The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ต้านทุจริต-ม.3 (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by beerlovely2517, 2019-09-07 02:22:24

ต้านทุจริต-ม.3 (1)

ต้านทุจริต-ม.3 (1)

- ๒๕๔ -

ใบงานที่ 4
เร่อื งบทบาทและหน้าที่ของเยาวชนในการเปน็ พลเมอื งดี
จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม เพ่ือ
1. บทบาทและหนา้ ทขี่ องเยาวชนในการเป็นพลเมอื งดี
คาช้แี จง: ให้นักเรียนอ่านใบความร้เู รอ่ื งบทบาทหน้าที่ของเยาวชนในการเปน็ พลเมืองดแี ละตอบคาถาม
ตอ่ ไปนี้
คาถาม
1. เยาวชนท่ดี ีควรมลี กั ษณะอยา่ งไร
...........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..............................................
............................................................................................................................. ..............................................
...........................................................................................................................................................................
2. เยาวชนควรมีบทบาทและหนา้ ท่ีที่ดีอยา่ งไร
....................................................................................................... ....................................................................
............................................................................................................................. ..............................................
.............................................................................................................................................. .............................
...................................................................................................... .....................................................................
3. จงยกตัวอย่างท่กี ารปฏบิ ัตติ นของผ้เู รยี นในฐานะทีเ่ ปน็ พลเมืองดีมา 5 ข้อ
..................................................................................................................... ......................................................
............................................................................................................................. ..............................................
............................................................................................................................................................ ...............
4. ถ้าเยาวชนในชาติไมป่ ฏบิ ัติตามบทบาทหน้าที่ของตนจะเกดิ ขอ้ เสียอย่างไร
...........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..............................................
............................................................................................................................. ..............................................
...........................................................................................................................................................................
5. เยาวชนท่ีดมี คี วามสาคัญต่อประเทศชาติอยา่ งไร
......................................................................................... ..................................................................................
............................................................................................................................. ..............................................
................................................................................................................................ ...........................................
........................................................................................ ...................................................................................

- ๒๕๕ -

แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานของผ้เู รียนเป็นรายบคุ คล

พฤติกรรม การแสดง การตอบ การยอมรบั ทางาน หมายเหตุ
ท่ี ความสนใจ ความ คาถาม ฟังคนอ่นื ตามท่ไี ดร้ บั
มอบหมาย
ชื่อ-สกุล คิดเหน็

43214321432143214321

เกณฑ์การวัดผล ใหค้ ะแนนระดับคณุ ภาพของแตล่ ะพฤติกรรมดงั นี้

ดมี าก = 4 สนใจฟัง ไม่หลับ ไม่พูดคุยในชั้น มีคาถามที่ดี ตอบคาถามถูกต้อง ทางานส่งครบ
ตรงเวลา

ดี = 3 การแสดงออกอยู่ในเกณฑ์ประมาณ 70%
ปานกลาง = 2 การแสดงออกอยใู่ นเกณฑ์ประมาณ 50%
ปรบั ปรงุ = 1 เข้าช้ันเรียน แต่การแสดงออกน้อยมาก ส่งงานไมค่ รบ ไมต่ รงเวลา

ลงช่ือ……………………………….ผู้สงั เกต
(……………………………….)
…………/…………/………..

- ๒๕๖ -

แผนการจัดการเรียนรู้

หนว่ ยท่ี ๔ ชอ่ื หนว่ ย พลเมอื งและความรับผดิ ชอบต่อสังคม ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๓

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ เร่ือง ระเบียบ กฎ กติกา กฎหมาย กบั การเปน็ พลเมืองดีท่ีมสี ่วนรว่ มใน

การป้องกันและปราบปรามการทจุ ริต เวลา ๓ ชว่ั โมง

๑. ผลการเรยี นรู้
๑.๑ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เก่ียวกบั พลเมืองและมีความรบั ผิดชอบต่อสงั คม
๑.๒ ปฏบิ ตั ิตนตามหนา้ ท่พี ลเมืองและมีความรับผิดชอบต่อสงั คม
๑.๓ ตระหนกั และเห็นความสาคญั ของการตอ่ ต้านและป้องกนั การทจุ ริต

๒. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
2.1 นักเรียนมคี วามรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกบั ระเบยี บ กฎ กตกิ า กฎหมาย และประพฤติปฏบิ ตั ติ น

เป็นพลเมืองดีท่ีมสี ่วนร่วมในการป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ
๒.๒ นักเรียนบอกความหมายของระเบยี บ กฎ กติกา กฎหมายได้
2.3 นกั เรียนอธบิ ายแนวทางการมีสว่ นร่วมในการป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ คอรัปชันได้
2.4 นักเรียนวเิ คราะห์แนวทางการป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริต กรณีศกึ ษาเกยี่ วกับความผิด

ทาง วนิ ัยและอาญา ทางคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยมและผลท่ีเกดิ ข้นึ กบั สังคมได้
2.5 นกั เรยี นประยุกตก์ ารมสี ่วนร่วมในการป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ และปรชั ญาเศรษฐกจิ

พอเพยี งมาใช้ในการดาเนินชีวิต
2.6 นักเรยี นมีความรบั ผิดชอบในการปฏิบตั หิ น้าท่ีท่ีไดร้ บั มอบหมายดว้ ยความซือ่ สตั ย์สุจรติ และ

เสรจ็ ตามเวลาทก่ี าหนด
๓. สาระการเรียนรู้
3.1 ความรู้
1) ความหมายของคาว่า ระเบยี บ กฎ กตกิ า กฎหมาย
2) ความหมายของคาวา่ พลเมืองดี
3) การมีส่วนร่วมในการป้องกันและปราบปรามการทุจรติ คอรปั ชนั
4) แนวทางประยุกตก์ ารมสี ว่ นรว่ มในการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจริตและปรชั ญา
เศรษฐกจิ พอเพยี งมาใชใ้ นการดาเนนิ ชีวิต
3.2 ทกั ษะ / กระบวนการ (สมรรถนะทเ่ี กิด)
3.1 ความสามารถในการคิด
1) ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ การคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ
2) ทกั ษะกระบวนการคดิ เชิงสรา้ งสรรค์
3.2 ความสามารถในการสื่อสาร
(อ่าน ฟงั พูด เขียน)
3.๓ ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต
(การสงั เกต การระบุ จาแนก วิเคราะห์ จดั กล่มุ สรปุ )

- ๒๕๗ -

3.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ / ค่านิยม
1) ซ่ือสตั ยส์ ุจรติ
2) มีวนิ ยั

พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั รูจ้ ักอดออมไว้ใชเ้ มื่อยามจาเป็น มไี วพ้ อกินพอใช้ถา้ เหลือก็แจกจ่าย
จาหน่าย และพร้อมทจี่ ะขยายกจิ การเมื่อมีความพร้อม เมื่อมีภูมคิ ุ้มกันท่ีดี

11) มคี วามเข้มแข่งทั้งร่างกายและจิตใจไมย่ อมแพต้ อ่ อานาจฝา่ ยต่า หรอื กิเลส มีความ
ละอายเกรงกลัวต่อบาปตามหลักของศาสนา

๔.กจิ กรรมการเรียนรู้ (จานวน ๓ ชั่วโมง)
4.1 ข้นั ตอนการเรยี นรู้
ช่วั โมงท่ี 1
1) ชมคลปิ วดิ ีโอ เกยี่ วกับความอดทน อดกลนั้ เพ่อื ใหร้ ้จู ักความรบั ผิดชอบตอ่ ตนเอง สงั คม เคารพ
กฎ กตกิ า เนอ้ื หาเปน็ การขบั รถแซงผอู้ ื่นไปมา และไมเ่ คารพกฎจาจร โดยมีทีจ่ าก
https://www.youtube.com/watch?v=dWmZDGYtE_k จากกรมสง่ เสริมวัฒนธรรม
2) สนทนาอภปิ ราย เก่ยี วกบั คลิปวิดีโอทรี่ ับชม ในประเด็น ดงั น้ี
 เหตุการณท์ ี่เกดิ ขึ้นเก่ยี วกบั คลิปวดิ ีโอ
 นักเรยี นพบประเดน็ ใดบ้างจากคลปิ วิดโี อ
 ปญั หา สาเหตุท่ไี ดช้ มจากเรอ่ื ง
 วธิ ีการ แนวทางการแก้ปญั หา
ฯลฯ
ช่ัวโมงที่ 2
3) แบ่งกลมุ่ นักเรยี นออกเป็น ๔ กลมุ่ แจกใบความรู้ที่ ๑ – ๔ เร่ือง มารจู้ กั ระเบียบ กฎ กตกิ า
กฎหมาย กนั เถอะ
ใหแ้ ต่ละกลุ่มศกึ ษา โดยวิธกี ารจบั ฉลาก จากน้ันใหต้ ัวแทนกลมุ่ ออกมานาเสนอผลงาน
4) รว่ มกนั สรปุ องค์ความรูท้ ่ีไดจ้ ากการศึกษาใบความรู้
5) แบ่งกลุ่มนักเรยี นออกเปน็ ๓ กลุ่ม ใหแ้ ตล่ ะกลุม่ จับฉลาก หวั ขอ้ ระเบียบ กฎ กติกา โดยให้แต่
ละกลมุ่ ร่วมคิด ระเบยี บ กฎ กตกิ า ของกลุ่มตนเอง จากการจับฉลากได้ตามหัวข้อ ลงใน
กระดาษ A ๔
6) สนทนา อภิปราย โดยจัดทาเป็นแผนผงั ความคิด ร่วมกัน จากนนั้ ครูเช่ือมโยงความคิดจากผงั
ความคิดจาก ระเบียบ กฎ กติกา ท่ไี ดส้ ู่กฎหมาย โดยให้นักเรยี นรว่ มแสดงความคิดเห็น โดยมี
ครคู อยใหค้ วามรเู้ พิ่มเติม
7) นกั เรยี นทาใบงาน เรื่อง การปฏิบัตติ นตามระเบียบ กฎ กติกา และกฎหมายในชีวติ ประจาวัน
ชว่ั โมงที่ 3
8) แบ่งกลุ่ม กลุ่มละออกเปน็ ๖ กล่มุ
9) แจกใบความรทู้ ่ี ๕ – ๑๐ ให้แตล่ ะกลมุ่ (โดยการจับฉลาก) ศึกษาและสรุปประเดน็ สาคัญลง
กระดาษ A ๔ จากนั้นแต่ละกลุ่มสง่ ตวั แทนนาเสนอหน้าชน้ั เรียน
 ใบความรทู้ ่ี ๕ เรื่อง การใชอ้ านาจของเจ้าหน้าท่รี ัฐ
 ใบความรทู้ ่ี ๖ เรื่อง รูปแบบความสัมพนั ธ์ของการเมืองแบบมีส่วนร่วม

- ๒๕๘ -

 ใบความรทู้ ่ี ๗ เรือ่ ง ปัญหาการทุจริต
 ใบความรทู้ ี่ ๘ เรอ่ื ง แนวโน้มของปญั หาการทุจรติ
 ใบความรทู้ ี่ ๙ เรอ่ื ง การตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ
 ใบความรทู้ ่ี ๑๐ เร่ือง จิตสานึกของพลเมือง
10)สนทนา อภิปราย ร่วมกนั ประเดน็ การใชอ้ านาจของเจา้ หน้าทร่ี ัฐ การตรวจสอบการใช้อานาจ
รฐั รปู แบบความสมั พันธข์ องการเมอื งแบบมีส่วนร่วม ปัญหาการทจุ ริต แนวโนม้ ของปัญหาการ
ทจุ ริตและจิตสานึกของพลเมือง
11)แบง่ กลุ่มนักเรยี น กลมุ่ ละ ๓ – ๔ และใหส้ มาชิกกลุ่มแต่ละคนศกึ ษากรณศี กึ ษาคดที ุจรติ
ใบกิจกรรมท่ี ๑ และใบกิจกรรมท่ี ๒ พรอ้ มทึกบันทึกข้อมลู ตามแบบบันทึกความเห็นของ
สมาชิกแต่ละคน และแบบสรุปผลงานกลมุ่ ตามประเดน็ คาถาม
12)สนทนา อภิปรายสรปุ ร่วมกัน ในประเด็นการมีสว่ นรว่ มในการปอ้ งกนั และปราบปรามการ
ทจุ ริตและแนวทางการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริต

4.2 ส่ือการเรยี นรู้ / แหลง่ การเรียนรู้
๑) คลปิ วิดีโอ เกยี่ วกบั ความอดทน อดกลน้ั เพอ่ื ให้รู้จักความรับผิดชอบตอ่ ตนเอง สงั คม
เคารพกฎ

กติกา เน้อื หาเปน็ การขับรถแซงผู้อ่ืนไปมา และไมเ่ คารพกฎจาจร โดยมที ่จี าก
https://www.youtube.com/watch?v=dWmZDGYtE_k จากกรมสง่ เสริมวฒั นธรรม

๒) ใบความรู้ที่ ๑ เรอื่ ง มาร้จู กั ระเบียบ กันเถอะ
๓) ใบความรู้ท่ี ๒ เรื่อง มารจู้ ัก กฎ กนั เถอะ
๔) ใบความรู้ที่ ๓ เรอ่ื ง มารู้จกั กตกิ า กนั เถอะ
๕) ใบความรู้ที่ ๔ เร่ือง มารู้จกั กฎหมาย กันเถอะ
๖) ใบความรู้ที่ ๕ เรื่อง การใช้อานาจของเจา้ หนา้ ทร่ี ัฐ
๗) ใบความรทู้ ่ี ๖ เรอ่ื ง รูปแบบความสมั พันธข์ องการเมืองแบบมีสว่ นร่วม
๘) ใบความรทู้ ี่ ๗ เรอ่ื ง ปัญหาการทุจรติ
๙) ใบความรู้ที่ ๘ เรอ่ื ง แนวโนม้ ของปัญหาการทุจรติ
๑๐)ใบความรู้ท่ี ๙ เร่ือง การตรวจสอบการใช้อานาจรฐั
๑๑)ใบความรู้ท่ี ๑๐ เรือ่ ง จิตสานึกของพลเมือง
๑๒)กระดาษชารต์
๑๓)ใบกจิ กรรมที่ ๑ เรื่อง การเรียกรบั เงนิ จากพนักงานองคก์ ารบริหารส่วนตาบลชนแดน เพื่อ

ชว่ ยเหลอื ในการประเมนิ เล่อื นระดบั ให้สงู ขน้ึ การบรรจแุ ต่งตง้ั เขา้ รบั ราชการใหม่,การขอ
โอนย้ายและเรยี กรับเงนิ ส่วนแบ่งจากเงิน ประโยชน์ตอบแทนอืน่ เปน็ กรณีพิเศษ (เงนิ
โบนัส)
๑๔)ใบกิจกรรมที่ ๒ เรื่อง การทุจริตการจดั ซ้ือวสั ดุป้องกนั โรคไขเ้ ลือดออก (มุ้ง )
๑๕)ใบงาน เรอ่ื ง การปฏิบัตติ นตามระเบยี บ กฎ กติกา และกฎหมายในชวี ติ ประจาวนั

- ๒๕๙ -

๕. การประเมินผลการเรียนรู้
5.1 วธิ ีการประเมิน
๑) สังเกตกระบวนการทางานกล่มุ
๒) การนาเสนอผลงาน
๓) ใบกิจกรรม
4) การทาใบงาน
๕.๒ เคร่อื งมือทใ่ี ชใ้ นการประเมิน
๑) แบบสังเกตกระบวนการทางานกลุ่ม
๒) แบบบันทึกผลการนาเสนอผลงาน
๓) แบบประเมินการทาใบกิจกรรม
4) แบบประเมนิ การทาใบงาน
5.3 เกณฑ์การตดั สนิ
- นกั เรียนผา่ นเกณฑ์การประเมินในระดับดีขน้ึ ไป

6. บนั ทึกหลังสอน
............................................................................................................................. ..............................................
.............................................................................................................................. .............................................
...................................................................................... .....................................................................................
............................................................................................................................. ..............................................
............................................................................................................................. ..............................................
...........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..............................................
............................................................................................................................. ..............................................
.................................................................................... .......................................................................................

ลงช่ือ ................................................ ครผู ู้สอน
(.................................................)

- ๒๖๐ -

ใบความรูท้ ่ี ๑
เรอื่ ง มารู้จัก ระเบยี บ กนั เถอะ
ระเบยี บ หมายถึง แบบแผนท่ีวางไวเ้ ป็นแนวปฏิบัตหิ รอื ดาเนินการ เชน่ ระเบยี บวนิ ัย ระเบียบข้อบงั คับ ต้อง
ปฏิบัตติ ามระเบียบ

" ระเบยี บวินัย" คือ คณุ สมบตั ทิ สี่ าคญั ในการดาเนนิ ชีวิต ความสามารถของบคุ คลในการควบคุมอารมณ์ และ
พฤติกรรมของตนเอง ให้เป็นไปตามที่มุ่งหวัง โดยเกิดจากการสานึก ซึ่งต้องไม่กระทาการใดๆ อันเป็นผลทา
ให้เกิดความยุ่งยากแก่ตนเองในอนาคต หากแต่ต้องเป็นส่ิงท่ีก่อให้เกิด ความเจริญรุ่งเรืองแก่ตนเองและผู้อ่ืน
โดยไม่ขัดต่อระเบียบของสังคมและไม่ขัดต่อสิทธิของผู้อื่น ความมีวินัยในตนเอง สามารถควบคุมตนเองให้
ปฏิบตั ติ นตามระเบียบขอ้ ตกลงของสงั คมส่วนรวมดว้ ยความสมัครใจของผู้ปฏิบัติเอง เพ่ือความสงบสุขในชีวิต
และความเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ยของสงั คม

การอยรู่ ว่ มกนั เป็นหมู่เหลา่ ถ้าขาดระเบียบวนิ ัย ตา่ งคนต่างทาตามอาเภอใจ ความขัดแย้งและลกั ล่นั
ก็จะเกิดขึ้น ย่ิงมากคนก็ย่งิ มากเรอื่ ง ไม่มีความสงบสุข การงานทท่ี ากจ็ ะเสียผล

- ๒๖๑ -

ใบความรู้ท่ี ๒
เรือ่ ง มารูจ้ ัก กฎ กันเถอะ

“กฎ” ตามความหมายโดยท่ัวไปหมายถงึ จดไว้เปน็ หลกั ฐาน ตรา คาบงั คบั หรือข้อกาหนดหรือข้อบัญญตั ิท่ี
บงั คับใหต้ ้องมีการปฏิบัตติ าม1 สว่ น “กฎ” ตามความหมายของกฎหมายปกครองหมายความถึง พระราช
กฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ข้อบญั ญัตทิ ้องถน่ิ ระเบยี บ ข้อบงั คับ หรอื บทบญั ญตั ิอน่ื ท่ีมผี ล
บังคับเปน็ การทวั่ ไปโดยไมม่ ุ่งหมายใหใ้ ช้บังคบั แก่กรณีใดหรือบุคคลใดเป็นการเฉพาะ2 ในทางปฏิบัติไม่ค่อยมี
ปญั หามากนักในการวนิ ิจฉยั วา่ อะไรเปน็ “กฎ” ในสว่ นท่ีเป็นพระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ขอ้ บัญญัติ
ทอ้ งถิ่น ประกาศกระทรวง แตม่ ีประกาศ ระเบียบ ข้อบงั คับ หรอื บทบัญญัตบิ างฉบบั ที่อาจทาใหฝ้ ่ายปกครอง
และประชาชนเขา้ ใจสบั สนวา่ เป็น “กฎ” หรือ “คาส่งั ทางปกครอง”3 เนื่องจากบทนยิ ามได้ให้ความหมาย
ของคาว่า “กฎ”หมายความรวมถึงบทบัญญัตอิ ่ืนที่มผี ลบังคับเปน็ การทวั่ ไปโดยไมม่ ุ่งหมายให้ใชบ้ ังคบั แก่กรณี
ใดหรือบคุ คลใดเปน็ การเฉพาะ อีกด้วย

กฎ (Law) หมายถึง ทฤษฎีที่สามารถอธบิ ายปรากฏการณในธรรมชาติได้อย่างกวา้ งขวางเป็น
เวลานานจนเป็นที่ยอมรับสามารถทดสอบผลได้เหมือนเดิมทกุ ๆ ครัง้ โดยไม่มีข้อโต้แยง้ ใดๆ เพราะเป็นความจรงิ
ท่ีไมเปล่ยี นแปลงการวเิ คราะหข์ ้อมลู และสรุปผล

1 พจนานกุ รม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ , พมิ พ์คร้งั ที่ ๑ (กรงุ เทพมหานคร: นานมีบคุ๊ สพ์ ับลเิ คชนั่ ,๒๕๔๖),หนา้ ๓

2 โปรดดบู ทนยิ าม “กฎ” ในมาตรา ๓ แห่งพระราชบญั ญตั จิ ัดตัง้ ศาลปกครอง และวธิ ีพจิ ารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และมาตรา
๕ แห่งพระราชบญั ญัติวธิ ปี ฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙

3 พระราชบัญญตั วิ ธิ ีปฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙
มาตรา ๕ ในพระราชบัญญัตนิ ี้
ฯลฯ
“คาส่ังทางปกครอง” หมายความว่า

(๑) การใช้อานาจตามกฎหมายของเจา้ หนา้ ที่ทมี่ ีผลเป็นการสรา้ งนติ ิสัมพนั ธข์ ้ึนระหวา่ งบคุ คลในอันท่จี ะกอ่ เปลยี่ นแปลง โอน สงวน ระงบั หรือมี
ผลกระทบตอ่ สถานภาพของสทิ ธหิ รือหนา้ ท่ีของบคุ คล ไมว่ า่ จะเป็นการถาวรหรอื ชั่วคราว เช่น การสงั่ การ การอนญุ าต การอนุมตั ิ การวินจิ ฉัย
อทุ ธรณ์ การรับรอง และการรบั จดทะเบยี น
แต่ไม่หมายความรวมถงึ การออกกฎ

- ๒๖๒ -

ใบความรู้ท่ี ๓
เรือ่ ง มาร้จู กั กติกา กันเถอะ

ในทางสังคมวทิ ยาถือว่าคนเปน็ สัตว์สังคม (Social Animal) คือรวมกนั อยเู่ ปน็ กลุม่ เปน็ ชมุ ชน เปน็
เมอื ง และเป็นประเทศ ในทานองเดียวกบั สัตว์ทีร่ วมกนั อยู่เป็นฝูง แต่ถงึ แม้วา่ คนเป็นสตั วใ์ นทางสังคมวทิ ยา
แตใ่ นทางจรยิ ศาสตร์คนมีข้อแตกต่างจากสตั วใ์ นด้านหลกั คือ

1. ทางดา้ นร่างกาย คนมีโครงสรา้ งร่างกายสูงข้นึ ในแนวดงิ่ ของโลก ส่วนสัตวม์ โี ครงสร้างรา่ งกายยาว
ไปตามแนวนอนขนานกับพืน้ โลก หรอื ถ้าจะพดู ตามนยั แหง่ คาสอนในพระพทุ ธศาสนาว่า ดริ จั ฉาน หรือ
เดรจั ฉาน แปลวา่ ไปทางขวาง ซงึ่ เปน็ ทีม่ าของคาดา่ คนชั่ว คนเลววา่ เปน็ คนขวางโลก อนั หมายถึงเป็นสัตว์
นน่ั เอง

2. ทางด้านจิตใจ คนใชเ้ หตผุ ล หลกั การ คณุ ธรรม และจรยิ ธรรม ควบคุมพฤติกรรมท่แี สดงออกทาง
กาย และวาจา สว่ นสัตว์มเี พียงสัญชาตญาณเทา่ น้นั ควบคมุ พฤติกรรม

ด้วยเหตุทคี่ นต่างจากสัตว์ในทางดา้ นจติ ใจนเ้ี อง ทาใหส้ ังคมของคนมกี ารพัฒนาเจรญิ รงุ่ เรืองในทกุ ดา้ น
เมื่อกาลเวลาผ่านไป โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ในการกาหนดกติกาข้นึ มาเพ่ือควบคมุ พฤติกรรมผู้คนในสงั คมใหอ้ ยู่
รวมกนั อยา่ งสงบสุข กติกาทางสังคมของคนในยุคต้นเริ่มจากการมีความเชอ่ื รว่ มกนั หรอื ทีเ่ รยี กว่า ลัทธิ และ
ความเชื่อในยุคแรกได้แกค่ วามเชือ่ เกย่ี วกับวิญญาณประจาธรรมชาติ ภเู ขา ต้นไม้ หรือแมก้ ระทัง่ สัตว์บางชนิด
ความเชื่อในลักษณะนน้ี ักวชิ าการดา้ นศาสนาเรยี กวา่ วญิ ญาณนยิ ม และความเชอ่ื ในเรื่องทรงเจา้ เข้าผีก็จดั
อยูใ่ นประเภทเดยี วกันน้ี
กตกิ า แปลวา่ ขอ้ ความทไี่ ด้ทาความตกลงกนั แลว้ หมายถึง กฎเกณฑ์หรือข้อตกลงท่ีบุคคลตั้งแต่ ๒ ฝ่ายข้ึน
ไป กาหนดข้ึนเปน็ หลกั ปฏบิ ตั ิ เชน่ ในการเลน่ กีฬา หรือการเล่นเกมตา่ ง ๆ
มีกติกาท่ีผู้เล่นต้องปฏิบัติตามท้ังในการเล่น การแพ้ชนะ การปรับ การลงโทษ เป็นต้น ผู้ท่ีแพ้
ก็ต้องยอมรับความพ่ายแพ้ อาจถูกลงโทษ หรือถูกปรับตามกติกาท่ีตกลงกันแล้ว เช่น นักฟุตบอล
ที่ทาให้คู่ต่อสู้เจ็บ ไม่ว่าจะโดยต้ังใจหรือไม่ตั้งใจก็ตาม จะต้องถูกลงโทษได้ใบเหลือง หรือใบแดงซ่ึงทาให้ต้อง
ออกจากการเล่น คนเชยี ร์ฟตุ บอลทฝ่ี า่ ยของตนแพแ้ ลว้ ไม่ยอมแพ้จัดว่าเป็นคนท่ีไม่ปฏิบัติตามกติกา คนที่
ไม่ปฏิบัติตามกติกาจะถูกสังคมประณามว่าเป็นอันธพาล เป็นคนเกเร กติกาเป็นข้อตกลงที่ช่วยให้คนใน
สงั คมทากิจกรรมร่วมกันไดอ้ ยา่ งเป็นระเบยี บเรียบร้อย และทาใหท้ ุกคนอยู่ร่วมกนั ได้อยา่ งสันติสุข

ที่มา : บทวทิ ยุรายการ “รู้ รกั ภาษาไทย” ออกอากาศทางสถานวี ทิ ยุกระจายเสียงแหง่ ประเทศไทย
เมื่อวันที่ ๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๓

- ๒๖๓ -

ใบความรทู้ ี่ ๔
เร่อื ง มารจู้ ัก กฎหมาย กนั เถอะ

กฎหมายคืออะไร

กฎหมาย เป็นกฎเกณฑ์ ข้อบังคับที่ใช้ควบคุมความประพฤติของมนุษย์ในสังคม กฎหมาย

มีลักษณะเป็นคาส่ัง ข้อห้าม ที่มาจากผู้มีอานาจสูงสุดในสังคมใช้บังคับได้ท่ัวไป ใครฝ่าฝืนจะต้องได้รับโทษ

หรอื สภาพบงั คับอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง

ระบบกฎหมายในปัจจุบันแบ่งออกเป็น 4 ระบบ ได้แก่ ระบบกฎหมาย ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร

ระบบกฎหมายลายลักษณ์อักษรระบบกฎหมายสังคมนิยม และระบบกฎหมายศาสนา กฎหมายแต่ละระบบ

ย่อมมีที่มาแต่งต่างกัน การแบ่งประเภทของกฎหมาย อาจแบ่งได้หลายลักษณะ ขึ้นอยู่กับว่าจะยึดอะไรเป็น

หลกั เกณฑใ์ นการแบง่ มนษุ ย์จาเป็นต้องมีกฎหมายเป็นกฎเกณฑ์ในการอยูร่ ่วมกัน เพ่ือใหส้ งั คม เกิดความเป็น

ระเบยี บเรยี บรอ้ ยและสงบสุข

มนุษย์เป็นสัตว์สังคม เพ่ือให้สังคมเป็นระเบียบเรียบร้อยสงบสุข กฎเกณฑ์ต่าง ๆ เหล่าน้ี เรียกว่า

บรรทดั ฐานทางสังคม (Social Norms) ประกอบดว้ ย

1. วิถชี าวบา้ น (Folkways) เปน็ กฎเกณฑค์ วามประพฤตทิ อี่ ยใู่ นรปู ของประเพณีนยิ ม ท่สี มาชกิ ในสังคม

ปฏิบัติสืบต่อกันมา ถ้าใครไม่ปฏิบัติตามก็จะถูกติฉินนินทาว่าร้าย เช่น การแต่งกาย กิริยามารยาททางสังคม

ในโอกาสต่าง ๆ เปน็ ต้น

2. จารีต (Mores) เป็นกฎเกณฑ์ความประพฤติที่ยึดหลักความดีความช่ัว กฎเกณฑ์ทางศาสนา เป็น

เร่ืองของความรู้สึกว่าส่ิงใดผิดส่ิงใดถูก หากใครละเมิดฝ่าฝืนจะได้รับการต่อต้านจากสมาชิกในสังคมอย่าง

จริงจัง อาจถูกกีดกันออกจากสังคม หรือไม่มีใครคบค้าสมาคมด้วย เช่น การลักเล็กขโมยน้อย การเนรคุณ

บิดามารดา หรือผมู้ ีพระคณุ เปน็ ต้น

3. กฎหมาย (Laws) เป็นกฎเกณฑ์ความประพฤติที่มีการบัญญัติไว้อย่างชัดเจน แน่นอน

ว่ากระทาอย่างไร เป็นความผดิ ฐานใด จะได้รับอยา่ งไร เชน่ ผ้ใู ดฆ่าผอู้ นื่ ตอ้ งระวางโทษประหารชวี ติ เปน็ ตน้

กฎเกณฑ์ของความประพฤติท้ังสามประการดังกล่าว สองประการแรกไม่ได้มีการบัญญัติไว้อย่าง

ชดั เจน การลงโทษผูล้ ะเมดิ ฝา่ ฝนื ก็ไม่รนุ แรง ประการท่ีสาม กฎหมายจึงเปน็ ส่ิงทสี่ าคญั ท่ีสุด ใช้ได้ผลมากท่ีสุด

ในการควบคุมความประพฤติของมนุษย์ ดังน้ันสังคมมนุษย์ทุกสังคม จึงจาเป็นต้องมี

กฎหมาย เปน็ กฎเกณฑ์ในการอยรู่ ว่ มกนั ดงั คากลา่ วที่ว่า “ทใี่ ดมสี ังคมทนี่ ่ัน มีกฎหมาย”

กฎหมาย หมายถงึ คาส่งิ หรือขอ้ บงั คับของรฐั ซงึ่ บญั ญัติขนึ้ เพื่อ

ใชค้ วบคุมความประพฤติของบุคคลซึ่งอยใู่ นรัฐหรือในประเทศ

ของตนหากผู้ใดฝา่ ฝืนไม่ประพฤติปฏบิ ตั ิตาม ก็

จะมีความผิดและถูกลงโทษหรือได้รบั ผลเสยี หายนนั้ ดว้ ย

- ๒๖๔ -

ใบความร้ทู ่ี 5
เรือ่ ง การใช้อานาจของเจ้าหนา้ ทร่ี ฐั
การใชอ้ านาจของเจ้าหนา้ ท่รี ัฐ
เจ้าหน้าทขี่ องรัฐ ได้แก่ผ้ดู ารงตาแหนง่ ทางการเมืองและขา้ ราชการ คอื ผู้ใช้อานาจรัฐ การกระทาของ
เจา้ หนา้ ทขี่ องรัฐตอ้ งอยู่ภายในขอบเขตของอานาจหนา้ ทีต่ ามกฎหมายให้อานาจไว้และปฏบิ ตั ิดว้ ยความ
ซ่อื สัตยส์ ุจรติ และต้ังตนอยู่ในความไมป่ ระมาท เปน็ ข้อปฏบิ ัติขัน้ พน้ื ฐานที่เจ้าหน้าทขี่ องรัฐทุกคนยดึ ถือ
ปฏบิ ตั ิ ส่ิงทีเ่ จ้าหน้าที่ของรัฐต้องใช้ควบคู่กัน คือ อานาจ กล่าวคือเมื่อมีหนา้ ทท่ี ี่ต้องกระทาแล้วอานาจจะต้อง
ตามมา กฎหมายจะกาหนดใหเ้ จ้าหนา้ ทข่ี องรฐั มีอานาจในการใช้ดุลยพินจิ เพอื่ ดาเนินการตา่ งๆ ทีอ่ ยู่ในหน้าท่ี
ความรบั ผดิ ชอบ การใช้ดลุ ยพินจิ ของเจา้ หน้าที่รัฐตอ้ งกระทาโดยรอบครอบ เพื่อให้การใช้อานาจของ
เจ้าหนา้ ท่รี ฐั นาสูก่ ารปฏิบตั ิได้จริง และมีประโยชน์ต่อสาธารณชนโดยรวมและไมเ่ กดิ การขัดกันระหวา่ ง
ประโยชนส์ ่วนตนและประโยชน์ส่วนรวมในรูปแบบต่างๆ ดงั น้ี

รูปแบบการขัดกนั ระหว่าง
ประโยชนส์ ่วนตนและส่วนรวม

การรับผลประโยชน์ต่างๆ รบั ของขวัญ/เงนิ สนับสนุน/สิทธิพิเศษ/เงนิ
(Accepting benefits) บริจาคจากลกู ค้าของหน่วยงาน

การทาธรุ กิจกับตัวเอง (Self – Dealing) หรอื มีสว่ นได้เสียในสญั ญาที่ทากับหนว่ ยงานตน้
เป็นคู่สัญญา (Contracts สังกดั

การทางานหลังออกจากตาแหนง่ หนา้ ท่สี าธารณะ ลาออกจากหน่วยงานเพือ่ ไปทางานใน
หรือหลงั เกษยี ณ (Post-Employment) หนว่ ยงานทีด่ าเนินธรุ กิจประเภทเดียวกัน

การทางานพิเศษ (Outside Employment or ต้ังบริษทั ดาเนนิ ธุรกิจที่แข่งขันหรอื รบั งาน
จากหน่วยงานต้นสงั กัด
Moonlighting)

การรขู้ ้อมลู ภายใน (Inside information) ใช้ประโยชน์จากข้อมูลภายในเพื่อประโยชน์
ของตนเอง/พวกพ้อง

การใช้สมบตั ขิ องหน่วยงานเพ่อื ประโยชนส์ ่วนตน นาทรัพย์สินของหนว่ ยงานไปใช้ในงาน
(Using Employer’s Property for private Usage) ส่วนตวั

การนาโครงการสาธารณะลงในเขตเลือกต้ัง อนุมัตโิ ครงการไปลงในพื้นทีต่ นเอง,ใช้
เพื่อประโยชน์ทางการเมือง (Pork-barreling) งบประมาณแผ่นดินเพื่อหาเสียง

ทง้ั น้ี อาจกล่าวได้วา่ การใช้อานาจของเจ้าหน้าท่รี ัฐจะต้องคานงึ ถึงหลักการท่สี าคัญ 4 ประการด้วยกนั คือ

- ๒๖๕ -

หลักชอบดว้ ยกฎหมาย
มอี งค์ประกอบทส่ี าคัญ 4 ประการ คือ
1. มีกฎหมายให้อานาจ ใหก้ ระทาได้อย่างชดั เจนตามบทบัญญัตขิ องกฎหมาย ระเบียบกฎ
ขอ้ บังคับตา่ งๆ
2. เข้าองคป์ ระกอบของเง่ือนไข ครบทุกประการตามท่ีกฎหมาย ระเบยี บข้อบงั คับกาหนด
ไว้
3. ไม่เกนิ ขอบเขตแห่งอานาจหน้าทท่ี ีร่ ะบุไวใ้ หก้ ระทาได้อยา่ งชัดเจน
4. ครบถว้ นถูกต้องตามขั้นตอนหรือวธิ ีการท่รี ะบุไวต้ ามกฎหมาย ระเบียบข้อบังคบั
หลกั สุจริต
มีองคป์ ระกอบท่สี าคัญ 4 ประการ คือ
1. ไมม่ กี ารทจุ ริต หรือกลฉ้อฉลหรือมกี ารกลั่นแกล้ง โดยเน้นเจตนาดี บรสิ ุทธิ์ ยตุ ธิ รรมเป็น

สาคัญ
2. ไม่มผี ลประโยชน์ทับซอ้ น หรือทจุ รติ เชงิ นโยบาย
3. ไม่มกี ารแสวงหาผลประโยชน์เพอื่ ตนเอง หรือพรรคพวกต้องกระทาเพื่อประโยชน์

สว่ นรวมเทา่ นัน้
4. ไมป่ ระมาทเลนิ เลอ่ หรอื จะอา้ งว่าไมร่ ู้กฎหมายนั้นไมส่ ามารถอ้างได้หรืออ้างวา่ เข้ารับ

ตาแหน่งใหม่ก็ไม่สามารถอา้ งได้เช่นกนั
หลกั ไม่เลือกปฏบิ ตั ิ
มอี งค์ประกอบทส่ี าคัญ 3 ประการ คือ
1. โดยตรงหรอื โดยชดั แจง ตอ้ งปฏิบัติตามกฎหมายกับทกุ คน
2. โดยอ้อม ปฏบิ ัติเพอื่ ให้ผลประโยชน์สดุ ท้ายตกกับประชาชนโดยส่วยรวม
3. มีข้อยกเวน้ ใหก้ ระทาได้ การใช้ขอ้ ยกเวน้ ต้องกระทาเทา่ ที่จาเปน็ ดว้ ยเหตผุ ลเท่านัน้ มิ
เช่นน้ันอาจกอ่ ให้เกดิ สองมาตรฐานได้
หลกั พอเหมาะสมควรหรือได้สัดสว่ นพอดี
มอี งค์ประกอบที่สาคญั 3 ประการ คือ
1. ตามความจาเป็นมอิ าจหลีกเลยี่ งได้ โดยยึดกฎหมายคาพิพากษาศาล ขอ้ หารือเปน็ ตน้
2. ใชท้ างเลอื กทเ่ี หมาะสมอนื่ โดยตัดสนิ ใจเลอื กทางท่ีมผี ลกระทบตอ่ องค์กรหรอื
ประชาชนน้อยท่สี ุดหรือไม่มผี ลกระทบเลย ไมว่ ่าจะเป็นความมั่นคงหรือฐานะการเงนิ
หรอื ความสขุ ของประชาชน
3. สมประโยชน์ คานึงถงึ ความคุ้มคา่ ทปี่ ระชาชนจะพึงได้รบั จากการที่รฐั ต้องเสีย
งบประมาณไป

- ๒๖๖ -

ใบความรทู้ ี่ ๖
เร่อื ง รูปแบบความสมั พนั ธ์ของการเมอื งแบบมสี ่วนร่วม (Participative Politics)
หลักการสาคัญของการมีส่วนรวมทางการเมืองยึดหลักพื้นฐานท่ีว่าประชาชนเป็นเจ้าของอานาจอธิปไตย
ประชาชนสามารถใช้อานาจได้เสมอแม้ว่าได้มอบอานาจให้กับผู้แทนของประชาชนไปใช้ในฐานะท่ีเป็น
“ผู้แทน”แล้วก็ตาม แต่ประชาชนก็สามารถเฝ้าดู ตรวจสอบ ควบคุม และแทรกแซงการทาหน้าที่ของผู้แทน
ของประชาชนได้เสมอ โดยสามารถมสี ่วนรว่ มทางการเมืองได้ 4 ลกั ษณะ คอื

1. การเรียกคืนอานาจโดยการถอดถอน/ปลดออกจากตาแหน่ง(recall) เป็นการควบคุมการใช้
อานาจ
ของผู้แทนของประชาชนในการดารงตาแหน่งทางการเมืองแทนประชาชน หากปรากฏว่าผู้แทนของ
ประชาชนใช้อานาจในฐานะ “ผู้แทน”มิใช่เป็นไปเพ่ือหลักการท่ีถูกต้องหรือเพื่อผลประโยชน์ส่วนรวมที่
แท้จริงในทางตรงข้ามกลับเป็นการใช้อานาจโดยมิชอบ โดยทุจริตหรือเพื่อประโยชน์ส่วนตัวเป็นหลัก
ประชาชนผู้เป็นเจ้าของอานาจอธิปไตยสามารถเรียกร้องอานาจที่ได้รับมอบไปน้ันกลับคืนมาโดยการถอด
ถอน/ปลดออกจากตาแหน่งได้
2. การรเิ ริ่มเสนอแนะ (Initiatives) เป็นการทดแทนการทาหน้าที่ของผู้แทนของประชาชนหรือเป็น
การส่งเสริมการทาหน้าที่ของผู้แทนประชาชน ประชาชนสามารถเสนอแนะนโยบายร่างกฎหมายรวมท้ัง
มาตรการใหม่ๆ เองได้หากว่าผูแ้ ทนของประชาชนไมเ่ สนอแล้วแต่ไม่ตรงกบั ความตอ้ งการของประชาชน
3. การทาประชาพิจารณ์ (public hearings) เป็นการแสดงออกของประชาชนในการเฝ้าดู
ตรวจสอบ และควบคุมการทางานของผู้แทนของประชาชน ในกรณีท่ีฝ่ายนิติบัญญัติหรือฝ่ายบริหารเตรียม
ออกกฎหมาย หรือกาหนดนโยบายหรือมาตรการใดๆ ก็ตามอันมีผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่หรือสิทธิ
เสรีภาพของประชาชน ประชาชนในฐานะเจ้าของอานาจอธิปไตยสามารถท่ีจะเรียกร้องให้มีการชี้แจง
ข้อเทจ็ จริง และผลดผี ลเสีย กอ่ นการออกหรอื บงั คับใช้กฎหมาย นโยบายหรือมาตรการนนั้ ๆ ได้
4. การแสดงประชามติ (Referendum) ในส่วนท่ีเก่ียวกับนโยบายสาคัญ หรือการออกกฎหมายท่ีมี
ผลกระทบต่อสิทธิเสรีภาพและวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนอย่างมาก เช่นการขึ้นภาษี การสร้างเข่ือน
หรอื โรงไฟฟ้า ฯลฯ ประชาชนในฐานะเจ้าของอานาจอธิปไตยสามารถเรียกร้องให้รัฐรับฟังมติของประชาชน
เสียก่อนที่จะตรากฎหมายหรือดาเนินการนโยบายสาคัญๆ โดยการจัดให้มีการลงประชามติเพ่ือถามความ
คดิ เหน็ ของประชาชนส่วนใหญ่อันเป็นการตดั สินใจขน้ั สดุ ทา้ ย

- ๒๖๗ -

ใบความรทู้ ี่ ๗
เร่อื ง ปญั หาการทุจริต
ปญั หาการทจุ ริต
การทุจริตโดยภาพรวมจะสอดคล้องกับคาว่า “ฉ้อราษฎร์บังหลวง” โดย “การฉ้อราษฎร์”
หมายถงึ การที่เจา้ หน้าท่ีของรฐั เรียกรับผลประโยชน์ในทางทม่ี ชิ อบจากราษฎรผ้มู าขอรับบริการ
ส่วน “การบังหลวง” หมายถึง เจ้าหน้าที่ของรัฐกระทาการทุจริตต่อหน้าท่ีอันทาให้เกิดความ
เสียหายแก่ผลประโยชน์ของแผ่นดิน หรือเกิดการใช้งบประมาณของแผ่นดินไปในทางที่มิชอบ ผลที่ตามมา
จากพฤตกิ รรมฉอ้ ราษฎรบ์ งั หลวงไดน้ ามาสู่
1. การปฏิบัติราชการตามอานาจหน้าท่ีของเจ้าหน้าท่ีรัฐเป็นไปในลักษณะที่ขาดหรือมีความ
รบั ผดิ ชอบไมเ่ พียงพอ
2. การปฏิบัติหน้าท่ีของเจ้าหน้าท่ีของรัฐไปในทางท่ีทาให้ประชาชนขาดความเชื่อถือในความมี
คุณธรรมความมจี รยิ ธรรม
3. การปฏิบัตหิ นา้ ท่ีของเจ้าหน้าท่ขี องรฐั เปน็ ไปโดยขาดการคานงึ ถึงประโยชน์สว่ นรวมและหลัก
ธรรมาภบิ าล
ปัจจัยเส่ียงทที่ าให้เกิดการทจุ ริตในลักษณะที่เรียกวา่ “ฉอ้ ราษฎร์”เกิดจาก
1. การขาดความสานึกทางดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม และความรบั ผิดชอบการทางานตาม
มาตรฐานวชิ าชีพของเจา้ หนา้ ที่ของรัฐ
2. การขาดระบบการควบคุมภายในที่ดีของหน่วยงานภาครัฐ ทาให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐ
สามารถใชช้ อ่ งว่างในการเรยี กรับผลประโยชน์จากประชาชนผูม้ าขอรับบรกิ าร
3. การสมยอมของประชาชนผู้มาขอรับบริการ หรือขาดความรู้ความเข้าใจอย่างถูกต้อง
ทาให้ประชาชนผู้มาขอรับบริการคิดว่าการเรียกรับผลประโยชน์ดังกล่าวเป็นเร่ืองที่
ถูกตอ้ ง
ปัจจัยเสย่ี งทาใหเ้ กดิ การทุจริตในลักษณะท่ีเรยี กว่า “บงั หลวง” เกิดจาก
1. การขาดจิตสานึกทางด้านคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบในการทางานตาม
มาตรฐานวชิ าชพี ของเจา้ หนา้ ทร่ี ฐั
2. ความตอ้ งการแสวงหาผลประโยชน์ของเจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ท่รี ับผดิ ชอบตอ่ งานนนั้ ๆ
3. การขาดระบบตรวจสอบทีม่ ีประสิทธิภาพ ทาให้เจ้าหน้าที่ของรัฐเห็นว่าการกระทาการ
ทจุ รติ น้ันมีความคุม้ ค่าท่ีจะเสย่ี ง

- ๒๖๘ -

ใบความรู้ที่ ๘
เรอ่ื ง แนวโน้มของปัญหาการทจุ ริต
แนวโน้มของปัญหาการทุจริต
ในปัจจุบันปัญหาการทุจริตท่ีเรียกว่า “ฉ้อราษฎร์” มีแนวโน้มที่ลดลง เน่ืองจากขณะน้ีประชาชนผู้
มาติดตอ่ ขอรับปรกิ ารสว่ นใหญไ่ ด้รับรู้ข้อมลู ข่าวสารเพื่อมมากข้ึน และหากได้รับการบริการอย่างไม่เป็นธรรม
หรือมีการเรียกร้องประโยชน์โดยมิชอบก็มักจะมีการร้องเรียนต่อผู้บังคับบัญชาของเจ้าหน้าท่ีรัฐ หรือ
หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องเช่น สานกั งานตรวจเงินแผน่ ดิน (สตง.) สานักงานคณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปราม
การทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.)การฉ้อราษฎร์ส่วนใหญ่ที่ยังหลงเหลืออยู่จึงมีลักษณะของการสมยอมให้ผล
ประโยชน์โดยผู้ขอรับบริการมากกว่า แต่ในส่วนของการทุจริตในลักษณะที่เรียกว่า “บังหลวง” กลับมี
แนวโน้มเพิ่มข้ึน เน่ืองจากในปัจจุบันได้มีการกระจายอานาจในการจัดทางบประมาณ และการบริหาร
งบประมาณลงมาที่ระดับภูมิภาคและท้องถ่ินมากข้ึนและระบบการตรวจสอบในปัจจุบันยังคงมีลักษณะของ
การสุ่มตรวจ เน่ืองจากหน่วยตรวจสอบมีกาลังคนน้อยทาให้หน่วยงานที่ทาหน้าที่ในการบริหารงบประมาณ
ยังคงมีความรู้สึกว่ามีความคุ้มค่าที่จะเสี่ยงในการทุจริต ตลอดจนผลประโยชน์ท่ีได้รับจากการทาทุจริตใน
ลักษณะนไี้ ด้รับผลประโยชนส์ ูงกว่าการทจุ รติ ในลักษณะฉ้อราษฎร์
แนวโน้มในปัจจุบันปัจจัยเสี่ยงท่ีเป็นเหตุในการปฏิบัติงานตามอานาจหน้าท่ีของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
เป็นไปในลักษณะที่ขาดหรือมีความรับผิดชอบไม่เพียงพอ และมีการปฏิบัติราชการ โดยขาดการคานึงถึง
ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน และขาดการยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล เกิดจากสาเหตุต่างๆ
ดงั นี้
1. การขาดความสานึกทางดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และความรบั ผิดชอบการทางานตาม
มาตรฐานวิชาชีพของเจ้าหนา้ ที่ของรฐั
2. การไมด่ ารงตนตามแนวแนวทางปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ทาให้มคี วามมุ่งหวังทจ่ี ะได้
ผลประโยชน์อนั มคิ วรได้สาหรบั นาไปใชใ้ นการดา
3. การตอบสนองความตอ้ งการของผทู้ ี่ต้องการทาการทจุ ริตเพื่อใหไ้ ดผ้ ลประโยชน์ตอบ
แทนหรือเพอ่ื ใหผ้ ้นู ้ันให้การสนบั สนุนตนในดา้ นตา่ งๆ เชน่ ความกา้ วหน้าในอาชีพราชการ
4. หนว่ ยงานภาครฐั ไมม่ มี าตรฐานการควบคมุ ภายในที่มปี ระสทิ ธิภาพเพียงพอท่จี ะ
ป้องกนั มใิ ห้เกิดปัญหาการทาทจุ ริต
5. ระบบตรวจสอบเพ่ือปอ้ งกันปราบปรามการทจุ ริตยงั ไมม่ ปี ระสทิ ธิภาพเพยี งพอ ทาให้
เจา้ หน้าทข่ี องรัฐเหน็ วา่ มคี วามคุ้มคา่ ทจี่ ะเส่ียงทาทจุ รติ
6. ภาคประชาชนยงั ขาดความรคู้ วามเขา้ ใจ และขาดการมีสว่ นร่วมในการเฝ้าระวงั และ
ป้องกนั ปัญหาการทาทุจรติ ของเจา้ หน้าทข่ี องรัฐ

- ๒๖๙ -

ใบความรู้ที่ ๙
เรอ่ื ง การตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ
การตรวจสอบการใช้อานาจรฐั
กลไกทางกฎหมายท่ีสาคญั ที่ใช้ในการตรวจสอบการใช้อานาจของเจ้าหนา้ ท่ขี องรฐั เพื่อป้องกันและ
ปราบปรามการทจุ ริต ได้แก่
1. รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ในส่วนทเี่ กี่ยวขอ้ งกับการ
ตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ
2. พระราชบญั ญัติข้อมูลขา่ วสารของทางราชการ พ.ศ. 2540
3. พระราชบญั ญตั ิประกอบรัฐธรรมนญู ว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตัง้ พ.ศ. 2550
4. พระราชบญั ญตั ิประกอบรัฐธรรมนญู ว่าดว้ ยการเลอื กตั้งสมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร และ
การได้มาซง่ึ สมาชิกวุฒิสภา พ.ศ.2550
5. พระราชบญั ญตั ิประกอบรัฐธรรมนญู วา่ ดว้ ยพรรคการเมือง พ.ศ.2550
6. พระราชบญั ญตั ิประกอบรัฐธรรมนญู วา่ ด้วยการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ
7. พระราชบญั ญตั ิปอ้ งกันและปราบปรามการฟอกเงนิ พ.ศ. 2542
8. พระราชบญั ญัติวา่ ดว้ ยความผดิ เกย่ี วกับการเสนอราคาตอ่ หน่วยงานของรัฐ
พ.ศ. 2542
9. พระราชบัญญัติจัดตง้ั ศาลปกครอง และวธิ พี ิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542
10. พระราชบัญญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญว่าดว้ ยการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ พ.ศ. 2542
11. พระราชบญั ญัติประกอบรัฐธรรมนญู ว่าดว้ ยผตู้ รวจการแผน่ ดิน พ.ศ. 2552
12. พระราชบญั ญัติการจดั การห้นุ สว่ น และหุ้นของรัฐมนตรี พ.ศ. 2543
มาตรการตามกฎหมายต่างๆ เหล่าน้ี ได้ถูกออกแบบมาเพื่อใช้ในการป้องกันและปราบปรามการใช้
อานาจหน้าทโี่ ดยมชิ อบของเจ้าหน้าที่ของรัฐ และป้องกันการร่วมมือกันของกลุ่มบุคคลต่างๆ(ผู้ดารง
ตาแหน่งทางการเมือง ข้อราชการ และนักธุรกิจ) ไปในทางมิชอบ เพ่ือการทุจริต หรือเพ่ือการ
แสวงหาผลประโยชน์ส่วนตัวและพรรคพวก ซ่ึงจะพบว่ามาตรการเหล่านี้สามารถแบ่งออกได้เป็น 2
กลุ่มด้วยกัน คือมาตรการทางด้านวัตถุวิสัย (Objective) และทางด้านอัตวิสัย (Subjective)
มาตรการทางด้านวัตถุวิสัย ได้แก่การควบคุมทางการเมือง เช่นการควบคุมผ่านกระบวนการ
ตรวจสอบโดยรฐั สภา และการใชอ้ งค์กร หรอื หน่วยงานภายใต้การกากับของรัฐสภาเป็นเครื่องมือใน
การดาเนินงานทางการบริหารตัวอย่างเช่น การปรับปรุงกฎหมายต่างๆ เพื่ออุดช่องว่าง หรือบัญญัติ
กฎหมายใหมๆ่ ขึ้นมาบังคับใชเ้ พือ่ ป้องกนั มิให้กฎหมายเหล่าน้ันถูกนาไปใช้เป็นช่องทางในการทุจริต
ได้การปรับปรุงหรือปฏิรูปประสิทธิภาพของหน่วยงานราชการท่ีมีอยู่ หรือจัดตั้งหนวยงานราชการ
ต่างๆ เพื่อให้ดาเนินการป้องกันและปราบปรามการทุจริต และประการสุดท้ายคือการควบคุมโดย
สาธารณะ เชน่ การสนับสนนุ ใหก้ ลุ่มองค์กรตา่ งๆ นอกภาครัฐ หรือองคก์ รภาคประชาชนต่างๆ ได้เข้า
มามีสว่ นรว่ มในการควบคุมการตรวจสอบการดาเนนิ งานของหน่วยงานต่างๆของรัฐเปน็ ต้น
ส่วนมาตรการทางอัตวิสัย ได้แก่การใช้กระบวนการเรียนรู้ ถ่ายทอด และปลูกฝังค่านิยมคุณธรรม
จริยธรรมและแนวคิด/วิธีการในการเข้ามามีส่วนร่วมในการต่อต้านการทุจริตให้กับกลุ่มบุคคลต่างๆ
ทง้ั ในส่วนของผู้ดารงตาแหน่งทางการเมอื ง ขา้ ราชการ นักธุรกิจ และประชาชน โดยใช้สถาบันต่างๆ
ในสังคม เช่นสื่อสารมวลชนชอ่ งทางตา่ งๆ บา้ นวัด โรงเรียนเปน็ ตน้ เป็นเครอ่ื งมือในการดาเนินงาน

- ๒๗๐ -

ใบความรทู้ ี่10
เร่ือง จติ สานึกของพลเมอื ง
จติ สานึกของพลเมือง
จิตสานึก เป็นสภาพท่ีรู้ตัวว่าคือใคร อยู่ที่ไหนต้องการอะไร หรือกาลังรู้สึกอย่างไรต่อส่ิงใด
เม่อื
แสดงพฤตกิ รรมอะไรออกไปก็แสดงออกไปตามหลกั เหตุและผล แสดงตามแรงผลกั ดนั จากภายนอกสอดคล้อง
กับหลักแห่งความเป็นจริง (principle of reality) จิตสานึกเป็นระดับเหตุผลภายในใจที่ส่งผลต่อการ
แสดงออกในพฤติกรรมตา่ งๆ โดยเลอื กแล้วว่าจะทาหรือไม่ทาอะไร เป็นการระลึกรู้ได้เกี่ยวกับตาแหน่งหน้าที่
ของตัวเองในโครงสร้างสังคม ดังท่ีเราได้ยินบ่อยๆ ว่าจิตสานึกแห่งความเป็นครู จิตสานึกของพลเมือง
จติ สานึกสาธารณะ จิตสานึกของการเป็นคนดี จิตสานึกรักสิ่งแวดล้อม จิตสานึกจึงเก่ียวโยงกับคุณธรรมและ
จริยธรรมของบุคคลน่ันเอง
การที่บุคคลจะมีคุณธรรม มีจิตสึกนึกที่ดี จาต้องมีการอบรมส่ังสอนหรือซึมซับประสบการณ์จาก
ครอบครวั หรือสังคมรอบตัว และผา่ นการกระทาจนเป็นสันดานแห่งความดีหรือจิตสานึกนั่นเองอยู่ๆ จะให้มี
จติ สานกึ เกดิ ขึ้นเองคงจะเปน็ ไปได้ยาก
ปลุก- ปลูกจิตสานึก ต้องทาในสองส่วนคือ “การปลุก”และการปลูก” การปลูกนั้นใช้กับผู้ใหญ่ท่ี
บางครั้งได้หลงลืมหรือละเลยการนาคุณธรรมและจริยธรรมมาใช้ในการประพฤติปฏิบัติ ส่วนการปลูกน้ันใช้
สาหรับเด็กและเยาวชนท่ีเปรียบดังผ้าขาว และจะเป็นพลังสาคัญที่จะขับเคล่ือนสังคมไทยในอนาคต ในการ
แก้ไขสังคมคงต้องทาท้ังสองส่วน แต่ควรเน้น “การปลูก” กับเยาวชนมากกว่าการปลูกในผู้ใหญ่ เพราะการ
ปลูกในผู้ใหญ่เป็นไปได้อยากกว่าการปลูกฝังใหม่ อย่างไรก็ดี “การปลูก” ผู้ปลูกต้องเข้าใจและทุ่มเทและ
กระทาอย่างต่อเนื่องจึงจะเห็นผล สังคมในปัจจุบันผู้ใหญ่ไม่เพียงจะละเลยการปลูกฝังจิตสานึกที่ดีๆ ให้กับ
เยาวชนแตย่ งั สร้างจิตสานึกที่ผิดๆ ให้กับเยาวชนอีกด้วยโดยต้ังใจและไม่ตั้งใจ การมองเห็นภาพการกระทาที่
ไม่ดีงามของผู้ใหญ่ซ้าแล้วซ้าอีก เช่นการทุ จริต การละเมิดกฎหมาย การใช้และการทาลาย
ทรพั ยากรธรรมชาติอยา่ งไมร่ ู้คณุ ค่า การเห็นแกป่ ระโยชนส์ ่วนตัวมากกวา่ ประโยชน์ส่วนรวม การบูชาเงินทอง
มากกวา่ ความดงี าม เปน็ ตน้ สง่ิ เหล่าน้จี ึงหลอ่ หลอมให้เยาวชนขาดจิตสานึกแห่งความดีงาม คุณธรรมในสังคม
จงึ ออ่ นลา้ อยา่ งเชน่ ทุกวันนี้ การเร่งปลูกฝังจิตสานึกในเรื่องดีๆ และลดเงื่อนไขที่จะนาไปสู่การปลูกฝ่ังสิ่งผิดๆ
ให้กบั เดก็ ๆ จงึ เป็นเรอ่ื งท่ีสังคมตอ้ งช่วยกนั เร่งแกไ้ ข

- ๒๗๑ -

ใบกจิ กรรมที่ 1
เรื่องการเรยี กรบั เงินจากพนักงานองค์การบริหารส่วนตาบลชนแดน เพื่อช่วยเหลือในการประเมินเล่ือนระดับ
ให้สูงข้ึน,การบรรจแุ ตง่ ตั้งเขา้ รบั ราชการใหม,่ การขอโอนย้ายและเรียกรับเงิน ส่วนแบ่งจากเงินประโยชน์ตอบ
แทนอ่นื ๆเป็นกรณีพเิ ศษ (เงินโบนัส)
กรณตี วั อยา่ งคดที จุ รติ
เรอ่ื ง กล่าวหานายสมควร เมือ่ ครง้ั ตารงตาแหนง่ นายกองค์กรบรหิ ารส่วนตาบลชนแดนอาเภอสองแควจังหวัด
น่าน
ข้อกล่าวหา เรียกรับเงินจากพนักงานองค์การบริหารส่วนตาบลชนแดน เพ่ือช่วยเหลือในการประเมินเลื่อน
ระดับให้สูงข้ึน,การบรรจุแต่งต้ังเข้ารับราชการใหม่,การขอโอนย้ายและเรียกรับเงิน ส่วนแบ่งจากเงิน
ประโยชน์ตอบแทนอนื่ ๆเป็นกรณพี เิ ศษ (เงนิ โบนสั )
ขอ้ เทจ็ จรงิ จากการไต่สวน

จากการไต่สวนข้อเท็จจริงได้ความว่า นายสมควร เม่ือคร้ังตารงตาแหน่งนายกองค์กรบริหารส่วน
ตาบลชนแดนอาเภอสองแควจงั หวัดน่าน ไดใ้ ชอ้ านาจในตาแหน่งหนา้ ท่ีโดยทจุ รติ หลายประการดังน้ี

1. เรียกรบั เงินจานวน 4,000 - 5,000 บาทจากพนักงานองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลชน
แดน ตาแหน่งเจ้าหน้าท่ีพัสดุ 1 ท่ีขอประเมินปรับเลื่อนระดับให้ดารงตาแหน่งที่สูงขึ้นในตาแหน่งเจ้าหน้าท่ี
พสั ดุ 2

2. เรยี กรับเงินจานวน 30,000 บาทจากผสู้ อบบรรจุเขา้ รบั ราชการในตาแหนง่ เจา้ หนา้ ท่ี
การเงินและบัญชี 1 ที่ได้ข้ึนบัญชีไว้เพ่ือรอเรียกบรรจุจากเทศบาลตาบลหนองไผ่ล้อม อาเภอเมือง
นครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา เพ่ือช่วยเหลือในการเรียกบุคคลดังกล่าวมาบรรจุเข้ารับราชการท่ีองค์การ
บริหารส่วนตาบลชนแดน

3. เรยี กรบั เงนิ จานวน 20,000 บาทจากพนักงานจดั เกบ็ รายได้ 2 เพอ่ื ใหค้ วามยินยอม
ในการโอนไปปฏบิ ตั ิหน้าที่ทีอ่ งค์การบริหารสว่ นตาบลฝายแก้ว อาเภอภูเพียง จังหวัดนา่ น

4. เรียกรับเงินจานวน 50,000 บาทจากเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล 1 พนักงานเทศบาลเมืองแพร่
จังหวัดนา่ น เพอ่ื รับโอนมาปฏิบตั ิหน้าท่ีองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลชนแดน

5. เรียกรับเงนิ จานวน 20,000 บาทจากผชู้ ว่ ยทนั ตแพทย์ 1 สังกดั กรุงเทพมหานครเพอื่
รบั โอนมาปฏิบัตหิ นา้ ทีอ่ งค์การบรหิ ารส่วนตาบลชนแดน

6. เรยี กรับเงนิ 60,000 บาทจากนกั พฒั นาชมุ ชน 3 พนกั งานองคก์ ารบริหารสว่ นตาบล
แมท่ ะลบ อาเภอไชยปราการ จงั หวัดเชยี งใหม่ เพ่อื รับโอน

7. เรียกรบั เงินจานวน 30,000 บาทจากเจา้ พนักงานจดั เก็บรายได้ 5 พนกั งานองค์การส่วนตาบล
แม่ลา อาเภอนครหลวง จังหวดั พระนครศรีอยุธยา เพ่ือรบั โอนมาปฏิบตั ิ

หน้าทีอ่ งคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลชนแดน
8. เรียกรับเงินประมาณ 10 – 30% จากเงินประโยชน์ตอบแทนอน่ื เป็นกรณพี เิ ศษ (เงนิ

โบนัส) ทพ่ี นักงานส่วนตาบลและลูกจา้ งขององคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลชนแดนจะไดร้ ับจานวน 5 ราย

มตคิ ณะกรรมการ ป.ป.ช.
คณะกรรมการ ป.ป.ช.ไดพ้ จิ ารณาข้อเท็จจรงิ จากการไตส่ วนแลว้ มีมติดงั น้ี
1. กรณกี ารกระทาของนายสมควรมมี ูลเปน็ ความผิดทางอาญาฐานเปน็ เจ้าพนักงาน เรยี ก

- ๒๗๒ -

รับหรือยอมจะรับทรัพย์สินหรือประโยชน์ท่านใดสาหรับตนเองหรือผู้อ่ืน โดยมิชอบเพ่ือกระทาการหรือไม่
กระทาอย่างใดในตาแหน่งไม่ว่าการกระทานั้นจะชอบหรือมิชอบด้วยหน้าที่ และฐานเป็นเจ้าพนักงานปฏิบัติ
หรือละเว้นการปฏบิ ัตหิ นา้ ท่โี ดยทุจรติ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 149 และมาตรา 157 ประกอบ
มาตรา 90 และมาตรา 91

2. ให้สง่ รายงานเอกสารและความเหน็ ไปยังผวู้ ่าราชการจงั หวดั น่านเพ่ือดาเนินตาม
อานาจหน้าที่และไปยังอัยการสูงสุด เพ่ือดาเนินคดีอาญาในศาลซึ่งมีอานาจพิจารณาคดีตามพระราชบัญญัติ
ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามทุจริต พ.ศ. 2542 มาตรา 92 และ มาตรา 97
ตามลาดบั ต่อไป
ผลการดาเนนิ การทางวนิ ยั

คณะกรรมการป.ป.ช. ได้ส่งรายงาน เอกสาร และความเห็นไปยังผู้บังคับบัญชาต้นสังกัด เพ่ือ
พิจารณาส่ังลงโทษทางวินัยและปัจจุบันผู้บังคับบัญชาต้นสังกัดได้ส่ังลงโทษทางวินัยให้นายสมควรพ้นจาก
ตาแหนง่ นายกองค์การบรหิ ารส่วนตาบลชนแดนแล้ว
ผลการดาเนนิ คดีอาญา

คณะกรรมการป.ป.ช. ได้ส่งรายงาน เอกสาร และความเห็นไปยังอัยการสูงสุดได้มีความเห็นส่ังฟ้อง
คดอี าญาแล้ว

- ๒๗๓ -

แบบบันทกึ ความเห็นของสมาชิกแตล่ ะคน
ช่อื สมาชิก.................................................................................................................................
1. ผกู้ ระทาผิดมคี วามผิดทางอาญาเก่ยี วกับเร่อื งใด เพราะเหตุใด
............................................................................................................................. ..............................................
...........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..............................................
............................................................................................................................. ..............................................
...........................................................................................................................................................................
2. ผู้กระทาความผดิ จะได้รับผลกระทบทางสงั คมอย่างไร
............................................................................................. ..............................................................................
............................................................................................................................. ..............................................
.................................................................................................................................. .........................................
......................................................................................... ..................................................................................
............................................................................................................................. ..............................................
3. ผู้กระทาความผิดขาดคุณธรรมในเร่ืองใด
............................................................................................................................. ..............................................
...........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..............................................
............................................................................................................................. ..............................................
....................................................................................................................................................................... ....
4. ในฐานะพลเมืองท่ีดี ถา้ ท่านเป็นชาวน่าน ทา่ นทราบเรื่องดงั กรณีน้ี ท่านควรจะดาเนนิ การอย่างไร
............................................................................................................................................................... ............
...................................................................................................................... .....................................................
............................................................................................................................. ..............................................
........................................................................................................................................................... ................
.................................................................................................................. .........................................................
5. ทา่ นจะนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปใช้ในการดาเนนิ ชีวิตอย่างไรเพื่อหลกี เล่ียงทีจ่ ะเข้าไป
เก่ยี วขอ้ งดงั กรณีศกึ ษา
.................................................................................. .........................................................................................
............................................................................................................................. ..............................................
............................................................................................................................. ..............................................
...........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..............................................

- ๒๗๔ -

แบบสรุปผลงานกลมุ่ ตามประเดน็ คาถาม
สมาชิก
1. .................................................................................. 2. .......................................................................
3. ................................................................................... 4. .......................................................................
1. ผู้กระทาผดิ มีความผิดทางอาญาเก่ียวกบั เรือ่ งใด เพราะเหตุใด
...........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..............................................
............................................................................................................................. ..............................................
...........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..............................................
2. ผกู้ ระทาความผดิ จะไดร้ ับผลกระทบทางสงั คมอย่างไร
............................................................................................................................. ..............................................
........................................................................................................................................ ...................................
............................................................................................... ............................................................................
............................................................................................................................. ..............................................
.................................................................................................................................... .......................................
3. ผ้กู ระทาความผิดขาดคุณธรรมในเรื่องใด
...........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..............................................
............................................................................................................................. ..............................................
...........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..............................................
4. ในฐานะพลเมืองทด่ี ี ถ้าทา่ นเป็นชาวน่าน ทา่ นทราบเรื่องดงั กรณนี ี้ ท่านควรจะดาเนินการอย่างไร
............................................................................................................................ ...............................................
............................................................................................................................. ..............................................
................................................................................................................................................................. ..........
........................................................................................................................ ...................................................
............................................................................................................................. ..............................................
5. ท่านจะนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปใช้ในการดาเนนิ ชีวติ อยา่ งไรเพ่ือหลกี เล่ียงที่จะเข้าไป
เกีย่ วข้องดงั กรณีศึกษา
............................................................................................................................. ..............................................
............................................................................................................................. ..............................................
.................................................................................... .......................................................................................
............................................................................................................................. ..............................................
............................................................................................................................. ..............................................

- ๒๗๕ -

ใบกจิ กรรมที่ 2
เรือ่ งการทุจริตการจัดซ้อื วสั ดุปอ้ งกนั โรคไขเลือดออก (มุง้ )

กรณีตัวอย่างคดที จุ รติ
เร่อื ง กล่าวหานายสมชาย เมื่อครัน้ ดารงตาแหน่งนายกองค์การบริหารส่วนจงั หวดั สกลนครกับพวก
ข้อกล่าวหา ทุจรติ ในการจดั ซื้อวสั ดปุ อ้ งกนั โรคไขเลือดออก (มุ้ง)
ขอ้ เท็จจรงิ จากการไต่สวน

จากการไต่สวนข้อเท็จจริงได้ความว่าเมื่อปี พ.ศ. 2542 นายสมชายผู้ถูกกล่าวหาที่ 1 ขณะดารง
ตาแหน่งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสกลนครมีหน้าที่รับผิดชอบในการบริหารราชการขององค์การ
บรหิ ารสว่ นจังหวัดไดใ้ ชอ้ านาจในตาแหนง่ เสนอญตั ตจิ ่ายขาดเงนิ สะสมในการจัดทาโครงการจัดหาวัสดุในการ
ปอ้ งกนั โรคไข้เลอื ดออกในเขตอาเภอวานรนวิ าส (มงุ้ จานวน 9,250) หลัง วงเงิน 1,850,000 บาทต่อสภา
องค์การบริหารส่วนจังหวัดสกลนคร และเม่ือได้รับอนุมัติจากสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดสกลนครแล้วผู้
ถูกกล่าวหาท่ี 1 ได้ร่วมกับนายสมควร ผู้ถูกกล่าวหาที่ 2 สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดสกลนคร
กาหนดให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดสกลนครจัดซ้ือมุ้งขนาด 2 x 2 เมตร ซ่ึงเป็นขนาดที่ไม่มีจาหน่ายตาม
รา้ นค้าทวั่ ไป จากนนั้ ผถู้ ูกกล่าวหาที่ 1 ได้ติดต่อร้านค้าท่ีรับผลิตและจาหน่ายมุ้งแห่งหนึ่งให้ผลิตมุ้ง ขนาด 2
x 2 เมตร จานวน 9,250 หลัง ในราคาหลังละ 88.50 บาท รวมเป็นเงิน 818,625 บาทและให้พิมพ์
ขอ้ ความในกระดาษวา่ “ดว้ ยรักและห่วงใยจากนายสมควร” ใส่เข้าไปในถุงบรรจุมุ้งดังกล่าวด้วยแล้วให้พรรค
พวกของตนไปดาเนินการจดทะเบียนร้านค้าเพื่อนาหลักฐานไปใช้ในการยื่นซองสอบราคาต่อองค์การบริหาร
สว่ นจังหวดั สกลนคร และได้แอบอ้างใช้ชือ่ และเอกสารหลกั ฐานของรา้ นค้าอน่ื ๆ อกี จานวน 2 ร้าน ไปร่วมย่ืน
เสนอดว้ ย ซง่ึ ปรากฏวา่ ร้านคา้ ของผู้ถูกกล่าวหาที่ 1 กบั พวก ไดร้ บั พจิ ารณาในการเสนอราคาขายวัสดุป้องกัน
โรคไขเลอื ดออก (มุง้ ) ในวงเงนิ 1,831,500 บาท (หลังละ 198 บาท) และได้ทาสัญญาซื้อขายกับองค์การ
บริการส่วนจังหวัดสกลนคร โดยผู้ถูกกล่าวที่ 1 กับพวก ได้รับประโยชน์ส่วนต่างของมุ้งที่ตนกับพวกได้
ดาเนินการจ้างผลติ ไวล้ ว่ งหน้าแลว้ และเป็นเหตใุ ห้ทางราชการได้รับความเสียหายจากการจัดซื้อมุ้งในราคาสูง
กว่าความเป็นจริง (หลังหักภาษี ณ ที่จ่ายแลว้ ) เปน็ จานวนเงนิ 994,560 บาท
มติคณะกรรมการป.ป.ช.

คณะกรรมการป.ป.ช. ได้พิจารณาขอ้ เทจ็ จริงจากการไตส่ วนแล้วมีมติว่าการกระทาของนายสมชายผู้
ถูกกล่าวคนท่ี 1 เป็นความผิดทางอาญา ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 151 มาตรา 152 และ
มาตรา 157 และนายสมควรผถู้ ูกกล่าวหาท่ี 2 เป็นความผิดอาญาตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 151
มาตรา 152 และมาตรา 157 ประกอบมาตรา 86 ให้ส่งรายงาน เอกสารและความเห็นไปยังอัยการสูงสุด
เพอื่ ดาเนินคดีอาญาในศาลซง่ึ มขี อบเขตอานาจพจิ ารณาพิพากษาคดกี บั ผู้ถกู กล่าวหาทัง้ สองตอ่ ไป
ผลการดาเนินคดีอาญา

อัยการสูงสุดมีความเห็นส่ังฟ้องคดี และปัจจุบันอัยการจังหวัดสกลนครได้ยื่นฟ้องคดีต่อศาลจังหวัด
สกลนครแล้ว

- ๒๗๖ -

แบบบนั ทกึ ความเห็นของสมาชิกแต่ละคน
ชือ่ สมาชกิ .................................................................................................................................
1. ผกู้ ระทาผดิ มีความผิดทางอาญาเก่ยี วกบั เรื่องใด เพราะเหตุใด
.................................................................................................................................... .......................................
........................................................................................... ................................................................................
............................................................................................................................. ..............................................
................................................................................................................................ ...........................................
....................................................................................... ....................................................................................
2. ผูก้ ระทาความผิดจะไดร้ บั ผลกระทบทางสงั คมอยา่ งไร
.......................................................................................................................... .................................................
............................................................................................................................. ..............................................
............................................................................................................................................................... ............
...................................................................................................................... .....................................................
3. ผู้กระทาความผดิ ขาดคุณธรรมในเร่อื งใด
............................................................................................................................. ..............................................
............................................................................................................................. ..............................................
...........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..............................................
............................................................................................................................. ..............................................
4. ในฐานะพลเมอื งทดี่ ี ถา้ ทา่ นเปน็ ชาวน่าน ทา่ นทราบเรื่องดังกรณนี ้ี ท่านควรจะดาเนินการอย่างไร
............................................................................................................................. ..............................................
...........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..............................................
............................................................................................................................. ..............................................
...........................................................................................................................................................................
5. ท่านจะนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปใช้ในการดาเนินชีวิตอยา่ งไรเพื่อหลกี เล่ียงท่ีจะเขา้ ไป
เกีย่ วขอ้ งดงั กรณีศกึ ษา
.......................................................................................................................................................... .................
.................................................................................................................. .........................................................
............................................................................................................................. ..............................................
......................................................................................................................................................... ..................
................................................................................................................. ..........................................................

- ๒๗๗ -

แบบสรปุ ผลงานกล่มุ ตามประเดน็ คาถาม
สมาชกิ
1. .................................................................................. 2. .......................................................................
3. ................................................................................... 4. .......................................................................
1. ผกู้ ระทาผิดมีความผิดทางอาญาเก่ยี วกับเร่ืองใด เพราะเหตใุ ด
................................................................................................................................................ ...........................
........................................................................................................ ...................................................................
............................................................................................................................. ..............................................
............................................................................................................................................... ............................
....................................................................................................... ....................................................................
2. ผกู้ ระทาความผดิ จะได้รบั ผลกระทบทางสงั คมอยา่ งไร
............................................................................................................................. ..............................................
............................................................................................................................. ..............................................
...........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..............................................
............................................................................................................................. ..............................................
3. ผู้กระทาความผดิ ขาดคุณธรรมในเร่อื งใด
........................................................................................................................................ ...................................
................................................................................................ ...........................................................................
............................................................................................................................. ..............................................
....................................................................................................................................... ....................................
............................................................................................... ............................................................................
4. ในฐานะพลเมืองทีด่ ี ถ้าท่านเป็นชาวน่าน ทา่ นทราบเรื่องดังกรณีนี้ ท่านควรจะดาเนนิ การอย่างไร
....................................................................................... ....................................................................................
............................................................................................................................. ..............................................
.............................................................................................................................. .............................................
...................................................................................... .....................................................................................
............................................................................................................................. ..............................................
5. ทา่ นจะนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการดาเนนิ ชีวิตอย่างไรเพื่อหลกี เล่ียงทจ่ี ะเขา้ ไป
เกี่ยวข้องดงั กรณีศึกษา
............................................................................................................................. ..............................................
............................................................................................................................. ..............................................
...........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..............................................
............................................................................................................................. ..............................................

- ๒๗๘ -

ใบงาน
เร่ือง การปฏิบัติตนตามระเบียบ กฎ กตกิ า และกฎหมายในชีวิตประจาวนั

คาชี้แจง ให้นกั เรียนเขยี นบันทกึ การปฏิบตั ติ นตามระเบียบ กฎ กตกิ า และกฎหมายใน
ชีวิตประจาวนั ลงในตาราง พร้อมกบั บอกประโยชน์ท่ีไดร้ บั จากการปฏบิ ัตดิ ังกล่าว

การปฏิบตั ิตนตามระเบียบ กฎ กตกิ า การปฏิบัตติ นตามกฎหมาย

ประโยชนท์ ไี่ ด้รบั จากการปฏิบัติตนตามระเบียบ กฎ กติกา และกฎหมายในชวี ติ ประจาวัน

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

- ๒๗๙ -

แผนการจดั การเรียนรู้

หนว่ ยท่ี ๔ ชื่อหน่วย พลเมอื งและความรับผิดชอบต่อสังคม ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๓ เรอื่ ง ความรบั ผดิ ชอบต่อตนเองและผู้อนื่ /สังคม เวลา ๒ ชวั่ โมง

๑. ผลการเรียนรู้
๑.๑ มคี วามรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับพลเมืองและมคี วามรบั ผิดชอบต่อสังคม
๑.๒ ปฏบิ ัติตนตามหน้าท่พี ลเมอื งและมีความรบั ผิดชอบต่อสงั คม
๑.๓ ตระหนกั และเห็นความสาคญั ของการตอ่ ต้านและป้องกนั การทจุ รติ

๒. จุดประสงค์การเรยี นรู้
2.1 นักเรยี นมีความรู้ ความเข้าใจ เกีย่ วกับความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเองและผู้อน่ื
2.2 นกั เรียนมีประพฤตปิ ฏิบัติตนเปน็ แบบอย่างที่ดีทงั้ รับผิดชอบต่อตนเองและผู้อ่ืน
2.3 นักเรียนบอกความหมายของความรับผิดชอบได้
2.4 นักเรยี นจาแนกรับผดิ ชอบต่อตนเองและผู้อ่ืนได้
2.5 นกั เรยี นประยุกตค์ วามรับผิดชอบตอ่ ตนเอง และผู้อน่ื สังคมมาใช้ในการดาเนนิ ชีวติ ได้
2.6 นักเรยี นมคี วามรบั ผดิ ชอบในการปฏบิ ัติหน้าท่ีท่ไี ดร้ ับมอบหมายด้วยความซอ่ื สัตย์สจุ ริตและ

เสร็จตามเวลาท่กี าหนด
๓. สาระการเรยี นรู้
3.1 ความรู้
1) ความหมายของคาวา่ ความรบั ผิดชอบ
2) แนวทางประยุกต์ความรบั ผดิ ชอบมาใช้ในการดาเนินชวี ิต
3.2 ทกั ษะ / กระบวนการ (สมรรถนะทเี่ กิด)
3.1 ความสามารถในการคิด
1) ทักษะการคิดวเิ คราะห์ การคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ
2) ทักษะกระบวนการคดิ เชิงสรา้ งสรรค์
3.2 ความสามารถในการส่ือสาร
(อ่าน ฟัง พูด เขยี น)
3.๓ ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ
(การสังเกต การระบุ จาแนก วเิ คราะห์ จดั กลมุ่ สรุป)
3.3 คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ / ค่านิยม
1) ซอ่ื สัตยส์ ุจริต
2) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
3) ใฝเ่ รียนรู้

๔.กจิ กรรมการเรียนรู้ (จานวน ๒ ช่วั โมง)
4.1 ข้นั ตอนการเรยี นรู้
ช่ัวโมงที่ 1
๑. ชมคลิปวิดโี อ Animation 3D เร่ือง ความรับผิดชอบ โดยมที ่ีจาก
https://www.youtube.com/watch?v=7kbnUOzerjg
๒. สนทนาอภิปราย เก่ยี วกับคลิปวิดีโอท่ีรบั ชม ในประเด็น ดงั นี้

- ๒๘๐ -

 เหตกุ ารณ์ทเ่ี กิดข้ึนเกีย่ วกบั คลปิ วดิ ีโอ
 นักเรียนพบประเด็นใดบ้างจากคลิปวดิ ีโอ
 ปญั หา สาเหตุ
 วธิ ีการ แนวทางการแกป้ ญั หา

ฯลฯ
๓. แบ่งกล่มุ ๓ – ๕ กลุ่ม แจกใบความรู้ เรื่อง ความรบั ผิดชอบ คืออะไร สาคญั ไฉน ให้แตล่ ะกลุม่

ศึกษา และรว่ มกนั สรุปองค์ความรูท้ ไ่ี ดจ้ ากการศกึ ษาใบความรู้ จากนั้นใหต้ วั แทนกลุ่มออกมา
นาเสนอผลงาน
๔. สนทนา อภิปราย โดยจัดทาเป็นแผนผังความคิดรว่ มกนั เก่ียวกับความรับผดิ ชอบ โดยให้
นักเรยี นรว่ มแสดงความคดิ เห็น ซ่ึงมีครูคอยให้ความรู้เพิ่มเติม
๕. ครูนารปู ภาพท่เี กย่ี วกับความรับผิดชอบมาให้นักเรียนดู และจาแนกประเภทของความ
รบั ผดิ ชอบต่อตนเอง และความรับผดิ ชอบต่อผู้อ่ืนสังคม
ชว่ั โมงท่ี 2
๖. แบ่งกลุ่มนักเรยี นออกเป็น ๒ กลมุ่ ใหแ้ ต่ละกลุ่มจบั ฉลาก หัวขอ้ ความรับผิดชอบต่อตนเอง และ
หวั ข้อ ความรบั ผิดชอบต่อผู้อ่ืนสงั คม เพ่ือให้นักเรียนแสดงบทบาทสมมติ
๗. ครใู ห้นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ วางแผนบทบาทสมมตหิ น้าชน้ั เรียน
๘. ครใู หน้ กั เรียนแต่ละกลมุ่ ออกมาแสดงบทบาทสมมตหิ น้าช้ันเรียน
๙. สนทนา อภปิ รายสรปุ ร่วมกัน ในประเด็นการประยุกตค์ วามรบั ผิดชอบต่อตนเอง และผู้อนื่
สงั คมมาใช้ในการดาเนินชวี ิตได้
๔.๒ สื่อการเรียนรู้ / แหล่งการเรยี นรู้
๑. วีดีทศั น์ Animation 3D เรือ่ ง ความรบั ผดิ ชอบ โดยมที จ่ี าก

https://www.youtube.com/watch?v=7kbnUOzerjg
๒. ใบความรู้ เรอ่ื ง ความรบั ผิดชอบ คืออะไร สาคัญไฉน
๓. รูปภาพทเ่ี กีย่ วกบั ความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเองและความรับผิดชอบต่อผู้อ่ืนสงั คม
๔. กระดาษชารต์

๕. การประเมินผลการเรียนรู้
5.1 วธิ กี ารประเมิน
๑) สังเกตกระบวนการทางานกลุ่ม
๒) การนาเสนอผลงาน
๓) การแสดงบทบาทสมมติ

๕.๒ เครื่องมือท่ีใชใ้ นการประเมนิ
๑) แบบสังเกตกระบวนการทางานกลุ่ม
๒) แบบบนั ทึกผลการนาเสนอผลงาน
๓) แบบประเมินการนาเสนอผลงานกลุ่ม (การแสดงบทบาทสมมติ)

5.3 เกณฑ์การตัดสิน
- นักเรยี นผ่านเกณฑ์การประเมินระดับดี ขึน้ ไป

- ๒๘๑ -

6. บันทกึ หลงั สอน
............................................................................................................................................................... ............
....................................................................................................................... ....................................................
............................................................................................................................. ..............................................
.............................................................................................................................................................. .............
...................................................................................................................... .....................................................
............................................................................................................................. ..............................................
............................................................................................................................................................. ..............
..................................................................................................................... ......................................................
............................................................................................................................. ..............................................

ลงชือ่ ................................................ ครูผูส้ อน
(.................................................)

- ๒๘๒ -
แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลมุ่

กลุ่ม ..........................................................................................................
สมาชกิ ในกล่มุ 1. ......................................................................

2. ......................................................................
3. ......................................................................
4. ......................................................................
5. ......................................................................
6. ......................................................................

คาชแี้ จง: ให้นกั เรียนทาเคร่ืองหมาย  ในชอ่ งทต่ี รงกับความเป็นจรงิ

พฤติกรรมท่ีสังเกต คะแนน

32 1

1. มสี ว่ นร่วมในการแสดงความคดิ เหน็
2. มีความกระตอื รือร้นในการทางาน
3. รับผดิ ชอบในงานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย
4. มีข้ันตอนในการทางานอย่างเป็นระบบ
5. ใช้เวลาในการทางานอยา่ งเหมาะสม

รวม

เกณฑก์ ารให้คะแนน

พฤติกรรมที่ทาเปน็ ประจา ให้ 3 คะแนน
พฤตกิ รรมท่ที าเปน็ บางครง้ั ให้ 2 คะแนน
พฤตกิ รรมท่ที าน้อยคร้ัง ให้ 1 คะแนน

เกณฑก์ ารให้คะแนน

ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
13-15 ดี
8-12
5-7 ปานกลาง
ปรบั ปรุง

- ๒๘๓ -

แบบการประเมินผลการนาเสนองาน
เรอ่ื ง ……………………………………………………………………….
วิชา…………………………………………………….…………….ชน้ั ……………….
ชือ่ /กล่มุ ……………………………………………………….…………………………………………………..

ที่ รายการประเมนิ ผ้ปู ระเมิน รวม เกณฑ์การประเมนิ

1 เน้อื หา ( 4 คะแนน ) ตนเอง เพอื่ น ครู
25.เน้อื หาครบถ้วนสมบูรณ์
26.เนอื้ หาถูกต้อง คะแนน 4 : มีครบทกุ ข้อ
27.เนอ้ื หาตอ่ เน่อื ง
28.มกี ารค้นคว้าเพ่ิมเตมิ คะแนน 3 : มี 3 ขอ้ ขาด 1 ขอ้

2 กระบวนการทางาน(2คะแนน ) คะแนน 2 : มี 2 ข้อ ขาด 2 ขอ้
25.มกี ารวางแผนอยา่ งเป็นระบบ
26.การปฏิบตั ติ ามแผน คะแนน 1 : มี 1 ข้อ ขาด 3 ข้อ
27.ตดิ ตามประเมนิ ผล
28.การปรับปรงุ พฒั นางาน คะแนน 2: มีครบทุกข้อ
คะแนน 1 : มี ไม่ครบ 4 ขอ้
3 การนาเสนอ ( 2 คะแนน ) คะแนน 0 : ไมป่ รากฏกระบวน
19. การใช้สานวนภาษาดถี ูกต้อง
20.การสะกดคาและไวยากรณ์ การทางานท่ีชัดเจน
ถูกต้อง
21.รปู แบบนา่ สนใจ คะแนน 2 : มีครบทกุ ขอ้
4. ความสวยงาม คะแนน 1.5: มี 3 ข้อ ขาด 1 ข้อ
คะแนน 1 : มี 2 ข้อ ขาด 2 ข้อ
4 คุณธรรม ( 2 คะแนน ) คะแนน 0.5 : มี 1 ข้อขาด 3 ข้อ
21.ตรงต่อเวลา
22.ซือ่ สตั ย์ คะแนน 2 : มคี รบทุกขอ้
23.ความกระตือรือร้น คะแนน 1.5: มี 3 ขอ้ ขาด 1 ข้อ
24.ความมีน้าใจ คะแนน1 : มี 2 ขอ้ ขาด 2 ขอ้
รวม คะแนน 0.5 :มี 1 ข้อ ขาด 3 ข้อ
เฉลีย่
คะแนนเต็ม 10 คะแนน

ลงชือ่ ผูป้ ระเมนิ …………………………….. ตนเอง
ลงช่อื ผู้ประเมนิ …………………………….. เพื่อน
ลงช่ือผปู้ ระเมิน…………………………….. ครู

- ๒๘๔ -

แบบประเมินการนาเสนอผลงานกลมุ่ ( การแสดงบทบาทสมมติ )
กลุ่มที.่ ............เร่ือง...........................................................................................................
รายวิชา............................................รหสั วชิ า.......................ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่.ี .....................

คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนประเมนิ โดยกาเคร่ืองหมาย / ลงในช่องระดับคะแนนใหต้ รงกับความเปน็ จริงมากทสี่ ุด

รายการประเมิน ระดบั คะแนน รวม หมาย

1. ความเหมาะสมของบทบาทการนาเสนอ 321 เหตุ
2. ความถกู ตอ้ งข้อมลู สาระ ความรู้
3. สว่ นประกอบอืน่ ๆและความคดิ ริเร่มิ สร้างสรรค์
คะแนนรวม

ต้องได้คะแนนรวมตั้งแต่ 6 ขนึ้ ไป จงึ จะถือว่าผ่านเกณฑ์

ลงชอ่ื ....................................นกั เรยี นผปู้ ระเมิน ลงชื่อ....................................ครผู ูส้ อน

(........................................................) (........................................................)

วนั ท่ี...............เดือน.............................พ.ศ........................

ประเดน็ การประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน / ระดับคณุ ภาพ

3 21

1. ความเหมาะสมของ แสดงบทบาท แสดงบทบาท แสดงบทบาท

บทบาทการนาเสนอ เหมาะสม เสยี งดงั ฟัง เหมาะสม เสียงดังปาน เหมาะสม เสยี ง

ชัด ลีลาประกอบดมี าก กลาง ลลี าประกอบดี เบา ลีลาประกอบ

ค่อนข้างนอ้ ย

2. ความถกู ตอ้ ง เน้ือหาสาระถกู ต้องครบถ้วน เน้อื หาสาระถูกต้องเปน็ เน้อื หาสาระถกู ต้อง

ข้อมลู สาระ ความรู้ ส่วนมาก เปน็ สว่ นนอ้ ย

3. สว่ นประกอบอน่ื ๆ มีการนาอุปกรณ์มา มกี ารนาอุปกรณ์มา มกี ารนาอุปกรณม์ า

และความคดิ รเิ ร่ิม ประกอบการนาเสนอ ดีมาก ประกอบการนาเสนอ ดี ประกอบการนาเสนอ

สร้างสรรค์ ค่อนข้างน้อย

- ๒๘๕ -

ใบความรู้
เรอ่ื ง ความรบั ผดิ ชอบ คอื อะไร สาคญั ไฉน
ความรับผิดชอบ/รับผิด/รับชอบ สาคัญที่สุด ตองเขาใจความหมายของคาวา “ความรับผิดชอบ” ใหถูกตอง
ขอใหเขาใจวา “รับผิด” ไมใชการรับโทษหรอื ถูกลงโทษ “รับชอบ” ไมใชรางวัลหรือรับคาชมเชย การรูจักรับ
ผดิ หรอื ยอมรบั วา อะไรผิดพลาดเสียหาย และเสียหายเพราะอะไร เพียงใดนั้น มีประโยชน ทาใหบุคคลรูจัก
พิจารณาตนเอง ยอมรับความผิดของตนเองโดยใจจริง เปนทางที่จะชวยแกไขความผิดได และใหรูวาจะตอง
ปฏิบัติแกไขใหม สวนการรูจักรับชอบหรือรูว่าอะไรถูก อันไดแกถูกตามความมุงหมาย ถูกตามหลักวิชา ถูก
ตามวิธีการนั้น มีประโยชนทาใหทราบแจงวา จะทาใหงานเสร็จสมบูรณไดอยางไร จักไดถือปฏิบัติตอไป
.…….......... ความรบั ผิดชอบ คือ หนาท่ีทไี่ ดรับมอบหมายใหทา จะหลีกเลีย่ ง ละเลยไมได
(พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปรญิ ญาบตั รของมหาวทิ ยาลัย เกษตรศาสตร ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๑๙)

ประเภทของความรับผิดชอบตามลักษณะความหมายมีดังน้ี
1. ความรบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเอง
2. ความรับผดิ ชอบต่อผูอ้ ่นื และสงั คม

ซง่ึ แตล่ ะประเภทมรี ายละเอยี ดดงั นี้
1) ความรับผิดชอบต่อตนเอง หมายถึงการรับรู้ฐานะและบทบาทของตนท่ีเป็นส่วนหนึ่งของสังคม

ซ่ึงจะตอ้ งดารงตนอย่ใู นสภาพท่ีช่วยเหลือตนเองได้ โดยที่บุคคลควรจะวิเคราะห์และแยกแยะว่าสิ่งใดถูกหรือ
ผิดเหมาะสมหรอื ไม่ และมคี วามสามารถทจ่ี ะเลอื กตดั สินใจในการเป็นทีย่ อมรบั ของสงั คม ความรับผิดชอบต่อ
ตนเอง แบ่งได้เปน็

1.1 ความรบั ผิดชอบในดา้ นการรกั ษาสขุ ภาพอนามยั ของตนเองคือ สามารถเอาใจ
ใสแ่ ละระมัดระวังสุขภาพอนามัยของตนเอง ใหม้ คี วามสมบรู ณแ์ ขง็ แรงอยู่เสมอ

1.2 ความรับผิดชอบในการหาเคร่ืองอุปโภคบริโภคคือ สามารถจัดหาและดูแลเคร่ืองใช้
ส่วนตัวให้เป็นระเบียบเรียบรอ้ ย อยูใ่ นสภาพท่สี ามารถใชง้ านได้เหมาะสม

1.3 ความรับผดิ ชอบในดา้ นสตปิ ัญญาและความสามรถคือ ต้ังใจศกึ ษาเล่าเรียนใฝ่หาความรู้
ตา่ งๆ การฝกึ ฝนตนเองในดา้ นประสบการณต์ า่ งๆ

1.4 ความรับผิดชอบในด้านความประพฤติคือรู้จักประพฤติให้เหมาะสม เป็นผู้มีระเบียบ
วนิ ัย ดารงตนให้อยู่ในคุณธรรม จริยธรรม

1.5 ความรับผดิ ชอบในดา้ นมนษุ ยสัมพนั ธค์ อื รจู้ ักท่ีจะปรบั ตัวใหอ้ ยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้
อย่างเหมาะสม

1.6 ความรับผิดชอบในด้านเศรษฐกิจส่วนตัวคือรู้จักวางแผนและประมาณการใช้จ่ายของ
ตน โดยยึดหลักการประหยัดและอดออม

1.7 ความรบั ผดิ ชอบเร่ืองการงาน คอื เม่ือได้รับมอบหมายให้ทากิจใดก็ต้องทาให้เรียบร้อย
ภายในเวลาทีก่ าหนด

1.8 ความรบั ผิดชอบตอ่ การกระทาของตน คือยอมรบั ผลการกระทาของตนทั้งผลดีหรือ ใน
ดา้ นทเี่ กดิ ผลเสยี หาย

2 ความรับผิดชอบตอ่ ผอู้ ่นื และสังคม หมายถงึ ภาระและหนา้ ทขี่ องบุคคลซ่งึ เก่ียวข้องและมีส่วนร่วม
ต่อสวสั ดภิ าพของสังคมทต่ี นเปน็ สมาชิก ดว้ ยเหตุทบ่ี ุคคลทกุ คนเป็นสว่ นประกอบของสังคมไม่ว่าจะเป็นสังคม
ขนาดเล็ก จนถึงสังคมขนาดใหญ่ได้แก่ครอบครัว ชั้นเรียน สถานศึกษา ชุมชน และประเทศชาติตามลาดับ

- ๒๘๖ -

ดังน้ันการกระทาของบุคคลใดบุคคลหน่ึงย่อมต้องส่งผลกระทบต่อสังคมส่วนรวมไม่มากก็น้อย เม่ือบุคคลทุก
คนมีภาระหนา้ ท่ีทจี่ ะเกีย่ วพนั กบั สวสั ดิภาพของสังคม ที่ตนดารงอยู่บคุ คลจึงมีหน้าท่ีและความรับผิดชอบต้อง
ปฏบิ ตั ิตอ่ สังคม 5 ประการดงั น้ี

2.1 ความรับผิดชอบต่อ บิดามารดาและครอบครัวได้แก่ให้ความเคารพและเชื่อฟัง
ชว่ ยเหลอื การงานใหเ้ ตม็ ความสามรถในแต่ละโอกาสอันสมควร ประพฤตติ นเป็นคนดี ต้ังใจศึกษาเล่าเรียน ไม่
นาความเดอื ดรอ้ นมาสคู่ รอบครัวและชว่ ยกนั รักษา และเชิดชูชอื่ เสยี งวงศ์กระกลู

2.2 ความรับผิดชอบต่อเพื่อน ได้แก่การให้ความรักแก่เพื่อนเปรียบเสมือนพ่ีน้องของตน
ตักเตือนเมื่อเพื่อนกระทาผิดคอยแนะนาให้เพื่อนกระทาในสิ่งที่ถูกต้อง ช่วยเพ่ือนอย่างเหมาะสมและถูกต้อง
ไม่เอารัดเอาเปรียบ ให้อภัยในกรณีท่ีเกิดความผิดพลาดหรือบาดหมางกัน ใช้ถ้อยคาสุภาพต่อกันด้วยความ
อ่อนโยน

2.3 ความรับผิดชอบต่อสถานศึกษาครูอาจารย์ได้แก่การต้ังใจศึกษาเล่าเรียน
ไม่หนีเรียน เคารพและเชื่อฟังครูอาจารย์ช่วยเหลือกิจกรรมงานของสถานศึกษาอย่างเคร่งครัด รักษาความ
สะอาดไมท่ าลายทรพั ย์สมบัติของสถานศกึ ษา รักษาและสรา้ งชอ่ื เสียงเกียรติยศของสถานศึกษา

2.4 ความรับผิดชอบต่อชุมชน ในฐานะที่เป็นสมาชิกของชุมชน ได้แก่ เคารพ และปฏิบัติ
ตามระเบียบข้อบังคับ หรือขนบธรรมเนียมประเพณีท่ียึดถือภายในชุมชนของตน ช่วยรักษาสาธารณสมบัติ
และให้ความรว่ มมอื ในการทางานเพ่ือพัฒนาชุมชน ไม่ละเลยต่อพลเมอื งดี

2.5 ความรับผิดชอบต่อประเทศชาติได้แก่ปฏิบัติตามกฎหมายหรือระเบียบต่างๆ ของ
สังคมรักษาสาธารณสมบัติของชาติให้ความร่วมมือ และช่วยเหลือเจ้าหน้าท่ีในการรักษาความมั่นคงของชาติ
จงรักภักดีต่อชาติศาสนา พระมหากษัตริย์รักษาความสามัคคีของคนในชาติดารงไว้ซึ่งศิลปวัฒนธรรมแห่ง
ความเปน็ ไทย

ความสําคญั ของความรับผดิ ชอบ ความรับผิดชอบเป็นคุณสมบัติท่ีดีอย่างหนึ่ง ซ่ึงจาเป็นอย่างย่ิง
ที่ควรปลูกฝังให้แกเ่ ด็กและเยาวชนไทย นอกจากความมีระเบียบวินัย ความซ่ือสัตย์สุจริต ความขยันมั่นเพียร
มีมานะอุตสาหะ และความเสียสละอันเป็นคุณลักษณะของพลเมืองดีซ่ึงเป็นลักษณะนิสัย และการกระทาที่
สอดคล้องกับมาตรฐานและกฎเกณฑ์ข้อบังคับของกฎหมาย หรือกฎเกณฑ์ของศาสนา อีกท้ังคานึงถึง
ผลประโยชน์ของส่วนร่วมมากกว่าการฉวยโอกาสเพื่อตนเอง ความรับผิดชอบจะเป็นกลไกที่สาคัญในการ
ผลักดันให้บุคคลปฏิบัติตามระเบียบที่ได้กาหนดไว้ มีความเคารพสิทธิของผู้อื่น ซื่อสัตย์สุจริต ซ่ึงจะช่วยให้
สมาชิกในสังคมสามรถท่ีจะอยู่ร่วมกันได้อย่างสงบสุขหากสมาชิกทุกคนในสังคมเป็นผู้ท่ีมีความรับผิดชอบ
ปัญหาความวุ่นวายต่างๆ ท่สี ังคมกาลังประสบอยใู่ นปัจจุบัน คงไม่เกิดขึ้นดังที่สัญญา สัญญาวิวัฒน์กล่าวไว้ว่า
สังคมจะขาดความสงบสุขเนื่องจากมีบุคคลส่วนหนึ่งของสังคม เป็นผู้ท่ีขาดคุณลักษณะของความรับผิดชอบ
ความสมา่ เสมอความเช่อื ม่นั ในตนเองความซื่อสัตย์

- ๒๘๗ -
ตวั อยา่ ง รปู ภาพที่เก่ยี วกบั ความรับผดิ ชอบต่อตนเองและความรบั ผิดชอบต่อผู้อืน่ สงั คม

ความรบั ผิดชอบตอ่ ตนเอง ความรับผดิ ชอบตอ่ ผอู้ ื่นสงั คม

ออกกาลังกาย ดูแลยาย
ทาการบ้าน ไหว้ครู

อดออม คดั เลือกทหาร

- ๒๘๘ -

สง่ การบา้ น สวมหมวกนริ ภยั

- ๒๘๙ - ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ ๓
เวลา 2 ชวั่ โมง
แผนการจดั การเรียนรู้

หนว่ ยท่ี ๔ ชือ่ หนว่ ย พลเมืองและความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๔ เร่ือง ความเปน็ พลเมือง

๑. ผลการเรียนรู้
๑.๑ มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกบั พลเมืองและมคี วามรับผิดชอบต่อสงั คม
๑.๒ ปฏิบตั ิตนตามหนา้ ทีพ่ ลเมืองและมีความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม
๑.๓ ตระหนกั และเหน็ ความสาคญั ของการต่อต้านและป้องกนั การทจุ รติ

๒. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
2.1 นักเรียนมีความรู้ ความเขา้ ใจ เกีย่ วกบั ความเปน็ พลเมือง
2.2 นกั เรยี นประพฤตปิ ฏิบัติตนตามหลักความเปน็ พลเมือง
๒.3 นกั เรียนบอกความหมายของความเปน็ พลเมืองได้
2.4 นักเรียนระบุพฤติกรรมของความเปน็ พลเมือง ประชาชน และราษฎร
2.5 นักเรยี นประยกุ ตค์ วามเป็นพลเมอื งมาใช้ในการดาเนินชวี ติ ได้
2.6 นักเรยี นมคี วามรับผดิ ชอบในการปฏบิ ัติหนา้ ที่ท่ไี ด้รับมอบหมายดว้ ยความซอ่ื สตั ยส์ ุจริต และ

เสร็จตามเวลาท่กี าหนด
๓. สาระการเรยี นรู้
3.1 ความรู้
1) ความหมายของคาวา่ ความเปน็ พลเมือง ประชาชน และราษฎร
2) แนวทางประยุกตค์ วามเป็นพลเมืองมาใชใ้ นการดาเนนิ ชวี ติ
3.2 ทกั ษะ / กระบวนการ (สมรรถนะท่ีเกดิ )
3.1 ความสามารถในการคิด
1) ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ การคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ
2) ทกั ษะกระบวนการคิดเชิงสร้างสรรค์
3.2 ความสามารถในการส่ือสาร
(อา่ น ฟัง พูด เขียน)
3.๓ ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ
(การสงั เกต การระบุ จาแนก วิเคราะห์ จดั กลุ่ม สรุป)
3.3 คณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ / คา่ นยิ ม
1) มีวินัย
2) รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
3) ใฝ่เรียนรู้

๔.กจิ กรรมการเรียนรู้
4.1 ขั้นตอนการเรยี นรู้
ชว่ั โมงที่ 1
1) ทบทวนความร้เู ดมิ ถงึ ความหมายของคาวา่ ความเป็นพลเมือง

- ๒๙๐ -

ความเป็นพลเมือง (อังกฤษ: citizenship) คือ สถานภาพของบุคคลที่จารีตประเพณีหรือ
กฎหมายของรัฐรับรองซึ่งให้แก่สิทธิและหน้าท่ีแห่งความเป็นพลเมืองแก่บุคคล (เรียก พลเมือง) ซึ่งอาจรวม
สิทธิออกเสียงเลือกต้ัง การทางานและอาศัยอยู่ในประเทศ สิทธิกลับประเทศ สิทธิครอบครอง
อสังหาริมทรัพย์ การคุ้มครองทางกฎหมายต่อรัฐบาลของประเทศ และการคุ้มครองผ่านกองทัพหรือการทูต
พลเมืองยังมีหน้าท่ีบางอย่าง เช่น หน้าท่ีปฏิบัติตามกฎหมายของรัฐ จ่ายภาษี หรือรับราชการทหาร บุคคล
อาจมีความเป็นพลเมอื งมาก และบุคคลที่ไมม่ ีความเป็นพลเมอื ง เรยี ก ผไู้ รส้ ญั ชาติ (stateless)

2) สนทนา อภปิ ราย เกย่ี วกับความหมายของคาวา่ ความเป็นพลเมือง ประเดน็ ดังนี้
 ความเป็นพลเมืองเก่ยี วข้องกับเรือ่ งใดบา้ ง
 ยกตัวอยา่ ง
ฯลฯ

3) ตั้งประเด็นให้นักเรยี น
๑) “นักเรียนคดิ ว่า ความเป็นพลเมือง ประชาชนและราษฎร เหมือนหรอื แตกต่างกัน
อย่างไร”
๒) “นักเรียนคิดว่า บทบาทของความเปน็ พลเมือง ประชาชน และราษฎร เหมอื นหรือ
แตกต่างกันอย่างไร”

4) แบง่ กลุ่มนักเรยี น ๕ – ๖ กล่มุ แจกใบความรู้ เร่ือง ความเปน็ พลเมือง ประชาชน และราษฎร
ให้แต่ละกลุ่มศกึ ษา และรว่ มกันสรปุ องค์ความรู้ทไ่ี ดจ้ ากการศึกษาใบความรู้ ลงใบงานที่ ๑
เร่อื ง รแู้ ลว้ ความเปน็ พลเมอื ง ประชาชน และราษฎร คอื อะไร

5) แจกใบงานที่ ๒ เร่อื ง ความเป็นพลเมือง และประชาชน/ราษฎร ต่างกนั อย่างไร ใหแ้ ตล่ ะกลุ่ม
ช่วยกนั ลงมือทา

6) สนทนา อภิปราย ใบงาน เรอื่ ง ความเป็นพลเมือง และประชาชน/ราษฎร ต่างกันอย่างไร โดย
จดั ทาเป็นแผนผังความคิดรว่ มกนั โดยให้นกั เรยี นร่วมแสดงความคดิ เห็น ซ่งึ มคี รูคอยให้ความรู้
เพมิ่ เติม

7) สนทนา อภิปรายสรปุ รว่ มกัน เก่ียวกับความเปน็ พลเมือง และประชาชน/ราษฎร
8) สนทนา อภิปรายสรปุ ร่วมกนั ในประเดน็ การประยุกตค์ วามเปน็ พลเมืองมาใช้ในการดาเนิน

ชีวิตได้
๔.๒ สือ่ การเรียนรู้ / แหล่งการเรยี นรู้

1) ใบความรู้ เรอื่ ง ความเปน็ พลเมอื ง ประชาชน และราษฎร

2) ใบงานที่ ๑ เรือ่ ง รู้แลว้ ความเปน็ พลเมือง ประชาชน และราษฎร คืออะไร
3) ใบงานท่ี ๒ เรอื่ ง ความเป็นพลเมือง และประชาชน/ราษฎร ตา่ งกันอย่างไร

๕. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้
5.1 วิธกี ารประเมิน
๑) สังเกตกระบวนการทางานกล่มุ
๒) การนาเสนอผลงาน
๓) ใบงาน

- ๒๙๑ -

๕.๒ เครือ่ งมือท่ใี ชใ้ นการประเมิน
๑) แบบสังเกตกระบวนการทางานกลุ่ม
๒) แบบบันทกึ ผลการนาเสนอผลงาน
๓) แบบบนั ทึกคะแนนใบงาน

5.3 เกณฑก์ ารตัดสิน
- นักเรียนผา่ นเกณฑ์การประเมินระดับดีขึน้ ไป

6. บันทกึ หลังสอน
............................................................................................................................. ..............................................
...........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..............................................
............................................................................................................................. ..............................................
...........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..............................................
............................................................................................................................. ..............................................
...........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..............................................

ลงชอ่ื ................................................ ครผู ู้สอน
(.................................................)

- ๒๙๒ -
แบบประเมนิ พฤติกรรมการทางานกลุ่ม

กลุ่ม ..........................................................................................................
สมาชิกในกล่มุ 1. ......................................................................

2. ......................................................................
3. ......................................................................
4. ......................................................................
5. ......................................................................
6. ......................................................................

คาชแี้ จง: ใหน้ กั เรียนทาเครื่องหมาย  ในชอ่ งท่ีตรงกบั ความเปน็ จริง

พฤตกิ รรมที่สังเกต คะแนน

32 1

1. มสี ว่ นรว่ มในการแสดงความคิดเหน็
2. มคี วามกระตือรอื รน้ ในการทางาน
3. รับผิดชอบในงานท่ีไดร้ ับมอบหมาย
4. มีขนั้ ตอนในการทางานอยา่ งเปน็ ระบบ
5. ใชเ้ วลาในการทางานอยา่ งเหมาะสม

รวม

เกณฑ์การใหค้ ะแนน

พฤติกรรมทท่ี าเปน็ ประจา ให้ 3 คะแนน
พฤติกรรมทีท่ าเป็นบางคร้ัง ให้ 2 คะแนน
พฤตกิ รรมท่ีทาน้อยคร้ัง ให้ 1 คะแนน

- ๒๙๓ -

แบบการประเมินผลการนาเสนองาน
เรอ่ื ง ……………………………………………………………………….
วิชา…………………………………………………….…………….ชน้ั ……………….
ชือ่ /กล่มุ ……………………………………………………….…………………………………………………..

ที่ รายการประเมนิ ผ้ปู ระเมิน รวม เกณฑ์การประเมนิ

1 เน้อื หา ( 4 คะแนน ) ตนเอง เพอื่ น ครู
29.เน้อื หาครบถ้วนสมบูรณ์
30.เนอื้ หาถูกต้อง คะแนน 4 : มีครบทกุ ข้อ
31.เนอ้ื หาตอ่ เน่อื ง
32.มกี ารค้นคว้าเพมิ่ เตมิ คะแนน 3 : มี 3 ขอ้ ขาด 1 ขอ้

2 กระบวนการทางาน(2คะแนน ) คะแนน 2 : มี 2 ข้อ ขาด 2 ขอ้
29.มกี ารวางแผนอยา่ งเป็นระบบ
30.การปฏิบตั ติ ามแผน คะแนน 1 : มี 1 ข้อ ขาด 3 ข้อ
31.ตดิ ตามประเมินผล
32.การปรับปรงุ พัฒนางาน คะแนน 2: มีครบทุกข้อ
คะแนน 1 : มี ไม่ครบ 4 ขอ้
3 การนาเสนอ ( 2 คะแนน ) คะแนน 0 : ไมป่ รากฏกระบวน
22. การใช้สานวนภาษาดถี ูกต้อง
23.การสะกดคาและไวยากรณ์ การทางานท่ีชัดเจน
ถูกต้อง
24.รปู แบบนา่ สนใจ คะแนน 2 : มีครบทกุ ขอ้
4. ความสวยงาม คะแนน 1.5: มี 3 ข้อ ขาด 1 ข้อ
คะแนน 1 : มี 2 ข้อ ขาด 2 ข้อ
4 คุณธรรม ( 2 คะแนน ) คะแนน 0.5 : มี 1 ข้อขาด 3 ข้อ
25.ตรงต่อเวลา
26.ซือ่ สตั ย์ คะแนน 2 : มคี รบทุกขอ้
27.ความกระตือรือร้น คะแนน 1.5: มี 3 ขอ้ ขาด 1 ข้อ
28.ความมีน้าใจ คะแนน1 : มี 2 ขอ้ ขาด 2 ขอ้
รวม คะแนน 0.5 :มี 1 ข้อ ขาด 3 ข้อ
เฉลีย่
คะแนนเต็ม 10 คะแนน

ลงชือ่ ผูป้ ระเมนิ …………………………….. ตนเอง
ลงช่อื ผู้ประเมนิ …………………………….. เพ่ือน
ลงช่ือผปู้ ระเมิน…………………………….. ครู

- ๒๙๔ -

แบบประเมินใบงาน
กลุ่มท่ี ....................................................................................................

เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ = ดมี าก
ถูกต้อง ๘๐% ขนึ้ ไป = ดี
ถกู ต้อง ๗๐ - ๗๙% = ปานกลาง
ถกู ต้อง ๖๐ - ๖๙% = ปรับปรุง
ถูกต้องต่ากวา่ ๖๐%

- ๒๙๕ -

ใบความรู้

เรื่อง ความเป็นพลเมือง ประชาชน และราษฎร

แต่เดิมน้ันสังคมไทยใช้คาว่า'ราษฎร (subject)''ประชาชนpeople) และ 'พลเมือง (citizen) เพ่ือ
อธิบายถึง 'คนหรือประชาชนของประเทศท่ีไม่ใช่ผู้ปกครอง' และมักพูดต่อกัน เช่นประชาราษฎร ประชาชน
พลเมอื ง ต่อมาเมื่อสังคมเปล่ยี นแปลงไป ความหมายของคาทงั้ สามก็เปลยี่ นแปลงไป กลา่ วคอื

'ประชาชน' มีความหมายกลางๆ คือ หมายถึง คนทั่วไปในสังคมที่ไม่ใช่ผู้ปกครอง เป็นสามัญชน
ที่อยู่ภายใต้รัฐ ราษฎร'เป็นคาที่เริ่มใช้ในช่วงสมัยรัชกาลที่ 5 เน่ืองจากสังคมไทยสมัยโบราณน้ัน ประชาชน
เปน็ ไพรห่ รอื ทาสเกอื บทัง้ หมด พอมาถึงช่วงรัชกาลท่ี 5 ได้มีการเปลี่ยนแปลงการบริหารราชการแผ่นดินครั้ง
ใหญแ่ ละได้ทาการเลกิ ทาสเลกิ ไพร่ ทาให้ประชาชนเหล่านน้ั กลายเป็นราษฎรหรือเสรีชนท่ีไม่ต้องเป็นข้ารับใช้
มูลนาย และมีสถานะทางกฏหมายเท่าเทียมกัน จึงเรียกอดีตไพร่ ทาส ขุนนาง รวมท้ังชนชั้นใหม่ ๆ
ว่า 'ราษฎร'ในความหมายของ 'ผู้ที่ต้องเสียภาษีให้กับรัฐและต้องปฏิบัติตามกฏหมายของบ้านเมือง
เชน่ เดียวกนั หมด

ปัจจุบันคาว่าราษฎร และประชาชน มีความหมายเกือบจะเหมือนกัน แต่ประชาชน ส่ือถึง
การเป็นเจ้าของประเทศ และเจ้าของอานาจอธิปไตย มากกว่าราษฎร ส่วนราษฎรมีนัยของคนที่เสียเปรียบ
คนทด่ี อ้ ยกว่าอยู่ด้วย

'พลเมือง' หมายถึงประชาชน ที่นอกจากเสียภาษีและปฏิบัติตามกฏหมายบ้านเมืองแล้ว ยังต้องมี
บทบาทในทางการเมือง คืออย่างน้อยมีสิทธิไปเลือกต้ัง แต่ยิ่งไปกว่านั้น คือมีสิทธิในการแสดง ค วาม
คิดเห็นต่างๆ ต่อทางการหรือรัฐได้ ท้ังยังมีสิทธิเข้าร่วมในกิจกรรมต่างๆ กับรัฐ และอาจเป็นฝ่ายรุกเพ่ือ
เรียกร้องกฏหมาย นโยบายและกิจกรรมของรัฐตามที่เห็นพ้อง พลเมืองนั้นจะเป็นคนท่ีรู้สึกเป็นเจ้าของในสิ่ง
สาธารณะ มีความกระตือรือร้น อยากมีส่วนร่วม เอาใจใส่การทางานของรัฐ และเป็นประชาชนที่สามารถ
แกไ้ ขปญั หาสว่ นรวมได้ในระดบั หนงึ่ โดยไมต่ อ้ งรอให้รฐั มาแกไ้ ขให้เท่าน้นั
ประชาชน

ประชาชน หมายถึงคนของประเทศ เชน่ ประชาชนทุกคนมีหนา้ ที่ต้องรู้กฎหมาย ใครจะปฏเิ สธ
วา่ ไมร่ ้ไู ม่ได้ คาว่า ประชาชน ในบางคร้งั อาจหมายถึงผู้ท่ีไม่ใชข่ ้าราชการ ทหาร ตารวจ หรอื นักบวช และใน
บางครัง้ หมายถึงผู้ท่ีมิได้เป็นพ่อค้าด้วย

ประชากร
ประชากร หมายถงึ คนโดยทั่วไป แต่มกั ใช้ในกรณีท่ีจะพจิ ารณาถึงจานวน คือจานวนคนของ

ประเทศหรือของโลก ในทางสถติ ิ มกี ารใช้คาว่า ประชากร หมายถงึ จานวนของสัตว์ หรอื สงิ่ ทสี่ ารวจที่
พิจารณาด้วย

พลเมอื ง
พลเมอื ง หมายถงึ หมคู่ นท่เี ป็นของประเทศใดประเทศหนง่ึ คนทง้ั หมดซ่งึ เปน็ กาลังของประเทศ

ทั้งในทางเศรษฐกจิ การทหาร และอานาจต่อรองกับประเทศอน่ื โดยนัยของความหมาย คาว่า พลเมือง
หมายถงึ คนทสี่ นบั สนุนเปน็ กาลงั อานาจของผู้ปกครอง เป็นคนทอ่ี ยู่ในการควบคมุ ดูแลของผ้ปู กครอง

ความแตกต่างระหวา่ งความเป็นราษฎรและความเปน็ พลเมือง
ความเป็นราษฎร

- ๒๙๖ -

- ปฏบิ ัตติ นตามหน้าทเี่ ทา่ นั้น เช่น เสยี ภาษี ปฏิบ้ติตามกฏหมาย
- ยอมรับกฏหมาย นโยบาย กิจการ กิจกรรม ต่างๆ ของรฐั
- ไมก่ ระตือรอื ร้นท่จี ะมีสว่ นรว่ มทางการเมืองหรือกิจกรรมสาธารณะ
- คิดวา่ ตนเองเป็นผู้นอ้ ย ต้องคอยรับการอุปถัมภจ์ ากผ้ใู หญ่

ความเปน็ พลเมือง
- นอกจากเสียภาษีและปฏิบัตติ ามกฏหมายแล้ว ต้องมสี านึกในทางการเมือง อยา่ งน้อยต้องไปใช้สิทธิ

เลอื กต้ัง หรือมากกว่านั้น คือ แสดงความคิดเหน็ ตา่ งๆ ต่อบ้านเมอื ง ใช้สทิ ธเิ ข้ารว่ มการทากจิ กรรมต่างๆ
ร่วมกบั รัฐ

- มีอสิ รภาพ ศักดิ์ศรี มีความเทา่ เทยี มกบั ผู้อน่ื ให้ความสนใจตอ่ ส่วนรวมมบี ทบาทและมีส่วนร่วมทางการ
เมือง

- เคารพตนเองและเคารพสทิ ธิของผูอ้ น่ื เปน็ เจ้าของชีวติ ตนเอง ไมอ่ ยู่ใตร้ ะบบอปุ ถ้มภ์ หรืออิทธพิ ล
อานาจของใคร

-ไม่ตกอยู่ใต้อิทธิพลของพรรคการเมือง และนกั การเมือง ไม่รบั เงนิ หรือความชว่ ยเหลอื ทไ่ี ด้มา อยา่ งไม่
ถูกต้อง ไม่ซ้อื สทิ ธิ ไม่ขายเสยี ง

- เอาใจใส่ออกความคิดเห็นเกยี่ วกับการทางานของรฐั บาล ตรวจสอบ ร้องเรียน เมือ่ มีการดาเนนิ นโยบาย
ผดิ พลาด ร้สู ึกเดอื ดรอ้ นเม่อื รัฐบาลทาเร่อื งไม่ดี ทางานผิดพลาด หรอื ดาเนินนโยบายผดิ

- เปน็ ฝ่ายรกุ เพื่อเรียกร้องกฏหมาย นโยบาย หรอื กิจการท่ีตนเองเห็นพ้อง
- สามารถแก้ปัญหาสว่ นรวมเบื้องตน้ ได้ ไมต่ ้องรอแตร่ ฐั บาลมาแก้ไข
(เอกสารอา้ งองิ :จดหมายข่าวสถาบนั พระปกเกล้า ปีที่ 10 ฉบับที่ 7 เดอื นกรกฎาคม 2552)

- ๒๙๗ -

ใบงานท่ี ๑
เรอ่ื ง รู้แลว้ ความเป็นพลเมอื ง ประชาชน และราษฎร คืออะไร

คาชีแ้ จง ใหน้ ักเรียนสรปุ ประเด็นสาคญั จากการศกึ ษาในความรมู้ าพอสงั เขป

ประชาชน ราษฎร ความเปน็ พลเมือง

- ๒๙๘ -

ใบงานท่ี ๒
เรือ่ ง ความเป็นพลเมือง และประชาชน/ราษฎร ตา่ งกนั อย่างไร

คาชี้แจง ให้นกั เรียนจดั หมวดหมูค่ วามเป็นพลเมอื ง และประชาชน/ราษฎร และสรปุ
ความแตกตา่ ง

A มอี สิ รภาพ ศักดศิ์ รี มคี วามเท่าเทียมกับผู้อืน่ B ปฏบิ ตั ติ นตามหนา้ ทเี่ ท่าน้นั เชน่ เสียภาษี ปฏบิ ้ติ

ใหค้ วามสนใจตอ่ ส่วนรวมมีบทบาทและมสี ่วนรว่ ม ตามกฏหมาย
ทางการเมือง

C เอาใจใสอ่ อกความคิดเหน็ เก่ียวกับการทางาน D เสยี ภาษีและปฏบิ ัติตามกฎหมาย มีสานึกในทางการเมอื ง

ของรฐั บาล ตรวจสอบ ร้องเรยี น เมื่อมกี ารดาเนิน อยา่ งน้อยตอ้ งไปใช้สทิ ธเิ ลอื กต้ัง แสดงความคิดเห็นต่างๆ
นโยบายผิดพลาด ตอ่ บา้ นเมือง ใชส้ ทิ ธิเขา้ รว่ มการทากจิ กรรมตา่ งๆ ร่วมกบั รัฐ

E ยอมรับกฏหมาย นโยบาย กจิ การ กิจกรรม F เคารพตนเองและเคารพสิทธขิ องผอู้ น่ื เปน็ เจ้าของ

ตา่ งๆ ของรัฐ ชีวิตตนเอง ไม่อย่ใู ต้ระบบอปุ ถ้มภ์ หรืออทิ ธพิ ล
อานาจของใคร

G สามารถแกป้ ญั หาสว่ นรวมเบือ้ งต้นได้ ไม่ตอ้ งรอ H ไมก่ ระตอื รอื รน้ ท่จี ะมีสว่ นรว่ มทางการเมือง

แต่รฐั บาลมาแก้ไข หรอื กิจกรรมสาธารณะ

I คดิ ว่าตนเองเป็นผู้น้อย ต้องคอยรบั การอุปถัมภ์ J รู้สกึ เดอื ดรอ้ นเมือ่ รัฐบาลทาเร่อื งไมด่ ี ทางาน

จากผู้ใหญ่ ผิดพลาด หรอื ดาเนินนโยบายผดิ

- ๒๙๙ -

ความเปน็ พลเมือง ความเปน็ ประชาชน/ราษฎร

สรุปความเป็นพลเมือง และประชาชน/ราษฎร ตา่ งกันอย่างไร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………

- ๓๐๐ - ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓
เวลา ๑ ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้

หนว่ ยท่ี ๔ ชอื่ หนว่ ย พลเมืองและความรับผิดชอบตอ่ สงั คม
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๕ เร่ือง ความเป็นพลโลก

๑. ผลการเรียนรู้
๑.๑ มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับพลเมืองและมีความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม
๑.๒ ปฏบิ ตั ิตนตามหน้าทพ่ี ลเมอื งและมีความรบั ผิดชอบต่อสังคม
๑.๓ ตระหนักและเห็นความสาคญั ของการต่อต้านและป้องกนั การทุจรติ

๒. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
2.1 นักเรยี นมคี วามรู้ ความเข้าใจ เกยี่ วกบั ความเปน็ พลโลก
2.2 นักเรียนประพฤตปิ ฏิบัติตนตามหลักความเป็นพลโลก
2.3 นกั เรยี นบอกความหมายของความเป็นพลโลกได้
2.4 นักเรยี นระบพุ ฤติกรรมของความเป็นพลโลก
2.5 นักเรียนประยุกต์ความเปน็ พลโลก มาใช้ในการดาเนินชีวิตได้
2.6 มีความรับผดิ ชอบในการปฏบิ ัตหิ น้าท่ีที่ไดร้ ับมอบหมายด้วยความซอื่ สตั ย์สุจริต และเสร็จ

ตามเวลาท่ีกาหนด
๓. สาระการเรยี นรู้
3.1 ความรู้
1) ความหมายของคาวา่ ความเป็นพลโลก
2) แนวทางประยุกต์ความเป็นพลโลก มาใชใ้ นการดาเนนิ ชีวิต

3.2 ทักษะ / กระบวนการ (สมรรถนะทีเ่ กิด)
1) ความสามารถในการคิด
1) ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ การคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ
2) ทักษะกระบวนการคดิ เชงิ สรา้ งสรรค์
2) ความสามารถในการส่อื สาร
(อ่าน ฟงั พูด เขียน)
๓) ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ
(การสังเกต การระบุ จาแนก วเิ คราะห์ จัดกลมุ่ สรปุ )

3.3 คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ / คา่ นยิ ม
1) ซอ่ื สัตย์ เสียสละ อดทน มีอดุ มการณ์ในสงิ่ ท่ดี งี ามเพื่อสว่ นรวม
2) ความรู้ หมั่นศกึ ษาเล่าเรยี นท้งั ทางตรง และทางอ้อม
3) มศี ีลธรรม รกั ษาความสัตย์ หวังดีตอ่ ผ้อู น่ื เผื่อแผ่และแบ่งปัน

- ๓๐๑ -

๔.กิจกรรมการเรยี นรู้ (จานวน ๑ ชั่วโมง)
4.1 ขัน้ ตอนการเรียนรู้
๑) ชมวดี ีทศั น์ เรอ่ื ง การสรา้ งความเปน็ พลเมืองโดยมีที่จาก
https://www.youtube.com/watch?time_continue=43&v=G0An-oKiy-s
๒) สนทนาอภิปราย เกย่ี วกบั วีดีทศั นท์ ีร่ ับชม ในประเด็น ดังนี้
 เหตุการณ์ท่เี กิดขึ้นเกีย่ วกับ
 นักเรยี นพบประเด็นใดบ้างจากวีดีทศั น์
 ปัญหา สาเหตุ
 วธิ กี าร แนวทางการแกป้ ัญหา
ฯลฯ
๓) แบง่ กลุ่ม ๓ – ๕ กลุ่ม แจกใบความรู้ เรื่อง พลเมอื งดีของประเทศชาติและสงั คมโลกให้แต่
ละกลุม่ ศึกษา และรว่ มกันสรุปองค์ความรู้ท่ีได้จากการศึกษาใบความรู้ จากน้นั ให้ตัวแทน
กลุม่ ออกมานาเสนอผลงาน
๔) สนทนา อภปิ ราย โดยจัดทาเปน็ แผนผงั มโนทศั นร์ ่วมกนั เกี่ยวกบั ความเปน็ พลโลกที่ดี โดย
ให้นกั เรียนร่วมแสดงความคดิ เห็น ซงึ่ มีครูคอยให้ความรเู้ พ่ิมเตมิ
๕) สนทนา อภิปรายสรปุ ร่วมกัน ในประเด็นการประยุกต์ความเปน็ พลโลกทดี่ ี มาใชใ้ นการ
ดาเนินชวี ติ ได้
๔.๒ สอ่ื การเรียนรู้ / แหล่งการเรียนรู้
๑. วดี ีทัศน์ เรื่อง การสรา้ งความเปน็ พลเมืองโดยมีทีจ่ าก
https://www.youtube.com/watch?time_continue=43&v=G0An-oKiy-s
๒. ใบความรู้ เร่อื ง พลเมืองดขี องประเทศชาติและสงั คมโลก

๕. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้
5.1 วธิ ีการประเมิน
๑) สังเกตกระบวนการทางานกลมุ่
๒) การนาเสนอผลงาน
๕.๒ เครอ่ื งมือท่ใี ช้ในการประเมิน
๑) แบบสังเกตกระบวนการทางานกลมุ่
๒) แบบบันทึกผลการนาเสนอผลงาน
5.3 เกณฑก์ ารตดั สิน
- นกั เรยี นผ่านเกณฑ์การประเมนิ ระดบั ดีข้นึ ไป

6.บนั ทึกหลังสอน
........................................................................................................................................................... ................
................................................................................................................... ........................................................
............................................................................................................................. ..............................................

ลงชื่อ ................................................ ครูผู้สอน
(.................................................)

- ๓๐๒ -
แบบประเมนิ พฤติกรรมการทางานกลุ่ม

กลุ่ม ..........................................................................................................
สมาชกิ ในกลุ่ม 1. ......................................................................

2. ......................................................................
3. ......................................................................
4. ......................................................................
5. ......................................................................
6. ......................................................................

คาชแี้ จง: ให้นกั เรียนทาเครือ่ งหมาย  ในชอ่ งทีต่ รงกับความเป็นจรงิ

พฤตกิ รรมท่ีสังเกต คะแนน

32 1

1. มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเหน็
2. มีความกระตอื รือร้นในการทางาน
3. รับผดิ ชอบในงานทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย
4. มขี น้ั ตอนในการทางานอยา่ งเปน็ ระบบ
5. ใชเ้ วลาในการทางานอย่างเหมาะสม

รวม

เกณฑก์ ารให้คะแนน

พฤติกรรมที่ทาเปน็ ประจา ให้ 3 คะแนน
พฤติกรรมท่ที าเปน็ บางคร้ัง ให้ 2 คะแนน
พฤติกรรมที่ทาน้อยคร้งั ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การให้คะแนน

ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ
13-15 ดี
8-12
5-7 ปานกลาง
ปรับปรุง

- ๓๐๓ -

แบบการประเมินผลการนาเสนองาน
เรอ่ื ง ……………………………………………………………………….
วิชา…………………………………………………….…………….ชน้ั ……………….
ชือ่ /กล่มุ ……………………………………………………….…………………………………………………..

ท่ี รายการประเมนิ ผ้ปู ระเมิน รวม เกณฑ์การประเมนิ

1 เน้ือหา ( 4 คะแนน ) ตนเอง เพอื่ น ครู
33.เน้ือหาครบถ้วนสมบูรณ์
34.เนือ้ หาถูกต้อง คะแนน 4 : มีครบทกุ ข้อ
35.เนื้อหาต่อเน่อื ง
36.มกี ารค้นคว้าเพมิ่ เตมิ คะแนน 3 : มี 3 ขอ้ ขาด 1 ขอ้

2 กระบวนการทางาน(2คะแนน ) คะแนน 2 : มี 2 ข้อ ขาด 2 ขอ้
33.มีการวางแผนอยา่ งเป็นระบบ
34.การปฏิบตั ติ ามแผน คะแนน 1 : มี 1 ข้อ ขาด 3 ข้อ
35.ติดตามประเมินผล
36.การปรับปรุงพัฒนางาน คะแนน 2: มีครบทุกข้อ
คะแนน 1 : มี ไมค่ รบ 4 ขอ้
3 การนาเสนอ ( 2 คะแนน ) คะแนน 0 : ไมป่ รากฏกระบวน
25. การใช้สานวนภาษาดถี ูกต้อง
26.การสะกดคาและไวยากรณ์ การทางานท่ีชัดเจน
ถกู ต้อง
27.รปู แบบนา่ สนใจ คะแนน 2 : มคี รบทกุ ขอ้
4. ความสวยงาม คะแนน 1.5: มี 3 ขอ้ ขาด 1 ข้อ
คะแนน 1 : มี 2 ข้อ ขาด 2 ข้อ
4 คณุ ธรรม ( 2 คะแนน ) คะแนน 0.5 : มี 1 ข้อขาด 3 ข้อ
29.ตรงต่อเวลา
30.ซ่ือสตั ย์ คะแนน 2 : มคี รบทุกขอ้
31.ความกระตือรือร้น คะแนน 1.5: มี 3 ขอ้ ขาด 1 ข้อ
32.ความมีน้าใจ คะแนน1 : มี 2 ข้อ ขาด 2 ขอ้
รวม คะแนน 0.5 :มี 1 ข้อ ขาด 3 ข้อ
เฉลีย่
คะแนนเต็ม 10 คะแนน

ลงชือ่ ผูป้ ระเมนิ …………………………….. ตนเอง
ลงช่อื ผู้ประเมนิ …………………………….. เพื่อน
ลงช่ือผปู้ ระเมิน…………………………….. ครู


Click to View FlipBook Version