The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักศึกษา2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ASCAR.RMUTK, 2020-09-30 23:03:31

คู่มือนักศึกษา2563

คู่มือนักศึกษา2563

(๒๔((๒๒๒))๔๒ค)มู่ อื นคกั ่มูศอื ึกนษกั าศ๒ึกษ๕า๖๒๓๕๖๓

มหาวมิทหยาาวลิทยั ยเทาลคยัโนเทโลคยโีรนาโลชยมรีงาคชลมกงรคงุ ลเทกพรงุ เทพ

(ข) “ผานโดยมีเงื่อนไข” หมายถึง การที่นักศึกษายังไมสามารถแสดง
ผลงานการคนควาอิสระ หรือตอบขอซักถามใหเปนที่พอใจของคณะกรรมการสอบการคนควา
อิสระไดอยางสมบูรณ คณะกรรมการสอบการคนควาอิสระพิจารณาเห็นสมควรใหแกไขหรือเพิ่มเติม
สาระสําคัญหรือเรียบเรียงการคนควาอิสระ ตามที่คณะกรรมการสอบการคนควาอิสระ
เสนอแนะไวเปนลายลักษณอักษร ทั้งนี้ ใหคณะกรรมการสอบการคนควาอิสระกําหนด
ระยะเวลาใหนักศึกษาดําเนินการแกไขปรับปรุงการคนควาอิสระโดยตองไมเกิน ๔๕ วัน นับ
จากวนั สอบการคน ควา อสิ ระ

(ค) “ไมผาน” หมายถึง การท่ีนักศึกษาไมสามารถแสดงผลงานการคนควา
อิสระใหเปนท่ีพอใจของคณะกรรมการสอบการคนควาอิสระ หรือไมสามารถตอบขอซักถามของ
คณะกรรมการสอบการคนควาอิสระได ซึ่งแสดงวานักศึกษาผูนั้นไมมคี วามเขาใจอยางถองแทถึงสาระ
ของการคนควา อิสระทีต่ นไดทํา

กรณีทน่ี ักศึกษาสอบครั้งแรกไมผาน ใหนักศึกษายื่นคํารองขอสอบใหมไดอ ีก ๑
คร้งั ภายในระยะเวลาท่ีคณะกรรมการสอบการคนควาอิสระกําหนด

ยกเวนกรณีสอบผานแบบมีเง่ือนไข ใหคณะกรรมการสอบการคนควาอิสระ
กําหนดระยะเวลาท่ีนักศึกษา จะตองดําเนินการแกไขปรับปรุงการคนควาอิสระ ตามความเหมาะสม
แตตอ งไมเ กิน ๖๐ วนั

(๒) กรณีนักศึกษาไมปฏิบัติตามการตัดสินผลการสอบของคณะกรรมการสอบการ
คนควาอิสระภายในระยะเวลาท่ีกําหนดไว ไมวาจะเปนกรณีสอบ “ผานโดยมีเงื่อนไข” หรือสอบ
“ไมผาน” ผลการสอบใหถูกปรับเปนระดับคะแนน U นักศึกษาตองดําเนินการลงทะเบียนการ
คนควาอิสระและจัดทําการคนควาอิสระภายใตหัวขอใหม พรอมท้ังเร่ิมตนขั้นตอนการ
ทําการคน ควา อสิ ระใหมทงั้ หมด

(๓) ให ประธานการสอบการคนควาอิสระ รายงานผลการสอบไปยังคณะ
กรรมการบรหิ ารหลักสตู ร และคณะ ภายใน ๑ สปั ดาห นบั จากวนั สอบ

ขอ ๕๙ นักศึกษาตองสงผลงานการคนควาอิสระฉบับสมบูรณ ท่ีมีลายมือชื่อ
คณะกรรมการสอบการคนควาอิสระครบถวนทุกคน จํานวน ๕ เลม พรอมดวยแผนบันทึกขอมูลการ
คนควาอิสระและบทคัดยอตามรูปแบบที่กําหนดใหคณะภายในวันอนุมัติผลประจําภาคการศึกษา ใน
กรณีท่ีนักศึกษามีขอผูกพันตองมอบรายงานการคนควา อิสระใหแกหนว ยงานใด ใหนักศึกษาจัดสง ไป
ยังหนว ยงานน้นั ดว ย

คมู่ อืคนมู่ กัอื ศนกึั ษศาึกษ๒า๕๒๖๕๓๖๓ (๒(๔๒(๓๓๔))๓)

มหมาวหิทายวิทาลยยั าเลทยั คเทโนคโลโนยโีรลายชีรมางชคมลงกครลงกุ เรทงุพเทพ

ขอ ๖๐ การยกเลิกผลการสอบการคนควาอิสระ ในกรณีท่ีคณะไมไดรับเลม
ผลงานการคนควาอิสระฉบับสมบูรณพรอมแผนบันทึกขอมูลการคนควาอิสระครบถวนภายใน
กําหนดเวลา ๖๐ วัน หลังจากผลสอบการคนควาอิสระผาน ใหคณะยกเลิกผลการสอบและ
ประเมินผลการคนควาอิสระที่ลงทะเบียนผานมาทั้งหมดเปนระดับคะแนน U หากนักศึกษายัง
ตองการรับปริญญาน้ันอีก นักศึกษาตองลงทะเบียนและเริ่มขั้นตอนการทําการคนควาอิสระใหม
ท้ังหมด

ขอ ๖๑ นักศึกษาท่ีสอบการคนควาอิสระแลว แตยังไมสงผลงานการคนควาอิสระ
ฉบับสมบูรณตอคณะภายในวันอนุมัติผลประจําภาคการศึกษา ใหถือวานักศึกษาผูนั้นยังไมสําเร็จ
การศกึ ษา นกั ศกึ ษาตอ งลงทะเบยี นรักษาสภาพการเปนนักศึกษา ทั้งน้ี ตองไมข ัดแยงกับระยะเวลา
ในขอ ๖๐

ขอ ๖๒ ผลงานการคนควาอิสระท่ีไดรับอนุมัติจากคณะแลว จึงจะถือวาเปนผลงาน
การคนควาอสิ ระฉบับสมบูรณและใหน บั เปนสวนหน่ึงของการศึกษาเพ่ือขอรับปรญิ ญา

ลิขสิทธ์ิหรือสิทธิบัตรในผลงานการคนควาอิสระเปนของมหาวิทยาลัย นักศึกษา
และอาจารย ที่ปรกึ ษาการคนควาอิสระเรื่องน้ัน ๆ สามารถนําไปเผยแพรในเชิงวิชาการได แตการ
นําเน้ือหาหรือผลการศึกษาไปใชเพ่ือประโยชนอ่ืน ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการท่ี
มหาวิทยาลัยกาํ หนดกรณีที่การทําการคนควาอิสระไดรับทุนวิจัยที่มีขอผูกพันเกี่ยวกับลิขสิทธิ์
หรือสิทธิบัตรโดยไดรับความเห็นชอบจากมหาวิทยาลัย ใหด าํ เนนิ การตามขอผูกพันนัน้ ๆ

หมวด ๑๐
การสําเร็จการศึกษาและขออนุมัตปิ รญิ ญาหรือประกาศนยี บัตรบณั ฑติ

ขอ ๖๓ การสําเร็จการศึกษา นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาท่ีจะสาํ เรจ็ การศึกษาได
ตองมีคณุ สมบัตทิ ัว่ ไปและปฏิบตั ติ ามเง่ือนไขครบถวน ดงั ตอไปนี้

(๑) ศึกษารายวิชาครบตามท่ีกําหนดในหลักสูตร และสอบผานตามเกณฑท ่ีกําหนด
ในหมวดการวดั ผลและประเมินผลการศกึ ษา

(๒) นักศึกษาระดบั ปริญญาโทตองสอบผานความรูภาษาตา งประเทศอยา งนอย ๑
ภาษา การสอบภาษาตางประเทศใหอยูในดุลพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร

(๒๔(๒(๔๒))๔๔ค)มู่ อื นคกั ่มูศอื ึกนษกั าศ๒ึกษ๕า๖๒๓๕๖๓

มหาวมิทหยาาวลิทยั ยเทาลคยัโนเทโลคยโีรนาโลชยมรีงาคชลมกงรคงุ ลเทกพรงุ เทพ

(๓) มีคาระดับคะแนนเฉลยี่ สะสมของวิชาทก่ี ําหนดตามหลักสตู รระดับ
บัณฑิตศึกษา ดังตอ ไปน้ี

(ก) ประกาศนียบัตรบัณฑิต และประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสูง ตองเรียนครบ
ตามจํานวนหนวยกิตที่กําหนดไวในหลักสูตร และตองไดรับระดับคะแนนเฉล่ียสะสมไมต่ํากวา
๓.๐๐ จากระบบ ๔ ระดบั คะแนนหรือเทียบเทา

(ข) ปรญิ ญาโท
แผน ก แบบ ก ๑ เสนอวิทยานิพนธและสอบผานการสอบปากเปลาขั้น

สุดทายโดยคณะกรรมการสอบปองกันวิทยานิพนธ และผลงานวิทยานิพนธหรือสวนหนึ่งของ
วิทยานิพนธตองไดรับการตีพิมพ หรืออยางนอยไดรับการยอมรับใหตีพิมพในวารสารระดับชาติ
หรือระดับนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑการ
พิจารณาวารสารทางวิชาการสําหรับการเผยแพรผลงานทางวิชาการ

แผน ก แบบ ก ๒ ศึกษารายวิชาครบถวนตามท่ีกําหนดในหลักสูตร โดย
จะตองไดระดับคะแนนเฉล่ียสะสมไมตํ่ากวา ๓.๐๐ จากระบบ ๔ ระดับคะแนนหรอื เทียบเทา พรอมท้ัง
เสนอวิทยานิพนธและสอบผานการสอบปากเปลาขั้นสุดทายโดยคณะกรรมการสอบปองกัน
วิทยานิพนธ และผลงานวิทยานิพนธหรือสวนหนึ่งของวิทยานิพนธตองไดรับการตีพิมพ หรือ
อยางนอยไดรับการยอมรับใหตีพิมพในวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติที่มีคุณภาพตาม
ประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑการพิจารณาวารสารทางวิชาการสําหรับการ
เผยแพรผลงานทางวชิ าการ หรือนําเสนอตอท่ีประชุมวิชาการโดยบทความท่ีนําเสนอฉบับสมบูรณ
(Full Paper) ไดรับการตีพิมพในรายงานสืบเน่ืองจากการประชุมวิชาการ (Proceedings)
ดังกลาว

แผน ข ศึกษารายวิชาครบถวนตามที่กําหนดในหลักสูตร โดยตองได
ระดับคะแนนเฉล่ียสะสมไมต่ํากวา ๓.๐๐ จากระบบ ๔ ระดับคะแนนหรือเทียบเทา และสอบผานการ
สอบประมวลความรู (Comprehensive Examination) ดวยขอเขียนหรือปากเปลาในสาขาวิชานั้น
พรอมท้ังเสนอรายงานการคนควาอิสระและสอบผานการสอบปากเปลาข้ันสุดทายโดย
คณะกรรมการสอบการคน ควาอิสระ และรายงานการคนควาอิสระหรอื สวนหน่ึงของรายงานการ
คน ควา อสิ ระตองไดร ับการเผยแพรในลกั ษณะใดลักษณะหนง่ึ ทส่ี บื คน ได

คมู่ อืคนมู่ กัอื ศนึกั ษศาึกษ๒า๕๒๖๕๓๖๓ (๒(๒๔(๓๕๔))๕)

มหมาวหิทายวิทาลยยั าเลทยั คเทโนคโลโนยโีรลายชีรมางชคมลงกครลงกุ เรทงุพเทพ

(ค) ปรญิ ญาเอก

แบบ ๑ สอบผานการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination)

เพ่ือเปนผูมีสิทธิขอทําวิทยานิพนธ เสนอวิทยานิพนธ และสอบผานการสอบปากเปลาขั้นสุดทาย

โดยคณะกรรมการสอบปอ งกนั วิทยานิพนธ และผลงานวิทยานิพนธห รือสวนหนึ่งของวทิ ยานิพนธ

ตองไดร ับการตีพิมพ หรอื อยางนอยไดร ับการยอมรบั ใหต ีพิมพในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ

ที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เร่ือง หลักเกณฑการพิจารณาวารสารทาง

วิชาการสาํ หรบั การเผยแพรผลงานทางวชิ าการ อยางนอย ๒ เรื่อง

แบบ ๒ ศึกษารายวิชาครบถวนตามท่ีกําหนดในหลักสูตร โดยจะตองได
ระดับคะแนนเฉล่ียสะสมไมต่ํากวา ๓.๐๐ จากระบบ ๔ ระดับคะแนนหรือเทียบเทา สอบผานการ
สอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) เพ่ือเปนผูมีสิทธิขอทําวิทยานิพนธ เสนอ
วิทยานิพนธ และสอบผานการสอบปากเปลาขั้นสุดทายโดยคณะกรรมการสอบปองกัน
วทิ ยานพิ นธ และผลงานวิทยานิพนธหรือสวนหนึง่ ของวิทยานิพนธตองไดร ับการตีพิมพ หรอื อยาง
นอยไดรับการยอมรับใหตีพิมพในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติท่ีมีคุณภาพตามประกาศ
คณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑการพิจารณาวารสารทางวิชาการสําหรับการ
เผยแพรผลงานทางวชิ าการ
(๔) สงรูปเลมวิทยานิพนธ หรือการคนควาอิสระฉบับสมบูรณที่จัดพิมพตาม
ขอกาํ หนดของคณะพรอมแผนบนั ทกึ ขอมูลตามรูปแบบท่ีคณะกาํ หนด

(๕) มีระยะเวลาการศึกษาไมเกินตามที่กําหนดไวใ นขอ ๑๒
(๖) ปฏบิ ัติตามขอกําหนดอนื่ ๆ ตามทีร่ ะบุไวในหลกั สูตร
ขอ ๖๔ การขออนุมัติประกาศนียบัตรหรือปริญญา นักศึกษาที่ไดรับการ
พิจารณาเสนอชื่อขออนุมัติประกาศนียบัตรหรือปริญญาตอสภามหาวิทยาลัยตองมีคุณสมบัติ
ดงั ตอ ไปน้ี
(๑) เปนผูสาํ เรจ็ การศกึ ษาตามขอ ๖๓
(๒) ปฏิบัตติ ามขอ กําหนดตาง ๆ ของคณะและมหาวิทยาลัยครบถวน
(๓) ชําระหนี้สินทงั้ หมดที่มตี อ มหาวทิ ยาลัยหรอื หนว ยงานใด ๆ ในมหาวิทยาลัย
(๔) เปนผูไมอยูระหวางถูกลงโทษทางวินัยนักศึกษาหรือระหวางการพิจารณา
ความผดิ
(๕) มีความประพฤตเิ หมาะสม

(๒๔(๒(๖๒))๔๖ค)มู่ อื นคกั ่มูศอื ึกนษกั าศ๒ึกษ๕า๖๒๓๕๖๓

มหาวมิทหยาาวลิทยั ยเทาลคยัโนเทโลคยโีรนาโลชยมรีงาคชลมกงรคงุ ลเทกพรงุ เทพ

หมวด ๑๑
การประกันคณุ ภาพของหลกั สูตร

ขอ ๖๕ ใหทุกหลักสูตรกําหนดระบบการประกันคุณภาพของหลักสูตร โดยมี
องคประกอบในการประกนั คุณภาพอยา งนอย ๖ ดา น คอื

(๑) การกํากับมาตรฐาน
(๒) บัณฑิต
(๓) นักศึกษา
(๔) คณาจารย
(๕) หลกั สูตร การเรยี นการสอน การประเมินผเู รยี น
(๖) สิง่ สนับสนนุ การเรยี นรู
ขอ ๖๖ การพัฒนาหลักสูตร ใหทุกหลักสูตรพัฒนาหลักสูตรใหทันสมัยโดยมี
การประเมินและรายงานผลการดําเนินการของหลักสูตรทุกปการศึกษาเพื่อนําขอมูลท่ีไดไป
ปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรเปนระยะ ๆ อยางนอยตามรอบระยะเวลาของหลักสูตร หรือทุกรอบ ๕
ป

ประกาศ ณ วนั ที่ ๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

ศักด์ิทิพย ไกรฤกษ
(นายศักดทิ์ พิ ย ไกรฤกษ)
นายกสภามหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ

ค่มู อืคนมู่ กัอื ศนึกั ษศาึกษ๒า๕๒๖๕๓๖๓(๒(๔๒(๓๗๔) ๗) )

มหมาวหิทายวิทาลยยั าเลทยั คเทโนคโลโนยโรีลายชีรมางชคมลงกครลงกุ เรทงุพเทพ

ประกาศมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

เรื่อง อัตราการเกบ็ คา เลาเรยี นแบบเหมาจา ย และคา ธรรมเนียมการศกึ ษา

ในการจัดการศึกษาระดับบณั ฑิตศกึ ษา

พ.ศ. ๒๕๕๘

----------------------------------------------------------------

โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงการจัดเก็บคาเลาเรียน คาบํารุงการศึกษา และ

คาธรรมเนียมการศึกษาในการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา อาศัยอํานาจตามความในขอ ๖

แหงระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ วาดวยการรับ – จายเงิน เพ่ือจัด

การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ปริญญาโท (ภาคสมทบ) พ.ศ. ๒๕๔๙ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช

มงคลกรุงเทพ จึงกําหนดอตั ราการเก็บคาเลาเรียนแบบเหมาจาย และคาธรรมเนียมการศกึ ษา ใน

การจัดการศกึ ษาระดบั บณั ฑิตศึกษา ภาคปกติ และภาคสมทบ ดงั ตอ ไปน้ี

ขอ ๑ ประกาศนี้ เรยี กวา “ประกาศมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ เรื่อง อัตรา

การเก็บคาเลาเรียนแบบเหมาจาย และคาธรรมเนียมการศึกษา ในการจัดการศึกษาระดับ

บณั ฑติ ศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๘”

ขอ ๒ ใหกําหนดอัตราการเกบ็ คา เลา เรียนแบบเหมาจาย ดังน้ี

ลําดับที่ คณะ ภาคปกติ ภาคสมทบ

๑ คณะศิลปศาสตร ๒๐,๐๐๐ ๓๙,๐๐๐

๒ คณะวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๒๕,๐๐๐ ๔๕,๐๐๐

๓ คณะครุศาสตรอตุ สาหกรรม ๒๕,๐๐๐ ๕๐,๐๐๐

๔ คณะวศิ วกรรมศาสตร

- หลักสตู รวิศวกรรมการผลติ ๒๗,๐๐๐ ๓๘,๐๐๐

- หลักสูตรการจัดการคุณภาพ ๔๕,๐๐๐ ๕๕,๐๐๐

๕ คณะบรหิ ารธุรกจิ ๑๗,๕๐๐ ๔๓,๐๐๐

๖ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร

- หลกั สตู รศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ ๒๐,๐๐๐ ๓๙,๐๐๐

- หลักสตู รวิทยาศาสตรมหาบัณฑติ ๒๕,๐๐๐ ๔๕,๐๐๐

๗ คณะอตุ สาหกรรมสิง่ ทอ ๔๕,๐๐๐ ๕๕,๐๐๐

(๒๔(๒(๘๒))๔๘ค)มู่ อื นคกั ่มูศอื ึกนษกั าศ๒ึกษ๕า๖๒๓๕๖๓

มหาวมิทหยาาวลิทยั ยเทาลคยัโนเทโลคยโีรนาโลชยมรีงาคชลมกงรคงุ ลเทกพรงุ เทพ

อัตราคาเลาเรียนแบบเหมาจา ยนี้ไดรวมคา ใชจ ายท่มี หาวทิ ยาลยั กําหนดไว ดังนี้
๑. คา บํารุงการศกึ ษา

๒. คา หนว ยกติ

๓. คา บํารุงหองสมุด

๔. คา บรกิ ารสารสนเทศ

ขอ ๓ กรณีที่นักศึกษาลงทะเบียนในภาคการศกึ ษาฤดูรอน ใหจายครึ่งหน่ึงของอัตรา

การเก็บคา เลา เรียนแบบเหมาจา ย ตามขอ ๒ ยกเวนคณะบรหิ ารธรุ กิจ ใหเ รยี กเกบ็ เงนิ ดังนี้

ภาคปกติ ภาคการศกึ ษาละ ๑๐,๐๐๐ บาท

ภาคสมทบ ภาคการศกึ ษาละ ๒๓,๐๐๐ บาท

ขอ ๔ การเรียกเก็บเงินตามขอ ๒ และขอ ๓ ใหมีผลบังคับใชสําหรับนักศึกษาท่ี

รับเขาศึกษา ต้ังแตปการศึกษา ๒๕๕๘ สําหรับนักศึกษาท่ีรับเขากอนปการศึกษา ๒๕๕๘

ใหใ ชอ ตั ราการเรียกเกบ็ เงนิ เดมิ ทเ่ี กยี่ วขอ งจนกวา จะสําเร็จการศกึ ษาโดยอนุโลม

ขอ ๕ กรณีท่ีนักศึกษาจากสถาบันการศึกษาอ่ืนเขาศึกษาโดยไมรับปริญญา หรือ

บุคคลภายนอกเขารว มฟงกาํ หนดใหชําระเงนิ คาเลา เรียน ดังน้ี

รายวิชาบรรยาย หนว ยกติ ละ ๒,๐๐๐ บาท

รายวชิ าปฏิบัติ หนว ยกิตละ ๒,๔๐๐ บาท

รายวิชาสาระนิพนธ/ วิทยานิพนธ หนวยกติ ละ ๓,๐๐๐ บาท

ขอ ๖ คา ธรรมเนยี มการศึกษา

๖.๑ คาระเบยี บการและใบสมคั รสอบคัดเลอื ก ๒๐๐ บาท

๖.๒ คาสมัครสอบคดั เลอื กเขา เปนนกั ศึกษา ๕๐๐ บาท

๖.๓ คา ขึ้นทะเบียนเปนนักศกึ ษา (ชาํ ระแรกเขา) ๑,๐๐๐ บาท

๖.๔ คา ประกนั ของเสียหาย ๓,๕๐๐ บาท

(ชําระแรกเขาและคนื ใหเ มอื่ ออกจากมหาวทิ ยาลัย)

๖.๕ คา ประกันอบุ ัติเหตุ ปก ารศกึ ษาละ ๒๐๐ บาท

๖.๖ คาใบรายงานผลการศึกษา ฉบับละ ๑๐๐ บาท

๖.๗ คา หนังสือรบั รอง ฉบับละ ๑๐๐ บาท

คมู่ อื คนมู่กั อืศนกึ กัษศาึก๒ษา๕๒๖๓๕๖๓(๒(๔๒(๓๙๔))๙)

มหามวหิทายวาิทลยั าเทลคยั โเนทโคลโยนีรโลายชีรมางชคมลงกครลงุ กเทรพงุ เทพ

๖.๘ คา ลงทะเบยี นเรยี นลา ชากวา กําหนด วนั ละ ๑๐๐ บาท

ไมเ กิน ๑,๐๐๐ บาท (ไมนับวนั หยดุ ราชการ)

๖.๙ คา เทียบโอนรายวิชา รายวิชา ๓๐๐ บาท

๖.๑๐ คาคนื สภาพกลับเขา เปน นักศกึ ษาใหม ภาคการศกึ ษาละ ๕,๐๐๐ บาท

๖.๑๑ คารกั ษาสภาพการเปนนกั ศึกษา

- กรณลี าพกั การศกึ ษา ภาคการศึกษาละ ๓,๐๐๐ บาท

- กรณีลงทะเบียนเรียนครบรายวิชาและอยูระหวางทําวิทยานิพนธ/

การคน ควาอสิ ระ ภาคการศึกษาละ ๓,๐๐๐ บาท

๖.๑๒ คา ขึน้ ทะเบยี นบณั ฑติ ๒,๐๐๐ บาท

(อัตราคาธรรมเนียมนี้ รวมใบรายงานผลการศึกษา และหนังสือรับรอง

อยา งละ ๒ ฉบับ เมื่อสภามหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพอนุมตั ปิ ริญญาแลว )

ขอ ๗ คาใชจายสําหรับการเดินทางไปศึกษาและดูงานตางประเทศ ข้ึนอยูกับหลักเกณฑ

ของแตล ะหลักสตู รเปนผกู าํ หนด

ขอ ๘ การเรียกเก็บเงินตามขอ ๕ และขอ ๖ ใหมีผลบังคับใช ตั้งแตวันประกาศ

เปน ตน ไป

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๓ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

สาธิต พุทธชยั ยงค
(นายสาธิต พทุ ธชัยยงค)
อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

(๒๕(๒(๐๒))๕๐ค)มู่ อื นคกั ่มูศอื ึกนษกั าศ๒ึกษ๕า๖๒๓๕๖๓

มหาวมิทหยาาวลิทยั ยเทาลคยัโนเทโลคยโีรนาโลชยมรีงาคชลมกงรคงุ ลเทกพรงุ เทพ

ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เร่อื ง อัตราการเกบ็ คาเลาเรยี นแบบเหมาจาย และคาธรรมเนยี มการศกึ ษา
ในการจดั การศกึ ษาระดบั บณั ฑิตศึกษา คณะอุตสาหกรรมสงิ่ ทอ ภาคสมทบ

พ.ศ. ๒๕๖๑
--------------------------
ดวย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เห็นสมควรปรับปรุงการจัดเก็บ
คาเลาเรียน คาบํารุงการศึกษา และคาธรรมเนียมการ ศึกษาในการจัดการศึกษาระดับ
บัณฑิตศึกษา คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอ ภาคสมทบ อาศัยอํานาจตามความในขอ ๖ แหง
ระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ วาดวยการรับ - จายเงิน เพื่อจัดการศึกษา
ระดับบัณฑิตศึกษา ปริญญาโท (ภาคสมทบ) พ.ศ. ๒๕๔๙ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรุงเทพ จึงกําหนดอัตราการเก็บคาเลาเรียนแบบเหมาจาย และคาธรรมเนียมการศึกษา ในการจัด
การศึกษาระดับบัณฑติ ศึกษา คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอ ภาคสมทบ ดงั ตอไปน้ี

ขอ ๑ ประกาศนี้ เรียกวา “ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เรื่อง
อัตราการเก็บคาเลาเรียนแบบเหมาจาย และคาธรรมเนียมการศึกษา ในการจัดการศึกษาระดับ
บัณฑิตศึกษา คณะอุตสาหกรรมสง่ิ ทอ ภาคสมทบ พ.ศ. ๒๕๖๑”

ขอ ๒ ใหยกเลิกความในขอ ๒ แหงประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เรื่อง อัตราการเก็บคาเลาเรียนแบบเหมาจาย และคาธรรมเนียมการศึกษา ในการจัดการศึกษา
ระดบั บณั ฑิตศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๘ ลงวนั ที่ ๓ กันยายน ๒๕๕๘ และใหใชข อ ความตอไปนีแ้ ทน

ใหก าํ หนดอตั ราการเกบ็ คา เลา เรียนแบบเหมาจา ย ดังนี้
คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอ ภาคสมทบ ภาคการศกึ ษาละ ๓๕,๐๐๐ บาท

อตั ราคาเลาเรยี นแบบเหมาจายนี้ไดร วมคา ใชจ า ยทม่ี หาวิทยาลัยกาํ หนดไว ดงั นี้
๑. คา บํารุงการศกึ ษา
๒. คา หนว ยกติ
๓. คาบาํ รงุ หองสมดุ
๔. คาบริการสารสนเทศ

คมู่ อื คนมู่กั อืศนกึ กัษศาึก๒ษา๕๒๖๓๕๖๓(๒(๕๒(๓๑๕))๑)

มหามวหิทายวาิทลยั าเทลคยั โเนทโคลโยนีรโลายชีรมางชคมลงกครลงุ กเทรพงุ เทพ

ขอ ๓ กรณีท่นี ักศึกษาลงทะเบียนในภาคการศึกษาฤดูรอน ใหจา ยคร่ึงหนง่ึ ของอัตราการ
เก็บคาเลา เรียนแบบเหมาจาย ตามขอ ๒

ขอ ๔ การเรียกเก็บเงินตามขอ ๒ และขอ ๓ ใหมีผลบังคับใชสําหรับนักศึกษาท่ีรบั เขา
ศึกษา ต้ังแตภาคการศึกษาท่ี ๒/๒๕๖๐ สําหรับนักศึกษาท่ีรับเขากอนภาคการศึกษาท่ี ๒/๒๕๖๐
ใหใชอ ัตราการเรยี กเก็บเงินเดิมท่ีเก่ียวขอ งจนกวา จะสาํ เรจ็ การศกึ ษาโดยอนโุ ลม

ขอ ๕ กรณีท่ีนักศึกษาจากสถาบันการศึกษาอื่นเขาศึกษาโดยไมรับปริญญา หรือ

บคุ คลภายนอกเขารวมฟง กาํ หนดใหชาํ ระเงินคาเลา เรยี น ดงั น้ี

รายวชิ าบรรยาย หนว ยกติ ละ ๒,๐๐๐ บาท

รายวชิ าปฏบิ ัติ หนวยกิตละ ๒,๔๐๐ บาท

รายวิชาสาระนิพนธ/ วิทยานิพนธ หนวยกติ ละ ๓,๐๐๐ บาท

ขอ ๖ คาธรรมเนยี มการศึกษา

๖.๑ คา ระเบียบการและใบสมัครสอบคัดเลอื ก ๒๐๐ บาท

๖.๒ คาสมัครสอบคดั เลอื กเขาเปน นกั ศกึ ษา ๕๐๐ บาท

๖.๓ คาขึ้นทะเบยี นเปนนักศึกษา (ชําระแรกเขา) ๑,๐๐๐ บาท

๖.๔ คาประกันของเสียหาย ๓,๕๐๐ บาท

(ชาํ ระแรกเขา และคนื ใหเ มื่อออกจากมหาวิทยาลัย)

๖.๕ คาประกนั อบุ ตั เิ หตุ ปการศกึ ษาละ ๒๐๐ บาท

๖.๖ คาใบรายงานผลการศึกษา ฉบบั ละ ๑๐๐ บาท

๖.๗ คา หนงั สอื รบั รอง ฉบับละ ๑๐๐ บาท

๖.๘ คา ลงทะเบยี นเรยี นลาชากวา กาํ หนด วนั ละ ๑๐๐ บาท

ไมเกิน ๑,๐๐๐ บาท (ไมน บั วันหยุดราชการ)

๖.๘ คาเทียบโอนรายวิชา รายวิชาละ ๓๐๐ บาท

๖.๙ คาคืนสภาพกลบั เขาเปน นกั ศึกษาใหม ภาคการศึกษาละ ๕,๐๐๐ บาท

๖.๑๐ คารกั ษาสภาพการเปนนักศกึ ษา

- กรณีลาพักการศกึ ษา ภาคการศกึ ษาละ ๓,๐๐๐ บาท

- กรณีลงทะเบียนเรียนครบรายวิชา และอยูระหวางทําวิทยานิพนธ/การ

คนควา อิสระ ภาคการศกึ ษาละ ๓,๐๐๐ บาท

(๒๕((๒๒๒))๕๒ค)มู่ อื นคกั มู่ศอื ึกนษกั าศ๒กึ ษ๕า๖๒๓๕๖๓

มหาวมิทหยาาวลิทยั ยเทาลคยัโนเทโลคยโีรนาโลชยมรีงาคชลมกงรคงุ ลเทกพรงุ เทพ

๖.๑๑ คา ข้นึ ทะเบียนบัณฑติ ๒,๔๐๐ บาท

(อัตราคาธรรมเนียมน้ี รวมใบรายงานผลการศึกษา และหนังสือรับรอง

อยางละ ๒ ฉบบั เมอ่ื สภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพอนุมตั ปิ รญิ ญาแลว)

ขอ ๗ คาใชจายสําหรับการเดินทางไปศึกษาและดูงานตางประเทศ ขึ้นอยูกับ
หลักเกณฑข องแตละหลักสตู รเปน ผกู าํ หนด

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๑

(นายสกุ จิ นิตนิ ยั )
อธกิ ารบดมี หาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ

ค่มู อืคนมู่ กัอื ศนกึั ษศาึกษ๒า๕๒๖๕๓๖๓ (๒(๕๒(๓๓๕))๓)

มหมาวหิทายวิทาลยยั าเลทยั คเทโนคโลโนยโีรลายชีรมางชคมลงกครลงกุ เรทงุพเทพ

ประกาศมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
เรอ่ื ง อัตราการเกบ็ คา เลาเรียนแบบเหมาจาย และคา ธรรมเนียมการศึกษา
ในการจดั การศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศึกษา คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ภาคสมทบ

พ.ศ. ๒๕๖๑
--------------------------
ดวย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เห็นสมควรปรับปรุงการจัดเก็บ
คาเลาเรียน คาบํารุงการศึกษา และคาธรรมเนียมการศึกษาในการจัดการศึกษาระดับ
บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ภาคสมทบ อาศัยอํานาจตามความในขอ ๖
แหงระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ วาดวยการรับ - จายเงิน เพื่อจัด
การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ปริญญาโท (ภาคสมทบ) พ.ศ. ๒๕๔๙ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลกรุงเทพ จึงกําหนดอัตราการเก็บคาเลาเรียนแบบเหมาจาย และคาธรรมเนียมการศึกษา
ในการจดั การศึกษาระดับบณั ฑติ ศกึ ษา คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ภาคสมทบ ดังตอไปน้ี

ขอ ๑ ประกาศน้ี เรียกวา “ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เร่ือง
อัตราการเก็บ คาเลาเรียนแบบเหมาจาย และคาธรรมเนียมการศึกษา ในการจัดการศึกษาระดับ
บัณฑิตศกึ ษา คณะวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ภาคสมทบ พ.ศ. ๒๕๖๑”

ขอ ๒ ประกาศนี้ ใหใชบ งั คบั กบั นกั ศึกษาท่ีเขา ศกึ ษาต้งั แตป ก ารศกึ ษา ๒๕๖๑

ขอ ๓ ใหยกเลิกความในขอ ๒ แหงประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เรื่อง อัตราการเก็บคาเลาเรียนแบบเหมาจาย และคาธรรมเนียมการศึกษา ในการจัดการศึกษา
ระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๘ ลงวันท่ี ๓ กนั ยายน ๒๕๕๘ และใหใชข อความตอไปน้แี ทน

ใหก ําหนดอตั ราการเกบ็ คา เลาเรยี นแบบเหมาจาย ดงั นี้
คณะวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยีภาคสมทบภาคการศึกษาละ ๓๕,๐๐๐ บาท

อตั ราคา เลา เรยี นแบบเหมาจา ยน้ีไดรวมคาใชจ า ยท่มี หาวิทยาลยั กาํ หนดไว ดังนี้
๑. คาบํารุงการศึกษา
๒. คาหนว ยกิต
๓. คาบาํ รุงหองสมุด
๔. คาบรกิ ารสารสนเทศ

(๒๕((๒๒๔)๕) ๔ค)มู่ อื นคกั่มู ศอื ึกนษกั าศึก๒ษ๕า ๖๒๓๕๖๓

มหามวิทหยาวาลิทยั เาทลคยั โเนทโลคยโนีรโาลชยมรี งาคชมลกงครลงุ เกทรพงุ เทพ

ขอ ๔ กรณีท่นี ักศึกษาลงทะเบียนในภาคการศึกษาฤดูรอ น ใหจา ยครึ่งหน่ึงของอัตราการ
เกบ็ คาเลา เรียนแบบเหมาจา ย ตามขอ ๓

ขอ ๕ การเรียกเก็บเงินตามขอ ๓ และขอ ๔ ใหมีผลบังคับใชสําหรับนักศึกษาที่รับเขา
ศึกษา ตั้งแตปการศึกษา ๒๕๖๑ สําหรับนักศึกษาที่รับเขากอนปการศึกษา ๒๕๖๑ ใหใชอัตรา
การเรียกเก็บเงินเดมิ ทเี่ กย่ี วขอ งจนกวาจะสาํ เรจ็ การศกึ ษาโดยอนุโลม

ขอ ๖ คาใชจายสําหรับการเดินทางไปศึกษาและดูงานตางประเทศ ขึ้นอยูกับ
หลกั เกณฑข องแตล ะหลกั สูตรเปนผกู าํ หนด

ประกาศ ณ วันท่ี ๒๙ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๑

(นายสุกิจ นติ ินัย)
อธกิ ารบดีมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ค่มู อืคนมู่ กัอื ศนึกั ษศาึกษ๒า๕๒๖๕๓๖๓ (๒(๒๕(๓๕))๕)

มหมาวหิทายวิทาลยยั าเลทยั คเทโนคโลโนยโรีลายชีรมางชคมลงกครลงกุ เรทงุพเทพ

ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เรือ่ ง อตั ราการเก็บคา เลาเรยี นแบบเหมาจาย และคา ธรรมเนียมการศกึ ษา

ในการจัดการศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศึกษา คณะบริหารธรุ กิจ ภาคสมทบ
พ.ศ. ๒๕๖๓
-----------------

ดวย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เห็นสมควรปรับปรุงการจัดเก็บคาเลา
เรียนแบบเหมาจาย และคาธรรมเนียมการศึกษาในการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
คณะบริหารธุรกิจ ภาคสมทบ อาศัยอํานาจตามความในขอ ๖ แหงระเบียบมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ วาดวยการรับ – จายเงิน เพ่ือจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
ปริญญาโท (ภาคสมทบ) พ.ศ. ๒๕๔๙ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ จึงกําหนดอัตรา
การเก็บคาเลาเรียนแบบเหมาจายและคาธรรมเนียมการศึกษา ในการจัดการศึกษาระดับ
บัณฑิตศึกษา คณะบรหิ ารธุรกิจ ภาคสมทบ ดงั ตอไปนี้

ขอ ๑ ประกาศนี้ เรียกวา “ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เรื่อง
อัตราการเก็บคาเลาเรียนแบบเหมาจาย และคาธรรมเนียมการศึกษา ในการจัดการศึกษาระดับ
บณั ฑิตศึกษา คณะบริหารธุรกจิ ภาคสมทบ พ.ศ. ๒๕๖๓”

ขอ ๒ ประกาศน้ีใหใ ชบังคบั กับนกั ศึกษาทีเ่ ขาศึกษาตัง้ แตป การศึกษา ๒๕๖๓
ขอ ๓ ใหยกเลิกความในขอ ๒ แหงประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เรื่อง อัตราการเก็บคาเลาเรียนแบบเหมาจาย และคาธรรมเนียมการศึกษา ในการจัดการศึกษา
ระดับบัณฑิตศกึ ษา พ.ศ.๒๕๕๘ ลงวนั ที่ ๓ กันยายน ๒๕๕๘ และใหใ ชขอความตอไปนแ้ี ทน
ใหก าํ หนดอตั ราการเกบ็ คาเลาเรียนแบบเหมาจาย ดง นี้

คณะบริหารธรุ กจิ ภาคสมทบ ภาคการศึกษาละ ๓๘,๐๐๐ บาท
อตั ราคา เลาเรียนแบบเหมาจายนไ้ี ดร วมคาใชจา ยท่ีมหาวทิ ยาลยั กําหนดไวด ังนี้

๑. คาบํารงุ การศกึ ษา

๒. คา หนวยกติ

๓. คาบาํ รงุ หอ งสมดุ

๔. คาบรกิ ารสารสนเทศ

(๒๕(๒(๖๒))๕๖ค)มู่ อื นคกั มู่ศอื ึกนษกั าศ๒ึกษ๕า๖๒๓๕๖๓

มหาวมิทหยาาวลิทยั ยเทาลคยัโนเทโลคยโีรนาโลชยมรีงาคชลมกงรคงุ ลเทกพรงุ เทพ

ขอ ๔ กรณีที่นักศึกษาลงทะเบยี นในภาคการศึกษาฤดรู อน ใหจา ยครึ่งหนงึ่ ของอัตราการ
เกบ็ คาเลาเรียนแบบเหมาจาย ตามขอ ๓

ขอ ๕ การเรยี กเกบ็ เงินตามขอ ๓ และขอ ๔ ใหมผี ลบังคับใชส ําหรบั นกั ศกึ ษาทีร่ ับเขา
ศกึ ษาต้งั แตปการศึกษา ๒๕๖๓ สาํ หรบั นกั ศกึ ษาท่รี ับเขากอนปก ารศึกษา ๒๕๖๓ ใหใ ชอ ัตราการ
เรียกเกบ็ เงินเดิมที่เก่ยี วของจนกวา จะสําเรจ็ การศกึ ษาโดยอนโุ ลม

ขอ ๖ คาใชจายสําหรับการเดินทางไปศึกษาและดูงานตางประเทศ ข้ึนอยูกับหลักเกณฑ
ของแตละหลกั สตู รเปนผูก าํ หนด

ประกาศ ณ วันท่ี ๒๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๓

สมพร ปยะพนั ธ
(นายสมพร ปย พนั ธ)

รกั ษาราชการแทน
อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

คมู่ คอื นมู่ กัอื ศนกึั ษศาึกษ๒า๕๒๖๕๓๖๓(๒๕(๗๒(๓๕)) ๗)

มหมาวหิทายวาิทลยยั าเลทยั คเโทนคโลโนยโรีลายชีรมางชคมลงกครลงกุ เรทงุพเทพ

(๒๕(๒๘)๕)๘)คมู่ คอื มู่นอื กั นศกั ึกศษึกาษ๒า ๕๒๖๕๓๖๓

มหมาวหิทาวยิทาลยยัาลเทยั คเทโนคโลโนยโลีรยาชีรมาชงมคลงคกลรกงุ เรทงุ พเทพ

ขอปฏบิ ตั ิเกี่ยวกับระเบียบ ขอบังคับ และประกาศของนกั ศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี

ของสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ

ที่ เรื่อง กฎเกณฑท กี่ ําหนด

๑ การ ๑. ภาคการศึกษาปกติ หรือภาคการศึกษาฤดูรอน นักศึกษาตองลงทะเบียนเรียนในรายวิชาที่
ลงทะเบยี น กําหนดใหเสรจ็ สิ้นกอนวนั เปดภาคการศึกษานนั้ หรือตามระยะเวลาที่มหาวทิ ยาลัยกําหนด
เรยี น และตองชําระเงินตามระยะเวลาท่ีกําหนดไวในปฏิทินการศึกษาของมหาวิทยาลัย กรณีท่ี

นักศึกษาลงทะเบียนเรียนแลวไมชําระเงิน หรือไมลงทะเบียน โดยไมแจงเหตุใด ๆ เชน ไม

ขออนุญาตลาพัก รักษาสภาพ มหาวิทยาลัย จะถอนช่ือนักศึกษาผูน้ันออกจากทะเบียน

นักศกึ ษา

๒. การลงทะเบียนเรียนทุกรายวิชา ตองไดรับความเห็นชอบจากอาจารยท่ีปรึกษา และตอง

เปน ไปตามขอกําหนดของหลักสูตร และขอกําหนดของคณะที่นักศึกษาสงั กดั หากฝาฝนจะ

ถือวาการลงทะเบียนเรียนดังกลาวเปน โมฆะ

๓. การลงทะเบยี นเรียนในภาคการศกึ ษาปกติ นกั ศกึ ษาภาคปกติ จะลงทะเบียนเรียนไมต่ํากวา

๙ หนวยกิต และไมเกิน ๒๒ หนวยกิต สําหรับภาคสมทบ จะลงทะเบียนเรียนไมต่ํากวา ๙

หนวยกติ และไมเกิน ๑๖ หนว ยกิต

๔. การลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษาฤดูรอน นักศึกษาจะลงทะเบียนไดไมเกิน ๙ หนวยกิต

ยกเวนในกรณีที่แผนการเรียนของหลักสูตรไดกําหนดไวเปนอยางอื่น ใหนักศึกษาปฏิบัติตาม

แผนการเรียนทก่ี าํ หนดไวใ นหลักสูตรนนั้

ในภาคการศึกษาปกติ หากนักศึกษาตอ งการลงทะเบียนเรยี นเกนิ ๒๒ หนวยกิต แตไมเกนิ ๒๕

หนวยกิต หรือนอยกวา ๙ หนวยกิต ตองขออนุมัติคณบดี และสามารถกระทําไดเพียงหนึ่ง

ภาคการศึกษาเทานั้น ยกเวนภาคการศึกษาสุดทายที่นักศึกษาจะสําเร็จการศึกษาตาม
หลกั สตู ร และมีหนว ยกติ เหลอื อยไู มเ กิน ๒๕ หนว ยกิต หรือนอ ยกวา ๙ หนวยกิต

๕. นกั ศึกษากลุมสหกจิ ศึกษา นกั ศึกษาฝก งานในสถานประกอบการ ท่ฝี กประสบการณก ารสอน

ในสถานศึกษา อนุญาตใหลงทะเบียน ๖ หนวยกิต ในภาคการศึกษานั้นได แตจะลงทะเบียน

เรียนวิชาอืน่ รว มดวยไมไ ด

๖. นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนกอนวันเปดภาคการศึกษาแลว แตมีประกาศภายหลังวาพนสภาพ

เน่ืองจากผลการเรียนในภาคการศึกษาที่ผานมา ใหถือวาผลการลงทะเบียนเรียนในภาค

การศึกษาถัดมาท่ีลงทะเบียนเรียนเปนโมฆะ และไมมีผลผูกพันมหาวิทยาลัย โดยนักศึกษามี

สิทธิ์ขอคืนเงินคาบํารุงการศึกษา คาลงทะเบียน คาธรรมเนียมการศึกษา ซ่ึงไดชําระในภาค

การศึกษา ที่เปนโมฆะได ท้งั น้ี นักศกึ ษาท่มี ีสภานภาพ หรือ GPA เกอื บจะพน สภาพการเปน

คมู่ อื นคกั มู่ศอืึกนษกัาศ๒กึ ษ๕า๖๒๓๕๖(๓๒(๓๕)(๙๒)๕๙)

มหาวิทมยหาลวยัิทเยทาคลโยนั เโทลยคีรโนาโชลมยงรี คาลชมกงรคงุ เลทกพรงุ เทพ

ท่ี เรอ่ื ง กฎเกณฑท ี่กาํ หนด

๑ การ นกั ศกึ ษาอยูนน้ั หรอื ไมแนใจในผลการเรยี นในภาคท่ีผา นมา ขอใหช ลอการลงทะเบยี นใน
ลงทะเบยี น
เรยี น ภาคตอ ไปหรอื ภาคฤดรู อ นเพื่อคอยดูผลการศกึ ษาทผ่ี านมาใหแนใ จกอ นลงทะเบียน
(ตอ ) เมอื่ ทราบผลการศึกษาแลว นักศกึ ษาสามารถลงทะเบยี นในชว งของการลงทะเบยี นลา ชา ได
ตามปฏทิ ินการศกึ ษาเพ่อื จะไดไ มม ปี ญ หาในการขอคืนเงินคา ลงทะเบียนดงั กลาว

๗. ในภาคการศึกษาใด หากนักศึกษาไมลงทะเบยี นเรียนในภาคการศึกษาน้ัน และประสงคจะ

ขอรกั ษาสภาพการเปนนักศึกษา ตองทาํ คาํ รองขอลาพักการศึกษาตอคณบดี ภายใน

สามสิบวนั นบั จากวันเปด ภาคการศกึ ษานนั้ และตองชาํ ระเงนิ คา ธรรมเนียมเพอ่ื รกั ษา

สภาพเปนนักศึกษา หากไมป ฏิบตั ดิ งั กลาว มหาวิทยาลยั จะถอนช่ือนักศกึ ษาผนู น้ั ออกจาก

ทะเบยี นนักศึกษา

๘. อธิการบดีมีอาํ นาจอนมุ ตั ใิ หน ักศกึ ษาท่ีถูกถอนชอ่ื ออกจากทะเบยี นนักศกึ ษาตาม ขอ ๑

และ ขอ ๖ กลับเขา เปนนกั ศกึ ษาใหมไ ดเ ปน กรณีพิเศษ เม่ือมเี หตผุ ลอนั สมควร โดยใหถ อื

ระยะเวลาท่ถี ูกถอนชอ่ื ออกจากทะเบยี นนักศกึ ษา เปนระยะเวลาพกั การศึกษา ทั้งนต้ี อ งไม

พน กําหนดระยะเวลาหนึ่งป นบั จากวนั ทนี่ กั ศกึ ษาผนู ั้นถกู ถอนชื่อจากทะเบียนนกั ศึกษา

โดยนักศึกษาตองชําระเงินคา ธรรมเนยี มเสมือนเปน ผลู าพักการศกึ ษารวมทั้งคาคนื สภาพ

เปน นักศกึ ษาและคาธรรมเนยี มอน่ื ใดที่คา งชําระตามประกาศมหาวทิ ยาลัย

๒ การงด กรณที ี่มหาวทิ ยาลยั มีเหตอุ ันควร อาจประกาศงดการสอนรายวชิ าใด รายวชิ าหนงึ่
การสอน
รายวิชาใด หรอื จาํ กดั จาํ นวนนกั ศกึ ษาท่ีลงทะเบียนเรยี นในรายวชิ าใดก็ได

วชิ าหน่ึง

๓ การ ๑. การลงทะเบยี นเรยี นรายวชิ า ทม่ี รี ายวิชาบงั คบั กอ น นักศกึ ษาจะตองสอบผา นวชิ า
ลงทะเบยี น บงั คบั กอ น จึงจะลงรายวชิ าตอเนื่องได หากฝา ฝน จะถอื วาการลงทะเบยี นเรยี น
เรยี นใน
รายวิชาน้นั เปน โมฆะ เวน แตจ ะไดรบั อนุมัติจากคณบดีกอนการลงทะเบียนเรียน และ
รายวิชาที่ จะตองเปนนักศึกษาปส ุดทา ยของหลกั สูตรทจ่ี ะสาํ เร็จการศึกษาในปการศกึ ษานั้น
มวี ชิ า ๒. นักศึกษาทีล่ งทะเบียนเรียนรายวชิ าตอ เน่อื งควบคูกบั รายวิชาบงั คับกอนหากงดเรยี น

บังคับกอน รายวชิ าบงั คับกอน จะตองงดเรียนรายวชิ าตอเนือ่ งคราวเดียวกันดวย หากไมง ดเรยี น

รายวชิ าตอเน่ือง จะถือวา การลงทะเบียนเรยี นรายวชิ าตอเน่ืองนนั้ เปน โมฆะ เชน

รายวิชาตอเนื่องเปน วิชา Lab เมื่อตองการถอนรายวิชาบงั คับกอ น (W) นกั ศึกษาตอง

ถอน (W) รายวชิ าตอ เนอ่ื งหรอื รายวิชาบังคบั รว มดวย

(๒๖(๒๐)๖)๐)คมู่ คอื ่มูนอื กั นศกั ึกศษึกาษ๒า ๕๒๖๕๓๖๓

มหมาวหิทาวยิทาลยยัาลเทยั คเทโนคโลโนยโลีรยาชรี มาชงมคลงคกลรกงุ เรทงุ พเทพ

ท่ี เรื่อง กฎเกณฑท กี่ ําหนด

๔ การ ๑. นกั ศึกษาสามารถลงทะเบยี นเรยี นขา มสถานศึกษาได ในแตล ะภาคการศกึ ษาหากเปน
ลงทะเบยี น
เรยี นขาม การลงทะเบยี นเพอื่ เพิม่ พูนความรูประเภทไมน บั หนวยกิต
สถานศึกษา ๒. นกั ศกึ ษาทีป่ ระสงคจ ะลงทะเบยี นเรียนขามสถานศกึ ษาเพ่ือนบั หนวยกติ ในหลักสูตร

จะตอ งเปน ไปตามเง่ือนไข ดงั นี้

๒.๑ เปน นักศึกษาภาคการศกึ ษาสดุ ทา ยทีจ่ ะสาํ เร็จการศกึ ษา และรายวชิ าท่จี ะเรียนไมเปด

สอนในภาคการศึกษานั้น

๒.๒ รายวิชาทีจ่ ะลงทะเบยี นเรยี นในสถานศกึ ษาอน่ื ตอ งเปน รายวชิ าทเี่ ทยี บไดก ับรายวชิ า

ตามหลกั สูตรของมหาวิทยาลัย การเทียบใหอยใู นดลุ ยพนิ จิ ของภาควิชาและคณะ

เจาของรายวิชาโดยถือเกณฑเ น้อื หาและจํานวนหนว ยกติ เปน หลกั

๒.๓ การเรียนขามสถานศึกษา ใหน ักศกึ ษายน่ื คํารอ งขอเรยี นขามสถานศกึ ษาตอคณบดที ี่

นักศกึ ษาสงั กดั เพอ่ื พิจารณา และนักศึกษาตองชําระเงินคาลงทะเบียนหรือคาบาํ รุง

การศึกษาแกมหาวิทยาลัยในสังกัด ตามประกาศท่ีมหาวิทยาลัยกาํ หนดไวให

เรียบรอย จากน้ันจึงไปดาํ เนินการชําระคา หนว ยกิตทีเ่ รยี นขามสถานศึกษา ท่ี

นกั ศกึ ษาตองการลงทะเบยี นเรยี น

๒.๔ กรณนี ักศึกษาจากสถาบันการศึกษาอ่ืนมคี วามประสงคจ ะขอเรียนขา ม สถานศกึ ษาให

ปฏบิ ัตติ ามประกาศมหาวทิ ยาลัย

๕ การเพม่ิ ๑. การขอเพิ่มรายวิชา ตองกระทาํ ภายในสัปดาหท่ีสองของภาคการศึกษาปกติ และภายใน
หรอื ถอน สัปดาหแรกของภาคการศึกษาฤดูรอน
รายวิชา ๒. การถอนรายวิชา

๒.๑ ถา ถอนรายวิชาภายในสปั ดาหท ส่ี องของภาคการศกึ ษาปกติ และภายในสัปดาห
แรกของภาคการศกึ ษาฤดรู อน รายวิชาน้ันจะไมปรากฏในใบแสดงผลการศึกษา

๒.๒ ถาถอนรายวชิ าเมอ่ื พน กาํ หนดสัปดาหท่สี อง แตยงั อยภู ายในสิบสอง
สปั ดาหของภาคการศึกษาปกติ หรอื เมอื่ พนกําหนดสปั ดาหแ รกของภาคการศกึ ษาฤดรู อน
แตย ังอยูภ ายในหาสปั ดาหแรกของภาคการศึกษาฤดูรอ น จะตองไดร บั ความเห็นชอบจาก
อาจารยท ีป่ รึกษาโดยรายวชิ าน้ันจะปรากฏในใบแสดงผลการศกึ ษา ซง่ึ จะไดร บั คะแนนถอน
รายวิชา หรอื ถ (W) เมือ่ พน กาํ หนดการถอนรายวชิ าแลวนกั ศึกษาจะถอนการลงทะเบยี น
เฉพาะ รายวิชาไมได

๒.๓ การลงทะเบียนเรยี นรายวิชาเพ่มิ จนมจี าํ นวนหนว ยกติ สงู กวา หรอื การถอน
รายวชิ าจนเหลอื จํานวนหนวยกิตตํา่ กวาท่มี หาวิทยาลยั ฯระบไุ วม ไิ ด หากฝาฝนจะถอื วา การ
ลงทะเบียนเรยี นดงั กลา วเปนโมฆะ เวนแตจ ะมเี หตผุ ลอันควรและไดร ับอนุมตั ิจากคณบดี

คมู่ อื นคกั มู่ศอืึกนษกัาศ๒ึกษ๕า๖๒๓๕๖(๓๒(๓๖)(๑๒)๖๑)

มหาวิทมยหาลวยัิทเยทาคลโยนั เโทลยคีรโนาโชลมยงรี คาลชมกงรคงุ เลทกพรงุ เทพ

ที่ เร่อื ง กฎเกณฑท่กี ําหนด

๖ การลาพัก ๑. การลาพกั การศกึ ษาเปนการลาพักท้งั ภาคการศึกษา และถา ไดลงทะเบียนไปแลว ให ยกเลกิ
การศึกษา การลงทะเบยี นเรยี นรายวชิ าทไี่ ดลงทะเบยี นเรียนทงั้ หมดในภาคการศึกษาน้ัน รายวชิ า

ดังกลาวจะไมป รากฏในใบแสดงผลการศกึ ษาแตก ารลาพักการศึกษา หลังจากสปั ดาหทสี่ บิ สอง

ในระหวางภาคการศึกษาปกติหรือหลังสัปดาหทห่ี กในระหวา ง ภาคการศึกษาฤดรู อน จะตอง

บันทกึ คา ระดับคะแนนเปน ถอนรายวชิ า หรือ ถ (W)

๒. การขอลาพักการศกึ ษา ใหแสดงเหตุผลความจาํ เปน พรอมกบั มหี นังสือย่ืนตอคณบดแี ละจะลา

พักการศกึ ษาไดไมเ กนิ สองภาคการศกึ ษาปกติตดิ ตอกัน และชําระคา รักษาสภาพการเปน

นักศกึ ษาภาคการศึกษาละ ๓๐๐ บาท ตามประกาศของมหาวทิ ยาลัยทุกภาคการศกึ ษาท่ี

ไดรบั อนมุ ัตใิ หล าพักการศึกษา หากไมป ฏิบตั ิจะถกู ถอนช่ือออกจากทะเบยี นนักศึกษา

ยกเวน ภาคการศึกษาที่นักศึกษาไดชาํ ระเงินคา บํารุงการศึกษา คาลงทะเบียนเรยี น

คาธรรมเนียมการศึกษา และคาอ่นื ใดตามประกาศของมหาวิทยาลยั โดยมหาวิทยาลยั จะไม

คืนเงินดงั กลา วให

๓. ในภาคการศึกษาแรกทข่ี ้นึ ทะเบยี นเปน นกั ศกึ ษาของมหาวทิ ยาลัย นักศกึ ษาจะ

ลาพักการศึกษามไิ ด เวนแตจ ะไดรับอนมุ ตั จิ ากอธิการบดเี ปน กรณพี ิเศษ

๔. การขอลาพกั การศึกษาเกินกวา สองภาคการศึกษาปกตติ ิดตอ กนั จะตอ งไดรับอนมุ ัตจิ าก

อธกิ ารบดเี ปนกรณพี ิเศษ ในกรณตี อ ไปน้ี

๔.๑ ถูกเกณฑหรอื ระดมเขา รบั ราชการทหารกองประจาํ การ

๔.๒ ไดร บั ทุนแลกเปลยี่ นนักศึกษาระหวางประเทศหรือทนุ อน่ื ใด ซงึ่ มหาวทิ ยาลยั เหน็ สมควร

สนับสนนุ

๔.๓ ประสบอุบตั เิ หตุ ภยนั ตราย หรือเจ็บปว ย จนตอ งพกั รักษาตวั ตามคําสัง่ แพทยเปน

เวลานานเกนิ กวารอยละยสี่ บิ ของเวลาศกึ ษาท้งั หมดโดยมใี บรบั รองแพทย

๕. การลาพกั การศึกษาไมวาดวยเหตใุ ดหรอื การถูกใหพ ักการศกึ ษา หรือการกลบั เขาศกึ ษาใหม

แลว แตกรณี ไมเ ปนเหตใุ หข ยายระยะเวลาการศกึ ษาเกนิ กวา สองเทา ของแผนการเรยี นตาม

หลกั สตู ร นบั แตวนั ข้นึ ทะเบยี นเปน นักศึกษาของมหาวทิ ยาลัยยกเวน ภาคการศึกษาฤดูรอ น

๗ การขาด นกั ศกึ ษาท่ีปว ยหรือมเี หตสุ ดุ วสิ ัยทําใหไมส ามารถเขาสอบปลายภาคได นกั ศกึ ษาตอ งขอผอ น
สอบ ผนั การสอบตออาจารยผสู อนรายวิชาน้นั ภายในวนั ถัดไป หลงั จากที่มีการสอบปลายภาค
ปลายภาค รายวชิ านั้น เวนแตจ ะมเี หตุอันสมควร นกั ศกึ ษาตองทาํ คํารอ งตอคณะกรรมการประจํา

คณะใหพิจารณาการขอผอนผันดงั กลา ว โดยอาจอนมุ ตั ใิ หไดร ะดบั คะแนนไมส มบรู ณห รอื

ม.ส. (I) หรอื ใหยกเลิกการลงทะเบยี น เรียนรายวิชาน้นั เปน กรณพี เิ ศษ โดยใหไ ดร ะดับ

คะแนน ถอนรายวิชา หรอื ถ (W)

(๒๖(๒๒)๖)๒ค)มู่ คอื มู่นอื กั นศกั ึกศษกึ าษ๒า ๕๒๖๕๓๖๓

มหมาวหิทาวยิทาลยยัาลเทยั คเทโนคโลโนยโลีรยาชรี มาชงมคลงคกลรกงุ เรทงุ พเทพ

ท่ี เรื่อง กฎเกณฑท ่กี าํ หนด

๘ การลาออก นกั ศึกษาอาจลาออกจากการเปนนกั ศกึ ษาไดโดยย่นื คาํ รองขอลาออกตอคณะที่นักศึกษาสงั กัด
และตอ งไมม หี น้สี ินกับมหาวทิ ยาลัย ทั้งนีต้ อ งไดรบั อนุมตั จิ ากคณบดี
จากการ
เปน

นกั ศึกษา

๙ การยาย ๑. นักศึกษาทป่ี ระสงคจ ะยา ยคณะ ตอ งไดรบั อนมุ ตั ิจากคณบดีของคณะทีน่ กั ศึกษาสงั กัดอยู

คณะ และคณบดขี องคณะท่ีนักศกึ ษาประสงคจ ะยายเขา ศึกษา
หรือ ๒. นักศกึ ษาท่ีประสงคจะเปลี่ยนสาขาวชิ าในคณะเดยี วกนั จะกระทําไดก็ตอ เม่ือไดรับความ
เปล่ยี น เห็นชอบจากคณบดขี องคณะทีน่ ักศึกษาสังกัดอยู
สาขาวิชา ๓. การยายคณะ จะตองมีผลการศึกษาเฉลย่ี สะสมอยา งนอย ๒.๐๐ ผลการลงทะเบียนรวมไม

นอ ยกวา ๑๘ หนวยกติ มหี มวดรายวชิ าชีพไมนอ ยกวา ๒ รายวชิ า เสียคา ธรรมเนยี มคร้ังละ

๒,๐๐๐ บาท การยา ยสาขาวชิ า ตอ งมีผลการศกึ ษา อยา งนอย ๑ ภาคการศกึ ษา ผลการ

ลงทะเบียนรวม ไมน อ ยกวา ๑๘ หนวยกติ มหี มวดรายวชิ าชพี ไมน อ ยกวา ๒ รายวชิ า เสยี

คาธรรมเนียม ครั้งละ ๕๐๐ บาท

๔. การยา ยสาขา/คณะ ไมเปนเหตใุ หข ยายระยะเวลาการศึกษาเกินกวา สองเทา ของแผนการ

เรียนตามหลักสตู ร นบั แตว นั ขึน้ ทะเบยี นเปนนักศกึ ษาของมหาวทิ ยาลัยยกเวนภาค

การศกึ ษาฤดรู อน

๕. นักศกึ ษาภาคสมทบจะขอยา ยรอบเปน ภาคปกตไิ มไ ด

๑๐ การให ๑. นกั ศกึ ษาเขาสอบและหรือมผี ลงานทปี่ ระเมินผลการศกึ ษาได ต (F)
ระดบั ๒. นักศึกษามีเวลาศึกษาไมค รบรอ ยละ ๘๐ ของเวลาศึกษาตลอดภาคการศกึ ษา
คะแนน ต ๓. นกั ศกึ ษาทําผดิ ระเบยี บการสอบในภาคการศกึ ษาน้นั และไดร บั การตัดสินใหไ ด

(F) ระดบั คะแนน ต (F)

๑๑ การให ๑. นกั ศกึ ษาปวยกอนสอบ และไมส ามารถเขาสอบในบางรายวชิ าหรือทัง้ หมดได โดยตองย่ืน
ระดบั
คะแนน ถ ใบลาปว ยพรอมใบรบั รองแพทยใหค ณบดี พจิ ารณารว มกับอาจารยผ สู อน หากเห็นวา
การศึกษาของนักศึกษาผนู ั้นขาดเนื้อหาสว นทสี่ าํ คญั สมควรใหร ะดบั คะแนน ถ (W) ในบาง
(W) วิชาหรือทั้งหมด

๒. นกั ศกึ ษาลาพักการศกึ ษาหลังจากสปั ดาหท่ี ๑๒ ในระหวางภาคการศกึ ษาปกติ หรือสัปดาห

ที่ ๖ ในระหวางภาคการศกึ ษาฤดรู อ น

๓. คณบดีอนญุ าตใหเปลี่ยนระดบั คะแนนจาก ม.ส. (I) เนื่องจากปวย หรอื เหตสุ ดุ วสิ ัย

๔. ในรายวิชาทน่ี กั ศึกษาไดร ับอนญุ าตใหลงทะเบยี นเรียนโดยไมนบั หนว ยกติ (AU) และมีเวลา

ศึกษาไมครบรอ ยละ ๘๐ ของเวลาศึกษาตลอดภาคการศึกษา

คมู่ อื นคกั ่มูศอืึกนษกัาศ๒ึกษ๕า๖๒๓๕๖(๓๒(๓๖)(๓๒)๖๓)

ที่ เรอ่ื ง มหาวิทมยหาลวยัิทเยทาคลโยนั เโทลยคีรโนาโชลมยงรี คาลชมกงรคงุ เลทกพรงุ เทพ

กฎเกณฑท ก่ี าํ หนด

๑๒ การให รายวชิ าทีผ่ ลการศึกษายงั ไมส มบรู ณโ ดยอาจารยผสู อนจะตองระบุสาเหตุที่ใหคะแนน ม.ส. (I)
ระดับ ประกอบไวด วย ในกรณตี อ ไปน้ี
คะแนน ๑. กรณนี กั ศึกษามเี หตเุ จบ็ ปวยหรอื เหตุสดุ วสิ ยั และมเี วลาศกึ ษาครบรอ ยละ ๘๐
ม.ส. (I) โดยไดร ับอนมุ ตั จิ ากคณบดี

๒. กรณนี กั ศกึ ษาทํางานท่ีเปนสว นประกอบการศึกษายังไมส มบรู ณ และอาจารยผ สู อน

รายวชิ านัน้ เหน็ สมควรใหร อผลการศกึ ษาไวโ ดยไดรับความเหน็ ชอบจากหวั หนาภาควชิ า

๑๓ การขอแก ๑. นกั ศกึ ษาจะตอ งยนื่ คาํ รองตออาจารยผสู อนรายวิชานั้นๆ ภายใน ๑๐ วนั ทําการหลังจากวัน
ระดับ เปด ภาคการศึกษาถัดไป เพอ่ื ขอใหอาจารยผ ูสอนกาํ หนดระยะเวลาสาํ หรับการวัดผล
คะแนน การศึกษาท่สี มบรู ณในรายวิชานั้น เพื่อเปล่ยี นระดับคะแนน ม.ส. (I) ใหแลวเสรจ็ ภายใน
ม.ส. (I) กําหนด ๓๐ วัน นับแตวันเปดภาคการศึกษาถดั ไปและอาจารยผ สู อนตอ งสงผลการศึกษาให

สาํ นกั สงเสรมิ วชิ าการและงานทะเบยี นภายใน ๓๐ วัน
๒. การเปลยี่ นระดับคะแนน ม.ส. (I) ของรายวิชาท่เี ปนโครงการใหนกั ศกึ ษาขออนมุ ัตจิ าก

คณบดี เพือ่ เปลี่ยนระดบั คะแนน ม.ส. (I) เมอื่ นกั ศกึ ษาดําเนนิ การเปล่ยี นคาระดับคะแนน

ม.ส. (I) เสรจ็ สิน้ แลว ใหคณะสง ระดับคะแนนถึงสาํ นักสงเสรมิ วิชาการและงานทะเบยี นกอ น

วนั ส้ินภาคการศึกษาถัดไป

๓. การสง ผลการเปลี่ยนระดบั คะแนน ม.ส. (I)
๓.๑ ตามขอ ๑ อาจารยผสู อนสงผลการเปลีย่ นระดับคะแนน ม.ส. (I) ภายใน ๓๐ วนั
เม่อื พน กาํ หนด ๓๐ วัน นับแตวันเปดภาคการศึกษาถดั ไป จะถกู ปรบั คาระดบั
คะแนนเปน (F) โดยอัตโนมตั ิ
๓.๒ ตามขอ ๒ หากคณะไมสงระดับคะแนนถึงสํานักสงเสริมวิชาการและงานทะเบียน
กอนวันสิ้นภาคการศึกษาถัดไป รายวิชาท่ี ม.ส. (I) จะถูกเปล่ียนเปนระดับคะแนน
ต (F) โดยอัตโนมัติ

๔. กอนวันสิ้นภาคการศึกษาถัดไป หมายถึง กอนวันที่มหาวิทยาลัยกําหนดไวใหเปนวันส้ิน
ภาคการศึกษาใด ๆ ถัดไปจากภาคการศึกษาท่ีนักศึกษาไดระดับคะแนน ม.ส. (I) เปน

ระยะเวลา ๑ ภาคการศึกษา ยกเวนภาคการศกึ ษาฤดูรอนซึ่งเปนภาคการศกึ ษาทีไ่ มบังคับ
แตห ากนกั ศึกษาลงทะเบยี นเรียนในภาคการศึกษาฤดูรอ น นักศกึ ษาจะตอ งดาํ เนินการวดั ผล

การศึกษาท่ีไมสมบูรณใหเสร็จส้ินกอนวันสิ้นภาคในภาคการศึกษาฤดูรอนนั้น มิฉะนั้น

ระดับคะแนน ม.ส. (I) จะถกู เปลย่ี นเปน ระดบั คะแนน ต (F) โดยอัตโนมตั ิ

นักศกึ ษาที่ไดระดับคะแนน ม.ส. (I) ในภาคการศึกษาที่ไมใ ชภาคสดุ ทา ยไมจ ําเปนตอง

ลงทะเบยี นเรยี นรายวิชาทไ่ี ดคาระดับคะแนนม.ส.(I) เพื่อขอปรบั ระดับคะแนน ม.ส. (I)

(๒๖(๒๔)๖) ๔)คมู่ คอื ่มูนอื กั นศกั ึกศษึกาษ๒า ๕๒๖๕๓๖๓

มหมาวหิทาวยิทาลยยัาลเทยั คเทโนคโลโนยโลีรยาชรี มาชงมคลงคกลรกงุ เรทงุ พเทพ

ท่ี เร่ือง กฎเกณฑท กี่ าํ หนด

๑๓ การขอแก ในภาคการศกึ ษาตอ ไป แตการขอเปล่ยี นระดับคะแนน ม.ส.(I) ในภาคการศึกษาสดุ ทายของ
ระดบั นักศึกษา นกั ศกึ ษาจะตอ งขอรกั ษาสภาพการเปนนักศึกษาเพอ่ื แก ม.ส.(I) และชําระเงนิ
คะแนน คา ธรรมเนยี มตามประกาศของมหาวิทยาลัย

ม.ส. (I)

(ตอ)

๑๔ การเปลยี่ น ๑. นกั ศกึ ษาทีม่ เี วลาศึกษาครบรอ ยละ ๘๐ ของเวลาศึกษาตลอดภาคการศึกษา แตไ มไดส อบ
ระดบั เพราะเจ็บปว ยหรอื มีเหตุสดุ วสิ ัย และไดรับอนุมตั ิจากคณบดี ในกรณีเชนนี้การเปลี่ยนระดบั
คะแนน คะแนน ม.ส. (I) ใหไดร ะดับคะแนนปกติ หรอื ตามผลการพจิ ารณาของคณะกรรมการประจาํ
ม.ส. (I)
คณะ

๒. อาจารยผ สู อนและหวั หนา ภาควชิ าเห็นสมควรใหร อผลการศกึ ษา เพราะนกั ศึกษาตองทํางาน

ซ่งึ เปนสว นประกอบการศึกษาในรายวชิ าน้ันโดยมิใชความผิดของ นกั ศึกษา ในกรณีเชน นี้

การเปลยี่ นระดบั คะแนน ม.ส. (I) ใหสูงกวาระดบั คะแนน ค (C) ขึ้นไปได แตถาเปนกรณี

ความผิดของนักศึกษาแลว การเปลีย่ นระดับคะแนน ม.ส. (I) ไมส ามารถไดส ูงกวาระดบั

คะแนน ค (C)

๑๕ การให การใหระดับคะแนน พ.จ. (S) และ ม.จ. (U) จะกระทาํ ไดใ นรายวิชาทผ่ี ลการประเมินผล
ระดับ การศกึ ษาเปนท่พี อใจ และไมพอใจ ดังกรณตี อ ไปน้ี
คะแนน
พ.จ. (S) ๑. ในรายวชิ าที่หลักสตู รกําหนดไวว ามกี ารประเมนิ ผลการศกึ ษาอยา งไมเปนระดับคะแนน
ก (A) ข+ (B+) ข (B) ค+ (C+) ค (C) ง+( D+) ง (D) และ ต (F)
และ
๒. ในรายวิชาทนี่ กั ศึกษาลงทะเบยี นเรยี นนอกเหนือไปจากหลักสตู รและขอรับการประเมนิ ผล
ม.จ. (U) การศึกษาระดับคะแนน พ.จ. (S) และ ม.จ. (U) จะไมม คี าระดบั คะแนนตอหนวยกิตและ

หนว ยกติ ท่ไี ดไ มน าํ มาคาํ นวณหาคา ระดบั คะแนนเฉลี่ยประจําภาคและคา ระดับคะแนน

เฉลี่ยสะสม แตใ หน ับรวมเขา เปนหนวยกิตสะสม

๑๖ การให การใหระดับคะแนน ม.น. (AU) จะกระทาํ ไดในรายวิชาใดวิชาหนึ่ง ที่อาจารยท่ีปรึกษา
อาจจะแนะนําใหน กั ศกึ ษาลงทะเบยี นเรยี น เพ่ือเปนการเสรมิ ความรูโดยไมนบั หนว ยกิตใน
ระดบั รายวชิ านั้นกไ็ ด แตต อ งไดร บั อนุญาตจากอาจารยผ สู อนรายวชิ าน้นั
คะแนน
ม.น. (AU)

๑๗ การ ๑. คา ระดบั คะแนนเฉลยี่ ประจําภาค คอื ผลรวมของคะแนนโดยคาํ นวณหาจากคาระดับ
คํานวณหา คะแนนตอหนวยกิต คณู ดว ยจาํ นวนหนว ยกิตแตล ะวชิ า หารดวยจํานวนหนว ยกิตที่
คาระดับ
คะแนน ลงทะเบียนเรยี นแตล ะภาคการศกึ ษา ใหมีทศนยิ มสองตําแหนงเศษของทศนิยมใหปด ทิง้

เฉลย่ี

คมู่ อื นคกั มู่ศอืึกนษกัาศ๒ึกษ๕า๖๒๓๕๖(๓๒(๓๖)(๕๒)๖๕)

มหาวิทมยหาลวยัิทเยทาคลโยนั เโทลยคีรโนาโชลมยงรี คาลชมกงรคงุ เลทกพรงุ เทพ

ที่ เรื่อง กฎเกณฑท ก่ี ําหนด

๑๗ การ ๒.คา ระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมประจาํ ภาค ใหคํานวณจากผลรวมของคะแนนทุกภาค
คาํ นวณหา การศกึ ษาหารดวยจํานวนหนวยกติ ทีล่ งทะเบยี นเรียนทกุ ภาคการศกึ ษาตั้งแตภ าคการศกึ ษา
คาระดับ
คะแนน ที่ ๑ เปน ตน ไปจนถงึ ภาคการศึกษาปจจบุ นั ใหมที ศนยิ มสองตําแหนง เศษของทศนิยมให
เฉลี่ย ปดท้งิ

(ตอ )

๑๘ การ ๑. นักศึกษาลงทะเบียนเรียนซํ้าหรือแทนและการนับหนวยกิตตลอดหลักสูตร ตามประกาศ
ลงทะเบยี น มหาวิทยาลัยฯ ป พ.ศ.๒๕๕๔ จะตองมีเกณฑการลงทะเบียนรวมต้ังแต ๓๐ – ๕๙
เรียนซ้าํ
หรอื แทน หนวยกิต และมีคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมระหวาง ๑.๕๐ – ๑.๗๔ และการลงทะเบียน
รวมต้ังแต ๖๐ หนวยกิตข้ึนไป ถึงจํานวนหนวยกิตกอนครบหลักสูตร มีคาระดับคะแนน

เฉลี่ยสะสมระหวาง ๑.๗๕ – ๑.๘๙ ใหมีสิทธิลงทะเบียนรายวิชาไดรับคะแนน ง (D) หรือ

ง+ ( D+) น้ันซ้ําไดอ ีก

๒. รายวชิ าใดทน่ี กั ศึกษาไดระดบั คะแนน ต (F) หรอื ม.จ. (U) หรอื ถ (W) หากเปนรายวิช

บังคบั ในหลักสตู รแลว นกั ศกึ ษาจะตอ งลงทะเบียนเรยี นรายวิชานั้นซาํ้ อีก จนกวาจะไดระดับ

คะแนนตามทห่ี ลักสตู รกําหนดไว

๓. รายวชิ าใดที่นกั ศึกษาไดร ะดบั คะแนนตามขอ ๒เปน รายวิชาเลือกในหลักสตู ร

นกั ศึกษาจะลงทะเบยี นเรยี นรายวชิ าอน่ื แทนก็ได

๔. รายวชิ าใดทนี่ กั ศกึ ษาไดระดบั คะแนน ต (F) หรอื ม.จ. (U) เมอ่ื มีการลงทะเบียนเรยี น

รายวชิ าซาํ้ หรือแทนกนั แลว ใหน ับหนว ยกติ สะสมเพยี งคร้ังเดียว ในการคาํ นวณหาคาระดบั

คะแนนเฉลยี่ สะสม

๑๙ การนบั ๑. การนับหนวยกิตรวมตลอดหลักสตู ร ใหน บั รวมเฉพาะหนว ยกติ ของรายวิชาท่ไี ดร บั คะแนน
หนว ยกิต ตั้งแต ง (D) ขนึ้ ไป หรือไดคะแนน พ.จ. (S) เทา นัน้
รวมตลอด ๒. ในกรณที ี่นกั ศึกษาลงทะเบยี นเรยี นรายวิชาใดซ้ําหรือแทนกัน ใหน บั หนว ยกิตของรายวชิ าที่
หลักสูตร ไดร ะดับคะแนนดีทีส่ ดุ เพียงครัง้ เดยี ว

๒๐ การขอ นักศึกษาจะมสี ิทธิขอสาํ เรจ็ การศกึ ษาตองมีคณุ สมบัตดิ งั นี้
สาํ เร็จ ๑. ตองศกึ ษารายวิชาใหครบตามหลกั สตู รและขอกาํ หนดของสาขาวชิ านั้น
การศกึ ษา ๒. มหี นวยกิตสะสมไมตํา่ กวาทีห่ ลักสตู รกําหนดไว และไดค า ระดบั คะแนนเฉล่ียสะสมไมต า่ํ

กวา ๒.๐๐

๓. เปนผมู ีคณุ สมบตั เิ หมาะสมกับการเปนบณั ฑติ และไมม หี นส้ี ินผกู พันตอ มหาวทิ ยาลัย

๔. การยน่ื คํารอ งขอสาํ เรจ็ การศกึ ษาตองยนื่ ตอสาํ นกั สงเสริมวิชาการและงานทะเบยี นทุกภาค

(๒๖(๒๖)๖) ๖)คมู่ คอื ่มูนอื กั นศกั ึกศษึกาษ๒า ๕๒๖๕๓๖๓

มหมาวหิทาวยิทาลยยัาลเทยั คเทโนคโลโนยโลีรยาชรี มาชงมคลงคกลรกงุ เรทงุ พเทพ

ที่ เร่อื ง กฎเกณฑทกี่ าํ หนด

๒๐ การขอ การศึกษา ทนี่ ักศกึ ษาคาดวา จะสาํ เร็จการศกึ ษา ภายในสามสบิ วันนับแตวันเปด ภาค
สําเรจ็
การศกึ ษา การศึกษานัน้ จนกวา นักศกึ ษาจะสาํ เรจ็ การศึกษา
ตามประกาศสภามหาวิทยาลยั
(ตอ ) ๕. นักศกึ ษาท่ไี มดําเนินการตาม ขอ ๔ จะไมไดร บั การพจิ ารณาเสนอช่ือเพอื่ รบั ปรญิ ญาในภาค

การศึกษาน้ัน และจะตองชาํ ระคา รักษาสภาพเปน นักศกึ ษาทุกภาคการศกึ ษา จนถึงภาค

การศกึ ษาท่ีนกั ศกึ ษายนื่ คาํ รอ งขอสาํ เรจ็ การศกึ ษา

๒๑ การพน นกั ศึกษาจะพนสภาพการเปน นกั ศกึ ษาเม่ือ
สภาพ ๑. ตาย
การเปน ๒. ลาออก
นักศึกษา ๓. ไดศ ึกษาสาํ เร็จครบหลกั สตู รตามทม่ี หาวิทยาลยั กาํ หนดและไดรับการอนุมัตปิ ริญญา

๔. พน สภาพเนอื่ งจากถกู ถอนช่อื ออกจากการเปน นักศึกษาเน่ืองจากไมลงทะเบียนและไมช าํ ระเงนิ

๕. ไมผา นเกณฑการวดั ผลและประเมนิ ผลตามประกาศของมหาวิทยาลยั

๖. ใชร ะยะเวลาการศึกษาเกินกวาสองเทาของแผนการเรยี นตามหลกั สตู ร นับแตว นั ข้นึ

ทะเบียนเปนนักศึกษาของมหาวิทยาลยั ยกเวน ภาคการศึกษาฤดูรอน ทั้งนีส้ าํ หรบั นกั ศกึ ษา

ทเ่ี ทยี บโอนผลการเรยี นยายคณะหรอื สาขาวิชา ใหนับเวลาที่เคยศกึ ษาอยใู นสถานศึกษาเดมิ

รวมเขาดว ยกัน

๗. ถูกคาํ ส่งั ลงโทษใหอ อก

๒๒ เกณฑก ารพน ๑. มีคา คะแนนเฉล่ียสะสมตาํ่ กวา ๑.๕๐ เมือ่ ลงทะเบยี นเรยี น มหี นวยกติ สะสมระหวา ง

สภาพ เนอ่ื งจาก ๓๐ – ๕๙ หนวยกติ
ผลการศกึ ษา ๒. มีคา คะแนนเฉลี่ยสะสมตา่ํ กวา ๑.๗๕ เมอ่ื ลงทะเบยี นเรยี น มีหนว ยกิตสะสม

ตัง้ แต ๖๐ หนว ยกติ ขนึ้ ไป

๒๓ เกณฑการ นักศึกษาทลี่ งทะเบยี นเรยี นครบหลกั สตู ร มคี า ระดบั คะแนนต้งั แต ๑.๙๐ ข้นึ แตไ มถ ึง ๒.๐๐
ซ่งึ ผลการศกึ ษาไมเ พียงพอท่จี ะรับการเสนอชื่อเพ่ือรับปรญิ ญา ใหนกั ศึกษาขอลงทะเบียน
ผอ นผนั เรียนซํา้ ในรายวิชาทไี่ ดร ะดับคะแนนตา่ํ กวา ก (A) เพอื่ ปรบั คาระดบั คะแนนเฉลยี่ สะสมใหถ ึง
การพน ๒.๐๐ ภายในกําหนดระยะเวลา ๓ ภาคการศึกษา รวมภาคการศึกษาฤดรู อ นแตไ มเ กนิ สอง
สภาพการ เทา ของระยะเวลาแผนการเรยี นตามหลกั สูตร
เปน
นักศึกษา

๒๔ การขอขึ้น ๑. นักศกึ ษาท่ีสําเร็จการศกึ ษาตอ งขอขึ้นทะเบียนบณั ฑติ โดยยนื่ คํารอ งขน้ึ ทะเบียนบณั ฑติ ตอ
ทะเบยี น สํานักสง เสรมิ วิชาการและงานทะเบียน พรอมชาํ ระเงินคาขนึ้ ทะเบยี นบณั ฑติ ทั้งนี้จะตอง
บณั ฑิต ดาํ เนนิ การตามขัน้ ตอนของมหาวทิ ยาลัย

๒. การเสนอชอื่ เพื่อรับปริญญาใหเ ปนไปตามประกาศของมหาวทิ ยาลัย

คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๓ (๒(๓๖) ๗)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ที่ เรอ่ื ง กฎเกณฑท กี่ าํ หนด

๒๕ ปรญิ ญา นกั ศึกษาท่ีจะไดร ับการเสนอชื่อเพื่อรบั ปรญิ ญาเกยี รตนิ ิยมตอ งเปนไปตามหลักเกณฑ
เกยี รตินยิ ม ๑. ลงทะเบยี นรายวชิ าในมหาวทิ ยาลัยไมต่าํ กวา ๗๒ หนว ยกติ สาํ หรับหลกั สตู ร ๒ – ๓ ป

การศึกษา หรอื ไมต ํ่ากวา ๑๒๐ หนวยกติ สําหรับหลักสูตร ๔ ปการศกึ ษา หรอื ไมต า่ํ กวา

๑๕๐ หนวยกติ สาํ หรับหลักสตู ร ๕ ปการศกึ ษา

๒. สาํ เรจ็ การศึกษาภายในระยะเวลาทห่ี ลักสูตรกาํ หนด ทงั้ น้ไี มน บั ระยะเวลาที่นักศึกษาขอ

ลาพกั การศึกษาตามขอ บังคับนี้

๓. ตองไมม ผี ลการศกึ ษาทีอ่ ยใู นเกณฑขั้นไมพอใจ หรือ ม.จ. (U) หรือตาํ่ กวาระดับคะแนน

ขั้นพอใชหรอื ค (C) ในรายวิชาใดวิชาหน่ึง

๔. นักศกึ ษาผูส ําเร็จการศกึ ษาท่ีมีคณุ สมบตั คิ รบถว นตาม ขอ ๑, ๒ และ ๓ ท่มี ีคาระดบั

คะแนนเฉลย่ี สะสมไมต ่ํากวา ๓.๗๕ จะไดร ับการเสนอชือ่ เพอื่ รบั ปรญิ ญาเกยี รตินยิ ม

อนั ดับ ๑

๕. นักศึกษาผสู ําเรจ็ การศึกษาทมี่ คี ณุ สมบัติครบถวนตาม ขอ ๑, ๒ และ ๓ ที่มี คาระดับ

คะแนนเฉลยี่ ไมต าํ่ กวา ๓.๕๐ จะไดร ับการเสนอช่ือเพอ่ื รับปรญิ ญาเกยี รตินิยมอนั ดบั ๒

๖. การเสนอชือ่ เพอื่ รบั ปรญิ ญาเกยี รตนิ ยิ ม ใหมหาวิทยาลยั นําเสนอตอ สภามหาวิทยาลยั ใน

คราวเดียวกนั กบั ทีเ่ สนอขออนุมัตปิ ริญญา ประจําภาคการศกึ ษานน้ั

๒๖ เหรยี ญ การใหเ กยี รตนิ ิยมเหรยี ญทองหรือเกียรตนิ ยิ มเหรียญเงิน

เกียรตนิ ยิ ม ๑. ใหมหาวทิ ยาลัยจดั ใหม เี หรยี ญเกยี รตนิ ยิ ม แกผสู าํ เรจ็ การศึกษาทีม่ ผี ลการศึกษาดีเดน โดย

แยกเปน คณะ

๒. เกยี รตนิ ยิ มเหรียญทองใหแ กผ สู าํ เร็จการศกึ ษาทไี่ ดปรญิ ญาเกยี รตินยิ มอันดับ ๑ ท่ีไดค า

ระดบั คะแนนเฉลย่ี สะสมสูงสดุ ในแตละคณะ

๓. เกยี รตนิ ยิ มเหรียญเงนิ ใหแ กผสู าํ เรจ็ การศกึ ษา ท่ไี ดค า ระดบั คะแนนเฉลย่ี สะสม เปนทสี่ อง

และจะตอ งไดป รญิ ญาเกยี รตนิ ยิ มอนั ดบั ๑ หรอื ๒ ในแตล ะคณะ กรณผี ูสาํ เร็จการศกึ ษาได

คา ระดบั คะแนนเฉลยี่ สะสมสูงสุด แตไ ดปริญญาเกียรตนิ ยิ มอันดับ ๒ ในแตละคณะ ให

เกยี รตนิ ยิ มเหรยี ญเงนิ

๔. การเสนอช่อื เพ่ือรบั เหรียญเกียรตนิ ยิ มใหส าํ นักสงเสริมวิชาการและงานทะเบยี นดําเนนิ การ

ปการศกึ ษาละหนึง่ ครั้ง และใหอ ธกิ ารบดีนําเสนอตอสภามหาวทิ ยาลยั เพ่ือพจิ ารณาอนมุ ตั ิ

ในคราวเดียวกนั กับท่ีเสนอขออนุมตั ปิ รญิ ญาประจาํ ภาคการศึกษาสุดทา ยของปก ารศกึ ษา

(๒๖(๒๘)๖)๘)คมู่ คอื ่มูนอื กั นศกั ึกศษึกาษ๒า ๕๒๖๕๓๖๓

มหมาวหิทาวยิทาลยยัาลเทยั คเทโนคโลโนยโลีรยาชรี มาชงมคลงคกลรกงุ เรทงุ พเทพ

ท่ี เร่ือง กฎเกณฑท กี่ าํ หนด

๒๗ การเทยี บ หลกั เกณฑก ารเทยี บโอนผลการเรยี น โดยการเทยี บวชิ าเรยี นและโอนหนวยกิต ระหวา ง
โอน การศกึ ษาในระบบ มดี ังน้ี
ผลการ ๑. ใหเ ทยี บโอนรายวิชา หรือกลมุ วชิ า ซง่ึ มีเนื้อหาสาระการเรยี นรู และจดุ ประสงคครอบคลมุ
เรียน ไมนอ ยกวาสามในสข่ี องรายวิชา หรอื กลุม วชิ าในสาขาวิชาท่ีนกั ศกึ ษาผขู อเทียบโอน

ศึกษาอยู

๒. รายวิชา/กลุมวชิ า ทีจ่ ะนํามาเทยี บโอนตอ งมีระดบั คะแนนไมตา่ํ กวา ค หรือ C

๓. รายวิชาหรือกลมุ วิชา ทีเ่ ทียบโอนหนวยกติ ให เมื่อรวมกนั แลวตองมจี ํานวนหนวยกิตไมเ กิน

สามในสขี่ องจํานวนหนว ยกติ ตลอดหลักสตู ร

๔. ในกรณที ่มี หาวทิ ยาลยั เปด หลกั สตู รใหม จะเทียบโอนนกั ศกึ ษาไดไ มเ กนิ กวาชัน้ ปและภาค

การศกึ ษาท่ไี ดร บั อนญุ าตใหมนี กั ศกึ ษาเรียนอยูตามหลักสตู รทไ่ี ดรบั ความเห็นชอบแลว ผูข อ

เทียบโอนจะไมส ามารถจบกอนนักศึกษารุน แรกของหลกั สูตรนั้น

๕. ใหส ถานศึกษาดาํ เนนิ การเทียบโอนผลการเรยี นภายใน ๒ สปั ดาหแรก ของภาคการศึกษา

แรกท่ีข้นึ ทะเบียนเปนนกั ศกึ ษา ทง้ั น้ีเพ่อื ผูขอเทยี บโอนจะไดร บั ทราบจํานวนรายวชิ าและ

จํานวนหนว ยกิต ทจ่ี ะตอ งศึกษาเพมิ่ เตมิ ตามหลักสตู รไดอีก

๖. กรณีเหตุผลจําเปน ไมสามารถดาํ เนินการเทียบโอนผลการเรียน ภายในกําหนดเวลาตาม

วรรคหน่งึ ใหอยูในดลุ พินจิ ของหัวหนาสถานศึกษาจะพิจารณาใหขอเทยี บโอน แตต อ งไม

เกนิ ภาคการศกึ ษาท่ี ๒ ในปก ารศกึ ษาน้นั

๗. ใหมกี ารบนั ทกึ ผลการเทียบโอน และการประเมินผลดงั น้ี

๗.๑ รายวิชาหรอื กลุม วชิ าท่ีเทยี บโอนให จะไมนาํ มาคดิ คา ระดับคะแนนเฉลยี่

ประจาํ ภาคและคาระดบั คะแนนเฉล่ยี สะสม โดยใหบนั ทึก Transfer Credits ไวส ว นบน

ของรายวิชาทเ่ี ทยี บโอนใหในใบแสดงผลการเรียน

๗.๒ รายวชิ าหรอื กลุมวชิ าท่เี ทยี บโอนให หากเปนหลกั สตู รท่ีมอี งคกรวชิ าชพี

ควบคุมตองใชผ ลการเรียนประกอบ ใหกาํ หนดระดับคะแนนในรายวิชาหรือกลมุ วิชาที่

เทยี บโอน เพอ่ื นํามาคดิ คา ระดบั คะแนนเฉล่ียประจาํ ภาคและคา ระดบั คะแนนเฉลย่ี สะสม

โดยบันทึกอกั ษร “TC” (Transfer Credits) ไวสวนทา ยรายวิชา หรอื กลมุ วิชาท่ีเทยี บโอน

ใหในใบแสดงผลการเรียน

คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๓ (๒(๓๖) ๙)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ที่ เรื่อง กฎเกณฑทก่ี ําหนด

๒๘ การเทยี บ หลกั เกณฑการเทียบโอนผลการเรยี น โดยการเทียบโอนความรแู ละใหหนวยกติ จาก
โอนผล การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั เขาสูก ารศึกษาในระบบดังน้ี
การเรยี น
จากการ ๑. วิธีการประเมินเพือ่ การเทยี บโอนความรู กระทาํ โดยการทดสอบมาตรฐาน การทดสอบที่
ศึกษานอก ๒. ไมใชก ารทดสอบมาตรฐาน การประเมินการจดั การศกึ ษา / อบรมทจ่ี ดั โดยหนว ยงานตา ง ๆ
ระบบ และการประเมินแฟมสะสมงาน
การเทยี บโอนความรูจะเทยี บเปนรายวิชา หรือกลมุ วิชาตามหลักสตู รทีเ่ ปดสอนใน
และ มหาวทิ ยาลยั โดยรายวิชาหรอื กลมุ วชิ าที่เทียบโอนให เมอื่ รวมกนั แลวตองมจี ํานวนหนว ยกติ
การศึกษา
ตามอธั ยาศยั ไมเกนิ สามในส่ขี องจาํ นวนหนวยกติ ตลอดหลกั สตู ร
เขา สู ๓. การขอเทียบโอนความรเู ปน รายวชิ าหรอื กลุมวชิ า ทอี่ ยใู นสังกดั ภาควิชาหรือสาขาวิชาใด ให
การศกึ ษา ภาควิชาหรอื สาขาวิชานั้นเปนผกู ําหนดวธิ กี ารและการดาํ เนนิ การเทียบโอนโดยการเทียบ
ในระบบ โอนความรูนัน้ ตองไดร บั ผลการประเมนิ เทยี บไดไ มต ํ่ากวา ค หรอื C จงึ จะใหน บั จาํ นวน

หนวยกติ รายวิชาหรอื กลุมวิชานน้ั

๔. รายวชิ าที่เทียบโอนให จะไมนาํ มาคดิ คา ระดับคะแนนเฉลยี่ ประจําภาค และคาระดบั คะแนน

เฉล่ียสะสม โดยบันทกึ Prior Learning Credits ไวส วนบนของรายวชิ าทีเ่ ทียบโอนใหในใบ

แสดงผลการเรยี นเวน แตหลักสูตรทมี่ ีองคก รวิชาชพี ควบคุม ใหเปนไปตามหลกั เกณฑแ ละ

ขอกาํ หนดขององคก รวิชาชีพนั้น

๕. ในกรณีมเี หตจุ าํ เปน มหาวิทยาลยั มเี อกสทิ ธ์ิท่จี ะใหภ าควชิ าหรือสาขาวิชาทาํ การประเมิน

ความรขู องผทู จี่ ะขอเทียบโอนความรู

๖. ใหม ีการบันทกึ ผลการเรยี นตามวิธกี ารประเมิน ดงั นี้

๖.๑ หนวยกติ ทไ่ี ดจ ากการทดสอบมาตรฐาน ใหบ ันทกึ “CS” (Credits from

Standardized Tests)

๖.๒ หนวยกติ ทไ่ี ดจ ากการทดสอบทไ่ี มใชก ารทดสอบมาตรฐาน ใหบ ันทกึ “CE” (Credits

from Examination)

๖.๓ หนวยกติ ทไ่ี ดจ ากการประเมนิ การจัดการศึกษา/อบรมทจี่ ัด โดยหนว ยงานตา ง ๆ ให

บันทกึ “CT” (Credits from Training)

๖.๔ หนวยกติ ทีไ่ ดจากการประเมนิ แฟมสะสมงาน ใหบันทึก “CP” (Credits from

Portfolio)

(๒๗((๒๒๐)๗) ๐คมู่ คอื ่มูนอื กั นศกั ึกศษึกาษ๒า ๕๒๖๕๓๖๓

มหมาวหิทาวยิทาลยยัาลเทยั คเทโนคโลโนยโลีรยาชรี มาชงมคลงคกลรกงุ เรทงุ พเทพ

ท่ี เรือ่ ง กฎเกณฑทกี่ าํ หนด

๒๘ การเทียบ ๖.๕ การบันทกึ ผลการเทียบโอนตามวิธีการประเมินในขอ ๖.๑ ถงึ ๖.๔ ให บันทึกไว
โอนผล สวนทายของรายวชิ า หรอื กลมุ วิชาทไี่ ดรับการเทียบโอน เวนแตหลกั สตู รทมี่ อี งคก ร
การเรยี น
จากการ วิชาชพี ควบคมุ และตองใชผ ลการเรียนประกอบการขอใบอนญุ าตประกอบวชิ าชีพ ให
ศกึ ษานอก กําหนดระดบั คะแนนในรายวิชา หรือกลุมวชิ าเพือ่ นาํ มาคิดคา ระดับคะแนนเฉลย่ี ประจํา
ระบบ ภาค และคาระดบั คะแนนเฉลยี่ สะสม โดยบันทึกอักษร “PL” (Prior Learning) ไว
สวนทายรายวชิ าท่ีเทยี บโอนใหในใบแสดงผลการเรียน
และ ๖.๖ ใหม หาวิทยาลัยจดั ทําประกาศเกย่ี วกับแนวปฏิบตั ิในการดําเนนิ การเทยี บโอนผลการ
เรยี นจากการศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั เขาสกู ารศึกษาในระบบ
การศกึ ษา ๖.๗ การเทยี บโอนผลการเรยี นไมใชบังคบั กบั การจัดการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญา ภาคสมทบ
ตามอัธยาศัย
พิเศษ
เขาสู

การศึกษา

ในระบบ

(ตอ)

คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๓ (๒(๓๗๗) ๑๑))

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

(๒๗(๒๒)) คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๓

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

คค่มู มู่ อื อื นนกั กั ศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ ((๒๒(๓๗๗) ๓)

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งเุ ทเทพพ

คา นยิ มหลัก
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

UTK

U – Unity
T – Talent
K – Keen

(๒๗(๒๔()๒) ๗ค๔มู่ )อื นกคั ศมู่ ึกอื ษนากั ศ๒กึ ๕ษา๖๒๓๕๖๓

มหาวมิทหยาาวลิทยั ยเทาคลยโั นเทโลคยโีรนาโลชยมรีงาคชลมกงรคงุ ลเทกพรงุ เทพ

คําอธิบาย
U หมายถึง Unity (มีความสามัคคีรวมเปนหนึ่งเดียว) บุคลากรและนักศึกษา

ของมหาวิทยาลัยมีใจรวมกันเปนหน่ึงเดียว มีความสามัคคีกลมเกลียว รวมใจกันทํางานเพ่ือ
ประโยชนของมหาวิทยาลยั และราชการเปน หลกั

T หมายถึง Talent (ความสามารถพิเศษ ) บุคลากรและนักศึกษาของ
มหาวิทยาลยั ไดร บั การฝกฝนจนมคี วามสามารถทีโ่ ดดเดนเฉพาะ แตกตา งจากบุคคลอ่นื

K หมายถึง Keen (ความเช่ียวชาญ) บุคลากรและนักศึกษาใฝหาความรู
มุงพัฒนาตนเองใหมีความเช่ียวชาญท้ังในดานทฤษฎีและปฏิบัติบนพ้ืนฐานเทคโนโลยี เชิง
สรา งสรรค

ค่มู อื นกัคศมู่ กึอื ษนากั ศ๒ึก๕ษ๖า ๒๓๕๖(๒๓๗๕(๒()๓๗) ๕)

มหาวิทมยหาลาวยั ิทเทยคาโลนยั โลเทยครี โานชโลมยงคีราลชกมรงงุ คเทลพกรงุ เทพ

การคาํ นวณระดบั คะแนนเฉลีย่ สะสม
(GPS. และ GPA.)

(๒๗(๒๖)) (๒คม่๗ู อื ๖นกั)ศึกคษ่มู าอื น๒กั ๕ศกึ๖ษ๓า ๒๕๖๓

มหาวิทยมาลหยัาวเทิทคยโานลโลยั ยเทีรคาชโนมโงลคยลรี กาชรมงุ งเทคพลกรงุ เทพ

ตวั อยาง การคาํ นวณระดับคะแนนเฉลีย่ สะสม( GPS. และ GPA. )

นักศึกษาสาขาวชิ าการจัดการ ลงทะเบียนภาคการศึกษาท่ี 1 ปก ารศึกษา 2563 (เทอม 1)

วิชาที่ลงทะเบียน หนว ยกติ ผลการศึกษา คา ระดบั คะแนน

(ระดบั คะแนน) (หนว ยกติ X ระดบั คะแนน)

1110101 การใชภาษาไทย 3 C 3X2=6

1211001 ภาษาองั กฤษทวั่ ไป 3 B+ 3 X 3.5 = 10.5

2210101 คณติ ศาสตร 3 B 3X3=9

5221101 หลักการจดั การ 3 D+ 3 X 1.5 = 4.5

5010001 กฎหมายธุรกิจ 3 B 3X3=9

5311103 เทคโนโลยีสารสนเทศ 3 C 3X2=6

ลงทะเบียน 18 หนว ยกติ สอบได 18 หนวยกติ คาระดบั คะแนนทไ่ี ด = 45

คะแนนเฉลย่ี ประจําภาค GPS. = 45 = 2.50

18

ลงทะเบียนภาคการศกึ ษาท่ี 2 ปก ารศกึ ษา 2563 (เทอม 2)

วชิ าทีล่ งทะเบยี น หนว ยกิต ผลการศกึ ษา คา ระดับคะแนน

(ระดบั คะแนน) (หนวยกติ X ระดับคะแนน)

1111205 เทคนคิ การเขียน 3C 3X2=6

1211002 ภาษาอังกฤษเพื่องาน 3 A 3 X 4 = 12

5111104 การบญั ชีเบ้อื งตน 3 #F 3X0=0

5221201 พฤติกรรมองคการ 3 D 3X1=3

5221203 ทฤษฎีองคก าร 3 B+ 3 X 3.5 = 10.5

1123001 สงั คมกบั เศรษฐกิจ 3C 3X2=6

ลงทะเบียน 18 หนว ยกติ สอบได 15 หนวยกติ คาระดบั คะแนนทไี่ ด = 37.5

คะแนนเฉลย่ี ประจําภาค GPS. = 37.5 = 2.08
18

คะแนนเฉลยี่ สะสม ( GPA. ) = 45+37.5 = 82.5 = 2.29

18 + 18 = 36

คค่มู มู่อื อืนนกั กัศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ (๒(๒(๗๓๗)๗๗))

มหมาหวาิทวยิทายลายั ลเยัทเคทโคนโนลโยลรี ยาีรชามชงมคงลคกลรกงุรเทงุ เพทพ

ลงทะเบยี นภาคการศกึ ษาที่ 1 ปการศึกษา 2564 (เทอม 3)

วชิ าที่ลงทะเบียน หนวยกิต ผลการศึกษา คา ระดับคะแนน
(ระดับคะแนน) (หนว ยกิต X ระดบั คะแนน)

5221311 จรยิ ธรรมทางธรุ กิจ 3 B+ 3 X 3.5 = 10.5

5221206 การจัดการธุรกิจท่ี 3 B+ 3 X 3.5 = 10.5

ยงั่ ยืน

5111104 การบญั ชีเบ้ืองตน 3 $D 3X1=3

5115201 การภาษีอากร 3 D 3X1=3

5123101 เศรษฐศาสตรจ ุลภาค 3 C 3X2=6

5222202 ภาวะผูนาํ 3B 3X3=9

ลงทะเบียน 18 หนวยกิต สอบได 18 หนว ยกิต คาระดับคะแนนที่ได = 42

คะแนนเฉลย่ี ประจาํ ภาค GPS. = 42 = 2.33

18

คะแนนเฉลยี่ สะสม ( GPA. ) = 45+37.5 + 42 = 124.5 = 2.44

18 + 18 + 15 = 51

หมายเหตุ # คือวิชาเรียนเนนไมน บั หนวยกติ
$ คือวิชาเรยี นเนนนับหนวยกิต

(๒๗(๒๘)) คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๓

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๓ (๒(๓๗) ๙)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

(๒๘(๒๐)) คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๓

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

มหาวทิ ยาลยั แหง่ การพฒั นาคนส่นู วัตกรรมและเทคโนโลยีเชงิ สร้างสรรค์


Click to View FlipBook Version