจกรรมการเรียนรู้
4.1 ขัน้ ตอนการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ ๑
ข้ันนา
1) ครูอ่านพระราชดารัสหรือพระบรมราโชวาทที่เกยี่ วกบั ประโยชนส์ ว่ นรวม ให้นกั เรียนฟัง
2) สนทนาอภิปราย เกี่ยวกับพระราชดารัสหรอื พระบรมราโชวาทที่เกยี่ วกบั ประโยชนส์ ่วนรวม โดยครู
พยายามเช่ือมโยง
ขน้ั สอน
1) ชมคลิปวีดโี อ พระราชดารัส ในหลวง 5 ธนั วาคม 2556 โดยท่มี าของคลปิ วีดโี อ คอื
https://www.youtube.com/watch?v=HUwr1tDiEFI&feature=youtu.be
2) สนทนาอภิปราย เกี่ยวกบั คลิปวีดีโอ พระราชดารสั ในหลวง 5 ธนั วาคม 2556 โดยครู
พยายามช้ีใหเ้ หน็ เร่ืองของการนกึ ถึงประโยชน์ส่วนรวม
3) แจกใบความรูเ้ รือ่ ง มารจู้ ักประโยชนส์ ่วนตนและประโยชน์สว่ นรวมและการขดั กนั ระหวา่ ง
ประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวม ให้นักเรยี นศกึ ษา
4) แจกใบงาน เร่ือง มาร้จู กั ประโยชนส์ ่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม และการขัดกันระหวา่ ง
ประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวม ให้นกั เรยี นลงมือปฏิบัติ

- 77 -

ชั่วโมงท่ี ๒
1) สนทนา อภปิ ราย ความร้เู ดิม เกีย่ วกบั ประเดน็ ของประโยชนส์ ่วนตนและประโยชนส์ ว่ นรวม และ

การขัดกันระหวา่ งประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
2) แบง่ นกั เรยี นออกเป็นกลมุ่ ๆละ ๔ – ๕ คน
3) แจกใบความรู้ เร่อื ง ตวั อย่าง การขัดกนั ระหวา่ งประโยชน์สว่ นตนกับประโยชน์ส่วนรวมใน
รปู แบบตา่ งๆ ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มศึกษา
4) แจกใบงาน เร่ือง ช่วยกนั ยกตัวอยา่ งการขดั กนั ระหว่างประโยชนส์ ว่ นตนกับประโยชน์
ส่วนรวมใหน้ กั เรยี นลงมือปฏิบัติ
ขน้ั สรปุ
5) รว่ มกนั เกี่ยวกับประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชนส์ ่วนรวมและการขัดกันระหวา่ งประโยชนส์ ่วนตน
และผลประโยชน์สว่ นรวม
4.2 สอ่ื การเรยี นรู้ / แหลง่ การเรยี นรู้
1) คลปิ วีดโี อ พระราชดารสั ในหลวง 5 ธันวาคม 2556 โดยท่ีมาของคลิปวดี โี อ คือ
https://www.youtube.com/watch?v=HUwr1tDiEFI&feature=youtu.be
๒) ตัวอย่าง พระราชดารสั หรอื พระบรมราโชวาททีเ่ กีย่ วกับประโยชนส์ ่วนรวม
๓) ใบความรูเ้ รื่อง มารูจ้ ักประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชน์ส่วนรวมและการขดั กันระหวา่ งประโยชน์
ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
๔) ใบงาน เรอ่ื ง มารจู้ ักประโยชนส์ ่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม และการขัดกันระหว่างประโยชน์
สว่ นตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม
๕) ใบความรู้ เรือ่ ง ตวั อย่าง การขัดกันระหวา่ งประโยชน์สว่ นตนกบั ประโยชนส์ ว่ นรวมในรูปแบบ
ต่างๆ
๖) ใบงาน เร่อื ง ชว่ ยกันยกตวั อย่างการขัดกนั ระหว่างประโยชน์สว่ นตนกับประโยชนส์ ่วนรวม
๗) กระดาษชาร์ต
๕. การประเมนิ ผลการเรียนรู้
5.1 วิธีการประเมิน

๑) ประเมินใบงาน เรื่อง มารู้จกั ประโยชน์สว่ นตนและประโยชนส์ ว่ นรวม และการขดั กนั
ระหว่างประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม

๒) ประเมินใบงาน เรือ่ ง ชว่ ยกนั ยกตัวอยา่ งการขัดกนั ระหว่างประโยชน์สว่ นตนกบั ประโยชน์
สว่ นรวม

๓) สงั เกตพฤติกรรมการทางานของนักเรยี นเปน็ รายบุคคล

- 78 -

๔) สังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่
๕.๒ เครื่องมือที่ใช้ในการประเมนิ

1) แบบประเมนิ ใบงาน
๒) แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานของนักเรียนเป็นรายบุคคล
๓) แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่

๖. บันทึกหลงั สอน
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................................................... ..........

ลงชอ่ื ................................................ ครูผู้สอน
(.................................................)

- 79 -
ใบความรู้
เร่อื ง มารูจ้ กั ประโยชน์สว่ นตนและประโยชนส์ ่วนรวม
และการขดั กันระหวา่ งประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม
ประโยชนส์ ว่ นตน หมายถงึ การทบ่ี ุคคลท่ัวไปในสถานะเอกชนหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐในสถานะเอกชน
ไดท้ ากิจกรรมหรือได้การกระทาต่างๆ เพ่ือประโยชน์ส่วนตน ครอบครัว ญาติ เพื่อนหรือของกลุ่มในสังคม ท่ีมี
ความสัมพันธ์กันในรูปแบบต่างๆ เช่น การประกอบอาชีพ การค้า การลงทุน เพ่ือหาประโยชน์ในทางการเงิน
หรือในทางทรัพย์สนิ ตา่ งๆ เปน็ ตน้
ประโยชน์ส่วนรวมหรือประโยชน์สาธารณะ หมายถึงการท่ีบุคคลใดๆ ในสถานะที่เป็นเจ้าหน้าท่ี
ของรัฐ (ผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ หรือเจ้าหน้าท่ีของรัฐในหน่วยงานของ
รฐั ) ไดก้ ระทาการใดๆ ตามหน้าท่ีหรือได้ปฏิบัติหน้าที่ อันเป็นการดาเนินการในอีกส่วนหนึ่ง ที่แยกออกมาจาก
การดาเนนิ การตามหน้าทใ่ี นสถานะของเอกชน การกระทาการใดๆ ของเจ้าหน้าท่ีของรัฐจึงมีวัตถุประสงค์หรือ
มเี ป้าหมายเพอื่ ประโยชนข์ องสว่ นรวม หรือการรักษาผลประโยชน์ส่วนรวม
การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ หมายถึง การท่ี
เจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ได้ตกอยใู่ นฐานะเปน็ ผู้มีสว่ นได้เสยี ในรูปแบบต่างๆตามที่กฎหมายบัญญัติห้ามไว้ และยังได้
เข้าไปพิจารณาดาเนินการ ในกิจการสาธารณะท่ีเป็นการดาเนินการตามอานาจหน้าท่ีในกิจการของรัฐเพ่ือ
ประโยชนข์ องรัฐ แต่เมื่อเจา้ หน้าท่ีของรัฐพิจารณาได้มีผลประโยชน์ส่วนตนเข้าไปแอบแฝงหรือได้นาประโยชน์
ส่วนตนเข้าไปมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจ หรือเข้าไปเก่ียวข้องในการตัดสินใจในการดาเนินการใดๆ ตามอานาจ
หน้าทข่ี องการดาเนินงานทเี่ ป็นกจิ การสว่ นรวมของรฐั

ชอื่ ............................................. สกลุ .................................................เลขที่ ........... ชั้น .........
โรงเรียน.......................................................................

- 80 -

ใบงาน
เรือ่ ง มารจู้ กั ประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชน์ส่วนรวม
และการขัดกันระหวา่ งประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวม
คาชี้แจง นักเรียนสรปุ ประเด็น และยกตัวอย่าง

ประโยชนส์ ่วนบุคคล คือ ……………………….. ตวั อย่าง เชน่
……………………………………………………………
……………………………………………………………

……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………

ป…ร…ะ…โย…ช…น…์ส่ว…น…ร…วม……ค…ือ ……………………………………………………….. ตวั อยา่ ง เช่น

……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………

…………………………………………………………… ตัวอยา่ ง เชน่
……………………………………………………………
……………………………………………………………
การประโยชน์สว่ นบคุ คล คอื ……………………
……………………………………………………………

……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………

……………………………………………………………
……………………………………………………………

ตัวอย่าง พระราชดารสั พระบรมราโชวาท

บ้านเมืองของเรากาลังต้องการการปรับปรุงและการพัฒนาท่ีมีประสิทธิภาพ ทางที่เราจะช่วยกันได้
ก็คือ การที่ทาความคิดให้ถูกและแน่วแน่ ในอันที่จะยึดถือประโยชน์ของบ้านเมืองเป็นท่ีหมาย
ตอ้ งเพลาการคิดถึงประโยชน์เฉพาะตวั และความขดั แย้งกนั ในสงิ่ ท่มี ใิ ช่สาระลง

พระราชดารสั ของ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ... (2)

(พระราชทานแกป่ ระชาชนชาวไทยในโอกาสข้นึ ปใี หม่ 2543)

- 81 -

การมีเสรีภาพนั้น เป็นของที่ดีอย่างยิ่ง แต่เมื่อจะใช้ จาเป็นต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง และ
ความรบั ผิดชอบ มิให้ลว่ งละเมดิ เสรีภาพของผู้อ่นื ท่ีเขามีอยู่เท่าเทียมกัน ท้ังมิให้กระทบกระเทือนถึงสวัสดิภาพ
และความเป็นปกตสิ ขุ ของสว่ นรวมดว้ ย
พระบรมราโชวาทของ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู ัว... (4)
(พระราชทานแก่ผูบ้ ังคับบัญชาลกู เสือ 9 กรกฎาคม 2514)

คนไม่มีความสุจริต คนไม่มีความมั่นคง ชอบแต่มักง่าย ไม่มีวันจะสร้างสรรค์ประโยชน์ส่วนรวม
ท่ีสาคญั อันใดได้ ผู้ทมี่ ีความสุจรติ และความมุ่งม่ันเท่านั้น จึงจะทางานสาคัญยิ่งใหญ่ที่เป็นคุณประโยชน์แท้จริง
ไดส้ าเร็จ
พระบรมราโชวาทของ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู ัว... (9)
(ในพธิ พี ระราชทานปรญิ ญาบตั รของ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย 12 กรกฎาคม 2522)

สามัคคี คือการเป็นแก่บ้านเมือง และช่วยกันทุกวิธีทาง เพ่ือที่จะสร้าง บ้านเมืองให้เข้มแข็ง
ด้วยการเหน็ อกเหน็ ใจซ่ึงกันและกัน ทางานด้วยความซื่อสัตย์สุจริตแย่งตรงไปตรงมา นึกถึงประโยชน์ส่วนรวม
น้นั คอื ความมน่ั คงของบา้ นเมือง
พระราชดารสั ของ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว... (19)
(ในพธิ ปี ระดับยศนายตารวจช้นั นายพล 15 มกราคม 2519)

- 82 -

ใบความรู้
ตัวอย่าง การขดั กันระหว่างประโยชนส์ ่วนตนกับประโยชน์ส่วนรวมในรูปแบบต่างๆ

1. การรับผลประโยชน์ต่าง ๆ

๑.๑ นายสุจริต ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ ได้เดินทางไปปฏิบัติราชการในพื้นที่จังหวัดบุรีรัมย์ ซ่ึงในวัน
ดังกล่าว นายรวย นายก อบต. ได้มอบงาช้างจานวนหนึ่งคู่ให้แก่ นายสุจริต เพ่ือเป็นของท่ีระลึก นายสุจริตได้
มอบงานช้างดังกล่าวให้หน่วยงานต้นสังกัด ตรวจสอบมูลค่าพร้อมทั้งดาเนินการให้ถูกต้องตามระเบียบและ
กฎหมาย แต่ตอ่ มา นายสุจรติ พจิ ารณาแล้วเห็นว่า ไม่สมควรรับงาช้างดังกล่าวไว้ จึงเร่งให้หน่วยงานต้นสังกัด
คืนงาชา้ งใหแ้ กน่ ายรวย

ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542
มาตรา 103 ประกอบประกาศคณะกรรมการ ป.ป.ช. เรื่อง หลักเกณฑ์การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใด
โดยธรรมจรรยาของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ พ.ศ. 2543 ข้อ 7 ประกอบข้อ 5 (2) ได้กาหนดว่า เจ้าหน้าท่ีของรัฐผู้ใด
ได้รับทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่ืนใดจากบุคคลอ่ืนท่ีมิใช่ญาติซึ่งมีมูลค่าเกินกว่าสามพันบาท แล้วประสงค์จะรับ
ทรัพย์สินนั้นไว้เป็นสิทธิของตน จะต้องแจ้งรายละเอียดข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการรับทรัพย์สินนั้นต่อผู้บังคับบัญชา
หรือผู้มีอานาจแต่งต้ังถอดถอนหรือคณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือประธานสภาผู้แทนราษฎร หรือประธาน
วุฒิสภา หรือประธานสภาท้องถ่ินแล้วแต่กรณี ในทันทีที่สามารถกระทาได้ เพ่ือให้วินิจฉัยว่ามีเหตุผลความ
จาเปน็ ความเหมาะสม และสมควรทจ่ี ะใหเ้ จ้าหน้าท่ีของรฐั ผ้นู ้ัน รบั ทรพั ย์สินนั้นไวเ้ ป็นสิทธิของตนหรือไม่

เมื่อข้อเท็จจริงในเร่ืองน้ีปรากฏว่า เม่ือนายสุจริต ข้าราชการช้ันผู้ใหญ่ ได้รับงาช้างแล้ว ได้ส่งให้
หน่วยงานต้นสังกัดตรวจสอบมูลค่าพร้อมท้ังดาเนินการให้ถูกต้องตามระเบียบและกฎหมาย แต่ต่อมานายสุจริต
พิจารณาเห็นว่า ไม่สมควรรับงาช้างดังกล่าวไว้ จึงส่งคืนให้นายรวยไป โดยใช้ระยะเวลาในการตรวจสอบ
ระเบียบแนวทางปฏิบัติและข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องเพื่อความรอบคอบ และส่งคืนงาช้าง แก่นายรวยภายใน 3 วัน
จากข้อเท็จจริง จึงฟังได้ว่านายสุจริตมิได้มีเจตนาหรือมีความประสงค์ท่ีจะรับงาช้างนั้นไว้เป็นสิทธิของตน
แตอ่ ยา่ งใด

๑.๒ การท่ีเจ้าหน้าท่ีของรัฐรับของขวัญจากผู้บริหารของบริษัทเอกชน เพ่ือช่วยให้บริษัทเอกชนราย
น้ัน ชนะการประมลู รบั งานโครงการขนาดใหญข่ องรฐั

๑.๓ การที่บริษัทแห่งหนึ่งใหข้ องขวัญเปน็ ทองคามลู ค่ามากกว่า 10 บาท แก่เจ้าหน้าที่ในปีท่ีผ่านมา
และปีน้ีเจ้าหน้าท่ีเร่งรัดคืนภาษีให้กับบริษัทน้ันเป็นกรณีพิเศษ โดยลัดคิวให้ก่อนบริษัทอื่น ๆ เพราะคาดว่าจะ
ได้รับของขวญั อีก

๑.๔ การท่ีเจ้าหน้าที่ของรัฐไปเป็นคณะกรรมการของบริษัทเอกชน หรือรัฐวิสาหกิจและได้รับความ
บันเทิงในรูปแบบต่าง ๆ จากบริษัทเหล่านั้น ซึ่งมีผลต่อ การให้คาวินิจฉัยหรือข้อเสนอแนะท่ีเป็นธรรมหรือ
เป็นไปในลกั ษณะท่เี อือ้ ประโยชน์ ต่อบรษิ ัทผใู้ ห้นั้น ๆ

๑.๕ เจ้าหนา้ ทขี่ องรฐั ไดร้ บั ชุดไม้กอล์ฟจากผู้บริหารของบริษัทเอกชน เม่ือต้องทางานท่ีเก่ียวข้องกับ
บรษิ ทั เอกชนแหง่ น้นั กช็ ว่ ยเหลอื ให้บริษัทนนั้ ไดร้ บั สัมปทาน เนอ่ื งจากรสู้ กึ ว่าควรตอบแทนที่เคยไดร้ ับของขวญั มา

- 83 -

2. การทาธรุ กิจกับตนเองหรือเป็นคู่สัญญา

๒.๑ นิติกร ฝ่ายกฎหมายและเร่งรัดภาษีอากรค้าง สานักงานสรรพากรจังหวัดในส่วนภูมิภาคหา
รายได้พิเศษโดยการเป็นตัวแทนขายประกันชวี ิตของบรษิ ทั เอกชน ได้อาศยั โอกาสท่ตี นปฏิบัติหน้าท่ี เร่งรัดภาษี
อากรค้างผู้ประกอบการรายหน่ึงหาประโยชน์ให้แก่ตนเองด้วยการขายประกันชีวิตให้แก่หุ้นส่วนผู้จัดการของ
ผปู้ ระกอบการดงั กล่าว รวมท้ังพนักงานของผู้ประกอบการนั้นอีกหลายคน ในขณะท่ีตนกาลังดาเนินการเร่งรัด
ภาษีอากรคา้ ง พฤติการณ์ของเจา้ หน้าทด่ี ังกลา่ วเป็นการอาศัยตาแหน่งหน้าท่ีราชการของตนหาประโยชน์ให้แก่
ตนเอง เป็นความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ตามมาตรา 83 (3) ประกอบมาตรา 84 แห่งพระราชบัญญัติ
ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551

๒.๒ การท่ีเจ้าหน้าท่ีในกระบวนการจัดซ้ือจัดจ้างทาสัญญาให้หน่วยงานต้นสังกัดซ้ือคอมพิวเตอร์
สานักงานจากบริษทั ของครอบครัวตนเอง หรอื บรษิ ทั ท่ีตนเองมหี ุน้ สว่ นอยู่

๒.๓ ผู้บริหารหน่วยงานทาสัญญาเช่ารถไปสัมมนาและดูงานกับบริษัท ซ่ึงเป็นของเจ้าหน้าท่ีหรือ
บรษิ ัททีผ่ ูบ้ ริหารมีหุน้ ส่วนอยู่

๒.๔ การท่ีผู้ตรวจสอบบัญชีภาครัฐรับงานพิเศษเป็นที่ปรึกษา หรือเป็นผู้ทาบัญชีให้กับบริษัทที่ต้อง
ถกู ตรวจสอบ

๒.๕ ภรรยาอดีตนายกรัฐมนตรี ประมูลซ้ือท่ีดินย่านถนนรัชดาภิเษกใกล้กับศูนย์วัฒนธรรมแห่ง
ประเทศไทย จากกองทุนเพอ่ื การฟ้ืนฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินในการกาดูแลของธนาคารแห่งประเทศ
ไทย กระทรวงการคลงั โดยอดีตนายกรัฐมนตรี ซึง่ ในขณะนัน้ ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรีในฐานะเจ้าพนักงาน
มีหน้าท่ีดูแลกิจการของกองทุนฯ ได้ลงนามยินยอมในฐานะคู่สมรสให้ภรรยาประมูลซ้ือที่ดินและทาสัญญาซื้อ
ขายท่ีดิน ส่งผลให้เป็นคู่สัญญาหรือมีส่วนได้ส่วนเสียในสัญญาซื้อที่ดินโฉนดแปลงดังกล่าว อันเป็นการขัดกัน
ระหว่างประโยชน์ส่วนตนกับประโยชน์ส่วนรวม เป็นการฝ่าฝืนต่อกฎหมาย มีความผิดตามพระราชบัญญัติ
ประกอบรฐั ธรรมนูญว่าดว้ ยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มาตรา 100 (1)

3. การทางานหลังจากออกจากตาแหน่งหน้าท่ีสาธารณะหรือหลังเกษียณ

๓.๑ อดีตผูอ้ านวยการโรงพยาบาลแห่งหนึ่งเพ่ิงเกษียณอายุราชการไปทางานเป็นที่ปรึกษาในบริษัท
ผลิตหรือขายยา โดยใชอ้ ทิ ธพิ ลจากทเี่ คยดารงตาแหน่งในโรงพยาบาลดังกล่าว ให้โรงพยาบาลซ้ือยาจากบริษัท
ที่ตนเองเป็นท่ีปรึกษาอยู่ พฤติการณ์เช่นน้ีมีมูลความผิดท้ังทางวินัยและทางอาญาฐานเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ
ปฏบิ ัตหิ รือละเว้นการปฏิบตั อิ ยา่ งใดในพฤติการณ์ท่ีอาจทาใหผ้ ้อู นื่ เชื่อวา่ ตนมตี าแหนง่ หรือหน้าที่ ทั้งที่ตนมิได้มี
ตาแหน่งหรือหน้าท่ีนั้น เพ่ือแสวงหาประโยชน์ท่ีมิควรได้โดยชอบด้วยกฎหมายสาหรับตนเองหรือผู้อื่น ตาม
พระราชบญั ญัติประกอบรฐั ธรรมว่าด้วยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ พ.ศ. 2542 มาตรา 123

๓.๒ การทผี่ ู้บรหิ ารหรือเจา้ หนา้ ท่ีขององค์กรด้านเวชภัณฑ์และสุขภาพออกจากราชการไปทางานใน
บรษิ ทั ผลิตหรอื ขายยา

๓.๓ การท่ีผู้บริหารหรือเจ้าหน้าท่ีของหน่วยงานที่เกษียณแล้วใช้อิทธิพลท่ีเคยดารงตาแหน่งใน
หน่วยงานรฐั รับเป็นที่ปรกึ ษาให้บริษัทเอกชนที่ตนเคยติดต่อประสานงาน โดยอ้างว่าจะได้ติดต่อกับหน่วยงาน
รฐั ได้อยา่ งราบร่นื

- 84 -

๓.๔ การว่าจ้างเจ้าหน้าท่ีผู้เกษียณมาทางานในตาแหน่งเดิมท่ีหน่วยงานเดิมโดยไม่คุ้มค่ากับภารกิจ
ท่ไี ดร้ ับมอบหมาย

4. การทางานพเิ ศษ

๔.๑ เจ้าหนา้ ท่ตี รวจสอบภาษี 6 สานักงานสรรพากรจังหวดั ในส่วนภูมภิ าค ได้จัดต้ังบริษัทรับจ้างทา
บัญชีและให้คาปรึกษาเก่ียวกบั ภาษีและมีผลประโยชนเ์ กี่ยวขอ้ งกบั บรษิ ัท โดยรับจา้ งทาบัญชีและย่ืนแบบแสดง
รายการใหผ้ ู้เสยี ภาษีในเขตจงั หวัดท่ีรับราชการอย่แู ละจังหวดั ใกล้เคยี ง กลบั มพี ฤติการณ์ช่วยเหลือผู้เสียภาษีให้
เสียภาษีน้อยกว่าความเป็นจริง และรับเงินค่าภาษีอากรจากผู้เสียภาษีบางรายแล้ว มิได้นาไปยื่นแบบแสดง
รายการชาระภาษีให้ พฤติการณ์ของเจ้าหน้าท่ีดังกล่าว เป็นการไม่ปฏิบัติตามข้อบังคับกรมสรรพากรว่าด้วย
จรรยาข้าราชการ กรมสรรพากร พ.ศ. 2559 ข้อ 9 (7) (8) และอาศัยตาแหน่งหน้าท่ีราชการของตน หา
ประโยชน์ให้แก่ตนเอง เป็นความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรงตามมาตรา 83 (3) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ
ข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 อีกท้ังเป็นการปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหายแก่
ทางราชการโดยร้ายแรง และปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยทุจริต และยังกระทาการอันได้ช่ือว่าเป็นผู้ประพฤติช่ัว
อย่างร้ายแรงเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง ตามมาตรา 85 (1) และ (4) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ
ขา้ ราชการพลเรือน พ.ศ. 2551

๔.๒ การที่เจ้าหน้าที่ของรัฐอาศัยตาแหน่งหน้าท่ีทางราชการรับจ้างเป็นที่ปรึกษาโครงการ เพ่ือให้
บริษทั เอกชนทวี่ า่ จา้ งน้ันมีความนา่ เช่อื ถอื มากกว่าบริษัทคู่แขง่

๔.๓ การท่ีเจ้าหน้าที่ของรัฐไม่ทางานที่ได้รับมอบหมายจากหน่วยงานอย่างเต็มท่ี แต่เอาเวลาไปรับ
งานพิเศษอนื่ ๆ ทีอ่ ย่นู อกเหนอื อานาจหนา้ ทท่ี ่ไี ด้รับมอบหมายจากหนว่ ยงานตามกฎหมาย

5. การรูข้ ้อมูลภายใน

๕.๑ นายชา่ ง 5 แผนกชุมสายโทรศัพท์เคล่ือนที่ องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย ได้นาข้อมูลเลข
หมายโทรศพั ทเ์ คลือ่ นที่ระบบ 470 MHZ และระบบปลดล็อคไปขายให้แก่ผู้อ่ืน จานวน 40 หมายเลข เพื่อนาไป
ปรบั จนู เขา้ กับโทรศัพท์ เคลอื่ นที่ที่นาไปใช้รับจ้างให้บริการโทรศัพท์แก่บุคคลท่ัวไป คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติ
ชี้มูลความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 151 มาตรา 157 และ มาตรา 164 และมีความผิดวินัย
ขอ้ บงั คบั องคก์ ารโทรศัพทแ์ ห่งประเทศไทยวา่ ดว้ ยการพนกั งาน พ.ศ. 2536 ข้อ 44 และ 46

๕.๒ การท่ีเจ้าหน้าที่ของรัฐทราบข้อมูลโครงการตัดถนนเข้าหมู่บ้าน จึงบอกให้ญาติพี่น้องไปซื้อที่ดิน
บรเิ วณโครงการดังกล่าว เพื่อขายใหก้ ับราชการในราคาทสี่ ูงข้ึน

๕.๓ การท่ีเจ้าหน้าท่ีหน่วยงานผู้รับผิดชอบโครงข่ายโทรคมนาคมทราบมาตรฐาน (Spec) วัสดุ
อปุ กรณ์ทีจ่ ะใชใ้ นการวางโครงขา่ ยโทรคมนาคม แล้วแจง้ ขอ้ มูลใหก้ ับบริษัทเอกชนทตี่ นรู้จัก เพ่ือให้ได้เปรียบใน
การประมูล

6. การใชท้ รัพย์สนิ ของราชการเพอื่ ประโยชน์สว่ นตน

๖.๑ คณบดีคณะแพทย์ศาสตร์ ใช้อานาจหน้าที่โดยทุจริต ด้วยการส่ังให้เจ้าหน้าท่ีนาเก้าอี้พร้อมผ้า
ปลอกคุมเก้าอ้ี เคร่ืองถ่ายวิดีโอ เคร่ืองเล่นวิดีโอ กล้องถ่ายรูป และผ้าเต็นท์ นาไปใช้ในงานมงคลสมรสของ

- 85 -

บตุ รสาว รวมทั้งรถยนต์ รถตู้ส่วนกลาง เพ่ือใช้รับส่งเจ้าหน้าที่เข้าร่วมพิธี และขนย้ายอุปกรณ์ท้ังที่บ้านพักและ
งานฉลองมงคลสมรสทีโ่ รงแรม ซง่ึ ล้วนเปน็ ทรพั ย์สนิ ของทางราชการการกระทาของจาเลยนับเป็นการใช้อานาจ
โดยทุจริต เพ่อื ประโยชนส์ ว่ นตนอันเป็นการเสียหายแก่รัฐ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้ช้ีมูลความผิดวินัยและอาญา
ต่อมาเร่ืองเข้าสู่กระบวนการในช้ันศาล ศาลพิเคราะห์พยานหลักฐานโจทก์แล้วเห็นว่าการกระทาของจาเลย
เป็นการทุจริตต่อตาแหน่งหน้าท่ีฐานเป็นเจ้าพนักงานมีหน้าที่ซื้อทาจัดการหรือรักษาทรัพย์ใด ๆ ใช้อานาจใน
ตาแหน่งโดยทจุ ริตอันเป็นการเสยี หายแกร่ ฐั และเปน็ เจา้ พนักงานปฏิบัติหน้าท่ีโดยมิชอบ ตามประมวลกฎหมาย
อาญา มาตรา 151 และ 157 จงึ พิพากษาให้จาคุก 5 ปี และปรับ 20,000 บาท คาให้การรับสารภาพ เป็น
ประโยชนแ์ ก่การพจิ ารณาคดี ลดโทษใหก้ งึ่ หนง่ึ คงจาคุกจาเลยไว้ 2 ปี 6 เดอื นและปรบั 10,000 บาท

๖.๒ การทเ่ี จา้ หนา้ ทีข่ องรฐั ผู้มีหน้าท่ีขับรถยนต์ของส่วนราชการ นาน้ามัน ในรถยนต์ไปขาย และนา
เงินมาไว้ใช้จ่ายส่วนตัวทาให้ส่วนราชการต้องเสียงบประมาณ เพ่ือซื้อน้ามันรถมากกว่าที่ควรจะเป็นพฤติกรรม
ดังกล่าวถือเป็นการทุจริต เบียดบังผลประโยชน์ของส่วนรวมเพ่ือประโยชน์ของตนเอง และมีความผิดฐานลัก
ทรพั ย์

๖.๓ การท่ีเจ้าหน้าที่รัฐ ผู้มีอานาจอนุมัติให้ใช้รถราชการหรือการเบิกจ่าย ค่าน้ามันเชื้อเพลิง
นารถยนต์ของส่วนราชการไปใชใ้ นกจิ ธุระสว่ นตัว

7. การนาโครงการสาธารณะลงในเขตเลอื กต้งั เพือ่ ประโยชน์ในทางการเมือง

๗.๑ นายกองค์การบริหารส่วนตาบลแห่งหน่ึงร่วมกับพวก แก้ไขเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ
ปรับปรุงและซ่อมแซมถนนคนเดินใหม่ ในตาบลที่ตนมีฐานเสียงโดยไม่ผ่านความเห็นชอบจากสภาฯ และตรวจ
รับงานทั้งที่ไม่ถูกต้องตามแบบรูปรายการที่กาหนด รวมทั้งเมื่อดาเนินการแล้วเสร็จได้ติดป้ายชื่อของตนและพวก
การกระทาดังกล่าวมีมูลเป็นการกระทาการฝ่าฝืนต่อความสงบเรียบร้อย หรือสวัสดิภาพของประชาชน หรือ
ละเลยไม่ปฏิบัติตาม หรือปฏิบัติการไม่ชอบด้วยอานาจหน้าที่ มีมูลความผิดทั้งทางวินัยอย่างร้ายแรงและทาง
อาญา คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีหนังสือแจ้งผลการพิจารณาของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ให้ผู้มีอานาจ แต่งตั้ง
ถอดถอน และสานกั งานคณะกรรมการการเลือกต้ังทราบ

๗.๒ การที่นักการเมืองในจังหวัด ขอเพ่ิมงบประมาณเพ่ือนาโครงการตัดถนน สร้างสะพานลงใน
จังหวดั โดยใชช้ อ่ื หรอื นามสกลุ ของตนเองเปน็ ชือ่ สะพาน

๗.๓ การที่รัฐมนตรอี นมุ ัติโครงการไปลงในพืน้ ทห่ี รือบ้านเกิดของตนเอง

8. การใชต้ าแหนง่ หน้าที่แสวงหาประโยชนแ์ ก่เครือญาติ

พนักงานสอบสวนละเว้นไม่นาบันทึกการจับกุมท่ีเจ้าหน้าที่ตารวจชุดจับกุม ทาข้ึนในวันเกิดเหตุ
รวมเข้าสานวน แต่กลับเปล่ียนบันทึกและแก้ไขข้อหาในบันทึก การจับกุม เพ่ือช่วยเหลือผู้ต้องหาซึ่งเป็นญาติ
ของตนใหร้ ับโทษน้อยลง คณะกรรมการ ป.ป.ช. พจิ ารณาแล้วมมี ลู ความผิดทางอาญาและทางวนิ ยั อยา่ งร้ายแรง

- 86 -

9. การใช้อิทธพิ ลเข้าไปมผี ลตอ่ การตัดสินใจของเจา้ หน้าทีร่ ัฐหรือหนว่ ยงานของรัฐอืน่

๙.๑ เจ้าหน้าที่ของรัฐใช้ตาแหน่งหน้าที่ในฐานะผู้บริหาร เข้าแทรกแซงการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่
ใหป้ ฏบิ ตั ิหน้าทโี่ ดยมชิ อบดว้ ยระเบียบ และกฎหมายหรอื ฝา่ ฝืนจรยิ ธรรม

๙.๒ นายเอ เป็นหัวหน้าส่วนราชการแห่งหน่ึงในจังหวัด รู้จักสนิทสนมกับ นายบี หัวหน้าส่วนราชการ
อีกแห่งหน่ึงในจังหวัดเดียวกัน นายเอ จึงใช้ความสัมพันธ์ส่วนตัวฝากลูกชาย คือ นายซี เข้ารับราชการภายใต้
สังกดั ของนายบี

10. การขดั กนั แห่งผลประโยชนส์ ว่ นบุคคลกบั ประโยชน์ส่วนรวมประเภทอน่ื ๆ

๑๐.๑ การเดินทางไปราชการต่างจังหวัดโดยไม่คานึงถึงจานวนคน จานวนงาน และจานวนวันอย่าง
เหมาะสม อาทิ เดินทางไปราชการจานวน 10 วัน แต่ใช้เวลาในการทางานจริงเพียง 6 วัน โดยอีก 4 วัน
เป็นการเดินทางท่องเที่ยวในสถานที่ต่าง ๆ

๑๐.๒ เจ้าหนา้ ท่ีผู้ปฏิบตั ิไมใ่ ช้เวลาในราชการปฏบิ ตั ิงานอย่างเต็มท่ี เนือ่ งจากตอ้ งการปฏบิ ตั ิงานนอก
เวลาราชการ เพราะสามารถเบิกเงินงบประมาณคา่ ตอบแทนการปฏบิ ตั งิ านนอกเวลาราชการได้

๑๐.๓ เจ้าหน้าที่ของรัฐลงเวลาปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ โดยมิได้อยู่ปฏิบัติงานในช่วงเวลานั้น
อยา่ งแท้จรงิ แต่กลบั ใช้เวลาดังกลา่ วปฏบิ ตั กิ ิจธรุ ะส่วนตวั

- 87 -

คาชีแ้ จง ใบงาน
เรือ่ ง ช่วยกนั ยกตัวอย่างการขัดกนั ระหว่างประโยชนส์ ว่ นตนกับประโยชนส์ ่วนรวม

นักเรยี นยกตวั อย่างการขดั กันระหวา่ งประโยชนส์ ่วนตนกบั ประโยชนส์ ว่ นรวม

รูปแบบการขดั กนั ระหวา่ งประโยชน์ ตวั อย่าง
สว่ นบคุ คลกบั ประโยชนส์ ว่ นรวม

การรับผลประโยชน์ตา่ ง ๆ

การทาธรุ กิจกบั ตนเองหรอื เป็นคู่สัญญา

การใช้ทรัพย์สินของราชการ
เพื่อประโยชน์ส่วนตน

การใชต้ าแหนง่ หนา้ ท่ีแสวงหาประโยชน์
แก่เครือญาติ

การทางานหลงั จากออกจากตาแหน่งหนา้ ท่ี
สาธารณะหรือหลงั เกษยี ณ

การทางานพิเศษ

- 88 - ตวั อยา่ ง
รปู แบบการขัดกนั ระหว่างประโยชน์
ส่วนบุคคลกบั ประโยชน์สว่ นรวม

การรู้ข้อมูลภายใน

การนาโครงการสาธารณะลงในเขตเลือกต้ัง
เพ่อื ประโยชนใ์ นทางการเมือง

การใช้อิทธพิ ลเข้าไปมีผลต่อการตดั สนิ ใจ
ของเจ้าหน้าทร่ี ฐั หรอื หน่วยงานของรัฐอน่ื

การขดั กนั แห่งผลประโยชน์ส่วนตนกับประโยชน์
ส่วนรวมประเภทอืน่ ๆ

- 89 -

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานของนักเรียนเป็นรายบคุ คล

พฤติกรรม การแสดง การตอบ การยอมรับ ทางาน หมายเหตุ
ท่ี ความสนใจ ความ คาถาม ฟังคนอ่นื ตามทไี่ ด้รับ
มอบหมาย
ชือ่ -สกุล คิดเห็น

43214321432143214321

เกณฑ์การวดั ผล ให้คะแนนระดบั คุณภาพของแตล่ ะพฤตกิ รรมดงั นี้

ดีมาก = 4 สนใจฟัง ไม่หลบั ไมพ่ ดู คยุ ในชนั้ มคี าถามที่ดี ตอบคาถามถูกต้อง ทางานส่งครบตรง
เวลา

ดี = 3 การแสดงออกอย่ใู นเกณฑป์ ระมาณ 70%
ปานกลาง = 2 การแสดงออกอยใู่ นเกณฑ์ประมาณ 50%
ปรับปรงุ = 1 เข้าชน้ั เรยี น แตก่ ารแสดงออกนอ้ ยมาก ส่งงานไม่ครบ ไมต่ รงเวลา

ลงชอ่ื ……………………………….ผสู้ ังเกต
(……………………………….)
…………/…………/………..

- 90 -

แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลมุ่

กล่มุ ..........................................................................................................
สมาชกิ ในกลุ่ม 1. ......................................................................

2. ......................................................................
3. ......................................................................
4. ......................................................................
5. ......................................................................
6. ......................................................................

คาชีแ้ จง: ให้นกั เรยี นทาเครอื่ งหมาย  ในช่องที่ตรงกบั ความเป็นจริง

พฤตกิ รรมทีส่ ังเกต คะแนน

32 1

1. มสี ่วนรว่ มในการแสดงความคิดเหน็
2. มีความกระตอื รือรน้ ในการทางาน
3. รับผิดชอบในงานทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย
4. มีขัน้ ตอนในการทางานอยา่ งเป็นระบบ
5. ใช้เวลาในการทางานอยา่ งเหมาะสม

รวม

เกณฑ์การใหค้ ะแนน

พฤติกรรมท่ีทาเป็นประจา ให้ 3 คะแนน
พฤติกรรมที่ทาเป็นบางครั้ง ให้ 2 คะแนน
พฤตกิ รรมทท่ี าน้อยครัง้ ให้ 1 คะแนน

เกณฑก์ ารให้คะแนน

ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
13-15 ดี
8-12
5-7 ปานกลาง
ปรบั ปรุง

- 91 -

แบบประเมนิ ใบงาน

เร่อื ง .......................................................................... ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ……..
วนั ท.ี่ ....................เดอื น........................................................พ.ศ. ................................ ..

ท่ี ประเด็นคะแนน ความต้งั ใจ ความ เสรจ็ ตาม รวม ระดบั
ชอ่ื - สกลุ ปฏิบัติงาน ถกู ตอ้ ง กาหนด ๑๕ คุณภาพ
คะแนน
๕ ๕ ๕



















๑๐

เกณฑก์ ารประเมินและระดบั คณุ ภาพ

คะแนน ๑๓ - ๑๕ คะแนน หมายถงึ ดีมาก

คะแนน ๙ – ๑๒ คะแนน หมายถึง ดี

คะแนน ๕ – ๘ คะแนน หมายถึง พอใช้

คะแนน ๑ – ๔ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง

จานวนคนที่ผา่ นระดับคุณภาพ......................คน ร้อยละ...............

จานวนคนทไี่ มผ่ า่ นระดบั คุณภาพ..................คน รอ้ ยละ...............

ลงชอ่ื .................................... ผ้ปู ระเมนิ
(...................................................)

- 92 -

แผนการจดั การเรยี นรู้
หน่วยที่ ๑ ชื่อหนว่ ย การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๖ เร่ือง ผลประโยชนท์ บั ซอ้ น และรปู แบบของผลประโยชนท์ ับซ้อน(ชุมชน สงั คม)
เวลา ๒ ชวั่ โมง

๑. ผลการเรยี นรู้
๑.๑ มคี วามรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนกับส่วนรวม
๑.๒ ตระหนักและเหน็ ความสาคญั ของการต่อต้านและป้องกนั การทุจริต
๑.๓ สามารถคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน กับส่วนรวมได้

๒. จุดประสงค์การเรยี นรู้
๒.๑ มคี วามรู้ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั ผลประโยชนท์ ับซ้อนและรูปแบบของผลประโยชน์ทบั ซ้อน
๒.๒ สามารถคดิ แยกแยะและยกตัวอย่างเกี่ยวกับผลประโยชนท์ ับซอ้ นและรูปแบบของผลประโยชน์

ทับซ้อน
๒.๓ ตระหนักและเหน็ ความสาคัญของการตอ่ ต้านและป้องกันการทุจรติ

๓. สาระการเรียนรู้
3.1 ความรู้
ผลประโยชน์ทับซ้อน (Conflict of Interest) คือ ผลประโยชน์ส่วนตัวของเจ้าหน้าท่ีรัฐไปขัดแย้งกับ

ผลประโยชน์ส่วนรวมแลว้ ตอ้ งเลือกเอาอยา่ งใดอย่างหนงึ่ ซึ่งทาให้ตดั สนิ ใจได้ยากในอันที่จะปฏิบัติหน้าที่ให้เกิด
ความเป็นธรรมและปราศจากอคติ

1) รปู แบบของผลประโยชนท์ บั ซ้อน แบ่งออกเป็น 7 รปู แบบ ไดแ้ ก่
1. การรบั ผลประโยชน์ต่างๆ (Accepting benefits)
2. การทาธรุ กจิ กบั ตัวเอง (Self-dealing) หรอื เป็นคู่สญั ญา (Contracts)
3. การทางานหลงั จากออกจากตาแหน่งสาธารณะหรือหลงั เกษยี ณ (Post-employment)
4. การทางานพเิ ศษ (Outside employment or moonlighting)
5. การรับรู้ข้อมลู ภายใน (Inside information)
6. การใช้ทรัพยส์ ินของหนว่ ยงานเพ่ือประโยชน์ของธรุ กิจสว่ นตัว (Using

your employer’s property for private advantage)
7. การนาโครงการสาธารณะลงในเขตเลอื กตงั้ เพ่ือประโยชนใ์ นทางการเมอื ง (Pork-belling)

2) แนวทางการปอ้ งกันและแก้ไขปญั หาผลประโยชน์ทบั ซ้อน
1. การกาหนดคุณสมบัติที่พงึ ประสงค์หรอื คุณสมบัติต้องห้าม (Qualification and

disqualification from office)

- 93 -

2. การเปดิ เผยข้อมลู เกีย่ วกบั ทรพั ย์สนิ หนี้สนิ และธรุ กจิ ของครอบครัวให้สาธารณะทราบ
(Disclosure of personal interests)

(3) การกาหนดข้อพึงปฏบิ ัติทางจริยธรรม (Code of conduct)
(4) ขอ้ กาหนดเก่ยี วกับการทางานหลังพน้ ตาแหน่งในหนา้ ท่ีทางราชการ (Post-office employment
restriction)
3.2 ทกั ษะ / กระบวนการ (สมรรถนะที่เกิด)
1) ความสามารถในการคิด

1. ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ การคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ
2. ทกั ษะกระบวนการคดิ เชิงสรา้ งสรรค์
2) ความสามารถในการสื่อสาร
(อา่ น ฟัง พูด เขยี น)
๓) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ
(การสงั เกต การระบุ จาแนก วิเคราะห์ จดั กลุ่ม สรปุ )
3.3 คณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ / คา่ นิยม
๑) มีศีลธรรม รกั ษาความสัตย์ หวงั ดีต่อผู้อ่นื เผอ่ื แผ่และแบ่งปนั
๒) มรี ะเบียบวนิ ยั เคารพกฎหมาย ผนู้ อ้ ยรู้จักการเคารพผ้ใู หญ่
๓) มสี ตริ ตู้ ัว รู้คิด ร้ทู า รูป้ ฏบิ ัตติ ามพระราชดารสั ของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั
๔) มคี วามเข้มแข็งทงั้ รา่ งกายและจติ ใจไมย่ อมแพ้ต่ออานาจฝา่ ยตา่ หรอื กิเลส มคี วามละอายเกรง
กลวั ตอ่ บาปตามหลักของศาสนา
๔.กิจกรรมการเรียนรู้
4.1 ขนั้ ตอนการเรียนรู้
กจิ กรรมการเรียนรู้ จานวน ๒ ชว่ั โมง
ช่ัวโมงท่ี ๑
ข้นั นา
๑. ชมคลิปวีดีโอ โตไปไม่โกง ตอน ผู้ตัดสนิ โดยมที ่ีมาของคลปิ วดี ีโอ คือ
https://www.youtube.com/watch?v=4A7xpbbjm9Q
๒. สนทนาอภิปราย เก่ียวกับคลปิ วดี ีโอ โตไปไมโ่ กง ตอน ผตู้ ัดสิน โดยครูพยายามเชือ่ มโยงให้เหน็ ถงึ
ประเดน็ เรอ่ื งของผลประโยชนท์ ับซ้อน จากเหตกุ ารณใ์ นคลิปวีดโี อ
ขัน้ สอน
๓. ชมคลปิ วดี โี อ รทู้ นั กันโกง ตอน ผลประโยชน์ทบั ซ้อน conflict of interest

- 94 -

โดยท่มี าของคลิปวดี ีโอ คอื https://www.youtube.com/watch?v=34Ixr18MPOs
๔. สนทนาอภิปราย เก่ียวกับคลิปวีดโี อ รู้ทันกันโกง ตอน ผลประโยชนท์ บั ซ้อน conflict of interest

โดยครพู ยายามชี้ให้เหน็ เรื่องของผลประโยชน์ทับซ้อน
๕. แบ่งนักเรยี นออกเปน็ กลมุ่ ๆละ ๔ – ๕ คน
๖. แจกใบความรู้ เรอ่ื ง ตารางสรุปตัวอย่างโอกาสท่ีจะเกิดผลประโยชนท์ ับซ้อนของขา้ ราชการ

และเจ้าหน้าที่ของรฐั กลมุ่ ต่างๆ ให้นักเรยี นศึกษา
๗. แจกกระดาษชาร์ตใหแ้ ตล่ ะกลุม่ สรปุ ผงั มโนทศั น์โอกาสทีจ่ ะเกดิ ผลประโยชน์ทบั ซ้อนของข้าราชการ

และเจ้าหน้าที่ของรัฐกลุ่มต่างๆ ไดแ้ ก่ นักการเมือง ข้าราชการประจาและเจ้าหน้าท่ขี องรัฐ ข้าราชการ
ท้องถนิ่
และประชาชน
๘. ตัวแทนกลุ่มแตล่ ะกลุ่มนาเสนอ
๙. สนทนา อภิปราย สรปุ โอกาสทจี่ ะเกิดผลประโยชน์ทับซ้อนของขา้ ราชการและเจ้าหน้าทีข่ องรฐั กลุม่ ต่างๆ
ร่วมกนั
ชั่วโมงที่ ๒
๑๐. สนทนา อภปิ ราย ความรเู้ ดิม เกี่ยวกับประเดน็ ของผลประโยชน์ทับซอ้ น
๑๑. แบ่งนักเรียนออกเป็นกล่มุ ๆละ ๔ – ๕ คน
๑๒.แจกใบความรู้ เรื่อง ตวั อยา่ งพฤติกรรมผลประโยชน์ทับซอ้ นท่ีพบเหน็ บ่อย ใหแ้ ต่ละกลุ่มศกึ ษา
๑๓.แจกกระดาษชารต์ โดยให้แต่ละกลมุ่ ร่วมคดิ รว่ มหาแนวทางการป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาผลประโยชน์
ทบั ซ้อน
๑๔.แต่ละกลมุ่ นาเสนอผลงาน
ข้นั สรปุ
๑๕.ร่วมกนั สนทนา อภปิ ราย สรุปเกยี่ วกบั พฤติกรรมผลประโยชน์ทบั ซอ้ น และแนวทางการปอ้ งกันและ
แก้ไขปญั หาผลประโยชนท์ ับซ้อน

4.2สอ่ื การเรียนรู้ / แหลง่ การเรียนรู้
๑) คลปิ วดี โี อ โตไปไมโ่ กง ตอน ผู้ตัดสิน โดยมีทม่ี าของคลิปวดี โี อ คือ

https://www.youtube.com/watch?v=4A7xpbbjm9Q
๒) คลปิ วีดีโอ รทู้ ันกันโกง ตอน ผลประโยชน์ทบั ซอ้ น conflict of interest

๑๖.โดยทมี่ าของคลิปวีดีโอ คือ https://www.youtube.com/watch?v=34Ixr18MPOs
๑๗.ใบความรู้ เรื่อง ตารางสรุปตวั อย่างโอกาสทีจ่ ะเกดิ ผลประโยชน์ทบั ซ้อนของขา้ ราชการ

- 95 -

และเจ้าหน้าท่ีของรฐั กลุ่มตา่ งๆ
๔) ใบความรู้ เรอื่ ง ตัวอย่างพฤติกรรมผลประโยชน์ทับซ้อนที่พบเห็นบ่อย
๕) กระดาษชารต์

๕. การประเมนิ ผลการเรียนรู้
5.1 วิธีการประเมนิ
๑) สงั เกตพฤติกรรมการทางานของนักเรยี นเปน็ รายบคุ คล
๒) สงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุม่
๓) ผังมโนทัศน์
๔) การนาเสนอผลงาน
๕.๒ เคร่อื งมือท่ใี ช้ในการประเมนิ
๑) แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานของนักเรยี นเปน็ รายบุคคล
๒) แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุม่
๓) แบบประเมินชิ้นงาน
๔) แบบการประเมินผลการนาเสนอผลงาน

๖. บันทึกหลงั สอน
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงช่ือ ................................................ ครูผู้สอน
(.................................................)

ภาคผนวก
๑) ใบความรู้ เรอ่ื ง ตารางสรปุ ตวั อย่างโอกาสทจ่ี ะเกิดผลประโยชน์ทบั ซ้อนของขา้ ราชการ

และเจ้าหน้าท่ีของรัฐกล่มุ ตา่ งๆ
๒) ใบความรู้ เรอื่ ง ตวั อย่างพฤติกรรมผลประโยชนท์ บั ซ้อนทีพ่ บเห็นบ่อย
๓) แบบประเมนิ ชิ้นงาน
๔) แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานของนกั เรียนเปน็ รายบุคคล
๕) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
๖) แบบการประเมินผลการนาเสนอผลงาน

- 96 -

ใบความรู้
เรอ่ื ง ตารางสรุปตวั อย่างโอกาสทจ่ี ะเกดิ ผลประโยชน์ทบั ซ้อนของข้าราชการ

และเจ้าหน้าท่ีของรัฐกลมุ่ ต่างๆ

กลมุ่ อาชีพ กิจกรรมที่มีความเส่ียงต่อปัญหาการเกิดผลประโยชนท์ ับซ้อน
1.
 การรับเงินหรือผลประโยชน์อ่ืนใด เพอื่ แต่งต้ัง หรอื เลื่อนตาแหน่งข้าราชการขึน้ เป็นผบู้ รหิ ารระดบั สงู
นกั การเมือง  การใชอ้ านาจหน้าท่เี พ่ือให้บริษทั ของตนหรือของพรรคพวกได้รับงาน/ การจ้างเหมาจากรัฐ
 การใชข้ ้อมูลของทางราชการเพ่อื แสวงหาประโยชน์
2.  การแต่งตั้งคนสนิท/พวกพ้องของตนเป็นกรรมการในหน่วยงานของรัฐ โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งองคก์ ร
ข้าราชการ
ประจาและ อิสระท่ีทาหน้าท่ใี นการกากับดแู ล (Regulators) สัญญาหรอื สมั ปทานของรฐั
เจ้าหน้าท่ี  การใชต้ าแหน่งหนา้ ทเ่ี ลือกผลักดนั โครงการทกี่ ่อใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อตนเอง ญาติ/พวกพ้อง
ของรัฐ
ทัว่ ไป

 การนาขอ้ มลู ลบั /ขอ้ มลู ภายในมาใชห้ าประโยชนใ์ หแ้ กต่ นเองหรือพวกพ้อง
 หวั หน้าหน่วยงานซึ่งครอบครัวประกอบธรุ กิจรับเหมากอ่ สร้างแตง่ ตัง้ ใหญ้ าติ/ คนสนิท/คนทมี่ ี

ความสมั พันธฉ์ ันญาติข้ึนเป็นผ้อู านวยการกองพสั ดุ
 การชว่ ยญาติมิตรหรอื คนสนทิ ใหไ้ ดง้ านในหน่วยงานท่ีตนมีอานาจ
 การรบั ผลประโยชน์หรอื การเรยี กรอ้ งสงิ่ ตอบแทนจากการปฏิบตั ิงานในหนา้ ที่ความรบั ผดิ ชอบ
 การรับงานนอกหรอื การทาธุรกจิ ทเ่ี บยี ดบังเวลาราชการ/งานโดยรวมของหนว่ ยงาน
 การทางานหลงั เกษียณใหก้ ับหนว่ ยงานที่มผี ลประโยชน์ขดั กบั หน่วยงานต้นสงั กัดเดิม
 การนารถราชการไปใช้ในกจิ ธุระสว่ นตวั และในหลายกรณีมกี ารเบกิ ค่าน้ามัน
 การนาบคุ ลากรของหนว่ ยงานไปใชเ้ พื่อการส่วนตัว

กลมุ่ วิชาชีพทเ่ี กย่ี วกบั การตรวจสอบ ประเมนิ ราคา และการจัดซอื้ จัดจ้าง

 การหาผลประโยชน์จากความไม่รู้ในระเบียบและข้อมูลของทางราชการของประชาชนโดยเรียกรับเงิน
และอ้างว่าจะสามารถช่วยให้สามารถเสียค่าธรรมเนียมในการโอนกรรมสิทธิ์ซื้อขายท่ีดินในราคาท่ีถูก
กว่าได้ ผู้บริหารสถาบันการเงินหวังก้าวหน้าในอาชีพจึงได้ร่วมมือและให้ความช่วยเหลือแก่
นักการเมืองในการกู้เงินในวงเงินสูงในรูปแบบการประเมินราคาหลกั ทรพั ย์ คา้ ประกนั ให้สูงเกินกว่า
ความเป็นจริง

 ผู้บริหารสถาบันการเงินใช้อานาจหน้าที่ให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเสนอขายท่ีดินหรือบ้านพร้อมที่ดิน
ในโครงการของตนให้แกล่ ูกค้าของสถาบันการเงิน เพื่อแลกกับความสะดวกในการทาธุรกิจกับสถาบัน
การเงิน

 เจา้ หนา้ ทีต่ รวจสอบภาษีอากรได้เปิดสานักงานบญั ชเี พ่ือทาบญั ชีและรบั จดทะเบียนจัดต้ังบริษัท จากัด
ซ่ึงในเวลาปฏบิ ัตงิ านกจ็ ะเลือกใหบ้ รกิ ารเฉพาะรายทตี่ นเองได้รบั ประโยชนจ์ ากผเู้ สยี ภาษีเท่าน้ัน

 การกาหนดมาตรฐาน (Specification) ในสินค้าที่จะจัดซ้ือจัดจ้างให้บริษัทของตนหรือของพวกพ้อง
ไดเ้ ปรียบหรอื ชนะในการประมลู

 การให้ข้อมูลการจัดซ้ือจดั จา้ งแก่พรรคพวก/ญาติ เพื่อแสวงหาผลประโยชน์ในการประมูลหรอื การจา้ ง
เหมารวมถงึ การปกปดิ ข้อมลู เช่น การปดิ ประกาศหรือเผยแพรข่ ้อมูลข่าวสารล่าชา้ หรอื พ้นกาหนด

- 97 -

กลมุ่ อาชพี กิจกรรมที่มคี วามเสี่ยงต่อปัญหาการเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน
การย่ืนใบเสนอราคา เปน็ ต้น

กลุ่มวิชาชีพอสิ ระ

 การรับงานจากภายนอกจนกระทบตอ่ การปฏิบตั ิหน้าท่ปี ระจา
 การใชส้ ทิ ธใิ นการเบิกจา่ ยยาให้กบั ญาติแลว้ นายาไปใชท้ ีค่ ลินิกส่วนตัว
 การรับประโยชน์จากระบบการล็อคบัตรคิวให้แก่เจ้าหน้าท่ีหรือญาติเจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน โดยผู้มี

หน้าทีด่ ูแลบัตรควิ จะล็อคไว้มากกว่าที่หน่วยงานกาหนดและไปเรียกรับประโยชน์จากบัตรคิวท่ีล็อคไว้
เกินเหลา่ น้นั จากผูร้ ับบรกิ ารที่ต้องการลดั คิว

กลุ่มวิชาชพี ท่เี กีย่ วกับกระบวนการยตุ ิธรรม
 การเรยี กรบั ผลประโยชนจ์ ากการอนุญาตให้คนื ของกลาง เป็นตน้

3. กลุม่ วชิ าชพี วชิ าการ
ขา้ ราชการ
ทอ้ งถิ่น  คณะกรรมการตรวจรับผลงานทาหน้าท่ีเสมือนเป็นนายหน้าให้แก่บริษัทท่ีปรึกษา โดยรับรายงานผล
การศึกษามาพิจารณาก่อนและแก้ไขในประเด็นที่คาดว่าอาจถูกคณะกรรมการคนอื่นท้วงติง รวมถึง
การเข้าไปแทรกแซงการพิจารณาของกรรมการคนอืน่

3.1 การเข้ามาดาเนินธุรกิจและเป็นคูส่ ัญญากบั องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น
 สมาชกิ สภา/ผูบ้ รหิ ารทอ้ งถ่นิ มาดาเนินธุรกิจกบั องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นที่ตนเปน็ สมาชิก
 ญาติ/ภรรยา (อาจไม่ได้จดทะเบียน) ของผู้บริหารท้องถ่ินเป็นคู่สัญญาหรือรับเหมางานกับองค์กร
ปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ
 สมาชิกสภา/ผู้บริหารท้องถ่ินเข้าไปมีส่วนได้ส่วนเสียในฐานะผู้รับมอบอานาจจากบริษัท ห้างร้าน
ในการยนื่ ซองประกวดราคา
 สมาชกิ สภา/ผบู้ รหิ ารทอ้ งถ่นิ เปน็ บคุ คลรว่ มเจรจาไกลเ่ กลยี่ ในฐานะตัวแทนบริษทั หา้ งร้าน ในกรณีงาน
จ้างเหมามปี ญั หา
 ผู้บริหารสภา/ผู้บริหารท้องถิน่ หาประโยชน์ส่วนตวั จากการเก็งกาไรจากราคาที่ดิน ทั้งในรูปของการใช้
ข้อมลู ภายในไปซื้อ ท่ีดินไว้ก่อน หรืออาจเป็นในรูปแบบที่กาหนดที่ต้ังโครงการในพ้ืนที่ที่ตนเองมีท่ีดิน
อยูเ่ พอื่ ขายท่ีดินของตนเองในราคาทีส่ งู
 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทาสัญญาเช่ารถไปสัมมนาและดูงานกับบริษัทซึ่งเป็นของสมาชิกของ
องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินนัน่ เอง
 นายกเทศมนตรีและเทศมนตรีขายสนิ ค้าหรอื บรกิ ารของบริษัทตนเองให้กบั เทศบาล

3.2 การใชง้ บประมาณหลวงเพ่ือประโยชนส์ ่วนตนและเพื่อหาเสียง
 การจัดสรรงบประมาณหรือโครงการเขา้ ไปในพืน้ ท่ีของตนเอง
 การใช้งบประมาณราชการทาโครงการพร้อมเขียนป้ายและช่ือของผู้ของบประมาณ ประกาศให้
ชาวบา้ นทราบเพอ่ื เปน็ การหาเสียง
 การท่ีสมาชิกสภาท้องถ่ินซ่ึงมีบทบาทในการอนุมัติและตรวจสอบการใช้งบประมาณของฝ่ายบริหาร
กลับไปมีส่วนในการใช้งบประมาณส่งผลต่อการทาหน้าท่ีในการตรว จสอบและใช้วิจารณญาณใน
การตัดสินใจอนุมัติเอนเอียงจากความถูกต้องและประโยชน์สาธารณะ เนื่องจากต้องการงบที่เหลือ


Click to View FlipBook Version