2563คมู่ อื นกั ศกึ ษา กรารชงุ มเทงพคล
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
Rajamangala University of Technology Krungthep
คม่ ู ือนกั ศึกษา
๒๕๖๓
คมู่ ือนี� มีเจา้ ของชื�อ..................................................................................................................
รหสั นกั ศึกษา..................................................................................................................................
สาขา............................................................................................................................................................
คณะ.............................................................................................................................................................
อาจารยท์ ี�ปรึกษาช�ือ.............................................................................................................
สารจากอธิการบดี ๑-๘ หนา
ประวัติความเปน มาของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ
๙-๑๒ ๔
สญั ลักษณ ๑๓-๑๖ ๔
๕
สปี ระจาํ มหาวิทยาลยั ๑๗-๒๗ ๖
๒๘-๘๗ ๗
ตน ไมป ระจาํ มหาวิทยาลยั ๘
ผบู ริหารมหาวิทยาลัย ๑๔
๑๕
วิสยั ทัศน อัตลักษณ และเอกลักษณ ๑๕
ทตี่ ง้ั และแผนทกี่ ารเดินทาง ๑๕
หมายเลขโทรศัพทต ิดตอ ผูบริหารและหนวยงานสนบั สนนุ ๑๖
การใหบรกิ ารจากสาํ นักสงเสริมวชิ าการและงานทะเบยี น ๑๖
ประเภทการบรกิ าร
๑๘
ส่ิงท่ีนักศึกษาควรปฏิบตั ิ ๒๒
๒๓
ระบบการจัดการศึกษา ๒๔
การลงทะเบยี น เรียน
๓๐
บทลงโทษสาํ หรับการปลอมแปลงเอกสาร ๕๙
การพนสภาพ ๖๔
การจัดการศึกษา
คณะ/สาขาวชิ าที่เปด สอนในมหาวทิ ยาลัย
ความหมายของเลขรหสั นักศกึ ษา
เคร่ืองแบบนักศึกษา
บทบาทของอาจารยท ีป่ รึกษา
หมวดทว่ั ไป
พระราชบญั ญตั ิ พระราชกฤษฎกี า ขอ บังคบั ระเบยี บ
ประกาศของมหาวิทยาลยั ที่เกย่ี วของกับนกั ศกึ ษา
พระราชบญั ญตั มิ หาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล พ.ศ. ๒๕๔๘
พระราชกฤษฎกี าวาดวยปรญิ ญาในสาขาวชิ า อกั ษรยอสําหรบั สาขาวิชา
ครยุ วิทยฐานะ เขม็ วิทยฐานะ และครุยประจาํ ตาํ แหนงของมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ พ.ศ. ๒๕๕๑
พระราชกฤษฎกี า วาดว ยปริญญาในสาขาวชิ า อักษรยอ สําหรบั สาขาวชิ า
ครุยวิทยฐานะ เขม็ วิทยฐานะ และครุยประจาํ ตําแหนง ของมหาวิทยาลยั
เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๕๕
หนา
ขอ บงั คับฯ วาดวย กิจกรรมนกั ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๓ ๖๘
ระดบั ปริญญาตรี ๘๘-๑๗๓
หมวดวาดว ยการจัดการศึกษา
ขอบังคับฯ วา ดว ยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๐ ๘๙
ระเบียบฯ วาดว ยการแตง กายของนกั ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๘ ๑๐๑
ระเบยี บฯ วา ดวยวินยั นักศกึ ษาและผมู ารับบริการทางวชิ าการ ๑๐๕
พ.ศ. ๒๕๕๗
ระเบยี บฯ วาดว ยการใชบ ริการสํานักวิทยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ ๑๑๙
พ.ศ. ๒๕๕๙
ระเบียบฯ วาดวยการสอบของนกั ศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี พ.ศ. ๒๕๓๗ ๑๒๙
ประกาศฯ เรื่อง ขอปฏิบัตใิ นการสอบของนกั ศกึ ษาระดบั ปริญญา ๑๓๒
พ.ศ. ๒๕๕๗
ประกาศฯ เรอื่ ง ขอปฏบิ ตั ิของกรรมการกาํ กบั หอ งสอบ ในการสอบประจาํ ภาค ๑๓๖
ของนกั ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญา พ.ศ. ๒๕๕๗
ระเบยี บฯ วาดวยการเทยี บโอนผลการเรยี น พ.ศ. ๒๕๕๐ ๑๓๘
ระเบียบฯ วา ดว ยการศึกษาลกั ษณะวชิ าเพิม่ เติมสาํ หรับบณั ฑิต พ.ศ. ๒๕๓๗ ๑๔๓
ประกาศฯ เรอ่ื ง เกณฑการวัดและประเมนิ ผลการศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี ๑๔๕
ประกาศฯ เรือ่ ง เกณฑการวัดและประเมนิ ผลการศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี ๑๕๑
(ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๕๒
ประกาศฯ เรอ่ื ง การลงทะเบยี นเรียนประจาํ ภาคฤดรู อน ๑๕๓
ประกาศฯ เรื่อง การลงทะเบยี นเรยี นขามภาคการศกึ ษา ๑๕๔
ประกาศฯ เรื่อง การตรวจสอบผลการลงทะเบยี นและกลุมเรียน (Section) ๑๕๕
ประกาศฯ เรอื่ ง การลงทะเบยี นของนักศกึ ษากลมุ สหกิจศกึ ษา นกั ศึกษาฝกงาน ๑๕๖
ในสถานประกอบการ หรือนกั ศึกษาฝก ประสบการณการสอนในสถานศึกษา
ประกาศฯ เร่ือง การขอกลับเขาศกึ ษา และ คืนสภาพการเปน นักศึกษา ๑๕๗
ประกาศฯ เรื่อง การลงทะเบยี นประจาํ ภาคการศกึ ษา ๑๕๘
ประกาศฯ เรือ่ ง เกณฑก ารลงทะเบยี นเรยี นซํา้ หรือแทน ๑๕๙
และการนบั หนว ยกติ รวมตลอดหลกั สตู ร พ.ศ. ๒๕๕๔
ประกาศฯ เรือ่ ง การยา ยคณะ หรอื เปลยี่ นสาขาวิชา พ.ศ. ๒๕๕๗ ๑๖๑
ประกาศฯ เร่อื ง หลกั เกณฑการพจิ ารณาเทียบรายวิชาหรอื กลุมวิชา ๑๖๓
ประกาศฯ เรอื่ ง รปู ถายทีใ่ ชในการติดเอกสารทางการศกึ ษา ๑๖๔
ประกาศฯ เร่ือง การขอผอ นผันเลอ่ื นรบั พระราชทานปริญญาบัตร ๑๖๗
หนา
ระเบยี บฯ วา ดว ยการปฐมนเิ ทศและปจฉมิ นเิ ทศนกั ศึกษา พ.ศ. ๒๕๓๙ ๑๖๘
ประกาศฯ เรื่อง มาตรการในการจดั กจิ กรรมตอ นรบั นองใหม ๑๗๑
และประชมุ เชยี รในมหาวิทยาลยั
ประกาศฯ เรื่อง บทลงโทษนกั ศกึ ษาทก่ี ระทาํ ผดิ ตามประกาศมหาวทิ ยาลยั ๑๗๓
เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพเรอ่ื งมาตรการในการจัดกิจกรรม
ตอนรบั นอ งใหมและประชุมเชียรในมหาวิทยาลัย
หมวดการเงนิ ๑๗๔-๑๙๒
ประกาศฯ เรอื่ ง การถอนคนื เงินคา บํารุงการศึกษา คา ลงทะเบยี น คาสนบั สนนุ ๑๗๕
การจัดการศึกษา และคา ธรรมเนยี มการศกึ ษาในการจดั การศกึ ษา
ระดบั ปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๙
ประกาศฯ เรื่อง อัตราการเกบ็ เงนิ คา บาํ รุงการศึกษา คาลงทะเบยี น คาข้นึ ทะเบียน ๑๗๗
นกั ศึกษา คาธรรมเนียมการศกึ ษาและคา ใชจายอืน่ ในการจดั การศกึ ษา
ระดบั ปริญญาตรี หลกั สตู รนานาชาติ พ.ศ. ๒๕๕๗
ประกาศฯ เร่อื ง อัตราการเกบ็ เงนิ คา บํารุงการศึกษา คา ลงทะเบียน คา สนบั สนนุ ๑๗๙
การจัดการศึกษา และคา ธรรมเนยี มการศกึ ษาในการจดั การศกึ ษาระดับ
ปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๖๓
ประกาศฯ เรอ่ื ง อตั ราการเก็บเงินคา ธรรมเนยี มการศึกษา สําหรบั คาใชจา ยในการ ๑๘๔
ข้ึนทะเบยี นบัณฑติ ระดบั ปรญิ ญาตรี พ.ศ. ๒๕๖๓
ประกาศฯ เรอื่ ง อตั ราการเก็บเงินคา บาํ รงุ การศึกษา คา ลงทะเบยี น คา สนับสนนุ ๑๘๕
การจัดการศึกษา และคาธรรมเนียมการศึกษา ในการจดั การศึกษา
ระดับปรญิ ญาตรี หลักสตู รบริหารธรุ กจิ บณั ทติ สาชาวิชาธรุ กจิ การบนิ
พ.ศ. ๒๕๖๓
ระเบียบฯ วาดว ย การเก็บเงนิ และใชจ ายเงินบํารุงหอ งพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๔ ๑๘๗
ระเบยี บฯ การเงนิ กิจกรรมนกั ศกึ ษา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ ๑๘๙
พ.ศ. ๒๕๖๓
หมวดวา ดวยการบริการและสวัสดิการนกั ศึกษา ๑๙๓-๒๐๒
ทุนการศึกษา ๑๙๔
งานแนะแนวการศึกษาและอาชพี ๑๙๗
งานประกันอุบตั ิเหตุ ๑๙๗
งานสขุ ภาพอนามยั ๑๙๘
งานวิชาทหาร ๑๙๙
งานเสริมสรา งการเรียนรูและประสบการณชมุ ชน ๒๐๒
หนา
หมวดวาดว ยการศึกษาและการเงินระดับบัณฑติ ศกึ ษา ๒๐๓-๒๕๖
ขอบังคับฯ วาดวยการศึกษาระดับบัณฑติ ศกึ ษาพ.ศ. ๒๕๖๐ ๒๐๔
ประกาศฯ เรื่อง อัตราการเก็บคาเลาเรียนแบบเหมาจา ย และคา ธรรมเนยี มการศึกษา ๒๔๗
ในการจดั การศึกษาระดบั บัณฑิตศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๘
ประกาศฯ เร่อื ง อตั ราการเกบ็ คาเลา เรียนแบบเหมาจา ย และคา ธรรมเนียมการศกึ ษา ๒๕๐
ในการจดั การศกึ ษาระดบั บณั ฑิตศึกษา คณะอตุ สาหกรรมส่งิ ทอ ภาคสมทบ
พ.ศ. ๒๕๖๑
ประกาศฯ เรอื่ ง อัตราการเกบ็ คาเลา เรยี นแบบเหมาจา ย และคา ธรรมเนียมการศกึ ษา ๒๕๓
ในการจัดการศึกษาระดับบณั ฑติ ศึกษา คณะวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
ภาคสมทบ พ.ศ. ๒๕๖๑
ประกาศฯ เรอื่ ง อตั ราการเกบ็ คาเลาเรียนแบบเหมาจาย และคา ธรรมเนยี มการศกึ ษา ๒๕๕
ในการจดั การศึกษาระดบั บัณฑติ ศกึ ษา คณะบรหิ ารธุรกจิ ภาคสมทบ
พ.ศ. ๒๕๖๓
ขอ ปฏบิ ตั เิ กีย่ วกับการเรยี นการสอน ๒๕๗-๒๗๐
สาระนารู ๒๗๑-๒๗๗
คานิยมหลกั มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ (UTK) ๒๗๓
การคํานวณระดบั คะแนนเฉล่ียสะสม ๒๗๕
ในนามของคณะผูบริหาร คณาจารย และเจาหนาที่
ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ท ค โ น โ ล ยี ร า ช ม ง ค ล ก รุ ง เ ท พ
มีความยินดีอยางย่ิง ที่ไดตอนรับนักศึกษาใหมประจําปการศึกษา
๒๕๖ ๓ ทุกคน เขาสูโลกการเรียนรูในรั้วของสถาบันแหงน้ี
มหาวิทยาลัยพรอมจะชวยพัฒนาศักยภาพของนักศึกษา ใหเปน
บัณฑิตท่ีมีคุณภาพ ตอบสนองตอความเปล่ียนแปลงของโลก
อตุ สาหกรรมสมัยใหม สามารถยนื หยดั และแขง ขันกับโลกภายนอกได
อยางเขมแข็ง ภายใตทักษะความรูในสายวิชาชีพท่ีนักศึกษาเลือกศึกษา ผานกระบวนการเรียนการสอน
แบบบูรณาการ และมหาวิทยาลัยยังมีเวทีใหนักศึกษาไดแสดงออกซ่ึงความคิดความสามารถ ผานการ
ดําเนินโครงการตาง ๆ ท้ังจากคณะและมหาวิทยาลัย ขอใหนักศึกษาใชเวลาท่ีอยูในร้ัวมหาวิทยาลัยให
คุมคา เก็บเกี่ยวความรู ประสบการณ รวมถึงมิตรภาพอันดีระหวางพองเพ่ือน ตลอดจนสัมพันธภาพอันดี
ระหวางรนุ พ่ี รนุ นอง เพ่อื ความเปนน้าํ หนงึ่ ใจเดียว คอยชวยเหลอื เจอื จนุ กัน สรางสรรคส ่ิงดงี าม จนกวา จะ
ถึงวันแหงความสําเร็จท่ีพวกเรารอคอย เพื่อใหผูปกครอง หรือบุคคลอันเปนท่ีรักไดภาคภูมิใจที่นักศึกษา
ประสบความสําเร็จ และเปนบัณฑิตท่ีพรอมดวยความรู ทักษะ จรรยาบรรณ และคุณธรรม เพื่อพัฒนา
ประเทศชาติตอไป
สุดทายน้ี มหาวิทยาลัยมีส่ิงที่ศักด์ิสิทธ์ิอันเปนที่เคารพ สักการะ บูชาของพวกเราชาวราชมงคล
กรุงเทพ อันไดแก พระพุทธสิหิงค ณ ศาลากลางนํ้า พระวิษณุกรรม และศาลหลวงปูแกว จึงขออํานาจส่ิง
ศักด์ิสิทธ์ิที่สถิตประจํา ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ ตลอดจนอํานาจคุณพระศรีรัตนตรัย
ปกปอง คุมครอง นักศึกษาทุกคนที่อยูในร้ัวมหาวิทยาลัยใหอยูรมเย็น เปนสุข และประสบความสําเร็จใน
การเรียน สมด่ังความตั้งใจของนักศึกษาท่ีมุงหวังมาเรียน ณ สถาบันแหงนี้ ในนามของมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ สัญญาจะมุงมนั่ สรา งสรรคสงิ่ ดี ๆ เพือ่ นักศกึ ษาที่รกั ทกุ คน
ดวยความปรารถนาดี
สมพร ปยะพนั ธ
(นายสมพร ปย ะพันธ)
รกั ษาราชการแทนอธกิ ารบดี
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
คคมู่ มู่ อื อื นนกั กั ศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ (๑((๓๑)))
มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เเททคคโโนนโโลลยยีรรี าาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุ เเททพพ
ประวตั คิ วามเป็ นมา
สญั ลกั ษณ์ สี และตน้ ไมป้ ระจาํ มหาวิทยาลยั
ผบู้ ริหารมหาวิทยาลยั
วิสยั ทศั น์ อตั ลกั ษณแ์ ละเอกลกั ษณ์
ทตี� ง�ั และแผนทีก� ารเดนิ ทาง
หมายเลขโทรศัพท์
(๒((๒๒))) คคมู่ มู่ อื อื นนกั กั ศศกึ ึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓
มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ
ม ห าวิ ท ย าลั ย เท ค โน โล ยี รา ช ม งค ล ก รุ งเท พ
เปนสถาบันอุดมศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการ
การอุดมศึกษา ตามพระราชบัญ ญั ติมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคล พุทธศักราช ๒๕๔๘ เม่ือวันท่ี ๑๙
มกราคม ๒๕๔๘ เปนการรวมตัวของ ๓ วิทยาเขต คือ
วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพฯ วิทยาเขตบพิตรพิมุขมหาเมฆ
และวิทยาเขตพระนครใต ภายใตช่ือมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ จัดการเรียนการสอนใน
ร ะ ดั บ อุ ด ม ศึ ก ษ า ห ลั ก สู ต ร ป ริ ญ ญ า ต รี แ ล ะ ป ริ ญ ญ า โท
หลากหลายสาขาวิชา ยึดม่ันในอุดมการณและปรัชญา การ
จัดการศึกษาเพื่อผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติ ตอบสนองความ
ตองการของสังคม โดยเช่ือมั่น วาเทค โน โลยีแล ะ
อ า ชี ว ศึ ก ษ า เ ป น ก ร ะ บ ว น ก า ร ศึ ก ษ า ท่ี จํ า เ ป น ใ น ก า ร
เสริมสรางมาตรฐานคุณภาพ เพื่อเปนกําลังสําคัญในการ
พฒั นาเศรษฐกิจและสังคมไทย
พื้นทกี่ ารศึกษาทัง้ ๓ แหง ไดแ ก
เทคนคิ กรงุ เทพฯ
ตั้งอยูท่ีเลขที่ ๒ ถนนนางลิ้นจ่ี แขวงทุงมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ ๑๐๑๒๐ กอต้ังข้ึน
เมือ่ วันท่ี ๑๔ กรกฎาคม ๒๔๙๕ บนเนอื้ ท่ี ๑๔๕ ไร ๑ งาน ๖๒ ตารางวา เรมิ่ ตน จากวิทยาลัยเทคนิค
กรุงเทพฯ ในรัฐบาลสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ไดรับการสนับสนุนจากรัฐบาลสหรัฐอเมริกาเปน
สถานศึกษาดานเทคนิคแหงแรกของประเทศไทย เริ่มการเรียนการสอนดานชางอิเล็กทรอนิกส
คคมู่ ่มู อื อื นนกั กั ศศึกกึ ษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ (๓((๓๓)))
มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เเททคคโโนนโโลลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุ เเททพพ
ชางไฟฟา ชางยนต ชางกอสราง เลขานุการ การบัญชี คหกรรมศาสตร จากวิทยาลัยเทคโนโลยี
และอาชีวศึกษา วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพฯ มาเปนสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตเทคนิค
กรุงเทพฯ ปจจุบันเปนท่ีต้ังของสํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ และ
เปนสถานที่จัดการเรียนการสอนของคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม
คณะวศิ วกรรมศาสตร คณะบริหารธรุ กิจ วทิ ยาลยั นานาชาติ และคณะอุตสาหกรรมส่งิ ทอ
บพติ รพมิ ขุ มหาเมฆ
ตั้งอยูเลขที่ ๘๗๘ ถนนอาคารสงเคราะห แขวงทุงมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ ๑๐๑๒๐
เปนวิทยาเขตที่แยกการบริหารจัดการมาจากวิทยาเขตบพิตรพิมุขจักรวรรดิ เมื่อป พ.ศ. ๒๕๒๖ โดย
คณะรัฐมนตรีมีมติใหใชที่ดินราชพัสดุ แขวงทุงมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ บนเนื้อที่ ๑๘ ไร ๑ งาน
๙๘ ตารางวา และอนุมัติงบประมาณแผนดินจํานวน ๑๐ ลานบาท เม่ือป พ.ศ. ๒๕๑๙ ใหสรางอาคาร
เรยี นจาํ นวน ๑ หลงั เพ่อื จดั การเรียนการสอนระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพ แผนกวชิ าธุรกจิ สาขาวิชา
การเลขานุการและการบัญชี และแผนกธุรกิจ สาขาวิชาภาษาตางประเทศ (ภาษาจีน ภาษาญี่ปุน
ภาษาอังกฤษ) โดยเร่ิมเปดเรียนเมื่อ วันจันทรท่ี ๕ มิถุนายน ๒๕๒๑ จัดการเรียนการสอนในระดับ
ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง (พ.ศ. ๒๕๒๗) และระดับปรญิ ญาตรี (พ.ศ. ๒๕๓๖) ปจจุบนั เปนสถานท่ี
จดั การเรยี นการสอนของ คณะบริหารธุรกจิ
พระนครใต
ตั้งอยูเลขที่ ๑๔๙ ถนนเจริญกรุง เขตสาทร กรุงเทพฯ วิทยาเขตพระนครใตกอตั้งข้ึน
ภายใตช่ือ โรงเรียนการชางสตรี เปนแหงแรกของประเทศไทย เมื่อวันที่ ๑ สิงหาคม ๒๔๖๕ และ
พฒั นามาเปนโรงเรียนสตรีบา นทวาย วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาพระนครใต และเปนวิทยาลัยเทคโนโลยีและ
อาชีวศึกษาวิทยาเขตพระนครใต โดยเปดสอนระดับ ปวช. ปวส. และประกาศนียบัตรประโยคครู
มัธยม (ป.ม.) ตอมาเปดสอนระดับปริญญาตรี สายวิชาคหกรรมศาสตร สายวิชาศิลปกรรม สายวิชา
บรหิ ารธุรกิจ ภายใตช ่ือสถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล วิทยาเขตพระนครใต ปจจุบันเปนสถานที่จัดการ
เรยี นการสอนของคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร
(๔((๒๔) )) คคมู่ มู่ อื อื นนกั กั ศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓
มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ
ตราสญั ลกั ษณมหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
เปนตรารปู วงกลม มดี อกบัว ๘ กลบี ลอมรอบ หมายถึง ทางแหงความสําเร็จมรรค ๘ และความ
สดชื่นเบิกบาน ท่ีกอใหเกิดปญญาแผขจรไปทั่วสารทิศ ภายในดอกบัวเปนตราพระลัญจกรบรรจุอยู
อันเปนสัญลักษณ และเครื่องหมายประจําองคพระมหากษัตริย รัชกาลท่ี ๙ บนตรารูปวงกลมมีพระ
มหาพิชัยมงกุฎครอบ และมีเลข ๙ บรรจุอยู หมายถึง รัชกาลท่ี ๙ ดานลางของตรารูปวงกลมทําเปน
กรอบโคงรองรับ มีชื่อมหาวิทยาลัยบรรจุอยูภายในวา “มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ”
คั่นปด หัวทายของกรอบดวยลายดอกไมท พิ ยประจาํ ยามทั้งสองขาง
สปี ระจํามหาวทิ ยาลัย “สีเขยี ว”
ที่มาและความหมาย สีเขียวเปนสีวรรณะเย็น ที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม ความสดช่ืน
แจมใส เปนสัญลักษณแหงความสงบรมเย็น ซ่ึงหมายถึง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เปนแหลงเรียนรูท่ีมุงสรางบัณฑิตใหมีความเจริญงอกงามในทุกดาน ท้ังรางกาย สติปญญา อารมณ
และสังคม และพรอมจะเปน สถานศึกษาที่เปนบานอันรมเย็นใหนักศึกษาไดพักพิง เรียนรู และใชชีวิต
อยูอยางมีความสขุ
คคมู่ ่มู อื อื นนกั กั ศศึกกึ ษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ (๕((๓๕)))
มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เเททคคโโนนโโลลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุ เเททพพ
ตนไมประจาํ มหาวิทยาลยั “ตนสาธร”
สาธร เปนไมย นื ตนหายากพนั ธุหนึ่ง ที่มชี ื่อพองกับสถานทต่ี ้ัง
ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ท่ีต้ังอยูบนพื้นที่
เขตสาทร กรุงเทพมหานคร ตนสาธรเปน ไมท่มี ีเนื้อไมและแกนที่มี
ลักษณะสวยงามดอกมีสีขาวรวมกันเปนชอ เรือนยอดเปนพุมทึบ
ใบออ นและยอดออ น มขี นยาวออนน่มิ คลายเสน ไหมปกคลมุ อยู
เปนลักษณะของพันธุไมท่ีมีความเขมแข็งและออนโยนอยูในตัว ลักษณะของตนสาธรนี้เหมือนเปน
สัญลักษณแสดงวา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพเปนแหลงเรียนรูท่ีมีความยืนยง ม่ันคง
มีความเขมแข็งทางวิชาการ แตขณะเดียวกันมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ก็มิไดละทิ้ง
การทาํ นุบํารุงศลิ ปวัฒนธรรมอนั ดงี ามของชาติ และพรอมจะเปนรมเงาที่ยนื ยงเปนที่พึ่งดานวิชาการแก
สังคมตลอดไป
(๖((๒๖) )) คคมู่ มู่ อื อื นนกั กั ศศกึ ึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓
มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ
คคมู่ มู่ อื อื นนกั กั ศศึกกึ ษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ (๗((๓๗)))
มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เเททคคโโนนโโลลยยีรรี าาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุ เเททพพ
(๘((๒๘))) คค่มู มู่ อื อื นนกั กั ศศกึ ึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓
มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ
การเดินทางโดยรถสาธารณะ
รถประจาํ ทางและรถปรบั อากาศ สาย ๖๒, ๖๗, ๘๙ (ถนนนางลน้ิ จ)่ี
รถใตดนิ MRT ลงทส่ี ถานลี มุ พินี ตอ รถประจาํ ทางและรถปรบั อากาศ สาย ๖๒, ๖๗
รถไฟฟา BTS
- ลงทสี่ ถานศี าลาแดง ตอ รถประจําทาง สาย ๖๗ หนา โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ
- ลงทสี่ ถานชี อ งนนทรี ตอรถประจําทาง BRT หรอื ลงทสี่ ถานสี รุ ศกั ด ตอ รถประจําทาง
สาย ๗๗ (ถนนนราธวิ าสราชนครินทร)
รถประจําทาง BRT ลงทีส่ ถานเี ทคนคิ กรงุ เทพฯ (ถนนนราธวิ าสราชนครนิ ทร)
คมู่ อื นคกั ่มู ศอื ึกนษกั าศ๒ึกษ๕า๖๒๓๕๖๓(๙(๓)) (๙)
มหาวมิทหยาวาลิทยั เาทลคยั โนเทโลคยโนีรโาลชยมรี งาคชมลกงครงลุ เกทรพงุ เทพ
หมายเลขโทรศพั ท์
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ
เลขที� ๒ ถนนนางลน�ิ จ�ี แขวงทงุ่ มหาเมฆ เขตสาทร กรงุ เทพฯ ๑๐๑๒๐
โทรศพั ท์ ๐-๒๒๘๗-๙๖๐๐ โทรสาร ๐-๒๒๘๖-๓๕๙๖
หนว่ ยงาน หมายเลขตดิ ตอ่
อธิการบดี 0 228๗ ๙๖๐๐ ตอ ๒๒๘๙
นายสมพร ปยะพันธ 0 2287 9600 ตอ 2120, 2121
เลขานุการ 0 2286 4159
รองอธิการบดี 0 2287 9600 ตอ ๗1๐๔
ผศ.สวสั ด์ิ ศรเี มืองธน 0 228๗ ๙๖๕๙, ๑๑๐๗
ผศ.วิริยะ ศิริชานนท 0 228๖ ๘๒๑๑, ๗๑๒๘
ผศ.พิชัย จนั ทรม ณี 0 2287 9600 ตอ 1177
ผศ.นพรัตน ภยั วิมตุ ิ 0 2287 9600 ตอ 7๖๐๙
นายพษิ ณวุ ัตร สุจวพิ ันธ
0 2287 9600
ผูชว ยอธิการบดี 0 2287 9600
ผศ.นิรมล วรสษิ ฐ 0 2287 9600 ตอ 7๖๐๕
ผศ.พรี ะพล เดชะดนุวงศ 0 2287 9600 ตอ ๙๖๕๘
นายชัยศักดิ์ คลา ยแดง
นางฉตั รกาญจน ดรมุ าศ 0 2287 9741
0 2287 9600 ตอ ๗๒๐๙
กองกลาง 0 2286 3596
ผอู าํ นวยการกองกลาง 0 2287 9600 ตอ ๒๑๐๕, ๗๐๕๙, ๗๑๔๑
สนง.กองกลาง 0 2287 9600 ตอ 7077
โทรสาร
ศนู ยป ระชาสมั พนั ธ
งานอาคารสถานที่
(๑๐) (๑(๒ค๐มู่ ))อื นกั คศมู่ ึกอื ษนากั ๒ศึก๕ษ๖า ๓๒๕๖๓ หมายเลขตดิ ตอ่
มหาวิทมยหาลาวยั ิทเทยคาโลนยั โลเทยคีรโานชโลมยงีรคาลชกมรงงุ คเทลพกรงุ เทพ 0 2287 9600 ตอ ๗๕๔๙
0 2287 9600 ตอ ๗๑๒๕
หนว่ ยงาน
0 2287 968๖
งานรกั ษาความปลอดภัย 0 2287 9600 ตอ 2116, 2117, ๗๑๒๑
ยานพาหนะ 0 2287 9687
กองบรหิ ารงานบคุ คล
ผอู าํ นวยการ 0 2287 ๙๖๐๐ ตอ ๗๕๕๐
สนง.กองบรหิ ารงานบคุ คล 0 2287 ๙๖๐๐ ตอ ๗๓๓๙
โทรสาร
กองคลัง 0 2287 9691
ผูอ าํ นวยการ 0 2287 9600 ตอ 2149, 711๗, 7120
สนง.กองคลัง 0 2287 9627
กองนโยบายและแผน
ผูอํานวยการ 0 2287 9600 ตอ ๗๖๐๕
สนง.กองนโยบายและแผน 0 2287 9600 ตอ ๗๖๐๑
โทรสาร 0 2287 9600 ตอ ๗๖๒๖
กองพัฒนานักศึกษา 0 2287 9600 ตอ ๗๖๑๗, ๗๖๑๘,
ผอู าํ นวยการ 7619
สนง.กองพัฒนานักศึกษา 0 2287 9600 ตอ ๗๖๒๒
โทรสาร 0 2287 9600 ตอ ๗๖๑๕, ๗๖๒๓,
งานกองทนุ กูยืมเพ่ือการศกึ ษา 7624
0 2287 9600 ตอ ๗๖๐๓, ๗๖๐๔
งานวิชาทหาร
งานพยาบาล 0 2287 9600 ตอ 7070, 7071
งานกิจกรรมนกั ศึกษา
สํานกั งานสหกิจศกึ ษา
อาคารเฉลิมพระเกยี รติ ๘๐ พรรษา R ๒๐๒
หนว่ ยงาน คมู่ คอื ่มูนอืกั นศกัึกศษกึ าษ๒า ๕๒๖๕๓๖๓(๑((๓๑๑)๑))
สาํ นกั สง เสรมิ วิชาการและงานทะเบยี น มหมาหวาิทวยิทายลายั ลเยัทเคทโคนโนลโยลีรยารี ชามชงมคงลคกลรกงุ รเทงุ เพทพ
ผูอาํ นวยการ
สนง.สาํ นกั สง เสรมิ วิชาการและงานทะเบยี น หมายเลขตดิ ตอ่
กลุมงานบรหิ าร
0 2287 9๖๘๒
สาํ นักวทิ ยบริการและเทคโนโลยสี ารสนเทศ 0 2287 9625
ผอู ํานวยการ 0 2287 9600 ตอ 2123, 2124
สํานักงานสํานกั วทิ ยบรกิ าร
0 2287 9600 ตอ 7001
งานพัฒนาระบบสารสนเทศ 0 2287 9600 ตอ 7034, 70๓๕,
หอสมดุ กลาง 70๓๖
บรรณารกั ษ 0 2287 9600 ตอ 7004, 70๔๖
เทคโนโลยกี ารศึกษา 0 2287 9600 ตอ 7042
สถาบนั วจิ ัยและพัฒนา 0 2287 9600 ตอ 7013
ผอู าํ นวยการ 0 2287 9600 ตอ 7067
สนง. สถาบันวจิ ัยและพฒั นา
โทรสาร 0 2287 9600 ตอ ๙๖๘๕
คณะศิลปศาสตร 0 2287 9600 ตอ 1177
คณบดี ๐ ๒๒๘๗ ๙๖๘๔
สนง. คณะศลิ ปศาสตร
0 2287 9600 ตอ ๗๓07
(ฝง เทคนคิ กรงุ เทพ ฯ/ฝงบพิตร) 0 2287 9600 ตอ ๗๓๐๘, ๗๓๑๓,
โทรสาร 7315
คณะวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 0 2287 9600 ตอ ๗๓๑3/ 2282
คณบดี 0 2287 9600 ตอ ๒๑๓๒
สนง. คณะวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
โทรสาร 0 2287 9600 ตอ 7555, 7556
0 2287 9600 ตอ 7555, 7556
0 2287 9681
(๑(๑(๒๒๒))) คค่มู มู่อื อืนนกั กั ศศกึ ึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ หมายเลขตดิ ตอ่
มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ 0 2287 9600 ตอ 7059
๐ 2287 9600 ตอ 7056, 7058
หนว่ ยงาน
0 2287 9600 ตอ ๗๐๗๓
คณะครศุ าสตรอ ุตสาหกรรม 0 2287 9600 ตอ ๗๐๗๒
คณบดี 0 2287 9733
สนง. คณะครศุ าสตรอ ตุ สาหกรรม
0 2287 9600 ตอ ๙๖๔๓
คณะวศิ วกรรมศาสตร 0 2287 9600 ตอ 7331
คณบดี 0 2286 8962
สนง. คณะวศิ วกรรมศาสตร
โทรสาร ๐ ๒๒๘๗ ๙๖๐๐ ตอ ๗๒๕๐
0 2287 9600 ตอ 7204, 7207
คณะบริหารธรุ กจิ 0 2211 2040
คณบดี
สนง. คณะบริหารธรุ กิจ 0 2287 9600 ตอ ๗๐๑๙
โทรสาร 0 2287 9600 ตอ 7341, 7342
0 2287 9600 ตอ ๑๒๕๔
คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร
คณบดี 0 2287 9600 ตอ 2288
สนง. คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร 0 2287 9600 ตอ 7102, 9730
โทรสาร 0 2287 9600 ตอ 7332
คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอ
คณบดี
สนง. คณะอตุ สาหกรรมส่ิงทอ
โทรสาร
วทิ ยาลยั นานาชาติ
ผอู ํานวยการ
สนง. วิทยาลัยนานาชาติ (เทคนคิ กรุงเทพ ฯ)
สนง. วิทยาลยั นานาชาติ (บพิตรฯ)
ค่มู คอื มู่ นอื กั นศกั ึกศษึกาษา๒๒๕๕๖๖๓๓ (๑(๑(๓๓)) )
มหมาหวาิทวยิทายลายัลเยัทเคทโคนโนลโยลีรยาีรชามชงมคงลคกลรกงุรเงทุ เพทพ
ประเภทการใหบ้ ริการ
สงิ� ท�ีนกั ศึกษาควรปฏิบัติ
ระบบการจดั การศึกษา
การลงทะเบียนเรียน
บทลงโทษสาํ หรบั การปลอมแปลงเอกสาร
การพน้ สภาพ
(๑๔) (ค๑(๒มู่ ๔อื ))นกั ศคึกมู่ ษอื าน๒กั ศ๕ึก๖ษ๓า ๒๕๖๓
มหาวิทยมาลหยัาวเทิทคยโานลโลยั ยเทรี คาชโนมโลงคยลีรกาชรมงุ งเทคพลกรงุ เทพ
สถานทที่ ําการ อาคาร ๓๖ ชัน้ ๑ ปกซา ย
เวลาทาํ การ วนั จนั ทร – วันศกุ ร เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๘.๓๐ น. (เวน วนั หยุดราชการ)
หนา ท่โี ดยสงั เขป สนบั สนนุ งานทีเ่ ก่ียวขอ งกับการเรยี นการสอน ปฏิบตั ิตามระเบยี บ ขอ บงั คบั
และประกาศของมหาวิทยาลยั ฯ
ประเภทการบริการ บริการนักศึกษาปจจุบัน นักศึกษาท่ีสําเร็จการศึกษา ศิษยเกา ประชาชนท่ัวไป
ทั้งหนว ยงานภายในและภายนอก โดยแบง ออกเปน ๓ ชองทาง
๑. บรกิ ารผานระบบเครือขาย
- การลงทะเบียน การลงทะเบยี นเพม่ิ -ถอน
- การตรวจสอบผลการลงทะเบยี น
- การตรวจสอบโครงสรางหลกั สูตร
- การตรวจสอบตารางสอน – ตารางสอบ การใชห อ งเรียน / หอ งสอบ
- การตรวจสอบผลการศกึ ษาประจําภาค
- การตรวจสอบสถานภาพการเปน นักศกึ ษา
- ภาระคา ใชจ า ย
- การตรวจสอบคา งสงหนงั สือหองสมดุ
- การตรวจสอบการลงทะเบียนครบหลักสูตร
๒. บริการหนา เคานเ ตอร ใหบริการรับคาํ รอ ง
- รับคาํ รองตา ง ๆ โดย นกั ศกึ ษาสามารถ Print ใบคาํ รองไดจ าก www.ascar.rmutk.ac.th
- การออกหนังสอื รับรองการเปน นกั ศึกษา และใบรายงานผลการศกึ ษา (Transcript )
- ทําบัตรนกั ศกึ ษาใหม กรณเี ปล่ยี นชอื่ -สกุล หรือบตั รสญู หาย
- การลงทะเบยี น ลงทะเบยี นเพ่ิม/ถอน ลงทะเบยี นลา ชา ลงทะเบยี นขามสถานศกึ ษา
๓. บรกิ ารขอมูลและขา วสารงานทะเบยี น เชน ปฏิทินการศึกษา ประกาศตา ง ๆ ผา น
www.ascar.rmutk.ac.th และ Social media
วธิ ีการติดตอ การติดตอ สํานักสง เสริมวชิ าการและงานทะเบยี น ใหป ฏิบตั ิดงั นี้
๑. นักศึกษาปจจุบันตองแสดงบัตรประจําตัวนักศึกษา ผูเคยศึกษาแสดงบัตรประจําตัว
ประชาชน หรอื บัตรขา ราชการ หรอื ใบอนุญาตขับขี่รถยนต
๒. แตง กายสภุ าพ
คมู่ คอื ่มูนอืกั นศกัึ ศษึกาษ๒า ๕๒๖๕๓๖๓(๑(๓๕()๑)๕)
มหมาวหิทายวิทาลยยั าเลทยั คเทโนคโลโนยโีรลายชีรมางชคมลงกครลงกุ เรทงุพเทพ
๓. แจงเรื่องที่จะติดตอและขอมูลสว นตวั เชน ชอ่ื -สกุล คณะ/สาขาวิชา รอบ ปท เ่ี ขา ศกึ ษา
และปท่สี ําเรจ็ การศึกษา เปนตน
๔. กรณีนักศกึ ษาตองการเอกสารทางการศึกษาที่ตองติดรูปถาย ใหเตรียมรูปถายขนาด ๑ น้ิว
มาดวย เมื่อรับเอกสารแลว นักศึกษาตองตรวจสอบความถูกตองทุกคร้ัง กรณีถาพบเอกสารไมถูกตอง
ใหรบี แจง เพ่อื ดําเนินการแกไข
สง่ิ ท่นี กั ศึกษาควรปฏิบตั ิ มีดงั น้ี
๑. อา นคมู ือนกั ศกึ ษาน้ีใหเ ขา ใจ และเก็บรกั ษาไวอยางนอยตลอดระยะเวลาทศี่ กึ ษา
๒. ระเบยี บ ขอ บงั คับ และประกาศของมหาวิทยาลัย นักศึกษาทุกคนตองทราบเปนอยา งดเี พ่ือ
ใชเ ปน แนวทางปฏิบตั ิไดอยา งถกู ตอง
๓. ตดิ ตามขาวสาร ประกาศตา ง ๆ และดําเนินการใหต รงตอ เวลา
๔. รับเอกสารใด ๆ ตองอาน ทําความเขาใจและปฏิบัตติ ามโดยเครงครดั
ระบบการจัดการศึกษา
การจัดการศึกษาภายในมหาวิทยาลัยใชระบบทวิภาค โดยใน ๑ ปการศึกษา แบงเปน ๒ ภาค
การศึกษาปกติ ซึ่งภาคการศึกษาท่ี ๑ เริ่มเดือนมิถุนายน เปนตนไป รวม ๑๕ สัปดาห และภาค
การศึกษาที่ ๒ เรม่ิ เดอื นพฤศจกิ ายน เปน ตน ไป รวม ๑๕ สปั ดาห
ท้ังนี้ มหาวิทยาลัยอาจเปดภาคการศึกษาฤดูรอน เปนภาคการศึกษาท่ีไมบังคับ ใชระยะเวลา
ศกึ ษา ๗ สปั ดาห โดยใหเ พ่มิ ชว่ั โมงการศึกษาในแตละรายวิชาใหเทากับภาคการศึกษาปกติ
การลงทะเบียนเรยี น
นักศกึ ษาทจ่ี ะลงทะเบียนเรยี น ควรศึกษาและปฏบิ ัติ ดังนี้
๑. กอนลงทะเบียนประจาํ ภาค นักศกึ ษาตองพบอาจารยท ี่ปรกึ ษากรณีท่ีมีปญหาเกี่ยวกับ ผล
การศกึ ษา เพอ่ื ทําการลงทะเบยี นใหถูกตอง
๒. นกั ศึกษาควรศึกษาหลักสูตร แผนการเรียนในหลกั สตู ร และแผนการเรียนประจําภาค ให
เขาใจ โดยพจิ ารณาดังนี้
๒.๑ ตอ งสอบผา นรายวชิ าบังคับกอ น (PREREQUISITE) ท่กี ําหนดไวในหลักสตู ร
๒.๒ นักศึกษาทีม่ ีสถานภาพรอพนิ จิ จะลงทะเบียนเรยี นไดต องอยใู นดลุ พินจิ ของอาจารย
ท่ปี รึกษา
๓. นักศึกษาลงทะเบียนผานเครือขายอินเตอรเน็ต โดยนักศึกษาสามารถศึกษาวิธีการ
ล งท ะ เบี ย น ได จ าก คู มื อ วิธี ก ารล งท ะเบี ย น อ อ น ไล น สํ าห รับ นั ก ศึ ก ษ า (โด ย เข าไป ที่
www.ascar.rmutk.ac.th หนาหลัก คลกิ เลอื กระบบงานทะเบยี น คลิกเลอื กคูมอื ) โดยนักศกึ ษาตอ งทํา
ความเขาใจคูมอื อยางละเอียด และถอื ปฏิบตั ติ ามคาํ แนะนาํ ในคมู ืออยางเครง ครดั ในกรณที ่ีมขี อสงสัยให
(๑๖)(๑(๒๖ค)มู่ )อื นคกั มู่ศอืกึ นษกัาศ๒ึก๕ษา๖๒๓๕๖๓
มหาวิทมยหาลวยัิทเยทาคลโนยั โเลทยคีรโนาโชลมยงีรคาลชกมรงงคุ เลทกพรงุ เทพ
ขอคําปรึกษาจากอาจารยที่ปรึกษา สถานที่ที่นักศึกษาสามารถขอใชคอมพิวเตอรในการลงทะเบียนได
คือ สํานักสงเสริมวิชาการและงานทะเบียน (สวท.) สํานักวิทยบรกิ ารและเทคโนโลยีสารสนเทศ (สวส.)
และสํานักงานคณะ (ท่นี ักศึกษาศึกษาอยู)
การยืนยันการลงทะเบียน
เมอื่ นักศกึ ษาตรวจสอบรายวชิ าและมน่ั ใจในการเลอื กรายวชิ าทีต่ อ งการลงทะเบียนแลว ใหทาํ
การยืนยันการลงทะเบียนทุกคร้ัง ระบบจะแสดงขอความการยืนยันการลงทะเบียนพรอมท้ังแสดง
ยอดเงินสุทธิคาลงทะเบียนท่ีตองชําระท้ังหมด โดยนักศึกษาสามารถพิมพ ใบแจงยอดชําระเงิน
(Pay in) เพื่อไปชําระเงินที่ธนาคารภายในวันท่ีกําหนด และตรวจสอบผลการลงทะเบียนผาน
เครอื ขา ย ซ่ึงจะแสดงรหัสวิชา รายชือ่ วชิ า และจํานวนหนว ยกติ
บทลงโทษสาํ หรับการปลอมแปลงเอกสาร
หา มนกั ศึกษาเปลยี่ นแปลงขอมูลใด ๆ ในเอกสารตา ง ๆ เชน แบบฟอรมคาํ รอง ใบผลการเรยี น
(Transcript) ที่ดําเนินการแลว เสร็จ (มีการลงนามในเอกสารครบถว นแลว) โดยเดด็ ขาด และการปลอม
แปลงเอกสาร และการลงนามนบั เปนคดีอาญา
การพนสภาพ
การพนสภาพการเปนนักศึกษา เนื่องจากผลการศกึ ษาประจาํ ภาค พจิ ารณาจากหนวยกติ ที่
ลงทะเบียนรวมทง้ั หมด แสดงดงั ตาราง
การลงทะเบยี นเรียน คาระดบั คะแนนเฉลย่ี สะสม หมายเหตุ
หนวยกิตรวม พน สภาพการเปน นักศกึ ษา
๓๐ - ๕๙ ต่ํากวา ๑.๕๐
ตงั้ แต ๖๐ ขึ้นไป ต่าํ กวา ๑.๗๕
เรียนครบหลักสูตร ตาํ่ กวา ๒.๐๐
เรยี นครบหลักสตู ร ระหวาง ๑.๙๐ – ๑.๙๙ ต อ ง ล ง ท ะ เบี ย น เ รี ย น ซํ้ า ร า ย วิ ช า ท่ี ได ร ะ ดั บ
คะแนนตํ่ากวา ก (A) เพื่อปรับคาเฉลี่ยสะสมให
ถึง ๒.๐๐ (จบหลักสูตร) ภายในระยะเวลา ๓
ภาคการศึกษา รวมภาคการศึกษาฤดูรอน
แตไมเกินระยะเวลา ๒ เทาของแผนการเรียน
ตามหลักสตู ร (ขอ ๒๒.๒)
คมู่ อื นคกัมู่ ศอื ึกนษกั าศึก๒ษ๕า ๖๒๓๕๖๓(๑(๓๗() )๑๗)
มหาวมิทหยาาวลิทยั ยเทาลคยัโนเทโลคยโนีราโลชยมีรงาคชลมกงรคงุ ลเทกพรงุ เทพ
คณะ / สาขาที่เปดสอนในมหาวทิ ยาลยั
ความหมายของเลขรหสั นกั ศกึ ษา
เครื่องแบบนักศึกษา
บทบาทของอาจารยที่ปรึกษา
(๑๘(๑()๒๘))ค่มู อืคนมู่ กั อื ศนึกกั ษศาึกษ๒า๕๒๖๕๓๖๓
มหามวหิทายวาิทลยยั าเลทยัคเโทนคโลโนยโีรลายชีรมางชคมลงกครลงุ กเทรงพุ เทพ
การจัดการเรียนการสอนในคณะ/สาขาวิชาท่ีเปดรับ
ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๓
ปริญญาตรี ปริญญา
โท/เอก
เทียบ ช่ือยอ ปรญิ ญา
๔ ๕ โอน
คณะ/สาขาวชิ า ป ป รายวิชา ภาค ภาค
๑. คณะศิลปศาสตร 9 - - ปกติ - ศศ.บ. (การทอ งเท่ยี ว)
การทอ งเท่ยี ว
การโรงแรม 9 - - ปกติ - ศศ.บ. (การโรงแรม)
ภาษาอังกฤษเพอ่ื การส่ือสารสากล 9 - - ปกติ - ศศ.บ. (ภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอื่ สารสากล)
ภาษาญี่ปุน 9 - - ปกติ - ศศ.บ. (ภาษาญป่ี ุน)
ภาษาจีนเพ่อื การสื่อสาร 9 - - ปกติ - ศศ.บ. (ภาษาจนี เพื่อการสอ่ื สาร)
การพัฒนาผลิตภัณฑภ ูมิปญ ญาไทย 9 - - ปกติ - ศศ.บ. (การพัฒนาผลติ ภัณฑภมู ิปญญาไทย)
๒. คณะวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
เคมี 9 - - ปกติ - วท.บ. (เคม)ี
ออกแบบผลติ ภณั ฑอ ตุ สาหกรรม 9 - - ปกติ - ทล.บ. (ออกแบบผลิตภณั ฑอ ตุ สาหกรรม)
ทล.บ. (เทคโนโลยีการถา ยภาพและ
เทคโนโลยีการถา ยภาพและภาพยนตร 9 - - ปกติ - ภาพยนตร)
เทคโนโลยกี ารโทรทศั นและ ทล.บ. (เทคโนโลยกี ารโทรทัศนแ ละ
วิทยุกระจายเสยี ง 9 - - ปกติ - วิทยุกระจายเสียง)
เทคโนโลยีการพิมพ 9 - - ปกติ - ทล.บ. (เทคโนโลยีการพิมพ)
วิทยาการคอมพวิ เตอร/เทคโนโลยี วท.บ. (วทิ ยาการคอมพิวเตอร)
สารสนเทศ 9 - - ปกติ - วท.บ (เทคโนโลยีสารสนเทศ)
เทคโนโลยเี คร่ืองเรือนและการ
ออกแบบ 9 - - ปกติ - ทล.บ. (เทคโนโลยเี ครือ่ งเรอื นและการออกแบบ)
เทคโนโลยแี ละการจัดการความ วท.บ. (เทคโนโลยีและการจัดการความปลอดภยั
ปลอดภยั ของอาหาร 9 - - ปกติ - ของอาหาร)
วทิ ยาศาสตรเ พอื่ สขุ ภาพและความงาม 9 - - ปกติ - วท.บ. (วทิ ยาศาสตรเพอื่ สขุ ภาพและความงาม)
คคมู่ มู่ อื อื นนกั กั ศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ ((๑(๑๓๙๙) ))
มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ
ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญา
โท/เอก
เทยี บ ช่ือยอปริญญา
๔ ๕ โอน
คณะ/สาขาวชิ า ป ป รายวิชา ภาค ภาค
๓. คณะครศุ าสตรอ ุตสาหกรรม
เคร่อื งกล 9- - ปกติ - ค.อ.บ. (เครอ่ื งกล)
อตุ สาหการ - ปกติ - ค.อ.บ. (อตุ สาหการ)
เทคโนโลยียานยนตส มยั ใหม 9- - ปกติ - อส.บ. (เทคโนโลยียานยนตสมัยใหม)
วศิ วกรรมการผลติ 9- - ปกติ - อส.บ. (วิศวกรรมการผลิต)
๔. คณะวศิ วกรรมศาสตร 9-
วศิ วกรรมศาสตร
-- - - ปกติ/ ปร.ด. (วิศวกรรมศาสตร)
วิศวกรรมการผลติ นอกเวลา
วิศวกรรมโยธา -- - - ปกต/ิ วศ.ม. (วศิ วกรรมการผลิต)
วิศวกรรมสํารวจ สมทบ
วิศวกรรมไฟฟา 9 - 9 ปกติ
วิศวกรรมอิเลก็ ทรอนกิ สและ
โทรคมนาคม - - 9 สมทบ - วศ.บ. (วศิ วกรรมโยธา)
วศิ วกรรมเคร่อื งกล 9 - - ปกติ - วศ.บ. (วิศวกรรมสาํ รวจ)
วิศวกรรมอตุ สาหการ 9 - - ปกติ
วิศวกรรมเคมี
วศิ วกรรมอัตโนมตั ิและหุนยนต - - 9 สมทบ - วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา )
วิศวกรรมซอมบํารุงอากาศยาน
วศิ วกรรมการผลติ ความแมนยําสงู 9 - - ปกติ วศ.บ. (วศิ วกรรมอิเลก็ ทรอนกิ สและ
- - 9 สมทบ - โทรคมนาคม)
9 - 9 ปกติ
- - 9 สมทบ - วศ.บ. (วศิ วกรรมเคร่ืองกล)
9 - 9 ปกติ
- - - สมทบ - วศ.บ. (วศิ วกรรมอุตสาหการ)
9 - - ปกติ - วศ.บ. (วศิ วกรรมเคมี)
9 - - ปกติ - วศ.บ. (วิศวกรรมอัตโนมัตแิ ละหุนยนต)
9 - - ปกติ - วศ.บ. (วศิ วกรรมซอมบํารุงอากาศยาน)
9 - - ปกติ - วศ.บ. (วศิ วกรรมการผลติ ความแมน ยาํ สูง)
(๒๐(๒()๒๐))ค่มู อืคนมู่ กั อื ศนึกกั ษศาึกษ๒า๕๒๖๕๓๖๓ ปรญิ ญา
โท/เอก
มหามวหิทายวาิทลยยั าเลทยัคเโทนคโลโนยโีรลายชีรมางชคมลงกครลงุ กเทรงพุ เทพ
ปริญญาตรี
เทยี บ ชอื่ ยอ ปรญิ ญา
คณะ/สาขาวชิ า ๔ ๕ โอน ภาค
๕. คณะบริหารธุรกจิ ป ป รายวิชา ภาค
ปกต/ิ
บริหารธรุ กจิ มหาบณั ฑิต -- - - สมทบ บธ.ม.
การเงนิ
9 - - ปกติ - บธ.บ. (การเงนิ )
การสอื่ สารธรุ กิจรหวา งประเทศ - บธ.บ. (การสอ่ื สารธุรกจิ รหวา งประเทศ)
9 - - ปกติ - บธ.บ. (การประเมินราคาทรพั ยส นิ )
การประเมินราคาทรพั ยส ิน 9 - - ปกติ - บธ.บ. (ระบบสารสนเทศ)
9 - 9 ปกติ - บช.บ.
ระบบสารสนเทศ -- - สมทบ - บธ.บ. (การจดั การ)
- บธ.บ. (การจดั การ)
9 - 9 ปกติ
- บธ.บ. (การตลาด)
การบญั ชี -- - สมทบ - บธ.บ. (การตลาด)
- บธ.บ (ธรุ กิจการบนิ )
9 - 9 ปกติ - ทล.บ. (เทคโนโลยสี ารสนเทศและธรุ กจิ ดจิ ทิ ลั )
การจัดการท่วั ไป -- - สมทบ - ศษ.บ. (คหกรรมศาสตรศกึ ษา)
การจัดการทรพั ยากรมนษุ ย 9 - - ปกติ - คศ.บ. (อาหารและโภชนาการ)
- คศ.บ. (เทคโนโลยีเสื้อผา และแพตเทิรน )
9 - 9 ปกติ - ทล.บ. (การออกแบบแฟช่ัน)
- คศ.บ. (ธุรกจิ อาหาร)
การบริหารการตลาด -- - สมทบ - วท.บ. (วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีการอาหาร)
- วท.บ. (การพัฒนาผลติ ภณั ฑอาหาร)
การตลาดระหวางประเทศ 9- - ปกติ
ธุรกิจการบนิ 9- - ปกติ
เทคโนโลยสี ารสนเทศและธุรกจิ ดิจิทัล 9 - 9 ปกติ
๖. คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร
คหกรรมศาสตรศกึ ษา - 9 9 ปกติ
9 - 9 ปกติ
อาหารและโภชนาการ 9 - - สมทบ
เทคโนโลยเี สื้อผาและแพตเทริ น 9 - - ปกติ
การออกแบบแฟชั่น 9 - - ปกติ
ธุรกจิ อาหาร 9 - - ปกติ
วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีการอาหาร 9 - - ปกติ
การพัฒนาผลติ ภัณฑอ าหาร 9 - - ปกติ
คคมู่ มู่ อื อื นนกั กั ศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ ((๒(๒๓๑)๑))
มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ
ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญา ช่ือยอ ปริญญา
โท/เอก
คณะ/สาขาวชิ า เทียบ
๗. คณะอตุ สาหกรรมส่ิงทอ โอน ภาค
นวตั กรรมส่ิงทอ ๔ ป ๕ ป รายวิชา ภาค
เทคโนโลยีสงิ่ ทอ -- - - สมทบ วท.ม. (นวตั กรรมสิ่งทอ)
นวตั กรรมสง่ิ ทอ 9- - ปกติ - วท.บ. (เทคโนโลยีส่งิ ทอ)
ออกแบบส่งิ ทอและแฟช่ัน
9- - ปกติ - วท.บ. (นวตั กรรมส่งิ ทอ)
9- - ปกติ - ทล.บ. (ออกแบบสิง่ ทอและแฟช่ัน)
๘. วทิ ยาลยั นานาชาติ
คณะ/สาขาวิชา ปริญญาตรี ปรญิ ญา ปรญิ ญา ชื่อยอปรญิ ญา
๔ ป โท เอก ปร.ด (การพฒั นาทรพั ยากรมนุษยและการจัดการ)
การพัฒนาทรัพยากรมนุษยและการจัดการ
- - 9
บริหารธุรกิจมหาบัณฑติ
การจัดการธรุ กิจระหวางประเทศ - 9 - ศศ.ม. (การพฒั นาทรพั ยากรมนุษยแ ละการจัดการ)
การทอ งเท่ียวและการบริการ
- 9 - บธ.ม.
9 - - บธ.บ. (การจัดการธุรกิจระหวา งประเทศ)
9 - - ศศ.บ. (การทอ งเที่ยวและการบรกิ าร)
(๒๒(๒()๒๒))ค่มู อืคนมู่ กั อื ศนกึ กั ษศาึกษ๒า๕๒๖๕๓๖๓
มหามวหิทายวาิทลยยั าเลทยัคเโทนคโลโนยโีรลายชีรมางชคมลงกครลงุ กเทรงพุ เทพ
AA – B– CC – DD – E – XXX-X
ลําดับที่
ภาค
สาขาวิชา
คณะ
หลกั สตู ร
ปทเี่ ขา ศึกษา
AA ปท เ่ี ขา ศกึ ษา
B หลกั สูตร
๕ หมายถึง ๔ ป/ วทิ ยาลยั นานาชาติ
๖ หมายถงึ ตอ เนือ่ ง, เทยี บโอนรายวิชา
๗ หมายถงึ ๕ ป
๘ หมายถึง ปรญิ ญาโท
๙ หมายถึง ปรญิ ญาเอก
CC คณะ
๐๑ ศิลปศาสตร ๐๒ วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
๐๓ ครุศาสตรอุตสาหกรรม ๐๔ วศิ วกรรมศาสตร
๐๕ บริหารธุรกิจ ๐๖ เทคโนโลยคี หกรรมศาสตร
๐๗ อุตสาหกรรมสง่ิ ทอ ๐๘ วิทยาลยั นานาชาติ
ตัวอยา ง เลขรหัสนกั ศกึ ษา คือ ๖๓ ๖ ๐๕ ๑๔ ๐ ๑๐๑ – ๐
หมายถึง นกั ศึกษาแรกเขาปก ารศึกษา ๒๕๖๓ หลกั สูตรเทยี บโอนรายวิชา
คณะบรหิ ารธุรกจิ สาขาวิชาการจัดการ ภาคปกติ ลําดับที่ ๑๐๑
คคมู่ ่มอืู นอื นกั กศั ึศกกึษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ (๒(๓๒๓)๓))
มมหหาวาิทวิทยยาลาลยั ยัเทเทคคโนโนโลโลยยีรารี ชามชมงคงคลลกกรงรุ เงุทเทพพ
เครือ่ งแตงกายแบบปกติ นักศึกษาชาย
(๑) เส้ือเชิ้ตแขนสั้น หรือแขนยาวสีขาวทรงสุภาพ กลัดกระดุม สีขาวทุกเม็ด
มีกระเปา ขนาดเหมาะสมทีอ่ กเบื้องซา ย เวลาสวมใหส อดชายเสื้อไวใ นกางเกงใหเ รียบรอย
(๒) กางเกงขายาวแบบสากล ทรงสุภาพ ไมรัดรูปหรือหลวมเกินไป มีหูเข็มขัด
เย็บดวยผา สเี ดียวกัน ผาพน้ื สดี าํ หรือสีกรมทา ไมมลี วดลาย
(๓) สายเข็มขัดหนังสดี ํา ไมม ีลวดลาย หวั เข็มขดั เครือ่ งหมายมหาวทิ ยาลัยตามแบบ
ทม่ี หาวทิ ยาลัยกาํ หนด
(๔) รองเทา หุม สน สีดํา ทรงสุภาพ
(๕) ถุงเทาสีดํา หรือสีที่กลมกลืนกับรองเทา ไมมี
ลวดลาย
เครอ่ื งแตงกายแบบปกติ นกั ศกึ ษาหญงิ
(๑) เสื้อเช้ิตสีขาวแขนส้ันเพียงศอก ปลายแขน
ปลอยตรง ไมผาปลายแขน ไมบางเกินควร ไมรัดรูป
และหลวมเกินไป ไมมีลวดลาย ผาหนาตลอด กระดุม
สีเงินลายดุนนูนตราสัญลักษณมหาวิทยาลัย ตัวเส้ือมี
ความยาวเพียงพอสําหรับใหกระโปรงทับได เวลาสวม
ใหสอดชายเสือ้ ไวในกระโปรงใหเ รียบรอย
(๒) เข็มกลัดเส้ือตราสัญลักษณมหาวิทยาลัย
กลดั อกเส้ือเบอ้ื งซา ย
(๓) กระโปรง เอวสูง แบบสุภาพ ไมรัดรูป ไมสั้น
เกินไป ผา เนอ้ื เรียบ ไมมีลวดลาย สดี ํา หรือสกี รมทา
(๔) สายเข็มขัดหนังสีดํา หัวเข็มขัดเคร่ืองหมายมหาวิทยาลัย ตามแบบที่
มหาวทิ ยาลยั กําหนด
(๕) รองเทา หนังหรอื ผา ใบหมุ สน สีดาํ ไมมลี วดลายทรงสุภาพ
(๒๔(๒()๒๔))คมู่ อืคนมู่ กั อื ศนกึ กั ษศาึกษ๒า๕๒๖๕๓๖๓
มหามวหิทายวาิทลยยั าเลทยัคเโทนคโลโนยโรี ลายชีรมางชคมลงกครลงุ กเทรงพุ เทพ
ดวยวิสัยทัศนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มีความเปนเลิศในการจัดการศึกษา
วิชาชีพ บนพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพื่อพัฒนากําลังคนใหเปนนักปฏิบัติท่ีมีความรูคู
คุณธรรม ในการจัดการศึกษาใหสําเร็จลุลวงไปไดน้ัน จําเปนตองไดรับความรวมมือจากบุคลากรและ
หนวยงานภายในมหาวิทยาลัย สวนหนึ่งท่ีสําคัญมากในการจัดการศึกษา คือ “อาจารยที่ปรึกษา” ซึ่ง
ตองมีหนาท่ีเกี่ยวของและตองรับผิดชอบโดยตรงตอนักศึกษาในงานดานวิชาการ โดยอาจารยท่ีปรึกษามี
หนาที่เปนผูใหคําปรึกษาตอนักศึกษาในเร่ืองท่ีเกี่ยวกับการเรียน และปญหาเรื่องอ่ืน ๆ ท่ีนักศึกษา
ตอ งการปรกึ ษา และกระตุนใหนักศึกษามีความสนใจในดา นการเรยี น รวมถึงสงเสริมใหนักศึกษาปฏิบัติ
ตามขอ บงั คบั ระเบยี บ ประกาศ ของมหาวิทยาลัยอยางเครง ครัด
คณุ ลกั ษณะของอาจารยท ีป่ รกึ ษา
อาจารยที่ปรกึ ษาทดี่ คี วรมีคณุ ลกั ษณะ ดงั น้ี
๑) มมี นษุ ยสมั พันธทดี่ ี
๒) มีความรับผิดชอบสูง
๓) ใจกวางและรับฟง ความคดิ เหน็ ของนักศกึ ษา
๔) มีความรกู วา งขวางทนั ตอ เหตุการณใ นงานวิชาการและวิชาชพี
๕) มีความจริงใจและเหน็ อกเห็นใจผอู น่ื
๖) มเี หตผุ ลและมีความสามารถในการแกป ญ หา
๗) มคี วามเมตตากรณุ า
๘) ไวตอการรับรแู ละเขาใจสงิ่ ตาง ๆ ไดรวดเร็ว
๙) มหี ลักจติ วทิ ยาในการใหคาํ ปรกึ ษา และมจี รรยาบรรณอาจารยท่ปี รกึ ษา
๑๐) มีความประพฤตเิ หมาะสมท่ีจะเปน แบบอยา งที่ดี
๑๑) รูบทบาทและหนา ทีข่ องอาจารยท ปี่ รึกษาเปน อยา งดี
๑๒) มีประสบการณในหนา ท่ีของอาจารยท ่ปี รึกษา
จรรยาบรรณของอาจารยท่ีปรกึ ษา
เน่ืองจากอาจารยท่ีปรึกษามีหนาท่ีใหการปรึกษาแนะนําชวยเหลืออบรมดูแลนักศึกษา จึงมี
ความจําเปนตองยึดมั่นในจรรยาบรรณ โดยตองคํานึงถึงสวัสดิภาพของนักศึกษา ตองเก็บรักษาขอมูล
ตาง ๆ เรอ่ื งสว นตัวของนักศึกษาใหเปนความลบั ใหความชวยเหลือ (ภายในขอบเขตความสามารถของ
ตน) ไมวพิ ากษว จิ ารณบคุ คลหรอื สถาบันในทางเสอ่ื มเสยี ใหน ักศึกษาฟง และท่สี ําคญั อาจารยท ี่ปรึกษา
ตองเปนผูท่ีมีความประพฤติท่ีเหมาะสมตามจรรยาบรรณแหงวิชาชีพในสาขาท่ีตนสอนและมีศีลธรรม
จรรยาที่ดงี าม เพอื่ เปน แบบอยา งที่ดีแกนักศกึ ษา
คมู่ คอื ่มู นอื กั นศกั ึกศษกึ าษ๒า ๒๕๖๕๓๖๓ (๒(๓(๒๕) )๕)
มหมาหวาิทวยิทายลายั ลเทยั คเทโนคโลนยโลีรยาีรชามชงมคงลคกลรกงุ รเทงุ พเทพ
บทบาทอาจารยท ปี่ รึกษา
หนา ที่ของอาจารยท ีป่ รึกษาดา นวิชาการ
- ใหการปรกึ ษาแนะนาํ นักศึกษาเกี่ยวกับหลกั สูตร
- ใหการปรึกษานักศึกษาเก่ียวกับวิธีการเรียน การคนควา และติดตามผลการเรียนของ
นักศึกษาอยา งสมํา่ เสมอ
- ใหค าํ ปรกึ ษาแนะนําหรอื ตกั เตือนเม่ือผลการเรียนของนักศกึ ษาตา่ํ ลง
- ใหการปรึกษาและชว ยเหลือนักศกึ ษาเพอื่ แกไขปญหาอุปสรรคในการเรยี นวิชาตา ง ๆ
- ใหค าํ ปรกึ ษาแนะนาํ เก่ยี วกบั การคดิ คา ระดับคะแนนเฉล่ยี ของนกั ศึกษา
- ใหคําปรึกษาแนะนําเกีย่ วกับการศึกษาตอในระดับสูง
หนา ทขี่ องอาจารยทป่ี รึกษาดานบรกิ ารและพฒั นานักศึกษา
- ใหก ารปรกึ ษาเกีย่ วกับปญหาสวนตัว ไดแก สุขภาพอนามัยทัง้ สุขภาพกายและสุขภาพจิต
- ใหก ารปรกึ ษาเกี่ยวกบั ปญ หาสังคม เชน การปรบั ตวั ในสงั คม และปญหาการคบเพอ่ื น
- ใหการปรกึ ษาเกี่ยวกบั การพฒั นาบุคลกิ ภาพ ความประพฤติ และจริยธรรม
- ใหคําแนะนํา ควบคุมและสอดสองนักศึกษา เก่ียวกับการแตงกาย ความประพฤติ และ
มารยาททางสังคม
หนาทขี่ องอาจารยที่ปรึกษาดา นอน่ื ๆ
- ประสานงานกับอาจารยผูสอนและหนวยงานตาง ๆ ท่ีเก่ียวของ ไดแก สํานักสงเสริม
วชิ าการและงานทะเบียน และกองพัฒนานักศกึ ษา เปน ตน
- กําหนดเวลาใหน ักศึกษาเขาพบเพื่อขอคาํ ปรกึ ษาแนะนําอยา งสม่าํ เสมอ
- เก็บขอ มูลรายละเอียดของนักศึกษาท่ีอยใู นความรับผดิ ชอบเพื่อเปนขอมูลพื้นฐานสาํ หรับ
ใหค าํ ปรึกษาและชว ยเหลือนกั ศกึ ษา
- ใหค วามรว มมอื สรา งสมั พันธภาพและความเขา ใจอนั ดรี ะหวางนกั ศึกษากับคณาจารย
- ใหการรับรองนักศึกษาเม่ือตองการนําขอมูลไปแสดงแกผูอ่ืนในสถานการณตาง ๆ เชน
การศึกษาตอ เปนตน
- ปอนขอมูลยอนกลับ (feed back) มายังผูบริหารเกี่ยวกับปญหาตาง ๆ ของนักศึกษา
เพ่ือปรบั ปรุงแกไ ข
ภารกจิ ของอาจารยท ่ปี รึกษา
- อาจารยทีป่ รกึ ษาตอ งศึกษากฎระเบยี บ ขอ บังคบั ตา ง ๆ ของมหาวทิ ยาลยั
- อาจารยท่ีปรึกษาตองแจงตารางเวลา (office hours) เพื่อใหนักศึกษาเขาพบอยางนอย
เดือนละครั้ง
(๒๖(๒()๒๖))ค่มู อืคนมู่ กั อื ศนกึ กั ษศาึกษ๒า๕๒๖๕๓๖๓
มหามวหิทายวาิทลยยั าเลทยัคเโทนคโลโนยโรี ลายชีรมางชคมลงกครลงุ กเทรงพุ เทพ
- อาจารยท่ีปรึกษาควรติดตามผลการเรียนของนักศึกษาในความดูแลของตนเองเพื่อ
แนะนําและชวยเหลือนักศึกษา และใหความสนใจกับนักศึกษาในโครงการพิเศษ หรือ
กรณที ่ีนกั ศึกษามปี ญ หาในดานตาง ๆ
- อาจารยท ีป่ รกึ ษาควรสนใจท่ีจะพฒั นาตนเองทัง้ ในดานเทคนคิ ในการใหค ําปรึกษาและ
ดานอืน่ ๆ เพอื่ ใหมลี กั ษณะของอาจารยท่ปี รกึ ษาทด่ี ที ้งั ๑๒ ประการ
เทคนคิ การใหค ําปรกึ ษาเบอ้ื งตน
อาจารยท่ปี รกึ ษาตอ งมเี ทคนคิ การสรา งสมั พันธภาพท่ีดี เพือ่ ใหนกั ศกึ ษารสู ึกวา อาจารย
ท่ีปรกึ ษาสามารถใหความเปน กันเอง ใหความอบอนุ และเปน ท่ีพึง่ ทางใจของนักศึกษาได
เทคนคิ การใหก ารปรึกษาเบอื้ งตน ทีส่ ําคญั และจําเปน มีดงั นี้
๑. เทคนคิ ในการสรางสมั พันธภาพ
- สรางบรรยากาศทเี่ ปน มิตร อบอุน ยิ้มแยมแจม ใส
- เปดเผยไมม ลี ับลมคมใน
- มีความสนใจ มเี มตตากรณุ า
- มีความจริงใจและปฏบิ ัติตนอยา งเสมอตนเสมอปลาย
- ยอมรบั ทั้งคณุ คา และความแตกตางของบุคคล
- ใหค วามชว ยเหลือนักศกึ ษาอยา งจริงจงั และจรงิ ใจ
๒. การใหคาํ แนะนาํ และการปรกึ ษา
- การใหคําแนะนํา (advising) เปนวิธีที่อาจารยท่ีปรึกษาใหการชวยเหลือแก นักศึกษา
มากทสี่ ุดซง่ึ มักจะเปนเร่ืองกฎ ระเบียบ หรอื วธิ ปี ฏบิ ัติทใี่ ชก ันอยูเปน ประจาํ เชน การขาดเรยี น การขาด
สอบ หรือปญหาเล็กนอยที่อาจารยที่ปรึกษามีประสบการณ เพื่อชวยใหนักศึกษาสามารถหาทาง
แกปญหาได การใหคําแนะนําไมเหมาะสมกับปญหาที่เกี่ยวกับอารมณอยางรุนแรง ปญหาบุคลิกภาพ
หรือปญ หาทต่ี อ งตัดสนิ ใจเลอื กทาํ อยางใดอยางหน่งึ
- การใหคําปรึกษา (counseling) เปนกระบวนการชวยเหลือใหนักศึกษาเขาใจตนเอง
สภาพแวดลอมและปญหาที่เผชิญอยู สามารถใชความเขาใจดังกลาวมาแกปญหาหรือตัดสินใจเลือก
เปาหมายในการดําเนนิ ชวี ิตท่เี หมาะสมกบั ตวั เอง และเพอื่ การปรบั ตวั ทีด่ ีในอนาคต
- เทคนิคในการปรึกษาเปนเทคนิคในการปรึกษาเชิงจิตวิทยา ซ่ึงจะตองมีการศึกษา
อบรมและมีการฝกปฏบิ ัติเพื่อใหเกิดความรู ความชํานาญ จงึ จะสามารถแกปญ หาของนกั ศกึ ษาไดอยาง
กวางขวาง อาจารยที่ปรึกษาที่ไมไดฝกอบรมมาทางน้ีโดยตรงแตมีหนาท่ีตองชวยเหลือนักศึกษา
จงึ จําเปนตองศึกษาและฝกทักษะในเทคนิคตาง ๆ เพื่อใหมีพ้ืนฐานความรู ความชํานาญพอสมควรในการ
ชวยเหลอื นักศกึ ษา อยางไรก็ตามปญหาของนักศึกษาบางอยา งเปน ปญหาทีแ่ กไขไดยากหรือตอ งใชเ วลา
เชน ปญหาทางเศรษฐกิจ ปญหาครอบครัว เปนตน อาจารยที่ปรึกษาจําเปนตองใชเทคนิคในการ
ปรึกษาอยา งระมดั ระวังเพ่ือชว ยใหปญ หาคล่คี ลาย ส่งิ สาํ คัญทสี่ ุดกค็ ือ การเปนผฟู งทด่ี ี ควรใหก ําลังใจ
คมู่ คอื ่มู นอื กั นศกั ึกศษึกาษ๒า ๒๕๖๕๓๖๓ (๒(๓(๒๗)๗) )
มหมาหวาิทวยิทายลายั ลเทยั คเทโนคโลนยโลีรยาีรชามชงมคงลคกลรกงุ รเทงุ พเทพ
ใหความอบอุน และใหความจริงจังและจริงใจในการชวยเหลือนักศึกษาอยางเต็มความสามารถ และ
หาทางออกเบอื้ งตน อยา งดีท่ีสดุ ใหก บั นักศกึ ษาในฐานะอาจารยทีป่ รึกษา
บรรณานุกรม
สาํ นักงานปลัดทบวงมหาวิทยาลยั กองบริการการศึกษา. ระบบอาจารยท ป่ี รกึ ษาวิชาการ
ระดับปริญญาตรใี นมหาวิทยาลยั . พิมพครงั้ ท่ี ๒. กรุงเทพ ฯ: โรงพมิ พจุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลยั : ๒๕๓๖.
http://www.amed.go.th/RTA_Med/MedSchool/insure/req.htm
((๒๒(๒๘๘))) คคมู่มู่ อื อื นนกั กั ศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓
มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เเททคคโโนนโโลลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ
คคมู่ มู่ อื อื นนกั กั ศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ ((๒(๒๓๙)๙))
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ
พระราชบญั ญตั ิ พระราชกฤษฎีกา
ขอ้ บงั คบั ระเบียบ ประกาศ
ของมหาวิทยาลยั
ทีเ� กี�ยวขอ้ งกบั นกั ศึกษา
((๓๓(๒๐๐))) คค่มูมู่ อื อื นนกั กั ศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓
มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เเททคคโโนนโโลลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ
พระราชบญั ญัติ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล
พ.ศ. ๒๕๔๘
------------------------
ภูมพิ ลอดุลยเดช ป.ร.
ใหไ ว ณ วันที่ ๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๘
เปนปท่ี ๖๐ ในรัชกาลปจ จุบัน
พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ
ใหป ระกาศวา
โดยที่เปนการสมควรจัดตั้งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลขึ้นแทนสถาบัน
เทคโนโลยีราชมงคล จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหต ราพระราชบัญญัติขน้ึ ไวโ ดยคำแนะนํา
และยนิ ยอมของรฐั สภา ดังตอไปน้ี
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินีเ้ รียกวา “พระราชบัญญัติมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล
พ.ศ. ๒๕๔๘”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวนั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจา
นุเบกษา เปนตนไป
มาตรา ๓ ใหยกเลกิ
(๑) พระราชบญั ญตั ิวิทยาลยั เทคโนโลยีและอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๑๘
(๒) พระราชบัญญัติเปล่ียนชื่อวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาเปนสถาบัน
เทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. ๒๕๓๒
มาตรา ๔ ในพระราชบญั ญัตนิ ี้
“มหาวิทยาลยั ” หมายความวา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล
ตามพระราชบัญญัติน้ี
ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๓ (๓(๓๑) )
มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุ เทเทพพ
“สภามหาวิทยาลยั ” หมายความวา สภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลตามพระราชบัญญตั นิ ้ี
“สภาวิชาการ” หมายความวา สภาวชิ าการมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลตามพระราชบัญญัตินี้
“สภาคณาจารยแ ละขา ราชการ” หมายความวา สภาคณาจารยและขาราชการ
ม ห าว ิท ย าลั ย เท ค โน โล ยี ราช ม งค ล ต าม
พระราชบัญญตั ินี้
“วทิ ยาเขต” หมายความวา เขตการศึกษาของมหาวิทยาลัย
ท่ีมีคณะ สถาบัน สํานัก วทิ ยาลัยหรอื สวน
ราชการ ที่เรียกชื่อ อยางอื่นท่ีมีฐานะเทียบเทา
คณะ ตั้งแตสองสวนราชการขึ้นไปต้ังอยใู นเขต
การศกึ ษานั้นตามที่ สภามหาวทิ ยาลัยกำหนด
“รัฐมนตร”ี หมายความวา รฐั มนตรีผรู ักษาการตามพระราช
บญั ญตั นิ ้ี
มาตรา ๕ ใหสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลตามพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีราช
มงคล พ.ศ. ๒๕๑๘ เปนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตามพระราชบัญญัติน้ี จำนวน
๙ แหง ดังนี้
(๑) มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี
(๒) มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
(๓) มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวนั ออก
(๔) มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
(๕) มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรตั นโกสินทร
(๖) มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลลานนา
(๗) มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชยั
(๘) มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลสวุ รรณภูมิ
(๙) มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน
((๓๓(๒๒))) คคมู่มู่ อื อื นนกั กั ศศกึ ึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓
มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เเททคคโโนนโโลลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ
ใหมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลแตละแหงตามวรรคหนึ่งเปนนิติบุคคลและ
เปนสวนราชการ ตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการ
การอุดมศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ
มาตรา ๖ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงศกึ ษาธกิ ารรักษาการตามพระราชบัญญัตนิ ้ี และ
มอี ำนาจออก กฎกระทรวง และประกาศ เพ่อื ปฏิบัตกิ ารตามพระราชบัญญตั นิ ้ี
กฎกระทรวง และประกาศนั้น เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับ
ได
หมวด ๑
บทท่ัวไป
--------------------
มาตรา ๗ ใหมหาวิทยาลัยเปนสถาบันอุดมศึกษาดานวิชาชีพและเทคโนโลยี
มีวัตถุประสงคให การศึกษา สงเสริมวิชาการและวิชาชีพชั้นสูงที่เนนการปฏิบัติ ทำการ
สอน ทำการวิจัย ผลิตครูวิชาชีพ ใหบริการทางวิชาการในดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
แกสังคม ทะนุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม และอนุรักษ สิ่งแวดลอม โดยใหผูสําเร็จอาชีวศึกษา
มโี อกาสในการศกึ ษาตอดา นวชิ าชีพเฉพาะทางระดบั ปรญิ ญาเปนหลัก
มาตรา ๘ มหาวิทยาลยั อาจแบงสวนราชการ ดังน้ี
(๑) สํานักงานอธิการบดี
(๒) สาํ นักงานวิทยาเขต
(๓) บัณฑิตวิทยาลัย
(๔) คณะ
(๕) สถาบนั
(๖) สํานกั
(๗) วทิ ยาลยั
ม ห าว ิท ย าลั ย อาจให มี ส วน ราช การที่ เรี ย ก ชื่ อ อ ย างอื่ น ท่ี มี ฐาน ะเที ย บ เท าค ณ ะ
เพอื่ ดําเนินการตาม วัตถปุ ระสงคในมาตรา ๗ เปนสวนราชการในมหาวิทยาลยั อีกได
สำนกั งานอธิการบดแี ละสำนกั งานวทิ ยาเขต อาจแบงสวนราชการเปนกองหรือสวน
คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๓ (๓(๓๓) )
มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุ เทเทพพ
ราชการ ทเ่ี รยี กชือ่ อยา งอน่ื ที่มฐี านะเทยี บเทากอง
บณั ฑิตวิทยาลัย อาจแบง สวนราชการเปนสํานักงานคณบดี กองหรือสวนราชการ
ทเี่ รียกชื่ออยา งอน่ื ทีม่ ีฐานะเทียบเทา กอง
คณะ อาจแบงสวนราชการเปนสํานักงานคณบดี ภาควิชา กองหรือสวนราชการท่ี
เรยี กช่ืออยางอืน่ ท่มี ี ฐานะเทยี บเทา ภาควิชาหรอื กอง
สถาบัน สำนักหรือสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอ่ืนท่ีมีฐานะเทียบเทาคณะ อาจแบง
สวนราชการเปน สำนักงานผูอํานวยการ กองหรือสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นที่มีฐานะ
เทยี บเทากอง
วทิ ยาลัย อาจแบงสวนราชการเปนสำนักงานผูอํานวยการ ภาควิชา กองหรือสว น
ราชการ ทเ่ี รยี กช่ืออยางอน่ื ที่มีฐานะเทียบเทา ภาควิชาหรือกอง
สำนกั งานคณบดี สำนกั งานผูอํานวยการ ภาควิชา กองหรือสวนราชการที่
เรียกชื่ออยางอื่นที่มีฐานะ เทียบเทาภาควิชาหรือกอง อาจแบงสวนราชการเปนงานหรือสวน
ราชการทเี่ รยี กช่ืออยางอื่นท่ีมฐี านะเทียบเทา งาน
มาตรา ๙ การจัดต้ัง การรวม และการยุบเลิกสํานักงานวิทยาเขต บัณฑิต
วิทยาลัย คณะ สถาบัน สํานัก วิทยาลัยหรือสวนราชการที่เรียกช่ืออยางอ่ืนท่ีมีฐานะ
เทียบเทาคณะ ใหทำเปนกฎกระทรวง
การแบงสวนราชการเปนสํานักงานคณบดี สำนักงานผูอํานวยการ ภาควิชา กอง
หรือสวนราชการที่ เรียกชื่ออยางอื่นที่มีฐานะเทียบเทาภาควิชาหรือกอง ใหทําเปนประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ
การแบง สว นราชการเปนงานหรอื สว นราชการท่ีเรียกชื่ออยางอื่นที่มีฐานะเทียบเทางาน
ใหท ำเปนประกาศ มหาวทิ ยาลยั
มาตรา ๑๐ ภายใตว ัตถปุ ระสงคตามมาตรา ๗ มหาวิทยาลัยจะรับสถาบันการศึกษา
ชั้นสูงหรือสถาบันอื่นเขาสมทบในมหาวิทยาลัยก็ไดและมีอํานาจใหปริญญาอนุปริญญาหรือ
ประกาศนียบัตรชั้นหน่ึง ชน้ั ใดแกผ ูสําเรจ็ การศกึ ษาจากสถาบันสมทบนั้นได
การรบั เขาสมทบหรือยกเลิกการสมทบซ่งึ สถาบันการศกึ ษาชั้นสงู หรือสถาบันอืน่ ให
เปน ไปตามขอบงั คบั ของมหาวทิ ยาลยั และประกาศในราชกิจจานเุ บกษา
การควบคุมสถาบันการศึกษาชั้นสูงหรือสถาบันอ่ืนที่เขาสมทบในมหาวิทยาลัย
ใหเ ปน ไปตามขอบังคบั ของมหาวิทยาลยั
((๓๓(๒๔๔))) คคมู่มู่ อื อื นนกั กั ศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓
มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เเททคคโโนนโโลลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ
มาตรา ๑๑ มหาวิทยาลัยจะปฏิเสธการรับผูใดเขาศึกษาในมหาวิทยาลัย หรือยุติหรือ
ชะลอการศึกษา ของนกั ศึกษาผูใดดวยเหตุเพียงวาผูน้ันขาดแคลนทุนทรัพยเพ่ือจา ยคาธรรมเนียม
การศึกษาตาง ๆ แกม หาวิทยาลัย มิได
หลักเกณฑก ารพิจารณาวานักศกึ ษาผูใดขาดแคลนทุนทรพั ย ใหเปน ไปตามระเบียบท่ี
สภามหาวทิ ยาลัย กาํ หนด
มาตรา ๑๒ นอกจากเงินที่กําหนดไวในงบประมาณแผนดินมหาวิทยาลัยอาจมี
รายได ดงั น้ี
(๑) เงินผลประโยชน คาธรรมเนียม คาปรบั และคาบรกิ ารตางๆ ของมหาวทิ ยาลยั
(๒) รายไดห รือผลประโยชนท่ีไดมาจากการใชทร่ี าชพัสดุซึง่ มหาวิทยาลยั ปกครอง ดูแล
หรือใชป ระโยชน
(๓) เงินและทรัพยสนิ ซึ่งมีผูอ ทุ ศิ ใหแ กมหาวทิ ยาลัย
(๔) รายไดหรือผลประโยชนท ่ีไดจ ากการลงทนุ และจากทรัพยสินของมหาวทิ ยาลยั
(๕) เงินอุดหนุนจากองคกรปกครองสวนทองถ่ินหรือเงินอุดหนุนอื่นที่มหาวิทยาลัย
ไดรบั
(๖) รายไดหรอื ผลประโยชนอยางอื่น
ใหมหาวิทยาลัยมอี ำนาจในการปกครอง ดูแล บำรุงรักษา ใชและจัดหาผลประโยชน
จากทรัพยสิน ของมหาวิทยาลยั ทั้งท่ีเปนทรี่ าชพัสดุตามกฎหมายวาดวยทร่ี าชพัสดุและท่ีเปน
ทรัพยสินอื่น รวมทั้งจัดหารายได จากการใหบริการ และการจัดเก็บคาธรรมเนียมการศึกษา
ของสว นราชการในมหาวิทยาลัย
รายไดและผลประโยชนของมหาวิทยาลัยเบ้ียปรับที่เกิดจากการดำเนินการตาม
วัตถุประสงคข องมหาวทิ ยาลยั รวมทั้งเบ้ียปรับทีเ่ กิดจากการผิดสญั ญาลาศึกษาและเบ้ียปรบั
ท่ีเกิดจากการผิดสัญญาการซ้ือ ทรัพยสินหรือสญั ญาจางทำของท่ีดําเนินการโดยใชเงิน
งบประมาณ ไมเปนรายไดท่ีตองนำสงกระทรวง การคลัง ตามกฎหมายวาดวยเงินคงคลัง
และกฎหมายวา ดวยวิธกี ารงบประมาณ
มาตรา๑๓ บรรดาอสังหาริมทรัพยที่มหาวิทยาลัยไดมาโดยมีผูอุทิศใหหรือไดมา
โดยการซื้อหรอื แลกเปล่ียนจากรายไดของมหาวิทยาลัยตั้งแตวันท่ีพระราชบัญญัติน้ีใชบังคับ
ไมถือเปนท่ีราชพัสดุและใหเปน กรรมสิทธ์ิของมหาวทิ ยาลัย
ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๓ (๓(๓๕) )
มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุ เทเทพพ
มาตรา ๑๔ บรรดารายไดและทรัพยสินของมหาวิทยาลัยจะตองจัดการเพื่อ
ประโยชนภายใต วตั ถปุ ระสงคข องมหาวิทยาลัยตามมาตรา ๗
เงินและทรัพยสินที่มีผูอุทิศใหแกมหาวิทยาลัยจะตองจัดการตามเง่ือนไขท่ีผูอุทิศให
กําหนดไวและตอง เปนไปตามวัตถุประสงคของมหาวิทยาลัย แตถามีความจําเปนตอง
เปล่ียนแปลงเง่ือนไขดังกลาว มหาวิทยาลัย ตองไดรับความยินยอมจากผูอุทิศใหหรอื ทายาท
หากไมมีทายาทหรือทายาทไมป รากฏ จะตองไดร บั อนุมตั จิ าก สภามหาวทิ ยาลัย
หมวด ๒
การดาํ เนนิ การ
--------------------
มาตรา ๑๕ ใหม หาวิทยาลยั แตละแหง มีสภามหาวทิ ยาลัย ประกอบดวย
(๑) นายกสภามหาวิทยาลยั ซง่ึ จะไดทรงพระกรณุ าโปรดเกลาฯ แตง ต้งั
(๒) กรรมการสภามหาวิทยาลัยโดยตำแหนง ไดแก อธิการบดีและประธานสภา
คณาจารย และ ขาราชการ
(๓) กรรมการสภามหาวิทยาลัยจำนวนหกคน ซึ่งเลือกจากผูดำรงตำแหนงรอง
อธิการบดี คณบดี ผูอำนวยการสถาบัน ผูอํานวยการสำนัก ผูอํานวยการวิทยาลัย และ
หัวหนาสวนราชการ ท่เี รยี กชื่ออยางอน่ื ที่มี ฐานะเทยี บเทา คณะ
(๔) กรรมการสภามหาวิทยาลัยจำนวนหกคน ซง่ึ เลือกจากคณาจารยประจำของ
มหาวิทยาลัยและ ขาราชการพลเรือนในสถาบนั อดุ มศึกษาทม่ี ิใชผูด าํ รงตําแหนงตาม (๓)
(๕) กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวฒุ ิจำนวนสิบสี่คน ซึ ่ง จ ะ ได ท ร ง พ ร ะ
กรุณาโปรดเกลาฯ แตงต้ังจากบุคคลภายนอกมหาวิทยาลัย โดยคำแนะนำของนายกสภา
มหาวิทยาลัย และกรรมการสภา มหาวิทยาลัยตาม (๒) (๓) และ (๔) ทั้งน้ี ผูทรงคุณวุฒิ
ดังกลาวตองมาจากผูมีความรู ความเชี่ยวชาญดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กฎหมาย
การงบประมาณและการเงิน การบริหารงานบุคคลการศึกษา เศรษฐศาสตร และสังคมศาสตร
อยางนอยดา นละหนึ่งคน และดานอ่นื ๆ ตามท่ีสภามหาวทิ ยาลัยเห็นสมควร
((๓๓(๒๖๖))) คคมู่มู่ อื อื นนกั กั ศศกึ ึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓
มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เเททคคโโนนโโลลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ
ใหสภามหาวิทยาลัยแตงตั้งรองอธิการบดีคนหนึ่ง ซึ่งมิใชกรรมการสภา
มหาวิทยาลัยตาม (๓) เปนเลขานุการสภามหาวิทยาลัยโดยคําแนะนาํ ของอธิการบดี
ใหสภามหาวิทยาลัยเลือกกรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิคนหน่ึงเปน็
อุปนายกสภา มหาวิทยาลัยทำหนาที่แทนนายกสภามหาวิทยาลัยเม่ือนายกสภามหาวทิ ยาลัย
ไมอ าจปฏบิ ัติหนาทไ่ี ด หรอื เมื่อไมม ีผูดํารงตำแหนงนายกสภามหาวิทยาลัย
คุณสมบัติ หลักเกณฑ และวิธีการไดมาซึ่งนายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการ
สภามหาวิทยาลัย ผูทรงคณุ วฒุ ิ คณุ สมบตั ิของผูเลือก ตลอดจนหลักเกณฑ และวิธีการเลอื ก
กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ตาม (๓) และ (๔) ใหเปนไปตามขอ บังคบั ของมหาวทิ ยาลยั
มาตรา ๑๖ นายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภามหาวิทยาลัยตามมาตรา
๑๕ (๓) (๔) และ (๕) มีวาระการดำรงตำแหนง คราวละสามป แตจะทรงพระกรุณา
โปรดเกลา ฯ แตง ตั้งหรืออาจไดรับเลือกใหมอีกได
นอกจากการพนจากตำแหนงตามวาระตามวรรคหนึ่ง นายกสภามหาวิทยาลัยและ
กรรมการสภามหาวิทยาลยั ตามมาตรา ๑๕ (๓) (๔) และ (๕) พนจากตำแหนงเมือ่
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) ขาดคุณสมบัติของการเปนนายกสภามหาวิทยาลัยหรอื กรรมการสภา
มหาวิทยาลัยใน ประเภทน้ัน
(๔) ถูกจําคกุ โดยคำพิพากษาถึงท่สี ดุ ใหจ าํ คุก
(๕) สภามหาวิทยาลัยมีมติใหอ อกเพราะมีความประพฤติเส่ือมเสยี บกพรองตอ หนาท่ีหรือ
หยอ น ความสามารถ
(๖) เปน บุคคลลมละลาย
(๗) เปน คนไรค วามสามารถหรอื คนเสมือนไรความสามารถ
การพนจากตำแหนงตาม (๕) ตองมีคะแนนเสียงลงมติไมนอยกวาสองในสามของ
จำนวนกรรมการ สภามหาวิทยาลยั เทาทม่ี อี ยู
ในกรณีที่ตาํ แหนงนายกสภามหาวิทยาลัยหรือกรรมการสภามหาวิทยาลยั วางลงไมว า
ดวยเหตุใดและยังมิไดดําเนินการใหไดมาซึ่งนายกสภามหาวิทยาลัยหรือกรรมการสภา
มหาวิทยาลัยแทนตําแหนงท่ีวาง ใหสภา มหาวิทยาลัยประกอบดวยกรรมการสภา
มหาวิทยาลัยเทา ทมี่ อี ยู
ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๓ (๓(๓๗) ))
มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุ เทเทพพ
ในกรณีที่นายกสภามหาวิทยาลัยหรือกรรมการสภามหาวิทยาลัยตามมาตรา ๑๕
(๓) (๔) หรือ (๕) พนจากตำแหนงกอนครบวาระ และไดทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงตั้ง
หรือไดมีการเลือกผูดำรงตำแหนงแทนแลว ใหผูซ่ึงไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงต้ัง หรือ
ไดรับเลอื กอยูในตำแหนงเทากับวาระที่เหลอื อยูของผซู ่ึงตนแทน แตถา วาระการดำรงตําแหนง
เหลอื อยูนอ ยกวาเกาสบิ วนั จะไมดำเนนิ การใหมผี ูดํารงตำแหนง แทนก็ได
ในกรณีที่นายกสภามหาวทิ ยาลัยหรือกรรมการสภามหาวิทยาลัยตามมาตรา ๑๕ (๓)
(๔) และ (๕) พนจากตำแหนงตามวาระแตยังมิไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงต้ังนายก
สภามหาวิทยาลัยหรือกรรมการ สภามหาวิทยาลัย ผูทรงคุณวุฒิหรือยังมิไดเลือกกรรมการ
สภามหาวิทยาลัยอ่ืนข้ึนใหมใหนายกสภา มหาวิทยาลัยหรือกรรมการสภามหาวิทยาลัยซึ่ง
พนจากตำแหนงปฏิบัติหนาที่ตอไปจนกวาจะไดมีนายกสภา มหาวทิ ยาลัยหรือกรรมการสภา
มหาวิทยาลยั ใหมแลว
ใหมกี ารดําเนินการใหไดมาซง่ึ นายกสภามหาวิทยาลัยหรือกรรมการสภามหาวิทยาลัย
ตามมาตรา ๑๕ (๓) (๔) และ (๕) ภายในเกา สบิ วนั นบั แตว นั ท่ีผนู น้ั พน จากตําแหนง
มาตรา ๑๗ สภามหาวิทยาลัยมีอํานาจและหนา ท่ีควบคมุ ดูแลกิจการทั่วไปของ
มหาวิทยาลัย และ โดยเฉพาะใหมีอำนาจและหนาที่ ดังนี้
(๑) วางนโยบาย และอนุมัติแผนพัฒนาของมหาวิทยาลัยเกี่ยวกับการศึกษาการ
สงเสริมวิชาการและ วิชาชีพช้ันสูงท่ีเนนการปฏิบัติ ทำการสอน ทำการวิจัย ผลิตครูวิชาชีพ
ใหบริการทางวิชาการในดานวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีแกสังคม ทะนุบํารุงศิลปะและ
วัฒนธรรม และอนุรกั ษสิง่ แวดลอม
(๒) วางระเบียบออกขอบังคับและประกาศของมหาวิทยาลัย และอาจมอบใหสวน
ราชการใดในมหาวิทยาลัยเปน็ ผูวางระเบียบ ออกขอ บังคับและประกาศสำหรับสวนราชการ
นน้ั เปน เรือ่ ง ๆ ไปก็ได
(๓) กาํ กบั มาตรฐานการศึกษาและการประกนั คุณภาพการศึกษา
(๔) ติดตามและประเมนิ ผลการดาํ เนินงานของมหาวทิ ยาลยั
(๕) พิจารณาใหความเห็นชอบหลักสูตรการศึกษาใหสอดคลองกับมาตรฐาน
ท่ีคณะกรรมการ การอุดมศึกษากำหนด
(๖) พจิ ารณาการจัดตั้ง การรวม และการยุบเลิก สำนักงานวิทยาเขต บัณฑติ
วิทยาลัย คณะ สถาบัน สำนัก วิทยาลัยหรือสวนราชการที่เรียกช่ืออยางอื่นที่มีฐานะ
((๓๓(๒๘๘))) คค่มูมู่ อื อื นนกั กั ศศกึ ึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓
มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เเททคคโโนนโโลลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ
เทียบเทาคณะรวมท้ังการแบงสวนราชการของ สวนราชการดังกลาว
(๗) อนุมัติใหป ริญญา ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ประกาศนียบัตรบัณฑิต
อนปุ ริญญาและ ประกาศนยี บตั ร
(๘) อนุมัตกิ ารรับสถาบนั การศึกษาชัน้ สูง และสถาบันอื่นเขาสมทบ หรอื การยกเลิก
การสมทบ
(๙) พิจารณาเสนอเรื่องเพ่ือทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงตั้งและถอดถอนนายก
สภามหาวิทยาลัย กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิ อธิการบดี ศาสตราจารย และ
ศาสตราจารยพ ิเศษ
(๑๐) แตงตั้งและถอดถอนรองอธิการบดี คณบดี ผูอำนวยการสถาบัน ผูอำนวยการ
สำนกั ผูอำนวยการวิทยาลยั หรือหัวหนาสวนราชการทเ่ี รียกช่ืออยางอ่ืนท่ีมีฐานะเทียบเทาคณะ
ศาสตราจารยเกียรติคุณ รองศาสตราจารยพิเศษ ผูชวยศาสตราจารยพิเศษ และกรรมการ
สภาวิชาการ
(๑๑) อนมุ ัตงิ บประมาณรายจา ยจากเงินรายไดข องมหาวิทยาลัย
(๑๒) วางระเบียบและออกขอบังคับเกี่ยวกับการบริหารการเงินและทรัพยสินของ
มหาวทิ ยาลัย และการจัดหารายไดของมหาวิทยาลยั
(๑๓) พิจารณาดําเนินการเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของมหาวิทยาลัยตาม
กฎหมายวาดวยระเบียบ ขาราชการพลเรือนในสถาบันอดุ มศึกษา และตามท่ีคณะกรรมการ
ขา ราชการพลเรือนในสถาบันอดุ มศึกษามอบหมาย
(๑๔) แตงต้ังคณะกรรมการ คณะอนกุ รรมการ หรือบุคคลหน่ึงบุคคลใดเพ่ือพิจารณา
และเสนอความเห็นในเร่ืองหน่ึงเรื่องใด หรือเพ่ือมอบหมายใหปฏิบัติการอยา งหนึ่งอยางใดอันอยู
ในอำนาจและหนา ที่ของสภามหาวิทยาลยั
(๑๕) พิจารณาและใหความเห็นชอบในเร่ืองที่เกี่ยวกับกิจการของมหาวิทยาลัยตามที่
อธิการบดเี สนอ และอาจมอบหมายใหอธกิ ารบดีปฏบิ ัติอยา งหน่ึงอยางใดอันอยใู นอาํ นาจและ
หนาทขี่ องสภามหาวิทยาลยั ก็ได
(๑๖) สงเสริม สนับสนุน และแสวงหาวิธีการ เพ่ือพัฒนาความกาวหนาของ
มหาวิทยาลัย
คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๓ (๓(๓๙) )
มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุ เทเทพพ
(๑๗) ปฏิบัติหนาท่ีอื่นเกี่ยวกับกิจการของมหาวิทยาลัยท่ีมิไดระบุใหเปนหนาที่ของ
ผใู ดโดยเฉพาะ
มาตรา ๑๘ การประชุมสภามหาวิทยาลัย ใหเ ปน ไปตามขอ บงั คบั ของมหาวิทยาลยั
มาตรา ๑๙ ใหมหาวทิ ยาลยั แตละแหง มสี ภาวิชาการ ประกอบดวย
(๑) อธิการบดี เปนประธานสภาวิชาการ
(๒) รองอธกิ ารบดฝี ายวิชาการ เปน รองประธานสภาวิชาการ
(๓) กรรมการสภาวิชาการโดยตำแหนง ไดแก รองอธิการบดีประจําวิทยาเขต
คณบดี ผูอาํ นวยการ สถาบันเพอ่ื การวิจยั และผูอํานวยการวิทยาลัย ถามี
(๔) กรรมการสภาวชิ าการจํานวนหกคน ซึ่งเลือกจากคณาจารยประจําใน
มหาวิทยาลัย
(๕) กรรมการสภาวชิ าการผูทรงคุณวุฒิจำนวนสิบคน ซ่ึงแตงต้ังจากบุคคลภายนอก
โดยความ เห็นชอบของสภามหาวิทยาลัย
คุณสมบัติ หลักเกณฑ และวิธีการไดมาซึ่งกรรมการสภาวิชาการตาม (๔) และ
(๕) ใหเปน ไปตาม ขอบงั คับของมหาวิทยาลัย
ใหอธิการบดีแตงตั้งคณาจารยประจำในมหาวิทยาลัยคนหนึ่งเป็นเลขานุการสภา
วิชาการและอาจ แตงตั้งคณ าจารยประจําในมหาวิทยาลัยอีกไมเกินสองคนเปน
ผูชวยเลขานกุ าร
มาตรา ๒๐ วาระการดำรงตำแหนง และการพนจากตําแหนงของกรรมการสภา
วิชาการตลอดจน การประชมุ และการดาํ เนนิ งานของสภาวิชาการ ใหเปนไปตามขอบังคับของ
มหาวทิ ยาลยั
มาตรา ๒๑ สภาวิชาการมีอาํ นาจและหนาที่ ดังน้ี
(๑) พิจารณาเกณฑม าตรฐานเกี่ยวกับหลักสูตร การเรียนการสอนการวิจัย การ
วัดผลการศกึ ษา และ การประกนั คุณภาพการศกึ ษาเสนอตอสภามหาวิทยาลยั
(๒) เสนอความเห็นเก่ียวกบั การรวมและการยกเลิกสาขาวชิ าตอสภามหาวทิ ยาลยั
(๓) เสนอความเห็นเกี่ยวกับการเปดสอนตามหลักสูตรของมหาวิทยาลัย
(๔) พิจารณาเสนอความเห็นในเร่ืองทเี่ ก่ยี วกบั วชิ าการตอ สภามหาวทิ ยาลยั
(๕) สงเสริมการวิจัยและการบริการทางวิชาการที่สอดคลองกับภารกิจของ
มหาวิทยาลัยและความ ตอ งการของชมุ ชน
((๔๔(๒๐๐))) คคมู่มู่ อื อื นนกั กั ศศกึ ึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓
มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เเททคคโโนนโโลลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ
(๖) แตงตั้งคณะอนุกรรมการ หรือบุคคลหนึ่งบุคคลใดเพื่อกระทำการใด ๆ อันอยู
ในอาํ นาจและหนา ท่ี ของสภาวชิ าการ
มาตรา ๒๒ ใหมหาวิทยาลัยแตละแหงมีสภาคณาจารยและขาราชการ
ประกอบดวย ประธานสภา คณาจารยและขาราชการ และกรรมการสภาคณาจารยและ
ขา ราชการซง่ึ เลอื กจากคณาจารยป ระจำและขาราชการ ของมหาวทิ ยาลัย
จำนวน คุณสมบัติ หลักเกณฑและวิธีการไดมา วาระการดำรงตำแหนง และการ
พนจากตำแหนงของประธานสภาคณาจารยและขาราชการ และกรรมการสภาคณาจารยและ
ขาราชการตามวรรคหนึ่ง ตลอดจน การประชุมและการดำเนินงานของสภาคณาจารยและ
ขา ราชการ ใหเปนไปตามขอบังคบั ของมหาวทิ ยาลัย
มาตรา ๒๓ สภาคณาจารยและขาราชการมีอํานาจและหนาท่ี ดงั นี้
(๑) ใหคําปรึกษาและขอเสนอแนะในกิจการของมหาวิทยาลัยและการพัฒนา
มหาวิทยาลยั แกอ ธิการบดี หรือสภามหาวทิ ยาลยั
(๒) สงเสริมและพัฒนาศักยภาพของคณาจารยและขาราชการในการปฏิบัติหนา ที่
ตามจรรยาบรรณแหง วชิ าชีพ
(๓) พิทักษผลประโยชนของมหาวิทยาลัยและปฏิบัติหนาท่ีอื่นตามที่อธิการบดีหรือ
สภามหาวทิ ยาลัย มอบหมาย
(๔) เรียกประชุมคณาจารยและขาราชการเพื่อพิจารณากิจกรรมของมหาวิทยาลัย
และนำเสนอ ความคิดเห็นตอ สภามหาวิทยาลัย ทั้งนี้ ตามขอ บงั คับของมหาวิทยาลยั
การปฏิบัติหนาที่ของสภาคณาจารยและขาราชการถือเปนการปฏิบัติหนาท่ีราชการ
และการดำเนนิ การใด ๆ ในการปฏิบัติหนาท่ีโดยชอบยอมไดรับความคุมครองและไมเปนเหตุใน
การดําเนนิ การทางวินยั
มาตรา ๒๔ ใหมีอธิการบดีเปนผูบังคับบัญชาและรับผิดชอบการบริหารงานของ
มหาวิทยาลัยแตละ แหง และอาจมีรองอธิการบดี หรือผูชวยอธิการบดีหรือจะมีทั้งรอง
อธิการบดีและผูชวยอธิการบดีตาม จำนวนที่สภามหาวิทยาลัยแตละแหงกําหนด เพ่ือทํา
หนา ทแ่ี ละรับผดิ ชอบตามที่อธกิ ารบดมี อบหมายก็ได
มาตรา ๒๕ อธิการบดีนน้ั จะทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงต้ังโดยการสรรหาตาม
ขอบังคับของ มหาวทิ ยาลัยจากผูมีคุณสมบัติตามมาตรา ๒๖ วรรคหนึ่ง ทั้งน้ี ให
คาํ นึงถงึ การมสี ว นรวมของบุคลากรของ มหาวิทยาลยั
ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๓ (๔(๓๑) )
มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุ เทเทพพ
อธิการบดีมีวาระการดำรงตำแหนงคราวละสี่ป และจะทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ
แตง ตงั้ ใหมอ กี ได แตจ ะดำรงตําแหนง เกินสองวาระติดตอกันมไิ ด
นอกจากการพนจากตําแหนงตามวาระตามวรรคสอง อธิการบดีพนจากตําแหนง
เม่อื
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) ถกู ลงโทษทางวินัยอยา งรายแรงหรอื ถกู สั่งใหออกจากราชการ เพราะ
เหตุมมี ลทนิ หรือ มัวหมองใน กรณีที่ถกู สอบสวนทางวินยั อยา งรายแรง
(๔) เปนบุคคลลมละลาย คนไรค วามสามารถ หรอื คนเสมอื นไรความสามารถ
(๕) ถูกจาํ คกุ โดยคำพิพากษาถึงทสี่ ดุ ใหจ าํ คุก
(๖) สภามหาวิทยาลัยใหพนจากตำแหนง เพราะบกพรองตอหนาท่ีมีความ
ประพฤติเสอ่ื มเสียหรือหยอนความสามารถ มติของสภามหาวิทยาลัยใหพนจากตําแหนง
ตองประกอบดวยคะแนนเสียงไมนอยกวา สองในสามของจำนวนกรรมการสภามหาวิทยาลัย
ท้ังหมด
รองอธิการบดีใหสภามหาวิทยาลัยแตงตั้งโดยคำแนะนำของอธิการบดีจากผูมี
คุณสมบตั ติ ามมาตรา ๒๖ วรรคหน่ึง
ผชู วยอธิการบดี ใหอธิการบดีแตงต้ังจากขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาซ่ึงมี
คุณสมบัติตาม มาตรา ๒๖ วรรคสอง และใหอ ธิการบดมี ีอาํ นาจถอดถอนผูชวยอธกิ ารบดีดว ย
เม่ืออธิการบดีพนจากตําแหนง ใหรองอธิการบดีและผูชวยอธิการบดี พนจาก
ตาํ แหนงดวย
มาตรา ๒๖ อธกิ ารบดีและรองอธิการบดี ตอ งสำเร็จการศกึ ษาไมต่ํากวาปริญญาตรหี รือ
เทยี บเทาจาก มหาวิทยาลยั หรอื สถาบันอดุ มศึกษาอ่ืนทสี่ ภามหาวิทยาลยั รับรอง แ ล ะ ได ท ำ
การสอนหรือมีประสบการณดาน การบริหารมาแลวไมนอยกวาหาปในมหาวิทยาลัย หรือ
สถาบันอุดมศึกษาอ่ืนท่ีสภามหาวทิ ยาลัยรับรอง หรือเคย ดำรงตำแหนงกรรมการสภา
มหาวิทยาลัยไมนอยกวาสามปหรือดำรงตำแหนงหรือเคยดำรงตำแหนงศาสตราจารย รวมท้ังมี
คณุ สมบัตอิ นื่ และไมม ลี กั ษณะตองหา มตามที่กําหนดในขอบงั คบั ของมหาวิทยาลัย
ผูชวยอธิการบดี ตองสำเร็จการศึกษาไมต่ํากวาปริญญาตรีหรือเทียบเทาจาก
มหาวิทยาลัย หรือ สถาบันอุดมศึกษาอื่นที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง และไดทำการสอนหรือมี