The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่ม 2 สรุปการประชุมวิชาการ 16-18 สิงหาคม 2566_compressed

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by muangubon2023, 2023-09-06 01:03:20

เล่ม 2 สรุปการประชุมวิชาการ 16-18 สิงหาคม 2566_compressed

เล่ม 2 สรุปการประชุมวิชาการ 16-18 สิงหาคม 2566_compressed

ข สรุปการประชุมวิชาการชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประจ าปี 2566 “มิติใหม่ของการประกอบวิชาชีพสาธารณสุขชุมชนภายใต้บทบาทนักสาธารณสุข” วันที่ 16-18 สิงหาคม พ.ศ. 2566 ณ โรงแรมเนาวาด้า คอนเวนชั่น จังหวัดอุบลราชธานี ด าเนินงานโดย ชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร่วมกับคณะ สาธารณสุขศาตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ที่ปรึกษา ดร.ชูวิทย์ ธานี นายกสมาคมวิชาชีพสาธารณสุข คณะท างานจัดท าเอกสารสรุปการประชุมวิชาการ นายอุทัย นิปัจการสุนทร สาธารณสุขอ าเภอเมืองอุบลราชธานี ประธานกรรมการ นายอลงกต ตังคะวานิช สาธารณสุขอ าเภอน้ ายืน รองประธานกรรมการ นายเสถียร ปวงสุข ผู้ช่วยสาธารณสุขอ าเภอม่วงสามสิบ กรรมการ นายสากล สีทากุล ผู้ช่วยสาธารณสุขอ าเภอส าโรง กรรมการ ดร.กัญญารัตน์ กันยะกาญจน์ พยาบาลวิชาชีพช านาญการ กรรมการ ดร.ชนาธิป ศรีสุระ พยาบาลวิชาชีพช านาญการ กรรมการ นางบรรเทิง พลสวัสดิ์ พยาบาลวิชาชีพช านาญการ กรรมการ นางส าราญ พูลทอง พยาบาลวิชาชีพช านาญการ กรรมการ นายนพดล ศุภโกศล นักวิชาการสาธารณสุขช านาญการ กรรมการ นางสาวขนิษฐา หล้ามาชน นักวิชาการสาธารณสุขช านาญการ กรรมการ นางสุคนธา ไพเราะ นักวิชาการสาธารณสุขช านาญการ กรรมการ นายพัลลภ ไกยะวินิจ นักวิชาการสาธารณสุขช านาญการ กรรมการ นายกัมปนาท ศรีพูล นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรรมการ นางสาวสุวิมล สาระกาล นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรรมการ นายชนะชัย ญาวงศ์ นักวิชาการสาธารณสุขช านาญการ กรรมการ นางสาวดลนภา สุขประดิษฐ์ นักวิชาการสาธารณสุขช านาญการ กรรมการ นางสาวยุพา กุลบุตร นักวิชาการสาธารณสุขช านาญการ กรรมการ นางสาวสุพัตรา นามเดช นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ กรรมการ นางสาวยุภาพร คชพรม นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ กรรมการ นางสาวเบญจพรรณ พลสวัสดิ์ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ กรรมการ นางสาวพิชญสุดา เชิดสกุล นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรรมการ นางสาวกนกวรรณ สุขอุทัย พนักงานธุรการ กรรมการ นายสุวิทย์ชัย ทองกูล สาธารณสุขอ าเภอนาตาล กรรมการและเลขานุการ นายธีระยุทธ เผ่ากัณหา ผู้ช่วยสาธารณสุขอ าเภอดอนมดแดง กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ออกแบบปก: นายกัมปนาท ศรีพูล นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ สสอ.เมืองอุบลราชธานี นางสาวพิชญสุดา เชิดสกุล นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ สสอ.เมืองอุบลราชธานี


ค ค าน า การประชุมวิชาการชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประจ าปี 2566 มิติใหม่ของการประกอบวิชาชีพสาธารณสุขชุมชน ภายใต้บทบาท“นักสาธารณสุข” จัดขึ้นใน วันที่ 16-18 สิงหาคม พ.ศ. 2566 ณ โรงแรมเนาวาด้า คอนเวนชั่น จังหวัดอุบลราชธานี ผ่านพ้นไปอย่างราบรื่น และได้รับความร่วมมือจากเครือข่ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นอย่างดีคณะท างาน ในการจัดประชุมวิชาการชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือขอขอบพระคุณ ทุกท่านมา ณ โอกาสนี้ ในการนี้ทางคณะท างาน ฯ ได้พิจารณาแล้วว่าข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ ที่ได้จากการ จัดประชุมวิชาการในครั้งนี้ มีหลายประเด็นที่มีคุณค่าควรแก่การบันทึกไว้เพื่อเป็นประโยชน์ต่อ ผู้ที่เกี่ยวข้อง โดยการจัดท าสรุปผลการจัดประชุมวิชาการชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือสุดท้ายนี้ทางคณะท างานฯ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าสรุปผลการประชุมวิชาการฯ นี้จะเป็นประโยชน์แก่ทุกท่าน คณะท างานในการจัดประชุมวิชาการชมรมสาธารณสุข แห่งประเทศไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สิงหาคม 2566


ง สารจากนายกสมาคมวิชาชีพสาธารณสุข สมาคมวิชาชีพสาธารณสุข ร่วมกับ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดย คณะสาธารณสุขศาสตร์ ได้จัดการประชุมวิชาการชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประจ าปี 2566 “มิติใหม่ของการประกอบวิชาชีพสาธารณสุขชุมชน ภายใต้บทบาทนักสาธารณสุข” ใน วันที่ 16-18 สิงหาคม พ.ศ. 2566 ณ โรงแรมเนาวาด้า คอนเวนชั่น จังหวัดอุบลราชธานี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจในมิติใหม่ของการประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชนภายใต้ บทบาทของนักสาธารณสุขแก่ผู้เข้าร่วมประชุม 2) เพื่อให้เกิดแลกเปลี่ยน ระดมความคิดเห็นจาก ผู้เชี่ยวชาญ และผู้เกี่ยวข้องในการประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชนภายใต้บทบาทของนัก สาธารณสุขแก่ผู้เข้าร่วมประชุม และ 3) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมที่เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการ สาธารณสุขชุมชนได้รับหน่วยคะแนนสะสม สามารถน าไปประกอบการต่ออนุญาตใบประกอบวิชาชีพ การสาธารณสุขชุมชนได้นอกจากนั้น ยังเป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และประสบการณ์ทางการวิจัยและ สร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการ ตลอดจนพัฒนางานวิจัยไปสู่ชุมชนและสังคมต่อไป สมาคมวิชาชีพสาธารณสุข ขอขอบพระคุณ นายแพทย์สมฤกษ์ จึงสมาน ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 10 ที่ได้ให้เกียรติมาเป็นประธานในพิธีเปิดการประชุมวิชาการ ชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประจ าปี 2566 มิติใหม่ของการ ประกอบวิชาชีพสาธารณสุขชุมชน ภายใต้บทบาท“นักสาธารณสุข” รวมถึงผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านที่ให้ เกียรติบรรยายและร่วมอภิปราย และขอขอบคุณท่านผู้ทรงคุณวุฒิที่กรุณาพิจารณาและประเมิน บทความที่น าเสนอในการประกวดและน าเสนอผลงานวิชาการให้มีคุณภาพ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า การ จัดการประชุมในครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ต่อทุกท่านที่เข้าร่วมการประชุมวิชาการในการน าองค์ความรู้ และประสบการณ์ที่ได้รับ ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง องค์กร และสังคมต่อไป ขอขอบคุณ คณะกรรมการด าเนินการจัดงานทุกฝ่ายทุกฝ่ายที่มีส่วนร่วมในการวางแผนและด าเนินการ จัดงานในครั้งนี้ด้วยดี ท าให้การจัดประชุมวิชาการครั้งนี้ด าเนินการด้วยความเรียบร้อยและบรรลุ วัตถุประสงค์ทุกประการ (ดร.ชูวิทย์ ธานี) นายกสมาคมวิชาชีพสาธารณสุขชุมชน


จ สารบัญ หน้า ค าน า ข สารจากนายกสมาคมวิชาชีพสาธารณสุข ง สารบัญ จ สารบัญภาพ ฉ สารบัญตาราง ช โครงการประชุมวิชาการชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประจ าปี 2566 “มิติใหม่ของการประกอบวิชาชีพสาธารณสุขชุมชนภายใต้บทบาท นักสาธารณสุข” 1 สรุปการประชุมวิชาการชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประจ าปี 2566 “มิติใหม่ของการประกอบวิชาชีพสาธารณสุขชุมชนภายใต้บทบาท นักสาธารณสุข” 8 - ก าหนดการประชุม 8 - ค ากล่าวต้อนรับพิธีเปิด 11 - ค ากล่าวรายงาน 11 - ค ากล่าวเปิดประธาน 15 - ข้อมูลส าคัญของการบรรยายจากผู้ทรงคุณวุฒิ สรุปผลการประกวดและน าเสนอผลงานวิชาการ 17 สรุปประเด็นส าคัญและข้อเสนอแนะจากการประชุมวิชาการ 31 การประเมินผลการจัดประชุมวิชาการ 36 ภาคผนวก ภาคผนวก ก ภาพกิจกรรม ภาคผนวก ข ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ ภาคผนวก ค เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ


ฉ สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า 1 จ านวนและร้อยละของผู้ลงทะเบียน จ าแนกตามการเป็นสมาชิกสภาวิชาชีพ สาธารณสุข 4 2 จ านวนและร้อยละของผู้ลงทะเบียน จ าแนกตามการเป็นสมาชิกสภาวิชาชีพ สาธารณสุข 5 3 จ านวนของผู้ลงทะเบียน จ าแนกตามเขตสุขภาพและสังกัด 6 4 จ านวนและร้อยละผลงานวิชาการ จ าแนกตามประเภทผลงาน 17 สารบัญภาพ


ช ภาพที่ หน้า 1 จ านวนและร้อยละของผู้ลงทะเบียน จ าแนกตามการเป็นสมาชิกสภาวิชาชีพ สาธารณสุข 4 2 ร้อยละของผู้ลงทะเบียน จ าแนกตามการเป็นสมาชิกสภาวิชาชีพสาธารณสุข 5 3 ร้อยละผลงานวิชาการที่ได้รับการคัดเลือกให้น าเสนอ จ าแนกตามประเภทผลงาน 18 4 ร้อยละของผู้ตอบแบบประเมิน จ าแนกตามเพศ 36


1 โครงการประชุมวิชาการชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประจ าปี 2566 “มิติใหม่ของการประกอบวิชาชีพสาธารณสุขชุมชน ภายใต้บทบาทนักสาธารณสุข” วันที่ 16-18 สิงหาคม พ.ศ. 2566 ณ โรงแรมเนาวาด้า คอนเวนชั่น จังหวัดอุบลราชธานี ชื่อการประชุม : โครงการประชุมวิชาการชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประจ าปี 2566 หัวข้อหลัก : “มิติใหม่ของการประกอบวิชาชีพสาธารณสุขชุมชน ภายใต้บทบาทนักสาธารณสุข” วันที่ : วันที่ 16-18 สิงหาคม พ.ศ. 2566 หลักการและเหตุผล ก าลังคนด้านสุขภาพ (Human Resource for Health) เป็นทรัพยากรที่มีความส าคัญใน ระบบสุขภาพ เป็นปัจจัยแห่งความส าเร็จหรือความล้มเหลวของการด าเนินงานด้านสุขภาพ เพราะ เป็นทั้งผู้สร้างและผู้น าเทคโนโลยีด้านสุขภาพไปใช้อีกทั้งเป็นผู้บริหารจัดการระบบสุขภาพเพื่อให้เกิด สุขภาพที่ดีขึ้นในหมู่ประชาชน ดังนั้น ก าลังคนด้านสุขภาพจึงเป็นทรัพยากรที่ส าคัญในระบบสุขภาพ ซึ่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะต้องให้ความส าคัญในบทบาทและหน้าที่ในการดูแลสุขภาพแก่ประชาชน อย่างมีคุณภาพ ดังนั้น การจัดการระบบสุขภาพจึงจ าเป็นต้องมีก าลังคนที่เพียงพอ มีการกระจายอย่าง เท่าเทียม มีสัดส่วนที่เหมาะสม และมีก าลังคนที่มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานให้มี ประสิทธิภาพต่อไป อนึ่ง ในปัจจุบันนี้จะเห็นได้ว่าการดูแลสุขภาพของประชนให้มีสุขภาพที่ดีครอบคลุมทั้ง 4 มิติ ในด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และปัญญา ตามบริบทของพระราชบัญญัติสุขภาพ พ.ศ. 2550 โดย มุ่งเน้นการดูแลสุขภาพในระดับปฐมภูมิให้มีความเข้มแข็งที่ต้องอาศัยบุคลากรด้านสาธารณสุขที่มี ความรู้ความเข้าใจ และมีความสามารถในการจัดการระบบสุขภาพร่วมกับหน่วยงานและเครือข่าย สุขภาพต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน อาทิสถานบริการสาธารณสุขระดับทุติยภูมิและตติยภูมิ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชน เป็นต้น ซึ่งบุคลากรสาธารณสุข ดังกล่าวไม่ว่าจะเป็นนักวิชาการสาธารณสุข และเจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชน ที่สามารถจัดการงาน ส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมและป้องกันโรค ตลอดจนงานด้านอาชีวอนามัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม ให้กับประชาชนในชุมชน และให้เป็นไปตามมาตรฐานทางวิชาการและวิชาชีพที่ก าหนดไว้ด้วย ทั้งนี้ การด าเนินงานที่กล่าวมาข้างต้นนั้น จะมีการด าเนินงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน ด้วย ได้แก่การส่งเสริมสุขภาพและอนามัยชุมชน การป้องกันโรค ควบคุมโรค ที่ต้องอาศัยองค์ความรู้


2 ด้านระบาดวิทยา สถิติและการวิจัยทางด้านสาธารณสุข มีการด าเนินงานที่เกี่ยวกับการตรวจประเมิน และการบ าบัดโรคเบื้องต้น การดูแลให้ความช่วยเหลือผู้ป่วย การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การวางแผน ครอบครัว การตรวจประเมินอาการเจ็บป่วยและการช่วยเหลือผู้ป่วยเพื่อการส่งต่อ การด าเนินงาน ด้านอาชีวอนามัยและอนามัยสิ่งแวดล้อม ตลอดจนด้านการบริหารสาธารณสุขและการใช้กฎหมาย สาธารณสุข เป็นต้น ซึ่งเป็นไปตามพระราชบัญญัติวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน พ.ศ. 2556 จากการด าเนินงานตามมาตรฐานวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชนนี้จะต้องใช้บุคลากรที่ขึ้น ทะเบียนเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชนจากสภาการสาธารณสุขชุมชน ซึ่งสอดคล้องกับ การปรับเปลี่ยนต าแหน่งของส านักงานข้าราชการพลเรือน (ส านักงาน ก.พ.) ได้มีมติให้ก าหนด มาตรฐานก าหนดต าแหน่งเพิ่มใหม่ ประเภทวิชาการ สายงานสาธารณสุข ต าแหน่งนักสาธารณสุข ระดับปฏิบัติการ ระดับช านาญการ ระดับช านาญการพิเศษ ระดับเชี่ยวชาญ และระดับทรงคุณวุฒิซึ่ง นักสาธารณสุขจะต้องปฏิบัติงานที่ต้องใช้ความรู้ความสามารถทางวิชาการในการปฏิบัติงาน ซึ่งต้อง ใช้ผู้ประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชนที่กระท าต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมในชุมชนที่เกี่ยวกับการ ด าเนินงานตามวิชีพที่ได้กล่าวมาข้างต้น ดังนั้น คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ในฐานะสถาบันการศึกษาด้าน สาธารณสุขได้เล็งเห็นถึงความส าคัญของมิติใหม่ของการประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชนภายใต้ บทบาทของนักสาธารณสุข จึงได้ก าหนดให้มีโครงการประชุมวิชาการในความร่วมมือระหว่างคณะ สาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามกับกับชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ เรื่อง “มิติใหม่ของการประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชนภายใต้บทบาทของ นักสาธารณสุข” ขึ้น ทั้งนี้เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมและผู้ร่วมเสนอผลงานวิชาการที่เป็นสมาชิกสภา วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน และเป็นผู้ขึ้นทะเบียนผู้ประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน จะได้รับ หน่วยคะแนนสะสมจากสภาการสาธารณสุขชุมชน ซึ่งสามารถน าไปใช้ในการต่ออายุใบประกอบ วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชนได้ต่อไป วัตถุประสงค์: 1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในมิติใหม่ของการประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน ภายใต้บทบาทของนักสาธารณสุขแก่ผู้เข้าร่วมประชุม 2. เพื่อให้เกิดแลกเปลี่ยน ระดมความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญ และผู้เกี่ยวข้องในการประกอบ วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชนภายใต้บทบาทของนักสาธารณสุขแก่ผู้เข้าร่วมประชุม 3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมที่เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชนได้รับหน่วยคะแนน สะสม สามารถน าไปประกอบการต่ออนุญาตใบประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชนได้


3 กลุ่มเป้าหมาย : -กลุ่มเป้าหมายหลักของโครงการ คือ ผู้ประกอบวิชาชีพการสาธารณสุข ซึ่งเป็นบุคลากร สาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในภาครัฐและภาคเอกชน จ านวน 1,500 คน ระยะเวลาในการจัดโครงการ : -จัดประชุมวิชาการ จ านวน 3 วัน ในระหว่างวันที่16 – 18 สิงหาคม 2566 สถานที่ด าเนินโครงการ ณ ห้องประชุมโรงแรมเนวาด้า คอนเวนชั่น อ าเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี


4 สรุปการประชุมวิชาการชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประจ าปี 2566 “มิติใหม่ของการประกอบวิชาชีพสาธารณสุขชุมชน ภายใต้บทบาทนักสาธารณสุข” สรุปจ านวนผู้ลงทะเบียน 1. จ านวนผู้ลงทะเบียนจ าแนกตามการเป็นสมาชิกสภาวิชาชีพ จ านวนผู้ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมวิชาการชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทยภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ประจ าปี 2566“มิติใหม่ของการประกอบวิชาชีพสาธารณสุขชุมชนภายใต้บทบาทนัก สาธารณสุข” ทั้งหมด 1,369 คน เป็นสมาชิกสภาวิชาชีพฯ มีใบประกอบวิชาชีพ จ านวน 886 คน (ร้อยละ 64.72) เป็นสมาชิกสภาวิชาชีพฯ ไม่มีใบประกอบวิชาชีพ จ านวน 278 คน (ร้อยละ 20.31) และไม่เป็น สมาชิกสภาวิชาชีพฯ มี จ านวน 205 คน (ร้อยละ14.97) ดังตารางที่ 1และภาพที่ 1 ตารางที่1จ านวนและร้อยละของผู้ลงทะเบียน จ าแนกตามการเป็นสมาชิกสภาวิชาชีพสาธารณสุข การเป็นสมาชิกสภาวิชาชีพสาธารณสุข จ านวน ร้อยละ เป็นสมาชิกสภาวิชาชีพฯ มีใบประกอบวิชาชีพ 886 64.72 เป็นสมาชิกสภาวิชาชีพฯ ไม่มีใบประกอบวิชาชีพ 278 20.31 ไม่เป็นสมาชิกสภาวิชาชีพฯ 205 14.97 รวม 1,369 100.00 ภาพที่ 1 ร้อยละผู้ลงทะเบียน จ าแนกตามการเป็นสมาชิกสภาวิชาชีพฯ 64.72 20.31 14.97 ร้อยละผู้ลงทะเบียน จ าแนกตามการเป็นสมาชิกสภาวิชาชีพฯ สมาชิกมีใบประกอบวิชาชีพ สมาชิกไม่มีใบประกอบวิชาชีพ ไม่เป็นสมาชิก


5 2. จ านวนผู้ลงทะเบียนจ าแนกตามสังกัด จ านวนผู้ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมวิชาการชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทยภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ประจ าปี 2566“มิติใหม่ของการประกอบวิชาชีพสาธารณสุขชุมชนภายใต้บทบาทนัก สาธารณสุข” ทั้งหมด 1,369 คน จ าแนกเป็นบุคลากรสังกัดส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จ านวน 1,074 คน (ร้อยละ 78.45) สังกัด องค์การบริหารส่วนจังหวัด จ านวน 282 คน (ร้อยละ 20.60) สังกัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) อื่น จ านวน 11 คน (ร้อยละ 0.80) และผู้สนใจทั่วไป จ านวน 2 คน (ร้อยละ 0.15) ดังตารางที่ 2 และภาพที่ 2 ตารางที่2จ านวนและร้อยละของผู้ลงทะเบียน จ าแนกตามการเป็นสมาชิกสภาวิชาชีพสาธารณสุข สังกัด จ านวน ร้อยละ สังกัดส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 1,074 78.45 องค์การบริหารส่วนจังหวัด 282 20.60 สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) อื่น 11 0.80 ผู้สนใจทั่วไป 2 0.15 รวม 1,369 100.00 ภาพที่ 2 ร้อยละของผู้ลงทะเบียน จ าแนกตามการเป็นสมาชิกสภาวิชาชีพสาธารณสุข 0 10 20 30 40 50 60 70 80 78.45 20.6 0.8 0.15 ร้อยละของผู้ลงทะเบียน จ าแนกตามการเป็นสมาชิกสภาวิชาชีพสาธารณสุข สังกัด สป. สังกัด อบจ. สังกัด อปท.อื่น ผู้สนใจทัวไป


6 3. จ านวนผู้ลงทะเบียนจ าแนกตามเขตสุขภาพ จ านวนผู้ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมวิชาการชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทยภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ประจ าปี 2566“มิติใหม่ของการประกอบวิชาชีพสาธารณสุขชุมชนภายใต้บทบาทนัก สาธารณสุข” ทั้งหมด 1,369 คน จ าแนกตามเขตสุขภาพ พบว่า จ านวน 886 คน (ร้อยละ 64.72) เป็น สมาชิกสภาวิชาชีพฯ ไม่มีใบประกอบวิชาชีพ จ านวน 278 คน (ร้อยละ 20.31) และไม่เป็นสมาชิกสภา วิชาชีพฯ มี จ านวน 205 คน (ร้อยละ14.97) ดังตารางที่ 3 ตารางที่ 3 จ านวนของผู้ลงทะเบียน จ าแนกตามเขตสุขภาพและสังกัด เขตสุขภาพ จังหวัด สังกัด รวม สป. อบจ. อปท.อื่น ผู้สนใจทั่วไป 1 เชียงใหม่ 12 12 รวมเขต 1 12 12 3 ก าแพงเพชร 1 1 รวมเขต 3 1 1 4 ปทุมธานี 1 1 รวมเขต 4 1 1 5 นครปฐม 1 1 รวมเขต 5 1 1 6 สระแก้ว 7 7 รวมเขต 6 7 7 7 กาฬสินธ์ 34 14 1 49 ขอนแก่น 22 60 2 84 มหาสารคาม 24 15 1 40 ร้อยเอ็ด 33 71 2 106 รวมเขต 7 113 160 6 279


7 ตารางที่ 3 จ านวนของผู้ลงทะเบียน จ าแนกตามเขตสุขภาพและสังกัด (ต่อ) เขตสุขภาพ จังหวัด สังกัด รวม สป. อบจ. อปท.อื่น ผู้สนใจทั่วไป 8 นครพนม 74 5 79 บึงกาฬ 31 31 เลย 123 123 สกลนคร 6 9 2 17 หนองคาย 23 23 หนองบัวล าภู 3 2 5 อุดรธานี 43 43 รวมเขต 8 303 16 321 9 ชัยภูมิ 20 2 22 นครราชสีมา 75 1 76 บุรีรัมย์ 87 87 สุรินทร์ 101 101 รวมเขต 9 283 3 286 10 มุกดาหาร 11 21 32 ยโสธร 30 18 48 ศรีสะเกษ 77 30 2 109 อ านาจเจริญ 12 15 27 อุบลราชธานี 224 17 1 244 รวมเขต 10 354 101 406 12 สงขลา 1 1 รวมเขต 12 1,074 282 11 2 1,369


8 ก าหนดการโครงการประชุมวิชาการในความร่วมมือระหว่างคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามกับชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เรื่อง “มิติใหม่ของการประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชนภายใต้บทบาทของนักสาธารณสุข” วันที่16 – 18 สิงหาคม 2566 ณ ห้องประชุมโรงแรมเนวาด้า คอนเวนชั่น จังหวัดอุบลราชธานี ************************************************************************ วันพุธที่ 16 เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2566 เวลา กิจกรรม 08.30 น. ลงทะเบียนน าเสนอผลงานวิชาการ 08.30 -09.00 น. ชี้แจงรายละเอียดของการน าเสนอผลงานวิชาการ โดย ชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 09.00 - 12.00 น. การน าเสนอผลงานวิชาการ 12.00 -13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 12.45 - 13.00 น. ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมวิชาการเพื่อตรวจสอบการนับคะแนนวิชาชีพ การสาธารณสุขชุมชน โดย คณะสาธารณสุขศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 13.00 - 16.00 น. อภิปรายกลุ่ม เรื่อง “งานวิจัย นวัตกรรม ส าหรับผู้ประกอบวิชาชีพ สาธารณสุขชุมชน” ผู้ร่วมอภิปราย 1. รศ.ดร.สงครามชัยย์ลีทองดีศกุล คณะสาธารณสุขศาสตร์มหาวิทยาลัย มหาสารคาม 2. ดร.วิโรจน์เซมรัมย์หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ ส านักงาน สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี 3. ดร.กฤตย์ติวัฒน์ฉัตรทอง กรรมการสภาการสาธารณสุขชุมชน ผู้ด าเนินการอภิปราย นางสาวนิรุมล กมุทชาตินักวิชาการสาธารณสุขช านาญการ ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี 16.00 – 16.30 น. สรุป ซักถาม และข้อเสนอแนะ


9 ก าหนดการโครงการประชุมวิชาการ (ต่อ) วันพฤหัสบดี ที่ 17 เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2566 เวลา กิจกรรม 08.00 – 09.00 น. ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมวิชาการเพื่อตรวจสอบการนับคะแนนวิชาชีพการ สาธารณสุขชุมชน โดย คณะสาธารณสุขศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 09.00 -10.00 น. พิธีเปิดการประชุมวิชาการ โดย ปลัดกระทรวงสาธารณสุข กล่าวรายงานโดย นายช านาญ มีมูล ประธานชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กล่าวต้อนรับโดย ผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี 10.00 - 12.00 น. อภิปรายกลุ่ม เรื่อง “มาตรฐานที่พึงประสงค์ของนักสาธารณสุข ภายใต้การ ประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน” ผู้ร่วมอภิปราย 1. รศ.ดร.วรพจน์พรหมสัตยพรต คณะสาธารณสุขศาสตร์มหาวิทยาลัย มหาสารคาม 2. ดร.ชูวิทย์ธานีนายกสมาคมวิชาชีพสาธารณสุข 3. นายอเนก ทิมทับ เลขาธิการ สภาการสาธารณสุขชุมชน ผู้ด าเนินการอภิปราย ดร.วิชิต พุ่มจันทร์หัวหน้าฝุายสุขภาพภาคประชาชน สสจ.อุบลราชธานี 12.00 -13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 12.45 - 13.00 น. ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมวิชาการเพื่อตรวจสอบการนับคะแนนวิชาชีพการ สาธารณสุขชุมชน โดย คณะสาธารณสุขศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 13.00 – 16.00 น. อภิปรายกลุ่ม เรื่อง “บทบาทหน้าที่ของผู้ประกอบวิชาชีพการสาธารณสุข ชุมชนใน สสอ.” ผู้ร่วมอภิปราย 1. นายช านาญ มีมูล ประธานชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ 2. นายไพรัช จันทพันธ์ประธานชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย จังหวัด อุบลราชธานี 3. นายสิทธวีร์ทางามพรทวีวัฒน์ผู้อ านวยการกลุ่ม ส านักงานหลักประกันสุขภาพ แห่งชาติเขต 10 อุบลราชธานี ผู้ด าเนินการอภิปราย นายธีรวัฒน์วีระพันธ์สาธารณสุขอ าเภอเหล่าเสือโก้ก 16.00 – 16.30 น. สรุป ซักถาม และข้อเสนอแนะ


10 ก าหนดการโครงการประชุมวิชาการ (ต่อ) วันพฤหัสบดี ที่ 18 เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2566 เวลา กิจกรรม 08.00 – 09.00 น. ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมวิชาการเพื่อตรวจสอบการนับคะแนนวิชาชีพ การสาธารณสุขชุมชน โดย คณะสาธารณสุขศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 09.00 - 12.00 น. อภิปรายกลุ่ม เรื่อง “มาตรฐานของผู้ประกอบวิชาชีพการสาธารณสุข ชุมชนในระบบปฐมภูมิ” ผู้ร่วมอภิปราย 1. นายริชกีสาร๊ะ ผู้อ านวยการกลุ่ม ส านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 10 อุบลราชธานี 2. นายยศธน ทองมูล หัวหน้ากลุ่มงาน ส านักงานสาธารณสุขจังหวัด อุบลราชธานี 3. ดร.ชัยณรงค์สังข์จ่าง กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ผู้ด าเนินการอภิปราย 12.00 -13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 – 16.00 น. อภิปราย “การก าหนดทิศทางการด าเนินงานของชมรมสาธารณสุขแห่ง ประเทศไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ให้สอดคล้องกับทิศทางการกระจาย อ านาจ” ผู้ร่วมอภิปราย 1. ผู้แทนจากกระทรวงสาธารณสุข 2. ผู้แทนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการสุขภาพ 3. ผู้แทนจากชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผู้ด าเนินการอภิปราย ผู้แทนจากชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 16.00 – 16.30 น. สรุป ซักถาม และข้อเสนอแนะ เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ


11 ค ากล่าวต้อนรับพิธีเปิด การประชุมวิชาการในความร่วมมือระหว่างคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม กับชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ “มิติใหม่ของการประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน ภายใต้บทบาทของนักสาธารณสุข” ****************************************** กราบเรียน นายแพทย์สมฤกษ์ จึงสมาน ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 10 ประธานชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แขกผู้มีเกียรติ และผู้เข้าร่วมประชุมทุกท่าน จังหวัดอุบลราชธานีมีความยินดีอย่างยิ่งที่ได้เกียรติจากชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย ใน การจัดประชุมวิชาการของชมรมฯ และมีโอกาสอันดีที่ได้ต้อนรับทุกท่านที่มาร่วมงานประชุมวิชาการ ชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประจ าปี 2566 ในครั้งนี้ จังหวัดอุบลราชธานีเป็นจังหวัดขนาดใหญ่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบไปด้วย 25 อ าเภอ ประชากร 1,869,806 คน จังหวัดอุบลราชธานีเป็นจังหวัดที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน ติด แม่น้ าโขง มีวัฒนธรรมประเพณีโดดเด่น เป็นจังหวัดแรกที่ได้เห็นพระอาทิตย์ขึ้นก่อนใครในสยาม มี หลักฐานทั้งประวัติศาสตร์และโบราณคดีที่เก่าแก่ อาทิ ภาพเขียนสีที่อุทยานแห่งชาติผาแต้ม ประเพณี ที่ขึ้นชื่อของจังหวัดนี้คือ ประเพณี แห่เทียนพรรษา ซึ่งจัดขึ้นในห้วงเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา ผู้คน ชาวอุบลราชธานีก็สุภาพเรียบร้อย มีความเอื้อเฟื้อ และมีความเป็นมิตร ท าให้มีคนอยากมาเยือนเมือง อุบลราชธานีจ านวนมาก อีกทั้งยังมีแหล่งท่องเที่ยวที่ส าคัญหลายแห่ง ไม่ว่าจะเป็น วัดในตัวเมือง อุบลราชธานี สถานที่ท่องเที่ยวในเขตอ าเภอโขงเจียม อ าเภอเขมราฐ และอีกหลายๆอ าเภอ และยังมี พื้นที่ส่วนหนึ่งติดเขตชายแดนประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว(สปป.ลาว) มีช่อง ทางเข้าออกประเทศที่ด่านศุลกากรช่องเม็ก อ าเภอสิรินธร ในโอกาสที่ท่านมาเยือนจังหวัดอุบลราชธานีในครั้งนี้ อยากขอเชิญชวนทุกท่านท่องเที่ยว พักผ่อนต่อในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี หลังจากเสร็จสิ้นจากการประชุมวิชาการแล้วหรือท่านใดอยาก ท่องเที่ยวต่อที่ต่างประเทศ เราก็มีด่านศุลกากรช่องเม็ก อ าเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี สามารถ เชื่อมต่อถึงแขวงจ าปาสักได้ เราคาดหวังเป็นอย่างยิ่งว่าในการมาเยือนจังหวัดอุบลราชธานีครั้งนี้จะ ได้รับความประทับใจจากทุกท่าน ขอให้ทุกท่านมีความสุขตลอดระยะเวลา ๓ วัน ในการประชุมวิชาการที่จังหวัดอุบลราชธานี และท่องเที่ยวต่อวันหยุดยาวต่อเนื่องที่จะถึงนี้ต่อไป เราหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะได้ต้อนรับท่านอีกครั้ง ในคราวต่อไป ขอเชิญทุกท่านมาเที่ยวอุบลราชธานี อีกครั้งครับ *********************************************


12 ค ำกล่ำวรำยงำน การจัดประชุมวิชาการในความร่วมมือระหว่างคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม กับชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ “มิติใหม่ของการประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชนภายใต้บทบาทของนักสาธารณสุข” โดย นายช านาญ มีมูล ประธานชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ.2566 ณ โรงแรมเนวาด้า คอนเวนชั่น อ าเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี --------------------------------------------------------------------------------------------------------- เรียน นายแพทย์สมฤกษ์ จึงสมาน ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 10 กระผม นายช านาญ มีมูล ประธานชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในนามผู้จัดการประชุมและคณะผู้ร่วมจัดการประชุม รู้สึกเป็นเกียรติและขอขอบพระคุณเป็นอย่างยิ่ง ที่ท่านนายแพทย์โอภาส การย์กวินพงศ์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรุณามาเป็นประธานในพิธีเปิด การประชุมวิชาการในความร่วมมือระหว่างคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามกับ ชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ “มิติใหม่ของการประกอบวิชาชีพการ สาธารณสุขชุมชนภายใต้บทบาทของนักสาธารณสุข” ในวันนี้ ในปัจจุบันจะเห็นได้ว่าการดูแลสุขภาพของประชาชนให้มีสุขภาพดีครอบคลุมทั้ง 4 มิติ ใน ด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และปัญญา โดยมุ่งเน้นการดูแลสุขภาพในระดับปฐมภูมิให้มีความเข้มแข็ง โดยต้องอาศัยบุคลากรด้านสาธารณสุขที่มีความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถในการจัดการระบบ สุขภาพร่วมกับหน่วยงานและเครือข่ายสุขภาพต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ซึ่งการด าเนินงานดังกล่าว ข้างต้นนั้น จะมีการด าเนินงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน ได้แก่ การส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยชุมชน การป้องกันโรค ควบคุม ที่ต้องอาศัยองค์ความรู้ด้านระบาดวิทยา สถิติและการวิจัย ทางด้านสาธารณสุข การตรวจประเมินและการบ าบัดโรคเบื้องต้น การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การ วางแผนครอบครัว การตรวจประเมินอาการและการช่วยเหลือผู้ป่วยเพื่อการส่งต่อ การด าเนินงาน ด้านอาชีวอนามัยและอนามัยสิ่งแวดล้อม ตลอดจนด้านการบริหารสาธารณสุขและการใช้กฎหมาย สาธารณสุข เป็นต้น ซึ่งเป็นไปตามพระราชบัญญัติวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน พ.ศ.2556 จากการ ด าเนินงานตามมาตรฐานวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน บุคลากรที่ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ การสาธารณสุขชุมชนจากสภาการสาธารณสุขชุมชน จะต้องมีความรู้ความสามารถตามมาตรฐาน วิชาชีพ ชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร่วมกับมหาวิทยาลัย มหาสารคามจึงได้ก าหนดให้มีการจัดประชุมวิชาการในความร่วมมือระหว่างคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามกับชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ“มิติใหม่


13 ของการประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชนภายใต้บทบาทของนักสาธารณสุข” ขึ้น ระหว่างวันที่ 16-18 สิงหาคม พ.ศ.2566 ณ โรงแรมเนวาด้า คอนเวนชั่น อ าเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี โดยมี วัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจในมิติใหม่ของการประกอบวิชาชีพการสาธารณสุข ชุมชนภายใต้บทบาทของนักสาธารณสุข 2. เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยน ระดมความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญ และผู้เกี่ยวข้องในการ ประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชนภายใต้บทบาทของนักสาธารณสุข 3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมที่เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชนได้รับหน่วยคะแนน สะสม สามารถน าไปประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชนได้ กลุ่มเป้าหมายในการจัดประชุมครั้งนี้ คือ ผู้ประกอบวิชาชีพการสาธารณสุข ซึ่งเป็นบุคลากร สาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในภาครัฐและเอกชน จ านวน 1,500 คน ในโอกาสนี้ กระผมขอเรียนเชิญนายแพทย์สมฤกษ์ จึงสมาน ผู้ตรวจราชการกระทรวง สาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 10 ประธานในพิธี มอบโล่ประกาศเกียรติคุณ การประกวดส านักงาน สาธารณสุขอ าเภอดีเด่น และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลดีเด่น ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และระดับเขตสุขภาพ ตามล าดับ ดังนี้ 1. ส านักงานสาธารณสุขอ าเภอดีเด่น ระดับเขต เขตสุขภาพที่ 7 ได้แก่ ส านักงานสาธารณสุข อ าเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด 2. ส านักงานสาธารณสุขอ าเภอดีเด่น ระดับเขต เขตสุขภาพที่ 8 ได้แก่ ส านักงานสาธารณสุข อ าเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม 3. ส านักงานสาธารณสุขอ าเภอดีเด่น ระดับเขต เขตสุขภาพที่ 9 ได้แก่ ส านักงานสาธารณสุข อ าเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ 4. ส านักงานสาธารณสุขอ าเภอดีเด่น ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ ส านักงาน สาธารณสุขอ าเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี 5. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลดีเด่น ระดับเขต เขตสุขภาพที่ 7 ได้แก่ โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต าบลหนองแวง อ าเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม 6. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลดีเด่น ระดับเขต เขตสุขภาพที่ 8 ได้แก่ โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต าบลนาสวรรค์อ าเภอเมือง จังหวัดบึงกาฬ 7. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลดีเด่น ระดับเขต เขตสุขภาพที่ 9 ได้แก่ โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต าบลบ้านจอม อ าเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ 8. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลดีเด่น ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต าบลนาเวียง อ าเภอปรางกู่ จังหวัดศรีสะเกษ


14 ขอบพระคุณท่านประธานเป็นอย่างสูงที่ได้ให้เกียรติมอบโล่ประกาศเกียรติคุณ การประกวด ส านักงานสาธารณสุขอ าเภอดีเด่น และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลดีเด่น ระดับภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ และระดับเขตสุขภาพ ในครั้งนี้ครับ ล าดับต่อไปขอเรียนเชิญท่านประธาน กล่าวเปิดการจัดประชุมวิชาการในความร่วมมือระหว่าง คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม กับชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ “มิติใหม่ของการประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชนภายใต้บทบาทของ นักสาธารณสุข”ขอเรียนเชิญครับ


15 ค ากล่าวเปิดประธาน การจัดประชุมวิชาการในความร่วมมือระหว่างคณะสาธารณสุขศาสตร์มหาวิทยาลัย มหาสารคาม กับชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ “มิติใหม่ของการประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน ภายใต้บทบาท ของนักสาธารณสุข ประจ าปี 2566” โดย นายแพทย์สมฤกษ์ จึงสมาน ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 10 วันที่ 17 สิงหาคม 2566 ณ โรงแรมเนวาด้า คอนเวนชั่น อ าเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี .......................................................................................................................... ท่านผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี ท่าน ผู้บริหาร ประธานชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย ประธานและคณะกรรมการชมรมสาธารณสุข แห่งประเทศไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผู้เข้าร่วมประชุมและผู้มีเกียรติทุกท่าน กระผมมีความยินดีและเป็นเกียรติอย่างยิ่ง ที่ได้มาเป็นประธานในพิธีเปิดการประชุมวิชาการ ชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในความร่วมมือระหว่างคณะสาธารณสุข ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม กับชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ “มิติใหม่ของการประกอบวีชาชีพการสาธารณสุขชุมชนภายใต้บทบาทของนักสาธารณสุข ประจ าปี 2566” ในวันนี้ จากการกล่าวรายงานของประธานชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้รับทราบวัตถุประสงค์ของการจัดประชุมในครั้งนี้ เป็นการจัดประชุมระดับภาค ซึ่งในปัจจุบันนี้จะ เห็นได้ว่าการดูแลสุขภาพของประชาชนให้มีสุขภาพที่ดี ครอบคลุมทั้ง 4 มิติ ในด้าน ร่างกาย จิตใจ สังคม และปัญญา ตามบริบทของพระราชบัญญัติสุขภาพ พ.ศ.2550 โดยมุ่งเน้นการดูแลสุขภาพใน ระดับปฐมภูมิให้มีความเข้มแข็ง ที่ต้องอาศัยบุคลากรด้านสาธารณสุขที่มีความรู้ ความเข้าใจ และมี ความสามารถในการจัดการระบบสุขภาพ ร่วมกับหน่วยงานและเครือข่ายสุขภาพต่างๆ ทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน อาทิ สถานบริการสาธารณสุขระดับทุติยภูมิ และตติยภูมิ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชน เป็น ซึ่งบุคลากรสาธารณสุขไม่ว่าจะเป็นนักวิชาการสาธารณสุข และเจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชน ที่สามารถจัดการงานส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมและป้องกันโรค ตลอดจนงานด้านอาชีวอนามัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม ให้กับประชาชนในชุมชน และให้เป็นไปตาม


16 พระราชบัญญัติวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน พ.ศ.2556 จากการด าเนินงานตามมาตรฐานวิชาชีพ การสาธารณสุขชุมชนนี้ จะต้องใช้บุคลากรที่ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน จากสภาการสาธารณสุขชุมชน ซึ่งสอดคล้องกับการปรับเปลี่ยน ต าแหน่งของส านักงานข้าราชการพล เรือน(ส านักงาน ก.พ.) ได้มีมีมติให้ก าหนดมาตรฐาน ก าหนดต าแหน่งเพิ่มใหม่ ประเภทวิชาการสาย งานสาธารณสุข ต าแหน่งนักสาธารณสุข ซึ่งนักสาธารณสุขจะต้องปฏิบัติงานที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการปฏิบัติงาน ซึ่งต้องใช้ผู้ประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชนที่ กระท าต่อมนุษย์ และสิ่งแวดล้อมชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการด าเนินงาน ตามวิชาชีพที่ได้กล่าวมาข้างต้น ...............................................กรุณากล่าวให้โอวาทตามเห็นสมควร.................................... สุดท้ายนี้ กระผมขอขอบคุณผู้บริหาร ท่านวิทยากร ประธานและคณะกรรมการชมรม สาธารณสุขแห่งประเทศไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คณะกรรมการจัดการประชุมทุกท่าน กระผม ขออวยพรให้การจัดประชุมในครั้งนี้ ด าเนินงานลุล่วงไปด้วยความเรียบร้อย และบรรลุผลส าเร็จตาม เป้าหมาย ตรงตามวัตถุประสงค์ ของการจัดการประชุมทุกประการ และขอให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้ น าเอาองค์ความรู้ที่ได้รับในครั้งนี้ ไปใช้ในการปฏิบัติงาน และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดไป บัดนี้ได้เวลาอันสมควรแล้ว กระผมขอเปิดกระประชุมวิชาการในความร่วมมือระหว่างคณะ สาธารณสุขศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม กับชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ “มิติใหม่ของการประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชนภายใต้บทบาทของนัก สาธารณสุข” ในงานประชุมวิชาการชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประจ าปี 2566 ขอบคุณครับ................


17 สรุปผลการประกวดผลงานวิชาการ ในการประชุมวิชาการชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในวันที่ 16 สิงหาคม 2566 ณ โรงแรมเนวาด้า คอนเวนชัน จังหวัดอุบลราชธานี ผลงานวิชาการที่ผ่านการคัดเลือกให้น าเสนอในการประชุมวิชาการชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศ ไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในวันที่ 16 สิงหาคม 2566 ณ โรงแรมเนวาด้า คอนเวนชัน จังหวัด อุบลราชธานีจ าแนกเป็น 5 ประเภท ประกอบด้วย 1) ผลงานวิจัยประกวดน าเสนอด้วยวาจา (Research : Oral Presentation) จ านวน 11 เรื่อง 2) ผลงานวิจัยประกวดน าเสนอด้วยโปสเตอร์ (Research : Poster Presentation) จ านวน 11 เรื่อง 3) ประเภท R2R (Routine to Research) ประกวด น าเสนอแบบโปสเตอร์ (Routine to Research : Poster Presentation) จ านวน 33 เรื่อง 4) นวัตกรรมประกวดน าเสนอแบบโปสเตอร์ (Innovation : Poster Presentation) จ านวน 25 เรื่อง 5) ผลงานวิจัยน าเสนอด้วยวาจา (Research : Oral Presentation) (เพื่อความก้าวหน้า) จ านวน 5 เรื่อง รวมผลงานที่เข้าร่วมน าเสนอครั้งนี้ จ านวน 85เรื่องดังตารางที่ 4และ ภาพที่ 3 ตารางที่4จ านวนและร้อยละผลงานวิชาการ จ าแนกตามประเภทผลงาน ประเภทผลงานวิชาการ ผลงานวิชาการ จ านวน ร้อยละ 1. ผลงานวิจัยประกวดน าเสนอด้วยวาจา (Research : Oral Presentation) 11 12.94 2. ผลงานวิจัยประกวดน าเสนอด้วยโปสเตอร์ (Research : Poster Presentation) 11 12.94 3. ประเภท R2R (Routine to Research) ประกวดน าเสนอแบบโปสเตอร์ (Routine to Research : Poster Presentation) 33 38.82 4. นวัตกรรมประกวดน าเสนอแบบโปสเตอร์ (Innovation : Poster Presentation) 25 29.41 5. ผลงานวิจัยน าเสนอด้วยวาจา (Research : Oral Presentation) (เพื่อความก้าวหน้า) 5 5.88 รวม 85 100.00


18 ภาพที่ 3ร้อยละผลงานวิชาการที่ได้รับการคัดเลือกให้น าเสนอ จ าแนกตามประเภทผลงาน จากตารางที่ 4 และภาพที่ 3 พบว่า ผลงานวิชาการที่ได้รับการคัดเลือกให้น าเสนอในการประชุม วิชาการ จ าแนกเป็น 5 ประเภท จ านวนทั้งหมด85 เรื่อง ประกอบด้วย 1) ผลงานวิจัยประกวดน าเสนอด้วย วาจา (Research : Oral Presentation) จ านวน 11 เรื่อง (ร้อยละ 12.94) 2) ผลงานวิจัยประกวดน าเสนอ ด้วยโปสเตอร์ (Research : Poster Presentation) จ านวน 11 เรื่อง (ร้อยละ 12.94) 3) ประเภท R2R (Routine to Research) ประกวดน าเสนอแบบโปสเตอร์ (Routine to Research : Poster Presentation) จ านวน 33 เรื่อง (ร้อยละ 38.82) 4) นวัตกรรมประกวดน าเสนอแบบโปสเตอร์ (Innovation : Poster Presentation) จ านวน 25 เรื่อง (ร้อยละ 29.41) 5) ผลงานวิจัยน าเสนอด้วยวาจา (Research : Oral Presentation) (เพื่อความก้าวหน้า) จ านวน 5 เรื่อง (ร้อยละ 5.88) 0 5 10 15 20 25 30 35 40 12.94% 12.94% 38.82% 29.41% 5.88%


19 ผลการประกวดและน าเสนอผลงานวิชาการ ประเภทผลงานวิจัยน าเสนอด้วยวาจา (Research : Oral Presentation) 1. รางวัลชนะเลิศ เงินรางวัล จ านวน 4,000 บาท พร้อมเกียรติบัตร ได้แก่ นางอุไรวรรณ ฐิติวัฒนากูล ชื่อผลงาน : ผลของโปรแกรมการปูองกันนักสูบบุหรี่อิเล็กทรอนิกส์หน้าใหม่ในนักเรียนชั้น มัธยมศึกษา อ าเภอนาจะหลวย จังหวัดอุบลราชธานี 2. รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 1 เงินรางวัล จ านวน 3,000 บาท พร้อมเกียรติบัตร ได้แก่ นายธนนัฐ ภูมินา ชื่อผลงาน : การศึกษาประสิทธิภาพของนวัตกรรม “โดมิโนช่วยคิดพิชิตสมองเสื่อม” ในกลุ่ม ผู้สูงอายุ ในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านหนองหว้าเฒ่า ต าบลหนองบัว อ าเภอพยัคฆภูมิพิสัย จังหวัดมหาสารคาม 3. รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 2 เงินรางวัล จ านวน 2,000 บาท พร้อมเกียรติบัตร ได้แก่ นายธวัชชัย ค าป้อง ชื่อผลงาน : การพัฒนารูปแบบการปูองกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ของเยาวชนในโรงเรียน ผ่านกลไกศูนย์ปฏิบัติการความปลอดภัยทางถนน อ าเภอหนองเรือ จังหวัด ขอนแก่น ประเภทผลงานวิจัยน าเสนอด้วยโปสเตอร์ (Research : Poster Presentation) 1.รางวัลชนะเลิศ เงินรางวัล จ านวน 4,000 บาท พร้อมเกียรติบัตร ได้แก่ นางสาวภรณ์ทิพย์ เกียรติธนบดี ชื่อผลงาน : ผลของการฟื้นฟูสมรรถภาพทางกายด้วยการฝึกกิจกรรมแบบเฉพาะเจาะจง แบบเป็นวงจร (Task-oriented circuit training) ต่อความสามารถในการเดินและการทรงตัวใน ผู้ปุวยโรคหลอดเลือดสมอง พื้นที่ต าบลบ้านบัว อ าเภอเมืองบุรีรัมย์จังหวัดบุรีรัมย์ 2. รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 1 เงินรางวัล จ านวน 3,000 บาท พร้อมเกียรติบัตร ได้แก่ นายเสกสิทธิ์ บุญพร้อม ชื่อผลงาน : ความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการปูองกันตนเอง ในผู้สัมผัสร่วมบ้านผู้ปุวยวัณโรค อ าเภอเขาฉกรรจ์ จังหวัดสระแก้ว


20 ประเภทผลงานวิจัยน าเสนอด้วยโปสเตอร์ (Research : Poster Presentation) (ต่อ) 3. รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 2 เงินรางวัล จ านวน 2,000 บาท พร้อมเกียรติบัตร ได้แก่ นายสมชาย หาริกะ , นางสาววารินทร์ ภูดรม่วง , นางสาวสุกานดา ฟองเมือง และ นางพรพิไล วรรณสัมผัส ชื่อผลงาน : การพัฒนากระบวนการขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพต าบล ในประเด็นการ ส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก พื้นที่ศึกษาต าบลเชียงเพ็ง อ าเภอปุาติ้ว จังหวัดยโสธร ประเภทผลงาน R2R น าเสนอด้วยโปสเตอร์ (R2R : Poster Presentation) 1. รางวัลชนะเลิศ เงินรางวัล จ านวน 3,500 บาท พร้อมเกียรติบัตร ได้แก่ นายกฤษณะ บัวเขียว , นางวาริศิลป์ บัวเขียว และนายชัชชาย เพชรพิมพ์ ชื่อผลงาน : การพัฒนาระบบการประเมินผลงานตามตัวชี้วัด โดยใช้รูปแบบน าเสนอด้วย Data Visualization บนแพลตฟอร์ม Looker Studio ส านักงานสาธารณสุขอ าเภอเมือง อุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี 2. รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 1 เงินรางวัล จ านวน 2,500 บาท พร้อมเกียรติบัตร ได้แก่ นายวัชระ เกษทองมา ชื่อผลงาน : การพัฒนารูปแบบการให้บริการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลหนอง พลวงมะนาว อ าเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 3. รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 2 เงินรางวัล จ านวน 2,000 บาท พร้อมเกียรติบัตร ได้แก่ นายศตวรรษ ศรีสมบัติ ชื่อผลงาน : การพัฒนารูปแบบการด าเนินงานทันตสาธารณสุขในสถานการณ์ถ่ายโอน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล สู่องค์การบริหารส่วนจังหวัด เขตอ าเภอวารินช าราบ จังหวัด อุบลราชธานี 4. รางวัลชมเชย เงินรางวัล จ านวน 1,000 บาท พร้อมเกียรติบัตร ได้แก่ นายชัชชาย เพชรพิมพ์ และนายกฤษณะ บัวเขียว ชื่อผลงาน : การพัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขสังกัด สสอ.เมืองอุบลราชธานีในการ ผลิตสื่อความรู้ด้านสุขภาพด้วยการท าวิดีทัศน์ 5. รางวัลชมเชย เงินรางวัล จ านวน 1,000 บาท พร้อมเกียรติบัตร ได้แก่ นางสาวพิไลพรรณ จันทประสาร ชื่อผลงาน : การพัฒนาระบบการปูองกันการเกิด Medication Error งานบริการเภสัช กรรมผู้ปุวยใน ด้วยระบบ IPD Paperless โรงพยาบาลลืออ านาจ จังหวัดอ านาจเจริญ


21 ประเภทผลงานนวัตกรรมน าเสนอด้วยโปสเตอร์ (Innovation : Poster Presentation) 1. รางวัลชนะเลิศ เงินรางวัล จ านวน 3,500 บาท พร้อมเกียรติบัตร ได้แก่ นายธนนัฐ ภูมินา ชื่อผลงาน : โดมิโนช่วยคิดพิชิตสมองเสื่อม 2. รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 1 เงินรางวัล จ านวน 2,500 บาท พร้อมเกียรติบัตร ได้แก่ นายทวีวัฒน์ ภัทรวีรโชติสกุล ชื่อผลงาน : “พิกัดจุด หยุดไข้เลือดออก” 3. รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 2 เงินรางวัล จ านวน 2,000 บาท พร้อมเกียรติบัตร ได้แก่ อริศรา พนมรัตน์รอกร่วมใจ ชื่อผลงาน : รอกร่วมใจ เคลื่อนที่ขยับ ADL ผู้ปุวย Stroke 4. รางวัลชมเชย เงินรางวัล จ านวน 1,000 บาท พร้อมเกียรติบัตร ได้แก่ นางเสาวนีย์ บุตรวงษ์ ชื่อผลงาน : ขิงหมักเจ็ดสหายคลายปวดข้อ 5. รางวัลชมเชย เงินรางวัล จ านวน 1,000 บาท พร้อมเกียรติบัตร ได้แก่ ผศ.สุรัตน์ หารวย และนายสุวัฒน์ พิมพะบุตร ชื่อผลงาน : ไซดักยุง นวัตกรรมเพื่อสังคม ประกาศผลการน าเสนอผลงานวิจัย Oral Presentation (เพื่อความก้าวหน้า) 1. นายสุวิชัย ทองกูล สาธารณสุขอ าเภอนาตาล หน่วยงาน ส านักงานสาธารณสุขอ าเภอนาตาล จังหวัดอุบลราชธานี ชื่อผลงาน รูปแบบการเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อปูองกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ส าหรับประชาชนอ าเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี ผลการประเมิน : ผ่าน 2. นายสันติ ศรัทธาพันธ์ สาธารณสุขอ าเภอน้ าขุ่น หน่วยงาน ส านักงานสาธารณสุขอ าเภอน้ าขุ่น จังหวัดอุบลราชธานี ชื่อผลงาน การพัฒนารูปแบบการปูองกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน อ าเภอ พิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ผลการประเมิน : ผ่าน


22 ประกาศผลการน าเสนอผลงานวิจัย Oral Presentation (เพื่อความก้าวหน้า) (ต่อ) 3. นายประจักษ์ สุพรหม สาธารณสุขอ าเภอนาจะหลวย หน่วยงาน ส านักงานสาธารณสุขอ าเภอ นาจะหลวย จังหวัดอุบลราชธานี ชื่อผลงาน ความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมการสูบบุหรี่ไฟฟูาในนักเรียนมัธยมศึกษา อ าเภอน้ ายืน จังหวัดอุบลราชธานี ผลการประเมิน : ผ่าน 4.นายวานิช สายยืน สาธารณสุขอ าเภอพิบูลมังสาหาร และนายชนะชัย ญาวงศ์ นักวิชาการ สาธารณสุขช านาญการ (ผู้น าเสนอ) หน่วยงาน ส านักงานสาธารรสุขอ าเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัด อุบลราชธานี ชื่อผลงาน การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้ดูแลผู้สูงอายุทีมีภาวะพึ่งพิง อ าเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี 5. นางราตรีช่วยสุข พยาบาลวิชาชีพช านาญการ และนายสุพล การกล้า พยาบาลวิชาชีพช านาญการ พิเศษ หน่วยงาน โรงพยาบาลตระการพืชผล ชื่อผลงาน การพัฒนาแนวทางการเฝูาระวังและปูองกันภาวะคุกคามต่อสมรรถภาพการมองเห็นใน เจ้าหน้าที่กลุ่มเสี่ยงด้วยกระบวนการพยาบาลโรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่งใน จังหวัดอุบลราชธานี ผลการประเมิน : ผ่าน


23


24


25


26


27 ข้อมูลส าคัญของการบรรยายจากผู้ทรงคุณวุฒิ


28 บทบาทหน้าที่ของผู้ประกอบ วิชาชีพสาธารณสุขชุมชน ในส านักงานสาธารณสุขอ าเภอ โครงสร้างและบทบาทหน้าที่ส านักงาน สาธารณสุขอ าเภอ ร่างอัตราก าลังส านักงานสาธารณสุขอ าเภอ พระราชบัญญัติวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน พ.ศ.2556 ข้อบังคับสภาการสาธารณสุขชุมชน จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพการสาธารณสุข นายช านาญ มีมูล ประธานชมรมสาธารณสุขแห่ง ประเทศไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ดร.ชูวิทย์ ธานี สาธารณสุขอ าเภอเขื่องใน มาตรฐานที่พึงประสงค์ของ นักสาธารณสุขภายใต้การ ประกอบวิชาชีพการสาธารณสุข สมาคมวิชาชีพการสาธารณสุข คือใคร วัตถุประสงค์ของสมาคมวิชาชีพสาธารณสุข สมาคมวิชาชีพสาธารณสุข กับ พ.ร.บ. วิชาชีพการสาธารณสุข องค์ประกอบวิชาชีพ องค์ประกอบสภาการสาธารณสุขชุมชน


29 นายไพรัช จันทพันธ์ ประธานชมรมสาธารณสุขแห่ง ประเทศไทย จังหวัดอุบลราชธานี บทบาทหน้าที่ของผู้ประกอบ วิชาชีพสาธารณสุขชุมชน ในส านักงานสาธารณสุขอ าเภอ วิวัฒนาการระบบสาธารณสุขไทย บทบาทหน้าที่ส านักงานสาธารณสุขอ าเภอ (ตามกฎกระทรวงฯ พ.ศ.2560) ร่างอัตราก าลังส านักงานสาธารณสุขอ าเภอ บทบาทนักสาธารณสุข บทบาทนักสาธารณสุขในโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต าบล ดร.วิโรจน์ เซมรัมย์ หัวหน๎างานควบคุมโรคติดตํอ ส านักงานสาธารณสุข จังหวัดอุบลราชธานี แนวทางพัฒนางานประจ า สู่งานวิจัยอย่างมืออาชีพ แนวทางพัฒนางานประจ าสูํงานวิจัย อยํางมืออาชีพ นักสาธารณสุขสูํงานวิชาการ วิชาการ ก๎าวหน๎า ก๎าวไกล ว2.


30 มุมมองบทบาทของผู้ประกอบ วิชาชีพสาธารณสุขชุมชน ในส านักงานสาธารณสุขอ าเภอ พัฒนาการระบบสาธารณสุขไทย กลไกการประสานงานภายใต๎การถํายโอน ภารกิจ โครงสร๎าง บทบาท ภารกิจ ส านักงาน สาธารณสุขอ าเภอ พ.ร.บ.ระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ.2542 บทบาท สปสช.เขต กับการสนับสนุนการ นายสิทธวีร์ พรทวีวัฒน์ ผู้อ านวยการกลุ่มสนับสนุนองค์กร สปสช. เขต 10 จังหวัดอุบลราชธานี นายริซกี สาร๊ะ เลขาธิการชมรมนักวิชาการสาธารณสุข มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพ การสาธารณสุขชุมชน ในระบบปฐมภูมิ นักสาธารณสุข แตกต่างจากนักวิชาการ สาธารณสุขอย่างไร จากสุขศาลา สู่สถานีอนามัย และ รพ.สต. ทบทวนบทบาทภารกิจในสายงานวิชาการ สาธารณสุขภายใต้ พ.ร.บ.วิชาชีพการ สาธารณสุข พ.ศ.2556 ขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบต าแหน่ง นักสาธารณสุข


31 สรุปประเด็นส าคัญและข้อเสนอแนะจากการประชุมวิชาการ บทบาทหน้าที่ของนักสาธารณสุข 1. นักสาธารณสุข เป็นบุคคลที่ท าหน๎าที่และมีบทบาทในดูแลสุขภาพประชาชนด๎านรํางกาย จิตใจ สังคม และปัญญา ภายใต๎กฎหมายที่เกี่ยวข๎อง และพระราชบัญญัติวิชาชีพการสาธารณสุข ชุมชน พ.ศ. 2556 2. นักสาธารณสุข มีบทบาทหน๎าที่การท างานรํวมกับวิชาชีพอื่นตามกฎหมาย ภายใต๎ความ รํวมมือ และเครื่องมือที่จะท าให๎งานส าเร็จโดยการใช๎หลักการสาธารณสุข (Public Health) ซึ่งต๎อง อาศัยศาสตร์และศิลป์ องค์ความรู๎ในการดูแลสุขภาพ การจัดระบบสุขภาพ การสร๎างเสริมสุขภาพ (Health Promotion) การป้องกันโรค (Disease Promotion) และการมีสํวนรํวม (Participation) 3. นักสาธารณสุข มีบทบาทหน๎าที่ตามกฎหมายสาธารณสุข (พระราชบัญญัติวิชาชีพการ สาธารณสุขชุมชน พ.ศ. 2556) โดยหลักของกฎหมายสาธารณสุข คือ เพื่อให๎นักสาธารณสุขควบคุม ตนเองในการท างานตามบทบาทหน๎าที่ ซึ่งจะต๎องเป็นสมาชิกของสภาการสาธารณสุขชุมชนและขึ้น ทะเบียนเป็นผู๎ประกอบวิชาชีพ โดยมีคุณสมบัติ คือ ต๎องจบปริญญาตรีในสาขาสาขาสาธารณสุข ศาสตรบัณฑิต และวิทยาศาสตร์สุขภาพอื่นๆ 4. นักสาธารณสุข ซึ่งเป็นสมาชิกสภาการสาธารณสุขชุมชนจะสามารถขึ้นทะเบียนเป็นผู๎ ประกอบวิชาชีพ และมีใบอนุญาตเป็นผู๎ประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน จะต๎องผํานการสอบวัด ความรู๎ ความสามารถโดยสภาการสาธารณสุขชุมชน 5. นักสาธารณสุข มีบทบาทหน๎าที่ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน พ.ศ. 2556 โดยเฉพาะมาตรา 3 ที่ก าหนดให๎ การประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน เป็นการกระท าตํอมนุษย์ และสิ่งแวดล๎อม ในชุมชนเกี่ยวกับการสํงเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การควบคุมโรค การตรวจ ประเมินและการบ าบัด โรคเบื้องต๎น การดูแลให๎ความชํวยเหลือผู๎ป่วย การฟื้นฟูสภาพ การอาชีวอนา มัยและอนามัยสิ่งแวดล๎อม ทั้งนี้ เพื่อลดความเสี่ยงจากการเจ็บป่วยในชุมชน โดยน าหลักวิทยาศาสตร์ มาประยุกต์ใช๎ แตํไมํรวมถึงการประกอบโรคศิลปะตามกฎหมายวําด๎วยการประกอบโรคศิลปะ หรือ การประกอบวิชาชีพทางการแพทย์และการสาธารณสุขอื่นตามกฎหมายวําด๎วยการนั้น 6. นักสาธารณสุข มีบทบาทหน๎าที่ในการประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน ซึ่งเป็นการ กระท าการสาธารณสุขตํอบุคคล ครอบครัว ชุมชน และอนามัยสิ่งแวดล๎อม ดังนี้


32 6.1 การสํงเสริมการเรียนรู๎ การแนะน าและให๎ค าปรึกษาเกี่ยวกับการสํงเสริมสุขภาพ การ ป้องกันโรค การควบคุมโรค การบ าบัดโรคเบื้องต๎น และการฟื้นฟูสภาพ ตํอบุคคล ครอบครัว และ ชุมชน โดยการผสมผสานตํอเนื่อง และเชื่อมโยงเป็นองค์รวม 6.2 การประยุกต์หลักวิทยาศาสตร์ โดยการกระท าด๎านการอาชีวอนามัยและอนามัย สิ่งแวดล๎อม เพื่อการควบคุมป้องกันปัจจัยที่ท าให๎เกิดโรค และลดความเสี่ยง การเจ็บป่วยตํอบุคคล ครอบครัว และชุมชน 6.3 การตรวจประเมินและการบ าบัดโรคเบื้องต๎น การดูแลให๎ความชํวยเหลือผู๎ป่วย การสร๎าง เสริม ภูมิคุ๎มกันโรค และการวางแผนครอบครัว ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่คณะกรรมการสภาการ สาธารณสุขชุมชนก าหนด 6.4 การตรวจประเมินอาการเจ็บป่วย และการชํวยเหลือผู๎ป่วยเพื่อการสํงตํอตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการสภาการสาธารณสุขชุมชนก าหนด 7. นักสาธารณสุข จ าเป็นจะต๎องเข๎าใจในบทบาทหน๎าที่การท างานตามพระราชบัญญัติวิชาชีพ การสาธารณสุขชุมชน พ.ศ. 2556 ซึ่งมีลักษณะงานในการปฏิบัติงานด๎านการสาธารณสุขชุมชน การศึกษา วางแผน ประเมินผล การแนะน าและให๎ค าปรึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ การพัฒนา ระบบงานด๎านการสาธารณสุขชุมชน และบทบาทหน๎าที่อื่นๆ ตามมาตรฐานก าหนดต าแหนํงของ กระทรวงสาธารณสุข 8. นักสาธารณสุข ต๎องปฏิบัติงานบทบาทหน๎าที่ภายใต๎จรรยาบรรณแหํงวิชาชีพการสาธารณสุข ชุมชน พ.ศ. 2565 โดยเฉพาะการปฏิบัติงานรํวมกับวิชาชีพอื่นจะต๎องไมํไปก๎าวลํวงกับวิชาชีพอื่น ซึ่งมี โอกาสถูกฟ้องร๎อง และถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน 9. นักสาธารณสุข มีบทบาทหน๎าที่การท างานมี 2 สํวน คือ 9.1 ท างานตามโครงสร๎างฯ ตามกฎหมาย ระเบียบบริหารราชการแผํนดินฯ ภายใต๎ผังการ บังคับบัญชา 9.2 การท างานตาม Functional คือ บทบาทที่ได๎รับมอบหมายในการท างานรํวมกัน จะต๎อง ท าอยํางไรภายใต๎ กฎหมาย และพระราชบัญญัติการสาธารณสุชุมชน พ.ศ. 2556 ภายใต๎หลักการ ควบคุมการปฏิบัติงานไมํให๎กระท าผิดตามจรรยาบรรณแหํงวิชาชีพการสาธารณสุขชุม พ.ศ. 2565 10. นักสาธารณสุข ต๎องพัฒนาด๎านงานวิจัยด๎านสุขภาพ เชํน การสํงเสริม การบ าบัด


33 การขับเคลื่อนของสภาการสาธารณสุขชุมชน (วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน) 1. สภาการสาธารณสุขชุมชน ก าหนดหลักสูตรวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชนภายใต๎ปริญญา สาธารณสุขศาตรบัณฑิต ซึ่งคุณสมบัติของอาจารย์ผู๎สอน คือ ต๎องมีใบประกอบวิชาชีพการสาธารณสุข ชุมชน และการเรียนการสอนในอนาคตจะแบํงออกเป็นรายวิชา คือ 1) วิชาการศึกษาทั่วไป (วิชาบังคับ) 2) วิชาที่เกี่ยวข๎องกับวิชาชีพ (วิทยาศาสตร์สุขภาพ) 3) วิชาการสาธารณสุขชุมชน แบํงออก 5 กลุํมรายวิชา คือ - กลุํมที่ 1 การสํงเสริมสุขภาพและอนามัยชุมชน - กลุํมที่ 2 การควบคุมป้องกันโรค (ระบาดวิทยา) สถิติการวิจัยด๎านสาธารณสุข - กลุํมที่ 3 กลุํมปฐมภูมิ ที่เกี่ยวข๎องกับการบ าบัดโรคเบื้องต๎น 22 โรค การดูแล ชํวยเหลือ การสร๎างภูมิคุ๎มกันโรค การวางแผนครอบครัว การประเมินการเจ็บป่วย และกฎหมายได๎ ก าหนดให๎ผู๎ประกอบวิชาชีพต๎องจดบันทึกการปฏิบัติงาน - กลุํมที่ 4 อาชีวอนามัยและอนามัยสิ่งแวดล๎อม (เกี่ยวข๎องกับสุขภาพ) - กลุํมที่ 5 กฎหมายที่เกี่ยว ซึ่งผู๎ประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน หรือ นัก สาธารณสุข ต๎องเข๎าในในหลักกฎหมาย เพื่อใช๎ท างานรํวมกับคนอื่นซึ่งเกี่ยวข๎องกับกฎหมาย และ จรรยาบรรณแหํงวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน 2. การผลิตนักสาธารณสุข ต๎องมีการวางแผน มีการเก็บคะแนนเพื่อให๎มีใบประกอบวิชาชีพการ สาธารณสุขชุมชน เพื่อประโยชน์ในการยืนยันวําการปฏิบัติงานของนักสาธารณสุขมีมาตรฐาน 3. สภาการสาธารณสุขชุมชน ก าหนดแนวทางความชัดเจนเรื่องความก๎าวหน๎าในการก าหนด ต าแหนํงนักสาธารณสุข คือ ต๎องมีใบประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน สามารถเลื่อนระดับได๎ ด๎วยเลขต าแหนํงตัวเอง ซึ่งต๎องเป็นสายงานวิชาการมากํอน สํวนสายงานทั่วไป คือ เจ๎าพนักงาน สาธารณสุข ยังไมํมีการก าหนดหลักเกณฑ์ 4. กระทรวงสาธารณสุข ก าหนดห๎วงเวลาในการจัดท าเรื่องการก าหนดต าแหนํงนักสาธารณสุข ภายในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2566 โดยมีความชัดเจนเรื่องการจัดคนลงต าแหนํง ซึ่งสภาการสาธารณสุข ชุมชนเสนอ คือ ขอเลื่อนระดับช านาญการพิเศษโดยใช๎เลขต าแหนํงตัวเองก าหนด ซึ่งเงื่อนไข คุณสมบัติสํวนตัว คือ มีใบประกอบวิชาชีพ ขึ้นด๎วยต าแหนํงตัวเอง และต๎องเป็นสายวิชาการกํอน สํวน สายงานทั่วไป (เจ๎าพนักงานสาธารณสุขชุมชน) ยังไมํมีการก าหนด


34 5. สภาการสาธารณสุขชุมชน ด าเนินการท าเรื่องเสนอขอก าหนดต าแหนํง 3 เรื่อง 1) การก าหนดต าแหนํงนักสาธารณสุขให๎เป็นวิชาชีพ 2) ขอปรับกลุํมเจ๎าพนักงานสาธารณสุข ที่มีใบประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน เป็น สายงานวิชาการ (กรณีพิเศษ) ซึ่งอยูํระหวํางการพิจารณาของ ก.พ. 3) การบรรจุข๎าราชการใหมํที่ตกค๎างจากการบรรจุโควิด 6. ชมรมสาธารณสุขแหํงประเทศไทย เสนอ (รําง) บทบาทหน๎าที่ของผู๎ประกอบวิชาชีพการ สาธารณสุขชุมชนในส านักงานสาธารณสุขอ าเภอ โดย ประเด็น/ข้อเสนอเพิ่มเติม 1. ควรให๎มีความชัดเจนเรื่องการก าหนดแนวทางการเข๎าสูํต าแหนํงนักสาธารณสุข 2. การจัดท ามาตรฐานขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP) เพื่อ น าไปสูํการจํายคําตอบแทนวิชาชีพ 3. การขับเคลื่อนงานของสภาการสาธารณสุขชุมชนต๎องควบคูํไปกับสมาคมวิชาชีพสาธารณสุข เพื่อพัฒนาวิชาการ (นักวิชาการสาธารณสุข) สูํวิชาชีพ (นักสาธารณสุข) 4. สภาการสาธารณสุขชุมชน เสนอขอก าหนดต าแหนํง “นักสาธารณสุข” ในโครงสร๎างการ บริหารงานของส านักงานสาธารณสุขอ าเภอ ซึ่งมีลักษณะงานตรงตามมาตรา 3 วรรค 2 (1) (2) (3) (4) ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน พ.ศ. 2556 และมาตรฐานก าหนดต าแหนงด๎าน การปฏิบัติการ 5. นักสาธารณสุข ถูกก าหนดให๎มีบทบาทหน๎าที่การประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชนใน ลักษณะงานตามมาตรา 3 วรรค 2 (1) (2) (3) (4) ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน พ.ศ. 2556 ภายใต๎รูปแบบการบริการและการบริหารจัดการ ตามมาตรา 3 ตามพระราชบัญญัติระบบ สุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 6. การสอบและได๎รับใบประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชนของนักสาธารณสุข ไมํใชํทั้งหมด ของมาตรฐาน แตํการปฏิบัติงานบริการประจ าวัน คือ ตัวบํงชี้คุณภาพมาตรฐานทางวิชาชีพที่สังคม ต๎องการ (ชัยณรงค์ สังข์จําง, PhD. : กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข) 7. การได๎รับใบประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน เป็นความต๎องการขั้นพื้นฐาน (Basic Minimum Requirement) เพื่อให๎นักสาธารณสุข มีความรู๎ ทักษะพื้นฐาน การปฏิบัติงานให๎บริการมี มาตรฐาน มีจริยธรรมและจรรยาบรรณในการปฏิบัติงาน ซึ่งสํงผลดีตํอ ระบบสุขภาพภาคประชาชน ระบบสุขภาพก๎าวหน๎า และวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชนที่มีคุณคําตํอสังคม


35 8. การประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน เพื่อมุํงสูํผลลัพธ์ที่ตํอ สุขภาพประชาชน ระบบ สุขภาพก๎าวหน๎า และวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชนมีคุณคําตํอสังคม ประกอบด๎วย 1) มาตรฐานวิชาชีพ (ความรู๎-การปฏิบัติ-จริยธรรม) องค์ความรู๎และสมรรถนะ เป็นตัวก าหนด วิธีปฏิบัติ (Standard of Practice) และแนวทางปฏิบัติ (Practice Guideline) 2) กลไกการก ากับดูแลทุกระดับ และกลไกพัฒนาการศึกษาและสร๎างองค์ความรู๎เป็น ตัวก าหนด การรักษามาตรฐาน และยกระดับมาตรฐานวิชาชีพ 9. การได๎รับใบประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน เป็นตัวบํงชี้ถึงการพัฒนาองค์ความรู๎ สมรรถนะในการปฏิบัติงาน และการเสริมสร๎างจริยธรรมของนักสาธารณสุข ซึ่งสํงผลถึงการได๎รับสิทธิ สวัสดิการคําตอบแทนวิชาชีพ 10. ข๎อเสนอการพัฒนาวิชาชีพสาธารณสุขชุมชน 1) พัฒนาแนวปฏิบัติ (Practice Guideline) ส าหรับผู๎ประกอบวิชาชีพ ด๎านการพัฒนา การศึกษา ความรู๎พื้นฐาน ด๎านการปฏิบัติงานสาธารณสุข ด๎านจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ 2) ก าหนดขอบเขตองค์ความรู๎ แนวทางปฏิบัติด๎านการสํงเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค โดยเฉพาะ บันทึกข๎อวินิจฉัยความเสี่ยงทางสุขภาพ เหตุผล และแนวทางการบ าบัดดูแลสํงเสริม สุขภาพเฉพาะราย 3) พัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนและพัฒนาสมรรถนะด๎านการดูแลสุขภาพรายบุคคล (Individual Health Care management) 4) ออกแบบกลไกการจัดการและดูแลสํงเสริมสนับสนุนการประกอบวิชาชีพในระดับพื้นที่ไป จนถึงระดับ หนํวยบริการ 5) พัฒนาระบบและกลไกการศึกษาวิจัยเพื่อสร๎างองค์ความรู๎การพัฒนาวิชาชีพสาธารณสุข ชุมชนให๎ทันสมัยและสอดคล๎องกับสภาวะทางสุขภาพและสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป


36 การประเมินผลการจัดประชุมวิชาการ 1. การประเมินความพึงพอใจ ต่อการเข้าร่วมประชุมวิชาการชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประจ าปี 2566 “มิติใหม่ของการประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน ภายใต้บทบาทของนักสาธารณสุข” ระหว่างวันที่ 16 – 18 สิงหาคม 2566 ณ โรงแรมเนวด้า คอนเวนชั่น จังหวัดอุบลราชธานี จากผู๎ลงทะเบียนเข๎ารํวมประชุมทั้งหมด 1,369 คน ค านวณขนาดกลุํมตัวอยําง โดยใช๎สูตรของ Krejcie & Morgan (1970) ได๎กลุํมตัวอยํางจ านวน 300.12 คน และเพื่อป้องกันการสูญหายของข๎อมูล จึง ท าการเก็บขนาดตัวอยํางเพิ่มขึ้น ดังนั้นขนาดของกลุํมตัวอยํางเทํากับ 355คน ท าการเก็บรวบรวมข๎อมูล โดยใช๎แบบสอบถามออนไลน์ผําน Google from ระหวํางวันที่ 16 –18 สิงหาคม 2566 ผลการประเมิน ความพึงพอใจ มีดังนี้ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. เพศ ผู๎ตอบแบบประเมินสํวนใหญํเป็นเพศหญิง จ านวน 231 คน คิดเป็นร๎อยละ 65.07 เพศชายจ านวน 124 คน คิดเป็นร๎อยละ 34.93 ดังภาพที่ 4 ภาพที่ 4 ร๎อยละของผู๎ตอบแบบประเมิน จ าแนกตามเพศ


37 2.ต าแหนํงปัจจุบัน : ผู๎ตอบแบบประเมินสํวนใหญํปฏิบัติงานในต าแหนํงนักวิชาการสาธารณสุข จ านวน 162 คน คิดเป็นร๎อยละ 45.63 รองลงมาคือ ผอ.รพ.สต จ านวน 96 คน คิดเป็นร๎อยละ 27.04 เจ๎าหน๎าที่ทันตสาธารณสุข จ านวน 22 คน ร๎อยละ 6.19 เจ๎าพนักงานสาธารณสุข จ านวน 19 คน ร๎อยละ 5.35 พยาบาลวิชาชีพช านายการ จ านวน 19 คน ผู๎ร๎อยละ 5.35 ชํวยสาธารณสุขอ าเภอ จ านวน 15 คน ร๎อยละ 4.22 สาธารณสุขอ าเภอ จ านวน 10 คน ร๎อยละ 2.81 แพทย์แผนไทย จ านวน 5 คน ร๎อยละ 1.40 ดังภาพที่ 5 3. สังกัด ภาพที่ 5ร๎อยละของผู๎ตอบแบบประเมิน จ าแนกตามต าแหนํงปัจจุบัน หนํวยงาน : ผู๎ตอบแบบประเมินสํวนใหญํปฏิบัติงานในโรงพยาบาลสํงเสริมสุขภาพ ต าบล (รพ.สต.) จ านวน 173 คน คิดเป็นร๎อยละ 48.73 รองลงมาคือ ส านักงานสาธารณสุขอ าเภอ 119 คน คิดเป็นร๎อยละ 33.52 องค์การบริหารสํวนจังหวัด (อบจ.) จ านวน 24 คน คิดเป็นร๎อยละ 6.76 โรงพยาบาล จ านวน 22 คน คิดเป็นร๎อยละ 6.19 ส านักงานสาธารณสุขจังหวัด จ านวน 17 คน คิดเป็นร๎อยละ 4.78 ตามล าดับ 3. เขตสุขภาพ : ผู๎ตอบแบบประเมินมาจากเขตสุขภาพที่ 10 จ านวน 159 คน คิดเป็นร๎อย ละ 44.79 รองลงมาคือ เขตสุขภาพที่ 8 จ านวน 81 คน คิดเป็นร๎อยละ 22.82 และ เขตสุขภาพที่ 7 จ านวน 72 คน คิดเป็นร๎อยละ 20.28 ตามล าดับ ดังตารางที่ 5 และภาพที่ 6


38 ตารางที่ 5 จ านวน ร๎อยละ ของผู๎ตอบแบบประเมิน จ าแนกตามเขตสุขภาพ เขตสุขภาพ จ านวน ร้อยละ เขตสุขภาพที่ 4 2 0.56 เขตสุขภาพที่ 5 1 0.28 เขตสุขภาพที่ 7 72 20.28 เขตสุขภาพที่ 8 81 22.82 เขตสุขภาพที่ 9 40 11.27 เขตสุขภาพที่ 10 159 44.79 รวม 355 100.00 ภาพที่ 6ร๎อยละของผู๎ตอบแบบประเมิน จ าแนกตามเขตสุขภาพ 2 1 72 81 40 159 0 50 100 150 200 เขตสุขภาพที่ 4 เขตสุขภาพที่ 5 เขตสุขภาพที่ 7 เขตสุขภาพที่ 8 เขตสุขภาพที่ 9 เขตสุขภาพที่ 10


39 ส่วนที่ 2 ความพึงพอใจต่อการจัดประชุมวิชาการ เกณฑ์ในการประเมินความพึงพอใจการแปรผล ดังนี้ คะแนนเฉลี่ย 4.21-5.00 หมายถึง มีความพึงพอใจอยูํในระดับมากที่สุด คะแนนเฉลี่ย 3.41-4.20 หมายถึง มีความพึงพอใจอยูํในระดับมาก คะแนนเฉลี่ย 2.61-3.40 หมายถึง มีความพึงพอใจอยูํในระดับปานกลาง คะแนนเฉลี่ย 1.81-2.60 หมายถึง มีความพึงพอใจอยูํในระดับน๎อย คะแนนเฉลี่ย 1.00-1.80 หมายถึง มีความพึงพอใจอยูํในระดับน๎อยที่สุด ตารางที่ 6 คําเฉลี่ย สํวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการแปรผลความพึงพอใจของผู๎เข๎ารํวม ประชุมวิชาการ (n=355) ความคิดเห็นต่อโครงการ ระดับความพึงพอใจ มาก X S.D. การแปลผล ที่สุด มาก ปาน กลาง น้อย น้อย ที่สุด จ านวน (ร๎อยละ) จ านวน (ร๎อยละ) จ านวน (ร๎อยละ) จ านวน (ร๎อยละ) จ านวน (ร๎อยละ) 1. การประชาสัมพันธ์ โครงการประชุมวิชาการฯ 103 (29.01) 174 (49.01) 68 (19.15) 8 (2.25) 2 (0.56) 4.03 0.79 มาก 2.ความเหมาะสมของ สถานที่ในการจัดประชุม วิชาการฯ 70 (19.71) 133 (37.46) 89 (25.07) 48 (13.52) 15 (4.22) 3.55 1.08 มาก 3. ระยะเวลาในการจัด ประชุมมีความเหมาะสม 105 (29.57) 176 (49.57) 58 (16.33) 12 (3.38) 4 (1.126) 4.03 0.84 มาก 4. สิ่งอ านวยความสะดวก ในการจัดประชุมวิชาการฯ เชํน เครื่องเสียง แสง โปร เจ็คเตอร์ อาหาร เป็นต๎น 70 (19.71) 151 (42.53) 88 (24.78) 31 (8.73) 15 (4.22) 3.65 1.03 มาก 5. เอกสาร อุปกรณ์ ประกอบการประชุม วิชาการ 57 (16.05) 149 (41.97) 94 (26.47) 36 (10.14) 19 (5.35) 3.54 1.05 มาก 6.การเตรียมความพร๎อม และความรู๎ ความ เชี่ยวชาญของวิทยากร 117 (32.95) 176 (49.57) 46 (12.95) 14 (3.94) 2 (0.56) 4.10 0.81 มาก


40 ตารางที่ 6 คําเฉลี่ย สํวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการแปรผลความพึงพอใจของผู๎เข๎ารํวม ประชุมวิชาการ (n=355) (ตํอ) ความคิดเห็นต่อ โครงการ ระดับความพึงพอใจ X S.D การแปล ผล มาก ที่สุด มาก ปาน กลาง น้อย น้อย ที่สุด จ านวน (ร๎อยละ) จ านวน (ร๎อยละ) จ านวน (ร๎อยละ) จ านวน (ร๎อย ละ) จ านวน (ร๎อย ละ) 7.ความนําสนใจของ หัวข๎อที่ใช๎ในการ บรรยาย 105 (29.57) 196 (55.21) 40 (11.26) 12 (3.38) 2 (0.56) 4.10 0.76 มาก 8. การเปิดโอกาสให๎ ผู๎เข๎ารํวมประชุมมีสํวน รํวม 99 (27.88) 183 (51.54) 55 (15.19) 15 (4.22) 3 (0.84) 4.01 0.82 มาก 9. ความเหมาะสมของ วิทยากรในการ อภิปราย วิพากษ์ ผลงาน ประจ าห๎อง 116 (32.67) 186 (52.39) 41 (11.54) 8 (2.25) 4 (1.13) 4.14 0.79 มาก 10. รูปแบบการจัด ประชุมมีความ เหมาะสมทั้งการ บรรยายวิชาการและ การน าเสนอผลงาน 96 (27.04) 183 (51.54) 54 (15.21) 17 (4.78) 5 (4.22) 3.98 0.86 มาก 11.ทํานได๎รับความรู๎ ความเข๎าใจที่ตรงกับ ความต๎องการ 96 (27.04) 198 (55.77) 48 (13.52) 11 (3.09) 2 (0.56) 4.05 0.78 มาก 12. ความพึงพอใจ โดยรวมตํอการประชุม วิชาการครั้งนี้ 79 (22.25) 178 (50.14) 65 (18.30) 22 (6.19) 11 (3.09) 3.82 0.95 มาก ภาพรวม 3.91 0.73 มาก


41 จากตารางที่ 6 พบวํา ผู๎ตอบแบบประเมินสํวนใหญํมีความพึงพอใจเกี่ยวกับการประชุม วิชาการชมรมสาธารณสุขแหํงประเทศไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประจ าปี 2566 “มิติใหมํของ การประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน ภายใต๎บทบาทของนักสาธารณสุข” ระหวํางวันที่ 16 – 18 สิงหาคม 2566 โดยภาพรวมอยูํในระดับมาก ( X = 3.91,S.D.=.73) เมื่อพิจารณาเป็นรายข๎อพบวํา ข๎อ ที่มีคะแนนเฉลี่ยมากที่สุด คือ ความเหมาะสมของวิทยากรในการอภิปราย วิพากษ์ผลงาน ประจ าห๎อง ( X = 4.14, S.D. = .79) รองลงมาคือ ความนําสนใจของหัวข๎อที่ใช๎ในการบรรยาย ( X = 4.10, S.D = .76) และการเตรียมความพร๎อมและความรู๎ ความเชี่ยวชาญของวิทยากร( X = 4.10, S.D. = .78) ตามล าดับ ส่วนที่ 3 ความคิดเห็นข้อเสนอแนะ 3.1 หากมีการจัดประชุมครั้งต่อไปท่านต้องการได้รับความรู้เกี่ยวกับเรื่อง 1) ความก๎าวหน๎าในวิชาชีพ การขึ้นช านาญการพิเศษของ ผอ.รพ.สต./การยกระดับในสายวิชาชีพ และ แนวทางการพัฒนาสายวิชาชีพ / ความก๎าวหน๎าของเจ๎าพนักงานสาธารณสุขชุมชนที่มีวุฒิ ปริญญาตรี 2) กฎหมาย / กฎหมายสาธารณสุข/พรบ.วิชาชีพสาธารณสุข 3) คําตอบแทนวิชาชีพนักสาธารณสุข 4) จริยธรรม /จรรยาบรรณวิชาชีพ 5) การถํายโอนไปท๎องถิ่น / การกระจายอ านาจ /ผลกระทบที่จะเกิดขึ้น/ บทบาท ส านักงานสาธารณสุขอ าเภอ ภายหลังภารกิจถํายโอน 6) ใบประกอบวิชาชีพสาธารณสุขชุมชน 7) การบริหารงานสาธารณสุข 8) บทบาทของนักสาธารณสุข 9) วิชาชีพสาธารณสุข /วิชาชีพสาธารณสุขในเชิงลึก 10) ระบาดวิทยา ควบคุมโรค 11) การพัฒนางานวิชาการประเภทการท าวิจัยนวัตกรรม หรือR2R และการ น าเสนองานวิจัยอยํางไรให๎มีคุณภาพ/นักสาธารณสุขกับบทบาทด๎านงานวิจัยในพื้นที่ ต๎องการพัฒนาศักยภาพด๎านการวิจัยให๎มากขึ้น 12) การดูแลผู๎ป่วย Palliative Care 13) ดิจิทัลกับงานสาธารณสุข / การใช๎เทคโนโลยีดิจิตอลด๎านสุขภาพ/เทคโนโลยีที่ เหมาะสมกับนักสาธารณสุข/เทคโนโลยีที่จ าเป็นและทันสมัย 14) บริการสุขภาพ


42 15) การวางแผนงบประมาณ 16) แนวทางการพัฒนามาตรฐาน รพ.สต. 17) แนวทางนโยบายและการจัดเก็บรายได๎ของ รพ.สต. 18) การพัฒนาระบบบริการ รพ.สต.หลังถํายโอน 20) บทบาทส านักงานสาธารณสุขอ าเภอ ภายหลังภารกิจถํายโอน 21) แนวทางการพัฒนาทักษะในวิชาชีพ 23) การปรับเปลี่ยนต าแหนํงเจ๎าพนักงานที่จบปริญญาตรีเป็น สายนักวิชาการ 24) มาตรฐาน 5 ด๎าน ของนักสาธารณสุขชุมชน 3.2 ข้อเสนอแนะอื่นๆ 3.2.1 ด้านสถานที่ 1) สถานที่จอดรถมีน๎อย / สถานที่จอดรถไมํเพียงพอและควรมีรปภ.ของโรงแรม ในการอ านวยความสะดวกมากขึ้น 2) สถานที่คับแคบไมํเหมาะสม กับจ านวนผู๎เข๎ารํวม 3) สถานที่จัดประชุมไมํเหมาะสม ห๎องเล็กบรรจุคนได๎ไมํเพียงพอ ด๎านนอกไมํมี บริเวณให๎นั่งพักเบรก หรือรับประทานอาหาร 4) ควรมีโต๏ะ 5) ที่นั่งไมํพอ นําจะมีการออนไลน์เพิ่มห๎อง 6) เครื่องเสียงได๎ยินไมํคํอยชัด /เครื่องเสียง ด๎านหลังฟังไมํเร๎าใจ 7) ห๎องไมํเพียงพอ กับแอร์ไมํเย็น 8) ควรเน๎นความสะอาดและความพอเพียงของห๎องน้ า 9) ควรจัดโรงแรมที่มีที่จอดรถเพียงพอ 10) โสตทัศณูปกรณ์ต๎องปรับปรุง 3.2.2 อาหาร / อาหารว่าง / น้ าดื่ม 1) น้ าดื่มควรเป็นขวด 2) ขอให๎มี ที่กินข๎าว เยอะๆหนํอย 3) อาหารและอาหารวํางน๎อยไมํเหมาะสมกับคําลงทะเบียน 2,500 บาท 4) ควรจัดเตรียมอาหารวําง อาหารกลางวันในวันแรกของการประชุมเพราะ หลายคนมาจากตํางจังหวัด หาที่รับประทานไมํสะดวก 5) Boxset อาหารกลางวัน นําจะท าให๎นํารับประทาน กวํานี้ 6) อาหารกลางวัน นําจะหลากหลาย/กลางวันเนําบูดกินไมํได๎ ผลไม๎เนําเสีย 7) การแจกอาหารวํางและอาหารกลางวัน ไมํทั่วถึงผู๎รํวมอบรม


43 3.2.3 การประชาสัมพันธ์ / การลงทะเบียน 1) การลงทะเบียน การลงเวลาควรมีความชัดเจนเพิ่มขึ้น 2) ความพร๎อมจุดลงทะเบียน ลําช๎าไมํตรงตามเวลา ควรปรับปรุงการลงทะเบียน ใหมํให๎ดีกวําครั้งนี้ 3) การแสตมป์เข๎ารํวมประชุมไมํมีความชัดเจนระยะเวลา 4) การประชาสัมพันธ์แนะน ารถรับจ๎าง ส าหรับผู๎มาจากตํางจังหวัด 5) การประชาสัมพันธ์กิจกรรมอยํางตํอเนื่อง 6) เอกสาร+ชุดลงทะเบียนไมํเหมาะสมกับคําลงทะเบียน 7) เจ๎าหน๎าที่รับลงทะเบียนไมํสุภาพ ไมํเป็นกันเอง 8) เปิดระยะเวลาประชาสัมพันธ์ในโครงการให๎มากกวํานี้เพราะบางคนก็สมัครไมํทัน 9) อยากให๎มีการประชาสัมพันธ์การสมัครหลายชํองทาง 3.2.4 เวทีวิชาการ / เอกสารวิชาการ / คะแนนหน่วยอบรม 1) คะแนนหนํวยอบรม ควรมากกวํานี้ 2) ควรมีเวทีประชุมวิชาการอยํางน๎อยปีละ 1 ครั้ง 3) การน าเสนอผลงานควรแยกประเภทการน าเสนอ 4) จัดให๎มีความหลากหลายในประเภทการเชํน CQI ภาพถําย เป็นต๎น 5) ควรแยกหมวดหมูํการน าเสนอผลงานวิชาการ ในแตํละด๎าน เชํน ด๎าน สํงเสริมสุขภาพ ด๎านระบาดวิทยา ด๎านปฐมภูมิ เป็นต๎น 6) อยากให๎มีการประชุมเพิ่มขึ้นเพื่อเก็บหนํวยกิต 7) เรื่องการประสานงาน การแจ๎งข๎อมูลขําวสารงานวิชาการ 8) ระบบจัดการและคะแนน 9) ควรมีเอกสารเพิ่ม/เอกสารคูํมือ/เอกสารประกอบการบรรยาย ควรมีให๎กํอน อบรม 10) ควรเพิ่มคะแนนมากกวํานี้ ไมํนําต่ ากวํา20คะแนน 11) กระเป๋าควรมีเอกสาร หรือ QR code เพื่อสืบค๎น 12) เอกสาร กระเป๋า หรือเสื้อ ให๎มาตรฐานกวําเดิม 3.2.5 ระยะเวลาในการจัดประชุมวิชาการ 1) ระยะเวลาในการจัดหลายวันเกินไป 3.2.6 อื่นๆ 1) ไปจัดที่ อุดรบ๎าง จัดที่นั่งให๎เพียงพอ จัดห๎องถํายทอดสดประชุมออนไลน์ 2) ควรจัดทุกปี


Click to View FlipBook Version