The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักศึกษา2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ASCAR.RMUTK, 2020-09-30 23:03:31

คู่มือนักศึกษา2563

คู่มือนักศึกษา2563

(๑(๙(๑๒๒๙))๒)คมู่ อืคน่มู กัอื ศนึกั ษศาึกษ๒า๕๒๖๕๓๖๓

มหามวหิทายวาิทลยยั าเลทยั คเโทนคโลโนยโีรลายชรี มางชคมลงกครลงุกเรทงุพเทพ

9.3.2 จัดทํางบรายรับ – รายจายประจําเดือน งบรายรับ – รายจายประจําป
เสนอตออนุกรรมการการเงินและบญั ชี

9.4 ใหเหรัญญิก เสนองบรายรับ – รายจายประจําเดือน ตอคณะกรรมการบริหาร
องคการ สภา หรือสโมสรนักศึกษาเปนประจําทุกเดือน เพื่อใหทราบฐานะทางการเงิน และเมื่อ
ครบวาระของคณะกรรมการบริหารฯ ใหเหรัญญิกเสนองบรายรับ – รายจายประจําป ตอ
คณะกรรมการบรหิ ารองคการสภา หรือสโมสรนักศกึ ษา

ขอ 10 การตรวจสอบบญั ชี
ใหอธิการบดีหรือผูที่อธิการบดีมอบหมาย แตงตั้งผูตรวจสอบบัญชี ตรวจสอบการ

รับจายเงินและพัสดุคงเหลือขององคการ สภา หรือสโมสรนักศึกษา ใหแลวเสร็จกอนครบวาระ
ของคณะกรรมการบริหารองคการ สภา หรือสโมสรนักศึกษา เพ่ือมอบใหแกคณะกรรมการ
บริหารชุดตอไป พรอมทั้งรายงานใหผ แู ตงต้ังผตู รวจสอบบญั ชที ราบภายใน 30 วัน นบั จากวันส้ิน
ปงบประมาณขององคการ สภา หรอื สโมสรนักศึกษา

ขอ 11 ปง บประมาณ
ปงบประมาณขององคการ สภานักศึกษา หรือสโมสรนักศึกษา เริ่มตั้งแตวันที่ 1

พฤษภาคมของปห นึ่ง ถึงวันท่ี 30 เมษายน ของปถัดไป
ขอ 12 ใหอ ธิการบดีรักษาการตามระเบยี บน้ี
ประกาศ ณ วันที่ ๓ เดอื น กมุ ภาพันธ พ.ศ. ๒๕63

สมพร ปย ะพันธ
(นายสมพร ปยะพนั ธ)
คณบดคี ณะครุศาสตรอ ุตสาหกรรม รกั ษาราชการแทน
อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ

คค่มู มู่อื อืนนกั กัศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ ((๑๑(๓๙๙)๓๓))

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เเททคคโนโนโลโลยยีรรี าาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุ เเททพพ

ทนุ การศึกษา
งานแนะแนวการศึกษาและอาชพี
งานประกนั อบุ ตั เิ หตุ
งานสขุ ภาพอนามยั
งานวิชาทหาร
องคก์ ารนกั ศึกษา
งานเสริมสรา้ งการเรียนรแู้ ละประสบการณช์ มุ ชน

(๑๙(๒(๔๑))๙๔ค)มู่ อื นคกั ่มู ศอื ึกนษกั าศ๒ึกษ๕า๖๒๓๕๖๓

มหาวมิทหยาาวลิทยั ยเาทลคยั โนเทโลคยโนีรโาลชยมรี งาคชลมกงรคงุลเกทรพงุ เทพ

งานทุนการศึกษา

ประเภทของแหลงทนุ การศกึ ษาในแตล ะปก ารศกึ ษาสามารถแบงเปน 2 ประเภท ดังน้ี
1. ทุนตอเนื่องจากหนวยงานภายนอก คือ ทุนจากบริษัท หางราน มูลนิธิ ท่ีมีความ

ประสงคมอบทุนการศึกษาใหแกนักศึกษาของมหาวิทยาลัยจนจบหลักสูตร หรือบางทุนให
ทุนการศกึ ษาปตอป

2. ทุนสวนกลางใหเปลา คือ ทุนการศึกษาที่เจาของทุนไมระบุและทุนการศึกษาที่
เจา ของทนุ ระบุคณะ /สาขา / ตัวผรู บั ทุนการศกึ ษานนั้ ๆ ตามความประสงคข องผมู อบ

คณุ สมบตั ทิ ใี่ ชพิจารณาผรู บั ทุนการศกึ ษา มดี ังนี้
1. เปนผขู าดแคลนทนุ ทรัพย

2. มีผลการเรยี นดี มีความประพฤตดิ ี

3. มีเกณฑค ะแนนตามทหี่ นวยงานกําหนด

นักศึกษาท่ีมีความประสงคจะขอรับทุนการศึกษาใหเปลาในแตละปการศึกษา
สามารถยื่นความจํานงไดที่คณะ/สาขาวิชา ประมาณเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม ของทุกป
การศกึ ษา

ตดิ ตอ : งานทนุ การศกึ ษากองพัฒนานักศึกษา กองพฒั นานักศึกษา
อาคาร 37 ชนั้ 1 (ชนั้ ลา งโรงยมิ พนื้ ทีเ่ ทคนิคกรุงเทพ)
ผูปฏิบตั ิงาน : คุณสมุ ลทา วงษา
เบอรโ ทรศัพท 0 2287 9600 ตอ 7618

งานกองทุนเงินใหก ยู มื เพ่อื การศึกษา (กยศ.)

คุณสมบตั ผิ ูม สี ิทธิ์กยู มื เงนิ

ผูกูยืมเงินตองมีคุณสมบัติตามมาตรา 45 แหงพระราชบัญญัติกองทุนเงินใหกูยืมเพื่อ
การศึกษา พ.ศ. 2541 และประกาศคณะกรรมการฯเร่ืองหลกั เกณฑเ กยี่ วกับการเปนผขู าดแคลน
ทุนทรัพยและคุณสมบัติของผูกูยืมเงินดังนี้ ตองเปนนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
(สายสามัญและสายอาชีพ) นักศึกษาระดับอุดมศกึ ษา (อนุปริญญา ปรญิ ญาตร)ี ท้ังภาคปกติ และ
ภาคพิเศษ รวมทั้งการศึกษาประเภทอาชีวศึกษา(ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง อนุปริญญา
ปริญญาตร)ี

คค่มู มู่อื อืนนกั กัศศกึ ึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ ((๑๑(๓๙๙)๕๕))

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เเททคคโนโนโลโลยยีรรี าาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุ เเททพพ

1. เปนผมู สี ัญชาติไทย
2. เปนผูขาดแคลนทุนทรัพย ผูท่ีมีรายไดครอบครัวไมเกิน 200,000 บาทตอป
รายไดต อ ครอบครัวพิจารณาตามหลกั เกณฑขอใดขอ หนึง่ ดังตอ ไปน้ี

(ก) รายไดรวมของผูขอกูยืม รวมกับรายไดของบิดามารดา (กรณีที่บิดา
มารดาเปนผปู กครอง)

(ข) รายไดของผูขอกูยืม รวมกับรายไดของผูปกครอง (กรณีที่ผูปกครองมิใช
บิดา มารดา)

(ค) รายไดรวมของผูขอกูยืม รวมกับรายไดของคูสมรส (กรณีที่ผูขอกูยืมได
ทาํ การสมรสแลว)

3. เปนผูมีผลการเรียนดีหรือผานเกณฑการวัดและประเมินผลของมหาวิทยาลัย
(ผลการเรยี นรวม 2 ภาคการเรียนไมต่าํ กวา 2.00 ไมรวมภาคเรียนที่ 3)

4. เปนผูมีความประพฤติดี ไมฝาฝนระเบียบขอบังคับของมหาวิทยาลัยข้ัน
รา ยแรง หรอื ไมเ ปนผูมคี วามประพฤติเสือ่ มเสีย

5. เปนผูท่ีมีคุณสมบัติครบถวนตามระเบียบหรือประกาศการสอบคัดเลือก
บุคคลเขาศึกษาในโรงเรียน สถานศึกษาหรือสถาบันการศึกษาที่อยูในสังกัดควบคุมหรือกํากับดูแล
ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงหรือสว นราชการอื่น ๆ

6. ไมเ คยเปน ผสู ําเรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรใี นสาขาใด ๆ มากอน
7. ไมเ ปนผูทที่ าํ งานประจําในระหวา งการศึกษา
8. ไมเ ปนบคุ คลลมละลาย
9. ไมเปนหรือเคยไดรับโทษจําคุก โดยพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตเปนโทษ
สําหรบั ความผดิ ท่ไี ดกระทาํ โดยประมาทหรือความผดิ ลหุโทษ
10. ตองมีอายุในขณะท่ีขอกู โดยเมื่อนับรวมกับระยะเวลาปลอดหน้ี 2 ป และ
ระยะเวลาผอนชําระอกี 15 ปร วมกันแลว ตองไมเกนิ 60 ป
11. เปนผูทําประโยชนตอสังคมหรือสาธารณะในระหวางปการศึกษากอนหนาป
การศึกษาท่ีจะขอกูยืม โดยมีหลักฐานการเขารวมโครงการ/กิจกรรมที่มีประโยชนตอสังคมหรือ
สาธารณะท่นี าเชอ่ื ถือตามจาํ นวนชวั่ โมงท่ีกาํ หนดสําหรบั ผูขอกยู ืมเงิน ดังตอไปนี้

11.1 กรณีผูกูยืมรายใหม หรือผูกูยืมรายเกาท่ีเปลี่ยนระดับการศึกษา
ทศี่ ึกษาในระดบั ปรญิ ญาตรี ไมกําหนดจํานวนช่ัวโมง

11.2 กรณเี ปนผูกูยมื เงินรายเกาเลอ่ื นชั้นปท ุกระดับการศึกษาไมน อยกวา
36 ช่ัวโมง/ ปการศึกษา

(๑๙(๒(๖๑))๙๖ค)มู่ อื นคกั มู่ ศอื ึกนษกั าศ๒ึกษ๕า๖๒๓๕๖๓

มหาวมิทหยาาวลิทยั ยเาทลคยั โนเทโลคยโนีรโาลชยมรี งาคชลมกงรคงุลเกทรพงุ เทพ

ประเภทของนกั ศกึ ษากองทุนเงินใหก ยู ืมเพ่ือการศึกษา
ผูก ยู มื เงิน กยศ. แบงเปน 5 กลุมประเภทผูก ูดงั ตอ ไปนี้
ผกู ูป ระเภทที่ 1 นักศึกษาเกา – ผูกูรายเกา (ก-ก) คือ นักศึกษาตง้ั แตชนั้ ปท่ี

2– 5 ทเี่ คยกูย มื เงินกบั ทางมหาวิทยาลยั ต้ังแตชัน้ ปที่ 1 และเคยทาํ สญั ญากูย ืมกับมหาวทิ ยาลัยแลว
ผูกูประเภทที่ 2 นักศึกษาเกา – ผูกูรายเกา (ก-ก) คือ นักศึกษาตั้งแตชั้นปที่

2– 5 ทีเ่ คยกูย ืมเงินจากสถานศึกษาเดมิ แตยงั ไมเ คยทําสญั ญากูย ืมกับมหาวทิ ยาลัย
ผูกูประเภทที่ 3 นักศึกษาเกา – ผูกูรายใหม (ก-ม) คือ นักศึกษาต้ังแตช้ันปที่

2– 5 ทไ่ี มเคยกยู ืมเงิน กยศ. จากสถาบนั การศกึ ษาใดเลย
ผกู ูประเภทท่ี 4 นักศึกษาใหม – ผูกูรายใหม (ม-ม) คือ นักศึกษาต้ังแตชัน้ ป

ท่ี 1 หรือนกั ศึกษาเทียบโอนท่ีไมเ คยกยู มื เงิน กยศ. จากสถาบันการศกึ ษาใดเลย
ผกู ปู ระเภทที่ 5 นักศึกษาใหม – ผกู รู ายเกา (ม-ก) คือ นักศกึ ษาชั้นปท ี่ 1

หรือนักศึกษาเทียบโอนทเี่ คยกูยมื เงิน กยศ. จากสถาบนั เดิม (กตู อเน่อื ง)

ขนั้ ตอนการกยู มื เงนิ
1. ลงทะเบียน เพื่อขอรหัสผานของผูกูยืมท่ี http://www.studentloan.or.th

เมอื่ ขอรหัสแลวนกั ศกึ ษาสามารถยนื่ แบบขอกไู ดในวนั ถัดไป
2. ยนื่ แบบคําขอกูยมื เงิน
3. ติดตอสถานศึกษาเพื่อรับการสัมภาษณ ดูประกาศนัดสัมภาษณไดที่กองทุนเงินให

กยู ืมเพ่ือการศกึ ษา ไดท่ีกองพฒั นานักศึกษา อาคาร ๓๗ ช้นั ๑

4. ดูประกาศผลการคดั เลือกผมู ีสิทธ์ิกยู ืมเงิน กยศ. ผานระบบ และผไู ดรับสิทธิกูยืมเงิน

กยศ. ใหเขาทําสัญญากูยืมเงิน ผานระบบ โดยตองพิมพสัญญาออกจากอินเทอรเน็ต 3 ชุด เพื่อ
เตรียมทําสัญญาตามประกาศของงานกองทุนฯ

สามารถดูประกาศงานกองทุนฯ ไดที่แฟนเพจ เฟสบุค กองพัฒนานักศึกษา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เพื่อติดตามกําหนดการกูยืมตางๆ ไดระหวางเดือน
มีนาคม – พฤษภาคม ของทุกป
ติดตอ : งานกองทนุ เงนิ ใหกยู มื เพื่อการศึกษา กยศ. กองพฒั นานักศึกษา

อาคาร 37 ชั้น 1 (ชัน้ ลางโรงยมิ พื้นทเ่ี ทคนคิ กรุงเทพ)

คค่มู มู่อื อืนนกั กัศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ ((๑๑(๓๙๙)๗๗)

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เเททคคโนโนโลโลยยีรรี าาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุ เเททพพ

ผูป ฏบิ ัตงิ าน : คุณสุมลทา วงษา หัวหนางานกองทุนเงินใหกยู มื เพ่อื การศึกษา
เบอรโ ทรศัพท 0 2287 9600 ตอ 7618
คณุ จฑุ ามาส ชา งศลิ า
เบอรโทรศพั ท 0 2287 9600 ตอ 7617

งานแนะแนวการศกึ ษาและอาชีพ
จัดบริการใหนักศึกษาที่อาคาร ๓๗ ชั้น ๑ โทร.๐- ๒๒๘๗ – ๙๖๐๐ ตอ ๗๖๐๒,
๗๖๐๖
๑. บรกิ ารใหคาํ ปรึกษา

บริการใหคําปรึกษาแกนักศึกษาทั้งรายบุคคล และเปนกลุมในกรณีที่นักศึกษามี
ปญหาดานการเรียน การศึกษาตอ การประกอบอาชีพ และปญ หาสวนตวั นกั ศึกษาจะเขา มาขอ
คําปรึกษาไดจากอาจารยแนะแนว เพื่อจะไดเขาใจปญหาของตนเอง มีความมั่นใจในการตัดสินใจ
และเหน็ แนวทางแกปญ หาไดอ ยา งถกู ตอง

๒. บริการขา วสารตําแหนง งานวา ง
นักศึกษาที่ประสงคจะทํางาน Part time หรืองานประจํา สามารถดูขาวสาร

ตําแหนงงานวางไดท่ีบอรดของงานแนะแนว หรือ เพจ กองพัฒนานักศึกษา มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ในชวงใกลสําเร็จการศึกษา จะมีสถานประกอบการ เขามารับสมัคร
นักศกึ ษาเพอื่ เขา ทาํ งานภายหลังสาํ เร็จการศึกษาแลว

๓. บริการสารสนเทศการศึกษาตอ
บริการใหขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาตอในสถานศึกษาของรฐั และเอกชนเพ่ือให

นักศึกษาคน ควาไดสะดวก ประกอบการตดั สนิ ใจศึกษาตอ

งานประกนั อุบตั เิ หตุ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพจัดทําประกันอุบัติเหตุหมูใหกับ

นักศึกษา โดยนักศึกษาชําระคาประกันอุบัติเหตุ คนละ ๒๐๐ บาทตอป มีความคุมครองการ
บาดเจ็บหรือเสียชีวิตเนื่องจากอุบัติเหตุไดรับคาสินไหมทดแทน ตามสัญญาและขอตกลงใน
กรมธรรมของบริษัทประกันภัย

(๑๙(๒(๘๑))๙๘ค)มู่ อื นคกั มู่ ศอื ึกนษกั าศ๒กึ ษ๕า๖๒๓๕๖๓

มหาวมิทหยาาวลิทยั ยเาทลคยั โนเทโลคยโนีรโาลชยมรี งาคชลมกงรคงุลเกทรพงุ เทพ

การเคลมประกนั อบุ ตั ิเหตุ มีดงั ตอไปนี้
๑. บริษัทจัดใหมีบัตรประกันอุบัติเหตุ ซ่ึงสามารถใชคูกับบัตรนักศึกษาหรือบัตร
ประชาชนแทนเงนิ สดได
๒. ถามีสถานพยาบาล หรือคลินิก ที่ไมระบุไววายื่นบัตรประกันได ใหผูประสบภัย
สํารองเงินคารักษาพยาบาลไปกอน แลวจึงนําหลักฐานมาติดตอท่ีงานสวัสดิการและบริการ
นักศกึ ษา กองพฒั นานกั ศึกษา โดยมเี อกสารเพือ่ แนบการเคลมประกนั ดังตอ ไปน้ี

๒.๑ ใบรับรองแพทย ฉบับจริงที่มีแพทยเซ็นรับรองวามีอาการเจ็บปวยท่ีเกิดจาก
สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุจากสาเหตุใด (ตองระบุใหชัดเจน เพราะบริษัทประกันฯ จะยึดคํา
วนิ ิจฉยั จากแพทยเ ปน สําคญั )

๒.๒ ใบเสรจ็ คา รกั ษาพยาบาล
๒.๓ แบบฟอรมเรียกคาทดแทนอุบัติเหตุ (แบบฟอรมสามารถกรอกไดที่งาน
สวัสดกิ าร)
๒.๔ สําเนาบัตรนักศึกษาหรือบัตรประจําตวั ประชาชน

งานสุขภาพอนามยั
1. มีหนา ทีใ่ หบ ริการตรวจวินจิ ฉยั และรกั ษาโรคแกนักศึกษา อาจารย และเจาหนาท่ีของ
มหาวทิ ยาลัย
2. จา ยยาใหผูปวยตามคาํ สง่ั การรกั ษาแพทยและพยาบาล
3. งานทาํ แผล ตัดไหม
4. ใหการดูแลสังเกตอาการนักศึกษาท่ีจําเปนตองนอนพักรวม ท้ังประสานงาน
ผูปกครองมารบั นักศึกษากลบั บาน
5. บริการสงผูปวยอุบัติเหตุ และเจ็บปวยฉุกเฉินโดยรถมหาวิทยาลัย ต้ังแต
เวลา ๘.๓๐ – ๑๖.๓๐ น. ไปโรงพยาบาลเพอื่ รักษาตอ และประสานงานผูปกครองมาดูแลนกั ศึกษา
ภายหลังนาํ สง โรงพยาบาล
6. จัดท่ีสอบใหน ักศึกษาทีป่ วยฉกุ เฉนิ
7. ปกปองและสงเสริมสุขภาพใหหางไกลโรคตดิ ตอและโรคไมติดตอ วดั ความดันโลหิต
ใหคาํ ปรกึ ษาดา นสขุ ภาพและอนามยั เปน กลุม และรายบุคคล
8. เผยแพรความรทู างการแพทยและสขุ ภาพอนามยั บอรด นิตยสาร เอกสาร แผนพับ
Facebook กองพัฒนานักศึกษา

คคมู่ มู่อื อืนนกั กัศศกึ ึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ ((๑๑(๓๙๙)๙๙))

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เเททคคโนโนโลโลยยีรรี าาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุ เเททพพ

9. จัดกระเปายาและเวชภัณฑแกคณะ หนวยงานตางๆ เพ่ือใชประจําสาํ นักงานและ
กิจกรรมภายนอกมหาวทิ ยาลัยรวมทั้งจดั สาํ หรับนกั ศึกษา สาขา ชมรม ที่ออกคายอาสาพฒั นา
ชนบทและ/หรอื กิจกรรมนอกมหาวทิ ยาลัย (กรณีขอเบิกเวชภัณฑ ตดิ ตอ เบิกลว งหนา ๓ วัน)

10. จดั ซอื้ ยาและเวชภณั ฑ จัดซ้ือวัสดทุ างการแพทย จดั ซื้อวัสดุสาํ หรบั แพทย ครุภณั ฑ
ทางการแพทยเ พื่อใหบ ริการนกั ศึกษา อาจารย เจาหนาท่ี

11. โครงการตรวจสขุ ภาพบคุ ลากร อาํ นวยความสะดวกในการตรวจสขุ ภาพประจําปแ ก
บคุ ลากรของมหาวิทยาลยั

12. โครงการตรวจสขุ ภาพนกั ศึกษาใหมประจําปการศึกษา
13. ประสานงานกบั ศนู ยบริการโลหิตแหง ชาติสภากาชาดไทย ในการรบั บรจิ าคโลหติ
ปล ะ ๓ ครงั้
14. จัดกิจกรรมเรือ่ งโรคเอดสและเพศสมั พนั ธุและกจิ กรรมดานการปองกันยาเสพตดิ
15. การสาํ รวจขอ มลู เกีย่ วกบั ลูกนาํ้ ยุงลาย ประจําทุกเดือน
16. สรุปผลการใชยาและจาํ นวนผูเ ขารับบริการ ความพึงพอใจคณุ ภาพการใหบ ริการ
17. เตรยี มความพรอมของสถานที่ ยาและเวชภณั ฑ
วันและเวลาการใหบ ริการ
เทคนิคกรงุ เทพ (อาคาร 37 ชัน้ 1)
- เปด บริการปฐมพยาบาลเบอื้ งตน เวลา 08.30 น. – 1๖.30 น.
โทร 0 2287 9600 ตอ 7615, 7623, ๗๖24
- ตรวจรักษาโดยแพทย วนั จนั ทร – วันศุกร ชว งบายเวลา 13.00 – 16.00 น.
- ตรวจรักษาเบอ้ื งตน โดยพยาบาล วนั จนั ทร – วันศุกร เวลา 08.30 – 16.30 น.
(บริการตรวจรกั ษาฟรสี าํ หรับนกั ศกึ ษาและบคุ ลากรภายในมหาวิทยาลัย)
พระนครใต (อาคาร 5)
เปด บริการปฐมพยาบาลเบอื้ งตน 08.30 – 16.30 น.
- ตรวจรักษาเบ้อื งตนโดยพยาบาล วนั จันทร – วนั ศุกร เวลา 08.30 – 16.30 น.
โทร 0 2211 2056 ตอ 7223

งานวิชาทหาร

มีหนาที่กํากับดูแลการฝกศึกษา และกิจกรรมของนักศึกษาวิชาทหาร ตลอดจน
การใหบริการเรือ่ งการศึกษาวชิ าทหาร และการขอผอ นผนั การเขารับราชการทหารกองประจําการ
ในยามปกติ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ โดยใหบริการรับสมัครนักศึกษา
วิชาทหารท่ีมีความประสงคจะเขารับการฝกเรียนวิชาทหาร การขอผอนผันรอรับสิทธิ์ฝกเรียนวิชา

(๒๐(๒(๐๒))๐๐ค)มู่ อื นคกั ่มู ศอื ึกนษกั าศ๒ึกษ๕า๖๒๓๕๖๓

มหาวมิทหยาาวลิทยั ยเาทลคยั โนเทโลคยโนีรโาลชยมรี งาคชลมกงรคงุลเกทรพงุ เทพ

ทหาร การขอยกเวนการเรียกมาตรวจเลือกเขารับราชการทหารกองประจําการในยามปกติ การ
ขอผอนผันการเรียกพลเพ่ือฝกวิชาทหาร และการขอผอนผันการเขารับราชการทหารกอง
ประจําการในยามปกติ ใหกับนักศกึ ษาทไี่ มไ ดฝ กเรยี นวิชาทหาร

การใหบ ริการ

1.รับสมัครนักศกึ ษาวิชาทหาร
รับสมัครนักศึกษาวิชาทหาร (ชาย – หญิง) ระหวางเดือนพฤษภาคม – กรกฎาคม

ของทกุ ป โดยยน่ื ใบสมัครมาที่ งานวชิ าทหาร กองพัฒนานักศึกษา อาคาร 37 ชัน้ 1

หลักฐานทีต่ อ งใช
1. นักศกึ ษาใหม ยายมาศึกษาตอทม่ี หาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
- ใบรายงานตัวนักศึกษาวิชาทหาร (รด.2) 1 ชุด (ขอรับไดที่งานวิชาทหาร
กองพัฒนานกั ศึกษา)
- รูปถา ยนกั ศึกษาวิชาทหาร 1 ใบ
- สําเนาบัตรประชาชน 1 ชุด
- ใบรับรองการฝกวชิ าทหาร (จบลาสดุ ) ๑ ชุด
- อน่ื ๆ เชน หลกั ฐานการเปลยี่ นชื่อตัว ชือ่ สกุล 2 ชดุ
2. นกั ศกึ ษาเกา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
- ใบรายงานตัวนักศึกษาวิชาทหาร (รด.2) 1 ชุ ด (ข อ รับ ได ที่ งาน วิช าท ห าร
กองพัฒนานกั ศึกษา)
- รปู ถา ยนักศึกษาวิชาทหาร 1 ใบ
- สําเนาบัตรประชาชน 1 ชุด
- อ่ืนๆ เชน หลกั ฐานการเปลีย่ นชื่อตัว ช่ือสกลุ 2 ชดุ
2. การขอผอนผันการเกณฑทหาร
นักศึกษาชายไทย อายุครบ 20 ปบริบูรณ ที่ตองเขารับการตรวจเลอื ก เดือนเมษายนของ
ทุกป และมีความประสงคขอผอนผันการเกณฑทหาร สามารถยื่นใบคํารองและหลักฐานขอ
ผอนผันฯ ไดระหวางเดือน สิงหาคม – ธันวาคม ของทุกป โดยสงหลักฐานมาที่ งานวิชาทหาร
กองพัฒนานกั ศกึ ษา อาคาร 37 ชั้น 1
หลกั ฐานทีต่ องใช
- สําเนาหมายเรยี กเขารบั ราชการทหาร (สด.35) 2 ชุด
- สาํ เนา (สด.9) 2 ชดุ
- สาํ เนาทะเบียนบาน 2 ชุด
- สําเนาบตั รประชาชน 2 ชุด

คค่มู มู่อื อืนนกั กัศศกึ ึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ ((๒๒(๓๐๐)๑๑))

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เเททคคโนโนโลโลยยีรรี าาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุ เเททพพ

- ใบรับรองการเปนนกั ศึกษา ๒ ชุด
- อน่ื ๆ เชน หลกั ฐานการเปล่ียนช่อื ตัว ช่ือสกุล 2 ชุด
- ใบคํารอง ขอผอ นผนั การเกณฑทหาร ๑ ชุด (ขอรับไดท่ีงานวิชาทหาร กองพัฒนา
นักศึกษา)
3. การขอผอ นผนั การเขารับราชการทหารกองประจําการเพ่อื ลาศกึ ษาตอ
สําหรับนักศึกษาใหม ที่เขารับการเกณฑทหารและไดรับการคัดเลือกใหเขารับราชการ
ทหารกองประจําการ (จับไดใบแดง) โดยมีความประสงคขอผอนผันการเขารับราชการฯ เพื่อลา
ศึกษาตอ สามารถย่ืนคํารองพรอมหลักฐาน ภายในเดือนกรกฎาคม ของทุกป (หลังจากทราบผล)
โดยสง หลกั ฐานมาที่ งานวิชาทหาร กองพัฒนานักศึกษา อาคาร 37 ชนั้ 1
หลักฐานท่ีตองใช
- สาํ เนาหมายนดั เขารับราชการทหาร (สด.40) 2 ชุด
- ใบรับรองการเปนนกั ศกึ ษา 2 ชุด
- สาํ เนาทะเบียนบาน 2 ชดุ
- สาํ เนาบตั รประชาชน 2 ชดุ
องคการนักศึกษา

มีหนาที่พิจารณานําเสนอกิจกรรมและจัดสรรงบประมาณในการดําเนินโครงการสาํ หรับ
นกั ศึกษาเพื่อพฒั นาความรู และใชเวลาวา งใหเปนประโยชนป ระกอบดว ย ๕ ฝา ย คอื

ฝา ยศิลปวฒั นธรรม
- ชมรมมสุ ลิม
- ชมรมศิลปวัฒนธรรมอสี าน
- ชมรมคริสเตยี น
- ชมรมสบื ศลิ ปถิ่นไทย
- ชมรมชาวเหนือ
- ชมรมทกั ษิณมหาเมฆ
- ชมรมดนตรไี ทย
- ชมรมพทุ ธศาสตรและวัฒนธรรมไทย

ฝา ยวชิ าการ
- ชมรม UTK STUDENT FORMULA
- ชมรมรกั ษาดนิ แดน มทร.กรุงเทพ
- ชมรมถายภาพ

(๒๐(๒(๒๒))๐๒คมู่)อื นคกั ่มูศอืึกนษกัาศ๒กึ ๕ษา๖๒๓๕๖๓

มหาวมิทหยาวลิทยั ยเทาคลโยันเโทลคยโีรนาโชลมยงรี คาชลมกงรคงุ ลเทกพรงุ เทพ

ฝา ยอาสาพัฒนา
- ชมรมรกั ษสิ่งแวดลอม
- ชมรมบาํ เพ็ญประโยชน
- ชมรมวิศวกรรมอาสาพัฒนา

ฝายกีฬา
- ชมรมฟุตซอล
- ชมรมฟตุ บอล
- ชมรมวอลเลยบ อล
- ชมรมเปตอง
- ชมรมบาสเกตบอล
- ชมรมวอลเลย

ฝา ยนกั ศึกษาสัมพันธ
- ชมรม UTK BAND
- ชมรมลูกทงุ UTK

สนใจเขา รว มโครงการ
สามารถสมัครเปนสมาชิกชมรมไดท่ี หองชมรมและองคการนักศึกษา(อาคาร
เอนกประสงค) หรือสมัครในวนั เปดโลกกิจกรรมทจ่ี ัดขน้ึ ในภาคการศกึ ษาที่ ๑ ของทุกป

งานเสริมสรางการเรยี นรแู ละประสบการณช ุมชน
โครงการเสรมิ สรา งคณุ ธรรม จริยธรรม
๑. โครงการปฏิบตั ธิ รรมเฉลมิ พระเกียรติ สมเด็จพระนางเจาพระบรมราชนิ นี าถ
๒. โครงการพัฒนาจิตเพื่อเตรียมความพรอ มในการทํางาน
๓. โครงการสรา งเสริมวฒั นธรรมขามถนนโดยใชทางมา ลายและสะพานลอย
๔. โครงการสง เสรมิ การแตงกายใหถูกตองตามวัฒนธรรมไทย
๕. โครงการคา ยเรียนรคู ุณธรรมนาํ ชวี ิตพอเพียง

ค่มู อื นคกัมู่ ศอื ึกนษกั าศึก๒ษ๕า๖๒๓๕๖๓(๒๐(๒(๓๐) ๓)

มหาวมิทหยาาวลิทยั ยเาทลคยั โนเทโลคยโนรี โาลชยมีรงาคชลมกงรคงุลเกทรพงุ เทพ

(๒๐(๒(๔๒))๐๔ค)มู่ อื นคกั ่มูศอื ึกนษกั าศ๒กึ ษ๕า๖๒๓๕๖๓

มหาวมิทหยาาวลิทยั ยเทาลคยัโนเทโลคยโีรนาโลชยมรีงาคชลมกงรคงุ ลเทกพรงุ เทพ

ขอ บังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
วาดว ยการศกึ ษาระดับบัณฑิตศึกษา
พ.ศ. ๒๕๖๐

โดยท่ีเปนการสมควรปรับปรุงหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไข เก่ียวกับการศึกษา
ระดับบัณฑิตศึกษาใหสอดคลองกับประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เร่ือง เกณฑมาตรฐานหลักสตู รระดับ
บัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๘

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๗ (๒) แหงพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. ๒๕๔๘ ประกอบกบั มตสิ ภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ ใน
การประชมุ ครงั้ ที่ ๕/๒๕๖๐ เมือ่ วนั ที่ ๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ จงึ ออกขอบังคบั ไว ดงั ตอ ไปนี้

ขอ ๑ ขอบังคับน้ีเรียกวา “ขอบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
วา ดวยการศกึ ษาระดบั บัณฑติ ศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๐”

ขอ ๒ ขอ บังคบั นใี้ หใ ชบังคบั ตง้ั แตว นั ถัดจากวันประกาศเปน ตน ไป
ขอ ๓ ใหยกเลกิ ขอบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ วาดวยการศึกษา
ระดบั บัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๙
ขอ ๔ ในขอ บังคบั น้ี
“มหาวิทยาลยั ” หมายความวา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
“สภามหาวทิ ยาลัย” หมายความวา สภามหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล
กรุงเทพ
“สภาวชิ าการ” หมายความวา สภาวิชาการมหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
“อธิการบดี” หมายความวา อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรุงเทพ
“คณบดี” หมายความวา คณบดีคณะท่ีเปดสอนหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ
“บัณฑิตศึกษา” หมายความวา การศึกษาระดับสูงกวาปริญญาตรีขึ้นไปของ
มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ

คมู่ อืคนมู่ กัอื ศนกึั ษศาึกษ๒า๕๒๖๕๓๖๓ (๒(๐๒(๓๕๐))๕)

มหมาวหิทายวิทาลยยั าเลทยั คเทโนคโลโนยโรีลายชีรมางชคมลงกครลงกุ เรทงุพเทพ

“หลักสูตร” หมายความวา หลักสูตรสาขาวิชาตาง ๆ ในระดับบัณฑิตศึกษา
ที่สภามหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพใหความเห็นชอบ

“คณะ” หมายความวา คณะหรือหนวยงานที่เรียกชื่ออยางอื่นที่มีฐานะ
เทียบเทาคณะที่ไดรับอนุมัติจัดตั้งโดยสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ที่เปดสอน
หลกั สูตรระดับบณั ฑิตศึกษา

“บัณฑิตวิทยาลัย” หมายความวา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลกรงุ เทพ

“คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย” หมายความวา คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ

“คณะกรรมการบริหารหลักสูตร” หมายความวา คณะกรรมการบริหาร
หลักสูตรของมหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

“อาจารยประจํา” หมายความวา บุคคลที่ดํารงตําแหนงอาจารย ผูชวย
ศาสตราจารย รองศาสตราจารย และศาสตราจารย ในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
และปฏบิ ัตหิ นา ทีเ่ ตม็ เวลา

“อาจารยประจําหลักสูตร” หมายความวา อาจารยประจาํ ที่มีคุณวุฒิตรงหรือ
สัมพันธกับสาขาวิชาของหลักสูตรที่เปดสอน ซึ่งมีหนาที่สอนและคนควาวิจัยในสาขาวิชา
ดังกลาว ทั้งนี้ สามารถเปนอาจารยประจําหลักสูตรหลายหลักสูตรไดในเวลาเดียวกัน แตตอง
เปนหลักสูตรท่ีอาจารยผูน้ันมีคุณวุฒิตรงหรือสัมพันธกับสาขาวิชาของหลักสูตร

“อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร” หมายความวา อาจารยประจําหลักสูตรที่มี
ภาระหนาที่ในการบริหารและพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน ตั้งแตการวางแผน การ
ควบคุมคุณภาพ การติดตามประเมินผลและการพัฒนาหลักสูตร อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร
ตองอยูประจําหลักสูตรนั้นตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษา โดยจะเปนอาจารยผูรับผิดชอบ
หลักสูตรเกินกวา ๑ หลักสูตรในเวลาเดียวกันไมได ยกเวนพหุวิทยาการ หรือสหวิทยาการ ให
เปนอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรไดอีกหนึ่งหลักสูตรและอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรสามารถ
ซาํ้ ไดไมเกิน ๒ คน

“อาจารยพิเศษ” หมายความวา ผูสอนท่ีไมใชอาจารยประจาํ
“นักศึกษา” หมายความวา ผูเขารับการศึกษาในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
ของมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

(๒๐(๒(๖๒))๐๖ค)มู่ อื นคกั มู่ศอื ึกนษกั าศ๒กึ ษ๕า๖๒๓๕๖๓

มหาวมิทหยาาวลิทยั ยเทาลคยัโนเทโลคยโีรนาโลชยมรีงาคชลมกงรคงุ ลเทกพรงุ เทพ

“ผูทรงคุณวุฒิ” หมายความวา บุคคลซึ่งมีคุณวุฒิหรือตําแหนงทางวิชาการตาม
เกณฑแ ละขอ กาํ หนดของแตละหลักสูตรท่ีเปดสอน

“ผูเช่ียวชาญเฉพาะ” หมายความวา บุคคลซ่ึงมีความรูและความเชี่ยวชาญใน
สาขาวิชาที่เปดสอนเปนอยางดี หรือเปนผูเช่ียวชาญภายนอกมหาวิทยาลัย โดยไมตองพิจารณาดาน
คุณวฒุ ิและตาํ แหนง ทางวชิ าการ

ขอ ๕ ใหอธิการบดีรักษาการตามขอบังคับน้ี และมีอํานาจวินิจฉัยตีความในกรณีที่มี
ปญหาเกย่ี วกับการปฏิบัตติ ามขอบงั คับนี้

หมวด ๑
บททว่ั ไป

ขอ ๖ ในกรณีท่ีมีการจัดต้ังบัณฑิตวิทยาลัยแลว ใหบัณฑิตวิทยาลัยมีหนาที่ใน
การกําหนดนโยบาย การจัดการศึกษา การประสานงาน และสนับสนุนการดําเนินการระดับ
บัณฑติ ศึกษา ในสาขาวชิ าทเ่ี กี่ยวขอ งกบั คณะตา ง ๆ ภายในมหาวิทยาลยั

กรณีท่ียังไมมีการจัดตั้งบัณฑิตวิทยาลัย ใหคณะดําเนินการในดานตาง ๆ ท่ี
เกี่ยวขอ งกับการจัดการศกึ ษาระดับบัณฑติ ศกึ ษาไปจนกวาจะมีการจัดตง้ั บัณฑิตวิทยาลยั

ขอ ๗ ใหคณบดีแตงต้ังคณะกรรมการบริหารหลักสูตร เพ่ือบริหารและจัด
การศึกษาในหลักสูตรตา ง ๆ ของคณะ

หมวด ๒
ระบบการศึกษา

ดังตอ ไปน้ี ขอ ๘ ระบบการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ใหจัดการศึกษาเปน ๓ ประเภท
(๑) การศึกษาภาคปกติ จดั เปน ๓ แบบ ดงั ตอไปนี้

ค่มู อืคนมู่ กัอื ศนึกั ษศาึกษ๒า๕๒๖๕๓๖๓(๒(๐๒(๓๗๐) ๗) )

มหมาวหิทายวิทาลยยั าเลทยั คเทโนคโลโนยโรีลายชีรมางชคมลงกครลงกุ เรทงุพเทพ

(ก) ระบบทวิภาค โดย ๑ ปการศึกษา แบงออกเปน ๒ ภาคการศึกษาปกติ ๑ ภาค
การศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไมนอยกวา ๑๕ สัปดาห และอาจเปดสอนภาคการศึกษาฤดูรอนได
ซ่ึงมีระยะเวลาไมนอ ยกวา ๗ สัปดาห โดยมชี ั่วโมงการเรียนในแตละรายวิชาเทากับภาคการศึกษา
ปกติ ในกรณีท่ีมีการเปดภาคการศกึ ษาฤดรู อ น ใหถอื วาเปน สวนหน่งึ ของปก ารศกึ ษาเดียวกัน

(ข) ระบบไตรภาค โดย ๑ ปการศึกษา แบงออกเปน ๓ ภาคการศึกษาปกติ
๑ ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไมนอยกวา ๑๒ สัปดาห โดย ๑ หนวยกติ ระบบไตรภาคเทียบ
ไดกับ ๑๒/๑๕ หนวยกิตระบบทวิภาค หรือ ๔ หนวยกิตระบบทวิภาคเทียบไดกับ ๕ หนวยกิต
ระบบไตรภาค

(ค) ระบบจตุรภาค โดย ๑ ปการศึกษา แบงออกเปน ๔ ภาคการศึกษาปกติ
๑ ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไมนอ ยกวา ๑๐ สปั ดาห โดย ๑ หนวยกิตระบบจตุรภาคเทียบ
ไดกบั ๑๐/๑๕ หนวยกิตระบบทวิภาค หรือ ๒ หนวยกิตระบบทวิภาคเทียบไดกบั ๓ หนวยกิตระบบ
จตรุ ภาค

(๒) การศึกษาภาคสมทบ เปนการจัดการศึกษาในชวงเวลาวันหยุดสุดสัปดาห
หรือนอกเวลาราชการในภาคการศึกษาปกติ

(๓) การศึกษาภาคพิเศษ เปนการจัดการศึกษาในภาคการศึกษาปกติ หรือรูปแบบ
ใดรูปแบบหนงึ่ หรือแบบผสมผสาน ดงั ตอไปนี้

(ก) การศึกษาเฉพาะชวงเวลาของป จัดเฉพาะชวงของภาคการศึกษาปกติ
หรือจัดเฉพาะในภาคฤดรู อ น

(ข) การศึกษาแบบนานาชาติ เปนการจัดการศึกษาโดยความรวมมือของ
สถาบันอุดมศึกษาในตางประเทศ หรือเปนหลักสูตรของมหาวิทยาลัย ท่ีมีการจัดการและมาตรฐาน
เดียวกันกับหลักสูตรนานาชาติ โดยอาจจัดในระยะเวลาท่ีสอดคลองกับชวงเวลาในตางประเทศ ตาม
โครงการความรว มมือทางวิชาการ

การจัดการเรียนการสอนแตละรูปแบบ ใหพิจารณาตามความเหมาะสมกับแต
ละหลักสูตร ทั้งนี้ ตองจัดใหไดเนื้อหาโดยรวมที่มีน้ําหนักสมดุลกับจํานวนหนวยกิตรวมของ
หลักสูตร โดยการคิดเทียบน้ําหนักหนวยกิตตามขอ ๙ และใหจัดทําโครงการของหลักสูตรนั้น
เสนอตอสภามหาวิทยาลัย และจัดทาํ เปนประกาศมหาวิทยาลัย

(๒๐((๒๘๒))๐๘ค)มู่ อื นคกั ่มูศอื ึกนษกั าศ๒ึกษ๕า๖๒๓๕๖๓

มหาวมิทหยาาวลิทยั ยเทาลคยัโนเทโลคยโีรนาโลชยมรีงาคชลมกงรคงุ ลเทกพรงุ เทพ

ขอ ๙ การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา เปนการศึกษาแบบสะสมหนวยกิต
การกําหนดหนว ยกิตแตล ะรายวชิ า มีหลกั เกณฑด ังตอไปนี้

(๑) รายวิชาภาคทฤษฎี ที่ใชเ วลาบรรยายหรืออภิปรายปญ หาไมนอยกวา ๑๕ ชั่วโมง
ตอภาคการศึกษาปกติ ใหม คี าเทา กับ ๑ หนวยกิตระบบทวภิ าค

(๒) รายวิชาภาคปฏิบัติ ที่ใชเวลาฝกหรือทดลองไมนอยกวา ๓๐ ช่ัวโมงตอภาค
การศกึ ษาปกติ ใหมีคาเทากบั ๑ หนว ยกิตระบบทวิภาค

(๓) การฝกงานหรือฝกภาคสนาม ท่ีใชเวลาฝกไมนอยกวา ๔๕ ชั่วโมงตอภาค
การศกึ ษาปกติ ใหมคี า เทา กับ ๑ หนว ยกิตระบบทวิภาค

(๔) การทําโครงงานหรือกิจกรรมการเรียนอ่ืนใดตามที่ไดรับมอบหมาย ที่ใชเวลาทํา
โครงงาน หรือกิจกรรมน้นั ไมนอยกวา ๔๕ ช่ัวโมงตอภาคการศึกษาปกติใหมีคาเทากับ ๑ หนวยกิต
ระบบทวิภาค

(๕) การคนควาอิสระ หรือวิทยานิพนธ ที่ใชเวลาศึกษาคนควาไมนอยกวา ๔๕ ช่ัวโมง
ตอ ภาคการศึกษาปกติ ใหมีคาเทากับ ๑ หนวยกติ ระบบทวิภาค

หมวด ๓
หลกั สตู รการศึกษา

ขอ ๑๐ หลกั สตู รท่เี ปดสอนในระดับบัณฑิตศึกษา มีดังตอ ไปนี้
(๑) หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต เปนหลักสูตรการศึกษาที่สรางเสริมความ
เช่ียวชาญหรอื ประสทิ ธิภาพในทางวิชาชีพ และเปนหลกั สูตรที่มีลักษณะส้ินสุดในตัวเอง สําหรับผูสําเร็จ
การศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรีหรอื เทยี บเทามาแลว
(๒) หลักสูตรปริญ ญ ามหาบัณ ฑิต เปนหลักสูตรการศึกษาที่สงเสริม
ความกา วหนาทางวิชาการหรือวิชาชพี ในสาขาวิชาตา ง ๆ ในระดบั ทส่ี งู กวาข้นั ปริญญาตรี
(๓) หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง เปนหลักสูตรการศึกษาที่สรางเสริม
ความเช่ียวชาญหรือประสิทธิภาพในทางวิชาชีพ และเปนหลักสูตรที่มีลักษณะส้ินสุดในตัวเอง
สาํ หรับผสู ําเรจ็ การศึกษาในระดับปรญิ ญาโทหรือเทยี บเทา มาแลว

ค่มู อืคนมู่ กัอื ศนกึั ษศาึกษ๒า๕๒๖๕๓๖๓(๒(๐๒(๓๙๐) ๙) )

มหมาวหิทายวิทาลยยั าเลทยั คเทโนคโลโนยโีรลายชีรมางชคมลงกครลงกุ เรทงุพเทพ

(๔) หลักสูตรปริญ ญ าดุษฎีบัณ ฑิต เปนหลักสูตรการศึกษาที่สงเสริม
ความกาวหนาทางวิชาการและการวิจัยในสาขาวิชาตา ง ๆ ในระดบั ทีส่ ูงกวาขัน้ ปรญิ ญาโท

ขอ ๑๑ โครงสรา งหลักสตู ร ระบบทวิภาค
(๑) หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต และประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสูง ใหมี
จาํ นวนหนวยกิตรวมตลอดหลกั สูตรไมน อยกวา ๒๔ หนวยกิต
(๒) หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต ใหมีจํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตรไมนอยกวา
๓๖ หนว ยกิต โดยแบง การศึกษาเปน ๒ แผน ดังตอ ไปน้ี

(ก) แผน ก เปนแผนการศึกษาท่ีเนนการวิจัย โดยมีการทําวิทยานิพนธ
ดงั ตอ ไปนี้

แบบ ก ๑ ทําเฉพาะวทิ ยานิพนธ ซง่ึ มคี าเทียบไดไมนอยกวา ๓๖ หนวยกิต
หลักสูตรอาจกําหนดใหเรียนรายวิชาเพิ่มเติม หรือทํากิจกรรมทางวิชาการอื่นเพ่ิมขึ้นก็ได โดยไมนับ
หนวยกติ แตจะตอ งมีผลสัมฤทธ์ิตามที่หลักสูตรกําหนด

แบบ ก ๒ ทําวิทยานิพนธ ซ่ึงมีคาเทียบไดไมนอยกวา ๑๒ หนวยกิต
และศกึ ษารายวิชาในระดับบัณฑติ ศึกษาอีกไมนอยกวา ๑๒ หนวยกติ

(ข) แผน ข เปนแผนการศึกษาท่ีเนนการศึกษารายวิชา โดยไมตองทํา
วทิ ยานิพนธแตตองมีการคนควา อสิ ระไมน อยกวา ๓ หนวยกติ และไมเกิน ๖ หนวยกติ

(๓) หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต แบงการศึกษาเปน ๒ แบบ โดยเนนการวิจัย
เพอื่ พัฒนานักวชิ าการ และนักวชิ าชีพช้ันสงู คอื

(ก) แบบ ๑ เปนแผนการศึกษาท่ีเนนการวิจัย โดยมีการทําวิทยานิพนธที่
กอ ใหเกิดความรูใหม หลกั สูตรอาจกาํ หนดใหเ รียนรายวิชาเพ่ิมเติม หรือทํากิจกรรมทางวชิ าการอ่ืน
เพม่ิ ข้นึ ก็ไดโ ดยไมน บั หนว ยกิต แตจะตองมผี ลสมั ฤทธิ์ตามที่หลกั สตู รกาํ หนด ดงั ตอ ไปนี้

แบบ ๑.๑ ผูเขาศึกษาที่สําเร็จปริญญาตรี ตองทําวิทยานิพนธไม
นอยกวา ๗๒ หนวยกิต

แบบ ๑.๒ ผูเขาศึกษาที่สําเร็จปริญญาโท ตองทําวิทยานิพนธไม
นอยกวา ๔๘ หนวยกิต

ทั้งน้ี วิทยานิพนธตามแบบ ๑.๑ และแบบ ๑.๒ ตองมีมาตรฐานและ
คุณภาพเดยี วกัน

(๒๑((๒๐๒))๑๐ค)มู่ อื นคกั ่มูศอื ึกนษกั าศ๒กึ ษ๕า๖๒๓๕๖๓

มหาวมิทหยาาวลิทยั ยเทาลคยัโนเทโลคยโีรนาโลชยมรีงาคชลมกงรคงุ ลเทกพรงุ เทพ

(ข) แบบ ๒ เปนแผนการศึกษาที่เนนการวิจัย โดยมีการทําวิทยานิพนธ
ที่มีคุณภาพสูง และกอใหเกิดความกาวหนาทางวิชาการและวิชาชีพ และศึกษารายวิชาเพิ่มเติม
ดงั ตอ ไปน้ี

แบบ ๒.๑ ผูเขาศึกษาที่สําเร็จปริญญาตรี ตองทําวิทยานิพนธไมนอย
กวา ๔๘ หนวยกิต และศึกษารายวชิ าอีกไมนอยกวา ๒๔ หนวยกิต

แบบ ๒.๒ ผูเขาศึกษาที่สําเร็จปริญญาโท ตองทําวิทยานิพนธไมนอย
กวา ๓๖ หนวยกิต และศกึ ษารายวชิ าอีกไมนอยกวา ๑๒ หนว ยกิต

ท้ังน้ี วิทยานิพนธตามแบบ ๒.๑ และแบบ ๒.๒ ตองมีมาตรฐานและ
คุณภาพเดยี วกัน

ขอ ๑๒ ระยะเวลาการศึกษา
(๑) หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต และประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสูง ใหใชระยะเวลา
การศึกษาตามหลักสูตรไมเ กนิ ๓ ปก ารศกึ ษา
(๒) หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต ใหใชระยะเวลาการศึกษาตามหลักสูตรไมเกิน ๕ ป
การศกึ ษา
(๓) หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต ใหใชระยะเวลาการศึกษาตามหลักสูตรไมนอย
กวา ๓ ปก ารศึกษา และอยา งมากสําหรับนักศกึ ษาท่ีเขาศกึ ษาดว ยคณุ วฒุ ิทแ่ี ตกตา งกนั ดงั ตอ ไปน้ี

(ก) สําหรับผูท่ีเขาศึกษาดวยวุฒิปริญญาตรี ใหใชเวลาศึกษาไมเกิน ๘ ป
การศกึ ษา

(ข) สําหรับผูท่ีเขาศึกษาดวยวุฒิปริญญาโท ใหใชเวลาศึกษาไมเกิน ๖ ป
การศกึ ษา

(๔) การนับระยะเวลาการศึกษา ใหนบั จากวันเปดภาคการศึกษาแรกที่นกั ศึกษา
เขา ศึกษาในหลกั สตู ร โดยทม่ี ีสภาพการเปน นกั ศกึ ษาตามขอ ๑๖ (๓)

(๕) ในกรณีที่นักศึกษาไมสามารถสําเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาที่กําหนด
ใหนักศึกษาย่ืนคํารองขอขยายเวลาตอคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเพ่ือพิจารณาและเสนอ
คณบดีเพ่ืออนุมัติ ท้ังนี้ การขยายเวลาใหสามารถขอขยายไดคราวละหน่ึงภาคการศึกษา แตไม
เกนิ สองภาคการศึกษา

คมู่ อืคนมู่ กัอื ศนกึั ษศาึกษ๒า๕๒๖๕๓๖๓ (๒(๑๒(๓๑) )๑)

มหมาวหิทายวิทาลยยั าเลทยั คเทโนคโลโนยโรีลายชีรมางชคมลงกครลงกุ เรทงุพเทพ

หมวด ๔
การรบั เขา เปนนักศึกษา ประเภท และสภาพนกั ศึกษา

ขอ ๑๓ คณุ สมบตั ิของผเู ขา ศึกษา
(๑) หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต และปริญญามหาบัณฑิต ผูเขาศึกษา
ตองสําเร็จการศึกษาระดบั ปริญญาตรหี รือเทยี บเทาจากสถาบันการศึกษาที่สํานักงานคณะกรรมการ
การอุดมศึกษา หรือสํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือนรับรอง และมีคุณสมบัติอื่นตาม
เกณฑกําหนดของหลกั สตู ร
(๒) หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสูง ผูเขาศึกษาตองสําเร็จการศึกษาระดับ
ปริญญาโทหรือเทียบเทาจากสถาบันการศึกษาที่สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือ
สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือนรับรอง และมีคุณสมบัติอื่นตามเกณฑกําหนดของ
หลกั สตู ร
(๓) หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต ผูเขาศึกษาตองสําเร็จการศึกษา โดยมีคุณสมบัติ
ดังตอไปน้ี

(ก) สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทหรือเทียบเทา หรือสําเร็จการศึกษา
ระดับปริญญาตรหี รือเทียบเทาที่มีผลการเรียนดีมาก ในสาขาวิชาเดียวกันกับหลักสูตรปริญญา
ดุษฎีบัณฑิตที่ประสงคจะศึกษา โดยสําเร็จการศึกษาจากสถาบันการศึกษาท่ีสํานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือสํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือนรับรอง และมีผล
การสอบภาษาอังกฤษไดต ามเกณฑท ี่คณะกรรมการการอดุ มศกึ ษากําหนด

(ข) มคี ุณสมบัติอ่ืนตามที่กําหนดไวใ นหลักสตู ร
(ค) ไมเคยพนสภาพจากการเปนนักศึกษาเนื่องจากการสอบวัดคุณสมบัติไมผาน
ตามขอ ๓๒ ในการศึกษาระดับบัณฑิตศกึ ษาของมหาวิทยาลัยในหลักสตู รที่จะเขาศกึ ษา
ขอ ๑๔ การรบั เขา ศกึ ษา
(๑) วธิ ีการสมัครเขาเปนนักศกึ ษา ใชวิธกี ารตามทีม่ หาวิทยาลัยกําหนด โดยอาจมี
การทดสอบความรู การสอบคัดเลือก การพิจารณาคัดเลือก หรือโดยวิธีอ่ืนใดท่ีคณะ
กรรมการบริหารหลักสูตรเห็นสมควร และคณะใหความเหน็ ชอบ

(๒๑((๒๒๒))๑๒ค)มู่ อื นคกั ่มูศอื ึกนษกั าศ๒กึ ษ๕า๖๒๓๕๖๓

มหาวมิทหยาาวลิทยั ยเทาลคยัโนเทโลคยโีรนาโลชยมรีงาคชลมกงรคงุ ลเทกพรงุ เทพ

(๒) ในกรณีที่ผูสมัครกําลังรอผลการศึกษาระดับปริญญาขั้นใดขั้นหนึ่งอยู
การรับเขาศึกษาจะมีผลสมบูรณเม่ือผูสมัครไดแสดงหลักฐานวาสําเร็จการศึกษาแลวกอนวัน
รายงานตัวเปน นักศกึ ษาตามวันและเวลาท่ีมหาวทิ ยาลยั กาํ หนด
(๓) คณะอาจพิจารณาอนมุ ตั ใิ หร บั นักศึกษาระดับบัณฑิตศกึ ษาจากมหาวทิ ยาลัยหรือ
สถาบันอุดมศึกษาอ่ืนลงทะเบียนเรียนรายวิชาตามความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหาร
หลกั สตู ร และปฏบิ ตั ิตามระเบยี บหรือประกาศมหาวิทยาลยั ทเ่ี ก่ียวของ
(๔) คณะอาจพิจารณาอนุมัติใหรับบุคคลภายนอกท่ีไมใชนักศึกษาระดับ
บัณฑติ ศึกษาเขาเปนนักศึกษาพิเศษตามความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร แตบุคคล
น้ันตองมีคณุ วุฒแิ ละคุณสมบัติตามขอ ๑๓
ขอ ๑๕ การข้ึนทะเบียนเปน นกั ศึกษา
(๑) ผูท่ีไดรับการคัดเลือกเขาเปนนักศึกษา มีสภาพเปนนักศึกษาตอเม่ือไดข้ึน
ทะเบียนเปน นักศกึ ษาแลว
(๒) ผูที่ไดรับการคัดเลือกเขาเปนนักศึกษา ตองขึ้นทะเบียนนักศึกษาดวย
ตนเองโดยนําหลักฐานตามที่มหาวิทยาลัยกําหนดมารายงานตัวตอแผนกทะเบียนนักศึกษาของคณะ
หรือมหาวทิ ยาลยั พรอมท้ังชาํ ระเงนิ ตามระเบยี บที่มหาวิทยาลัยกาํ หนด
(๓) ผูทไี่ ดร ับการคัดเลอื กเขาเปนนักศึกษาที่ไมอาจมาขึ้นทะเบียนตามวัน เวลา และ

สถานท่ีท่ีมหาวิทยาลัยกําหนด ใหหมดสิทธิ์ขึ้นทะเบียนเปนนักศึกษา เวนแตไดแจงเหตุขัดของให
มหาวิทยาลัยทราบเปนลายลักษณอักษรภายในวันท่ีกําหนดใหมารายงานตัว และเมื่อไดรับอนุมัติ
แลวตองมารายงานตวั ภายใน ๗ วัน นบั จากวนั สดุ ทา ยที่มหาวิทยาลยั กาํ หนดใหมารายงานตวั
(๔) ผูที่ไดรับการคัดเลือกใหเขาเปนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของ

มหาวิทยาลัยจะขึ้นทะเบยี นเปนนักศกึ ษาเกินกวา ๑ สาขาวิชาในขณะเดยี วกันไมได
ขอ ๑๖ ประเภทนักศึกษา สถานภาพการเปนนักศึกษา และการเปลี่ยน
ประเภทและสถานภาพการเปนนักศกึ ษา
(๑) นักศึกษา มี ๓ ประเภท ดงั ตอ ไปน้ี
ขอ ๘ (๑) (ก) นักศกึ ษาภาคปกติ ไดแก นกั ศกึ ษาทศี่ ึกษาในระบบการศกึ ษาตาม
ขอ ๘ (๒) (ข) นักศึกษาภาคสมทบ ไดแก นกั ศึกษาท่ีศึกษาในระบบการศึกษาตาม

คมู่ อืคนมู่ กัอื ศนึกั ษศาึกษ๒า๕๒๖๕๓๖๓ (๒(๑๒(๓๓๑) )๓)

มหมาวหิทายวิทาลยยั าเลทยั คเทโนคโลโนยโรีลายชีรมางชคมลงกครลงกุ เรทงุพเทพ

(ค) นกั ศกึ ษาภาคพิเศษ ไดแก นักศึกษาท่ีศกึ ษาในระบบการศกึ ษาตาม
ขอ ๘ (๓)

(๒) การเปลี่ยนประเภทนักศึกษา
(ก) ในกรณีท่ีมีเหตุผลและความจําเปนอยางยิ่ง คณะอาจอนุมัติใหนักศึกษาภาค

ปกติเปลี่ยนประเภทเปนนักศึกษาภาคสมทบหรือนักศึกษาภาคพิเศษได ทั้งนี้ นักศึกษาตองปฏิบัติ
ตามขอบังคับและระเบียบตาง ๆ รวมทงั้ ชาํ ระคา ธรรมเนยี มการศึกษาสําหรับการเปนนักศึกษาภาค
สมทบหรือภาคพเิ ศษ ตามจาํ นวนที่กําหนดไวใ นแตล ะหลกั สตู ร

(ข) นักศึกษาภาคสมทบหรือนักศึกษาภาคพิเศษไมสามารถเปล่ียนประเภท
เปนนักศึกษาภาคปกติได

(ค) นักศึกษาภาคสมทบไมสามารถเปล่ียนประเภทเปนนักศึกษาภาคพิเศษ
ได

(๓) สถานภาพการเปนนกั ศกึ ษา มดี ังตอไปนี้
(ก) นักศึกษาสามัญ หมายถึง ผูที่คณะรับเขาเปนนักศึกษาโดยสมบูรณเพ่ือเขา

ศึกษาในหลกั สูตรใดหลกั สูตรหนงึ่
(ข) นักศึกษาทดลองเรียน หมายถึง ผูที่คณะรับเขาเปนนักศึกษาทดลองเรียน

ในภาคการศึกษาแรกตามเงื่อนไขท่ีกําหนด ยกเวนหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แบบ ก ๑ และ
หลักสตู รปริญญาดุษฎีบณั ฑิต แบบ ๑ มใิ หม ีนกั ศึกษาทดลองเรียน

(ค) นักศึกษาพิเศษ หมายถึง ผูท่ีคณะรับเขารวมศึกษาหรือทําการวิจัย
โดยไมขอรับปริญญาของมหาวิทยาลัย คณะอาจพิจารณารับบุคคลเขาเปนนักศึกษาพิเศษได โดย
อยูในดุลพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและไดรับอนุมัติจากคณบดีใหเขา ศึกษาหรือทําการ
วจิ ยั ได โดยตองชําระเงินตามระเบียบหรือประกาศของมหาวิทยาลยั ท่เี กี่ยวขอ ง

(๔) การเปล่ียนสถานภาพการเปนนักศึกษา นักศึกษาทดลองเรียนท่ีเขาศึกษา
ในภาคการศึกษาแรกและลงทะเบียนเรียนวิชาในระดับบัณฑิตศึกษาตามเกณฑท่ีกําหนด และสอบ
ไดคะแนนเฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา ๓.๐๐ สามารถเปล่ียนสถานภาพการเปนนักศึกษาสามัญไดเม่ือส้ินสุด
ภาคการศกึ ษาแรก โดยย่ืนคํารอ งตอคณะ มฉิ ะนั้นใหพ น สภาพการเปนนักศกึ ษา

(๒๑(๒(๔๒))๑๔ค)มู่ อื นคกั มู่ศอื ึกนษกั าศ๒กึ ษ๕า๖๒๓๕๖๓

มหาวมิทหยาาวลิทยั ยเทาลคยัโนเทโลคยโีรนาโลชยมรีงาคชลมกงรคงุ ลเทกพรงุ เทพ

หมวด ๕
การบริหารหลกั สตู ร

ขอ ๑๗ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร
(๑) ในแตละหลักสูตร ใหคณบดีแตงต้ัง “คณะกรรมการบริหารหลักสูตร
(ช่อื หลักสตู ร)” จาํ นวนไมน อ ยกวา ๓ คน ประกอบดว ย

(ก) คณบดีหรือผูซ่งึ คณบดมี อบหมาย เปน ประธานกรรมการ
(ข) อาจารยผ ูร ับผิดชอบหลกั สูตร เปน กรรมการ
(ค) อาจารยประจําหลักสูตร หรืออาจารยประจํา หรือผูทรงคุณวุฒิ
ภายนอกมหาวิทยาลัยในสาขาวชิ าทีเ่ ก่ยี วของ เปน กรรมการ
(๒) ใหคณะกรรมการบริหารหลักสูตรมีวาระการดํารงตาํ แหนงคราวละ ๓ ป
และอาจไดร ับแตง ต้งั ใหมอ กี ได
(๓) คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรมอี าํ นาจและหนา ที่ ดงั ตอ ไปนี้
(ก) บริหารจัดการหลักสูตรใหสอดคลองกับนโยบายของคณะและ
มหาวทิ ยาลยั
(ข) ควบคุมมาตรฐานของหลักสูตรสาขาวิชาท่ีรับผิดชอบใหเปนไปตาม
ขอบังคับนี้ และตามมาตรฐานวชิ าชพี (ถามี)
(ค) กํากบั และดูแลการสอนและการสอบของหลักสูตร
(ง) กําหนดระบบประกันคุณภาพสําหรับหลักสูตรใหชัดเจน โดยใหการ
ดําเนินงานของหลกั สตู รเปนไปตามระบบการประกันคุณภาพหลกั สตู รของมหาวิทยาลัย
(จ) จดั ใหมีการประเมินและปรับปรงุ มาตรฐานคุณภาพการศกึ ษาอยา งนอยทุก ๆ
๕ ป
(ฉ) ปฏิบตั ิหนา ท่อี น่ื ตามทีค่ ณบดีมอบหมาย
ขอ ๑๘ จาํ นวน คณุ วุฒิ และคุณสมบตั ิของอาจารย
(๑) ประกาศนยี บตั รบัณฑติ
(ก) อาจารยป ระจําหลักสูตร มีคุณวุฒิขั้นต่ําปริญญาโทหรือเทียบเทา และมี
ผลงานทางวิชาการที่ไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการที่

คมู่ อืคนมู่ กัอื ศนกึั ษศาึกษ๒า๕๒๖๕๓๖๓ (๒(๑๒(๓๕๑))๕)

มหมาวหิทายวิทาลยยั าเลทยั คเทโนคโลโนยโรีลายชีรมางชคมลงกครลงกุ เรทงุพเทพ

ไดรับการเผยแพร ตามหลักเกณฑท่ีกําหนดในการพิจารณาแตงตั้งใหบุคคลดํารงตําแหนงทาง
วิชาการ อยางนอย ๓ รายการ ในรอบ ๕ ปยอนหลัง โดยอยางนอย ๑ รายการตองเปน
ผลงานวจิ ยั

สําหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิชาชีพ อาจารยประจํา
หลักสตู รตองมีคุณสมบตั ิเปน ไปตามมาตรฐานวชิ าชพี นั้น ๆ

(ข) อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร จํานวนอยางนอย ๕ คน มีคุณวุฒิ
ปรญิ ญาเอกหรือเทียบเทา หรอื ขน้ั ต่ําปริญญาโทหรอื เทยี บเทาท่มี ีตําแหนง รองศาสตราจารย และ
มีผลงานทางวิชาการท่ีไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการท่ี
ไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑ ที่กําหนดในการพิจารณาแตงต้ังใหบุคคลดํารงตําแหนงทาง
วิชาการอยางนอย ๓ รายการ ในรอบ ๕ ปยอนหลัง โดยอยางนอย ๑ รายการตองเปน
ผลงานวิจยั

กรณีท่ีมีความจําเปนอยางย่ิงสําหรับสาขาวิชาท่ีไมสามารถสรรหา
อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรครบตามจํานวน หรือมีจํานวนนักศึกษานอยกวา ๑๐ คน ทางคณะ
ตองเสนอจํานวนและคุณวุฒิของอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรที่มีน้ันใหมหาวิทยาลัยทราบเพื่อ
เสนอคณะกรรมการการอุดมศึกษาพิจารณาเปนรายกรณี

(ค) อาจารยผูสอน ตองเปน อาจารยประจาํ หรืออาจารยพ ิเศษ ทมี่ ีคณุ วุฒขิ ้ัน
ต่ําปริญญาโทหรือเทียบเทา ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธกัน หรือในสาขาวิชาของ
รายวชิ าทส่ี อนและตองมีประสบการณดานการสอนและมผี ลงานทางวิชาการที่ไมใชส วนหน่ึงของ
การศึกษาเพื่อรับปรญิ ญาและเปน ผลงานทางวิชาการที่ไดรับการเผยแพรต ามหลักเกณฑท่กี าํ หนด
ในการพิจารณาแตงตั้งใหบุคคลดํารงตําแหนงทางวิชาการอยางนอย ๑ รายการ ในรอบ ๕ ป
ยอนหลัง

ในกรณีของอาจารยพิเศษ อาจไดรับการยกเวนคุณวุฒิปริญญาโท แต
ท้ังน้ีตองมีคุณวุฒิข้ันต่ําปริญญาตรีหรือเทียบเทา และมีประสบการณการทํางานท่ีเก่ียวของกับ
วิชาที่สอนมาแลวไมนอยกวา ๖ ป ทั้งนี้ อาจารยพิเศษตองมีชั่วโมงสอนไมเกินรอยละ ๕๐ ของ
รายวิชา โดยมีอาจารยป ระจาํ เปนผรู บั ผิดชอบรายวิชานน้ั

สําหรับหลกั สูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิชาชีพ อาจารยผ ูสอนตอง
มีคุณสมบตั เิ ปน ไปตามมาตรฐานวชิ าชพี น้นั ๆ

(๒๑(๒(๖๒))๑๖ค)มู่ อื นคกั มู่ศอื ึกนษกั าศ๒ึกษ๕า๖๒๓๕๖๓

มหาวมิทหยาาวลิทยั ยเทาลคยัโนเทโลคยโีรนาโลชยมรีงาคชลมกงรคงุ ลเทกพรงุ เทพ

(๒) ประกาศนยี บตั รบัณฑิตช้ันสงู
(ก) อาจารยประจําหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือขั้นต่ํา

ปริญญาโทหรือเทียบเทาที่มีตําแหนงรองศาสตราจารย และมีผลงานทางวิชาการที่ไมใชสวนหนึ่ง
ของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการท่ีไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑที่
กาํ หนดในการพิจารณาแตงตั้งใหบคุ คลดาํ รงตําแหนงทางวชิ าการอยา งนอย ๓ รายการ ในรอบ ๕
ปย อ นหลัง โดยอยา งนอย ๑ รายการตอ งเปนผลงานวิจัย

สําหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสูงทางวิชาชีพ อาจารย
ประจําหลักสูตรตอ งมคี ุณสมบตั ิเปนไปตามมาตรฐานวิชาชพี นน้ั ๆ

(ข) อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร จํานวนอยางนอย ๕ คน มีคุณวุฒิ
ปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือข้ันต่ําปริญญาโทหรือเทียบเทาท่ีมีตําแหนงศาสตราจารย และมี
ผลงานทางวิชาการที่ไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการท่ี
ไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑที่กําหนดในการพิจารณาแตงต้ังใหบุคคลดํารงตําแหนงทาง
วิชาการอยางนอย ๓ รายการ ในรอบ ๕ ปยอนหลัง โดยอยางนอย ๑ รายการตองเปน
ผลงานวจิ ยั

กรณีที่มีความจําเปนอยางยิ่งสําหรับสาขาวิชา ที่ไมสามารถสรรหา
อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรครบตามจํานวนหรือมีจํานวนนักศึกษานอยกวา ๑๐ คน ทางคณะ
ตองเสนอจํานวนและคุณวุฒิของอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรท่ีมีนั้นใหมหาวิทยาลัยทราบเพ่ือ
เสนอคณะกรรมการการอุดมศึกษาพจิ ารณาเปน รายกรณี

(ค) อาจารยผูสอน ตองเปนอาจารยประจําหรืออาจารยพิเศษ ที่มีคุณวุฒิ
ปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือขั้นตํ่าปริญญาโทหรือเทียบเทาท่ีมีตําแหนงรองศาสตราจารย
ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาท่ีสัมพันธกัน หรือในสาขาวิชาของรายวิชาท่ีสอน และตองมี
ประสบการณดานการสอนและมีผลงานทางวชิ าการทีไ่ มใชสวนหนงึ่ ของการศึกษาเพ่ือรบั ปริญญา
และเปนผลงานทางวิชาการที่ไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑที่กําหนดในการพิจารณาแตงตั้ง
ใหบุคคลดํารงตําแหนงทางวิชาการอยา งนอย ๑ รายการ ในรอบ ๕ ปยอ นหลงั

ในกรณีของอาจารยพิเศษ อาจไดรับการยกเวนคุณวุฒิปริญญาเอก แต
ทั้งน้ีตองมีคุณวุฒิขั้นต่ําปริญญาโทหรือเทียบเทา และมีประสบการณการทํางานท่ีเกี่ยวของกับ
วิชาท่ีสอนมาแลวไมนอยกวา ๔ ป ท้ังนี้ อาจารยพิเศษตองมีช่ัวโมงสอนไมเกินรอยละ ๕๐ ของ
รายวชิ า โดยมอี าจารยป ระจําเปน ผรู ับผดิ ชอบรายวิชานน้ั

คมู่ อืคนมู่ กัอื ศนึกั ษศาึกษ๒า๕๒๖๕๓๖๓(๒(๑๒(๓๗๑) ๗) )

มหมาวหิทายวิทาลยยั าเลทยั คเทโนคโลโนยโีรลายชีรมางชคมลงกครลงกุ เรทงุพเทพ

สําหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางวิชาชีพ อาจารย
ผสู อนตอ งมคี ุณสมบัตเิ ปนไปตามมาตรฐานวิชาชพี นนั้ ๆ

(๓) ปรญิ ญาโท
(ก) อาจารยป ระจําหลักสูตร มีคุณวุฒิขน้ั ตํ่าปรญิ ญาโทหรือเทียบเทา และมี

ผลงานทางวิชาการที่ไมใชสวนหน่ึงของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการท่ี
ไดรับการเผยแพร ตามหลักเกณฑที่กําหนดในการพิจารณาแตงตั้งใหบุคคลดํารงตําแหนงทาง
วิชาการอยางนอย ๓ รายการ ในรอบ ๕ ปยอนหลัง โดยอยางนอย ๑ รายการตองเปน
ผลงานวจิ ยั

(ข) อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร จํานวนอยางนอย ๓ คน มีคุณวุฒิ
ปรญิ ญาเอกหรือเทียบเทา หรือข้ันตาํ่ ปริญญาโทหรือเทยี บเทาที่มีตาํ แหนง รองศาสตราจารย และ
มีผลงานทางวิชาการที่ไมใชสวนหน่ึงของการศกึ ษาเพื่อรับปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการที่
ไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑท่ีกําหนดในการพิจารณาแตงตั้งใหบุคคลดํารงตําแหนงทาง
วิชาการอยางนอย ๓ รายการ ในรอบ ๕ ปยอนหลัง โดยอยางนอย ๑ รายการตองเปน
ผลงานวิจยั

กรณีท่ีมีความจําเปนอยางย่ิงสําหรับสาขาวิชาที่ไมสามารถสรรหา
อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรครบตามจํานวน หรือมีจํานวนนักศึกษานอยกวา ๑๐ คน ทางคณะ
ตองเสนอจํานวนและคุณวุฒิของอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรท่ีมีน้ันใหมหาวิทยาลัยทราบเพื่อ
เสนอคณะกรรมการการอุดมศึกษาพิจารณาเปน รายกรณี

(ค) อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธและการคนควาอิสระ แบงออกเปน
๒ ประเภท คอื

๑) อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลักและการคนควาอิสระ ตองเปน
อาจารยประจําหลักสูตร มคี ุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรอื ขัน้ ตํ่าปริญญาโทหรอื เทยี บเทาที่
มีตําแหนงรองศาสตราจารย และมีผลงานทางวิชาการท่ีไมใชสวนหน่ึงของการศึกษาเพ่ือรับ
ปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการทไ่ี ดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑที่กําหนดในการพิจารณา
แตงต้ังใหบุคคลดํารงตําแหนงทางวิชาการอยางนอย ๓ รายการ ในรอบ ๕ ปยอนหลัง โดยอยาง
นอย ๑ รายการตอ งเปน ผลงานวจิ ัย

๒) อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวม (ถามี) ตองมีคุณวุฒิและ
คณุ สมบตั ิ ดังตอไปน้ี

(๒๑((๒๘๒))๑๘ค)มู่ อื นคกั มู่ศอื ึกนษกั าศ๒กึ ษ๕า๖๒๓๕๖๓

มหาวมิทหยาาวลิทยั ยเทาลคยัโนเทโลคยโีรนาโลชยมรีงาคชลมกงรคงุ ลเทกพรงุ เทพ

อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวมที่เปนอาจารยประจํา ตองมี
คณุ วฒุ ิและผลงานทางวชิ าการเชนเดยี วกบั อาจารยท ีป่ รกึ ษาวทิ ยานพิ นธหลัก

สํ า ห รั บ อ า จ า ร ย ท่ี ป รึ ก ษ า วิ ท ย า นิ พ น ธ ร ว ม ที่ เป น ผู ท ร ง คุ ณ วุ ฒิ
ภายนอกมหาวิทยาลัยตองมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา และมีผลงานทางวิชาการที่ไดรับ
การตีพิมพเผยแพรในวารสารที่มีชื่ออยูในฐานขอมูลที่เปนที่ยอมรับในระดับชาติ ซ่ึงตรงหรือ
สมั พนั ธก ับหวั ขอวทิ ยานพิ นธห รือการคนควา อิสระไมน อยกวา ๑๐ เรือ่ ง

กรณีผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัยท่ีไมมีคุณวุฒิและผลงาน
ทางวิชาการตามที่กําหนดขางตน ผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัยจะตองเปนผูมีความรูความ
เช่ียวชาญและประสบการณสูงเปนที่ยอมรับ ซ่ึงตรงหรือสัมพันธกับหัวขอวิทยานิพนธหรือการ
คนควาอิสระ โดยผานความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย และแจงคณะกรรมการการ
อดุ มศึกษารับทราบ

(ง) อาจารยผูสอบวิทยานิพนธ ตองประกอบดวยอาจารยประจําหลักสูตร
และผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย รวมไมนอยกวา ๓ คน ท้ังน้ี ประธานกรรมการสอบตอง
ไมเปนอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลักหรืออาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธรวม โดยอาจารย
ผสู อบวิทยานพิ นธต องมคี ุณวฒุ ิ คณุ สมบัติ และผลงานทางวิชาการ ดังตอไปน้ี

๑) กรณีอาจารยประจําหลักสูตร ตองมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือ
เทียบเทา หรือขั้นตํ่าปริญญาโทหรือเทียบเทาท่ีมีตําแหนงรองศาสตราจารย และมีผลงานทาง
วิชาการท่ีไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการท่ีไดรับการ
เผยแพรตามหลักเกณฑท่ีกําหนดในการพิจารณาแตงต้ังใหบุคคลดํารงตําแหนงทางวิ ชาการอยาง
นอย ๓ รายการ ในรอบ ๕ ปยอนหลัง โดยอยา งนอย ๑ รายการตอ งเปนผลงานวจิ ัย

๒) กรณีผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย ตองมีคุณวุฒิปริญญาเอก
หรือเทียบเทา และมีผลงานทางวิชาการที่ไดรับการตีพิมพเผยแพรในวารสารท่ีมีชื่ออยูใน
ฐานขอมูลที่เปนท่ียอมรับในระดับชาติ ซ่ึงตรงหรือสัมพันธกับหัวขอวิทยานิพนธหรือการคนควา
อิสระ ไมน อ ยกวา ๑๐ เรื่อง

กรณีผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัยท่ีไมมีคุณวุฒิและผลงาน
ทางวิชาการตามที่กําหนดขางตน ผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัยจะตองเปนผูมีความรูความ
เชี่ยวชาญและประสบการณสูงเปนท่ียอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธกับหัวขอวิทยานิพนธ หรือการ

ค่มู อืคนมู่ กัอื ศนกึั ษศาึกษ๒า๕๒๖๕๓๖๓(๒(๑๒(๓๙๑) )๙)

มหมาวหิทายวิทาลยยั าเลทยั คเทโนคโลโนยโรีลายชีรมางชคมลงกครลงกุ เรทงุพเทพ

คน ควาอสิ ระ โดยผานความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลยั และแจงคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา
รับทราบ

(จ) อาจารยผสู อน ตองเปนอาจารยประจําหรอื อาจารยพิเศษ ที่มคี ุณวุฒิข้ัน
ตํ่าปริญญาโทหรือเทียบเทา ในสาขาวิชาน้ันหรือสาขาวิชาที่สัมพันธกัน หรือในสาขาวิชาของ
รายวิชาท่ีสอนและตองมีประสบการณดานการสอนและมผี ลงานทางวิชาการท่ีไมใชส วนหน่งึ ของ
การศึกษาเพ่ือรับปริญญาและเปน ผลงานทางวิชาการท่ีไดร ับการเผยแพรต ามหลักเกณฑทกี่ ําหนด
ในการพิจารณาแตงตั้งใหบุคคลดํารงตําแหนงทางวิชาการอยางนอย ๑ รายการ ในรอบ ๕ ป
ยอ นหลงั

ท้ังน้ี อาจารยพิเศษตองมีช่ัวโมงสอนไมเกินรอยละ ๕๐ ของรายวิชา
โดยมอี าจารยป ระจาํ เปนผรู ับผิดชอบรายวิชานน้ั

(๔) ปรญิ ญาเอก
(ก) อาจารยประจําหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือข้ันตํ่า

ปริญญาโทหรือเทียบเทาที่มีตําแหนงรองศาสตราจารย และมีผลงานทางวิชาการท่ีไมใชสวนหน่ึง
ของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการท่ีไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑที่
กาํ หนดในการพิจารณาแตงตง้ั ใหบุคคลดาํ รงตาํ แหนง ทางวชิ าการอยางนอย ๓ รายการ ในรอบ ๕
ปยอนหลงั โดยอยางนอย ๑ รายการตองเปนผลงานวจิ ยั

(ข) อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร จํานวนอยางนอย ๓ คน มีคุณวุฒิ
ปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือข้ันตํ่าปริญญาโทหรือเทียบเทาที่มีตําแหนงศาสตราจารย และมี
ผลงานทางวิชาการที่ไมใชสวนหน่ึงของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการท่ี
ไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑที่กําหนดในการพิจารณาแตงตั้งใหบุคคลดํารงตําแหนงทาง
วิชาการอยางนอย ๓ รายการ ในรอบ ๕ ปยอนหลัง โดยอยางนอย ๑ รายการตองเปน
ผลงานวจิ ัย

กรณีท่ีมีความจําเปนอยางย่ิงสําหรับสาขาวิชาที่ไมสามารถสรรหา
อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรครบตามจํานวน หรือมีจํานวนนักศึกษานอ ยกวา ๑๐ คน ทางคณะ
ตองเสนอจํานวนและคุณวุฒิของอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรที่มีนั้นใหมหาวิทยาลัยทราบเพื่อ
เสนอคณะกรรมการการอดุ มศึกษาพจิ ารณาเปน รายกรณี

(๒๒((๒๐๒))๒๐ค)มู่ อื นคกั ่มูศอื ึกนษกั าศ๒กึ ษ๕า๖๒๓๕๖๓

มหาวมิทหยาาวลิทยั ยเทาลคยัโนเทโลคยโีรนาโลชยมรีงาคชลมกงรคงุ ลเทกพรงุ เทพ

(ค) อาจารยท ี่ปรกึ ษาวทิ ยานิพนธ แบง ออกเปน ๒ ประเภท คอื
๑) อาจารยท่ปี รกึ ษาวิทยานิพนธหลัก ตอ งเปนอาจารยประจําหลกั สตู ร

มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือข้ันต่ําปริญญาโทหรือเทียบเทาที่มีตําแหนงรอง
ศาสตราจารย และมีผลงานทางวิชาการท่ีไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา และเปน
ผลงานทางวิชาการท่ีไดรับการเผยแพร ตามหลักเกณฑท่ีกําหนดในการพิจารณาแตงต้ังใหบุคคล
ดํารงตําแหนงทางวิชาการอยางนอย ๓ รายการ ในรอบ ๕ ปยอนหลัง โดยอยางนอย ๑ รายการ
ตอ งเปน ผลงานวิจยั

๒) อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวม (ถามี) ตองมีคุณวุฒิและ
คุณสมบตั ดิ ังตอไปน้ี

อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธรวมที่เปนอาจารยประจํา ตองมี
คณุ วฒุ แิ ละผลงานทางวชิ าการเชน เดียวกับอาจารยทป่ี รกึ ษาวิทยานพิ นธหลกั

สําหรับอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธรวมที่เปนผูทรงคุณวุฒิ
ภายนอก มหาวิทยาลัยตองมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา และมีผลงานทางวิชาการท่ีไดรับ
การตีพมิ พเ ผยแพรใ นวารสารท่มี ีชือ่ อยใู นฐานขอ มลู ท่ีเปน ทีย่ อมรับในระดับนานาชาติ ซง่ึ ตรงหรือ
สัมพันธกบั หวั ขอ วิทยานพิ นธไมนอยกวา ๕ เร่ือง

กรณีผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัยท่ีไมมีคุณวุฒิและผลงาน
ทางวิชาการตามท่ีกําหนดขางตน ผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัยจะตองเปนผูมีความรูความ
เชี่ยวชาญและประสบการณสูงมากเปนที่ยอมรับ ซ่ึงตรงหรือสัมพันธกับหัวขอวิทยานิพนธ โดย
ผานความเหน็ ชอบจากสภามหาวิทยาลัย และแจง คณะกรรมการการอดุ มศกึ ษารับทราบ

(ง) อาจารยผูสอบวิทยานิพนธ ตองประกอบดวยอาจารยประจําหลักสูตร
และผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย รวมไมนอยกวา ๕ คน ท้ังนี้ ประธานกรรมการสอบตอง
เปนผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย โดยอาจารยผูสอบวิทยานิพนธตองมีคุณวุฒิ คุณสมบัติ
และผลงานทางวชิ าการ ดังตอ ไปน้ี

๑) กรณีอาจารยป ระจําหลกั สูตร ตอ งมีคุณวุฒปิ รญิ ญาเอกหรอื เทียบเทา
หรือขนั้ ตํ่าปรญิ ญาโทหรือเทยี บเทา ที่มตี าํ แหนง รองศาสตราจารย และมีผลงานทางวิชาการที่ไมใ ช
สวนหน่ึงของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการที่ไดรับการเผยแพรตาม
หลักเกณฑที่กําหนดในการพิจารณาแตงต้ังใหบุคคลดํารงตําแหนงทางวิชาการอยางนอย ๓
รายการ ในรอบ ๕ ปย อ นหลัง โดยอยา งนอ ย ๑ รายการตอ งเปนผลงานวิจัย

คมู่ อืคนมู่ กัอื ศนึกั ษศาึกษ๒า๕๒๖๕๓๖๓(๒(๒(๓๑๒) )๑)

มหมาวหิทายวิทาลยยั าเลทยั คเทโนคโลโนยโีรลายชีรมางชคมลงกครลงกุ เรทงุพเทพ

๒) กรณีผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย ตองมีคุณวุฒิปริญญาเอก
หรือเทียบเทา และมีผลงานทางวิชาการที่ไดรับการตีพิมพเผยแพรในวารสารที่มีช่ืออยูใน
ฐานขอมูลท่ีเปน ทย่ี อมรบั ในระดับนานาชาติ ซ่งึ ตรงหรอื สัมพันธกับหัวขอวิทยานิพนธ ไมนอ ยกวา
๕ เร่ือง

กรณีผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัยที่ไมมีคุณวุฒิและผลงานทาง
วิชาการตามที่กําหนดขางตน ผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัยจะตองเปนผูมีความรูความ
เชี่ยวชาญและประสบการณสูงมากเปนท่ียอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธกับหัวขอวิทยานิพนธ โดย
ผา นความเหน็ ชอบจากสภามหาวิทยาลยั และแจง คณะกรรมการการอดุ มศกึ ษารับทราบ

(จ) อาจารยผูสอน ตองเปนอาจารยประจําหรืออาจารยพิเศษ ที่มีคุณวุฒิ
ปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือข้ันตํ่าปริญญาโทหรือเทียบเทาท่ีมีตําแหนงรองศาสตราจารย ใน
สาขาวิชาน้ันหรือสาขาวิชาที่สัมพันธกัน หรือในสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน และตองมี
ประสบการณดา นการสอนและมีผลงานทางวิชาการที่ไมใ ชสวนหน่ึงของการศึกษาเพื่อรับปริญญา
และเปน ผลงานทางวิชาการที่ไดรบั การเผยแพรต ามหลกั เกณฑท ่ีกําหนดในการพิจารณาแตง ตั้งให
บคุ คลดาํ รงตําแหนงทางวิชาการอยา งนอย ๑ รายการ ในรอบ ๕ ปย อนหลัง

ในกรณีรายวิชาท่ีสอนไมใ ชวิชาในสาขาวชิ าของหลักสตู ร อนุโลมใหอาจารย
ท่ีมีคุณวุฒิระดับปริญญาโทหรือเทียบเทาท่ีมีตําแหนงทางวิชาการต่ํากวารองศาสตราจารย ทํา
หนา ที่อาจารยผูสอนได

ทั้งน้ี อาจารยพิเศษตองมีชั่วโมงสอนไมเกินรอยละ ๕๐ ของรายวิชา โดยมี
อาจารยป ระจําเปนผูร บั ผิดชอบรายวชิ าน้นั

ขอ ๑๙ ภาระงานที่ปรึกษาวทิ ยานพิ นธแ ละการคนควาอิสระ
(๑) อาจารยประจําหลักสูตร ๑ คน ใหเปนอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธหลักของ
นกั ศกึ ษาปรญิ ญาโทและปรญิ ญาเอกตามหลักเกณฑ ดงั ตอ ไปน้ี

(ก) กรณีอาจารยประจําหลักสูตรมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา และมี
ผลงานทางวชิ าการตามเกณฑ ใหเปนอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธข องนกั ศึกษาระดบั ปริญญาโท
และเอกรวมไดไ มเกนิ ๕ คน ตอภาคการศกึ ษา

(ข) กรณีอาจารยประจําหลักสูตรมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา และ
ดํารงตําแหนงระดับผูชวยศาสตราจารยข้ึนไป หรือมีคุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเทาที่มีตําแหนง

(๒๒((๒๒๒))๒๒ค)มู่ อื นคกั มู่ศอื ึกนษกั าศ๒กึ ษ๕า๖๒๓๕๖๓

มหาวมิทหยาาวลิทยั ยเทาลคยัโนเทโลคยโีรนาโลชยมรีงาคชลมกงรคงุ ลเทกพรงุ เทพ

รองศาสตราจารยข ึ้นไป และมผี ลงานทางวิชาการตามเกณฑ ใหเปนอาจารยท ่ีปรกึ ษาวิทยานิพนธ
ของนักศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาโทและเอกรวมไดไ มเ กิน ๑๐ คนตอ ภาคการศึกษา

(ค) กรณีอาจารยประจําหลักสูตรมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา และ
ดาํ รงตําแหนงศาสตราจารยและมีความจําเปนตองดูแลนักศึกษาเกนิ กวาจาํ นวนที่กาํ หนดใหเ สนอ
ตอสภามหาวิทยาลัยพิจารณา แตทั้งน้ีตองไมเกิน ๑๕ คนตอภาคการศึกษา หากมีความ
จําเปนตองดูแลนักศึกษามากกวา ๑๕ คน ใหมหาวิทยาลัยขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
การอดุ มศกึ ษาเปนรายกรณี

(๒) อาจารยประจําหลักสูตร ๑ คน ใหเปนอาจารยท่ีปรึกษาการคนควาอิสระของ
นักศกึ ษาปรญิ ญาโทไดไมเกิน ๑๕ คน

หากเปนอาจารยที่ปรึกษาทั้งวิทยานิพนธและการคนควาอิสระ ใหคิดสัดสวน
จํานวนนักศึกษาท่ีทําวิทยานิพนธ ๑ คน เทียบไดกับจํานวนนักศึกษาท่ีคนควาอิสระ ๓ คน แต
ทง้ั น้รี วมแลว ตองไมเ กิน ๑๕ คนตอ ภาคการศึกษา

(๓) อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร ตองทําหนาที่อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหรือ
อาจารยผูสอบวทิ ยานิพนธ หรอื อาจารยผ สู อนในหลักสูตรนน้ั ดวย

ขอ ๒๐ อาจารยที่ปรึกษา อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ และอาจารยที่
ปรึกษาการคนควาอิสระ ใหคณบดีแตงตั้งตามท่ีคณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรเสนอ

หมวด ๖
การจดั การศึกษา

ขอ ๒๑ แผนการเรียน หมายถึง รายวิชา ปญหาพิเศษ และวิทยานิพนธ หรือการ
คนควาอิสระ ที่นักศึกษาจะตองเรียนหรือดําเนินการใหแลวเสร็จและครบตามหลักสูตรของแตละ
สาขาวชิ า

ขอ ๒๒ การลงทะเบียนเรียน
(๑) ใหนักศึกษาลงทะเบียนเรียนในแตละภาคการศึกษาตามประกาศของ
มหาวิทยาลยั

ค่มู อืคนมู่ กัอื ศนึกั ษศาึกษ๒า๕๒๖๕๓๖๓(๒(๒(๓๓๒) )๓)

มหมาวหิทายวิทาลยยั าเลทยั คเทโนคโลโนยโีรลายชีรมางชคมลงกครลงกุ เรทงุพเทพ

(๒) ในภาคการศึกษาปกติ นักศึกษาตองลงทะเบียนเรียนรายวิชาในระดับ
บัณฑิตศึกษาไมนอยกวา ๖ หนวยกิต และตองไมเกิน ๑๕ หนวยกิต ยกเวนในกรณีที่นักศึกษามี
หนวยกิตคงเหลือตามหลักสูตรนอยกวา ๔ หนวยกิต หรือเหลือเฉพาะวิทยานิพนธ หรือการ
คนควาอิสระ หรือไดรับความเห็นชอบจากคณบดี

(๓) ในภาคการศกึ ษาฤดูรอ น ลงทะเบยี นรายวชิ าไดไ มเ กนิ ๖ หนว ยกิต
(๔) ในภาคการศึกษาแรกที่เขาศึกษาในมหาวิทยาลัย นักศึกษาลงทะเบียนเรียน
รายวชิ าตํ่ากวา ๖ หนวยกิตไมได มิฉะน้นั ถือวา พน สภาพการเปนนกั ศึกษา
(๕) การลงทะเบยี นเรียนรายวิชาเพ่อื เขารว มฟงการบรรยาย

(ก) การลงทะเบียนเรียนรายวิชาเพื่อเขารวมฟงการบรรยาย หมายถึง
การลงทะเบียนรายวิชาเปนพิเศษ โดยไมนับหนวยกิตรวมเขาในจํานวนหนวยกิตในภาคการศึกษา
และจํานวนหนวยกิตตามหลักสูตร

(ข) ใหบันทึกผลการประเมินรายวิชาลงในระเบียนเปน AU เฉพาะผูท่ีมีเวลา
เรียนไมนอยกวารอยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นทัง้ หมดของรายวชิ านัน้

(๖) การลงทะเบียนเรียนรายวิชาไมนับหนวยกิต โดย “รายวิชาไมนับหนวย
กิต” หมายถึง รายวิชาท่ีกําหนดในหลักสูตรหรือรายวิชาที่คณะกรรมการบริหารหลักสตู รกําหนดให
ศึกษาเพิ่มเติม โดยนักศึกษาตองศึกษาและสอบผานไดระดับคะแนน S โดยไมนํามาคิดแตมระดับ
คะแนนเฉล่ยี

(ก) นักศึกษาหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ก แบบ ก ๑ และนักศึกษา
หลกั สูตรปรญิ ญาดุษฎีบณั ฑิต แบบ ๑ หลกั สตู รอาจกําหนดใหเรียนรายวิชาไมนบั หนวยกิต

(ข) นักศึกษาหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต ที่ไมมีพื้นฐานพอเพียงสําหรับ
การศึกษาในหลักสูตรท่ีเขาศึกษา คณะกรรมการบริหารหลักสูตรอาจกําหนดใหเรียนรายวิชา
นอกเหนือจากหลักสูตร เพ่ือเปนพ้ืนฐานและตองสอบผานโดยไดรับผลการประเมินระดับคะแนน
เปน S

(ค) ใหบ ันทึกผลการประเมินรายวิชาลงในใบแสดงผลการศึกษาเปน S หรอื
U

(๗) นกั ศึกษาที่ไมมาลงทะเบียนภายใน ๑๕ วัน หลังจากวันเปดภาคการศึกษา ถือ
วาพน สภาพการเปน นกั ศึกษา

(๘) การลงทะเบยี นเพือ่ รักษาสภาพการเปน นักศกึ ษา

(๒๒((๒๔๒))๒๔ค)มู่ อื นคกั ่มูศอื ึกนษกั าศ๒ึกษ๕า๖๒๓๕๖๓

มหาวมิทหยาาวลิทยั ยเทาลคยัโนเทโลคยโีรนาโลชยมรีงาคชลมกงรคงุ ลเทกพรงุ เทพ

(ก) นักศึกษาที่ลงทะเบียนและเรียนครบตามแผนการเรียนแลว แตยังไม
สามารถปฏิบัติตามเกณ ฑการสําเร็จการศึกษาไดอยางครบถวนสมบูรณ ตองชําระ
คาธรรมเนียมรักษาสภาพนักศึกษา คาธรรมเนียม และคาบํารุง ตามระเบียบท่ีมหาวิทยาลัย
กาํ หนดไวทุกภาคการศึกษา จนกวาจะสาํ เร็จการศึกษาหรือพนสภาพการเปนนักศึกษา

(ข) การลงทะเบียนเพ่ือรักษาสภาพการเปนนักศึกษาตองดําเนินการใหแลว
เสร็จภายใน ๓๐ วัน นับจากวนั เปดภาคการศึกษา มิฉะนนั้ ถอื วา พนสภาพการเปน นักศกึ ษา

(๙) ในกรณีที่มีเหตุอันควร คณะอาจประกาศงดการเรียนการสอนรายวิชาใด หรือ
จาํ กัดจํานวนนกั ศกึ ษาท่ลี งทะเบียนเรยี นในรายวชิ าใดก็ได

ขอ ๒๓ การขอเพ่ิมและถอนรายวิชา
(๑) การขอเพิ่มรายวิชาจะกระทําไดภายใน ๒ สัปดาห นับจากวันเปดภาค
การศึกษาสําหรับภาคการศึกษาปกติ หรือภายในสัปดาหแรกนับจากวันเปดภาคการศึกษา
สาํ หรับภาคการศึกษาฤดูรอ น
(๒) การขอถอนรายวชิ า

(ก) ในกรณีที่ขอถอนรายวิชาภายใน ๒ สัปดาห นับจากวันเปดภาคการศึกษา
สําหรับภาคการศึกษาปกติ และภายในสัปดาหแรกนับจากวันเปดภาคการศึกษาสําหรับภาค
การศึกษาฤดรู อ น รายวชิ าท่ขี อถอนไมปรากฏในระเบยี น และใหไดร บั เงินลงทะเบียนคืน

(ข) ในกรณีที่ขอถอนรายวิชาหลังจาก ๒ สัปดาห นับจากวันเปดภาค
การศึกษาสําหรับภาคการศึกษาปกติ และหลังจากสัปดาหแรกนับจากวันเปดภาคการศึกษา
สําหรับภาคการศึกษาฤดูรอน ใหบนั ทึกระดับคะแนน W ในรายวิชาทีข่ อถอน และจะไมไ ดรับเงิน
ลงทะเบียนคืน

(ค) การขอถอนรายวิชาจะตองกระทํากอนสอบปลายภาคไมนอยกวา ๒
สัปดาห หากขอถอนรายวิชาหลังจากระยะเวลาดังกลาว ใหไดระดับคะแนน F และจะไมไดรับเงิน
ลงทะเบยี นคนื

(๓) การขอเพ่ิมและถอนรายวิชาใน (๑) และ (๒) ตองไมขัดตอการลงทะเบียน
เรยี นในขอ ๒๒ (๒) และ (๓)

(๔) การขอเพ่ิมและถอนรายวิชาที่ไมสามารถดําเนินการตาม (๑) (๒) และ (๓)
ใหอยใู นดลุ พินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และไดร บั อนุมัตจิ ากคณบดี

ค่มู อืคนมู่ กัอื ศนกึั ษศาึกษ๒า๕๒๖๕๓๖๓ (๒(๒(๓๒๕) )๕)

มหมาวหิทายวิทาลยยั าเลทยั คเทโนคโลโนยโรีลายชีรมางชคมลงกครลงกุ เรทงุพเทพ

ขอ ๒๔ การลาพักการศึกษา หมายถึง การที่นักศึกษายังเรียนไมครบตามแผนการ
เรียน แตมีความประสงคขอหยุดเรยี นช่วั คราว โดยขอรักษาสภาพการเปนนกั ศึกษาไวเ ปนคราว ๆ
ไป

(๑) นักศึกษามีสิทธิลาพักการศึกษาได ตองไดรับความเห็นชอบจากอาจารยที่
ปรึกษาและไดรับอนุมัติจากคณบดี ภายในชวงเวลาถอนรายวิชาเรียน หรือตามประกาศของ
มหาวทิ ยาลัย โดยถอื เกณฑการพจิ ารณาอนมุ ตั ดิ ังตอไปน้ี

(ก) ถูกเกณฑห รอื ระดมเขา รับรับราชการทหารกองประจําการ
(ข) ไดรับทุนแลกเปลี่ยนนักศึกษาระหวางประเทศ หรือทุนอื่นใดท่ีเปน
ประโยชนต อ การศึกษาหรือการวจิ ยั ในหลักสูตรซ่งึ มหาวทิ ยาลยั เห็นสมควรสนบั สนนุ
(ค) เจ็บปวยตองพักรักษาตัวเปนระยะเวลานานเกินรอยละ ๒๐ ของเวลาเรียน
ทัง้ หมด และตองมใี บรบั รองแพทยม าแสดง
(ง) มีความจําเปนสวนตัว ท้ังนี้ ตองศึกษามาแลวไมนอยกวา ๑ ภาค
การศกึ ษา
(๒) การลาพักการศึกษาตาม (๑) (ก) ใหเปนไปตามความตองการของราชการ
ทหาร และการลาพักการศึกษาตาม (๑) (ข) ใหเปนไปตามเง่ือนไขของทุนท่ีไดรับ การลาพัก
การศึกษาตาม (๑) (ค) และ (ง) กระทําไดครั้งละไมเกิน ๒ ภาคการศึกษาติดตอกัน ถามีความ
จาํ เปนตองลาพักการศึกษาตอไปอีก ใหยน่ื คํารองขอลาพักการศึกษาไดอ ีกไมเ กิน ๑ ภาคการศกึ ษา
ทงั้ น้ี ตอ งไดรบั ความเหน็ ชอบจากอาจารยท่ีปรึกษาและไดรับอนมุ ัตจิ ากคณบดี
(๓) ในกรณีที่นกั ศึกษาไดรับอนุญาตใหล าพักการศึกษา ใหนบั ระยะเวลาที่ลาพักอยู
ในระยะเวลาของการศึกษาดว ย ยกเวน นกั ศกึ ษาท่ีไดร ับอนุญาตใหลาพกั ตาม (๑) (ก)
(๔) นักศึกษาตองรักษาสภาพการเปนนักศึกษาระหวางท่ีไดรับอนุญาตใหลาพัก
การศึกษา โดยชําระคาธรรมเนียมคารักษาสภาพการเปนนักศึกษาตามระเบียบมหาวิทยาลัย
และใหนักศึกษามาดําเนินการรักษาสภาพการเปนนักศึกษาใหแลวเสร็จภายใน ๑๕ วัน หลังเปดภาค
การศึกษา มฉิ ะนั้นใหพนสภาพการเปนนักศึกษา ยกเวน การลาพักการศกึ ษาตาม (๑) (ก)
(๕) นักศึกษาที่ไดรับอนุญาตใหลาพักการศึกษา เม่ือจะกลับเขาศึกษาตองย่ืนคํา
รอ งขอกลับเขาศึกษาตอคณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู ร และตอ งไดรับอนุมัติจากคณบดี กอนกาํ หนด
การลงทะเบยี นไมน อยกวา ๑ สปั ดาห

(๒๒((๒๖๒))๒๖ค)มู่ อื นคกั ่มูศอื ึกนษกั าศ๒ึกษ๕า๖๒๓๕๖๓

มหาวมิทหยาาวลิทยั ยเทาลคยัโนเทโลคยโีรนาโลชยมรีงาคชลมกงรคงุ ลเทกพรงุ เทพ

(๖) การลาพักการศึกษาท่ีไมเปนไปตาม (๑) (ก) (ข) (ค) และ (ง) ใหอยูในดุลพินิจ
ของอธกิ ารบดี

(๗) การลาพกั การศึกษาในระหวา งภาคการศกึ ษา ใหม ใี นกรณีดงั ตอ ไปน้ี
(ก) ถาวันที่ขอลาพักการศึกษาอยูในระหวาง ๒ สัปดาหนับจากวันเปดภาค

การศึกษาสําหรับภาคการศึกษาปกติ และภายในสัปดาหแรกนับจากวันเปดภาคการศึกษาสําหรับ
ภาคการศกึ ษาฤดูรอ น รายวิชาท่นี ักศกึ ษาลงทะเบยี นทง้ั หมดจะไมปรากฏในระเบยี น

(ข) ถาวันที่ขอลาพักการศึกษาพนกําหนด ๒ สัปดาหนับจากวันเปดภาค
การศึกษาสําหรับภาคการศึกษาปกติ และหลังจากสัปดาหแรกนับจากวันเปดภาคการศึกษาสําหรับ
ภาคการศึกษาฤดูรอน ใหบันทึกระดับคะแนน W ในระเบียนทุกรายวิชาที่นักศึกษาลงทะเบียนใน
ภาคการศึกษาน้ัน

ขอ ๒๕ การพนสภาพการเปนนักศกึ ษา นักศกึ ษาจะพน สภาพการเปน นักศึกษา
ในกรณดี งั ตอ ไปน้ี

(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) ขาดคุณสมบัติในการเขาเปนนักศึกษามหาวิทยาลัยตามขอ ๑๓
(๔) ศกึ ษาครบถว นตามหลักสตู ร และไดร ับอนุมตั ิใหส าํ เร็จการศึกษา
(๕) คณบดีสัง่ ใหพ น สภาพการเปน นกั ศกึ ษา ในกรณีดังตอ ไปน้ี

(ก) ไมส ามารถสําเร็จการศึกษาตามระยะเวลาการศึกษาตามขอ ๑๒
(ข) ไมลงทะเบียนเรียนหรือไมชําระคาธรรมเนียมการศึกษา คาลงทะเบียนเรียน หรือ
คาบาํ รงุ การศึกษาในเวลาท่กี ําหนด
(ค) ไมป ฏบิ ัติตามเง่ือนไขของการลาพักการศึกษา
(ง) ไมส ามารถปฏบิ ตั ิไดต ามเกณฑท่ีกาํ หนดไวในหมวด ๗
(๖) การพนสภาพการเปนนักศึกษา เน่ืองจากความผิดทางวนิ ัยตามความเห็นชอบ
ของสภามหาวทิ ยาลัย
ขอ ๒๖ การคนื สภาพการเปนนกั ศกึ ษา
(๑) นักศึกษาท่ีถูกถอนชื่อออกเน่ืองจากไมมาลงทะเบียน กลับเขาเปนนักศึกษาได
หากมเี หตุอนั สมควร ทัง้ น้ี ตอ งไมพนกําหนด ๑ ป

คมู่ อืคนมู่ กัอื ศนึกั ษศาึกษ๒า๕๒๖๕๓๖๓(๒(๒(๓๗๒) ๗) )

มหมาวหิทายวิทาลยยั าเลทยั คเทโนคโลโนยโีรลายชีรมางชคมลงกครลงกุ เรทงุพเทพ

(๒) การคืนสภาพการเปนนักศึกษา ตองไดรับความเห็นชอบจากคณบดีและ
ไดรบั อนมุ ัตจิ ากอธิการบดี

(๓) นักศึกษาตองชําระคาธรรมเนียมการคืนสภาพการเปนนักศึกษา คาบํารุงการศึกษา
และคา ลงทะเบยี นเรียน ตามระเบยี บมหาวทิ ยาลัย

(๔) นักศึกษาท่ีไดรับอนุมัติใหคืนสภาพการเปนนักศึกษา จะมีสภาพการเปน
นักศึกษาเชนเดียวกับสภาพเดิมกอนพน สภาพ ทั้งนี้ การนับระยะเวลาการศึกษาใหเปนไปตามขอ
๑๒

ขอ ๒๗ การลาออก นักศึกษาท่ีประสงคจะลาออกจากการเปนนักศึกษา
ใหยน่ื คํารองตอคณบดีผานอาจารยที่ปรึกษา และคณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู ร การลาออกจะมี
ผลสมบรู ณเม่อื คณบดอี นมุ ัตใิ หล าออก

ขอ ๒๘ การเปล่ียนสาขาวิชาและแผนการศึกษา นักศึกษาอาจขอเปลี่ยนสาขาวิชา
หรือเปล่ียนแผนการศึกษาในคณะเดียวกันได เม่ือไดศึกษามาแลวไมนอยกวา ๑ ภาคการศึกษา ท้ังน้ี
ตองไดร ับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลกั สูตรและไดร บั อนุมตั ิจากคณบดี

ขอ ๒๙ การลงทะเบียนรายวิชาในมหาวทิ ยาลัย หรอื มหาวทิ ยาลัยอ่นื
(๑) นักศึกษาอาจขอลงทะเบียนรายวิชาในมหาวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัยอ่ืนได
โดยไดรับความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษา และคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และไดรับ
อนุมัติจากคณบดีโดยถือเกณฑ ดงั ตอไปน้ี

(ก) รายวิชาที่หลักสูตรกําหนด มิไดเปดสอนในมหาวิทยาลัยในภาคการศึกษา
และปการศกึ ษานนั้

(ข) รายวิชาที่มหาวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัยอื่นเปดสอน ตองมีเนื้อหาท่ี
เทียบเคยี งกนั ได หรือมเี นอื้ หาสาระครอบคลมุ ไมน อยกวา สามในสีข่ องรายวิชาในหลักสตู ร

(ค) รายวิชาท่เี ปนประโยชนต อการศึกษา หรือการทําวิทยานิพนธ หรอื การ
คน ควาอิสระของนักศึกษา

(๒) ใหนําหนวยกิตและผลการศึกษาของรายวิชาที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียน
ในมหาวิทยาลัยหรือตางมหาวิทยาลัย ไปเปนสวนหน่ึงของการประเมินผลการศึกษาตามหลักสูตร
ทน่ี ักศกึ ษากาํ ลังศึกษาอยู

(๓) นักศึกษาตองเปนผูรับผิดชอบคาลงทะเบียน และคาธรรมเนียมอ่ืน ๆ ตามที่
มหาวทิ ยาลัยหรอื มหาวิทยาลัยอืน่ ทนี่ กั ศกึ ษาไปเรยี นน้ันกําหนด

(๒๒((๒๘๒))๒๘ค)มู่ อื นคกั มู่ศอื ึกนษกั าศ๒ึกษ๕า๖๒๓๕๖๓

มหาวมิทหยาาวลิทยั ยเทาลคยัโนเทโลคยโีรนาโลชยมรีงาคชลมกงรคงุ ลเทกพรงุ เทพ

หมวด ๗
การวดั ผลและประเมนิ ผลการศึกษา

ขอ ๓๐ การสอบรายวิชา เปนการสอบเพื่อวัดวานักศึกษามีความรูในวิชาน้ัน ๆ
ซึง่ อาจเปนการสอบขอเขียนหรือการประเมินผลการศึกษาโดยวิธีอื่น ทั้งนี้ ตองประกาศถึงวิธีการ
สอบและเกณฑการพิจารณาผลการสอบใหนักศึกษาทราบลวงหนาตั้งแตตนภาคการศึกษา การ
วดั ผลและประเมินผลรายวชิ าใหคณบดีเปน ผูอนุมตั ิ

ขอ ๓๑ การสอบประมวลความรู (Comprehensive Examination)
(๑) การสอบประมวลความรู ใชสําหรับนักศึกษาหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต
แผน ข
(๒) การสอบประมวลความรู ประกอบดวย การสอบขอเขียน และการสอบปาก
เปลา เพ่ือวัดความสามารถและศักยภาพในการนําหลักวิชาการและประสบการณการเรียนไป
ประยกุ ตใ ช
(๓) ใหคณะกรรมการบริหารหลักสูตรรับผิดชอบในการจัดสอบประมวลความรู
อยา งนอยภาคการศึกษาละ ๑ ครงั้ เมือ่ มีนกั ศกึ ษายื่นคาํ รอ งขอสอบ
(๔) นักศึกษาจะมีสิทธิขอสอบประมวลความรูได เมื่อสอบผานรายวิชาที่กําหนด
ในหลักสูตรใหเปนสวนหนึ่งของการสอบประมวลความรูครบถวน โดยไดแตมระดับคะแนนเฉล่ีย
สะสมไมตํา่ กวา ๓.๐๐
(๕) นกั ศึกษาท่ีประสงคจะขอสอบ ตองยน่ื คาํ รองขอสอบผา นอาจารยท่ีปรึกษา
(๖) ใหคณะกรรมการบริหารหลักสูตร เสนอรายชื่อคณะกรรมการสอบประมวล
ความรูจํานวน ๓ – ๕ คน ตอคณบดีเพื่อพิจารณาแตง ตั้ง โดยกรรมการคนหน่ึงเปนประธานกรรมการ
สอบ คณะกรรมการสอบเปนผูรับผิดชอบในการดําเนินการสอบ และใหรายงานผลการสอบตอ
คณบดีโดยผา นคณะกรรมการบริหารหลักสตู ร ภายใน ๔ สปั ดาห หลงั จากเสร็จสน้ิ การสอบ
(๗) เม่ือนกั ศึกษาไดรับอนมุ ตั ิใหสอบในภาคการศึกษาใด ๆ แลว ถาขาดสอบโดย
ไมมีเหตุผลอันสมควร ใหถือวาสอบไมผานในการสอบคราวนั้น ท้ังนี้ ใหอยูในดุลพินิจของประธาน
กรรมการสอบ

ค่มู อืคนมู่ กัอื ศนกึั ษศาึกษ๒า๕๒๖๕๓๖๓(๒(๒(๓๙๒) ๙) )

มหมาวหิทายวิทาลยยั าเลทยั คเทโนคโลโนยโีรลายชีรมางชคมลงกครลงกุ เรทงุพเทพ

(๘) ผูท่ีสอบไมผานหรือไมเปนที่พอใจ มีสิทธิขอสอบแกตัวไดอีก ๑ ครั้ง ภายใน ๑
ป นับจากการสอบครัง้ แรก มิฉะนน้ั ใหพนสภาพการเปน นักศกึ ษา

ขอ ๓๒ การสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination)
(๑) การสอบวัดคุณสมบัติเปนการสอบเพื่อประเมินความพรอมสาํ หรบั นักศึกษา
หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แบบ ก ๑ และนักศึกษาหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต แบบ ๑ และ
แบบ ๒ เพื่อวัดวานักศึกษามีความรูพื้นฐาน และมีความพรอมในการทําวิทยานิพนธ และเพ่ือมี
สิทธเิ สนอเคาโครงวิทยานิพนธ
(๒) การสอบวัดคณุ สมบตั ิประกอบดวยการสอบขอเขยี นและการสอบปากเปลา
(๓) ใหคณะกรรมการบริหารหลักสูตร จัดสอบวัดคุณสมบัติสําหรับการสอบ
ขอเขียนอยางนอยภาคการศึกษาละ ๑ คร้ัง เม่ือมีนักศึกษายื่นคํารองขอสอบ สวนการสอบปาก
เปลาใหอ ยูในดุลพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
(๔) ใหคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเสนอรายชื่อคณะกรรมการสอบวัด
คุณสมบัติจาํ นวน ๓-๕ คน ตอ คณบดเี พ่อื พิจารณาแตง ตงั้ โดยกรรมการคนหน่ึงเปน ประธานกรรมการ
สอบ คณะกรรมการสอบเปนผูรับผิดชอบในการดําเนินการสอบ และใหรายงานผลการสอบตอ
คณบดโี ดยผานคณะกรรมการบริหารหลักสตู รภายใน ๒ สัปดาห หลงั จากเสร็จสิน้ การสอบ
(๕) นักศึกษาจะมีสิทธิสอบวัดคุณสมบัติเมื่อไดรับความเห็นชอบจากอาจารยท่ี
ปรกึ ษาและคณะกรรมการบริหารหลักสูตร วามคี วามรพู นื้ ฐานพรอมท่จี ะสอบได
(๖) นักศึกษาท่ีขอสอบวัดคุณสมบัติ ตองย่ืนคํารองขอสอบผานอาจารยที่ปรึกษา
คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู ร ไปยังคณะ และชาํ ระคา ธรรมเนยี มตามระเบียบมหาวิทยาลัย
(๗) เม่ือนักศึกษาไดรับอนมุ ัติใหสอบในภาคการศึกษาใด ๆ แลวถาขาดสอบโดย
ไมมีเหตุผลอันสมควร ใหถือวาสอบไมผานในการสอบคราวน้ัน ท้ังนี้ ใหอยูในดุลพินิจของประธาน
กรรมการสอบ
(๘) นักศึกษาที่สอบคร้ังแรกไมผานหรือไมเปนที่พอใจ มีสิทธิสอบแกตัวได ๑ ครั้ง
ท้ังนี้ ไมกอน ๖๐ วัน นับจากวนั สอบคร้ังแรก นักศกึ ษาทสี่ อบครง้ั ที่สองไมผานหรือไมเปนท่ีพอใจ
ใหพ นสภาพการเปน นกั ศกึ ษา
(๙) นักศึกษาตองสอบวัดคณุ สมบัติใหผ าน โดยไดผ ลการประเมนิ ระดับคะแนน
เปน S ภายในระยะเวลาตามหลักสตู รตาง ๆ ดังตอไปนี้ โดยนับต้งั แตภาคการศึกษาแรกท่ีเขาศึกษา
มิฉะนน้ั ใหพนสภาพการเปนนักศกึ ษา

(๒๓((๒๐๒))๓๐ค)มู่ อื นคกั ่มูศอื ึกนษกั าศ๒ึกษ๕า๖๒๓๕๖๓

มหาวมิทหยาาวลิทยั ยเทาลคยัโนเทโลคยโีรนาโลชยมรีงาคชลมกงรคงุ ลเทกพรงุ เทพ

(ก) หลกั สตู รปริญญามหาบัณฑิต แบบ ก ๑ ภายใน ๓ ภาคการศกึ ษาปกติ
(ข) หลกั สตู รปรญิ ญาดุษฎีบัณฑิต แบบ ๑.๑ ภายใน ๔ ภาคการศึกษาปกติ
(ค) หลักสูตรปรญิ ญาดุษฎีบัณฑิต แบบ ๑.๒ ภายใน ๔ ภาคการศึกษาปกติ
(ง) หลกั สูตรปรญิ ญาดุษฎบี ัณฑติ แบบ ๒.๑ ภายใน ๖ ภาคการศึกษาปกติ
(จ) หลักสตู รปรญิ ญาดษุ ฎีบัณฑติ แบบ ๒.๒ ภายใน ๔ ภาคการศึกษาปกติ
ขอ ๓๓ การประเมินผลการศึกษา จะตองกระทาํ เมอื่ ส้นิ ภาคการศึกษาแตละภาค
การศึกษา โดยใหผลการประเมนิ เปน ระดบั คะแนน (Grade) ซ่ึงระดบั คะแนน คา ระดับคะแนน
และผลการศึกษาเปนดงั ตอไปนี้

ระดบั คา ระดับ ผลการศกึ ษา
คะแนน คะแนน
๔.๐๐ ดเี ลิศ (Excellent)
A ดีมาก (Very Good)
๓.๕๐ ดี (Good)
B ๓.๐๐ คอ นขางดี (Fairly Good)
B พอใช (Fair)
๒.๕๐ คอนขางพอใช (Poor)
C ออ น (Very Poor)
๒.๐๐ ตก (Fail)
C ๑.๕๐ สอบผาน/เปน ที่พอใจ (Satisfactory)
D สอบไมผ า น/ไมเ ปนท่ี (Unsatisfactory)
๑.๐๐ พอใจ
D การวัดผลรายวชิ ายังไม (Incomplete)
๐ สมบูรณ
F - ขอถอนวชิ าเรยี นหลัง (Withdrawal)
S กาํ หนด
- เขา รว มฟง การบรรยาย
U

I-

W-

AU -

คมู่ อืคนมู่ กัอื ศนกึั ษศาึกษ๒า๕๒๖๕๓๖๓ (๒(๓๒(๓๑๓) )๑)

มหมาวหิทายวิทาลยยั าเลทยั คเทโนคโลโนยโีรลายชีรมางชคมลงกครลงกุ เรทงุพเทพ

ขอ ๓๔ การประเมินผลการสอบประมวลความรู การสอบวัดคุณสมบัติ การสอบ
ภาษาตางประเทศ การสอบวทิ ยานิพนธ และการคนควา อิสระ

(๑) การประเมินผลการสอบประมวลความรู การสอบวัดคุณสมบัติ และการสอบ
ภาษาตา งประเทศ ใหผ ลการประเมนิ เปน ระดบั คะแนน ดงั ตอไปนี้

ระดบั คะแนน ผลการศึกษา (Satisfactory)
S สอบผา น/เปนที่พอใจ (Unsatisfactory)

U สอบไมผา น/ไมเ ปนท่พี อใจ

(๒) การประเมินผลวิทยานิพนธ และการคนควาอิสระ ใหผลการประเมินเปน
ระดบั คะแนน ดงั ตอ ไปนี้

ระดบั คะแนน ผลการศึกษา (Pass)
P ผา น (Fail)
(In Progress)
F ตก
IP การทาํ วทิ ยานิพนธ/ การคนควา อิสระ

ยังไมสน้ิ สุด

การใหระดับคะแนน IP อาจแบงจํานวนหนวยกิตตามความกาวหนาในการทํา
วิทยานพิ นธห รอื การคน ควา อสิ ระ

ขอ ๓๕ การคาํ นวณหนว ยกิตสะสม และคาระดับคะแนนเฉลีย่
(๑) การคํานวณหนวยกิตสะสม และคาระดับคะแนนเฉลี่ย ใหกระทําเมื่อสิ้น
แตละภาคการศกึ ษา
(๒) หนวยกิตสะสม คือ จํานวนหนวยกิตของรายวิชาในระดับบัณฑิตศึกษาท่ี
ลงทะเบยี นเรยี นท้ังหมดที่ไดร บั คาระดบั คะแนนตามขอ ๓๓
(๓) คาระดับคะแนนเฉล่ีย มี ๒ ประเภท คือ คาระดับคะแนนเฉลี่ยประจําภาค
และคา ระดบั คะแนนเฉลี่ยสะสม การคาํ นวณคาระดับคะแนนเฉล่ียใหท าํ ดังตอ ไปนี้

(ก) คาระดับคะแนนเฉลี่ยประจําภาค คํานวณจากผลการศึกษาของนักศึกษาใน
ภาคการศึกษานั้น โดยเอาผลรวมของผลคูณของหนวยกิตกับคาระดับคะแนนของผลการศึกษาในแต

(๒๓((๒๒๒))๓๒ค)มู่ อื นคกั มู่ศอื ึกนษกั าศ๒ึกษ๕า๖๒๓๕๖๓

มหาวมิทหยาาวลิทยั ยเทาลคยัโนเทโลคยโีรนาโลชยมรีงาคชลมกงรคงุ ลเทกพรงุ เทพ

ละรายวิชาในภาคการศึกษานั้น ๆ ท่ีนักศึกษาไดรับเปนตัวตั้ง หารดวยผลรวมของหนวยกิต
รายวชิ าในระดับบณั ฑติ ศึกษาในภาคการศึกษานนั้ ๆ

(ข) คาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม ใหคํานวณจากผลการศึกษาของนักศึกษา
ตั้งแตเริ่มเขาศึกษาในมหาวิทยาลัย จนถึงการประเมินผลครั้งสุดทาย โดยเอาผลรวมของผลคูณ
ของหนวยกิตกับ คาระดับ คะแน นของผลการศึกษาแตละรายวิชา ที่นักศึกษาไดรับเปนตัวต้ัง
หารดวยหนวยกติ สะสม

ขอ ๓๖ สภาพการเปน นักศกึ ษาและการเรยี นซ้าํ
(๑) นักศึกษาที่คาระดับคะแนนเฉลี่ยประจําภาคตํ่ากวา ๒.๕๐ เมื่อสิ้นภาค
การศึกษาแรกที่ลงทะเบียนเรียน หรือไดคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตํ่ากวา ๒.๕๐ ใหพนสภาพ
การเปนนักศึกษา
(๒) เม่ือสิ้นภาคการศึกษาใด ๆ นักศึกษาที่ไดคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต
๒.๕๐ ข้ึนไปแตตํ่ากวา ๓.๐๐ ตองทําคาระดับคะแนนเฉล่ียสะสมใหได ๓.๐๐ ภายในระยะเวลาที่
กําหนด มิฉะนั้นใหพ นสภาพการเปน นักศกึ ษา ดังตอไปน้ี

(ก) สองภาคการศึกษาถัดไป สําหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรบัณฑิต และ
ประกาศนยี บัตรบณั ฑติ ชนั้ สูง

(ข) หนง่ึ ภาคการศึกษาถัดไป สําหรับนักศึกษาปริญญาโทและปรญิ ญาเอก ท้ังน้ี
ไมน บั ภาคการศึกษาท่ีนกั ศึกษาขอลาพักการศกึ ษา

(๓) ในกรณีท่ีนักศึกษาไดคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต ๒.๕๐ ข้ึนไปแตตํ่ากวา
๓.๐๐ ใหม ีสถานภาพ “รอพนิ ิจ” การรอพินิจนน้ั ใหนับทกุ ภาคการศกึ ษา

(๔) นักศึกษาที่ไดรับคาระดับคะแนนรายวิชาตํ่ากวา C + หรือไดรับผลการประเมิน
การศกึ ษาเปนระดบั คะแนน U ในรายวชิ าบังคบั ตามหลักสตู รระดับบณั ฑติ ศกึ ษา จะตอ งลงทะเบยี นเรียน
รายวิชานน้ั ซํ้า

(๕) นักศึกษาท่ีไดรับระดับคะแนนรายวิชาตํ่ากวา C +หรือไดรับผลการประเมิน
การศึกษาเปนระดับคะแนน U ในรายวิชาเลือกตามหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา อาจจะลงทะเบียน
เรียนวิชาอื่นแทนได โดยไดรับความเห็นชอบจากอาจารยท่ีปรึกษา และคณะกรรมการบริหาร
หลกั สตู ร

(๖) นักศึกษาลงทะเบียนเรียนซํ้ารายวิชาท่ีเคยลงทะเบียนเรียนไปแลวมิได ยกเวน
การเรียนซ้าํ ตามความใน (๔) หรอื (๕)

คมู่ อืคนมู่ กัอื ศนึกั ษศาึกษ๒า๕๒๖๕๓๖๓ (๒(๓๒(๓๓) )๓)

มหมาวหิทายวิทาลยยั าเลทยั คเทโนคโลโนยโรีลายชีรมางชคมลงกครลงกุ เรทงุพเทพ

ขอ ๓๗ การเทียบโอนหนวยกิต ใหเปนไปตามหลักเกณฑการเทียบโอนผลการ
เรยี นในระดับบณั ฑิตศกึ ษาของมหาวทิ ยาลยั ดงั ตอไปนี้

(๑) การเทียบโอนหนวยกิตท่ีไดจากรายวิชาในระดับบัณฑิตศึกษา ที่ไดศกึ ษามาแลวไม
เกิน ๕ ปการศึกษา นบั จากปการศึกษาท่ีลงทะเบยี นเรียนรายวิชานั้น กระทําไดโดยความเห็นชอบ
จากคณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตร และไดรับอนุมัติจากคณบดี โดยแตละรายวชิ าท่ีขอเทยี บโอนตอ ง
ไดค าระดับคะแนนไมตา่ํ กวา ๓.๐๐

(๒) รายวิชาท่ีศึกษาในมหาวิทยาลัย หรือมหาวิทยาลัยอ่ืน เทียบโอนไดไมเกินหน่ึง
ในสามของจํานวนหนวยกิตของรายวิชาท้ังหมดในหลักสูตรของมหาวิทยาลัย ท้ังน้ี ไมนับรวม
หนว ยกติ ของวทิ ยานพิ นธแ ละการคนควา อสิ ระ

(๓) รายวิชาที่เทียบโอนหนวยกิต ใหแสดงช่ือรายวิชา และจํานวนหนวยกิต
ในใบแสดงผลการศกึ ษาท่หี ลักสตู รรับโอน โดยไมนํามาคิดแตม ระดบั คะแนนเฉลย่ี

(๔) หนวยกิตที่ไดจากการเขารวมศึกษาขณะเปนนักศึกษาพิเศษ ไมสามารถ
เทียบโอนได

ขอ ๓๘ การลงโทษนักศึกษาทีท่ ุจริตในการสอบรายวชิ า หรือการคดั ลอกวิทยานพิ นธ
หรอื ผลงานการคน ควา อิสระของผูอื่น

(๑) การลงโทษนักศึกษาท่ีทุจริตในการสอบรายวิชา ใหเปนไปตามขอบังคับ
มหาวทิ ยาลยั วาดว ยการสอบของนกั ศึกษา

(๒) การลงโทษนักศึกษาทคี่ ัดลอกวิทยานพิ นธหรือผลงานการคนควา อสิ ระของผูอื่น
หรือใหผูอ่ืนจัดทํา ใหเปนหนาที่ของคณะกรรมการสอบในการเสนอคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
เพื่อแตงตัง้ กรรมการตรวจสอบและพจิ ารณาตามสมควรแกกรณดี ังตอไปน้ี

(ก) กรณีท่ีตรวจสอบพบในขณะที่ยังไมสาํ เร็จการศึกษา ใหถือวาเปนการกระทํา
ผิดวินัยนักศึกษาและมีโทษสูงสุดใหพนสภาพการเปนนักศึกษา

(ข) กรณีท่ีตรวจสอบพบเม่ือไดมีการอนุมัติปริญญาไปแลว ใหเสนอตอ
คณะกรรมการบริหารหลักสตู รและคณบดี เพือ่ นาํ เสนอสภามหาวิทยาลัยพิจารณาเพกิ ถอนปรญิ ญา

(๒๓(๒(๔๒))๓๔ค)มู่ อื นคกั ่มูศอื ึกนษกั าศ๒ึกษ๕า๖๒๓๕๖๓

มหาวมิทหยาาวลิทยั ยเทาลคยัโนเทโลคยโีรนาโลชยมรีงาคชลมกงรคงุ ลเทกพรงุ เทพ

หมวด ๘
การทําและการสอบวทิ ยานพิ นธ

ขอ ๓๙ วิทยานิพนธ หมายถึง เรื่องท่ีเขียนเรียบเรียงขึ้นจากผลที่ไดจาก
การศึกษาคนควา วจิ ัย หรือสํารวจ อันเปนสวนหน่ึงของงานทผ่ี ูศึกษาตองทําเพือ่ สิทธใิ นการรับปรญิ ญา
ตามที่มหาวิทยาลัยไดกําหนดไว นักศึกษาหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ก และนักศึกษา
หลกั สูตรปรญิ ญาดษุ ฎีบัณฑิตตอ งทําวิทยานพิ นธ

ขอ ๔๐ อาจารยท่ีปรึกษาวทิ ยานิพนธ ตองมีองคป ระกอบ ดังตอ ไปน้ี
(๑) วิทยานิพนธระดับปริญญาโท ใหมีอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธหลกั ๑ คน ใน
กรณที ีม่ คี วามจําเปนอาจเสนออาจารยท ่ปี รึกษาวิทยานิพนธร วมไดอกี ๑ คน
(๒) วิทยานิพนธระดับปริญญาเอก ใหมีอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธหลัก ๑ คน
ในกรณีท่มี ีความจําเปน อาจเสนออาจารยที่ปรึกษาวทิ ยานิพนธร วมไดอกี ไมเ กนิ ๒ คน
ขอ ๔๑ คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ หมายถึง คณะกรรมการที่คณะแตงต้ัง
ข้ึนเพื่อทําการสอบวิทยานิพนธ โดยมีกรรมการคนหนึ่งเปนประธานกรรมการสอบ และ
คณะกรรมการ ดังกลาวตองมีคุณวุฒิ คุณสมบัติ และผลงานทางวิชาการ ตามขอ ๑๘ (๓) (ง) หรือ
(๔) (ง) แลว แตกรณี
(๑) วิทยานิพนธระดับมหาบัณฑิตใหมีคณะกรรมการสอบ จํานวนไมเกิน ๔ คน
แตไมต่ํากวา ๓ คน ประกอบดวย อาจารยประจํา อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ ผูทรงคุณวุฒิ
ภายนอกมหาวิทยาลัย ในสาขาที่สัมพันธกันอยางนอย ๑ คน เพ่ือทําหนาท่ีเปนกรรมการสอบใน
นามผแู ทนคณะ และอาจารยทปี่ รึกษาวทิ ยานิพนธตองไมเปนประธานกรรมการสอบ
(๒) วิทยานิพนธระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิตใหมีคณะกรรมการสอบ จํานวน ๕
คน ประกอบดวย อาจารยประจํา อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ ผูทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาท่ี
สัมพันธกันอยางนอย ๑ คน และผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย ๑ คน เพื่อทําหนาท่ีเปน
กรรมการสอบในนามผูแทนคณะ และอาจารยท่ีปรกึ ษาวิทยานิพนธตองไมเปนประธานกรรมการ
สอบ

คมู่ อืคนมู่ กัอื ศนึกั ษศาึกษ๒า๕๒๖๕๓๖๓ (๒(๓๒(๓๕๓))๕)

มหมาวหิทายวิทาลยยั าเลทยั คเทโนคโลโนยโีรลายชีรมางชคมลงกครลงกุ เรทงุพเทพ

ขอ ๔๒ การเสนอหัวขอ และเคาโครงวิทยานิพนธ นกั ศึกษาจะเสนอหัวขอและเคา
โครงวิทยานิพนธไดตองลงทะเบียนวิทยานิพนธไมนอยกวา ๓ หนวยกิต ในภาคการศึกษาน้ัน และ
ดาํ เนินการ ดงั ตอ ไปนี้

(๑) นักศึกษาหลกั สูตรปริญญามหาบัณฑติ แผน ก ๑ ทาํ เฉพาะวิทยานิพนธ ตอง
สอบวดั คุณสมบตั ิผา นหรือเปน ทพี่ อใจแลว

(๒) นักศึกษาหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ก ๒ ตองศึกษารายวิชาตามแผนการ
เรียนมาแลว ไมนอยกวา ๙ หนว ยกิต และตอ งไดค า ระดบั คะแนนเฉลย่ี สะสมไมตาํ่ กวา ๓.๐๐

(๓) นักศึกษาหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต ตองสอบวัดคุณสมบัติผานหรือเปนท่ีพอใจ
แลว

(๔) การพิจารณาหัวขอและเคาโครงวิทยานิพนธ ใหเปนไปตามข้ันตอนท่ี
คณะกรรมการบริหารหลกั สูตรกําหนด

(๕) หัวขอและเคาโครงวิทยานิพนธท่ีจะเสนอขออนุมัติ ตองไดรับความเห็นชอบ
จากอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธแลวจึงเสนอตอคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเพื่อพิจารณา และ
ใหน ําผลการพิจารณาเสนอตอคณะ

(๖) การเปลี่ยนแปลงใด ๆ เกี่ยวกับหัวขอและเคาโครงวิทยานิพนธที่ไดรับอนุมัติแลว
หากเปนการเปลี่ยนแปลงหัวขอวิทยานิพนธ หรือสาระสําคัญของวิทยานิพนธ ใหการประเมินผล
วิทยานิพนธท่ีลงทะเบียนผานมาท้ังหมดเปนระดับคะแนน U นักศึกษาตองลงทะเบียนและยื่นขอ
อนุมัติหัวขอและเคาโครงวิทยานิพนธใหม โดยใหนับเวลาจากวันที่ไดรับอนุมัติหัวขอและเคาโครง
วิทยานพิ นธคร้งั สดุ ทา ย

กรณีการเปล่ียนแปลงหัวขอวิทยานิพนธเพียงเล็กนอย ซึ่งมีวัตถุประสงคเพ่ือความ
ถกู ตองของสํานวนภาษา ความสน้ั กระชับ และความชัดเจน โดยมิไดเปลี่ยนแปลงสาระสาํ คญั ของ
วิ ท ย า นิ พ น ธ ให อ ยู ใน ดุ ล พิ นิ จ ข อ ง อ า จ า ร ย ท่ี ป รึ ก ษ า วิ ท ย า นิ พ น ธ แ ล ะ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ส อ บ
วิทยานิพนธ

ขอ ๔๓ การสอบหวั ขอและเคา โครงวิทยานิพนธ และการสอบความกาวหนา
วิทยานพิ นธ

นกั ศกึ ษาปรญิ ญาโท ใหมีการสอบหวั ขอและเคาโครงวิทยานิพนธ
นักศึกษาปริญญาเอก ใหมีการสอบหัวขอและเคาโครงวิทยานิพนธ และมีการ
สอบความกา วหนาวทิ ยานิพนธดวย

(๒๓(๒(๖๒))๓๖ค)มู่ อื นคกั ่มูศอื ึกนษกั าศ๒กึ ษ๕า๖๒๓๕๖๓

มหาวมิทหยาาวลิทยั ยเทาลคยัโนเทโลคยโีรนาโลชยมรีงาคชลมกงรคงุ ลเทกพรงุ เทพ

(๑) นักศึกษาตองย่ืนคํารองพรอมหัวขอและเคาโครงวิทยานิพนธโดยยอ ตาม
รูปแบบที่คณะกําหนด จํานวน ๕ ชุด ตอคณะกอนวันสอบเปนเวลาอยางนอย ๕ วันทําการ และ
เม่ือไดร บั อนุมตั ิใหมกี ารสอบ ใหค ณะประกาศวนั เวลา และสถานทใี่ หทราบโดยทว่ั กัน

(๒) การสอบหัวขอและเคาโครงวิทยานิพนธ ตองดําเนินการใหแลวเสร็จภายใน ๓๐
วันนับแตวันที่ยื่นคํารองขอสอบวิทยานิพนธและไดรับอนุมัติหัวขอและเคาโครงวิทยานิพนธท่ีเสนอ
มิฉะน้นั จะตอ งเสนอหวั ขอและเคา โครงวิทยานิพนธใหม

(๓) ใหประธานการสอบหัวขอ และเคาโครงวิทยานิพนธ รายงานผลการสอบไป
ยังคณะหลังจากเสร็จสิ้นการสอบ ถาผลการสอบหัวขอและเคาโครงวิทยานิพนธผาน ใหคณะ
ประกาศอนุมัติหัวขอและเคาโครงวิทยานิพนธใหทราบท่ัวกัน แตถาตองมีการปรับปรุงแกไขให
นักศึกษาดําเนินการแกไขแลวเสนอผานอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ และเสนอตอคณะภายใน
๓๐ วัน นับแตว ันสอบ

(๔) การสอบความกา วหนาวทิ ยานิพนธ มีวัตถุประสงคเพ่ือใหทราบความกาวหนา
ในการทาํ วทิ ยานิพนธ และเสนอแนวทางการแกไ ขปญ หา อันจะสงผลใหน ักศกึ ษาประสบความสาํ เรจ็ ใน
การทําวิทยานิพนธมากขึ้น นักศึกษาตองสอบความกาวหนาวิทยานิพนธโดยคณะกรรมการสอบ
วทิ ยานิพนธ นักศึกษาจะขอสอบความกาวหนาวิทยานิพนธได ตองลงทะเบียนวิทยานิพนธไมนอย
กวากึง่ หนงึ่ ของจาํ นวนหนวยกิตวิทยานิพนธใ นหลักสตู รนั้น

(๕) ใหประธานการสอบวิทยานิพนธรายงานผลการสอบความกาวหนา
วิทยานพิ นธ ไปยังคณะทนั ทหี ลงั จากเสรจ็ สนิ้ การสอบ

(๖)อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ตองแจงผลการประเมินความกาวหนาในการทํา
วิทยานิพนธไ ปยงั คณะ กอ นวนั อนุมัตผิ ลการศึกษาทกุ ภาคการศกึ ษา

ขอ ๔๔ การสอบปองกันวทิ ยานพิ นธ
(๑) นักศึกษามีสิทธิขอสอบปองกันวิทยานิพนธได เม่ือนักศึกษาทําวิทยานิพนธ
เสรจ็ เรียบรอยแลว และอาจารยทป่ี รกึ ษาวิทยานพิ นธอนุญาตใหส อบได
(๒) การย่นื คาํ รองขอสอบปอ งกนั วิทยานพิ นธ

(ก) หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต นักศึกษายื่นคํารองกอนวันสอบเปน
เวลา ไมนอยกวา ๑๕ วนั ทําการ

(ข) หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต นักศึกษายื่นคํารองกอนวันสอบเปน
เวลา ไมนอยกวา ๓๐ วันทาํ การ

คมู่ อืคนมู่ กัอื ศนึกั ษศาึกษ๒า๕๒๖๕๓๖๓(๒(๓๒(๓๗๓) ๗) )

มหมาวหิทายวิทาลยยั าเลทยั คเทโนคโลโนยโรีลายชีรมางชคมลงกครลงกุ เรทงุพเทพ

(ค) ยื่นคํารองขอสอบพรอมสําเนาวิทยานิพนธฉบับสอบ จํานวนเทากับ
กรรมการสอบ เพอื่ ใหคณะดําเนินการจัดสงใหก รรมการสอบและอกี ๑ เลม เพ่ือใหคณะเก็บไวเ ปน
หลกั ฐาน

(ง) เมื่อไดรับอนุมัติใหสอบปองกันวิทยานิพนธ คณะจะประกาศกําหนดวัน
เวลา และสถานทีส่ อบใหทราบโดยท่วั กันลวงหนากอนสอบอยางนอย ๗ วัน

(๓) การสอบปองกันวิทยานิพนธ ใหเปนการสอบแบบปากเปลาอยางเปดเผย
นักศึกษาและผูสนใจอื่น ๆ สามารถเขารวมรับฟงไดตามวัน เวลา และสถานที่ ตามท่ีคณะกําหนดใน
คาํ ส่ังแตงตั้งคณะกรรมการสอบปองกันวิทยานิพนธ โดยผูเขารวมรับฟงไมมีสิทธิในการสอบถาม เวน
แตไดร บั อนญุ าตจากคณะกรรมการสอบวิทยานพิ นธ

ขอ ๔๕ การตดั สนิ ผลการสอบปองกนั วิทยานพิ นธ
(๑) เมื่อการสอบปองกันวิทยานิพนธเสร็จสิ้น ใหคณะกรรมการสอบปองกัน
วิทยานิพนธอภิปรายแสดงความคิดเห็นและลงมติพรอมตัดสินผลการสอบปองกันวิทยานิพนธ
ตามเกณฑดงั ตอไปนี้

(ก) “ผาน” หมายถึง การที่นักศึกษาแสดงผลงานวิทยานิพนธ และตอบขอ
ซักถามไดเปนที่นาพอใจของคณะกรรมการสอบปองกันวิทยานิพนธ ไมตองมีการแกไขหรือเพิ่มเติม
สาระสําคัญ นักศึกษาสามารถจัดพิมพร ูปเลมวิทยานิพนธฉบบั สมบูรณสง คณะไดท นั ที

(ข) “ผานโดยมีเงื่อนไข” หมายถึง การที่นักศึกษายังไมสามารถแสดงผลงาน
วิทยานิพนธ หรือตอบขอซักถามใหเปนที่พอใจของคณะกรรมการสอบปองกันวิทยานิพนธได
อยางสมบูรณ คณะกรรมการสอบปองกันวิทยานิพนธพิจารณาเห็นสมควรใหแกไขหรือเพิ่มเติม
สาระสําคัญ หรือเรียบเรียงวิทยานิพนธตามที่คณะกรรมการสอบปองกันวิทยานิพนธเสนอแนะ
ไวเปนลายลักษณอักษร ทั้งน้ี ใหคณะกรรมการสอบปองกันวิทยานิพนธกําหนดระยะเวลาให
นักศึกษาดําเนินการแกไขปรับปรุงวิทยานิพนธ ในระดับปริญญามหาบัณฑิต ตองไมเกิน ๖๐ วัน และ
ในระดบั ดษุ ฎีบัณฑิต ตอ งไมเกิน ๙๐ วัน นบั จากวันสอบปอ งกันวิทยานพิ นธ

(ค) “ไมผาน” หมายถึง การที่นักศึกษาไมสามารถแสดงผลงานวิทยานิพนธ
ใหเปนท่ีพอใจของคณะกรรมการสอบปองกันวิทยานิพนธ หรือไมสามารถตอบขอซักถามของ
คณะกรรมการสอบปองกันวิทยานิพนธได ซ่ึงแสดงวานักศึกษาผูนั้นไมมีความเขาใจอยางถองแท
ถึงสาระของวทิ ยานพิ นธท่ีตนไดท ํา

(๒๓((๒๘๒))๓๘ค)มู่ อื นคกั ่มูศอื ึกนษกั าศ๒กึ ษ๕า๖๒๓๕๖๓

มหาวมิทหยาาวลิทยั ยเทาลคยัโนเทโลคยโีรนาโลชยมรีงาคชลมกงรคงุ ลเทกพรงุ เทพ

กรณีท่ีนักศึกษาสอบครงั้ แรกไมผ าน ใหน กั ศึกษาย่นื คํารอ งขอสอบใหมไดอีก ๑
คร้ัง

(๒) กรณีนักศึกษาไมสามารถปฏิบัติตามการตัดสิน ผลการสอบปองกัน
วิทยานิพนธของคณะกรรมการสอบปองกันวิทยานิพนธภายในระยะเวลาท่ีกําหนดไว ไมวาจะเปน
กรณีสอบ “ผานโดยมีเง่ือนไข” หรือสอบ “ไมผาน” ผลการสอบใหถูกปรับระดับคะแนนเปน U
นกั ศึกษาตองดําเนินการลงทะเบียนวิทยานิพนธ และจัดทําวิทยานิพนธภายใตหัวขอใหม พรอมท้ัง
เรมิ่ ขั้นตอนการทาํ วทิ ยานิพนธใหมท ั้งหมด

(๓) ใหประธานกรรมการสอบปองกันวิทยานิพนธ รายงานผลการสอบไปยัง
คณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู ร และคณะ ภายใน ๑ สัปดาห นบั จากวันสอบ

ขอ ๔๖ การเรียบเรียงวิทยานิพนธ
(๑) ภาษาที่ใชในการเขียนวิทยานิพนธ ใหเปนไปตามที่กําหนดในหลักสูตร
ใน กรณีท่ีไมไดกําหนดไวในหลักสูตร ใหนักศึกษาแจงความประสงคเปนกรณีพิเศษผาน
คณะกรรมการบริหารหลักสูตร
(๒) รูปแบบการจัดทํารูปเลม ใหเปนไปตามคูมือการจัดทําวิทยานิพนธที่
มหาวิทยาลัยกําหนด
ขอ ๔๗ นักศึกษาตองสงวิทยานิพนธฉบับสมบูรณที่มีลายมือชื่อคณะกรรมการสอบ
ปองกันวิทยานิพนธครบถวนทุกคน จํานวน ๕ เลม พรอมดวยแผนบันทึกขอมูลวิทยานิพนธและ
บทคัดยอตามรูปแบบท่ีกําหนดใหคณะภายในวันอนุมัติผลประจําภาคการศึกษา ในกรณีที่นักศึกษามี
ขอผูกพันตองมอบวทิ ยานิพนธใ หแกหนวยงานใด ใหน กั ศึกษาจัดสง ไปยังหนว ยงานนน้ั ดวย
ขอ ๔๘ การยกเลิกผลการสอบวิทยานิพนธ ในกรณีท่ีคณะไมไดรับเลม
วิทยานิพนธฉบับสมบูรณพรอมแผนบันทึกขอมูลวิทยานิพนธครบถวนภายในกําหนดเวลา ๖๐ วัน
สาํ หรับปริญญาโท และ ๙๐ วัน สําหรับปรญิ ญาเอกหลังจากผลสอบผานวิทยานิพนธ ใหคณะยกเลิก
ผลการสอบและประเมินผลวิทยานิพนธท่ีลงทะเบียนผานมาทั้งหมดเปนระดับคะแนน U หาก
นักศึกษายังตองการรับปริญญาน้ันอีก นักศึกษาตองลงทะเบียนและเร่ิมขั้นตอนการทําวิทยานิพนธ
ใหมท ้งั หมด
ขอ ๔๙ ในกรณีที่นักศึกษาสอบปองกันวิทยานิพนธแลว แตยังไมสงวิทยานิพนธ
ฉบับสมบูรณตอคณะภายในวันอนุมัติผลประจําภาคการศึกษา ใหถือวานักศึกษาผูนั้นยังไมสําเร็จ

ค่มู อืคนมู่ กัอื ศนกึั ษศาึกษ๒า๕๒๖๕๓๖๓(๒(๓๒(๓๙๓) )๙)

มหมาวหิทายวิทาลยยั าเลทยั คเทโนคโลโนยโีรลายชีรมางชคมลงกครลงกุ เรทงุพเทพ

การศกึ ษา นักศึกษาตอ งลงทะเบยี นรักษาสภาพการเปนนกั ศึกษา ทัง้ นี้ ตองไมข ัดแยงกบั ระยะเวลา
ในขอ ๔๘

ขอ ๕๐ วิทยานิพนธท่ีไดรับอนุมัติจากคณะ จึงจะถือวาเปนวิทยานิพนธฉบับ
สมบรู ณและใหน ับเปนสว นหนง่ึ ของการศกึ ษาเพอื่ รบั ปรญิ ญา

ลิขสิทธ์ิหรอื สิทธิบัตรในวิทยานิพนธเปนของมหาวทิ ยาลัย นักศึกษาและอาจารยที่
ปรึกษาวิทยานิพนธเร่ืองน้ัน ๆ สามารถนําไปเผยแพรในเชิงวิชาการได แตการนําเนื้อหาหรือผล
การศึกษาไปใชเพ่ือประโยชนอ่ืน ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่มหาวิทยาลัยกําหนด กรณีท่ี
การทําวิทยานิพนธไดรับทุนวิจัยท่ีมีขอผูกพันเก่ียวกับลิขสิทธิ์หรือสิทธิบัตรโดยไดรับความเห็นชอบ
จากมหาวทิ ยาลัย ใหดําเนนิ การตามขอ ผกู พนั น้ัน ๆ

หมวด ๙
การทําและการสอบการคนควาอิสระ

ขอ ๕๑ การคนควาอิสระ หมายถึง การคนควาอิสระของนักศึกษาภายใตการ
กํากับดูแลของอาจารยท่ีปรึกษา การคนควาอิสระอาจทําในรูปของวิจัย การประยุกตทฤษฎี วิจัย
ปฏิบัติการ วิจัยในช้ันเรียน ชุดการสอน ชุดฝกอบรม กรณีศึกษา สิ่งประดิษฐ การรวบรวมและ
วิเคราะหงานวิชาการ หรือการสรางผลงานวิชาการในลักษณะอื่น ๆ ที่อาจารยท่ีปรึกษาการ
คนควา อสิ ระเห็นสมควร

ขอ ๕๒ อาจารยที่ปรึกษาการคนควาอิสระ ใหมีอาจารยท่ีประจําหลักสูตร จํานวน
๑ คน ในกรณที ี่มีความจาํ เปนอาจเสนออาจารยท่ีปรึกษาการคนควาอิสระรวมไดอีก ๑ คน

ขอ ๕๓ คณะกรรมการสอบการคนควาอิสระ หมายถึง คณะกรรมการท่ีคณะ
แตงต้ังข้ึนเพื่อทําการสอบการคนควาอิสระ มีจํานวนไมเกิน ๔ คน แตไมต่ํากวา ๓ คน ประกอบดวย
อาจารยประจํา อาจารยท่ีปรึกษาการคนควาอิสระ ผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวทิ ยาลัย ในสาขาท่ี
สัมพันธกันอยางนอย ๑ คน เพื่อทําหนาที่เปนกรรมการสอบ โดยใหมีกรรมการคนหนึ่งเปน
ประธานกรรมการสอบทงั้ น้ี อาจารยท่ีปรกึ ษาการคน ควา อิสระตอ งไมเ ปนประธานกรรมการสอบ

คุณวุฒิ คุณสมบัติ และผลงานทางวิชาการของคณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง
ใหเปน ไปตามขอ ๑๘ (๓) (ง) โดยอนโุ ลม

(๒๔(๒(๐๒))๔๐ค)มู่ อื นคกั มู่ศอื ึกนษกั าศ๒กึ ษ๕า๖๒๓๕๖๓

มหาวมิทหยาาวลิทยั ยเทาลคยัโนเทโลคยโีรนาโลชยมรีงาคชลมกงรคงุ ลเทกพรงุ เทพ

ขอ ๕๔ การเสนอหัวขอและเคา โครงการคนควาอิสระ นักศกึ ษาท่ีเสนอหัวขอและ
เคาโครงการคนควาอิสระได ตองลงทะเบียนการคนควาอิสระในภาคการศึกษาน้ัน และ
ดําเนนิ การดงั ตอไปนี้

(๑) ตองศึกษารายวชิ ามาแลว ไมนอ ยกวา ๑๘ หนวยกิต และตองมีคาระดับคะแนน
เฉล่ยี สะสมไมต ่าํ กวา ๓.๐๐

(๒) การพิจารณาหัวขอและเคาโครงการคนควาอิสระ ใหเปนไปตามข้ันตอนที่
คณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู รกาํ หนด

(๓) หัวขอและเคาโครงการคนควาอิสระท่ีเสนอขออนุมัติ ตองไดรับความ
เห็นชอบจากอาจารยท่ีปรึกษาการคนควาอิสระแลวจึงเสนอคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเพื่อ
พจิ ารณา และใหนาํ ผลการพิจารณาเสนอตอคณะ

(๔) การเปลี่ยนแปลงใด ๆ เกี่ยวกับหัวขอและเคาโครงการคนควาอิสระท่ีไดรับ
อนุมัติแลว หากเปนการเปลี่ยนแปลงหัวขอและเคาโครงการคนควาอิสระ หรือสาระสําคัญของ
หัวขอและเคาโครงการคนควาอิสระ ใหการประเมินผลการคนควาอิสระท่ีลงทะเบียนผานมาท้ังหมด
เปนระดับคะแนน U นักศึกษาตองลงทะเบียนและยื่นขออนุมัติหัวขอและเคาโครงการคนควาอิสระใหม
โดยใหนับเวลาจากวันท่ีไดรับอนุมัติหัวขอและเคาโครงการคน ควา อิสระครง้ั สดุ ทาย

กรณีการเปล่ียนแปลงหัวขอการคนควาอิสระเพียงเล็กนอย ซ่ึงมีวัตถุประสงค
เพ่ือความถูกตองของสํานวนภาษา ความสั้นกระชับ และความชัดเจน โดยมิไดเปล่ียนแปลง
สาระสําคัญของการคนควาอิสระ ใหอยูในดุลพินิจของอาจารยท่ีปรึกษาการคนควาอิสระและ
คณะกรรมการสอบการคน ควา อสิ ระ

ขอ ๕๕ การสอบหัวขอและเคา โครงการคน ควาอิสระ
(๑) การสอบหัวขอและเคาโครงการคนควาอิสระ ตองดําเนินการใหแลวเสร็จ
ภายใน ๓๐ วัน นับแตวันที่ไดรับอนุมัติการสอบหัวขอและเคาโครงการคนควาอิสระ มิฉะน้ันตอง
ดาํ เนินการเสนอหัวขอและเคาโครงการคน ควาอสิ ระใหม
(๒) ใหประธานการสอบหัวขอและเคาโครงการคนควาอิสระ รายงานผลการ
สอบไปยังคณะหลังจากเสร็จส้ินการสอบ ถาผลการสอบหัวขอและเคาโครงการคนควาอิสระผาน
ใหคณะประกาศอนุมัติหัวขอและเคาโครงการคนควาอิสระใหทราบทั่วกัน แตถาตองมีการปรบั ปรุง
แกไขใหนักศึกษาดําเนินการแกไข แลวเสนอผานอาจารยท่ีปรึกษาการคนควาอิสระ และเสนอตอ

คมู่ อืคนมู่ กัอื ศนกึั ษศาึกษ๒า๕๒๖๕๓๖๓ (๒(๔๒(๓๑๔))๑)

มหมาวหิทายวิทาลยยั าเลทยั คเทโนคโลโนยโรีลายชีรมางชคมลงกครลงกุ เรทงุพเทพ

คณะภายใน ๓๐ วันนับแตวันสอบ เม่ือดําเนินการเสร็จสิ้นแลว ใหคณะกรรมการบริหารหลักสูตรแจง
คณะ

ขอ ๕๖ การเรียบเรียงการคนควาอิสระ ใหเปนไปตามคูมือการจัดทําผลงาน
การคนควา อิสระของคณะ

ขอ ๕๗ การสอบการคน ควา อสิ ระ
(๑) นักศึกษามีสิทธิขอสอบการคนควาอิสระได เม่ือนักศึกษาทําการคนควาอิสระ
เรยี บรอยแลว และอาจารยท ป่ี รึกษาการคน ควาอสิ ระอนุญาตใหสอบได
(๒ ) ในการสอบคนควาอิสระ นักศึกษาตองย่ืนคํารองขอสอบตอคณะ
กรรมการบริหารหลักสูตร โดยผานความเห็นชอบของอาจารยท่ีปรึกษาการคนควาอิสระ กอนวัน
สอบเปนเวลาอยางนอย ๑๐ วันทําการ พรอมสําเนาบทคัดยอตามรูปแบบที่คณะกําหนด จํานวน
๕ ชุด เมื่อไดรบั อนุมัติใหมีการสอบ คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรจะประกาศกําหนดวัน เวลา และ
สถานทสี่ อบใหท ราบโดยทวั่ กัน
(๓) นักศึกษาตองเสนอผลงานการคนควาอิสระที่มีรูปแบบสมบูรณตามขอ ๕๖
ใหคณะกรรมการสอบไดอานลว งหนากอนวนั สอบ ไมนอ ยกวา ๑๐ วันทําการ
(๔) การสอบการคนควาอิสระ ใหเปนการสอบแบบปากเปลาอยางเปดเผย
ซ่ึงนักศึกษาและผูสนใจอ่ืน ๆ สามารถเขารวมรับฟงไดตามกําหนดวัน เวลา และสถานที่ตามท่ี
คณะกรรมการบริหารหลักสูตรระบุในคําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการสอบการคนควาอิสระโดย
ผเู ขารวมรบั ฟงไมมีสิทธใิ นการสอบถาม เวนแตไดรบั อนญุ าตจากคณะกรรมการสอบ
(๕) ในการสอบจะตองมีคณะกรรมการสอบครบทุกคน และในกรณีท่ีกรรมการ
สอบไมสามารถมาทําการสอบตามกําหนดได ใหนักศึกษาย่ืนคํารองตอคณะกรรมการบริหาร
หลกั สตู ร
ขอ ๕๘ การตัดสินผลการสอบการคนควา อิสระ
(๑) เมื่อการสอบการคนควา อิสระเสร็จสิ้น ใหคณะกรรมการสอบการคนควาอิสระ
อภิปรายแสดงความคิดเหน็ และลงมติพรอมตดั สินการสอบการคน ควา อสิ ระตามเกณฑ ดังตอ ไปน้ี

(ก) “ผาน” หมายถึง การที่นักศึกษาแสดงผลงานการคนควาอิสระ
และตอบขอซักถามไดเปนที่นาพอใจของคณะกรรมการสอบการคนควาอิสระ ไมตองมีการ
แกไขหรือเพ่ิมเติมสาระสําคัญ นักศึกษาสามารถจัดพิมพรูปเลมการคนควาอิสระฉบับสมบูรณสง
คณะไดท ันที


Click to View FlipBook Version