The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thatchapongpat, 2022-06-04 00:11:30

คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 1

คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 1

คมู่ ือครู รายวชิ าพืน้ ฐาน คณิตศาสตร์ บทที่ 2 | ทศนยิ ม
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 เล่ม 1

ตารางวิเคราะหเ์ นอ้ื หากบั ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเวลาทีใ่ ชใ้ นการจัดกจิ กรรม

หวั ขอ้ เนอื้ หา เวลา ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
(ชัว่ โมง)
เตรียมความพร้อม jklmn
2.1 การเขยี นเศษสว่ นทม่ี ีตวั สว่ นเป็นตัวประกอบ 1
-----
ของ 10 100 หรือ 1,000 ในรปู ทศนยิ ม 4
-- - -
2.2 การหาคา่ ประมาณ
3 -- - -
2.3 การคณู 7 ---
••การคณู ทศนยิ มกับจ�ำ นวนนับ
••การคณู ทศนิยมกบั ทศนิยม 7 ---
3 ---
2.4 การหาร 8  -  -
1  -  -
2.5 ทศนิยมกับการวัด

2.6 โจทยป์ ญั หา

รว่ มคิดรว่ มท�ำ

ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

j การแกป้ ัญหา k การส่ือสารและการส่อื ความหมายทางคณิตศาสตร์
l การเช่อื มโยง
m การให้เหตผุ ล n การคดิ สรา้ งสรรค์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  73

คมู่ ือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ บทท่ี 2 | ทศนิยม
ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 5 เลม่ 1

ค�ำ ใหม่

-

ความรหู้ รือทกั ษะพนื้ ฐาน

1. การเขยี นทศนยิ มในรปู เศษส่วน และการเขยี นเศษสว่ นในรปู ทศนยิ ม
2. การบวกและการลบทศนิยมไมเ่ กนิ 3 ต�ำ แหน่ง
3. การคณู และการหารเศษส่วน


ส่ือการเรียนรู้

-

แหลง่ เรยี นรู้

1. หนังสือเรยี น หนา้ 64-121
2. แบบฝึกหัด หน้า 66-93

เวลาทีใ่ ชจ้ ดั การเรียนรู้

34 ชั่วโมง

74  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครู รายวชิ าพน้ื ฐาน คณิตศาสตร์ บทท่ี 2 | ทศนยิ ม
ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 5 เลม่ 1
หน่วยวัดน้าำ หนกั ของทองคาำ มีหลายแบบ เช่น ประเทศอังกฤษใช ้ ออนซ์ (Ounce)
แนวการจัดการเรียนรู้ หรอื ทรอยออนซ์ (Troy Ounce) สว่ นของประเทศไทยใช้หนว่ ยวัดนาำ้ หนกั เปน็ บาท
การเตรียมความพร้อม โดยทองคาำ แท่งนา้ำ หนกั 1 บาท เท่ากบั 15.244 กรัม ส่วนทองรูปพรรณนาำ้ หนกั 1 บาท เท่ากบั
15.16 กรมั สาเหตุท่ีนา้ำ หนักไมเ่ ทา่ กนั เพราะทองรูปพรรณนั้นเกิดจากการนำาทองคำาแท่ง 96.5%
บทที่ ทศนยิ ม มาแปรรูปเป็นทองรปู พรรณ และมีการสญู เสยี เนอ้ื ทองไปในกระบวนการแปรรปู

2 ทองคาำ แท่งนำ้าหนกั 5 บาท จะมีนา้ำ หนักกีก่ รัม

เรยี นจบบทนแ้ี ลว้ นักเรียนสามารถ

เขียนเศษส่วนที่มตี วั ส่วนเปน็ ตัวประกอบของ 10 100 หรอื 1,000
ในรูปทศนิยม

หาค่าประมาณของทศนยิ มไมเ่ กิน 3 ตาำ แหนง่ เป็นจำานวนนับ
ทศนยิ ม 1 ตาำ แหน่ง และ 2 ตำาแหนง่

หาผลคณู ของทศนยิ มกบั จาำ นวนนับ ทม่ี ผี ลคูณเปน็ ทศนิยมไม่เกนิ 3 ตาำ แหน่ง

หาผลคูณของทศนยิ มกบั ทศนิยม ทม่ี ผี ลคูณเปน็ ทศนยิ มไม่เกนิ 3 ตำาแหน่ง

หาผลหารท่ีตัวต้ังเป็นทศนยิ มไมเ่ กิน 3 ตำาแหนง่ และตวั หารเปน็ จำานวนนับ
ผลหารเปน็ ทศนยิ มไมเ่ กิน 3 ตำาแหน่ง

หาผลหารท่ีตัวต้งั เป็นจาำ นวนนบั และตวั หารเปน็ จำานวนนบั ผลหารเปน็
ทศนิยมไม่เกิน 3 ตำาแหนง่

บอกความสมั พันธร์ ะหวา่ งหนว่ ยความยาวและหนว่ ยน้ำาหนักโดยใชค้ วามรู้
เร่ืองทศนิยม

วิเคราะหแ์ ละแสดงวธิ หี าคำาตอบของโจทย์ปัญหาการคณู การหารทศนยิ ม
1 ขั้นตอน

วเิ คราะห์และแสดงวธิ หี าคำาตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคณู
การหารทศนิยม 2 ขน้ั ตอน

1. ครนู ำ�สนทนาโดยใช้สถานการณห์ น้าเปิดบท แลว้ ให้นกั เรยี นตอบคำ�ถามพร้อมบอกวธิ คี ิด โดยอาจเร่มิ จากจ�ำ นวนน้อย ๆ
เช่น

••ทองค�ำ แทง่ หนัก 2 บาท คิดเป็นกี่กรัม

••ทองรูปพรรณหนัก 3 บาท คดิ เปน็ ก่กี รัม

••ทองค�ำ แทง่ หนกั 25 บาท คดิ เปน็ กี่กรัม

••ถา้ สรอ้ ยคอทองคำ�น้ำ�หนักเทา่ กนั 2 เสน้ หนักรวมกนั 60.64 กรัม สรอ้ ยคอแตล่ ะเส้นหนกั กีก่ รมั
บางคำ�ถามนักเรยี นอาจบอกวิธีคิดได้ แต่ยงั หาค�ำ ตอบไม่ได้ หรอื อาจหาค�ำ ตอบไดแ้ ต่ใช้เวลานาน ครคู วรอธิบายเชื่อมโยง
วธิ คี ิดของนักเรยี นไปสู่การคณู และการหารทศนิยม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  75

คู่มือครู รายวชิ าพนื้ ฐาน คณติ ศาสตร์ บทที่ 2 | ทศนิยม
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 เลม่ 1
หนงั สือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5
2. ครูใหน้ กั เรยี นท�ำ กจิ กรรมเตรียมความพรอ้ ม หน้า 66-67 บทที่ 2 | ทศนิยม
เพอ่ื เปน็ การทบทวนความร้เู กย่ี วกับการเขยี นเศษส่วน
ในรปู ทศนยิ ม การเขยี นทศนิยมในรปู เศษส่วน การบวก เตรยี มความพรอ้ ม
และการลบทศนยิ ม หลักและค่าประจ�ำ หลัก การคูณ
และการหารเศษส่วน และโจทย์ปญั หาทศนยิ ม ถ้าพบว่า 1 เขียนในรปู ทศนยิ ม
นักเรียนยังมคี วามร้พู ้ืนฐานไมเ่ พียงพอ ควรทบทวนก่อน
แล้วใหท้ ำ�แบบฝึกหดั 2.1 เป็นรายบุคคล 1) 130 0.3 2) 1170 1 .7 3) 14050 0.45

4) 110010 1.01 5) 11000230 1.02 3 6) 102000 0.020 หรือ 0.02

2 เขียนในรปู เศษสว่ น

1) 0.7 170 2) 1.6 16 3) 0.53 53
10 100

4) 4.78 478 5) 0.046 14060 0 6) 3.002 3002
100 1000

3 หาผลลัพธ์

1) 0.35 + 0.47 0.82 2) 1.9 − 0.8 1.1 3) 2.612 + 1.29 3.902

4) 2 − 1.054 0 .946 5) (6.08 + 0.915) − 4.243 2 .752 6) (5 − 1.397) − 0.24 3.363

4 เลขโดดที่ขดี เส้นใตอ้ ยู่ในหลักใด และมคี า่ เท่าใด

อย่ใู นหลักส่วนสบิ อย่ใู นหลักส่วนพนั อย่ใู นหลักสว่ นสบิ
1) 3.56 มีค่า 0 .5 หรือ 5 2) 4.672 มคี ่า 0.002 หรือ 1 0200 3) 15.01 มีค่า 0
10 อมยคี ู่ใ่าน 0ห.ล0กั0ส7 ่ว หนรพอื ัน 1 0700 6) 5.093
อยูใ่ นหลกั ส่วนร้อย
4) 20.84 มอยคี ่ใูา่ น 0 ห.ล0กั4ส ห่วรน ือร ้อ1ย040 5) 0.117 มคี า่ 0.09 หรอื 1900

5 หาผลลัพธ์

1) 25 × 67 1325 2) 110 × 130 1030 3) 20 × 5 1119
9

4) 37 ÷ 221 4 12 5) 160 ÷ 3 15 6) 1900 ÷ 10 9
1000

66 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนงั สอื เรียนรายวิชาพน้ื ฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5 หนงั สือเรยี นรายวชิ าพนื้ ฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5
บทท่ี 2 | ทศนิยม บทที่ 2 | ทศนิยม

6 ตน้ กล้า ใบบวั ขุน และลฟิ ต์ หาผลลบของ 61.47 − 58.2 ไดด้ ังนี้ เฉลยหน้า 67

ต้นกลา้ ใบบวั ขุน ลฟิ ต์ 6 ใบบัว หาผลลบได้ถูกตอ้ ง
ต้นกล้า หาผลลบไมถ่ ูกต้อง เพราะ การลบในหลักหน่วย มีการสลับท่รี ะหวา่ งตัวต้งั กับตวั ลบ
6 1.4 7 6 1.4 7 6 1.4 7 6 1.4 7 ขุน หาผลลบไม่ถกู ต้อง เพราะ นำาตวั ลบในหลักสว่ นสบิ ไปลบตวั ตง้ั ในหลักส่วนรอ้ ย
− − − − ลฟิ ต์ หาผลลบไม่ถกู ต้อง เพราะ นาำ ตัวลบในหลักส่วนสิบไปลบตัวตัง้ ในหลักส่วนร้อย และตวั ต้ัง
ในหลกั สบิ เมอ่ื กระจายไป 1 สิบ แล้วยังคงเหลือเท่าเดมิ
5 8.2 0 5 8.2 0 5 8.0 2 5 8.0 2
3.2 7 3.4 5
1 7.2 7 1 3.4 5

ใครหาผลลบถกู ตอ้ ง ใครหาผลลบไม่ถูกตอ้ ง และไม่ถูกตอ้ งเพราะเหตุใด

7 หาคาำ ตอบ

1) แมซ่ อ้ื ผลไม้ 2 ชนดิ เป็นเงาะ 1.4 กโิ ลกรมั และฝร่งั 3 ผล หนัก 1.8 กิโลกรัม แม่ซือ้ ผลไม้
กกี่ โิ ลกรมั 3.2 กโิ ลกรัม

2) เจนซ้อื ผ้าตัดเสื้อ 1.75 เมตร และผ้าตดั กระโปรง 2.5 เมตร เจนซอ้ื ผา้ ท้ังหมดกี่เมตร 4.25 เมตร

3) อุ่นมเี งินเกบ็ 1,000 บาท ปา่ นมีเงินเก็บน้อยกวา่ อุ่น 53.50 บาท ปา่ นมเี งินเก็บกีบ่ าท 946.50 บาท

4) สปั ดาหท์ ี ่ 1 ต้ัมดื่มนม 2.75 ลิตร สัปดาหท์ ี่ 2 ดืม่ นม 3.5 ลติ ร สัปดาหท์ ี่ 2 ตั้มดื่มนมมากกว่า
สัปดาห์ท่ี 1 ก่ลี ิตร 0.75 ลติ ร

แบบฝึกหัด 2.1

| 67สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

76  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื ครู รายวชิ าพ้นื ฐาน คณติ ศาสตร์ บทท่ี 2 | ทศนิยม
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 5 เล่ม 1

2.1 การเขยี นเศษส่วนที่มีตวั ส่วนเปน็ ตัวประกอบ ของ 10 100 หรือ 1,000 ในรปู ทศนิยม

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ หนังสือเรยี นรายวชิ าพ้นื ฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5 4
บทท่ี 2 | ทศนยิ ม
นกั เรียนสามารถเขียนเศษส่วนทม่ี ีตวั ส่วน
เปน็ ตวั ประกอบของ 10 หรอื 100 หรอื 1,000 2.1 การเขยี นเศษส่วนท่มี ีตวั ส่วนเปน็ ตัวประกอบของ 10
ในรปู ทศนิยม 100 หรอื 1,000 ในรปู ทศนยิ ม

ส่ือการเรียนรู้ ตัวประกอบของจาำ นวนนับใด หมายถงึ จำานวนนบั ท่หี ารจาำ นวนนบั นนั้ ไดล้ งตวั เช่น
ตวั ประกอบของ 4 หมายถึง จำานวนนับทห่ี าร 4 ได้ลงตวั ไดแ้ ก ่ 1 2 และ 4
- ตัวประกอบของ 12 หมายถงึ จาำ นวนนบั ทห่ี าร 12 ได้ลงตัว ได้แก่ 1 2 3 4 6 และ 12

แนวการจดั การเรยี นรู้ หาตัวประกอบท้ังหมดของ 16 เพราะ 1 2 4 8 และ 16 หาร 16 ไดล้ งตวั
ตอบ ตวั ประกอบของ 16 และสังเกตได้วา่ 16 = 1 × 16
1. การสอนการเขียนเศษส่วนทีม่ ตี ัวส่วนเป็นตัวประกอบ ไดแ้ ก่ 1 2 4 8 และ 16 16 = 2 × 8
ของ 10 100 หรือ 1,000 ในรปู ทศนยิ ม ครูควรสร้าง 16 = 4 × 4
ความคดิ รวบยอดเกยี่ วกบั ตัวประกอบของจำ�นวนนบั
ให้นักเรยี นกอ่ น เพอ่ื น�ำ ไปใช้ในการเขยี นเศษส่วนท่ีมี ปฏิบตั กิ ิจกรรม
ตวั ส่วนเป็นตัวประกอบของ 10 หรือ 100 หรือ 1,000
ในรปู ทศนิยม โดยครูอาจใชก้ ารถาม-ตอบ ประกอบ 1 หาตัวประกอบท้งั หมดของจาำ นวนนับที่กาำ หนด
การอธิบายเนือ้ หา หน้า 68 และยกตวั อยา่ งเพม่ิ เตมิ 1) 6 2) 8 3) 10
เพ่อื นำ�ไปส่ขู ้อสรปุ ทวี่ า่ ตัวประกอบของจ�ำ นวนนับใด 4) 25 5) 20 6) 81
หมายถึง จ�ำ นวนนบั ท่หี ารจ�ำ นวนนับนน้ั ไดล้ งตัว 7) 30 8) 100 9) 1,000
แล้วรว่ มกันทำ�กิจกรรม จากนั้นครูควรใหน้ ักเรียนสังเกต
ตวั ประกอบของ 10 100 และ 1,000 ซ่ึงจะไดด้ งั น้ี 2 ข้อใด ถูก หรอื ผดิ เพราะเหตุใด

ตัวประกอบของ 10 ไดแ้ ก ่ 1 2 5 และ 10 1) 5 เป็นตวั ประกอบของ 45 2) 10 เปน็ ตัวประกอบของ 40

ตวั ประกอบของ 100 ได้แก่ 1 2 4 5 10 20 3) 6 เปน็ ตวั ประกอบของ 35 4) 1 เปน็ ตัวประกอบของจาำ นวนนบั ทุกจำานวน

25 50 และ 100 5) 10 เป็นตวั ประกอบของ 5 6) 20 เป็นตวั ประกอบของ 200 และ 500

ตัวประกอบของ 1,000 ไดแ้ ก่ 1 2 4 5 8 10 20 68 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

25 40 50 100 หนังสือเรยี นรายวิชาพืน้ ฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5
บทท่ี 2 | ทศนิยม
125 200 250 500
เฉลยหนา้ 68
และ 1,000 1

1) ตวั ประกอบของ 6 ได้แก่ 1 2 3 และ 6
2) ตัวประกอบของ 8 ไดแ้ ก่ 1 2 4 และ 8
3) ตัวประกอบของ 10 ได้แก่ 1 2 5 และ 10
4) ตัวประกอบของ 25 ได้แก่ 1 5 และ 25
5) ตวั ประกอบของ 20 ไดแ้ ก่ 1 2 4 5 10 และ 20
6) ตวั ประกอบของ 81 ไดแ้ ก่ 1 3 9 27 และ 81
7) ตัวประกอบของ 30 ได้แก่ 1 2 3 5 6 10 15 และ 30
8) ตัวประกอบของ 100 ได้แก่ 1 2 4 5 10 20 25 50 และ 100
9) ตัวประกอบของ 1,000 ไดแ้ ก่ 1 2 4 5 8 10 20 25 40 50 100 125

200 250 500 และ 1,000

2
1) ถูก เพราะ 5 หาร 45 ไดล้ งตัว
2) ถูก เพราะ 10 หาร 40 ไดล้ งตวั
3) ผดิ เพราะ 6 หาร 35 ไมล่ งตัว
4) ถกู เพราะ 1 หารจาำ นวนนบั ทุกจำานวนได้ลงตัว
5) ผิด เพราะ 10 หาร 5 ไม่ลงตวั
6) ถกู เพราะ 20 หาร 200 และ 500 ได้ลงตัว

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  77

ค่มู อื ครู รายวชิ าพืน้ ฐาน คณิตศาสตร์ บทท่ี 2 | ทศนิยม
ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 5 เล่ม 1
หนังสอื เรยี นรายวชิ าพ้ืนฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5
2. การสอนเขียนเศษส่วนหรอื จ�ำ นวนคละที่ตวั สว่ น บทท่ี 2 | ทศนยิ ม
เป็นตวั ประกอบของ 10 100 หรอื 1,000 ในรูปทศนยิ ม
ครูอาจจดั กจิ กรรมโดยใหน้ ักเรียนพจิ ารณาเน้อื หา พจิ ารณาการเขียนเศษสว่ นในรปู ทศนิยม
และตัวอยา่ งในหน้า 69-71 จากนั้นรว่ มกันท�ำ กิจกรรม
หนา้ 70-71 และให้ท�ำ แบบฝึกหัด 2.2 เปน็ รายบุคคล นกั เรียนสามารถเขยี นเศษส่วนท่ีมีตัวสว่ นเป็นตวั ประกอบของ
10 100 หรอื 1,000 ในรปู ทศนิยมไดอ้ ย่างไร
หมายเหตุ ในตวั อย่าง 3 หนา้ 70 จะพบวา่ ตวั สว่ น
เปน็ 16 ซ่ึงไมเ่ ปน็ ตัวประกอบของ 100 และ 1,000 อาจทาำ เศษสว่ นน้นั ให้มีตวั สว่ นเปน็ 10 100 หรอื 1,000 ครับ
จงึ ตอ้ งท�ำ เศษส่วนน้ันใหเ้ ปน็ เศษสว่ นอย่างต่ำ�กอ่ น เพราะเศษสว่ นทม่ี ตี ัวสว่ นเป็น 10 100 หรอื 1,000
เมอ่ื เขยี นในรปู ทศนยิ ม จะได้ทศนยิ ม 1 ตำาแหน่ง 2 ตำาแหน่ง
3. เพ่ือตรวจสอบความเข้าใจและสรปุ ความรทู้ ่ไี ด้ หรอื 3 ตาำ แหนง่ ตามลาำ ดบั
ให้นักเรียนท�ำ กิจกรรม หนา้ 71 เปน็ รายบุคคล
เขยี น 51 ในรูปทศนิยมไดอ้ ยา่ งไร

5 เปน็ ตัวประกอบของ 10
และ 5 × 2 = 10

ทาำ 51 ใหเ้ ป็นเศษสว่ นท่ีมตี ัวสว่ นเป็น 10 โดยนาำ 2 คณู ทง้ั
ตวั เศษและตัวส่วนของ 51
จะได้ 15 = 51 ×× 22 = 120 ซ่ึงเขยี นในรปู ทศนิยมได ้ 0.2

ถูกต้องค่ะ

| 69สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนงั สอื เรยี นรายวชิ าพ้ืนฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5 หนังสือเรยี นรายวิชาพืน้ ฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5
บทท่ี 2 | ทศนิยม บทท่ี 2 | ทศนยิ ม

• เขียน 2 4 ในรปู ทศนยิ ม
เขยี นเศษส่วนในรปู ทศนิยม 5

1 5 2 163 125 เป็นตวั ประกอบของ 1,000 วิธที ำา 1 2 4 = 2 + 54 วิธที ำา 2 245 = (2 × 55) + 4
4 125 เพราะ 1,000 ÷ 125 = 8 5 = 154
4 เปน็ ตวั ประกอบของ 100 = 2 + 54 ×× 22 = 154 × × 2 2
เพราะ 100 ÷ 4 = 25 = 1280

= 2 + 180

วิธที ำา 54 = 54 ×× 2255 วิธที าำ 112653 = 112635 ×× 88 = 2 + 0.8
= 110250 = 11030040
= 1.25 = 1.304 = 2.8 = 2.8
ตอบ ๒.๘
ตอบ ๑.๓๐๔ ตอบ ๒.๘

ตอบ ๑.๒๕ เขียนในรปู ทศนิยม
1 1270 1.35
3 8 4 216245 2.512 2 541 5.25 3 4 3 4.375
16 5 651040 6.028 8

วธิ ที ำา 186 = 1 86 ÷÷ 88 16 ไม่เป็นตัวประกอบของ 100 และ 1,000 6 12251 1.84
= 21 แบบฝึกหดั 2.2
= 21 ×× 55 แต ่ 186 = 12 ซึง่ 2 เป็นตัวประกอบของ 10
= 150 เพราะ 10 ÷ 2 = 5 ตรวจสอบความเขา้ ใจ
= 0.5
เขยี นในรูปทศนยิ ม
ตอบ ๐.๕
1 5 0.625 2 239 1.912 3 3 3 3.6
8 125 5

เขียนในรูปทศนิยม 67 6 6 21259 2.76
40 50
3 4 1.675 5 0.12
2
1 1.5 2 1 0.25 3 175 0.875
4 200

4 91 0.182 5 56 2.24 6 7 0.875 สิง่ ท่ีได้เรียนรู้
500 25 8 มม ุกกุ ค ค ดิ ิด ผ ดิว เ่า พ ร 4 า3 0 ะ 2 0 4 3 0=20 0 ==. 8 1 4 0 3080 20 0ม กุ ÷÷ค 44ิดถ กู ต อ้ ง ห รือไม่ เพราสะถเาหบตันใุสด่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 71

7 63 1.575 8 12 0.2 9 45 3.75 = 0.08
40 60 12

70 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

78  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู ือครู รายวชิ าพน้ื ฐาน คณิตศาสตร์ บทที่ 2 | ทศนยิ ม
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 เล่ม 1

2.2 การหาคา่ ประมาณ

จุดประสงค์การเรยี นรู้ หนังสือเรียนรายวชิ าพนื้ ฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5 3
บทท่ี 2 | ทศนยิ ม
นักเรียนสามารถหาค่าประมาณของทศนยิ ม
ไมเ่ กนิ 3 ต�ำ แหนง่ เปน็ จ�ำ นวนเตม็ หนว่ ย ทศนยิ ม 1 ต�ำ แหนง่ 2.2 การหาค่าประมาณ
และ 2 ตำ�แหนง่
แอนซ้ือเนือ้ ไก่ 1.2 กโิ ลกรัม เนือ้ หมู 2.7 กโิ ลกรัม และปลา 1.5 กิโลกรมั
สื่อการเรียนรู้
พิจารณาการหาค่าประมาณของทศนิยมขา้ งต้นให้เป็นจาำ นวนเตม็ หนว่ ย ดงั นี้
- แอนซ้อื เนื้อไก่ 1.2 กิโลกรมั

แนวการจดั การเรยี นรู้ 1 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8 1.9 2

1. การสอนหาคา่ ประมาณของทศนิยม 1 ตำ�แหนง่ 1.2 อยู่ระหว่าง 1 กับ 2
เปน็ จ�ำ นวนเต็มหน่วย ครูอาจจัดกิจกรรมโดยให้นักเรยี น 1.2 อยู่ใกล้ 1 มากกวา่ อยใู่ กล้ 2
พจิ ารณาสถานการณ์และตัวอยา่ ง หน้า 72-73 ซ่ึงครอู าจ ดงั น้ัน คา่ ประมาณเป็นจาำ นวนเตม็ หนว่ ยของ 1.2 คอื 1
ใชเ้ สน้ จ�ำ นวนประกอบการอธิบาย แลว้ รว่ มกันอภิปราย แสดงว่า แอนซอื้ เนื้อไกป่ ระมาณ 1 กโิ ลกรมั
จนไดข้ อ้ สรปุ วา่ การหาคา่ ประมาณของทศนยิ ม
เปน็ จ�ำ นวนเตม็ หน่วย ตอ้ งพจิ ารณาวา่ ทศนิยมทต่ี ้องการ แอนซื้อเน้อื หมู 2.7 กิโลกรมั
หาค่าประมาณนนั้ อย่รู ะหวา่ งจ�ำ นวนเตม็ หน่วยใด
แลว้ จึงพิจารณาเลขโดดในหลกั ส่วนสิบ 2 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 2.9 3
2.7 อยรู่ ะหว่าง 2 กบั 3
••ถ้าเลขโดดในหลกั ส่วนสบิ เป็น 0 1 2 3 หรอื 2.7 อย่ใู กล้ 3 มากกวา่ อยู่ใกล ้ 2
4 จะประมาณเป็นจ�ำ นวนเต็มหนว่ ยทน่ี อ้ ยกวา่ ดังน้นั ค่าประมาณเป็นจาำ นวนเตม็ หนว่ ยของ 2.7 คือ 3
แสดงว่า แอนซือ้ เนอื้ หมปู ระมาณ 3 กโิ ลกรมั
••ถ้าเลขโดดในหลกั สว่ นสบิ เปน็ 5 6 7 8 หรอื
9 จะประมาณเปน็ จำ�นวนเตม็ หน่วยทีม่ ากกว่า แอนซื้อปลา 1.5 กิโลกรัม

จากนั้นรว่ มกนั ทำ�กจิ กรรม หนา้ 73 1 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8 1.9 2

1.5 อยู่กงึ่ กลางระหวา่ ง 1 กบั 2
เป็นข้อตกลงวา่ ใหป้ ระมาณเปน็ จำานวนเตม็ หนว่ ยท่มี ากกว่า
ดังนน้ั ค่าประมาณเปน็ จำานวนเต็มหนว่ ยของ 1.5 คือ 2
แสดงวา่ แอนซอ้ื ปลาประมาณ 2 กิโลกรมั

72 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนงั สือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5
บทที่ 2 | ทศนยิ ม

จากเสน้ จาำ นวนพบวา่ การหาค่าประมาณของทศนยิ มเป็นจาำ นวนเต็มหน่วย ต้องพิจารณาว่า
ทศนยิ มท่ตี อ้ งการหาค่าประมาณนน้ั อยรู่ ะหว่างจำานวนเต็มหนว่ ยใด แลว้ จึงพิจารณาเลขโดด
ในหลักสว่ นสิบ

ถ้าเลขโดดในหลักสว่ นสบิ เป็น 0 1 2 3 หรือ 4
จะประมาณเปน็ จาำ นวนเต็มหน่วยทนี่ อ้ ยกว่า
ถา้ เลขโดดในหลักส่วนสบิ เปน็ 5 6 7 8 หรือ 9
จะประมาณเป็นจาำ นวนเต็มหน่วยท่ีมากกว่า

หาคา่ ประมาณเปน็ จาำ นวนเต็มหน่วย 2 9.73
วิธคี ดิ 9.73 อยรู่ ะหว่าง 9 กบั 10
1 3.4 เลขโดดในหลักส่วนสบิ เป็น 7
วธิ ีคิด 3.4 อยรู่ ะหว่าง 3 กบั 4 ดงั นนั้ 9.73 ≈ 10
เลขโดดในหลักส่วนสิบเปน็ 4 ตอบ ๑๐
ดังนน้ั 3.4 ≈ 3
ตอบ ๓

หาคา่ ประมาณเปน็ จำานวนเต็มหนว่ ย
1 19.7 20 2 9.3 9 3 1.69 2

4 5.02 5 5 7.1 7 6 8.495 8

7 4.502 5 8 10.9 11 9 6.843 7

10 3.22 3 11 13.51 14 12 40.187 40

13 18.007 18 14 21.930 22 15 29.399 29

| 73สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  79

คูม่ ือครู รายวชิ าพ้นื ฐาน คณติ ศาสตร์ บทที่ 2 | ทศนิยม
ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5 เลม่ 1
หนังสือเรยี นรายวชิ าพ้ืนฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5
2. การสอนหาค่าประมาณของทศนิยม 2 ต�ำ แหนง่ บทที่ 2 | ทศนิยม
เปน็ ทศนยิ ม 1 ตำ�แหนง่ ครอู าจจดั กิจกรรมทำ�นอง
เดยี วกนั กับการหาคา่ ประมาณของทศนยิ ม 1 ต�ำ แหนง่ เจน สงู 1.57 เมตร เมฆ สงู 1.44 เมตร และพลอย สูง 1.55 เมตร
เปน็ จำ�นวนเตม็ หนว่ ย โดยให้นกั เรยี นพิจารณาสถานการณ์
หนา้ 74-75 เพอื่ น�ำ ไปสขู่ ้อสรปุ ทว่ี า่ การหาคา่ ประมาณ พจิ ารณาการหาคา่ ประมาณของทศนยิ มขา้ งตน้ ใหเ้ ป็นทศนิยม 1 ตาำ แหนง่ ดงั นี้
เป็นทศนิยม 1 ตำ�แหน่ง ตอ้ งพิจารณาวา่
ทศนิยมที่ต้องการหาค่าประมาณนน้ั อยรู่ ะหวา่ ง เจน สูง 1.57 เมตร 1.5 = 1.50
ทศนิยม 1 ตำ�แหน่งใด แลว้ จงึ พิจารณาเลขโดด 1.6 = 1.60
ในหลักส่วนรอ้ ย
••ถ้าเลขโดดในหลกั ส่วนรอ้ ยเปน็ 0 1 2 3 1.5 1.51 1.52 1.53 1.54 1.55 1.56 1.57 1.58 1.59 1.6

หรอื 4 จะประมาณเป็นทศนิยม 1 ต�ำ แหน่ง 1.57 อยรู่ ะหว่าง 1.5 กบั 1.6
ท่ีนอ้ ยกวา่
••ถ้าเลขโดดในหลักส่วนรอ้ ยเป็น 5 6 7 8 1.57 อยูใ่ กล ้ 1.6 มากกว่าอยใู่ กล ้ 1.5
หรอื 9 จะประมาณเปน็ ทศนิยม 1 ตำ�แหน่ง
ทีม่ ากกวา่ ดังน้นั คา่ ประมาณเป็นทศนิยม 1 ตำาแหน่งของ 1.57 คอื 1.6
จากนัน้ ร่วมกันทำ�กจิ กรรม หนา้ 75
แสดงว่า เจน สงู ประมาณ 1.6 เมตร
80  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เมฆ สูง 1.44 เมตร 1.4 = 1.40
1.5 = 1.50

1.4 1.41 1.42 1.43 1.44 1.45 1.46 1.47 1.48 1.49 1.5

1.44 อย่รู ะหว่าง 1.4 กบั 1.5 1.5 = 1.50
1.44 อยใู่ กล้ 1.4 มากกวา่ อยใู่ กล ้ 1.5 1.6 = 1.60
ดงั น้ัน คา่ ประมาณเป็นทศนยิ ม 1 ตาำ แหนง่ ของ 1.44 คอื 1.4
แสดงวา่ เมฆ สูงประมาณ 1.4 เมตร

พลอย สูง 1.55 เมตร

1.5 1.51 1.52 1.53 1.54 1.55 1.56 1.57 1.58 1.59 1.6
1.55 อย่กู ่ึงกลางระหวา่ ง 1.5 กบั 1.6
เปน็ ข้อตกลงวา่ ใหป้ ระมาณเปน็ ทศนยิ ม 1 ตาำ แหน่งทม่ี ากกว่า
ดงั น้ัน คา่ ประมาณเปน็ ทศนยิ ม 1 ตาำ แหน่งของ 1.55 คอื 1.6
แสดงว่า พลอย สงู ประมาณ 1.6 เมตร

74 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนังสอื เรยี นรายวิชาพ้นื ฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5
บทท่ี 2 | ทศนยิ ม

จากเส้นจำานวนพบว่า การหาค่าประมาณเปน็ ทศนิยม 1 ตำาแหนง่ ต้องพจิ ารณาวา่
ทศนิยมทตี่ ้องการหาคา่ ประมาณนั้น อยู่ระหวา่ งทศนยิ ม 1 ตำาแหนง่ ใด แล้วจงึ พจิ ารณาเลขโดด
ในหลกั ส่วนร้อย

ถ้าเลขโดดในหลกั สว่ นร้อยเปน็ 0 1 2 3 หรือ 4
จะประมาณเป็นทศนยิ ม 1 ตาำ แหน่งที่น้อยกวา่

ถ้าเลขโดดในหลักส่วนร้อยเป็น 5 6 7 8 หรือ 9
จะประมาณเป็นทศนยิ ม 1 ตาำ แหนง่ ท่ีมากกวา่

หาคา่ ประมาณเปน็ ทศนยิ ม 1 ตาำ แหน่ง 2 8.139
1 4.38
วิธีคิด 8.139 อยูร่ ะหว่าง 8.1 กบั 8.2
วธิ คี ิด 4.38 อยู่ระหวา่ ง 4.3 กบั 4.4 เลขโดดในหลักส่วนรอ้ ยเปน็ 3
เลขโดดในหลกั ส่วนรอ้ ยเป็น 8 ดังนนั้ 8.139 ≈ 8.1
ดังนั้น 4.38 ≈ 4.4 ตอบ ๘.๑
ตอบ ๔.๔

หาค่าประมาณเป็นทศนยิ ม 1 ตำาแหน่ง
1 0.06 0 .1 2 3.72 3.7 3 5.55 5.6
4 0.218 0 .2 5 10.83 10 .8 6 6.905 6.9
7 2.147 2 .1 8 1.009 1.0 9 9.99 10.0
10 4.695 4 .7 11 1.46 1.5 12 12.34 12.3

13 8.951 9 .0 14 7.084 7.1 15 13.472 13.5
| 75สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครู รายวชิ าพ้นื ฐาน คณติ ศาสตร์ บทท่ี 2 | ทศนยิ ม
ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 1
หนงั สอื เรียนรายวิชาพ้ืนฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5
3. การสอนหาค่าประมาณของทศนิยม 3 ต�ำ แหน่ง บทที่ 2 | ทศนิยม
เป็นทศนิยม 2 ตำ�แหน่ง ครอู าจจดั กิจกรรมโดยเชอื่ มโยง
ความรู้จากการหาคา่ ประมาณของทศนิยม ในทาำ นองเดยี วกัน การหาคา่ ประมาณเป็นทศนิยม 2 ตาำ แหน่ง ต้องพิจารณาว่า
เปน็ จ�ำ นวนเตม็ หนว่ ย และทศนยิ ม 1 ต�ำ แหน่ง ซึ่งจะได้วา่ ทศนยิ มท่ีต้องการหาค่าประมาณน้ัน อยู่ระหว่างทศนิยม 2 ตำาแหน่งใด แล้วจงึ พจิ ารณาเลขโดด
การหาคา่ ประมาณเป็นทศนิยม 2 ตำ�แหน่ง ต้องพิจารณา ในหลกั ส่วนพัน
วา่ ทศนยิ มทีต่ ้องการหาคา่ ประมาณน้นั อยู่ระหว่าง
ทศนิยม 2 ตำ�แหนง่ ใด แลว้ จึงพิจารณาเลขโดด ถ้าเลขโดดในหลกั ส่วนพนั เป็น 0 1 2 3 หรอื 4
ในหลกั ส่วนพัน จะประมาณเปน็ ทศนิยม 2 ตำาแหนง่ ทนี่ ้อยกวา่

••ถ้าเลขโดดในหลกั ส่วนพนั เปน็ 0 1 2 3 ถ้าเลขโดดในหลกั ส่วนพันเป็น 5 6 7 8 หรือ 9
หรือ 4 จะประมาณเปน็ ทศนยิ ม 2 ตำ�แหนง่ จะประมาณเปน็ ทศนยิ ม 2 ตำาแหนง่ ทีม่ ากกว่า
ที่นอ้ ยกว่า
หาค่าประมาณเปน็ ทศนยิ ม 2 ตาำ แหนง่ 2 2.078
••ถ้าเลขโดดในหลกั ส่วนพันเปน็ 5 6 7 8 วธิ คี ิด 2.078 อยรู่ ะหวา่ ง 2.07 กับ 2.08
หรอื 9 จะประมาณเป็นทศนยิ ม 2 ตำ�แหน่ง 1 0.642 เลขโดดในหลกั ส่วนพนั เปน็ 8
ทีม่ ากกวา่ วิธคี ดิ 0.642 อยู่ระหวา่ ง 0.64 กบั 0.65 ดงั นน้ั 2.078 ≈ 2.08
เลขโดดในหลักส่วนพันเปน็ 2 ตอบ ๒.๐๘
จากนน้ั ให้นกั เรยี นพจิ ารณาตวั อยา่ ง และร่วมกันทำ�กจิ กรรม ดังน้ัน 0.642 ≈ 0.64
หนา้ 76 ตอบ ๐.๖๔

4. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันสรุปการหาคา่ ประมาณ หาค่าประมาณเป็นทศนิยม 2 ตาำ แหนง่
ของทศนยิ ม ซ่ึงจะได้วา่ การหาค่าประมาณ
เป็นจ�ำ นวนเตม็ หนว่ ย หรือเปน็ ทศนิยม 1 ตำ�แหน่ง 1 1.261 1.2 6 2 2.157 2 .16 3 7.003 7.00
หรอื 2 ตำ�แหนง่ ให้พิจารณาเลขโดดในหลกั ท่อี ยู่
ติดกนั ทางขวาของหลกั ที่ต้องการประมาณ 4 3.092 3.0 9 5 4.504 4 .50 6 8.995 9.00
ถา้ น้อยกว่า 5 ใหป้ ัดจำ�นวนท่ีอยู่ทางขวาของหลกั
ท่ตี อ้ งการประมาณทง้ั หมดท้งิ ทำ�ให้จำ�นวนในหลกั การหาค่าประมาณเปน็ จาำ นวนเต็มหน่วย หรือเปน็ ทศนยิ ม 1 ตาำ แหนง่ หรอื 2 ตำาแหนง่
ท่ตี ้องการประมาณเปน็ จำ�นวนเดมิ ให้พจิ ารณาเลขโดดในหลักที่อย่ตู ิดกนั ทางขวาของหลักท่ีต้องการประมาณ
ถา้ มากกวา่ หรอื เทา่ กบั 5 ให้ปดั จ�ำ นวนท่ีอยูใ่ นหลกั
ทางขวาของหลักทต่ี อ้ งการประมาณทง้ั หมดขึ้น ท�ำ ให้ ถา้ นอ้ ยกวา่ 5 ให้ปัดจาำ นวนทอี่ ยูท่ างขวาของหลักทตี่ อ้ งการประมาณท้งั หมดทง้ิ
จ�ำ นวนในหลักที่ตอ้ งการประมาณเพิม่ ขึน้ อีก 1 หรือ 0.1 ทำาให้จาำ นวนในหลกั ที่ตอ้ งการประมาณเปน็ จาำ นวนเดมิ
หรือ 0.01 ตามลำ�ดับ ถา้ มากกว่าหรอื เท่ากบั 5 ใหป้ ัดจาำ นวนท่ีอยู่ในหลักทางขวาของหลักทตี่ ้องการประมาณ
ทงั้ หมดขึ้น ทำาให้จาำ นวนในหลักท่ีต้องการประมาณเพ่ิมข้นึ อีก 1 หรือ 0.1 หรือ 0.01 ตามลาำ ดบั
จากน้ันให้นกั เรยี นท�ำ แบบฝกึ หัด 2.3 เป็นรายบุคคล
แบบฝึกหดั 2.3

76 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  81

คู่มอื ครู รายวชิ าพน้ื ฐาน คณติ ศาสตร์ บทที่ 2 | ทศนิยม
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 เลม่ 1
หนงั สอื เรยี นรายวิชาพ้นื ฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5
5. เพอ่ื ตรวจสอบความเข้าใจและสรปุ ความรทู้ ไ่ี ด้ บทที่ 2 | ทศนยิ ม
ให้นักเรยี นทำ�กจิ กรรม หนา้ 77 เป็นรายบคุ คล

ตรวจสอบความเขา้ ใจ

หาค่าประมาณ ค่าประมาณ

จำานวน เปน็ จำานวนเตม็ หนว่ ย เปน็ ทศนิยม 1 ตำาแหนง่ เป็นทศนยิ ม 2 ตาำ แหน่ง

1 6.468 6 6.5 6.47
2 5.023
3 20.574 5 5.0 5.02
4 3.657
5 8.351 21 20.6 20.57
6 0.795
7 9.909 4 3.7 3.66

8 8.4 8.35

1 0.8 0.80

10 9.9 9.91

ส่ิงทไ่ี ดเ้ รียนรู้

ยกตัวอยา่ งทศนยิ ม 2 ตาำ แหน่ง และทศนิยม 3 ตำาแหนง่ อย่างละ 3 จำานวน
ท่ีมคี ่าประมาณเป็น 5.3

| 77สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนงั สือเรียนรายวชิ าพืน้ ฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5
บทที่ 2 | ทศนยิ ม

เฉลยหนา้ 77
สงิ่ ที่ได้เรยี นรู้
ทศนยิ ม 2 ตำ�แหนง่ ทมี่ คี �่ ประม�ณ 5.3 ไดแ้ ก่ ทศนิยมทุกจ�ำ นวนต้ังแต่ 5.25 ถงึ 5.29
และตงั้ แต่ 5.31 ถงึ 5.34
ทศนยิ ม 3 ตำ�แหน่ง ท่ีมีค�่ ประม�ณ 5.3 ไดแ้ ก ่ ทศนิยมทุกจ�ำ นวนตง้ั แต่ 5.250 ถึง 5.299
และตงั้ แต่ 5.301 ถงึ 5.349

82  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครู รายวชิ าพืน้ ฐาน คณติ ศาสตร์ บทที่ 2 | ทศนิยม
ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 5 เลม่ 1
หนังสือเรยี นรายวชิ าพ้นื ฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5
2.3 การคูณ บทที่ 2 | ทศนิยม

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ นักเรียนสามารถ 2.3 การคณู 7

1. หาผลคูณของทศนยิ มกับจำ�นวนนับท่ีผลคูณ การคูณทศนยิ มกบั จำานวนนบั
เป็นทศนิยมไมเ่ กิน 3 ต�ำ แหนง่
พิจารณาการหาผลคูณของ 4 × 0.2 4 จำานวน
2. หาผลคณู ของทศนยิ มกบั ทศนยิ มท่ผี ลคูณ เนอื่ งจาก 4 × 0.2 = 0.2 + 0.2 + 0.2 + 0.2
เป็นทศนิยมไมเ่ กนิ 3 ต�ำ แหนง่ 0.2 0.2 0.2 0.2 = 0.8
ดงั นัน้ 4 × 0.2 = 0.8
ส่อื การเรียนรู้
0.8
-
พิจารณาการหาผลคณู ของ 2 × 0.16 2 จำ�นวน
แนวการจดั การเรยี นรู้
0.16 0.16 0.32 เนื่องจาก 2 × 0.16 = 0.16 + 0.16
การสอนการคูณทศนยิ ม ควรจดั แบ่งเนอ้ื หาตาม = 0.32
ล�ำ ดับขัน้ ตอนการเรยี นรูด้ งั น้ี ดังนน้ั 2 × 0.16 = 0.32

1) การคูณทศนยิ มกับจ�ำ นวนนับ การคูณทศนยิ มกับจำานวนนับ อาจทำาได้โดยบวกทศนยิ มนั้นซำา้ ๆ กัน
- โดยใช้ความหมายของการคณู • แสดงวิธีหาผลคูณ
- โดยใชค้ วามสัมพันธร์ ะหว่างทศนยิ ม
กบั เศษส่วน 1 3 × 0.7 2 5 × 1.9
- การคูณในแนวตง้ั
วิธที ำา 3 × 0.7 = 0.7 + 0.7 + 0.7 วธิ ที ำา 5 × 1.9 = 1.9 + 1.9 + 1.9 + 1.9 + 1.9
2) การคูณทศนิยมกับทศนิยม = 2.1 = 9.5
- โดยใชค้ วามสมั พนั ธ์ระหวา่ งทศนิยม
กบั เศษส่วน ตอบ ๒.๑ ตอบ ๙.๕
- การคณู ในแนวตงั้
แสดงวิธีหาผลคูณ 2 6 × 1.5 3 7 × 0.03
1. การสอนการคณู ทศนิยมกับจำ�นวนนบั โดยใช้ 1 2 × 0.4
ความหมายของการคณู ครอู าจเร่มิ ทบทวนความหมาย
ของการคูณจ�ำ นวนนบั โดยใชค้ �ำ ถาม เช่น 5 × 7 4 5 × 2.48 5 3 × 0.806 6 4 × 5.197
หมายความวา่ อยา่ งไร แลว้ เชื่อมโยงไปสกู่ ารคณู ทศนิยม
กบั จ�ำ นวนนับ โดยใหพ้ ิจารณาการหาผลคูณ หนา้ 78 แบบฝกึ หดั 2.4
เพอื่ น�ำ ไปสขู่ อ้ สรุปท่ีวา่ การคูณทศนิยมกบั จ�ำ นวนนับ
อาจทำ�ไดโ้ ดยบวกทศนยิ มนนั้ ซ�้ำ ๆ กัน จากนัน้ รว่ มกนั 78 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ทำ�กิจกรรม แล้วใหท้ ำ�แบบฝกึ หดั 2.4 เป็นรายบุคคล
หนังสอื เรียนรายวชิ าพืน้ ฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5
บทที่ 2 | ทศนิยม

เฉลยหน้า 78

1 วิธที ำ� 2 × 0.4 = 0.4 + 0.4
= 0.8

ตอบ ๐.๘

2 วิธที �ำ 6 × 1.5 = 1.5 + 1.5 + 1.5 + 1.5 + 1.5 + 1.5
= 9.0

ตอบ ๙.๐ หรือ ๙

3 วิธที �ำ 7 × 0.03 = 0.03 + 0.03 + 0.03 + 0.03 + 0.03 + 0.03 + 0.03
= 0.21

ตอบ ๐.๒๑

4 วิธที ำ� 5 × 2.48 = 2.48 + 2.48 + 2.48 + 2.48 + 2.48
= 12.40

ตอบ ๑๒.๔๐ หรอื ๑๒.๔

5 วิธีทำ� 3 × 0.806 = 0.806 + 0.806 + 0.806
= 2.418

ตอบ ๒.๔๑๘

6 วิธที ำ� 4 × 5.197 = 5.197 + 5.197 + 5.197 + 5.197
= 20.788

ตอบ ๒๐.๗๘๘

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  83

ค่มู ือครู รายวชิ าพ้นื ฐาน คณติ ศาสตร์ บทท่ี 2 | ทศนิยม
ช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 1
หนังสอื เรยี นรายวิชาพน้ื ฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5
2. การสอนการคูณทศนิยมกบั จำ�นวนนบั โดยใช้ บทที่ 2 | ทศนิยม
ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งทศนยิ มกับเศษสว่ น ครูอาจ
เริม่ จากทบทวนการเขยี นทศนยิ มในรปู เศษสว่ นก่อน พจิ ารณาการหาผลคณู ของ 5 × 0.3 พิจารณาการหาผลคูณของ 0.67 × 24
แล้วเชื่อมโยงไปสูก่ ารคูณทศนิยมกับจำ�นวนนบั โดยให้ หาผลคูณของ 5 × 0.3 โดยใชค้ วามสมั พนั ธ์
นกั เรียนพิจารณาการหาผลคูณ หนา้ 79 เพื่อน�ำ ไปสู่ หาผลคณู ของ 0.67 × 24 โดยใช้ความสมั พนั ธ์
ขอ้ สรุปทว่ี า่ การคณู ทศนิยมกับจ�ำ นวนนับ อาจทำ�ไดโ้ ดย
เขียนทศนยิ มในรูปเศษส่วน หาผลคณู แล้วเขียน ระหวา่ งทศนิยมกบั เศษสว่ น จะได้ ระหวา่ งทศนยิ มกับเศษส่วน จะได้
ในรปู ทศนยิ ม ครูควรใหน้ ักเรียนสงั เกตจำ�นวนต�ำ แหน่ง
ของทศนิยมท่นี ำ�มาคูณกนั กับผลคูณทไี่ ด้ จากนนั้ รว่ มกนั 5 × 0.3 = 5 × 3 3 0.67 × 24 = 16070 × 24 67
ทำ�กิจกรรม แลว้ ใหท้ ำ�แบบฝึกหดั 2.5 เป็นรายบคุ คล 10 10 = 671 ×00 2 4 100
= 51 ×0 3 0.3 = = 1160008 0.67 =

= 1105

= 1.5 = 16.08

ดงั น้นั 5 × 0.3 = 1.5 ดังน้ัน 0.67 × 24 = 16.08

การคูณทศนยิ มกบั จำานวนนบั อาจทำาไดโ้ ดยเขยี นทศนยิ มในรูปเศษสว่ น หาผลคณู
แล้วเขยี นในรปู ทศนิยม

แสดงวธิ ีหาผลคูณ 2 103 × 0.815
1 2.63 × 12
วิธีทำา 103 × 0.815 = 103 × 1801050
วิธีทาำ 2.63 × 12 = 126003 × 12 = 10130 ×0 801 5
= 26130 ×0 1 2 83945
= 1000
= 3110506
= 31.56 = 83.945
ตอบ ๓๑.๕๖
ตอบ ๘๓.๙๔๕

แสดงวิธีหาผลคณู สังเกตจาำ นวนตำาแหนง่ ของทศนยิ มทน่ี ำามาคูณกัน กบั ผลคูณทไ่ี ด ้

1 7.1 × 8 2 0.55 × 4 3 2.98 × 10
4 100 × 0.392 5 20 × 0.009 6 1,000 × 1.2

แบบฝึกหดั 2.5

| 79สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนงั สือเรียนรายวิชาพ้นื ฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5
บทที่ 2 | ทศนยิ ม

เฉลยหน้า 79

1 วิธที ำ� 7.1 × 8 = 71 × 8 2 วธิ ที �ำ 0.55 × 4 = 55 × 4
ตอบ ๕๖.๘ 10 100
71 × 8 55 × 4
= 10 = 100

= 568 = 220
10 100

= 56.8 = 2.20

ตอบ ๒.๒๐

3 วธิ ีท�ำ 2.98 × 10 = 298 × 10 4 วิธที �ำ 100 × 0.392 = 100 × 392
100 1000
298 × 10 100 × 392
= 100 = 1000

= 2980 = 39200
100 1000

= 29.80 = 39.200

ตอบ ๒๙.๘๐ หรือ ๒๙.๘ ตอบ ๓๙.๒๐๐ หรอื ๓๙.๒

5 วธิ ที �ำ 20 × 0.009 = 20 × 9 6 วิธที �ำ 1,000 × 1.2 = 1000 × 12
1000 10
20 × 9 1000 × 12
= 1000 = 10

= 180 = 12000
1000 10

= 0.180 = 1200.0

ตอบ ๐.๑๘๐ หรอื ๐.๑๘ ตอบ ๑,๒๐๐.๐ หรอื ๑,๒๐๐

84  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครู รายวิชาพ้นื ฐาน คณติ ศาสตร์ บทที่ 2 | ทศนิยม
ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 5 เลม่ 1
หนังสอื เรยี นรายวชิ าพนื้ ฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5
3. หนา้ 80 เปน็ การแสดงใหเ้ หน็ ว่า การคูณทศนิยม บทที่ 2 | ทศนยิ ม
กบั จำ�นวนนับมสี มบัติการสลับที่ ครูอาจจัดกิจกรรมโดย
ใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบาย พรอ้ มยกตวั อย่าง พิจารณาการหาผลคูณของ 7 × 1.8 กับ 1.8 × 7 โดยใช้ความสัมพันธ์ระหวา่ งทศนยิ มกบั เศษส่วน
เพิ่มเตมิ โดยให้นกั เรยี นหาผลคณู และสงั เกตผลคณู ทไ่ี ด้
เพอ่ื นำ�ไปสู่ขอ้ สรปุ ทวี่ ่า การคูณทศนิยมกับจ�ำ นวนนับ 7 × 1.8 = 7 × 1108 1.8 × 7 = 1180 × 7
เมอ่ื สลับที่กนั ผลคูณยงั คงเท่ากนั = 181 ×0 7
= 7 × 18
4. การสอนการคูณทศนิยมกบั จ�ำ นวนนบั ในแนวตง้ั 10 = 11206
ครอู าจจดั กิจกรรมโดยใหน้ ักเรยี นร่วมกันพจิ ารณา 18
การหาผลคณู หน้า 81-83 ครอู าจใช้การถาม-ตอบ = 11206 1.8 = 10
ประกอบการอธิบาย แล้วโยงไปสู่หลกั การคณู ทศนยิ ม
กบั จ�ำ นวนนบั ที่ว่า การคณู ทศนยิ มกบั จำ�นวนนับ = 12.6 = 12.6
ใชว้ ิธีการเดียวกันกับการคณู จ�ำ นวนนับกับจ�ำ นวนนบั
โดยอาจกระจายจำ�นวนหน่ึงตามค่าประจำ�หลัก ดงั น้ัน 7 × 1.8 = 12.6 ดงั นน้ั 1.8 × 7 = 12.6
แล้วน�ำ ไปคณู กับอีกจ�ำ นวนหนง่ึ จากน้ันนำ�ผลคูณท่ีได้ พบวา่ 7 × 1.8 = 1.8 × 7
มาบวกกัน และจะได้ข้อสงั เกตวา่
พจิ ารณาการหาผลคณู ของ 35 × 0.29 กบั 0.29 × 35 โดยใช้ความสัมพันธ์ระหวา่ ง
••ผลคณู ของจำ�นวนนบั กับทศนิยม 1 ต�ำ แหน่ง ทศนิยมกบั เศษส่วน
เปน็ ทศนิยม 1 ตำ�แหนง่
35 × 0.29 = 35 × 29 0.29 × 35 = 12090 × 35
••ผลคณู ของจ�ำ นวนนบั กบั ทศนิยม 2 ตำ�แหนง่ 100 = 291 ×00 3 5
เปน็ ทศนยิ ม 2 ตำ�แหน่ง = 1100105
= 35 × 29
••ผลคูณของจ�ำ นวนนบั กบั ทศนิยม 3 ต�ำ แหนง่ 100 0.29 = 12090
เปน็ ทศนิยม 3 ตำ�แหน่ง
= 1015
ครูควรสอดแทรกการพจิ ารณาความสมเหตสุ มผล 100
ของค�ำ ตอบ เพอื่ ให้นักเรยี นตระหนักถงึ คำ�ตอบท่ีได้
จากนนั้ ร่วมกันท�ำ กิจกรรม หนา้ 83 แลว้ ใหท้ �ำ แบบฝึกหดั = 10.15 = 10.15
2.6 เป็นรายบคุ คล
ดงั นนั้ 35 × 0.29 = 10.15 ดงั นน้ั 0.29 × 35 = 10.15

พบว่� 35 × 0.29 = 0.29 × 35

การคณู ทศนยิ มกับจำานวนนบั เมอื่ สลับทีก่ ัน ผลคูณยงั คงเท่ากัน
80 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนงั สอื เรยี นรายวชิ าพ้นื ฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5
บทที่ 2 | ทศนิยม

พิจารณาการหาผลคูณของ 4 × 1.43
เน่อื งจาก 4 × 1.43 = 1.43 + 1.43 + 1.43 +1.43

หลักหนว่ ย หลักสว่ นสบิ หลักส่วนร้อย +
1 4 3
1 4 3
1 4 3
1 4 3
5 7 2

หลักหน่วย คดิ จาก หลักสว่ นสิบ คดิ จาก หลักส่วนร้อย คิดจาก
1 + 1 + 1 + 1 0.4 + 0.4 + 0.4 + 0.4 0.03 + 0.03 + 0.03 + 0.03
= 4 × 1 หรือ 4 × 1 หน่วย = 4 × 0.4 หรอื 4 × 4 ส่วนสิบ = 4 × 0.03 หรือ 4 × 3 สว่ นร้อย
= 4 หนว่ ย รวมกบั ตวั ทด = 16 ส่วนสิบ รวมกบั ตัวทดอกี 1 ส่วนสบิ = 12 ส่วนรอ้ ย หรือ 1 ส่วนสบิ
อกี 1 หนว่ ย เปน็ 5 หน่วย เปน็ 17 ส่วนสบิ หรอื 1 หนว่ ย กบั 2 สว่ นร้อย เขียน 2 ใน
เขยี น 5 ในหลักหนว่ ย กบั 7 ส่วนสิบ เขียน 7 ในหลกั ส่วนสบิ หลักส่วนร้อย ทด 1 ในหลักส่วนสิบ
ทด 1 ในหลักหนว่ ย

เขยี นแสดงการหาผลคูณไดด้ ังนี้

1.4 3× คณู ในหลักสว่ นร้อย 4 × 3 สว่ นรอ้ ย ได ้ 12 ส่วนร้อย
5.7 4 หรอื 1 สว่ นสิบ กับ 2 สว่ นรอ้ ย เขยี น 2 ในหลกั สว่ นร้อย
2 ทด 1 ในหลักสว่ นสบิ

ดังนน้ั 4 × 1.43 = 5.72 คูณในหลกั ส่วนสิบ 4 × 4 สว่ นสบิ ได้ 16 ส่วนสบิ รวมกับตัวทด
อีก 1 ส่วนสิบ เปน็ 17 สว่ นสิบ หรือ 1 หน่วย กบั 7 สว่ นสบิ
เขยี น 7 ในหลกั ส่วนสิบ ทด 1 ในหลกั หนว่ ย

คณู ในหลักหน่วย 4 × 1 หนว่ ย ได ้ 4 หนว่ ย
รวมกับตัวทดอีก 1 หน่วย เป็น 5 หนว่ ย เขียน 5 ในหลักหนว่ ย

| 81สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  85

คมู่ อื ครู รายวิชาพ้นื ฐาน คณติ ศาสตร์ บทที่ 2 | ทศนิยม
ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 5 เลม่ 1

หนงั สือเรียนรายวิชาพนื้ ฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5 หนงั สอื เรยี นรายวิชาพ้นื ฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5
บทที่ 2 | ทศนยิ ม บทท่ี 2 | ทศนิยม

พิจารณาการหาผลคณู ของ 0.267 × 38 เขียนแสดงการหาผลคณู ไดด้ งั น้ี การคณู ทศนิยมกบั จาำ นวนนับ ใช้วธิ กี ารเดยี วกันกบั การคณู จาำ นวนนับกับจำานวนนับ โดยอาจกระจาย
เน่ืองจาก 38 = 8 + 30 จำานวนหนึ่งตามคา่ ประจาำ หลกั แล้วนาำ ไปคณู กับอกี จาำ นวนหนง่ึ จากนนั้ นำาผลคูณทไี่ ดม้ าบวกกัน
ผลคณู ของจำานวนนบั กบั ทศนยิ ม 1 ตาำ แหน่ง เปน็ ทศนิยม 1 ตาำ แหนง่
ดงั น้นั 0.267 × 38 = 0.267 × (8 + 30) 0.2 6 7 × ผลคูณของจาำ นวนนบั กบั ทศนยิ ม 2 ตำาแหนง่ เป็นทศนิยม 2 ตาำ แหน่ง
= (0.267 × 8) + (0.267 × 30) 38 ผลคูณของจำานวนนับกับทศนิยม 3 ตำาแหน่ง เป็นทศนยิ ม 3 ตาำ แหนง่
= (8 × 0.267) + (30 × 0.267)
= 2.136 + 8.010 2.1 3 6 8 × 0.267
= 10.146
8.0 1 0 30 × 0.267 แสดงวธิ หี าผลคณู

1 0.1 4 6

1 9 × 5.3

หรือ สามารถหาผลคณู ไดด้ ังน้ี วิธที าำ 5.3 × พจิ ารณาความสมเหตสุ มผล
9 เน่ืองจาก 5.3 ≈ 5
เนื่องจาก 0.267 × 38 = 38 × 0.267 และ 9 × 5 = 45
แสดงวา่ 47.7 เปน็ ผลคูณที่สมเหตุสมผล
และ 0.267 = 0.007 + 0.06 + 0.2 4 7.7

ดังนั้น 0.267 × 38 = 38 × 0.267 ตอบ ๔๗.๗

= 38 × (0.007 + 0.06 + 0.2)

= (38 × 0.007) + (38 × 0.06) + (38 × 0.2) 2 7.12 × 486
วธิ ีทำา
= (0.007 × 38) + (0.06 × 38) + (0.2 × 38)
7.1 2 ×
= 0.266 + 2.28 + 7.6 486
4 2.7 2
= 0.266 + 2.280 + 7.600 5 6 9.6 0 พิจารณาความสมเหตุสมผล
2 8 4 8.0 0 เนื่องจาก 7.12 ≈ 7
= 10.146 3 4 6 0.3 2 486 ≈ 500
และ 7 × 500 = 3,500
เขยี นแสดงการหาผลคณู ไดด้ ังนี้ ตอบ ๓,๔๖๐.๓๒ แสดงว่า 3,460.32 เปน็ ผลคณู ท่สี มเหตุสมผล

3 8× 0.007 × 38 แสดงวิธีหาผลคณู
0.2 6 7 0.06 × 38 = 2.28 = 2.280
0.2 6 6 0.2 × 38 = 7.6 = 7.600 1 8 × 0.9
2.2 8 0 4 0.4 × 10
7.6 0 0 2 4.151 × 3 3 2.34 × 17
1 0.1 4 6 5 0.5 × 1,000 6 0.008 × 100

ดงั น้นั 0.267 × 38 = 10.146

82 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แบบฝกึ หัด 2.6

| 83สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนังสือเรยี นรายวิชาพื้นฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5
บทท่ี 2 | ทศนยิ ม

เฉลยหน้า 83

1 วิธที ำ� 0.9 × 2 วิธีทำ� 4.151 ×
ตอบ ๗.๒ 8 15

7.2 12.453

ตอบ ๑๒.๔๕๓

3 วธิ ที �ำ 2.34 × 4 วิธที �ำ 10 ×
17 15

16.38 4.0

23.40 ตอบ ๔.๐ หรือ ๔

39.78

ตอบ ๓๙.๗๘

5 วิธที �ำ 1000 × 6 วธิ ีทำ� 100 ×
0.5 0.008
500 .0 0.800

ตอบ ๕๐๐.๐ หรือ ๕๐๐

ตอบ ๐.๘๐๐ หรอื ๐.๘

86  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครู รายวิชาพ้นื ฐาน คณติ ศาสตร์ บทท่ี 2 | ทศนิยม
ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 5 เลม่ 1

5. หน้า 84 เปน็ การคณู ทศนิยมดว้ ย 10 100 หนงั สอื เรียนรายวชิ าพนื้ ฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5
และ 1,000 ครอู าจจัดกิจกรรมโดยใหน้ กั เรียนรว่ มกัน บทท่ี 2 | ทศนิยม
พิจารณาและสงั เกตผลคูณ และจ�ำ นวนตำ�แหนง่ ของทศนยิ ม
ท่ีเปน็ ผลคณู สำ�หรบั หัวข้อนี้เปน็ การเตรยี มความพร้อม การคณู ทศนิยมด้วย 10 100 และ 1,000
ส�ำ หรับการหารทศนยิ มด้วยทศนิยมในช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6 พิจารณาการคณู ทศนยิ มด้วย 10

6. เพ่ือตรวจสอบความเขา้ ใจและสรุปความรทู้ ไี่ ด้ เน่อื งจาก 0.4 × 10 = 4.0 หรอื 4 และ 6.95 × 10 = 69.50 หรอื 69.5
ใหน้ ักเรียนทำ�กิจกรรม หนา้ 85 เป็นรายบคุ คล สงั เกตว่า การคณู ทศนยิ มด้วย 10 ผลคณู อาจได้มาจากการเล่ือนจุดทศนยิ มไปทางขวา
1 ตำาแหนง่

พจิ ารณาการคณู ทศนิยมดว้ ย 100
เนอ่ื งจาก 9.02 × 100 = 902.00 หรอื 902 และ 0.008 × 100 = 0.800 หรอื 0.8
สงั เกตวา่ การคูณทศนยิ มด้วย 100 ผลคูณอาจได้มาจากการเลือ่ นจุดทศนิยมไปทางขวา
2 ตาำ แหน่ง

พจิ ารณาการคูณทศนยิ มดว้ ย 1,000
เนื่องจาก 0.5 × 1,000 = 500.0 หรอื 500 และ 1,000 × 2.083 = 2,083.000 หรือ 2,083
สังเกตว่า การคูณทศนิยมด้วย 1,000 ผลคณู อาจไดม้ าจากการเลื่อนจุดทศนิยมไปทางขวา
3 ตำาแหน่ง

ปฏิบตั กิ จิ กรรม

1 หาผลคูณ

1) 5.2 × 10 2) 100 × 0.365 3) 0.02 × 1,000
52.0 หรือ 52 36.500 หรือ 36.5 20.00 หรือ 20

4) 8.073 × 100 5) 1,000 × 4.6 6) 10 × 0.55
807.300 หรือ 807.3 4,600.0 หรือ 4,600 5.50 หรือ 5.5

2 เตมิ ตัวเลขแสดงจำานวนใน
1) 38.5 × 10 = 385
2) 0.09 × 1,0 0 0 = 90
3) 1 00 × 72.15 = 7,215
4) 1 , 000 × 5.036 = 5,036

84 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนงั สอื เรยี นรายวชิ าพน้ื ฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5
บทที่ 2 | ทศนิยม

ตรวจสอบความเขา้ ใจ

1 หาผลคณู

1) 0.9 × 2 2) 0.005 × 6 3) 0.77 × 100

1.8 0.030 หรือ 0.03 77.00 หรอื 77

4) 8.001 × 1,000 5) 4 × 0.52 6) 1.8 × 30
8,001.000 หรอื 8,001 2.08 54.0 หรอื 54

2 แสดงวิธีหาผลคณู
1) 7 × 12.6 2) 9.035 × 15 3) 29 × 3.3
4) 4.18 × 90 5) 0.89 × 212 6) 1.754 × 68

สิ่งทไี่ ด้เรยี นรู้

ผลลัพธข์ อง 4 × 7.52 กับ (4 × 7) + (4 × 0.5) + (4 × 0.02) เท่ากันหรอื ไม่ เพราะเหตุใด

| 85สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  87

คู่มือครู รายวิชาพน้ื ฐาน คณิตศาสตร์ บทที่ 2 | ทศนยิ ม
ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 5 เล่ม 1

หนงั สือเรียนรายวชิ าพนื้ ฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5 หนังสือเรยี นรายวชิ าพน้ื ฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5
บทที่ 2 | ทศนิยม บทที่ 2 | ทศนิยม

เฉลยหน้า 85 เฉลยหนา้ 85

2 สง่ิ ที่ได้เรียนรู้

1) วธิ ีทำ� 1 2.6 2) วธิ ที �ำ 9.0 3 5 เท่ากัน เพราะ 4 × 7.52 = 30.08
ตอบ ๘๘.๒ 7× 15 × และ (4 × 7) + (4 × 0.5) + (4 × 0.02) = 28 + 2.0 + 0.08

8 8.2 4 5.1 7 5 = 30.08
9 0.3 5 0 แสดงวา่ 4 × 7.52 = (4 × 7) + (4 × 0.5) + (4 × 0.02)
1 3 5.5 2 5 ขอ้ สงั เกต 7.52 = 7 + 0.5 + 0.02
ดงั น้ัน 4 × 7.52 = 4 × (7 + 0.5 + 0.02)
ตอบ ๑๓๕.๕๒๕
= (4 × 7) + (4 × 0.5) + (4 × 0.02)
3) วิธีทำ� 3.3 × 4) วธิ ที ำ� 4 .1 8 ×
ตอบ ๙๕.๗ 29 90
2 9.7
6 6.7 3 7 6.2 0
9 5.7
ตอบ ๓๗๖.๒๐ หรือ ๓๗๖.๒

5) วิธีท�ำ 0.8 9 × 6) วธิ ที ำ� 1.7 5 4 ×
212 68
1.7 8
8.9 0 1 4.0 3 2
1 7 8.0 0 1 0 5.2 4 0
1 8 8.6 8 1 1 9.2 7 2

ตอบ ๑๑๙.๒๗๒

ตอบ ๑๘๘.๖๘

7. การสอนการคูณทศนยิ มกบั ทศนิยมโดยใช้ความสมั พนั ธ์ หนังสอื เรียนรายวชิ าพืน้ ฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5
ระหว่างทศนิยมกับเศษส่วน ครอู าจจดั กจิ กรรม บทท่ี 2 | ทศนิยม
โดยใชส้ อ่ื ประกอบการอธิบาย หน้า 86-87 แล้วให้นักเรยี น
สังเกตความสมั พันธ์ระหว่างจ�ำ นวนตำ�แหน่ง การคณู ทศนยิ มกับทศนิยม
ของทศนิยมท่นี ำ�มาคูณกัน กบั ผลคูณทีไ่ ด้ เพอ่ื น�ำ ไปสู่
ข้อสรปุ ท่ีวา่ พจิ ารณาการหาผลคณู ของ 0.4 × 0.2
••การคณู ทศนิยมกบั ทศนยิ ม อาจทำ�ได้โดยเขยี นทศนิยม 0.4 × 0.2 หมายถึง 4 ส่วน ใน 10 ส่วนของ 0.2

ในรูปเศษส่วน หาผลคณู แล้วเขยี นในรปู ทศนิยม 4 สว่ น ใน 10 ส่วนของ 0.2
••การคูณทศนิยมกับทศนิยม ผลคูณเปน็ ทศนยิ ม
0.2
ท่มี ีจ�ำ นวนต�ำ แหนง่ เท่ากับผลรวมของจ�ำ นวนตำ�แหนง่
ของทศนยิ มทน่ี ำ�มาคณู กัน จากรปู พบว่า 0.4 × 0.2 ได้ 1800 หรือ 0.08
จากนั้นร่วมกันท�ำ กิจกรรม หน้า 88 แลว้ ใหท้ �ำ แบบฝกึ หัด ดังนน้ั 0.4 × 0.2 = 0.08
2.7 เปน็ รายบุคคล
การหาผลคูณของ 0.4 × 0.2 อาจเขยี น 0.4 และ 0.2 ในรูปเศษสว่ น แล้วหาผลคณู ดังนี้
88  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
0.4 × 0.2 = 140 × 2
10

= 1 40 ×× 210 สังเกต จำานวนตาำ แหนง่ ของทศนิยมทีน่ ำามาคูณกนั กบั ผลคูณท่ไี ด้
ว่ามคี วามสมั พนั ธ์กนั อยา่ งไร
= 1800

= 0.08

ดงั น้นั 0.4 × 0.2 = 0.08

86 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครู รายวิชาพนื้ ฐาน คณิตศาสตร์ บทที่ 2 | ทศนยิ ม
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 เลม่ 1

หนงั สอื เรยี นรายวิชาพ้ืนฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5 หนังสอื เรยี นรายวิชาพน้ื ฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5
บทที่ 2 | ทศนยิ ม บทท่ี 2 | ทศนยิ ม

พจิ ารณาการหาผลคูณของ 3.5 × 0.67 แสดงวธิ ีหาผลคูณ

การหาผลคณู ของ 3.5 × 0.67 อาจเขยี น 3.5 และ 0.67 ในรปู เศษสว่ น แลว้ หาผลคณู ดงั นี้ 1 0.7 × 0.6 2 1.4 × 0.9 3 5.1 × 0.74
4 0.3 × 10.8 5 0.65 × 0.2 6 7.02 × 12.8
3.5 × 0.67 = 35 × 67
10 100 สังเกต จาำ นวนตำาแหน่งของทศนิยมที่นำามาคูณกนั กับผลคณู ทไ่ี ด้
วา่ มีความสัมพนั ธ์กันอยา่ งไร
= 1305 ×× 61700 แบบฝกึ หดั 2.7

= 12030405 พจิ ารณาการหาผลคณู ของ 0.3 × 0.9 กบั 0.9 × 0.3 โดยใชค้ วามสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง
ทศนยิ มกับเศษสว่ น
= 2.345

ดังน้นั 3.5 × 0.67 = 2.345 0.3 × 0.9 = 130 × 9 0.9 × 0.3 = 190 × 3
10 10

จากการสังเกตพบว่า = 12070 = 12070
การคณู ทศนิยม 1 ตำาแหน่ง กับทศนิยม 1 ตาำ แหน่ง ผลคณู เป็นทศนิยม 2 ตาำ แหน่ง
การคณู ทศนิยม 1 ตำาแหน่ง กับทศนิยม 2 ตาำ แหน่ง ผลคูณเปน็ ทศนยิ ม 3 ตาำ แหน่ง = 0.27 = 0.27

ดงั นน้ั 0.3 × 0.9 = 0.27 ดงั นนั้ 0.9 × 0.3 = 0.27

การคณู ทศนิยมกบั ทศนยิ ม อาจทาำ ได้โดยเขียนทศนิยมในรปู เศษสว่ น หาผลคูณ พบวา่ 0.3 × 0.9 = 0.9 × 0.3
แลว้ เขียนในรปู ทศนิยม
การคูณทศนิยมกบั ทศนยิ ม ผลคณู เป็นทศนิยมทมี่ ีจำานวนตาำ แหนง่ เทา่ กับผลรวมของ พิจารณาการหาผลคณู ของ 0.12 × 4.7 กบั 4.7 × 0.12 โดยใชค้ วามสัมพันธ์ระหวา่ ง
จาำ นวนตาำ แหนง่ ของทศนิยมทน่ี ำามาคูณกัน ทศนยิ มกบั เศษส่วน

0.12 × 4.7 = 12 × 47 4.7 × 0.12 = 1407 × 12
100 10 100

แสดงวธิ ีหาผลคณู = 564 = 1506040
1000
1 0.5 × 4.9 2 0.16 × 0.2
= 0.564 = 0.564
วธิ ที ำา 0.5 × 4.9 = 150 × 49 = 11060 2
10 วิธที ำา 0.16 × 0.2 × 10

= 124005 = 130020 ดังนน้ั 0.12 × 4.7 = 0.564 ดงั น้ัน 4.7 × 0.12 = 0.564

= 2.45 = 0.032 พบว่า 0.12 × 4.7 = 4.7 × 0.12

ตอบ ๒.๔๕ ตอบ ๐.๐๓๒ การคณู ทศนยิ มกับทศนิยม เมอ่ื สลบั ทก่ี ัน ผลคณู ยงั คงเทา่ กนั
88 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
| 87สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

8. หน้า 88 เป็นการแสดงใหเ้ ห็นวา่ การคณู ทศนยิ ม หนังสอื เรยี นรายวิชาพ้ืนฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5
กบั ทศนยิ มมสี มบตั ิการสลับที่ ครูอาจจดั กิจกรรมโดยใช้ บทท่ี 2 | ทศนยิ ม
การถาม-ตอบประกอบการอธบิ าย พรอ้ มยกตวั อยา่ ง
เพ่มิ เตมิ โดยให้นกั เรียนหาผลคณู และสงั เกตผลคณู ท่ีได้ เฉลยหน้า 88
เพือ่ นำ�ไปสู่ข้อสรุปทีว่ ่า การคูณทศนิยมกบั ทศนิยม
เมือ่ สลบั ท่กี ัน ผลคณู ยงั คงเท่ากัน 1 วิธที �ำ 0.7 × 0.6 = 7 × 6 2 วิธีท�ำ 1.4 × 0.9 = 14 × 9
10 10 10 10

= 42 = 126
100 100

= 0.42 = 1.26

ตอบ ๐.๔๒ ตอบ ๑.๒๖

3 วธิ ที ำ� 5.1 × 0.74 = 51 × 74 4 วิธที ำ� 0.3 × 10.8 = 3 × 108
10 100 10 10

= 3774 = 324
1000 100

= 3.774 = 3.24

ตอบ ๓.๗๗๔ ตอบ ๓.๒๔

5 วิธีทำ� 0.65 × 0.2 = 65 × 2 6 วธิ ีทาำ 7.02 × 12.8 = 702 × 128
100 10 100 10

= 130 = 89856
1000 1000

= 0.130 = 89.856

ตอบ ๐.๑๓๐ หรือ ๐.๑๓ ตอบ ๘๙.๘๕๖

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  89

คมู่ ือครู รายวชิ าพื้นฐาน คณติ ศาสตร์ บทที่ 2 | ทศนิยม
ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 5 เลม่ 1
หนังสือเรยี นรายวิชาพนื้ ฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5
9. การสอนการคณู ทศนิยมกับทศนิยมในแนวตงั้ ครอู าจ บทที่ 2 | ทศนิยม
จดั กิจกรรมโดยใหน้ ักเรยี นรว่ มกนั พิจารณาการหาผลคูณ
หน้า 89-91 ครูอาจใชก้ ารถาม-ตอบประกอบการอธิบาย พจิ ารณาการหาผลคณู ของ 5.7 × 1.2 0.7 × 1.2 = 7 × 12
แลว้ เชื่อมโยงไปสู่หลักการคณู ทศนิยมกบั ทศนยิ มท่วี ่า เน่ืองจาก 5.7 = 0.7 + 5.0 = 10 10
และ 5.7 × 1.2 = 1.2 × 5.7
••การคณู ทศนยิ มกบั ทศนิยม อาจกระจายจำ�นวนหน่ึง แสดงว่า 1.2 × 5.7 = 1.2 × (0.7 + 5.0) 84
ตามคา่ ประจ�ำ หลัก แลว้ นำ�ไปคณู กับอีกจำ�นวนหนง่ึ = (1.2 × 0.7) + (1.2 × 5.0) 100
จากนน้ั น�ำ ผลคูณท่ไี ดม้ าบวกกนั = (0.7 × 1.2) + (5.0 × 1.2)
= 0.84 + 6.00
••การคูณทศนิยมกบั ทศนิยม ผลคณู ที่ได้ = 6.84
เป็นทศนยิ มที่มีจ�ำ นวนตำ�แหน่งของทศนยิ ม
เทา่ กบั ผลรวมของจำ�นวนตำ�แหน่ง = 0.84
ของทศนยิ มที่นำ�มาคูณกัน
5.0 × 1.2 = 50 × 12
ครูควรยำ�้ เกี่ยวกบั จำ�นวนต�ำ แหน่งของทศนิยมทเ่ี ป็น = 10 10
ผลคณู พร้อมท้ังแนะน�ำ ใหน้ ักเรยี นตระหนักถงึ แสดงการคณู ในแนวตง้ั ไดด้ ังน้ี
ความสมเหตุสมผลของผลคณู ทกุ ครัง้ จากนัน้ รว่ มกนั 600
ท�ำ กิจกรรมหน้า 91 แล้วให้ทำ�แบบฝกึ หัด 2.8 เป็นรายบคุ คล 100

1.2 = 6.00
×
0.7 × 1.2
5.7 5.0 × 1.2
0.8 4
6.0 0
6.8 4

ดงั นน้ั 5.7 × 1.2 = 6.84

การคณู ทศนยิ ม

| 89สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนงั สือเรียนรายวิชาพ้นื ฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5
บทท่ี 2 | ทศนยิ ม

พจิ ารณาการหาผลคูณของ 8.9 × 3.45

เนอื่ งจาก 8.9 = 0.9 + 8.0

แสดงว่า 8.9 × 3.45 = (0.9 + 8.0) × 3.45 0.9 × 3.45 = 9 × 345
10 100

= (0.9 × 3.45) + (8.0 × 3.45) = 3105
1000
= 3.105 + 27.600

= 30.705 = 3.105

8.0 × 3.45 = 80 × 345
10 100

= 27600
1000

แสดงการคณู ในแนวต้งั ได้ดงั นี้ = 27.600

3.4 5 × 0.9 × 3.45
8.9 8.0 × 3.45

3.1 0 5

2 7.6 0 0

3 0.7 0 5

ดงั น้นั 8.9 × 3.45 = 30.705

การคณู ทศนิยมกบั ทศนยิ ม อาจกระจายจาำ นวนหนงึ่ ตามคา่ ประจาำ หลัก แล้วนำาไปคูณ
กบั อีกจาำ นวนหน่ึง จากนัน้ นำาผลคูณทไี่ ด้มาบวกกนั
การคณู ทศนิยมกับทศนยิ ม ผลคูณทไี่ ดเ้ ปน็ ทศนยิ มท่มี ีจำานวนตำาแหนง่ ของทศนิยม
เทา่ กับผลรวมของจำานวนตาำ แหน่งของทศนิยมทีน่ าำ มาคูณกัน

ทศนยิ ม 2 ตาำ แหนง่ คณู กบั ทศนิยม 3 ตำาแหนง่
ผลคณู ทไ่ี ดเ้ ป็นทศนิยมกีต่ าำ แหน่ง

90 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

90  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครู รายวชิ าพืน้ ฐาน คณติ ศาสตร์ บทที่ 2 | ทศนยิ ม
ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 5 เลม่ 1

หนังสอื เรียนรายวิชาพืน้ ฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5 หนังสอื เรยี นรายวชิ าพ้ืนฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5
บทที่ 2 | ทศนิยม บทที่ 2 | ทศนยิ ม

เฉลยหน้า 91

แสดงวธิ หี าผลคูณ 1 วิธีท�ำ 5.1 2 วิธีท�ำ 1.82
ตอบ ๒.๐๔ 0.4 ตอบ ๑.๒๗๔ 0.7
1 0.3 × 0.8 × ×

เน่อื งจาก 0.8 ≈ 1 2.04 1.274
และ 0.3 × 1 = 0.3
วธิ ีทำา 0.8 ดังนัน้ ผลคณู ของ 0.3 × 0.8
× ต้องนอ้ ยกวา่ และใกล้เคียง 0.3
3 วธิ ที ำ� 9.5 × 4 วธิ ที �ำ 20.5 ×
0.3 ตอบ ๒.๘๕ 0.3 7.08
0.2 4

2.85 1.640
143.500
ตอบ ๐.๒๔ 145.140

ตอบ ๑๔๔.๑๔๐ หรือ ๑๔๕.๑๔

2 0.54 × 10.2 1 0.2 × 5 วิธีท�ำ 25.4 × 6 วิธที �ำ 0.92 ×
วิธีทำา 0.5 4 6.6 ตอบ ๔.๔๑๖ 4.8
0.4 0 8 เนอ่ื งจาก 10.2 ≈ 10 15.24 0.736
0.04 × 10.2 5.1 0 0 และ 0.54 × 10 = 5.4 152.40 3.680
0.50 × 10.2 5.5 0 8 ดงั น้นั ผลคูณของ 0.54 × 10.2 167.64 4.416
ตอบ ๕.๕๐๘ ต้องมากกวา่ และใกลเ้ คยี ง 5.4
ตอบ ๑๖๗.๖๔
แสดงวิธีหาผลคณู
1 5.1 × 0.4 2 1.82 × 0.7 3 9.5 × 0.3
4 20.5 × 7.08 5 6.6 × 25.4 6 0.92 × 4.8
แบบฝกึ หดั 2.8

| 91สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หนังสือเรยี นรายวิชาพน้ื ฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5
บทที่ 2 | ทศนยิ ม
10. เพื่อตรวจสอบความเขา้ ใจและสรปุ ความรู้ท่ไี ด้
ใหน้ กั เรยี นทำ�กจิ กรรม หนา้ 92 เปน็ รายบุคคล ตรวจสอบความเขา้ ใจ

แสดงวิธหี าผลคณู 2 9.1 × 1.8 3 5.3 × 28.9
1 7.4 × 0.6 5 1.75 × 3.2 6 2.6 × 5.07
4 10.4 × 6.51

สง่ิ ทีไ่ ดเ้ รียนรู้

ยกตวั อย่างโจทย์การคูณทศนยิ มกับทศนยิ มทม่ี ผี ลคณู เปน็ ทศนิยม 2 ตาำ แหนง่
และทศนิยม 3 ตาำ แหนง่ อยา่ งละ 1 ข้อ พร้อมแสดงวิธีหาผลคูณ

92 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  91

คู่มอื ครู รายวชิ าพ้นื ฐาน คณติ ศาสตร์ บทที่ 2 | ทศนิยม
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 5 เล่ม 1

หนังสือเรยี นรายวชิ าพ้ืนฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5
บทที่ 2 | ทศนยิ ม

เฉลยหนา้ 92

1 วธิ ีทำ� 7.4 × 2 วธิ ีท�ำ 9.1 ×
0.6 1.8

4.44 7.28
9.10
ตอบ ๔.๔๔ 16.38

ตอบ ๑๖.๓๘

3 วธิ ที �ำ 28.9 × 4 วิธที �ำ 6.51 ×
5.3 10.4

8.67 2.604
144.50
153.17 65.100
67.704

ตอบ ๑๕๓.๑๒ ตอบ ๖๗.๗๐๔

5 วธิ ที �ำ 1.75 × 6 วิธที �ำ 5.07 ×
3.2 2.6
3.042
8.67
5.250 10.140

5.600 13.182

ตอบ ๕.๖๐๐ หรอื ๕.๖ ตอบ ๑๓.๑๘๒

ส่ิงทไี่ ดเ้ รยี นรู้

ทศนิยมคูณกับทศนิยม ผลคณู เป็นทศนิยม 2 ตาำ แหน่ง ได้จากการคูณทศนยิ ม 1 ตาำ แหน่ง
กับ ทศนิยม 1 ตาำ แหนง่ เชน่ 2.8 × 1.7
ทศนิยมคูณกับทศนยิ ม ผลคูณเป็นทศนิยม 3 ตาำ แหนง่ ได้จากการคูณทศนิยม 1 ตาำ แหนง่
กับ ทศนยิ ม 2 ตาำ แหน่ง เชน่ 0.25 × 3.1
ทง้ั นี้อยู่ในดลุ ยพินจิ ของครผู ู้สอน

92  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณติ ศาสตร์ บทที่ 2 | ทศนยิ ม
ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 5 เล่ม 1
2.4 การหาร หนังสือเรยี นรายวิชาพนื้ ฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5
2.4 การหาร บทท่ี 2 | ทศนิยม
พจิ ารณาการหาผลหารของ 0.8 ÷ 2
จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ นกั เรียนสามารถ มีอยู่ 0.8 แบง่ เป็น 2 กลุม่ 7

1. หาผลหารท่ตี วั ต้ังเป็นทศนยิ มไม่เกนิ 3 ตำ�แหนง่ กลมุ่ ละเท่า ๆ กนั ไดก้ ลมุ่ ละเทา่ ใด 0.4
และตัวหารเป็นจ�ำ นวนนบั ผลหารเป็นทศนยิ ม
ไมเ่ กิน 3 ต�ำ แหน่ง 0.8

2. หาผลหารทีต่ วั ตั้งเปน็ จ�ำ นวนนบั และตัวหาร จากรูป มีสว่ นที่ระบายส ี 0.8 แบ่ง 0.8 เปน็ 2 กล่มุ กลมุ่ ละเท่า ๆ กัน ได้กลุ่มละ 0.4
เป็นจ�ำ นวนนับ ผลหารเป็นทศนยิ มไมเ่ กนิ 3 ตำ�แหน่ง ดงั น้ัน 0.8 ÷ 2 = 0.4

สือ่ การเรียนรู้ การหาผลหารของ 0.8 ÷ 2 อาจเปล่ียน 0.8 ในรูปเศษสว่ น แลว้ หาผลหาร ดงั นี้

- 0.8 ÷ 2 = 180 ÷ 2 ตรวจสอบโดยใช้ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งการคูณกบั การหารที่วา่
ตัวตัง้ ÷ ตวั หาร = ผลหาร
แนวการจดั การเรียนรู้ = 180 ÷ 2 หรือ ตวั หาร × ผลหาร = ตัวต้ัง
1 จะได ้ 2 × 0.4 = 0.8
การสอนการหารทศนิยม ครูควรแบ่งกจิ กรรม
การสอนออกเปน็ 2 สว่ น ประกอบด้วย = 180 × 1
2
1) การหารทศนยิ มโดยการเขียนทศนยิ มในรูปเศษส่วน
2) การหารทศนิยมโดยการต้ังหาร = 140
1. การสอนการหารทศนยิ มโดยการเขียนทศนยิ ม
ในรูปเศษสว่ น ควรเรมิ่ จากการทบทวนความรเู้ กยี่ วกบั = 0.4
การหารเศษสว่ นและการเขยี นทศนิยมในรปู เศษส่วนก่อน
แล้วใชส้ อื่ ประกอบการอธิบายการหารทศนยิ มด้วยจำ�นวนนับ ดังนั้น 0.8 ÷ 2 = 0.4
หนา้ 93-95 พร้อมใชก้ ารถาม-ตอบเพอ่ื นำ�ไปสู่
วธิ กี ารหารทศนิยมดว้ ยจำ�นวนนับว่า อาจหาผลหารไดโ้ ดย | 93สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เขียนทศนิยมในรปู เศษสว่ น แลว้ หาผลหารของเศษส่วน
กบั จำ�นวนนบั และเขยี นผลหารในรูปทศนยิ ม หนงั สือเรยี นรายวชิ าพ้ืนฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5
จากนัน้ ร่วมกนั ทำ�กิจกรรม หนา้ 95 แล้วให้ท�ำ แบบฝึกหดั บทที่ 2 | ทศนยิ ม
2.9 เปน็ รายบุคคล
พิจารณาการหาผลหารของ 0.06 ÷ 3 0.06
หมายเหตุ การตรวจสอบความถกู ตอ้ งของผลหาร 0.02
ครอู าจแนะน�ำ ใหน้ ักเรียนใชเ้ ครอ่ื งคิดเลขได้ มีอย ู่ 0.06 แบง่ เปน็ 3 กลมุ่
กลุ่มละเทา่ ๆ กนั ไดก้ ลุ่มละเท่าใด

จากรปู มีสว่ นท่รี ะบายสี 0.06 แบง่ 0.06 เปน็ 3 กลมุ่ กลมุ่ ละเท่า ๆ กนั ได้กลุ่มละ 0.02
ดังน้ัน 0.06 ÷ 3 = 0.02

การหาผลหารของ 0.06 ÷ 3 อาจเปล่ียน 0.06 ในรปู เศษสว่ น แลว้ หาผลหาร ดงั น้ี

0.06 ÷ 3 = 1600 ÷ 3

= 1060 ÷ 3 ตรวจสอบโดยใช้ความสมั พันธ์ระหวา่ งการคณู กบั การหาร
1 จะได ้ 3 × 0.02 = 0.06

= 1600 × 1
3

= 1020

= 0.02

ดังน้นั 0.06 ÷ 3 = 0.02

การหารทศนิยมด้วยจาำ นวนนบั อาจหาผลหารได้โดยเขียนทศนิยมในรูปเศษสว่ น
แลว้ หาผลหารของเศษส่วนกับจำานวนนับ และเขียนผลหารในรปู ทศนิยม

94 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  93

คู่มอื ครู รายวชิ าพืน้ ฐาน คณติ ศาสตร์ บทที่ 2 | ทศนิยม
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 5 เลม่ 1

หนงั สอื เรยี นรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5 หนงั สอื เรียนรายวชิ าพ้ืนฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5
บทท่ี 2 | ทศนยิ ม บทที่ 2 | ทศนยิ ม

เฉลยหนา้ 95

แสดงวิธหี าผลหาร 1 วธิ ีทำ� 0.08 ÷ 8 = 8 ÷ 8 2 วธิ ที ำ� 1.6 ÷ 2 = 16 ÷ 2
= 100 ÷ 8 = 10 ÷ 2
1 3.15 ÷ 7 2 0.504 ÷ 6 8 1 16 1
100 10

วิธที ำา 3.15 ÷ 7 = 310150 ÷ 7 วธิ ที าำ 0.504 ÷ 6 = 504 ÷ 6 = 8 × 1 = 16 × 1
1000 = 1100 8 = 180 2

= 131005 ÷ 7 = 504 ÷ 6 100 10
1 1000 1
= 0.01 = 0.8

= 131005 × 1 = 504 × 1 ตรวจสอบ 8 × 0.01 = 0.08 ตรวจสอบ 2 × 0.8 = 1.6
7 1000 6
ดงั น้ัน 0.08 ÷ 8 = 0.01 ดงั น้นั 1.6 ÷ 2 = 0.8
= 14050 = 108400 ตอบ ๐.๐๑ ตอบ ๐.๘

= 0.45 = 0.084 3 วธิ ีท�ำ 14.4 ÷ 4 = 144 ÷ 4 4 วธิ ีทำ� 6.18 ÷ 6 = 618 ÷ 6
ตรวจสอบ 6 × 0.084 = 0.504 = 10 ÷ 4 = 100 ÷ 6
144 1 618 1
ตรวจสอบ 7 × 0.45 = 3.15 10 100
ดงั น้ัน 3.15 ÷ 7 = 0.45
= 144 × 1 = 618 × 1
10 4 100 6
ดงั น้ัน 0.504 ÷ 6 = 0.084 36
ตอบ ๐.๐๘๔ = 10 = 103
100
ตอบ ๐.๔๕ = 3.6
= 1.03

ตรวจสอบ 4 × 3.6 = 14.4 ตรวจสอบ 6 × 1.03 = 6.18

แสดงวิธีหาผลหาร ดงั นน้ั 14.4 ÷ 4 = 3.6 ดงั นั้น 6.18 ÷ 6 = 1.03
1 0.08 ÷ 8 ตอบ ๓.๖ ตอบ ๑.๐๓

2 1.6 ÷ 2 3 14.4 ÷ 4 5 วิธีท�ำ 2.115 ÷ 3 = 2115 ÷ 3 6 วธิ ที �ำ 111.60 ÷ 90 = 11160 ÷ 90
1000 100
2115 3 11160 90
= 1000 ÷ 1 = 100 ÷ 1

4 6.18 ÷ 6 5 2.115 ÷ 3 6 111.60 ÷ 90 = 2115 × 1 = 11160 × 1
1000 3 100 90

7 9.7 ÷ 10 8 1.4 ÷ 100 9 10.5 ÷ 100 = 705 = 124
1000 100

= 0.705 = 1.24
ตรวจสอบ 90 × 1.24 = 111.60
แบบฝึกหดั 2.9 ตรวจสอบ 3 × 0.705 = 2.115

ดงั นน้ั 2.115 ÷ 3 = 0.705 ดังน้ัน 111.60 ÷ 90 = 1.24
ตอบ ๐.๗๐๕ ตอบ ๑.๒๔

| 95สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนงั สือเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5
บทที่ 2 | ทศนิยม

เฉลยหนา้ 95

7 วิธที �ำ 9.7 ÷ 10 = 97 ÷ 10 8 วธิ ีท�ำ 1.4 ÷ 100 = 11110404÷÷1110000
= 10 ÷ 10 =
97 1
10

= 97 × 1 = 111044× 1
= 1907 10 = 100

100 1000

= 0.97 = 0.014

ตรวจสอบ 10 × 0.97 = 9.70 = 9.7 ตรวจสอบ 100 × 0.014 = 1.400 = 1.4

ดังนัน้ 9.7 ÷ 10 = 0.97 ดงั นนั้ 1.4 ÷ 100 = 0.014
ตอบ ๐.๙๗ ตอบ ๐.๐๑๔

9 วิธีท�ำ 10.5 ÷ 100 = 105 ÷ 100
= 10
105 ÷ 100
10 1

= 105 × 1
10 100
105
= 1000

= 0.105

ตรวจสอบ 100 × 0.105 = 10.500 = 10.5

ดงั นัน้ 10.5 ÷ 100 = 0.105
ตอบ ๐.๑๐๕

94  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครู รายวชิ าพน้ื ฐาน คณิตศาสตร์ บทท่ี 2 | ทศนิยม
ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 5 เลม่ 1
หนังสอื เรียนรายวิชาพืน้ ฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5 0.8 0.04
2. การสอนการหารทศนิยมโดยการต้ังหาร ให้นกั เรยี น บทที่ 2 | ทศนิยม
พจิ ารณาการหาผลหาร หน้า 96-98 โดยครใู ช้ส่อื
ประกอบการถาม-ตอบ เพ่ือเชอ่ื มโยงไปสู่การตง้ั หาร พิจารณาการหาผลหารของ 0.84 ÷ 4
ซงึ่ ใช้วธิ ีการเดยี วกนั กบั การหารจำ�นวนนบั ด้วยจำ�นวนนับ
จากนัน้ รว่ มกนั ท�ำ กจิ กรรม หน้า 98 แล้วให้ทำ�แบบฝึกหัด มีอยู่ 0.84 แบง่ เปน็ 4 กล่มุ
2.10 เป็นรายบุคคล กลุ่มละเท่า ๆ กนั ได้กลุ่มละเท่าใด

0.8 จากรปู มีสว่ นทร่ี ะบายส ี 0.84 หรือ 8 สว่ นสบิ กับ 4 ส่วนร้อย

แบ่ง 8 ส่วนสบิ เปน็ 4 กล่มุ กลุ่มละเท่า ๆ กัน 0.01
ได้กลุ่มละ 2 สว่ นสิบ หรอื 0.2

0.2
แบ่ง 4 ส่วนร้อย เปน็ 4 กลมุ่ กลุ่มละเท่า ๆ กัน
ได้กลุ่มละ 1 สว่ นร้อย หรอื 0.01

ดังน้นั แบง่ 0.84 เป็น 4 กลมุ่ กลุ่มละเท่า ๆ กัน ไดก้ ลมุ่ ละ 0.2 กับ 0.01 หรอื 0.2 + 0.01 = 0.21
แสดงว่า 0.84 ÷ 4 = 0.21

แสดงการตั้งหารได้ดงั นี้

0.2 1 4 × 0.2
4 0.8 4 4 × 0.01

0.8
0.0 4
0.0 4

0

ตรวจสอบ 4 × 0.21 = 0.84
ดงั น้นั 0.84 ÷ 4 = 0.21

96 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนงั สอื เรยี นรายวิชาพื้นฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5 หนงั สือเรียนรายวชิ าพื้นฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5
บทที่ 2 | ทศนิยม บทที่ 2 | ทศนิยม

พิจารณาการหาผลหารของ 0.75 ÷ 5 0.7 0.05 แสดงวิธหี าผลหาร

มอี ย ู่ 0.75 แบง่ เปน็ 5 กลุ่ม 1 0.86 ÷ 2
กลุ่มละเทา่ ๆ กัน ได้กลมุ่ ละเทา่ ใด
วธิ ที ำา 0 . 4 3
0.7 2 0.8 6
จากรูป มสี ว่ นทีร่ ะบายส ี 0.75 หรอื 7 ส่วนสบิ กับ 5 ส่วนร้อย 0.8
0.0 6
แบ่ง 7 ส่วนสิบ เปน็ 5 กลมุ่ กลมุ่ ละเท่า ๆ กนั 0.0 6
ได้กลุม่ ละ 1 สว่ นสิบ หรือ 0.1 เหลือ 2 สว่ นสบิ 0

0.1 0.05 ตรวจสอบ 2 × 0.43 = 0.86
กระจาย 2 ส่วนสิบ ได ้ 20 สว่ นรอ้ ย รวมกบั 5 สว่ นรอ้ ย ดังน้ัน 0.86 ÷ 2 = 0.43
เป็น 25 ส่วนร้อย แบง่ 25 สว่ นรอ้ ย เป็น 5 กลุ่ม กลมุ่ ละเท่า ๆ กัน ตอบ ๐.๔๓
ได้กลุ่มละ 5 สว่ นรอ้ ย หรือ 0.05
2 61.35 ÷ 15

วธิ ีทำา 4.0 9 หรอื อาจจะแสดงได้โดย
1 5 6 1.3 5 4.0 9
ดงั นน้ั แบ่ง 0.75 เปน็ 5 กลมุ่ กล่มุ ละเท่า ๆ กัน ได้กลุม่ ละ 0.1 กบั 0.05 หรือ 0.1 + 0.05 = 0.15
แสดงวา่ 0.75 ÷ 5 = 0.15 60 1 5 6 1.3 5
1.3 60
แสดงการตั้งหารไดด้ งั นี้ 0.0 1.3 5
1.3 5 1.3 5
0.1 5 1.3 5 0
0
5 0.7 5

0.5 5 × 0.1

0.2 5 ตรวจสอบ 15 × 4.09 = 61.35
ดังนน้ั 61.35 ÷ 15 = 4.09
0.2 5 5 × 0.05 ตอบ ๔.๐๙

0

ตรวจสอบ 5 × 0.15 = 0.75 แสดงวิธีหาผลหาร
ดงั น้นั 0.75 ÷ 5 = 0.15 1 0.69 ÷ 3

2 1.85 ÷ 5 3 5.68 ÷ 4

การหารทศนิยมด้วยจำานวนนบั ใชว้ ธิ กี ารเดยี วกนั กบั การหารจำานวนนบั ด้วยจำานวนนับ 4 0.306 ÷ 2 5 0.981 ÷ 9 6 37.02 ÷ 6

| 97สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 98 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แบบฝึกหดั 2.10

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  95

คมู่ ือครู รายวชิ าพ้นื ฐาน คณิตศาสตร์ บทที่ 2 | ทศนยิ ม
ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 5 เล่ม 1

หนงั สอื เรยี นรายวชิ าพืน้ ฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5
บทที่ 2 | ทศนยิ ม

เฉลยหนา้ 98

1 วิธที ำ� 0.23 2 วิธีทำ� 0.37
3 0.69 5 1.85

0.6 1.5
0.09 0.35
0.09 0.35

0 0

ตรวจสอบ 3 × 0.23 = 0.69 ตรวจสอบ 5 × 0.37 = 1.85

ดังน้ัน 0.69 ÷ 3 = 0.23 ดงั นัน้ 1.85 ÷ 5 = 0.37
ตอบ ๐.๒๓ ตอบ ๐.๓๗

3 วธิ ีท�ำ 1.42 4 วิธีทำ� 0.153
4 5.68 2 0.306

4 0.2
1.6
1.6 0.10
0.08 0.10
0.08
0.006
0
0.006
0

ตรวจสอบ 4 × 1.42 = 5.68 ตรวจสอบ 2 × 0.153 = 0.306
ดังนั้น 5.68 ÷ 4 = 1.42 ดงั นนั้ 0.306 ÷ 2 = 0.153

ตอบ ๑.๔๒ ตอบ ๐.๑๕๓

5 วิธีท�ำ 0.109 6 วิธที ำ� 6.17
9 0.981 6 37.02

0.9 36
0.081 1.0
0.081 0.6
0.42
0 0.42
0
ตรวจสอบ 9 × 0.109 = 0.981

ดงั น้ัน 0.981 ÷ 9 = 0.109 ตรวจสอบ 6 × 6.17 = 37.02
ตอบ ๐.๑๐๙
ดังนั้น 37.02 ÷ 6 = 6.17
ตอบ ๖.๑๗

3. หน้า 99-100 เป็นการหารทศนยิ มด้วยจ�ำ นวนนบั หนังสือเรยี นรายวิชาพ้นื ฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5
โดยใชก้ ารตงั้ หาร ซึ่งครูอาจจัดกิจกรรมโดยใชก้ ารถาม-ตอบ บทท่ี 2 | ทศนยิ ม
ประกอบการอธบิ าย จากนนั้ รว่ มกันท�ำ กิจกรรม หน้า 100
แล้วใหท้ ำ�แบบฝึกหดั 2.11 เป็นรายบุคคล พจิ ารณาการหาผลหารของ 1.9 ÷ 5 0.3 8 5 × 0.3
แสดงการตง้ั หารไดด้ งั นี้ 5 1.9 5 × 0.08
96  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1.9 – 1.5 = 0.4 = 0.40 1.5
0.4 0
ตรวจสอบ 5 × 0.38 = 1.90 = 1.9 0.4 0
ดังนัน้ 1.9 ÷ 5 = 0.38
0

พจิ ารณาการหาผลหารของ 5.1 ÷ 4 1.2 7 5 4 × 1
แสดงการตง้ั หารไดด้ งั นี้ 4 5.1 4 × 0.2
4 × 0.07
1.1 – 0.8 = 0.3 = 0.30 4 4 × 0.005
0.30 – 0.28 = 0.02 = 0.020 1.1
0.8
ตรวจสอบ 4 × 1.275 = 5.100 = 5.1 0.3 0
ดังน้ัน 5.1 ÷ 4 = 1.275 0.2 8
0.0 2 0
0.0 2 0

0

| 99สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครู รายวิชาพน้ื ฐาน คณิตศาสตร์ บทที่ 2 | ทศนิยม
ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 5 เลม่ 1

หนงั สอื เรยี นรายวิชาพ้นื ฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5 หนังสือเรยี นรายวิชาพน้ื ฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5
บทที่ 2 | ทศนยิ ม บทที่ 2 | ทศนยิ ม

เฉลยหน้า 100

แสดงวธิ หี าผลหาร 1 วธิ ีทำ� 0.55 2 วิธีท�ำ 0.148
2 1.1
1 9.3 ÷ 6 2 27.66 ÷ 12 5 0.74
1.0
วิธที ำา วธิ ที ำา 0.10 0.5
2.3 0 5 0.10
1.5 5 0.24
6 9.3 1 2 2 7.6 6 0
24 0.20
6 3.6
3.3 3.6 0.040
3.0 0.0 6 0
0.3 0 0.0 6 0 ตรวจสอบ 2 × 0.55 = 1.10 = 1.1 0.040
0.3 0 0
ดงั นัน้ 1.1 ÷ 2 = 0.55 0
0 ตรวจสอบ 12 × 2.305 = 27.66 ตอบ ๐.๕๕
ดังน้นั 27.66 ÷ 12 = 2.305 ตรวจสอบ 5 × 0.148 = 0.740 = 0.74
ตอบ ๒.๓๐๕
ดงั น้ัน 0.74 ÷ 5 = 0.148
ตอบ ๐.๑๔๘

3 วธิ ที �ำ 0.215 4 วิธที ำ� 9.075

ตรวจสอบ 6 × 1.55 = 9.3 6 1.29 8 72.6
ดงั นัน้ 9.3 ÷ 6 = 1.55
ตอบ ๑.๕๕ 1.2 72
0.09
แสดงวิธีหาผลหาร 0.06 0.60
1 1.1 ÷ 2 2 0.74 ÷ 5 3 1.29 ÷ 6 0.030 0.56
4 72.6 ÷ 8 5 94.05 ÷ 10 6 1.6 ÷ 100 0.030 0.040
0.040
แบบฝกึ หัด 2.11 0
ตรวจสอบ 6 × 0.215 = 1.290 = 1.29 0
ตรวจสอบ 8 × 9.075 = 72.600 = 72.6
ดังนน้ั 1.29 ÷ 6 = 0.215
ดังนัน้ 72.6 ÷ 8 = 9.075
ตอบ ๐.๒๑๕
ตอบ ๙.๐๗๕

100 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนงั สอื เรยี นรายวชิ าพนื้ ฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5
บทที่ 2 | ทศนิยม

เฉลยหน้า 100

5 วิธีทำ� 9.405 6 วิธที ำ� 0.016

10 94.05 100 1.6

90 0.0

4.0 1.60

4.0 1.00

0.050 0.600

0.050 0.600

0 0

ตรวจสอบ 10 × 9.405 = 94.050 = 94.05 ตรวจสอบ 100 × 0.016 = 1.600 = 1.6

ดงั น้นั 94.05 ÷ 10 = 9.405 ดงั นั้น 1.85 ÷ 5 = 0.37
ตอบ ๙.๔๐๕ ตอบ ๐.๐๑๖

หรอื

0.016
100 1.60

1.00
0.600
0.600

0
ตรวจสอบ 100 × 0.016 = 1.600 = 1.6
ดงั นั้น 1.6 ÷ 100 = 0.016
ตอบ ๐.๐๑๖

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  97

คมู่ อื ครู รายวชิ าพ้นื ฐาน คณติ ศาสตร์ บทท่ี 2 | ทศนิยม
ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 1
หนังสอื เรยี นรายวชิ าพ้ืนฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5
4. การสอนการหารจ�ำ นวนนับด้วยจำ�นวนนบั ท่ีมผี ลหาร บทที่ 2 | ทศนิยม
เปน็ ทศนยิ ม ให้นกั เรียนพจิ ารณาการหาผลหาร
หนา้ 101-102 โดยครูใชก้ ารถาม-ตอบประกอบ พจิ ารณาการหาผลหารของ 3 ÷ 2 1.5 2 × 1
การอธบิ าย จากนัน้ รว่ มกันทำ�กจิ กรรม หน้า 102 แสดงการตง้ั หารได้ดังนี ้ 23 2 × 0.5
แลว้ ใหท้ �ำ แบบฝกึ หดั 2.12 เปน็ รายบคุ คล
3 – 2 = 1 = 1.0 2
1.0
ตรวจสอบ 2 × 1.5 = 3.0 = 3 1.0
ดงั นั้น 3 ÷ 2 = 1.5
0

พิจารณาการหาผลหารของ 17 ÷ 8
แสดงการต้งั หารไดด้ ังน้ี

1.0 – 0.8 = 0.2 = 0.20 2.1 2 5 8 × 2
0.20 – 0.16 = 0.04 = 0.040 817 8 × 0.1
8 × 0.02
16 8 × 0.005
1.0
0.8
0.2 0
0.1 6
0.0 4 0
0.0 4 0
0

ตรวจสอบ 8 × 2.125 = 17.000 = 17
ดงั นน้ั 17 ÷ 8 = 2.125

| 101สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนงั สอื เรยี นรายวชิ าพืน้ ฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5 หนังสือเรียนรายวชิ าพ้นื ฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5
บทที่ 2 | ทศนิยม บทท่ี 2 | ทศนยิ ม

เฉลยหนา้ 102

แสดงวิธหี าผลหาร 1 วิธที ำ� 4.75 2 วธิ ีทำ� 2.25

1 7 ÷ 5 2 1 ÷ 4 2 19 8 18

16 16

วธิ ีทาำ วธิ ีทำา 3.0 2.0

1.4 0.2 5 2.8 1.6
57 4 1.0
0.20 0.040
5 0.8
2.0 0.2 0 0.20 0.040
2.0 0.2 0
0 0
0 0
ตรวจสอบ 4 × 4.75 = 19.00 = 19 ตรวจสอบ 8 × 2.25 = 18.00 = 18

ดังนั้น 19 ÷ 4 = 4.75 ดงั นั้น 18 ÷ 8 = 2.25
ตอบ ๔.๗๕ ตอบ ๒.๒๕

ตรวจสอบ 5 × 1.4 = 7 ตรวจสอบ 4 × 0.25 = 1 3 วิธที ำ� 1.25 4 วิธที ำ� 0.7
ดังนนั้ 7 ÷ 5 = 1.4 ดงั น้ัน 1 ÷ 4 = 0.25
ตอบ ๑.๔ ตอบ ๐.๒๕ 12 15 10 7.0

12 7.0
3.0 0
2.4 ตรวจสอบ 10 × 0.7 = 7.0 = 7
0.60
0.60 ดงั นัน้ 7 ÷ 10 = 0.7

แสดงวิธหี าผลหาร 0 ตอบ ๐.๗
1 19 ÷ 4 2 18 ÷ 8 3 15 ÷ 12
4 7 ÷ 10 5 3 ÷ 100 6 23 ÷ 1,000 ตรวจสอบ 12 × 1.25 = 15.00 = 15

ดังนนั้ 15 ÷ 12 = 1.25

ตอบ ๑.๒๕

5 วิธที ำ� 0.03 6 วธิ ที �ำ 0.023

100 3.00 1000 23.00

3.00 20.00

0 3.000

ตรวจสอบ 100 × 0.03 = 3.00 = 3 20.00

ดงั นัน้ 3 ÷ 100 = 0.03 0
ตอบ ๐.๐๓
ตรวจสอบ 1,000 × 0.023 = 23.000 = 23

แบบฝึกหัด 2.12 ดังนัน้ 23 ÷ 1,000 = 0.023
ตอบ ๐.๐๒๓

102 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

98  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครู รายวิชาพนื้ ฐาน คณติ ศาสตร์ บทท่ี 2 | ทศนิยม
ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 5 เลม่ 1
หนงั สอื เรยี นรายวชิ าพน้ื ฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5
5. การสอนการหารจ�ำ นวนนบั และทศนิยมดว้ ย 10 บทที่ 2 | ทศนยิ ม
100 และ 1,000 ครใู หน้ ักเรยี นทำ�กิจกรรมหาผลหาร
หนา้ 103 และควรยกตวั อยา่ งอืน่ เพิ่มเติม จากน้ันใชก้ าร กิจกรรมหาผลหาร เมือ่ ตวั หารเปน็ 10 100 และ 1,000
ถาม-ตอบประกอบการอธิบายเพ่อื ให้นกั เรียนสังเกตตัวต้ัง
ตวั หาร และผลหาร แลว้ รว่ มกนั อภิปรายเพื่อให้ได้ขอ้ สรปุ วา่ หาผลหารต่อไปนี้ 2 0.42 ÷ 10 0. 04 2 3 1.6 ÷ 100 0.016
1 0.2 ÷ 10 0.0 2
••ถ้าหารด้วย 10 ผลหารจะเทา่ กบั จำ�นวนที่ไดจ้ าก
การเลื่อนจุดทศนยิ มของตัวต้ังไปทางซา้ ย 1 ต�ำ แหนง่ 4 9 ÷ 100 0.0 9 5 2 ÷ 1,000 0. 00 2 6 14 ÷ 1,000 0.014

••ถา้ หารดว้ ย 100 ผลหารจะเท่ากบั จ�ำ นวนที่ได้จาก ขอ้ สังเกตท่ไี ด้จากการหารดว้ ย 10 100 และ 1,000
การเล่ือนจดุ ทศนยิ มของตวั ตั้งไปทางซา้ ย 2 ตำ�แหน่ง พจิ ารณาการหารด้วย 10
เน่ืองจาก 0.2 ÷ 10 = 0.02 และ 0.42 ÷ 10 = 0.042
••ถ้าหารด้วย 1,000 ผลหารจะเทา่ กบั จ�ำ นวนทไ่ี ด้จาก สงั เกตว่า การหารดว้ ย 10 ผลหารอาจได้มาจากการเลอ่ื นจดุ ทศนยิ มไปทางซ้าย 1 ตาำ แหน่ง
การเลือ่ นจดุ ทศนิยมของตวั ตง้ั ไปทางซ้าย 3 ตำ�แหน่ง
พิจารณาการหารดว้ ย 100
แลว้ ร่วมกันทำ�กจิ กรรม เนอ่ื งจาก 1.6 ÷ 100 = 0.016 และ 9 ÷ 100 = 0.09
สังเกตว่า การหารด้วย 100 ผลหารอาจได้มาจากการเลือ่ นจดุ ทศนิยมไปทางซา้ ย 2 ตาำ แหน่ง

พจิ ารณาการหารดว้ ย 1,000
เนื่องจาก 2 ÷ 1,000 = 0.002 และ 14 ÷ 1,000 = 0.014
สงั เกตว่า การหารดว้ ย 1,000 ผลหารอาจไดม้ าจากการเลอ่ื นจดุ ทศนิยมไปทางซ้าย 3 ตาำ แหนง่

ปฏิบตั ิกจิ กรรม

1 หาผลหาร 0.074
1) 1.5 ÷ 10 0.1 5 2) 0.08 ÷ 10 0 .00 8 3) 7.4 ÷ 100

4) 6 ÷ 100 0.0 6 5) 7 ÷ 1,000 0 .00 7 6) 41 ÷ 1,000 0.041

2 เติมตัวเลขแสดงจำานวนใน

1) 246 ÷ 10 = 24.6 2) 79 ÷ 10 = 7.9
246 ÷ 10 0 = 2.46 79 0 ÷ 100 = 7.9
246 ÷ 1 ,00 0= 0.246 7 ,90 0 ÷ 1,000 = 7.9

| 103สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  99

คมู่ อื ครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ บทที่ 2 | ทศนิยม
ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 5 เลม่ 1
หนังสือเรยี นรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5
6. เพือ่ ตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรทู้ ไ่ี ด้ บทท่ี 2 | ทศนิยม
ให้นักเรยี นท�ำ กจิ กรรม หนา้ 104 เปน็ รายบคุ คล
ตรวจสอบความเข้าใจ
หมายเหตุ หนา้ 104 ตรวจสอบความเข้าใจ ข้อ 5
ผลหารเปน็ ทศนิยม 4 ต�ำ แหนง่ ครูอาจแนะน�ำ การหา แสดงวิธีหาผลหาร
ผลหารของทศนิยมตำ�แหนง่ ท่ี 4 หรืออาจไมต่ อ้ งให้ 1 0.6 ÷ 3 2 11.2 ÷ 7 3 13.65 ÷ 3
นักเรยี นท�ำ ขอ้ นี้ 4 25.848 ÷ 6 5 0.65 ÷ 4 6 90.015 ÷ 15
7 48.8 ÷ 5 8 20 ÷ 8 9 4 ÷ 16

สิ่งท่ไี ดเ้ รยี นรู้

ยกตวั อยา่ งโจทยก์ ารหารท่มี ผี ลหารเปน็ ทศนยิ ม 2 ตำาแหน่ง พรอ้ มแสดงวิธีหาผลหาร

104 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนังสือเรยี นรายวชิ าพื้นฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5
บทท่ี 2 | ทศนิยม

เฉลยหนา้ 104

1 วธิ ที �ำ 0.2 2 วธิ ีท�ำ 1.6
3 0.6
7 11.2
0.6
0 7

4.2

ตรวจสอบ 3 × 0.2 = 0.6 4.2

ดงั นนั้ 0.6 ÷ 3 = 0.2 0
ตอบ ๐.๒
ตรวจสอบ 7 × 1.6 = 11.2

ดังน้นั 11.2 ÷ 7 = 1.6
ตอบ ๑.๖

3 วธิ ที �ำ 4.55 4 วธิ ที �ำ 4.308
6 25.848
3 13.65

12 24

1.6 1.8

1.5 1.8

0.15 0.048

0.15 0.048

0 0

ตรวจสอบ 3 × 4.55 = 13.65 ตรวจสอบ 6 × 4.308 = 25.848

ดังนน้ั 13.65 ÷ 3 = 4.55 ดงั นน้ั 25.848 ÷ 6 = 4.308
ตอบ ๔.๓๐๘
ตอบ ๔.๕๕

100  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครู รายวชิ าพนื้ ฐาน คณติ ศาสตร์ บทที่ 2 | ทศนยิ ม
ช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 1

หนังสือเรยี นรายวิชาพ้ืนฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5 หนังสอื เรียนรายวชิ าพนื้ ฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5
บทที่ 2 | ทศนยิ ม บทท่ี 2 | ทศนิยม

เฉลยหนา้ 104 เฉลยหน้า 104

5 วิธที ำ� 0.1625 6 วธิ ที �ำ 6.001 9 วิธีทำ� 0.25
16 4.0
4 0.65 15 90.015

0.4 90 3.2

0.25 0.015

0.24 0.015 0.80

0.010 0 0.80

0.008 ตรวจสอบ 15 × 6.001 = 90.015

0.0020 ดังนั้น 90.015 ÷ 15 = 6.001 0
ตอบ ๖.๐๐๑
0.0020 ตรวจสอบ 16 × 0.25 = 4.00 = 4

0

ตรวจสอบ 4 × 0.1625 = 0.6500 = 0.65 ดงั น้ัน 4 ÷ 16 = 0.25
ตอบ ๐.๒๕
ดังน้ัน 0.65 ÷ 4 = 0.1625
ตอบ ๐.๑๖๒๕

7 วธิ ที �ำ 9.76 8 วิธที �ำ 2.5 ส่งิ ทีไ่ ดเ้ รียนรู้
ลกั ษณะของโจทยอ์ าจเป็น
5 48.8 8 20 จำานวนนบั หารดว้ ย จำานวนนบั เชน่ 1 ÷ 4
ทศนยิ ม 1 ตำาแหนง่ หารดว้ ย จำานวนนบั เช่น 0.3 ÷ 5
45 16 ทศนยิ ม 2 ตำาแหนง่ หารด้วย จาำ นวนนบั เช่น 0.45 ÷ 3
ทัง้ นอี้ ยูใ่ นดุลยพินจิ ของครผู ู้สอน
3.8 4.0

3.5 4.0

0.30 0

0.30 ตรวจสอบ 8 × 2.5 = 20.0 = 20

0 ดงั น้นั 20 ÷ 8 = 2.5
ตอบ ๒.๕
ตรวจสอบ 5 × 9.76 = 48.80 = 48.8

ดังนน้ั 48.8 ÷ 5 = 9.76
ตอบ ๙.๗๖

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  101

คมู่ ือครู รายวิชาพ้ืนฐาน คณติ ศาสตร์ บทท่ี 2 | ทศนิยม
ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 5 เลม่ 1

2.5 ทศนยิ มกับการวัด

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 2.5 ทศนิยมกับการวัด หนงั สอื เรยี นรายวชิ าพื้นฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5
บทท่ี 2 | ทศนยิ ม
นักเรยี นสามารถบอกความสมั พนั ธร์ ะหว่าง พิจารณาความสมั พนั ธ์ระหวา่ งความยาวกบั ทศนยิ ม
หน่วยความยาวและหนว่ ยน้ำ�หนักโดยใช้ความรเู้ ร่อื งทศนยิ ม 3

ส่อื การเรียนรู้ ตรัง
TRANG
-
หว� ยยอด กนั ตงั
HUAI YOT KANTANG
28.454 กม. 20.702 กม.

แนวการจัดการเรียนรู้

หวั ข้อนี้เปน็ การเตรยี มความพรอ้ มเกย่ี วกับการเปลยี่ น ป้ายแสดงระยะทางท่ขี บวนรถไฟแล่น
หนว่ ยความยาว หน่วยนำ�้ หนัก และหน่วยปรมิ าตร เพ่อื น�ำ จากสถานีตรงั ไปสถานหี ้วยยอด 28.454 กโิ ลเมตร
ไปใชใ้ นการแกโ้ จทย์ปัญหาที่เกี่ยวกบั ความยาว นำ�้ หนกั และจากสถานีตรังไปสถานีกันตงั 20.702 กโิ ลเมตร
และปรมิ าตรทีม่ กี ารเปล่ยี นหน่วย ซ่งึ เป็นการบรู ณาการ
ระหว่างตวั ชวี้ ดั 28.454 กโิ ลเมตร หมายความว่าอย่างไรครบั

ค 1.1 ป.5/8 แสดงวธิ ีหาค�ำ ตอบของโจทย์ปัญหา 28.454 กิโลเมตร หมายถงึ 28 กิโลเมตร กับ 0.454 กิโลเมตร
ซงึ่ 1 กโิ ลเมตร เทา่ กับ 1,000 เมตร
การบวก การลบ การคณู การหาร 0.454 กิโลเมตร คิดเปน็ 0.454 × 1,000 = 454 เมตร
ดงั นนั้ 28.454 กิโลเมตร หมายถึง 28 กิโลเมตร 454 เมตร
ทศนิยม 2 ขัน้ ตอน
แสดงวา่ 20.702 กโิ ลเมตร หมายถงึ 20 กโิ ลเมตร 702 เมตร
ถกู ต้องไหมคะ

ถกู ตอ้ งคะ่

ค 2.1 ป.5/1 แสดงวธิ หี าคำ�ตอบของโจทย์ปัญหา | 105สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เกยี่ วกบั ความยาวทมี่ กี ารเปลย่ี นหนว่ ย

และเขยี นในรปู ทศนยิ ม

และ ค 2.1 ป.5/2 แสดงวธิ หี าค�ำ ตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับน้�ำ หนกั ทม่ี ีการเปลยี่ นหนว่ ย และเขียนในรูปทศนยิ ม

โดยจัดลำ�ดบั เนอื้ หาดงั นี้

1) ทศนยิ มกบั ความยาว

2) ทศนิยมกบั นำ้�หนัก

*3) ทศนยิ มกับปริมาตร

หมายเหตุ *3) ไมม่ ีในตัวช้ีวดั แตน่ ำ�ไปใช้ในการแกโ้ จทยป์ ัญหาเก่ียวกบั ปรมิ าตร

102  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครู รายวิชาพนื้ ฐาน คณิตศาสตร์ บทท่ี 2 | ทศนยิ ม
ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 5 เลม่ 1

1. การสอนทศนิยมกบั การวัด ให้เร่ิมจากการบอก หนังสอื เรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5
ความยาวในรปู ทศนิยม โดยทบทวนความสมั พันธ์ บทที่ 2 | ทศนิยม
ระหวา่ งหนว่ ยความยาว จากน้ันใช้การถาม-ตอบ
ประกอบการอธิบายการบอกความยาวในรปู ทศนยิ ม ความสัมพันธ์ระหวา่ งหนว่ ยความยาว
โดยใชส้ ถานการณ์ หน้า 105 ครูและนักเรยี นร่วมกัน 1 เซนติเมตร เท่ากับ 10 มิลลเิ มตร
พิจารณาตัวอย่าง 1 และ ตวั อย่าง 2 หนา้ 106 ซ่งึ เป็น 1 เมตร เทา่ กับ 100 เซนตเิ มตร
การเปลีย่ นหนว่ ยความยาวจากหนว่ ยใหญ่ท่อี ยู่ในรปู ทศนิยม 1 กิโลเมตร เทา่ กับ 1,000 เมตร
เป็นหน่วยย่อย แล้วรว่ มกันทำ�กิจกรรม จากนนั้ ครูใช้
การถาม-ตอบประกอบการอธบิ ายตวั อยา่ ง 1 และ ตวั อยา่ ง 2 1
หนา้ 107 ซ่งึ เปน็ การเปลี่ยนหนว่ ยความยาวจากหนว่ ยยอ่ ย ดินสอยาว 4.5 เซนติเมตร คดิ เปน็ กี่เซนตเิ มตร กม่ี ลิ ลิเมตร
เป็นหน่วยใหญ่ แลว้ รว่ มกันทำ�กจิ กรรม
วธิ ีคดิ 4.5 เซนตเิ มตร เทา่ กับ 4 เซนตเิ มตร กับ 0.5 เซนตเิ มตร
จากนน้ั จงึ ตอ่ ด้วยการบอกน�ำ้ หนกั ในรูปทศนิยม และ 0.5 เซนตเิ มตร คดิ เปน็ 0.5 × 10 = 5 มิลลเิ มตร
หนา้ 108 และการบอกปรมิ าตรในรูปทศนยิ ม หน้า 109 แสดงวา่ 4.5 เซนตเิ มตร คดิ เปน็ 4 เซนติเมตร 5 มลิ ลิเมตร
โดยจดั กิจกรรมทำ�นองเดียวกัน
ตอบ ๔ เซนติเมตร ๕ มลิ ลิเมตร
หมายเหตุ หน้า 107 ขอ้ 1 โจทย์ท่ถี กู ต้องคือ
เหล็กเส้นยาว 2 เมตร 60 เซนตเิ มตร คดิ เป็นกเี่ มตร 2
ตมั้ สงู 1.72 เมตร คดิ เปน็ กเี่ มตร กีเ่ ซนตเิ มตร

วิธีคดิ 1.72 เมตร เทา่ กบั 1 เมตร กับ 0.72 เมตร
และ 0.72 เมตร คดิ เปน็ 0.72 × 100 = 72 เซนติเมตร
แสดงวา่ 1.72 เมตร คิดเป็น 1 เมตร 72 เซนตเิ มตร

ตอบ ๑ เมตร ๗๒ เซนติเมตร

ตอบคาำ ถาม

1 รบิ บ้นิ ยาว 10.25 เมตร คิดเป็นก่ีเมตร ก่เี ซนติเมตร 10 เมตร 25 เซนตเิ มตร

2 ยางลบยาว 0.7 เซนตเิ มตร คิดเป็นกี่เซนตเิ มตร ก่มี ลิ ลเิ มตร 0 เซนตเิ มตร 7 มิลลิเมตร

3 ถนนสายหนง่ึ ยาว 38.4 กิโลเมตร คดิ เปน็ กี่กิโลเมตร กเ่ี มตร 38 กิโลเมตร 400 เมตร

106 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนงั สอื เรยี นรายวชิ าพนื้ ฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5
บทท่ี 2 | ทศนิยม

1
ดนิ สอแท่งหน่งึ ยาว 12 เซนติเมตร 3 มลิ ลิเมตร คิดเปน็ ก่เี ซนตเิ มตร

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
14 15 16 17 1 18 19 220 21 22 3 23 24 245 26 27 5 28 29 360

6 7 8 9 10 11 12

วธิ ีคดิ 10 มลิ ลิเมตร เทา่ กับ 1 เซนติเมตร
3 มิลลเิ มตร คิดเป็น 3 ÷ 10 = 0.3 เซนติเมตร
แสดงวา่ 12 เซนตเิ มตร 3 มิลลเิ มตร คดิ เป็น 12.3 เซนตเิ มตร

ตอบ ๑๒.๓ เซนติเมตร

2
อาำ นวยพรวิ่งมาราธอนเปน็ ระยะทาง 42,195 เมตร คิดเป็นกก่ี โิ ลเมตร

วิธคี ิด 42,195 เมตร คิดเป็น 42,195 ÷ 1,000 = 42.195 กิโลเมตร

ตอบ ๔๒.๑๙๕ กโิ ลเมตร

ตอบคำาถาม

1 เหลก็ เส้นยาว 2 เมตร 60 เซนติเมตร คิดเปน็ ก่เี มตร 2.6 เมตร
2 กิ๊บสูง 154 เซนติเมตร คิดเปน็ ก่ีเมตร 1.54 เมตร
3 เข็มหมดุ ยาว 37 มิลลิเมตร คดิ เป็นกเี่ ซนติเมตร 3.7 เซนตเิ มตร
4 ถำ้าพระวังแดง อยู่ในอาำ เภอเนินมะปราง จังหวดั พษิ ณุโลก เปน็ ถาำ้ ที่ยาวท่สี ดุ ในประเทศไทย
มคี วามยาว 13,761 เมตร ถาำ้ พระวงั แดงยาวกี่กิโลเมตร 13.761 กิโลเมตร
5 ดอยอนิ ทนนท์ อยใู่ นจังหวัดเชียงใหม่ เปน็ ยอดเขาทส่ี ูงที่สุดในประเทศไทย
มคี วามสูง 2,565 เมตร ดอยอินทนนทส์ งู กก่ี ิโลเมตร 2.565 กโิ ลเมตร

| 107สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  103

ค่มู ือครู รายวิชาพน้ื ฐาน คณิตศาสตร์ บทที่ 2 | ทศนยิ ม
ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 5 เลม่ 1
หนังสือเรียนรายวชิ าพน้ื ฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5
หนังสือเรยี นรายวชิ าพ้นื ฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5 บทท่ี 2 | ทศนิยม
บทท่ี 2 | ทศนิยม
ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งหนว่ ยปริมาตร
ความสัมพันธ์ระหวา่ งหนว่ ยน้ำาหนกั 1 ลติ ร เทา่ กบั 1,000 มลิ ลิลิตร
1 กโิ ลกรัม เทา่ กับ 1,000 กรมั
1 ตัน เทา่ กบั 1,000 กิโลกรมั 1
1 นม 1.25 ลิตร คิดเปน็ กีล่ ิตร กมี่ ลิ ลิลติ ร
องุ่น 2.598 กิโลกรมั คิดเปน็ ก่กี โิ ลกรัม กี่กรัม วิธีคิด 1.25 ลิตร เทา่ กบั 1 ลิตร กบั 0.25 ลติ ร
วธิ ีคิด 2.598 กโิ ลกรัม เทา่ กบั 2 กโิ ลกรัม กับ 0.598 กิโลกรมั และ 0.25 ลิตร คิดเปน็ 0.25 × 1,000 = 250 มลิ ลิลิตร
และ 0.598 กิโลกรัม คดิ เปน็ 0.598 × 1,000 = 598 กรัม แสดงว่า 1.25 ลติ ร คิดเป็น 1 ลิตร 250 มลิ ลิลติ ร
แสดงว่า 2.598 กิโลกรมั คิดเปน็ 2 กิโลกรมั 598 กรัม ตอบ ๑ ลติ ร ๒๕๐ มลิ ลลิ ติ ร
ตอบ ๒ กิโลกรัม ๕๙๘ กรมั
2 2
เนื้อไก ่ 1 กิโลกรมั 600 กรัม คดิ เป็นกีก่ ิโลกรมั แอลกอฮอล์ (Alcohol) 1,500 มลิ ลิลิตร คดิ เป็นกีล่ ิตร
วธิ คี ดิ 1,000 กรมั เท่ากับ 1 กิโลกรัม
600 กรมั เทา่ กบั 600 ÷ 1,000 = 0.6 กิโลกรัม วิธีคดิ 1,500 มลิ ลลิ ติ ร คดิ เป็น 1,500 ÷ 1,000 = 1.500 ลติ ร
แสดงว่า 1 กิโลกรัม 600 กรมั คดิ เป็น 1.6 กโิ ลกรมั หรือ 1.5 ลิตร
ตอบ ๑.๕ ลติ ร
ตอบ ๑.๖ กิโลกรัม ตอบคาำ ถาม
3 1 นาำ้ ยาปรบั ผา้ นมุ่ 3.5 ลิตร คิดเปน็ กีม่ ลิ ลลิ ติ ร 3,500 มิลลิลติ ร
2 น้ำายางพารา 20.36 ลิตร คิดเป็นก่ีลติ ร กี่มิลลลิ ิตร 20 ลิตร 360 มลิ ลิลติ ร
ทราย 4,500 กิโลกรัม คิดเปน็ กตี่ นั 3 นา้ำ ผลไม้ 500 มิลลลิ ิตร คดิ เปน็ กี่ลติ ร 0.5 ลิตร
4 นำา้ มนั 7 ลิตร 420 มิลลิลติ ร คิดเป็นกี่ลติ ร 7.42 ลติ ร
วธิ คี ิด 4,500 กิโลกรัม คิดเป็น 4,500 ÷ 1,000 = 4.500 ตัน หรือ 4.5 ตัน
| 109สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ตอบ ๔.๕ ตัน

ตอบคำาถาม
1 แตงโม 3.453 กโิ ลกรัม คดิ เปน็ กก่ี โิ ลกรมั กก่ี รมั 3 กโิ ลกรัม 453 กรมั
2 ขา้ วสาร 2 ตัน 500 กโิ ลกรัม คิดเปน็ กต่ี ัน 2.5 ตนั
3 พรกิ ไทย 700 กรัม คิดเปน็ ก่ีกิโลกรัม 0.7 กโิ ลกรัม
4 ลำาไย 3,078 กโิ ลกรัม คดิ เปน็ กตี่ นั 3.078 ตัน
108 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

104  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื ครู รายวิชาพื้นฐาน คณติ ศาสตร์ บทท่ี 2 | ทศนิยม
ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 5 เล่ม 1
หนังสือเรยี นรายวิชาพน้ื ฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5 8
2.6 โจทย์ปัญหา บทท่ี 2 | ทศนิยม

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ นักเรียนสามารถ 2.6 โจทยป์ ัญหา

1. วเิ คราะห์และแสดงวิธีหาค�ำ ตอบของโจทย์ปัญหา พิจารณาการแกโ้ จทยป์ ญั หา 1 ขั้นตอน
การคูณ การหารทศนิยม 1 ข้นั ตอน
วาฬหลงั คอ่ มว่ายนาำ้ ไดร้ ะยะทางเฉลยี่ ช่วั โมงละ 14.5 กิโลเมตร วาฬ (Whale) ไม่ใช่ปลา
2. วเิ คราะห์และแสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทยป์ ัญหา ใน 1 วัน วาฬหลังค่อมจะว่ายนาำ้ ไดร้ ะยะทางเฉลย่ี ก่ีกิโลเมตร แต่เปน็ สตั วเ์ ลย้ี งลกู ดว้ ยนม มีหลายชนดิ
การบวก การลบ การคูณ การหารทศนยิ ม 2 ขนั้ ตอน เช่น วาฬหลงั คอ่ ม วาฬสนี ำ้าเงนิ

สือ่ การเรยี นรู้ สิง่ ทโี่ จทย์ถาม ระยะทางเฉลี่ยที่วาฬหลังค่อมว่ายน้าำ ใน 1 วนั

- สงิ่ ทโ่ี จทยบ์ อก วาฬหลงั ค่อมวา่ ยนำ้าไดร้ ะยะทางเฉล่ียช่ัวโมงละ 14.5 กิโลเมตร

แนวการจดั การเรยี นรู้ หาระยะทางเฉลยี่ ท่ีวาฬหลงั ค่อมวา่ ยนา้ำ ใน 1 วัน ได้อยา่ งไร
และไดค้ ำาตอบเทา่ ใด
1. การสอนการแก้โจทย์ปัญหา ควรเรม่ิ จากโจทยป์ ัญหา
1 ข้นั ตอน ครนู �ำ สนทนาเก่ียวกบั สถานการณป์ ญั หา นาำ จาำ นวนชัว่ โมงใน 1 วนั คณู กบั ระยะทางเฉล่ยี ทีว่ าฬหลงั ค่อม
หน้า 110-111 ให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะหโ์ จทยเ์ พื่อนำ�ไปสู่ วา่ ยนำ้าไดใ้ น 1 ช่วั โมง จะได ้ 24 × 14.5 = 348 กโิ ลเมตร
การเลือกวิธีดำ�เนนิ การและการหาคำ�ตอบ โดยครอู าจ
ใชก้ ารถาม-ตอบและการเขยี นภาพประกอบการอธบิ าย สรุปคำาตอบว่าอย่างไร
พร้อมแนะนำ�ใหม้ กี ารตรวจสอบความถกู ต้องของคำ�ตอบ ใน 1 วนั วาฬหลังคอ่ มจะว่ายนา้ำ ไดร้ ะยะทางเฉลี่ย 348 กิโลเมตร
ทุกคร้งั
ตรวจสอบไดอ้ ย่างไรวา่ 348 กม. เป็นคาำ ตอบที่ถกู ตอ้ ง
ครูใชก้ ารถาม-ตอบ ประกอบการอธิบายตวั อยา่ ง 1
และตวั อยา่ ง 2 หน้า 112-113 ครคู วรเน้นย�ำ้ ใหน้ กั เรยี น ตอ้ งหาวา่ ใน 1 ชว่ั โมง วาฬว่ายนำา้ ไดร้ ะยะทางเฉล่ยี เทา่ ใด
สังเกตหนว่ ยปรมิ าตรทใ่ี ชใ้ นตวั อย่าง 2 ซง่ึ พบว่า ซ่ึงหาได้จาก 348 ÷ 24 = 14.5 กม. พบวา่ สอดคลอ้ งกบั โจทย์
หนว่ ยต่างกัน จำ�เปน็ ต้องมีการเปลยี่ นหน่วยเพ่ือให้ตรงกบั แสดงว่า 348 กม. เป็นคำาตอบทีถ่ ูกต้อง
ทโ่ี จทย์ตอ้ งการ ครอู าจยกตัวอยา่ งโจทยป์ ญั หาท่มี ี
การเปล่ียนหนว่ ยอ่นื เพ่ิมเติม เช่น 110 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

••เชอื กยาว 1.5 เมตร น�ำ มาตดั เปน็ 6 เส้น ยาวเท่า ๆ กนั หนงั สอื เรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5
เชือกแต่ละเสน้ ยาวก่ีเซนตเิ มตร บทท่ี 2 | ทศนยิ ม

••สตรอวเ์ บอรี 1 แพ็ค หนกั 300 กรัม แกว้ ตาซ้อื พิจารณาการแก้โจทย์ปัญหา 1 ข้ันตอน
สตรอวเ์ บอรี 4 แพ็ค คิดเป็นกี่กิโลกรัม
เชอื กยาว 4.5 เมตร ปนู ำาเชอื กมาตัดเป็นเส้น เสน้ ละเทา่ ๆ กัน ได้ 9 เส้น
เชอื กแตล่ ะเส้นยาวกีเ่ มตร

สงิ่ ท่โี จทย์ถาม ความยาวของเชอื กแต่ละเส้น

ส่งิ ที่โจทยบ์ อก เชอื กยาว 4.5 เมตร นำามาตดั ได้ 9 เส้น เส้นละเท่า ๆ กนั

หาความยาวของเชือกแตล่ ะเสน้ ได้อยา่ งไร เเละไดค้ าำ ตอบเทา่ ใด

นำาความยาวของเชอื ก หารดว้ ยจำานวนเส้นเชือกที่ตดั
จะได ้ 4.5 ÷ 9 = 0.5 เมตร

สรปุ คำาตอบว่าอยา่ งไร

เชือกแต่ละเส้นยาว 0.5 เมตร

ตรวจสอบไดอ้ ย่างไรว่า 0.5 ม. เป็นคำาตอบท่ีถูกต้อง

ตอ้ งหาว่า เมื่อนาำ เชอื ก 0.5 ม. จาำ นวน 9 เสน้ มาวางต่อกัน
จะได้ความยาวเทา่ ใด
ซึง่ หาได้จาก 9 × 0.5 = 4.5 ม. พบวา่ สอดคล้องกบั โจทย์
แสดงวา่ 0.5 ม. เป็นคำาตอบท่ีถูกตอ้ ง

| 111สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  105

คู่มอื ครู รายวชิ าพ้ืนฐาน คณิตศาสตร์ บทท่ี 2 | ทศนิยม57.50 บาท
ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 5 เล่ม 1 57.50 บาท
หนงั สือเรียนรายวชิ าพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.557.50 บาท
จากนน้ั รว่ มกนั ท�ำ กจิ กรรมหนา้ 114 และใหท้ �ำ แบบฝกึ หดั บทท่ี 2 | ทศนิยม 57.50 บาท
2.13 เปน็ รายบคุ คล ทง้ั นค้ี รคู วรเนน้ ย�ำ้ ใหน้ กั เรยี นสงั เกต 57.50 บาท
หนว่ ยทใ่ี ช้ ซง่ึ ในบางกรณอี าจตอ้ งอาศยั การเปลย่ี นหนว่ ย 1 57.50 บาท
2. เพอ่ื ตรวจสอบความเขา้ ใจใหน้ กั เรยี นท�ำ กจิ กรรม หนา้ 114 นา้ำ มันพชื ราคาขวดละ 57.50 บาท เต้ซ้ือ 8 ขวด เต้ตอ้ งจา่ ยเงินเทา่ ใด57.50 บาท
เปน็ รายบคุ คล วิธคี ดิ 57.50 บาท

วธิ ีทำา นา้ำ มนั พชื ราคาขวดละ 57.50 บาท
เตซ้ อ้ื 8 ขวด
ดังนั้น เตต้ อ้ งจ่ายเงิน 8 × 57.50 = 460 บาท
ตอบ ๔๖๐ บาท

ตรวจสอบได้อย่างไรวา่ 460 บาท เป็นคาำ ตอบที่ถกู ตอ้ ง

ตอ้ งหาว่า นาำ้ มันพืชราคาขวดละกี่บาท
ซง่ึ หาไดจ้ าก 460 ÷ 8 = 57.50 บาท พบวา่ สอดคลอ้ งกับโจทย์
แสดงวา่ 460 บาท เป็นคำาตอบทีถ่ กู ต้อง

หนงั สอื เรียนรายวิชาพนื้ ฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5 112 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทท่ี 2 | ทศนยิ ม
หนังสือเรียนรายวิชาพน้ื ฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5
2 บทท่ี 2 | ทศนยิ ม
น้ำา 1 แก้ว มีปรมิ าตร 250 มิลลิลติ ร ใน 1 วัน แอนด่ืมนา้ำ 6 แก้ว แอนดมื่ น้าำ วันละกลี่ ิตร
แสดงวธิ คี ดิ และวธิ ที าำ
วธิ ีคิด 1 ดาวขบั รถจากเพชรบุรถี ึงนครสวรรค์ระยะทาง 406.3 กิโลเมตร ใชเ้ วลา 5 ช่ัวโมง
ดาวขบั รถได้ระยะทางเฉลย่ี กี่กิโลเมตรตอ่ ช่วั โมง
250 มล. 250 มล. 250 มล. 250 มล. 250 มล. 250 มล. 2 แป๋มปลกู ขา้ ว 21.7 ไร่ ใช้เมลด็ พันธ์ุเฉลย่ี ไร่ละ 15.3 กโิ ลกรัม แปม๋ ตอ้ งใชเ้ มลด็ พันธุก์ ่กี โิ ลกรัม
3 วันที ่ 6 สิงหาคม 2561 เงนิ 1 ดอลลาร์สหรัฐ (USD) แลกเปน็ เงนิ ไทยได ้ 32.83 บาท
หาปริมาตรนา้ำ ท่แี อนด่มื ใน 1 วนั โดยนาำ 6 คูณกับปรมิ าตรนาำ้ 1 แกว้ แหวนนาำ เงิน 215 ดอลลารส์ หรฐั แลกเปน็ เงินไทยได้ประมาณกบ่ี าท (ตอบเปน็ จาำ นวนเต็มหน่วย)
ซ่งึ ปรมิ าตรนำ้า 1 แก้ว มหี นว่ ยเป็นมิลลิลติ ร จึงเปลย่ี นหน่วยของปริมาตรนำา้ 1 แก้ว 4 ข้อสอบฉบบั หนง่ึ ม ี 60 ข้อ กาำ หนดเวลาทาำ ข้อสอบ 75 นาท ี เพชรใช้เวลาทาำ ข้อสอบฉบบั น้ี
ให้เป็นลติ รก่อน 54 นาท ี เพชรทำาข้อสอบเฉลีย่ ขอ้ ละก่ีนาที
5 น้าำ จิ้มไก ่ 1 ขวด มีปรมิ าตร 625 มลิ ลลิ ติ ร ถา้ ซอ้ื นา้ำ จิม้ ไก ่ 1 โหล จะไดน้ ำ้าจิม้ ไก่กล่ี ิตร
วธิ ที ำา เน่อื งจาก 1,000 มลิ ลลิ ติ ร เท่ากบั 1 ลิตร
250 มิลลลิ ิตร คิดเป็น 250 ÷ 1,000 = 0.250 ลติ ร หรอื 0.25 ลติ ร แบบฝึกหัด 2.13
จะได ้ นา้ำ 1 แกว้ มปี ริมาตร 0.25 ลิตร
นำ้า 6 แกว้ ตรวจสอบความเขา้ ใจ
มีปริมาตร 6 × 0.25 = 1.50 ลิตร หรือ 1.5 ลิตร
ดงั นนั้ แอนดื่มนำ้าวันละ 1.5 ลิตร แสดงวิธีคดิ และวิธที ำา
ตอบ ๑.๕ ลติ ร 1 แยมโรลช้ินหน่งึ ยาว 26.4 เซนติเมตร
นา้ หน่อยแบง่ แยมโรลเป็น 8 ชน้ิ ชน้ิ ละเท่า ๆ กนั
หรอื อาจหาปริมาตรนำ้า 6 แกว้ ทีม่ หี น่วยเปน็ มลิ ลลิ ิตรกอ่ น แลว้ จงึ เปลี่ยนหนว่ ยเป็นลติ ร แยมโรลแตล่ ะช้นิ หนาก่เี ซนติเมตร
2 ยาพาราเซตามอล 1 เมด็ มปี ริมาณยา 0.325 กรัม ถ้าโรงงานผลิตยาพาราเซตามอล
ตรวจสอบไดอ้ ยา่ งไรวา่ 1.5 ล. เปน็ คาำ ตอบท่ีถูกตอ้ ง 500,000 เม็ด จะตอ้ งใชป้ รมิ าณยากก่ี โิ ลกรมั
3 นำา้ ยาซักผ้า 750 มลิ ลลิ ิตร ใช้ซกั ผ้าครง้ั ละเท่า ๆ กนั ได ้ 20 คร้ัง แตล่ ะครั้งใช้น้าำ ยาซักผ้าเท่าใด
ต้องหาว่า นำา้ 1 แก้ว มปี ริมาตรก่ีลิตร
ซึง่ หาไดจ้ าก 1.5 ÷ 6 = 0.25 ล. 114 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
0.25 ล. คิดเปน็ 0.25 × 1,000 = 250 มล. พบวา่ สอดคล้องกับโจทย์
แสดงว่า 1.5 ล. เปน็ คาำ ตอบที่ถกู ตอ้ ง

| 113สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

106  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครู รายวชิ าพ้ืนฐาน คณิตศาสตร์ บทท่ี 2 | ทศนิยม
ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 5 เลม่ 1

หนังสอื เรยี นรายวิชาพ้นื ฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5 หนงั สือเรยี นรายวชิ าพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5
บทที่ 2 | ทศนยิ ม บทท่ี 2 | ทศนยิ ม

1 วธิ ีคดิ เฉลยหนา้ 114 เฉลยหนา้ 114
406.3 กม.
3 วิธีคิด

1 ชวั่ โมง 1 ช่ัวโมง 1 ช่ัวโมง 1 ช่วั โมง 1 ชั่วโมง 32.83 บาท ...
32.83 บาท
32.83 บาท
32.83 บาท
32.83 บาท
32.83 บาท

วธิ ที �ำ ดาวขบั รถจากเพชรบุรีถึงนครสวรรคร์ ะยะทาง 406.3 กิโลเมตร 215 ดอลลารส์ หรฐั

ใช้เวลา 5 ชัว่ โมง

ดงั น้ัน ดาวขับรถไดร้ ะยะทางเฉลยี่ 406.3 ÷ 5 = 81.26 กิโลเมตรตอ่ ช่วั โมง วธิ ที ำ� เงิน 1 ดอลลารส์ หรฐั แลกเป็นเงินไทยได้ 32.83 บาท

ตอบ ๘๑.๒๖ กิโลเมตรต่อชัว่ โมง แหวนนาำ เงนิ ไปแลก 215 ดอลลาร์สหรัฐ

แหวนแลกเป็นเงนิ ไทยได้ 215 × 32.83 = 7,058.45 บาท

2 วธิ ีคิด ดงั น้ัน แหวนแลกเปน็ เงนิ ไทยได้ประมาณ 7,058 บาท
หาปรมิ าณเมล็ดพันธ์ทุ ้งั หมดท่ีแปม๋ ตอ้ งใชใ้ นการปลูกข้าว โดยนำาพื้นทท่ี ี่ปลกู ข้าว
ตอบ ๗,๐๕๘ บาท
คณู กบั ปรมิ าณเมล็ดพันธุเ์ ฉลย่ี ท่ีใชใ้ น 1 ไร่

วธิ ที �ำ แปม๋ ปลูกขา้ ว 21.7 ไร่ 4 วธิ คี ดิ
ใชเ้ มลด็ พนั ธุเ์ ฉล่ียไร่ละ 15.3 กิโลกรัม หาเวลาเฉลี่ยที่เพชรใชท้ ำาข้อสอบแต่ละขอ้ โดยนำาเวลาทีเ่ พชรใชท้ าำ ข้อสอบ หารดว้ ย
ดังนน้ั แปม๋ ตอ้ งใช้เมล็ดพนั ธุ์ 21.7 × 15.3 = 332.01 กโิ ลกรมั
จำานวนข้อสอบ
ตอบ ๓๓๒.๐๑ กิโลกรมั

วธิ ที �ำ เพชรใช้เวลาทำาข้อสอบฉบบั หนึ่ง 54 นาที
ขอ้ สอบฉบบั นี้มี 60 ข้อ
ดงั นัน้ เพชรทาำ ขอ้ สอบเฉลี่ยขอ้ ละ 54 ÷ 60 = 0.9 นาที

ตอบ ๐.๙ นาที

หนังสือเรียนรายวชิ าพ้ืนฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5 หนังสอื เรียนรายวิชาพ้นื ฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5
บทท่ี 2 | ทศนยิ ม บทที่ 2 | ทศนยิ ม

5 วิธีคิด เฉลยหน้า 114 เฉลยหน้า 114
น้าำ จ้มิ ไก่ 1 โหล มี 12 ขวด
ตรวจสอบคว�มเข้�ใจ

1 วธิ ีคดิ

625 มล. 26.4 ซม.
625 มล.
625 มล. 1 ชิน้ 1 ชิ้น 1 ช้ิน 1 ชน้ิ 1 ช้นิ 1 ชิ้น 1 ชิ้น 1 ช้นิ
625 มล.
625 มล.
625 มล.
625 มล.
625 มล.
625 มล.
625 มล.
625 มล.
625 มล.

หาปริมาตรนำ้าจมิ้ ไก่ 1 โหล โดยนาำ 12 คูณกับปรมิ าตรนำา้ จิม้ ไก่ 1 ขวด วิธที �ำ แยมโรลช้นิ หนึ่งยาว 26.4 เซนติเมตร
นา้ หนอ่ ยแบง่ แยมโรลเป็นชิน้ เท่า ๆ กัน 8 ชน้ิ
ซง่ึ ปรมิ าตรน้าำ จม้ิ ไก่ 1 ขวด มีหน่วยเป็นมิลลิลติ ร จึงเปล่ียนหน่วยของปริมาตรนาำ้ จิ้มไก่ 1 ขวด ดังนนั้ แยมโรลแต่ละชนิ้ หนา
ใหเ้ ปน็ ลติ รก่อน 26.4 ÷ 8 = 3.3 เซนติเมตร
ตอบ ๓.๓ เซนติเมตร

วธิ ที �ำ เนอื่ งจาก 1,000 มลิ ลิลติ ร เท่ากับ 1 ลิตร

625 มลิ ลลิ ติ ร คิดเป็น 625 ÷ 1,000 = 0.625 ลิตร 2 วิธีคิด
หาปริมาณยาท่ตี อ้ งใชท้ ้งั หมด โดยนาำ จาำ นวนเม็ดยาพาราเซตามอลทีต่ ้องผลิต คณู กบั
จะได้ นาำ้ จ้ิมไก่ 1 ขวด มีปริมาตร 0.625 ลติ ร
ปรมิ าณยา 1 เมด็ จะไดป้ ริมาณยาท่ีต้องใชท้ ง้ั หมดมีหน่วยเปน็ กรมั จากน้ันจงึ เปลยี่ นหน่วยของ
ซ้ือน้ำาจิม้ ไก่ 1 โหล ซึง่ เทา่ กับ 12 ขวด ปรมิ าณยาเปน็ กโิ ลกรมั

มีปริมาตร 12 × 0.625 = 7.500 ลิตร หรอื 7.5 ลติ ร

ดงั นน้ั ถ้าซ้อื น้ำาจม้ิ ไก่ 1 โหล จะได้นาำ้ จ้ิมไก่ 7.5 ลิตร

ตอบ ๗.๕ ลติ ร วิธที ำ� ยาพาราเซตามอล 1 เม็ด มีปริมาณยา 0.325 กรัม

หรือ วิธที �ำ นา้ำ จิ้มไก่ 1 ขวด มปี รมิ าตร 625 มิลลลิ ติ ร ถา้ โรงงานผลิตยาพาราเซตามอล 500,000 เมด็

ซอื้ นำ้าจ้ิมไก่ 1 โหล ซง่ึ เท่ากับ 12 ขวด จะตอ้ งใช้ปรมิ าณยา 500,000 × 0.325 = 162,500 กรัม

มปี ริมาตร 12 × 625 = 7,500 ลิตร เนอื่ งจาก 1,000 กรัม เท่ากบั 1 กโิ ลกรมั

เนอ่ื งจาก 1,000 มลิ ลิตร เทา่ กบั 1 ลติ ร ดังนน้ั โรงงานต้องใช้ปรมิ าณยา 162,500 ÷ 1,000 = 162.5 กิโลกรัม

ดังน้ัน ถา้ ซื้อนา้ำ จ้ิมไก่ 1 โหล จะได้นำ้าจิ้มไก่ 7,500 ÷ 1,000 = 7.5 ลติ ร ตอบ ๑๖๒.๕ กโิ ลกรัม

ตอบ ๗.๕ ลติ ร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  107

คมู่ อื ครู รายวิชาพ้นื ฐาน คณิตศาสตร์ บทท่ี 2 | ทศนยิ ม
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 เลม่ 1

หนงั สือเรียนรายวชิ าพ้นื ฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5 หนังสือเรียนรายวิชาพนื้ ฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5
บทที่ 2 | ทศนยิ ม บทท่ี 2 | ทศนิยม

เฉลยหนา้ 114 พิจารณาการแกโ้ จทยป์ ญั หา 2 ขนั้ ตอน
ลงุ จับปลานลิ ได้ 3 ตัว หนัก 0.9 กิโลกรมั 1.27 กโิ ลกรมั และ 1.58 กโิ ลกรมั
3 วธิ ีคิด นำาไปขายกิโลกรัมละ 80 บาท ลุงขายปลานิลได้เงินกีบ่ าท
หาปริมาณนำ้ายาซกั ผา้ ทใ่ี ช้ใน 1 ครัง้ โดยนำาปรมิ าณนำา้ ยาซกั ผ้าท้ังหมด หารดว้ ย

จาำ นวนครง้ั ที่ใชซ้ ักผ้า

ส่ิงท่โี จทยถ์ าม จำานวนเงนิ ทล่ี งุ ขายปลานลิ ได้

วิธีทำ� นาำ้ ยาซกั ผ้า 750 มลิ ลิลติ ร สิง่ ทีโ่ จทย์บอก - ลงุ จบั ปลานิล 3 ตัว หนกั 0.9 กิโลกรัม 1.27 กโิ ลกรมั
ตอบ ใชซ้ กั ผา้ ครั้งละเท่า ๆ กนั ได้ 20 ครั้ง และ 1.58 กิโลกรัม
ดังนั้น แต่ละครัง้ ใชน้ ้ำายาซกั ผา้
๓๗.๕ มลิ ลลิ ิตร 750 ÷ 20 = 37.5 มลิ ลลิ ิตร - ขายปลากโิ ลกรมั ละ 80 บาท

หาจำานวนเงนิ ทีข่ ายปลา ไดอ้ ย่างไร
นำานำ้าหนกั ปลาท้งั หมด คูณกับราคาขาย 1 กิโลกรมั

หานา้ำ หนักปลาทั้งหมดได้อย่างไร
นาำ นำ้าหนกั ปลาทงั้ สามตัวรวมกนั ได้ 0.9 + 1.27 + 1.58 = 3.75 กโิ ลกรมั

ขายปลากโิ ลกรมั ละเท่าใด และได้เงินทง้ั หมดเท่าใด
ขายกโิ ลกรัมละ 80 บาท ไดเ้ งนิ ท้งั หมด 3.75 × 80 = 300 บาท

สรปุ คาำ ตอบว่าอย่างไร ลุงขายปลานลิ ไดเ้ งิน 300 บาท

300 บาท เปน็ คำาตอบทส่ี มเหตุสมผลหรอื ไม่ มีวธิ พี ิจารณาอยา่ งไร
ปลา 3 ตัว หนกั ประมาณ 1 กก. 1 กก. และ 2 กก.
จะไดว้ า่ ลุงขายปลาประมาณ 1 + 1 + 2 = 4 กก.
ขายกิโลกรัมละ 80 บาท ได้เงนิ ประมาณ 4 × 80 = 320 บาท
ซ่งึ ใกลเ้ คียงกับ 300 แสดงว่า 300 บาท เป็นคาำ ตอบท่สี มเหตุสมผล

| 115สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

3. การสอนการแกโ้ จทยป์ ญั หา 2 ขัน้ ตอน หน้า 115-118 หนังสือเรยี นรายวชิ าพ้ืนฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5
ครจู ัดกจิ กรรมท�ำ นองเดยี วกนั กบั การสอนการแกโ้ จทยป์ ัญหา บทที่ 2 | ทศนยิ ม
1 ขัน้ ตอน สำ�หรับโจทย์ปญั หาหนา้ 116 ครูควรให้นักเรียน
รว่ มกนั อภปิ รายเก่ียวกับหน่วยความยาวทใ่ี ช้ ซง่ึ ควรจะไดว้ า่ พจิ ารณาการแก้โจทย์ปัญหา 2 ขั้นตอน
ในการหาคำ�ตอบ อาจเปล่ยี นหน่วยเซนตเิ มตรให้เปน็ เมตร
หรอื อาจเปลยี่ นหนว่ ยเมตร ให้เป็นเซนติเมตร ซ่ึงครูอาจให้ ตอ้ ยมรี บิ บ้ินยาว 2.5 เมตร นาำ ไปตัดเป็นเสน้ เสน้ ละเทา่ ๆ กนั 7 เสน้ เพอื่ ทำาดอกไมป้ ระดษิ ฐ ์ 7 ดอก
นักเรียนช่วยกันหาคำ�ตอบโดยเปลย่ี นหน่วยเมตร ใหเ้ ปน็ แล้วยังเหลือรบิ บ้ินอีก 5 เซนติเมตร ดอกไมแ้ ต่ละดอกใช้ริบบน้ิ ยาวกเ่ี มตร
เซนตเิ มตร จากนั้นรว่ มกันทำ�กิจกรรมหน้า 118 ส�ำ หรับ
โจทย์ปญั หาขอ้ 3 ครูควรใชก้ ารซกั ถามเพอื่ ฝึกใหน้ ักเรยี น ส่งิ ทีโ่ จทย์ถาม ความยาวของริบบนิ้ ทใี่ ชท้ าำ ดอกไม้แต่ละดอก
วเิ คราะห์โจทยป์ ญั หาและเลอื กใช้ข้อมลู ในการหาค�ำ ตอบ
แล้วให้ทำ�แบบฝึกหดั 2.14 เป็นรายบุคคล สงิ่ ที่โจทยบ์ อก ริบบน้ิ ยาว 2.5 เมตร ตัดเปน็ เส้น เสน้ ละเท่า ๆ กนั 7 เส้น
เพอื่ ทาำ ดอกไมป้ ระดษิ ฐ ์ 7 ดอก แล้วเหลอื รบิ บนิ้ 5 เซนติเมตร
108  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หาความยาวของริบบิ้นท่ีใช้ทาำ ดอกไม ้ 7 ดอก ไดอ้ ยา่ งไร และได้คำาตอบเทา่ ใด

นำาความยาวของริบบนิ้ ท้ังหมด ลบดว้ ยความยาวของริบบ้นิ ท่เี หลอื
แต่หนว่ ยตา่ งกัน จึงเปล่ยี น 5 เซนตเิ มตร ใหเ้ ป็นเมตร ได้ 0.05 เมตร
จะไดร้ บิ บนิ้ ที่ใชท้ าำ ดอกไม ้ 7 ดอก ยาว 2.5 − 0.05 = 2.45 เมตร

หาความยาวของริบบิ้นท่ีใชท้ าำ ดอกไมแ้ ตล่ ะดอกไดอ้ ย่างไร และไดค้ าำ ตอบเท่าใด

นาำ ความยาวของริบบนิ้ 2.45 เมตร หารด้วย 7
ได ้ 2.45 ÷ 7 = 0.35 เมตร

สรปุ คำาตอบว่าอยา่ งไร
ดอกไมแ้ ต่ละดอกใช้รบิ บ้นิ ยาว 0.35 เมตร

0.35 ม. เป็นคำาตอบทส่ี มเหตุสมผลหรอื ไม ่ มวี ิธีพิจารณาอย่างไร

เดมิ รบิ บน้ิ ยาว 2.5 ม. ตัดทาำ ดอกไมแ้ ล้วเหลือ 0.05 ม.
แสดงว่า ริบบ้นิ ท่ใี ช้ทำาดอกไมท้ ้ังหมดจะต้องยาวกว่า 2.1 ม.
ถ้าริบบน้ิ ยาว 2.1 ม. ตดั เปน็ 7 เสน้ เส้นละเทา่ ๆ กนั
จะไดร้ บิ บน้ิ ยาวเส้นละ 2.1 ÷ 7 = 0.3 ม. ซึง่ ใกล้เคียงกบั 0.35 ม.
แสดงวา่ 0.35 ม. เปน็ คำาตอบทสี่ มเหตสุ มผล

116 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครู รายวชิ าพ้ืนฐาน คณติ ศาสตร์ บทท่ี 2 | ทศนยิ ม
ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 5 เลม่ 1

หนังสือเรยี นรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5 หนงั สอื เรยี นรายวชิ าพน้ื ฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5
บทที่ 2 | ทศนิยม บทท่ี 2 | ทศนิยม

1 2
คา่ ไฟฟา้ ยอ้ นหลัง 3 เดอื นของบา้ นบกิ๊ เปน็ ดังนี้ ครูแบง่ นาำ้ ผลไม้ 2 ลิตร ใหน้ กั เรียน 8 คน คนละเท่า ๆ กัน ถ้านกั เรยี นคนหนงึ่
ด่ืมไปแล้ว 150 มลิ ลลิ ิตร นักเรยี นคนนี้ยงั เหลอื น้าำ ผลไมอ้ กี เทา่ ใด
เดอื น พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม
จำานวนเงิน (บาท) 714.97 767.14 628.03 วธิ ีคิด หาปริมาณนา้ำ ผลไมท้ ่แี ตล่ ะคนไดร้ ับ โดยนาำ 2 หารด้วย 8 แล้วจึงลบด้วย 150 มลิ ลิลิตร

บ๊ิกจา่ ยค่าไฟฟ้าเฉล่ยี เดอื นละเทา่ ใด วธิ ที ำา นำ้าผลไม ้ 2 ลิตร
แบ่งให้นกั เรยี นคนละเท่า ๆ กนั 8 คน
วิธีคิด หาค่าไฟฟา้ เฉลยี่ ต่อเดอื น ได้จาก รวมค่าไฟฟ้า 3 เดอื น แล้วหารดว้ ย 3 แตล่ ะคนได้รบั นาำ้ ผลไม้ 2 ÷ 8 = 0.25 ลิตร
ซง่ึ 0.25 ลิตร คดิ เป็น 0.25 × 1,000 = 250 มิลลลิ ติ ร
วธิ ที ำา คา่ ไฟฟา้ 3 เดอื น รวม 714.97 + 767.14 + 628.03 = 2,110.14 บาท นกั เรยี นคนหน่ึงดมื่ ไปแล้ว
ดงั นนั้ บ๊ิกจ่ายค่าไฟฟา้ เฉลีย่ เดอื นละ 2,110.14 ÷ 3 = 703.38 บาท ดงั นั้น นกั เรียนคนน้ยี ังเหลือนำา้ ผลไมอ้ ีก 150 มลิ ลิลติ ร
ตอบ ๗๐๓.๓๘ บาท ตอบ ๑๐๐ มลิ ลลิ ติ ร 250 − 150 = 100 มิลลลิ ติ ร

703.38 บาท เป็นคาำ ตอบท่ีสมเหตสุ มผลหรอื ไม่ มวี ธิ พี ิจารณาอยา่ งไร 100 มล. เป็นคาำ ตอบทส่ี มเหตสุ มผลหรอื ไม ่ มีวิธพี จิ ารณาอย่างไร

คา่ ไฟฟา้ เดือนพฤษภาคมประมาณ 700 บาท นกั เรียน 8 คน ไดน้ าำ้ ผลไม ้ 2 ล. คดิ เปน็ 2 × 1,000 = 2,000 มล.
เดอื นมิถุนายนประมาณ 800 บาท และเดอื นกรกฎาคมประมาณ 600 บาท จะได้ว่า นักเรียน 4 คน ไดน้ ำ้าผลไม ้ 1,000 มล.
รวมค่าไฟฟ้า 3 เดือนประมาณ 700 + 800 + 600 = 2,100 บาท นกั เรยี น 2 คน ได้นำา้ ผลไม้ 500 มล.
ดังนั้น บิ๊กจ่ายค่าไฟฟา้ เฉล่ยี ประมาณเดอื นละ 2,100 ÷ 3 = 700 บาท ดงั น้ัน นักเรยี น 1 คน ไดน้ าำ้ ผลไม้ 250 มล.
ซึง่ ใกล้เคียงกบั 703.38
แสดงวา่ 703.38 บาท เป็นคาำ ตอบที่สมเหตสุ มผล ด่มื ไป 150 มล. เหลือ 250 − 150 = 100 มล. ซ่ึงตรงกบั คาำ ตอบ
แสดงว่า 100 มล. เป็นคาำ ตอบท่สี มเหตุสมผล

แสดงวธิ ีคิดและวธิ ที ำา

1 รา้ นค้าขายด้นิ ทองเมตรละ 80 บาท ได้เงิน 4,300 บาท และเหลอื ด้นิ ทอง 6.25 เมตร

เดมิ ร้านค้ามดี น้ิ ทองกี่เมตร

2 เออื้ งเดินป่าจากจดุ เริม่ ตน้ ถึงจดุ พักเป็นระยะทาง 4.5 กิโลเมตร และเดนิ ตอ่ อีก 600 เมตร

ถงึ นำ้าตก โดยใชเ้ วลาเดินป่าทั้งหมด 3 ช่วั โมง เอื้องใชเ้ วลาเดินปา่ จากจดุ เร่ิมตน้ ถึงน้ำาตก

เฉลย่ี ชั่วโมงละก่ีกิโลเมตร

3 แม่คา้ นาำ ข้าวสาร 144 กโิ ลกรัม มาแบง่ ใส่ถงุ ถุงละ 7.5 กโิ ลกรัม และขายได้ 13 ถุง

| 117สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ถ้าขา้ วสาร 1 ถัง หนกั 15 กโิ ลกรมั แมค่ ้าขายขา้ วสารไดก้ ่ีถัง แบบฝึกหดั 2.14
118 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนังสอื เรียนรายวิชาพ้นื ฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5 หนังสือเรยี นรายวชิ าพน้ื ฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5
บทท่ี 2 | ทศนิยม บทท่ี 2 | ทศนยิ ม

เฉลยหนา้ 118 เฉลยหนา้ 118

1 วิธคี ดิ 3 วธิ ีคดิ
หาปรมิ าณข้าวสารท่ีแมค่ า้ ขายได้ โดยนำาจาำ นวนถุงขา้ วสารที่ขายได้ คูณกบั ปริมาณ
หาความยาวของดิน้ ทองที่ขายไป โดยนาำ จาำ นวนเงินท่ขี ายได้ หารด้วยราคาดิ้นทอง 1 เมตร
แล้วหาความยาวของดน้ิ ทองเดิมทม่ี อี ยู่ โดยนำาความยาวของด้ินทองท่ีขายไป รวมกบั ข้าวสาร 1 ถงุ ซงึ่ มีหนว่ ยเป็นกโิ ลกรมั แลว้ จงึ หารด้วยปริมาณขา้ วสาร 1 ถัง

ความยาวของด้นิ ทอง

วิธที ำ� ร้านคา้ ขายดน้ิ ทองเมตรละ 80 บาท วิธีทำ� แม่ค้าขายขา้ วสารได้ 13 ถงุ
ได้เงนิ 3,400 บาท หนกั ถงุ ละ 7.5 กโิ ลกรัม
ร้านคา้ ขายดิ้นทองไป 3,400 ÷ 80 = 42.5 เมตร แมค่ ้าขายขา้ วสารได้ 13 × 7.5 = 97.5 กโิ ลกรมั
เหลือดน้ิ ทอง ขา้ วสาร 1 ถัง หนัก 15 กโิ ลกรมั
ดงั น้ัน เดมิ รา้ นคา้ มีดน้ิ ทอง 6.25 เมตร ดังน้ัน แมค่ ้าขายขา้ วสารได้ 97.5 ÷ 15 = 6.5 ถัง
42.5 + 6.25 = 48.75 เมตร
ตอบ ๔๘.๗๕ เมตร ตอบ ๖.๕ ถัง

2 วธิ ีคิด

หาระยะทางทเ่ี อ้ืองเดินป่าท้ังหมด โดยนำาระยะทางทเี่ ดนิ จากจุดเร่มิ ตน้ ถึงจดุ พัก

รวมกบั ระยะทางท่เี ดนิ ตอ่ จากจดุ พกั ถึงนำา้ ตก ซึ่งระยะทางจากจดุ พักถงึ นาำ้ ตกมีหนว่ ยเป็น

เมตร ต้องเปลย่ี นหน่วยเปน็ กิโลเมตรกอ่ น แล้วหาระยะทางเฉล่ียในการเดินป่า 1 ช่ัวโมง

โดยนำา ระยะทางเดินปา่ ทงั้ หมด หารดว้ ยเวลาทใี่ ช้เดินปา่

วิธที �ำ เออื้ งเดินป่าจากจุดเร่ิมตน้ ถึงจดุ พกั เปน็ ระยะทาง 4.5 กิโลเมตร

และเดินต่ออีก 600 เมตร

ซึ่ง 600 เมตร คิดเป็น 600 ÷ 1,000 = 0.600 กิโลเมตร หรือ 0.6 กิโลเมตร

เอ้ืองเดนิ ปา่ ได้ระยะทางท้ังหมด 4.5 + 0.6 = 5.1 กิโลเมตร

ใชเ้ วลาเดินป่าท้ังหมด 3 ชว่ั โมง

ดงั นัน้ เอือ้ งใช้เวลาเดนิ ป่าเฉลี่ยช่ัวโมงละ 5.1 ÷ 3 = 1.7 กโิ ลเมตร

ตอบ ๑.๗ กิโลเมตร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  109

คมู่ ือครู รายวิชาพนื้ ฐาน คณิตศาสตร์ บทท่ี 2 | ทศนยิ ม
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 5 เล่ม 1
หนงั สอื เรยี นรายวชิ าพ้นื ฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5
4. เพื่อตรวจสอบความเขา้ ใจและสรุปความรู้ทไ่ี ด้ บทที่ 2 | ทศนยิ ม
ให้นักเรียนท�ำ กิจกรรมหนา้ 119 เปน็ รายบุคคล

ตรวจสอบความเข้าใจ

แสดงวิธีคิดและวธิ ที ำา

1 อะตอมซ้อื ปากกา 7 หอ่ จ่ายเงนิ 315 บาท แต่ละห่อมีปากกา 12 ด้าม
ปากกาดา้ มละกี่บาท

2 การปลกู ถัว่ ลิสงในเนื้อที ่ 1 ไร ่ ใชเ้ มล็ดพนั ธุ ์ 31.2 กโิ ลกรัม ถ้าชาวไรต่ ้องการปลกู ถว่ั ลสิ ง
ในเน้ือที่ 23 ไร่ และมีเมล็ดพนั ธุอ์ ยู่ 534.78 กิโลกรมั จะตอ้ งซอื้ เมล็ดพันธเุ์ พ่มิ อย่างนอ้ ยเท่าใด

3 ร้านคา้ ซ้ือนา้ำ ดื่ม 120 ขวด คิดเปน็ เงิน 900 บาท นาำ มาขายปลีกโดยคิดราคาเพ่มิ
ขวดละ 6.50 บาท รา้ นค้าขายน้ำาด่มื ขวดละเท่าใด

4 แมค่ า้ มมี ะเขือเทศเชอร่ี 4 กิโลกรมั นาำ มาแบง่ เปน็ แพค็ ได้ 14 แพ็ค แพ็คละ 275 กรมั
แม่คา้ จะเหลือมะเขอื เทศเชอร่กี ก่ี ิโลกรัม

ส่งิ ทไี่ ดเ้ รยี นรู้

โจทย์ปัญหานี้มวี ธิ หี าคาำ ตอบ และวิธีตรวจสอบความถูกต้องของคำาตอบอยา่ งไร
“เต๋าซ้อมวา่ ยน้าำ ในสระ โดยวา่ ยไปและกลบั 32 รอบ ได้ระยะทาง 3.2 กิโลเมตร
สระว่ายน้ำานีย้ าวกเ่ี มตร”
(1 รอบ หมายถงึ ว่ายไป 1 เท่ียว และกลบั 1 เทีย่ ว)

| 119สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนงั สอื เรียนรายวิชาพน้ื ฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5 หนงั สือเรยี นรายวชิ าพืน้ ฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5
บทท่ี 2 | ทศนยิ ม บทท่ี 2 | ทศนิยม

เฉลยหน้า 119 เฉลยหนา้ 119

1 วธิ คี ดิ 3 วิธีคิด
หาจาำ นวนปากกาทั้งหมดทอ่ี ะตอมซอ้ื โดยนาำ จำานวนหอ่ คูณจำานวนปากกา 1 ห่อ หาราคาซอ้ื ของน้าำ ด่ืม 1 ขวด โดยนำาจำานวนเงนิ ท่ีซื้อ หารดว้ ยจาำ นวนขวด แลว้ หา

แล้วหาราคาปากกา 1 ดา้ ม โดยนาำ จาำ นวนเงินทจ่ี ่ายไป หารด้วยจาำ นวนปากกาทง้ั หมด ราคาขายของนา้ำ ดื่ม 1 ขวด โดยนาำ ราคาซือ้ ของนาำ้ ดื่ม 1 ขวด รวมกับราคาทค่ี ิดเพิม่

วธิ ีทำ� อะตอมซื้อปากกา 7 หอ่ วิธที �ำ ร้านค้าซื้อนำา้ ดมื่ 120 ขวด
แต่ละห่อมปี ากกา 12 ด้าม
อะตอมซ้อื ปากกาทงั้ หมด 7 × 12 = 84 ด้าม คิดเป็นเงนิ 900 บาท
จา่ ยเงนิ 315 บาท
ดังน้ัน ปากการาคาด้ามละ 315 ÷ 84 = 3.75 บาท รา้ นค้าซือ้ นาำ้ ด่ืมมาขวดละ 900 ÷ 120 = 7.5 บาท

ตอบ ๓.๗๕ บาท นำามาขายโดยคดิ ราคาเพิม่ ขวดละ 6.50 บาท

ดังนั้น รา้ นคา้ ขายนำ้าดื่มขวดละ 7.5 + 6.50 = 14.00 บาท หรือ 14 บาท

ตอบ ๑๔ บาท

2 วธิ ีคิด 4 วิธคี ดิ
หาปรมิ าณเมลด็ พันธุท์ ่ตี ้องใชท้ ั้งหมด โดยนำาจำานวนเน้ือทีป่ ลูกถวั่ ลสิ ง คูณกับปริมาณ หาปรมิ าณของมะเขอื เทศเชอรีท่ ่แี ม่ค้านาำ มาแบง่ เป็นแพ็ค โดยนำาจาำ นวนแพค็ คณู กบั

เมล็ดพันธ์ุทใ่ี ชป้ ลูกใน 1 ไร่ แล้วหาปริมาณเมลด็ พันธ์ุทีต่ ้องซอ้ื เพิม่ โดยนาำ ปรมิ าณเมลด็ พนั ธุ์ ปริมาณของมะเขอื เทศเชอรี่ 1 แพค็ ซึ่งมะเขอื เทศเชอรี่ 1 แพ็ค มหี นว่ ยเปน็ กรัม จึงเปลย่ี น
ทต่ี ้องใชท้ ั้งหมด ลบดว้ ยปริมาณเมล็ดพันธทุ์ มี่ ีอยู่ หนว่ ยให้เปน็ กิโลกรัมก่อน แล้วหาปรมิ าณมะเขือเทศเชอร่ที ่ีเหลือ โดยนาำ ปรมิ าณของ
มะเขอื เทศเชอรที่ ่ีแมค่ า้ มี ลบด้วยปรมิ าณของมะเขอื เทศเชอร่ีท่นี าำ มาแบง่ เป็นแพค็

วิธีท�ำ เนอ้ื ที่ 1 ไร่ ใช้เมล็ดพนั ธ์ุ 31.2 กิโลกรัม วิธีท�ำ แม่ค้านำามะเขอื เทศเชอรี่มาแบ่งแพค็ ได้ 14 แพ็ค
แพค็ ละ 275 กรัม
ชาวไรต่ ้องการปลูกถ่วั ลสิ งในเนื้องอก 23 ไร่

ต้องใชเ้ มล็ดพันธทุ์ ้งั หมด 23 × 31.2 = 717.6 กิโลกรัม เนอื่ งจาก 1,000 กรมั เทา่ กับ 1 กิโลกรัม

มีเมลด็ พันธ์ุ 534.78 กิโลกรัม 275 กรมั คิดเปน็ 275 ÷ 1,000 = 0.275 กโิ ลกรมั หรอื 3.85 กิโลกรัม

ดงั นั้น ชาวไร่ต้องซื้อเมลด็ พันธุ์เพม่ิ อยา่ งนอ้ ย 717.6 - 543.78 = 182.82 กโิ ลกรมั แม่คา้ นาำ มะเขือเทศเชอรี่มาแพค็ 14 × 0.275 = 3.850 กโิ ลกรัม หรอื 3.85 กิโลกรัม

ตอบ ๑๘๒.๘๒ กิโลกรมั แมค่ า้ มมี ะเขอื เทศเชอรี่ 4 กโิ ลกรมั

ดังนัน้ แม่คา้ เหลอื มะเขอื เทศเชอร่ี 4 - 3.85 = 0.15 กโิ ลกรัม

ตอบ ๐.๑๕ กโิ ลกรัม

110  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู ือครู รายวชิ าพื้นฐาน คณติ ศาสตร์ บทที่ 2 | ทศนยิ ม
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 เลม่ 1

หนงั สือเรียนรายวชิ าพนื้ ฐาน | คณติ ศาสตร์ ป.5
บทที่ 2 | ทศนยิ ม

เฉลยหน้า 119
ส่ิงที่ไดเ้ รยี นร ู้
หาคาำ ตอบไดโ้ ดย หาระยะทางท่ีเต๋าวา่ ยน้าำ ได้ใน 1 รอบกอ่ น แลว้ จงึ หาระยะทางทีเ่ ต๋าวา่ ยนา้ำ ได้ใน
1 เทยี่ ว ซึง่ จะเทา่ กบั ความยาวของสระว่ายนา้ำ
เตา๋ วา่ ยน้ำา 1 รอบ ไดร้ ะยะทาง 3.2 ÷ 32 = 0.1 กิโลเมตร
เต๋าวา่ ยนาำ้ 1 เทยี่ ว ไดร้ ะยะทาง 0.1 ÷ 2 = 0.05 กิโลเมตร
เน่อื งจาก 1 กโิ ลเมตร เทา่ กบั 1,000 เมตร
ดังน้นั สระวา่ ยนำา้ นยี้ าว 0.05 × 1,000 = 50 เมตร
ตรวจสอบความถูกต้องของคำาตอบ โดยหาว่า เตา๋ ว่ายน้ำา 32 รอบ ไดร้ ะยะทางเทา่ ใด
ซงึ่ หาไดจ้ าก เตา๋ วา่ ยน้ำา 1 รอบ ไดร้ ะยะทาง 2 × 50 = 100 เมตร
เนือ่ งจาก 1,000 เมตร เทา่ กบั 1 กโิ ลเมตร
เต๋าวา่ ยนา้ำ 1 รอบ ได้ระยะทาง 100 ÷ 1,000 = 0.1 กโิ ลเมตร
เตา๋ วา่ ยนำา้ 32 รอบ ได้ระยะทาง 32 × 0.1 = 3.2 กิโลเมตร พบวา่ สอดคลอ้ งกบั โจทย์
แสดงว่า 50 เมตร เป็นคำาตอบทถ่ี ูกตอ้ ง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  111

คู่มอื ครู รายวชิ าพ้ืนฐาน คณติ ศาสตร์ บทที่ 2 | ทศนยิ ม
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5 เล่ม 1
หนงั สือเรียนรายวชิ าพ้ืนฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5
ร่วมคดิ ร่วมทำ� บทที่ 2 | ทศนิยม

ร่วมคิดรว่ มทำ�เป็นกจิ กรรมท่ใี หน้ กั เรยี นนำ�ความรู้ทไ่ี ด้ ร่วมคดิ รว่ มทาำ
จากการเรยี นในบทเรยี นน้มี าใชใ้ นการแก้ปญั หา โดยอาจแบ่ง
นักเรยี นเป็นกล่มุ กลุ่มละ 2-3 คน ครูน�ำ สนทนาเก่ยี วกบั การแข่งขนั ยกนำา้ หนกั (Weightlifting) เปน็ กีฬาประเภทหนงึ่ ทจี่ ดั การแข่งขัน
การแขง่ ขันยกน้ำ�หนักโดยใชข้ อ้ มลู จากหนา้ 120-121 ทัง้ ในกฬี าเอเชยี นเกมส์ (Asian Games) และกีฬาโอลมิ ปิก (Olympic Games)
หรืออาจใชว้ ีดทิ ศั นก์ ารแขง่ ขนั ยกน้�ำ หนักเพอื่ แนะนำ� โดยการแข่งขนั ยกนำ้าหนัก มที า่ ยกนา้ำ หนัก 2 ทา่ คือ ท่าสแนทช ์ (Snatch) และ
ให้นกั เรียนเข้าใจและรู้จกั กฬี ายกน้�ำ หนัก แลว้ รว่ มกัน ทา่ คลนี แอนด์เจอรค์ (Clean and Jerk)
พจิ ารณาสถานการณเ์ พือ่ หาค�ำ ตอบ
ทา่ สแนทช์
ครูควรให้นักเรยี นช่วยกนั ออกแบบวิธีเขยี นค�ำ ตอบ
อย่างเป็นระบบ ซง่ึ ครูอาจแนะน�ำ ให้นกั เรียนเขยี นคำ�ตอบ
ในรปู ตาราง

ทา่ คลีนแอนด์เจอรค์

120 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หนงั สือเรยี นรายวิชาพน้ื ฐาน | คณิตศาสตร์ ป.5
ในการแขง่ ขนั ยกนา้ำ หนักคร้ังหนงึ่ มีอุปกรณ์ดงั น้ี บทที่ 2 | ทศนยิ ม

ปลอกยึด คานยก แผน่ เหลก็

1) คานยก สาำ หรับนกั กีฬาชาย หนกั 20 กิโลกรมั และสำาหรบั นักกีฬาหญงิ หนกั 15 กิโลกรัม
2) ปลอกยึด หนักขา้ งละ 2.5 กิโลกรัม
3) แผน่ เหลก็ แตล่ ะแผน่ มนี ำ้าหนกั ดังนี้

นำา้ หนกั (กก.)
สี

ขนาดใหญ่ ขนาดเลก็

แดง 25 2.5
น้ำาเงิน 20 2
เหลอื ง 15 1.5
เขยี ว 10 1
5 0.5
ดาำ

หมายเหตุ แผ่นเหล็กทใี่ สใ่ นคานยก ตอ้ งใช้สีและขนาดเดียวกันทั้งสองข้าง

เรียบเรียงจาก : การกีฬาแหง่ ประเทศไทย

ถา้ นายวทิ ย์ต้องการเรียกนำ้าหนักเพอ่ื ยกทา่ สแนทช์ 116 กโิ ลกรมั และยกท่าคลีนแอนดเ์ จอรค์
140 กโิ ลกรัม เจ้าหน้าทีส่ ามารถจัดแผน่ เหลก็ ใหน้ ายวทิ ย์แต่ละท่าได้กี่แบบ แบบใดบา้ ง

| 121สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

112  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครู รายวิชาพ้ืนฐาน คณิตศาสตร์ บทท่ี 2 | ทศนยิ ม
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 เลม่ 1

ตวั อย่าง

ทา่ .................สแนทซ.์ ...................... น้�ำ หนกั ..................116................... กโิ ลกรมั แบบที่ ........1....... ดังน้ี

อปุ กรณ์ น้�ำ หนกั แผน่ เหลก็ = จ�ำ นวนแผ่นเหลก็ × นำ�้ หนกั แตล่ ะแผน่ รวม (กโิ ลกรัม)
(กิโลกรัม)
แผน่ เหล็ก 50
สแี ดง ขนาดใหญ่ ขนาดเล็ก 40
สีนำ�้ เงิน
สเี หลอื ง 2 × 25 = 50
สีเขยี ว
สีด�ำ 2 × 20 = 40
คานยก
2 × 0.5 = 1 1
ปลอกยึด 20 20
2 × 2.5 = 5 5
116
รวม (กิโลกรัม)

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  113

คู่มือครู รายวชิ าพื้นฐาน คณิตศาสตร์ บทท่ี 2 | ทศนยิ ม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เลม่ 1

ตัวอย่างข้อสอบ บทที่ 2 ทศนิยม

จุดประสงคก์ ารเรยี นรูท้ ่ี 1 นกั เรยี นสามารถเขยี นเศษส่วนทม่ี ีตัวสว่ นเป็นตวั ประกอบของ 10 100 หรอื
1,000 ในรูปทศนยิ ม

เขียนในรปู ทศนิยม

1. 2 2. 11 3. 487
5 20 200

4. 1 6 5. 13 6. 2470
125 4

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 2 นกั เรียนสามารถหาค่าประมาณของทศนิยมไมเ่ กนิ 3 ตำ�แหนง่
เปน็ จำ�นวนเตม็ หน่วย ทศนิยม 1 ตำ�แหน่ง และ 2 ตำ�แหนง่

1. หาคา่ ประมาณเป็นจ�ำ นวนเต็มหนว่ ย 2) 6.49 3) 0.518
1) 3.8

2. หาคา่ ประมาณเปน็ ทศนิยม 1 ต�ำ แหน่ง

1) 0.906 2) 7.01 3) 10.47

3. หาคา่ ประมาณเปน็ ทศนิยม 2 ต�ำ แหน่ง

1) 4.006 2) 0.099 3) 13.642

จุดประสงคก์ ารเรยี นรทู้ ่ี 3 นกั เรียนสามารถหาผลคณู ของทศนยิ มกับจ�ำ นวนนับ ท่ีมผี ลคณู เป็นทศนยิ ม
ไม่เกิน 3 ต�ำ แหนง่

แสดงวิธหี าผลคูณ 2. 3.75 × 6 3. 0.409 × 12
1. 9 × 8.4

114  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คูม่ ือครู รายวิชาพน้ื ฐาน คณิตศาสตร์ บทท่ี 2 | ทศนยิ ม
ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 5 เลม่ 1

จุดประสงคก์ ารเรียนร้ทู ี่ 4 นักเรยี นสามารถหาผลคูณของทศนยิ มกับทศนยิ ม ทม่ี ีผลคูณเป็นทศนิยมไมเ่ กนิ
3 ต�ำ แหนง่

เลอื กคำ�ตอบ ข. 0.32
1. 0.4 × 0.8 เท่ากับเท่าใด ง. 3.2
ก. 0.12
ค. 1.2

2. 2.5 × 3.6 เท่ากับเท่าใด ข. 7.7
ก. 2.25 ง. 22.5
ค. 9

3. 0.9 × 7.12 เทา่ กบั เทา่ ใด ข. 6.398
ก. 6.308 ง. 6.498
ค. 6.408

4. 3.2 × 0.45 มผี ลคูณเทา่ กับขอ้ ใด ข. 4 × 0.36
ก. 1.8 × 1.53 ง. 0.944 × 5
ค. 3.05 × 1.6

5. ขอ้ ใดมีผลคณู มากท่ีสดุ ข. 0.3 × 3
ก. 2 × 0.46 ง. 8 × 0.108
ค. 0.9 × 0.9

จุดประสงค์การเรยี นรูท้ ี่ 5 นกั เรียนสามารถหาผลหารท่ตี วั ตั้งเปน็ ทศนยิ มไมเ่ กนิ 3 ต�ำ แหน่ง และตวั หาร
เปน็ จำ�นวนนบั ผลหารเป็นทศนิยมไมเ่ กิน 3 ต�ำ แหนง่

แสดงวธิ หี าผลหาร 2. 9.36 ÷ 9 3. 2.1 ÷ 6
1. 12.435 ÷ 5

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  115

คู่มอื ครู รายวชิ าพ้นื ฐาน คณติ ศาสตร์ บทที่ 2 | ทศนยิ ม
ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 เลม่ 1

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ที่ 6 นักเรียนสามารถหาผลหารท่ีตวั ตง้ั เปน็ จำ�นวนนับ และตัวหารเปน็ จ�ำ นวนนบั
ผลหารเปน็ ทศนิยมไมเ่ กิน 3 ตำ�แหน่ง

แสดงวธิ หี าผลหาร 2. 7 ÷ 8 3. 27 ÷ 12
1. 9 ÷ 5

จุดประสงค์การเรียนรทู้ ่ี 8 นกั เรยี นสามารถวิเคราะห์และแสดงวิธหี าค�ำ ตอบของโจทย์ปญั หาการคณู
การหารทศนยิ ม 1 ข้นั ตอน

แสดงวธิ ีหาค�ำ ตอบ
1. ในการตดั เสอ้ื ตวั หนง่ึ ใชผ้ า้ 2.5 เมตร ถา้ ตอ้ งการตดั เสอ้ื แบบเดยี วกนั น้ี 6 ตวั ตอ้ งใชผ้ า้ อยา่ งนอ้ ยกเ่ี มตร

2. รถยนต์คันหนง่ึ ใช้นำ�้ มนั 1 ลิตร ว่ิงได้ระยะทางเฉลีย่ 12,000 เมตร ถา้ ระยะทาง 105 กโิ ลเมตร
รถยนต์คันนจี้ ะต้องใชน้ �้ำ มันอย่างน้อยก่ีลิตร

จุดประสงค์การเรยี นรู้ท่ี 9 นักเรยี นสามารถวิเคราะห์และแสดงวธิ ีหาคำ�ตอบของโจทยป์ ญั หาการบวก
การลบ การคณู การหารทศนยิ ม 2 ขั้นตอน

แสดงวธิ ีหาค�ำ ตอบ
1. ในเวลา 5 วนั ระดบั น�ำ้ ในเขอ่ื นสงู ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งจาก 243 เมตร เปน็ 244.20 เมตร
เฉลย่ี แลว้ ระดบั น�ำ้ ในเขอ่ื นสงู ขน้ึ วนั ละกเ่ี ซนตเิ มตร

2. แมค่ า้ บรรจอุ าหารปลาได้ 18 ถงุ ถงุ ละ 1,500 กรมั ยงั เหลอื อาหารปลาอกี 3 กโิ ลกรมั
เดมิ แมค่ า้ มอี าหารปลากก่ี โิ ลกรมั

116  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครู รายวิชาพืน้ ฐาน คณิตศาสตร์ บทที่ 2 | ทศนยิ ม
ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 1

เฉลยตัวอยา่ งขอ้ สอบ บทท่ี 2 ทศนิยม

จุดประสงค์การเรยี นรทู้ ี่ 1 2. 0.55 3. 2.435
1. 0.4 5. 3.25 6. 2.175
4. 1.048

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ท่ี 2 2) 6 3) 1
1. 1) 4 2) 7.0 3) 10.5
2. 1) 0.9 2) 0.10 3) 13.64
3. 1) 4.01

จุดประสงค์การเรียนร้ทู ่ี 3 2. 22.50 หรือ 22.5 3. 4.908
1. 75.6

จุดประสงคก์ ารเรียนรทู้ ่ี 4

1. ข. 2. ค. 3. ค. 4. ข. 5. ก.

จุดประสงค์การเรียนรู้ท่ี 5

1. 2.487 2. 1.04 3. 0.35

จุดประสงค์การเรียนร้ทู ่ี 6

1. 1.8 2. 0.875 3. 2.25

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  117

คู่มือครู รายวชิ าพ้นื ฐาน คณติ ศาสตร์ บทที่ 2 | ทศนยิ ม
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 เล่ม 1

จดุ ประสงค์การเรยี นร้ทู ี่ 8
1. 15 เมตร
2. 8.75 ลติ ร

จุดประสงค์การเรียนรทู้ ่ี 9
1. 24 เซนตเิ มตร
2. 30 กโิ ลกรมั

118  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครู รายวิชาพนื้ ฐาน คณิตศาสตร์ บทที่ 3 | การนำ�เสนอข้อมลู
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 เล่ม 1

บทที่ การน�ำ เสนอขอ้ มลู

3

จุดประสงคก์ ารเรยี นร้แู ละสาระสำ�คัญ

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ สาระส�ำ คญั

นกั เรยี นสามารถ ••การยน่ ระยะของเส้นแสดงจ�ำ นวนเหมาะกับขอ้ มลู ท่แี ต่ละรายการ
มีปริมาณมาก ๆ หรือขอ้ มลู แตล่ ะรายการมีปรมิ าณใกล้เคยี งกนั
1. อ่านแผนภูมแิ ท่งที่มีการย่นระยะ
และแผนภูมิแทง่ เปรียบเทยี บ ••แผนภูมแิ ทง่ และแผนภมู แิ ท่งเปรยี บเทียบ เปน็ การนำ�เสนอขอ้ มลู
รปู แบบหน่งึ โดยแผนภูมแิ ทง่ เป็นการนำ�เสนอขอ้ มูลเพียง 1 ชดุ
สว่ นแผนภูมแิ ทง่ เปรียบเทียบ เป็นการน�ำ เสนอขอ้ มูลต้งั แต่ 2 ชุดขึน้ ไป

••การอา่ นแผนภมู ิแท่งทม่ี ีการยน่ ระยะและแผนภูมแิ ท่งเปรียบเทยี บ มวี ิธี
อ่านเหมอื นกนั โดยเทยี บสว่ นปลายสดุ ของรปู ส่ีเหล่ยี มมุมฉากแต่ละรูป
กับตวั เลขบนเสน้ แสดงจ�ำ นวน แต่การอา่ นแผนภูมแิ ท่งเปรยี บเทียบ
ตอ้ งดูสัญลักษณท์ รี่ ะบุว่าเปน็ ขอ้ มลู ชดุ ใดประกอบด้วย

2. เขยี นแผนภูมิแท่งท่มี ีการยน่ ระยะ การน�ำ เสนอข้อมลู ด้วยแผนภมู ิแท่ง ในกรณที ี่ข้อมลู แตล่ ะรายการมีปริมาณ
มากหรอื หรือใกลเ้ คยี งกนั มาก อาจใช้การยน่ ระยะของเสน้ แสดงจ�ำ นวน

3. เขยี นแผนภูมิแทง่ เปรียบเทียบ แผนภมู ิแทง่ เปรียบเทียบ เปน็ การนำ�เสนอขอ้ มลู เรอื่ งเดียวกนั ตั้งแต่ 2 ชดุ
ข้ึนไป ซง่ึ ตอ้ งมีการกำ�หนดสัญลักษณเ์ พอ่ื แสดงข้อมลู แต่ละชดุ

4. อ่านกราฟเสน้ ••กราฟเส้น เป็นการนำ�เสนอขอ้ มลู รูปแบบหน่งึ ท่ใี ชส้ ว่ นของเสน้ ตรง
เชื่อมจุดตา่ ง ๆ ซง่ึ แต่ละจุดใชแ้ สดงปริมาณของแตล่ ะรายการ

••การอ่านกราฟเสน้ ใช้วธิ เี ทยี บต�ำ แหน่งของจดุ ท่แี สดงข้อมลู
แต่ละรายการกับตัวเลขบนเส้นจ�ำ นวน

5. เขยี นกราฟเสน้ ••กราฟเส้นนยิ มใชก้ ับข้อมลู ท่ีมีการเปลยี่ นแปลงอยา่ งตอ่ เน่ือง
ตามล�ำ ดบั กอ่ น-หลงั ของเวลา การเขยี นกราฟเสน้ มขี อ้ ควรระวัง
6. ใช้ข้อมูลจากแผนภูมแิ ท่ง และกราฟเส้น เชน่ เดียวกันกับการเขียนแผนภูมแิ ทง่ กลา่ วคอื ระยะห่างระหว่างข้อมลู
ในการหาคำ�ตอบของโจทย์ปญั หา ของแตล่ ะรายการควรเท่ากนั

การแกโ้ จทยป์ ญั หาเก่ียวกับแผนภูมแิ ทง่ และกราฟเส้น อาจใช้กระบวนการ
แก้ปัญหา ตามขั้นตอน ดงั น้ี

ขนั้ ท่ี 1 ทำ�ความเข้าใจปัญหา
ขั้นที่ 2 วางแผนแก้ปญั หา
ขั้นที่ 3 ดำ�เนนิ การตามแผน
ขั้นท่ี 4 ตรวจสอบ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  119

ค่มู อื ครู รายวิชาพนื้ ฐาน คณิตศาสตร์ บทที่ 3 | การน�ำ เสนอขอ้ มลู
ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 5 เล่ม 1

ตารางวิเคราะห์เน้อื หากบั ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ และเวลาทใ่ี ช้ในการจัดกจิ กรรม

หัวข้อ เน้ือหา เวลา ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
(ชัว่ โมง)
jklmn
1
เตรียมความพรอ้ ม -----
5
3.1 แผนภมู ิแท่ง -  - -
••การอ่านแผนภมู แิ ท่งทีม่ ีการย่นระยะ
••การอา่ นแผนภูมแิ ทง่ เปรียบเทียบ 2 -  - -
••การเขียนแผนภมู ิแท่งท่ีมกี ารยน่ ระยะ
••การเขยี นแผนภูมิแทง่ เปรยี บเทยี บ 3  -
1 -- - -
3.2 กราฟเส้น
••การอ่านกราฟเส้น
••การเขยี นกราฟเสน้

3.3 โจทย์ปัญหา

ร่วมคดิ รว่ มท�ำ

ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์

j การแกป้ ัญหา k การส่ือสารและการสือ่ ความหมายทางคณิตศาสตร์
l การเชื่อมโยง
m การใหเ้ หตุผล n การคดิ สร้างสรรค์

120  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครู รายวิชาพนื้ ฐาน คณิตศาสตร์ บทที่ 3 | การนำ�เสนอข้อมูล
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 1

คำ�ใหม่

แผนภูมแิ ทง่ ที่มกี ารยน่ ระยะ แผนภูมิแทง่ เปรียบเทียบ กราฟเส้น

ความรหู้ รือทักษะพื้นฐาน

การอา่ นตารางทางเดียวและตารางสองทาง การอา่ นและการเขียนแผนภมู แิ ท่ง

สอ่ื การเรียนรู้

1. ภาพของแผนภมู ิแท่งทีม่ กี ารย่นระยะ
2. ภาพของแผนภมู ิแท่งเปรียบเทียบ
3. ภาพของกราฟเส้น

แหล่งเรยี นรู้

หนังสือเรียนหนา้ 122-157
แบบฝกึ หัดหน้า 94-113

เวลาท่ีใช้จดั การเรียนรู้

12 ชั่วโมง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  |  121

คู่มือครู รายวชิ าพ้ืนฐาน คณิตศาสตร์ บทที่ 3 | การน�ำ เสนอขอ้ มลู
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 5 เล่ม 1

แนวการจดั การเรียนรู้
การเตรียมความพรอ้ ม

บทที่ การนาำ เสนอขอ้ มูล จาำ นวนผูป้ ่วยโรคไข้เลือดออกสะสม จำาแนกรายเดือน พ.ศ. 2560
จำนวนผู�ป�วย (ราย)
3

เรียนจบบทน้ีแลว้ นักเรยี นสามารถ 8,500 8,385 7,561
7,500 7,102
อ่านแผนภมู แิ ทง่ ทีม่ กี ารย่นระยะ และแผนภมู ิแท่งเปรยี บเทียบ 6,500
เขยี นแผนภมู แิ ท่งท่มี ีการย่นระยะ 5,500 3,708 5,049 4,047
เขียนแผนภมู ิแท่งเปรียบเทยี บ 4,500 4,093
อา่ นกราฟเสน้ 3,500 3,410
เขยี นกราฟเสน้ 2,500
ใช้ข้อมลู จากแผนภมู ิแทง่ และกราฟเสน้ ในการหาคำาตอบของโจทย์ปญั หา 1,500 2,458
2,152
0 2,126 1,958

เดอื น

ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

ทีม่ า : สำานักระบาดวทิ ยา กรมควบคมุ โรค

จากข้อมลู จำานวนผูป้ ่วยโรคไข้เลอื ดออกสะสม จาำ แนกรายเดอื น
พ.ศ. 2560 คาดว่า ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2561 จะมผี ้ปู ว่ ย
โรคไข้เลอื ดออกเพิ่มข้นึ หรือลดลงจากเดือนธนั วาคม พ.ศ. 2560

1. ใชข้ อ้ มูลหนา้ เปดิ ซึ่งเป็นเนือ้ หาใหม่เก่ียวกบั กราฟเส้นเพอื่ กระตนุ้ ความสนใจเกี่ยวกับการนำ�เสนอข้อมูลโดยใช้ค�ำ ถาม เชน่

••การนำ�เสนอขอ้ มูลดังกลา่ วเป็นการน�ำ เสนอเกย่ี วกับเรอ่ื งใด

••การนำ�เสนอขอ้ มูลนี้มีลักษณะแตกต่างจากท่เี คยเรียนมาหรือไม่ อย่างไร

••ควรจะเรียกการนำ�เสนอข้อมูลลักษณะเชน่ น้วี า่ อย่างไร เพราะเหตใุ ด
ค�ำ ตอบของนกั เรยี นอาจแตกต่างกนั ครไู ม่จ�ำ เป็นตอ้ งเฉลย ควรให้นกั เรยี นเปน็ ผหู้ าค�ำ ตอบเองหลงั จากเรยี นเร่ืองกราฟเส้น
ครูควรให้ความรู้เพ่ิมเติมเกย่ี วกบั โรคไขเ้ ลือดออกและน�ำ สนทนาเกย่ี วกับวธิ กี ารป้องกนั โรคไข้เลือดออก

122  |  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


Click to View FlipBook Version