The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักศึกษา2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ASCAR.RMUTK, 2020-09-30 23:03:31

คู่มือนักศึกษา2563

คู่มือนักศึกษา2563

((๔๔(๒๒))) คค่มูมู่ อื อื นนกั กั ศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เเททคคโโนนโโลลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ

ป ระส บ ก ารณ ดาน ก ารบ ริห ารมาแลว ไมน อย ก วาสามป ใน มหาวิทยาลัย ห รือ
สถาบนั อุดมศึกษาอื่นทส่ี ภามหาวิทยาลัยรบั รอง

มาตรา ๒๗ อธิการบดมี ีอํานาจและหนาท่ี ดงั น้ี
(๑) บริหารกิจการของมหาวิทยาลัยใหเปนไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ
ขอ บังคับของทางราชการ และของมหาวิทยาลัย รวมท้ังนโยบายและวัตถุประสงคของ
มหาวทิ ยาลยั
(๒) บริหารบุคลากร การเงิน การพัสดุ สถานท่ีและทรัพยสินอ่ืนของมหาวิทยาลัยให
เปนไปตาม กฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอ บังคบั ของทางราชการและของมหาวิทยาลัย
(๓) จดั ทําแผนพัฒนามหาวิทยาลัย ดูแลใหมีการปฏิบัติตามนโยบายและแผนงาน
รวมทง้ั ติดตาม ประเมินผลการดาํ เนนิ งานดา นตา ง ๆ ของมหาวิทยาลยั
(๔) แตงต้งั และถอดถอนผูชวยอธิการบดี รองคณบดี รองผูอํานวยการสถาบัน
รองผอู ํานวยการ สาํ นัก รองผูอำนวยการวิทยาลัย รองหัวหนาสวนราชการที่เรียกชื่ออยาง
อื่นที่มีฐานะเทียบเทาคณะหัวหนาภาควิชา หัวหนาสวนราชการทเี่ รยี กชอ่ื อยางอ่ืนท่ีมฐี านะ
เทียบเทา ภาควิชาและอาจารยพ ิเศษ
(๕) รายงานเกยี่ วกับกิจการและการดำเนินการของมหาวิทยาลัยตอสภา
มหาวิทยาลัย
(๖) สงเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานของสภาคณาจารยและขาราชการ
คณะกรรมการสงเสริม กิจการวิทยาเขต และสงเสริมการพฒั นานักศกึ ษาและกิจการนักศกึ ษา
(๗) สงเสริมความสัมพันธระหวางมหาวิทยาลัยกับชุมชน รวมทั้งการเขาไปมีสวน
รวมในการสรา ง ความสัมพนั ธกับชุมชน
(๘) เปนผูแทนมหาวทิ ยาลัยในกิจการทวั่ ไป
(๙) ปฏิบัติหนาท่ีอน่ื ตามระเบียบ ขอบังคับ และประกาศของมหาวิทยาลัย ตามที่
สภามหาวิทยาลัย มอบหมายหรือตามทกี่ ฎหมายกำหนดใหเปน อํานาจหนา ที่ของอธกิ ารบดี
มาตรา ๒๘ ในกรณีท่ีผูดำรงตำแหนงอธิการบดีไมอยูหรือไมอาจปฏิบัติราชการได ให
รองอธิการบดีเปนผูรักษาราชการแทนถา มีรองอธิการบดีหลายคน ใหรองอธิการบดีซ่ึง
อธิการบดีมอบหมายเปนผูรักษาราชการแทน ถาอธกิ ารบดีมิไดมอบหมาย ใหรองอธิการบดีซ่ึง
มีอาวโุ สสูงสดุ เปน ผูรักษาราชการแทน

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๓ (๔(๓๓) )

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุ เทเทพพ

ในกรณีท่ีไมมี ผรู ักษาราชการแทนอธิการบดีตามความในวรรคหน่ึง หรอื มีแตไมอาจ
ปฏิบัติราชการได หรือไมมีผูดำรงตำแหนงอธิการบดี ใหสภามหาวิทยาลัยแตงตั้งผูมี
คุณสมบัติตามมาตรา ๒๖ วรรคหน่ึง เปนผูรักษา ราชการแทนอธิการบดี

มาตรา ๒๙ ในวิทยาเขตใหมีรองอธกิ ารบดีคนหนึ่งซ่ึงสภามหาวิทยาลยั แตงต้ังโดย
คำแนะนำของ อธิการบดีเปนผูบังคับบัญชาและรับผิดชอบการบริหารงานของวิทยาเขตให
เปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ และประกาศของมหาวิทยาลัย และปฏิบัติหนาท่ีอ่ืน
ตามท่ีอธิการบดีมอบหมาย

มาตรา ๓๐ ในวิทยาเขต ใหมีคณ ะกรรมการประจําวิทยาเขตคณ ะหนึ่ง
องคประกอบ จำนวน คุณสมบัติ หลักเกณฑและวิธีการไดมา วาระการดำรงตำแหนง
และการพนจากตำแหนงของกรรมการประจำวิทยาเขต ตลอดจนการประชุมของ
คณะกรรมการประจำวิทยาเขตและการจัดระบบบริหารงานใน วิทยาเขต ใหเปนไปตาม
ขอบงั คบั ของมหาวทิ ยาลัย ท้ังน้ี ตองมีกรรมการที่เป น ผูทรงคุณ วุฒิ ซึ่งแตงตั้งจาก
บุคคลภายนอกไมนอ ยกวา หนึ่งในสาม

มาตรา ๓๑ คณะกรรมการประจำวิทยาเขตมอี ำนาจและหนาท่ี ดงั น้ี
(๑) สงเสริมใหวิทยาเขตดำเนินภารกิจใหสอดคลอ งกับนโยบาย เปาหมาย และ
แผนพฒั นาตามทส่ี ภา มหาวิทยาลัยกาํ หนด
(๒) ใหคําปรึกษาและขอเสนอแนะเกี่ยวกับการดำเนินกิจการตางๆ ของวิทยาเขต
แกอธิการบดี
(๓) เสนอแนะการเปดสอนตามหลักสูตรของมหาวิทยาลัยในวิทยาเขตตอสภา
วิชาการ
(๔) ประสานงานระหวา งบัณฑิตวิทยาลัย คณะ สถาบัน สำนัก วิทยาลัย และ
สวนราชการทเี่ รียกช่ือ อยางอ่นื ท่ีมฐี านะเทยี บเทาคณะภายในวิทยาเขต
(๕) พิจารณาวางระเบียบหรือออกขอบังคับอ่ืนตามทส่ี ภามหาวทิ ยาลยั มอบหมาย
(๖) พิจารณาเสนอแผนพัฒนา แผนงาน และงบประมาณประจำปและจัดทำ
รายงานผลการดาํ เนิน กจิ การของวิทยาเขตเสนอตอ อธิการบดี
(๗) แตงต้ังคณะอนุกรรมการ หรือบุคคลหน่ึงบุคคลใดเพ่ือกระทำการใด ๆ อันอยูใ น
อํานาจและหนาที่ ของคณะกรรมการประจำวิทยาเขต
(๘) ปฏิบตั ิงานอ่ืนตามทีอ่ ธิการบดีมอบหมาย

((๔๔(๒๔๔))) คค่มูมู่ อื อื นนกั กั ศศกึ ึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เเททคคโโนนโโลลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ

มาตรา ๓๒ ในวทิ ยาเขต ใหมีคณะกรรมการสง เสริมกิจการวทิ ยาเขต ประกอบดว ย
(๑) ประธานกรรมการสง เสริมกจิ การวทิ ยาเขต
(๒) กรรมการสงเสริมกิจการวิทยาเขตโดยตำแหนง ไดแก รองอธิการบดีประจำ
วิทยาเขต คณบดี ผอู าํ นวยการสถาบนั ผอู าํ นวยการสำนกั และผอู ํานวยการวิทยาลยั ถามี
(๓) กรรมการสง เสริมกิจการวิทยาเขตจำนวนส่ีคน ซ่ึงแตงต้ังจากผูแทนศิษยเกา
จำนวนหนึ่งคน ผูแทน ผูป กครอง จาํ นวนหน่ึงคน และผแู ทนนกั ศกึ ษา จํานวนสองคน
(๔) กรรมการสงเสริมกิจการวิทยาเขตผูทรงคุณวุฒิจํานวนเทากับจํานวนกรรมการ
ตาม (๒) และ (๓) รวมกัน ซ่ึงสภามหาวิทยาลัยแตงตั้งจากผูมีความรู ความเช่ียวชาญ หรือมี
ประสบการณในสาขาวิชาตาง ๆ ตามที่สภามหาวิทยาลัยเห็นสมควร ในจํานวนนี้ ใหแตงต้ัง
จากบุคคลในเขตพ้นื ทบี่ ริการการศึกษาของวิทยาเขต ไมน อยกวาก่ึงหนึ่ง
คุณสมบัติ หลักเกณฑและวิธีการไดมา วาระการดำรงตำแหนง และการพน จาก
ตำแหนงของประธาน กรรมการสง เสริมกิจการวิทยาเขต และกรรมการสงเสริมกจิ การวิทยาเขต
ตาม (๓) และ (๔) ตลอดจนการประชุม และการดำเนินงานของคณะกรรมการสงเสริม
กิจการวิทยาเขต ใหเปนไปตามขอบงั คับของมหาวิทยาลยั
มาตรา ๓๓ คณะกรรมการสงเสรมิ กจิ การวิทยาเขตมีอํานาจและหนาท่ี ดังนี้
(๑) สง เสริม สนับสนุน ใหคําปรึกษาและขอเสนอแนะแกวิทยาเขตเพื่อ
พัฒนาแนวทางการดำเนินงาน ของวิทยาเขต
(๒) สงเสริมใหมีทุนการศึกษาแกนักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย ใหมีโอกาสศึกษา
ในมหาวิทยาลัย อันเปนการสนบั สนุนความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษา
(๓) สงเสริม และสนับสนุนการสรางสัมพันธภาพและการเรียนรูระหวาง
มหาวิทยาลัยกับนักศึกษา และประชาชน
(๔) แตง ต้ังคณะอนุกรรมการ หรือบคุ คลหน่ึงบุคคลใดเพื่อกระทำการใด ๆ ตาม (๑)
(๒) และ (๓)
มาตรา ๓๔ ในบัณฑิตวิทยาลัย ใหมีคณบดีเปนผูบังคับบัญชาและรับผิดชอบงานของ
บัณฑิตวิทยาลัย และจะใหมีรองคณบดีตามจำนวนที่สภามหาวิทยาลัยกำหนด เพือ่ ทำหนาท่ี
และรบั ผดิ ชอบตามทค่ี ณบดี มอบหมายก็ได
คณบดีนั้น ใหสภามหาวิทยาลัยแตงต้ังโดยการสรรหาตามขอบังคับของมหาวิทยาลัย
จากผูมคี ณุ สมบตั ิ ตามมาตรา ๒๖ วรรคสอง

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๓ (๔(๓๕) )

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุ เทเทพพ

รองคณบดีน้ัน ใหอธิการบดีแตงต้ังโดยคําแนะนำของคณบดีจากผูมีคุณสมบัติตาม
มาตรา ๒๖ วรรคสอง และใหอธิการบดีมีอํานาจถอดถอนรองคณบดีโดยคำแนะนำของ
คณบดี

วาระการดำรงตำแหนง และการพนจากตำแหนงคณบดีใหนำมาตรา ๒๕ วรรคสอง
และวรรคสาม มาใชบ งั คบั โดยอนุโลม

การรกั ษาราชการแทนคณบดี ใหน ํามาตรา ๒๘ มาใชบ ังคบั โดยอนุโลม
เมอ่ื คณบดพี น จากตำแหนง ใหรองคณบดีพน จากตำแหนง ดว ย
มาตรา ๓๕ ในบัณฑิตวิทยาลัย ใหม ีคณะกรรมการประจำบัณฑิตวิทยาลัยคณะหนึ่ง
ประกอบดวย คณบดีเปนประธานกรรมการและกรรมการอื่นอีกจํานวนหน่ึง
จํานวน คณุ สมบัติ หลักเกณฑแ ละวิธกี ารไดมา อำนาจและหนา ที่ วาระการดำรง
ตําแหนง และ การพน จากตาํ แหนง ของกรรมการประจำบัณฑิตวทิ ยาลยั ตลอดจนการประชุม
ของคณะกรรมการประจำ บัณฑิตวิทยาลัยและการจัดระบบบริหารงานในบัณฑิตวิทยาลัย ให
เปนไปตามขอบงั คบั ของมหาวทิ ยาลยั
มาตรา ๓๖ ในคณะ ใหมีคณบดีเปนผูบังคับบัญชาและรับผิดชอบงานของคณะ
และจะใหมีรอง คณบดีตามจํานวนที่สภามหาวิทยาลัยกําหนด เพ่ือทําหนา ที่และรับผิดชอบ
ตามทค่ี ณบดีมอบหมายกไ็ ด
คุณสมบัติ การแตงต้ัง วาระการดำรงตําแหนง และการพนจากตําแหนงของ
คณบดีและรองคณบดี ตามวรรคหนึ่ง และการรักษาราชการแทน ใหนํามาตรา ๓๔ มาใช
บงั คบั โดยอนุโลม
มาตรา ๓๗ ในคณะ ใหมีคณะกรรมการประจำคณะ ประกอบดวย คณบดีเปน
ประธานกรรมการ และ กรรมการอ่ืนอกี จำนวนหน่ึง
จํานวน คุณสมบัติ หลักเกณฑและวิธีการไดมา วาระการดํารงตําแหนง และการ
พนจากตำแหนง ของกรรมการ ตลอดจนการประชุมของคณะกรรมการประจำคณะและการ
จัดระบบบรหิ ารงานในคณะใหเปนไปตามขอบังคับของมหาวทิ ยาลัย
มาตรา ๓๘ คณะกรรมการประจำคณะมีอำนาจและหนา ท่ี ดังน้ี
(๑) จัดทาํ แผนพฒั นาของคณะใหสอดคลองกบั นโยบายของมหาวิทยาลยั

((๔๔(๒๖๖))) คค่มูมู่ อื อื นนกั กั ศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เเททคคโโนนโโลลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ

(๒) พิจารณาวางระเบียบและออกขอบังคับภายในคณะตามที่สภามหาวิทยาลัย
มอบหมาย

(๓) พิจารณากำหนดหลักสูตรและรายละเอียดเกี่ยวกับหลักสูตรสำหรบั คณะเพ่ือเสนอตอ
สภามหาวิทยาลัย

(๔) จัดการวัดผล ประเมนิ ผล และควบคุมมาตรฐานการศึกษาของคณะ
(๕) สงเสริมงานวิจัย งานบริการวิชาการแกสังคม งานทะนุบํารุงศิลปะและ
วฒั นธรรม และงาน รักษาสง่ิ แวดลอม
(๖) ใหคาํ ปรึกษาและขอแนะนำเกย่ี วกับการดำเนินกจิ การตางๆ ของคณะ
(๗) แตงตั้งคณะอนุกรรมการเพ่ือดำเนินการอยางหน่ึงอยา งใดอันอยูในอำนาจและหนาท่ี
ของคณะกรรมการ ประจำคณะ
(๘) ดาํ เนินการอ่นื ใดตามทีส่ ภามหาวทิ ยาลยั สภาวิชาการ หรืออธิการบดมี อบหมาย
มาตรา ๓๙ ในกรณีที่มีการแบงภาควิชาหรือสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นที่มี
ฐานะเทียบเทา ภาควิชาในคณะใหมีหัวหนาภาควิชาหรือหัวหนาสวนราชการที่เรียกชื่อ
อยางอื่นที่มีฐานะเทียบเทาภาควิชาเปนผูบังคับบัญชาและรับผิดชอบงานของภาควิชาหรือ
สวนราชการท่ีเรียกช่ืออยางอ่ืนที่มีฐานะเทียบเทา ภาควิชา
หัวหนาภาควิชา หรือหัวหนาสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นท่ีมฐี านะเทียบเทา
ภาควิชาใหอธิการบดี แตงตั้งจากคณาจารยประจำโดยการสรรหาตามขอบังคับของ
มหาวิทยาลัยจากผูมีคุณสมบัติเชนเดียวกับ คณบดี และใหอธิการบดีมีอำนาจถอดถอน
หัวหนาภาควิชาหรือหัวหนาสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นที่มี ฐานะเทียบเทาภาควิชาโดย
คำแนะนำของคณบดี
คณุ สมบัติ วาระการดํารงตำแหนง และการพนจากตำแหนงของหัวหนาภาควิชาหรือ
หัวหนาสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นที่มีฐานะเทียบเทาภาควิชาตามวรรคสองและการ
รักษาราชการแทนใหนำมาตรา ๓๔ มาใชบังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๔๐ ในสถาบันหรือสํานัก ใหมีผูอํานวยการสถาบันหรือผูอํานวยการสำนัก
เปน ผูบงั คบั บัญชา และรับผิดชอบงานของสถาบันหรอื สํานัก แลว แตก รณี แ ล ะ จ ะ ให มี ร อ ง
ผูอำนวยการสถาบันหรือรองผูอำนวยการ สำนักตามจำนวนที่สภามหาวิทยาลัยกำหนด เพื่อทำ
หนาทแี่ ละรับผดิ ชอบตามท่ผี ูอำนวยการสถาบันหรือ ผอู ำนวยการสาํ นักมอบหมายกไ็ ด
คุณสมบัติ การแตงต้ัง วาระการดำรงตำแหนง และการพนจากตำแหนงของ

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๓ (๔(๓๗) )

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุ เทเทพพ

ผอู ำนวยการสถาบันหรือ ผูอำนวยการสำนัก และรองผูอ ำนวยการสถาบันหรือรองผอู ำนวยการ
สํานกั ตามวรรคหน่ึงและการรักษาราชการ แทน ใหน ํามาตรา ๓๔ มาใชบงั คบั โดยอนุโลม

มาตรา ๔๑ ในสถาบันหรือสำนัก ใหมีคณะกรรมการประจำสถาบันหรือสํานัก
แลว แตกรณี

องคประกอบ จํานวน คุณสมบัติ หลักเกณฑและวิธีการไดมา อำนาจและ
หนาท่ี วาระการดํารง ตำแหนง และการพนจากตำแหนงของกรรมการประจำสถาบันหรือ
สำนัก ตลอดจนการประชุมของคณะกรรมการ ประจําสถาบันหรือคณะกรรมการประจําสํานัก
และการจดั ระบบบริหารงานในสถาบันหรือสํานกั ใหเปนไปตาม ขอ บังคับของมหาวิทยาลัย

มาตรา ๔๒ ในกรณีที่มีหาวทิ ยาลัยมีวิทยาลัยหรือสวนราชการท่ีเรียกชื่ออยางอ่ืนท่ีมี
ฐานะเทียบเทาคณะ ใหมีผูอำนวยการวิทยาลัยหรือหัวหนาสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นที่มี
ฐานะเทียบเทาคณะเป็นผูบังคับบัญชาและ รับผิดชอบงานของวิทยาลัยหรือสวนราชการท่ี
เรียกช่ืออยางอื่นที่มีฐานะเทียบเทาคณะ แลวแตกรณี และจะใหมีรองผูอำนวยการ
วิทยาลัยหรือรองหัวหนาสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นที่มีฐานะเทียบเทาคณะตาม
จำนวนท่ีสภามหาวทิ ยาลยั กำหนดเพื่อทำหนาที่และรับผิดชอบตามที่ผูอ ำนวยการวิทยาลัย
หรือหัวหนาสวน ราชการที่เรียกช่ืออยางอ่ืนที่มฐี านะเทยี บเทาคณะมอบหมายก็ได

คุณสมบัติ การแตงตัง้ วาระการดำรงตำแหนง และการพ น จากต ำแห น งของ
ผูอำนวยการวิทยาลัย หรือหัวหนาสวนราชการท่ีเรียกช่ืออยางอื่นที่มีฐานะเทียบเทาคณะ
รวมทงั้ ผูดํารงตาํ แหนงรองของตำแหนง ดงั กลา วตามวรรคหนึ่ง และการรักษาราชการแทนให
นําความในมาตรา ๓๔ มาใชบงั คบั โดยอนโุ ลม

ในกรณีที่มีการแบงภาควิชา หรือสวนราชการท่ีเรียกชื่ออยางอื่นท่ีมีฐานะเทียบเทา
ภาควิชาในวิทยาลัย ใหน าํ ความในมาตรา ๓๙ มาใชบงั คับโดยอนโุ ลม

มาตรา ๔๓ ในวทิ ยาลยั หรือสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอน่ื ทมี่ ีฐานะเทียบเทา คณะให
มี คณะกรรมการประจำวิทยาลัยหรือสวนราชการที่เรียกช่ืออยางอื่นท่ีมีฐานะเทียบเทาคณะ
แลวแตกรณี

องคป ระกอบ จำนวน คุณสมบัติ หลักเกณฑและวิธีการไดมา อำนาจและหนาที่
วาระการดำรง ตำแหนง และการพนจากตำแหนงของกรรมการประจําวิทยาลัยหรือสวน
ราชการที่เรียกช่ืออยางอื่นที่มีฐานะ เทียบเทาคณะ ตลอดจนการประชุมของคณะกรรมการ
ประจำวิทยาลัย หรือคณะกรรมการประจำสวนราชการ ทีเ่ รียกชอ่ื อยางอ่นื ทมี่ ีฐานะเทียบเทา

((๔๔(๒๘๘))) คค่มูมู่ อื อื นนกั กั ศศกึ ึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เเททคคโโนนโโลลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ

คณะและการจัดระบบบริหารงานในวิทยาลัยหรือสวนราชการที่เรียกชื่อ อยางอ่ืนท่ีมีฐานะ
เทียบเทา คณะ ใหเ ปน ไปตามขอบงั คับของมหาวิทยาลยั

มาตรา ๔๔ ผูดำรงตำแหนงอธิการบดี คณบดี ผูอำนวยการ และหัวหนาสวน
ราชการท่ีเรียกชื่ออยาง อื่น ท่ีมีฐานะเทียบเทาคณะ จะดํารงตำแหนงดังกลาวเกินหนึ่ง
ตำแหนงในขณะเดียวกันมไิ ด

ผูดํารงตําแหนงตามวรรคหนึ่งจะรักษาราชการแทนตำแหนงอื่นอีกหน่ึงตําแหนงก็ได
แตต องไมเ กนิ หนง่ึ รอ ยแปดสิบวนั

มาตรา ๔๕ เพื่อประโยชนใ นการบริหารราชการในวทิ ยาเขต บัณฑติ วิทยาลยั คณะ
สถาบัน สำนัก วิทยาลยั และภาควิชาหรือสว นราชการที่เรยี กชอ่ื อยางอน่ื ที่มีฐานะเทียบเทา
คณะหรือภาควิชา อธกิ ารบดี จะมอบอํานาจโดยทำเปน็ หนังสือใหผดู าํ รงตาํ แหนงรอง
อธกิ ารบดี คณบดี ผอู าํ นวยการ หัวหนาภาควิชาหรือหัวหนาสวนราชการที่เรียกช่ืออยาง
อื่นท่ีมีฐานะเทียบเทาคณะหรือภาควิชา ปฏิบัติราชการแทน อธิการบดีเฉพาะในราชการ
ของสวนราชการนั้นก็ได

ใหผูป ฏบิ ัติราชการแทนตามวรรคหนึ่ง มอี าํ นาจและหนาทตี่ ามทอี่ ธิการบดกี าํ หนด
มาตรา ๔๖ ใหผูรักษาราชการแทนตามที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัตินี้มีอํานาจและ
หนา ท่ี เชน เดียวกบั ผซู ง่ึ ตนแทน
ในกรณีที่กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ คำสั่ง หรือมติคณะรัฐมนตรี แตงตั้งให
ผูดำรงตำแหนงใดเปน กรรมการหรือใหมีอํานาจและหนา ทอี่ ยา งใด ใหผูรักษาราชการแทน
ทำหนาที่กรรมการ หรือมีอํานาจ และหนาที่เชนเดียวกับผูดํารงตําแหนงนั้นในระหวางท่ี
รกั ษาราชการแทนดวย

หมวด ๓
ความรวมมือดา นวชิ าการและการใชทรัพยากร

--------------------

มาตรา ๔๗ เพ่ือประโยชนในความรวมมือดา นวิชาการและการใชทรัพยากรรวมกัน
ของมหาวิทยาลัยใหมคี ณะกรรมการอธิการบดี ประกอบดวย อธิการบดีของมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยรี าชมงคลทุกแหงเปน กรรมการ

ใหกรรมการตามวรรคหน่ึงเลือกกรรมการคนหนึ่งเปนประธานกรรมการ และเลือก

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๓ (๔(๓๙) )

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุ เทเทพพ

กรรมการอีกคนหนง่ึ เปน เลขานกุ าร
การประชุมของคณะกรรมการอธิการบดี ใหเปนไปตามระเบียบที่คณะกรรมการ

อธิการบดีกําหนด
มาตรา ๔๘ ใหค ณะกรรมการอธิการบดมี ีอํานาจและหนาที่ ดังน้ี
(๑) เสนอนโยบายและแผนพัฒนาเกี่ยวกับการจัดการศึกษา การรวมมือดาน

วชิ าการและการใช ทรพั ยากรรวมกนั ของมหาวทิ ยาลัยตอสภามหาวิทยาลัยแตละแหง
(๒) จัดใหมีขอตกลงระหวางมหาวิทยาลัยเกยี่ วกับความรวมมือทางวิชาการและการ

ใชทรัพยากร รวมกนั ในการปฏิบัติภารกิจ โดยความเห็นชอบของสภามหาวิทยาลยั แตละแหง
(๓) จดั ใหมีขอตกลงระหวางมหาวิทยาลัยแตละแหงกับสถาบันอาชีวศึกษาทั้งที่เปน

ของรัฐและ เอกชน ในการใหความรวมมือดานวิชาการและการศึกษาตอดานวชิ าชีพเฉพาะ
ทางระดับปรญิ ญา โดยความเห็นชอบ ของสภามหาวทิ ยาลัยแตละแหง

(๔) กำหนดแนวทางในการแสวงหาความรวมมือระหวางมหาวิทยาลัยแตละแหงกับ
ชุมชน องคก ร เอกชนและองคกรปกครองสวนทองถน่ิ

(๕) แตงตั้งคณะทำงานหรือบุคคลหนึ่งบุคคลใดเพ่ือพิจารณาและเสนอความเห็นใน
เร่ืองหนึ่งเรื่องใด หรือเพ่ือมอบหมายใหปฏบิ ัติการอยางหนึ่งอยางใดอ่ืนอยูในอํานาจและ
หนาที่ของคณะกรรมการอธิการบดี

หมวด ๔
ตําแหนงทางวิชาการ

--------------------

มาตรา ๔๙ คณาจารยป ระจาํ ในมหาวทิ ยาลัยมตี าํ แหนง ทางวิชาการ ดงั นี้
(๑) ศาสตราจารย
(๒) รองศาสตราจารย
(๓) ผูชว ยศาสตราจารย
(๔) อาจารย
คณุ สมบัติ หลักเกณฑ และวิธีการแตงต้ังและถอดถอนคณาจารยประจำตามวรรค
หนึ่งใหเ ปน ไปตาม กฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา

((๕๕(๒๐๐))) คคมู่มู่ อื อื นนกั กั ศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เเททคคโโนนโโลลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ

ศาสตราจารยน้ัน จะทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงต้ังโดยคําแนะนำของสภา
มหาวทิ ยาลยั

มาตรา ๕๐ ศาสตราจารยพิเศษนั้น จะทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงต้ังโดย
คำแนะนำของสภา มหาวิทยาลยั จากผูซ่ึงมิไดเ ปน คณาจารยป ระจาํ ของมหาวิทยาลัย

คุณสมบัติและหลักเกณฑในการแตงต้ังศาสตราจารยพิเศษ ใหเปนไปตามขอบังคับ
ของมหาวทิ ยาลยั

มาตรา ๕๑ ศาสตราจารยซงึ่ มคี วามรูความสามารถและความชำนาญเปนพเิ ศษ และพ น
จากตำแหนง ไปโดยไมมีความผิด สภามหาวิทยาลัยอาจแตงต้ังใหเปนศาสตราจารยเกียรติ
คณุ ในสาขาทีศ่ าสตราจารยผูนัน้ มคี วามเชีย่ วชาญเพื่อเปน เกียรตยิ ศได

คุณสมบัติ หลักเกณฑ และวิธีการแตงตั้งศาสตราจารยเกียรติคุณ ใหเปนไปตาม
ขอบังคับของ มหาวิทยาลยั

มาตรา ๕๒ สภามหาวิทยาลัยอาจแตงตั้งผูซึ่งมีคุณสมบัติเหมาะสม และมิได
เปนคณาจารย ประจำของมหาวิทยาลัยเปนรองศาสตราจารยพิเศษและผูชว ยศาสตราจารย
พิเศษไดโ ดยคำแนะนำของอธิการบดี

อธิการบดีอาจแตงตั้งผูมีคุณสมบัติเหมาะสมและมิไดเปนคณาจารยประจําของ
มหาวิทยาลัยเปน อาจารยพิเศษโดยคำแนะนำของคณบดี ผูอำนวยการหรือหัวหนาสวน
ราชการทเ่ี รยี กชื่ออยา งอืน่ ที่มฐี านะเทยี บเทา คณะ แลวแตก รณี

คุณสมบัติและหลักเกณฑในการแตงต้ังรองศาสตราจารยพิเศษ ผูชวยศาสตราจารย
พิเศษและอาจารย พิเศษตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ใหเปนไปตามขอบังคับของ
มหาวิทยาลัย

ม า ต รา ๕ ๓ ให ผู ด ำ ร ง ต ำ แ ห น ง ศ า ส ต ร า จ า ร ย ศ า ส ต ร า จ า ร ย พ ิเศ ษ
ศาสตราจารยเกียรติคุณ รองศาสตราจารย รองศาสตราจารยพิเศษ ผูชวยศาสตราจารย
และผูชวยศาสตราจารยพิเศษ มีสิทธิใชตำแหนงศาสตราจารย ศาสตราจารยพิเศษ
ศาสตราจารยเกยี รติคุณ รองศาสตราจารย รองศาสตราจารยพิเศษ ผูชวยศาสตราจารย หรือ
ผชู วยศาสตราจารยพ เิ ศษ แลว แตกรณี เปน คํานำหนานามเพื่อแสดงวทิ ยฐานะได ตลอดไป

การใชค ํานําหนา นามตามความในวรรคหน่ึง ใหใ ชอ ักษรยอ ดงั น้ี
ศาสตราจารย ใชอกั ษรยอ ศ.
ศาสตราจารยพ ิเศษ ใชอ กั ษรยอ ศ. (พิเศษ)

ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๓ (๕(๓๑) )

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุ เทเทพพ

ศาสตราจารยเ กยี รตคิ ณุ ใชอักษรยอ ศ. (เกยี รติคุณ)
รองศาสตราจารย ใชอ กั ษรยอ รศ.
รองศาสตราจารยพ เิ ศษ ใชอักษรยอ รศ. (พเิ ศษ)
ผชู ว ยศาสตราจารย ใชอ ักษรยอ ผศ.
ผชู วยศาสตราจารยพิเศษ ใชอกั ษรยอ ผศ. (พิเศษ)

หมวด ๕
ปริญญาและเคร่ืองหมายวทิ ยฐานะ

--------------------

มาตรา ๕๔ ปริญญามสี ามชัน้ คือ
ปรญิ ญาเอก เรียกวา ดุษฎบี ัณฑิต ใชอกั ษรยอ ด.
ปรญิ ญาโท เรียกวา มหาบัณฑติ ใชอ ักษรยอ ม.
ปริญญาตรี เรยี กวา บณั ฑิต ใชอ กั ษรยอ บ.
มาตรา ๕๕ มหาวิทยาลัยมีอํานาจใหปริญญาในสาขาวิชาที่มีการสอนใน
มหาวิทยาลยั
การกําหนดใหสาขาวิชาใดมีปริญญาช้ันใด และจะใชอักษรยอสําหรับสาขาวิชานั้น
อยา งไร ใหต ราเปน พระราชกฤษฎกี า
มาตรา ๕๖ สภามหาวิทยาลัยอาจออกขอบังคับใหผูสําเร็จการศึกษาชั้นปริญญาตรี
ไดร บั ปรญิ ญา เกยี รตินยิ มอนั ดับหนึง่ หรอื ปรญิ ญาเกียรตนิ ิยมอนั ดับสองได
มาตรา ๕๗ สภามหาวิทยาลัยอาจออกขอบังคับใหมีประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง
ประกาศนยี บัตร บัณฑิต อนุปริญญา และประกาศนียบัตรสําหรับสาขาวชิ าใดได ดังนี้
(๑) ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ออกใหแกผูสําเร็จการศึกษาในสาขาวิชาหนึ่ง
สาขาวิชาใด ภายหลัง ท่ีไดรบั ปริญญาโทแลว
(๒) ประกาศนียบัตรบัณฑติ ออกใหแกผูส ำเร็จการศึกษาในสาขาวิชาหนึ่งสาขาวิชา
ใดภายหลังท่ีไดรับปริญญาตรแี ลว
(๓) อนุปริญญาหรือประกาศนียบัตร ออกใหแกผูสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรใน
สาขาวิชาหนง่ึ สาขาวชิ าใดกอ นถึงขนั้ ไดรบั ปริญญาตรี

((๕๕(๒๒))) คค่มูมู่ อื อื นนกั กั ศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เเททคคโโนนโโลลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ

(๔) ประกาศนยี บัตร ออกใหแกผ ูสำเร็จการศึกษาเฉพาะวิชา
มาตรา ๕๘ มหาวทิ ยาลยั มอี ำนาจใหป รญิ ญากติ ติมศกั ดิ์แกบุคคลซ่งึ สภามหาวิทยาลัย
เห็นวา ทรงคุณวุฒิสมควรแกปริญญานั้น ๆ แตจะใหปริญญาดังกลาวแกคณาจารยประจำ
ผูดํารงตำแหนงตาง ๆ ในมหาวิทยาลัย นายกสภามหาวทิ ยาลัยหรือกรรมการสภา
มหาวทิ ยาลยั ในขณะที่ดาํ รงตาํ แหนงนั้นมิได
ชั้น สาขาของปริญญากิตติมศักดิ์ และหลักเกณฑการใหปริญญากิตติมศักด์ิ ให
เปนไปตามขอ บงั คับ ของมหาวทิ ยาลยั
มาตรา ๕๙ มหาวิทยาลัยอาจกำหนดใหมีครุยวิทยฐานะหรือเข็มวิทยฐานะเปน
เครื่องหมายแสดงวิทยฐานะของผูไดรับปริญ ญ า ประกาศนีย บัตรบัณ ฑิตชั้นสูง
ประกาศนียบัตรบัณฑิต อนุปริญญาและประกาศนียบัตร และอาจกําหนดใหมีครุยประจํา
ตำแหนง กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั หรือคณาจารยข องมหาวทิ ยาลยั ได
การกำหนดลักษณะ ชนิด ประเภท และสวนประกอบของครุยวิทยฐานะ เข็มวิทย
ฐานะ และครุย ประจำตำแหนงใหตราเปน พระราชกฤษฎีกา
ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจำตำแหนงจะใชในโอกาสใด โดยมี
เง่ือนไขอยางใด ใหเปน ไปตามขอ บงั คับของมหาวทิ ยาลยั
มาตรา ๖๐ สภามหาวิทยาลัยอาจกําหนดใหมีตรา เคร่ืองหมาย หรือสัญลักษณ
ของมหาวิทยาลัย หรือสวนราชการในมหาวิทยาลัยได โดยทําเปนขอบังคับของมหาวิทยาลัย
และประกาศในราชกิจจานเุ บกษา
สภามหาวิทยาลัยอาจกำหนดใหมีเคร่ืองแบบ เครื่องหมาย หรือเครื่องแตงกาย
นักศกึ ษาได โดยทำเปน ขอบังคับของมหาวทิ ยาลยั และประกาศในราชกิจจานุเบกษา

หมวด ๖
บทกําหนดโทษ
--------------------

มาตรา ๖๑ ผูใดใชตรา สัญลักษณ ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ ครุย
ประจำตำแหนงเครื่องแบบ เครื่องหมาย หรือเครื่องแตงกายนักศึกษาของมหาวิทยาลัย โดย
ไมมีสิทธิท่ีจะใชหรือแสดงดวยประการใด ๆ วา ตนมีตำแหนง ปริญญา ประกาศนียบัตร

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๓ (๕(๓๓) )

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุ เทเทพพ

บัณฑิตชัน้ สงู ประกาศนียบัตรบณั ฑิตอนปุ รญิ ญา หรือประกาศนยี บตั รของมหาวิทยาลยั โดยที่
ตนไมมี ถาไดกระทำเพื่อใหบุคคลอื่น เชื่อวาตนมีสิทธิท่ีจะใชหรือมีตำแหนง หรือวิทยฐานะ
เชนน้ัน ตอ งระวางโทษจำคกุ ไมเ กินหกเดือน หรอื ปรบั ไมเ กินหา หมน่ื บาท หรือทง้ั จาํ ท้ังปรบั

มาตรา ๖๒ ผูใด
(๑) ปลอม หรอื ทําเลียนแบบซ่ึงตรา เครอื่ งหมาย หรือสญั ลักษณของมหาวิทยาลัย
หรือสวนราชการ ของมหาวทิ ยาลยั ไมวาจะทาํ เปนสใี ด หรอื ทําดวยวิธีใดๆ
(๒) ใชตรา เครอื่ งหมาย หรือสัญลักษณของมหาวิทยาลัยหรือสวนราชการของ
มหาวิทยาลยั ปลอม หรอื ซ่งึ ทาํ เลียนแบบ หรือ
(๓) ใช หรอื ทําใหปรากฏซึ่งตรา เครื่องหมาย หรือสญั ลักษณของมหาวิทยาลัย
หรือสวนราชการ ของมหาวิทยาลัยที่วัตถุหรือสินคา ใดๆ โดยไมไดรับอนุญาตจาก
มหาวิทยาลัย
ตอ งระวางโทษจำคุกไมเ กินหน่งึ ป หรอื ปรับไมเ กินหนึ่งแสนบาท หรอื ทง้ั จำทงั้ ปรับ
ถาผูกระทำความผิดตาม (๑) เป็นผูกระทำความผิดตาม (๒) ดวย ใหลงโทษตาม
(๒) แตก ระทงเดียว ความผดิ ตาม (๓) เปน ความผิดอนั ยอมความได

บทเฉพาะกาล
-------------------

มาตรา ๖๓ ใหโอนบรรดากิจการ ทรัพยสิน หน้ีสิน สิทธิ ภาระผูกพันท้ังปวง
ขาราชการ ลูกจาง อัตรากำลัง เงนิ งบประมาณ และรายไดของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการไปเปนของมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคล แตละแหงตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ ตามรายการที่รัฐมนตรี
ป ร ะ ก า ศ ก ำ ห น ด โ ด ย ต อ ง ด ำ เน ิน ก า ร ใ ห แ ล ว เ ส ร็จ ภ า ย ใน ห นึ ่ง ร อ ย ยี ่ส ิบ ว ัน น ับ แ ต ว ัน ที่
พระราชบญั ญัตินใ้ี ชบังคบั

ให ข า รา ช ก า ร ซึ ่งโอ น ไป ต า ม ว ร ร ค ห นึ ่งเป น ข า ร า ช ก า ร พ ล เรือ น ใน
สถาบันอุดมศึกษาตามกฎหมาย วา ดวยระเบียบขาราชการพลเรือนในสถาบันอดุ มศึกษา
โดยในระยะเร่ิมแรกใหข า ราชการดังกลาวยงั คงดํารง ตําแหนงและรับเงินเดือน ตลอดจนไดร ับ
สิทธิประโยชนเชนเดิมตอไป จนกวาจะไดรับแตงตั้งใหดํารงตําแหนง ตามกฎหมายวาดวย
ระเบียบขา ราชการพลเรือนในสถาบันอดุ มศึกษา

((๕๕(๒๔๔))) คค่มูมู่ อื อื นนกั กั ศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เเททคคโโนนโโลลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ

มาตรา ๖๔ ใหสวนราชการท่ีจัดตั้งข้ึนตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการซึ่งตรา
ขึ้นตามขอ ๒๓ แหงประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๑๖ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน
พ.ศ. ๒๕๑๕ สวนราชการที่จัดตั้งขึ้นตาม ประกาศกระทรวงศึกษาธิการซ่ึงตราขึ้นตาม
มาตรา ๗ แหงพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. ๒๕๑๘ และสวนราชการ
ท่ีจัดต้ังข้นึ ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการซ่ึงตราขึ้นตามมาตรา ๒๕ แหงพระราชบัญญัติ
ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๓๔ ท่ีมีอยูในวันท่ีพระราชบัญญัติน้ีประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษา คงมีอยูตอไป จนกวาจะมีการออกกฎกระทรวงจัดต้ังสวนราชการใน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลแตละแหง ซึง่ ออกโดยอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัตินี้
ทั้งน้ี ตองไมเ กินหน่งึ รอยแปดสิบวันนับแตว นั ท่พี ระราชบัญญตั นิ ี้ ใชบังคบั

มาตรา ๖๕ ภายใตบังคับมาตรา ๖๓ และมาตรา ๖๔ ใหมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลตาม มาตรา ๕ ประกอบดว ยสว นราชการ ดังตอไปน้ี

(๑) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ประกอบดวย สถาบันเทคโนโลยี
ราชมงคล จังหวัดปทมุ ธานี และวิทยาเขตปทมุ ธานี

(๒) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ ประกอบดวย วิทยาเขตเทคนิค
กรุงเทพฯ วิทยาเขต บพติ รพิมุขมหาเมฆ และวทิ ยาเขตพระนครใต

(๓) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก ประกอบดวย วิทยาเขตจักรพงษ
ภูวนารถ วทิ ยาเขต อุเทนถวาย วิทยาเขตบางพระ จังหวัดชลบุรี วทิ ยาเขตจันทบุรี และ
คณะเกษตรศาสตรบางพระ จังหวดั ชลบรุ ี

(๔) มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประกอบดว ย วิทยาเขตเทเวศร
วทิ ยาเขตโชติเวช วิทยาเขตพณิชยการพระนคร วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ และวิทยาเขต
พระนครเหนือ

(๕) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร ประกอบดวย วิทยาเขตเพาะชา ง
วิทยาเขตบพิตรพิมุขจักรวรรดิ วิทยาเขตศาลายา และวิทยาเขตวงั ไกลกงั วล

(๖) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ประกอบดวย วิทยาเขตภาคพายัพ
จังหวัดเชียงใหม วิทยาเขตนา น วิทยาเขตลำปาง วิทยาเขตเชียงราย วิทยาเขตตาก
วทิ ยาเขตพษิ ณโุ ลก และสถาบันวิจัยและ ฝกอบรมการเกษตรลาํ ปาง

(๗) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชยั ประกอบดวย ว ิท ย า เข ต ภ า ค ใต
จังหวัดสงขลา วิทยาเขตนครศรธี รรมราช วิทยาเขตศรีวิชัยจังหวัดนครศรีธรรมราช คณะ

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๓ (๕(๓๕) )

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุ เทเทพพ

เกษตรศาสตรนครศรธี รรมราช และ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยกี ารประมง จงั หวัดตรัง
(๘) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสวุ รรณภูมิ ประกอบดวย วทิ ยาเขตนนทบุรี

วิทยาเขต พระนครศรีอยุธยา วาสุกรี วิทยาเขตพระนครศรีอยุธยา หันตรา และวทิ ยาเขต
สุพรรณบุรี

(๙) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ประกอบดวย วิทยาเขตภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา วิทยาเขตสุรินทร วิทยาเขตขอนแกน
วิทยาเขตกาฬสินธุ วิทยาเขตสกลนครและสถาบันวิจัยและฝกอบรมการเกษตรสกลนคร

ใหสภามหาวิทยาลยั แตละแหงกำหนดที่ตั้งของสำนักงานอธิการบดี โดยความเห็นชอบ
ของคณะกรรมการการอดุ มศึกษา

มาตรา ๖๖ ใหผูดํารงตําแหนงนายกสภาสถาบัน อุปนายกสภาสถาบัน
และกรรมการสภาสถาบัน ของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลตามพระราชบัญญัติสถาบัน
เทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ.๒๕๑๘ อยูในวันท่ี พระราชบัญญตั ิน้ีประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ปฏิบัติหนาที่นายกสภามหาวิทยาลัย อุปนายกสภามหาวิทยาลัย และกรรมการสภา
มหาวิทยาลัยของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลแตละแหงตามพระราชบัญญัตินี้ตอไป
จนกวาจะไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงต้ังนายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภา
มหาวิทยาลัยผทู รงคุณวุฒิ และมีการเลือกกรรมการสภามหาวิทยาลัยของมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลแตละแหง แลวแตกรณี ตามพระราชบัญญัตินี้ ท้ังน้ี ตองไมเกินหนึ่ง
รอ ยแปดสิบวนั นบั แตวนั ที่พระราชบัญญตั นิ ีใ้ ชบงั คับ

มาตรา ๖๗ ใหผูดํารงตําแห นงอธิการบดี คณ บดี ผูอํานวยการสถาบัน
ผอู าํ นวยการสำนกั และ หัวหนาภาควิชาของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลตามพระราชบัญญัติ
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. ๒๕๑๘ อยูในวันท่พี ระราชบัญญัตินี้ประกาศในราช
กจิ จานุเบกษา รักษาการในตำแหนงตอไปจนกวาจะมีการแตงต้ังผูดำรง ตำแหนง ดังกลาวข้นึ
ใหม ทงั้ นี้ ตอ งไมเ กินหนึ่งรอยแปดสบิ วันนับแตวันท่ีพระราชบัญญตั ินี้ใชบ ังคับ

ใหผดู ำรงตำแหนงรองอธิการบดี รองคณบดี รองผูอำนวยการสถาบัน และรอง
ผูอำนวยการสำนัก ของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลตามพระราชบัญ ญัติสถาบัน
เทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. ๒๕๑๘ อยูในวันท่ีพระราชบัญญัติน้ีประกาศในราชกิจจานุเบกษา
รักษาการในตำแหนงตอไปจนกวาผูดำรงตำแหนงอธิการบดี คณบดี ผูอำนวยการสถาบันและ
ผูอาํ นวยการสำนักตามวรรคหนึ่งจะพน จากตําแหนง

((๕๕(๒๖๖))) คคมู่มู่ อื อื นนกั กั ศศกึ ึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เเททคคโโนนโโลลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ

มาตรา ๖๘ การนับวาระการดำรงตำแหนง ของอธิการบดี คณบดี ผูอํานวยการ
สถาบัน ผูอํานวยการ สํานัก และหัวหนาภาควิชา ใหนับวาระการดำรงตําแหนงตาม
พระราชบัญญัตินี้เปนวาระแรก

มาตรา ๖๙ ใหผูดำรงตำแหนงประธานกรรมการและกรรมการในคณะกรรมการ
ประจำคณะ คณะกรรมการประจำสถาบันและคณะกรรมการประจำสำนกั ของสถาบัน
เทคโนโลยีราชมงคล ตามพระราชบัญญัติ สถาบนั เทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. ๒๕๑๘อยูในวันที่
พระราชบัญญัตินี้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา คงปฏิบัติ หนาท่ีตอไปจนกวาจะไดมี
คณะกรรมการประจำคณะ คณะกรรมการประจำสถาบันและคณะกรรมการประจำ สำนักตาม
พระราชบญั ญตั นิ ้ี ทัง้ นี้ ตอ งไมเ กินหนงึ่ รอยแปดสบิ วันนบั แต วนั ทพี่ ระราชบัญญัตนิ ้ีใชบ งั คบั

มาตรา ๗๐ ใหผูด าํ รงตําแหนง ผูอาํ นวยการวิทยาเขตตามกฎหมายวาดว ยระเบยี บ
ขาราชการครู และประธานกรรมการ และกรรมการบริหารวิทยาเขตของสถาบันเทคโนโลยี
ราชมงคลตามประกาศสถาบัน เทคโนโลยรี าชมงคล ลงวันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ อยูใน
วันที่พระราชบัญญัตินี้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา คงปฏิบัติหนาท่ีตอไปจนกวาจะมีการ
แตงต้ังผูดำรงตำแหนงรองอธิการบดีประจําวิทยาเขตและคณะกรรมการ ประจำวิทยาเขตตาม
พระราชบัญญัตนิ ้ี ทั้งนี้ ตองไมเกินหนึ่งรอ ยแปดสิบวันนับแตว ันที่ พระราชบัญญัตนิ ้ีใชบ งั คับ
เวนแตกรณียังไมมีการออกกฎกระทรวงจัดตั้งสวนราชการซ่ึงออกโดยอาศัยอำนาจ ตาม
พระราชบัญญตั ิน้ี

มาตรา ๗๑ ภายใตบังคับมาตรา ๖๗ ในระหวางที่ยังไมมีสภาวิชาการตาม
มาตรา ๑๙ ใหมีสภา วิชาการ ประกอบดวย อธิการบดีเปนประธานสภาวิชาการ รอง
อธกิ ารบดีฝายวิชาการเปนรองประธานสภา วิชาการ รองอธิการบดี คณบดี และคณาจารย
ประจำซ่ึงอธิการบดีแตงตั้งจำนวนหกคนเปนกรรมการสภา วิชาการ และผูอํานวยการสำนัก
บริการทางวชิ าการและทดสอบเปนเลขานุการสภาวิชาการ ทำหนาที่สภาวิชาการ ของ
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลแตละแหง ตามพระราชบัญญตั ินี้ จนกวาจะมีการแตงต้ัง
สภาวิชาการ ของ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลแตละแหงตามพระราชบัญญัติน้ี ท้ังนี้
ตอ งไมเ กินหนึ่งรอยแปดสบิ วันนับแต วันทพ่ี ระราชบัญญัตนิ ้ีใชบ ังคบั

มาตรา ๗๒ ภายใตบ ังคบั มาตรา ๖๖ และมาตรา ๖๗ ในระหวางท่ียังไมมีอธิการบดี
เปน ผูบังคับบญั ชาและรับผิดชอบการบริหารงานของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลแตละ
แหงตามมาตรา ๒๔ ใหสภามหาวิทยาลัยแตงต้ังผูมีคุณสมบัติตามมาตรา ๒๖ วรรคหนึ่ง

ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๓ (๕(๓๗) )

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุ เทเทพพ

ทำหนาที่รักษาการในตำแหนงอธิการบดี ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลแตละแหงเป็น
การชั่วคราว จนกวาจะมีการแตงตั้งผูดำรงตำแหนงดังกลาวขึ้นใหม ทงั้ นี้ ตองไมเกินหนึง่ รอย
แปดสิบวันนับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ เวนแตมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคล
ธัญบุรีใหแตงตั้งผูดำรงตำแหนงอธิการบดีตามมาตรา ๖๗ วรรคหนึ่ง เปนผูรักษาการใน
ตาํ แหนง อธิการบดี

มาตรา ๗๓ ใหผูซ่ึงเปนศาสตราจารย ศาสตราจารยพิเศษ รองศาสตราจารย
รองศาสตราจารย พิเศษ ผูชวยศาสตราจารย ผูชวยศาสตราจารยพิเศษ และอาจารย
ประจําสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลตาม พระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
พ.ศ. ๒๕๑๘ อยูในวนั ทพ่ี ระราชบัญญัตินี้ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา มีฐานะเปนศาสตราจารย
ศาสตราจารยพิเศษ รองศาสตราจารย รองศาสตราจารยพิเศษ ผูชวยศาสตราจารย ผูชวย
ศาสตราจารยพิเศษ และอาจารยป ระจํามหาวิทยาลยั ตอ ไปตามพระราชบัญญัตนิ ้ี

ใหผูซึ่งเปนอาจารยพิเศษของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลตามพระราชบัญญัติ
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. ๒๕๑๘ อยูในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ เปน
อาจารยพิเศษของมหาวิทยาลัยตอไป ตามพระราชบัญญัติน้ีจนครบกําหนดเวลาท่ีไดรับ
แตงตัง้

มาตรา ๗๔ ใหผูไดรับประกาศนียบัตรชั้นสูงตามพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยี
ราชมงคล พ.ศ. ๒๕๑๘ เปนผูไดร ับประกาศนียบัตรบณั ฑิตตามพระราชบัญญตั ิน้ี

มาตรา ๗๕ ในระหวางท่ียังไมมีพระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ขอบังคับ
ประกาศและระเบียบ เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ใหนำพระราชกฤษฎีกา
ขอบังคับ ประกาศและระเบียบ ซึ่งออกตามพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
พ.ศ. ๒๕๑๘ ที่ใชอยูในวันที่พระราชบัญญัตินี้ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษามาใชบังคับ
โดยอนโุ ลม

ในกรณีท่ีมีปญหาเก่ียวกับการปฏิบัติการ อํานาจหนาท่ีของผูดำรงตำแหนง หรือ
หนวยงานตา ง ๆ ตามที่กำหนดไวในบทเฉพาะกาลน้ี ใหรัฐมนตรีเปนผูมีอํานาจตีความและ
วินิจฉัยชีข้ าด

ผรู บั สนองพระบรมราชโองการ
วิษณุ เครืองาม

รองนายกรฐั มนตรี

((๕๕(๒๘๘))) คค่มูมู่ อื อื นนกั กั ศศกึ ึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เเททคคโโนนโโลลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ

หมายเหตุ : เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับน้ี คอื โดยที่มาตรา ๓๖
แหงพระราชบัญญัติ การศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ บัญญัติใหสถานศึกษาของรัฐท่ีจัด
การศึกษาระดับปริญญาเปนนิติบุคคล เพื่อใหสถานศึกษาของรัฐดำเนินกิจการไดโดยอิสระ
สามารถพัฒนาระบบบริหาร และการจัดการท่ีเปนของ ตนเอง มีความคลองตัว มีเสรีภาพทาง
วิชาการและอยูภายใตการกํากับดแู ลของสภาสถานศึกษา ดงั น้ัน สมควรจัดตั้ง มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคล จำนวน ๙ แหง ขึ้นแทนสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล เพ่ือให
มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลเปนสถาบันอุดมศึกษาของรัฐดานวิชาชีพและเทคโนโลยีท่มี ี
วัตถุประสงคใหการศึกษา สงเสริมวิชาการและวิชาชีพชน้ั สูงที่มุงเนนการปฏิบัติ ทำการสอน
ทําการวิจัย ผลติ ครูวชิ าชีพ ใหบริการทางวิชาการในดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และ
ทะนุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม โดยใหผสู ำเร็จการอาชีวศึกษา มีโอกาสในการศึกษาตอดาน
วิชาชพี เฉพาะทางระดับปรญิ ญาเปน หลกั จงึ จําเปนตองตราพระราชบัญญัติน้ี

คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๓ (๕(๓๙) )

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุ เทเทพพ

พระราชกฤษฎกี า
วาดว ยปรญิ ญาในสาขาวิชา อกั ษรยอสําหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐานะ เข็มวทิ ยฐานะ

และครุยประจาํ ตาํ แหนง ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ
พ.ศ. ๒๕๕๑

---------------------
ภมู พิ ลอดลุ ยเดช ป.ร.

ใหไ ว ณ วันท่ี ๓๐ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
เปน ปท ่ี ๖๓ ในรชั กาลปจจบุ ัน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการ
โปรดเกลา ฯ ใหป ระกาศวา

โดยท่ีเปนการสมควรกําหนดปริญญาในสาขาวิชา อักษรยอสําหรับสาขาวิชา
ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจําตําแหนงของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรุงเทพ

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๘๗ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
กับมาตรา ๕๕ วรรคสอง และมาตรา ๕๙ วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยี ราชมงคล พ.ศ. ๒๕๔๘ จึงทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชกฤษฎีกาขึ้น
ไว ดงั ตอ ไปนี้

มาตรา ๑ พระราชกฤษฎีกาน้ีเรียกวา “พระราชกฤษฎีกาวาดวยปริญญาใน
สาขาวิชาอักษรยอสําหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจําตําแหนง
ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ พ.ศ. ๒๕๕๑”

มาตรา ๒ พระราชกฤษฎีกานี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศใน
ราชกจิ จานเุ บกษา เปนตนไป

มาตรา ๓ ใหกําหนดปริญญาในสาขาวิชา และอักษรยอสําหรับสาขาวิชาของ
มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ ดงั น้ี

(๑) สาขาวชิ าครุศาสตรอ ุตสาหกรรม มปี ริญญาสามชัน้ คือ
(ก) เอก เรียกวา “ครุศาสตรอตุ สาหกรรมดษุ ฎบี ณั ฑติ ” ใชอ กั ษรยอ

“ค.อ.ด.” และ“ปรัชญาดษุ ฎีบัณฑิต” ใชอ ักษรยอ “ปร.ด.”

((๖๖(๒๐๐))) คคมู่มู่ อื อื นนกั กั ศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เเททคคโโนนโโลลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ

(ข) โท เรยี กวา “ครศุ าสตรอตุ สาหกรรมมหาบณั ฑิต” ใชอกั ษรยอ “ค.อ.ม.”
(ค) ตรี เรยี กวา “ครศุ าสตรอตุ สาหกรรมบัณฑิต” ใชอกั ษรยอ “ค.อ.บ.”
(๒) สาขาวิชาคหกรรมศาสตร มปี ริญญาสามช้นั คือ
(ก) เอก เรียกวา “คหกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต” ใชอักษรยอ “คศ.ด.” และ
“ปรัชญาดษุ ฎบี ณั ฑติ ” ใชอ ักษรยอ “ปร.ด.”
(ข) โท เรียกวา “คหกรรมศาสตรมหาบัณฑิต” ใชอกั ษรยอ “คศ.ม.”
(ค) ตรี เรียกวา “คหกรรมศาสตรบณั ฑติ ” ใชอ กั ษรยอ “คศ.บ.”
(๓) สาขาวิชาเทคโนโลยี มีปริญญาหนึ่งช้ัน คือ ตรี เรยี กวา “เทคโนโลยีบัณฑิต” ใช
อักษรยอ “ทล.บ.”
(๔) สาขาวิชาบรหิ ารธุรกิจ มปี ริญญาสามชัน้ คือ
(ก) เอก เรียกวา “บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต” ใชอักษรยอ “บธ.ด.” และ
“ปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑติ ” ใชอักษรยอ “ปร.ด.”
(ข) โท เรียกวา “บรหิ ารธรุ กจิ มหาบณั ฑติ ” ใชอักษรยอ “บธ.ม.”
(ค) ตรี เรียกวา “บริหารธรุ กิจบัณฑติ ” ใชอ ักษรยอ “บธ.บ.”
(๕) สาขาวิชาวิทยาศาสตร มปี ริญญาสามชั้น คอื
(ก) เอก เรียกวา “วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต” ใชอักษรยอ “วท.ด.” และ
“ปรัชญาดษุ ฎีบณั ฑิต” ใชอ ักษรยอ “ปร.ด.”
(ข) โท เรยี กวา “วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต” ใชอ ักษรยอ “วท.ม.”
(ค) ตรี เรียกวา “วทิ ยาศาสตรบณั ฑติ ” ใชอ ักษรยอ “วท.บ.”
(๖) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร มีปรญิ ญาสามชน้ั คอื
(ก) เอก เรียกวา “วศิ วกรรมศาสตรดุษฎบี ัณฑิต” ใชอักษรยอ “วศ.ด.”
และ “ปรัชญาดุษฎบี ณั ฑิต” ใชอักษรยอ “ปร.ด.”
(ข) โท เรยี กวา “วศิ วกรรมศาสตรมหาบัณฑิต” ใชอักษรยอ “วศ.ม.”
(ค) ตรี เรยี กวา “วิศวกรรมศาสตรบณั ฑติ ” ใชอ ักษรยอ “วศ.บ.”
(๗) สาขาวิชาศลิ ปศาสตร มีปริญญาสามชั้น คือ
(ก) เอก เรียกวา “ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต” ใชอักษรยอ “ศศ.ด.” และ
“ปรัชญาดษุ ฎบี ณั ฑิต” ใชอ กั ษรยอ “ปร.ด.”
(ข) โท เรยี กวา “ศิลปศาสตรมหาบัณฑติ ” ใชอกั ษรยอ “ศศ.ม.”

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๓ (๖(๓๑) )

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุ เทเทพพ

(ค) ตรี เรยี กวา “ศลิ ปศาสตรบณั ฑิต” ใชอ กั ษรยอ “ศศ.บ.”
(๘) สาขาวิชาอุตสาหกรรมศาสตร มีปรญิ ญาสามชนั้ คือ

(ก) เอก เรียกวา “อุตสาหกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต” ใชอักษรยอ “อส.ด.”
และ “ปรชั ญาดุษฎบี ัณฑติ ” ใชอ ักษรยอ “ปร.ด.”

(ข) โท เรียกวา “อุตสาหกรรมศาสตรมหาบณั ฑิต” ใชอ กั ษรยอ “อส.ม.”
(ค) ตรี เรียกวา “อตุ สาหกรรมศาสตรบัณฑิต” ใชอ ักษรยอ “อส.บ.”
ทง้ั น้ี หากมีสาขาหรือวิชาเอกใหร ะบุช่อื สาขาหรอื วิชาเอกนน้ั ไวใ นวงเล็บตอทายปริญญาดว ย
มาตรา ๔ ครุยวิทยฐานะของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มีสามช้ัน
ดงั ตอไปน้ี

(๑) ครุยดุษฎีบัณฑิต เปนเสื้อคลุมแขนยาวทําดวยผาโปรงสีขาว ผาอก
ตลอด ยาวคลมุ เขามสี ํารดรอบขอบ สาํ รดตนแขน และสาํ รดปลายแขน ดังตอไปน้ี

(ก) สํารดรอบขอบ พื้นสํารดทําดวยผาสักหลาดสีเขียว กวาง ๑๐
เซนติเมตร มีแถบทองกวาง ๑ เซนติเมตร ท่ีริมทั้งสองขาง เวนระยะหาง ๒.๓ เซนติเมตร ท้ัง
สองขาง ทาบแถบทองกวาง ๐.๗ เซนติเมตร ตอนกลางสํารดมีแถบผามันตามสีประจําคณะ
กวาง ๑.๓ เซนติเมตร และมีตราสัญลักษณมหาวิทยาลัยทําดวยโลหะสีเงิน สูง ๖ เซนติเมตร
ตดิ บนสาํ รดรอบขอบดานหนาอกทั้งสองขา ง

(ข) สํารดตนแขน แบงเปน ๓ ตอน ระยะหางตอนละ ๑.๕ เซนติเมตร
แตละตอนกวาง ๖.๕ เซนติเมตร พ้ืนสํารดทําดวยผาสักหลาดสีเขียว มีแถบทอง กวาง ๑
เซนติเมตร ที่ริมท้ังสองขางตอนกลางสํารดมีแถบผามันตามสีประจําคณะ กวาง ๑.๓
เซนตเิ มตร

(ค) สํารดปลายแขน พื้นสํารดทําดวยผาสักหลาดสีเขียว กวาง ๑๐
เซนติเมตร มีแถบทองกวาง ๑ เซนติเมตร ที่ริมท้ังสองขาง เวนระยะหาง ๒.๓ เซนติเมตร ทั้ง
สองขาง ทาบแถบทองกวาง ๐.๗ เซนติเมตร ตอนกลางสํารดมีแถบผามันตามสีประจําคณะ
กวา ง ๑.๓ เซนติเมตร

(๒) ครุยมหาบัณฑิต เชนเดียวกับครุยดุษฎีบัณฑิต เวนแตมีสํารดตนแขน
๒ ตอน

(๓) ครุยบัณฑิต เชน เดยี วกบั ครุยมหาบณั ฑติ เวน แตม ีสาํ รดตนแขน ๑ ตอน

((๖๖(๒๒))) คคมู่มู่ อื อื นนกั กั ศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เเททคคโโนนโโลลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ

มาตรา ๕ เข็มวิทยฐานะของมหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ มีลักษณะเปน
รูปตราสัญลักษณมหาวิทยาลัยทําดวยโลหะดุนนูนสีทอง สวนพื้นของพระราชลัญจกรและ
ดอกบวั ลงยาสีน้าํ เงิน สวนพ้นื ของช่ือมหาวทิ ยาลัยลงยาสขี าว สูง ๖ เซนตเิ มตร

มาตรา ๖ ครุยประจําตําแหนงและเครื่องหมายประกอบครุยประจําตําแหนงของ
นายกสภามหาวิทยาลยั กรรมการสภามหาวิทยาลัย และคณาจารยม หาวิทยาลยั มีดังตอไปน้ี

(๑) นายกสภามหาวิทยาลัย ครุยเปนเสื้อคลุมแขนยาวทําดวยผาโปรงสีขาว ผา
อกตลอดยาวคลุมเขา มีสาํ รดรอบขอบ สํารดตน แขน และสาํ รดปลายแขน ดังตอ ไปน้ี

(ก) สํารดรอบขอบ พ้ืนสํารดทําดวยผาสักหลาดสีเขียว กวาง ๑๐
เซนติเมตร โดยทาบแถบทอง กวาง ๑ เซนติเมตร จํานวน ๖ แถบ บนผาสักหลาดสีเขียว มี
ระยะหางระหวางแถบ ๐.๘ เซนติเมตร มีสํารดเฉียงโดยพ้ืนสํารดทําดวยผาสักหลาดสีเขียว
กวาง ๑๐ เซนติเมตร วางเฉียง๓๖ องศา ทาบบนสํารดรอบขอบบริเวณกลางอกเสื้อ มีแถบ
ทอง กวาง ๑ เซนติเมตร ที่ริมท้ังสองขางแบงคร่ึงผาสักหลาดสีเขียวที่เหลือ ๘ เซนติเมตร
ทาบแถบทอง กวาง ๑ เซนติเมตร บนผา สักหลาดสีเขียว ณ จุดแบง ครึ่งขางละ ๑ แถบ รวม ๒
แถบ และใชแ ถบทอง กวา ง ๐.๕ เซนติเมตร ทาบบนผาสกั หลาดสีเขยี วสวนที่เหลอื ท้ังสองขาง
มตี ราสญั ลักษณมหาวิทยาลยั ทําดวยโลหะสีทอง สงู ๖ เซนติเมตร ตดิ กลางสํารดเฉยี งทั้งสอง
ขาง

(ข) สํารดตนแขน แบงเปน ๓ ตอน ระยะหางตอนละ ๒ เซนติเมตร แต
ละตอนกวาง ๓.๕ เซนติเมตร พ้ืนสํารดทําดวยผาสักหลาดสีเขียว มีแถบทอง กวาง ๑
เซนติเมตร ท่รี ิมทัง้ สองขาง

(ค) สํารดปลายแขน แบงเปน ๓ ตอน ระยะหางตอนละ ๒ เซนติเมตร
แตละตอนกวาง ๓.๕ เซนติเมตร พื้นสํารดทําดวยผาสักหลาดสีเขียว มีแถบทอง กวาง ๑
เซนติเมตร ทรี่ ิมทง้ั สองขา งใหมีสายสรอ ยประกอบครุยประจาํ ตําแหนงนายกสภามหาวิทยาลัย
ทําดวยโลหะสีทองประกอบดวยรูปดอกไมทิพย ๙ ดอก มีเกสรเปนพลอยสีเขียว กึ่งกลาง
สายสรอยประดบั ตราสัญลกั ษณมหาวิทยาลัยดนุ นนู ลงยา ยึดติดกบั ครยุ ประมาณรอ งหัวไหล

(๒) กรรมการสภามหาวิทยาลัย เชนเดียวกับนายกสภามหาวิทยาลัย แตไมมี
สายสรอยประดบั

(๓) คณาจารยมหาวิทยาลัย เชนเดียวกับกรรมการสภามหาวิทยาลัย เวน แตสํารด
รอบขอบพ้ืนสํารดทําดวยผาสักหลาดสีเขียว กวาง ๑๐ เซนติเมตร มีแถบทอง กวาง ๑

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๓ (๖(๓๓) )

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุ เทเทพพ

เซนติเมตร ที่ริมท้ังสองขางเวนระยะหาง ๐.๕ เซนติเมตร ทั้งสองขาง ทาบแถบทอง กวาง ๐.๗
เซนติเมตร เวน ระยะหาง ๐.๕ เซนติเมตร ทัง้ สองขาง ทาบแถบทอง กวาง ๑ เซนติเมตร บนผา
สักหลาดสีเขียว สวนท่ีเหลือทั้งสองขางมีตราสัญลักษณมหาวิทยาลัยทําดวยโลหะสีทอง สูง ๖
เซนติเมตร ติดบนสาํ รดรอบขอบดานหนาอกท้ังสองขา ง

มาตรา ๗ สปี ระจาํ คณะ มีดงั ตอ ไปนี้
(๑) คณะครุศาสตรอ ุตสาหกรรม สีทับทมิ แดง
(๒) คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร สีชมพู
(๓) คณะบรหิ ารธุรกจิ สีฟา
(๔) คณะวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี สเี หลอื ง
(๕) คณะวิศวกรรมศาสตร สีเลือดหมู
(๖) คณะศิลปศาสตร สแี สด
(๗) คณะอุตสาหกรรมสง่ิ ทอ สมี วง

มาตรา ๘ ใหมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพจัดทําครยุ วิทยฐานะ
เข็มวิทยฐานะและครยุ ประจําตําแหนง ตามพระราชกฤษฎีกานีข้ ึน้ ไวเปนตวั อยา ง

มาตรา ๙ ใหร ัฐมนตรวี า การกระทรวงศึกษาธกิ ารรักษาการตามพระราชกฤษฎกี าน้ี

ผรู บั สนองพระบรมราชโองการ

สมชาย วงศสวัสดิ์
(นายสมชาย วงศสวัสด)ิ์

นายกรฐั มนตรี

((๖๖(๒๔๔))) คค่มูมู่ อื อื นนกั กั ศศกึ ึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เเททคคโโนนโโลลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ

พระราชกฤษฎีกา
วาดวยปรญิ ญาในสาขาวิชา อักษรยอสาํ หรับสาขาวิชา
ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจําตําแหนง
ของมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ (ฉบบั ท่ี ๒)

พ.ศ.๒๕๕๕
---------------------

ภมู พิ ลอดลุ ยเดช ป.ร.
ใหไว ณ วนั ท่ี ๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๕

เปน ปที่ ๖๗ ในรชั กาลปจจุบัน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการ
โปรดเกลา ฯ ใหป ระกาศวา

โดยท่ีเปนการสมควรแกไขเพิ่มเติมพระราชกฤษฎีกาวาดวยปริญญาในสาขาวิชา
อักษรยอสําหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะและครุยประจําตําแหนงของ
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

อ า ศั ย อํ า น า จ ต า ม ค ว า ม ใ น ม า ต ร า ๑ ๘ ๗ ข อ ง รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ แ ห ง
ราชอาณาจกั รไทย และมาตรา ๕๕ วรรคสอง แหงพระราชบัญญตั ิมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราช
มงคล พ.ศ.๒๕๔๘ จงึ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหต ราพระราชกฤษฎกี าขนึ้ ไว ดังตอ ไปนี้

มาตรา ๑ พระราชกฤษฎีกาน้ีเรียกวา “พระราชกฤษฎีกาวา ดวยปริญญาในสาขาวิชา
อักษรยอสําหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจําตําแหนง ของ
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ.๒๕๕๕”

มาตรา ๒ พระราชกฤษฎีกาน้ีใหใชบังคับต้ังแตวันถัดจากวันประกาศใน ราชกิจจา
นเุ บกษาเปนตน ไป

มาตรา ๓ ใหยกเลิกความในมาตรา ๓ แหงพระราชกฤษฎีกาวาดวยปริญญาใน
สาขาวิชา อักษรยอสําหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจําตําแหนง
ของมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ พ.ศ.๒๕๕๑ และใหใชค วามตอไปนแ้ี ทน

“มาตรา ๓ ใหกําหนดปริญญาในสาขาวิชาและอักษรยอสําหรับสาขาวิชาของ
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ ดงั ตอ ไปนี้

คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๓ (๖(๓๕) )

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุ เทเทพพ

(๑) สาขาวชิ าการบัญชี มีปรญิ ญาสามชัน้ คอื
(ก) เอก เรียกวา “บัญชีดุษฎีบัณฑิต” ใชอักษรยอ “บช.ด.” และ “ปรัชญา

ดษุ ฎีบณั ฑิต ใชอ กั ษรยอ “ปร.ด.”
(ข) โท เรียกวา “บญั ชีมหาบัณฑิต” ใชอักษรยอ “บช.ม.”
(ค) ตรี เรียกวา “บญั ชีบัญฑิต” ใชอ กั ษรยอ “บช.บ.”

(๒) สาขาวชิ าครุศาสตรอ ุตสาหกรรม มปี รญิ ญาสามช้นั คือ
(ก) เอก เรียกวา “ครศุ าสตรอุตสาหกรรมดุษฎบี ัณฑิต” ใชอักษร

“ค.อ.ด.” และ “ปรัชญาดษุ ฎีบณั ฑิต” ใชอกั ษรยอ “ปร.ด.”
(ข) โท เรยี กวา “ครุศาสตรอตุ สาหกรรมมหาบัณฑติ ” ใชอักษรยอ

“ค.อ.ม.”
(ค) ตรี เรยี กวา “ครศุ าสตรอตุ สาหกรรมบณั ฑติ ” ใชอ ักษรยอ “ค.อ.บ.”

(๓) สาขาวิชาคหกรรมศาสตร มีปริญญาสามช้ัน คือ
(ก) เอก เรียกวา “คหกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต” ใชอักษรยอ “คศ.ด.” และ

“ปรชั ญาดุษฎีบัณฑติ ” ใชอักษร “ปร.ด.”
(ข) โท เรียกวา “คหกรรมศาสตรมหาบัณฑิต” ใชอ ักษรยอ “คศ.ม.”
(ค) ตรี เรียกวา “คหกรรมศาสตรบณั ฑิต” ใชอกั ษรยอ “คศ.บ.”

(๔) สาขาวิชาเทคโนโลยี มีปริญญาหนึ่งชั้น คือ ตรี เรียกวา “เทคโนโลยีบัณฑิต”
ใชอักษรยอ “ทล.บ.”
(๕) สาขาวชิ าบริหารธุรกิจ มปี รญิ ญาสามช้ัน คอื

(ก) เอก เรียกวา “บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต” ใชอักษรยอ “บธ.ด.” และ
“ปรัชญาดุษฎบี ัณฑิต” ใชอกั ษรยอ “ปร.ด.”

(ข) โท เรียกวา “บรหิ ารธรุ กจิ มหาบณั ฑิต” ใชอกั ษรยอ “บธ.ม.”
(ค) ตรี เรียกวา “บริหารธุรกจิ บณั ฑติ ” ใชอ ักษรยอ “บธ.บ.”
(๖) สาขาวทิ ยาศาสตร มปี รญิ ญาสามชั้น คอื
(ก) เอก เรียกวา “วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต” ใชอักษรยอ “วท.ด.” และ
“ปรชั ญาดุษฎีบณั ฑิต” ใชอ ักษรยอ “ปร.ด.”
(ข) โท เรียกวา “วิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต” ใชอกั ษรยอ “วท.ม.”
(ค) ตรี เรียกวา “วทิ ยาศาสตรบัณฑติ ” ใชอ กั ษรยอ “วท.บ.”

((๖๖(๒๖๖))) คคมู่มู่ อื อื นนกั กั ศศกึ ึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เเททคคโโนนโโลลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ

(๗) สาขาวิศวกรรมศาสตร มปี รญิ ญาสามช้นั คือ
(ก) เอก เรียกวา “วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต” ใชอักษรยอ “วศ.ด.” และ

“ปรัชญาดุษฎบี ัณฑิต” ใชอ กั ษรยอ “ปร.ด.”
(ข) โท เรียกวา “วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑติ ” ใชอ ักษรยอ “วศ.ม.”
(ค) ตรี เรยี กวา “วศิ วกรรมศาสตรบัณฑติ ” ใชอ ักษรยอ “วศ.บ.”

(๘) สาขาวิชาศิลปศาสตร มีปรญิ ญาสามชั้น คอื
(ก) เอก เรียกวา “ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต” ใชอักษรยอ “ศศ.ด.” และ

“ปรัชญาดษุ ฎีบัณฑติ ” ใชอกั ษรยอ “ปร.ด.”
(ข) โท เรียกวา “ศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต” ใชอักษรยอ “ศศ.ม.”
(ค) ตรี เรียกวา “ศลิ ปศาสตรบณั ฑติ ” ใชอ ักษรยอ “ศศ.บ.”

(๙) สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร มปี รญิ ญาสามชั้น คือ
(ก) เอก เรียกวา “ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต” ใชอักษรยอ “ศษ.ด.” และ

“ปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑิต” ใชอักษรยอ “ปร.ด.”
(ข) โท เรียกวา “ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ ” ใชอักษรยอ “ศษ.ม.”
(ค) ตรี เรยี กวา “ศึกษาศาสตรบณั ฑิต” ใชอักษรยอ “ศษ.บ.”

(๑๐) สาขาวชิ าอุตสาหกรรมศาสตร มีปรญิ ญาสามชน้ั คอื
(ก) เอก เรียกวา “อตุ สาหกรรมศาสตรดษุ ฎบี ัณฑติ ” ใชอ กั ษรยอ “อส.ด.”

และ “ปรชั ญาดษุ ฎีบัณฑิต” ใชอ ักษรยอ “ปร.ด.”
(ข) โท เรียกวา “อตุ สาหกรรมศาสตรมหาบัณฑิต” ใชอ กั ษรยอ “อส.ม.”
(ค) ตรี เรยี กวา “อตุ สาหกรรมศาสตรบณั ฑิต” ใชอ ักษรยอ “อส.บ.”
ทั้งน้ี หากมีสาขาหรือวิชาเอกใหระบุชื่อสาขาหรือวิชาเอกนั้นไวในวงเล็บ

ตอทา ยปริญญาดว ย”

ผรู ับสนองพระบรมราชโองการ
ย่ิงลกั ษณ ชนิ วตั ร

(นางสาวยิง่ ลักษณ ชินวตั ร)
นายกรฐั มนตรี

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๓ (๖(๓๗) )

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุ เทเทพพ

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชกฤษฎีกาฉบับน้ี คือ เนื่องจากมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพไดเปดสอนสาขาวิชาการบัญชีและสาขาวิชาศึกษาศาสตรเ พ่ิมข้ึน
สมควรแกไขเพิ่มเติมการกําหนดปริญญาในสาขาวิชาและอักษรยอสําหรับสาขาวิชาของ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เพ่ือกําหนดปริญญาในสาขาวิชาและ อักษรยอ
สาํ หรบั สาขาวชิ าของสาขาวชิ าดงั กลา ว จงึ จําเปนตอ งตราพระราชกฤษฎีกานี้

((๖๖(๒๘๘))) คคมู่มู่ อื อื นนกั กั ศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เเททคคโโนนโโลลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ

ขอ บังคับมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
วา ดว ย กจิ กรรมนักศกึ ษา พ.ศ. 2563
-----------------------------------------

โดยที่เปนการสมควรกําหนดขอบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ วา
ดว ยกจิ กรรมนักศึกษา พ.ศ. 2563

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 17 (2) แหงพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลกรุงเทพ พ.ศ. 2548

หมวดที่ 1
บทท่ัวไป
ขอ 1 ขอบังคับนเ้ี รียกวา “ขอบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ วา ดวย
กจิ กรรมนักศกึ ษา พ.ศ. 2563”
ขอ 2 ใหใชข อบังคับนต้ี ้ังแตวนั ถัดจากวันประกาศเปนตนไป
ขอ 3 ใหยกเลิกขอบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ วาดวยกิจกรรม
นักศึกษา พ.ศ. 2554 บรรดาระเบียบ ขอบังคับ คําส่ัง ประกาศ หรือมติอ่ืน ๆ ในสวนท่ีมี
บัญญตั ไิ วแลว ในขอบงั คับน้ี หรือซ่ึงขัดแยง กับขอ บังคบั น้ี ใหใ ชข อ บังคบั นแ้ี ทน
ขอ 4 ใหอธิการบดีรักษาการใหเปนไปตามขอบังคับนี้ ในกรณีที่มีปญหาเก่ียวกับการ
ปฏิบัติตามขอบังคับนี้ หรือการใด ๆ ที่มิไดกําหนดไวตามขอบังคับนี้ ใหอธิการบดีมีอํานาจ
วนิ จิ ฉัย
ขอ 5 ในขอบงั คบั นี้
“มหาวิทยาลยั ” หมายความวา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
“อธิการบดี” หมายความวา อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
“รองอธิการบดี” หมายความวา รองอธิการบดีท่ีไดรับมอบหมายใหดูแลงานกิจการ
นกั ศึกษา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
“ผูช วยอธิการบดี” หมายความวา ผูชวยอธิการบดีท่ีไดรับมอบหมายใหดูแลงานกจิ การ
นกั ศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ
“คณะ” หมายความวา คณะในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ที่เปดสอน
ระดับปรญิ ญาตรี
“วิทยาลัย” หมายความวา วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรุงเทพ
“คณบดี” หมายความวา คณบดีคณะตาง ๆ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรงุ เทพ

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๓ (๖(๓๙) )

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุ เทเทพพ

“นกั ศึกษา” หมายความวา นกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพท่ีศึกษา
ในระดับปรญิ ญาตรี

“สภานักศึกษา” หมายความวา สภานักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรุงเทพ

“องคการนักศึกษา” หมายความวา องคการนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลกรุงเทพ

“สโมสรนักศึกษา” หมายความวา สโมสรนักศึกษาของคณะ / วิทยาลัย มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

“ชมรม” หมายความวา ชมรมกิจกรรมนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรงุ เทพที่สงั กัดองคการนักศึกษา / สโมสรนกั ศกึ ษา

หมวดท่ี 2
การจัดสว นการบรหิ ารกจิ กรรมนักศึกษา
ขอ 6 ใหการบรหิ ารกจิ กรรมของนกั ศกึ ษาในระดบั มหาวิทยาลยั แบง เปน 2 สว น คือ
(1) สภานักศึกษา
(2) องคก ารนกั ศกึ ษา
สภานักศึกษาและองคการนักศึกษา ตัง้ อยบู รเิ วณมหาวิทยาลยั
ส ภ านั ก ศึ ก ษ าม ห าวิ ท ย าลั ย เท ค โน โล ยี ราช ม งค ล ก รุงเท พ ใช ช่ื อ ย อ ว า
“สภน.มทร.กรุงเทพ” ชื่อภาษาอังกฤษวา “Rajamangala University of Technology
Krungthep Student Council” ชื่อยอ “RMUTK.SC”
องคการนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ใชชื่อยอวา
“อนศ.มทร. กรุงเทพ”ชื่อภาษาอังกฤษวา “Rajamangala University of Technology
Krungthep Student Union” ชื่อยอ “RMUTK.SU”
ขอ 7 สโมสรนักศึกษาระดับคณะใชชื่อยอวา “สน...... (ช่ือคณะ).....มทร.กรุงเทพ”
ช่ือภาษาอังกฤษวา “Faculty of …………Student Union” ชื่อยอ “……...SU” โดยใหมี
การบริหารกิจกรรมของนักศึกษาระดับคณะและจะไมจัดตั้งรูปแบบการบริหารกิจกรรม
นักศกึ ษาที่ซ้ําซอนกบั รูปแบบการบรหิ ารองคก ารนกั ศึกษาท่ไี ดร ะบุไวใ นขอ บังคบั นี้
ขอ 8 เคร่ืองหมายหรือตราสัญลักษณของสภานักศึกษา องคการนักศึกษาและสโมสร
นักศึกษาคณะ
(1) เครื่องหมายหรือตราสัญลักษณของสภานักศึกษา ใหใชตรามหาวิทยาลัย
ดานลางเขียนตวั อกั ษร “สภานักศึกษา”

((๗๗(๒๐)) คค่มูมู่ อื อื นนกั กั ศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เเททคคโโนนโโลลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ

(2) เคร่ืองหมายหรือตราสัญลักษณขององคการนักศึกษา ใหใชตรามหาวิทยาลัย
ดานลางเขียนตัวอกั ษร “องคการนกั ศกึ ษา”

(3) เคร่ืองหมายหรือตราสัญลักษณของสโมส รนักศึกษาคณ ะ ใหใชตรา
มหาวิทยาลัย ดานลางเขียนตัวอักษร “สโมสรนักศึกษาคณะ / วิทยาลัย........(ใสช่ือคณะ /
วทิ ยาลัย)........ใหชนิดตัวอักษรเปน ไปตามทม่ี หาวทิ ยาลัยกําหนด”

หมวดที่ 3
วตั ถุประสงค
ขอ 9 วตั ถปุ ระสงคในการดาํ เนนิ กจิ กรรมของนักศกึ ษา มีดงั ตอ ไปนี้
(1) เพ่ือใหนักศึกษาไดฝกฝน การใชสิทธิเสรีภาพ และการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตย โดยฝกและปลูกฝงนิสัยใหมีความรับผิดชอบตอสวนรวม มีความเคารพสิทธิ
และหนาท่ีของผูอนื่
(2) เพ่ือสงเสริมการพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาใหพรอมสมบูรณแบบตาม
วัตถปุ ระสงคของมหาวิทยาลัย
(3) เพือ่ เผยแพรช ื่อเสยี งและเกียรตคิ ณุ ของมหาวิทยาลยั
(4) เพ่ือสงเสริมใหนักศึกษามีความคิดริเริ่มสรางสรรค มีวิสัยทัศนกวางไกล
มคี วามรบั ผดิ ชอบตอตนเอง และสังคมสวนรวม
(5) เพื่อปลูกฝงและรักษาไวซ่ึงวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีและเอกลักษณ
อันดงี ามของชาติ
(6) เพอื่ สงเสรมิ ความสามัคคีในหมูน ักศกึ ษา และปลกู ฝง คณุ ธรรม จริยธรรมใหเกิด
แกน ักศึกษา
(7) เพอ่ื สง เสริมกจิ กรรมนอกหลักสูตรท้ังดานประสบการณ ความคิดและวชิ าชพี
(8) เพ่ือสงเสริมใหนักศึกษาตระหนักในภาระหนาที่ที่ตนจะตองปฏิบัติในการ
บาํ เพญ็ ประโยชนแ ละการอนรุ กั ษส งิ่ แวดลอ ม
(9) เพื่อสง เสริมดา นพลานามยั และการพฒั นาบคุ ลิกภาพ

หมวดท่ี 4
สิทธแิ ละหนาทข่ี องนักศกึ ษา
ขอ 10 นักศกึ ษามีสิทธิและหนาทด่ี งั ตอไปนี้
(1) มีสิทธิเสมอภาค ท่ีจะไดรับการศึกษา การบริการ และการเขารวมกิจกรรม
ตา ง ๆ ท่มี หาวทิ ยาลยั จัดใหนกั ศึกษา โดยเทา เทยี มกัน

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๓ (๗(๓๑) ))

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุ เทเทพพ

(2) มีสิทธิแสดงความคิดเห็นและวิจารณภายในขอบเขตของกฎหมาย และ
ขอบังคับ ตลอดจนระเบียบแบบแผนของมหาวิทยาลยั

(3) มีสิทธิในการดําเนินกิจกรรมตามวัตถุประสงคของงานกิจการนักศึกษา และ
ตองไมขดั ตอกฎหมายและขอบังคับ ระเบยี บใด ๆ ของมหาวทิ ยาลัย

(4) มีหนาทีส่ ง เสรมิ รกั ษาชอื่ เสยี งและเกยี รตคิ ุณของมหาวทิ ยาลยั
(5) มีหนาท่ใี หค วามรวมมอื ในการดาํ เนินงานของมหาวทิ ยาลัย
(6) ธาํ รงไวซ ง่ึ ความสามคั คภี ายในมหาวิทยาลัย
(7) สง เสรมิ และสนบั สนุนกิจกรรมของนกั ศกึ ษาใหเ ปนไปตามวตั ถุประสงค
(8) ใหนักศึกษาทุกคนที่กําลังศึกษาในระดับปริญญาตรีเปนสมาชิก และตองชําระ
เงินคาบาํ รงุ กิจกรรมนกั ศึกษา ตามทีม่ หาวทิ ยาลยั กําหนด
(9) สมาชิกภาพของสมาชกิ จะสนิ้ สุดลงเมอ่ื พนสภาพการเปน นักศึกษา

หมวดที่ 5
สภานกั ศกึ ษา
ขอ 11 สภานกั ศึกษาประกอบดวยสมาชิกสภานักศกึ ษา
ท่ีมาจากตัวแทนคณะ/วิทยาลัย สภาละ 1 คน โดยมาจากการเลือกต้ัง
ทางตรงในแตละสาขา
ขอ 12 สภานักศกึ ษา มีหนาที่ดงั ตอ ไปน้ี
(1) เปนตัวแทนรักษาสิทธิ และผลประโยชนของนักศึกษาในเร่ืองท่ีเก่ียวกับ
กจิ กรรมนกั ศึกษา
(2) ควบคุมตรวจสอบการบริหารงาน และดําเนินงานขององคการนักศึกษาให
เปน ไปตามวัตถปุ ระสงคนโยบายและงบประมาณที่ไดรบั
(3) เปนศูนยกลางรับฟงความคิดเห็น และเรื่องราวรองทุกขจากนักศึกษาเพ่ือ
พิจารณาเสนอแนะหาทางแกไ ข
(4) รวมกับองคการนักศึกษาในการเสนอความคิดเห็นตอมหาวิทยาลัยในส่ิงท่ีเปน
ประโยชนตอนกั ศกึ ษา
(5) กําหนดระเบียบเกี่ยวกับการดําเนินงานภายในของสภานักศึกษาตามที่
เหน็ สมควรการ กระทาํ ดงั กลาวตอ งเปน ลายลักษณอักษร และมีเสียงรับรอง ไมน อยกวา 2 ใน
3 ขององคป ระชุม ของสภานักศึกษา
(6) พิจารณาใหความเหน็ ชอบโครงการ และงบประมาณขององคการนักศึกษาและ
สภานกั ศึกษาเพอื่ เสนอขออนมุ ตั ิตอมหาวิทยาลัย
(7) พจิ ารณาไกลเ กลยี่ ขอขัดแยงในการดําเนินงานกจิ กรรมของนักศึกษา

((๗๗(๒๒)) คค่มูมู่ อื อื นนกั กั ศศกึ ึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เเททคคโโนนโโลลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ

(8) เสนอแนะขอ คดิ เห็นท่ีเปนประโยชน ตอการดาํ เนินงานขององคการนกั ศึกษา
ขอ 13 สมาชิกสภานักศึกษา มหี นา ทีด่ ังนี้

(1) ปฏิบัตติ ามระเบยี บของสภานักศึกษาท่รี ะบุไวในขอบงั คับ
(2) รับฟงความคิดเห็น และขอวิจารณของนักศึกษาอันจะเปนประโยชนตอ
สวนรวม เพื่อเสนอตอสภานักศกึ ษา
ขอ 14 ใหสมาชิกสภานักศึกษาดําเนินการคัดเลือกคณะกรรมการบริหารในการ
ประชมุ ครัง้ แรกดังน้ี
(1) กรรมการบริหาร

1) ประธานสภานกั ศึกษา
2) รองประธานสภานกั ศกึ ษา คนท่ี 1
3) รองประธานสภานกั ศึกษา คนที่ 2
4) เลขานุการสภานักศกึ ษา
5) เหรญั ญิก
6) ผูตรวจสอบการเงนิ
7) ประชาสมั พันธส ภานักศกึ ษา
8) กรรมการสภานักศึกษาตําแหนง อ่นื ใด (ตามท่มี หาวทิ ยาลัยกาํ หนด)
(2) กรรมาธิการฝายตา ง ๆ ไมน อยกวา ฝา ยละ 3 คน
1) กรรมาธกิ ารฝา ยพจิ ารณาโครงการและงบประมาณ
2) กรรมาธิการฝา ยติดตามผลงานกจิ กรรมนกั ศึกษา
3) กรรมาธกิ ารรับฟงความคิดเห็นและพทิ ักษส ทิ ธขิ องนักศึกษา
ขอ 15 ประธานสภานกั ศึกษา มหี นาท่ีดงั ตอไปนี้
(1) เปนประธานในทปี่ ระชมุ สภานกั ศกึ ษา
(2) ควบคมุ การดาํ เนนิ กิจกรรมของสภานกั ศึกษา
(3) รายงานใหส ภานักศึกษาทราบในเร่อื งตา ง ๆ ท่ีไดรับมา
(4) เปน ผูลงนามในนามของสภานกั ศกึ ษา
(5) มอบหมายใหสมาชิกสภานักศกึ ษาปฏบิ ัตงิ านเฉพาะกจิ โดยความเห็นชอบของ
สภานักศึกษา
ขอ 16 รองประธานสภานักศกึ ษา มหี นาที่ดังตอไปนี้
(1) เปนผูชวยประธานสภานักศึกษา ในกิจการท่ีไดรับมอบหมายจากประธาน
สภานักศกึ ษา
(2) เปนผปู ฏิบัติหนาท่แี ทนประธานสภานักศึกษา ในกรณีที่ประธานสภานักศึกษา
ไมสามารถปฏบิ ตั ิหนาทไ่ี ด

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๓ (๗(๓๓) ))

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุ เทเทพพ

ขอ 17 เลขานกุ ารสภานกั ศกึ ษา มหี นา ท่ีดังตอ ไปนี้
(1) ออกหนงั สือประชุมสภานักศึกษา
(2) จดั ทํารายงานการประชมุ
(3) เกบ็ รกั ษาเอกสารตา ง ๆ ของสภานักศึกษา
(4) ทําหนา ท่ีธุรการอนื่ ๆ ของสภานกั ศึกษา
(5) ประสานงานระหวางสภานักศึกษากับนักศึกษาและหนวยงานอื่น ๆ ที่

เกีย่ วของ
(6) ปฏิบตั ิหนาที่อนื่ ๆ ตามท่ปี ระธานสภานกั ศึกษามอบหมาย

ขอ 18 ผูตรวจสอบการเงินมีหนาที่ควบคุมการเงิน และตรวจสอบบัญชีการเงินของ
สภานักศึกษา องคการนักศึกษา และสโมสรนักศึกษา ใหเปนไปตามระเบียบ ขอบังคับ และ
ควบคุมงบประมาณท่ีไดร ับความเห็นชอบจากสภานักศึกษา หรือไดร ับอนุมตั ิจากมหาวทิ ยาลัย
แลว

ขอ 19 ประชาสัมพันธสภานักศกึ ษา มีหนาทดี่ ังตอไปน้ี
(1) แถลงขาวสารของสภานักศึกษา ตามทีเ่ หน็ สมควรและเหมาะสม
(๒) ปฏิบตั ิหนา ท่อี ื่น ๆ ตามทีป่ ระธานสภานกั ศกึ ษามอบหมาย

ขอ 20 กรรมการฝายพจิ ารณาโครงงานและงบประมาณมหี นาที่ดงั ตอ ไปนี้
(1) พิจารณาโครงงานและงบประมาณทไ่ี ดร บั มอบหมายจากสภานักศึกษา
(2) ชแ้ี จงผลการพจิ ารณาโครงงานและงบประมาณตอ สภานักศึกษา

ขอ 21 กรรมาธิการฝายติดตามผลงาน กิจกรรมนักศึกษามีหนาที่ดังตอไปนี้
(1) ติดตามผลงานและกิจกรรมนักศึกษาท่ีไดรับอนุมัติแลว ใหเปนไปตาม

วัตถุประสงค
(2) ตรวจสอบเอกสารท่เี กย่ี วของกบั กิจกรรมนักศึกษาท่ีไดรับอนมุ ัติแลว

ขอ 22 กรรมาธิการฝายรับฟงความคิดเห็นและพิทักษสิทธิของนักศึกษา มีหนาที่
ดังตอไปน้ี

(1) กรรมการสภานักศึกษาเปนผูดําเนินงานจัดทําโครงงานและงบประมาณของ
สภานักศึกษา

(2) สํารวจความคิดเห็นของนักศึกษาที่เก่ียวของกับกิจกรรมของนักศึกษาของ
มหาวิทยาลัย

ขอ 23 การดาํ เนนิ งานของสภานักศึกษา
(1) กรรมการบริหารสภานักศึกษาเปนผูดําเนินการจดั ทําโครงการและงบประมาณ

ของสภานกั ศกึ ษา
(2) กรรมาธกิ ารของสภานกั ศึกษา

((๗๗(๒๔)) คค่มูมู่ อื อื นนกั กั ศศกึ ึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เเททคคโโนนโโลลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ

1) ปฏิบัติหนาท่ีตามขอ 19, 20, 21 และอาจต้ังคณะกรรมาธิการเฉพาะกิจ
ไดตามความจําเปน เพอ่ื ปฏิบตั ิหนา ท่ี ที่สภานักศึกษามอบหมาย

2) ใหก รรมาธิการแตล ะฝา ยเลือกต้งั ประธานจากกรรมาธิการในฝา ย
3) ประธานกรรมาธิการอาจเชิญบุคคลใด มาแถลงขอเท็จจรงิ หรือแสดงความ
คิดเห็นในเรือ่ งที่กรรมาธิการกําลงั พิจารณาอยูได ตามความเหมาะสม ในระยะเวลาท่กี าํ หนด
4) ใหกรรมาธิการดําเนินงานตามท่ีสภานักศึกษามอบหมายเพ่ือพิจารณา
ดําเนินการเสร็จแลว ใหรายงานตอสภานักศึกษา
(3) การเปดอภิปรายทว่ั ไป
1) ใหสภานักศึกษาดําเนินการเปดอภิปรายทั่วไป ในเร่ืองเกี่ยวกับกิจการของ
องคการนักศึกษา/สโมสรนักศกึ ษา ไดต ามหลักเกณฑตอ ไปน้ี

ก) เมื่อสมาชิกสภานักศึกษา ไมนอยกวา 2 ใน 3 ของจํานวนสมาชิกสภา
นกั ศกึ ษาทั้งหมด เขาช่ือกันเพือ่ ขอเปด อภิปรายท่วั ไป

ข) เมอ่ื นักศึกษาจาํ นวนไมนอยกวา 1 ใน 10 ของนักศึกษาท้งั มหาวิทยาลัย
รวมตวั กันเขา ชอ่ื เสนอตอสภานกั ศกึ ษา

ขอ 24 ผูมีสิทธิสมัครเพื่อรับการคัดเลือกเปนสมาชิกสภานักศึกษา จะตองเปน
นักศกึ ษาทกี่ ําลงั ศกึ ษาอยูในมหาวทิ ยาลยั

ขอ 25 ผไู ดร บั การคดั เลือกเปนสมาชกิ สภานกั ศกึ ษาตอ งมคี ุณสมบัติดงั นี้
(1) เปนนกั ศึกษาทีก่ ําลงั ศกึ ษาอยใู นมหาวิทยาลยั
(2) ไมเปนกรรมการบริหารองคการนักศึกษา หรือ กรรมการบริหารสโมสร

นักศกึ ษา หรอื กรรมการบริหารชมรม
(3) ไมอยูระหวางการถูกลงโทษทางวินัยตามขอบังคับ และระเบียบตาง ๆ ของ

มหาวทิ ยาลยั ถาเคยถูกลงโทษทางวนิ ัยตองพน โทษมาแลว ไมนอยกวา 2 ภาคการศึกษา ในวัน
ปดรบั สมัครเลอื กตงั้ และไมอ ยูในระหวา งพักการศกึ ษาในปการศึกษานน้ั

(4) มผี ลการศึกษาเฉลยี่ ไมตํ่ากวา 2.00 ในวันทีส่ มัคร
(5) ไมเคยมปี ระวตั ิความประพฤตเิ สียหาย
ขอ 26 ใหทําการเลือกต้งั สมาชกิ สภานักศึกษาใหเสรจ็ ส้ิน กอนปดภาคการศึกษาภาค
สอง
ขอ 27 อายุของสภานักศึกษาสิ้นสุดลงในวันที่อธิการบดีประกาศแตงต้ังสมาชิกสภา
นกั ศกึ ษาชดุ ใหม
ขอ 28 สมาชกิ ภาพของสมาชิกสภานกั ศกึ ษาสิน้ สุดลงเม่อื
(1) ขาดคณุ สมบตั ิของสมาชกิ สภานกั ศึกษา ตามขอ 24
(2) อายุของสภานกั ศกึ ษาสน้ิ สดุ ลงตามขอ 26

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๓ (๗๗(๓๕๕) )

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุ เทเทพพ

(3) ตาย
(4) ลาออก
(5) พนสภาพการเปนนกั ศึกษามหาวทิ ยาลยั
(6) ถูกลงโทษทางวนิ ัยตามขอบงั คับหรอื ระเบยี บของมหาวิทยาลยั
(7) อธกิ ารบดีมคี ําสัง่ ใหพ นจากตาํ แหนงโดยระบุความผิดไวอยางชัดแจง
ขอ 29 ในกรณีที่สมาชิกภาพของสมาชิกสภานักศึกษาสิ้นสุดลง ในขณะท่ียังเหลือ
ระยะเวลาเกิน 60 วัน ใหทําการเลือกตั้งซอมใหเสรจ็ สิน้ ภายใน 20 วัน หลังจากสมาชิกภาพ
ส้นิ สุดลง
ขอ 30 อธิการบดีเปนผูลงนามแตงต้ังและถอดถอนสมาชิกสภานักศึกษาท่ีดํารง
ตําแหนงตา ง ๆ
ขอ 31 ใหมีการประชุมสมัยสามัญของสภานักศึกษาอยางนอยภาคการศึกษาปกติละ
1 ครัง้
ขอ 32 อธิการบดีหรือรองอธิการบดีท่ีไดรับมอบหมายเปนผูเปดปดการประชุมสมัย
สามญั ของสภานักศกึ ษา
ขอ 33 การกําหนดระยะเวลาการประชุมสามัญ สมัยหน่ึงๆ ใหสภานักศึกษาเปนผู
กําหนด
ขอ 34 การประชุมสมัยวิสามัญของสภานักศึกษาใหมไี ด ดงั ตอ ไปนี้
(1) อธกิ ารบดี / รองอธกิ ารบดี เรียกประชมุ
(2) ประธานสภาเรยี กประชมุ
(3) สมาชิกสภานักศึกษาไมนอยกวาหนึ่งในสามของจํานวนสมาชิกท้ังหมดเขาชื่อ
รอ งขอตอประธานสภาใหเ รียกประชุม
(4) นายกองคการนักศึกษารองขอตอประธานสภาใหเรยี กประชุมตามมติของคณะ
กรรมการบริหาร
(5) สโมสรนักศึกษาคณะใดคณะหน่ึงรองขอตอประธานสภาใหเรียกประชุมแต
ทง้ั นตี้ องไดร บั การรับรองจากสมาชิกสภานักศกึ ษาไมน อยกวา 5 คน
(6) นักศึกษาจํานวนไมนอยกวา 300 คน เขาชื่อรองขอตอประธานสภาใหเรียก
ประชมุ
ขอ 35 ในการประชุมสมัยสามัญของสภานักศกึ ษาสมัยท่ีหน่ึงใหสมาชิกสภานักศึกษา
ที่เขาประชุมเลือกผูทําหนาท่ีประธานช่ัวคราวคนหน่ึง จากคะแนนเสียงขางมาก หากคะแนน
เสียงเทากันใหม กี ารเลือกใหมจากผูทไ่ี ดร บั คะแนนเสียงเทากันนั้น
ขอ 36 สมาชกิ สภานกั ศึกษาจะดํารงตําแหนง ในสภานักศึกษา ตามขอ 13 ไดเพียง
ตาํ แหนงเดยี ว

((๗๗(๒๖)) คค่มูมู่ อื อื นนกั กั ศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เเททคคโโนนโโลลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ

ขอ 37 การประชุมสภานักศึกษาตองมีสมาชิกสภานักศึกษาเขาประชุมไมนอยกวาก่ึง
หน่งึ ของจาํ นวนสมาชิกสภานักศึกษาท้ังหมดจึงจะเปนองคป ระชุม

ในกรณีทส่ี มาชิกสภานักศกึ ษาเขารว มประชุมไมค รบองคประชุมใหเรียกประชุมอีกครั้ง
ในการประชุมคร้ังหลังนี้ ถามีผูประชุมไมต่ํากวาหนึ่งในส่ีของจํานวนสมาชิกสภานักศึกษา
ท้ังหมดใหถือวา ครบองคประชุม

ในกรณที ีส่ มาชิกสภานกั ศกึ ษาขาดการประชุมสามครั้ง โดยไมแจง ใหป ระธานสภาทราบ
ลว งหนาเปนลายลักษณอักษร (ตามแบบฟอรมที่กําหนด) ใหสภานักศึกษาเสนอช่ือบุคคลนั้น
ตอ อธกิ ารบดี เพื่อพิจารณาถอดถอนชอ่ื ออกจากการเปน สมาชิกสภานักศึกษา

ขอ 38 การนัดประชมุ ใหแจงวัน เวลาสถานที่ และระเบยี บวาระการประชมุ ใหสมาชิก
ทราบลวงหนา ไมน อยกวา 7 วนั สาํ หรับการประชุมสมัยสามญั และไมนอ ยกวา 3 วัน สาํ หรับ
การประชุมสมัยวสิ ามัญ

ขอ 39 การลงมติของสภานักศึกษาใหถือเอาเสียงขางมากของสมาชิกสภานักศึกษาที่
เขา ประชุม ในกรณีทค่ี ะแนนสียงเทากัน ใหประธานทปี่ ระชุมตัดสินชี้ขาด

ขอ 40 ถาสภานักศึกษามีมติแยงกับมติคณะกรรมการบริหารองคการนักศึกษา และ
สภานกั ศึกษาตองการยืนยันมตินั้น ใหเรียกประชุมสภานักศึกษา เพ่ือพิจารณายืนยันมติเดิม
อีกครั้งหนึ่งภายใน ๗ วัน หลังจากการประชุมครั้งกอน การลงมติในการลงประชุมคร้งั ท่ีสอง
น้ีตองไดค ะแนนเสยี งไมนอยกวา สองในสามของจาํ นวนสมาชกิ สภานกั ศึกษาทั้งหมด

ขอ 41 การใชจายงบประมาณของสภานักศึกษา ใหประธานสภากับเลขานุการสภา
หรือบุคคลท่ีประธานมอบหมายเปนผูเบิกจายและแจงใหสภานักศึกษาทราบ และใหทําบัญชี
รับ-จาย ตลอดสมัยการประชุมเสนอสภานักศึกษา ในการประชุมสามัญสมัยที่ 2 เปนวาระ
แรก

หมวดที่ 6
องคการนกั ศึกษา / สโมสรนักศึกษา
ขอ 42 การดําเนินงานขององคการนักศึกษาหรือสโมสร ตองไมขัดตอกฎหมายและ
ระเบียบใด ๆ ของทางราชการ
ขอ 43 ใหนกั ศึกษาของมหาวิทยาลยั ทกี่ ําลังศกึ ษาอยูทั้งหมดเปนสมาชิก และตองเสีย
คา บํารงุ องคก ารนักศกึ ษา/สโมสรนกั ศกึ ษา (คากิจกรรมนักศกึ ษา)
ขอ 44 สมาชิกมีสทิ ธเิ ขารวมกจิ กรรมตา ง ๆ ซ่ึงองคก ารหรอื สโมสร จดั ใหมขี ้ึน และใช
ประโยชนของอาคารสถานที่ และบริการตาง ๆ ซ่ึงองคการหรือสโมสรอํานวยให ทั้งน้ีภายใต
ขอบังคบั ของระเบยี บน้ี

ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๓ (๗(๓๗๗) ))

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุ เทเทพพ

ขอ 45 สมาชิกมีสิทธิจะเสนอขอ คิดเหน็ อันเปน ประโยชนตอ การดําเนินงานและความ
เจรญิ กาวหนาขององคก ารหรอื สโมสร

ขอ 46 สมาชิกภาพของสมาชกิ จะสน้ิ สุดลงเม่อื พนสภาพการเปน นกั ศึกษา
ขอ 47 ใหองคการหรือสโมสรดําเนินงานโดยมีคณะกรรมการบริหาร เจาหนาท่ี
องคก ารหรอื สโมสรและประธานกิจกรรมตาง ๆ
ขอ 48 ใหมคี ณะกรรมการบริหารดงั น้ี

(1) องคการนักศึกษาประกอบดวย นายกองคการ อุปนายกองคการคนที่ 1
อุปนายกองคการคนท่ี 2 เหรัญญิก เลขานุการ ประธานกิจกรรม และนายกสโมสรนักศึกษา
จากทุกคณะ

(2) สโมสรนักศึกษาในคณะ ประกอบดวย นายกสโมสร อุปนายกสโมสรคนท่ี 1
อุปนายกสโมสรคนที่ 2 เหรัญญิก เลขานุการ ประธานกิจกรรมและผูแทนนักศึกษา จาก
สาขาวิชาตา ง ๆ

ขอ 49 การแตงตั้งกรรมการดําเนินการเลือกตั้ง การแตงตั้งหรือใหพนจากหนาที่
อาจารยท่ปี รึกษากรรมการบรหิ าร เจาหนาที่องคการหรอื สโมสร และคณะอนุกรรมการตาง ๆ
ในคณะกรรมการบริหารการจัดต้ังหนวยงานองคการหรือสโมสร การแตงต้ังผูตรวจสอบบัญชี
การเงินและการพัสดขุ องสโมสร ใหผดู ํารงตําแหนงดงั ตอ ไปนเี้ ปนผูมอี ํานาจพิจารณาอนุมตั ิ

(1) องคการนกั ศึกษา เปนอํานาจของอธกิ ารบดี
(2) สโมสรนักศกึ ษาของคณะ/วทิ ยาลัย เปน อาํ นาจของคณบดี/ผอู าํ นวยการ
ขอ 50 ใหค ณะกรรมการบริหารมหี นา ท่ีดงั นี้
(1) พิจารณาและวางแผนการดําเนินงานขององคการหรือสโมสรใหเปนไปตาม
วัตถปุ ระสงคท ่รี ะบไุ วในขอ 9 แหงขอ บงั คับน้ี
(2) รบั ผิดชอบรวมกันในการบรหิ ารกจิ กรรมขององคก ารหรอื สโมสร
(3) พิจารณาจัดสรรและรับผิดชอบการใชจายเงินงบประมาณขององคการหรือ
สโมสรใหเกิดประโยชนแกนกั ศกึ ษาโดยสว นรวม
(4) ควบคมุ การใชจ า ยเงนิ ใหถูกตองตามระเบยี บและประหยัด
(5) วางระเบียบขอบังคับ ขอปฏิบัติและขอแนะนําเก่ียวกับการดําเนินงานภายใน
องคการหรือสโมสรท่ีไมข ัดแยงตอขอบังคบั น้ี
(6 ) เส น อ แ ต งตั้ งห รือ ถอ ด ถ อ น เจาห น าท่ี อ งค ก าร ห รือ ส โม ส ร แ ล ะ
คณะอนุกรรมการตาง ๆ ในคณะกรรมการบริหารตอผูมีอํานาจตามขอ 49 เพ่ือพิจารณา
อนมุ ัติ
(7) พิจารณาขอจัดต้ังหนวยงานในองคการหรือสโมสร กิจกรรมชมรมตาง ๆ เพ่ือ
เสนอผมู อี าํ นาจตามขอ 48 พจิ ารณาอนุมัติ

((๗๗(๒๘)) คคมู่มู่ อื อื นนกั กั ศศกึ ึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เเททคคโโนนโโลลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ

ขอ 51 นายกองคก ารหรือสโมสร มหี นา ทด่ี งั นี้
(1) เปน ผแู ทนขององคการหรอื สโมสร
(2) เปนประธานของท่ปี ระชมุ
(3) ดูแลดําเนินงานขององคการหรือสโมสรใหเปนไปตามมติของกรรมการบริหาร

ตามขอ 49.
ขอ 52 อปุ นายกองคการ หรอื อุปนายกสโมสร มีหนาท่ดี ังน้ี
(1) ทําหนาที่แทนนายกองคการหรือนายกสโมสร ในกรณีท่ีนายกองคการหรือ

นายกสโมสรไมอยูหรือไมสามารถปฏิบัตหิ นา ท่ไี ด
(2) ปฏิบัติหนาท่ีตามที่นายกองคการหรือนายกสโมสร หรือคณะกรรมการบริหาร

มอบหมาย
ขอ 53 เหรัญญิก มหี นาทดี่ งั นี้
(1) เปน ประธานคณะอนกุ รรมการการเงินและบัญชีของคระกรรมการบริหาร
(2) เสนองบประมาณประจําปต อ คณะกรรมการบรหิ ารเพื่อพจิ ารณา
(3) ควบคมุ และรับผิดชอบการเงินใหเ ปนไปตามระเบยี บนใ้ี นสว นท่ีวาดวยการเงนิ
(4) ควบคุมการเบิกและใชจายเงินขององคการหรือสโมสรใหเปนไปตาม

งบประมาณ
(5) เสนองบรายรับรายจายประจําเดือน งบรายรับรายจายประจําปและงบดุลตอ

คณะกรรมการบรหิ าร
ขอ 54 เลขานุการ มีหนาท่ีจัดเตรียมการประชุม ของคณะกรรมการบริหารและทํา

หนาท่หี วั หนาแผนกเลขานกุ ารโดยตําแหนง
ขอ 55 ประธานกิจกรรม มีหนาทด่ี ังน้ี
(1) เปนประธานกิจกรรมตามที่ไดรบั แตงตง้ั
(2) เปนผูประสานการดําเนินงานระหวางฝายกิจกรรมกับหนวยงานอ่ืนของ

องคการหรอื สโมสร
(3) เปน ผปู ระสานการดําเนนิ งานระหวางฝา ยกิจกรรมกับชมรมตา ง ๆ
(4) ตดิ ตามผลการดาํ เนินงานของฝา ยกจิ กรรมและชมรม
(5) ทาํ หนา ที่อน่ื ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการบริหารมอบหมาย

ขอ 56 ผูแทนนกั ศกึ ษา มีหนา ที่ดงั น้ี
(1) เปนผูแทนของนกั ศกึ ษาแตล ะสาขาวชิ า, หรอื ช้นั ปหน่งึ ๆ
(2) เปนผูประสานงานกิจกรรมนักศึกษาระหวางนักศึกษาในแตละสาขาวิชาหรือ

ช้ันปห นง่ึ ๆ กับสโมสรนกั ศึกษา

คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๓ (๗(๓๙๙) ))

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุ เทเทพพ

(3) เปนผูดําเนินงานในสวนท่ีเก่ียวของกับกิจกรรมนักศึกษาในแตละชั้นปตามท่ี
ไดร บั มอบหมายจากคณะกรรมการบริหารหรือคณบดี

(4) ทําหนาทอ่ี ่นื ๆ ตามทค่ี ณะกรรมการบรหิ ารมอบหมาย
ขอ 57 การประชุมคณะกรรมการบริหาร ตองมีการประชุมสามัญอยางนอยป
การศึกษาละ 2 ครง้ั ในระหวางเปดภาคเรียน การประชุมคราวแรกใหนายกองคก ารหรอื นายก
สโมสรเปนผูกําหนดภายใน 15 วัน นับต้ังแตวันที่ไดรับการแตงต้ัง สวนการประชุมครง้ั ตอไป
ใหท ปี่ ระชุมเปน ผกู ําหนด
ขอ 58 การประชุมวิสามัญ จะกระทําไดโดยการไดรับความเห็นชอบของผูมีอํานาจ
ตามขอ 49 ในกรณีดงั ตอ ไปน้ี

(1) นายกองคก ารหรอื นายกสโมสรเรียกประชุมวิสามัญได
(2) คณะกรรมการบริหารเขา ช่ือกันมจี ํานวนไมนอยกวา 1 ใน 3 ของจาํ นวนคณะ
กรรมการบริหารทั้งหมดรองขอใหนายกองคการหรือสโมสรเรียกประชุมภายใน 7 วัน
นับตง้ั แตว ันทีไ่ ดรับคาํ ขอ
ขอ 59 ในการประชุมใหนายกองคการหรือนายกสโมสรทําหนาที่ประธาน และ
เลขานกุ ารองคการหรือเลขานกุ ารสโมสรเปน เลขานกุ ารของทปี่ ระชมุ
ในกรณีท่ีนายกองคการหรือนายกสโมสรไมมาประชุม ใหอุปนายกคนท่ี 1 ทําหนาท่ี
เปนประธานในการประชุมคราวน้ัน หากทั้งนายกองคการและนายกสโมสรและอุปนายกคนที่
1 ไมมาประชุมใหอุปนายกคนที่ 2 ทําหนาท่ีเปนประธานในการประชุมคราวน้ัน และหาก
นายกองคการหรือนายกสโมสรและอุปนายกท้ัง 2 คน ไมมาประชุมใหที่ประชุมเลือก
กรรมการบรหิ ารคนหนง่ึ คนใดเปนประธานสาํ หรับการประชุมคราวน้นั
ในกรณีเลขานุการไมมาประชุม ใหประธานท่ีประชุมแตงตั้งกรรมการผูหนึ่งผูใดทํา
หนาท่เี ลขานุการสาํ หรับการประชมุ คราวน้ัน
ขอ 60 ในการประชุมทุกคราว ตองมีกรรมการเขาประชุมไมตํ่ากวาก่ึงหน่ึงของคณะ
กรรมการบรหิ ารทัง้ หมด จงึ เปน องคป ระชมุ
ขอ 61 การลงมติใด ๆ ในท่ีประชุมใหถือคะแนนเสียงขางมาก หากมีคะแนนเสียง
เทา กันใหป ระธานในทีป่ ระชมุ ออกเสยี งชขี้ าด
ขอ 62 มติใด ๆ ของคณะกรรมการบรหิ าร จะเปลี่ยนแปลงไดตอเมื่อมีการลงมติใหม
ดว ยคะแนนเสยี งไมน อยกวา 2 ใน 3 ของจํานวนกรรมการบรหิ ารทีเ่ ขาประชมุ
ขอ 63 ในการประชุมทุกคราว จะตองมีอาจารยที่ปรึกษาองคการหรืออาจารยที่
ปรกึ ษาสโมสรเขารวมประชุมดวยและใหสงรายงานการประชุมใหผูอํานาจตามขอ 48 ทราบ
ภายใน 2 สัปดาห นบั แตวนั ประชุม

((๘๘(๒๐๐))) คค่มูมู่ อื อื นนกั กั ศศกึ ึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เเททคคโโนนโโลลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ

ขอ 64 ใหมเี จา หนาท่ีองคการหรือเจา หนา ท่ีสโมสร ประกอบดวยตาํ แหนงตา ง ๆ ดงั นี้
หัวหนาแผนกเลขานุการ หัวหนาแผนกประชาสัมพันธ หัวหนาแผนกสวัสดิการ หัวหนาแผนก
ปฏิคม หัวหนาแผนกพัสดุ หัวหนาแผนกแสงเสียง หัวหนาแผนกศิลปกรรม สาราณียกร
บรรณารักษ และหัวหนาแผนกอื่น ๆ ที่คณะกรรมการบริหารเห็นสมควรใหมี โดยอยใู นความ
ควบคมุ ของคณะกรรมการบรหิ าร

ขอ 65 หวั หนาแผนกเลขานุการ มหี นาที่ดงั น้ี
(1) รบั -สง และโตตอบหนังสือขององคการหรือสโมสร
(2) ควบคมุ และรับผดิ ชอบงานสารบรรณขององคก ารหรือสโมสร
(3) หนาทอ่ี ่นื ๆ ตามท่คี ณะกรรมการบรหิ ารมอบหมาย

ขอ 66 หวั หนาแผนกประชาสัมพนั ธ มหี นาทด่ี ังนี้
(1) ประชาสัมพันธก จิ การขององคการหรือสโมสร
(2) หนา ที่อ่นื ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการบรหิ ารมอบหมาย

ขอ 67 หัวหนาแผนกสวัสดิการ มหี นา ทีด่ ังนี้
(1) สงเสริมสวสั ดกิ ารทวั่ ไปของนักศึกษา
(2) ประสานงานดานสวัสดิการทว่ั ไปของนักศึกษา
(3) หนา ทอ่ี ืน่ ๆ ตามท่ีคณะกรรมการบริหารมอบหมาย

ขอ 68 หวั หนาแผนกปฏคิ ม มีหนา ท่ีดังนี้
(1) ตอนรบั และอํานวยความสะดวกแกผ ทู ี่มาตดิ ตอ กบั องคการหรือสโมสร
(2) หนาท่ีอืน่ ๆ ตามท่คี ณะกรรมการบริหารมอบหมาย

ขอ 69 หวั หนาแผนกพสั ดุ มีหนา ทดี่ ังน้ี
(1) รับผดิ ชอบทรัพยส นิ อนั เปนสมบตั ขิ ององคการหรือสโมสร
(2) จัดทํานุบาํ รุงรักษาทรพั ยสินขององคก ารหรอื สโมสร
(3) จดั ทําบญั ชแี ละควบคมุ การเบกิ จายพสั ดุขององคการหรอื สโมสร
(4) หนาที่อ่ืน ๆ ตามทค่ี ณะกรรมการบรหิ ารมอบหมาย

ขอ 70 หัวหนา แผนกแสงเสียง มีหนา ทีด่ ังนี้
(1) รับผดิ ชอบกจิ การดา นแสงเสียงขององคการหรอื สโมสร
(2) รับผิดชอบวัสดุครุภัณฑ และอุปกรณที่เกี่ยวกับแสงเสียงขององคการหรือ

สโมสร
(3) ควบคมุ ดูแล และบาํ รงุ รกั ษาอุปกรณแ ละเสียงขององคการหรอื สโมสร
(4) หนาท่ีอืน่ ๆ ตามทคี่ ณะกรรมการบรหิ ารมอบหมาย

ขอ 71 หัวหนาแผนกศิลปกรรม มีหนา ที่ดังน้ี
(1) รบั ผดิ ชอบกจิ การดา นศลิ ปกรรมขององคก ารหรือสโมสร

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๓ (๘(๓๑) )

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุ เทเทพพ

(2) หนา ท่อี น่ื ๆ ตามทค่ี ณะกรรมการบริหารมอบหมาย
ขอ 72 สาราณียกร มีหนา ทด่ี งั น้ี

(1) จัดทําและรับผิดชอบกิจการดา นสิ่งพิมพขององคการและสโมสร
(2) หนา ท่อี ่นื ๆ ตามทคี่ ณะกรรมการบรหิ ารมอบหมาย
ขอ 73 บรรณารักษ มหี นา ท่ีดังนี้
(1) รับผิดชอบกจิ การดานหองสมดุ ขององคการหรอื สโมสร
(2) รวบรวมและเกบ็ เอกสาร ส่ิงพมิ พท ่เี ก่ียวกับกจิ การองคก ารหรือสโมสร
(3) หนา ทีอ่ ่ืน ๆ ตาท่ีคณะกรรมการบรหิ ารมอบหมาย
ขอ 74 การดําเนินงานกิจกรรม ใหองคการหรือสโมสรนักศึกษามีคณะกรรมการ
ดําเนนิ งานกจิ กรรมนกั ศกึ ษาตา ง ๆ ดังตอไปนี้
(1) คณะกรรมการกิจกรรมฝา ยวชิ าการ
(2) คณะกรรมการกจิ กรรมฝา ยกีฬา
(3) คณะกรรมการกิจกรรมฝายพฒั นาสังคมและบาํ เพญ็ ประโยชน
(4) คณะกรรมการกจิ กรรมฝายศลิ ปะและวัฒนธรรม
(5) คณะกรรมการกิจกรรมฝายนกั ศึกษาสัมพันธ
(6) คณะกรรมการกจิ กรรมฝายอืน่ ๆ ท่มี ีผมู ีอาํ นาจตามขอ 48 กําหนดใหมีขน้ึ
ขอ 75 คณะกรรมการกิจกรรมขององคการหรือสโมสรนักศึกษา ประกอบดวย
ประธาน รองประธาน เหรญั ญิก เลขานกุ าร และผูแทนนกั ศึกษาจากสาขาวชิ า
ขอ 76 คณะกรรมการกิจกรรม มหี นาที่
(1) ควบคุมและประสานงานการดําเนินงานของกิจกรรมตาง ๆ ในฝายใหเปนไป
ตามวตั ถุประสงคของฝาย ซ่งึ ไมข ัดแยง ตอระเบียบ
(2) วางหลกั เกณฑก ารขอตั้งงบประมาณของกิจกรรมตาง ๆ ในฝา ย
(3) เสนองบประมาณของกิจกรรมตา ง ๆ ในฝา ยตอ คณะกจิ กรรมการบริหาร
(4) ควบคมุ การเงนิ ของกิจกรรมตา ง ๆในฝาย
(5) รวบรวมรายงานประเมินผลการดําเนินการในรอบปของกิจกรรมตาง ๆ ในฝาย
เสนอตอคณะกรรมการบริหารกอนสนิ้ สดุ วาระของวาระกรรมการฝา ยในปน ้ัน
(6) รับผิดชอบรวมกนั ในการบริหารกิจกรรมของฝา ย
(7) หนา ท่ีอนื่ ๆ ตามท่ีคณะกรรมการบริหารมอบหมาย
ขอ 77 การเลือกต้ังและแตงตั้งผูดํารงตําแหนงๆ ขององคการหรอื สโมสรนักศึกษาให
กระทาํ ดงั น้ี
(1) คณะกรรมการบริหารองคก ารนักศึกษา

((๘๘(๒๒))) คค่มูมู่ อื อื นนกั กั ศศกึ ึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เเททคคโโนนโโลลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ

นายกองคการ อุปนายกองคการ เหรัญญิก เลขานุการ และประธานกิจกรรม ให
เลอื กตัง้ จากนักศกึ ษาของมหาวิทยาลยั โดยความเห็นชอบของผมู อี าํ นาจตามขอ 48

(2) คณะกรรมการบรหิ ารสโมสรนักศกึ ษาของคณะ
นายกสโมสร อุปนายกสโมสร เหรัญญิก เลขานุการ และประธานกิจกรรม ให
เลอื กตงั้ จากผแู ทนนกั ศกึ ษาของคณะ โดยความเหน็ ชอบของผูม ีอํานาจตามขอ 48
(3) เจาหนา ที่องคก ารหรอื สโมสรนักศกึ ษา
ใหค ณะกรรมการบริหารเปนผเู สนอขอแตง ตงั้ ผูมีอํานาจตามขอ 48
(4) คณะกรรมการฝายกิจกรรม
ใหคณะกรรมการบรหิ ารเปน ผูเสนอขอแตงต้ังตอผมู ีอํานาจตามขอ 48
(5) ผูแทนนักศกึ ษาของคณะ
ใหเลือกตั้งโดยตรงจากสาขาวิชา
ขอ 78 การดําเนินการเลือกต้ังคณะกรรมการบริหาร ตามขอ 76.1 และ 76.2 ใหผู
มีอํานาจตามขอ 48 แตงต้ังกรรมการข้ึนคณะหน่ึง เปนผูดําเนินการเลือกตั้ง และกําหนด
รายละเอยี ดตาง ๆ เกีย่ วกับ
(1) วัน เวลา และสถานทต่ี ั้ง
(2) การตรวจสอบคุณสมบัติของผูสมคั รรับเลือกต้งั
(3) วิธดี ําเนนิ การเลือกต้ัง
ขอ 79 ผทู จี่ ะดํารงตําแหนงกรรมการบริหาร จะตองมคี ุณสมบัตดิ งั นี้
(1) ตองเปน นักศึกษาปจจุบัน และเปน สมาชิกขององคก ารหรอื สโมสร
(2) ตองเปนนักศึกษาท่ีไมมีความประพฤติเสียหายจนถูกส่ังลงโทษ หรือเคยถูกส่ัง
พกั การศึกษา
(3) ตองไมลาพักการศกึ ษาในปการศึกษานนั้ ๆ
(4) ตอ งไมดํารงตําแหนง เดียวกนั เกนิ กวา 2 วาระตดิ ตอ กัน
(5) ตอ งไมดํารงตาํ แหนงมากกวา 1 ตาํ แหนงในวาระเดยี วกัน
ขอ 80 ใหค ณะกรรมการตามขอ 77 ดําเนินการเลอื กต้งั เสนอรายชือ่ ผูไดรับเลือกต้ัง
ตอผูมีอํานาจตามขอ 48 เพ่ือประกาศแตงต้ังกรรมการบริหารตําแหนงตาง ๆ ดํารงตําแหนง
คราวละ 1 ป ต้งั แตว นั ท่ี 1 พฤษภาคม ของปห นึง่ ถงึ วันที่ 30 เมษายน ของปถัดไป
คณะกรรมการบริหารและเจาหนาทอ่ี งคก ารหรอื สโมสรทุกคนจะตองมอบงาน ในความ
รับผิดชอบของตนใหแกคณะกรรมการบริหาร และเจาหนาที่องคการหรือสโมสรชุดใหมกอน
สนิ้ สดุ วาระของตน
ขอ 81 ผดู ํารงตาํ แหนงกรรมการบรหิ าร ตอ งพนตาํ แหนง ในกรณตี อ ไปนี้
(1) ถงึ คราวออกตามวาระ

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๓ (๘(๓๓) )

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุ เทเทพพ

(2) ลาออก
(3) ตาย
(4) ขาดคุณสมบัติตามขอ 45 แหง ระเบยี บ
(5) ในกรณีที่ผูดํารงตําแหนงหนึ่งตําแหนงใด ในคณะกรรมการบริหารไมป ฏิบัติตาม
มติของคณะกรรมการบริหาร ใหกรรมการจํานวนไมนอยกวา 3 ใน 4 มีสิทธิเสนอใหผูมี
อาํ นาจตามขอ 49 พจิ ารณาถอดถอนออกจากตาํ แหนง ได
(6) ผูมีอาํ นาจตามขอ 48 เปน ผูใหพนจากตาํ แหนง
ขอ 82 ถาตําแหนงกรรมการบริหารวางลงตามขอ 80 ใหดําเนินการเลือกต้ัง
กรรมการบริหารตําแหนงนั้นขึ้นมาแทนภายใน 30 วัน เวนแตวาระการดํารงตําแหนงจะ
ส้ินสุดลงเหลือไมเกิน 60 วัน นับถึงวันหมดวาระของกรรมการบริหาร ใหคณะกรรมการ
บรหิ ารแตงตัง้ ผูท เ่ี หน็ สมควรเขา รักษาการแทน โดยความเหน็ ชอบของผูมอี ํานาจตามขอ 48
ในวาระดํารงตําแหนงของกรรมการบริหารท่ีแตงต้ังมาทดแทน เร่ิมตั้งแตวันท่ีผูมี
อาํ นาจตามขอ 48ประกาศแตง ต้งั และสนิ้ สุดลงตามวาระของกรรมการบรหิ ารในปน้นั
ขอ 83 ใหผมู อี าํ นาจตามขอ 48 แตงตั้งอาจารยท ปี่ รกึ ษาองคการหรือสโมสร
ขอ 84 อาจารยท ป่ี รกึ ษาองคการหรอื สโมสร มีหนา ทดี่ งั นี้
(1) ใหคําปรึกษา แนะนํา และดูแลความเรียบรอยเกี่ยวกับกิจกรรมขององคการ
หรือสโมสร
(2) ยับยั้งการดําเนินการใด ๆ ท่ีขัดตอระเบียบหรือคําสั่งของทางราชการ ตลอดจน
การกระทําใด ๆ อันเปนการเสือ่ มเสียตอสถาบนั
(3) เสนอความคดิ เห็นในการจดั กจิ กรรมขององคการหรือสโมสร
(4) เขา รวมประชมุ กับคณะกรรมการบรหิ ารองคก ารหรือสโมสร
(5) หนาท่ีอน่ื ๆ ตามทีผ่ มู อี ํานาจตามขอ 48 มอบหมาย
ขอ 85 ใหมีอาจารยท่ีปรึกษาประจําฝายกิจกรรมอยางนอย ฝายละ 1 คน โดยใหผูมี
อํานาจตามขอ 48เปนผูแตงต้ัง และมีหนาที่ใหคําปรึกษาแนะนํา และดูแลความเรียบรอย
เก่ียวกบั กจิ กรรมของฝายนน้ั ๆ
ขอ 86 อาจารยท่ีปรึกษาองคการหรือสโมสรและอาจารยที่ปรึกษาฝายกิจกรรม
องคก ารหรือสโมสรมีกําหนดวาระ 1 ป และอาจไดร บั การแตงตัง้ อกี ก็ได
ขอ 87 เงินคาบํารุงองคการหรือสโมสรตามขอบังคับน้ี คือเงินที่เขาลักษณะหน่ึง
ลกั ษณะใดดงั ตอไปนี้
(1) เงินคา บาํ รงุ องคการหรอื สโมสรทีเ่ รียกเกบ็ จากนักศกึ ษาตามขอ บงั คบั น้ี
(2) เงินท่ีมีผบู รจิ าคใหแ กองคก ารหรือสโมสรหรือฝา ยกิจกรรม
(3) เงินที่ไดมาจากการจดั การกิจกรรมของนักศึกษา

((๘๘(๒๔๔))) คคมู่มู่ อื อื นนกั กั ศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เเททคคโโนนโโลลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ

(4) ดอกผลท่ีเกดิ จากเงนิ คาบํารุงองคก ารหรือสโมสร
เงินดังกลาวขางตนตามขอบังคับนี้ไมถือวาเปนรายรับหรือรายไดของ

มหาวทิ ยาลยั
ขอ 88 เงนิ คาบาํ รุงองคการหรือสโมสรจะใชจ ายในลักษณะตาง ๆ ดังตอ ไปน้ี
(1) การบรหิ ารงานขององคก ารหรอื สโมสร
(2) พธิ กี รรมทางศาสนา
(3) งานประจําปของทางราชการ
(4) การกีฬา หรือกจิ กรรมในลกั ษณะวชิ าการ
(5) การจดั กจิ กรรมตา ง ๆ ท่ีไมข ดั กับขอบังคบั น้ี
(6) งานสวัสดกิ ารและการกศุ ล
ขอ 89 ใหองคการหรือสโมสรเรียกเก็บเงินคาบํารุงองคการหรือสโมสรในอัตราตาม

ประกาศของมหาวิทยาลัย โดยใหเ รยี กเก็บในวันลงทะเบยี นเรยี นของภาคการศกึ ษาทห่ี นง่ึ
ขอ 90 เงินคาบํารุงองคการหรือสโมสรจะถอนคืนได ในกรณีที่นักศึกษาขอลาออก

จากสถาบนั ภายใน 7 วนั นับแตวันลงทะเบียน
ขอ 91 ใหคณะกรรมการบริหารองคการหรือสโมสรเสนอผูมีอํานาจตามขอ 48

แตงตั้งอนุกรรมการการเงินและบัญชีข้ึนคณะหน่ึงไมเกิน 5 คน โดยมีเหรัญญิกเปนประธาน
คณะอนุกรรมการ เจา หนาที่บัญชีเปนอนุกรรมการ และเลขานุการ และใหมีอาจารยทป่ี รึกษา
ตามขอ 82 เปน ทีป่ รึกษา

ขอ 92 ใหคณะอนุกรรมการการเงินและบัญชีมีอํานาจหนาที่ และรับผิดชอบตาม
ระเบยี บการเงินขององคก ารหรอื สโมสรนักศึกษา

ขอ 93 เงินคาบํารุงองคการ หรือสโมสรตอปการศึกษานั้น ใหถือเปนเงินคากิจกรรม
นกั ศกึ ษา

ขอ 94 เมื่อเลิกกิจการองคก ารหรือสโมสร ใหบ รรดาทรัพยสนิ ขององคการหรอื สโมสร
ทงั้ หมดตกเปน ของมหาวทิ ยาลยั

ขอ 95 ใหอ ธกิ ารบดีออกระเบยี บการเงินกิจกรรมนกั ศึกษา
ขอ 96 ในกรณีที่ปญหาเกย่ี วกบั การปฏิบตั ิตามระเบียบนี้ใหอ ธิการบดีเปน ผวู นิ ิจฉยั

หมวดที่ 7
การจดั ตั้งชมรมกจิ กรรมนกั ศึกษา
ขอ 97 ชมรมกิจกรรมของนักศึกษาตองมีลักษณะเปนการรวมกลุมตามกิจกรรมท่ี
สนใจ เพื่อวัตถุประสงคใดวัตถุประสงคหน่ึง อันเปนการเฉพาะสงเสริมการปฏิบัติงานกิจกรรม

คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๓ (๘(๓๕) )

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุ เทเทพพ

นักศึกษา ตามนโยบายของมหาวิทยาลัยและไมขัด หรือแยงตอระเบียบขอบังคับของ
มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ

ขอ 98 การจัดตั้งชมรมตองมีนักศึกษาเปนสมาชิกไมนอยกวาสามสิบคน โดยตองเปน
นักศึกษาที่มาจากตางคณะกันไมต่ํากวาสามคณะ และตองมีนักศึกษาในคณะหน่ึงเปนสมาชิก
กอต้ังไมนอยกวาสิบคน โดยใหสมาชิกลงชื่อกํากับพรอมทั้งแนบสําเนาบัตรนักศึกษาท่ีไดรับ
รองแลว พรอมทั้งใหประธานชมรม และอาจารยท่ีปรึกษาชมรมลงนามรับรองการเปนสมาชิก
ตามท่ีมหาวิทยาลัยกําหนด เพ่ือเสนอตอองคการนักศึกษา พิจารณาใหความเห็นชอบแลว
นําเสนอมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ พิจารณาอนุมัติการจัดตั้งชมรม โดยมี
รายละเอยี ด ดังตอไปน้ี

(1) ชื่อชมรม
(2) วัตถุประสงค
(3) ระเบยี บขอบังคับของชมรม
(4) เครื่องหมายตราสญั ลักษณข องชมรม
(5) รายชือ่ สมาชกิ ชมรมตามแบบฟอรม ของมหาวทิ ยาลยั
(6) รายชือ่ คณะกรรมการบริหารชมรมตามแบบฟอรมของมหาวทิ ยาลัย
(7) รายช่ืออาจารยท่ีปรกึ ษาพรอมคํารับรองเปนอาจารยท ่ีปรึกษาแนบกับหนังสือการ
แตงตงั้
ขอ 99 ชมรมแตละชมรมใหมีอาจารยท่ีปรึกษา จํานวนไมเกิน 3 คน ซ่ึงเปนบุคคลท่ี
ไดรับการแตง ตง้ั จากมหาวทิ ยาลยั และตอ งปฏบิ ัติงานภายในมหาวทิ ยาลยั ดังน้ี

(1) เปน อาจารยห รือเจา หนา ทปี่ ฏิบตั หิ นาทใี่ นมหาวทิ ยาลัย
(2) อาจารยปรกึ ษาทม่ี คี วามรู ความสามารถ ประสบการณ เฉพาะดานชมรม
(3) สามารถรบั ผดิ ชอบการดาํ เนนิ กจิ กรรมของชมรมได
ขอ 100 ชมรมท่ีจัดต้ังขึ้น จะตองมีกิจกรรมท่ีไมซ้ําซอนกับกิจกรรมของชมรมท่ีมีอยู
แลว
ขอ 101 ชมรมที่จัดตั้งขึ้นตองสังกัดฝายใดฝายหนึ่งขององคการนักศึกษา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ ดังตอ ไปนี้
(1) ฝายสง เสรมิ วชิ าการ
(2) ฝา ยกีฬา
(3) ฝา ยพฒั นาสังคมและบาํ เพญ็ ประโยชน
(4) ฝายศลิ ปะและวัฒนธรรม
(5) ฝายนักศกึ ษาสัมพนั ธ

((๘๘(๒๖๖))) คค่มูมู่ อื อื นนกั กั ศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เเททคคโโนนโโลลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ

ขอ 102 กิจกรรมของชมรมที่จัดตั้งข้ึนท้ังภายใน ภายนอกวิทยาลัย ตองไดรับความ
เห็นชอบจากอาจารยท่ีปรึกษาชมรม คณะกรรมการบริหารองคการนักศึกษา และ
มหาวทิ ยาลยั อนมุ ัติใหจ ดั ได

ขอ 103 กิจกรรมของชมรมที่จัดทําข้ึนภายนอกมหาวิทยาลัย และมีผลตอภาพลักษณ
ชื่อเสยี งของนักศึกษาตอ งดําเนินงานรวมกันในนามขององคการนกั ศกึ ษาเทา นัน้

ขอ 104 ชมรมแตละชมรมใหมีคณะกรรมการบริหารชมรมไมนอยกวา หาคน ซึ่ง
สมาชิกแตละชมรมเปนผเู ลอื กตง้ั ใหดาํ รงตําแหนง ดังตอ ไปน้ี

(1) ประธานชมรม
(2) รองประธานชมรม
(3) เลขานุการ
(4) เหรญั ญกิ
(5) คณะกรรมการตําแหนงอ่ืน ตามท่ีคณะกรรมการบริหารชมรมเห็นสมควรการ
ดาํ เนินการเลือกตัง้ ใหเปนไปตามขอ กําหนดของชมรม
ขอ 105 ผูดํารงตําแหนงคณะกรรมการบริหารชมรมจะดํารงตําแหนงไดไมเกินกวา
หนึ่งชมรมในเวลาเดยี วกัน
ขอ 106 นกั ศึกษาคนหนงึ่ สามารถสมัครเปนสมาชกิ ชมรมไดไมน อยกวา หนง่ึ ชมรม
ขอ 107 ใหค ณะกรรมการบรหิ ารชมรม มอี าํ นาจหนา ท่ีดังตอ ไปน้ี
(1) พิจารณาและวางแผนการดําเนินงานของชมรมใหเปนไปตามวัตถุประสงคของ
ชมรมซ่ึงไมขดั หรอื แยงตอระเบยี บ ขอบงั คับอน่ื ใด ของมหาวิทยาลัย
(2) กําหนดนโยบาย แผนงาน โครงการ และงบประมาณประจําปของชมรมเสนอ
ตอ คณะกรรมการบริหารองคก ารนักศึกษา โดยผานการเห็นชอบจากอาจารยท ปี่ รึกษาชมรม
(3) กํากบั ดแู ล ควบคมุ การบริหารการเงินของชมรม
(4) รบั ผดิ ชอบรวมกนั ในการบริหารกจิ กรรมของชมรม
(5) รับผิดชอบรวมกันในทรพั ยส นิ ของชมรม
(6) จัดทํารายงานประเมินผลการดําเนินงานในรอบปของชมรมเสนอตอฝายท่ี
ชมรมในสังกัดอยู เสนอคณะกรรมการบริหารองคการนักศึกษากอนส้ินสุดวาระของกรรมการ
ชมรมในปน ้ัน
(7) รวมมือประสานงานและใหความสะดวกในการดําเนินงานของคณะกรรมการ
บรหิ ารองคก ารนกั ศกึ ษา และมหาวิทยาลัยใหเ ปนไปดวยดี
(8) หนาที่อ่นื ตามท่ีคณะกรรมการฝา ยทช่ี มรมน้นั สงั กัดมอบหมาย
ขอ 108 สมาชิกภาพของคณะกรรมการบริหารชมรมนั้นสิ้นสุดลงเมื่อสงมอบงานให
คณะกรรมการบรหิ ารชดุ ใหม

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๓ (๘(๓๗) ))

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุ เทเทพพ

ขอ 109 ใหคณะกรรมการบริหารชมรมดําเนินการเลือกต้ังสมาชิกเขาดํารงตําแหนง
คณะกรรมการบริหารชมรมชุดใหมใหเสร็จสิ้นกอนปดภาคการศึกษาภาคสอง และมอบหมาย
งานใหค ณะกรรมการบริหารชมรมชดุ ใหมเ สร็จส้นิ ภายใน สิบหา วนั นับแตวนั เลือกตง้ั พรอมท้ัง
นําเสนอตอองคการนักศึกษาเพื่อพิจารณาใหความเห็นชอบ แลวนําเสนอมหาวิทยาลัย
พจิ ารณาอนุมัตกิ ารแตงต้ังคณะกรรมการบริหารชมรม

ขอ 110 ชมรมอาจเลิกหรือถูกยบุ เลิกไดในกรณหี นึ่ง ดังตอไปน้ี
(1) ไมมผี ลงานของชมรมปรากฏในรอบป
(2) ดําเนนิ การฝาฝน วตั ถุประสงคข องชมรม
(3) ชมรมกระทําการอันเปนท่ีเส่ือมเสียตอมหาวิทยาลัย หรือเหตุผลอ่ืน โดย

อาจารยที่ปรึกษาชมรมและองคการนักศึกษาเห็นสมควรวาใหยุบเลิกชมรม โดยไดรับอนุมัติ
จากมหาวทิ ยาลัย

(4) มหาวิทยาลัยเห็นสมควรใหยกเลิกชมรมเนื่องจากกระทําอันเปนการขัดตอ
กฎหมายศีลธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมอันดีงามของคนไทย หรือฝาฝนกฎ
ระเบยี บ ขอบังคับชองมหาวิทยาลัย

ขอ 111 ชมรมท่ีจัดต้ังข้ึน มีวาระ 1 ป นับตั้งแตวันแรก ถึงวันสุดทายของ
ปง บประมาณองคการนักศึกษา หลังจากส้ินปงบประมาณใหจัดตั้งชมรมขน้ึ ใหม หากชมรมใด
ไมจัดตั้งใหสังกัดองคการนักศึกษาในปงบประมาณนั้น ๆ ไมสามารถใชเงินงบประมาณไดใน
ปง บประมาณนนั้ ๆ

ขอ 112 ใหค ณะกรรมการองคการหรือสโมสรนกั ศึกษาที่มีมากอนประกาศใชร ะเบียบ
น้ีใชร ะเบียบเดมิ ไปกอ นจนกวา ระเบยี บนี้จะมีผลบังคับใช

ประกาศ ณ วันที่ ๓ เดอื น กมุ ภาพนั ธ พ.ศ. ๒๕63

สมพร ปยะพันธ
(นายสมพร ปย ะพันธ)
คณบดีคณะครศุ าสตรอุตสาหกรรม รกั ษาราชการแทน
อธกิ ารบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ

((๘๘(๒๘๘))) คคมู่ มู่ อื อื นนกั กั ศศึกกึ ษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓

มมหหาาววิทิทยยาาลลยัยั เเททคคโโนนโโลลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ

คค่มู ม่อืู นอื นกั กศั ึกศึษกษา า๒๒๕๕๖๖๓๓ ((๘๘(๓๙๙) ))

มมหหาวาิทวิทยายลายัลเยั ทเทคคโนโนโลโยลรยี าีรชามชมงคงคลกลรกงรุ เงุทเทพพ

ขอบังคบั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
วาดวยการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี
พ.ศ. ๒๕๕๐
-------------------------------------

ตามที่ไดมีพระราชบัญญัติจัดต้ังมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เพ่ือให
การดําเนินการจัดการศึกษาเปนไปดวยความเรียบรอย สอดคลองกับสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลง
ไปมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ จึงเห็นควรจัดทําขอบังคับวาดวยการศึกษาระดับ
ปรญิ ญาตรขี น้ึ

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๗ (๒) แหงพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. ๒๕๔๘ และมติสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ในการ
ประชุมคร้ังที่ ๔/๒๕๕๐ เม่ือวันท่ี ๒๖ เดือน กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๕๐ จึงออกขอบังคับไว
ดงั ตอไปนี้

ขอ ๑ขอ บังคับน้ีเรียกวา “ขอ บังคบั มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
วาดว ยการศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๐”

ขอ ๒ ขอบงั คับนใ้ี หม ผี ลใชบ ังคบั นับแตว นั ถดั จากวนั ประกาศเปน ตนไป
ขอ ๓ บรรดาความในขอบังคับ ระเบียบ คําส่ัง หรือประกาศอ่ืนใดในสวนที่
กาํ หนดไวแลว ในขอ บงั คบั น้ี หรือซึ่งขดั แยง กับความในขอบังคบั นใ้ี หใชความในขอบังคบั นีแ้ ทน
ขอ ๔ ในขอบังคับน้ี
“มหาวทิ ยาลัย” หมายความวา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
“สภามหาวิทยาลัย” หมายความวา สภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรงุ เทพ
“อธิการบดี” หมายความวา อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรุงเทพ
“คณะ” หมายความวา สวนราชการระดับคณะหรอื สวนราชการทเ่ี รยี กช่ือเปน
อยา งอนื่ แตม ฐี านะเทยี บเทาคณะที่มีการจัดการเรียนการสอน
“คณบดี” หมายความวา หัวหนาสวนราชการระดับคณะ หรือหัวหนาสวน
ราชการทเี่ รยี กช่ือเปน อยา งอนื่ แตมีฐานะเทียบเทา คณะ ท่ีมีการจัดการเรยี นการสอน

((๙๙(๒๐๐))) คคมู่ ่มู อื อื นนกั กั ศศึกกึ ษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓

มมหหาาววิทิทยยาาลลยัยั เเททคคโโนนโโลลยยีรรี าาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ

“นักศึกษา” หมายความวา ผูที่เขารับการศึกษาระดับปริญญาตรีใน
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

“คณะกรรมการประจําคณะ” หมายความวา คณะกรรมการประจําคณะของ
แตล ะ คณะในสังกดั มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

“ภาควิชา” หมายความวา ภาควิชาที่มีการจัดการเรียนการสอนใน แตละ
คณะและใหหมายรวมถึงหนว ยงานทีเ่ รียกช่อื เปน อยา งอ่ืนท่ีมฐี านะเทยี บเทาภาควชิ า

“หัวหนาภาควิชา” หมายความวา หัวหนาภาควิชาที่มีการจัดการเรียนการ
สอนในแตละคณะ และใหหมายความรวมถึงหัวหนาหนวยงานท่ีเรียกช่ือเปนอยางอ่ืน ท่ีมีฐานะ
เทียบเทา ภาควิชา

“แผนการเรียน” หมายความวา แผนการจัดการเรียนการสอนในแตละภาค
การศกึ ษาของแตล ะหลักสูตรทีไ่ ดรบั ความเหน็ ชอบจากสภามหาวิทยาลยั

“อาจารยที่ปรึกษา” หมายความวา อาจารยประจําในคณะ ซ่ึงคณบดี
มอบหมายใหทําหนาทีใ่ หคําแนะนําปรึกษา ติดตามผลเกี่ยวกับการศึกษา ตักเตือนและดูแลความ
ประพฤตติ ลอดจนรับผดิ ชอบดแู ลแผนการเรียนของนกั ศึกษา

“อาจารยผูสอน” หมายความวา ผูท่ีมีหนาที่รับผิดชอบสอนรายวิชาในระดับ
ปรญิ ญา

ขอ ๕ ใหอธิการบดีรักษาการตามขอบังคับน้ี และมีอํานาจวินิจฉัยตีความ
ตลอดจนออกประกาศเพ่อื ใหการปฏบิ ตั ิตามขอ บังคับน้เี ปน ไปดวยความเรยี บรอ ย ท้ังน้ี คําวินิจฉัย
ใหถ อื เปน ทีส่ ุด

หมวดท่ี ๑
การรบั เขาศกึ ษา
ขอ ๖ ผูท จี่ ะสมัครเขา เปน นักศึกษาตอ งมคี ุณสมบตั แิ ละลักษณะดงั น้ี
(๑) เปน ผมู ีคณุ วุฒิการศึกษาตามท่ีกาํ หนดไวใ นหลักสตู ร
(๒) ไมเปนคนวกิ ลจริตหรือโรคตดิ ตอ รายแรง โรคท่ีสงั คมรังเกียจ หรอื โรค
ท่จี ะเปน อุปสรรคตอ การศกึ ษา
(๓) ไมเ ปนผมู คี วามประพฤตเิ ส่อื มเสยี อยางรา ยแรง

คค่มู ม่อืู นอื นกั กศั กึศึษกษา า๒๒๕๕๖๖๓๓ ((๙๙(๓๑๑) ))

มมหหาวาิทวิทยายลายัลเยั ทเทคคโนโนโลโยลรยี าีรชามชมงคงคลกลรกงรุ เงุทเทพพ

ขอ ๗ การคั ดเลือกผูสมั ครเขาเป น นั กศึกษ าให เป น ไป ต ามระเบี ยบ
การสอบคัดเลือกเขาศึกษาตอระดับปริญญาของมหาวิทยาลัย หรือการคัดเลือกตามวิธีการที่
มหาวิทยาลยั กาํ หนด

ขอ ๘ ผูที่ผานการคัดเลือกเขาศึกษา จะมีสถานภาพเปนนักศึกษาเมื่อไดขึ้น
ทะเบียน และชําระเงินคาลงทะเบียนเรียน และคาธรรมเนียมตามประกาศของมหาวิทยาลัย
พรอมนําสงหลักฐานเกี่ยวกับการขอขึ้นทะเบียนเปนนักศึกษาดวยตนเองตามวัน เวลา และ
สถานทีท่ มี่ หาวิทยาลัยกําหนด

หากผูผานการคัดเลือกเขาศึกษาไมมาข้ึนทะเบียนเปนนักศึกษาเปนอัน
หมดสิทธิ์ที่จะเขาเปนนักศึกษา เวนแตจะมีเหตุจําเปนและไดรับอนุมัติจากอธิการบดีหรือผูไดรับ
มอบหมาย

นั ก ศึ ก ษ า ที่ ขึ้ น ท ะ เบี ย น แ ล ว ต อ ง ทํ า บั ต ร ป ร ะ จํ า ตั ว นั ก ศึ ก ษ า ข อ ง
มหาวิทยาลยั ทุกคน

หมวดท่ี ๒
ระบบการศกึ ษา
ขอ ๙ มหาวทิ ยาลยั จัดระบบการศกึ ษาตามเกณฑ ดังน้ี
(๑) มหาวทิ ยาลัยจดั การศกึ ษาโดยการประสานงานดา นวิชาการระหวางคณะ
หรอื ภาควิชาคณะใดหรือภาควิชาใด ท่ีมีหนา ทีเ่ ก่ียวกบั วชิ าการดา นใด ใหจัดการศกึ ษาในวิชาการ
ดา นนั้นแกน ักศกึ ษาทกุ คนท้งั มหาวิทยาลัย
(๒) มหาวิทยาลัยจัดการศึกษาภาคการศึกษาปกติโดยใชระบบทวิภาค เปน
หลัก ในปการศึกษาหน่ึงจะแบงออกเปน ๒ ภาคการศึกษาซ่ึงเปนภาคการศึกษาบังคับ
แบงออกเปนภาคการศึกษาที่หนึ่ง และภาคการศึกษาท่ีสอง มีระยะเวลาศึกษาไมนอยกวาสิบหา
สปั ดาหตอหน่ึงภาคการศึกษา ท้ังนี้ไมร วมเวลาสําหรับการสอบดวย สาํ หรับวนั เปดภาคการศกึ ษา
ใหเปน ไปตามประกาศของมหาวิทยาลยั
(๓) มหาวิทยาลัยอาจเปดภาคการศึกษาฤดูรอนเพิ่มเปนภาคการศึกษาที่ไม
บังคับ มีระยะเวลาศึกษาไมนอยกวาเจ็ดสัปดาห ท้ังนี้ไมรวมเวลาสําหรับการสอบดวย แตใหมี
จาํ นวนชัว่ โมงเรียนของแตล ะรายวชิ าเทากับหนง่ึ ภาคการศึกษาปกติ


Click to View FlipBook Version