The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ต้านทุจริต-ม.3 (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by beerlovely2517, 2019-09-07 02:22:24

ต้านทุจริต-ม.3 (1)

ต้านทุจริต-ม.3 (1)

- 204 -

 ข้นั ตอนการดาเนนิ การ

1. เมื่อพบเห็นว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐคนใดมีพฤติกรรมที่นาไปสู่การมีผลประโยชน์ทับซ้อนหรือมีการฝ่าฝืน
ประมวลจริยธรรม สามารถร้องเรยี นหรือแจง้ ใหห้ ัวหนา้ ส่วนราชการหรือคณะกรรมการจรยิ ธรรมพิจารณาได้

2. คณะกรรมการจริยธรรมและหัวหน้าส่วนราชการได้รับเรื่องร้องเรียนแล้วจะสั่งการไปยังกลุ่มงาน
คุ้มครองจริยธรรมให้ดาเนินการสืบสวน รวบรวมและสรุปข้อเท็จจริง รวมท้ังข้อกฎหมายและความเห็นต่างๆ
แล้วรายงานตอ่ หัวหน้าส่วนราชการพจิ ารณาตดั สิน

3. หัวหน้าส่วนราชการพิจารณาและวินิจฉัยแล้วหากเป็นการฝ่าฝืนประมวลจริยธรรมจริง หัวหน้าส่วน
ราชการจะส่ังการใหม้ ีการลงโทษทางวนิ ัย วา่ กลา่ วตกั เตือน ทาทัณฑ์บน ใหร้ บั การพัฒนา แล้วแต่กรณีหรือหาก
วินจิ ฉยั แล้วการกระทานั้นไมฝ่ า่ ฝนื ประมวลจรยิ ธรรม ก็ให้สั่งยตุ เิ ร่อื ง

- 205 -

บรรณานุกรม

การจัดทาคู่มือผลประโยชน์ทับซ้อนของสานักงานปลัดกระทรวงการคลัง ได้จัดทาตามแนวทางของสานักงาน
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) โดยมีกฎหมาย ระเบียบ และแนวทางใน
การป้องกันผลประโยชนท์ ับซ้อน ดังน้ี

- ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรอื น
- พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญว่าด้วยการป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ พ.ศ. 2542
- พระราชบัญญตั ิประกอบรัฐธรรมนญู วา่ ดว้ ยการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ ริต พ.ศ. 2558
(ฉบบั ท่ี 3)
- ประมวลกฎหมายอาญา
- ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจรติ แห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การรับทรัพย์สนิ
หรอื ประโยชนอ์ ืน่ ใดโดยธรรมจรรยาของเจ้าหนา้ ท่ีของรัฐ พ.ศ. 2543
- ระเบียบสานกั นายกรฐั มนตรีว่าด้วยการใหห้ รือรับของขวัญของเจ้าหนา้ ท่รี ัฐ พ.ศ. 2544

ความหมายและแนวทางในการป้องกนั แก้ไขปญั หาผลประโยชน์ทับซอ้ น อา้ งอิงจาก
- วิจยั ของมหาวิทยาลัยเกริก
- บทความทางวิชาการ ในวารสารจลุ นิติ ก.ย. - ต.ค. 2552
- บรรดานกั วิชาการต่างๆ เช่น ดร. วิทยากร เชยี งกลู , ผาสุก พงศ์ไพจิตร

หนงั สือนักการเมืองไทย : จริยธรรมผลประโยชน์ทบั ซ้อนการคอรร์ ปั ชัน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์

คู่มือ : การพัฒนาและส่งเสริมการปฏบิ ัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมข้าราชการพลเรือนสาหรับคณะกรรมการจริยธรรม บทท่ี
4 การบรหิ ารจดั การผลประโยชนท์ ับซอ้ น

เพลินตา ตนั รงั สรรค์. (2552). กฎหมายภายใต้หลัก Conflict of Interest. จุลนติ ิ ปที ี่ 6 ฉบบั ท่ี 5, 53-78

สานกั งาน ก.พ. (2552). ความขัดแยง้ กันระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม (Conflict of
Interest). กรงุ เทพฯ: สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน.

- 206 -

ใบงานที่ 5

STRONG / จติ พอเพยี งต่อต้านการทจุ ริต
****************************************************************

คาสั่ง ใหน้ ักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน ช่วยกนั คน้ ควา้ หาขอ้ มูลและจดั ทาโครงงานเกี่ยวกับ

๑. เรอ่ื ง STRONG
๒. S (sufficient) บุคคลและหนว่ ยงานนอ้ มนาปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาปรับประยุกต์ใช้

เป็นหลกั ในการทางานและการดารงชีวิต
๓. T (transparent) บุคคลและหน่วยงานปฏิบัติงานบนฐานของความโปร่งใสตรวจสอบไดเ้ ปน็

ท่ตี ้ัง
๔. R (realise) บุคคลและหน่วยงานมีความเข้าใจและตระหนักรู้ถึงรากเหง้าของปัญหาการทุจริต

ประพฤติมิชอบภายในสังคมและประเทศ
๕. (onward) บุคคลและหน่วยงานมีแนวคิดมุ่งพัฒนาหน่วยงานให้เกิดความโปร่งใสและร่วม

สร้างวัฒนธรรมไม่ทนต่อการทุจริตให้เกิดข้ึน และไม่ย่อท้อต่อการแก้ไขปัญหาการทุจริต
ประพฤติมิชอบให้สาเรจ็ ลลุ ว่ งไดต้ ามเป้าหมายท่ีกาหนดรว่ มกนั
๖. N (knowledge) บุคคลและหน่วยงานมีการพัฒนาองค์ความรู้อย่างสม่าเสมอเพ่ือให้เท่าทันต่อ
สถานการณ์การทจุ ริตของหนว่ ยงาน สงั คมและของประเทศ
๗. G (generosity) บุคคลและหน่วยงานรว่ มพัฒนาหนว่ ยงานใหม้ ีความเอ้ืออาทรบนพ้ืนฐาน
ของจริยธรรมและจติ พอเพียง
๘. จิตพอเพียงต่อตา้ นการทุจรติ

- 207 -

แบบทดสอบที่ 5

STRONG / จิตพอเพียงตอ่ ต้านการทุจริต
****************************************************************

คาส่งั ให้นักเรียนชว่ ยวิจารณแ์ ละระบุถึงความเสี่ยงตอ่ การทุจริต จากภาพการต์ นู ท่ีกาหนดใหเ้ ก่ยี วกับเรอื่ ง
STRONG และจิตพอเพียงต่อต้านการทจุ ริตอยา่ งไรบา้ ง

ภาพการต์ ูน คาตอบ

………………………………………………………………..…………
…………………………………………………………..

………………………………………………………………..…………
…………………………………………………………..………………
………………………………………………..…………………………
…………………………………………..………………………………
………………………………..…………………………………………
…………………………..………………………………………………
………………..…………………………………………………………
…………..………………………………………………………………..
……………………………………………………………………..……
…………………………………………………………..………………
……………………………………………………..……………………
…………………………………………..………………………………
……………………………………..……………………………………
…………………………..………………………………………………
……………………..……………………………………………………
…………..………………………………………………………………
……..………………………………………………………………..……
………………………………………………………………..…………
……………………………………………………..……………………
………………………………………………..…………………………
……………………………………..……………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………

- 208 -

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการปฏิบตั ิงานรายบุคคล

พฤตกิ รรม การแสดง การตอบ การยอมรบั ทางาน หมายเหตุ
ท่ี ความสนใจ คาถาม ฟังคนอ่ืน
ตามท่ีไดร้ บั
ชอ่ื -สกลุ ความคดิ เหน็ มอบหมาย

43214321432143214321

เกณฑก์ ารวัดผล ใหค้ ะแนนระดบั คณุ ภาพของแตล่ ะพฤติกรรมดังน้ี

ดีมาก = 4 สนใจฟงั ไม่หลบั ไมพ่ ดู คยุ ในชั้น มีคาถามท่ดี ี ตอบคาถามถกู ต้อง ทางานส่งครบตรงเวลา
ดี = 3 การแสดงออกอยใู่ นเกณฑ์ประมาณ 70%
ปานกลาง = 2 การแสดงออกอยู่ในเกณฑป์ ระมาณ 50%
ปรับปรงุ = 1 เข้าชัน้ เรียน แตก่ ารแสดงออกนอ้ ยมาก สง่ งานไม่ครบ ไม่ตรงเวลา

ลงช่อื ………………………………………………..…………….ผู้สงั เกต
(…………………………………………………..………….)
……………/……………………..……/…………..……..

- 209 -

แบบการประเมินผลการนาเสนองาน

เรอ่ื ง …………………………………………………………………………………….
วิชา……………………………………………….ชัน้ ……………….

ชือ่ …………………………………………………..เลขท…่ี ……………

ที่ รายการประเมิน ผู้ประเมนิ รวม เกณฑก์ ารประเมิน
ตนเอง เพอ่ื น ครู
1 เน้อื หา ( 4 คะแนน ) คะแนน 4 : มคี รบทกุ ขอ้
17. เนอ้ื หาครบถว้ นสมบรู ณ์ คะแนน 3 : มี 3 ขอ้ ขาด 1 ข้อ
18. เน้อื หาถูกต้อง คะแนน 2 : มี 2 ขอ้ ขาด 2 ข้อ
คะแนน 1 : มี 1 ข้อ ขาด 3 ข้อ
19. เนื้อหาต่อเน่อื ง
20. มีการคน้ คว้าเพิ่มเตมิ คะแนน 2: มคี รบทกุ ข้อ
คะแนน 1 : มี ไมค่ รบ 4 ขอ้
2 กระบวนการทางาน(2คะแนน ) คะแนน 0 : ไม่ปรากฏกระบวน
17. มกี ารวางแผนอยา่ งเปน็ ระบบ
18. การปฏิบัตติ ามแผน การทางานที่ชดั เจน

19. ตดิ ตามประเมนิ ผล คะแนน 2 : มีครบทุกข้อ
คะแนน 1.5: มี 3 ข้อ ขาด 1 ข้อ
20. การปรบั ปรุงพฒั นางาน คะแนน 1 : มี 2 ขอ้ ขาด 2 ข้อ
3 การนาเสนอ ( 2 คะแนน ) คะแนน 0.5 : มี 1 ขอ้ ขาด 3 ข้อ

13. การใช้สานวนภาษาดีถูกต้อง คะแนน 2 : มคี รบทุกข้อ
14. การสะกดคาและไวยากรณถ์ ูกตอ้ ง คะแนน 1.5: มี 3 ขอ้ ขาด 1 ข้อ
15. รูปแบบน่าสนใจ คะแนน 1 : มี 2 ข้อ ขาด 2 ข้อ
4. ความสวยงาม คะแนน 0.5 :มี 1 ข้อ ขาด 3 ข้อ
4 คณุ ธรรม ( 2 คะแนน )
คะแนนเต็ม 10 คะแนน
7. ตรงตอ่ เวลา
8. ซือ่ สัตย์
9. ความกระตอื รือร้น

10. ความมีนา้ ใจ
รวม
เฉลีย่

ลงชือ่ ผู้ประเมนิ …………………………………….……….. ตนเอง
ลงชอ่ื ผปู้ ระเมิน…………………………….……………….. เพอ่ื น
ลงชอื่ ผู้ประเมนิ ………………………….………………….. ครู

- 210 -

แบบสงั เกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุม่
กลมุ่ ท่ี…………..ชน้ั ………………

พฤติกรรม

ลาดับ ช่ือ-สกลุ ความ การแสดง การรับฟัง ความต้ังใจ การมสี ่วน รวม
ท่ี สมาชกิ กลมุ่ รว่ มมอื ความ ความ ในการ รว่ มในการ
คิดเห็น คิดเห็น ทางาน อภิปราย

4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 20

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

เกณฑก์ ารให้คะแนน =4 ประสทิ ธภิ าพอยใู่ นเกณฑ์ 90-100% หรอื ปฏบิ ตั บิ ่อยคร้งั
ดีมาก =3 ประสทิ ธภิ าพอยใู่ นเกณฑ์ 70-89% หรอื ปฏิบัติบางคร้งั
ดี =2 ประสทิ ธภิ าพอย่ใู นเกณฑ์ 50-69% หรือปฏบิ ตั ิครั้งเดยี ว
ปานกลาง ประสทิ ธภิ าพตา่ กว่าเกณฑ์ 50% หรือไมป่ ฏิบตั ิเลย
=1
ปรับปรงุ ลงช่อื ………………………………………………..…………….ผสู้ งั เกต
(…………………………………………………..………….)

……………/……………………..……/…………..……..

- 211 -

แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
ชื่อ – สกลุ ..............................................................เลขท่ี...................ชัน้ ...........................ปกี ารศกึ ษา................

-----------------------------------------------

คาชแี้ จง ให้พิจารณาตัวช้ีวดั ต่อไปนี้แลว้ ใหร้ ะดับคะแนนท่ีตรงกบั การปฏบิ ัติของนกั เรยี นตามความเปน็ จริง
ระดับคะแนน 5 หมายถึง ปฏิบัตเิ ปน็ ประจาทุกคร้งั
ระดับคะแนน 4 หมายถงึ ปฏิบัตบิ อ่ ยครั้ง
ระดับคะแนน 3 หมายถึง ปฏิบัตบิ างครั้ง
ระดับคะแนน 2 หมายถงึ ปฏบิ ตั นิ อ้ ย
ระดบั คะแนน 1 หมายถึง มพี ฤติกรรมไม่ชดั เจนหรอื ไม่มีหลกั ฐานที่

นา่ เชื่อถือ

ตวั ช้ีวดั 5 คะแนน 1
432
ขอ้ 1 รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์
1.1 เปน็ พลเมืองดีของชาติ
1.2 ธารงไวซ้ ึ่งความเปน็ ชาติไทย
1.3 ศรทั ธา ยดึ มนั่ และปฏบิ ัติตนตามหลักของศาสนา
1.4 เคารพเทิดทูน สถาบัน พระมหากษตั รยิ ์
รวมคะแนน

ขอ้ 2 ซอื่ สัตยส์ ุจริต
2.1 ประพฤตติ รงตาม ความเป็นจริงต่อตนเองทั้งทางกาย วาจา ใจ
2.2 ประพฤตติ รงตามความเปน็ จริงตอ่ ผู้อ่นื ท้งั ทางกาย วาจา ใจ
รวมคะแนน

ขอ้ 3 มีวนิ ยั
3.1 ปฏบิ ัตติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ขอ้ บงั คับของครอบครวั โรงเรยี นและสังคม
รวมคะแนน

ขอ้ 4 ใฝ่เรียนรู้
4.1 ต้งั ใจ เพยี รพยายามในการเรยี นและเขา้ รว่ มกจิ กรรมการเรยี นรู้
4.2 แสวงหาความรูจ้ าก แหล่งเรยี นรู้ตา่ งๆ ทง้ั ภายในและภายนอกโรงเรยี น ดว้ ยการ

เลือกใชส้ อ่ื อย่างเหมาะสม สรุปเปน็ องค์ความรู้ และสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวนั ได้
รวมคะแนน

- 212 -

ตวั ชว้ี ดั คะแนน
54321
ขอ้ 5 อยู่อย่างพอเพยี ง
5.1 ดาเนินชีวติ อยา่ งพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มคี ณุ ธรรม
5.2 มภี มู คิ ุ้มกันในตวั ท่ีดี ปรบั ตัวเพื่ออยใู่ นสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข
รวมคะแนน

ข้อ 6 ม่งุ มน่ั ในการทางาน
6.1 ตั้งใจและรบั ผิดชอบในการปฏิบัตหิ น้าท่กี ารงาน
5.2 ทางานดว้ ย ความเพียร พยายาม และ อดทนเพอ่ื ใหง้ านสาเรจ็ ตามเป้าหมาย
รวมคะแนน

ขอ้ 7 รักความเปน็ ไทย
7.1 ภาคภมู ใิ จในขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมไทย
และมคี วามกตญั ญกู ตเวที
7.2 เห็นคณุ ค่าและใชภ้ าษาไทยในการส่อื สารไดอ้ ยา่ งถกู ต้องเหมาะสม
7.3 อนุรกั ษ์ สืบทอดภูมิปญั ญาไทย
รวมคะแนน

ขอ้ 8 มจี ติ สาธารณะ
8.1 ช่วยเหลอื ผู้อ่นื ดว้ ยความเต็มใจโดย ไม่หวังผลตอบแทน
8.2 เข้าร่วมกจิ กรรมทเ่ี ปน็ ประโยชน์ตอ่ โรงเรียน ชุมชน และสังคม
รวมคะแนน
รวมคะแนนทงั้ หมด
รวมคะแนนท้ังหมดเฉล่ยี ร้อยละ
ระดับคณุ ภาพ

เกณฑ์การประเมนิ ร้อยละ 80 - 100 ระดบั คณุ ภาพ ดีเย่ียม (3) (2)
ร้อยละ 70 - 79 ระดับคณุ ภาพ ดี (1)
ร้อยละ 50 - 69 ระดับคณุ ภาพ พอใช้ (0)
รอ้ ยละ 0 - 49 ระดบั คณุ ภาพ ปรับปรงุ

สรุปผลการประเมนิ  ผา่ น ระดบั  ดเี ยีย่ ม  ดี  ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ
 ไมผ่ า่ น ระดับ  ปรับปรุง

ลงชอ่ื ………………………………………………..…………….ผสู้ งั เกต
(…………………………………………………..………….)
……………/……………………..……/…………..……..

- 213 -

หน่วยท่ี ๓ ช่ือหนว่ ย แผนการจดั การเรียนรู้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 6 เวลา ๒ ชวั่ โมง
STRONG/จิตพอเพียงดา้ นการทุจรติ
เรอื่ ง มุ่งไปขา้ งหน้า

๑. ผลการเรียนรู้
1.1 มีความรคู้ วามเข้าใจเก่ียวกบั STRONG/จติ พอเพียงต่อต้านการทุจริต

2. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
2.1 นักเรียนสามารถวเิ คราะห์ลักษณะของบคุ คลทม่ี ีความมุ่งม่ันตงั้ ใจได้
2.2 นกั เรยี นสามารถเลือกวธิ กี ารปฏิบัตติ นให้เป็นผมู้ ีความมุ่งม่ันตัง้ ใจในการปฏบิ ัติงานได้
๒.3 นักเรยี นมคี วามตระหนักในการประพฤตปิ ฏิบตั ติ นเปน็ คนดมี ีความซ่ือสตั ยไ์ ม่ทจุ ริตคดโกง
๒.4 นักเรียนเลือกที่จะปฏิบัตงิ านในสงิ่ ท่ีถกู ต้อง ดว้ ยความซอื่ สัตย์สุจรติ

๓. สาระการเรียนรู้
3.1 ความรู้
ความมุ่งม่นั ในการทางาน หมายถึง คุณลักษณะทแี่ สดงออกถงึ ความตง้ั ใจ และรบั ผดิ ชอบใน

การทาหนา้ ท่ีการงานด้วยความเพียรพยายาม อดทน เพือ่ ใหง้ านสาเรจ็ ตามเป้าหมาย
ผู้ท่ีมุง่ มัน่ ในการทางาน คือ ผู้ทีม่ ลี กั ษณะแสดงออกถึงความตงั้ ใจปฏิบตั หิ นา้ ทีท่ ่ีได้รบั

มอบหมายดว้ ยความเพียรพยายาม ทมุ่ เทกาลังกาย กาลงั ใจ ในการปฏิบตั กิ ิจกรรมต่างๆ ให้สาเร็จลุลว่ งตาม
เปา้ หมายทกี่ าหนดด้วยความรบั ผิดชอบ และมีความภาคภูมิใจในผลงาน

ผูท้ ี่มีความมุ่งม่นั ตง้ั ใจในการปฏิบัติงานจะเป็นผู้ทีป่ ระสบความสาเร็จในการทางานและมีชวี ิตท่มี ี
ความสุขกบั ผลแห่งการกระทาของตน ไดร้ ับการยกย่องและยอมรับจากบคุ คลทัว่ ไปในสงั คม

การสรา้ งความมุ่งมัน่ ต้งั ใจต้องเรม่ิ จากตนเองโดยมีพน้ื ฐานความคิดคตธิ รรมที่ได้รับจากการส่งั สม
ประสบการณ์จากสิง่ ต่างๆที่อยูร่ อบตัวเรา ท้งั จากการอบรมเลย้ี งดู จากบคุ คลท่ีมีปฏิสัมพันธต์ อ่ กัน จาก
ประสบการณ์การทางาน ทง้ั น้ีผปู้ ฏบิ ตั ิตอ้ งมีวธิ คี ดิ เลอื กและตดั สินใจในการปฏิบัตเิ พอ่ื เป็นแนวทางในการ
ปฏบิ ตั งิ านของตน

ทกุ คนสามารถเลือกแนวทางในการปฏิบัตงิ านของตนอย่างเหมาะสมโดยมุง่ เน้นการก้าวไปสู่
เปา้ หมายความสาเรจ็ การประพฤตปิ ฏิบตั ิตน

3.2 ทกั ษะ / กระบวนการ (สมรรถนะทีเ่ กิด)
1) ความสามารถในการสื่อสาร
2) ความสามารถในการคิด

3.3 คณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ / คา่ นิยม
๓.๓.๑ มีความมุง่ มัน่ ในการทางาน
๓.๓.๑ ความรบั ผดิ ชอบ

กจิ กรรมการเรยี นรู้
4.1 ขน้ั ตอนการเรียนรู้ (2 ช่วั โมง)
๔.๑.๑ สนทนาร่วมกนั ถงึ บคุ คลทเ่ี ป็นคนต้นแบบ ( IDAL) ที่นกั เรียนชื่นชอบ และปรารถนาทจี่ ะ
เดินรอยตามแบบคือใคร เพราะเหตุใด แต่ละบคุ คลทน่ี ักเรียนกลา่ วอ้างมีคุณสมบัติใดท่ีทาให้นักเรียน

- 214 -

ตอ้ งการประพฤติปฏิบัติตาม นกั เรยี นมคี วามคิดเหน็ อย่างไรกบั กรณีกจิ กรรม กา้ วคนละกา้ วเพ่ือ ๑๑
โรงพยาบาล ทวั่ ประเทศของตนู บอดแี้ สลม จงแสดงความคิดเหน็

๔.๑.๒ ให้นักเรียนชมวดี ทิ ศั น์เร่อื ง เส้นทางสู่ความสาเรจ็ ต่อจากนนั้ นกั เรียนจดั กลุม่ สมาชกิ
กลมุ่ ละประมาณ ๓ – ๕ คน เลือกประธานและเลขานุการของกลุม่ ศกึ ษากรณีตัวอย่างการทางาน
ของบุคคลจากใบงานที่ ๑ หนทางแห่งความสาเรจ็ เราเลือกได้จากชีวติ จรงิ ของเด็กเกเรตดิ เกมสู่
เจ้าของธรุ กจิ 200ล้าน วยั ๒๔ ป”ี โดยนกั เรยี น รว่ มอภิปรายแสดงความคดิ เห็นลกั ษณะการ
ทางานของบุคคลจากกรณตี ัวอยา่ ง เปรียบเทยี บผลจากการกระทาของบคุ คลในเรอื่ ง ให้นักเรียนแต่
ละกล่มุ เลอื กแนวปฏบิ ัตขิ องบุคคลในเรอื่ งที่คิดวา่ เมอ่ื นามาปฏบิ ัตจิ ริงแล้วจะส่งผลต่อความสาเร็จใน
การปฏิบตั ิงานของตน พรอ้ มแสดงเหตุผลประกอบ และนาเสนอผลงานต่อเพ่ือนๆกลุ่มอื่นๆ

๔.๑.๓ แต่ละกลมุ่ อภิปรายรว่ มกันในการกาหนดเป้าหมายอนาคตอาชีพทีต่ ้องการเป็น การ
วางแผนศึกษาต่อเพ่ือส่อู าชพี ทต่ี ้องการเป็น สปู่ ระเดน็ “อนาคตเราเลือกได้” โดยนกั เรียนแต่ละกลุ่ม
เลอื กแนวปฏิบัติท่ีคิดวา่ เมื่อนามาปฏิบัตจิ ริงแล้วจะบรรลุสูเ่ ปา้ หมายทว่ี างไว้ สง่ ผลต่อความสาเร็จใน
การปฏิบตั ิงานของตน พร้อมแสดงเหตุผลประกอบ และนาเสนอผลงานต่อเพ่ือนๆกลมุ่ อื่นๆ

๔.๑.๔ นักเรียนแต่ละกลุ่มรว่ มอภิปรายแสดงความคิดเห็นถงึ แนวทางปฏบิ ัตงิ านสู่ความสาเรจ็
คณุ ธรรมจริยธรรม ทต่ี ้องมี ประเดน็ “อนาคตเราเลอื กได้” ของเพ่ือนแต่ละกลุ่มแลว้ คดั เลือกผลงานที่
คดิ ว่าดที ่สี ุด พร้อมแสดงเหตุผลประกอบการคัดเลอื ก

๔.๑.๕ กาหนดสถานการณ์ให้นักเรยี นร่วมคิดออกแบบวางแผนการทางานจากใบงานท่ี ๒ การ
จัดกจิ กรรม “วนั วิชาการ โลกกวา้ งทางอาชพี สู่อนาคต ”จะมวี ิธีการอยา่ งไรในการทีเ่ ราจะปฏิบัติงาน
ให้ประสบความสาเร็จ โดยมีการจัดแบง่ หน้าที่ให้กบั สมาชิกแตล่ ะคนรว่ มรับผิดชอบและเตรียมความ
พร้อมในการปฏบิ ัตงิ าน (ทั้งน้จี ะให้นักเรยี นปฏิบัติกิจกรรมจริงในโอกาสต่อไปเป็นกจิ กรรมเสริมนอก
เวลาเรยี น)

๔.๑.๖ แต่ละกลุม่ นาเสนอผลงานตอ่ เพ่ือนๆในหอ้ ง
๔.๑.๗ สรปุ รว่ มกนั ถงึ วธิ ีการออกแบบวางแผนการทางาน การเตรยี มความพร้อมบุคคลและวสั ดุ
อปุ กรณ์ต่างๆทีจ่ าเปน็ ในการดาเนินงาน เพ่ือนาสู่เปา้ หมายความสาเร็จ การสง่ เสริมคุณธรรมจริยธรรม
ใหก้ ับบุคคล เพือ่ วางรากฐานปอ้ งกันการทุจรติ การกระทาท่ีก่อใหเ้ กิดความสาเรจ็ ในการปฏบิ ัตงิ าน
ปัญหาอุปสรรคท่ีพบจากการปฏิบัตงิ านและแนวทางการแกไ้ ขปัญหาท่ีพบ การนาความรทู้ ี่ไดร้ บั ไปใช้
ในการดาเนนิ ชีวติ ประจาวนั ขอ้ คิดคตสิ อนใจท่ีไดร้ บั
4.2 สอื่ การเรียนรู้ / แหล่งการเรียนรู้

1) วีดิทศั นเ์ ร่อื ง เส้นทางส่คู วามสาเร็จ
2) ใบงานท่ี ๑“หนทางแหง่ ความสาเร็จเราเลือกได้”
๓) ใบงานที่ ๒ กิจกรรม“วนั วชิ าการ โลกกว้างทางอาชีพสู่อนาคต ”

๕. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้
5.1 วธิ ีการประเมิน
๕.๑.๑ สังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในด้านการแสดงความคิดเห็น การอภปิ รายการให้

เหตุผล
พฤติกรรมการปฏิบตั ิงานตามภารกจิ ท่ีได้รบั มอบหมาย

๕.๑.๒ ตรวจผลงานจากการทาใบงาน

- 215 -

- ใบงานที่ ๑“หนทางแหง่ ความสาเรจ็ เราเลอื กได้”
- ใบงานท่ี ๒ กจิ กรรม “วนั วิชาการ โลกกวา้ งทางอาชีพสูอ่ นาคต ”
๕.๒ เครื่องมอื ที่ใช้ในการประเมนิ
๕.๒.๑ แบบสังเกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ตั ิงานของนักเรยี น
๕.๒.๒ แบบประเมินผลการอภปิ รายแสดงความคิดเหน็ จากสถานการณ์ทก่ี าหนด
๕.๒.๓ แบบประเมนิ ผลงานการออกแบบการจดั กจิ กรรม
๕.๒.๔ แบบประเมนิ สมรรถนะ
๕.๒.๕ แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคด์ ้านความมุ่งมน่ั ต้งั ใจ
5.3 เกณฑก์ ารตัดสนิ
- นักเรยี นตอ้ งผา่ นเกณฑ์การประเมินร้อยละ 80 ขนึ้ ไป ถอื วา่ ผ่าน
- นักเรยี นผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ระดับดีขน้ึ ไป ถือวา่ ผา่ น
บันทึกหลังสอน
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
........................................................ ............................................................................................. .........................

ลงชอื่ ................................................ ครผู ้สู อน
(.................................................)

๖. ภาคผนวก
- ใบความรู้
- ใบงาน
- แบบสังเกต

- 216 -

ใบความรู้
STRONG / จิตพอเพยี งต่อต้านการทจุ ริต

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระราชทานแนวพระราชดาริหลัก
ปรัช ญาเศรษฐ กิจพอเพียง จากพระบรมราโ ช ว าทในพิธีพระราช ทานปริญญาบัตรแก่นิสิต
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗ โดยมีใจความตอนหน่ึงว่า “...การพัฒนา
ประเทศจาเป็นต้องทาตามลาดับขั้นต้องสร้างพื้นฐาน คือ ความพอมีพอกิน พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่เป็น
เบ้อื งต้นกอ่ น โดยใชว้ ธิ ีการและใชอ้ ปุ กรณท์ ปี่ ระหยดั แตถ่ กู ต้องตามหลักวิชา เม่ือได้พื้นฐานม่ันคงพร้อมพอควร
และปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกิจขั้นท่ีสูงขึ้นโดยลาดับต่อไป หากมุ่งแต่
จะทุ่มเทสร้างความเจริญยกเศรษฐกิจขึ้นให้รวดเร็วแตป่ ระการเดยี ว โดยไม่ใหแ้ ผนปฏิบตั ิการสัมพันธ์กับสภาวะ
ของประเทศและของประชาชนโดยสอดคล้องด้วย ก็จะเกิดความไม่สมดุลในเร่ืองต่างๆ ขึ้นซ่ึงอาจกลายเป็น
ความยุ่งยากลม้ เหลวไดใ้ นท่ีสุด ดังเห็นได้ท่ีอารยประเทศหลายประเทศกาลังประสบปัญหาทางเศรษฐกิจอย่าง
รุนแรงอยู่ในเวลานี้...” ซ่ึงเป็นแนวพระราชดาริที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
พระราชทานแก่ราษฎร มานานกวา่ 40 ปี เพื่อให้ราษฎรสามารถดารงชีวิตด้วยการพึงพาตนเอง มีสติอยู่อย่าง
ประมาณตนสามารถดารงชีพปกตสิ ุขอย่างม่ันคงและย่ังยืน

แนวทางในการพัฒนาวัฒนธรรมเพื่อให้สามารถดาเนินการสู่การปฏิบัติงานท่ีบรรลุผลได้จริง
หน่วยงานทุกภาคส่วนต้องให้ความสาคัญอย่างแท้จริงกับการปรับประยุกต์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มาใช้ประกอบกับหลักการต่อต้านการทุจริตอ่ืนๆเพื่อสร้างฐานคิดจิตพอเพียงต่อต้านการทุจริตให้เกิดข้ึนเป็น
พื้นฐานความคิดของปัจเจกบุคคล โดยประยุกต์หลักบูรณาการ “STRONG” (รศ.ดร.มาณี ไชยธีรานุวัฒศิริ,
๒๕๖๐) เปน็ แนวทางในการพฒั นาวฒั นธรรมหนว่ ยงาน ประกอบด้วย

๑) S (sufficient) บุคคลและหน่วยงานน้อมนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับ
ประยุกต์ใช้เป็นหลักในการทางานและการดารงชีวิต รวมถึงเป็นตัวอย่างในการเผยแพร่แนวคิดการนาปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี งมาเปน็ เครื่องมือในการปอ้ งกนั การทจุ ริต

๒) T (transparent) บุคคลและหน่วยงานปฏิบัติงานบนฐานของความโปร่งใสตรวจสอบได้
เปน็ ที่ต้งั

๓) R (realise) บุคคลและหน่วยงานมีความเข้าใจและตระหนักรู้ถึงรากเหง้าของปัญหาการ
ทุจริตประพฤติมิชอบภายในสังคมและประเทศ สามารถวิเคราะห์และระบุถึงความเส่ียงต่อการทุจริต เข้าใจถ่อง
แทเ้ กย่ี วกับการแยกแยะผลประโยชนส์ ว่ นตัวและผลประโยชนส์ ว่ นรวม พร้อมแนวทางการแก้ไขปญั หาดังกล่าวได้

๔) O (onward) บุคคลและหน่วยงานมีแนวคิดมุ่งพัฒนาหน่วยงานให้เกิดความโปร่งใสและ
รว่ มสรา้ งวฒั นธรรมไม่ทนต่อการทุจริตให้เกิดขึ้น และไม่ย่อท้อต่อการแก้ไขปัญหาการทุจริตประพฤติมิชอบให้
สาเรจ็ ลลุ ว่ งไดต้ ามเป้าหมายท่ีกาหนดรว่ มกนั

๕) N (knowledge) บุคคลและหน่วยงานมีการพัฒนาองค์ความรู้อย่างสม่าเสมอเพ่ือให้เท่าทัน
ต่อสถานการณก์ ารทุจริตของหน่วยงาน สงั คมและของประเทศ

๖) G (generosity) บคุ คลและหนว่ ยงานรว่ มพฒั นาหน่วยงานใหม้ ีความเออ้ื อาทรบนพืน้ ฐาน
ของจรยิ ธรรมและจติ พอเพียง
คุณลกั ษณะที่สาคญั ของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งประกอบด้วย 3 หว่ ง 2 เง่ือนไข

คือแนวทางการดาเนนิ ชีวติ ใหอ้ ย่บู นทางสายกลางตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง เพ่ือพน้ จากภยั
และวกิ ฤติการณ์ต่างทเ่ี กดิ ขึ้นกอ่ ให้เกดิ คุณภาพชีวิตท่ีดีอย่างม่นั คงและยง่ั ยืน

- 217 -

 ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดตี ่อความจาเปน็ ไม่มากเกินไป ไมน่ ้อยเกินไป
และตอ้ งไม่เบยี ดเบียนตนเองและผู้อน่ื

 ความมีเหตุผล หมายถึง การตดั สินใจดาเนนิ การเร่ืองตา่ งๆ อยา่ งมเี หตุผลตามหลัก
วชิ าการ หลกั กฎหมาย หลกั ศีลธรรม จรยิ ธรรมและวฒั นธรรมท่ีดีงาม คดิ ถึงปจั จัยที่เก่ียวขอ้ งอยา่ งถีถ่ ้วน โดย
คานึงถงึ ผลที่คาดว่าจะเกิดขึน้ จากการกระทานนั้ ๆ อยา่ งรอบคอบ

 มีภูมิคุ้มกันท่ีดีในตัวเอง หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการ
เปลีย่ นแปลงด้านเศรษฐกจิ สังคม สงิ่ แวดลอ้ มทจ่ี ะเกดขน้ึ เพ่ือใหส้ ามารถปรบั ตัวและรับมอื ได้อยา่ งทนั ทว่ งที

เงื่อนไขในการตัดสนิ ใจในการดาเนินกจิ กรรมตา่ งๆ ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง
๑. เง่ือนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องรอบด้าน

ความรอบคอบท่ีจะนาความรู้เหล่าน้ันมาพิจารณาให้เช่ือมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวัง
ในการปฏิบัติ

๒. เงือ่ นไขคณุ ธรรม ทจ่ี ะต้องเสรมิ สร้าง ประกอบด้วย มคี วามตระหนักใน คุณธรรม มีความ
ซื่อสัตย์สุจริตและมคี วามอดทน มคี วามเพยี ร ใชส้ ตปิ ัญญาในการดาเนนิ ชีวติ

ความมุ่งมน่ั ในการทางาน หมายถงึ คุณลักษณะทีแ่ สดงออกถึงความตง้ั ใจ และรับผดิ ชอบใน
การทาหน้าที่การงานด้วยความเพยี รพยายาม อดทน เพอ่ื ใหง้ านสาเร็จตามเปา้ หมาย

ผู้ท่ีม่งุ มัน่ ในการทางาน คอื ผู้ทม่ี ีลักษณะซงึ่ แสดงออกถึงความตั้งใจปฏิบตั หิ น้าที่ท่ีไดร้ ับ
มอบหมายด้วยความเพียรพยายาม ทมุ่ เทกาลังกาย กาลังใจ ในการปฏิบตั ิกจิ กรรมต่างๆ ใหส้ าเร็จลลุ ว่ งตาม
เป้าหมายทกี่ าหนดด้วยความรบั ผดิ ชอบ และมีความภาคภูมใิ จในผลงาน

- 218 -

ใบงานท่ี ๑ “หนทางแหง่ ความสาเร็จเราเลอื กได้”

คาชแี้ จง ใหน้ กั เรียนศึกษากรณตี วั อย่างจากชีวติ จรงิ ของ ต๊อบ อิทธพิ ัทธ์ เถ้าแก่น้อย
เด็กเกเรติดเกมส่เู จ้าของธรุ กจิ 200ลา้ นวยั ๒๔ ปี แลว้ ร่วมกนั วิเคราะห์ท่ีมาของความสาเรจ็ ของ
บคุ คลในเร่อื ง เตรียมนาเสนอผลงาน

หลายคนอาจจะไดด้ ูตวั อยา่ งภาพยนตร์เรอื่ ง "TOP SECRET วยั ร่นุ พนั ลา้ น" กนั มาแล้ว ดว้ ย
ตัวอย่าง ทนี่ ่าติดตามต่างจากภาพยนตร์วัยใสทว่ั ไป เพราะภาพยนตร์ดงั กล่าวนั้นมีแรงบันดาลใจมาจากเร่ือง
จริง!! ของเด็กหนุม่ ทีต่ ดิ เกมออนไลน.์ .. เรยี นหนังสือไม่เกง่ แถมถูกประณามวา่ เปน็ เดก็ ไม่เอาไหน แต่ใครจะรวู้ ่า
เขาคนน้นั จะกลายมาเปน็ เศรษฐีร้อยลา้ นเพยี ง อายแุ ค่ 23 ปีเทา่ นน้ั (เขาร้อยล้านตอนอายุ 23 แตต่ อนนี้ 26
แล้ว)

อยากรู้กนั แล้วใช่ไหมวา่ เขาคนน้นั คือใคร แลว้ ทาไมเขาถึงกลายเป็นเศรษฐไี ด้ในเวลาอนั ส้ัน ไปทา
ความรจู้ กั กบั "ตอ๊ บ อทิ ธิพัทธ์ กลุ พงษ์วณชิ ย์" เจ้าของธรุ กจิ สาหร่ายทอดกรอบแบรนด์ "เถา้ แกน่ ้อย" กันเลย

ตอ๊ บ อิทธิพัทธ์ กลุ พงษว์ ณิชย์ เศรษฐรี อ้ ยลา้ นคนน้ี กอ่ นหนา้ นเ้ี ขาถกู ตราหนา้ ว่าเป็นคนไม่เอาถา่ น
ไม่สนใจเรยี น ชีวติ ของ ต๊อบ มแี ต่คาวา่ "เกม" เท่าน้นั โดยตอ๊ บเรม่ิ เลน่ เกมออนไลน์ Everquest มาตง้ั แต่ ม.4
ถึงขนาดสะสมแต้มจนรวยทส่ี ดุ ในเซริ ฟ์ เวอร์ และกลายเป็นผทู้ ม่ี ีช่อื เสียงอย่างมากในเกมดังกล่าว จนมฝี รง่ั มา
ขอซ้ือ ไอเท็มเด็ด ๆ ไอเทม็ เจง๋ ๆ ที่หายากในเกมจากเขา และนั่นกเ็ ป็นการเริ่มตน้ สรา้ งรายไดข้ องต๊อบ ซ่งึ
การซอื้ ขายไอเท็มเกมดงั กลา่ ว บวกกับการทเี่ ปน็ ผู้ทดสอบระบบเกมในฐานะคนเล่น ก็สรา้ งรายไดใ้ ห้เขา
เป็นกอบเป็นกา จนมเี งนิ เก็บเปน็ หลกั แสนบาทเลยทเี ดยี ว

ดว้ ยความท่ีเปน็ เด็กตดิ เกม ตอ๊ บ อิทธพิ ัทธ์ จึงเรียนจบชั้นระดบั มัธยมมาได้อย่างยากลาบาก และ
เรยี นต่อระดับอดุ มศึกษาที่มหาวทิ ยาลัยหอการคา้ ไทย ซึ่งตอนนน้ั น่นั เองเขากเ็ ร่มิ ก้าวเขา้ สู่ถนนแหง่ เส้นทาง
ธรุ กจิ พร้อมต้ังใจจะทาความฝันของตวั เองให้เปน็ จรงิ ด้วยการมีธรุ กจิ เปน็ ของตวั เอง

และในช่วงจงั หวะที่เกมออนไลนเ์ ร่มิ ไมเ่ ปน็ ทน่ี ิยมเหมือนเคย เขากห็ ารายไดจ้ ากชอ่ งทางอนื่ ท้ังขาย
เครื่องเลน่ วซี ีดี ดทู าเลเปิดรา้ นกาแฟหน้ามหาวิทยาลัย แต่ก็ไมเ่ ป็นทปี่ ระสบความสาเร็จ จนกระท่ังเขาไดไ้ ป
เดินงานแฟร์ช่องทางธุรกิจ ซง่ึ ในงานน้ันมีเฟรนไชสจ์ ากประเทศญีป่ ุ่นมาออกบู๊ท ด้วยความทีเ่ ขาเป็นคนชอบกิน
เกาลดั อย่แู ลว้ เลยสนใจธรุ กิจนีเ้ ปน็ พเิ ศษ จึงเข้าไปสอบถามคา่ เฟรนไชสเ์ กาลดั ดงั กล่าว แต่ทวา่ ราคาสูงเกิน
กาลงั ทีเ่ ขามี เลยขอแคเ่ ช่าตู้คั่วเกาลัดเท่านนั้ แลว้ มาสร้างเฟรนไชส์เปน็ ของตวั เอง และเมือ่ วนั ทีเ่ ขาตอ้ งไปเซน็
สัญญาซ้ือขายเกาลดั ทีห่ ้างแห่งหน่ึง ก่อนออกจากบา้ นเขาได้ยนิ คุณพ่อพูดกบั เพื่อนวา่ "ลกู อัว้ กาลงั จะเป็นเถา้
แกน่ อ้ ยแลว้ " คาวา่ เถ้าแก่น้อยที่ได้ยินตอนนน้ั นน่ั เอง ทีเ่ ป็นทีม่ าของชื่อ "เถา้ แก่น้อย" สาหรา่ ยทอดกรอบใน
ปัจจบุ ัน “ไมม่ ีใครที่ล้มเหลวตลอดชีวติ ทุกคนมีสิทธิ์

- 219 -

๕.๒.๑ แบบสงั เกตพฤติกรรมการปฏิบัตงิ านของนักเรยี น
แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ตั งิ านของนกั เรียน

พฤตกิ รรม การแสดง การยอมรับ การทางาน
ท่ี ความคดิ เห็น
ความสนใจ การใหเ้ หตผุ ล ฟังความ ตามทีไ่ ดร้ ับ หมายเหตุ
ช่ือ-สกุล คิดเห็น มอบหมาย

ของผู้อ่นื

43214321432143214321

เกณฑก์ ารวดั ผล ใหค้ ะแนนระดับคณุ ภาพของแตล่ ะพฤติกรรมดังน้ี
ดีมาก = 4 สนใจฟัง ไมพ่ ูดคยุ ในระหวา่ งทผ่ี ู้อ่นื พูด มีคาถามทีด่ ี ตอบคาถามถูกต้อง ทางานส่งครบตรงเวลา
ดี = 3 สนใจฟัง มกี ารพดู คุยในระหว่างทผี่ ู้อ่ืนพูด มีคาถามที่ดี ตอบคาถามถูกต้อง ทางานส่งครบ ตรง
เวลา
ผา่ น = 2 สนใจฟงั พูดคยุ ในระหวา่ งทผี่ ูอ้ ื่นพูด ไม่มีปฏิกริยาโต้ตอบต่อคาถามท่ีถาม ตอบคาถามถูกต้อง
บา้ งไมถ่ กู ตอ้ งบ้าง ทางานสง่ ครบ
ไมผ่ า่ น = 1 ไม่สนใจฟัง พดู คุยในระหวา่ งทผี่ ูอ้ น่ื พูด ไม่มปี ฏิกรยิ าโต้ตอบต่อคาถามท่ถี าม
ตอบคาถามถูกต้องบ้างไมถ่ ูกต้องบ้าง ส่งงานไม่ครบ ไมต่ รงเวลา
นักเรยี นตอ้ งผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ใน ระดับคณุ ภาพ ๒ ข้ึนไป จงึ จะผ่าน

ลงชื่อ……………………………….ผสู้ งั เกต
(……………………………….)
…………/…………/………..

- 220 -

๕.๒.๒ แบบประเมินผลการอภปิ รายแสดงความคดิ เห็นจากสถานการณ์ที่กาหนด

แบบประเมนิ การอภิปรายแสดงความคดิ เหน็

วชิ า ...................................................................... ชนั้ ………………………………………..............

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ................................................กิจกรรม …………………………………………….…

คาชี้แจง : ใหป้ ระเมินจากการสงั เกตการร่วมอภิปรายในระหว่างเรียน และการปฏิบัตกิ จิ กรรมกลุ่ม

โดยให้ระดับคะแนนลงในตารางทต่ี รงกบั พฤติกรรมของผู้เรียน

เกณฑก์ ารให้คะแนน 3 = ดี 2 = พอใช้ 1 = ต้องปรบั ปรงุ

รายการประเมนิ รวม สรระเมิน
ใสค่ ะแนนลงในช่องการประเมิน
๑๕
คะแนน

เลขท่ี ชื่อ-นามสกลุ การแสดงความ
ิคดเ ็หน
ยอมรับ ัฟงความ คะแนน ผ่าน ไม่
คิดเห็นของผู้อ่ืน ที่ทาได้ ผ่าน
ตรงประเด็น
สมเห ุตสมผล
ีมความเ ื่ชอ ัม่นในการ
แสดงออก

หมายเหตุ นักเรยี นตอ้ งผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ตัง้ แตร่ ะดบั พอใช้ขึ้นไปจงึ จะผา่ น

ลงชื่อ ................................................................................. ผ้ปู ระเมนิ
(..................................................................................)

- 221 -

๕.๒.๓ แบบประเมินผลงานการออกแบบการจัดกิจกรรม

คาชแ้ี จง ประเมินพฤติกรรมการปฏิบตั งิ านสู่การออกแบบการเรยี นรู้ของนักเรยี นใสห่ มายเลขระดบั คุณภาพ

ลงในช่องการประเมินแตล่ ะช่องและใส่เครอื่ งหมาย ลงในชอ่ งการสรปุ ผล ผ่าน ไม่ผา่ น

ที่ พฤตกิ รรม เกณฑ์การประเมิน สรปุ ผล

การ สอดคล้อง สอดคลอ้ งกับ การมสี ว่ น การกาหนด ผา่ น ไม่

ออกแบบ กบั งานที่ วัตถุประสงค์ ร่วมของ บทบาท ผ่าน

ชือ่ -นามสกลุ กาหนด ของงาน สมาชกิ หนา้ ท่ีนาสู่

การปฏบิ ตั ิ

จริง

เกณฑ์การประเมนิ ระดับคุณภาพ ๔ หมายถึง ดีมาก ระดบั คณุ ภาพ ๓ หมายถงึ ดี
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถงึ ปรบั ปรุง

เกณฑก์ ารผา่ น นกั เรียนต้องผ่านเกณฑต์ ัง้ แต่ ระดบั พอใช้ จึงจะผ่าน
ลงช่ือ............................................................ผู้ประเมนิ
(..........................................................)

- 222 -

๕.๒.๔ แบบประเมนิ สมรรถนะ ด้านการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา และการใชท้ ักษะชวี ติ

ท่ี เกณฑก์ ารประเมนิ

ชอ่ื -นามสกลุ การสือ่ สาร การคิด การแก้ปญั หา การใชท้ กั ษะ สรุปผลการ

ชวี ติ ประเมนิ

๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑

หมายเหตุ ในแตล่ ะช่องสมรรถนะให้ใสเ่ คร่ืองหมาย ลงในชอ่ งคะแนนระดบั คุณภาพ
โดยมีความหมายดังนี้ ดมี าก = ๔ ดี = ๓ พอใช้ = ๒ ปรบั ปรุง = ๑
นกั เรยี นตอ้ งผา่ นเกณฑใ์ นแต่ละสมรรถนะต้งั แต่ ระดับ ๒ ข้ึนไป จึงจะถือว่าผ่าน

ลงชื่อ.....................................................................ผปู้ ระเมนิ
(.......................................................)

- 223 -

การประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคข์ องผู้เรยี น ข้อที่ ๖ มงุ่ ม่ันในการทางาน
ตวั ชว้ี ัด ๖.๑ ต้งั ใจและรับผดิ ชอบหนา้ ที่การทางาน

๖.๒ ทางานด้วยความเพยี รพยายาม และอดทนเพ่ือให้งานสาเรจ็ ตามเป้าหมาย

ตวั ชวี้ ัด พฤติกรรมบ่งชี้

๖.๑ ตง้ั ใจและรบั ผดิ ชอบหน้าทก่ี ารทางาน ๖.๑.๑ เอาใจใส่ต่อการ ปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีที่ ไดร้ ับมอบหมาย

๖.๑.๒ ตั้งใจและรับผิดชอบใน การทางานให้ สาเร็จ

๖.๑.๓ ปรบั ปรุงและ พฒั นาการทางานดว้ ยตนเอง

๖.๒ ทางานดว้ ยความเพียรพยายาม และอดทน ๖.๒.๑ ทมุ่ เททางาน อดทน ไม่ยอ่ ท้อต่อปญั หา และ

เพื่อให้งานสาเรจ็ ตามเป้าหมาย อุปสรรคในการทางาน

๖.๒.๒ พยายามแก้ปัญหาและอุปสรรคในการทางาน

ให้สาเรจ็

๖.๒.๓ ช่นื ชมผลงานดว้ ยความภาคภมู ใิ จ

เกณฑก์ ารประเมนิ ตวั ชีว้ ดั ที่ ๖.๑ ตงั้ ใจและรับผดิ ชอบในการปฏิบัตหิ นา้ ทีก่ ารงาน

พฤติกรรมบ่งช้ี ไมผ่ ่าน (0) ผา่ น (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม (๓)

๖.๑.๑ เอาใจใส่ต่อ ไม่ตงั้ ใจปฏบิ ตั ิ ตั้งใจและ ตงั้ ใจและ ตัง้ ใจและ
การ ปฏิบัติหน้าท่ที ี่ หนา้ ทกี่ ารงาน
ไดร้ ับมอบหมาย รับผดิ ชอบในการ รบั ผดิ ชอบในการ รบั ผดิ ชอบในการ

ปฏบิ ตั ิหน้าท่ที ่ี ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ที ่ี ปฏบิ ัติหน้าท่ีที่

๖.๑.๒ ตงั้ ใจและ ไดร้ บั มอบหมายให้ ได้รบั มอบหมายให้ ได้รบั มอบหมายให้
รับผดิ ชอบใน การ
ทางานให้ สาเรจ็ สาเรจ็ มกี าร สาเร็จ มกี าร สาเร็จ มีการ

ปรบั ปรุงการ ปรับปรงุ และ ปรับปรุงและ

ทางานใหด้ ีขึน้ พฒั นาการทางาน พัฒนาการทางาน

๖.๑.๓ ปรับปรงุ และ ให้ดีขึน้ ให้ดีข้นึ ด้วยตนเอง

พัฒนาการทางาน

ด้วยตนเอง

- 224 -

ตวั ชวี้ ัดท่ี ๖.๒ ทางานดว้ ยความเพียรพยายาม และอดทนเพือ่ ให้งานสาเรจ็ ตามเป้าหมาย

พฤติกรรมบ่งช้ี ไม่ผา่ น (0) ผา่ น (๑) ดี (๒) ดีเย่ยี ม (๓)

๖.๒.๑ ทมุ่ เททางาน ไมข่ ยนั อดทน ทางานด้วยความ ทางานดว้ ยความ ทางานดว้ ยความ
อดทน ในการทางาน ขยัน อดทน และ
พยายามให้งาน ขยนั อดทน และ ขยนั อดทน และ
ไม่ย่อทอ้ ต่อปัญหา และ สาเรจ็ ตาม
เปา้ หมาย และช่นื พยายามให้งาน พยายามให้งาน
อปุ สรรคในการทางาน ชมผลงานด้วย
ความภาคภูมิใจ สาเร็จตาม สาเร็จตาม
๖.๒.๒ พยายาม
แกป้ ัญหา เปา้ หมาย ไม่ย่อท้อ เปา้ หมายภายใน

และอปุ สรรคในการ ต่อปญั หาในการ เวลาทกี่ าหนดไม่
ทางาน
ทางาน และชืน่ ชม ยอ่ ท้อต่อปัญหา
ใหส้ าเร็จ
ผลงานด้วยความ อุปสรรคในการ

ภาคภูมใิ จ ทางาน และชืน่ ชม

ผลงานด้วยความ

ภาคภมู ใิ จ

๖.๒.๓ ช่นื ชมผลงาน
ด้วย

ความภาคภูมใิ จ

เกณฑพ์ จิ ารณาสรปุ ผลการประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ขอ้ ที่ ๖ มงุ่ มั่นในการทางาน

ระดบั เกณฑ์การพิจารณา

ดเี ยย่ี ม (๓) ๑. ได้ผลการประเมินระดับดีเยี่ยม ทกุ ตวั ชี้วดั หรอื
๒. ได้ผลการประเมินระดบั ดีเย่ยี ม และดี ระดับละ ๑ ตวั ชี้วัด

๑. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดบั ดี ทกุ ตัวชีว้ ดั หรอื

ดี (๒) ๒. ไดผ้ ลการประเมินระดับดีเยย่ี ม และระดบั ผ่าน ระดบั ละ ๑
ตัวชี้วดั

ผา่ น (๑) ๑. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดับผ่าน ทุกตวั ชี้วดั หรือ
๒. ได้ผลการประเมนิ ระดบั ดี และระดับผ่าน ระดับละ ๑ ตัวชวี้ ดั

ไมผ่ ่าน (๐) มผี ลการประเมินตวั ชีว้ ดั ข้อใดขอ้ หน่ึงไดร้ ะดับ ไม่ผ่าน

- 225 -

แบบประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของนักเรียน

พฤติ เอาใจใสต่ ่อ ตงั้ ใจและ การปรับปรงุ ความอดทน การแก้ปญั หา ชื่นชมใน หมา
กรรม หนา้ ที่ รับผิดชอบ พฒั นางาน การทมุ่ เทใน อปุ สรรค ผลงานของ ย
ท่ไี ด้รบั ตอ่ งานของตน การทางาน การทางาน เหตุ
เลข ตน
มอบหมาย

ท่ี ชอ่ื - 3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0

นามสกลุ

เกณฑ์การวัดผล ใหค้ ะแนนระดับคุณภาพของแตล่ ะพฤติกรรมดงั น้ี
ดีเย่ียม = 3
ดี = 2
ผ่าน = 1
ไมผ่ า่ น = 0
นักเรยี นต้องผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ใน ระดับผา่ น
ลงชื่อ……………………………….ผ้ปู ระเมิน
(……………………………….)
…………/…………/………..

- 226 -

แบบประเมินการออกแบบวางแผนการปฏิบตั ิงาน

คาชี้แจง ให้ผ้ปู ระเมินประเมนิ ผลการออกแบบวางแผนการปฏบิ ตั งิ านของนกั เรียน

โดยมีระดบั คุณภาพดังนี้

ระดับคุณภาพ ๔ หมายถึง ดีมาก ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี

ระดบั คุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ระดับคณุ ภาพ ๑ หมายถงึ ปรบั ปรงุ

เกณฑก์ าประเมิน สรุปผล

การ

ประเมนิ

เลข ช่อื -นามสกลุ

ที่ กาหนดเคร่ืองมอื การแบง่ งาน กาหนดรูปแบบ กาหนดเวลาได้

และวสั ดุ รบั ผดิ ชอบ ในการทางานได้ เหมาะสมกับงาน การแก้ปญั หา ่ผาน
ไ ่มผ่าน
สาหรบั การ เหมาะสม อุปสรรค

ปฏิบัติงาน การทางาน

๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑

ลงชอ่ื ................................................................ผู้ประเมนิ
(..............................................................)

- 227 -

เกณฑก์ ารประเมนิ การออกแบบวางแผนการปฏบิ ตั ิงาน

องคป์ ระกอบ เกณฑ์การใหค้ ะแนน

ที่ประเมนิ ระดบั ๔ ระดบั ๓ ระดับ๒ ระดบั ๑

กาหนดเคร่ืองมือ กาหนดเคร่ืองมือและ กาหนดเครื่องมือและ กาหนดเครื่องมือ ไมม่ ีการกาหนด
และวัสดุ สาหรบั วัสดุ สาหรบั การ วัสดุสาหรบั การ และวัสดุไม่ เครือ่ งมอื หรือ
การปฏบิ ตั ิงาน ปฏบิ ตั ิงานได้ ปฏิบตั งิ านได้ เหมาะสมกับการ วัสดุในการ
เหมาะสมกบั การ ปฏิบัติงานและไมม่ ี
ครบถว้ นเหมาะสม ปฏบิ ัติงาน การแปรรปู นา ปฏิบัตงิ าน
กับการปฏบิ ตั ิงาน
กลบั มาใชซ้ ้า

การแบ่งงาน แบง่ งานรับผิดชอบ แบ่งงานให้กบั สมาชกิ แบ่งงานให้สมาชิก ไมแ่ บง่ งานให้กับ
รับผิดชอบ
ใหก้ ับสมาชิกทุกคนได้ ทกุ คน ในกลมุ่ ไมค่ รบทุก สมาชิกในการ

อยา่ งเหมาะสม คน ปฏบิ ัตงิ าน

กาหนดรปู แบบ กาหนดรูปแบบในการ กาหนดรปู แบบการ กาหนดรปู แบบใน ไม่สามารถ
ในการทางานได้ การปฏบิ ัตงิ านได้ทม่ี ี กาหนดรูปแบบ
ปฏบิ ัติงานได้ ทางานได้ แตล่ าดับ ความสอดคล้องกบั ในการปฏิบัตงิ าน
เหมาะสม กระบวนการน้อย ได้
เหมาะสมตามลาดบั ข้นั ตอนไม่สอดคล้อง มาก

ขั้นตอนสอดคล้องกับ กบั กระบวนการ

กระบวนการ

กาหนดเวลาได้ กาหนดเวลาได้ กาหนดเวลาไม่ กาหนดเวลาไม่ กาหนดเวลาไม่
เหมาะสมกับงาน เหมาะสมกบั งาน เหมาะสมเล็กนอ้ ย เหมาะสมใช้เวลา เหมาะสมใชเ้ วลา
เกินความจาเป็น เกินความจาเป็น

- 228 -

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมนกั เรยี นรายบุคคล เพื่อการประเมินคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
ช่ือนกั เรยี น........................................................... ชน้ั .................ภาคเรยี นที่........ปกี ารศึกษา...............

คาช้แี จง การบนั ทึกให้ผ้ปู ระเมินใส่เครื่องหมาย  ลงในชอ่ งการประเมินท่ีตรงกับพฤตกิ รรมที่เกิดขึน้ จริง

๒. ซ่อื สตั ย์ สุจรติ

ที่ พฤติกรรม ระดบั การปฏบิ ัติ ไม่ทาเลย/
ไมช่ ดั เจน (๐)
๑ ไมท่ ะเลาะเบาะแว้ง เป็นประจา บางครง้ั น้อยคร้งั
๒ พูดความจริง (๓) (๒) (๑)
๓ ไมเ่ อาของคนอน่ื โดยไม่ไดร้ บั อนุญาต
๔ ไมห่ าผลประโยชนใ์ นทางท่ผี ดิ
๕ เป็นคนมเี หตุผล
๖ เป็นผูร้ ักษาสัญญาต่อผอู้ นื่ เสมอ

รวมคะแนน/ระดับคณุ ภาพ

ผปู้ ระเมิน  ครู  พ่อแม/่ ผ้ปู กครอง  ตนเอง  เพอ่ื น

ลงช่ือ ...................................................ผู้ประเมนิ
(.................................................)

เกณฑก์ ารประเมิน

ระดบั คณุ ภาพ เกณฑ์การตดั สนิ
ดีเยีย่ ม ได้คะแนนรวมระหวา่ ง ๑๕-๑๘ คะแนน และ
ไม่มผี ลการประเมนิ ข้อใดข้อหน่ึงตา่ กว่า ๒ คะแนน
ดี
ผ่าน ได้คะแนนรวมระหว่าง ๑๑-๑๔ คะแนน และ
ไมม่ ผี ลการประเมนิ ขอ้ ใดข้อหน่งึ ต่ากว่า ๐ คะแนน
ไมผ่ า่ น ได้คะแนนรวมระหวา่ ง ๖-๑๐ คะแนน และ
ไม่มผี ลการประเมินขอ้ ใดข้อหน่งึ ต่ากวา่ ๐ คะแนน

ไดค้ ะแนนรวมระหวา่ ง ๐-๕ คะแนน

- 229 -

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมนกั เรียน รายบคุ คล เพอื่ การประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
ชื่อนัก เรียน........................................................... ชั้น.............................

คาช้ีแจง ใหผ้ ปู้ ระเมินใสเ่ คร่อื งหมาย  ลงในช่องการประเมนิ ทีต่ รงกับพฤติกรรมทเ่ี กิดขนึ้ จริง

๖ . มงุ่ มน่ั ในการทางาน

ระดับการปฏบิ ตั ิ

ที่ พฤติกรรม เป็นประจา บางครั้ง นอ้ ยคร้งั ไม่ทาเลย/
ไมช่ ดั เจน
(๓) (๒) (๑)
(๐)

๑ มคี วามรบั ผิดชอบในหน้าท่กี ารงาน
๒ ต้งั ใจและเอาใจใสต่ ่อการปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ที ไี่ ด้รบั มอบหมาย
๓ ทางานดว้ ยความเพียรพยายาม
๔ รจู้ ักแกป้ ญั หาในการทางานเม่ือมีอปุ สรรค
๕ อดทนเพอ่ื ใหง้ านสาเร็จตามเปา้ หมาย
๖ ปรับปรุงและพฒั นาการทางานให้ดขี ้ึนด้วยตนเอง

รวมคะแนน/ระดับคุณภาพ

ผู้ประเมิน  ครู  พ่อแม/่ ผปู้ กครอง  ตนเอง  เพ่ือน

ประเมนิ ลงชอ่ื ...................................................ผู้

เกณฑ์การประเมนิ (.................................................)
ระดบั คณุ ภาพ
ดเี ย่ียม เกณฑ์การตัดสิน
ดี ได้คะแนนรวมระหว่าง ๑๕-๑๘ คะแนน และไม่มผี ลการประเมินข้อ
ผ่าน ใดข้อหน่ึงตา่ กว่า ๒ คะแนน
ไม่ผา่ น ได้คะแนนรวมระหวา่ ง ๑๑-๑๔ คะแนน และไมม่ ีผลการประเมนิ ข้อ
ใดขอ้ หน่ึงตา่ กว่า ๐ คะแนน
ไดค้ ะแนนรวมระหว่าง ๖-๑๐ คะแนน และไม่มีผลการประเมินขอ้
ใดขอ้ หน่ึงตา่ กว่า ๐ คะแนน
ไดค้ ะแนนรวมระหว่าง ๐-๕ คะแนน

- 230 -

หน่วยที่ ๓ ชอ่ื หนว่ ย แผนการจดั การเรยี นรู้ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๗ เวลา ๒ ชว่ั โมง
STRONG/จิตพอเพียงดา้ นการทุจรติ
เรอ่ื ง ความเอ้อื อาทร

๑. ผลการเรยี นรู้
1.1 มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกี่ยวกบั STRONG/จติ พอเพียงต่อตา้ นการทจุ รติ

๒. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ นักเรยี นสามารถ
2.1 เข้าใจความหมายของ STRONG/จติ พอเพยี งตอ่ ต้านการทจุ รติ
๒.๒ อธิบายและยกตัวอย่างเก่ียวกับความเอ้อื อาทร STRONG/จิตพอเพยี งต่อต้านการทุจริตได้
2.๓ เลือกท่จี ะปฎบิ ตั ติ นเป็นผมู้ ีจิตพอเพยี งต่อตา้ นการทุจริต
๒.๔ภาคภมู ิใจในความสาเรจ็ ของการปฏบิ ัติงาน

๓. สาระการเรียนรู้
3.1 ความรู้
การมีความเอื้ออาทรต่อกัน ตอ้ งต้ังอยู่บนพน้ื ฐานจิตใจทมี่ ีคุณธรรม ด้วยการแสดงออกถึงการมี

น้าใจตอ่ กัน การมนี า้ ใจ คอื ความจริงใจทีไ่ มเ่ ห็นแก่ตนเองหรอื เรือ่ งของตัวเอง แต่เหน็ อกเหน็ ใจ เห็นคณุ ค่าใน
เพอ่ื นมนษุ ย์ มีความเอื้ออาทร เอาใจใส่ ให้ความสนใจในความต้องการ ความจาเป็น ความทกุ ขส์ ุขของผู้อน่ื
และพร้อมทจี่ ะให้ความชว่ ยเหลือเก้ือกูลกนั และกนั ผูท้ ี่มนี า้ ใจ คือ ผู้ใหแ้ ละผู้อาสาชว่ ยเหลือสังคม รจู้ กั
แบ่งปัน เสยี สละความสุขส่วนตน เพอื่ ทาประโยชน์แก่ผู้อ่นื เขา้ ใจ เห็นใจ ผู้ทีม่ ีความเดือดรอ้ น อาสาช่วยเหลอื
สงั คมดว้ ยแรงกาย สติปญั ญา ลงมือปฏิบตั กิ าร เพื่อบรรเทาปัญหาหรือร่วมสร้างสรรค์สิ่งดงี ามใหเ้ กดิ ข้นึ ใน
ชมุ ชน

สังคมไทยเป็นสงั คมทีม่ ีความเอ้ืออาทรต่อกัน มีน้าใจตอ่ กนั มีการพง่ึ พาอาศัยซึ่งกนั และกัน
ช่วยเหลอื เกื้อกลู กนั มาตง้ั แตส่ มัยอดตี อันเปน็ สง่ิ ดงี ามท่หี าได้ยาก เปน็ คา่ นิยมท่ีเราคนไทยควรรว่ มรักษาไว้

การมคี วามเอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่และความเสียสละ เป็นคณุ ธรรมสาคญั ทค่ี นในสงั คมควรยึดถือและนามา
ปฏิบตั ติ อ่ กนั เพราะจะช่วยใหส้ ังคมไทยอย่รู ่วมกนั อย่างมีความสุข ทกุ คนตา่ งมีนา้ ใจ ช่วยเหลือเกอ้ื กูลซ่งึ กัน
และกัน เกิดเปน็ ความรัก ความสามัคคี สงั คมก็ย่อมเขม้ แข็ง มีความปลอดภัยและน่าอยู่ ทั้งนจ้ี ะเกดิ ขึน้ ได้ย่อม
มาจากการปฏิบัติของทุกคน ผ้ปู ฏบิ ตั ิทปี่ ฏิบัติแล้วย่อมก่อใหเ้ กิดความสขุ ต่อตนเอง มคี วามภาคภูมใิ จในตนเอง

3.2 ทักษะ / กระบวนการ (สมรรถนะที่เกดิ )
1) ความสามารถในการส่ือสาร
2) ความสามารถในการคิด
๓) ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต
๔) ความสามารถในการแกป้ ัญหา
๕) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

3.3 คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ / ค่านยิ ม
๑) รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
๒) ซือ่ สตั ย์สุจริต
๓) มวี ินยั
๔) ใฝ่เรยี นรู้

- 231 -

๕) อยู่อยา่ งพอเพียง
๖) มุง่ มั่นในการทางาน
๗) รักความเปน็ ไทย
๘) มจี ิตสาธารณะ
๔. กจิ กรรมการเรยี นรู้
4.1 ขน้ั ตอนการเรียนรู้ (2 ช่ัวโมง)
๔.๑.๑ สนทนาร่วมกันถงึ ภาพข่าวเหตกุ ารณห์ รือประสบการณ์ในการดาเนินชวี ิตทีพ่ บ เช่น
เรอ่ื งราวชวี ิตของคนท่มี ีความทุกขจ์ ากการถกู ทอดทงิ้ ภาพสัตว์ทีถ่ ูกทารุณกรรม เร่ืองราว
ประสบการณ์ ประมวลภาพชีวิตของคนในสงั คมทม่ี ีความทุกข์ยากลาบากคนชราเรร่ อ่ น เดก็ ถกู
ทอดทิ้ง ขา่ วเหตุการณ์น้าท่วม ซ่งึ ไดร้ บั การปฏิบตั ิจากคนรอบข้างทงั้ ที่มีน้าใจชว่ ยเหลอื และท่เี ปน็ ผมู้ ี
จิตใจโหดร้าย ทารุณกรรมสตั วแ์ ลว้ รว่ มกนั อภิปรายถงึ ลักษณะพฤติกรรมการแสดงออกของบุคคล
ในภาพ สนทนาร่วมกนั ถึงความรสู้ ึกท่ีไดร้ บั
๔.๑.๒ นักเรียนชมคลปิ วดี ิโอ หลากหลายความเอ้ืออาทรความมีนา้ ใจตอ่ กัน เช่น เด็ก
นกั เรยี นชายสองคนช่วยคณุ ยายเขน็ รถเขน็ พาข้ามถนน ชายขบั รถชอปเปอรช์ ่วยแมวใหร้ อดพ้น
จากการถูก
รถทบั รีวิวชีวิตของบุคคลต่างๆ แล้วร่วมกนั อภิปรายวเิ คราะห์พฤตกิ รรมของบคุ คลจากเรือ่ งทีช่ ม
หลังจากการรับชมแลว้ ใหน้ ักเรียนรว่ มคดิ นาเสนอ คติธรรมขอ้ คิดสอนใจท่ีไดร้ บั ถ้าเลอื กปฏบิ ัติได้
นักเรียนจะเลอื กปฏบิ ตั ติ ามพฤตกิ รรมของบุคคลใดในเรอ่ื ง เพราะเหตุใด
๔.๑.๓ ร่วมวเิ คราะหผ์ ลทีเ่ กิดจากการทจุ รติ ของบคุ คลบางกลุ่มท่ีก่อให้เกิดความเดือดรอ้ น
เสยี หายกบั ประเทศชาติโดยมีประเด็นศึกษา“โตไปไมโ่ กง” ใหน้ กั เรยี น รว่ มกนั คิดออกแบบSTRONG/
จติ พอเพียงต่อต้านการทจุ รติ ดว้ ยจิตเอือ้ อาทร สะทอ้ นความคิดในเร่ืองดังกลา่ ว นาเสนอผลงาน ที่
จดั ทาของกลุ่มตนเพ่ือแลกเปล่ยี นเรียนรูต้ ่อกัน
๔.1.4 ใหน้ กั เรยี นออกแบบการจดั กิจกรรมSTRONG/จติ พอเพยี งต่อตา้ นการทุจริตด้วยจติ เอื้อ
อาทรสร้างสังคมไทยให้น่าอยู่ จากประเด็นปัญหา

๑) ทาอย่างไรจงึ จะทาให้ทุกคนอยรู่ ่วมกนั อยา่ งมีความสขุ
๒) ในฐานะทน่ี ักเรยี นเปน็ สมาชิกคนหนึง่ ของชุมชนจงออกแบบกิจกรรมสู่การสร้าง
ความสขุ ให้กบั คนในชมุ ชนและจดั ทาโครงการเพอ่ื ลงส่กู ารปฏบิ ัติจรงิ
จดั ทาผลงานเพื่อนาเสนอต่อเพ่ือนๆในห้องเป็นการแลกเปลย่ี นเรยี นรูส้ กู่ ารเลือกแนวทาง
ปฏิบัตจิ ริง
๔.๑.๕ แต่ละกลุ่มรว่ มกันอภิปรายสรุปจากผลงาน ท่ีแตล่ ะกลุ่มนาเสนอ นาสูข่ ้อสรุปลกั ษณะของ
บคุ คลในสังคมทมี่ ีความซื่อสัตย์สุจรติ แสดงออกซง่ึ ความมีน้าใจเอ้ือเฟื้อเผอ่ื แผต่ ่อกัน มีความเอ้ืออาทร
ตอ่ กัน
๔.๑.๖ นาความรแู้ ละข้อสรุปท่ไี ดร้ บั สู่การปฏิบัตจิ ริงโดยใช้เวลาที่นอกเหนือจากการเรียนปกติ
เพอ่ื เปน็ การฝึกประสบการณ์ตรงในการปฏิบัตงิ าน ทง้ั นี้แตล่ ะกลมุ่ นัดหมายวนั เวลาของการปฏิบตั ิ
ติดตามและประเมินผลการดาเนินงาน สรุปรายงานผล

4.2 ส่อื การเรียนรู้ / แหล่งการเรียนรู้
1) ภาพข่าวเหตุการณ์สะท้อนความมนี า้ ใจและการมีจติ เออ้ื อาทร

- 232 -

2) คลิปวดี โิ อ หลากหลายความเอื้ออาทรความมีนา้ ใจตอ่ กนั
๓) แบบสงั เกตพฤติกรรมการปฏบิ ัติงานของนักเรียน
๔) แบบประเมินคณุ ลักษณะที่พึงประสงค์
๕) แบบประเมินสมรรถนะของนักเรียน
๕. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้
5.1 วิธกี ารประเมนิ
๕.๑.๑ สังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในดา้ นการแสดงความคิดเหน็ การอภปิ รายการให้
เหตุผลพฤติกรรมการปฏบิ ัติงานตามภารกจิ ท่ีได้รับมอบหมาย
๕.๑.๒ ตรวจสอบผลงานการออกแบบกิจกรรมSTRONG/จติ พอเพียงต่อต้านการทุจริตดว้ ย
จิตเออื้ อาทรสร้างสังคมไทยใหน้ า่ อยู่
๕.๑.๓ สังเกตพฤติกรรมทแี่ สดงออกของนกั เรียนในดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
๕.๑.๔ สังเกตพฤติกรรมท่ีแสดงออกของนักเรยี นในดา้ นสมรรถนะ
๕.๒ เคร่อื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการประเมิน
๕.๒.๑ แบบสังเกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ตั ิงานของนกั เรยี น
๕.๒.๒ แบบประเมนิ การจัดทาผลงานโครงการหรอื กิจกรรม
๕.๒.๓ แบบประเมินคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
๕.๒.๔ แบบประเมนิ ดา้ นสมรรถนะของนักเรียน
5.3 เกณฑก์ ารตดั สนิ
- นกั เรยี นตอ้ งผ่านเกณฑ์การประเมนิ ร้อยละ 80 ข้นึ ไป ถือว่าผา่ น
- นักเรยี นผ่านเกณฑ์การประเมิน ระดบั ดีขึน้ ไป ถือว่าผา่ น
๖. บันทึกหลังสอน

............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................................................................ ..

ลงชือ่ ......................................................................ครผู สู้ อน

(............................................................)

- 233 -

๕.๒.๑ แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการปฏิบตั งิ านของนักเรยี น
แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบตั งิ านของนกั เรียน
กลุม่ ท่ี…………..ชัน้ ………………

พฤตกิ รรม

ลาดบั ชอื่ -สกุล ความรว่ มมือ การแสดง การรับฟงั ความตง้ั ใจใน การมสี ว่ น รวม
ท่ี สมาชกิ กลุ่ม ความคิดเห็น ความคิดเหน็ การทางาน ร่วมในการ 20
อภิปราย

43214321432143214321

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน

ดีมาก = 4 ประสิทธภิ าพอยใู่ นเกณฑ์ 90-100% หรือปฏบิ ัติบ่อยครงั้

ดี = 3 ประสทิ ธภิ าพอยู่ในเกณฑ์ 70-89% หรอื ปฏบิ ัติบางคร้งั

ปานกลาง = 2 ประสทิ ธภิ าพอยใู่ นเกณฑ์ 50-69% หรือปฏบิ ัติครั้งเดยี ว

ปรับปรงุ = 1 ประสทิ ธภิ าพตา่ กว่าเกณฑ์ 50% หรือไมป่ ฏบิ ัตเิ ลย

นักเรยี นต้องผ่านเกณฑก์ ารประเมิน ในระดบั ดี ประสิทธภิ าพอยู่ในเกณฑ์ ดี 70-89%

ลงชอ่ื ………………………………ผ้สู ังเกต
(…………………………….)

………./……………/………

- 234 -

๕.๒.๒ แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการนาเสนอผลงาน

แบบการประเมินผลการนาเสนองาน
เรอื่ ง …………………………………….วชิ า……………………………………………….ช้นั ……………….
กลุ่ม ..........................................ชื่อ…………………………………………………..เลขท่ี………………

ที่ รายการประเมนิ ผู้ประเมิน รวม เกณฑ์การประเมิน

ตนเอง เพ่ือน ครู

1 เนอ้ื หา ( 4 คะแนน ) คะแนน 4 : มีครบทกุ ข้อ

21. เน้อื หาครบถ้วนสมบรู ณ์ คะแนน 3 : มี 3 ข้อ ขาด 1 ขอ้

22. เนอื้ หาถกู ตอ้ ง คะแนน 2 : มี 2 ข้อ ขาด 2

23. เนื้อหาตอ่ เนอื่ ง ข้อ

24. มกี ารค้นควา้ เพิ่มเตมิ คะแนน 1 : มี 1 ขอ้ ขาด 3

ขอ้

2 กระบวนการทางาน(2คะแนน ) คะแนน 2: มีครบทุกขอ้

21. มกี ารวางแผนอย่างเป็นระบบ คะแนน 1 : มี ไมค่ รบ 4 ข้อ

22. การปฏบิ ัตติ ามแผน คะแนน 0 : ไมป่ รากฏกระบวน

23. ตดิ ตามประเมนิ ผล การทางานทช่ี ดั เจน

24. การปรับปรุงพฒั นางาน

3 การนาเสนอ ( 2 คะแนน ) คะแนน 2 : มีครบทกุ ขอ้

16. การใชส้ านวนภาษาดี คะแนน 1.5: มี 3 ข้อ ขาด 1 ขอ้

ถกู ต้อง คะแนน 1 : มี 2 ขอ้ ขาด 2

17. การสะกดคาและไวยากรณ์ ข้อ

ถูกต้อง คะแนน 0.5 : มี 1 ขอ้ ขาด 3

18. รูปแบบนา่ สนใจ ข้อ

4. ความสวยงาม

4 คณุ ธรรม ( 2 คะแนน ) คะแนน 2 : มคี รบทกุ ขอ้

17. ตรงต่อเวลา คะแนน 1.5: มี 3 ขอ้ ขาด 1 ข้อ

18. ซื่อสัตย์ คะแนน1 : มี 2 ขอ้ ขาด 2

19. ความกระตือรือร้น ข้อ

20. ความมีนา้ ใจ คะแนน 0.5 :มี 1 ข้อ ขาด 3

ขอ้

รวม คะแนนเตม็ 10 คะแนน

เฉลย่ี

ลงชื่อผ้ปู ระเมนิ …………………………….. ตนเอง ลงชอื่ ผูป้ ระเมนิ …………………………….. เพ่ือน

ลงชื่อผูป้ ระเมนิ …………………………….. ครู

- 235 -

แบบประเมินการนาเสนอผลงาน/อภิปรายหนา้ หอ้ ง
เร่ือง ………………………………………………………………

กลมุ่ ………………………………… หอ้ ง……………………………………

สมาชกิ

1…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

2…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

3…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

คาชแ้ี จง : ให้ทาเคร่ืองหมาย  ในชอ่ งว่างที่กาหนดให้

 ประเมนิ ตนเอง

รายการประเมนิ พฤติกรรมบ่งช้ี รวม

54321

1. มีการวางแผนการทางาน

2. มีความพร้อมในการนาเสนอ

3. ความนา่ สนใจในการนาเสนอ

4. มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์

5. ประโยชน์-ความถูกต้องของงานนาเสนอ

 เพอื่ นประเมิน พฤติกรรมบ่งชี้ รวม
รายการประเมิน
54321
1. มกี ารวางแผนการทางาน
2. มคี วามพร้อมในการนาเสนอ
3. ความนา่ สนใจในการนาเสนอ
4. มคี วามคิดสร้างสรรค์
5. ประโยชน์-ความถูกตอ้ งของงานนาเสนอ

เกณฑ์การประเมนิ 21
543 น้อย ต้องปรบั ปรุง

ดมี าก ดี ปานกลาง

ลงชือ่ …………….………….ผปู้ ระเมิน ลงชอื่ …………….………….ผู้ประเมนิ

- 236 -

๕.๒.๓ แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์แสดงออกถึงการมีความเออื้ อาทร
แบบประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค(์ มีจติ สาธารณะ)

ที่ ชื่อนามสกลุ รายการประเมนิ สรปุ ผลระดับคุณภาพ สรปุ ผล

ช่วยเหลือผ้อู ืน่ ดว้ ยความ ๘.๒ เข้ารว่ มกิจกรรมที่ การประเมนิ

เต็มใจโดยไมห่ วงั เป็นประโยชนต์ อ่ โรงเรยี น

ผลตอบแทน ชมุ ชน และสังคม

๓ ๒ ๑ ๐ ๓ ๒ ๑ ๐ ๓ ๒ ๑ ๐ ผา่ น ไม่

ผา่ น

หลกั เกณฑก์ ารประเมนิ
ระดบั 3 หมายถงึ ดีเยี่ยม
ระดับ 2 หมายถงึ ดี
ระดบั 1 หมายถงึ ผา่ น
ระดบั 0 หมายถงึ ไมผ่ า่ น
นกั เรยี นต้องได้อย่างน้อยในระดับ 1 จึงจะผา่ น

ลงช่ือ..........................................................ผปู้ ระเมนิ
(.....................................................)

- 237 -

หลักเกณฑ์การประเมนิ

ตวั ช้วี ัด ๘.๑ ช่วยเหลือผู้อน่ื ด้วยความเตม็ ใจโดยไม่หวงั ผลตอบแทน

๘.๒ เขา้ ร่วมกิจกรรมท่เี ปน็ ประโยชนต์ อ่ โรงเรียน ชมุ ชน และสังคม

ตัวชว้ี ัด พฤติกรรมบ่งช้ี

๘.๑ ชว่ ยเหลอื ผอู้ น่ื ด้วยความ ๘.๑.๑ ชว่ ยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูทางานดว้ ยความเต็มใจ

เตม็ ใจโดยไมห่ วังผลตอบแทน ๘.๑.๒ อาสาทางานให้ผู้อน่ื ด้วยกาลงั กาย กาลงั ใจ และ

กาลงั สตปิ ัญญา ด้วยความสมคั รใจ

๘.๑.๓ แบง่ ปันสิง่ ของทรัพย์สิน

และอน่ื ๆและชว่ ยแก้ปัญหา หรอื สร้างความสุขให้กับผู้อน่ื

๘.๒ เข้าร่วมกจิ กรรมทเ่ี ป็น ๘.๒.๑ ดแู ลรกั ษา สาธารณะสมบัติ และสง่ิ แวดล้อมด้วยความเตม็ ใจ

ประโยชน์ตอ่ โรงเรยี น ชุมชน ๘.๒.๒ เข้ารว่ มกจิ กรรมท่ีเป็นประโยชนต์ ่อโรงเรียน ชุมชน และ

และสงั คม สงั คม

๘.๒.๓ เขา้ รว่ มกิจกรรมเพือ่ แก้ปัญหาหรือร่วมสร้างสิ่งทีด่ งี ามของ

สว่ นรวมตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้นด้วยความกระตือรอื รน้

เกณฑ์การใหค้ ะแนน ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น

ตัวชวี้ ดั ๘.๑ ช่วยเหลือผอู้ ื่นด้วยความเต็มใจโดยไม่หวงั ผลตอบแทน

พฤติกรรมบ่งชี้ ไมผ่ ่าน (๐) ผา่ น (๑) ดี (๒) ดเี ยี่ยม (๓)

๘.๑.๑ ช่วยพอ่ แม่ ไมช่ ว่ ยเหลือพ่อแม่ ชว่ ยพ่อแม่ ชว่ ยพอ่ แม่ ชว่ ยพ่อแม่

ผปู้ กครองและครู ผ้ปู กครอง และครู ผูป้ กครอง และครู ผปู้ กครอง และครู ผู้ปกครอง และครู

ทางานด้วยความ ทางาน อาสา ทางาน อาสา ทางาน อาสา

เต็มใจ ทางาน และแบง่ ปนั ทางาน ชว่ ยคดิ ทางาน ช่วยคดิ

๘.๑.๒ อาสา สิง่ ของใหผ้ ู้อน่ื ด้วย ชว่ ยทา และ ช่วยทา แบ่งปัน

ทางาน ความเตม็ ใจ แบ่งปนั ส่งิ ของให้ สง่ิ ของและชว่ ย

ใหผ้ ้อู ่ืนด้วยกาลงั ผอู้ น่ื ดว้ ยความเตม็ แก้ปญั หาให้ผู้อื่น

กาย กาลงั ใจ และ ใจ ด้วยความเตม็ ใจ

กาลงั สติปญั ญา

ดว้ ยความสมัครใจ

๘.๑.๓ แบ่งปัน

สง่ิ ของทรพั ยส์ ิน

และอ่นื ๆและช่วย

แก้ปญั หา หรอื สร้าง

ความสุขใหก้ ับผู้อื่น

- 238 -

ตัวชวี้ ดั ๘.๒ เขา้ ร่วมกิจกรรมทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ ่อโรงเรยี น ชุมชน และสงั คม

พฤติกรรมบ่งช้ี ไมผ่ า่ น (๐) ผา่ น (๑) ดี (๒) ดเี ย่ียม (๓)

๘.๒.๑ ดแู ลรกั ษา ไม่สนใจดแู ลรักษา ดแู ลรักษาทรัพย์ ดูแลรักษาทรัพย์ ดแู ลรักษาทรัพย์
สมบัติ สิ่งแวดลอ้ ม
สาธารณะสมบัติ ทรพั ยส์ นิ และ สมบตั ิ ส่งิ แวดล้อม สมบัติ สิง่ แวดล้อม ของห้องเรียน
โรงเรียน ชมุ ชน
และสงิ่ แวดลอ้ ม สงิ่ แวดลอ้ มของ ของห้องเรียน ของห้องเรียน และเขา้ รว่ ม
กิจกรรมเพอื่ สังคม
ด้วยความเตม็ ใจ โรงเรียน โรงเรยี น และเขา้ โรงเรยี น ชมุ ชน และสาธารณะ
ประโยชน์ของ
๘.๒.๒ เข้ารว่ ม รว่ มกิจกรรมเพอ่ื และเข้าร่วม โรงเรียนด้วยความ
เตม็ ใจ
กจิ กรรมทเ่ี ป็น สงั คมและ กจิ กรรมเพอ่ื สังคม

ประโยชนต์ ่อ สาธารณะประโยชน์ และสาธารณะ

โรงเรยี น ชมุ ชน ของโรงเรียนดว้ ย ประโยชน์ของ

และสงั คม ความเต็มใจ โรงเรยี นดว้ ยความ

๘.๒.๓ เขา้ ร่วม เตม็ ใจ

กิจกรรมเพ่อื

แกป้ ัญหาหรือรว่ ม

สรา้ งสิ่งท่ดี งี ามของ

สว่ นรวมตาม

สถานการณ์

ทีเ่ กดิ ขึ้นดว้ ยความ

กระตือรือร้น

เกณฑ์พจิ ารณาสรปุ ผลการประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงคข์ อ้ ท่ี ๘ มจี ิตสาธารณะ

ระดับ เกณฑ์การพิจารณา

ดเี ย่ียม (๓) ๑. ได้ผลการประเมนิ ระดับดีเย่ยี ม ทุกตัวช้วี ัด หรือ
๒. ไดผ้ ลการประเมินระดบั ดีเยย่ี ม และดี ระดบั ละ ๑ ตัวช้วี ัด

๑. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดับดี ทุกตัวช้วี ดั หรือ

ดี (๒) ๒. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดับดีเยี่ยม และระดบั ผ่าน

ระดบั ละ ๑ ตัวชี้วดั

๑. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดับผ่าน ทุกตวั ช้ีวัด หรือ

ผา่ น (๑) ๒. ได้ผลการประเมินระดับดี และระดบั ผ่าน

ระดับละ ๑ ตวั ชีว้ ดั

ไม่ผ่าน (๐) มีผลการประเมินตัวชว้ี ดั ขอ้ ใดข้อหน่งึ ไดร้ ะดับ ไม่ผา่ น

- ๒๓๙ -

หนว่ ยท่ี ๔

พลเมอื งและความรับผิดชอบต่อสงั คม

- ๒๔๐ -

แผนการจดั การเรียนรู้

หนว่ ยท่ี ๔ ชอื่ หนว่ ย พลเมอื งและความรับผิดชอบต่อสังคม ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่๓

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 เร่อื ง การเคารพสิทธหิ น้าทีต่ ่อตนเองและผู้อ่ืน เวลา ๒ ชว่ั โมง

๑. ผลการเรยี นรู้
๑.๑ มคี วามรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับพลเมืองและมีความรับผิดชอบต่อสงั คม
๑.๒ ปฏิบตั ติ นตามหนา้ ท่ีพลเมืองและมีความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม
๑.๓ ตระหนกั และเหน็ ความสาคญั ของการต่อต้านและป้องกนั การทจุ รติ

๒. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
2.๑ นักเรยี นมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และประพฤติปฏบิ ตั ิตน เก่ยี วกับสิทธหิ น้าที่และเสรภี าพตาม

รัฐธรรมนูญปัจจบุ ันของพลเมืองดี
๒.๒ นกั เรียนบอกความหมายของคาวา่ สทิ ธิ หน้าที่ เสรภี าพ ของพลเมืองตามรฐั ธรรมนญู ได้
2.3 บอกบทบาทหน้าทีข่ องเยาวชนในการเป็นพลเมืองดีได้
2.4 อธบิ ายความเปน็ ความเป็นพลเมืองตามวิถีประชาธปิ ไตยได้
2.5 ปฏิบตั ิตนเป็นพลเมืองดีตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ
2.6 มีความรับผิดชอบในการปฏิบตั ิหน้าท่ีท่ไี ดร้ ับมอบหมายด้วยความซอื่ สตั ย์สุจริต และเสรจ็

ตามเวลาที่กาหนด
๓. สาระการเรียนรู้
3.1 ความรู้
1) สิทธิ
2) หนา้ ท่ี
3) พลเมอื งดีตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ
4) บทบาทและหน้าท่ขี องเยาวชนในการเปน็ พลเมืองดี

3.2 ทกั ษะ / กระบวนการ (สมรรถนะทเ่ี กิด)
1) ความสามารถในการคดิ
1) ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ การคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ
2) ทักษะกระบวนการคดิ เชิงสรา้ งสรรค์
2) ความสามารถในการสือ่ สาร
(อา่ น ฟัง พูด เขียน)
๓) ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ
(การสังเกต การระบุ จาแนก วิเคราะห์ จดั กลุ่ม สรุป)

3.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ / คา่ นิยม
1) รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
2) ซอื่ สตั ย์สุจรติ
3) มวี นิ ัย

- ๒๔๑ -

๔.กจิ กรรมการเรียนรู้
ช่วั โมงที่ 1
๑. ชมคลิปวิดโี อ เกีย่ วกับ การรจู้ กั หน้าท่ี เพอ่ื ใหร้ ู้จกั หน้าท่ีและความรบั ผิดชอบของตนเองและ
รับผดิ ชอบตอ่ หนว่ ยงาน โดยส่อื ให้เหน็ ถึงการไมต่ ้งั ใจทางาน โดยเลน่ อินเตอร์เนต็ /โทรศัพท์ ใน
เวลาทางาน ท่ีมาของวิดโี อ https://www.youtube.com/watch?v=GATjrfppBBA จากกรม
สง่ เสรมิ วัฒนธรรม และ วดี ที ัศน์ เกีย่ วกบั การเคารพสทิ ธิผ้อู ืน่ เพื่อให้รูจ้ กั เคารพสิทธขิ องผอู้ ื่น ไม่
กระทาการทเี่ ป็นการละเมดิ ต่อผูอ้ ื่น มีเน้อื หา คือ วางกระถางตน้ ไม้ไว้บนกาแพงทกี่ ั้นระหวา่ งบา้ น
และรดน้าต้นไม้ ทาให้ดินไหลออกไปเลอะบ้านทีม่ ีกาแพงติดกัน จงึ ตอ้ งเปลย่ี นทีว่ างตน้ ไม้ใหม่
ทม่ี าของวดี ีทัศน์ https://www.youtube.com/watch?v=bztZQ_hkkNs จากกรมสง่ เสรมิ
วัฒนธรรม
๒. สนทนาอภิปราย เก่ยี วกบั วดิ ีโอที่ไดร้ ับชม
๓. ครูอธิบายเกยี่ วกับสทิ ธิ หน้าที่ พลเมืองดตี ามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็
ประมุข
ช่ัวโมงท่ี 2
๔) แบ่งกลุ่มออกเปน็ ๔ กลมุ่ แต่ละกล่มุ จับฉลากเพ่ือเลือกเนือ้ หาและให้แตล่ ะกลุ่มทากิจกรรมตาม
หวั ข้อทไ่ี ด้รับมอบหมายโดยศึกษาจากใบความรู้และปฏบิ ัติ กิจกรรมที่ 1 – ๔ ดงั นี้
- ใบความรู้ที่ 1 เรื่องสิทธิ
- ใบความรู้ท่ี 2 เรอ่ื งหน้าท่ี
- ใบความรู้ท่ี 3 เรอื่ งความเป็นพลเมอื งดีตามวิถีประชาธปิ ไตย
- ใบความรู้ท่ี 4 เรื่องบทบาทและหนา้ ที่ของเยาวชนในการเป็นพลเมืองดี
๕) ครูใหน้ ักเรียนแตล่ ะกลุม่ ส่งตัวแทนนาเสนอผลงานหน้าช้ันเรียน
๖) แจกใบงาน ท่ี ๑ – ๔ เรื่อง สทิ ธิ หนา้ ท่ี ความเปน็ พลเมืองดตี ามวถิ ปี ระชาธิปไตยและบทบาท

และหน้าทขี่ องเยาวชนในการเป็นพลเมืองดี ใฟ้นักเรยี นแตล่ ะคนทาใบงานที่ครูแจกให้
๗) ร่วมกันสรุปภาพรวมของกิจกรรมในสาระของสทิ ธิ หนา้ ที่ ความเป็นพลเมอื งดีตามวิถี

ประชาธปิ ไตยและบทบาทและหนา้ ทข่ี องเยาวชนในการเป็นพลเมอื งดี

4.2 สอื่ การเรียนรู้ / แหล่งการเรียนรู้
1) คลิปวดิ ีโอ เกี่ยวกับ การรจู้ กั หน้าท่ี เพ่อื ให้รู้จักหน้าท่ีและความรับผิดชอบของตนเองและ

รบั ผิดชอบต่อหนว่ ยงาน โดยสือ่ ใหเ้ ห็นถึงการไมต่ ั้งใจทางาน โดยเลน่ อนิ เตอร์เน็ต/โทรศัพท์ ในเวลาทางาน
ที่มาของวดี ีทัศน์ https://www.youtube.com/watch?v=GATjrfppBBA จากกรมสง่ เสริมวัฒนธรรม

๒) คลปิ วิดีโอ เกี่ยวกบั การเคารพสทิ ธผิ ู้อน่ื เพือ่ ให้รู้จักเคารพสทิ ธขิ องผอู้ ่นื ไม่กระทาการท่ีเปน็
การละเมิดตอ่ ผู้อ่ืน มีเนอื้ หา คือ วางกระถางตน้ ไม้ไว้บนกาแพงที่ก้ันระหว่างบ้าน และรดน้าตน้ ไม้ ทาให้ดิน
ไหลออกไปเลอะบา้ นที่มีกาแพงติดกนั จึงตอ้ งเปลย่ี นทีว่ างต้นไม้ใหม่ ทม่ี าของวีดีทัศน์
https://www.youtube.com/watch?v=bztZQ_hkkNs จากกรมสง่ เสริมวฒั นธรรม

๓) ใบความรทู้ ี่ 1 เรื่อง สิทธิ
๔) ใบความรู้ท่ี ๒ เรื่อง หนา้ ที่
๕) ใบความรทู้ ี่ ๓ เร่ือง ความเปน็ พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย

- ๒๔๒ -

๖) ใบความรู้ที่ ๔ เร่ือง บทบาทและหน้าที่ของเยาวชนในการเป็นพลเมืองดี
๗) ใบงานที่ 1 เรือ่ ง สทิ ธิ
๘) ใบงานท่ี ๒ เรอ่ื ง หนา้ ท่ี
๙) ใบงานที่ ๓ เรือ่ ง ความเป็นพลเมอื งดตี ามวิถีประชาธปิ ไตย
๑๐) ใบงานท่ี ๔ เรอ่ื ง บทบาทและหน้าที่ของเยาวชนในการเปน็ พลเมอื งดี

๕. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้
5.1 วิธกี ารประเมนิ
๑) แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานของผเู้ รยี นเปน็ รายบุคคล
2) แบบประเมินใบงาน
๕.๒ เครื่องมือท่ใี ชใ้ นการประเมนิ
1) แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานของผ้เู รยี นเป็นรายบุคคล
๒) แบบประเมินใบงาน
5.3 เกณฑก์ ารตดั สนิ
- นกั เรยี นผ่านเกณฑ์การประเมนิ ระดับดีขึ้นไป

๖. บันทึกหลงั สอน
......................................................................................................................................... ..................................
................................................................................................. ..........................................................................
............................................................................................................................. ..............................................
........................................................................................................................................ ...................................
................................................................................................ ...........................................................................
............................................................................................................................. ..............................................

ลงช่ือ ................................................ ครูผู้สอน
(.................................................)

- ๒๔๓ -

ใบความรทู้ ่ี ๑
เรือ่ ง สทิ ธิ

๑. ความหมายของสิทธิ
สิทธิ หมายถงึ สิง่ ทไี่ ม่มรี ปู ร่างซงึ่ มีอยู่ในตวั มนุษย์มาต้งั แต่เกิดหรือเกิดขึ้นโดยกฎหมาย เพท่อใหม้ นุษย์

ไดร้ ับประโยชน์ และมนุษยจ์ ะเปน็ ผ้เู ลอื กใชส้ ิ่งนัน้ เอง โดยไม่มผี ู้ใดบังคับไดเ้ ช่นสิทธิในการกินการนอน แต่
สิทธบิ างอย่างมนุษย์ไดร้ บั โดยกฎหมายกาหนดให้มี เช่น สทิ ธิในการมี การใชท้ รัพยส์ ิน สทิ ธิในการร้องทกุ ข์
เมอื่ ตนถูกกระทาละเมิดกฎหมายเป็นตน้
๒. สทิ ธพิ ลเมืองดตี ามรัฐธรรมนูญปจั จบุ ัน

รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ได้กาหนดสทิ ธขิ องประชาชนชาวไทยไว้ดังนี้
๒.๑ สิทธิในครอบครวั และความเป็นอยสู่ ่วนตวั ชาวไทยทุกคนยอ่ มได้รบั ความคุม้ ครองเกียรตยิ ศ
ชอ่ื เสียง และความเปน็ อยู่สว่ นตวั
๒.๒ สทิ ธิอนรุ กั ษ์ฟื้นฟจู ารีตประเพณี บคุ คลในทอ้ งถิน่ และชมุ ชนตอ้ งชว่ ยกันอนุรกั ษ์ฟ้นื ฟจู ารีตประเพณี
วัฒนธรรมอนั ดงี าม ภมู ิปัญญาท้องถ่ินเพ่ือรักษาไว้ให้คงอยู่ตลอดไป
๒.3 สทิ ธใิ นทรพั ยส์ ิน บุคคลจะไดร้ บั การคุ้มครองสทิ ธใิ นการครอบครองทรัพย์สินของตนและการสืบ
ทอดมรดก
๒.๔ สิทธิในการรับการศกึ ษาอมรม บุคคลย่อมมคี วามเสมอภาคในการเข้ารับการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน 12
ปี อย่างมีคุณภาพและท่วั ถึง โดยไมเ่ สยี คา่ ใช้จา่ ย
๒.5 สิทธิในการรับบรกิ ารทางดา้ นสาธารณสขุ อยา่ งเสมอภาคและไดม้ าตรฐาน สาหรบั ผยู้ ากไรจ้ ะได้รับ
สทิ ธิ
๒.6 สิทธิทีจ่ ะไดร้ บั การคุ้มครองโดยรัฐ เดก็ เยาวชน สตรี และบคุ คลในสงั คมที่ได้รับการปฏิบัติอยา่ ง
รนุ แรงและไม่เปน็ ธรรมจะไดร้ ับการคุม้ ครองโดยรัฐ
2.7 สทิ ธทิ ี่จะได้รบั การชว่ ยเหลือจากรฐั เชน่ บคุ คลทีม่ ีอายุเกนิ หกสบิ ปี และรายได้ไมเ่ พียงพอตอ่ การยัง
ชีพ รฐั จะจะใหค้ วามชว่ ยเหลอื เปน็ ต้น
2.8 สิทธทิ จ่ี ะไดส้ ิ่งอานวยความสะดวกอันเปน็ สาธารณะ โดยรัฐจะให้ความชว่ ยเหลือและอานวยความ
สะดวกอนั เป็นสาธารณะแก่บุคคลในสังคม
2.9 สิทธิของบคุ คลท่จี ะมีสว่ นร่วมกับรฐั และชุมชน ในการบารุงรกั ษาและการไดป้ ระโยชนจ์ าก
ทรพั ยากรธรรมชาติ
2.10 สทิ ธิที่จะไดร้ บั ทราบข้อมูลข่าวสารจากหน่วยงานของรัฐ รัฐวสิ าหกิจหรือราชการสว่ นทอ้ งถ่นิ
อย่างเปดิ เผย เว้นแต่การเปดิ เผยขอ้ มูลนนั้ จะมีผลต่อความม่ันคงของรฐั หรือความปลอดภัยของประชาชน
ส่วนรวม หรอื เปน็ สว่ นได้สว่ นเสยี ของบุคคลซึ่งมีสทิ ธิได้รบั ความคมุ้ ครอง
2.11 สทิ ธิเสนอเรื่องราวรอ้ งทกุ ข์โดยได้รบั แจง้ ผลการพจิ ารณาภายในเวลาอนั ควรตามบทบญั ญัติของ
กฎหมาย
2.1๒ สิทธิท่บี คุ คลสามารถฟ้องร้องหน่วยงานราชการ รัฐวสิ าหกจิ ราชการส่วนท้องถิ่น หรือองค์กรของ
รฐั ที่เป็นนติ บิ คุ คลใหร้ บั ผิดชอบการกระทาหรือการละเว้นการกระทาตามกฎหมายของเจ้าหนา้ ทีร่ ัฐภายใน
หน่วยงานนนั้

- ๒๔๔ -

3. แนวทางการปฏิบตั ติ นตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนญู
3.1 เคารพสิทธขิ องกันและกัน โดยไม่ละเมิดสิทธิเสรีภาพของผอู้ ่ืน เชน่ สิทธิ เสรภี าพในชีวติ และ

รา่ งกาย สิทธิในครอบครัว เกียรตยิ ศ ช่อื เสียง และความเป็นสว่ นตวั เป็นตน้
3.2 รูจ้ กั ใชส้ ทิ ธิของตนเองและแนะนาให้ผู้อน่ื รู้จักใชแ้ ละรักษาสิทธิของตนเอง เชน่ การรักษาสทิ ธใิ น

การเลอื กตงั้ เพ่ือป้องกนั ไม่ให้มีการซ้ือสทิ ธิขายเสียง
3.3 รณรงค์ เผยแพรค่ วามรู้เก่ียวกับสทิ ธมิ นุษยชน และปลูกฝังแนวความคิดเร่ืองสทิ ธิมนุษยชนใหแ้ ก่

ชุมชนหรอื สังคมตามสถานภาพและบทบาททต่ี นพึงกระทาได้ เชน่ ใหค้ วามรูก้ บั สมาชิกครอบครัว จากนนั้ จงึ
คอ่ ย ๆขยายไปยงั สถาบันอ่นื ๆ ในสงั คม เชน่ สถานศึกษา เป็นตน้

3.4 รว่ มมือกับหนว่ ยงานของภาครฐั และเอกชนเพ่ือการคุม้ ครองสิทธิมนุษยชน เชน่ การใหข้ อ้ มูล
ข่าวสารเกี่ยวกบั การละเมิดสิทธมิ นษุ ยชนแก่เจ้าหนา้ ทขี่ องรฐั หรือเป็นอาสาสมคั รช่วยเหลอื งานขององค์กรท่ี
ปฏบิ ัติงานในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน เปน็ ตน้

3.5 การปฏิบัติตามหน้าที่ของชาวไทยตามท่ีได้บญั ญัตไิ ว้ในรฐั ธรรมนูญ เช่น การเสยี ภาษีให้รัฐเพือ่ นา
เงินน้ันมาใชพ้ ฒั นาประเทศ การเข้ารบั ราชการทหาร เพอื่ เปน็ กาลงั สาคัญในการป้องกนั ประเทศ หรือการ
ออกไปใชส้ ทิ ธิเลือกต้ัง เพอ่ื ให้ได้คนดีเขา้ ไปบริหารบ้านเมืองให้มีความเจรญิ ก้าวหน้า เป็นต้น

3.6 ส่งเสริม และสนบั สนนุ การดาเนนิ งานขององค์กรอิสระตามรฐั ธรรมนญู สามารถทาไดโ้ ดยการให้
ความชว่ ยเหลอื ดา้ นข้อมลู ขา่ วสารการทุจริตของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐแก่คณะกรรมการป้องกัน
และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ หรือให้ความร่วมมือในการดาเนนิ งานของคณะกรรมการการเลือกตั้ง ไม่
วา่ จะเป็นการให้ขอ้ มลู ข่าวสารเก่ยี วกบั การทุจรติ การเลือกตง้ั ประจาเขต เป็นตน้

- ๒๔๕ -

ใบความรทู้ ี่ ๒
เรอื่ ง หนา้ ที่
1. ความหมายของหน้าที่
หนา้ ท่ี หมายถงึ การกระทาหรือการละเวน้ การกระทาเพ่ือประโยชนโ์ ดยตรงของการมีสิทธิ หนา้ ท่ีเป็น
สง่ิ ทบ่ี ังคับให้มนษุ ย์ในสงั คมต้องปฏบิ ตั ิตามกฎเกณฑ์ทางสังคมหรือตามที่กฎหมายบญั ญัติไว้ จะไมป่ ฏิบัตติ าม
ไมไ่ ด้ ส่วนสทิ ธแิ ละเสรภี าพเป็นส่ิงท่มี นุษย์มีอยูแ่ ต่จะใช้หรือไมใ่ ช้ก็ได้
2. หนา้ ท่ีพลเมืองดีตามรฐั ธรรมนูญ
รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยได้กาหนดหน้าทข่ี องประชาชนชาวไทยไวด้ ังนี้
2.1 บคุ คลมีหน้าที่รักษาไว้ซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ
2.2 บคุ คลมีหนา้ ท่ีปฏิบัตติ ามกฎหมาย
2.3 บคุ คลมีหนา้ ทีไ่ ปใช้สทิ ธิเลอื กต้งั บคุ คลซึ่งไม่ไปเลอื กตั้งโดยไม่แจง้ เหตุผลอันสมควรยอ่ มเสยี สทิ ธิ
ตามที่กฎหมายบญั ญัติไว้
2.4 บคุ คลมีหนา้ ที่ปอ้ งกันประเทศ รบั ราชการทหาร
2.5 บคุ คลมหี นา้ ที่เสยี ภาษใี ห้รัฐ
2.6. บุคคลมหี น้าที่ชว่ ยเหลือราชการ รบั การศึกษาอบรม ปกป้องและสืบสานวัฒนธรรม ของชาติ ภูมิ
ปัญญาท้องถน่ิ รวมถงึ การอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
2.7. บุคคลผเู้ ป็นข้าราชการ พนกั งาน หรือลกู จ้างหนว่ ยงานราชการ รฐั วสิ าหกิจ ราชการ ส่วนทอ้ งถน่ิ
มีหน้าที่ดาเนนิ การใหเ้ ป็นไปตามกฎหมายเพอื่ รักษาประโยชนส์ ่วนรวมอานวยความสะดวก
3. แนวทางการปฏบิ ตั ิตนตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ
3.1 เคารพสิทธิของกันและกัน โดยไม่ละเมดิ สิทธิเสรีภาพของผู้อืน่ เช่น สิทธิ เสรภี าพ
ในชีวิตและรา่ งกาย สทิ ธิในครอบครวั เกยี รติยศ ชื่อเสียง และความเป็นสว่ นตวั เป็นต้น
3.2 รจู้ กั ใชส้ ิทธขิ องตนเองและแนะนาใหผ้ ู้อืน่ รูจ้ ักใช้และรักษาสทิ ธขิ องตนเอง เช่น การรกั ษาสทิ ธิใน
การเลือกต้งั เพื่อแสดงเจตจานงทางการเมืองและป้องกันไมใ่ ห้มีการซื้อสิทธิขายเสยี ง
3.3 รณรงค์ เผยแพร่ความร้เู กยี่ วกับสิทธิมนษุ ยชน และปลูกฝงั แนวความคิดเรอ่ื งสิทธิ มนษุ ยชนใหแ้ ก่
ชุมชนหรือสังคมตามสถานภาพและบทบาทท่ีตนพึงกระทาได้ เชน่ ให้ความรู้กบั สมาชกิ ครอบครวั จากนั้นจึง
คอ่ ย ๆ ขยายไปยงั สถาบนั อืน่ ๆ ในสังคม เช่น สถานศึกษา เป็นตน้
3.4 ร่วมมอื กับหนว่ ยงานของภาครฐั และเอกชนเพื่อการคุม้ ครองสทิ ธมิ นุษยชน เช่น การให้ขอ้ มูล
ข่าวสารเก่ยี วกับการละเมดิ สิทธิมนษุ ยชนแกเ่ จ้าหน้าทข่ี องรฐั หรือเป็นอาสาสมัคร ช่วยเหลืองานขององค์กรท่ี
ปฏิบตั งิ านในการค้มุ ครองสทิ ธิมนษุ ยชน เปน็ ตน้
3.5 การปฏิบัตติ ามหนา้ ท่ขี องชาวไทยตามท่ีไดบ้ ัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ เช่น การเสยี ภาษีให้รฐั เพื่อนา
เงนิ น้นั มาใช้พฒั นาประเทศ การเขา้ รบั ราชการทหารเพื่อเป็นกาลังสาคญั ในการป้องกนั ประเทศ หรือการ
ออกไปใชส้ ิทธิเลอื กตัง้ เพ่ือให้ได้คนดเี ขา้ ไปบริหารบา้ นเมอื งให้มีความเจรญิ ก้าวหน้า เป็นต้น
3.6 สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การดาเนินงานขององค์กรอสิ ระตามรฐั ธรรมนูญ สามารถ ทาไดโ้ ดยการให้
ความช่วยเหลอื ด้านข้อมลู ขา่ วสารการทจุ ริตของข้าราชการและเจ้าหน้าท่ีของรัฐ แก่คณะกรรมการป้องกนั
และปราบปรามการทจุ ริตแหง่ ชาติ หรอื ใหค้ วามร่วมมือในการดาเนนิ งานของ คณะกรรมการการเลือกต้ัง ไม่
ว่าจะเป็นการให้ข้อมูลขา่ วสารเกี่ยวกับการทุจรติ การเลือกตงั้ ประจาเขต เป็นตน้

- ๒๔๖ -

ใบความรูท้ ่ี 3
เรอ่ื ง ความเป็นพลเมืองดตี ามวถิ ีประชาธิปไตย

1. ความหมายและแนวคิดของความเปน็ พลเมืองดี
1.1 ความหมายของความเป็นพลเมอื งดี “พลเมืองดี” หมายถึง พลเมืองท่ีมคี ุณลกั ษณะท่สี าคัญ คือเป็น

ผู้ยดึ มั่นในหลกั ศลี ธรรมและคุณธรรมของศาสนา มีหลกั การทางประชาธปิ ไตยในการดารงชวี ิตปฏบิ ตั ติ นตาม
กฎหมายดารงตนเป็นประโยชน์ต่อสังคม โดยมีการช่วยเหลือเกื้อกลู กัน อนั จะก่อใหเ้ กิดการพฒั นาสงั คมและ
ประเทศชาติใหเ้ ป็นสังคมและประเทศแหง่ ประชาธิปไตยอย่างแทจ้ รงิ หลกั การทางประชาธิปไตยเพ่ือเหน็ แก่
ประโยชน์ของสว่ นรวมเปน็ สาคญั หลักการทางประชาธปิ ไตยจงึ เปน็ หลกั การสาคัญท่นี ามาใชใ้ นการดาเนนิ
ชวี ิตในสงั คมเพื่อก่อให้เกิดความสงบสขุ ในสงั คมได้
2. ความเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย

ความเปน็ พลเมืองดีตามวถิ ปี ระชาธิปไตยจาเป็นต้องมีความรพู้ ืน้ ฐานเกีย่ วกับการปกครองระบอบ
ประชาธปิ ไตย ดงั นี้

2.1 หลกั การทางประชาธิปไตยที่สาคญั ได้แก่
2.1.1 หลกั อานาจอธิปไตยเปน็ ของประชาชน หมายถึง ประชาชนเปน็ เจา้ ของ อานาจสงู สุดใน

การปกครองรัฐ
2.1.2 หลกั ความเสมอภาค หมายถงึ ความเท่าเทยี มกนั ในสงั คมประชาธิปไตย ถอื ว่าทกุ คนที่

เกิดมาจะมีความเท่าเทยี มกันในฐานะการเปน็ ประชากรของรฐั ได้แก่ มีสทิ ธเิ สรีภาพ มีหน้าท่ีเสมอภาคกัน
ไม่มีการแบ่งชนชนั้ หรอื การเลือกปฏิบัติ ควรดารงชวี ติ อยรู่ ่วมกนั อย่างสันติ ไมข่ ่มเหงรงั แกคนท่ีออ่ นแอหรือ
ยากจนกวา่

2.1.3 หลกั นติ ธิ รรม หมายถึง การใช้หลักกฎหมายเป็นกฎเกณฑ์การอยู่ร่วมกนั เพื่อความสงบ
สุขของสังคม

2.1.4 หลักเหตผุ ล หมายถึง การใช้เหตผุ ลท่ีถกู ต้องในการตดั สินหรอื ยตุ ปิ ญั หาในสงั คม
2.1.5 หลักการถอื เสียงขา้ งมาก หมายถงึ การลงมตโิ ดยยอมรับเสียงสว่ นใหญใ่ นสังคม
ประชาธิปไตย ครอบครัวประชาธิปไตย จึงใชห้ ลักการถือเสยี งข้างมากเพ่ือลงมตใิ นประเดน็ ต่างๆ ได้อย่าง
สนั ตวิ ิธี
2.1.6 หลกั ประนปี ระนอม หมายถงึ การลดความขดั แย้งโดยการผ่อนหนกั ผ่อนเบาให้กนั
รว่ มมือกันเพื่อเห็นแกป่ ระโยชนข์ องส่วนรวมเปน็ สาคญั หลักการทางประชาธปิ ไตยจงึ เป็นหลกั การสาคญั ท่ี
นามาใชใ้ นการดาเนนิ ชวี ิตในสงั คม เพ่ือก่อให้เกิดความสงบสขุ ในสังคมได้
2.2 พลเมืองดีตามวถิ ชี ีวิตประชาธิปไตยควรมแี นวทางการปฏบิ ตั ติ นดังนี้ คอื
2.2.1 ดา้ นสงั คม ได้แก่

1) การแสดงความคดิ อยา่ งมีเหตผุ ล
2) การรบั ฟงั ข้อคิดเห็นของผอู้ ่ืน
3) การยอมรบั เมื่อผูอ้ ืน่ มเี หตผุ ลทด่ี กี วา่
4) การตดั สินใจโดยใช้เหตุผลมากกว่าอารมณ์
5) การเคารพระเบยี บของสังคม
6) การมจี ิตสาธารณะ คือ เห็นแก่ประโยชน์ของสว่ นรวมและรักษาสาธารณสมบัติ

- ๒๔๗ -

2.2.2 ด้านเศรษฐกิจ ไดแ้ ก่
1) การประหยดั และอดออมในครอบครวั
2) การซื่อสตั ย์สจุ ริตต่ออาชีพที่ทา
3) การพฒั นางานอาชพี ให้ก้าวหน้า
4) การใชเ้ วลาว่างให้เป็นประโยชน์ตอ่ ตนเองและสงั คม
5) การสร้างงานและสร้างสรรค์สิง่ ประดษิ ฐ์ใหม่ๆเพื่อให้เกิดประโยชนต์ ่อสงั คมไทยและ

สังคมโลก
6) การเป็นผู้ผลิตและผบู้ รโิ ภคทีด่ ี มคี วามซ่ือสัตย์ ยดึ มั่นในอดุ มการณ์ทด่ี ีต่อชาติ เป็น

สาคัญ
2.2.3. ดา้ นการเมืองการปกครอง ได้แก่

1) การเคารพกฎหมาย
2) การรบั ฟงั ข้อคดิ เหน็ ของทกุ คนโดยอดทนต่อความขดั แย้งทเี่ กดิ ข้ึน
3) การยอมรับในเหตผุ ลที่ดกี ว่า
4) การซื่อสัตย์ต่อหน้าทโี่ ดยไมเ่ หน็ แกป่ ระโยชน์ส่วนตน
5) การกล้าเสนอความคิดเหน็ ตอ่ สว่ นรวม กล้าเสนอตนเองในการทา
หน้าที่ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรอื สมาชิกวฒุ ิสภา
6) การทางานอย่างเตม็ ความสามารถ เตม็ เวลา
2.3 จรยิ ธรรมของการเปน็ พลเมอื งดี
คณุ ธรรมของการเป็นพลเมืองดี หมายถงึ ความดที ค่ี วรประพฤติ กิรยิ าที่ควรประพฤติ คุณธรรม
จริยธรรมทสี่ ง่ เสริมความเปน็ พลเมืองดี ไดแ้ ก่
2.3.1 ความจงรกั ภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ หมายถงึ การตระหนกั ในความสาคญั ของ
ความเปน็ ชาติไทย การยึดม่นั ในหลกั ศีลธรรมของศาสนา และการจงรกั ภักดีต่อพระมหากษตั รยิ ์
2.3.2 ความมีระเบียบวินยั หมายถึง การยึดม่นั ในการอย่รู ่วมกนั โดยยดึ ระเบยี บวนิ ัย เพื่อความ
เป็นระเบียบเรียบร้อยในสงั คม
2.3.3 ความกลา้ ทางจริยธรรม หมายถึง ความกลา้ หาญในทางทถ่ี ูกที่ควร
2.3.4 ความรบั ผดิ ชอบ หมายถึง การยอมเสยี ผลประโยชนส์ ว่ นตนเพ่อื ผอู้ ่นื หรือสังคมโดยรวม
ไดร้ บั ประโยชนจ์ ากการกระทาของตน
2.3.5 การเสยี สละ หมายถึง การยอมเสยี ผลประโยชนส์ ว่ นตนเพอ่ื ผู้อื่น หรอื สังคมโดยรวมไดร้ ับ
ประโยชนจ์ าก
การกระทาของตน
2.3.6 การตรงต่อเวลา หมายถงึ การทางานตรงตามเวลาท่ีไดร้ บั มอบหมาย

2.4 การสง่ เสริมให้ผูอ้ ื่นปฏิบัติตนเปน็ พลเมืองดี
การทีบ่ ุคคลปฏิบัติตนเปน็ พลเมืองดีในวิถปี ระชาธปิ ไตยแล้ว ควรสนับสนนุ ส่งเสรมิ ให้บุคคลอ่ืน

ปฏบิ ตั ติ นเปน็ พลเมืองดีในวถิ ีประชาธิปไตยดว้ ย โดยมแี นวทางการปฏิบตั ดิ งั น้ี
2.4.1 การปฏบิ ัตติ นใหเ้ ปน็ พลเมืองดใี นวถิ ีประชาธิปไตย โดยยดึ มั่นในคุณธรรมจรยิ ธรรมของ

ศาสนา และหลักการของประชาธิปไตยมาใชใ้ นวิถีการดารงชวี ิตประจาวนั เพื่อเป็นแบบอยา่ งทด่ี แี กค่ นรอบ
ขา้ ง

- ๒๔๘ -

2.4.2 เผยแพร่ อบรม หรอื สั่งสอนบคุ คลในครอบครัว เพ่ือนบ้าน คนในสังคม ให้ใช้หลกั การทาง
ประชาธิปไตยเปน็ พ้ืนฐานในการดารงชีวิตประจาวนั

2.4.3 สนับสนุนชมุ ชนในเร่ืองท่เี ก่ียวกับการปฏบิ ัตติ นให้ถูกต้องตามกฎหมาย โดยการบอกเล่า
เขียนบทความเผยแพร่ผา่ นสอื่ มวลชน

2.4.4 สาธารณประโยชน์ของชุมชน
2.4.5 เปน็ หูเปน็ ตาให้กบั รัฐหรือหน่วยงานของานรฐั ในการสนบั สนุนคนดี และกาจัดคนท่ีเปน็ ภัย
กับสังคมการสนบั สนุนให้ผูอ้ ่ืนปฏบิ ัตติ นเปน็ พลเมืองดีในวถิ ีประชาธปิ ไตย ควรเป็นจติ สานกึ ทีบ่ ุคคลพงึ ปฏบิ ตั ิ
เพื่อให้เกิดประชาธปิ ไตยอย่างแทจ้ ริง

- ๒๔๙ -

ใบความรทู้ ี่ 4
เรอื่ ง บทบาทและหน้าทขี องเยาวชนในการเป็นพลเมืองดี
1. ความหมายของเยาวชน
ความหมายของเยาวชน ตามพจนานุกรมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ เยาวชน หมายถงึ
บุคคลท่ีมีอายุไม่ต่ากวา่ ๑๔ ปบี ริบูรณ์ แตย่ งั ไมถ่ งึ ๑๘ ปีบริบรู ณ์ และไมใ่ ชผ่ ู้บรรลนุ ิตภิ าวะแล้วจากการจด
ทะเบยี นสมรส นอกจากนี้คาว่าเยาวชนตามความหมายขององค์การสหประชาชาติ ได้ให้ความหมายไว้คือ คน
ในวัยหนมุ่ สาว คือ ผ้มู ีอายรุ ะหวา่ ง ๑๕ - ๒๕ ปี หรอื เป็นชว่ งวยั หนมุ่ สาว เปน็ ช่วงหัวเลย้ี วหัวตอกระหว่างการ
เป็นเดก็ และผู้ใหญ่
2. บทบาทและหนา้ ที่ของเยาวชนท่ีมีต่อสังคมและประเทศชาติ
สมาชิกทุกคนใน สงั คมย่อมต้องมบี ทบาทหน้าท่ตี ามสถานภาพของตน ซง่ึ บทบาทและหนา้ ที่ของ
สมาชิกแตล่ ะคนจะมีความแตกต่างกันไป แต่ในหลักใหญ่และรายละเอยี ดจะเหมือนกนั ถา้ สมาชิกทุกคนใน
สงั คมไดป้ ฏบิ ัตติ ามบทบาทหนา้ ทข่ี องตนอย่างถูกตอ้ งกจ็ ะได้ ชือ่ ว่าเป็น "พลเมอื งทด่ี ขี องสังคมและ
ประเทศชาติ" และยังส่งผลให้ประเทศชาติพฒั นาอย่างยงั่ ยืน ดังน้นั สมาชกิ ในสงั คมทุกคน โดยเฉพาะ
เยาวชนทถ่ี ือวา่ เป็นอนาคตของชาติ จงึ จาเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องเรียนร้แู ละปฏิบัติตามบทบาทหนา้ ทข่ี องตน
เพอ่ื ช่วยนาพาประเทศชาติให้พัฒนาสบื ไป
3. ลกั ษณะของเยาวชนทด่ี ี
เยาวชนท่ีดคี วรจะเป็นผูท้ ่ีมีคุณธรรม จรยิ ธรรม กลา่ วคือ จะต้องมธี รรมะในการดาเนินชวี ติ ไดแ้ ก่
3.1 การเสยี สละต่อสว่ นรวม เป็นคุณธรรมที่ชว่ ยในการพัฒนาประเทศชาตใิ ห้มีความเจริญก้าวหน้า
เพราะถ้าสมาชิกในสงั คมเห็นแก่ประโยชนส์ ว่ นรวม และยอมเสยี สละผลประโยชนส์ ่วนตน จะทาใหส้ ังคม
พฒั นาไปอย่างรวดเร็วและมัน่ คง
3.2 การมรี ะเบียบวนิ ยั และความรบั ผดิ ชอบตอ่ หน้าที่ เป็นคณุ ธรรมท่ีช่วยให้คนในสังคมอยูร่ ่วมกนั
ได้อย่างสงบสขุ เพราะถ้าสมาชกิ ในสงั คมยดึ มั่นในระเบียบวนิ ยั รแู้ ละเขา้ ใจสิทธขิ องตนเอง ไมล่ ะเมดิ สิทธิ
ผู้อืน่ และตัง้ ใจปฏบิ ัตหิ น้าท่ีของตนใหด้ ีที่สดุ สังคมนน้ั กจ็ ะมแี ตค่ วามสขุ เชน่ ข้าราชการทาหนา้ ที่บรกิ าร
ประชาชนอย่างดีทสี่ ุด ก็ย่อมทาให้เป็นท่ีประทับใจรักใคร่ของประชาชนผ้มู ารบั บริการ
3.3 ความซอื่ สตั ย์สุจรติ เป็นคุณธรรมท่ีมีความสาคญั เพราะหากสมาชิกในสังคมยดึ ม่ันในความ
ซอ่ื สัตย์สจุ ริต เช่น ไมล่ กั ทรัพย์ ไมเ่ บียดเบียนทรัพยส์ นิ ของผูอ้ น่ื หรือของประเทศชาติมาเป็นของตน รวมทงั้
ผนู้ าประเทศมคี วามซ่ือสตั ย์สุจรติ กจ็ ะทาให้สงั คมมแี ตค่ วามเจริญ ประชาชนมีแต่ความสขุ
3.4 ความสามัคคี ความรักใคร่กลมเกลยี วปรองดองและร่วมมือกนั ทางานเพื่อประโยชน์ส่วนรวมจะ
ทาให้ สงั คมเป็นสังคมที่เข้มแขง็ แตห่ ากคนในสังคมเกดิ ความแตกแยกทั้งทางความคดิ และการปฏิบตั ติ นใน
การอยู่ร่วม กัน จะทาใหส้ งั คมอ่อนแอและลม่ สลายในท่สี ุด
3.5 ความละอายและเกรงกลวั ในการทาชัว่ ถา้ สมาชิกในสังคมมีหิรโิ อตัปปะ มคี วามเกรงกลัวและ
ละอายในการทาชว่ั สังคมกจ็ ะอยู่กันอยา่ งสงบสขุ เช่น นกั ารเมอื งจะต้องมีความซอ่ื สตั ย์สจุ ริตไม่โกงกนิ ไม่
เห็นแกป่ ระโยชนพ์ วกพ้อง โดยตอ้ งเหน็ แกป่ ระโยชนข์ องประชาชนเป็นสาคญั
4. ความสาคญั ของการเปน็ เยาวชนทีด่ ี
4.1 ความสาคญั ต่อตนเอง เยาวชนทดี่ ีตอ้ งเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรมในการดาเนินชวี ติ คดิ ดี ทาดี
เพอ่ื ตนเองและเพอ่ื ส่วนรวม ปฏิบตั ิตนตามหนา้ ท่ีที่ได้รับมอบหมาย จะทาใหม้ ีสุขภาพกาย สขุ ภาพจติ ที่ดี
สร้างสัมพันธภาพท่ดี ีระหวา่ งกันและกัน เปน็ ท่รี กั ของคนรอบขา้ ง

- ๒๕๐ -

4.2 ความสาคญั ต่อส่วนรวม เมื่อเยาวชนได้รับการปลกุ ฝังให้เป็นเยาวชนทด่ี ีแลว้ กจ็ ะเป็นพลเมือง
ที่ดีในอนาคต และถา้ ประเทศชาตมิ ีพลเมืองที่ดี มคี วามรบั ผิดชอบปฏิบัติตามกฏระเบียบกตกิ าของสงั คม และ
นาหลักประชาธิปไตยมาใช้เป็นแนวทางในการกาหนดบทบาทและหนา้ ท่ีของตน กย็ อ่ มทาให้การอยรู่ ว่ มกันร
ในสงั คมเปน็ ไปอย่างสงบสุข

4.3 ความสาคัญต่อประเทศชาติ เมือ่ สังคมมเี ยาวชนทีด่ ี และมีสว่ นร่วมในกิจกรรมทางสังคม ย่อม
เปน็ พนื้ ฐานทาใหเ้ กดิ พลเมืองดใี นอนาคต และเม่ือสังคมมีพลเมอื งทด่ี ี ย่อมนามาซ่งึ การพัฒนาประเทศชาติให้
เจริญก้าวหนา้ ต่อไปอย่างรวดเร็ว
5. การปฏิบัตติ นเปน็ เยาวชนทด่ี ตี ามสถานภาพและบทบาท

5.1 เยาวชนกับการเป็นสมาชิกทดี่ ีของครอบครวั เยาวชนในสถานภาพของการเปน็ บุตรควรมี
บทบาทหนา้ ท่ี ดังนี้

5.1.1 เคารพเชอ่ื ฟังบดิ ามารดา
5.1.2 ช่วยเหลือบดิ ามารดาในทุกโอกาสทที่ าได้
5.1.3 ใชจ้ า่ ยอย่างประหยดั ไมฟ่ ุ่มเฟือย สรุ ยุ่ สุรา่ ย
5.1.4 มีความรักใคร่ปรองดองในหมู่พีน่ ้อง
5.1.5 ต้ังใจศกึ ษาเลา่ เรียน
5.1.6 ประพฤตติ นให้สมกับเป็นผดู้ ารงวงศต์ ระกูล
5.2 เยาวชนกับการเปน็ สมาชกิ ที่ดีของโรงเรยี น เยาวชนในฐานะนกั เรียนควรมบี ทบาทหน้าที่ ดงั น้ี
5.2.1 รับผดิ ชอบในหน้าทข่ี องนักเรียน คือ ตั้งใจเลา่ เรียน ประพฤติตนเป็นคนดี
5.2.2 เช่ือฟงั คาสง่ั สอนอบรมของครูอาจารย์
5.2.3 กตัญญูร้คู ุณของครูอาจารย์
5.2.4 รกั ใคร่ปองดองกนั ในหมู่เพื่อนนักเรียน
5.2.5 ส่งเสริมเพื่อนในทางที่ถูกที่ควร
5.3 เยาวชนกบั การเปน็ สมาชิกท่ดี ขี องชุมชน ชุมชนคือสงั คมขนาดเลก็ เชน่ หมูบ่ า้ นหรอื กลุ่มคน
โดยเยาวชนเป็นสว่ นหน่งึ ของชุมชนท่ตี นอาศัยอยู่ จึงต้องมีบทบาทหนา้ ที่ต่อชมุ ชนดังน้ี
5.3.1 รกั ษาสุขลักษณะของชมุ ชน เช่น การทิง้ ขยะใหเ้ ปน็ ที่ ชว่ ยกาจดั ส่ิงปฏิกลู ตา่ ง ๆ เปน็ ต้น
5.3.2 อนุรกั ษส์ ่งิ แวดล้อมในชมุ ชน เชน่ ไมข่ ดี เขียนทาลายโบราณวตั ถุในชมุ ชน ชว่ นกนั ดูแลสา
ธารณสมบัติ
5.3.3 มีส่วนร่วมในการทากจิ กรรมของชมุ ชน
5.4 เยาวชนกับการเป็นสมาชิกที่ดขี องประเทศชาติ
5.4.1 เขา้ รับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 12 ปี
5.4.2 ปฏิบตั ติ นตามกฏหมาย
5.4.3 ใชส้ ทิ ธิในการเลือกตัง้
5.4.4 ใชท้ รัพยากรอยา่ งคุ้มค่า
5.4.5 สบื ทอดประเพณีวฒั นธรรมอันดีงามของไทย
5.4.6 ชว่ ยเหลือกิจกรรมต่าง ๆท่ที างราชการจัดข้นึ
5.4.7 ประกอบอาชีพสุจรติ ด้วยความขยนั หมนั่ เพียร
5.4.8 ประหยัดและอดออม

- ๒๕๑ -

ใบงานท่ี ๑
เรือ่ งสิทธิ
จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม เพื่อ
1. วเิ คราะห์ความสาคัญเรือ่ งสทิ ธขิ องบุคคลได้
2. ประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจาวันได้
คาชแ้ี จง: ใหน้ กั เรียนวเิ คราะห์ข้อความตอ่ ไปนี้ มคี วามสอดคล้องกบั สทิ ธิดา้ นใด

1. ตารวจแสดงหมายค้นต่อนายประโยชนก์ อ่ นคน้ ตวั
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………......

2. ปจั จุบนั ชายและหญิงสามารถดารงตาแหนง่ ผู้วา่ ราชการจงั หวดั ได้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………......

๓. อารยาภมู ิใจมากทสี่ ามารถซ้ือบา้ น และรถยนต์เปน็ ของตนเอง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………......

๔. ในคดีอาญา ตอ้ งสนั นษิ ฐานไว้กอ่ นว่าผู้ตอ้ งหาไม่มีความผิด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………......

๕. สมศักดิ์อายุ 65 ปี ได้รับเงนิ ชว่ ยเหลอื จากรฐั เดือนละ 600 บาท
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………......

6. เด็กชายจอ๊ ดชอบเท่ียวกลางคืน แข่งรถซ่ิงและหนเี รียนเป็นประจา พ่อแมจ่ ึงจบั ลา่ มโซไ่ วท้ บ่ี ้าน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………......

- ๒๕๒ -

ใบงานที่ 2
เรอ่ื งหน้าท่ี
จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม เพื่อ
1. บอกสทิ ธิ หน้าท่ี เสรีภาพไดอ้ ย่างถูกต้อง
คาชี้แจง: ให้นักเรยี นวิเคราะหว์ ่าภาพใดสอดคล้องกับสิทธิ หนา้ ทหี่ รอื เสรภี าพสอดคล้องกับสิทธิ หนา้ ที่
เสรภี าพ ด้านใดบา้ ง

ภาพอาชีพ ภาพรูปนมี้ ที ุกบา้ น
คา้ ขาย หมอ
ทานา ตารวจ

ภาพนกั เรียนกาลังเรยี นหนงั สือ ภาพคนเดินทางโดยรถไฟ รถยนต์ มอเตอรไ์ ซด์

ภาพของประชาชนลงคะแนนเสียงเลอื กตงั้ ภาพคัดเลอื กทหาร
ภาพคนกาลงั คุยโทรศัพท์ ภาพเดก็ ถูกคุมขังในห้องขงั
ภาพคนปว่ ยไปหาหมอ

- ๒๕๓ -

ใบงานท่ี 3
เร่อื งความเปน็ พลเมอื งดตี ามวถิ ปี ระชาธิปไตย
จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม เพ่ือ
1. ยกตัวอยา่ งบทบาทของพลเมืองดีของชุมชนนักเรยี นได้
คาชแ้ี จง: ใหน้ ักเรยี นยกตัวอย่างพลเมืองดที ่ีสร้างประโยชนใ์ หแ้ กช่ มุ ชนของนักเรยี นมา 1 ท่านพร้อมทั้ง
วเิ คราะห์ประเด็นที่กาหนด

ช่อื
............................................................................................................................. ..............................................
อาชีพ
...........................................................................................................................................................................

ผลงานที่เปน็ ประโยชน์ต่อชุมชน ความประทับใจทมี่ ีต่อบุคคลตัวอยา่ ง

..................................................................................... .....................................................................................
..................................................................................... .....................................................................................
..................................................................................... .....................................................................................
..................................................................................... .....................................................................................
..................................................................................... .....................................................................................
..................................................................................... .....................................................................................
..................................................................................... .....................................................................................

การนาแบบอย่างความดขี องบคุ คลตวั อยา่ งมาใชใ้ นการดาเนนิ ชีวติ

..........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .............................................
............................................................................................................................. .............................................
.........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .............................................
............................................................................................................................. .............................................


Click to View FlipBook Version