The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ต้านทุจริต-ม.3 (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by beerlovely2517, 2019-09-07 02:22:24

ต้านทุจริต-ม.3 (1)

ต้านทุจริต-ม.3 (1)

- 155 -

แบบประเมนิ ชน้ิ งาน
ช่ือ - นามสกุล .................................................................................. ชนั้ …………………........
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ................................ กจิ กรรม ……………….………………......................

คาชีแ้ จง: ใหผ้ ู้ประเมนิ ขีด  ลงในช่องท่ตี รงกบั ระดบั คะแนน

ประเด็นที่ประเมิน ผ้ปู ระเมนิ

ตนเอง เพ่อื น ครู
432143214321

1. ตรงจดุ ประสงค์ที่กาหนด
2. มีความถูกต้องสมบรู ณ์
3. มคี วามคดิ สร้างสรรค์
4. มคี วามเปน็ ระเบียบ

รวม
รวมทกุ รายการ

เฉลีย่

ผู้ประเมนิ ................................................(ตนเอง) ผู้ประเมิน .............................................. (เพื่อน)
ผูป้ ระเมนิ ................................................................ (คร)ู

- 156 -

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนผลงาน

ประเดน็ ที่ประเมิน คะแนน
1. ผลงานตรงกับ
4 321
จดุ ประสงคท์ ก่ี าหนด
ผลงานสอดคลอ้ ง ผลงานสอดคลอ้ ง ผลงานสอดคล้อง ผลงานไม่
2. ผลงานมคี วามถูกตอ้ ง
สมบรู ณ์ กับจุดประสงค์ กบั จุดประสงค์ กับจุดประสงค์ สอดคลอ้ งกับ

3. ผลงานมคี วามคิด ทกุ ประเดน็ เป็นส่วนใหญ่ บางประเดน็ จุดประสงค์
สรา้ งสรรค์
เน้ือหาสาระของ เน้อื หาสาระของ เนื้อหาสาระของ เน้อื หาสาระของ
4. ผลงานมีความเปน็
ระเบียบ ผลงานถูกต้อง ผลงานถกู ต้อง ผลงานถูกต้องเป็น ผลงานไม่ถูกต้อง

ครบถ้วน เป็นส่วนใหญ่ บางประเด็น เปน็ ส่วนใหญ่

ผลงานแสดงออก ผลงานมีแนวคิด ผลงานมีความ ผลงานไม่แสดง

ถึงความคดิ แปลกใหม่แต่ยัง น่าสนใจ แต่ยัง ไม่ แนวคิดใหม่

สร้างสรรค์ ไมเ่ ป็นระบบ มีแนวคดิ แปลก

แปลกใหม่ ใหม่

และเป็นระบบ

ผลงานมีความเปน็ ผลงานสว่ นใหญ่มี ผลงานมีความ ผลงานสว่ นใหญ่

ระเบยี บแสดงออก ความเปน็ เป็นระเบยี บแต่มี ไม่เป็นระเบยี บ

ถงึ ความประณีต ระเบียบแต่ยงั มี ข้อบกพร่อง และมีข้อ

ขอ้ บกพร่อง บางสว่ น บกพร่องมาก

เล็กนอ้ ย

เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ
นักเรยี นไดค้ ะแนน 13 คะแนนข้ึนไป หรอื ร้อยละ 80 ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์

- 156 -

หนว่ ยท่ี ๓

STRONG / จติ พอเพียงต่อตา้ นการทจุ รติ

- 157 - ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ ๓
เวลา 1 ชว่ั โมง
แผนการจดั การเรยี นรู้
หน่วยท่ี ๓ ชื่อหน่วย STRONG / จิตพอเพยี งต่อต้านการทุจริต
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1 เรอ่ื ง ความพอเพียง

1. ผลการเรียนรู้
มีความรู้ ความเขา้ ใจ STRONG / จิตพอเพียงตอ่ ตา้ นการทจุ ริต

๒. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 นกั เรียนสามารถอธบิ ายความหมายของความพอเพียง ความซ่อื สัตย์และความดีได้
๒.๒ นกั เรียนสามารถสรุปองค์ความรู้ เช่ือมโยงพฤตกิ รรมของบุคคลในชีวติ ประจาวันกับหลกั

แนวคดิ ของ เศรษฐกิจพอเพียงไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง
๒.๓ นักเรียนมคี วามตระหนักถึงความพอเพียง พอดกี ับตนเอง

๓. สาระการเรียนรู้
3.1 ความรู้
1) ความหมายของความพอเพียง
ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมี

ระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ อัน เกิดจากการเปล่ียนแปลงท้ังนี้จะต้องอาศัย
ความรอบรู้ ในหลกั วชิ าการและคณุ ธรรม มาใชใ้ นการวางแผน กอ่ นและการดาเนินการทกุ ขน้ั ตอน

2) องค์ความรู้ของเศรษฐกจิ พอเพียง
3.2 ทักษะ / กระบวนการ (สมรรถนะทีเ่ กดิ )

๓.๒.1. ความสามารถในการส่อื สาร
๓.2.๒. ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์
๓.๒.3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
๓.๒.4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต
3.3 คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ / ค่านยิ ม

1) ใฝเ่ รยี นรู้
2) มุ่งมัน่ ในการทางาน
3) ความซือ่ สตั ยส์ จุ รติ
๔. กจิ กรรมการเรยี นรู้
4.1 ข้นั ตอนการเรียนรู้
1) ใหน้ กั เรยี นศกึ ษาพระราชดารสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ในรัชกาลท่ี ๙ โดย มี
ใจความสาคัญคอื “ ใน ๑๐ปี เมืองไทยคงจะเจริญ ข้อสาคัญคอื ต้องหยุดการทุจริตใหส้ าเร็จ และไม่ทจุ รติ เสยี
เอง “ แลว้ รว่ มกันอภปิ รายแสดงความคิดเห็นจากบทความดงั กลา่ ว
2) ใหน้ กั เรียนดูคลิปวีดีโอ เร่ือง “ วถิ พี อเพยี ง ไมเ่ สย่ี งคอร์รปั ชัน” เชอ่ื มโยงสูก่ ารวิเคราะหป์ ัญหา
ของประเทศในประเดน็ “จากปัญหาการทุจรติ ของประเทศเราในปัจจุบันนี้สง่ ผลกระทบอยา่ งไรต่อตนเอง
ชุมชนและประเทศชาติบ้าง”
3) ใหน้ ักเรียนศึกษาใบความรู้เร่อื ง ความพอเพยี งแลว้ รว่ มกนั อภปิ ราย วเิ คราะห์ เพ่ือนาไปสกู่ าร
ดาเนินชวี ิตอยา่ งพอเพยี งพอเพยี ง ทากจิ กรรมในใบงานตอบคาถาม ดังนี้

- 158 -

๑) มีพฤติกรรมใดท่ีนกั เรียนใช้ชวี ติ ทีไ่ มพ่ อเพียง
๒) จากเหตผุ ลดังกล่าว เม่อื เราปฏิบัตติ นอยา่ งพอเพยี งแล้วจะส่งผลต่อตนเอง ต่อผู้อืน่ และ
ประเทศชาติอย่างไร
3) นักเรียนให้ความหมายของความพอเพียง
4) ให้นักเรยี นนาเสนอผลงาน
4) ครูนาใบความรู้พระราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในรัชกาลที่ ๙
ให้ นักเรียนดู มีใจความว่า “ การทาความดนี ้ัน โดยมากเปน็ การเดินทวนกระแสความพอใจและความ
ตอ้ งการของมนุษย์ จงึ ทาได้ยากและเห็นผลช้า แตก่ จ็ าเป็นต้องทา เพราะหาไม่ความช่วั ซ่ึงทาได้ง่ายจะเข้ามา
แทนท่แี ลว้ พอกพนู ข้ึนอยา่ งรวดเร็ว โดยไม่ทันรู้ตัว ”
5) ครูและนกั เรียนสรุปรว่ มกัน “ เราสามารถนอ้ มนาหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการ
ดาเนินชีวติ พัฒนาชมุ ชนสังคมและประเทศชาติได้อย่างไร จะมปี ระโยชนต์ ่อสงั คมหรือไม่อย่างไร

4.2 ส่อื การเรียนรู้ / แหล่งการเรยี นรู้
1) ใบความรู้ พระราชดารัสของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ในรัชกาลท่ี ๙
2) วดี โี อ “วิถีพอเพยี ง ไมเ่ สีย่ งคอรร์ ปั ชัน”
๓) ใบความรู้ท่ี 2 เรอื่ งความพอเพยี ง
4) ใบความรูท้ ่ี 3 พระราโชวาทของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั ในรัชกาลที่ ๙
5) ใบความรขู้ องครู เรื่อง คอรร์ ัปช่นั

๕. การประเมนิ ผลการเรียนรู้
5.1วิธกี ารประเมิน
1) สังเกตพฤติกรรมการปฏิบตั งิ านกล่มุ ของนักเรียนแต่ละกลมุ่
2) ตรวจผลงานการบันทกึ การสรปุ องค์ความรู้ ของแตล่ ะกลุ่ม
3) สงั เกตพฤติกรรมการนาเสนอผลงานของนักเรียน

๕.๒ เคร่อื งมอื ท่ใี ชใ้ นการประเมิน
๑) แบบสงั เกตพฤติกรรมการปฏิบตั ิงานของนักเรียน
๒) แบบตรวจผลงาน
๓) แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

5.3 เกณฑก์ ารตัดสิน
1) การประเมินพฤติกรรมการปฏิบตั งิ านของนักเรียนระดับดขี น้ึ ไปถือวา่ ผ่าน
2) ประเมินผลงานนกั เรียนระดับดขี ึ้นไป ถือวา่ ผา่ น
3) นักเรียนผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ร้อยละ 80 ข้ึนไป ถือวา่ ผา่ น

- 159 -

6 บนั ทึกหลังสอน
.........................................................................................................................................................

............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
......................................................... ............................................................................................ .........................
............................................................................................................................. .................................................

ลงชอื่ ................................................ ครผู สู้ อน
(.................................................)

7 ภาคผนวก
- ใบความรู้ พระบรมราโชวาท
- แบบสังเกตการทางานกลุ่ม
- เกณฑ์การประเมินใบงานตอบคาถาม

- 160 -
ใบความรู้ท่ี1
พระราชดารัส ของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู ัวรัชกาลที่ 9
พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั ไดม้ ีพระราชดารัสเกยี่ วกับการทุจรติ ของข้าราชการมาโดยตลอด องค์ที่สาคัญ
มาก คือ พระราชดารัสทพี่ ระราชทานแก่คณะผู้วา่ ราชการจังหวัดแบบบรู ณาการในโอกาสเข้าเฝ้าถวายสตั ย์
ปฏิญาณ เมอ่ื วันท่ี 8 ตุลาคม 2546 ความว่า
“…ภายในเวลา 10 ปี เมอื งไทยน่าจะเจริญ ขอ้ สาคัญ คอื ตอ้ งหยดุ การทจุ ริตใหส้ าเรจ็ และไม่ทุจรติ เสยี

เอง…”

การปฏบิ ัตติ ามรอยพระยุคลบาทสืบไป อันเปน็ พ้ืนฐานในการลดปัญหาการทจุ ริตอยา่ งยงั่ ยนื
หากทกุ คนในสงั คมดารงตนดว้ ย ความซ่ือสัตย์สุจริต อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง

- 161 -

ใบความรทู้ ่ี 2
“ดร.สเุ มธ ตันติเวชกลุ ” เขียนไว้ในหนังสือ “ใต้เบื้องพระยคุ ลบาท”
“...พระองค์ท่าน ทรงเป็นผู้นาอย่างแท้จริง ดูแค่ฉลองพระบาทเป็นต้น พวกตามเสด็จฯทั้งหลายใส่
รองเท้านอก และย่ิงมาจากต่างประเทศใส่แล้วนุ่มเท้าดี พระองค์กลับทรงรองเท้าที่ผลิตในเมืองไทยคู่ละร้อย
กว่าบาทสดี าเหมือนอยา่ งทนี่ ักเรียนใส่กัน แม้กระทัง่ พวกเรายงั ไมซ่ ือ้ ใสเ่ ลย...”
“ดร.สเุ มธ ตนั ติเวชกลุ ” เขยี นไว้ในหนังสอื “ใต้เบอ้ื งพระยคุ ลบาท”

นาฬกิ าบนข้อพระกร
วนั งานเปดิ ตัวรายการทวี ี “ธรรมดที ่ีพ่อทา” และงานสมั มนา “ถอดรหัส”ธรรมดีท่ีพ่อทาพอเริ่มบรรยาย
ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล ถามผู้ฟังว่า พวกเรามีเส้ือผ้าคนละกี่ชุด ใส่นาฬิกาเรือนละเท่าไหร่ หลายคนแย่กันตอบ
และพากนั อ้งึ เม่ือ ดร.สเุ มธ ตนั ติเวชกุล เล่าว่า "คร้ังหน่ึง ผมพยายามจะแอบดูว่า พระองค์ท่านใส่นาฬิกายี่ห้อ
อะไร จนพระองค์ท่านรู้สึกได้ว่าผมพยายามอยากจะดูยี่ห้อ ท่านจึงย่ืนข้อพระหัตถ์มาให้ดูตรงหน้า จึงทราบว่า
พระองค์ท่านใส่นาฬิการาคาเพียงเรือนละ 750 บาทเท่าน้ันซึ่งก็เดินตรงเหมือนกันกับนาฬิกาเรือนแพง
แม้กระท่ังฉลองพระองค์ก็ทรงมีไม่กี่ชุด ทรงใช้จนเปื่อยซีด แต่พวกเรามักคิดว่า การมีแบบเหลือกินเหลือใช้จึง
จะดี เพราะคนสมัยนี้เริ่มไม่เอาเกษตรกรรม แต่เลือกท่ีจะทาอุตส่าหากรรม (เป็นศัพท์ท่ีบัญญัติขึ้นเอง สุดท้าย
อนาคตก็จะอดกิน"
“ดร.สเุ มธ ตนั ติเวชกุล” เขียนไวใ้ นหนังสือ “ใต้เบ้อื งพระยคุ ลบาท”
“ท่านผู้หญิงบุตรี” บอกผมมาว่า ปีหน่ึงท่านทรงเบิกดินสอ ๑๒ แท่ง เดือนละแท่ง ใช้จนกระทั่งกุด
ใครอย่าได้ไปทิ้งของพระองค์ท่านนะ จะทรงกร้ิว ทรงประหยัดทุกอย่าง ทรงเป็นต้นแบบทุกอย่าง ของทุกอย่างมีค่า
สาหรับพระองค์ท่านท้ังหมด ทุกบาท ทุกสตางค์ จะทรงใช้อย่างระมัดระวัง ทรงสั่งให้เราปฏิบัติงานด้วยความ
รอบคอบ...

หลอดยาสีพระทนต์
หลอดยาสีพระทนต์ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีลักษณะแบนราบเรียบ
คล้ายแผ่นกระดาษ โดยเฉพาะบริเวณคอหลอดยิ่งปรากฏรอยบุ๋มลึกลงไปจนถึงเกลียวคอหลอด สาเหตุท่ีเป็น
เช่นนี้เพราะพระองค์ท่านทรงใช้ด้ามแปรงสีพระทนต์ช่วยรีดและกดจนเป็นรอ ยบุ๋มศาสตราจารย์พิเศษ
ทันตแพทยห์ ญงิ ทา่ นผหู้ ญงิ เพ็ชรา เตชะกมั พุช ทนั ตแพทยป์ ระจาพระองค์ อดีตคณบดีคณะทันตแพทยศาสตร์
จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ได้เขียนเลา่ ในวา่ "คร้ังหนึ่งทันตแพทยป์ ระจาพระองค์ กราบถวายบังคมทูลเรื่องศิษย์
ทันตแพทย์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บางคนมีค่านิยมในการใช้ของต่างประเทศ และมีราคาแพง รายท่ีไม่มี
ทรัพย์พอซื้อหาก็ยังขวนขวาย เช่ามาใช้เป็นการช่ัวคร้ังชั่วคราว ซึ่งเท่าท่ีทราบมา มีความแตกต่างจากสมเด็จ
พระเทพรัตนราชสดุ าฯ ทที่ รงนิยมใช้กระเป๋าท่ีผลิตภายในประเทศเช่นสามัญชนท่ัวไป ทรงใช้ดินสอส้ันจนต้อง
ต่อดา้ ม แม้ยาสีพระทนต์ของพระองค์ท่าน ก็ทรงใช้ด้ามแปรงพระทนต์รีดหลอดยาจนแบนจนแน่ใจว่าไม่มียาสี
พระทนต์หลงเหลืออยู่ในหลอดจรงิ ๆ"

- 162 -

ใบความร้ทู ่ี 3
พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู ัว รชั กาลท๙่ี

- 163 -

ใบงาน เร่ือง ความพอเพียง
ช่ือ-นามสกุล..............................................................................................ชั้น ม.3 เลขท่ี...............
คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามเรือ่ ง ความพอเพียง ต่อไปน้ี
1) มพี ฤติกรรมใดที่นกั เรียนใช้ชวี ิตทพ่ี อเพยี ง
.............................................................................................................................................. ..................
................................................................................................................ ................................................
2) เม่อื เราปฏิบัตติ นอย่างพอเพียงแลว้ จะสง่ ผลต่อตนเอง ต่อผู้อืน่ และประเทศชาติอย่างไร
............................................................................................................................. ...................................
...................................................................................................................................... ..........................
3) ความพอเพียง หมายถึง
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................

- 164 -

ใบความรขู้ องครู

เร่ือง คอรร์ ัปชนั
คอรร์ ปั ชนั คอื การทจุ ริตโดยใช้หรอื อาศยั ตาแหน่งหนา้ ท่ีอานาจและอิทธพิ ลทตี่ นมอี ยู่เพอื่
ประโยชน์แกต่ นเองหรอื ผู้อนื่ การเหน็ แกญ่ าติพีน่ ้อง กินสินบน ฉ้อราษฎรบ์ ังหลวง การใช้ระบบอุปถัมภ์และ
ความไม่เป็นธรรมอ่นื ๆทข่ี า้ ราชการหรอื บุคคลใดใชเ้ ป็นเคร่ืองมือในการลิดรอนความเป็นธรรม
คอร์รปั ชัน หมายถึงความผดิ ทร่ี ะบุไวใ้ นประมวลกฏหมายอาญา อันได้แก่ ความผดิ ตอ่ ตาแหน่งหนา้ ที่
ราชการ ความผดิ ทเี่ กีย่ วกบั ความยุติธรรมและความผดิ ต่อตาแหน่งหนา้ ทีใ่ นการยุตธิ รรม ซึ่งกลา่ วงา่ ยๆ คือ
การกระทาเพอื่ แสวงหาผลประโยชนท์ ม่ี คิ วรชอบได้ดว้ ยกฏหมายสาหรบั ตนเองหรือผูอ้ ื่น เชน่
1. การเบยี ดบงั ทรัพย์ของทางราชการเปน็ ของตนหรอื เปน็ ของผู้อ่ืนโดยทุจรติ
2. การใช้อานาจในตาแหนง่ โดยมิชอบ
3. การบอกวา่ จะให้ทรัพย์สินหรือประโยชนแ์ ก่เจา้ พนกั งาน
ประเภทของคอร์รปั ชนั มอี ยู่ 3 ประเภท ได้แก่
1. การคอร์รปั ชนั ขนาดเล็กน้อย (petty corruption) คือ การรบั เงินที่ไม่ชอบธรรม หรือไม่ถูกต้องของ
เจ้าหน้าทีข่ องรัฐ เปน็ จานวนเงินทไ่ี ม่มากนัก เพ่ือดาเนนิ การบางอย่างให้กับผู้ท่ีให้เงิน
2. การคอรร์ ัปชันขนาดใหญ่ (big corruption) ซ่ึงมักเปน็ การคอรร์ ปั ชันของเจ้าหน้าท่ีระดับสงู ท่รี ับเงนิ ใน
รูปแบบของสินบนเปน็ เงนิ จานวนสูง และโครงการใหญ่ๆเชน่ บริษทั ตา่ งๆ
3. การใหข้ องขวัญ (gift) เปน็ การคอรร์ ัปชนั อีกประเภทหนึ่ง เปน็ การให้ตอบแทนในรปู แบบสิ่งของ หรือการให้
ตอบแทนในรูปแบบอ่นื ๆ เช่น การเชญิ ไปรับประทามอาหาร ซ่งึ เป็นการพยายามสร้างความสมั พันธอ์ นั ใกล้ชดิ
สาเหตุของคอรร์ ปั ชนั
1. คนในสงั คมสว่ นใหญ่ นบั ถือความร่ารวย ยอ่ มเป็นแรงจูงใจในการแสวงหาเงินทอง
2. คา่ นยิ มแบบนิยมพวกพ้องและเครือญาติ ความสมั พันธ์ในเชงิ ผลประโยชน์
3. ระบบอปุ ถัมภห์ รือความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งผู้อปุ ถัมภก์ ับลูกน้อง สร้างลูกน้องไว้ช่วยเหลือตนในเร่ืองตา่ ง ๆ
4. ระบบการควบคุมและตรวจสอบท่ีขาดประสิทธภิ าพ
5. สภาพทางการเมืองท่ีมีการแข่งขันอยา่ งเขม้ ขน้ เพ่ือช่วงชิงตาแหน่งทางการเมืองและผลประโยชน์

- 165 -

รูปแบบของการคอร์รัปชนั
1. การทจุ รติ ในการซื้อจัดจา้ ง การทจุ ริตในเร่ืองเหล่าน้ีมตี ั้งแต่การเรยี กรับเงนิ สินบน คา่ นายหน้า หรอื การตอบ
แทนในรปู แบบต่างๆ ในการอนุมตั คิ าร้องเพ่ือดาเนนิ กิจการต่าง ๆ
2. การทุจริตโดยการยักยอกทรพั ย์ ของทางราชการหรอื การทจุ รติ ในการเบิกคา่ เบีย้ เล้ยี ง ค่าพาหนะ คา่
รกั ษาพยาบาล และคา่ เชา่ บ้าน เช่น การใช้พาหนะของราชการ โดยเบิกคา่ พาหนะ หรอื การเบกิ เบ้ยี เลี้ยงเกนิ
วันเวลาทปี่ ฏิบัตจิ ริง หรือ การเบิกค่าเชา่ บ้าน แต่ไม่ไดเ้ ชา่ บ้านจรงิ
3. การทจุ รติ โดยการเรียกรับเงินหรอื ผลประโยชนอ์ ืน่ ในการแตง่ ตง้ั ขา้ ราชการ ในการเลื่อนตาแหน่งหรือการ
โยกยา้ ยไปในพืน้ ที่ ท่ีอยากไป โดยการให้ค่าตอบแทน หรือเรียกวา่ .การซอ้ื ”
4. การซ้ือขายเสยี งและการให้ผลประโยชน์ในรูปแบบตา่ งๆในการเลอื กตง้ั การทจุ ริตเช่นนเ้ี ป็นส่วนหนงึ่ ของ
การคอรร์ ปั ชันทางการเมอื ง เช่นการใหเ้ งนิ สงิ่ ของ แก่หัวคะแนนเสยี งแหลง่ ข้อมูล:ปญั หาการเมืองไทยใน
ปจั จุบนั (Current Political Issues) ฉบบั ปรับปรงุ JQ 1741 ส41ป (ห้องสมุด มฟล.)

อนั ตรายของอาชญากรรม
นกั วิชาการถือวา่ คอรร์ ัปชัน เป็น อาชญากรรมคอปกขาว (white – collar crime) ซ่ึงหมายถึง การ
กระทาผิดของบคุ คลท่ีอยู่ในตาแหนง่ หน้าท่กี ารงาน มีอานาจ และได้ใชต้ าแหนง่ และอานาจทีต่ นเองดารงอยู่
เพ่อื แสวงประโยชน์ในทางมิชอบใหแ้ ก่ตนและพวกพ้อง ซึง่ ผลประโยชน์อาจจะอยู่ในรปู แบบตา่ งๆ เช่น เป็นเงนิ
เปน็ สิง่ ของ เปน็ การกระทาทเี่ ออ้ื ประโยชน์ใหส้ ามารถแปรรูปได้ เชน่ ความสะดวกสบายท่ีมคี นมาบริการให้ใน
ลักษณะท่เี รียกวา่ การทุจรติ คอรร์ ัปชนั
อาชญากรรม เหลา่ น้ี ได้เขา้ มาเกยี่ วข้องหรือควบคุมชวี ิตประจาวนั ของประชาชนทกุ ฝีกา้ ว เช่น หุ้นสว่ น
ในธุรกจิ โทรคมนาคม กล้องวงจรปิด เครอ่ื งมือแพทย์ กิจการด้านอตุ สาหกรรมอาหาร รวมไปถงึ บริษัทรักษา
ความปลอดภัยของเอกชน หรือการดักฟังทางโทรศัพท์อันเป็นละเมิดสิทธิป์ ระชาชนโดยตรง โดยวงจร ของการ
ทุจริต มกี ารพฒั นาซับซ้อนมากยง่ิ ข้นึ มีการใชเ้ งินจานวนมาก เพื่อเขา้ สู่อานาจรฐั ของอาชญากร หรือเพอื่ ให้มา
ซึ่งการเข้าถึงประโยชนม์ หาศาลจากงบประมาณประเทศ และยง่ิ ยากตอ่ การตรวจสอบ ข้อสาคญั มีแนวโน้มไปสู่
การก่ออาชญากรรมระดับโลก หรอื “อาชญากรรมขา้ มชาติ” กล่าว คือ การกระทาความผิดเปน็ ขบวนการ มี
ความสลบั ซบั ซอ้ น ใช้เงนิ จานวนมากสร้างอิทธพิ ลให้ตนเอง ตดั ตอนพยานหลักฐาน มีการครอบงากระบวนการ
ยตุ ิธรรม และยากต่อการบังคับใชก้ ฎหมาย

- 166 -

การคอร์รัปชันส่งผลต่อเศรษฐกิจ

ในวนั ท่ี 9 ธันวาคมของทุกปี เป็นวนั ต่อตา้ นการคอร์รปั ชันของโลก มปี ระชาชนใหค้ วามสนใน
เรื่องนีม้ ากย่ิงขนึ้ องค์กรความโปรง่ ใสของโลก ได้ออกมาให้ความของคอรร์ ปั ชัน่ ว่าหมายถึง การใช้อานาจเพ่ือ
หาประผลประโยชน์ส่วนตัวและการทุจรติ โดยใช้หน้าท่ีในการทางาน อานาจทไ่ี ด้มาแบบมิชอบทา เพอ่ื กอบโกย
ผลประโยชน์สว่ นตัวและผู้อ่ืน โดยจะสามารถแบ่งหัวข้อของการคอร์รัปช่ันได้ทง้ั หมดดงั นี้ การคอรร์ ปั ชันทม่ี ี
ขนาดใหญ่ เปน็ การบดิ เบือนนโยบายและอานาจของรฐั ในทางท่ีผดิ เพื่อใหผ้ นู้ าในการบริหารประเทศและคน
อน่ื ๆ ได้รบั ผลประโยชนต์ อ่ ชาตบิ า้ นเมืองและทรพั ยากรของประเทศ การคอรร์ ปั ช่ันขนาดยอ่ ย เปน็ การปฏิบัติ
ของเจ้าหนา้ ท่ีระดับต่างๆ ไปจนถึงระดับล่างต่อประชาชนเพื่อหาผลประโยชนส์ ่วนตวั หรอื ใชอ้ านาจที่ไดร้ บั
มอบหมายไปในทางท่ีไมด่ ี การติดสินบน เปน็ การเสนอผลประโยชน์ เงนิ ส่ิงของ สัญญาหรือข้อเสนอตา่ งๆ เพ่ือ
เป็นแรงจูงใจใหผ้ ู้อื่น เพื่อทีจ่ ะใหไ้ ดม้ าซ่งึ ผลประโยชนข์ องตนและของผู้อืน่ การยักยอก พนงั งานหรอื เจา้ หน้าท่ี
ในองค์กรราชการ นาเงนิ หรือส่งิ ของท่ใี ช้ในราชการ ไปใช้ประโยชน์สว่ นตัวหรือเพื่อสงิ่ ที่ไม่เกย่ี วข้องกับงาน
การอปุ ถมั ภ์ การเลน่ พรรคพวก การคัดเลือกคนท่ีมีความสาคญั ในการเมือง เพื่อเข้ามาทางานและให้ได้รบั
ผลประโยชน์ส่วนตวั โดยไมค่ านึงถงึ ความสามารถของผู้น้ัน การเลอื กคนท่ีชอบและรกั การเลน่ พรรคพวก การ
ใช้อานาจทมี่ ี เพอ่ื ให้เกิดประโยชนต์ ่อเพ่ือน ครอบครวั คนใกล้ชิดและพรรคพวก…

- 167 -

ประเมนิ แบบบันทึกพฤติกรรมการทางานกลุ่ม

กลมุ่ ท่ี (ชือ่ กลมุ่ ) ..........................................................................................................
สมาชกิ ในกลุ่ม
1 ......................................................................
2. ......................................................................
3. ......................................................................
4. ......................................................................
5. ......................................................................

คาช้ีแจง: ใหน้ ักเรยี นทาเคร่ืองหมาย  ในช่องที่ตรงกับความเป็นจรงิ

พฤตกิ รรมทสี่ ังเกต คะแนน 1
32

1. มีความสามคั คีและมีสว่ นร่วมในการแสดงความคดิ เห็น
2. มคี วามกระตอื รอื รน้ ในการทางาน
3. รบั ผดิ ชอบในงานทีไ่ ด้รับมอบหมาย
4. มีขั้นตอนในการทางานอย่างเปน็ ระบบ
5. ใชเ้ วลาในการทางานอย่างเหมาะสม
6. ความซ่อื สตั ยส์ ุจรติ ในการทางานดว้ ยตนเอง

รวม

- ได้คะแนน 15 คะแนนขนึ้ ไป ถอื วา่ ผา่ น
- ได้คะแนน ต่ากวา่ 15 คะแนน ถอื วา่ ไม่ผ่าน

เกณฑ์การใหค้ ะแนน
ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ

- 168 -

เกณฑ์การใหค้ ะแนนผลงาน

รายการประเมนิ คะแนน

1. ผลงานตรงกบั 432 1
จดุ ประสงค์
ที่กาหนด ผลงานสอดคล้อง ผลงานสอดคล้อง ผลงานสอดคล้อง ผลงานไม่
กบั จดุ ประสงค์ กับจุดประสงค์ กับจุดประสงค์ สอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงค์
2. ผลงานมีความ ทุกประเด็น เป็นสว่ นใหญ่ บางประเดน็
ถกู ต้องสมบรู ณ์ เนอ้ื หาสาระของ เน้อื หาสาระของ เน้อื หาสาระของ เนื้อหาสาระของผลงานไม่
ผลงานถกู ต้อง ผลงานถูกต้อง เปน็ ผลงานถกู ต้อง เป็น ถูกต้องเปน็ ส่วนใหญ่
3. ผลงานมี ครบถว้ น สว่ นใหญ่ บางประเด็น
ความคดิ ผลงานมคี วามคิด ผลงานมีความคิด ผลงานมคี วาม ผลงานไมน่ ่าสนใจไมม่ ี
สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ แต่ยัง น่าสนใจ แต่ยงั ไม่มี ความคิดสรา้ งสรรค์แปลก
แปลกใหม่ ไมเ่ ป็นระบบ ความคิดสรา้ งสรรค์ ใหม่
4. ผลงานมีความ และเป็นระบบ แปลกใหม่
เป็นระเบียบ ผลงานมคี วามเปน็ ผลงานสว่ นใหญ่ มี ผลงานมีความเปน็ ผลงานสว่ นใหญไ่ ม่เปน็
ระเบยี บ แสดงออก ความเป็นระเบยี บ ระเบียบ แตม่ ีขอ้ ระเบียบและ
5. ผลงานเสร็จ ถึงความประณีต แต่ยงั มขี ้อบกพร่อง บกพร่องบางสว่ น มขี อ้ บกพร่อง
ตามเวลาท่ี เล็กนอ้ ย
กาหนด ส่งผลงานตามเวลา ส่งผลงานชา้ กว่า ส่งผลงานชา้ กวา่ สง่ ผลงานช้ากวา่ เวลาที่
ทีก่ าหนด เวลาทก่ี าหนด เวลาท่ีกาหนด กาหนด
1-2 วัน 3-5 วนั เกิน 5 วนั ข้ึนไป

เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ

ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ
17 – 20 ดีมาก
13 – 16 ดี
9 – 12 พอใช้
5–8 ปรับปรงุ

- 169 -
แบบประเมินการนาเสนองาน

หัวขอ้

- การเตรียม - ตอบขอ้ -ความ - มีค-วาม

ความพร้อม สงสยั ได้ ชัดเจนใน - ตอบขอ้ พอพียง

ข้อท่ี ชื่อ / กลุ่ม ผู้นาเสนองาน ตรง การ สงสยั ได้ตรง ไมท่ ุจริต

ประเดน็ นาเสนอ ประเดน็

สามารถ

มองเห็นได้

ชัดเจน











เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ

คะแนน 9-10 ระดับคณุ ภาพ 4 หมายถึง ดีมาก

คะแนน 7-8 ระดับคุณภาพ 3 หมายถงึ ดี

คะแนน 5-6 ระดับคุณภาพ 2 หมายถึงพอใช้

คะแนน 0-4 ระดบั คุณภาพ 1 หมายถงึ ปรับปรงุ

เกณฑก์ ารผา่ นตง้ั แต่ระดบั คุณภาพพอใช้ขนึ้ ไป

สรปุ ผ่าน ไมผ่ า่ น

ลงชื่อ..........................................................ผปู้ ระเมิน

(........................................................)

- 170 - ช้ันมัธยมศึกษาปีที่3
เวลา 1 ชัว่ โมง
แผนการจดั การเรียนรู้
หน่วยท่ี 3 ชอ่ื หนว่ ย Strong/ จติ พอเพียงตอ่ ตา้ นการทุจริต
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 2 เรื่อง ความโปรง่ ใส

1. ผลการเรยี นรู้
๑.๑ มีความรู้ ความเขา้ ใจ Strong/ จติ พอเพยี งตอ่ ตา้ นการทจุ รติ

2. จุดประสงค์การเรยี นรู้
2.1 นกั เรยี นสามารถแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตน กบั ส่วนรวมได้
2.2 นกั เรียนสามารถอธิบายและยกตวั อยา่ งการทุจริตได้
2.3 นกั เรียนสามารถอธิบายสิทธขิ องบุคคลได้อย่างถกู ต้อง
2.4 นักเรียนสามารถปฏบิ ตั ิตนในการเคารพสทิ ธขิ องตนเองและผู้อ่นื ได้
๒.๕ นกั เรียนสามารถวิเคราะห์จากการเคารพสิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อน่ื ได้
2.6 นักเรียนสามารถตระหนักและเหน็ ความสาคญั ของการตอ่ ต้านและปอ้ งกันการทจุ ริต

2. สาระการเรียนรู้
3.1 ความรู้
1) ผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ส่วนรวม
2) ตวั อย่างการทจุ รติ
3) สิทธิของบุคคล
4) การเคารพสิทธิของตนเองและผอู้ ่นื
5) การเคารพสทิ ธิเสรีภาพของตนเองและผู้อ่นื
6) ความสาคัญของการต่อตา้ นและปอ้ งกนั การทุจริต
3.2 ทักษะ / กระบวนการ (สมรรถนะทีเ่ กดิ )
1) ความสามารถในการส่ือสาร
2) ความสามารถในการคดิ
3) ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ
๔) ความสามารถในการแก้ปัญหา
๕ ) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
3.3 คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ / คา่ นิยม
1) มวี ินยั
2) ใฝ่เรียนรู้
3) ซือ่ สตั ยส์ จุ รติ
4.1 ข้นั ตอนการเรียนรู้
ชั่วโมงท่ี 1
1) ให้นกั เรยี นดูคลปิ วดิ ีโอ เรื่อง ความไมเ่ บยี ดเบียน ไม่เอาเปรยี บผู้อ่ืน รหัส c
ห้องเรียนโตไปไม่โกงและร่วมกนั วิเคราะหว์ ่าจากท่นี ักเรียนได้ดู เปน็ การกระทาที่เหมาะสมหรือไม่
เพราะอะไร และนกั เรยี นสามารถช่วยกันออกความคดิ เห็นจากทีไ่ ดด้ ูเปน็ ตวั อย่างได้ไหม วา่ มีความ
โปรงใสอยา่ งไร จากเรือ่ งที่ได้ดู

- 171 -

2) ให้นกั เรยี นทาแผนผังความคดิ ในส่งิ ทไ่ี ด้เรยี นรู้เก่ียวกบั ความโปร่งใส จากวีดีโอที่ได้ดู
3) ร่วมสรุปการเรยี นรพู้ ดู คุยสรปุ บทเรียนจากการทาแผนผงั ความคิด
4.2 สอ่ื การเรยี นรู้ / แหล่งการเรยี นรู้

1) สือ่ รหสั c เรอ่ื งที1่ 0 ความไม่เบยี ดเบยี น ไมเ่ อาเปรียบผู้อ่นื
หอ้ งเรียนโตไปไม่โกง

2) หอ้ งสมุด /อินเทอร์เนต็
3. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้

5.1 วธิ ีการประเมิน
1) สังเกตพฤติกรรมการเรยี นรู้
2) ตรวจแผนผงั ความคิด

5.2 เครือ่ งมือท่ีใช้ในการประเมิน
1) แบบสังเกตพฤติกรรมการเรยี นรู้
2) แบบประเมนิ การตรวจแผนผัง
3) ใบงานแผนผงั ความคดิ

5.3 เกณฑ์การตดั สิน
1) ผูเ้ รยี นผา่ นเกณฑ์การประเมินจาการการสังเกตพฤติกรรม 14คะแนนขึ้นไป
๒) ผู้เรียนผ่านเกณฑก์ ารประเมินจาการตรวจแผนผงั ระดับดขี ึ้นไป

4. บนั ทึกหลังสอน
............................................................................................................................. ...................................

............................................................ ......................................................................................... .........................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงช่ือ ................................................ ครูผ้สู อน
(.................................................)

- 172 -

6.2 ใบงานแผนผงั ความคดิ / ออกแบบรา่ งโครงงาน

ใบงานแผนผังความคดิ
คาชีแ้ จง เมือ่ นกั เรยี นศึกษา ความไม่เบยี ดเบียน ไม่เอาเปรียบผู้อื่น นกั เรียนมีความคดิ เหน็
อยา่ งไร ให้แสดงความคิดเห็นเปน็ แผนผังความคิด ท่ีเกีย่ วกับความโปรง่ ใส จากการดูวีดีโอ

- 173 -

แบบสงั เกตพฤติกรรมการเรยี นรู้

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ตั งิ านรายบุคคล

ที่ ชือ่ -สกลุ ความสนใจ การแสดงความ การ การ ทางานตามท่ี รวมคะแนน ผลการ

คดิ เห็น ตอบ ยอมรับ รบั มอบหมาย ประเมนิ

คาถาม ฟงั คนอื่น

*หมายเหตุ ไดค้ ะแนน 14ขนึ้ ไป ผา่ นเกณฑ์การประเมิน
เกณฑ์การวัดผล ให้คะแนนระดับคณุ ภาพของแตล่ ะพฤติกรรมดังน้ี

ดมี าก = 4 สนใจฟงั ไมห่ ลับ ไมพ่ ดู คุยในชั้น มคี าถามทีด่ ี ตอบคาถามถูกตอ้ ง
ทางานสง่ ครบตรงเวลา
ดี = 3 การแสดงออกอย่ใู นเกณฑ์ประมาณ 70%
ปานกลาง = 2 การแสดงออกอยใู่ นเกณฑ์ประมาณ 50%
ปรบั ปรุง = 1 เขา้ ชน้ั เรียน แต่การแสดงออกนอ้ ยมาก สง่ งานไม่ครบ ไม่ตรงเวลา

ลงชื่อ……………………………….ผสู้ ังเกต
(……………………………….)
…………/…………/………

- 174 -

แบบประเมินการตรวจแผนผังความคดิ

เลขท่ี ชอื่ - สกลุ สรปุ ความรู้ไดถ้ ูกต้องครบ การเชอื่ มโยงความรู้ มคี วามคดิ รวม ผลการ

ตรงประเด็น ได้ถกู ต้องตามลาดับ สร้างสรรคใ์ นการ ตดั สิน

ข้ันความสัมพนั ธ์ เขียนผงั ความคดิ

เกณฑ์การให้คะแนน (ลงชือ่ ) ....................................................ผปู้ ระเมนิ
ดีมาก = 4
ดี = 3 (……………………………………………………)
พอใช้ = 2 …………./…………./…………….
ปรบั ปรงุ = 1
คะแนนตัดสินระดบั คุณภาพ
คะแนน คณุ ภาพ
10- 12 ดมี าก
7 - 9 ดี
4 - 6 พอใช้

1 - 3 ควรปรับปรงุ

- 175 -

แบบประเมินแผนผงั ความคิด

รายการประเมนิ

1. สรปุ ความรู้ได้ถูกต้อง ครบตรงประเด็น

2. การเช่อื มโยงความรไู้ ด้ถกู ต้องตามลาดับขัน้ ความสัมพันธ์

3. มีความคิดสร้างสรรค์ในการเขียนแผนผงั ความคิด

เกณฑก์ ารประเมินระดับคณุ ภาพ

รายการประเมนิ คาอธิบายระดับคุณภาพ

1.สรปุ ความรูไ้ ด้ 4(ดีมาก) 3(ด)ี 2(พอใช้) 1(ปรบั ปรงุ )
ถกู ต้อง ครบตรง
สามารถสรปุ ความรู้ได้ครบ สามารถสรปุ ความรู้ สรุปความรู้ไม่ครบ สรปุ ความรไู้ ม่
ประเดน็
และตรงประเดน็ และถกู ต้อง ได้ครบตรงประเด็น ทุกประเด็น ถกู ต้อง
2.การเชอื่ มโยง
ความรู้ได้ถูกต้อง ทุกหัวขอ้ และมคี วามถกู ต้อง
ตามลาดับขน้ั
ความสมั พันธ์ เปน็ สว่ นใหญ่
3.มีความคิด
สร้างสรรค์ ในการ สามารถเชือ่ มโยงความร้ไู ด้ สามารถเชือ่ มโยง สามารถเชอ่ื มโยง สามารถเชื่อมโยง
เขยี นผงั ความคิด
ถูกต้องตามลาดับความสัมพันธ์ ความรู้ได้ และ ความรแู้ ละลาดบั ความรู้ได้ แต่ไม่

ลาดบั ความสมั พนั ธ์ ความสัมพันธ์ไดบ้ ้าง เป็นไปตามลาดับ

ไดค้ ่อนข้างครบ ความสัมพนั ธ์

สามารถเขียนผงั ความคิดไดใ้ น สามารถเขียนผัง สามารถเขียนผัง สามารถเขียน

รูปแบบทถี่ ูกต้องและสวยงาม ความคดิ ไดถ้ ูกต้อง ความคดิ ไดแ้ ละมี แผนผงั ความคิดได้

และมีข้อบกพร่อง ขอ้ บกพร่องเป็น แต่ขาดรปู แบบและ

เพียงเลก็ น้อย บางสว่ น ความสวยงาม

- 176 - ช้ัน มธั ยมศึกษาปีท่ี 3
เวลา ๑ ชวั่ โมง
แผนการจัดการเรียนรู้
หน่วยที่ ๓ ช่ือหนว่ ย STRONG / จิตพอเพียงต่อตา้ นการทุจรติ
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3 เรอื่ ง ความต่นื รู้

1. ผลการเรยี นรู้
มีความรู้ ความเขา้ ใจ STRONG / จิตพอเพยี งต่อตา้ นการทุจรติ

๒. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
2.1 เพื่อให้นกั เรยี นเกิดการต่ืนรู้ มสี ติ มีความตระหนกั กบั การบริหารจดั การความเสีย่ ง
๒.๒ นกั เรียนสามารถคดิ วเิ คราะห์ บอกพฤตกิ รรมการตื่นรู้ เพือ่ จัดการความเสย่ี ง เพื่อใหเ้ กิด

ความปลอดภยั ต่อตนเองและผู้อ่ืน
๒.๓ นักเรยี นมีความตระหนกั ถึงความพอเพียง ตน่ื รู้ อยู่เสมอว่าทาอะไร แค่ไหนอยา่ งไร
2.๔ เพอ่ื สรา้ งจิตสานึก ตื่นรู้ ว่าทาอะไร ดีไม่ดีใหก้ ับนักเรยี น

๓. สาระการเรียนรู้
3.1 ความรู้
การบรหิ ารจัดการความเสี่ยง ในการด่ืนรู้ เพื่อให้เกดิ ความปลอดภยั แก่ตนเอง ผอู้ ่ืน และ
ส่วนรวมดงั นี้
1) การใครค่ รวญ พินิจ พิเคราะห์ (ตน่ื รทู้ างความคิด)
2) การคาดการณ์ (ต่ืนรู้ในใจ)
3) การเตรียมพร้อม (ต่ืนรทู้ างกาย)
4) ตาดู (ตื่นรู้ทางตา)
5) หูฟงั (ต่ืนรทู้ างหู)

3.2 ทักษะ / กระบวนการ (สมรรถนะที่เกิด)
1) ความสามารถในการสื่อสาร
2) ความสามารถในการคิดวิเคราะห์
3) ความสามารถในการแกป้ ญั หา
4) ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต

3.3คณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ / คา่ นยิ ม
1) มมี ุ่งม่ันในการทางาน
2) มีความตระหนักในความสาคัญของการจดั การความเส่ียงในการตนื่ รู้
๓) ใฝ่เรียนรู้

๔. กจิ กรรมการเรยี นรู้
4.1 ข้นั ตอนการเรยี นรู้
1. นกั เรยี นวิดโี อ “การตน่ื รู้ - การตน่ื รู้คืออะไร” 1.53 นาที
๒. ครูรว่ มสนทนากับนกั เรียนสรปุ เนอื้ หาในวิดโี อ ถงึ ลักษณะของการต่ืนรวู้ า่ คืออะไร

- 177 -

๓. แบง่ กล่มุ นักเรยี นแบง่ กลุ่ม กลมุ่ ละ 5 คน แลว้ ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลุม่ ศกึ ษาใบความรู้
Mind fullness และร่วมคิดวิเคราะห์ การบริหาร จัดการความเสย่ี ง เพอื่ ให้ต่นื รู้ แลว้ เกิดความปลอดภัยต่อ
ตนเอง ในด้านต่าง ๆ ตามหวั ขอ้ วา่ ควรมีพฤติกรรมการตื่นรู้ได้อย่างไรบา้ งลงในใบงาน

1. การใคร่ครวญ พนิ จิ พเิ คราะห์ (ตน่ื รู้ทางความคดิ )
2. การคาดการณ์ (ตนื่ ร้ใู นใจ)
3. การเตรยี มพร้อม (ตนื่ ร้ทู างกาย)
4. ตาดู (ตืน่ รทู้ างตา)
5. หูฟงั (ต่นื รู้ทางหู)
๕. นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ นาเสนอผลงาน
4.2 สือ่ การเรียนรู้ / แหล่งการเรียนรู้
1) วิดีโอ “การต่นื รู้ - การตน่ื รูค้ ืออะไร” 1.53 นาที
2) ใบความรู้ เร่ือง การบรหิ ารจัดการความเส่ียง
3) ใบความรู้ Mindfulness (การตน่ื รู้ มสี ติ มคี วามตระหนัก ) กบั การบรหิ ารจัดการ
ความเสี่ยง

๕. การประเมนิ ผลการเรียนรู้
7.1วธิ กี ารประเมนิ
1) ตรวจผลงานการทาใบงาน
2) แบบสังเกตพฤติกรรมการเรยี นรู้

๕.๒ เคร่อื งมือทีใ่ ชใ้ นการประเมนิ
1) แบบบนั ทึกการตรวจ ผลงานการทาใบงาน
2) แบบสังเกตการทางานกลุ่ม
3) วธิ กี ารนาเสนอผลงาน

5.3 เกณฑ์การตดั สิน
1) นักเรยี นผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ 80 ขึน้ ไป ถอื วา่ ผ่าน
2) นกั เรยี นผา่ นเกณฑก์ ารประเมินระดับดี ขน้ึ ไป ถือว่า ผ่าน

6.บนั ทึกหลังสอน
.........................................................................................................................................................

............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงช่อื ................................................ ครผู ้สู อน
(.................................................)

- 178 -

ใบความรู้

Mindfulness (การต่นื รู้ มีสติ มคี วามตระหนกั ) กบั การบรหิ ารจัดการความเสีย่ ง

คร้ังหน่งึ ทา่ นอาจารย์อนวุ ฒั น์ ศภุ ชุติกลุ ท่านได้กรุณาบอกเล่าเรอ่ื งราวการใช้ Mindfulness เพือ่
ช่วยในการบริหารจดั การความเส่ยี ง ในการด่นื รู้ เพ่ือใหเ้ กิดความปลอดภัยแกต่ นเอง ผ้อู ่ืน และสว่ นรวม โดย
ออกมาเป็นชุดความร้คู ือ

# การใครค่ รวญ พนิ จิ พเิ คราะห์ (ตน่ื ร้ทู างความคดิ )
# การคาดการณ์ (ต่ืนรูใ้ นใจ)
# การเตรยี มพรอ้ ม (ต่นื รู้ทางกาย)
# ตาดู (ตนื่ รูท้ างตา)
# หูฟัง (ต่นื รู้ทางหู)

เพื่อใหเ้ กิดความตระหนกั ความระมัดระวงั ในการสรา้ งความปลอดภัยใหเ้ กิดขึ้นผมไดล้ องตีความสง่ิ
ที่ทา่ นอาจารย์อนวุ ัฒน์ได้นาเสนอ และเพ่มิ เติมรายละเอียดเพือ่ ให้สามารถนาปฏบิ ตั ิได้จริงในการบรหิ ารจดั การ
ความเสีย่ งในองค์กรดังน้ี

1. การใคร่ครวญ พินจิ พเิ คราะห์ (ต่ืนร้ทู างความคิด) คือการไมjเอางา่ ยเขา้ วา่ นั่นคือ
# วิเคราะห์หาสาเหตขุ องความเสีย่ ง ยามที่มีเหตุการณ์ความเสีย่ งที่รุนแรง และสาคญั เกดิ ขน้ึ
# ขั้นตอนการปฏบิ ตั งิ าน/วธิ กี ารปฏบิ ัตงิ านท่ีวางไวห้ รือกาหนดไว้ ควรปฏิบตั ิตามที่วางไว้ แม่

จะเป็นขั้นตอนง่ายๆเรากต็ ้องปฏบิ ัติตาม
# การปฏิบัตงิ านควรนามาตรฐานการทางานมากากบั ไวใ้ นใจเสมอ
# คิด วิเคราะห์ ส่งิ ใดเพือ่ คน้ หาความจริงควรใชห้ ลักกาลามสูตร 10 ประการ

2. การคาดการณ์ (ตนื่ รู้ในใจ) คอื หมนั่ วเิ คราะห์จดุ อ่อน จุดบกพร่อง โอกาสที่จะเกดิ ความเสย่ี งของ
ขนั้ ตอนการทางานท่เี ราทางานว่าจะมีความเสี่ยงอะไรเกดิ ข้ึนบ้าง แมค้ วามเส่ียงนน้ั ไม่เคยเกิดขึ้น แต่ก็นามาสู่
การป้องกันเพื่อสรา้ งความปลอดภยั อีกทั้ง Sentinel Event (ความเสี่ยงทร่ี ุนแรงทเ่ี ราไม่ต้องการใหเ้ กดิ ขึน้ ) ก็
นามากาหนดมาตรการป้องกันเชน่ กัน เหมอื นกับอุตสาหกรรมการบนิ หรอื โรงไฟฟ้านิวเคลียส์ที่กาหนด
มาตรการการปอ้ งกันล่วงหน้าเพอื่ มิให้เหตรุ า้ ยเกดิ ขน้ึ ครบั

3. การเตรยี มพร้อม (ตนื่ รูท้ างกาย) คือการเตรยี มความพร้อมในดา้ นตา่ งๆ ไมว่ า่ จะเป็น

# ภาวะปกติ : คือการทางาน/การปฏบิ ตั ิงานต่างๆต้องมีการเตรยี มความพร้อมไม่ว่าจะเปน็
เครือ่ งมอื อปุ กรณ์ วัสดุอุปกรณต์ า่ งๆ ยา กาลังคน ใหม้ ีความพร้อมในการให้บริการแก่ผรู้ ับบรกิ ารในวนั นัน้ เวรน้นั

# ภาวะฉุกเฉิน : คือภาวะทเี่ ราต้องใหบ้ รกิ ารดว้ ยเหตุฉกุ เฉนิ เช่นผูป้ ่วยที่อยใู่ นภาวะ Shock ,
Arrest หรืออุบตั ภิ ัยหมู่ หน่วยงานควรมีการเตรียมความพร้อมเช่น การเตรียมอปุ กรณใ์ หพ้ ร้อม การอบรมบคุ ลากร
และ การซ้อมแผนต่างๆใหม้ ีความชานาญ เพ่ือรับมือได้อยา่ งทันท่วงที

# เหตุการณ์ไมพ่ งึ ประสงคท์ ี่ปอ้ งกนั ได้ คอื ความเสีย่ งทเ่ี ราสามารถป้องกันได้ หนว่ ยงานควรหม่นั
ประเมนิ ผลว่าแนวทางท่ีวางไว้น้นั มปี ระสิทธิภาพ ประสิทธิผลเพียงใดในการป้องกัน ท่สี าคัญเมือ่ เรากาหนดแลว้
ควรนาไปปฏิบัตใิ นหนา้ งาน เม่อื ให้ความเสีย่ งนนั้ ลดลงหรือหมดไป

- 179 -

# เหตกุ ารณ์ไมพ่ ึงประสงค์ที่ปอ้ งกันไมไ่ ด้ คือความเสีย่ งทีเ่ กิดขึ้นแลว้ แม้วา่ เราจะมีการกาหนด
มาตรการตา่ งเพื่อใช้ในการปอ้ งกัน แตบ่ างคร้ังก็ไมส่ ามารถปอ้ งกันได้ ส่งิ ที่หน่วยงานควรดาเนินการคือการเตรยี ม

ความพร้อมเพอ่ื รบั มอื ยามทีเ่ หตุการณ์ไมพ่ ึงประสงคน์ น้ั เกิดข้ึน เพื่อบรรเทา ลดความสูญเสยี ลดความรนุ แรงให้
เหลอื น้อยทส่ี ดุ

4. ตาดู (ต่ืนรูท้ างตา) คือการใช้ต่อมเอ๊ะใหเ้ ปน็ ประโยชน์ ไม่วา่ จะเปน็
# การดูแลผู้ป่วยตอ้ ง เอ๊ะ ดว้ ย C3THER
# แตถ่ า้ ต้องการลดเหตกุ ารณ์รนุ แต้องเอะ๊ ! ด้วย Concurrent Trigger tool เปน็ ตน้

5. หฟู งั (ต่ืนรู้ทางหู) คือการรบั ฟงั บุคคลต่างๆ ไมว่ ่าจะเปน็
# ฟังผู้มปี ระสบการณม์ ากกว่า เพื่อนาประสบการณข์ องเขา มาปรบั ใช้ในการบรกิ ารใหด้ ีข้นึ

เพราะประสบการณ์คือทางลัดแห่งการเรียนรู้ และความร้คู รบั
# ฟงั เพอื่ นวิชาชพี อนื่ ๆ ท่ีตา่ งจากเรา เพอ่ื ให้เราสามารถดูแลผู้ปว่ ยได้สมบูรณย์ ิ่งข้ึน และสรา้ ง

ความร่วมมอื ต่อกัน
# ฟังรนุ่ น้อง เพราะรนุ่ น้องอาจมีข้อมลู ท่ที ันสมัยมากกว่าเราในการดูแลผูป้ ่วย จะได้นามาสู่การ

ปรบั ปรุง
# ฟังญาตผิ ู้ปว่ ย เพ่อื ให้ได้รับรูว้ า่ พวกเค้ากังวลใจเร่ืองอะไรเกย่ี วกับอาการท่ีผปู้ ว่ ยเป็น
# ท่ีสาคญั เราต้องฟังผู้ปว่ ย เพราะผูป้ ว่ ยเขารู้เรือ่ งตวั เขาดีกวา่ เราในเร่ืองการเจบ็ ปว่ ยของครับ

เพราะการฟังจะทาให้เราทราบเรือ่ งราวเพ่ือนาไปสู่การสรา้ งความปลอดภัย
ดงั นั้นลองหัดใช้ Mindfulness (การต่ืนรู้ มีสติ ,มคี วามตระหนัก

- 180 -

ใบงาน กลมุ่ ที่................
สมาชกิ กลุ่ม

1...................................................................................
4...............................................................................
2...................................................................................
5...........................................................................
3...................................................................................
6...........................................................................
คาช้แี จง ให้นกั เรยี นร่วมคดิ วิเคราะห์ การบรหิ าร จัดการความเสี่ยง เพือ่ ใหต้ ่นื รู้ แล้วเกดิ ความปลอดภยั ต่อ
ตนเอง ในดา้ นต่าง ๆ ตามหัวขอ้ ว่าควรมีพฤติกรรมการตืน่ รู้ได้อยา่ งไรบ้า
1. การใคร่ครวญ พนิ จิ พิเคราะห์ (ต่ืนรทู้ างความคิด)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
2. การคาดการณ์ (ต่ืนรู้ในใจ)
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
3. การเตรยี มพรอ้ ม (ต่นื ร้ทู างกาย)
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
4. ตาดู (ตื่นรู้ทางตา)
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
5. หฟู ัง (ตื่นร้ทู างห)ู
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

- 181 -

ประเมิน แบบบนั ทกึ พฤติกรรมการทางานกลุ่ม

กลุ่มท่ี (ช่อื กลมุ่ ) ..........................................................................................................

สมาชกิ ในกล่มุ 1. 2....................................................................... ......................................................................

3. 4....................................................................... ......................................................................

5. ......................................................................

คาชีแ้ จง: ใหน้ กั เรยี นทาเคร่ืองหมาย  ในช่องที่ตรงกับความเปน็ จรงิ

พฤตกิ รรมที่สังเกต คะแนน 1
32

1. มคี วามสามัคคีและมสี ว่ นร่วมในการแสดงความคดิ เหน็
2. มคี วามกระตือรือรน้ ในการทางาน
3. รับผิดชอบในงานทไี่ ดร้ บั มอบหมาย
4. มขี น้ั ตอนในการทางานอย่างเป็นระบบ
5. ใชเ้ วลาในการทางานอยา่ งเหมาะสม

รวม

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
ได้คะแนน 12 คะแนนข้ึน ถือวา่ ผ่าน
ได้คะแนนต่ากว่า 12 คะแนน ถือวา่ ไมผ่ ่าน

- 182 -

แบบประเมนิ ผลงานใบงาน

ผลงานตรง ผลงานตรงกบั ผลงานมี ผลงานมี ผลงานมคี วาม รวม

กับ จุดประสงค์ ความคิด ความเป็น เป็นระเบยี บ คะแนน

ท่ี ชอื่ -สกลุ จดุ ประสงค์ ทก่ี าหนด สร้างสรรค์ ระเบยี บ ผลการ

ที่กาหนด ประเมิน

5 5 5 5 5 20

*หมายเหตุ ได้คะแนน 11 ขนึ้ ไป ผ่านเกณฑก์ ารประเมิน
เกณฑ์การวดั ผล ใหค้ ะแนนระดับคุณภาพของแตล่ ะพฤติกรรมดังน้ี

เกณฑ์การให้คะแนน
ดีมาก = 18-20 สนใจฟัง ไม่หลับ ไม่พูดคุยในชน้ั มคี าถามท่ดี ี ตอบคาถามถูกต้อง ทางานส่งครบตรง
เวลา
ดี = 15-17 การแสดงออกอยู่ในเกณฑป์ ระมาณ 70%
ปานกลาง = 11-14 การแสดงออกอยู่ในเกณฑ์ประมาณ 50%
ปรบั ปรุง = 0-10 เขา้ ช้นั เรยี น แต่การแสดงออกน้อยมาก ส่งงานไมค่ รบ ไมต่ รงเวลา

ลงชอ่ื ……………………………….ผ้สู งั เกต
(……………………………….)
…………/…………/………

- 183 -

เกณฑก์ ารให้คะแนนผลงาน
ใบงาน

รายการประเมนิ คะแนน

1. ผลงานตรง 5 4 3 2 1 0
กับจดุ ประสงค์ ผลงานสอดคลอ้ งกบั ผลงานไม่ ไม่ทาผลงาน
ท่กี าหนด จดุ ประสงค์ ผลงานสอดคล้อง ผลงานสอดคล้องกบั ผลงานสอดคลอ้ ง สอดคลอ้ งกับ ไม่ทาผลงาน
ทกุ ประเดน็ มากทส่ี ดุ กบั จดุ ประสงค์ จดุ ประสงค์ กบั จดุ ประสงค์ จดุ ประสงค์ ไมท่ าผลงาน
2. ผลงานมี เน้อื หาสาระของ ทกุ ประเด็น เป็นส่วนใหญ่ บางประเด็น เน้ือหาสาระของ
ความถูกต้อง ผลงานถกู ต้อง ผลงานไมถ่ ูกตอ้ ง ไม่ทาผลงาน
สมบรู ณ์ ครบถว้ นดีเยยี่ ม เน้อื หาสาระของ เนือ้ หาสาระของ เนอื้ หาสาระของ เป็นสว่ นใหญ่
ผลงานมคี วามคิด ผลงานถกู ต้อง ผลงานถกู ต้อง เปน็ ผลงานถกู ตอ้ ง ผลงานไม่นา่ สนใจ ไมท่ าผลงาน
3.ผลงานมี สร้างสรรค์ ครบถ้วน สว่ นใหญ่ เป็นบางประเดน็ ไม่มีความคดิ
ความคดิ แปลกใหม่ สร้างสรรค์
สร้างสรรค์ และเป็นระบบมาก ผลงานมคี วามคิด ผลงานมคี วามคดิ ผลงานมีความ แปลกใหม่
ท่ีสุด สรา้ งสรรค์ สร้างสรรค์ แต่ยงั นา่ สนใจ แตย่ งั ไมม่ ี
4. ผลงานมี ผลงานมคี วามเปน็ แปลกใหม่ ไมเ่ ป็นระบบ ความคิดสร้างสรรค์ ผลงานสว่ นใหญ่
ความ เป็น ระเบียบ แสดงออก และเปน็ ระบบ แปลกใหม่ ไมเ่ ปน็ ระเบยี บ
ระเบียบ ถงึ ความประณตี และ
ผลงานมีความเปน็ ผลงานส่วนใหญ่ มี ผลงานมคี วามเป็น มขี อ้ บกพรอ่ ง
5. ผลงานเสร็จ สง่ ผลงานตามเวลาท่ี ระเบยี บ แสดงออก ความเป็นระเบยี บแต่ ระเบยี บ แต่มขี ้อ สง่ ผลงานชา้ กวา่
ตามเวลาท่ี กาหนดท่ีสดุ ถึงความประณตี ยงั มขี อ้ บกพรอ่ ง บกพร่องบางส่วน เวลาทกี่ าหนด
กาหนด เล็กนอ้ ย เกนิ 5 วนั ขึ้นไป
ส่งผลงานตามเวลา สง่ ผลงานช้ากวา่
ทก่ี าหนด ส่งผลงานช้ากว่า เวลาทีก่ าหนด
เวลาท่กี าหนด 3-5 วนั
1-2 วนั

เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ

ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ

17 – 20 ดมี าก

13 – 16 ดี

9 – 12 พอใช้

5 – 8 ปรบั ปรงุ

ลงชอ่ื ..........................................................ผปู้ ระเมนิ
(........................................................)

- 184 - ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3
เวลา 1 ช่วั โมง
แผนการจดั การเรียนรู้
หน่วยที่ 3 ช่อื หนว่ ย STRONG / จิตพอเพยี งต่อต้านการทจุ ริต
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 4 เรื่อง ความรู้

1. ผลการเรยี นรู้
1.1 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ STRONG / จิตพอเพยี งต่อตา้ นการทจุ ริต

2. จุดประสงค์การเรียนรู้ นกั เรียนสามารถ
2.1 นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการปรับประยุกต์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้

ประกอบกบั หลกั การต่อต้านการทุจริตอน่ื ๆ
2.2 สามารถประยุกตห์ ลกั บูรณาการ “STRONG”

3. สาระการเรยี นรู้
3.1 ความรู้
- ศึกษาความหมายและความเข้าใจเกี่ยวกับ การปรับประยุกต์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพยี งมาใชป้ ระกอบกบั หลกั การต่อตา้ นการทจุ ริตอนื่ ๆ
- การประยกุ ต์หลักบูรณาการ “STRONG”

3.2 ทกั ษะ / กระบวนการ (สมรรถนะทเี่ กดิ )
1) ความสามารถในการสื่อสาร
2) ความสามารถในการคิด
3) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

3.3 คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ / คา่ นยิ ม
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
2. ซื่อสัตย์สุจรติ
3. มวี ินยั
4. ใฝเ่ รยี นรู้
5. อยา่ งพอเพยี ง
6. มงุ่ มั่นในการทางาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ

4.กิจกรรมการเรียนรู้ / การจดั ประสบการณ์
4.1 ขั้นตอนการเรยี นรู้ / ข้ันตอนการจัดประสบการณ์

1. ครชู ี้แจงสาระการเรียนร้ใู ห้นกั เรยี นทราบ
2. ครสู นทนาและอธบิ ายเกยี่ วกับเรอ่ื งหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผา่ นโปรเจ็คเตอร์ ให้
แสดงผลทีจ่ อภาพหนา้ ช้นั เรียน และช่วยกนั วเิ คราะห์ สงั เกต แบ่งออกเป็นข้อๆ ว่ามีหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพียงอะไร ทสี่ ามารถมาประยุกตใ์ นการต่อต้านการทุจริต
3. ครูตง้ั คาถามให้นักเรียนคิดตามว่า เรอ่ื งราววีดิทัศนท์ เ่ี ห็นในรปู แบบตา่ งๆ นน้ั อะไรคือ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ให้นักเรียนตอบ ทีส่ ามารถมาประยุกต์ในการต่อต้านการทุจรติ อยา่ งไรบ้าง
4. พรอ้ มทัง้ อธิบายดว้ ยโปรแกรม PowerPoint เรอื่ ง STRONG_t

- 185 -

5) จดบนั ทึก สาระการเรยี นรู้
6) การถาม – ตอบ และให้แสดงความคดิ เหน็ ในการดูวดิ ิทศั น์
7) ใหน้ กั เรยี นแบ่งกลมุ่ กลุม่ ละ 3 คน ใหป้ ฏิบตั ติ ามใบงานท่ี 4 โดยให้ค้นคว้า สบื คน้ ความรู้
จาก
แหล่งเรยี นรู้และสารสนเทศ เชน่ หอ้ งสมดุ อินเทอรเ์ น็ต จุลสาร เรอื่ ง หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง /
STRONG สาเหตแุ ละวธิ กี ารป้องกันต่อตา้ นไมใ่ ห้เกดิ การทจุ รติ ครูผู้สอนคอยเสริมและใหค้ าแนะนาท่ีถูกต้อง
8) สรุปองค์ความรู้ ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันคิดวิเคราะห์ และสรุปเป็นองค์ความรู้และ
รว่ มกนั ตรวจสอบตามใบงาน และแกไ้ ขใบงาน
9) ฝึกให้นักเรยี นในแตล่ ะกลมุ่ ไดน้ าเสนอเร่ืองราวทไ่ี ดค้ น้ คว้ามา ให้เพ่ือนได้รับฟังและเกิดความ
เขา้ ใจใน เร่ืองที่ได้รับมอบหมาย ได้อยา่ งเข้าใจ
10) นกั เรยี นมจี ิตสาธารณะ โดยการนาความรู้ทไ่ี ด้มาแนะนาเพ่ือนให้ปฏิบตั ติ ัวและยกตัวอยา่ ง
รอบตวั ในเร่ือง หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง / STRONG สาเหตุและวธิ ีการป้องกนั ไมใ่ หเ้ กดิ การทุจริต
ตามวุฒิภาวะของตนได้อยา่ งเหมาะสม ก่อให้เกิดประโยชนอ์ ยา่ งสรา้ งสรรค์
11) ครทู บทวนเน้อื หา
12) นกั เรียนและครผู ูส้ อนรว่ มกันสรุปองค์ความรู้ของนักผเู้ รยี นทสี่ ามารถอธบิ ายเรอ่ื งหลักปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียง / STRONG และสาเหตกุ ารทจุ รติ และหาวธิ ีป้องกนั การทจุ ริตไดใ้ นรปู แบบต่าง ๆ ได้
ถูกต้อง และครผู ้สู อนแสดงความชื่นชมกับนักเรียนทุกคน ทส่ี ามารถทากิจกรรมท่ีมอบหมายในใบงานท่ี 4 ได้
สาเรจ็ และมีประสทิ ธภิ าพ
13) ครปู ระเมนิ ผลข้ันตอนกระบวนการการปฏบิ ัตงิ านและภาระงานท่ีกาหนดให้นักเรียนฝกึ ปฏบิ ัติ
ด้วยความเขา้ ใจ
4.2 ส่อื การเรยี นรู้ / แหล่งการเรียนรู้

1) ภาพยนตรส์ น้ั โรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. เรือ่ ง เลือก
2) ภาพยนตรส์ ั้นช่อสะอาดสัญลกั ษณส์ ่งเสรมิ คุณธรรมความดี
3) จุลสาร ป.ป.ช. สารสโู่ รงเรยี น
4) PowerPoint เร่ือง STRONG_t
5) รายการภารกจิ ปราบปรามการทจุ รติ : https://goo.gl/vzGxVy
6) รายการภารกจิ พชิ ิตโกง : https://goo.gl/S9kHnv
5. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้
5.1 วธิ กี ารประเมิน
1. ดา้ นความรู้ (K)

- ประเมนิ จากการซักถาม
- การตรวจแบบใบงาน ทนั เวลาท่ีกาหนด
- การนาเสนอผลงาน
2. ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P)
- การสังเกตพฤติกรรมการปฏบิ ตั ิงานตามขน้ั ตอนการกระบวนการในการทางานกลมุ่
3. ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรมและเจตคติ (A)
- การสังเกตพฤติกรรมเนน้ ความรบั ผิดชอบ ใฝ่เรยี นรู้ ขยัน ซื่อสตั ย์ อดทนและมจี ิต
สาธารณะ

- 186 -

a. เครื่องมอื ท่ีใชใ้ นการประเมิน
- แบบฝกึ ปฏิบตั ิจากใบงาน
- แบบประเมนิ จากแบบฝึกหัด
- แบบสังเกตประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงาน (Rubrics)
- แบบประเมินผลพฤติกรรม

5.3 เกณฑก์ ารตดั สนิ
1) นกั เรยี นผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ร้อยละ 80 ขนึ้ ไป ถือว่า ผ่าน
2) นักเรียนผา่ นเกณฑก์ ารประเมินระดบั ดขี ้ึนไป ถือว่า ผ่าน

6. บันทึกหลังสอน

............................................................................................................................. ...................................
........................................................................................... .......................................................... .........................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงชอื่ ................................................ ครผู ้สู อน
(.................................................)

7. ภาคผนวก
- ใบความรู้
- ใบงาน
- แบบทดสอบ
- แบบสงั เกต

- 187 -

ใบงานท่ี 4

หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง / STRONG
****************************************************************

คาสงั่ ใหน้ ักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน ชว่ ยกนั คน้ คว้าหาขอ้ มูลเกี่ยวกบั
1. หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
2. เรอ่ื ง STRONG
3. S (sufficient) บคุ คลและหนว่ ยงานนอ้ มนาปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาปรับประยุกต์ใช้เป็น
หลกั ในการทางานและการดารงชีวติ
4. T (transparent) บุคคลและหน่วยงานปฏิบัติงานบนฐานของความโปร่งใสตรวจสอบไดเ้ ปน็ ทีต่ ั้ง
5. R (realise) บุคคลและหน่วยงานมีความเข้าใจและตระหนักรู้ถึงรากเหง้าของปัญหาการทุจริต
ประพฤติมชิ อบภายในสังคมและประเทศ
6. O (onward) บุคคลและหน่วยงานมีแนวคิดมุง่ พฒั นาหนว่ ยงานให้เกดิ ความโปร่งใสและร่วมสร้าง
วฒั นธรรมไมท่ นต่อการทจุ รติ ให้เกดิ ข้นึ และไม่ย่อท้อต่อการแก้ไขปัญหาการทุจริตประพฤติมิชอบ
ให้สาเรจ็ ลุลว่ งไดต้ ามเปา้ หมายทก่ี าหนดร่วมกนั
7. N (knowledge) บุคคลและหน่วยงานมีการพัฒนาองค์ความรู้อย่างสม่าเสมอเพ่ือให้เท่าทันต่อ
สถานการณ์การทจุ รติ ของหน่วยงาน สงั คมและของประเทศ
8. G (generosity) บคุ คลและหนว่ ยงานร่วมพัฒนาหนว่ ยงานใหม้ คี วามเอ้ืออาทรบนพ้ืนฐานของ
จรยิ ธรรมและจิตพอเพียง

- 188 -

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการปฏิบตั ิงานรายบุคคล

พฤตกิ รรม การแสดง การตอบ การยอมรับ ทางาน หมายเหตุ
ที่ ความสนใจ ความ คาถาม ฟงั คนอ่ืน ตามที่ไดร้ บั
มอบหมาย
ชื่อ-สกลุ คดิ เห็น

43214321432143214321

เกณฑ์การวดั ผล ให้คะแนนระดบั คณุ ภาพของแตล่ ะพฤติกรรมดังน้ี
ดีมาก = 4 สนใจฟัง ไม่หลับ ไม่พูดคุยในชั้น มคี าถามที่ดี ตอบคาถามถูกต้อง ทางานส่งครบตรง
เวลา
ดี = 3 การแสดงออกอยู่ในเกณฑ์ประมาณ 70%
ปานกลาง = 2 การแสดงออกอยูใ่ นเกณฑป์ ระมาณ 50%
ปรบั ปรงุ = 1 เข้าช้ันเรียน แต่การแสดงออกน้อยมาก สง่ งานไมค่ รบ ไมต่ รงเวลา

ลงชอื่ ………………………………………………..…………….ผูส้ ังเกต
(…………………………………………………..………….)
……………/……………………..……/…………..……..

- 189 -

แบบการประเมนิ ผลการนาเสนองาน

เรอ่ื ง …………………………………………………………………………………….
วิชา……………………………………………….ชั้น……………….

ชอ่ื …………………………………………………..เลขท…่ี ……………

ที่ รายการประเมนิ ผปู้ ระเมนิ รวม เกณฑ์การประเมิน
ตนเอง เพือ่ น ครู
1 เนือ้ หา ( 4 คะแนน ) คะแนน 4 : มีครบทกุ ข้อ
13. เนอื้ หาครบถ้วนสมบูรณ์ คะแนน 3 : มี 3 ขอ้ ขาด 1 ข้อ
14. เน้ือหาถูกต้อง คะแนน 2 : มี 2 ขอ้ ขาด 2 ข้อ
คะแนน 1 : มี 1 ขอ้ ขาด 3 ข้อ
15. เน้อื หาตอ่ เน่ือง
16. มกี ารค้นควา้ เพม่ิ เตมิ คะแนน 2: มคี รบทกุ ขอ้
คะแนน 1 : มี ไมค่ รบ 4 ขอ้
2 กระบวนการทางาน(2คะแนน ) คะแนน 0 : ไมป่ รากฏกระบวน
13. มกี ารวางแผนอย่างเป็นระบบ
14. การปฏิบัตติ ามแผน การทางานที่ชดั เจน

15. ติดตามประเมนิ ผล คะแนน 2 : มคี รบทกุ ข้อ
คะแนน 1.5: มี 3 ขอ้ ขาด 1 ข้อ
16. การปรบั ปรงุ พฒั นางาน คะแนน 1 : มี 2 ข้อ ขาด 2 ข้อ
3 การนาเสนอ ( 2 คะแนน ) คะแนน 0.5 : มี 1 ข้อขาด 3 ข้อ

10. การใช้สานวนภาษาดถี กู ตอ้ ง คะแนน 2 : มีครบทกุ ขอ้
11. การสะกดคาและไวยากรณถ์ กู ต้อง คะแนน 1.5: มี 3 ขอ้ ขาด 1 ขอ้
12. รูปแบบนา่ สนใจ คะแนน 1 : มี 2 ข้อ ขาด 2 ข้อ
4. ความสวยงาม คะแนน 0.5 :มี 1 ขอ้ ขาด 3 ข้อ
4 คณุ ธรรม ( 2 คะแนน )
13. ตรงตอ่ เวลา คะแนนเตม็ 10 คะแนน

14.ซอ่ื สตั ย์
15.ความกระตอื รือรน้
16.ความมีนา้ ใจ

รวม
เฉล่ีย

ลงชอื่ ผู้ประเมนิ …………………………………….……….. ตนเอง
ลงช่อื ผู้ประเมิน…………………………….……………….. เพอ่ื น
ลงชอื่ ผ้ปู ระเมิน………………………….………………….. ครู

- 190 -

แบบสงั เกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุ่ม
กลมุ่ ที่…………..ชัน้ ………………

พฤติกรรม

ลาดับ ชือ่ -สกลุ ความ การแสดง การรับฟงั ความตง้ั ใจ การมสี ว่ น รวม
ท่ี สมาชกิ กลมุ่ ร่วมมอื ความ ความ ในการ ร่วมในการ
คิดเห็น คดิ เหน็ ทางาน อภิปราย

4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 20

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

เกณฑ์การให้คะแนน ประสิทธิภาพอยู่ในเกณฑ์ 90-100% หรือปฏบิ ัตบิ ่อยครง้ั
ดีมาก = 4 ประสทิ ธภิ าพอยู่ในเกณฑ์ 70-89% หรอื ปฏิบัติบางครัง้
ดี = 3 ประสทิ ธภิ าพอยู่ในเกณฑ์ 50-69% หรอื ปฏบิ ัตคิ รงั้ เดยี ว
ปานกลาง = 2 ประสทิ ธิภาพต่ากว่าเกณฑ์ 50% หรอื ไม่ปฏิบตั เิ ลย
ปรบั ปรุง = 1

ลงชอื่ ………………………………………………..…………….ผูส้ งั เกต
(…………………………………………………..………….)

……………/……………………..……/…………..……..

- 191 -
แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

ชื่อ – สกลุ ..............................................................เลขท่ี...................ชัน้ ...........................ปกี ารศกึ ษา................

-----------------------------------------------

คาชแี้ จง ให้พิจารณาตัวชีว้ ัดต่อไปนี้แล้วใหร้ ะดับคะแนนท่ีตรงกบั การปฏบิ ัติของนักเรยี นตามความเปน็ จริง
ระดบั คะแนน 5 หมายถงึ ปฏิบัตเิ ปน็ ประจาทุกคร้งั
ระดับคะแนน 4 หมายถงึ ปฏิบัตบิ อ่ ยครั้ง
ระดับคะแนน 3 หมายถึง ปฏิบัตบิ างครั้ง
ระดับคะแนน 2 หมายถงึ ปฏบิ ตั นิ อ้ ย
ระดบั คะแนน 1 หมายถึง มพี ฤติกรรมไม่ชดั เจนหรอื ไม่มีหลกั ฐานที่

นา่ เชื่อถือ

ตวั ชีว้ ัด 5 คะแนน 1
432
ขอ้ 1 รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
1.1 เปน็ พลเมอื งดขี องชาติ
1.2 ธารงไวซ้ ึง่ ความเปน็ ชาตไิ ทย
1.3 ศรทั ธา ยึดมัน่ และปฏบิ ตั ติ นตามหลักของศาสนา
1.4 เคารพเทดิ ทนู สถาบนั พระมหากษัตรยิ ์
รวมคะแนน

ขอ้ 2 ซอื่ สัตย์สจุ รติ
2.1 ประพฤติตรงตาม ความเปน็ จรงิ ตอ่ ตนเองทั้งทางกาย วาจา ใจ
2.2 ประพฤตติ รงตามความเปน็ จรงิ ตอ่ ผู้อ่นื ท้งั ทางกาย วาจา ใจ
รวมคะแนน

ขอ้ 3 มีวนิ ยั
3.1 ปฏบิ ัตติ ามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ขอ้ บงั คับของครอบครวั โรงเรยี นและสังคม
รวมคะแนน

ขอ้ 4 ใฝ่เรียนรู้
4.1 ต้งั ใจ เพียรพยายามในการเรยี นและเข้ารว่ มกจิ กรรมการเรยี นรู้
4.2 แสวงหาความร้จู าก แหล่งเรียนรู้ตา่ งๆ ทง้ั ภายในและภายนอกโรงเรยี น ดว้ ยการ

เลือกใชส้ อ่ื อย่างเหมาะสม สรุปเปน็ องค์ความรู้ และสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวนั ได้
รวมคะแนน

- 192 -

ตัวช้ีวัด 5 คะแนน 1
432

ขอ้ 5 อยู่อยา่ งพอเพียง

5.1 ดาเนนิ ชีวิตอย่างพอประมาณ มเี หตุผล รอบคอบ มคี ณุ ธรรม

5.2 มภี มู คิ ้มุ กนั ในตัวทีด่ ี ปรบั ตวั เพือ่ อยใู่ นสังคมไดอ้ ย่างมคี วามสุข

รวมคะแนน

ขอ้ 6 มุ่งมั่นในการทางาน

6.1 ตั้งใจและรบั ผิดชอบในการปฏิบตั หิ นา้ ทีก่ ารงาน

5.2 ทางานด้วย ความเพียร พยายาม และ อดทนเพ่ือให้งานสาเรจ็ ตามเปา้ หมาย

รวมคะแนน

ข้อ 7 รกั ความเป็นไทย

7.1 ภาคภมู ใิ จในขนบธรรมเนยี ม ประเพณี ศลิ ปะ วฒั นธรรมไทย
และมคี วามกตญั ญกู ตเวที

7.2 เหน็ คณุ คา่ และใชภ้ าษาไทยในการสอ่ื สารไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม

7.3 อนรุ ักษ์ สืบทอดภมู ปิ ญั ญาไทย

รวมคะแนน

ข้อ 8 มจี ติ สาธารณะ

8.1 ช่วยเหลือผอู้ ืน่ ด้วยความเต็มใจโดย ไมห่ วังผลตอบแทน

8.2 เขา้ รว่ มกจิ กรรมท่เี ปน็ ประโยชนต์ ่อโรงเรียน ชุมชน และสงั คม

รวมคะแนน

รวมคะแนนทง้ั หมด

รวมคะแนนท้งั หมดเฉลย่ี ร้อยละ

ระดบั คุณภาพ

เกณฑก์ ารประเมนิ รอ้ ยละ 80 - 100 ระดับคณุ ภาพ ดเี ยย่ี ม (3)

ร้อยละ 70 - 79 ระดับคณุ ภาพ ดี (2)
ร้อยละ 50 - 69
ระดบั คณุ ภาพ พอใช้ (1)

รอ้ ยละ 0 - 49 ระดบั คณุ ภาพ ปรบั ปรงุ (0)

สรปุ ผลการประเมนิ  ผา่ น ระดับ  ดเี ย่ยี ม  ดี  ผ่านเกณฑ์การประเมิน
 ไมผ่ ่าน ระดับ  ปรบั ปรุง

ลงชื่อ………………………………………………..…………….ผูส้ ังเกต
(…………………………………………………..………….)

……………/……………………..……/…………..……..

- 193 - ชั้น มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3
เวลา 2 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้
หน่วยท่ี 3 ช่อื หนว่ ย STRONG / จิตพอเพยี งต่อตา้ นการทจุ ริต
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 5 เรอ่ื ง จิตพอเพยี งต่อตา้ นการทุจรติ

1. ผลการเรยี นรู้
1.1 มีความรคู้ วามเขา้ ใจ STRONG / จิตพอเพียงตอ่ ต้านการทจุ รติ

2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
2.1 นักเรียนสามารถปฏิบัติตนสร้างฐานความคิดจิตพอเพียงต่อต้านการทุจริตให้เกิดขึ้นเป็นพื้นฐาน

ความคิดได้
2.2 สามารถประยกุ ตห์ ลกั บูรณาการ “STRONG” เปน็ แนวทางในการพัฒนาวฒั นธรรมหนว่ ยงานได้

3. สาระการเรียนรู้
3.1 ความรู้
- ศึกษาความหมายและความเข้าใจเกี่ยวกับ การสร้างฐานความคิดจิตพอเพียงต่อต้านการ

ทุจริตให้เกิดข้นึ เปน็ พื้นฐานความคิดของปจั เจกบุคคล
- การประยกุ ตห์ ลักบรู ณาการ “STRONG” เป็นแนวทางในการพัฒนาวัฒนธรรมหน่วยงาน

3.2 ทักษะ / กระบวนการ (สมรรถนะท่ีเกดิ )
1) ความสามารถในการสื่อสาร
2) ความสามารถในการคิด
3) ความสามารถในการแกป้ ญั หา
4) ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ
5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีต่อตา้ นการทจุ รติ ใหเ้ กิดข้นึ เปน็ พื้นฐานความคิดของ

ปจั เจกบคุ คล โดยประยุกต์หลักบรู ณาการ “STRONG” เป็นแนวทางในการพัฒนาวัฒนธรรมหน่วยงาน
3.3 คณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ / คา่ นยิ ม
1. อย่างพอเพยี ง
2. ซอ่ื สัตยส์ จุ รติ
3. มีวนิ ัย
4. ใฝ่เรยี นรู้
5. มงุ่ มั่นในการทางาน
6. มจี ิตสาธารณะ

4. กิจกรรมการเรียนรู้ / การจดั ประสบการณ์
4.1 ข้นั ตอนการเรยี นรู้ / ขนั้ ตอนการจดั ประสบการณ์
ช่วั โมงท่ี 1 : เร่อื ง การสรา้ งฐานคดิ จติ พอเพยี งต่อต้านการทุจรติ
๑. ครูชแี้ จงสาระการเรียนรูใ้ หน้ กั เรยี นทราบและถามความรู้ที่เรยี นมาครั้งก่อน

- 194 -

๒. ครูสนทนาและดวู ีดิทัศนเ์ กย่ี วกบั เรอ่ื งการสรา้ งฐานคิดจิตพอเพยี งต่อตา้ นการทุจริต ผา่ น
เครอื่ งโปรเจค็ เตอร์ ใหแ้ สดงผลท่จี อภาพหน้าชั้นเรยี น และช่วยกนั วิเคราะห์ สงั เกต ตั้งข้อสงสยั ใหเ้ หน็ ว่ามี
อะไรเปน็ ปัญหาทาให้เกิดการทุจรติ

๓. ครูต้ังคาถามให้นักเรียนคดิ ตามว่า เรือ่ งราววีดิทศั นท์ ่ีเหน็ ในรูปแบบตา่ งๆ น้นั อะไรคือสาเหตุ
ของการทุจรติ เพราะอะไร และจะหาวิธีป้องกันตอ่ ตา้ นการทจุ รติ อยา่ งไรบ้าง

๔. พร้อมทงั้ อธบิ ายด้วยโปรแกรม PowerPoint เร่อื ง Realise - STRONG จติ พอเพยี งตา้ น
ทจุ รติ

๕. จดบนั ทกึ สาระการเรียนรู้
๖. การถาม – ตอบ และให้แสดงความคิดเห็นในการดูวดี ทิ ัศน์
๗. ให้นักเรยี นแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน ให้ปฏบิ ตั ิตามใบงานท่ี 5 โดยให้ทาโครงงานและ ค้นควา้
สืบค้นความรจู้ ากแหลง่ เรยี นรู้และสารสนเทศ เชน่ หอ้ งสมุด อนิ เตอร์เน็ต จุลสาร เรอ่ื งการสรา้ งฐานคิดจติ
พอเพียงต่อต้านการทุจรติ สาเหตุและวธิ ีการปอ้ งกนั ต่อต้านไม่ใหเ้ กดิ การทจุ ริต ตามวฒุ ิภาวะของตนได้อยา่ ง
เหมาะสม ก่อใหเ้ กิดประโยชน์อยา่ งสร้างสรรค์
๘. สรุปองค์ความรู้ ใหน้ ักเรยี นแต่ละกลุ่มช่วยกนั คิดวเิ คราะห์ และสรปุ เป็นองค์ความรู้และ
รว่ มกันตรวจสอบตามใบงาน และแก้ไขใบงาน
๙. ครทู บทวนเนอ้ื หา
๑๐. นักเรียนและครูผ้สู อนรว่ มกนั สรุปองคค์ วามร้ขู องนกั ผู้เรียนท่ีสามารถอธิบายเรือ่ งหลักการ
ตอ่ ตา้ นการทุจรติ และสาเหตุการทจุ ริตและหาวิธีปอ้ งกันการทุจรติ ได้ในรปู แบบตา่ ง ๆ ได้ถกู ต้อง นักเรยี นมี
กระบวนการกลมุ่ จดั ทาโครงงานที่ได้รบั มอบหมายในใบงานที่ 5 และครผู ้สู อนคอยเสรมิ และใหค้ าแนะนาที่
ถูกต้อง
๑๑. ครูประเมนิ ผลขัน้ ตอนกระบวนการการปฏิบตั ิงานและภาระงานที่กาหนดใหน้ ักเรียนฝึก
ปฏบิ ัติดว้ ยความเขา้ ใจ
ชัว่ โมงท่ี 2 : เรือ่ ง การสรา้ งฐานคิดจติ พอเพียงตอ่ ต้านการทุจริต
๑. ครูช้แี จงสาระการเรยี นรูใ้ หน้ กั เรยี นทราบและถามความรทู้ เ่ี รียนมาครัง้ ก่อน
๒. ครูสนทนาและดูวิดีทศั นเ์ ก่ยี วกับเรื่องการสรา้ งฐานคดิ จิตพอเพยี งตอ่ ตา้ นการทจุ รติ ผ่าน
เครือ่ งโปรเจ็คเตอร์ ให้แสดงผลที่จอภาพหน้าชัน้ เรยี น และชว่ ยกนั วิเคราะห์ สงั เกต ตง้ั ข้อสงสัยให้เห็นว่ามี
อะไรเปน็ ปญั หาทาให้เกิดการทุจรติ
๓. ครตู ้ังคาถามใหน้ ักเรียนคดิ ตามว่า เรื่องราววีดที ัศน์ท่ีเห็นในรูปแบบตา่ งๆ นัน้ อะไรคือสาเหตุ
ของการทุจรติ เพราะอะไร และจะหาวิธีปอ้ งกันต่อต้านการทจุ ริตอย่างไรบา้ ง
๔. พรอ้ มทัง้ อธบิ ายด้วยโปรแกรม PowerPoint เรื่อง Realise - STRONG จติ พอเพียงต้าน
ทุจริต
๕. จดบนั ทึก สาระการเรยี นรู้
๖. การถาม – ตอบ และให้แสดงความคดิ เห็นในการดวู ดี ิทัศน์
๗. นกั เรยี นที่แบ่งกลมุ่ เม่ือช่วั โมงที่แล้ว ทไ่ี ดร้ ับมอบหมายใหจ้ ดั ทาโครงงานตามใบงานที่ 5 มา
นาเสนอเรือ่ งราวที่กลมุ่ ไดม้ า ใหเ้ พ่ือนได้รบั ฟังและชว่ ยกนั วพิ ากษว์ จิ ารณ์ซักถามจนเกิดความเขา้ ใจในเร่ืองที่
กล่มุ ไดร้ บั มอบหมาย ครูผู้สอนคอยเสรมิ และใหค้ าแนะนาท่ถี ูกต้อง
๘. สรุปองค์ความรู้ ให้นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ช่วยกันคิดวิเคราะห์ และสรปุ เป็นองค์ความรู้และ
รว่ มกนั ตรวจสอบตามใบงาน และแก้ไขใบงาน

- 195 -

๙. นักเรียนมีจิตสาธารณะ โดยการนาความรทู้ ่ีไดม้ าแนะนาเพื่อนให้ปฏบิ ัติตวั และยกตวั อยา่ ง
รอบตัวในเร่ือง การสร้างฐานคดิ จิตพอเพียงตอ่ ตา้ นการทจุ ริต สาเหตุและวิธีการปอ้ งกันไม่ให้เกิดการทจุ รติ
ตามวุฒภิ าวะของตนได้อยา่ งเหมาะสม ก่อใหเ้ กิดประโยชนอ์ ยา่ งสร้างสรรค์

๑๐. ครูทบทวนเนอื้ หา
๑๑. ทาแบบทดสอบท่ี 5
๑๒. นกั เรยี นและครผู ู้สอนร่วมกนั สรุปองค์ความรขู้ องนักผู้เรยี นท่สี ามารถอธิบายเรื่องหลักการ
ตอ่ ตา้ นการทุจริต และสาเหตุการทุจรติ และหาวธิ ปี อ้ งกนั การทุจรติ ไดใ้ นรปู แบบต่าง ๆ ได้ถูกต้อง และ
ครูผู้สอนแสดงความชื่นชมกับนกั เรยี นทุกคน ท่สี ามารถทากิจกรรมทม่ี อบหมายในใบงานท่ี 5 ได้สาเรจ็ และมี
ประสิทธภิ าพ
๑๓. ครปู ระเมนิ ผลขนั้ ตอนกระบวนการการปฏิบตั งิ านและภาระงานที่กาหนดให้นักเรียนฝกึ
ปฏบิ ตั ิด้วย
4.2 ส่อื การเรยี นรู้ / แหล่งการเรยี นรู้

1) ภาพยนตรส์ นั้ โรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ. เร่อื ง เลอื ก
2) ภาพยนตรส์ ัน้ ชอ่ สะอาดสัญลักษณ์สง่ เสรมิ คุณธรรมความดี
3) จลุ สาร ป.ป.ช. สารสโู่ รงเรยี น
4) PowerPoint เร่อื ง Realise - STRONG จิตพอเพียงตา้ นทุจริต
5) รายการภารกิจปราบปรามการทจุ รติ : https://goo.gl/vzGxVy
6) รายการภารกจิ พชิ ติ โกง : https://goo.gl/S9kHnv
5. การประเมินผลการเรียนรู้
5.1 วธิ กี ารประเมนิ
1. ด้านความรู้ (K)

- ประเมนิ จากการซกั ถาม
- การตรวจแบบใบงาน ทันเวลาทีก่ าหนด
- การนาเสนอผลงาน
2. ด้านทักษะกระบวนการ (P)
- การสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานตามข้นั ตอนการกระบวนการในการทางาน
กลุ่ม
3. ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรมและเจตคติ (A)
- การสงั เกตพฤตกิ รรมเนน้ ความรบั ผิดชอบ ใฝ่เรียนรู้ ขยัน ซือ่ สตั ย์ อดทนและมีจติ
สาธารณะ
5.1 เครอื่ งมือท่ีใชใ้ นการประเมนิ
- แบบฝึกปฏิบตั จิ ากใบงาน
- แบบประเมนิ จากแบบฝกึ หัด
- แบบสงั เกตประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ าน (Rubrics)
- แบบประเมินผลพฤตกิ รรม
5.3 เกณฑก์ ารตัดสนิ
1) นักเรยี นผา่ นเกณฑ์การประเมินรอ้ ยละ 80 ข้ึนไป ถอื วา่ ผ่าน
2) นักเรยี นผ่านเกณฑ์การประเมินระดับดขี ึ้นไป ถอื ว่าผ่าน

- 196 -

6. บนั ทึกหลังสอน

........................................................................................................................ .................................
............................................................................................................................. .................................................
..................................................................................................................................................... .........................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงช่อื ................................................ ครผู ูส้ อน
(.................................................)

- 197 -

ใบความรู้
STRONG / จติ พอเพยี งต่อต้านการทจุ รติ

แนวทางการปฏิบัติหนา้ ท่ี เพื่อปอ้ งกนั มิให้เกดิ การฝา่ ฝืนบทบัญญัติ
พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญวา่ ด้วยการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ พ.ศ.

๒๕๔๒ มาตรา ๑๐๐

องค์ประกอบของกฎหมาย

หา้ มดาเนินกจิ การท่ีเป็นการขัดกันระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม

ตามมาตรา ๑๐๐ แห่งพระราชบญั ญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญ ว่าดว้ ยการป้องกันและปราบปราม

การทุจริต พ.ศ.๒๕๔๒ ซงึ่ ได้บญั ญัตหิ ้ามมิให้เจ้าหน้าทีข่ องรัฐผู้ใดดาเนนิ กิจการ ดงั ต่อไปน้ี

(๑) เป็นคู่สัญญาหรือมีส่วนได้เสียในสัญญาท่ีทากับหน่วยงานของรัฐที่เจ้าหน้าท่ีของรัฐ ผู้นั้น
ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะเป็นเจ้าหน้าท่ีของรัฐซ่ึงมีอานาจกากับดูแล ควบคุม ตรวจสอบหรือ
ดาเนินคดี

(๒) เปน็ ห้นุ สว่ น หรอื ผถู้ อื ห้นุ ในหา้ งห้นุ ส่วน หรือบรษิ ทั เข้าเป็นคสู่ ัญญากบั หน่วยงานของรัฐซ่ึง
เจ้าหน้าที่ผู้น้ันปฏิบัติหน้าที่ในฐานะท่ีเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐมีอานาจ กากับ ดูแล ควบคุม
ตรวจสอบ

(๓) การรับสัมปทาน หรือคงถือไว้ซ่ึงสัมปทานจากรัฐ หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ
รฐั วสิ าหกจิ หรือราชการส่วนทอ้ งถิ่น หรือเข้าเปน็ ค่สู ญั ญากับหน่วยราชการ หน่วยงานของ
รัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถ่ิน อันมีลักษณะเป็นการผูกขาดตัดตอน ทั้งนี้ ไม่ว่า
โดยทางตรงหรือทางอ้อมหรือเป็นหุ้นส่วน หรือเป็นผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วน หรือบริษัทที่รับ
สมั ปทานหรอื เข้าเป็นคูส่ ญั ญาในลกั ษณะดงั กล่าว

(๔) เข้าไปมีส่วนได้เสียในฐานะกรรมการ ที่ปรึกษา ตัวแทน พนักงาน หรือลูกจ้างในธุรกิจของ
เอกชนซ่ึงอยู่ภายใต้การกากับ ดูแล ควบคุม หรือตรวจสอบของหน่วยงานของรัฐที่
เจ้าหน้าที่ผู้นั้นสังกัดอยู่ หรือได้ปฏิบัติหน้าท่ีในฐานะเป็นผู้ได้รับมอบหมาย ซ่ึงโดยสภาพ
ของผลประโยชน์ของธุรกิจของเอกชนนน้ั อาจจะมีการขดั แย้งต่อประโยชน์ทางราชการหรือ
กระทบตอ่ ความมอี สิ ระในการปฏบิ ตั หิ น้าทเี่ จ้าหน้าทผี่ ้นู น้ั

- 198 -

การกระทาของเจา้ หนา้ ทร่ี ฐั ทต่ี อ้ งห้ามตามกฎหมาย

(๑) เป็นคู่สัญญา หมายถึง การที่เจ้าหน้าที่ของรัฐในตาแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี

ผู้บริหารส่วนท้องถิ่น ได้เข้ามาทาสัญญากับหน่วยงานรัฐ มีฐานะเป็นคู่สัญญากับ
หนว่ ยงานของรัฐ อันเป็นสญั ญาทจ่ี ะตอ้ งดาเนินการจดั ซ้ือจดั จา้ ง

(๒) การมีส่วนได้เสียในสัญญา หมายถึง การท่ีเจ้าหน้าที่ของรัฐในตาแหน่งนายกรัฐมนตรี

รัฐมนตรี ผู้บริหารส่วนท้องถ่ิน จะต้องมีเจตนาประสงค์จะให้ตนได้รับประโยชน์หรือ
เลือกประโยชนใ์ หก้ บั บุคคลอ่นื โดยการใช้อานาจหน้าท่ีเข้าไปยุ่งเก่ียวกับสัญญานั้นหรือ
การเข้าไปดาเนินกิจการใดๆ เพ่ือเป็นการป้องกันในกรณี ท่ีตนอาจจะต้องเสีย
ประโยชน์หรือได้รบั ความเสยี หาย

(๓) การเป็นหุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วน หมายถึง การท่ีเจ้าหน้าท่ีของรัฐในตาแหน่งท่ี

คณะกรรมการ ป.ป.ช.กาหนดได้ร่วมกันลงทุนในห้างหุ้นส่วน ห้างหุ้นส่วนสามัญ ห้าง
หุน้ สว่ นสามญั จดทะเบียน หรือห้างหุ้นส่วนจากัด เป็นต้น และได้เข้ามาเป็นคู่สัญญากับ
หน่วยงานของรัฐ โดยปฏิบัติหน้าท่ีในฐานะเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐเจตนาท่ีจะเอื้อ
ประโยชน์ตอ่ ตนเองหรือบุคคลอืน่

(๔) การถือหุ้นในบริษทั หมายถึง การทเ่ี จ้าหน้าที่ของรัฐในตาแหนง่ นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี

ผบู้ รหิ ารส่วนทอ้ งถ่นิ ได้เข้าไปลงทุนโดยมีหุ้นในบริษัท ตามทะเบียนผู้ถือหุ้นและบริษัท
ท่ีมีเจ้าหน้าที่ของรัฐมีหุ้นอยู่น้ันได้เข้ามาเป็นคู่สัญญา กับหน่วยงานของรัฐที่เจ้าหน้าที่
ของรัฐในตาแหนง่ มอี านาจ กากับ ดแู ล ควบคุม ตรวจสอบ

(๕) รับสัมปทาน หรือคงไว้ซ่ึงสัมปทาน หรือเข้าไปเป็นคู่สัญญาอันมีลักษณะเป็นการ

ผูกขาดเปน็ หนุ้ สว่ นหรือผู้ถอื หนุ้ หรือในหา้ งหุ้นสว่ นหรอื บรษิ ัท ท่ีรับสัมปทาน

สัญญาสัมปทาน หมายถึง สัญญาท่ีเอกชนได้รับอนุญาตจากรัฐให้
ดาเนนิ กจิ การ ตา่ งๆแทน ดังต่อไปน้ี

 สัญญาที่รัฐอนญุ าตใหเ้ อกชนจดั ทาบรกิ ารสาธารณะ

 สัญญาท่รี ัฐใหเ้ อกชนร่วมลงทนุ ในกจิ การของรฐั

 สัญญาทร่ี ฐั ให้เอกชนแสวงหาประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ

การรบั สัมปทานจากรฐั หมายถงึ การที่เจ้าหน้าที่ของรฐั ในตาแหน่งเข้าเป็นคู่สัญญากับ
รัฐ และ ทาสัญญารับสัมปทานในสถานะเอกชน อนั มีลกั ษณะเป็นการผูกขาดตัดตอน ไม่ว่า
โดยทางตรงหรือทางอ้อม

(๖) เป็นกรรมการ ท่ีปรึกษาในธุรกิจเอกชน หมายถึง เจ้าหน้าที่ของรัฐในตาแหน่งเข้าไปมี

สว่ นไดเ้ สียในฐานะเปน็ กรรมการหรือท่ปี รึกษาในธรุ กิจเอกชน

- 199 -

(๗) ตัวแทนในธุรกจิ ของเอกชน หมายถึง การที่เจ้าหน้าที่ของรัฐในตาแหน่งนายกรัฐมนตรี

รัฐมนตรี ผู้บริหารส่วนท้องถิ่น ได้ทาการเป็นตัวแทน กับตัวการที่เป็นเอกชนในธุรกิจ
เอกชนอนั เป็นหนา้ ท่ขี องตัวแทนในธุรกิจเอกชน

(๘) ในฐานะพนักงานหรือลูกจ้างในธุรกิจเอกชน หมายถึง การที่เจ้าหน้าท่ีของรัฐใน

ตาแหน่งนายกรัฐมนตรี ผู้บริหารส่วนท้องถ่ินได้เข้าไปเป็นพนักงานหรือลูกจ้างในธุรกิจ
เอกชน

ขอ้ หา้ มสาหรบั คสู่ มรส (ภรยิ าหรอื สามี) ของเจ้าหนา้ ทีข่ องรัฐท่ีตอ้ งห้ามดาเนิน
กิจการ ทเี่ ป็นการขดั กันระหวา่ งประโยชนส์ ่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวา่ ด้วยการป้องกนั และปราบปรามการทุจริต ได้
บญั ญตั ิหา้ มมิ ใหเ้ จ้าหน้าท่ขี องรัฐดาเนินกิจการใดๆ ทีเ่ ป็นการขัดกันระหว่างผลประโยชน์
ส่วนตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม บทบญั ญัตดิ งั กล่าวยังบงั คบั ไปถึงค่สู มรสของเจ้าหนา้ ที่
ของรัฐ (ภริยาหรอื สาม)ี ด้วย โดยมขี อ้ ห้าม ดังต่อไปนี้

(1) หา้ มคสู่ มรส (ภรยิ า หรอื สามี) ของเจ้าหน้าที่ของรัฐเป็นคู่สัญญา หมายถึง การ
หา้ มคูส่ มรสของ เจ้าหนา้ ที่ของรัฐในตาแหน่งเข้ามาเป็นคู่สัญญาโดยตรงกับหน่วยงาน
ท่ีเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้น้ันปฏิบัติหน้าที่ ในฐานะเจ้าหน้าท่ีผู้มีอานาจ กากับ ดูแล
ควบคมุ ตรวจสอบ

(2) ห้ามคู่สมรสของเจา้ หนา้ ทีม่ ีส่วนได้เสียในสัญญา หมายถึง การท่ีคู่สมรสของเจ้าหน้าท่ี
ใน ตาแหน่งได้อาศัยอานาจหน้าที่โดยมีเจตนาหรือความประสงค์ที่จะให้ตนได้รับ
ประโยชน์ หรือเอ้ือประโยชน์ต่อบุคคลอื่นๆโดยการใช้อานาจหน้าท่ีของคู่สมรสไป
ดาเนินกิจการใดๆในสญั ญา

(3) ห้ามคู่สมรส (ภริยาหรือสามี) ของเจ้าหน้าท่ีรัฐเป็นหุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วน หมายถึง
การท่ีคู่ สมรสของเจ้าหน้าที่รัฐได้ลงทุนในห้างหุ้นส่วนสามัญ ห้างหุ้นส่วนสามัญจด
ทะเบียน หา้ งหุ้นส่วนจากดั และไดเ้ ข้ามาเป็นคสู่ ัญญากบั หน่วยงานรฐั

(4) ห้ามคู่สมรส (ภริยาหรือสามี) ของเจ้าหน้าท่ีของรัฐในตาแหน่งนายกรัฐมนตรี
รัฐมนตรี ผู้บริหารส่วนท้องถ่ินถือหุ้นในบริษัท หมายถึง การที่คู่สมรสของเจ้าหน้าที่
ของรัฐเข้าไปลงทุนโดยการมีหุ้นในบริษัทตามทะเบียนผู้ถือหุ้นและบริษัทที่มี
เจา้ หน้าทข่ี องรฐั มีหนุ้ อยูน่ ัน้ ได้เขา้ มาเปน็ คสู่ ัญญากับหน่วยงานของรัฐ

(5) ห้ามคู่สมรส (ภริยาหรือสามี) ของเจ้าหน้าท่ีของรัฐรับสัมปทาน หรือคงถือไว้ซึ่ง
สัมปทาน หรอื เข้าเป็นคู่สัญญาอันมีลักษณะเป็นการผูกขาดตัดตอน หรือเป็นหุ้นส่วน
หรือเป็นหุ้นส่วนที่ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วน หรือบริษัทท่ีได้รับสัมปทานหรือเข้าเป็น
คสู่ ญั ญาในลักษณะดงั กลา่ ว

- 200 -

(6) ห้ามคู่สมรส (ภริยาหรือสามี) ของเจ้าหน้าที่รัฐในตาแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี
ผู้บริหารส่วนท้องถ่ินเข้าไปมีส่วนได้เสียในฐานะต่างๆเป็นกรรมการ เป็นที่ปรึกษา
ตัวแทน พนักงานหรือลูกจ้างในธุรกิจเอกชนซึ่งอยู่ภายใต้ การกากับดูแล ควบคุม
หรือตรวจสอบของหน่วยงานของรัฐท่ีเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้น้ันสังกัดอยู่ หรือปฏิบัติ
หน้าที่ในฐานะเป็นเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ซ่ึงโดยสภาพผลของธุรกิจเอกชนนั้นอาจขัดแย้ง
กบั ประโยชน์สว่ นรวม หรือประโยชน์ของทางราชการ หรือกระทบต่อความมีอิสระใน
การปฏิบตั หิ นา้ ทีข่ องเจ้าหนา้ ที่ของรัฐผู้นนั้

แนวทางการปฏบิ ตั เิ พื่อปอ้ งกนั ไม่ใหฝ้ ่าฝนื บทบัญญตั ิ มาตรา ๑๐๐

๑. การเตรียมตัวก่อนเข้าสู่ตาแหน่งก่อนเป็นเจ้าหน้าท่ีของรัฐ บุคคลนั้นจะต้อง
ตรวจสอบตนเอง คู่สมรส บุตรท่ียังไม่บรรลุนิติภาวะ ว่าได้มีการดาเนินกิจการ
ใดๆบ้างในขณะทีต่ นเองไดอ้ ย่ใู นสถานะของเอกชน ท่ีได้ทาธุรกิจหรือทาการค้าไว้กับ
รัฐ โดยจะต้องตรวจสอบการเป็นคู่สัญญากับรัฐ การรับสัมปทานจากรัฐ หรือการ
เปน็ กรรมการผจู้ ดั การ การถือหุ้น หรือการเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการในห้างหุ้นส่วนต่างๆ
ว่ามีหรือไม่ และจะต้องสารวจกิจการต่างๆของคู่สมรสรวมไปถึงศึกษากาหมายท่ี
เก่ียวข้อง เพื่อให้ทราบก่อนเข้าสู่ตาแหน่งว่าจะต้องดาเนินการต่างๆเกี่ยวกับกิจการ
ธรุ กจิ น้นั อยา่ งไร มใิ ห้ขดั ตอ่ บทบญั ญตั ิของกฎหมาย

๒. การปฏิบัติหน้าที่หรือการดารงตาแหน่งในระหว่างท่ีเป็นเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ใน
ตาแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ผู้บริหารส่วนท้องถิ่น ในขณะที่ดารงตาแหน่งตาม
ข้างต้นจะต้องไม่ดาเนินกิจการใดๆที่เป็นการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับ
ผลประโยชน์ส่วนรวมตามที่กาหนดไว้ในมาตรา ๑๐๐ แห่งกฎหมายประกอบ
รัฐธรรมนูญวา่ ดว้ ยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต และการทาความเข้าใจกับ
คู่สมรสในหลักการของกฎหมายได้แล้ว หรือเกิดการเข้าใจท่ีไม่ถูกต้องอาจจะเป็น
การดาเนินการท่เี ปน็ การตอ้ งหา้ มตามกฎหมาย กล่าวคอื แมต้ นเองจะมิได้กระทาการ
ท่ีกฎหมายบัญญัติว่าเป็นความผิดแต่ละเลย ไม่ใส่ใจกับการดาเนินการของคู่สมรส
ทาให้คู่สมรสดาเนินกิจการต่างๆตามท่ีกฎหมายห้ามไว้เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้นั้นจะต้อง
ไดร้ ับโทษทางอาญาทเ่ี กดิ จากการกระทาของคู่สมรส โดยจะต้องถูกระวางโทษจาคุก
ปรบั หรือทงั้ จาท้ังปรบั แล้วแต่กรณี

๓. การดาเนินกิจการในภายหลังพ้นจากตาแหน่ง (พ้นจากการเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐยัง
ไมถ่ งึ สองป)ี มาตรา ๑๐๐ แหง่ กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและ
ปราบปรามการทุจริต ได้บัญญัติห้ามเจ้าหน้าที่ของรัฐมิให้ดาเนินกิจการท่ีเป็นการ
ขัดกันระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม โดยห้ามดาเนนิ การน้ัน
ต่อไปอีกเป็นเวลาสองปีนับแต่เจ้าหน้าท่ีของรัฐผู้นั้นได้พ้นจากตาแหน่ง เจ้าหน้าท่ี
ของรัฐในตาแหน่งนั้นๆแล้วการห้ามในส่วนน้ีได้ห้ามการดาเนินกิจการของคู่สมรส
ของเจา้ หน้าท่ีรัฐไวด้ ว้ ย

- 201 -

1. หนว่ ยงานที่รับเร่ืองร้องเรียนกรณเี ม่ือพบเห็นพฤตกิ รรมท่ีเป็นผลประโยชน์ทับซ้อน
ห า ก พ บ เ ห็ น เ จ้ า ห น้ า ท่ี ข อ ง รั ฐ มี พ ฤ ติ ก ร ร ม ที่ จ ะ น า ไ ป สู่ ก า ร ทุ จ ริ ต ต่ อ ต า แ ห น่ ง ห น้ า ท่ี ห รื อ

มพี ฤติกรรมทีเ่ ปน็ การขัดแย้งกนั ระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม สามารถดาเนินการแจ้ง
หน่วยงานตา่ งๆได้ ดงั ตอ่ ไปนี้

1. หนว่ ยงานต้นสังกดั ของผกู้ ระทาความผิด
รอ้ งเรียนผา่ นคณะกรรมการจริยธรรมประจาส่วนราชการหรือหัวหนา้ ส่วนราชการที่ตนสังกดั

2. สานักงานผตู้ รวจการแผน่ ดิน

ทอ่ี ยู่ : ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกยี รติ 80 พรรษา 5 ธนั วาคม 2550 อาคารรฐั ประศาสนภักดี

(อาคารบี) ช้ัน 5 เลขท่ี 120 หมู่ท่ี 3 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักส่ี กรุงเทพฯ
10210

โทรศัพท์ : 0-2141-9100 หรือ 1676 โทรสาร : 0-2143-8341

เวปไซต์ : http://www.ombudsman.go.th

3. ศูนยด์ ารงธรรม กระทรวงมหาดไทย

ทอ่ี ยู่ : กระทรวงมหาดไทย ถนนอษั ฎางค์ กรุงเทพฯ 10200

โทรศัพท์ : 0-2222-1141 ถงึ 55

โทรศพั ทส์ ายดว่ น : 1567

เวปไซต์ : http://www.damrongdhama.moi.go.th

4. ศาลปกครอง

ทอ่ี ยู่ : เลขที่ 120 หมู่ที่ 3 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210

โทรศัพท์ : 0 2141 1111

โทรศพั ทส์ ายดว่ น : 1355

เวปไซต์ : http://www.admincourt.go.th

5. สานกั งานคณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ ริตแห่งชาติ (สานักงาน ป.ป.ช.)

ทอี่ ยู่ : เลขที่ 361 ถ.นนทบุรี ต.ท่าทราย อ.เมืองนนทบุรี จ.นนทบรุ ี 11000 หรือ ตู้ ปณ. 100
เขตดสุ ิต กทม.
โทรศพั ท์ : 0 2528 4800-4849
เวปไซต์ : https://www.nacc.go.th

- 202 -

6. สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
ทอ่ี ยู่ : ถนนพระรามที่ 6 เขตพญาไท กรงุ เทพฯ 10400
โทรศัพท์ : 0-2271-8000
เวปไซต์ : http://www.oag.go.th

7. มลู นิธปิ ระเทศไทยใสสะอาด
ทีอ่ ยู่ : 47/101 ถ.ติวานนท์ ต.ตลาดขวญั อ. เมอื ง จงั หวดั นนทบุรี 11000
โทรศัพท์ : 02-547-1711
เวปไซต์ : http://www.fact.or.th

8. ศนู ย์ปฏิบัตกิ ารต่อต้านการทจุ รติ กระทรวงการคลงั
ทอี่ ยู่ : สานกั งานปลดั กระทรวงการคลงั ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท
กรงุ เทพฯ 10400
โทรศัพท์ : 02-126-5800 ต่อ 2634
เวปไซต์ : acoc.mof.go.th

- 203 -

2. ขั้นตอนการดาเนินการกรณีเมื่อพบเห็นพฤติกรรมท่ีเป็นผลประโยชน์ทับซ้อนหรือการฝ่าฝืนประมวล
จรยิ ธรรมขา้ ราชการพลเรือน

เมอื่ พบเห็นพฤติกรรม คณะกรรมการจริยธรรม ไม่ฝา่ ฝนื ประมวล ยตุ ิเรอ่ื ง
ท่นี าไปสู่การมี ประจาสว่ นราชการ จรยิ ธรรม
-โทษทางวนิ ยั
ผลประโยชน์ทบั ซ้อน สง่ เร่อื ง ฝ่าฝนื ประมวล - วา่ กล่าวตกั เตือน
หรือมีการฝา่ ฝืน จริยธรรม - ทาทณั ฑบ์ น
ประมวลจริยธรรม หัวหน้าส่วนราชการ - ใหร้ บั การพัฒนา

สงั่ การ รายงาน

กลุ่มงานคุ้มครองจรยิ ธรรม

(ประมวลเรือ่ ง สบื สวนและสรุป
ข้อเท็จจริง ขอ้ กฎหมาย และ

ความเหน็ )

ข้อสังเกต : หากมีการร้องเรยี นไปท่คี ณะกรรมการจริยธรรม คณะกรรมการจริยธรรมต้องส่งเรือ่ งให้หัวหน้าส่วน
ราชการ เนื่องจากคณะกรรมการฯไมม่ อี านาจหน้าทใี่ นการบังคบั บัญชาสง่ั การกลุ่มงานคมุ้ ครองจริยธรรม


Click to View FlipBook Version