((๙๙(๒๒๒))) คคมู่ มู่ อื อื นนกั กั ศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓
มมหหาาววิทิทยยาาลลยัยั เเททคคโโนนโโลลยยีรรี าาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ
(๔) การกําหนดปริมาณการศึกษาของแตละรายวิชาใหกําหนดเปนหนวยกิต
ตามลกั ษณะการจดั การเรยี นการสอน ดงั น้ี
(ก) รายวิชาภาคทฤษฎี ใชเวลาบรรยายหรืออภิปรายปญหา ๑ ช่ัวโมงตอ
สัปดาห ตลอดหน่ึงภาคการศึกษาปกติ หรือจาํ นวนช่ัวโมงรวมไมนอยกวา ๑๕ ชวั่ โมง ใหนับเปน
หนึง่ หนวยกิต
(ข) รายวิชาภาคปฏิบัติ ใชเวลาฝกหรือทดลอง ๒ – ๓ ช่ัวโมงตอสัปดาห
ตลอดหน่ึงภาคการศึกษาปกติ หรือจํานวนช่ัวโมงรวม ระหวาง ๓๐ – ๔๕ ชั่วโมง ใหนับเปนหนึ่ง
หนวยกติ
(ค) การฝกงาน หรือการฝกภาคสนามที่ใชเวลาฝกไมน อยกวา ๔๕ ช่ัวโมง
ตอภาคการศึกษาปกติ ใหนบั เปน หนงึ่ หนว ยกติ
(ง) การทําโครงงานหรือกิจกรรมการเรียนอ่ืนใดตามท่ีไดรับมอบหมายที่
ใชเวลาทําโครงงานหรือกิจกรรมนั้น ๆ ไมนอยกวา ๔๕ ชั่วโมงตอ ภาคการศึกษาปกติ ใหนับเปน
หนึง่ หนวยกิต
(จ) การศึกษาบางรายวิชาที่มีลักษณะเฉพาะ มหาวิทยาลัยอาจกําหนด
หนว ยกิต โดยใชหลกั เกณฑอน่ื ไดความเหมาะสม
(๕) นักศึกษาตองมีเวลาศึกษาในแตละรายวิชา ไมนอยกวารอยละแปดสิบของเวลา
ศกึ ษาตลอดภาคการศึกษา จึงจะมีสิทธ์ิสอบในรายวิชาน้ัน กรณีที่เวลาศึกษาไมถึงรอยละแปดสิบ
อันเน่ืองมาจากเหตุสุดวิสัยจะตองไดรับอนุญาตจากอาจารยผูสอนประจํารายวิชาน้ันและรายงาน
ใหคณบดที ราบ
หมวดท่ี ๓
การลงทะเบียนเรียน
ขอ ๑๐ นักศึกษาตองลงทะเบียนเรียนโดยปฏิบัติตามหลักเกณฑท่ีมหาวิทยาลัย
กาํ หนด ดงั นี้
(๑) นักศึกษาตองลงทะเบียนเรียนในรายวิชาท่ีกําหนด ในแตละภาคการศึกษา
ใหเสร็จกอนวันเปด ภาคการศึกษานน้ั หรอื ตามระยะเวลาทีม่ หาวทิ ยาลัยกําหนด
(๒) การลงทะเบียนเรียนรายวิชาใดตองไดรับความเห็นชอบจากอาจารยท่ี
ปรึกษา และเปนไปตามขอกําหนดของหลักสูตรและขอกําหนดของคณะที่นักศึกษาสังกัด หาก
ฝา ฝน จะถอื วาการลงทะเบยี นเรียนดังกลาวเปนโมฆะ
คค่มู ม่อืู นอื นกั กศั ึกศึษกษา า๒๒๕๕๖๖๓๓ ((๙๙(๓๓๓) ))
มมหหาวาิทวิทยายลายัลเยั ทเทคคโนโนโลโยลรยี าีรชามชมงคงคลกลรกงรุ เงุทเทพพ
(๓) การลงทะเบียนเรียนในแตละภาคการศึกษาปกติ นักศึกษาจะตอง
ลงทะเบียนเรียนไมตํ่ากวา ๙ หนวยกิต แตไมเกิน ๒๒ หนวยกิต สําหรับภาคการศึกษา
ฤดูรอ นลงทะเบียนไดไมเกิน ๙ หนวยกิต ยกเวนในกรณีที่แผนการเรียนของหลักสตู รไดกําหนดไว
เปน อยางอ่ืน ใหป ฏบิ ัตติ ามแผนการเรยี นท่ีกาํ หนดไวในหลกั สูตรนั้น
(๔) การลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษาปกติที่มีจํานวน หนวยกิตมากกวา
๒๒ หนว ยกิต แตไ มเกิน ๒๕ หนวยกิตหรือนอ ยกวา ๙ หนว ยกติ ตองขออนุมตั คิ ณบดีและไดเพียง
หน่งึ ภาคการศึกษา ยกเวนภาคการศึกษาสดุ ทายทนี่ กั ศึกษาจะสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร และ
มหี นวยกติ เหลอื อยูไมเกิน ๒๕ หนวยกิต หรือนอยกวา ๙ หนวยกิต อาจขออนมุ ัติคณบดีเปนการ
เฉพาะราย ไดอกี หน่ึงภาคการศึกษาปกติ
(๕) นักศึกษาในรายกรณี เปนสหกิจศึกษา นักศึกษาฝกงานในสถาน
ประกอบการ และนักศึกษาฝกประสบการณการสอนในสถานศึกษา อนุญาตใหลงทะเบียนเรียน
๖ หนวยกติ ในภาคการศกึ ษานน้ั ได
(๖) นักศึกษาที่ไดลงทะเบียนเรียนกอนวันเปดภาคการศึกษาแลว แตมี
ประกาศภายหลังวาพนสภาพเนื่องจากผลการเรียนในภาคการศึกษากอน ใหถือวาผลการ
ลงทะเบียนเรยี นในภาคการศึกษาถัดมาเปน โมฆะ ไมมีผลผูกพนั มหาวิทยาลัย และนกั ศึกษามีสิทธิ์
ขอคืนเงนิ คา บาํ รงุ การศึกษา คา ลงทะเบียน คาธรรมเนียมการศกึ ษาซึ่งไดชําระในภาคการศึกษาท่ี
เปนโมฆะ
(๗) สําหรับภาคการศึกษาปกติ หรือภาคการศึกษาฤดูรอน นักศึกษาตอง
ลงทะเบียนเรียนและชําระเงินตามระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกําหนด นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน
และชําระเงินหลังวันที่มหาวิทยาลัยกําหนดไว จะตองชําระเงินคาธรรมเนียมเพ่ิมเติมเปนคาปรับ
ตามประกาศมหาวทิ ยาลัย
ในภาคการศึกษาปกติหากนักศึกษาไมลงทะเบียนเรียนและไมชําระเงิน
มหาวทิ ยาลยั จะถอนช่อื นักศกึ ษาผูนนั้ ออกจากทะเบยี นนกั ศึกษา
(๘) ในภาคการศึกษาปกติ หากนักศึกษาไมไดลงทะเบียนเรียน และประสงค
จะขอรักษาสภาพการเปนนักศึกษาเพ่ือลาพักการศึกษา หรือการขอปรับคาระดับ ม.ส. (I)
คะแนนใหยื่นคํารองตอคณบดี เมื่อไดรับอนุมัติแลวใหนําคํารองไปยื่นตอสํานักสงเสริมวิชาการ
และงานทะเบียน ภายในสามสิบวันนับจากวันเปดภาคการศึกษาน้ั น และตองชําระเงิน
((๙๙(๒๔๔))) คคมู่ ่มู อื อื นนกั กั ศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓
มมหหาาววิทิทยยาาลลยัยั เเททคคโโนนโโลลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ
คาธรรมเนียมเพื่อรักษาสภาพเปนนักศึกษาหรือคาการปรับระดับคะแนน หากไมปฏิบัติดังกลาว
มหาวิทยาลยั จะถอนชือ่ นักศกึ ษา ผนู ั้นออกจากทะเบยี นนักศึกษา
(๙) สําหรับภาคการศึกษาฤดูรอนนักศึกษาจะตองลงทะเบียนและชําระเงิน
ตามระยะเวลาท่ีมหาวิทยาลัยกําหนด หากไมปฏิบัติดังกลาว นักศึกษาไมมีสิทธิ์เขาศึกษาและถือ
วา การลงทะเบยี นเรียนในภาคการศึกษาฤดูรอนน้ันเปนโมฆะ
(๑๐) ใหอธิการบดีมีอํานาจอนุมัติใหนักศึกษาผูถูกถอนช่ือออกจากทะเบียน
นกั ศกึ ษาตาม (๖) (๗) กลับเขาเปน นกั ศึกษาใหมไดเ ปน กรณีพิเศษ เม่ือมีเหตผุ ลอันสมควรโดยให
ถือระยะเวลาท่ีถูกถอนชื่อออกจากทะเบียนนักศึกษาเปนระยะเวลาพักการศึกษา ทั้งนี้ตองไมพน
กําหนดระยะเวลาหน่ึงปน ับจากวนั ท่นี ักศกึ ษาผูนน้ั ถกู ถอนช่ือจากทะเบียนนักศกึ ษา โดยนักศึกษา
ตองชําระเงินคาธรรมเนียมเสมือนเปนผูลาพักการศึกษารวมทั้งคาคืนสภาพเปนนักศึกษา และ
คาธรรมเนยี มอน่ื ใดทค่ี างชําระตามประกาศมหาวิทยาลยั
ขอ ๑๑ กรณีท่ีมหาวิทยาลัยมีเหตุอันควรอาจประกาศงดการสอนรายวิชาใด
รายวิชาหนงึ่ หรือจาํ กดั จาํ นวนนักศกึ ษาท่ีลงทะเบียนเรยี นในรายวิชาใดก็ได
การเปดรายวิชาเพ่ิมหรือปดรายวิชาใดตองกระทําภายในสองสัปดาหแรก
นับจากวันเปด ภาคการศึกษาปกติ หรือภายในสปั ดาหแ รกนับจากวันเปดภาคการศกึ ษาฤดรู อ น
ขอ ๑๒ การลงทะเบยี นเรียนในรายวิชาทีม่ วี ิชาบังคับกอนมหี ลกั เกณฑ ดงั น้ี
(๑) การลงทะเบียนเรียนรายวิชาหนึ่งวิชาใดท่ีมีวิชาบังคับกอน นักศึกษา
จะตองสอบผานวิชาบังคับกอนหากฝาฝนจะถือวาการลงทะเบียนเรียนรายวิชานั้นเปนโมฆะ เวน
แตจะไดรับอนุมัติจากคณบดีกอนการลงทะเบียนเรียน และจะตองเปนนักศึกษาปสุดทายของ
หลักสูตรทจ่ี ะสาํ เร็จการศกึ ษาในปการศกึ ษานนั้
(๒) นักศึกษาท่ีลงทะเบียนเรียนรายวิชาตอเน่ืองควบคูกับรายวิชาบังคับกอน
หากงดเรียนรายวิชาบังคับกอน จะตองงดเรียนรายวิชาตอเน่ืองคราวเดียวกันดวย หากไมงดเรียน
รายวชิ าตอ เน่ืองจะถือวา การลงทะเบยี นเรียนรายวชิ าตอเน่ืองนั้นเปนโมฆะ
ขอ ๑๓ มหาวิทยาลัยกําหนดหลกั เกณฑการลงทะเบียนเรียนขา มสถานศกึ ษา ดังน้ี
(๑) นักศึกษาสามารถลงทะเบียนเรียนขามสถานศึกษาไดในแตละภาค
การศกึ ษา หากเปน การลงทะเบียนเพอื่ เพม่ิ พนู ความรปู ระเภทไมนบั หนว ยกิต
(๒) นักศึกษาท่ีประสงคจะลงทะเบียนเรียนขามสถานศึกษาเพื่อนับหนวยกิต
ในหลักสตู รจะตองเปน ไปตามเงอื่ นไข ดังนี้
คค่มู ม่อืู นอื นกั กศั กึศึษกษา า๒๒๕๕๖๖๓๓ ((๙๙(๓๕๕)))
มมหหาวาิทวิทยายลายัลเยั ทเทคคโนโนโลโยลรยี าีรชามชมงคงคลกลรกงรุ เงุทเทพพ
(ก) เปนนักศึกษาภาคการศึกษาสุดทายท่ีจะสําเร็จการศึกษา และ
รายวชิ าที่จะเรยี นไมเปด สอนในภาคการศึกษาน้นั
(ข) รายวิชาท่ีจะลงทะเบียนเรียนในสถานศึกษาอื่น จะตองเทียบไดกับ
รายวิชาตามหลักสูตรของมหาวิทยาลัย การเทียบใหอยูในดุลยพินิจของภาควิชาและคณะเจาของ
รายวิชาโดยถอื เกณฑเ นอ้ื หาและจํานวนหนว ยกิตเปนหลัก สว นการอนุมตั ิใหล งทะเบยี นเรียนขา ม
สถานศกึ ษาใหเปนอาํ นาจของคณบดีทีน่ ักศึกษาสงั กดั อยู
(๓) การเรียนขามสถานศึกษา ใหนักศึกษาย่ืนคํารองขอเรยี นขามสถานศึกษา
ตอคณบดีเพื่อพิจารณาและนักศึกษาชําระเงินตามประกาศที่มหาวิทยาลัยกําหนดไวให
เรียบรอย หลังจากนั้นจึงไปดําเนินการ ณ สถานศึกษาที่นักศึกษาตองการลงทะเบยี นเรียนขาม
สถานศกึ ษา
(๔) กรณีนักศึกษาจากสถาบันการศึกษาอื่นมีความประสงคจะเรียนขาม
สถานศึกษาใหปฏบิ ัตติ ามประกาศมหาวทิ ยาลยั
ขอ ๑๔ นักศึกษาอาจขอเพิ่มหรือถอนรายวชิ าไดโดยตองดําเนนิ การ ดงั น้ี
(๑) การขอเพ่ิมรายวิชา ตองกระทําภายในสัปดาหท่ีสองของภาคการศึกษา
ปกติ และภายในสัปดาหแรกของภาคการศึกษาฤดูรอ น
(๒) การถอนรายวิชาใหมผี ล ดังนี้
(ก) ถาถอนรายวิชาในสัปดาหที่สองของภาคการศึกษาปกติ และ
ภายในสัปดาหแรกของภาคการศึกษาฤดูรอนรายวิชาน้ันจะไมปรากฏในใบแสดงผลการศึกษา
(ข) ถาถอนรายวิชาเมื่อพนกําหนดสัปดาหท่ีสอง แตยังอยูภายในสิบ
สองสัปดาหของภาคการศึกษาปกติ หรือเมื่อพนกําหนดสัปดาหแรกของภาคการศึกษาฤดูรอน
แตยังอยูภายในหาสัปดาหแรกของภาคการศึกษาฤดูรอนจะตองไดรับความเห็นชอบจาก
อาจารยที่ปรึกษา โดยรายวิชานั้นจะปรากฏในใบแสดงผลการศึกษา ซึ่งจะไดรับคะแนนถอน
รายวิชา หรือ ถ และเมื่อพนกําหนดการถอนรายวิชาแลว นักศึกษาจะถอนการลงทะเบียน
เฉพาะรายวิชาไมได
(๓) การลงทะเบียนเรียนรายวิชาเพิ่มจนมีจํานวนหนวยกิต สูงกวา หรือ
การถอนรายวิชาจนเหลือจํานวนหนวยกิตตํ่ากวาท่ีระบุไวในขอ ๑๐ (๔) จะทํามิไดหากฝาฝนจะ
ถือวาการลงทะเบียนเรียนดังกลาวเปนโมฆะ เวนแตจะมีเหตุผลอันควรและไดรับอนุมัติจาก
คณบดี
((๙๙(๒๖๖))) คคมู่ ่มู อื อื นนกั กั ศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓
มมหหาาววิทิทยยาาลลยัยั เเททคคโโนนโโลลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ
หมวดท่ี ๔
การลาของนักศึกษา
ขอ ๑๕ นกั ศึกษามสี ทิ ธลิ์ าพักการศึกษาในระหวา งการศกึ ษา ดงั นี้
(๑) การลาพักการศึกษาเปนการลาพักท้ังภาคการศึกษา และถาไดลงทะเบียน
ไปแลวใหยกเลิกการลงทะเบียนเรียน โดยรายวิชาที่ไดลงทะเบียนเรียนทั้งหมดในภาคการศึกษา
น้ัน จะไมปรากฏในใบแสดงผลการศึกษา แตหากเปนการลาพักการศึกษาหลังจากสัปดาหท่ีสิบ
สองในระหวางภาคการศึกษาปกติหรือสัปดาหที่หกในระหวางภาคการศึกษาฤดูรอน ใหบันทึก
ระดับคะแนนถอนรายวิชา หรอื ถ
(๒) การขอลาพกั การศึกษา ใหแสดงเหตุผลความจําเปนพรอมกับมหี นังสอื ย่ืน
ตอคณบดี
(๓) นักศึกษาอาจย่ืนคํารองตอคณบดี เพื่อขออนุญาตลาพักการศึกษาไดไม
เกนิ สองภาคการศกึ ษาปกติติดตอ กัน ในกรณีตอ ไปน้ี
(ก) ถูกเกณฑหรือระดมเขารับราชการทหารกองประจําการ
(ข) ไดรับทุนแลกเปลี่ยนนักศึกษาระหวางประเทศหรือทุนอื่นใด ซึ่ง
มหาวิทยาลัยเห็นสมควรสนับสนุน
(ค) ประสบอุบัติเหตุ ภยันตราย หรือเจ็บปวย จนตองพักรักษาตัวตาม
คาํ ส่ังแพทยเปนเวลานานเกินกวารอยละย่ีสิบของเวลาศึกษาท้ังหมด โดยมีใบรับรองแพทย
(ง) มีความจําเปนสวนตัว โดยนักศึกษาผูนั้นไดศึกษาในมหาวิทยาลัย
มาแลวไมนอยกวาหน่ึงภาคการศึกษา
(๔) ในภาคการศึกษาแรกที่ข้ึนทะเบียนเปนนักศึกษาของมหาวิทยาลัย
นกั ศกึ ษาจะลาพักการศึกษาไมได เวนแตจะไดรบั อนมุ ัตจิ ากอธิการบดี เปนกรณีพเิ ศษ
(๕) ในการลาพักการศึกษา นักศึกษาจะลาพักการศึกษาเกินกวาสองภาค
การศึกษาปกติตดิ ตอกนั ไมได เวนแตจ ะไดร ับอนุมตั จิ ากอธกิ ารบดี เปน กรณพี ิเศษ
(๖ ) นักศึกษาจะตองชําระคารักษาสภาพการเปนนักศึกษาตามประกาศของ
มหาวิทยาลัยทุกภาคการศึกษาที่ไดรับอนุมัติใหลาพักการศึกษา หากไมปฏิบัติจะถูกถอนชื่อออก
จากทะเบียนนักศึกษา ยกเวนภาคการศึกษาท่ีนักศึกษาไดชําระเงินคาบํารุงการศึกษา
คาลงทะเบียนเรียน คาธรรมเนียมการศึกษา และคาอ่ืนใดตามประกาศของมหาวิทยาลัย โดย
มหาวิทยาลัยจะไมค ืนเงนิ ดังกลา วให แตน กั ศกึ ษาไมต อ งชาํ ระเงินคา รักษาสภาพการเปน นักศึกษา
คคมู่ ม่อืู นอื นกั กศั ึกศึษกษา า๒๒๕๕๖๖๓๓ ((๙๙(๓๗๗) ))
มมหหาวาิทวิทยายลายัลเยั ทเทคคโนโนโลโยลรยี าีรชามชมงคงคลกลรกงรุ เงุทเทพพ
(๗) การลาพักการศึกษาไมวาดวยเหตุใดหรือการกลับเขาศึกษาใหมหรือการ
ถูกใหพักการศึกษาแลวแตกรณี ไมเปนเหตุใหขยายระยะเวลาการศึกษาเกินกวาสองเทาของ
แผนการเรียนตามหลักสูตร นับแตวันขึ้นทะเบียนเปนนักศึกษาของมหาวิทยาลัย ยกเวนภาค
การศกึ ษาฤดรู อน
ขอ ๑๖ นกั ศึกษาท่ีปวยหรือมีเหตุสุดวิสัย ทําใหไมสามารถเขาสอบปลายภาค
ได นักศึกษาตองขอผอนผันการสอบตออาจารยผูสอนรายวิชานั้นภายในวนั ถัดไป หลงั จากทม่ี ีการ
สอบปลายภาครายวิชานั้น เวนแตจะมีเหตุอันสมควร คณะกรรมการประจําคณะเปนผูพิจารณา
การขอผอนผันดังกลาว โดยอาจอนมุ ัติใหไดระดับคะแนนไมสมบูรณหรอื ม.ส. หรือใหยกเลิกการ
ลงทะเบียนเรียนรายวิชาน้ันเปนกรณีพิเศษ โดยใหไดระดับคะแนน ถอนรายวิชา หรือ ถ หรือไม
อนุมตั กิ ารขอผอ นผนั โดยใหถอื วา ขาดสอบก็ได
ขอ ๑๗ นกั ศึกษาอาจลาออกจากการเปนนักศึกษาไดโดยยนื่ คํารองขอลาออก
ตอ คณะท่นี กั ศึกษาสงั กัด และตอ งไมมีหนสี้ ้นิ กับมหาวทิ ยาลัย ท้งั นี้ตอ งไดรับอนุมตั จิ ากคณบดี
หมวดท่ี ๕
การยายคณะและการเปลี่ยนสาขาวชิ า
ขอ ๑๘ นักศึกษาอาจยายคณะหรือเปลี่ยนสาขาวิชาไดตามหลักเกณฑท่ี
มหาวทิ ยาลัยกาํ หนดดังนี้
(๑) นักศกึ ษาทป่ี ระสงคจะยา ยคณะ ตองไดร ับอนมุ ัตจิ ากคณบดีของคณะ
ท่ีนักศกึ ษาสงั กดั และคณบดีของคณะทน่ี ักศึกษาประสงคจะยา ยเขา ศกึ ษา
(๒) นักศกึ ษาที่ประสงคจะเปลย่ี นสาขาวชิ าในคณะ จะกระทําไดก็ตอ เม่ือ
ไดร บั ความเห็นชอบจากคณบดีของคณะท่นี กั ศกึ ษาสงั กัด
หมวดท่ี ๖
การวดั และประเมนิ ผลการศึกษา
ขอ ๑๙ มหาวิทยาลัยกําหนดหลักเกณฑการวัดและประเมินผลการศึกษา ให
คณะที่เปดสอนในมหาวิทยาลัย จัดการวัดและประเมินผลการศึกษาสําหรับรายวิชาที่นักศึกษา
ลงทะเบียนเรียนไวในแตละภาคการศึกษาหนึ่ง โดยการประเมินผลการศึกษาในแตละรายวิชาให
กําหนดเปนระดับคะแนน คาระดับคะแนนตอหนวยกิตและผลการศึกษาตามประกาศของ
มหาวทิ ยาลัย
((๙๙(๒๘๘))) คคมู่ มู่ อื อื นนกั กั ศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ หมวดท่ี ๗
มมหหาาววิทิทยยาาลลยัยั เเททคคโโนนโโลลยยีรรี าาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ
การพนสภาพการเปน นักศึกษา
ขอ ๒๐ นักศกึ ษาจะพนสภาพการเปน นักศกึ ษาเมื่อ
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) ไดศึกษาสําเร็จครบหลักสูตรตามท่ีมหาวิทยาลัยกําหนด และไดรับการ
อนมุ ัตปิ รญิ ญา
(๔) พน สภาพเนือ่ งจากถกู ถอนชอ่ื การเปน นักศกึ ษาตามขอ ๑๐(๗)
(๕) ไมผ านเกณฑการวัดผลและประเมินผลตามประกาศของมหาวทิ ยาลัย
(๖) ใชระยะเวลาการศกึ ษาเกนิ กวาสองเทา ของแผนการเรยี นตามหลักสูตร นับ
แตวันข้ึนทะเบียนเปนนักศึกษาของมหาวิทยาลัย ยกเวนภาคการศึกษาฤดูรอน ท้ังน้ีสําหรับ
นักศึกษาที่เทียบโอนผลการเรียน ยายคณะหรือสาขาวิชา ใหนับเวลาที่เคยศึกษาอยูใน
สถานศกึ ษาเดิมรวมเขา ดวยกัน
หมวดท่ี ๘
การขอสาํ เร็จการศึกษา การขอข้ึนทะเบยี นบณั ฑติ
ขอ ๒๑ นกั ศึกษาจะมสี ทิ ธิขอสําเร็จการศกึ ษาตองมคี ุณสมบตั ิ ดงั นี้
(๑) ตองศึกษารายวิชาใหครบตามหลักสตู ร และขอกาํ หนดของสาขาวิชานน้ั
(๒) มีหนวยกิตสะสมไมตํ่ากวาที่หลักสูตรกําหนดไว และไดคาระดับคะแนนเฉล่ีย
สะสมไมตา่ํ กวา ๒.๐๐
(๓) เปนผูมีคุณสมบัติเหมาะสมกับการเปนบัณฑิต และไมมีหน้ีสินผูกพันตอ
มหาวิทยาลัย
(๔) การย่ืนคํารองขอสําเร็จการศึกษา ตองยื่นตอสํานักสงเสริมวิชาการและงาน
ทะเบียน ทุกภาคการศึกษาที่นักศึกษาคาดวาจะสําเร็จการศึกษาภายในสามสิบวัน นับแตวันเปดภาค
การศึกษาน้นั จนกวานกั ศกึ ษาจะสาํ เร็จการศึกษาตามประกาศสภามหาวทิ ยาลัย
(๕) นักศึกษาท่ไี มดาํ เนนิ การตาม (๔) จะไมไ ดร ับการพิจารณาเสนอชื่อเพือ่ รับปรญิ ญา
ในภาคการศึกษาน้นั และจะตองชําระคารกั ษาสภาพเปน นักศกึ ษาทกุ ภาคการศกึ ษา จนถงึ ภาคการศึกษา
ท่นี กั ศึกษายนื่ คํารองขอสาํ เรจ็ การศกึ ษา
ขอ ๒๒ คค่มู ม่อืู นอื นกั กศั ึกศึษกษา า๒๒๕๕๖๖๓๓ ((๙๙(๓๙๙) ))
มมหหาวาิทวิทยายลายัลเยั ทเทคคโนโนโลโยลรยี าีรชามชมงคงคลกลรกงรุ เงุทเทพพ
นักศึกษาท่ีสําเร็จการศึกษาตอ งขอขึ้นทะเบียนบณั ฑิต โดยย่ืนคํารองขึ้นทะเบียน
บัณฑิตตอสํานักสงเสริมวิชาการและงานทะเบียน พรอมชําระเงินคาข้ึนทะเบียนบัณฑิต ทั้งน้ี
จะตอ งดาํ เนินการตามขัน้ ตอนของมหาวิทยาลยั
ขอ ๒๓ การเสนอช่ือเพ่อื รบั ปริญญาใหเ ปน ไปตามประกาศของมหาวทิ ยาลยั
หมวดที่ ๙
ปรญิ ญาเกยี รตนิ ิยมและเหรียญเกียรตนิ ิยม
ขอ ๒๔ นักศึกษาท่ีจะไดรับการเสนอช่ือเพ่ือรับปริญญาเกียรตินิยมตองเปนไปตาม
หลกั เกณฑ ดังน้ี
(๑) ลงทะเบียนรายวิชาในมหาวิทยาลัยไมต่ํากวา ๗๒ หนวยกิต สําหรับ
หลักสูตร ๒ – ๓ ปการศึกษา หรือไมต่ํากวา ๑๒๐ หนวยกิต สําหรับหลักสูตร ๔ ปการศึกษา
หรือไมต า่ํ กวา ๑๕๐ หนวยกติ สําหรบั หลักสูตร ๕ ปก ารศกึ ษา
(๒) สําเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาท่ีหลักสูตรกําหนด ทั้งน้ีไมนับระยะเวลา
ทน่ี ักศกึ ษาขอลาพักการศึกษาตามขอบงั คบั น้ี
(๓) ตองไมมีผลการศึกษาที่อยูในเกณฑข้ันไมพอใจ หรือ ม.จ. (U) หรือตํ่ากวา
ระดบั คะแนนขนั้ พอใชห รือ ค (C) ในรายวชิ าใดวิชาหนึง่
(๔) นักศึกษาผูสําเร็จการศึกษาที่มีคุณสมบัติครบถวนตาม (๑) (๒) และ (๓) ที่
มีคาระดับคะแนนเฉล่ียสะสมไมต่ํากวา ๓.๗๕ จะไดรับการเสนอชื่อเพื่อรับปริญญาเกียรตินิยม
อนั ดบั ๑
(๕) นักศึกษาผูสําเร็จการศกึ ษาที่มีคุณสมบัติครบถว นตาม (๑) (๒) และ (๓) ที่
มีคาระดบั คะแนนเฉล่ยี ไมต ่าํ กวา ๓.๕๐ จะไดร ับการเสนอชอ่ื เพ่อื รบั ปริญญาเกยี รตนิ ิยมอันดับ ๒
(๖) การเสนอชื่อเพ่ือรับปริญญาเกียรตินิยม ใหมหาวิทยาลัยนําเสนอตอสภา
มหาวทิ ยาลยั ในคราวเดียวกนั กับทีเ่ สนอขออนมุ ตั ปิ รญิ ญาประจาํ ภาคการศกึ ษานัน้
ขอ ๒๕ การใหเ กยี รตินยิ มเหรียญทองหรอื เกียรตนิ ยิ มเหรียญเงิน
(๑) ใหมหาวิทยาลัยจัดใหมีเหรียญเกียรตินิยมแกผูสําเร็จการศึกษา ที่มีผล
การศึกษาดีเดน โดยแยกเปนคณะ
(๒) เกียรตินิยมเหรียญทองใหแกผูสําเร็จการศึกษา ที่ไดปริญญาเกียรตินิยม
อันดับ ๑ ท่ไี ดค าระดับคะแนนเฉลย่ี สะสมสงู สุดในแตล ะคณะ
((๑๑๐(๐๒๐๐))) คคมู่ ่มู อื อื นนกั กั ศศึกกึ ษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓
มมหหาาววิทิทยยาาลลยัยั เเททคคโโนนโโลลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ
(๓) เกียรตินิยมเหรียญเงินใหแกผูสําเร็จการศึกษา ที่ไดคาระดับคะแนนเฉล่ีย
สะสมเปนท่ีสอง และจะตองไดปริญญาเกียรตินิยมอันดับ ๑ หรือ ๒ ในแตละคณะ กรณีผูสําเร็จ
การศึกษาไดคาระดับคะแนนเฉล่ียสะสมสูงสุด แตไดปริญญาเกียรตินิยมอันดับ ๒ ในแตละคณะ
ใหเกียรตนิ ิยมเหรียญเงิน
การเสนอชื่อเพื่อรับเหรียญเกียรตินิยม ใหสํานักสงเสริมวิชาการและงาน
ทะเบียนดําเนินการ ปการศึกษาละหน่ึงคร้ัง และใหอธิการบดีนําเสนอตอสภามหาวิทยาลัยเพื่อ
พิจารณาอนุมัติในคราวเดียวกันกับท่ีเสนอขออนุมัติปริญญาประจําภาคการศึกษาสุดทายของป
การศกึ ษา
หมวดท่ี ๑๐
บทเฉพาะกาล
ขอ ๒๖ ภายใตบังคับขอ ๖ – ๑๘ ใหมีผลใชบังคับกับนักศึกษาท่ีไดลงทะเบียน
เรยี นกอ นขอบงั คับน้มี ีผลใชบังคับโดยอนุโลม
ขอ ๒๗ ภายใตบังคับขอ ๑๙ ขอ ๒๔ (๑) (๔) (๕) ไมใหมีผลใชบังคับนักศึกษาที่
เขาเปนนักศึกษากอนปการศึกษา ๒๕๕๐ โดยใหนักศึกษาท่ีเขากอนปการศึกษา ๒๕๕๐ ใช
ขอบังคับสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วาดวยการศึกษาระดับปริญญา พ.ศ. ๒๕๓๗ ซ่ึงแกไข
เพิ่มเติมขอบังคับสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วาดวยการศึกษาระดับปริญญา (ฉบับท่ี ๒)
พ.ศ. ๒๕๔๑ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๓ (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๔๗
จนกวา จะสาํ เรจ็ การศึกษาโดยอนโุ ลม
ประกาศ ณ วันท่ี ๒๗ เดือน กมุ ภาพันธ พ.ศ. ๒๕๕๐
(ลงชื่อ) จรวยพร ธรณนิ ทร
(นางจรวยพร ธรณินทร)
ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
นายกสภามหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
คคมู่ ม่อืู นอื นกั กศั ึกศึษกษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ (๑(๑(๐๓๐)๑๑))
มมหหาวาิทวิทยายลายัลเยั ทเทคคโนโนโลโยลรยี าีรชามชมงคงคลกลรกงรุ เงุทเทพพ
ระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
วา ดว ย การแตงกายของนักศึกษา พ.ศ.๒๕๕๘
..............................................................................
เพื่อใหการแตงกายนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มีความ
เรียบรอยเหมาะสมกับสภาพการเปนนักศึกษา และเปนเอกลักษณของนักศึกษามหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๗ (๒) แหงพระราชบัญญัติ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. ๒๕๔๘ และมติสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรงุ เทพ ในการประชมุ ครั้งท่ี ๕/๒๕๕๑ เมอื่ วนั ท่ี ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๑ จึงวางระเบียบไวด ังนี้
ขอ ๑ ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพฯ
วา ดวยการแตง กายของนกั ศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๘”
ขอ ๒ ใหยกเลิกระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพฯ วาดวยการ
แตง กายของนกั ศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๖ และใหใ ชร ะเบียบนีแ้ ทน
ขอ ๓ ระเบยี บนี้ใหใชบ ังคับตั้งแตวันถัดจากวนั ประกาศเปน ตนไป
ขอ ๔ ในระเบยี บน้ี
“มหาวทิ ยาลัย” หมายความวา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
“สภามหาวิทยาลัย” หมายความวา สภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรงุ เทพ
“อธิการบดี” หมายความวา อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรงุ เทพ
“นักศึกษา” หมายความวา ผูเขารับการศึกษาในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลกรุงเทพ
“สวนราชการ” หมายความวา คณะ วิทยาลัย สถาบัน สํานัก หรือ
สวนราชการท่ีเรียกช่ืออยางอื่นท่ีมีฐานะเทียบเทาคณะที่มีหนาที่จัดการเรียนการสอน ท่ีมีอยูใน
วันทพ่ี ระราชบญั ญตั ิมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. ๒๕๔๘
“คณะ” หมายความวา คณะตาง ๆ ท่ีจัดการเรียนการสอนระดับ
ปริญญาตรี ปรญิ ญาโท และปรญิ ญาเอก
((๑๑๐(๐๒๒๒))) คคมู่ มู่ อื อื นนกั กั ศศึกกึ ษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓
มมหหาาววิทิทยยาาลลยัยั เเททคคโโนนโโลลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ
ขอ ๕ เครื่องแบบปกติ
๕.๑ นกั ศึกษาชาย มลี กั ษณะ ดงั น้ี
(๑) ทรงผมแบบสุภาพ ไมไ วห นวด และเครา
(๒) เสื้อเช้ิตแขนส้ัน หรือแขนยาวสีขาวทางสุภาพ กลัดกระดุม
สีขาวทุกเม็ด มีกระเปาขนาดเหมาะสมที่อกเบ้ืองซาย เวลาสวมใหสอดชายเสื้อไวในกางเกงให
เรยี บรอ ย
(๓) กางเกงขายาวแบบสากล ทรงสุภาพ ไมรัดรูปหรือหลวม
เกนิ ไป มีหูเขม็ ขัด เย็บดวยผาสีเดยี วกนั ผาพืน้ สดี ํา หรอื สกี รมทา ไมม ีลวดลาย
(๔) สายเข็มขัดหนังสีดํา ไมมีลวดลาย หัวเข็มขัดเคร่ืองหมาย
มหาวิทยาลยั ตามแบบที่มหาวิทยาลัยกําหนด
(๕) รองเทา หมุ สนสดี ํา ทรงสุภาพ
(๖) ถุงเทาสีดํา หรือสที ก่ี ลมกลืนกับรองเทา ไมมีลวดลาย
๕.๒ นกั ศึกษาหญิง มลี กั ษณะ ดังนี้
(๑) ทรงผม แบบสุภาพ ไมส้ัน หรือยาวเกินไป และรัดผมให
เรยี บรอย
(๒) เสื้อเชิ้ตสีขาวแขนส้ันเพียงศอก ปลายแขนปลอยตรง ไมผา
ปลายแขน ไมบางเกินควร ไมร ัดรูปและหลวมเกินไป ไมมีลวดลาย ผาหนาตลอด กระดุมสีเงิน
ลายดุนนูนตราสัญลักษณมหาวิทยาลัย ตัวเส้ือมีความยาวเพียงพอสําหรับใหกระโปรงทับได
เวลาสวมใหส อดชายเสือ้ ไวใ นกระโปรงใหเ รียบรอ ย
(๓) เข็มกลัดเส้ือตราสัญลักษณมหาวิทยาลัย กลัดอกเส้ือ
เบือ้ งซาย
(๔) กระโปรง เอวสูง แบบสุภาพ ไมรัดรูป ไมสั้นเกินไป
ผา เน้อื เรียบ ไมม ลี วดลาย สดี ํา หรอื สกี รมทา
(๕) สายเข็มขัดหนังสีดํา หัวเข็มขัดเครื่องหมายมหาวิทยาลัย
ตามแบบท่มี หาวทิ ยาลัยกาํ หนด
(๖) รองเทา หนงั หรือผาใบหุมสนสดี าํ ไมม ลี วดลาย ทรงสภุ าพ
คค่มู ม่อืู นอื นกั กศั ึกศึษกษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ (๑(๑(๓๐๐)๓๓))
มมหหาวาิทวิทยายลายัลเยั ทเทคคโนโนโลโยลรยี าีรชามชมงคงคลกลรกงรุ เงุทเทพพ
๕.๓ นักศึกษาท่ีเปนขาราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ หรือภาคเอกชน
อนญุ าตใหแ ตงเครื่องแบบของหนวยงานเขา เรียนได แตไ มอนุญาตใหขาราชการทหารหรือตํารวจ
พกพาอาวธุ ปน เขา ชัน้ เรยี น
ขอ ๖ เครอ่ื งแตง กายในการเขารวมพิธกี าร
๖.๑ นกั ศกึ ษาชาย ใหมลี กั ษณะดังน้ี
(๑) เสื้อเช้ิตสีขาวแขนยาวถึงขอมือ ไมพับปลายแขน ไมรัดรูป และไม
หลวมเกินไป ไมมีลวดลาย ผาหนาตลอด ติดกระดุม ๕ เม็ดมีกระเปาขนาดพอเหมาะที่อก
เสอื้ เบอื้ งซา ย ตวั เส้อื มีความยาวเพยี งพอสาํ หรับใหกางเกงทบั ได เวลาสวมใหส อดชายเสอื้ ไวใน
กางเกงใหเ รียบรอย
(๒) เนคไทสีเขียวเขมตามแบบท่ีมหาวิทยาลัยกําหนด กลัดเข็มตรา
สัญลกั ษณมหาวทิ ยาลัย
(๓) กางเกงขายาวแบบสากล ทรงสุภาพ เชนเดียวกับเครือ่ งแตงกายปกติ
สีกรมทา
(๔) สายเข็มขัดหนังสีดํา หัวเข็มขัด มีเคร่ืองหมายมหาวิทยาลัยตามแบบท่ี
มหาวิทยาลยั กาํ หนด
(๕) รองเทา หนังหุม สนสดี าํ ไมม ีลวดลาย ทรงสุภาพ
(๖) ถุงเทา สีดาํ ไมม ลี วดลาย
๖.๒ นกั ศกึ ษาหญิง มีลกั ษณะ ดังนี้
(๑) เสื้อเช้ิตสีขาว แขนส้ันเพียงศอก ปลายแขนปลอยตรง ไมผาปลาย
แขน ไมบางเกินควร ไมรัดรปู และไมหลวมเกนิ ไป ไมมีลวดลาย ผาหนาตลอด ติดกระดุมสีเงิน
ลายดุนนูนตราสัญลักษณมหาวิทยาลัย กลัดกระดุมคอเส้ือ ตวั เสื้อมีความยาวเพียงพอสําหรับให
กระโปรงทบั ได เวลาสวมใหสอดชายเสื้อไวในกระโปรงใหเ รียบรอย
(๒) เข็มสญั ลกั ษณมหาวทิ ยาลัย กลัดบนอกเสือ้ เบอ้ื งซา ย
(๓) กระโปรงทรงตรง เอวสูง ดานหลังผาปายแบบสุภาพ ไมรัดรูป
ยาวเสมอเขา ผา เนอ้ื เรยี บ ไมมลี วดลาย สกี รมทา
(๔) สายเข็มขัดหนังสีดํา หัวเขม็ ขัด มีเคร่ืองหมายมหาวทิ ยาลยั ตามแบบท่ี
มหาวิทยาลยั กําหนด
(๕) รองเทาหนังหมุ สน สดี ํา ไมม ีลวดลาย ทรงสภุ าพ
((๑๑๐(๐๒๔๔))) คคมู่ ่มู อื อื นนกั กั ศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓
มมหหาาววิทิทยยาาลลยัยั เเททคคโโนนโโลลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ
(๖) ถุงนองสีเน้ือ ไมมีลวดลาย
ขอ ๗ เครื่องแตงกายชุดปฏิบัติการและชุดกีฬา ใหแตงเฉพาะในชั่วโมง
ปฏบิ ตั กิ าร หรือในชว่ั โมงพลศึกษาและนันทนาการ
ขอ ๘ ในการเขา เรยี นภาคทฤษฎี ใหสวมใสเครื่องแบบปกติ
ขอ ๙ ใหอธิการบดีมีอํานาจสั่งการใหมีการปฏิบัติตามท่ีเห็นสมควรได
และหากมปี ญหาเกีย่ วกับการใชร ะเบยี บน้ี ใหอ ธิการบดเี ปนผูวนิ ิจฉยั
ประกาศ ณ วันท่ี ๒๘ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
(ลงชื่อ) สาธิต พทุ ธชัยยงค
(นายสาธติ พทุ ธชยั ยงค)
อธิการบดีมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ
คคมู่ ม่อืู นอื นกั กศั กึศึษกษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ ((๑๑(๓๐๐)๕๕))
มมหหาวาิทวิทยายลายัลเยั ทเทคคโนโนโลโยลรยี าีรชามชมงคงคลกลรกงรุ เงุทเทพพ
ระเบยี บมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
วาดวยวินยั นักศึกษาและผมู าขอรบั บริการทางวิชาการ พ.ศ.๒๕๕๗
___________________________
โดยที่เห็นเปนการสมควรมีระเบียบเก่ียวกบั วินัยนักศึกษา เพ่ือมารยาทและความประพฤติ
อันดงี ามความเปน ระเบียบเรียบรอยของนักศึกษาและรักษาไวซ ง่ึ ช่อื เสียงของมหาวทิ ยาลัย
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๗(๒) แหงพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคล พ.ศ.๒๕๔๘ สภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ไดมอบอํานาจให
มหาวิทยาลัยออกระเบียบเก่ียวกับวินัยนักศึกษาตามมติสภามหาวิทยาลัย ในการประชุมคร้ังที่
๕/๒๕๕๑ เม่ือวันอังคารที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๑ จึงกําหนดระเบียบเกี่ยวกับวินัยนักศึกษาไว
ดงั ตอ ไปน้ี
หมวดท่ี ๑
บททั่วไป
ขอที่ ๑ ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ วาดวย
วินยั นักศกึ ษาและผูม าขอรับบรกิ ารทางวิชาการ พ.ศ. ๒๕๕๗”
ขอท่ี ๒ ระเบียบนี้ใชบ ังคบั ตั้งแตวนั ถดั จากทปี่ ระกาศเปน ตน ไป
ขอที่ ๓ ใหยกเลิก “ระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ วาดวยวินัย
นักศึกษาและผมู ารับบริการทางวชิ าการ พ.ศ.๒๕๕๖”
บรรดาขอความในขอบังคับ ระเบียบ คําสั่ง หรือประกาศอ่ืนใดในสวนท่ีกําหนดไวแลว
ในระเบยี บน้ีหรือซง่ึ ขัดแยงกบั ความในระเบียบนี้ใหใชความในระเบียบนีแ้ ทน
ขอ ท่ี ๔ ในระเบยี บน้ี
“มหาวิทยาลัย” หมายความวา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
“อธกิ ารบดี” หมายความวา อธิการบดมี หาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
“คณ ะ” หมายความวา สวนราชการท่ี จัดตั้งขึ้นตามมาตรา ๘ (๔) แหง
พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. ๒๕๔๘ ท่ีจัดการเรียนการสอนในระดับ
ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท และปรญิ ญาเอกในมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
“คณบดี” หมายความวา หัวหนาสวนราชการระดับคณะ หรอื หัวหนาสวนราชการ
ท่เี รียกช่ืออยางอนื่ ทม่ี ีฐานะเทียบเทาคณะท่ีมีการจัดการเรยี นการสอนในสว นราชการนัน้
((๑๑๐(๐๒๖๖))) คคมู่ มู่ อื อื นนกั กั ศศึกกึ ษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓
มมหหาาววิทิทยยาาลลยัยั เเททคคโโนนโโลลยยีรรี าาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ
“สํานัก” หมายความวา สวนราชการที่จัดตั้งข้ึนตามมาตรา ๘(๖) แหง
พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ.๒๕๔๘ หรือจัดต้ังข้ึนตามมติสภา
มหาวทิ ยาลยั ทม่ี ีฐานะเทยี บเทา คณะ ในสงั กัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
“สถาบัน” หมายความวา สวนราชการที่จัดต้ังขึ้นตามมาตรา ๘(๕) แหง
พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ.๒๕๔๘ ในสังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลกรุงเทพ
“วิทยาลัย” หมายความวา สวนราชการท่ีจัดตั้งข้ึนตามมาตรา๘(๗) แหง
พระราชบญั ญัตมิ หาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ.๒๕๔๘
“ผูอํานวยการ” หมายความวา ผูอํานวยการสํานัก ผูอํานวยการสถาบันหรือ
ผูอํานวยการวิทยาลยั ในสังกดั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
“นกั ศกึ ษา” หมายความวา นกั ศกึ ษามหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
“ผมู ารบั บริการทางวิชาการ” หมายความวา ผทู ่มี าขอเขารบั การฝก อบรมระยะสั้น
หรือขาราชการท่ีทางราชการสงเขารบั การศึกษาหรือฝกอบรมตามระยะเวลาที่กําหนดหรือตลอด
หลักสูตรโดยไมอยูในฐานะของนักศึกษา หรือขาราชการท่ีสมัครมาขอรับการศึกษาหรือการ
ฝกอบรมดว ยตนเองระยะเวลาหน่งึ ตลอดหลกั สูตรในคณะ วทิ ยาลัย สาํ นัก หรอื สถาบนั
“คณะกรรมการวินัยนักศึกษา” หมายความวา คณะกรรมการวินัยนักศึกษา
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
“นายกองคการนักศึกษา” หมายความวา นายกองคการนักศึกษามหาวิทยาลัย
เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
“ประธานสภานักศึกษา” หมายความวา ประธานสภานักศึกษามหาวิทยาลัย
เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
คณะกรรมการสอบสวน หมายความวา คณะกรรมการสอบสวนที่ไดรับแตงตั้งจากคณะ
หรอื มหาวทิ ยาลัยแลวแตก รณี
คณะกรรมการสอบสวนกลาง หมายความวา คณะกรรมการสอบสวนที่ไดรับการแตงตั้ง
จากอธิการบดี
คณะกรรมการอุทธรณและรองทุกข หมายความวา คณะกรรมการอุทธรณและรองทุกขท่ี
ไดรับการแตงตง้ั จากอธิการบดี
คค่มู ม่อืู นอื นกั กศั ึกศึษกษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ (๑(๑(๐๓๐๗) ๗))
มมหหาวาิทวิทยายลายัลเยั ทเทคคโนโนโลโยลรยี าีรชามชมงคงคลกลรกงรุ เงุทเทพพ
“วนิ ัย” หมายความวา ขอ ควรปฏิบตั ิหรอื ขอ กาํ หนดทีน่ ักศกึ ษาหรอื ผูม ารบั บริการทาง
วชิ าการจากมหาวทิ ยาลัยพงึ ยดึ ถือและปฏบิ ัติ
“การลงโทษ” หมายความวา การลงโทษนักศึกษาหรือผูมารับบริการทางวิชาการที่ไม
ประพฤติในส่ิงที่พึงปฏิบัติหรือฝาฝนระเบียบขอบังคับหรือขอหามปฏิบัติท่ีมหาวิทยาลัยกําหนด
โดยมีความมุงหมายที่กระทําในลักษณะการวากลาวส่ังสอนเพื่อแกนิสัยและความประพฤติไมดี
หรือเพอ่ื ใหรสู ํานึกในความผิดละเวนการประพฤติผิดและกลับมาประพฤติตนในทางที่ดีหรอื เพื่อมิ
ใหเกิดความเสียหายแกบุคคลอ่ืน มหาวิทยาลัย วัฒนธรรมประเพณีอันดีงาม หรือเพื่อใหเข็ด
หลาบและหรอื เพื่อมใิ หเปนเยยี่ งอยา งแกบคุ คลอน่ื ตอไป
“วินัยไมรายแรง” หมายความวา ระดับโทษท่ียังไมถึงข้ันออกจากการเปนนักศึกษา
ไดแก ระดับโทษ วา กลาวตกั เตอื น ภาคทัณฑ ตดั คะแนนความประพฤติ และพกั การเรียน
“วินัยอยางรายแรง” หมายความวา ระดับโทษถึงข้ันใหออกหรือคัดชื่อออกจากการ
เปนนักศกึ ษา
“วากลาวตักเตือน” หมายความวา เปนการกระทําผิดครง้ั แรกไมเคยกระทําผิดมากอน
และเปน ความผิดเล็กนอ ย จึงวา กลาวตกั เตือนเปน หนงั สือ
“ภาคทัณฑ” หมายความวา การตําหนิโทษเปนลายลักษณอักษร เพื่อตักเตือนมิให
กระทําความผดิ ขน้ึ อกี
“ตัดคะแนนความประพฤติ” หมายความวา เปนการลงโทษโดยการตัดคะแนนความ
ประพฤตติ ามระเบียบนี้ และใหบันทกึ ขอมลู ไวเปนหลักฐาน
“พักการเรียน” หมายความวา เปนการลงโทษโดยอธิการบดี คณบดี หรือผูอํานวยการ
แลวแตก รณีซง่ึ ออกคาํ สง่ั ใหพ กั การเรยี นแกผ ูก ระทาํ ความผิดตามระเบยี บนี้
“ใหออก” หมายความวา การใหพนจากสภาพการเปนนักศึกษา โดยออกใบรับรอง
แสดงผลการศึกษา และไมมีสิทธิ์กลบั เขามาเปนนักศกึ ษาอีก จนกวาจะไดรับโทษแลวไมนอยกวา
๑ ป
“คัดช่ือออก” หมายความวา ใหพนจากสภาพการเปนนักศึกษา โดยไมออกใบรับรอง
แสดงผลการศึกษาให และไมมีสิทธกิ์ ลับเขามาเปนนกั ศึกษาอีก จนกวาจะรับโทษแลวไมนอยกวา
๑ ป
ขอที่ ๕ ใหอธิการบดีรักษาการใหเปนไปตามระเบียบนี้และใหมีอํานาจออกประกาศหรือ
คําสัง่ เพือ่ ปฏบิ ัตกิ ารใหเปน ไปตามระเบยี บนี้
((๑๑๐(๐๒๘๘))) คคมู่ มู่ อื อื นนกั กั ศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ หมวดท่ี ๒
มมหหาาววิทิทยยาาลลยัยั เเททคคโโนนโโลลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ
วินัยและการรักษาวนิ ยั ของนักศึกษาและผมู ารับบรกิ ารทางวิชาการ
ขอท่ี ๖ นักศึกษาและผูมารับบริการทางวิชาการตองรักษาวินัยโดยกระทําการหรือไม
กระทาํ การตามทกี่ าํ หนดไวในหมวดนโี้ ดยเครง ครัดอยูเสมอ
ขอที่ ๗ นักศึกษาและผูมารับบริการทางวิชาการตองกระทําการอันเปนขอปฏิบัติ
ดังตอไปน้ี
๗.๑ ตองปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศและคําสั่งของ
มหาวิทยาลัยอยา งเครง ครัด ผูใดฝา ฝนหรอื ไมป ฏบิ ตั ิตามถอื วา ผูนั้นกระทาํ ผดิ วินยั
๗.๒ ตองรักษาไวซึ่งความเปนระเบียบเรียบรอย ชื่อเสียงและเกียรติคุณของ
มหาวทิ ยาลัย
๗.๓ ตองประพฤติตนเปนสุภาพชน ไมประพฤติในส่ิงที่อาจนํามาซึ่งความเสื่อมเสีย
แกต นเอง บดิ า มารดา ผปู กครองหรือมหาวิทยาลยั
๗.๔ ตองปฏิบัติตามหลักศีลธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมอันดีงามของสังคมไทย
และตอ งไมน าํ ขนบธรรมเนียมประเพณี หรอื วธิ กี ารทีไ่ มเ หมาะสมตอ วัฒนธรรมไทยมาปฏบิ ัติ
๗.๕ ตองไมนําสุราหรือของมึนเมาใดๆ เขามาในบริเวณมหาวิทยาลัยและตองไมด่ืม
สุราหรือของมึนเมาใดๆทั้งภายในและภายนอกมหาวทิ ยาลัย จนเปนเหตุใหเกิดความเส่ือมเสียแก
ตนเอง บิดา มารดา ผปู กครองหรือมหาวิทยาลัย
๗.๖ ตองไมเสพยาเสพติดหรือสารเสพติดหรือจําหนายยาเสพติดหรือมียาเสพติด
หรือสารเสพตดิ ไวในครอบครอง
๗.๗ ตองไมกระทาํ การอันเปน การลวงละเมิดหรือคุกคามทางเพศ
๗.๘ ตองไมกระทาํ การอันไดช ื่อวา เปนผูประพฤติช่ัวอยา งรา ยแรง
๗.๙ ตองไมกระทําความผิดอาญาจนไดรับโทษจําคุกหรือโทษที่หนักกวาโทษจําคุก
โดยคําพิพากษาถึงท่ีสุดใหจําคุก เวนแตเปนโทษสําหรับความผิดท่ีไดกระทําโดยประมาทหรือ
ความผิดลหโุ ทษ
๗.๑๐ ตองไมเลนหรือมีสวนเก่ียวของ หรือสนับสนุนการพนันใดๆ เปนอันขาด
รวมท้งั ไมเขา ไปในบรเิ วณหรอื สถานทที่ ี่มกี ารเลนการพนัน
๗.๑๑ ตองเชื่อฟงคําส่ังหรือคําแนะนําตักเตือนของอาจารยและเจาหนาที่ของ
มหาวทิ ยาลัยผูป ฏบิ ัติหนา ที่โดยชอบดว ยกฎหมาย
คคมู่ ม่อืู นอื นกั กศั กึศึษกษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ (๑(๑(๐๓๐)๙๙))
มมหหาวาิทวิทยายลายัลเยั ทเทคคโนโนโลโยลรยี าีรชามชมงคงคลกลรกงรุ เงุทเทพพ
๗.๑๒ ตองแสดงบัตรประจําตัวนักศึกษาไดทันที เมื่ออาจารยหรือเจาหนาที่ของ
มหาวิทยาลัยตรวจสอบ
๗.๑๓ ตองไมอยูในบริเวณมหาวิทยาลัยนอกเหนือเวลาที่มหาวิทยาลัยกําหนดเวน
แตจ ะไดร ับอนญุ าตจากมหาวิทยาลยั เปนกรณี ๆ ไป
๗.๑๔ ตองไมกระทําตนเปนผูมีหน้ีสินลนพนตัว จนมีเร่ืองเสียหายถึงผูอื่นหรือ
มหาวทิ ยาลยั
๗.๑๕ ตองไมกระทําการทุจริตในการสอบหรือแสวงหาประโยชนใดๆ ใหกับตนเอง
หรอื ผูอ น่ื อันเปน การเสือ่ มเสยี แกมหาวทิ ยาลยั
๗.๑๖ ตองไมนําส่ิงผิดกฎหมายเขามาในมหาวิทยาลัยหรือมีสิ่งผิดกฎหมายไวใน
ครอบครองหรอื เพ่อื จําหนา ย
๗.๑๗ ตองไมมีหรือพกพาอาวุธ วัตถุระเบิด หรือสิ่งท่ีสามารถใชเปนอาวุธหรืออาจ
ใชต า งอาวธุ เมื่ออยใู นบริเวณมหาวทิ ยาลัย
๗.๑๘ ตองไมกอการหรือมีสวนเก่ียวของในการทะเลาะวิวาทกับนักศึกษาดวยกัน
หรือกบั ผูอ ืน่ หรอื กระทําการใดๆ อนั เปน การกอ กวนความสงบเรยี บรอย
๗.๑๙ ตองไมเปนผูกอหรือมีสวนเกี่ยวของเปนคดีถึงเจาพนักงานฝายปกครองหรือ
ตํารวจหากมีพฤติการณเกิดข้ึนตองรีบรายงานพฤติกรรมน้ันตออาจารยที่ปรึกษาหรือสวนกิจการ
นักศกึ ษาของมหาวิทยาลัยทนั ที
ขอท่ี ๘ ส่งิ ท่หี า มปฏิบตั ิและถอื เปนความผดิ ทีต่ องถูกลงโทษ
๘.๑ ความผิดที่ตองไดรับโทษในระดับวากลาวตักเตือนและบันทึกไวเปนหลักฐาน ใชใน
กรณนี ักศึกษาหรอื ผมู ารับบริการทางวชิ าการ กระทาํ ผิดครั้งแรกและเปน ความผิดเลก็ นอย
๘.๒ ความผิดท่ีตองไดรับโทษในระดับโทษภาคทัณฑ ใชในกรณี ที่นักศึกษาหรือผูมารับ
บริการทางวิชาการถูกลงโทษวากลาวตักเตือนมาแลวยังไมเข็ดหลาบ หรือประพฤติตนไม
เหมาะสมกบั สภาพนกั ศกึ ษา หรอื ฝาฝน ระเบียบของมหาวิทยาลยั
การลงโทษในระดับภาคทัณฑใหทําเปนหนังสือและเชิญบิดามารดา หรือผูปกครองของ
ผกู ระทาํ ความผิดมาบันทึกรับทราบความผดิ และรบั รองการภาคทัณฑดวย
๘.๓ ความผิดท่ีตองไดรับโทษตัดคะแนนความประพฤติ และใหทําบันทึกขอมูลไวเปน
หลกั ฐาน โดยมีลกั ษณะดังน้ี
((๑๑๑(๑๒๐๐))) คคมู่ ่มู อื อื นนกั กั ศศึกกึ ษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓
มมหหาาววิทิทยยาาลลยัยั เเททคคโโนนโโลลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ
๘.๓.๑ การสูบบุหรี่ภายในมหาวิทยาลัยครั้งท่ี ๒ เปนตนไป ใหตัดคะแนนความ
ประพฤติ ๑๐ คะแนน
๘.๓.๒ แตง กายผดิ ระเบียบครงั้ ท่ี ๒ ใหตดั คะแนนความประพฤติ ๑๐ คะแนน
๘.๓.๓ แตงกายผดิ ระเบียบครงั้ ท่ี ๓ ใหตัดคะแนนความประพฤติ ๓๐ คะแนน
๘.๓.๔ ดื่มสรุ า หรือของมนึ เมาในหรือนอกเคร่อื งแบบนักศึกษาท้ังภายในหรือภายนอก
สถานศึกษาให ตัดคะแนนความประพฤติ ๓๐ คะแนน
๘.๓.๕ กลาววาจาอันเปนเท็จตอครู อาจารย เจาหนาท่ีในสถานศึกษา อันเปนเหตุให
เกิดความเสียหาย ใหต ดั คะแนนความประพฤติ ๓๐ คะแนน
๘.๔ ความผิดทตี่ อ งไดร บั โทษพักการเรียน มีกาํ หนดอยา งนอ ย ๑ ถงึ ๒ ภาคการศกึ ษา
๘.๔.๑ นักศึกษาถูกตัดคะแนนความประพฤติในภาคการเรียนเดียวกนั หรือติดตอกัน ๒
ภาคเรยี นรวมกนั เกนิ ๕๐ คะแนน ใหพักการเรียน ๑ ภาคการศกึ ษา
๘.๔.๒ นักศึกษาถูกตัดคะแนนความประพฤติสะสมรวมกันเกินกวา ๗๐ คะแนน พัก
การเรยี น ๑ ภาคการศกึ ษา
๘.๔.๓ เลนการพนนั ทุกประเภท ใหพกั การเรยี น ๑ ถึง ๒ ภาคการศึกษา
๘.๔.๔ กลาววาจาไมสุภาพหรือแสดงกิริยาไมเหมาะสมหรือไมเคารพครู-อาจารย ให
พกั การเรยี น ๑ ถึง ๒ ภาคการศึกษา
๘.๔.๕ กอการทะเลาะวิวาทตัวตอตัวโดย(ไมมีอาวุธ) พักการเรียน ๑ ถึง ๒ ภาค
การศกึ ษา
๘.๔.๖ ลักทรัพยในมหาวิทยาลัย คณะ สํานัก สถาบัน หรือตองคดีลักทรัพย พักการ
เรยี น ๑ ถงึ ๒ ภาคการศกึ ษา
๘.๔.๗ ดมื่ สุราและกอเหตทุ ะเลาะววิ าททั้งภายในและนอกมหาวทิ ยาลยั พกั การเรยี น ๑
ถงึ ๒ ภาคการศกึ ษา
๘.๔.๘ กอการทะเลาะวิวาทเปนกลุมไมมีอาวุธท้ังภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยให
พกั การเรยี น ๑ ถึง ๒ ภาคการศึกษา
๘.๔.๙ เปนผูนํากอเหตุทะเลาะวิวาทท้ังภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยใหพักการ
เรยี น ๑ ถึง ๒ ภาคการศกึ ษา
๘.๔.๑๐ เปนผูนํา ชักชวนหรือบังคับผูอื่นใหกระทําความผิดตามระเบียบมหาวิทยาลัย
ใหพ กั การเรียน ๑ ถึง ๒ ภาคการศกึ ษา
คคมู่ ม่อืู นอื นกั กศั ึกศึษกษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ ((๑๑(๓๑๑)๑๑))
มมหหาวาิทวิทยายลายัลเยั ทเทคคโนโนโลโยลรยี าีรชามชมงคงคลกลรกงรุ เงุทเทพพ
๘.๔.๑๑ ทํารายรางกายผูอื่นโดยไมใชอาวุธให พักการเรียนการ ๑ ถึง ๒ ภาค
การศกึ ษา
๘.๔.๑๒ ใหก ารเท็จในช้นั สอบสวน วินัยนักศึกษา พักการเรยี น ๑ ถงึ ๒ ภาคการศึกษา
๘.๕ ความผดิ ท่ีตอ งไดรบั โทษใหอ อกหรอื คดั ชื่อออก
๘.๕.๑ พกพาอาวุธ เชน มีด ดาบ ปน หรืออาวุธ ท่ีรายแรงกวาปน (ทั้งภายในและ
ภายนอกมหาวิทยาลัย)
๘.๕.๒ ทาํ รา ยรางกายผูอ่นื โดยใชอ าวุธ
๘.๕.๓ กอการทะเลาะววิ าทตัวตอตัวโดยมอี าวุธ
๘.๕.๔ กอการทะเลาะวิวาทเปน กลมุ โดยมีอาวุธ
๘.๕.๕ มียาเสพติด(ตามกฎหมายวาดวยยาเสพติดใหโทษไวครอบครองหรือเพื่อ
จําหนายหรอื เสพ)
๘.๕.๖ เสพยาเสพตดิ หรอื สารเสพติด
๘.๕.๗ ประกอบอาชญากรรมอยางรายแรง ซึ่งมหาวิทยาลัยไดสอบสวนแลววาเปน
ความจริง หรือตอ งโทษจาํ คกุ ตามคําพพิ ากษาของศาล เวนแตเ ปนโทษฐานประมาท
๘.๕.๘ กระทําการอันเปนเหตใุ หม หาวิทยาลัย คณะ วทิ ยาลยั สํานัก หรือสถาบัน เส่ือม
เสยี ช่ือเสียงอยา งรายแรง
๘.๕.๙ ยุยงสงเสริมใหเกิดความไมสงบข้ึนในมหาวิทยาลัย คณะ วิทยาลัย สํานัก
สถาบัน เชน จัดการประชุมหรือชุมนุมใดๆ หรือขีดเขียนขอความหรือรูปภาพหรือประกาศที่
กอใหเ กิดความไมส งบขนึ้ ในมหาวิทยาลยั คณะ วิทยาลยั สํานัก สถาบัน
๘.๕.๑๐ กาวกายอํานาจหนาที่ในการบริหารงานของมหาวิทยาลัย คณะ วิทยาลัย
สาํ นัก สถาบัน
๘.๕.๑๑ กอการประทวง เชน หยุดเรียน หยุดฝกงาน ไมเขาหองเรียน หรือเดินขบวน
เพอื่ เรียกรองสง่ิ ทขี่ ัดตอกฎหมายระเบยี บ ขอ บงั คบั และคาํ สงั่ ตา งๆ อนั ชอบดว ยกฎหมาย
๘.๕.๑๒ กระทาํ การอันเปนการลบหลดู หู ม่นิ ครู อาจารย ผิดธรรมเนยี มประเพณีท่ีศิษย
พงึ ประพฤติปฏิบตั ิตอ ครู อาจารย
๘.๕.๑๓ ประพฤติตนลวงละเมดิ ในสทิ ธิหรือเนือ้ ตัวรา งกายหรือกระทาํ อนาจารตอ ผูอ่นื
๘.๕.๑๔ กระทําโดยเจตนาหรือประมาทเลินเลอจนทําใหเกิดความเสียหายอยาง
รา ยแรงแกทรพั ยสินของมหาวิทยาลัย หรือเปนอนั ตรายตอนักศึกษา ครู อาจารย และเจาหนาที่
((๑๑๑(๑๒๒๒))) คคมู่ ่มู อื อื นนกั กั ศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓
มมหหาาววิทิทยยาาลลยัยั เเททคคโโนนโโลลยยีรรี าาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ
๘.๖ กรณีนักศึกษาไดรับการลงโทษต้ังแตภาคทัณฑถึงตัดคะแนนความประพฤติตอง
บําเพ็ญประโยชนสาธารณะภายในมหาวิทยาลัยไมนอยกวา ๖ ชั่วโมง ภายใน ๑ เดือน หลัง
รับทราบคําสง่ั
ขอ ท่ี ๙ กรณีนักศึกษาไดรบั คําสั่งลงโทษพักการเรียนในภาคเรียนสุดทายซึ่งนักศึกษาผูน้ันจะ
สําเร็จการศึกษา มหาวิทยาลัยอาจพิจารณาโทษพักการเรียน เปนระงับการออกใบรับรองผลการ
เรียนและพักการเสนอชื่อเพื่อขออนุมัติปริญญา มีกําหนดไมเกิน ๑ ปการศึกษาตามความ
เหมาะสมได
ขอที่ ๑๐ ความผิดในระดับโทษพักการเรียน ใหออก หรือคัดช่ือออก หากมีเหตุอันควร
ลดหยอนโทษ ใหอ ยใู นดุลยพินจิ ของอธกิ ารบดี หรอื คณบดี หรอื ผูอ าํ นวยการ แลว แตกรณี
ขอท่ี ๑๑ ในกรณีทม่ี ีการกระทําความผิดของนักศึกษาหรอื ผูมารับบริการทางวิชาการภายใน
ของแตละคณะหรือวิทยาลัย ใหคณะหรือวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัยแลวแตกรณีทําการพิจารณา
โทษ วากลาวตักเตือน ภาคทัณฑ ตัดคะแนนความประพฤติ พักการเรียน เวนแตระดับโทษให
ออกหรอื คดั ชอ่ื ออกใหเ ปนอาํ นาจของอธิการบดี
ขอท่ี ๑๒ ในกรณีมีการทะเลาะวิวาทกันระหวางคณะ หรือระหวางคณะกับวิทยาลัย ใหเปน
อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสอบสวนกลางดําเนินการสอบสวน แลวจดั ทําความเห็นในระดับ
โทษเสนอตอ อธกิ ารบดเี พ่ือส่ังการ
ขอท่ี ๑๓ นักศึกษาหรือผูมารับบริการทางวิชาการ กระทําความผิดในภาคการศึกษาใดภาค
การศึกษาหน่ึง หากกระบวนการสอบสวนยังไมเสร็จส้ิน ใหดําเนินการสอบสวนจนเสร็จสิ้น
กระบวนการ ถา กระบวนสอบสวนเสร็จส้นิ ในภาคเรยี นใดใหลงโทษในภาคเรียนนนั้
ขอที่ ๑๔ การกระทาํ ผิดวนิ ยั ในลกั ษณะดงั ตอ ไปน้เี ปน ความผดิ วินัยอยางรายแรง
(๑) เสพยาเสพตดิ หรือครอบครองหรือจําหนายยาเสพติดหรือสารเสพตดิ
(๒) กระทําการอนั เปนการลว งละเมดิ หรือคุกคามทางเพศ
(๓) กระทาํ การอน่ื ใดอันไดชื่อวา เปน ผปู ระพฤติชวั่ อยา งรายแรง
(๔)กระทําความผดิ อาญาจนไดร ับโทษจําคกุ เวนแตเ ปนโทษสําหรบั ความผดิ ท่ไี ด
กระทาํ โดยประมาทหรือความผิดลหโุ ทษ
คค่มู ม่อืู นอื นกั กศั ึกศึษกษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ ((๑๑(๓๑๑)๓๓))
มมหหาวาิทวิทยายลายัลเยั ทเทคคโนโนโลโยลรยี าีรชามชมงคงคลกลรกงรุ เงุทเทพพ
(๕) กระทําการทุจริตในการสอบหรือแสวงประโยชนใดๆ เพื่อใหตนเองหรือผูอ่ืนได
ประโยชนโดยมิชอบดวยกฎหมายอันเปนการเส่ือมเสียแกมหาวิทยาลัยอยาง
รา ยแรง
(๖) มีอาวุธหรือพกพาอาวุธ หรือวัตถุระเบิด หรือส่ิงท่ีสามารถใชเปนอาวุธหรืออาจ
ใชตางอาวุธเมอื่ อยใู นบริเวณมหาวิทยาลยั
(๗) กระทําความผิดถงึ ขัน้ ใหอ อกหรอื คดั ช่อื ออก ตามขอ ๘.๕
(๘) จัดกิจกรรมในลักษณะผิดศลี ธรรมหรือลามกอนาจาร
(๙) จดั กจิ กรรมอันเปนเหตทุ ําใหมหาวทิ ยาลยั เสอื่ มเสยี ชือ่ เสยี ง
(๑๐) กระทําความผิดหลายขอท่ีมีโทษพักการเรียนรวมกันเกินสองภาคการศึกษา
ปกติ
(๑๑) จัดกจิ กรรมภายนอกมหาวทิ ยาลัยโดยไมไ ดรับอนุญาตจากอธิการบดี
ขอท่ี ๑๕ ความผิดอื่นใดนอกจากท่ีกําหนดไวในระเบียบน้ี ใหอยูในดุลยพินิจของ
คณะกรรมการสอบสวนของคณะ หรอื วิทยาลยั หรอื มหาวิทยาลัยแลว แตกรณี
ขอท่ี ๑๖ โทษทางวินัยนักศึกษาและผูมารบั บรกิ ารทางวชิ าการมี ๖ สถาน คือ
(๑) วากลา วตกั เตือน
(๒) ภาคทัณฑ
(๓) ตัดคะแนนความประพฤติ
(๔) พักการเรยี น
(๕) ใหอ อก
(๖) คัดชอ่ื ออก
หมวดที่ ๓
การดําเนินการทางวนิ ัยนักศกึ ษาและผูมารบั บริการทางวิชาการ
ขอ ที่ ๑๗ ผูใดถูกกลาวหาโดยมพี ยานหลักฐานตามสมควรวา ไดกระทําผิดวินัย หรอื ความ
ปรากฏตอคณะกรรมการวินัยนักศึกษาวาผูใดกระทําผิดวินัย ใหคณะหรือวิทยาลัย หรือ
มหาวิทยาลัยแลวแตกรณีต้ังคณะกรรมการสอบสวนสอบสวนโดยพลันและตองสอบสวนใหแลว
((๑๑๑(๑๒๔๔))) คคมู่ ่มู อื อื นนกั กั ศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓
มมหหาาววิทิทยยาาลลยัยั เเททคคโโนนโโลลยยีรรี าาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ
เสร็จโดยไมชักชา เวนแตเปนกรณีกระทําผิดวินัยท่ีมิใชความผิดวินัยอยางรายแรง จะไมต้ัง
คณะกรรมการสอบสวน ก็ไดแ ตตอ งแตงตัง้ คณะกรรมการสืบสวนขอเทจ็ จรงิ
กอ นต้ังคณะกรรมการสอบสวน ใหตง้ั คณะกรรมการสืบสวน ทําการสบื สวนเบอ้ื งตนวาการ
กลาวหานน้ั มีพยานหลกั ฐานตามสมควรหรอื ไมก็ได
หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขเก่ียวกับการสอบสวนพิจารณา และผูมีอํานาจในการสั่งต้ัง
คณะกรรมการสอบสวน ใหนําขอบังคับมหาวิทยาลัยวาดวยการตั้งคณะกรรมการสอบสวนและ
การสอบสวนพิจารณา พ.ศ.๒๕๕๐ มาใชบ ังคับโดยอนโุ ลมเทาทีไ่ มขัดหรือแยงกบั ระเบยี บนี้
ขอท่ี ๑๘ เม่ือผลการสอบสวนปรากฏวาผูถูกสอบสวนกระทําผิดวินัยใหคณะหรือวิทยาลัย
หรือมหาวทิ ยาลยั แลวแตก รณลี งโทษตามควรแกก รณี ตามทก่ี ําหนดไวในระเบียบน้ี
หมวดที่ ๔
คณะกรรมการวินัยนักศกึ ษา
ขอที่ ๑๙ ใหมคี ณะกรรมการวินัยนกั ศึกษา ประกอบดวย
(๑) รองอธกิ ารบดที ่ดี ูแลดานกจิ การนักศึกษาเปน ประธานกรรมการ
(๒) รองคณบดีฝายกิจการทั่วไป ทุกคณะ/วทิ ยาลยั เปน กรรมการ
(๓) อาจารยว ินยั นักศึกษา ทกุ คณะ/วทิ ยาลัย ๆ ละ ๑ คนเปนกรรมการ
(๔) หวั หนางานสวัสดิการนกั ศกึ ษา จาํ นวน ๑ คน เปนกรรมการและเลขานกุ าร
(๕) เจา หนา ทงี่ านวนิ ัยนักศกึ ษา จํานวน ๑ คน เปน ผชู ว ยเลขานกุ าร
ในกรณีจําเปน คณะกรรมการวินัยนักศึกษา อาจขอใหนายกองคการนักศึกษาหรือ
ประธานสภานกั ศึกษาเขา รว มในการประชมุ ของคณะกรรมการวนิ ัยนกั ศึกษาดวยก็ได
ขอ ท่ี ๒๐ คณะกรรมการวนิ ัยนักศึกษา มีอาํ นาจและหนาท่ีดงั ตอ ไปน้ี
(๑) ทําหนาท่ีระงับเหตุเฉพาะหนาในกรณีมีการกระทําผิดวินัยหรือถูกกลาวหาวา
กระทําผดิ วินยั เกดิ ข้นึ ภายในมหาวทิ ยาลยั หรอื นอกมหาวิทยาลยั
(๒) ทําการพิจารณาเรื่องรองเรียน รองทุกข เบ้ืองตนถาตรวจพิจารณาแลวเห็นวา
เปนเร่ืองรองเรียนใหจัดสงเร่ืองใหคณะท่ีผูถูกกลาวหาสังกัดดําเนินการ แตถาเปนเรื่องรอง
ทุกขใหส ง เรอื่ งไปยังคณะกรรมการอุทธรณแ ละรองทุกขพิจารณา
คคมู่ ม่อืู นอื นกั กศั ึกศึษกษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ ((๑๑(๓๑๑)๕๕))
มมหหาวาิทวิทยายลายัลเยั ทเทคคโนโนโลโยลรยี าีรชามชมงคงคลกลรกงรุ เงุทเทพพ
หมวดที่ ๕
การสอบสวนและการลงโทษทางวินยั
ขอท่ี ๒๑ ผูใดท่ีปฏิบัติฝาฝนกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศหรือคําส่ังใดๆ
ของมหาวทิ ยาลยั ใหถ ือวา กระทาํ ผิดวินัยและตอ งไดรับโทษสถานใดสถานหนึ่งตามขอ ๑๖
ขอท่ี ๒๒ ถานักศึกษาทะเลาะวิวาทกันภายในคณะหรือวิทยาลัยใหคณะหรือวิทยาลัย
เปนผูดําเนินการสอบสวนตามอํานาจหนาที่และมีอํานาจลงโทษตั้งแตวากลาวตักเตือนจนถึงพัก
การเรียน สวนการลงโทษใหออกหรอื คดั ชอื่ ออกใหเปนอํานาจของอธกิ ารบดี
ขอที่ ๒๓ ถานักศึกษาทะเลาะกันระหวางคณะหรือระหวางคณะกับวิทยาลัยหรือต้ังแต
สองคณะขึน้ ไปใหเ ปน หนาทข่ี องคณะกรรมการสอบสวนกลางดําเนนิ การสอบสวนทางวนิ ยั
ขอที่ ๒๔ คณะกรรมการสอบสวนกลาง ประกอบดวย ประธานกรรมการ และกรรมการ
อยางนอยอีกสองคน โดยแตงตั้งจากขาราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย พนักงานราชการ
ลูกจางประจําหรือลูกจางชั่วคราวที่อยูภายใตสังกัดมหาวิทยาลัย หรือเจาหนาท่ีของรัฐจาก
หนวยงานของรัฐแหงอื่นตามความเหมาะสมและตองประกอบดวยผูมีวุฒิทางกฎหมายอยางนอย
หนึง่ คน ท้งั นี้ ใหก รรมการคนหนึ่งเปน เลขานุการและอาจใหมผี ูชว ยเลขานุการดว ยกไ็ ด
ขอที่ ๒๕ อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสอบสวนกลาง ใหนําเอาอํานาจหนาท่ีของ
คณะกรรมการสอบสวนตามขอบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ วาดวยการต้ัง
คณะกรรมการสอบสวนและการสอบสวนพจิ ารณา พ.ศ.๒๕๕๐ มาใชบงั คบั โดยอนุโลมเทาทไี่ มข ัด
หรอื แยง กบั ระเบยี บน้ี
ขอท่ี ๒๖ ในการสอบสวนเพ่ือใหไดมาซึ่งขอเท็จจริงและพยานหลักฐานตางๆ เก่ียวกับ
การกระทําผิดวินัยและเพื่อพิสูจนใหเห็นถึงการกระทําผิดวินัยนั้นใหคณะกรรมการสอบสวน ซึ่ง
เปนผสู อบสวนการกระทําผดิ วินัย มีอํานาจดังตอไปน้ี
เรียกสอบสวนนักศึกษาหรือผูมารับบริการทางวิชาการที่กระทําผิดวินัย หรือผูท่ีเห็นวา
เก่ียวของกับการกระทําผิดวินัย โดยเรียกตรวจและรวบรวมพยานหลักฐานตางๆ ท่ีเกี่ยวของกับ
การกระทาํ ผดิ วินัย
ขอท่ี ๒๗ ผูท่ีมีอํานาจสั่งลงโทษความผิดทางวินัยนักศึกษาและผูมารับบริการทาง
วชิ าการไดแก อธิการบดี หรอื คณบดีหรือผูอํานวยการ แลวแตกรณี
((๑๑๑(๑๒๖๖))) คคมู่ มู่ อื อื นนกั กั ศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓
มมหหาาววิทิทยยาาลลยัยั เเททคคโโนนโโลลยยีรรี าาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ
ขอท่ี ๒๘ เม่ือไดสั่งลงโทษนักศึกษาหรือผูมารับบริการทางวิชาการผูใดแลว ใหรีบแจง
ตอบิดา มารดาหรือผูปกครองนักศึกษาผูนั้นรวมทั้งอาจารยที่ปรึกษาและมหาวิทยาลัยแลวแต
กรณีเพ่อื ทราบ
หมวดที่ ๖
บทลงโทษนกั ศกึ ษาหรือผมู ารบั บริการทางวิชาการ
วาดว ยการจัดกิจกรรมตอนรับนอ งใหม การจัดกิจกรรมกับรุน นอง และการประชมุ เชียร
ขอที่ ๒๙ หามมิใหน ักศกึ ษาและผูมารับบริการทางวชิ าการกระทําการดงั ตอไปนี้
๑. ลวงละเมิดสิทธิสวนบุคคลท้ังรางกายและจิตใจของนองใหมและรุน นองถือ
เปน ความผดิ วินัยใหลงโทษ พกั การเรียน ๑ ถึง ๒ ภาคการศึกษา
๒. บังคับใหนองใหมหรือรุนนอง เขารวมกิจกรรมโดยไมสมัครใจถือเปน
ความผิดวนิ ยั ใหลงโทษ พกั การเรยี น ๑ ถงึ ๒ ภาคการศึกษา
๓. ดื่มสุราหรือของมึนเมาทุกชนิดกอนหรือขณะจัดกิจกรรมถือเปนความผิด
วินัยใหลงโทษ พกั การเรยี น ๑ ถงึ ๒ ภาคการศึกษา
๔. จดั กจิ กรรมภายในมหาวิทยาลัยโดยไมไ ดรบั อนญุ าตจากคณบดี ผอู ํานวยการ
หรืออธกิ ารบดี ถือเปน ความผดิ วนิ ยั ใหลงโทษ พักการเรียน ๑ ถงึ ๒ ภาคการศึกษา
๕. จัดกิจกรรมในลักษณะผิดศีลธรรมหรือลามกอนาจารถือเปนความผิดวินัย
อยา งรายแรงลงโทษใหออก
๖. จดั กิจกรรมอันเปนเหตใุ หมหาวทิ ยาลยั เสอ่ื มเสียชือ่ เสียงถือเปนความผิดวินัย
อยางรา ยแรงลงโทษใหออก
๗. กระทําความผิดหลายขอท่ีมีโทษพักการเรียนรวมกันเกิน๒ ภาคเรียนปกติ
ถอื เปน ความผิดวนิ ยั อยางรายแรงลงโทษใหออก
๘. จัดกจิ กรรมภายนอกมหาวิทยาลัยโดยไมไดร ับอนุญาตจากอธกิ ารบดีถือเปน
ความผิดวินยั อยางรายแรงใหลงโทษใหออก
คคมู่ ม่อืู นอื นกั กศั ึกศึษกษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ (๑(๑(๑๓๑๗) ๗))
มมหหาวาิทวิทยายลายัลเยั ทเทคคโนโนโลโยลรยี าีรชามชมงคงคลกลรกงรุ เงุทเทพพ
หมวดท่ี ๗
การอทุ ธรณแ ละการรองทุกข
ขอที่ ๓๐ ผูใดถูกสั่งลงโทษ วากลาวตักเตือน ภาคทัณฑ ตัดคะแนนความประพฤติ พัก
การเรียนหรือใหออกหรือคัดช่ือออก มีสิทธิอุทธรณตอคณะกรรมการอุทธรณและรองทุกขได
ภายในสิบหาวันนับแตวันไดร บั แจงคาํ สงั่
ขอท่ี ๓๑ ใหคณะ วิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัยดําเนินการแกไขคําสั่งลงโทษใหเปนไปตาม
คาํ วินิจฉัยของคณะกรรมการอทุ ธรณแ ละรอ งทุกขโ ดยเร็ว
ขอท่ี ๓๒ ในการพิจารณาอุทธรณหรือรองทุกข ใหคณะกรรมการอุทธรณและรองทุกข
ดําเนนิ การใหแ ลวเสร็จภายในเกา สิบวนั นับแตว ันไดร บั เรอื่ ง
ขอ ท่ี ๓๓ ใหมีคณะกรรมการอทุ ธรณและรอ งทุกข ประกอบดว ย
(๑) รองอธกิ ารบดีทม่ี ใิ ชรองอธิการบดีท่ีดแู ลดา นกิจการนกั ศึกษาเปน ประธาน
(๒) รองคณบดีฝายกิจการทวั่ ไปทกุ คณะ/วทิ ยาลยั เปนกรรมการ
(๓) ผอู าํ นวยการกองพฒั นานักศกึ ษาเปนกรรมการและเลขานุการ
ขอ ที่ ๓๔ ใหคณะกรรมการอทุ ธรณแ ละรองทุกข มีอํานาจหนาทีด่ งั ตอ ไปนี้
(๑) ทําการพิจารณาตรวจสอบการใชอํานาจดุลพินิจในการลงโทษของผูมีอํานาจสั่ง
ลงโทษ
(๒) มีอํานาจในการเรียกบุคคล ผูเกี่ยวของ มาใหถอยคําตอคณะกรรมการเพ่ือ
ประกอบการพจิ ารณา
(๓) มอี ํานาจในการเรียกพยานเอกสาร พยานวัตถุที่เกี่ยวขอ งมาประกอบการพจิ ารณา
(๔) มีอํานาจในการทําความเห็นใหผูสั่งแตงต้ังคณะกรรมการสอบสวนส่ังการใหมีการ
สอบสวนเพ่ิมเติมได
ขอที่ ๓๕ ในการประชุมคณะกรรมการสอบสวนวินัยนักศึกษา คณะกรรมการอุทธรณและ
รองทุกขว ินัยนักศกึ ษาใหถือเปนการปฏบิ ตั หิ นาท่รี าชการ
ขอท่ี ๓๖ ใหคณะกรรมการสอบสวนกลางและคณะกรรมการอุทธรณและรองทุกขมีสิทธิ
ไดรับเบ้ียประชุมกรรมการ ตามหลักเกณฑและอัตราที่มหาวิทยาลัยกําหนดโดยใชเงินสะสม
องคการนกั ศึกษา
((๑๑๑(๑๒๘๘))) คคมู่ ่มู อื อื นนกั กั ศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ หมวดท่ี ๘
มมหหาาววิทิทยยาาลลยัยั เเททคคโโนนโโลลยยีรรี าาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ
การประชุม
ขอท่ี ๓๗ ในการประชุมของคณะกรรมการสอบสวนวินัยนักศึกษาและคณะกรรมการ
อุทธรณและรอ งทกุ ขต อ งมีกรรมการมาประชุมอยางนอยก่งึ หน่ึง จึงจะเปน องคประชุม
ขอท่ี ๓๘ การนัดประชุมตองทําเปนหนังสือและแจงใหกรรมการทุกคนทราบลวงหนาไม
นอยกวาสามวนั เวนแตกรรมการนั้นจะไดท ราบการบอกนดั ในที่ประชุมแลว กรณีดงั กลาวน้ีจะทํา
เปนหนังสือแจง นดั เฉพาะกรรมการทีไ่ มไดม าประชมุ ก็ได
ขอกําหนดในวรรคแรกน้ีมิใหนํามาใชบังคับในกรณีมีเหตุจําเปนเรงดวนซึ่งประธานกรรมการ
จะนัดประชุมเปนอยา งอน่ื กไ็ ด
ขอที่ ๓๙ เม่ือมีปญ หาเกย่ี วกบั ระเบียบนี้ ใหอธกิ ารบดเี ปน ผวู นิ จิ ฉยั ช้ีขาด
บทเฉพาะกาล
ขอ ท่ี ๔๐ ถา อยูในระหวางการสอบสวนหรือยูในระหวา งการพิจารณาอุทธรณห รอื รอ งทกุ ข
ท่ีกําลังดําเนินการอยูกอนประกาศใชระเบียบน้ี ใหใชระเบียบเดิมไปกอนจนกวาระเบียบนจี้ ะมีผล
ใชบงั คบั
ประกาศ ณ วันที่ ๒๔ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๗
(ลงชื่อ) สาธติ พทุ ธชยั ยงค
(นายสาธิต พุทธชัยยงค)
อธิการบดีมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
คคมู่ ม่อืู นอื นกั กศั ึกศึษกษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ (๑(๑(๑๓๑๙) ๙))
มมหหาวาิทวิทยายลายัลเยั ทเทคคโนโนโลโยลรยี าีรชามชมงคงคลกลรกงรุ เงุทเทพพ
ระเบยี บมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
วาดว ยการใชบริการสาํ นักวิทยบรกิ ารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
พ.ศ. ๒๕๕๙
..............................................................................................
เพื่อความเหมาะสมในการดําเนนิ งาน และการใหบ ริการของสํานกั วทิ ยบริการและ
เทคโนโลยีสารสนเทศ ดําเนนิ ไปดวยความมีระเบยี บเรียบรอ ยตรงตามนโยบายและวัตถุประสงค
ของมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๗ (๒) แหงพระราชบญั ญัติมหาวิทยาลยั
เทคโนโลยรี าชมงคล พ.ศ. ๒๕๔๘ ประกอบกับมตทิ ี่ประชุมสภามหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล
กรงุ เทพ ในการประชุม คร้ังท่ี ๕/๒๕๕๑ เม่อื วันที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๑ มหาวทิ ยาลยั
เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ จึงมมี ติใหออกระเบียบไวดงั ตอไปนี้
หมวดท่ี ๑
บททั่วไป
ขอ ๑. ระเบียบน้ีเรียกวา “ระเบยี บมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพวาดวยการ
ใชบ รกิ ารสาํ นกั วิทยบรกิ ารและเทคโนโลยีสารสนเทศ พ.ศ. ๒๕๕๙”
ขอ ๒. ระเบียบนใ้ี หใชบ งั คับต้ังแตวนั ถดั จากวันประกาศเปนตน ไป
ขอ ๓. ใหผ อู ํานวยการเปนผูร กั ษาการตามระเบียบน้ี และมีอํานาจวินิจฉัยชี้ขาดเกย่ี วกบั
การปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บนี้ คําวินจิ ฉยั ชขี้ าดของผูอาํ นวยการเปน ที่สดุ
ขอ ๔. ในระเบยี บนี้
“มหาวทิ ยาลัย” หมายถงึ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ
“อธกิ ารบดี” หมายถงึ อธกิ ารบดมี หาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
“ผอู าํ นวยการ” หมายถึง ผูอ าํ นวยการสํานักวทิ ยบรกิ ารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
“สาํ นัก” หมายถึง สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
“นักศึกษา” หมายถึง นกั ศึกษามหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
((๑๑๒(๒๒๐๐))) คคมู่ ่มู อื อื นนกั กั ศศึกกึ ษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓
มมหหาาววิทิทยยาาลลยัยั เเททคคโโนนโโลลยยีรรี าาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ
“บุคลากรของมหาวิทยาลัย” หมายถึง ขาราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย พนักงาน
ราชการ ลูกจา งประจํา ลูกจา งชัว่ คราว พนักงานเงินรายได
“บุคคลภายนอก” หมายถึง บุคคลอื่นซ่ึงไมไดเปนคณาจารย หรือ ขาราชการ พนักงาน
ลกู จา ง หรอื นกั ศกึ ษา ของมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ
“ทรัพยากรสารสนเทศ”หมายถึง สอ่ื ส่งิ พิมพ และสอ่ื ไมใ ชสงิ่ พมิ พ ท่ีจดั ไวใ หบริการ
“สอื่ สง่ิ พิมพ” หมายถงึ สอื่ ในรปู หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ จุลสาร เอกสารตางๆ
“ส่ือไมใชส่ิงพิมพ” หมายถึง ส่ือในรูปของโสตทัศนวัสดุ หรือสื่ออิเล็กทรอนิกสในรูปแบบ
อื่น
“เครือขา ยคอมพิวเตอร” หมายถึง การเช่ือมตอ คอมพวิ เตอรห รืออปุ กรณอื่นเขาดวยกัน
โดยอาศัยชองทางการส่ือสารขอมูลทั้งแบบมีสายและไรสายเพ่ือใชแลกเปล่ียนขอมูลและใช
ทรัพยากรรวมกัน
หมวดท่ี ๒
เวลาเปด ใหบ ริการ
ขอ ๕. เปดใหบริการหองสมดุ ตามวนั เวลา ดังน้ี
๕.๑ ระหวา งเปดภาคการศึกษา
วันจนั ทร ถงึ วนั ศกุ ร เวลา ๘.๐๐ – ๑๙.๓๐ น.
วันเสาร เวลา ๙.๐๐ – ๑๕.๐๐ น.
ปด วันอาทติ ยและวนั หยดุ นกั ขตั ฤกษ
๕.๒ ระหวา งปด ภาคการศึกษา
วนั จันทร ถงึ วนั ศกุ ร เวลา ๘.๓๐ – ๑๖.๓๐ น.
ปด วนั เสาร วันอาทติ ย และวันหยดุ นักขตั ฤกษ
ขอ ๖. เปดใหบริการศูนยการเรียนรูดวยตนเองตามวันเวลา ดังนี้
๖.๑ ระหวา งเปดภาคการศึกษา
พน้ื ท่ีเทคนคิ กรงุ เทพฯ
วนั จนั ทร ถึง วันศกุ ร เวลา ๘.๐๐ – ๑๙.๓๐ น.
วนั เสาร เวลา ๙.๐๐ – ๑๕.๐๐ น.
ปดวันอาทติ ยแ ละวนั หยดุ นักขตั ฤกษ
พ้นื ทบ่ี พิตรพมิ ุขมหาเมฆ คค่มู ม่อืู นอื นกั กศั ึกศึษกษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ (๑(๑(๒๓๒)๑๑))
มมหหาวาิทวิทยายลายัลเยั ทเทคคโนโนโลโยลรยี าีรชามชมงคงคลกลรกงรุ เงุทเทพพ
วันจันทร ถึง วันศุกรเวลา ๘.๐๐ – ๑๖.๓๐ น.
ปด วันเสาร วนั อาทิตย และวันหยุดนกั ขตั ฤกษ
พนื้ ทีพ่ ระนครใต
วันจันทร ถึง วนั ศกุ ร เวลา ๘.๐๐ – ๑๖.๓๐ น.
ปด วนั เสาร วันอาทิตย และวันหยุดนักขัตฤกษ
๖.๒ ระหวา งปด ภาคการศึกษาท้งั ๓ พ้ืนที่
วนั จันทร ถงึ วนั ศกุ รเวลา ๘.๓๐ – ๑๖.๓๐ น.
ปดวนั เสาร วนั อาทติ ย และวันหยดุ นักขตั ฤกษ
เมอ่ื มเี หตุจําเปน ผูอาํ นวยการมีอาํ นาจเปลย่ี นแปลงวนั และเวลาใหบ ริการได โดยให
ประกาศลวงหนา ไมนอยกวา ๓ วัน แตในกรณีฉกุ เฉิน เพือ่ รักษาประโยชนข องสํานักหรอื ความ
ปลอดภัยของผูใชบ ริการ ผูอ ํานวยการมอี ํานาจปดบรกิ าร หรอื เปล่ยี นแปลงวนั และเวลาใหบ ริการ
เปนการชั่วคราวโดยไมจ าํ เปนตองปดประกาศลวงหนา
หมวดที่ ๓
บคุ คลผมู สี ิทธใิ นการใชบ ริการ
ขอ ๗. บุคคลผมู ีสทิ ธิในการใชบริการ
๗.๑ ขา ราชการ พนักงานมหาวทิ ยาลยั พนกั งานราชการ ลูกจางประจาํ ลูกจางชว่ั คราว
พนักงานเงินรายได
๗.๒ อาจารยพิเศษของมหาวทิ ยาลยั
- บคุ คลท่ไี ดร ับเชิญมาสอนหรอื มาบรรยายใหกบั มหาวิทยาลยั
- ชาวตา งชาติท่ีมีสัญญาจา งสอนชว่ั คราวในมหาวิทยาลัยโดยมกี ําหนดระยะเวลา ๑
ภาคการศึกษาขน้ึ ไป
๗.๓ นกั ศึกษาของมหาวทิ ยาลยั
๗.๔ บุคคลภายนอก
ขอ ๘. ผมู สี ทิ ธยิ มื ทรัพยากรสารสนเทศของสํานัก และใชเ ครอื ขา ยคอมพิวเตอร ไดแก
บุคคลท่ีระบใุ นขอ ๗.๑ และ ๗.๓ สาํ หรบั บคุ คลตามขอ ๗.๒ และ ๗.๔ ใหอ ยูในดุลยพินิจของ
ผอู าํ นวยการ
((๑๑๒(๒๒๒๒))) คคมู่ มู่ อื อื นนกั กั ศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓
มมหหาาววิทิทยยาาลลยัยั เเททคคโโนนโโลลยยีรรี าาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ
หมวดท่ี ๔
ทรัพยากรสารสนเทศทีใ่ หบริการและการใหบ ริการ
ขอ ๙. สาํ นกั มที รพั ยากรสารสนเทศทใี่ หบริการทัง้ ในรปู ของสอ่ื ส่ิงพิมพ และส่ือไมใ ชสิง่ พมิ พ
โดยมหี ลักเกณฑก ารใหบริการ ดงั น้ี
๙.๑ สอ่ื สง่ิ พิมพ ท่ีอนญุ าตใหยืมออกนอกสํานัก ไดแก หนังสือ ตาํ รา นวนยิ าย เร่ืองสนั้
หนงั สอื สารคดี หนังสือสาํ รอง และเอกสารสงิ่ พมิ พอนื่ ๆ ท่รี ะบุใหย ืมออกได
๙.๒ สือ่ สงิ่ พิมพ ท่ีไมอนุญาตใหย ืมออกนอกสาํ นัก ไดแ ก หนงั สอื อางองิ วทิ ยานิพนธ
วารสาร หนังสือพมิ พ เอกสารส่งิ พมิ พอ นื่ ๆ ท่ีระบุหามยืมออก
๙.๓ สอื่ ไมต พี ิมพ ท่ีอนุญาตใหย มื ออกนอกสํานัก ไดแก สื่อในรปู ของโสตทัศนวสั ดุ หรอื
สือ่ อิเล็กทรอนิกส ในรูปแบบอ่นื
๙.๔ สื่อไมใชส งิ่ พิมพ ทีไ่ มอ นุญาตใหย ืมออกนอกสาํ นกั ไดแก ส่ือในรูปของโสตทัศนวัสดุ
หรือสื่ออิเลก็ ทรอนกิ ส ในรูปแบบอน่ื ท่รี ะบหุ ามยมื
ขอ ๑๐. การบรกิ ารมดี ังนี้
๑๐.๑ บริการทรัพยากรสารสนเทศ ไดแ ก บรกิ ารยืมคนื ทรัพยากรสารสนเทศของสาํ นัก
บรกิ ารยืมระหวางหองสมดุ บรกิ ารแนะนําวิธกี ารใชฐานขอ มูล บรกิ ารตอบคาํ ถามและชว ยคน ควา
บริการแนะนําหนงั สือใหม
๑๐.๒ บริการเทคโนโลยสี ารสนเทศ ไดแก บริการไปรษณียอ ิเลก็ ทรอนกิ ส บริการพน้ื ท่ี
จัดเก็บขอมลู เวบ็ ไซตข องหนวยงาน บริการเครือขา ยคอมพิวเตอรท ัง้ แบบใชสายและไรส าย
บริการเครือขายอนิ เทอรเ นต็ บรกิ ารศนู ยการเรียนรดู วยตนเอง
๑๐.๓ บรกิ ารเทคโนโลยีการศกึ ษา ไดแ ก บรกิ ารยืม-คนื โสตทัศนูปกรณ บรกิ ารถาย
ภาพนิง่ เเละภาพเคลือ่ นไหว บริการผลติ สอ่ื ดจิ ทิ ลั บริการทําสําเนาเเละแปลงสัญญาณ
ขอ ๑๑. สํานักอาจกําหนดวิธกี ารและเง่ือนไขในการใชท รัพยากรสารสนเทศใหเ หมาะสมกับ
ทรัพยากรสารสนเทศแตล ะประเภทได
คค่มู ม่อืู นอื นกั กศั ึกศึษกษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ (๑(๑(๒๓๒)๓๓))
มมหหาวาิทวิทยายลายัลเยั ทเทคคโนโนโลโยลรยี าีรชามชมงคงคลกลรกงรุ เงุทเทพพ
หมวดที่ ๕
สิทธิและกําหนดเวลาการยืมทรพั ยากรสารสนเทศ
ขอ ๑๒. ผูมสี ทิ ธใิ นการยืมทรพั ยากรสารสนเทศ ไดแก นกั ศึกษา คณาจารย ขาราชการ
พนักงาน และลูกจา งมหาวิทยาลยั สวนบคุ คลภายนอกไมมสี ิทธิยมื ทรัพยากรสารสนเทศ แต
สามารถเขาใชบรกิ ารภายในสํานักได
ขอ ๑๓. บรกิ ารยมื ทรัพยากร แบงตามประเภทสมาชิก
๑๓.๑ บรกิ ารยมื สอ่ื สงิ่ พิมพประเภทหนงั สือ
ประเภทสมาชิก จํานวนหนังสือ ระยะเวลา
นักศึกษาปรญิ ญาตรี ๗ เลม ๗ วัน
นักศกึ ษาระดับบัณฑิตศึกษา ๑๐ เลม ๑๕ วนั
อาจารย ขาราชการ พนกั งาน ๑๕ เลม ๑ ภาคการศกึ ษา
ลูกจาง ๑๒ เลม ๑ เดือน
๑๓.๒ บริการยมื สื่อไมใชสงิ่ พิมพ
ประเภทสมาชกิ จํานวน ระยะเวลา หมายเหตุ
นักศกึ ษาปริญญาตรี ๒ รายการ ๗ วนั -
นักศกึ ษาระดับบณั ฑิตศึกษา
อาจารย ขา ราชการ ๕ รายการ ๑ เดือน ยกเวนสอื่ โสตทัศนท่ี
พนกั งาน มจี ํานวนนอย มี
ระยะเวลายมื ๗ วัน
ลูกจาง ๒ รายการ ๗ วัน -
ขอ ๑๔. ผอู ํานวยการอาจประกาศกําหนดปริมาณ ระยะเวลา และเงอื่ นไขในการใหย มื
ทรพั ยากรสารสนเทศตอจากที่กาํ หนดขางตนได ในกรณีท่ีมเี หตุผลและความจาํ เปน
ขอ ๑๕. บัตรสมาชิก
๑๕.๑ คณาจารย ขา ราชการ และพนักงานมหาวทิ ยาลัย นําบตั รประจาํ ตวั
ขา ราชการและบัตรประจําตวั พนกั งานมหาวิทยาลยั มาดําเนินการทําบัตรสมาชิก โดยบัตร
สมาชกิ มีอายุเทากบั อายุการปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัย
((๑๑๒(๒๒๔๔))) คคมู่ ่มู อื อื นนกั กั ศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓
มมหหาาววิทิทยยาาลลยัยั เเททคคโโนนโโลลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ
๑๕.๒ อาจารยพ เิ ศษ และเจาหนา ทท่ี ่ีเปน ลกู จา งชวั่ คราวของมหาวทิ ยาลัยตอ งนํา
ใบคํ้าประกันความเสียหายไปใหผ ูบงั คับบัญชาเปนผลู งนามรับรอง เพ่ือนํามาทําเปนบตั รสมาชิก
โดยอายุบัตร สมาชกิ เทากบั อายกุ ารปฏบิ ัตงิ านในมหาวิทยาลัยของอาจารยพิเศษ และเจาหนา ท่ีที่
เปน ลกู จา งชัว่ คราว
๑๕.๓ นกั ศึกษาใหมเฉพาะในภาคการศึกษาแรกที่ยังไมไดร บั บัตรนักศึกษา อนญุ าต
ใหใชบ ัตรประจาํ ตวั ประชาชนแทนบัตรสมาชิกได กรณนี ักศึกษาที่มบี ัตรนกั ศึกษาแลว สามารถนาํ
บตั รนักศกึ ษามาใชบรกิ ารสํานักได
ขอ ๑๖. การยมื ทรัพยากรสารสนเทศ
๑๖.๑ ผยู ืมตองมายืมดว ยตนเองเทานั้น
๑๖.๒ การตอ อายุการยมื สามารถยืมตอได ๑ ครง้ั แตถ ามีผูข อใชสทิ ธใิ นการจอง
จะงดการตอ อายกุ ารยมื เพื่อใหส ิทธิแกผ ขู อจอง
๑๖.๓ ทรพั ยากรสารสนเทศทกุ รายการทย่ี ืมไป ผใู ชบรกิ ารตอ งนํามาสง คนื ตาม
กําหนดระยะเวลาทร่ี ะบุ
๑๖.๔ ผูใชบ ริการตอ งตรวจสอบสภาพทรพั ยากรสารสนเทศกอ นยืมออก และตอง
รับผดิ ชอบในการชาํ รดุ เสยี หายของทรัพยากรสารสนเทศที่ยืม
๑๖.๕ ผูใ ชบรกิ ารไมค นื ทรัพยากรสารสนเทศตามกาํ หนดหรือทาํ ใหชํารุดเสียหาย
จะตอ งชําระคา ปรบั หรือชดใชคาเสยี หายตามท่ีกาํ หนดไวในหมวด ๖ คา ปรบั และคา เสียหาย
ขอ ๑๗. ระเบยี บการขอใชบรกิ ารอนิ เทอรเน็ตและไปรษณียอเิ ลก็ ทรอนกิ ส
๑๗.๑ คณาจารย ขาราชการ และพนักงานมหาวิทยาลยั ใหบ นั ทึกขอมลู ตามแบบ
คําขอใชบรกิ ารอินเทอรเ น็ตและไปรษณียอิเล็กทรอนิกส โดยผบู งั คบั บัญชาลงนามรบั รอง
๑๗.๒ อาจารยพเิ ศษ ใหบ ันทึกขอมูลตามแบบคําขอใชบรกิ ารอินเทอรเน็ต
พรอ มสําเนาบัตรประจาํ ตัวประชาชน โดยคณบดลี งนามรับรอง โดยระยะเวลาท่สี ามารถใชบรกิ าร
ได ๑ ภาคการศึกษา
๑๗.๓ นักศึกษาใหบันทึกขอมูลตามแบบคําขอใชบริการอินเทอรเน็ตโดย
ผูอํานวยการสํานักสงเสริมวิชาการและงานทะเบียนลงนามรับรอง หรือบันทึกขอมูลตามแบบคํา
ขอออนไลนผ านเวบ็ ไซตที่สํานกั จดั เตรยี มไว
คค่มู ม่อืู นอื นกั กศั ึกศึษกษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ (๑(๑(๓๒๒)๕๕))
มมหหาวาิทวิทยายลายัลเยั ทเทคคโนโนโลโยลรยี าีรชามชมงคงคลกลรกงรุ เงุทเทพพ
๑๗.๔ วิทยากร หรือบุคคลภายนอก ใหบันทึกขอมูลตามแบบคําขอใชบริการ
อินเทอรเน็ตพรอมสําเนาบัตรประจําตัวประชาชน โดยคณบดี ผูอํานวยการสํานัก/สถาบัน
ผอู าํ นวยการวิทยาลยั นานาชาติ และผอู ํานวยการกอง หรอื เทียบเทา ลงนามรับรอง
๑๗.๕ ไมใ ชอ นิ เทอรเ น็ต และจดหมายอิเล็กทรอนิกส รวมถึงทรัพยากร
สารสนเทศอ่ืน ๆ ของมหาวทิ ยาลัย กระทําการใด ๆ อนั เปนการละเมิดกฎหมาย
ขอ ๑๘. ระเบียบการขอใชบริการภายในหอ งศูนยการเรียนรดู ว ยตนเอง
๑๘.๑ แตง กายสภุ าพเรยี บรอ ย
๑๘.๒ ใชบัตรนกั ศึกษาในการลงทะเบียนเขา-ออก เม่ือเขาใชบ ริการศนู ยการ
เรยี นรูดว ยตนเอง
๑๘.๓ วางกระเปา สมุด หนงั สอื และเส้ือเเจ็ตเกต็ ไวในล็อกเกอร ทส่ี าํ นกั จัดไว
ให
๑๘.๔ ไมส งเสียงดังรบกวนผอู ่ืน
๑๘.๕ ไมนําอาหาร เครื่องดื่ม ตลอดจนของคบเคยี้ วทุกชนดิ เขา มาในศนู ยก าร
เรยี นรดู ว ยตนเอง
๑๘.๖ รักษาความสะอาดและใชอุปกรณอยา งระมดั ระวงั
๑๘.๗ กรณอี ปุ กรณชาํ รดุ หรือมปี ญหา ใหแจงเจาหนา ทปี่ ระจําศนู ยการเรียนรู
ดวยตนเอง ทันที
๑๘.๘ เมือ่ เลิกใชบ ริการเเลว ใหป ด เคร่อื ง เกบ็ เกาอี้กลับเขาท่เี ดมิ
๑๘.๙ หา มนาํ เอกสารและอุปกรณตา งๆ ของศนู ยฯ ออกจากศนู ยโ ดยไมไดรบั
อนญุ าต
๑๘.๑๐ หากผูใ ชบ ริการทาํ ใหอ ปุ กรณเสยี หายโดยไมไดเ กิดจากการใชงานปกติ
จะตอ งรับผิดชอบตอความเสียหายที่เกดิ ขน้ึ
๑๘.๑๑ หามใชเครอื่ งคอมพิวเตอรเพื่อกระทาํ ความผดิ ภายใต พระราชบัญญตั ิ
วา ดว ยการกระทําความผิดเก่ียวกบั คอมพวิ เตอร พ.ศ. ๒๕๕๐
๑๘.๑๒ หามใชอปุ กรณค อมพวิ เตอรและเครือขา ยอนิ เทอรเนต็ เพื่อการอ่นื ใด
นอกเหนือจากวตั ถุ ประสงคทางการศึกษา
๑๘.๑๓ หา มนําโปรแกรมจากภายนอกมาติดต้งั กบั เครื่องคอมพวิ เตอรภ ายใน
ศนู ยก ารเรียนรดู ว ยตนเอง โดยไมไ ดรบั อนญุ าต
((๑๑๒(๒๒๖๖))) คคมู่ ่มู อื อื นนกั กั ศศึกกึ ษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓
มมหหาาววิทิทยยาาลลยัยั เเททคคโโนนโโลลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ
ขอ ๑๙. สิทธแิ ละกําหนดการใหบริการอืน่ ๆ ตามขอ ๑๐.๑, ๑๐.๒ และ ๑๐.๓ หวั หนา งาน
แตล ะฝายที่รบั ผิดชอบอาจประกาศสทิ ธแิ ละกาํ หนดการใหบริการไดต ามความเหมาะสม
หมวดท่ี ๖
คาปรับและคาเสียหาย
ขอ ๒๐. ผยู ืมทรัพยากรสารสนเทศ ที่ไมสง คนื ภายในระยะเวลาท่ีกาํ หนด ตอ งชําระคาปรับ
ดงั น้ี
๒๐.๑ สอื่ สง่ิ พมิ พประเภทหนังสือตํารา สารคดี นวนยิ าย เรือ่ งส้นั เลมละ ๓ บาทตอวนั
๒๐.๒ ส่อื ไมใชสง่ิ พิมพ ที่อนุญาตใหยืมออก รายการละ ๕ บาทตอ วนั
ขอ ๒๑. การนับจํานวนวันเพื่อคาํ นวณคา ปรบั ใหเ ร่ิมนับตอวนั จากวนั กําหนดคนื โดยไมเวน
วนั หยดุ ราชการจนถึงวันทีผ่ ูยืมนําทรพั ยากรสารสนเทศมาสง คนื
ขอ ๒๒. การเสยี คาปรบั ในการใชต ลู อ็ คเกอร
๒๒.๑ กรณีนักศึกษาลืมรหสั ผา นในการเปดตลู อ็ คเกอรเพอ่ื นําสัมภาระออก ตองเสีย
คา ปรับในการเปดคร้งั ละ ๒๐ บาท
๒๒.๒ นกั ศึกษาตองนําของออกจากตลู อ็ คเกอรกอนเวลาปดทาํ การของสํานกั กรณไี ม
ปฏบิ ัตติ าม ตอ งเสยี คา ปรับครั้งละ ๒๐ บาท
ขอ ๒๓. หากทรัพยากรสารสนเทศที่ยมื ชํารุดเสยี หาย และอยูในวิสัยซอ มแซมได ผยู ืมตอง
ชดใชคาเสียหายเพ่ือการซอมแซมตามจาํ นวนเงนิ ทสี่ ํานักไดจา ยไปเพื่อการน้นั
ขอ ๒๔. หากทรัพยากรสารสนเทศท่ียืมสูญหายหรอื ชํารดุ เสียหายจนไมอาจซอมแซมได ผยู มื
ตอ งจัดซ้ือในรายการทเ่ี หมือนกนั หรอื ดีกวา โดยมรี าคาไมต ํ่ากวา มลู คา ของทรพั ยากรสารสนเทศ
หรอื ชดใชเปน จาํ นวนเงิน ๒ เทา ของมูลคา ทรัพยากรสารสนเทศทีท่ ําสญู หายหรอื ชํารดุ พรอม
ชําระคา ปรับนบั ตอจากวันครบกําหนดสง ถงึ วันนําเงนิ หรือ นําทรัพยากรสารสนเทศทจี่ ัดซือ้ ใหม
มาชดใชแทน ในกรณีไมทราบมูลคาของทรัพยากรสารสนเทศ ใหส ํานกั เปนผปู ระเมินทรัพยากร
สารสนเทศนั้นๆ
ขอ ๒๕. ทรัพยากรสารสนเทศทไ่ี ดเ คยแจง หายไว หากพบในภายหลงั ใหถ อื วาเปนสมบตั ิของ
มหาวิทยาลยั
ขอ ๒๖. เงินคาปรบั เงนิ คาชดใชค วามเสยี หาย และเงนิ อ่ืนๆ อันเน่ืองจากการใหบ ริการของ
สาํ นัก ใหม หาวิทยาลยั จดั สรรคนื ใหสาํ นกั ไวเปน คาใชจา ยในกิจกรรมของสาํ นักโดยเฉพาะ
คคมู่ ม่อืู นอื นกั กศั ึกศึษกษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ (๑(๑(๒๓๒๗) ๗))
มมหหาวาิทวิทยายลายัลเยั ทเทคคโนโนโลโยลรยี าีรชามชมงคงคลกลรกงรุ เงุทเทพพ
หมวดที่ ๗
ขอ ปฏบิ ัตใิ นการใชบริการ
ขอ ๒๗. การใชบรกิ ารในสํานกั ตองปฏิบตั ิดงั ตอไปนี้
๒๗.๑ แตง กายสภุ าพเรียบรอย
๒๗.๒ เกบ็ กระเปา ถุง ยาม หรือหบี หอไวในตลู ็อคเกอร และไมนาํ ของทผ่ี ดิ กฎหมาย
เขา ไปเกบ็ ไวในตลู ็อคเกอร
๒๗.๓ กรณีฝากของไวภายในตูล็อคเกอร ตองนําออกกอนเวลาปดทําการ
๒๗.๔ ไมสงเสียงดงั หรือทาํ การใดๆ ทร่ี บกวนผอู ่ืน
๒๗.๕ ไมร ับประทานอาหาร ขนม เครอื่ งด่ืม หรือ สบู บหุ รี่
๒๗.๖ ทรพั ยากรสารสนเทศที่ไมไ ดยมื ใหถกู ตองตามระเบียบ หา มนาํ ออกนอกสาํ นัก
๒๗.๗ ไมทาํ ลาย โดยการฉกี ตัด ขดี เขียน พบั หรือมีพฤติกรรมใดๆ อนั ทําใหเ กิดความ
เสยี หายแกท รัพยากรสารสนเทศของสํานัก
๒๗.๘ ใชบรกิ ารทรัพยากรสารสนเทศ ณ ที่ซ่ึงจัดไวโ ดยเฉพาะ
๒๗.๙ ใหเจาหนาที่สํานักตรวจสอบทรัพยากรสารสนเทศและกระเปากอนออกจาก
สํานกั
๒๗.๑๐ ผใู ชบรกิ ารหยิบหนงั สือ วารสาร และสิง่ ตีพิมพอ ื่นๆ จากช้ันไดเอง หรือ จาก
การแนะนําของเจา หนาที่ เม่อื ใชแ ลวใหวางบนทพ่ี กั หนังสือ ยกเวน หนังสือสาํ รอง วารสาร
ยอ นหลัง ใหคนื เจา หนาท่ีบรกิ าร
๒๗.๑๑ ผใู ชบ ริการตองไมใ ชเครอื ขายคอมพิวเตอรของมหาวิทยาลยั ในการกระทาํ ใด
ที่ขัดตอกฎหมาย ประกาศ คาํ สั่งของมหาวทิ ยาลัย
หมวดท่ี ๘
การดาํ เนนิ การผูฝา ฝนระเบียบ
ขอ ๒๘. ผูใ ชบริการทฝ่ี า ฝน ไมป ฏบิ ัติตามระเบียบ ผูอาํ นวยการหรอื ผูท่ีไดร ับมอบหมาย มี
อํานาจพจิ ารณาดาํ เนนิ การขอใดขอหน่ึงหรอื มากกวา ดงั ตอไปนี้
๒๘.๑ ตกั เตอื น หรอื หามปราม
๒๘.๒ เชญิ ใหอ อกนอกบรเิ วณสํานัก
๒๘.๓ ตดั สทิ ธิในการใชบ ริการ
((๑๑๒(๒๒๘๘))) คคมู่ มู่ อื อื นนกั กั ศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓
มมหหาาววิทิทยยาาลลยัยั เเททคคโโนนโโลลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ
๒๘.๔ ปรับเงนิ เปน ๑๐ เทา ของราคาทรัพยากรสารสนเทศ ที่นําออกนอกสาํ นักโดย
ไมไดยืมใหถ ูกตองตามระเบียบ
๒๘.๕ เสนอใหม หาวทิ ยาลัยพจิ ารณาลงโทษทางวนิ ัย หรือทางอาญา หรือ ใหมีการ
รับผิดชอบตามกฎหมาย
ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑๒ เดอื น กมุ ภาพันธ พ.ศ. ๒๕๕๙
(ลงช่ือ) สาธติ พุทธชัยยงค
(นายสาธิต พุทธชัยยงค)
อธกิ ารบดมี หาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ
คคมู่ ม่อืู นอื นกั กศั กึศึษกษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ (๑(๑(๒๓๒)๙๙))
มมหหาวาิทวิทยายลายัลเยั ทเทคคโนโนโลโยลรยี าีรชามชมงคงคลกลรกงรุ เงุทเทพพ
ระเบยี บสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
วา ดวยการสอบของนกั ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี
พ.ศ. ๒๕๓๗
--------------------------
โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงระเบียบวาดวยการสอบของนักศึกษาระดับปริญญาตรีให
เหมาะสมยงิ่ ข้นึ
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๕ (๑) แหงพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยี
ราชมงคล พ.ศ. ๒๕๑๘ และมติสภาสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลในการประชุม คร้ังท่ี ๓/๒๕๓๗
เมอื่ วนั ท่ี ๒๖ เมษายน ๒๕๓๗ จึงวางระเบียบไว ดงั น้ี
ขอ ๑ระเบียบ นี้เรียกวา “ระเบียบ สถาบัน เท คโน โลยีราช มงคล วาดวย
การสอบของนักศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๓๗”
ขอ ๒ ใหใ ชระเบยี บนตี้ ้ังแตวันถดั จากวันประกาศเปน ตน ไป
ขอ ๓ ใหยกเลิกระเบียบสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วาดวยการสอบของนักศึกษาระดับ
ปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๓๐
บรรดาระเบียบ ขอบังคับ คําสั่ง หรือประกาศอื่นใด ในสวนท่ีกําหนดไวแลวใน
ระเบียบนหี้ รือซงึ่ ขัดหรือแยงกับระเบยี บนใี้ หใ ชร ะเบียบนแ้ี ทน
ขอ ๔ ในระเบยี บน้ี
“สถาบนั ” หมายความวา สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
“คณะ” หมายความวา คณะตาง ๆ ทจ่ี ัดการสอนระดับปริญญาตรี
“คณบดี” หมายความวา คณบดีของคณะตาง ๆ ท่จี ัดสอนระดบั ปรญิ ญาตรี
“คณะกรรมการประจาํ คณะ” หมายความวา คณะกรรมการประจําคณะท่ีจัด
สอนระดบั ปริญญาตรีตามพระราชบัญญตั ิสถาบันเทคโนโลยรี าชมงคล
“คณะกรรมการสอบประจําภาคการศึกษา” หมายความวา ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร
ดาํ เนินการสอบประจําภาคการศึกษาและการสอบระหวางภาคการศึกษาในคณะนัน้ ๆ
“การสอบ” หมายความวา การสอบประจําภาคการศึกษา หรือการสอบ
ระหวา งภาคการศกึ ษา
“นักศึกษา” หมายความวา นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี
((๑๑๓(๓๒๐๐))) คคมู่ มู่ อื อื นนกั กั ศศึกกึ ษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓
มมหหาาววิทิทยยาาลลยัยั เเททคคโโนนโโลลยยีรรี าาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ
ขอ ๕ ใหมีประกาศของสถาบันเกี่ยวกับขอปฏิบัติของผูคุมสอบระดับปริญญาตรี และ
ขอ ปฏบิ ตั ใิ นการสอบของนกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี เพอ่ื ใหผคู ุมสอบและผเู ขาสอบถือปฏบิ ตั ิ
ขอ ๖ กําหนดการสอบประจําภาคการศึกษาใหเปนไปตามประกาศของสถาบัน ซ่ึง
ประกาศใหน กั ศกึ ษาทราบลวงหนา
สําหรับการสอบระหวางภาคการศึกษา ใหอยูในดุลพินิจของคณะกรรมการสอบ
ประจําภาคการศึกษา
ขอ ๗ การสอบของรายวิชาใดที่มีอาจารยผูสอนหลายคน ใหภาควิชากําหนดอาจารย
ผูหนึง่ ประสานงานการสอบของรายวิชาน้ัน
ขอ ๘ การดําเนินการสอบเปนอํานาจของคณะกรรมการประจําคณะ เพ่ือการน้ีให
คณะกรรมการประจําคณะเสนอคณบดีเปนผูแตงต้ังคณะกรรมการสอบประจําภาคการศึกษา
ซงึ่ ประกอบดวยผูแทนภาควิชาอยา งนอยภาควิชาละ ๑ คน
ขอ ๙ อํานาจหนา ทขี่ องคณะกรรมการสอบประจําภาคการศึกษา มหี นาที่ ดงั น้ี
๙.๑ กําหนดบุคคลเพื่อทําหนาท่ีดําเนินการและควบคุมการสอบ แลวนําเสนอ
คณบดเี พอื่ แตงตัง้ เปนอนุกรรมการหรือเจา หนา ท่ี เพือ่ ดาํ เนนิ การในเร่อื งตอไปนี้
๙.๑.๑ จัดเก็บรวบรวมและตรวจสอบบัญชีรายชื่อนักศึกษาที่มีสิทธิสอบ
กอนกาํ หนดวันสอบในรายวชิ าน้นั ๆ กาํ หนดสถานทสี่ อบ
๙.๑.๒ กาํ หนดวิธีการจัดพมิ พข อ สอบ
๙.๑.๓ จัดการรับ–สงขอ สอบ สมดุ คาํ ตอบ และ/หรอื กระดาษคําตอบ
๙.๑.๔ ทําหนา ท่ีคมุ สอบ
๙.๑.๕ สอบสวนและรายงานการทุจริตของผูเ ขาสอบ
๙.๑.๖ ตดิ ตามและรวบรวมบญั ชีประเมินผล แตละรายวิชาทค่ี ณะรับผิดชอบ
สงใหแ ผนกทะเบยี นคณะ เพ่อื นาํ สง สาํ นักบริการทางวชิ าการและทดสอบ
๙.๒ ดูแลการสอบใหเปนไปตามประกาศของสถาบัน เก่ียวกับขอปฏิบัติของผู
คมุ สอบระดับปริญญาตรแี ละขอ ปฏบิ ตั ใิ นการสอบของนักศึกษาระดับปริญญาตรี
๙.๓ วินิจฉัยปญหาตาง ๆ ที่เก่ียวกับการสอบ และนําเสนอคณะกรรมการ
ประจาํ คณะเพ่อื วินิจฉยั และดําเนนิ การ
๙.๔ รายงานการปฏิบตั งิ านของผูคมุ สอบ
คค่มู ม่อืู นอื นกั กศั ึกศึษกษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ ((๑๑(๓๓๓)๑๑))
มมหหาวาิทวิทยายลายัลเยั ทเทคคโนโนโลโยลรยี าีรชามชมงคงคลกลรกงรุ เงุทเทพพ
๙.๕ ดําเนินการเรื่องอ่ืนใดท่ีเกี่ยวกับการสอบท่ีคณะกรรมการประจําคณะ
มอบหมาย
ขอ ๑๐ สิทธิในการเขาสอบของนักศึกษา ใหเปนไปตามขอบังคับของสถาบันวา
ดว ยการศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี
ขอ ๑๑ สถาบันจะไมประกาศผลการสอบ และจะไมใหลงทะเบียนเรียนในภาค
การศึกษาถัดไป หรือไมออกใบรับรองผลการศึกษาใหแกนักศึกษาผูมีหน้ีสินติดคางกับคณะหรือ
สถาบนั จนกวา จะไดช าํ ระหน้สี นิ ใหเปนที่เรยี บรอยแลว
ขอ ๑๒ ในกรณีที่เกิดการทุจริตในการสอบ ใหคณะกรรมการสอบประจําภาค
การศึกษา ทํารายงานเสนอใหคณะกรรมการประจําคณะพิจารณาโทษเปน ๓ สถาน ตาม
ลักษณะของความผดิ คอื
๑๒.๑ ใหไดระดบั คะแนน ต. หรือ F ในรายวิชาท่ีทําการทุจรติ น้นั
๑๒.๒ ใหไดระดับคะแนน ต. หรือ F ในรายวิชาที่ทําการทุจริตนั้นและสั่ง
ยกเลกิ การลงทะเบยี นเรียนทกุ รายวิชาในภาคการศกึ ษานนั้
๑๒.๓ ใหพ นสภาพการเปนนกั ศกึ ษา
เมอื่ คณะกรรมการประจําคณะพจิ ารณาโทษสถานใด ใหค ณบดีเปนผูลงนามใน
คําส่ังกรณีลงโทษตามขอ ๑๒.๑ และ ๑๒.๒ แลวเสนอสถาบันเพื่อทราบ กรณีลงโทษตามขอ
๑๒.๓ ใหเ สนอสถาบนั พิจารณาสงั่ การ
ขอ ๑๓ ภายใตบังคับ ขอ ๕ เพ่ือใหการสอบดําเนินไปดวยความเรียบรอยและมี
ประสทิ ธภิ าพสถาบนั หรอื คณะอาจกําหนดเปนประกาศอื่น ๆ ท่ไี มขดั ตอระเบยี บนี้
ขอ ๑๔ ในกรณีท่ีมีปญหาเก่ียวกับการปฏิบัติตามระเบียบน้ี ใหอธิการบดีเปนผู
วนิ ิจฉยั ช้ขี าด
ขอ ๑๕ ใหอ ธกิ ารบดเี ปนผูรกั ษาการตามระเบยี บน้ี
ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๓ เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๗
(ลงชื่อ) โกวทิ วรพพิ ัฒน
(นายโกวิท วรพพิ ัฒน)
ปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
นายกสภาสถาบนั เทคโนโลยีราชมงคล
((๑๑๓(๓๒๒๒))) คคมู่ มู่ อื อื นนกั กั ศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓
มมหหาาววิทิทยยาาลลยัยั เเททคคโโนนโโลลยยีรรี าาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ
ประกาศมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
เร่อื ง ขอปฏบิ ตั ิในการสอบของนกั ศกึ ษาระดับปรญิ ญา
พ.ศ. ๒๕๕๗
-----------------------------------
ดว ยมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ เห็นสมควรปรับปรุงขอปฏิบัติใน
การสอบของนักศกึ ษาระดบั ปริญญาใหเหมาะสมยิง่ ขนึ้
อาศัยอํานาจตามความในขอ ๕ แหงระเบียบสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วา
ดวยการสอบของนักศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๓๗ มหาวิทยาลัย จึงประกาศ ขอปฏิบัติใน
การสอบของนกั ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาดังน้ี
ขอ ๑ ประกาศนี้ เรียกวา “ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
เรื่อง ขอ ปฏบิ ัตใิ นการสอบของนักศกึ ษาระดับปริญญา พ.ศ. ๒๕๕๗”
ขอ ๒ ประกาศนี้ ใหใชบงั คับตั้งแตว นั ประกาศเปน ตนไป
ขอ ๓ ใหย กเลกิ “ประกาศมหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ เรื่อง ขอ
ปฏิบตั ใิ นการสอบของนักศึกษาระดับปรญิ ญา พ.ศ. ๒๕๕๒”
ขอ ๔ ผูเขาสอบจะตองเขาสอบตามตารางสอบและหองสอบท่ีคณะ หรือ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพไดประกาศไว หากไมมาเขาสอบตามตารางสอบและ
หองสอบทก่ี ําหนด ถือวา ขาดสอบในรายวชิ าน้นั
ขอ ๕ ในกรณีผูเขาสอบมาถึงหองสอบสายไมเกิน ๓๐ นาที จะเขาสอบได
ตอเม่ือไดรับอนุญาตจากกรรมการกํากับหองสอบ และไมอนุญาตใหตอเวลาสอบ หากผูเขาสอบ
มาถงึ หองสอบสายเกินกวา ๓๐ นาที จะไมไ ดร บั อนุญาตใหเ ขาหองสอบ
ขอ ๖ ผเู ขาสอบตองแสดงบัตรประจําตัวนักศกึ ษา ใหกรรมการกํากับหองสอบ
ตรวจทุกคร้ังท่ีเขาสอบ ในกรณีท่ีผูเขาสอบ มิไดนําบัตรประจําตัวนักศึกษามา สามารถใชใบแทน
บัตรประจําตัวนักศึกษาที่ออกจากสํานักสงเสริมวิชาการและงานทะเบียน/ บัตรประจําตัว
ประชาชน / บตั รประจําตัวขาราชการ / ใบขบั ขี่มาแสดง จึงจะเขา สอบได และไมอนุญาตใหตอ
เวลาสอบ
ขอ ๗ ผูเขาสอบจะตองนั่งประจําตามที่น่ังสอบที่กําหนดให จะเปล่ียนท่ีน่ัง
สอบกอ นไดร บั อนุญาตไมไ ด
คคมู่ ม่อืู นอื นกั กศั ึกศึษกษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ ((๑๑(๓๓๓)๓๓))
มมหหาวาิทวิทยายลายัลเยั ทเทคคโนโนโลโยลรยี าีรชามชมงคงคลกลรกงรุ เงุทเทพพ
ขอ ๘ ผูเขาสอบตองแตงกายใหสุภาพตามประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลกรุงเทพ วา ดวยเครอ่ื งแบบ เคร่อื งหมาย และเคร่ืองแตงกายของนักศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๔
ขอ ๙ ผูเขาสอบตองจดั หาอุปกรณ เครื่องเขียนที่จําเปนเกี่ยวกับการเขียนมา
เอง เชน ปากกา ดินสอ ยางลบ ไมบรรทัด ไมฉาก ไมโปรแทรกเตอร วงเวียน เปนตน และไม
อนุญาตใหยืมสิ่งของทุกชนิดจากผูเขาสอบอื่น เวนแตจะไดรับอนุญาตจากกรรมการกํากับหอง
สอบ
ขอ ๑๐ หามผูเขาสอบนําตํารา บันทึก เอกสาร เคร่ืองคํานวณ อุปกรณหรือส่ิง
อ่ืนใดท่ีมีสูตรสัญลักษณท่ีเกี่ยวของกับการสอบในรายวิชานั้น ๆ เขาหองสอบ เวนแตจะไดรับ
อนุญาตไวในขอ สอบของรายวิชานนั้ ๆ และผเู ขา สอบตอ งจดั หามาเอง
ขอ ๑๑ ในระหวางการสอบ หามผูเขาหองสอบพูดหรือติดตอซ่ึงกันและกัน หรือ
กอการรบกวนแกผอู ่ืน เชน สบู บุหรี่ สงเสยี งดงั เปนตน
ขอ ๑๒ ผูเขาสอบตองปฏิบัติใหถูกตองตามความที่แจงไวในขอสอบเม่ือสงสมุด
คําตอบและ/หรอื กระดาษคําตอบแลว จะขอแกไ ขเปล่ยี นแปลงใด ๆ อีกมไิ ด
ขอ ๑๓ การขอสมุดคําตอบและ/หรือกระดาษคําตอบเพิ่มเติม หรืออุปกรณ
เกี่ยวกับการสอบ หรือมีขอสงสัยในการสอบ ใหผูเขาสอบสอบถามจากกรรมการกํากับหองสอบ
เทานน้ั
ขอ ๑๔ หามฉีกหรือนําสมุดคําตอบและ/หรือกระดาษใด ๆ ที่แจกใหในหองสอบ
ออกจากหองสอบ ไมว ากรณีใด ๆ
ขอ ๑๕ ผูเขาสอบจะออกจากหองสอบได ตอเม่ือการสอบไดดําเนินการผานพน
ไปแลวกึ่งหนึ่งของเวลาในการสอบรายวิชานั้น ๆ นับแตเร่ิมสัญญาณใหเขาสอบ และรอจนกวา
กรรมการกาํ กับหอ งสอบจะมาเกบ็ สมุดคําตอบและ/หรือกระดาษคาํ ตอบเรียบรอยแลว
การขออนุญาตออกจากหองสอบชั่วคราว หรือหลังระยะเวลาที่กําหนด ใน
วรรคแรก ใหอยใู นดลุ พนิ จิ ของกรรมการกํากบั หองสอบ
ขอ ๑๖ หากผูเขาสอบตองการสงสมุดคําตอบและ/หรือกระดาษคําตอบ กอน
หมดเวลาที่กําหนดไว ใหยกมือข้ึนและรอจนกวากรรมการกํากับหองสอบจะมาเก็บสมุดคําตอบ
และ/หรอื กระดาษคาํ ตอบเรียบรอ ยแลว จงึ จะออกจากหองสอบได
ในกรณีที่ผูเขาสอบมิไดทําขอสอบใหดําเนินการตามความในวรรคแรก
เชนเดียวกัน
((๑๑๓(๓๒๔๔))) คคมู่ มู่ อื อื นนกั กั ศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓
มมหหาาววิทิทยยาาลลยัยั เเททคคโโนนโโลลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ
ขอ ๑๗ เมื่อมีสัญญาณหมดเวลา หามผูเขาสอบเขียนตอไปอีก ใหผูเขาสอบ
วางสมุดคําตอบและ/หรือกระดาษคาํ ตอบนั้นไวบนโตะของตน และรอจนกวา กรรมการกํากับหอง
สอบจะมาเก็บสมดุ คําตอบและ/หรือกระดาษคาํ ตอบเรยี บรอยแลว จงึ จะออกจากหองสอบได
ขอ ๑๘ เมื่อผูเขาสอบไดสงสมุดคาํ ตอบและ/หรือกระดาษคําตอบแกกรรมการ
กํากับหองสอบเรียบรอยแลว ผูเขาสอบตองออกไปใหพนบริเวณหองสอบทันที และไมกระทํา
การรบกวนแกผ เู ขา สอบอืน่ ท่กี าํ ลังสอบอยู
ขอ ๑๙ ในกรณีท่ีผูเขาสอบตองสงสัยกระทําการทุจริต ใหกรรมการกํากับหอง
สอบมีอํานาจตรวจคน ผเู ขา สอบได
ขอ ๒๐ ผูเขาสอบผูใดกระทําการฝาฝนประกาศนี้ หรือพยายามกระทําการ
ทุจริตในการสอบรายวิชาใด เมื่อไดสอบสวนแลว ประธานกรรมการหรือผูมีอํานาจหนาท่ีในการ
จัดการสอบ มีอํานาจสัง่ ไมใหผนู ั้นเขาสอบรายวิชาน้ัน หรือส่งั ไมต รวจคําตอบรายวิชานั้นของผูนั้น
โดยถอื วาสอบตกเฉพาะรายวิชากไ็ ด
ถาการกระทําดังกลาวในวรรคแรกเขาลักษณะรา ยแรง อาจสั่งไมใหผูน น้ั เขาสอบ
ตอ ไปกไ็ ด
ขอ ๒๑ ผูเขาสอบผูใดกระทําการทุจริตในการสอบรายวิชาใด ใหคณะกรรมการ
สอบประจําภาคการศึกษาทํารายงานเสนอใหคณะกรรมการประจําคณะท่ีเปนคณะกรรมการ
ภายในของคณะ พจิ ารณาโทษเปน ๓ สถาน ตามลกั ษณะของความผดิ คือ
๒๑.๑ ใหไ ดร ะดับคะแนน ต. หรือ F ในรายวชิ าท่ที าํ การทจุ ริตน้ัน
๒๑.๒ ใหไดระดับคะแนน ต. หรือ F ในรายวิชาที่ทําการทุจรติ นั้น และส่ัง
ยกเลิกการลงทะเบยี นเรยี นทุกรายวิชาในภาคการศกึ ษานัน้
๒๑.๓ ใหพน สภาพการเปนนกั ศึกษา
เมื่อคณะกรรมการประจําคณะท่ีเปนคณะกรรมการภายในของคณะ
พิจารณาโทษสถานใด ใหคณบดเี ปนผูลงนามในคําสั่งกรณีลงโทษตามขอ ๒๑.๑ และ ๒๑.๒ แลว
แจงสํานักสงเสริมวิชาการและงานทะเบียนเพื่อทราบ กรณีลงโทษตามขอ ๒๑.๓ ใหเสนอ
มหาวิทยาลยั พจิ ารณาส่ังการ
ขอ ๒๒ กรณีกระทําการทุจรติ โดยการคัดลอกคําตอบระหวางผูเขาสอบดวยกัน
ใหสนั นษิ ฐานไวกอนวาผเู ขาสอบนั้นไดส มคบกันกระทําการทจุ รติ
คคมู่ ม่อืู นอื นกั กศั ึกศึษกษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ ((๑๑(๓๓๓)๕๕))
มมหหาวาิทวิทยายลายัลเยั ทเทคคโนโนโลโยลรยี าีรชามชมงคงคลกลรกงรุ เงุทเทพพ
ขอ ๒๓ กรณีที่มีปญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามประกาศน้ี หรือประกาศน้ีมิได
กาํ หนดไวใ หอ ธกิ ารบดีเปน ผวู ินิจฉัย ชขี้ าด
ประกาศ ณ วันท่ี ๑๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗
(ลงชือ่ ) สาธติ พทุ ธชยั ยงค
(นายสาธิต พุทธชยั ยงค)
อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ
((๑๑๓(๓๒๖๖))) คคมู่ มู่ อื อื นนกั กั ศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓
มมหหาาววิทิทยยาาลลยัยั เเททคคโโนนโโลลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ
ประกาศมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
เรื่อง ขอปฏบิ ัตขิ องกรรมการกํากบั หอ งสอบ ในการสอบประจําภาค
ของนกั ศึกษาระดบั ปริญญา
พ.ศ. ๒๕๕๗
--------------------------------
ดวยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เห็นสมควรปรับปรุงขอปฏิบัติ
ของกรรมการกํากับหองสอบ ในการสอบประจําภาคของนักศึกษาระดับปริญญาใหเหมาะสม
ยง่ิ ข้ึน
อาศัยอํานาจตามความในขอ ๕ แหงระเบียบสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
วาดวยการสอบของนักศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๓๗ มหาวิทยาลัย จึงประกาศขอปฏิบัติ
ของกรรมการกาํ กับหองสอบ ในการสอบประจําภาคของนกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาดงั นี้
ขอ ๑ ประกาศนี้ เรียกวา “ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เร่ือง ขอปฏิบัติของกรรมการกํากับหองสอบ ในการสอบประจําภาคของนักศึกษาระดับปริญญา
พ.ศ. ๒๕๕๗”
ขอ ๒ ประกาศน้ี ใหใชบงั คับตัง้ แตวันประกาศเปน ตน ไป
ขอ ๓ ใหยกเลิก “ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เร่ือง
ขอปฏิบัติของกรรมการกํากับหองสอบ ในการสอบประจําภาคของนักศึกษาระดับปริญญา
พ.ศ. ๒๕๕๒”
ขอ ๔ ใหลงนามปฏบิ ัติราชการ ณ กองกลางของทุกสนามสอบ และไปถึงหอง
สอบกอ นเวลาสอบ ๓๐ นาที
ขอ ๕ ใหรับ – สงขอสอบจากผปู ระสานงาน หรือตามท่ีประธานกรรมการหรือ
ผมู อี าํ นาจหนา ที่ในการจดั การสอบกําหนด
ขอ ๖ ตรวจนับจํานวนขอสอบ และกระดาษคําตอบ แตละซองเทากับจํานวน
ท่รี ะบไุ ว หนาซองขอสอบ (ขอสอบสํารอง ใหข อรับไดที่กองกลางของทุกสนามสอบ)
ขอ ๗ ไมอนญุ าตใหผูเขาสอบทมี่ าสายเกิน ๓๐ นาทเี ขาหอ งสอบ
ขอ ๘ ผูเขาสอบจะออกจากหองสอบไดตอเม่ือการสอบไดดําเนินการผานพน
ไปแลว กง่ึ หนึ่งของเวลาในการสอบรายวชิ านั้น ๆ นบั แตเ ร่มิ สญั ญาณใหเ ขา สอบ
คค่มู ม่อืู นอื นกั กศั ึกศึษกษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ (๑(๑(๓๓๓๗) ๗))
มมหหาวาิทวิทยายลายัลเยั ทเทคคโนโนโลโยลรยี าีรชามชมงคงคลกลรกงรุ เงุทเทพพ
ขอ ๙ ใหผูเขาสอบลงชื่อในใบรายชื่อทุกคน ในกรณีที่ผูเขาสอบขาดสอบให
เขยี นคําวา “ขาดสอบ” ตรงชองลงชือ่ ของผขู าดสอบ
ขอ ๑๐ แจง ผูเขา สอบใหท ราบถึงขอปฏิบัตขิ องการสอบ
ขอ ๑๑ ตรวจสอบบัตรประจําตัวนักศึกษา ในกรณีที่ผูเขาสอบ มิไดนําบัตร
ประจําตัวนักศึกษามา สามารถใชใบแทนบตั รประจาํ ตัวนักศึกษาท่ีออกจากสํานักสงเสริมวชิ าการ
และงานทะเบยี น/ บตั รประจาํ ตัวประชาชน / บัตรประจําตัวขาราชการ / ใบขบั ขี่แทนได
ขอ ๑๒ รวบรวมกระดาษคําตอบเรียงตามใบรายชื่อผูเขาสอบ สรุปจํานวนผูเขา
สอบ และจํานวนผูขาดสอบในใบรายชื่อ ลงนามกรรมการกํากับหองสอบทุกคนและเขียนชื่อ
กํากบั ดว ยตวั บรรจง
ขอ ๑๓ หามผูเขาสอบนําตํารา บันทึก เอกสาร เครื่องคํานวณ อุปกรณหรือส่ิง
อนื่ ใดทม่ี ีสตู รสญั ลักษณท่ีเก่ยี วของกบั การสอบในรายวิชานั้น ๆ รวมถงึ อุปกรณส ่ือสารทุกชนิดเขา
หองสอบ เวนแตจ ะไดร บั อนญุ าตไวในขอสอบของรายวิชาน้นั ๆ และผูเขาสอบตอ งจัดหามาเอง
ขอ ๑๔ ในกรณีที่ผูเขาสอบทําการทุจริต ใหรายงานการทุจริตตามแบบฟอรม ท่ี
กาํ หนดและสงใหกับผปู ระสานงานประจําสนามสอบ
ขอ ๑๕ ไมกระทาํ การใด ๆ อันเปนที่รบกวนสมาธิของผูเขา สอบ และกาํ กบั การ
สอบอยา งเครงครดั
ขอ ๑๖ กรณีที่มีปญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามประกาศน้ี หรือประกาศน้ีมิได
กําหนดไวใ หอธิการบดีเปนผวู ินจิ ฉัย ชขี้ าด
ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗
(ลงชอ่ื ) สาธติ พุทธชัยยงค
(นายสาธติ พุทธชัยยงค)
อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
((๑๑๓(๓๒๘๘))) คคมู่ มู่ อื อื นนกั กั ศศึกึกษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓
มมหหาาววิทิทยยาาลลยัยั เเททคคโโนนโโลลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ
ระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
วาดว ยการเทียบโอนผลการเรียน
พ.ศ. ๒๕๕๐
----------------------------------------------
โดยที่เปนการสมควรจัดทําระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
วาดวยการเทียบโอนผลการเรียนใหสอดคลองกับความตามมาตรา ๑๕ แหงพระราชบัญญัติ
การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ซง่ึ กําหนดใหมีการเทียบโอนผลการเรียนจากการศึกษาในระบบ
การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย และประกาศทบวงมหาวิทยาลัย (สํานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา) เร่ือง หลักเกณฑการเทียบโอนผลการเรียนระดับปริญญาเขาสู
การศึกษาในระบบ พ.ศ. ๒๕๔๕ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๔๕ เปนไปดวยความเรียบรอย และ
คงไวซ ึ่งคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษาของมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
อาศัยอํานาจตามมาตรา ๑๗ (๒) แหงพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคล พ.ศ.๒๕๔๘ และมติสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ ในการประชุมครั้ง
ที่ ๔/๒๕๕๐ เม่ือวันท่ี ๒๖ เดือน กมุ ภาพันธ พ.ศ. ๒๕๕๐ จึงวางระเบยี บไวด ังตอไปนี้
ขอ ๑ ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
วา ดวยการเทียบโอนผลการเรยี น พ.ศ. ๒๕๕๐”
ขอ ๒ ระเบยี บนใี้ หมผี ลใชบ งั คบั นับแตว นั ถดั จากวันประกาศเปน ตน ไป
ขอ ๓ บรรดาระเบียบ ขอบังคับ หรือคําส่ังอื่นใด ในสวนที่กําหนดไวแลวใน
ระเบียบน้ี หรอื ซึง่ ขัดหรือแยงกับระเบยี บนี้ ใหใ ชร ะเบยี บนี้แทน
ขอ ๔ ในระเบยี บน้ี
“มหาวทิ ยาลยั ” หมายความวา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
“สถานศกึ ษา” หมายความวา สวนราชการระดับคณะ หรือสวนราชการท่ี
เรยี กช่ือเปน อยางอ่นื แตม ีฐานะเทียบเทาคณะที่มกี ารจดั การเรยี นการสอน
“หัวหนาสถานศกึ ษา” หมายความวา หัวหนาสวนราชการระดับคณะ หรือ
หัวหนาสว นราชการที่เรยี กชือ่ เปนอยา งอนื่ แตมีฐานะเทยี บเทา คณะ ท่ีมกี ารจัดการเรยี นการสอน
“การเทยี บโอนผลการเรยี น” หมายความวา การนําผลการเรียนรู ซ่ึงเปน
ความรูทักษะและประสบการณข องผเู รียนท่ีเกิดจากการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ
คคมู่ ม่อืู นอื นกั กศั กึศึษกษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ (๑(๑(๓๓๓๙) ๙))
มมหหาวาิทวิทยายลายัลเยั ทเทคคโนโนโลโยลรยี าีรชามชมงคงคลกลรกงรุ เงุทเทพพ
การศึกษาตามอัธยาศัย การฝกอาชีพ หรือจากประสบการณการทํางานมาประเมินเปนสวนหน่ึง
ของการศกึ ษาตามหลักสตู รของมหาวิทยาลยั
ขอ ๕ ใหอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ รักษาการใหเปนไปตาม
ระเบยี บนแ้ี ละใหมีอาํ นาจวินจิ ฉยั ปญ หาเกี่ยวกบั การปฏบิ ตั ติ ามระเบียบน้ี
ขอ ๖ ระเบียบน้ีใหใชบังคับกับนักศึกษาระดับปริญญาและต่ํากวาปริญญาท่ีเขาศึกษา
ตัง้ แต ปก ารศกึ ษา ๒๕๕๐ เปน ตน ไป
ขอ ๗ ใหหัวหนาสถานศึกษาแตงต้ังคณะกรรมการเทียบโอนผลการเรียน ซึ่งมี
คุณสมบัติสอดคลองกับระดับการศึกษาและสาขาวิชาที่ขอเทียบโอน จํานวนไมนอยกวา ๓ คน
ดําเนนิ การเทียบโอนผลการเรียนตามหลกั สตู รท่กี าํ หนด
ขอ ๘ คณะกรรมการเทียบโอนผลการเรียน มีหนาท่ีดําเนินการเทียบโอนผลการ
เรียนรู และ/หรือประเมินความรู ทักษะ และประสบการณตามหลักเกณฑและวิธีการ
ประเมินผลท่มี หาวิทยาลยั กําหนด
ขอ ๙ ผูขอเทยี บโอนผลการเรียน ตอ งขนึ้ ทะเบยี นเปน นักศกึ ษาของมหาวทิ ยาลยั
ขอ ๑๐ ผูข อ เที ย บ โอ น จะต อ งใช เวล าศึ ก ษ าอ ยูใน ส ถ าน ศึ ก ษ าอ ย างน อ ย
หนึ่งปก ารศึกษา
ขอ ๑๑ คาธรรมเนียมการเทียบโอนผลการเรียน และหนวยกิตใหเปนไปตามประกาศ
ของมหาวิทยาลัย
ขอ ๑๒ ใหห ัวหนาสถานศึกษาเปนผอู นมุ ัติผลการเทยี บโอนผลการเรยี น
หมวดท่ี ๑
การเทียบโอนผลการเรียนในระบบ
ขอ ๑๓ หลักเกณฑการเทียบโอนผลการเรียน โดยการเทียบวิชาเรียน และ
โอนหนว ยกติ ระหวา งการศกึ ษาในระบบ มดี ังน้ี
(๑) ใหเทียบโอนรายวิชา หรือกลุมวิชาซ่ึงมีเน้ือหาสาระการเรียนรู และ
จุดประสงคค รอบคลุมไมนอยกวาสามในส่ีของรายวชิ า หรอื กลุมวิชาในสาขาวิชาที่นักศึกษาผูขอ
เทยี บโอนศกึ ษาอยู
(๒) รายวิชาห รือกลุมวิชา ท่ี จะนํามาเที ยบ โอนตองมีระดับคะแน น
ไมตาํ่ กวา ค หรอื C
((๑๑๔(๔๒๐๐))) คคมู่ มู่ อื อื นนกั กั ศศึกกึ ษษาา๒๒๕๕๖๖๓๓
มมหหาาววิทิทยยาาลลยัยั เเททคคโโนนโโลลยยีรรี าาชชมมงงคคลลกกรรงุงุ เเททพพ
(๓) รายวิชาหรอื กลมุ วิชา ทีเ่ ทยี บโอนหนวยกิตให เม่ือรวมกนั แลว ตองมีจาํ นวน
หนวยกติ ไมเ กนิ สามในส่ีของจํานวนหนวยกิตตลอดหลักสตู ร
(๔) ในกรณี ท่ีมหาวิทยาลัยเปดหลักสูตรใหม จะเทียบโอนนักศึกษาได
ไมเกินกวาช้ันป และภาคการศึกษาที่ไดรับอนุญาตใหมีนักศึกษาเรียนอยูตามหลักสูตรท่ีไดรับ
ความเห็นชอบแลว ในกรณีท่ีสาขาวิชานั้นเปดหลักสูตรใหม ผูขอเทียบโอนจะไมสามารถจบกอน
นักศึกษารุนแรกของหลักสตู รนัน้ ได
ขอ ๑๔ ใหสถานศึกษาดําเนินการเทียบโอนผลการเรียน ภายในภาคการศึกษาแรกที่
ขึ้นทะเบียนเปนนักศึกษา ทั้งน้ีเพ่ือผูขอเทียบโอนจะไดรบั ทราบจํานวนรายวิชาและจํานวนหนวย
กติ ท่จี ะตอ งศึกษาเพิ่มเตมิ ตามหลักสตู ร
กรณีเหตุผลจําเปนไมสามารถดาํ เนินการเทียบโอนผลการเรียน ภายในกําหนดเวลา
ตามวรรคหน่ึงใหอยูในดุลพินิจของหัวหนาสถานศึกษาจะพิจารณาใหขอเทียบโอน แตตองไมเกิน
ภาคการศึกษาที่ ๒ ในปการศึกษานั้น
ขอ ๑๕ ใหม ีการบันทกึ ผลการเทียบโอน และการประเมนิ ผล ดังนี้
(๑) รายวิชาหรือกลุมวิชาท่ีเทียบโอนให จะไมนํามาคิดคาระดับคะแนนเฉล่ีย
ประจําภาคและคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม โดยใหบันทึก Transfer Credits ไวสวนบนของ
รายวิชาทเี่ ทียบโอนใหในใบแสดงผลการเรยี น
(๒) รายวิชาหรือกลุมวิชาท่ีเทียบโอนให หากเปนหลักสูตรที่มีองคกรวิชาชีพ
ควบคุมตองใชผลการเรียนประกอบวิชาชีพ ใหกําหนดระดับคะแนนในรายวิชาหรือกลุมวิชาที่
เทียบโอน เพ่ือนํามาคิดคาระดับคะแนนเฉลี่ยประจําภาคและคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม โดย
บันทึกอักษร “TC” (Transfer Credits) ไวสวนทายรายวิชาหรือกลุมวิชาที่เทียบโอนใหในใบ
แสดงผลการเรยี น
หมวดที่ ๒
การเทียบโอนผลการเรียนจากการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
เขา สูการศึกษาในระบบ
ขอ ๑๖ หลักเกณฑการเทียบโอนผลการเรียน โดยการเทียบโอนความรูและใหหนวยกิต
จากการศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัย เขาสูการศกึ ษาในระบบ มดี งั นี้
คค่มู ม่อืู นอื นกั กศั กึศึษกษาา๒๒๕๕๖๖๓๓ ((๑๑(๓๔๔)๑๑))
มมหหาวาิทวิทยายลายัลเยั ทเทคคโนโนโลโยลรยี าีรชามชมงคงคลกลรกงรุ เงุทเทพพ
(๑) วิธีการประเมินเพื่อการเทียบโอนความรูจะกระทําไดโดยการทดสอบ
มาตรฐาน การทดสอบท่ีไมใชการทดสอบมาตรฐาน การประเมิน การจัดการศึกษา/อบรม ท่ีจัด
โดยหนว ยงานตาง ๆ และการประเมนิ แฟมสะสมงาน
(๒) การเทียบโอนความรูจะเทียบเปนรายวิชาหรือกลุมวิชาตามหลักสูตรท่ี
เปดสอนในมหาวิทยาลัย โดยรายวิชาหรือกลุมวิชาที่เทียบโอนให เม่ือรวมกันแลวตองมีจํานวน
หนว ยกติ ไมเ กินสามในส่ขี องจาํ นวนหนว ยกิต ตลอดหลักสูตร
(๓) การขอเทียบโอนความรูเปนรายวิชาหรือกลุมวิชา ที่อยูในสังกัด
ภาควิชาหรือสาขาวิชาใดใหภาควชิ า หรอื สาขาวิชานนั้ เปนผูกําหนดวิธีการและการดําเนินการ
เทียบโอนโดยการเทียบโอนความรูนั้น ตองไดรับผลการประเมินเทียบไดไมตํ่ากวา ค หรือ C จึง
จะใหน ับจาํ นวนหนวยกิตรายวชิ าหรือกลมุ วิชาน้ัน
(๔) รายวิชาท่ีเทียบโอนให จะไมนํามาคิดคาระดับคะแนนเฉล่ียประจําภาค
และคาระดับคะแนนเฉล่ียสะสม โดยบันทึก Prior Learning Credits ไวสวนบนของรายวิชาท่ี
เทียบโอนใหในใบแสดงผลการเรียนเวนแตหลักสูตรท่ีมีองคกรวิชาชีพควบคุม ใหเปนไปตาม
หลกั เกณฑและขอ กําหนดขององคกรวิชาชีพน้ัน
ในกรณีมีเหตุจําเปน มหาวิทยาลัยมีเอกสิทธิ์ท่ีจะใหภ าควชิ าหรอื สาขาวิชา
ทาํ การประเมินความรขู องผูทจี่ ะขอเทยี บโอนความรู
ขอ ๑๗ ใหม ีการบนั ทึกผลการเรยี นตามวิธกี ารประเมิน ดงั น้ี
(๑) หนวยกิตท่ีไดจากการทดสอบมาตรฐาน ใหบันทึก “CS” (Credits
from Standardized Tests)
(๒) หนวยกิตท่ีไดจากการทดสอบท่ีไมใชการทดสอบมาตรฐาน ใหบันทึก
“CE” (Credits from Examination)
(๓) หนวยกิตท่ีไดจากการประเมินการจัดการศึกษา/อบรมท่ีจัดโดย
หนวยงานตา ง ๆ ใหบ ันทกึ “CT” (Credits from Training)
(๔) หนวยกิตท่ีไดจากการประเมินแฟมสะสมงาน ใหบันทึก “CP”
(Credits from Portfolio)
การบันทึกผลการเทียบโอนตามวิธีการประเมินในขอ (๑) (๒) (๓) และ (๔)
ใหบันทึกไวสวนทายของรายวิชา หรือกลุมวิชาท่ีเทียบโอนให เวนแตหลักสูตรที่มีองคกรวิชาชีพ
ควบคุม และตองใชผลการเรียนประกอบการขอใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ใหกําหนดระดับ