The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ราชสกุลวงศ์ ตั้งแต่รัชกาลที่ 1- รัชกาลที่ 10 พระราชประวัติ พระราชกรณียกิจ ต่างๆ เรื่องเล่า น่าสนใจ ผลงาน การพระพุทธศาสนา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ราชสกุลวงศ์

ราชสกุลวงศ์ ตั้งแต่รัชกาลที่ 1- รัชกาลที่ 10 พระราชประวัติ พระราชกรณียกิจ ต่างๆ เรื่องเล่า น่าสนใจ ผลงาน การพระพุทธศาสนา

ท่ี ๓๘ พระองค์เจ้าหญิง (พระเจ้าราชวรวงศเ์ ธอ พระองค์เจ้า) ที่ ๖ ในเจา้ จอมมารดาพลับ ประสตู ิ
เมอื่ ปฉี ลู เบญจศก จ.ศ. ๑๒๑๕ พ.ศ. ๒๓๙๖
ท่ี ๓๙ พระองค์เจ้าชาย (พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า) ที่ ๑ ในเจ้าจอมมารดากลีบ ประสูติ
เมอ่ื ปีขาล ฉศก จ.ศ. ๑๒๑๖ พ.ศ. ๒๓๙๗
ท่ี ๔๐ พระองคเ์ จา้ ชายวัฒนา (พระเจ้าราชวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จ้าวฒั นา) ประสตู ิแต่เจา้ จอมมารดา
ล�ำภู เม่ือวันเสาร์ เดือนอา้ ย แรม ๕ ค�่ำ ปขี าล ฉศก จ.ศ. ๑๒๑๖ ตรงกับวันท่ี ๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๓๙๗
ที่ ๔๑ พระองคเ์ จา้ หญงิ (พระเจ้าราชวรวงศเ์ ธอ พระองค์เจ้า) ที่ ๗ ในเจ้าจอมมารดากลีบ ประสตู ิ
เม่ือปขี าล ฉศก จ.ศ. ๑๒๑๖ พ.ศ. ๒๓๙๗
ท่ี ๔๒ พระองค์เจ้าหญิงภัควดี (พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภัควดี) ประสูติแต่เจ้าจอม
มารดาพลอย เม่ือวันอาทิตย์ เดือน ๕ ข้ึน ๑๕ ค่�ำ ปีเถาะ สัปตศก จ.ศ. ๑๒๑๗ ตรงกับวันท่ี ๑ เมษายน
พ.ศ. ๒๓๙๘ สิ้นพระชนม์ในรัชกาลท่ี ๘ เม่ือปีมะโรง โทศก จ.ศ. ๑๓๐๒ วันท่ี ๓ กันยายน พ.ศ. ๒๔๘๓
พระชันษา ๘๕ ปี พระราชทานเพลิงพระศพ ณ พระเมรวุ ดั เทพศิรนิ ทราวาส วันท่ี ๒๔ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๔๘๕๑
ที่ ๔๓ พระองคเ์ จา้ หญงิ (พระเจา้ ราชวรวงศเ์ ธอ พระองค์เจ้า) ที่ ๑ ในเจ้าจอมมารดาชอ้ ย๒ ประสูติ
เมื่อปีเถาะ สปั ตศก จ.ศ. ๑๒๑๗ พ.ศ. ๒๓๙๘
ที่ ๔๔ พระองคเ์ จ้าหญงิ (พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองคเ์ จ้า) ที่ ๘ ในเจา้ จอมมารดากลีบ ประสตู ิ
เมื่อปีเถาะ สปั ตศก จ.ศ. ๑๒๑๗ พ.ศ. ๒๓๙๘
ท่ี ๔๕ พระองค์เจ้าหญงิ วรพักตร์ (พระเจ้าราชวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จ้าวรพักตร์) ประสูตแิ ต่เจ้าจอม
มารดาส่าน๓ เม่ือวันเสาร์ เดือน ๑๒ แรม ๑๕ ค่�ำ ปีเถาะ สัปตศก จ.ศ. ๑๒๑๗ ตรงกับวันท่ี ๘ ธันวาคม
พ.ศ. ๒๓๙๘๔ ส้ินพระชนม์ในรัชกาลที่ ๕ เมื่อวันอังคาร เดือน ๓ แรม ๑๑ ค�่ำ ปีวอก ฉศก จ.ศ. ๑๒๔๖
ตรงกบั วนั ท่ี ๑๐ กุมภาพนั ธ์๕ พ.ศ. ๒๔๒๗ พระชันษา ๓๐ ปี พระราชทานเพลิงพระศพ ณ พระเมรผุ ้าขาว
วัดสุวรรณาราม วันอาทิตย์ เดือน ๕ แรม ๑๐ ค่�ำ ปีกุน นพศก จ.ศ. ๑๒๔๙๖ ตรงกับวันท่ี ๑๗ เมษายน
พ.ศ. ๒๔๓๐

_____________________________
๑ สาสน์ สมเด็จ เล่ม ๒๕, หนา้ ๑๕๔.
๒ เจา้ จอมมารดาชอ้ ย ธิดาพระยานครราชสีมา (เมฆ ณ ราชสมี า) (ดู จดหมายเหตุนครราชสมี า (พระนคร : โรงพมิ พ์
บ�ำรุงนกุ ูลกจิ , ๒๔๙๗), หนา้ ๗๙.)
๓ เจา้ จอมมารดาส่าน ธดิ าพระยามณเฑียรบาล (บัว) (ดู ประชมุ ปาฐกถาของกรมหม่ืนพทิ ยาลงกรณ รวมคร้ังท่ี ๑
เลอื กแต่ภาษาไทย (พระนคร : โรงพิมพโ์ สภณพพิ รรฒธนากร, ๒๔๖๙)) ถึงแกก่ รรมวนั ที่ ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๓๘
อายุ ๖๑ ปี (ดู ราชกิจจานเุ บกษา เล่ม ๑๒ ร.ศ. ๑๑๔, หน้า ๗๓.)
๔ Somdetch Phra Paramindr MahaMongkut, “The Family of the late Second King of Siam,”
Bangkok Calendar (1870), p. 52 ว่า ประสตู เิ ดือนพฤศจิกายน ค.ศ. ๑๘๕๕ (พ.ศ. ๒๓๙๘)
๕ ประชมุ พงศาวดาร ภาคที่ ๑๓, หนา้ ๑๗๑ ว่า สิ้นพระชนม์เมอื่ วันที่ ๒๙ มกราคม พ.ศ. ๒๔๒๗ เมอ่ื เทียบกบั
ปฏิทินกรมวชิ ชาธกิ ารฯ แล้ว จะตรงกบั วันพฤหสั บดี เดือน ๓ ขึ้น ๑๔ ค่ำ�
๖ ราชกจิ จานเุ บกษา เล่ม ๔ จ.ศ. ๑๒๔๙, หนา้ ๓๘.

134

ที่ ๔๖ พระองค์เจ้าหญิงวิลัยทรงกัลยา (พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิลัยทรงกัลยา) ที่ ๒
ในเจา้ จอมมารดาขลบิ ประสูติเม่ือวนั จันทร์ เดือนย่ี แรม ๗ คำ่� ปเี ถาะ สัปตศก จ.ศ. ๑๒๑๗ ตรงกบั วนั ท่ี ๒๘
มกราคม พ.ศ. ๒๓๙๘ สนิ้ พระชนม์ในรชั กาลท่ี ๕ เมอื่ วันจันทร์ เดือนย่ี ขนึ้ ๑๓ คำ่� ปีวอก ฉศก จ.ศ. ๑๒๔๖
ตรงกับวันที่ ๒๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๒๗ พระชันษา ๓๐ ปี พระราชทานเพลิงพระศพ ณ พระเมรุผ้าขาว
วัดสุวรรณาราม วันอาทิตย์ เดือน ๕ แรม ๑๐ ค�่ำ ปีกุน นพศก จ.ศ. ๑๒๔๙๑ ตรงกับวันที่ ๑๗ เมษายน
พ.ศ. ๒๔๓๐
ท่ี ๔๗ พระองค์เจ้าหญิงเฉิดโฉม (พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉิดโฉม) ประสูติแต่เจ้าจอม
มารดาสดี า เมอ่ื วนั เสาร์ เดอื น ๕ ขน้ึ ๘ คำ�่ ปมี ะโรง อฐั ศก จ.ศ. ๑๒๑๘ ตรงกบั วนั ที่ ๑๒ เมษายน พ.ศ. ๒๓๙๙
สิ้นพระชนม์ในรชั กาลปจั จบุ นั เม่อื ปจี อ อฐั ศก จ.ศ. ๑๓๐๗ วนั ท่ี ๑๑ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๔๘๙ พระชนั ษา ๙๐ ปี
ที่ ๔๘ พระองค์เจ้าหญิงประโลมโลก (พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประโลมโลก) ประสูติแต่
เจ้าจอมมารดาแกว้ ๒ เมอื่ วันเสาร์ เดือน ๗ แรม ๔ ค�่ำ ปมี ะโรง อฐั ศก จ.ศ. ๑๒๑๘ ตรงกับวนั ท่ี ๒๑ มิถนุ ายน
พ.ศ. ๒๓๙๙ ส้ินพระชนมใ์ นรัชกาลท่ี ๕ เม่ือวันศุกร์ เดอื น ๓ ขึ้น ๖ ค�่ำ ปชี วด โทศก จ.ศ. ๑๒๖๒ ตรงกบั
วนั ท่ี ๒๕ มกราคม พ.ศ. ๒๔๔๓ พระชันษา ๔๕ ปี พระราชทานเพลงิ พระศพ ณ พระเมรุผ้าขาววดั สระเกศ
วนั ท่ี ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๔๘๓
ท่ี ๔๙ พระองคเ์ จ้าชาย (พระเจา้ ราชวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จ้า) ท่ี ๒ ในเจา้ จอมมารดาพลบั ประสูติ
เมอื่ ปีมะโรง อัฐศก จ.ศ. ๑๒๑๘ พ.ศ. ๒๓๙๙
ที่ ๕๐ พระองค์เจ้าชายพรหเมศ (พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรหเมศ) ประสูติแต่เจ้าจอม
มารดาพรหมา เม่ือวันพุธ เดือน ๙ แรม ๑๑ ค�่ำ ปีมะโรง อัฐศก จ.ศ. ๑๒๑๘ ตรงกับวันท่ี ๒๗ สิงหาคม
พ.ศ. ๒๓๙๙ ส้ินพระชนม์ในรัชกาลที่ ๕ เม่ือวันเสาร์ เดือน ๘ ข้ึน ๑๓ ค่�ำ ปีเถาะ ตรีศก จ.ศ. ๑๒๕๓
วันที่ ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๓๔ พระชันษา ๓๖ ปี พระราชทานเพลิงพระศพ ณ พระเมรุวัดสระเกศ
วนั ท่ี ๓ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๔๓๕๔ เปน็ ต้นราชสกลุ พรหเมศ ณ อยุธยา

_____________________________
๑ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๔ จ.ศ. ๑๒๙๕, หน้า ๓๘.
๒ เจา้ จอมมารดาแกว้ พระราชทานเพลงิ ศพ ณ ปะร�ำวดั ดุสดิ าราม วนั ที่ ๒๖ มกราคม พ.ศ. ๒๔๓๙ (ดู ราชกิจจา-
นเุ บกษา เล่ม ๑๓ ร.ศ. ๑๑๕, หน้า ๖๒๘.)
๓ ราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ๒๒ ร.ศ. ๑๒๔, หน้า ๑๐๖๘.
๔ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๙ ร.ศ. ๑๑๑, หน้า ๔๑๑.

135

ที่ ๕๑ พระองค์เจ้าหญิงโศกส่าง๑ (พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโศกส่าง) ประสูติแต่เจ้าจอม
มารดาหงส์๒ เมื่อวันพฤหัสบดี เดือน ๑๐ ขึ้น ๕ ค�่ำ ปีมะโรง อัฐศก จ.ศ. ๑๒๑๘ ตรงกับวันที่ ๔ กันยายน
พ.ศ. ๒๓๙๙ ส้นิ พระชนมใ์ นรชั กาลท่ี ๗ เม่ือวนั อาทิตย์ เดือน ๖ แรม ๑๐ คำ่� ปมี ะโรง สัมฤทธิศก จ.ศ. ๑๒๙๐
ตรงกับวันที่ ๑๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๗๑ พระชันษา ๗๒ ปี๓ พระราชทานเพลิงพระศพ ณ พระเมรุ
วดั เบญจมบพิตร วนั ท่ี ๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๗๓๔
ที่ ๕๒ พระองคเ์ จา้ หญิงพมิ พับสรสร้อย๕ (พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจา้ พมิ พับสรสรอ้ ย) ท่ี ๑
ในเจ้าจอมมารดาวันด๖ี ประสูติเม่ือวันพุธ เดือนอ้าย ขึ้น ๖ ค�่ำ ปีมะโรง อัฐศก จ.ศ. ๑๒๑๘ ตรงกับวันที่ ๓
ธนั วาคม พ.ศ. ๒๓๙๙๗ สน้ิ พระชนมใ์ นรชั กาลท่ี ๖ เมอ่ื ปฉี ลู สปั ตศก จ.ศ. ๑๒๘๗ วนั ที่ ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๔๖๘
พระชนั ษา ๗๐ ปี พระราชทานเพลงิ พระศพ ณ พระเมรวุ ดั เทพศริ นิ ทราวาส วนั ท่ี ๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๙๘
ท่ี ๕๓ พระองค์เจ้าชายจรูญโรจน์เรืองศรี (พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ กรมหม่ืนจรัสพรปฏิภาณ) ท่ี ๒
ในเจ้าจอมมารดาช้อย ประสูติเมื่อวันอังคาร เดือน ๔ แรม ๑๔ ค�่ำ ปีมะโรง อัฐศก จ.ศ. ๑๒๑๘ ตรงกับ
วนั ท่ี ๒๔ มนี าคม พ.ศ. ๒๓๙๙ ถึงรัชกาลท่ี ๕ ทรงสถาปนาเป็นพระเจา้ บวรวงศเ์ ธอ กรมหมน่ื จรสั พรปฏภิ าณ
เมื่อวันพุธ เดือน ๑๒ ขึ้น ๗ ค�่ำ ปีวอก อัฐศก จ.ศ. ๑๒๕๘ ตรงกับวันพุธที่ ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๓๙
ส้ินพระชนม์ในรัชกาลท่ี ๕ เม่ือวันพุธ เดือน ๑๐ แรม ๔ ค�่ำ ปีมะแม นพศก จ.ศ. ๑๒๖๙ ตรงกับวันท่ี ๒๕
กันยายน พ.ศ. ๒๔๕๐ พระชนั ษา ๕๒ ปี พระราชทานเพลิงพระศพ ณ พระเมรุวัดเทพศิรนิ ทราวาส วันท่ี ๑๔
กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๔๕๐๙ เปน็ ตน้ ราชสกลุ จรญู โรจน์ ณ อยุธยา
ที่ ๕๔ พระองค์เจ้าชาย (พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า) ท่ี ๙ ในเจ้าจอมมารดากลีบ ประสูติ
เมอื่ ปีมะเส็ง นพศก จ.ศ. ๑๒๑๙ พ.ศ. ๒๔๐๐

_____________________________
๑ ราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๔๕ พ.ศ. ๒๔๗๑, หน้า ๕๘๙ วา่ โศกสรา่ ง
๒ เจ้าจอมมารดาหงส์ ถึงแก่กรรมวนั ที่ ๑๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๓๔ อายุ ๖๗ ปี (ดู ราชกจิ จานเุ บกษา เล่ม ๙
ร.ศ. ๑๑๐, หนา้ ๓๔๕.)
๓ ราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๔๕ พ.ศ. ๒๔๗๑, หนา้ ๕๘๙.
๔ ราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ๔๗ พ.ศ. ๒๔๗๓, หนา้ ๕๔๕, ๕๕๐.
๕ ราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๔๒ พ.ศ. ๒๔๖๘, หน้า ๒๘๑ วา่ พมิ พบั ศรสรอ้ ย
๖ เจ้าจอมมารดาวันดี ถึงแก่กรรมวันที่ ๒๕ มกราคม พ.ศ. ๒๔๕๕ อายุ ๗๕ ปี (ดู ราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๒๙
ร.ศ. ๑๓๑, หนา้ ๒๕๑๘.) พระราชทานเพลงิ ศพ ณ เมรวุ ัดสระเกศ วันที่ ๒๒ มกราคม พ.ศ. ๒๔๕๖ (ดู ราชกิจจานุเบกษา
เลม่ ๓๐ พ.ศ. ๒๔๕๖, หน้า ๒๕๖๒.)
๗ Somdetch Phra Paramindr MahaMongkut, “The Family of the late Second King of Siam,”
Bangkok Calendar (1870), p. 52 วา่ ประสตู ิเดอื นตลุ าคม ค.ศ. ๑๘๕๖ (พ.ศ. ๒๓๙๙)
๘ ราชกจิ จานเุ บกษา เล่ม ๔๓ พ.ศ. ๒๔๖๙, หนา้ ๘๓๒, ๑๐๖๕.
๙ ราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๒๔ ร.ศ. ๑๒๖, หน้า ๑๒๗๖.

136

ท่ี ๕๕ พระองคเ์ จา้ ชายสนนั่ (พระเจา้ ราชวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ สนน่ั ) ประสตู แิ ตเ่ จา้ จอมมารดาออ่ น
เม่ือวันเสาร์ เดือน ๑๐ ขึน้ ๑๐ ค่�ำ ปีมะเสง็ นพศก จ.ศ. ๑๒๑๙ ตรงกับวันท่ี ๒๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๐๐๑
ส้ินพระชนม์ในรัชกาลที่ ๖ เม่ือวันอังคาร เดือน ๓ ข้ึน ๙ ค�่ำ ปีฉลู เบญจศก จ.ศ. ๑๒๗๕ ตรงกับวันท่ี ๓
กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๕๖ พระชันษา ๕๗ ปี พระราชทานเพลิงพระศพ ณ พระเมรุวัดราชาธิวาส วันท่ี ๓
มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๔๕๗๒ เป็นตน้ ราชสกุล สายสนน่ั ณ อยุธยา
ที่ ๕๖ พระองค์เจ้าชาย (พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า) ที่ ๓ ในเจ้าจอมมารดาช้อย ประสูติ
เม่อื ปีมะเสง็ นพศก จ.ศ. ๑๒๑๙ พ.ศ. ๒๔๐๐
ท่ี ๕๗ พระองค์เจ้าหญิง (พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาสายบัว
เมื่อวันพฤหัสบดี เดือน ๗ ขน้ึ คำ่� ๑ ปมี ะเมีย สมั ฤทธิศก จ.ศ. ๑๒๒๐ ตรงกบั วนั ท่ี ๑๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๐๑
สิน้ พระชนม์ในรชั กาลท่ี ๔ เม่อื วันองั คาร เดือน ๗ ขน้ึ ๖ ค่�ำ ปมี ะเมยี สัมฤทธิศก จ.ศ. ๑๒๒๐ ตรงกบั วนั ท่ี ๑๘
พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๐๑ พระชนั ษา ๖ วนั
ท่ี ๕๘ พระองค์เจา้ หญิงสอางองค์ (พระเจา้ ราชวรวงศเ์ ธอ พระองค์เจา้ สอางองค์) ท่ี ๒ ในเจ้าจอม
มารดาวันดี ประสูตเิ มอ่ื วนั พฤหัสบดี เดือนย่ี ขึน้ ๑๕ คำ�่ ปวี อก โทศก จ.ศ. ๑๒๒๒ ตรงกบั วนั ท่ี ๒๗ ธนั วาคม
พ.ศ. ๒๔๐๓ สิน้ พระชนมใ์ นรัชกาลท่ี ๖ เม่อื วันจันทร์ เดอื น ๓ ข้ึน ๖ ค�่ำ ปีจอ จัตวาศก จ.ศ. ๑๒๘๔ ตรงกับ
วนั ที่ ๒๒ มกราคม พ.ศ. ๒๔๖๕ พระชนั ษา ๖๓ ปี พระราชทานเพลงิ พระศพ ณ พระเมรวุ ดั เทพศริ นิ ทราวาส
วนั ที่ ๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๙๓
ประสูตกิ อ่ นบวรราชาภเิ ษก ๓๓ พระองค์
ประสูติเม่อื บวรราชาภเิ ษกแล้ว ๒๕ พระองค๔์
รวม ๕๘ พระองค์
ราชสกุลท่ีสบื สายตรงจากพระราชโอรสมี ๑๑ มหาสาขา

_____________________________
๑ Somdetch Phra Paramindr MahaMongkut, “The Family of the late Second King of Siam,” op.cit,
p. 52 ว่า ประสตู ิเดือนกันยายน ค.ศ. ๑๘๕๗ (พ.ศ. ๒๔๐๐)
๒ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๓๑ พ.ศ. ๒๔๕๗, หน้า ๖๗๐.
๓ ราชกิจจานเุ บกษา เลม่ ๔๓ พ.ศ. ๒๔๖๙, หน้า ๘๓๒, ๑๐๖๕.
๔ “ฉบบั ที่ ๑ พระราชหตั ถเลขาถงึ พระองคเ์ จา้ ปทั มราช” ในพระราชหตั ถเลขาพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั
หน้า ๒๔๑ วา่ ทรงมีพระองคเ์ จา้ ชายอกี ๑ พระองค์ แตส่ ิน้ พระชนม์เมอื่ พระชันษา ๔ ปี

137

พระโอรสธดิ า
ในกรมพระราชวงั บวรวชิ ัยชาญ

(ในรชั กาลที่ ๕)



ประสตู ิก่อนอุปราชาภเิ ษก

ที่ ๑-๒ พระองค์เจา้ ชายแฝด (พระราชวรวงศเ์ ธอ พระองค์เจา้ ) ประสูตแิ ต่จอมมารดา หมอ่ มหลวง
ปริก๑ เม่อื ปมี ะเสง็ นพศก จ.ศ. ๑๒๑๙ พ.ศ. ๒๔๐๐ สิ้นพระชนมใ์ นปเี ดียวกัน
ที่ ๓ พระองคเ์ จา้ หญงิ ปฐมพสิ มยั (พระราชวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ ปฐมพสิ มยั ) ประสตู แิ ตจ่ อมมารดา
กรดุ เมอ่ื วนั พฤหัสบดี เดอื น ๙ ข้ึน ๑๒ ค่�ำ ปีจอ จตั วาศก จ.ศ. ๑๒๒๔ ตรงกบั วนั ท่ี ๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๐๕
สน้ิ พระชนมใ์ นรัชกาลท่ี ๕ เมื่อวันอาทิตย์ เดือน ๓ แรม ๓ ค่ำ� ปีขาล สัมฤทธิศก จ.ศ. ๑๒๔๐ ตรงกบั วนั ที่ ๙
กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๒๑ พระชันษา ๑๗ ปี

ประสตู เิ ม่ืออุปราชาภิเษกแลว้

ที่ ๔ พระองค์เจ้าชายวิไลยวรวิลาศ๒ (พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิไลยวรวิลาศ) ประสูติแต่
จอมมารดาเข็ม๓ เมื่อวันพุธ เดือน ๕ ขึ้น ๑๒ ค�่ำ ปีมะเส็ง ยังเป็นสัมฤทธิศก จ.ศ. ๑๒๓๐ ตรงกับวันที่ ๒๔
มีนาคม พ.ศ. ๒๔๑๑ สิ้นพระชนม์ด้วยพระโรคชรา เม่ือวันอาทิตย์ เดือน ๓ ขึ้น ๙ ค่�ำ ปีมะโรง สัมฤทธิศก
จ.ศ. ๑๒๙๐ ตรงกับวันที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๗๑ พระชันษา ๖๐ ปี๔ พระราชทานเพลิงพระศพ ณ
พระเมรุวัดเบญจมบพิตร วันท่ี ๒๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๗๓๕ เป็นต้นราชสกุล วิไลยวงศ์ ณ อยุธยา

_____________________________
๑ จอมมารดา หมอ่ มหลวงปรกิ ปนดั ดาในสมเดจ็ เจา้ ฟา้ กรมหลวงจกั รเจษฎา (ดู พระนามพระองคเ์ จา้ วงั หลวงแลวงั นา่ ฯ)
เกดิ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๘๕ ถงึ แกก่ รรมวนั ที่ ๑๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๕๘ อายุ ๗๓ ปี
๒ บ้างเรยี กวา่ พระองคช์ ายใหญ่ (ดู พระธรรมเทศนาบวรราชประวตั ิ ฉบับพมิ พ์ พ.ศ. ๒๔๖๙)
๓ จอมมารดาเข็ม ถงึ แกก่ รรมวนั ที่ ๒๘ กุมภาพนั ธ์ ๒๔๖๙ อายุ ๗๗ ปี (ดู ราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ๔๓ พ.ศ. ๒๔๖๙,
หนา้ ๔๔๙๒.)
๔ ราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๔๕ พ.ศ. ๒๔๗๑, หนา้ ๓๖๖๒.
๕ ราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๔๗ พ.ศ. ๒๔๗๓, หน้า ๕๔๖, ๕๕๓.

138

ท่ี ๕ พระองค์เจ้าชายกาญจโนภาสรัศมี๑ (พระราชวรวงศ์เธอ กรมหม่ืนชาญไชยบวรยศ) ประสูติ
แต่จอมมารดาปริกเล็ก๒ เม่ือวันจันทร์ เดือน ๘ แรม ๑๓ ค่�ำ ปีมะเมีย โทศก จ.ศ. ๑๒๓๒ ตรงกับวันที่ ๒๕
กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๑๓ ในรัชกาลท่ี ๕ เม่ือ พ.ศ. ๒๔๓๐ เป็นนายร้อยตรีในกองทหารรักษาพระองค์ คร้ัน
พ.ศ. ๒๔๓๘ เป็นผู้บังคับการกรมทหารราบที่ ๑ พ.ศ. ๒๔๔๑ เป็นราชองครักษ์ประจ�ำการ พ.ศ. ๒๔๔๕ เป็น
ผู้บังคับการกรมทหารบกราบท่ี ๔ ต่อมา พ.ศ. ๒๔๔๖ เป็นผู้บังคับการทหารบกราบที่ ๒ ครั้น พ.ศ. ๒๔๕๑
เป็นนายพันเอก และทรงรับสถาปนาเป็นพระบวรวงศเ์ ธอ กรมหมืน่ ชาญไชยบวรยศ เมือ่ วนั จนั ทรท์ ่ี ๑๖
พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๕๑ เปน็ สารวตั รทหารบกสายเหนอื เมอื่ พ.ศ. ๒๔๕๒ ครน้ั พ.ศ. ๒๔๕๔ เปน็
เจา้ กรมเสบียงทหารบก สิน้ พระชนม์ในรัชกาลที่ ๖ เมอ่ื วันอาทติ ย์ เดอื น ๙ ขึ้น ๑๕ คำ่� ปวี อก โทศก
จ.ศ. ๑๒๘๒ ตรงกับวนั อาทิตย์ท่ี ๒๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๖๓ พระชนั ษา ๕๑ ปี พระราชทานเพลิงพระศพ ณ
พระเมรุวดั เทพศริ ินทราวาส วันท่ี ๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๙๓ เปน็ ตน้ ราชสกุล กาญจนะวิชยั ณ อยุธยา
ที่ ๖ พระองคเ์ จา้ ชาย (พระราชวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ ) ท่ี ๑ ในจอมมารดาเวก๔ ประสตู เิ มอื่ เดอื น ๘
ปีมะเมยี โทศก จ.ศ. ๑๒๓๒ พ.ศ. ๒๔๑๓ สนิ้ พระชนม์ในปีเดยี วกัน
ที่ ๗ พระองคเ์ จา้ ชาย (พระราชวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ ) ประสตู แิ ตจ่ อมมารดาละมา้ ย เมอ่ื เดอื น ๑๑
ปีมะเมีย โทศก จ.ศ. ๑๒๓๒ พ.ศ. ๒๔๑๓ สน้ิ พระชนม์ในปีเดียวกัน
ท่ี ๘ พระองคเ์ จา้ หญงิ ภทั ทาวดศี รรี าชธดิ า (พระราชวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ ภทั ทาวดศี รรี าชธดิ า) ที่ ๑
ในจอมมารดาเลย่ี มเลก็ ๕ ประสตู ิเมื่อวันพฤหัสบดี เดือน ๘ แรม ๔ คำ�่ ปมี ะแม ตรีศก จ.ศ. ๑๒๓๓ ตรงกบั
วันท่ี ๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๑๔ สน้ิ พระชนมใ์ นรชั กาลที่ ๕ เมือ่ วนั อาทิตย์ เดอื น ๘ บรู พาษาฒ แรม ๓ ค่ำ�
ปกี นุ เอกศก จ.ศ. ๑๒๖๑ ตรงกบั วนั ที่ ๒๕ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๔๔๒ พระชนั ษา ๒๙ ปี พระราชทานเพลงิ พระศพ
ณ พระเมรวุ ดั สระเกศ วันที่ ๔ เมษายน พ.ศ. ๒๔๔๓๖
ที่ ๙ พระองค์เจ้าชายกัลยาณประวัติ (พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นกวีพจน์สุปรีชา) ประสูติแต่
จอมมารดาเล่ียมใหญ่๗ เมื่อวันจันทร์ เดือน ๑๑ ขึ้น ๑๑ ค�่ำ ปีมะแม ตรีศก จ.ศ. ๑๒๓๓ ตรงกับวันท่ี ๒๕
กันยายน พ.ศ. ๒๔๑๔ ในรชั กาลที่ ๕ พ.ศ. ๒๔๓๑ เข้ารับราชการในกรมยุทธนาธิการ ตำ� แหน่งเสมียนฝึกหดั
ราชการในกรมปลดั ทพั บก เปน็ นายรอ้ ยตรี ตอ่ มาเปน็ เลขานกุ ารของผู้ชว่ ยบัญชาการทหารบก ตอ่ มาเลอื่ นเป็น
นายรอ้ ยเอก ตำ� แหนง่ นายเวรใหญ่ พ.ศ. ๒๔๓๕ ยา้ ยมารบั ราชการในกระทรวงมหาดไทย เปน็ นายเวรหนงั สอื ลบั

_____________________________
๑ บา้ งเรยี กวา่ พระองค์ชายกลาง (ดู พระธรรมเทศนาบวรราชประวัติ ฉบบั พมิ พ์ พ.ศ. ๒๔๖๙)
๒ จอมมารดาปริกเล็ก ธิดาคุณหญิงเวก และนายทับวงศ์ ณ นคร (ดู ล�ำดับสกุลเก่าบางสกุล ภาคที่ ๔ฯ,
หนา้ ๑๓) เปน็ หลานตาของพระพงศน์ รนิ ทร์ พระราชโอรสสมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช ถงึ แกก่ รรมหลงั จากประสตู พิ ระองคเ์ จา้
กาญจโนภาสรัศมไี มก่ ีว่ นั
๓ ราชกจิ จานเุ บกษา เล่ม ๔๓ พ.ศ. ๒๔๖๙, หนา้ ๘๓๒, ๑๐๖๕.
๔ จอมมารดาเวก ถึงแกก่ รรมวันท่ี ๒๙ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๕๐ (ดู ราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๒๔ ร.ศ. ๑๒๖, หนา้ ๗๙๒.)
๕ จอมมารดาเลีย่ มเล็ก ธิดานายสุดจนิ ดา (พลอย ชูโต) และคุณละโว้ (ดู อธิบายราชนิ กิ ุลบางชา้ ง, หน้า ๙)
๖ ราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๑๗ ร.ศ. ๑๑๙, หนา้ ๑๘.
๗ จอมมารดาเล่ียมใหญ่ พระราชทานเพลิงศพ ณ เมรุวัดมกุฏกษัตริยาราม วันที่ ๒๙ เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๗
(กรมหมืน่ กวพี จนสุปรชี า, อลนิ จติ ตค์ ำ� ฉนั ท์ ([ม.ป.ท.] : โรงพิมพไ์ ทยเขษม, ๒๔๗๗), หน้าค�ำน�ำ.)

139

เปน็ เลขานุการของเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย เป็นปลัดกรมมหาดไทยฝ่ายเหนอื แล้วเปน็ เจา้ กรมมหาดไทย
ฝ่ายเหนือ ต่อมาเปน็ ปลดั กรมฝา่ ยพลำ� ภัง คร้ัน พ.ศ. ๒๔๔๒ เปน็ ปลดั บญั ชี ตอ่ มา พ.ศ. ๒๔๕๑ เปน็ ขา้ หลวง
ตรวจการกรมสรรพากรนอก ในรัชกาลที่ ๖ พ.ศ. ๒๔๕๓ เปน็ เลขานกุ ารหอพระสมดุ วชริ ญาณ ทรงเป็นผตู้ รวจ
และจดั การตน้ ฉบบั หนงั สอื ๕๐๙ เรอื่ ง ทรงพระนพิ นธม์ หาชาตคิ ำ� หลวง ทรงรบั สถาปนาเปน็ พระราชวรวงศเ์ ธอ
กรมหมน่ื กวีพจนส์ ุปรชี า เมอื่ ปีฉลู เบญจศก จ.ศ. ๑๒๗๕ วันองั คารที่ ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๕๖ ต่อมาเปน็
องคมนตรี ครน้ั พ.ศ. ๒๔๕๘ เปน็ มหาอำ� มาตยต์ รี พ.ศ. ๒๔๖๐ เปน็ นายกองตรเี สอื ปา่ สน้ิ พระชนมใ์ นรชั กาลท่ี ๗
เมอื่ วนั พธุ เดอื น ๖ แรม ๓ คำ�่ ปเี ถาะ นพศก จ.ศ. ๑๒๘๙ ตรงกบั วนั ที่ ๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๗๐ พระชนั ษา
๕๖ ปี พระราชทานเพลงิ พระศพ ณ พระเมรุวดั เบญจมบพิตร วนั ท่ี ๒๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๗๓๑ เปน็
ตน้ ราชสกุล กัลยาณะวงศ์ ณ อยธุ ยา
ที่ ๑๐ พระองค์เจ้าหญิงธิดาจ�ำรัสแสงศรี (พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธิดาจ�ำรัสแสงศรี)
ประสตู แิ ตจ่ อมมารดาเขยี วใหญ่ เม่ือวันเสาร์ เดือนอ้าย ขนึ้ ๑๓ คำ�่ ปมี ะแม ตรศี ก จ.ศ. ๑๒๓๓ ตรงกบั
วนั ท่ี ๒๕ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๑๔ สน้ิ พระชนม์ในรัชกาลท่ี ๕ เม่อื วนั องั คาร เดือน ๙ แรม ๑๒ ค�ำ่ ปีระกา
นพศก จ.ศ. ๑๒๕๙ ตรงกับวันที่ ๒๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๔๐ พระชนั ษา ๒๗ ปี พระราชทานเพลิงพระศพ
ณ พระเมรุวัดสระเกศ วันที่ ๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๔๑๒
ที่ ๑๑ พระองคเ์ จ้าหญงิ ฉายรัศมีหิรัญพรรณ (พระราชวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ ฉายรศั มีหริ ญั พรรณ)
ประสตู แิ ตจ่ อมมารดาปยุ้ ๓ เมอื่ วนั องั คาร เดอื นยี่ ขนึ้ ๘ คำ่� ปมี ะแม ตรศี ก จ.ศ. ๑๒๓๓ ตรงกบั วนั ท่ี ๑๙ ธนั วาคม
พ.ศ. ๒๔๑๔ สิ้นพระชนมใ์ นรัชกาลที่ ๗ เม่ือวนั จนั ทร์ เดอื น ๕ แรม ๕ ค่ำ� ปมี ะโรง สมั ฤทธศิ ก จ.ศ. ๑๒๙๐
ตรงกบั วนั ท่ี ๙ เมษายน๔ พ.ศ. ๒๔๗๑ พระชนั ษา ๕๗ ปี พระราชทานเพลงิ พระศพ ณ พระเมรวุ ดั เบญจมบพติ ร
วันท่ี ๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๗๓๕
ท่ี ๑๒ พระองค์เจ้าหญิง (พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า) ท่ี ๒ ในจอมมารดาเวก ประสูติเมื่อ
วนั จนั ทร์ เดือน ๙ แรม ๗ ค�ำ่ ปีวอก จัตวาศก จ.ศ. ๑๒๓๔ ตรงกบั ที่ ๒๖ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๔๑๕๖ สิ้นพระชนม์
ในปเี ดยี วกนั
ที่ ๑๓ พระองคเ์ จา้ หญงิ กลนิ่ แกน่ จนั ทนารตั น์ (พระราชวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ กลนิ่ แกน่ จนั ทนารตั น)์
ท่ี ๑ ในจอมมารดาจน่ั ๗ ประสตู เิ มอื่ วนั จนั ทร์ เดอื น ๑๑ ขนึ้ ๑๒ คำ่� ปวี อก จตั วาศก จ.ศ. ๑๒๓๔ ตรงกบั วนั ที่ ๑๔
ตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๑๕ สนิ้ พระชนม์ในรชั กาลที่ ๕ เม่อื ปีกุน สัปตศก จ.ศ. ๑๒๓๗ พ.ศ. ๒๔๑๘ พระชันษา ๔ ปี

_____________________________
๑ ราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๔๗ พ.ศ. ๒๔๗๓, หนา้ ๕๔๖, ๕๕๓.
๒ ราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๑๕ ร.ศ. ๑๑๗, หน้า ๕๑.
๓ จอมมารดาปุ้ย สืบได้ความว่า เป็นธิดาพระยาพระราม (แสง) และท่านปุก ถึงแก่กรรมวันท่ี ๑๘ พฤษภาคม
พ.ศ. ๒๔๔๘ พระราชทานเพลิงศพ ณ เมรวุ ัดหวั ล�ำโพง วนั ท่ี ๑๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๔๙
๔ ราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๔๕ พ.ศ. ๒๔๗๑, หนา้ ๑๕๗.
๕ ราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๔๗ พ.ศ. ๒๔๗๓, หน้า ๕๔๕, ๕๕๐.
๖ พระนามพระองค์เจา้ วงั หลวงแลวังนา่ ฯ, หนา้ (๑๗).
๗ จอมมารดาจน่ั ถงึ แกก่ รรมวนั ที่ ๒๗ เมษายน ๒๔๖๕ อายุ ๖๖ ปี

140

ที่ ๑๔ พระองค์เจ้าชายสุทัศนนิภาธร (พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทัศนนิภาธร) ประสูติแต่
จอมมารดา หมอ่ มหลวงนวม๑ เมือ่ วนั ศกุ ร์ เดอื น ๔ แรม ๑๕ คำ�่ ปีวอก จตั วาศก จ.ศ. ๑๒๓๔ ตรงกบั วนั ที่ ๒๘
มนี าคม พ.ศ. ๒๔๑๕ สิน้ พระชนมใ์ นรชั กาลที่ ๖ เมื่อวนั พฤหัสบดี เดือน ๑๑ แรม ๔ ค�ำ่ ปีมะเมีย สมั ฤทธิศก
จ.ศ. ๑๒๘๐ ตรงกับวนั ที่ ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๖๑ พระชนั ษา ๔๗ ปี พระราชทานเพลงิ พระศพ ณ พระเมรุ
วัดเทพศิรินทราวาส วันที่ ๑๒ เมษายน พ.ศ. ๒๔๖๓๒ เปน็ ตน้ ราชสกลุ สทุ ัศนีย์ ณ อยุธยา
ที่ ๑๕ พระองค์เจ้าชายวรวุฒิอาภรณ์ราชกุมาร (พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวุฒิอาภรณ์
ราชกมุ าร) ประสตู แิ ต่จอมมารดาป้อม๓ เมื่อวนั พุธ เดือน ๕ แรม ๑๑ คำ่� ปีระกา เบญจศก จ.ศ. ๑๒๓๕ ตรงกบั
วันท่ี ๒๓ เมษายน พ.ศ. ๒๔๑๖ ส้ินพระชนม์ในรัชกาลท่ี ๘ เม่ือปีมะเมีย จัตวาศก จ.ศ. ๑๓๐๔ วันที่ ๒๖
ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๕ พระชันษา ๖๙ ปี เปน็ ตน้ ราชสกุล วรวุฒิ ณ อยุธยา
ที่ ๑๖ พระองคเ์ จา้ ชายโอภาสไพศาลรศั มี (พระราชวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ โอภาสไพศาลรศั ม)ี ประสตู แิ ต่
จอมมารดา หมอ่ มราชวงศ์กลีบ เมือ่ วันอาทิตย์ เดอื น ๖ ขึ้น ๘ คำ�่ ปรี ะกา เบญจศก จ.ศ. ๑๒๓๕ ตรงกบั วันที่ ๔
พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๑๖ สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ ๕ เม่อื วนั อาทิตย์ เดือน ๖ แรม ๑๔ คำ�่ ปีระกา นพศก
จ.ศ. ๑๒๕๙ ตรงกับวันท่ี ๒๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๔๐ พระชนั ษา ๒๕ ปี พระราชทานเพลงิ พระศพ ณ พระเมรุ
วดั สระเกศ วันที่ ๒๘ เมษายน พ.ศ. ๒๔๔๑๔
ท่ี ๑๗ พระองค์เจ้าชาย (พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจา้ ) ประสตู ิแต่จอมมารดาอนิ ๕ เม่ือเดอื น ๑๐
ปีระกา เบญจศก จ.ศ. ๑๒๓๕ พ.ศ. ๒๔๑๖ สิน้ พระชนม์ในปเี ดยี วกัน
ที่ ๑๘ พระองค์เจ้าหญงิ อับสรศรีราชกานดา๖ (พระราชวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จ้าอบั สรศรีราชกานดา)
ประสตู แิ ต่จอมมารดาต่วน๗ เม่ือวนั อาทิตย์ เดือนย่ี แรม ๙ ค�ำ่ ปรี ะกา เบญจศก จ.ศ. ๑๒๓๕ ตรงกับ
วันที่ ๑๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๑๖ ส้ินพระชนม์ในรัชกาลที่ ๖ เม่ือวันเสาร์ เดือน ๖ แรม ๗ ค�่ำ ปีมะเส็ง
นพศก จ.ศ. ๑๒๗๙ ตรงกับวันท่ี ๑๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๐ พระชันษา ๔๕ ปี พระราชทานเพลงิ พระศพ
ณ พระเมรุวดั เทพศริ ินทราวาส วันที่ ๑๒ เมษายน พ.ศ. ๒๔๖๓๘

_____________________________
๑ จอมมารดา หมอ่ มหลวงนวม ธดิ าหม่อมราชวงศเ์ นตร ปาลกะวงศ์ (ดู “ประวตั ิ ม.ร.ว.เนตร ปาลกวงศ ณ อยุธยา”
ใน สุนทรภ,ู่ นริ าสพระบาท (พระนคร : ราชบัณฑติ ยสภา, ๒๔๗๒), หนา้ จ.)
๒ ราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๓๗ พ.ศ. ๒๔๖๓, หนา้ ๕๔๗.
๓ จอมมารดาปอ้ ม ธดิ าพระยาพระราม (แสง) และท่านปุก มารดา (ดู สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศ
วริยาลงกรณ์, กรรมวิภาคกถา (พระนคร : หอพระสมุดวชิรญาณ, ๒๔๖๙.) เกิด พ.ศ. ๒๓๙๑ ถวายตัวรับราชการใน
พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไดร้ บั พระราชทานหบี หมากทองคำ� อยใู่ นตำ� แหนง่ เจา้ จอมละคร เลน่ เปน็ ตวั พระลกั ษณ์
จนส้นิ รชั กาลท่ี ๔ จึงยา้ ยไปรบั ราชการวังหนา้ ในกรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ ถงึ แกก่ รรมวันที่ ๓๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๕๓
พระราชทานเพลิงศพ ณ วดั สระเกศ วนั ที่ ๒๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๖๙
๔ ราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๑๕ ร.ศ. ๑๑๗, หน้า ๕๐.
๕ จอมมารดาอนิ บางแหง่ เรยี ก ลกู อิน (ดู พระนามพระองคเ์ จา้ วังหลวงแลวงั น่าฯ)
๖ ราชกิจจานเุ บกษา เลม่ ๓๗ พ.ศ. ๒๔๖๓, หน้า ๕๔๗ วา่ อบั ศรศรีราชกานดา
๗ จอมมารดาตว่ น ถงึ แกก่ รรมวนั ที่ ๒๐ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๔๖๗ อายุ ๖๘ ปี พระราชทานเพลงิ ศพ ณ เมรวุ ดั หวั ลำ� โพง
วันที่ ๑๓ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๔๖๗
๘ ราชกจิ จานเุ บกษา เล่ม ๓๗ พ.ศ. ๒๔๖๓, หนา้ ๕๔๗.

141

ท่ี ๑๙ พระองคเ์ จา้ ชายรจุ าวรฉวี (พระราชวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ รจุ าวรฉว)ี ประสตู แิ ตจ่ อมมารดาสมบญุ
เมอ่ื วนั พธุ เดอื น ๘ อตุ ราษาฒ ขนึ้ ๙ คำ่� ปจี อ ฉศก จ.ศ. ๑๒๓๖ ตรงกบั วนั ที่ ๒๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๑๗ สน้ิ พระชนม์
ในรชั กาลที่ ๘ เมอื่ ปกี นุ สปั ตศก จ.ศ. ๑๒๙๗ พ.ศ. ๒๔๗๘ พระชนั ษา ๖๑ ปี เปน็ ตน้ ราชสกลุ รจุ ะวชิ ยั ณ อยธุ ยา
ที่ ๒๐ พระองคเ์ จา้ หญงิ เทววี ไิ ลยวรรณ (พระราชวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ เทววี ไิ ลยวรรณ) ประสตู แิ ต่
จอมมารดาสุ่นใหญ่ เมื่อวันเสาร์ เดือน ๗ แรม ๘ ค�่ำ ปีกุน สัปตศก จ.ศ. ๑๒๓๗ ตรงกับวันท่ี ๒๖ มิถุนายน
พ.ศ. ๒๔๑๘ สิ้นพระชนม์ในรชั กาลท่ี ๘ เมอ่ื ปีมะเมยี จตั วาศก จ.ศ. ๑๓๐๔ วันท่ี ๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๘๕
พระชนั ษา ๖๗ ปี พระราชทานเพลงิ พระศพ ณ พระเมรวุ ดั เทพศริ ินทราวาส วันที่ ๒๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๕๑
ท่ี ๒๑ พระองคเ์ จา้ ชายวบิ ลู ยพรรณรงั ษี (พระราชวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ วบิ ลู ยพรรณรงั ษ)ี ประสตู แิ ต่
จอมมารดาเขยี วเลก็ ๒ เมือ่ วันพุธ เดอื น ๕ แรม ๔ ค�ำ่ ปีชวด อฐั ศก จ.ศ. ๑๒๓๘ ตรงกบั วนั ที่ ๑๒ เมษายน
พ.ศ. ๒๔๑๙ สนิ้ พระชนม์ในรชั กาลท่ี ๕ เม่ือวนั อาทิตย์ เดอื น ๖ ข้นึ ๔ คำ่� ปีวอก สมั ฤทธศิ ก จ.ศ. ๑๒๗๐
ตรงกับวนั ที่ ๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๕๑ พระชันษา ๓๓ ปี พระราชทานเพลิงพระศพ ณ พระเมรวุ ดั สระเกศ
วันท่ี ๑๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๕๕๓ เปน็ ตน้ ราชสกุล วิบลู ยพรรณ ณ อยุธยา
ท่ี ๒๒ พระองคเ์ จา้ ชายรชั นแี จม่ จรสั (พระราชวรวงศเ์ ธอ กรมหมน่ื พทิ ยาลงกรณ)์ ที่ ๒ ในจอมมารดา
เลย่ี มเลก็ ประสตู เิ มอ่ื วนั พธุ เดอื นย่ี แรม ๑๑ คำ�่ ปชี วด อฐั ศก จ.ศ. ๑๒๓๘ ตรงกบั วนั ที่ ๑๐ มกราคม พ.ศ. ๒๔๑๙
ในรัชกาลท่ี ๕ พ.ศ. ๒๔๓๖ ทรงรบั ราชการเป็นนายเวรในกรมบัญชาการ กระทรวงธรรมการ พ.ศ. ๒๔๓๙
รบั ราชการในกองทปี่ รกึ ษากระทรวงพระคลงั มหาสมบตั ิ พ.ศ. ๒๔๔๒ เปน็ ผชู้ ว่ ยอธบิ ดกี รมตรวจและกรมสารบาญชี
พ.ศ. ๒๔๔๕ เปน็ หวั หนา้ กรมธนบัตร พ.ศ. ๒๔๔๖ เขา้ รับตำ� แหนง่ เจ้ากรมในกองที่ปรึกษากระทรวงพระคลัง
มหาสมบตั ิ พ.ศ. ๒๔๔๗ เปน็ อธบิ ดกี รมกระษาปณส์ ทิ ธกิ าร พ.ศ. ๒๔๕๑ เปน็ อธบิ ดกี รมตรวจและกรมสารบาญชี
(ตอ่ มาใน พ.ศ. ๒๔๕๘ เปน็ กรมบญั ชกี ลาง) ในรชั กาลที่ ๖ เมอื่ พ.ศ. ๒๔๕๓ เปน็ องคมนตรี ครนั้ ปฉี ลู เบญจศก
จ.ศ. ๑๒๗๕ วันองั คารท่ี ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๕๖ ทรงรับสถาปนาเป็นพระราชวรวงศ์เธอ กรมหม่ืนพทิ ยา
ลงกรณ์๔ พ.ศ. ๒๔๕๘ เป็นอธิบดกี รมพาณชิ ยแ์ ลสถติ พิ ยากรณ์ ต่อมา พ.ศ. ๒๔๖๓ - ๒๔๖๘ เปน็ อปุ นายกสภา
เผยแผ่พาณิชย์ พ.ศ. ๒๔๖๔ เป็นรองเสนาบดีกระทรวงพาณิชย์ พ.ศ. ๒๔๖๘ เป็นอุปนายกของหอพระสมุด
ส�ำหรับพระนคร เป็นท่ีปรึกษาในการร่างกฎหมายของกระทรวงยุติธรรม ท้ังในรัชกาลที่ ๖ และรัชกาลที่ ๗
พ.ศ. ๒๔๖๙ เป็นอปุ นายกแผนกวรรณคดี ราชบณั ฑิตยสภา ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง ทรงเปน็ องค์
สภานายกราชบณั ฑติ สภา เมอ่ื วนั ที่ ๒๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๗๕ สน้ิ พระชนมใ์ นรชั กาลที่ ๘ เมอื่ ปรี ะกา สปั ตศก
จ.ศ. ๑๓๐๗ วันท่ี ๒๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๘๘ พระชันษา ๖๘ ปี พระราชทานเพลิงพระศพ ณ พระเมรุ
วัดเทพศิรินทราวาส วันที่ ๒๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๙๑๕ ทรงได้รับยกย่องว่าเป็นพระบิดาแห่งการสหกรณ์ไทย
เป็นต้นราชสกุล รัชนี ณ อยุธยา

_ ____________________________
๑ สาสน์ สมเด็จ เลม่ ๒๕, หน้า ๑๕๔.
๒ จอมมารดาเขยี วเลก็ ธิดาพระยาจ�ำนงสรไกร (ร่งุ )
๓ ราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๒๙ ร.ศ. ๑๓๑, หน้า ๔๑๕.
๔ ตามจารกึ ในพระสพุ รรณบัฏวา่ กรมหม่ืนพิทยาลงกรณ์ (ดู จดหมายเหตเุ ร่ืองทรงต้ังพระบรมวงศานุวงศ์ ฉบบั พิมพ์
พ.ศ. ๒๔๖๘, หนา้ ๕๔๑) แตป่ จั จุบนั ใช้วา่ กรมหมน่ื พทิ ยาลงกรณ
๕ พระประวัติและพระนพิ นธ์ของพระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพทิ ยาลงกรณ ([ม.ป.ท.] : [ม.ป.ส.], ๒๔๙๑).

142

ท่ี ๒๓ พระองคเ์ จา้ ชายไชยรตั นวโรภาส (พระราชวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ ไชยรตั นวโรภาส) ประสตู แิ ต่
จอมมารดาปรกิ ใหญ่๑ เม่อื วนั อังคาร เดือน ๓ ข้ึน ๒ ค�ำ่ ปีชวด อัฐศก จ.ศ. ๑๒๓๘ ตรงกบั วันที่ ๑๖ มกราคม
พ.ศ. ๒๔๑๙ สิน้ พระชนม์ในรัชกาลที่ ๕ เม่ือวนั พุธ เดือน ๙ แรม ๖ คำ�่ ปรี ะกา นพศก จ.ศ. ๑๒๕๙ ตรงกบั
วันท่ี ๑๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๔๐ พระชนั ษา ๒๒ ปี พระราชทานเพลงิ พระศพ ณ พระเมรุวัดสระเกศ วันท่ี
๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๔๑๒
ท่ี ๒๔ พระองค์เจ้าหญิงวิมลมาศมาลี (พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลมาศมาลี) ที่ ๒
ในจอมมารดาจ่ัน ประสูติเมื่อวันพุธ เดือน ๔ แรม ๘ ค�่ำ ปีชวด อัฐศก จ.ศ. ๑๒๓๘ ตรงกับวันท่ี ๗
มีนาคม พ.ศ. ๒๔๑๙ สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ ๖ เมื่อวันอังคาร เดือน ๓ แรม ๑๐ ค�่ำ ปีระกา ตรีศก
จ.ศ. ๑๒๘๓ ตรงกบั วนั ที่ ๒๑ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๔๖๔ พระชันษา ๔๖ ปี พระราชทานเพลงิ พระศพ ณ
พระเมรวุ ัดเทพศิรินทราวาส วนั ที่ ๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๙๓
ที่ ๒๕ พระองค์เจ้าหญิงสุนทรีนาฏ (พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุนทรีนาฏ) ประสูติแต่
จอมมารดาสุ่นเล็ก เม่ือวันอังคาร เดือน ๖ แรม ๔ ค่�ำ ปีมะโรง โทศก จ.ศ. ๑๒๔๒ ตรงกับวันที่ ๒๗ เมษายน
พ.ศ. ๒๔๒๓
ที่ ๒๖ พระองค์เจ้าหญิงประสาทสมร (พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประสาทสมร) ประสูติแต่
จอมมารดายิม้ เม่ือวนั พุธ เดือน ๔ แรม ๑๒ คำ�่ ปีมะเมยี จตั วาศก จ.ศ. ๑๒๔๔ ตรงกบั วนั ท่ี ๔ เมษายน
พ.ศ. ๒๔๒๖ ส้ินพระชนม์ในรชั กาลท่ี ๖ เมื่อวันอาทิตย์ เดอื น ๙ ข้ึน ๙ คำ่� ปีฉลู เบญจศก จ.ศ. ๑๒๗๕ ตรงกบั
วนั ที่ ๑๐ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๔๕๖ พระชันษา ๓๑ ปี พระราชทานเพลงิ พระศพ ณ พระเมรุวัดราชาธวิ าส วันที่ ๓
มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๔๕๗๔
ท่ี ๒๗ พระองคเ์ จา้ ชายบวรวสิ ทุ ธ์ิ (พระราชวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ บวรวสิ ทุ ธ)ิ์ ประสตู แิ ตจ่ อมมารดา
สอาด๕ เมอื่ วนั จนั ทร์ เดอื นย่ี แรม ๙ คำ่� ปมี ะแม เบญจศก จ.ศ. ๑๒๔๕ ตรงกบั วนั ท่ี ๒๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๒๖
สน้ิ พระชนม์ในรชั กาลที่ ๕ เม่อื วันศกุ ร์ เดือน ๔ แรม ๑๔ ค่�ำ ปีจอ โทศก จ.ศ. ๑๒๗๒ ตรงกับวนั ที่ ๘ เมษายน
พ.ศ. ๒๔๕๓ พระชนั ษา ๒๘ ปี พระราชทานเพลิงพระศพ ณ พระเมรุวัดสระเกศ วันที่ ๑๔ พฤษภาคม
พ.ศ. ๒๔๕๕๖ เปน็ ตน้ ราชสกลุ วสิ ุทธิ ณ อยธุ ยา

_____________________________
๑ จอมมารดาปรกิ ใหญ่ สบื มาได้ความวา่ เปน็ ธิดาพระยาพระราม (แสง) และท่านปกุ มารดา
๒ ราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ๑๕ ร.ศ. ๑๑๗, หนา้ ๕๑.
๓ ราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๔๓ พ.ศ. ๒๔๖๙, หนา้ ๘๓๒, ๑๐๖๕.
๔ ราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ๔๑ พ.ศ. ๒๔๕๗, หนา้ ๖๗๐.
๕ จอมมารดาสอาด พระราชทานเพลิงศพ ณ ปะรำ� วัดสระเกศ วนั ที่ ๒๔ เมษายน พ.ศ. ๒๔๖๖
๖ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๒๙ ร.ศ. ๑๓๑, หน้า ๔๑๕.

143

ที่ ๒๘ พระองคเ์ จา้ หญงิ กมทุ มาล๑ี (พระราชวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ กมทุ มาล)ี ประสตู แิ ตจ่ อมมารดา
หมอ่ มราชวงศ์เชื้อ๒ เมื่อวนั ศกุ ร์ เดอื น ๙ ขึ้น ๓ ค�่ำ ปีวอก ฉศก จ.ศ. ๑๒๔๖ ตรงกับวนั ที่ ๒๕ กรกฎาคม
พ.ศ. ๒๔๒๗ สิน้ พระชนมใ์ นรัชกาลท่ี ๖ เมอื่ วันจนั ทร์ เดอื นอา้ ย ขึน้ ๗ คำ่� ปกี นุ ตรศี ก จ.ศ. ๑๒๗๓ ตรงกับ
วนั ที่ ๒๗ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๕๔ พระชันษา ๒๘ ปี พระราชทานเพลิงพระศพ ณ พระเมรุวดั สระเกศ
วันท่ี ๑๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๕๕๓
ท่ี ๒๙ พระองค์เจ้าหญิงศรีสุดสวาดิ (พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีสุดสวาดิ) ประสูติแต่
จอมมารดาแข เมอ่ื วนั ศกุ ร์ เดอื น ๑๑ ขน้ึ ๑๔ คำ่� ปวี อก ฉศก จ.ศ. ๑๒๔๖ ตรงกบั วนั ที่ ๓ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๒๗
ส ้ินพระชนมใ์ นรชั กาลปจั จุบนั เมอ่ื ปีจอ อัฐศก จ.ศ. ๑๓๐๘ วันท่ี ๙ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๘๙ พระชันษา ๖๒ ปี
ประสูติกอ่ นอุปราชาภเิ ษก ๓ พระองค์
ประสตู ิเม่อื อุปราชาภเิ ษกแลว้ ๒๖ พระองค์
รวม ๒๙ พระองค์
ราชสกลุ ทส่ี ืบสายตรงจากพระโอรสมี ๙ มหาสาขา

_ ____________________________
๑ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๒๘ ร.ศ. ๑๓๐, หนา้ ๑๙๖๘ วา่ กระมทุ มาลี
๒ จอมมารดา หม่อมราชวงศ์เชือ้ (ราชสกุลเดิม อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา)
๓ ราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ๒๙ ร.ศ. ๑๓๑, หนา้ ๔๑๕.

144

พระองคเ์ จ้าหลานเธอ
ในสมเด็จพระเจ้าพ่นี างเธอ รัชกาลท่ี ๑๑



๑. พระองคเ์ จา้ ชายพยอม (พระวงศเ์ ธอ กรมหมน่ื มนตรรี กั ษา) พระโอรสในสมเดจ็ พระสมั พนั ธวงศเ์ ธอ
เจา้ ฟา้ กรมหลวงพทิ กั ษมนตรี ประสตู เิ มอ่ื พ.ศ. ๒๓๖๙๒ เมอ่ื ประสตู ทิ รงดำ� รงพระยศเปน็ หมอ่ มเจา้ ในรชั กาลท่ี ๔
ทรงสถาปนาเป็นพระวงศเ์ ธอ กรมหมื่นมนตรีรักษา๓ เมอ่ื ปฉี ลู เบญจศก จ.ศ. ๑๒๑๕ พ.ศ. ๒๓๙๖ ส้นิ พระชนม์
เมอ่ื วนั พธุ เดอื น ๗ แรม ๖ คำ�่ ปีฉลู สัปตศก จ.ศ. ๑๒๒๗ ตรงกบั วนั ที่ ๒๙ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๔๐๘ พระชนั ษา
๔๐ ปี พระราชทานเพลงิ พระศพ ณ พระเมรวุ ัดอรุณราชวราราม วนั ที่ ๑๔ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๔๑๔๔
๒. พระองคเ์ จา้ ชายชอุ่ม (พระวงศ์เธอ กรมหมนื่ เทวานรุ กั ษ)์ พระโอรสในสมเด็จพระสัมพนั ธวงศเ์ ธอ
เจ้าฟ้ากรมขุนอิศรานุรกั ษ์ ประสตู เิ มอื่ วันเสาร์ เดอื น ๕ ข้ึน ๑๓ ค่ำ� ปีขาล ฉศก จ.ศ. ๑๑๕๖ ตรงกับวันท่ี ๑๒
เมษายน พ.ศ. ๒๓๓๗ เมอ่ื ประสตู ทิ รงดำ� รงพระยศเปน็ หมอ่ มเจา้ ในรชั กาลท่ี ๔ เมอื่ ปฉี ลู เบญจศก จ.ศ. ๑๒๑๕
พ.ศ. ๒๓๙๖ ทรงสถาปนาเป็นพระวงศเ์ ธอ กรมหมน่ื เทวานุรกั ษ์ สิน้ พระชนมเ์ ม่อื วันพุธ เดอื น ๘ อุตราษาฒ
แรม ๖ ค�่ำ ปีกุน เบญจศก จ.ศ. ๑๒๒๕ ตรงกบั วันที่ ๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๐๖ พระชนั ษา ๗๐ ปี

พระองคเ์ จา้ หลานเธอ
ในสมเดจ็ พระบวรราชเจา้ มหาสรุ สงิ หนาท รชั กาลท่ี ๑



๑. พระองค์เจ้าหญิงยี่เข่ง๕ (พระวงศ์เธอ พระองค์เจ้าย่ีเข่ง) พระธิดาในพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ
พระองค์เจา้ เพช็ รหงึ เม่อื ประสูติทรงดำ� รงพระยศเป็นหมอ่ มเจ้า ทรงรับราชการเปน็ พนกั งานนมสั การมาตง้ั แต่
รัชกาลที่ ๔ ถึงรัชกาลท่ี ๕ โปรดเกล้าฯ ให้มารับราชการเข้านอกออกในอีกต�ำแหน่งหน่ึง แล้วโปรดเกล้าฯ
ให้เป็นพนักงานพระโอสถ๖ ต่อมาเม่ือวันศุกร์ เดือน ๑๒ แรม ๔ ค่�ำ ปีกุน นพศก จ.ศ. ๑๒๔๙ ตรงกับวันท่ี ๔
พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๓๐ ทรงสถาปนาเป็นพระวงศ์เธอ พระองค์เจ้ายี่เข่ง ส้ินพระชนม์ในรัชกาลที่ ๕

_____________________________
๑ คอื พระองคเ์ จา้ หลานเธอ ในสมเดจ็ พระเจา้ พน่ี างเธอ เจา้ ฟา้ กรมพระศรสี ดุ ารกั ษ์
๒ Somdetch Phra Paramendr Mahamongkut, “Near and Distant Member of the Royal Family,”
Bangkok Calendar (1868), p. 107 ว่า ประสูตเิ ม่อื วันท่ี ๘ ตลุ าคม ค.ศ. ๑๗๙๒ (พ.ศ. ๒๓๓๕)
๓ พระบาทสเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไดท้ รงสถาปนาหมอ่ มเจา้ ชายพยอม และหมอ่ มเจา้ ชายชอมุ่ ขนึ้ เปน็ เจา้ ตา่ งกรม
โดยมิได้สถาปนาเปน็ พระองคเ์ จา้ ก่อน แตใ่ นรชั กาลตอ่ ๆ มา ไม่ปรากฏวา่ ได้สถาปนาหม่อมเจ้าขน้ึ เปน็ เจา้ ต่างกรม เวน้ แตจ่ ะได้
สถาปนาพระยศขึ้นเปน็ พระองค์เจ้าเสียก่อน แล้วจึงจะตงั้ กรม (ดู ฐานนั ดรศกั ดิ์แหง่ พระราชวงศข์ องไทย, หนา้ ๖๙.)
๔ “จดหมายเหตุของหมอบรดั เล,” ใน ประชมุ พงศาวดารภาคที่ ๑๒, หน้า ๗๘.
๕ สารบาญชสี ว่ นท่ี ๑ คอื ต�ำ แหนง่ ราชการส�ำ หรบั เจา้ พนกั งานกรมไปรสนยี ์ กรงุ เทพมหานคร เลม่ ท่ี ๑, หนา้ ๑๔๗
วา่ เจา้ ครอกย่เี ขง่
๖ จดหมายเหตเุ รื่องทรงตง้ั พระบรมวงษานุวงษฯ์ , หนา้ ๒๘๘.

179

เม่ือวันจันทร์ เดือน ๓ ข้ึน ๑๔ ค�่ำ ปีวอก อัฐศก จ.ศ. ๑๒๕๘ ตรงกับวันท่ี ๑๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๓๙
พระราชทานเพลงิ พระศพ ณ พระเมรุวดั สระเกศ วนั ท่ี ๒๔ เมษายน พ.ศ. ๒๔๔๑

พระองคเ์ จา้ หลานเธอ
ในสมเดจ็ พระบวรราชเจา้ มหาเสนานุรักษ์ รัชกาลท่ี ๒



๑. พระองค์เจ้าชายวัฒนา (พระวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัฒนา) พระโอรสในพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ
กรมหมน่ื สิทธิสขุ ุมการ เมื่อประสูตทิ รงดำ� รงพระยศเป็นหมอ่ มเจา้ ในรชั กาลที่ ๕ ทรงเข้ารับราชการในกรมวัง
ตอ่ มารับราชการในพระเจา้ น้องยาเธอ กรมหลวงประจกั ษศ์ ลิ ปาคม ข้าหลวงมณฑลฝ่ายเหนอื และเปน็ แมก่ อง
ข้ึนไปรักษาราชการเมืองภูวดลสอาง ต่อมาเป็นข้าหลวงเทศาภิบาลมณฑลฝ่ายเหนือ คร้ันปีชวด โทศก
จ.ศ. ๑๒๖๒ วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๔๓ ทรงสถาปนาเป็นพระวงศเ์ ธอ พระองค์เจ้าวฒั นา สิน้ พระชนม์
ในรัชกาลที่ ๖ เมื่อวนั จนั ทร์ เดือน ๑๐ ขน้ึ ๔ ค�่ำ ปมี ะเมีย สมั ฤทธิศก จ.ศ. ๑๒๘๐ ตรงกับวนั ท่ี ๙ กันยายน
พ.ศ. ๒๔๖๑ พระราชทานเพลงิ พระศพ ณ พระเมรุวดั เทพศิรินทราวาส วนั ท่ี ๑๒ เมษายน พ.ศ. ๒๔๖๓

พระองค์เจา้ หลานเธอ
ในกรมพระราชวังบวรวชิ ัยชาญ รชั กาลที่ ๕



๑. พระองคเ์ จา้ หญงิ วภิ าวดี (พระเจา้ วรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ วภิ าวดรี งั สติ ) พระธดิ าในพระราชวรวงศเ์ ธอ
กรมหมน่ื พิทยาลงกรณ์ และหมอ่ มเจ้าพรพมิ ลพรรณ๑ รัชนี ประสูติเม่ือวนั เสาร์ เดือน ๑๒ ขึ้น ๑๐ ค่ำ� ปวี อก
โทศก จ.ศ. ๑๒๘๒ ตรงกบั วนั ที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๖๓ เมอ่ื ประสตู ิทรงดำ� รงพระยศเป็นหม่อมเจ้า
ทรงรับราชการเป็นนางสนองพระโอษฐใ์ นสมเดจ็ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชนิ ีนาถ สิน้ ชีพติ กั ษยั ในรัชกาล
ปจั จุบันเมอ่ื วนั พธุ เดือน ๓ แรม ๑๓ คำ่� ปมี ะเสง็ อัฐศก จ.ศ. ๑๓๓๘ ตรงกบั วนั ท่ี ๑๖ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๒๐
พระชนั ษา ๕๗ ปี ทรงได้รับการสถาปนาพระนามพระศพเป็นพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวภิ าวดรี ังสติ ๒ เมอ่ื
วันจนั ทร์ เดอื น ๕ แรมคำ่� ๑ ปีมะเส็ง นพศก จ.ศ. ๑๓๓๙ ตรงกบั วนั ที่ ๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๐ พระราชทาน
เพลิงพระศพ ณ พระเมรุวัดพระศรมี หาธาตุ บางเขน วนั พฤหสั บดที ี่ ๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๐

_____________________________
๑ หม่อมเจ้าพรพิมลพรรณ พระนามเดิม หม่อมเจ้าพิมลพรรณ พระธิดาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิป
ประพนั ธ์พงศ์ (ตน้ ราชสกุล วรวรรณ ณ อยุธยา) ประสตู ิวันที่ ๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๓๓ สิน้ ชีพติ ักษัยวันท่ี ๑๘ พฤศจิกายน
พ.ศ. ๒๕๒๔ ชนั ษา ๙๑ ปี พระราชทานเพลิงพระศพ ณ พระเมรวุ ัดเทพศริ นิ ทราวาส วันท่ี ๓๐ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๒๔
๒ ดู ประกาศสถาปนาพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองคเ์ จ้าวิภาวดีรังสติ ใน ราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ที่ ๙๔ ภาค ๑ เลม่ ๑
ตอนที่ ๑ - ๓๐ วนั ที่ ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๐, หน้า ๒๙๘ - ๓๐๒.

180

พระราชปนดั ดา รชั กาลท่ี ๔



๑. พระองค์เจ้าชายจกั รพนั ธเ์ พ็ญศิริ (พระเจ้าวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จ้าจักรพนั ธเ์ พ็ญศิริ) พระโอรสใน
พระเจ้าวรวงศเ์ ธอ กรมหมนื่ อนวุ ัตรจาตรุ นต์ ประสตู เิ มือ่ วนั ที่ ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๕๒ เมื่อประสูติทรง
ดำ� รงสกลุ ยศเปน็ หมอ่ มเจา้ สน้ิ พระชนมใ์ นรชั กาลปจั จบุ นั เมอ่ื วนั ที่ ๑๓ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๓๖ พระชนั ษา ๘๔ ปี
ภายหลังทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ สถาปนาเปน็ พระเจา้ วรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ จกั รพันธเ์ พญ็ ศริ ิ เม่ือวันท่ี ๒๙
มนี าคม พ.ศ. ๒๕๓๗ พระราชทานเพลงิ พระศพ ณ พระเมรวุ ดั เทพศริ นิ ทราวาส วนั ท่ี ๓๐ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๓๗
๒. สมเดจ็ พระสงั ฆราชเจา้ กรมหลวงวชริ ญาณวงศ์ โอรสในหมอ่ มเจา้ ถนอม นภวงศ์ และหมอ่ มเอม๑
ประสตู ิเม่อื วันศุกรท์ ่ี ๒๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๑๕ เมื่อประสูตทิ รงดำ� รงสกลุ ยศเปน็ หมอ่ มราชวงศช์ น่ื นภวงศ์
ไดถ้ วายตวั เปน็ มหาดเลก็ ในสมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช เจา้ ฟา้ มหาวชริ ณุ หศิ สยามมกฎุ ราชกมุ าร โดยทำ� หนา้ ท่ี
เปน็ คะเดททหารมา้ ในกรมทหารมหาดเลก็ ราชวลั ลภ มหี นา้ ทต่ี ามเสดจ็ รกั ษาพระองค์ ทรงบรรพชาเปน็ สามเณร
ณ วัดบวรนิเวศวหิ าร ได้ทรงศกึ ษาพระปริยตั ิธรรมกับสมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส
ทรงเข้าสอบไลค่ รั้งแรกเมือ่ พ.ศ. ๒๔๓๓ ทีว่ ดั พระศรรี ตั นศาสดาราม สอบไลไ่ ดเ้ ปรียญ ๕ ประโยค ตั้งแต่
ยงั เปน็ สามเณร ทรงอปุ สมบททว่ี ดั บวรนเิ วศวหิ าร เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๓๕ สอบไดเ้ ปรยี ญ ๗ ประโยค เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๓๗
ได้รบั โปรดเกล้าฯ ต้งั เป็นพระราชาคณะทพ่ี ระสุคุณคณาภรณ์ ไดเ้ ป็นผูอ้ �ำนวยการศึกษามณฑลจันทบุรี ตอ่ มา
เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๕ ไดร้ ับแตง่ ตงั้ เป็นเจา้ คณะมณฑลจันทบุรี พ.ศ. ๒๔๔๖ ได้เลอื่ นสมณศักดิเ์ สมอพระราชาคณะ
ชนั้ เทพทพี่ ระญาณวราภรณ์ พ.ศ. ๒๔๕๕ ไดเ้ ลอื่ นสมณศกั ดเิ์ สมอพระราชาคณะชนั้ ธรรมในพระราชทนิ นามเดมิ
พ.ศ. ๒๔๖๔ ไดร้ ับสถาปนาสมณศักดิเ์ สมอพระราชาคณะชั้นธรรมพิเศษในพระราชทินนามเดิม พ.ศ. ๒๔๖๗
ไดเ้ ปน็ เจ้าคณะมณฑลอยุธยา พ.ศ. ๒๔๗๑ โปรดเกลา้ ฯ สถาปนาเป็นสมเด็จพระราชาคณะในพระราชทินนาม
พิเศษว่า สมเด็จพระวชิรญาณวงศ์ พ.ศ. ๒๔๗๖ ทรงเป็นประธานมหาเถรสมาคม บัญชาการคณะสงฆ์แทน
องคส์ มเดจ็ พระสงั ฆราชเจา้ พ.ศ. ๒๔๘๕ ทรงเปน็ ประธานคณะวนิ ยั ธร ตามพระราชบญั ญตั คิ ณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๔๘๔
พระองค์ทรงเป็นแม่กองสอบไล่พระปริยัติธรรมหลายครั้ง ทั้งในกรุงเทพฯ และหัวเมืองต่างจังหวัด
ต่อมาเม่ือ พ.ศ. ๒๔๘๐ ทรงเป็นเจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุติ และให้ทรงจัดการปกครองคณะธรรมยุติ คร้ัน
วนั ที่ ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๘ ไดร้ บั การสถาปนาสมณศักดขิ์ นึ้ เปน็ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า ตอ่ มาเมอ่ื วนั ที่ ๒๐
ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๙๙ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวภมู พิ ลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ถาปนา
พระอิสริยยศข้ึนเป็นสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ เน่ืองจากทรงเป็นพระราชอุปัชฌาจารย์
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบันเม่ือทรงผนวช และเม่ือ พ.ศ. ๒๕๐๐ ในงานฉลองพุทธศตวรรษ
ในประเทศไทย รฐั บาลสหภาพพม่า๒ไดถ้ วายสมณศักดิ์สงู สดุ ของพมา่ คอื อภธิ ชมหารฏั ฐครุ ุ สิน้ พระชนมเ์ มอื่
วันที่ ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๐๑ พระชันษา ๘๖ ปี พระราชทานเพลิงพระศพ ณ พระเมรุหน้าพลบั พลา
อศิ รยิ าภรณ์ วัดเทพศิรนิ ทราวาส วนั ท่ี ๒๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๐๓

_____________________________
๑ หมอ่ มเอม ธิดาพระยาดำ� รงคร์ าชพลขันธ์ (จุย้ คชเสน)ี
๒ ปัจจบุ นั ใชส้ าธารณรฐั แห่งสหภาพเมียนมาร์

181

พระราชปนัดดา รชั กาลที่ ๕



๑. สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ นี าถ พระธดิ าในพระวรวงศเ์ ธอ กรมหมน่ื จนั ทบรุ สี รุ นาถ
และหมอ่ มหลวงบวั กิตยิ ากร๑ พระราชสมภพเมือ่ วันศุกร์ เดือน ๙ ขึ้น ๑๑ ค่�ำ ปีวอก จตั วาศก จ.ศ. ๑๒๙๔
ตรงกบั วันท่ี ๑๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๗๕ เมอื่ เสดจ็ พระราชสมภพทรงดำ� รงสกลุ ยศเปน็ หม่อมราชวงศส์ ริ ิกิต์ิ
กิตยิ ากร ในรัชกาลปัจจบุ นั ทรงสถาปนาเปน็ สมเด็จพระราชนิ สี ิริกติ ์ิ เมื่อวนั ท่ี ๒๘ เมษายน พ.ศ. ๒๔๙๓
แล้วโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศสถาปนาเฉลิมพระเกียรตยิ ศเป็น สมเดจ็ พระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินี เมอ่ื
วันท่ี ๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๓ เม่ือพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระผนวชระหว่างวันท่ี ๒๒ ตลุ าคม
ถงึ วนั ที่ ๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๙๙ สมเด็จพระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ ี รับพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯ
เปน็ ผูส้ �ำเรจ็ ราชการแทนพระองค์ คร้ันวนั ที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๙๙ จงึ โปรดเกลา้ ฯ ให้เฉลมิ พระอภไิ ธยเป็น
สมเด็จพระนางเจา้ สริ ิกติ ์ิ พระบรมราชินนี าถ๒
ทรงรับต�ำแหน่งสภานายิกา สภากาชาดไทย มพี ระราชด�ำริให้จดั ตงั้ หน่วยงาน องคก์ ร และมลู นิธิ
ในพระราชนิ ูปถมั ภ์เป็นจ�ำนวนมาก อาทิ มูลนิธสิ ่งเสรมิ ศิลปาชพี ในสมเดจ็ พระนางสริ กิ ิติ์ พระบรมราชินนี าถ
เป็นต้น
๒. พระองค์เจา้ หญิงโสมสวลี (พระเจา้ วรวงศ์เธอ พระองคเ์ จ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาต)ุ
ธดิ าในหมอ่ มราชวงศอ์ ดลุ ยกติ ิ์ และทา่ นผหู้ ญงิ พนั ธส์ุ วลี กติ ยิ ากร๓ ประสตู เิ มอื่ วนั เสารท์ ่ี ๑๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๐
เม่ือประสูติด�ำรงสกุลยศเป็นหม่อมหลวงโสมสวลี กิติยากร หลังจากพระราชพิธีอภิเษกสมรสเม่ือวันท่ี ๓
มกราคม พ.ศ. ๒๕๒๐ แล้ว จงึ โปรดเกล้าฯ สถาปนาเปน็ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองคเ์ จ้าโสมสวลี พระวรชายา
ในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร ต่อมาเม่ือวันที่ ๑๒ สิงหาคม
พ.ศ. ๒๕๓๔ ไดร้ ับการเฉลมิ พระนามเป็นพระเจา้ วรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ โสมสวลี พระวรราชาทนิ ัดดามาต๔ุ
ทรงรบั โครงการตา่ ง ๆ ของสภากาชาดไทยไว้ในพระอุปถัมภ์หลายโครงการ และทรงจดั ตั้งมลู นธิ ิ
และโครงการสาธารณประโยชน์อนื่  ๆ เชน่ มูลนธิ ิศาสตราจารย์ นายแพทย์ หมอ่ มราชวงศก์ ัลยาณกิติ์ กติ ยิ ากร
มูลนิธอิ าสาเพอ่ื นพงึ่ (ภา) ยามยาก เป็นตน้

_____________________________
๑ หม่อมหลวงบัว กติ ยิ ากร ธิดา พลเอก เจ้าพระยาวงศานปุ ระพทั ธ (ม.ร.ว. สทา้ น สนิทวงศ์) และทา้ ววนดิ าพิจารณิ ี
(บาง สนิทวงศ์ ณ อยธุ ยา) ถงึ แก่พริ าลัยเมอ่ื วันท่ี ๑๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๒
๒ ราชกิจจานเุ บกษา เลม่ ๗๓ ตอนที่ ๑๐๓ วันท่ี ๑๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๙๙, หน้า ๑๖๔๐ - ๑๖๔๑.
๓ ทา่ นผหู้ ญงิ พนั ธส์ุ วลี พระธิดาพระเจา้ วรวงศ์เธอ พระองคเ์ จา้ ภาณุพนั ธย์ ุคล พระนามเดมิ หม่อมเจ้าพันธุส์ วลี ยุคล
๔ “ประกาศเฉลิมพระนาม”, ราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ๑๐๘ พ.ศ. ๒๕๓๔, ตอนที่ ๑๔๐ วนั ที่ ๑๒ สงิ หาคม
พ.ศ. ๒๕๓๔ ฉบับพเิ ศษ หนา้ ๑ - ๒”

182

พระบรมวงศานุวงศ์ที่ได้รับสถาปนาพระอิสริยยศขึน้ เปน็ เจ้า



๑. กรมหมื่นนรินทรพิทักษ์ พระนามเดิม หม่อมมุก บุตรเจ้าพระยามหาสมบัติ (ผล) พระภัสดา
พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมหลวงนรนิ ทรเทวี ในรชั กาลที่ ๑ ทรงสถาปนาเปน็ กรมหมนื่ นรนิ ทรพทิ กั ษ๑์ แตเ่ ชอ้ื สาย
ตอ่ มานับว่าเปน็ พระราชวงศท์ างฝา่ ยพระมารดา จึงอยู่สกลุ ณ อยธุ ยา ส้นิ ชพี ิตักษยั เม่ือเดอื น ๕ จ.ศ. ๑๑๗๙
พ.ศ. ๒๓๖๐๒ พระราชทานเพลิงพระศพ ณ วัดราชบุรณะ วนั พุธท่ี ๑๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๓๖๐๓
๒. พระองค์เจ้าชายขุนเณร บุตรพระอินทรรักษา (เสม)๔ พระภัสดาของสมเด็จพระเจ้าพ่ีนางเธอ
เจา้ ฟ้ากรมพระยาเทพสดุ าวดี ในรชั กาลท่ี ๑ ทรงสถาปนาขน้ึ เปน็ พระองคเ์ จ้า ไดร้ ่วมรบกบั สมเดจ็ พระบวรราช
เจา้ มหาสุรสิงหนาทในสงครามเกา้ ทัพทีท่ ุง่ ลาดหญา้ กาญจนบรุ ี โดยใช้ยุทธวธิ กี ารรบแบบกองโจร ส้นิ พระชนม์
ในรัชกาลท่ี ๓๕
๓. กรมขนุ สนุ ทรภเู บศร์ พระนามเดมิ วา่ เรอื ง๖ เปน็ ชาวเมอื งชลบรุ ี ไดร้ ว่ มสาบานเปน็ ภราดากบั สมเดจ็
พระบวรราชเจา้ มหาสรุ สงิ หนาท เพราะมีอุปการะกนั เวลาบา้ นเมืองเป็นจลาจล คร้ังเสียกรงุ เก่าแก่พม่าขา้ ศึก
ถงึ รชั กาลที่ ๑ จึงทรงสถาปนาขนึ้ เป็นเจ้า ตามพระราชประสงคข์ องสมเดจ็ พระบวรราชเจา้ มหาสรุ สิงหนาท๗
ส้ินชีพิตกั ษัยในรัชกาลที่ ๑ หลัง พ.ศ. ๒๓๔๘๘ เชือ้ สายของกรมขนุ สุนทรภูเบศรไ์ ดร้ ับพระราชทานนามสกลุ วา่
สนุ ทรกุล ณ ชลบุรี และบางเชอ้ื สายใช้ สนุ ทรมนูกิจ
๔. สมเด็จพระอมรนิ ทราบรมราชินี ดหู น้า ๑๑
๕. สมเด็จพระศรสี ลุ าไลย พระพนั ปีหลวง ดูหน้า ๒๐
๖. สมเด็จพระรูปสริ โิ สภาคย์มหานาคนารี ดหู น้า ๑๑
๗. เจา้ ดารารศั มี พระราชชายา ดูหนา้ ๑๐๐
๘. สมเด็จพระปยิ มาวดี ศรพี ัชรินทรมาตา ดูหน้า ๖๐

_____________________________
๑ ต�ำนานเทศนม์ หาชาต,ิ หนา้ ๕๑. วา่ พระองค์เจ้า กรมหมน่ื นรินทรพทิ ักษ์
๒ จดหมายความทรงจ�ำของพระเจา้ ไปยิกาเธอ กรมหลวงนรินทรเทวีฯ ข้อ ๒๔๙, หนา้ ๔๑๔.
๓ ประชุมหมายรับส่ัง ภาคที่ ๓ ฯ, หน้า ๑๐๙.
๔ พระราชพงศาวดารกรงุ รัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑ วา่ เปน็ พระโอรสของพระเจา้ รามณรงค์ พระเชษฐาในพระบาท
สมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
๕ วนั บรมมหาประสูตรแลวันประสตู ร (ฉบับคัดสำ� เนา)
๖ ชมุ นมุ พระบรมราชาธบิ ายในพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั , หนา้ ๑๙ ทรงเรยี กวา่ หมอ่ มเจา้ บำ� เรอภธู ร
๗ เดิมทรงต้ังเป็นเจ้าราชินิกุล ที่เจ้าบ�ำเรอภูธร มีความชอบในการสงคราม ทรงสถาปนาเป็นกรมหม่ืนสุนทรภูเบศร
ตอ่ มาเลอื่ นกรมเปน็ กรมขนุ สนุ ทรภเู บศร์ (ดู จดหมายเหตเุ รอื่ งทรงตง้ั พระบรมวงศานวุ งศ์ ฉบบั พมิ พ์ พ.ศ. ๒๔๖๘, หนา้ ๗๑.)
๘ พ.ศ. ๒๓๔๘ ยงั มพี ระชนม์อยู่ (ดู ประกาศเร่ืองบ�ำเพ็ญพระราชกุศลเทศน์มหาชาติในรชั ชกาลท่ี ๑ (พระนคร :
ราชบัณฑิตยสภา, ๒๔๗๔), หน้า ๓.)

183

๙. สมเดจ็ พระนางเจา้ อนิ ทรศกั ดศิ จี พระวรราชชายา เปน็ ธดิ าเจา้ พระยาสธุ รรมมนตรี (ปลม้ื สจุ รติ กลุ )
กับทา่ นผู้หญงิ สุธรรมมนตรี (กิมไล้ สุจรติ กลุ ) นามเดิม ประไพ สุจริตกลุ สมภพเมอ่ื วันอังคารที่ ๑๐ มถิ นุ ายน
พ.ศ. ๒๔๔๕ ในรัชกาลท่ี ๖ เมอ่ื วันที่ ๑๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๖๔ ทรงสถาปนาเปน็ พระอนิ ทราณี พระสนมเอก
ต่อมาเมอ่ื วันที่ ๑๐ ​มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๔๖๕ ทรงเล่ือนเปน็ พระวรราชชายาเธอ พระอินทรศกั ดศิ จี ครั้นวนั ที่
๑ ​มกราคม พ.ศ. ๒๔๖๕ ทรงสถาปนาเปน็ สมเด็จพระนางเจา้ อินทรศักดศิ จี พระบรมราชินี ตอ่ มามีพระบรม
ราชโองการเปล่ียนพระอิสริยยศเป็น สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา สิ้นพระชนม์เม่ือ
วันอาทิตยท์ ่ี ๓๐ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๑๘ พระชนมายุ ๗๒ ปี
๑๐. พระนางเจา้ สุวัทนา พระวรราชเทวี ดูหนา้ ๑๐๕
๑๑. สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี ดหู นา้ ๑๖๙
๑๒. พระองค์เจ้าหญงิ ศรรี ัศม์ิ (พระเจา้ วรวงศ์เธอ พระองคเ์ จา้ ศรีรศั ม์ิ พระวรชายา ในสมเด็จพระบรม
โอรสาธิราช เจา้ ฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกฎุ ราชกมุ าร) ประสูตเิ มอื่ วนั ที่ ๙ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๑๔ ในรชั กาล
ปัจจุบัน โปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็นพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาในสมเด็จพระบรม
โอรสาธิราชฯ สยามมกฎุ ราชกมุ าร เมอ่ื วันที่ ๑๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๘
สำ� หรบั สมเดจ็ พระสงั ฆราช นน้ั มพี ระอสิ รยิ ยศเปน็ เจา้ ตามธรรมเนยี มมาแตโ่ บราณ มพี ระยศเสมอ
พระองคเ์ จ้า
184

ภาคผนวก

ประกาศใช้คำ� นำ� พระนามพระบรมวงศานุวงศ์*



มีพระบรมราชโองการ ให้กราบทูลพระเจ้าพี่ยาเธอ กรมสมเด็จพระเดชาดิศร ให้ทรงพระด�ำริร�ำพึง
โดยเลอยี ดตอ่ ไปวา่ คำ� วา่ พระเจา้ พย่ี าเธอ พน่ี างเธอ นอ้ งยาเธอ นอ้ งนางเธอ ลกู เธอ หลานเธอ ๖ คำ� น้ี ฤๅเปน ๗
ท้ังค�ำว่าพระเจ้าลูกยาเธอ ตามพระด�ำริในกรมฤๅท้ังเปนค�ำว่า พระนางเธอ ท่ีทรงพระราชด�ำริห์ให้ใช้ขึ้นใหม่
โดยอนโุ ลมนนั้ ลว้ นเหน็ วา่ เปน็ คำ� ในโวหารภาษาไทยลาวแท้ แลคำ� วา่ ยา ทเ่ี พม่ิ เขา้ เปนคำ� กมั พชุ เขมรบา้ ง ไมเ่ จอื
ด้วยค�ำสงั สกฤต ฤๅมาคธิกาเลย ถงึ มีธรรมเนยี มอยา่ งอื่นว่าจะกราบทูลวา่ ลูกไม่ได้ ลูกคนต้องวา่ บตุ ร ลูกสตั วว์ า่
โปฎกบ้าง ลูกไม้ว่าผลก็ดี ในค�ำว่าพระเจ้าลูกยาเธอน้ีก็มิได้ห้ามค�ำว่าลูกเปนส�ำคัญ แลในมหาชาติกัณฑ์มัทรี
แลทอ่ี น่ื กม็ กั มวี า่ พระลกู เอยพระลกู เจา้ ดงั นบ้ี า้ ง ฟงั พระเทศนากน็ วนหอู ยดู่ หู ากดี ขวางไม่ แตค่ ำ� ทเี่ ปน็ คำ� สงั สกฤต
เรียกพระราชวงศานุวงศ์ในพระราชก�ำหนดเก่า คือต�ำแหน่งศักดินาแลกฎมณเฑียรบาล แลพงศาวดารก็มีว่า
สมเด็จพระอนุชาธิราช พระอนุชา พระราชบุตร พระราชโอรส พระราชเอารส พระราชบุตรี พระราชธิดา
พระราชนัดดา พระอัยกาธิราช พระอัยกาธิบดี พระอัยกี (ถ้าเปนพระอัยยิกาจะดี) แลต�ำแหน่งเจ้าข้างในว่า
พระบรมอรรคชายา พระราชเทวี พระมเหษี แลอ่ืน ๆ ฤๅตามค�ำพระเทศนาว่า พระภาคิไนย พระราชบิดา
พระราชมารดา พระชนก พระชนนี พระมาตลุ าธบิ ดี พระปติ จุ ฉา พระมาตจุ ฉาแลอนื่  ๆ อกี มากนกั ตามแตจ่ ะวา่
ไปตามความรนู้ น้ั ก็มมี าก ค�ำเช่นนน้ั ก็ยอ่ มเอามาใช้ในบตั ร์หมายอยบู่ า้ ง เหมอื นอย่างว่า สมเดจ็ พระอัยกาธริ าช
สมเดจ็ พระบรมชนกนาถ ทโ่ี ดยมากเรยี กสมเดจ็ พระพทุ ธเจา้ หลวง แลสมเดจ็ พระบรมราชชนนี ทเี่ รยี กโดยมากวา่
พระพนั ปหี ลวง แลสมเด็จพระบรมอรรคชายา ฤๅพระบรมราชเทวี ที่เรยี กโดยมากวา่ สมเดจ็ พระพันพรรษาใหญ่
แลน้อยน้ันก็มีตัวอย่างเก่าอยู่ต่าง ๆ ในค�ำคนเรียกแลหนังสือเขียน แลค�ำน�ำชื่อเจ้านายที่ตั้งเป็นบัญญัติขึ้นใหม่
ในรชั กาลปตั ยบุ นั น้ี คอื พระบรมวงศเธอ พระราชวรวงศเธอ พระบวรวงศเธอ พระวรวงศเธอ พระสมั พนั ธวงศเธอ
พระวงศเธอ ค�ำเหลา่ นี้เอามาน�ำช่ือกต็ ้องใส่เธอเขา้ ก็ฟงั กีดหอู ยู่ แต่จนใจไม่รทู้ จ่ี ะใชอ้ ยา่ งไร ด้วยเจ้านายซึง่ เปน
พระเจ้าลูกเธอ พระเจ้าหลานเธอ (ภาคิไนยหลานข้างเคียง) ในแผ่นดินที่ ๑ คร้ันถึงแผ่นดินท่ี ๒ ก็เลื่อนเปน
น้องยาเธอศักดินาสูงข้ึน หลานเธอตรง ๆ ในแผ่นดินที่ ๑ ครั้นมาในแผ่นดินที่ ๒ บางพวกก็เลื่อนเปนลูกเธอ
มศี ักดนิ าสูงข้ึน บางพวกก็คงเปนหลานเธออยู่ อยา่ งพระเจา้ หลานเธอ กรมหมืน่ ธิเบศรบวร แลอ่ืน ๆ หลานเธอ
หา่ ง ๆ กค็ งเรยี กวา่ หลานเธออยู่ อยา่ งพระเจา้ หลานเธอ กรมหมน่ื นราเทเวศร นเรศรโยธี เสนบี รริ กั ษ แลบางพวก
กลายเปนน้องเธอ อย่างกรมหลวงพิทักษมนตรี กรมขุนอิศรานุรักษ แลกรมหม่ืนนรินทรเทพ (ฉิม) กรมหมื่น
นเรนทรบริรักษ (เจ่ง) แต่กรมหม่ืนนรินทรพิทักษ (มุข) ๑ กรมขุนสุนทรภูเบศร (เรือง) ๑ ไม่ได้ยินใครเรียก
คำ� นำ� หนา้ วา่ กระไรเลยมาแตเ่ ดมิ กเ็ ปนอนั เหน็ ปรากฎวา่ ตา่ งกรมทไี่ มม่ คี ำ� นำ� หนา้ นน้ั เปนคนตำ่� ศกั ดแ์ิ ลหา่ งเหนิ

_____________________________

* ประชมุ ประกาศรชั กาลที่ ๔ ภาคปกิรณกะ ส่วนท่ี ๑ (กรุงเทพฯ : หอพระสมดุ วชิรญาณ, ๒๔๖๗), หน้า ๘๔-๘๗.

(สมเด็จพระมาตุจฉาเจ้า พระบรมราชเทวี โปรดให้พิมพ์ในงารพระราชทานเพลิงศพ ท้าวทรงกันดาน (เจ้าจอมมารดา หุ่น
รชั กาลท่ี ๔) เม่ือปีชวด พ.ศ. ๒๔๖๗).

186

นกั เปนอยา่ งมาแลว้ แลกรมสมเดจ็ พระเทพามาตย์ ในแผน่ ดินขุนหลวงสรศกั ดิ ๑ ในแผ่นดนิ ขนุ หลวงเอกทัต ๑
ในแผ่นดินเจ้าตาก ๑ แลกรมสมเดจ็ พระอมรนิ ทรามาตย์ แลกรมสมเด็จพระศรสี ุลาลยั ๓ พระนามน้ี ถงึ ไมม่ ี
คำ� น�ำก็บางแห่งเห็นเขียนว่า กรมสมเดจ็ พระเทพามาตย์ พระพนั ปีหลวงห้อยท้ายเปนสำ� คญั ก็มี
อน่ึงชื่อกรมเจ้าข้างในว่า กรมหลวงประชาบดี ในแผ่นดินทรงปลา แลกรมหลวงอภัยนุชิต กรมหลวง
พิพิธมนตรี ในแผ่นดินบรมโกษฐ แลกรมหลวงบาทบริจาริก ในแผ่นดินเจ้าตากไม่มีค�ำน�ำนาม ก็ยังเห็น
ค�ำห้อยท้ายบางแห่งในพงศาวดารว่า กรมหลวงอภัยนุชิต สมเด็จพระพันพรรษาใหญ่ กรมหลวงพิพิธมนตรี
สมเดจ็ พระพันพรรษาน้อยดงั นบี้ า้ ง ก็เหน็ เปนอย่างได้วา่ ใชค้ ำ� นำ� ห้อยแทน ค�ำน�ำกรมหลวงโยธาเทพ กรมหลวง
โยธาทพิ ซงึ่ เปนพระเจา้ นอ้ งนางเธอแลพระเจา้ ลกู เธอ ในแผน่ ดนิ พระนารายนน์ นั้ เมอื่ มาถงึ แผน่ ดนิ พระเพธราชา
ก็หาได้ยินเรียกว่าสมเด็จพระพันพรรษาไม่ ครั้นมาถึงแผ่นดินขุนหลวงเอกทัตนั้น ได้เห็นจดหมายเหตุว่าสมเด็จ
พระอัยกี กรมหลวงโยธาเทพดงั นี้เปน็ แน่
คร้ันมาถงึ แผน่ ดินท่ี ๓ เจ้านายซึง่ เปนพระเจา้ ลูกเธอแลหลานเธอในแผน่ ดิน ๑ แลเลอ่ื นเปน็ น้องยาเธอ
น้องนางเธอ ในแผ่นดินที่ ๒ นั้นก็ดี เจ้าเปนหลานเธอห่างๆ มาท้ังสองแผ่นดิน คือกรมนราเทเวศร นเรศรโยธี
เสนีบริรักษ ก็ดี ก็ลงเปนผู้ท่ีใครจะใช้ค�ำน�ำว่ากระไรก็ใช่ช่ือน�ำตามบันดาศักดินั้นก็เปนอันหายไป ไม่ใช้ว่า
กระไรเลยหายไปหมดเหมือนกับเจ้านายห่างเหินไป เพราะถึงค�ำว่าพระเจ้าพี่ยาเธอดังนี้ ในพระบรมราชวงศ์น้ี
เม่ือ ๓ แผ่นดินท่ีล่วงแลว้ มาบัดนีไ้ มม่ ี ก็ยงั ได้อย่างแตค่ ำ� บตั ร์หมายจดหมายซึง่ มแี ล้วในแผน่ ดนิ ที่ ๑ วา่ สมเดจ็
พระพี่นางเธอ กรมสมเดจ็ พระเทพสดุ าวดี กรมสมเด็จพระศรสี ุดารกั ษนนั้ เปนอย่าง จงึ ไดใ้ ช้ในคร้ังนีโ้ ดยอนโุ ลม
แลจะเรยี กเจ้านายทีเ่ ปนเจา้ ลุง เจ้าป้า เจา้ อาว์ เจ้าน้า ว่าพระเจา้ ลุงเธอ พระเจา้ ปา้ เธอ พระเจ้าอาวเ์ ธอ พระเจ้า
น้าเธอดังน้ี เพราะไม่มีค�ำเคยเรียกเคยเขียน คร้ันจะให้เรียกก็จะกระดากปาก จะฟังก็กระดากหู จะดูค�ำเขียน
กจ็ ะไมง่ ามแกต่ า เพราะค�ำว่าลงุ ว่าปา้ ว่าอาว์วา่ นา้ นัน้ เปน็ คำ� ไทยไพร่ใชเ้ รยี กกันอยู่

187

๏ หนังสอื หลวง ๚*



๏ ประกาศเลา่ ดว้ ยธรรมเนยี มลงสรงโสกนั ต,์ สมเดจ็ พระเจา้ นอ้ งยาเธอเจา้ ฟา้ . สมเดจ็ พระเจา้ นอ้ งนางเธอ
เจา้ ฟา้ . ทเี่ ปนพธิ สี ำ� รบั ราชตระกลู , ในแผน่ ดนิ สยามสบื มา. สมเดจ็ พระเจา้ นอ้ งยาเธอเจา้ ฟา้ , สมเดจ็ พระเจา้ นอ้ งนางเธอ
เจา้ ฟา้ ทง้ั ชายหญงิ , สมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอเจา้ ฟา้ ทงั้ ชายหญงิ , สมเดจ็ พระเจา้ หลานเธอเจา้ ฟา้ ทงั้ ชายทงั้ หญงิ . คอื
ทา่ นทม่ี พี ระบดิ าพระมารดา, เปนราชตระกลู ทง้ั สองฝา่ ย. แตจ่ ะวา่ ใหเ้ ลอยี ดถา้ การตงั้ พระวงษใ์ หม,่ พระเจา้ พยี่ า,
พระเจา้ นอ้ งยา, พระเจา้ พนี่ าง, พระเจา้ นอ้ งนาง. ทรี่ ว่ มพระชนกชนนกี บั สมเดจ็ พระเจา้ แผน่ ดนิ , กเ็ ปนสมเดจ็ พระเจา้
พยี่ าเธอ, สมเดจ็ พระเจา้ นอ้ งยาเธอ, สมเดจ็ พระเจา้ พนี่ างเธอ, สมเดจ็ พระเจา้ นอ้ งนางเธอทง้ั สนิ้ . แตท่ ตี่ า่ งพระมารดา
ตอ่ โปรดใหเ้ ปนจงึ่ เปนได.้ พระเจา้ ลกู เธอทป่ี ระสตู รแตพ่ ระอรรคมเหสพี ระอรรคชายา, ทต่ี ดิ มาแตเ่ ดมิ กด็ ตี ง้ั ใหมก่ ด็ ,ี
เปนสมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอเจา้ ฟา้ ทงั้ ชายทง้ั หญงิ , พระเจา้ ลกู เธอ. ทเี่ จา้ จอมมารดาเปนแตพ่ ระสนมไมเ่ ปนเจา้ ฟา้ , กเ็ ปน
แตพ่ ระองคเ์ จา้ . ถา้ เจา้ จอมมารดาเปนเชอ้ื พระวงษหา่ ง ๆ กด็ ,ี เปนบตุ รเจา้ แผน่ ดนิ เมอื งนอ้ ยรอบคอบกด็ ,ี ฤๅเปนบตุ ร
เสนาบดมี คี วามชอบกด็ ,ี ถา้ โปรดใหเ้ ปนเจา้ ฟา้ กเ็ ปนได.้ พระเจา้ หลานเธอนนั้ คอื พระโอรศพระธดิ าในพระบวรราชวงั ,
ถา้ พระมารดาโปรดใหเ้ ปนเจา้ , บตุ รกเ็ ปนสมเดจ็ พระเจา้ หลานเธอเจา้ ฟา้ .
๏ สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอเจ้าฟ้าหญิง, สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าหญิง. เมื่อได้พระสวามี เปน
พระเจา้ แผน่ ดนิ ใหญ่กด็ ี, เปนกรมพระราชวงษกด็ ,ี เปนเจา้ ต่างกรมไม่มีกรม เจ้าฟ้าพระองคเ์ จา้ ก็ดี, ถา้ มีบตุ ร
บุตรี บังเกิดก็เปนเจ้าฟ้าตามพระมารดา. แต่ศักดิ์นาต่�ำเสมอพระองค์เจ้าท่ีเปนพระเจ้าหลานเธอ ดังสมเด็จ
พระเจา้ หลานเธอ, มีศกั ดิน์ าเสมอเพียงพระองคเ์ จ้าทเี่ ปนพระเจ้าลกู เธอ.
๏ เมอื่ แผน่ ดนิ สบื  ๆ มาพระราชโอรศ พระราชธดิ า ของสมเดจ็ พระเจา้ แผน่ ดนิ ใหญ,่ แลกรมพระราชวงั ,
ทป่ี ระสตู รแตพ่ ระมารดาเปนเจา้ ฟา้ กด็ ,ี เปนพระองคเ์ จา้ กด็ ,ี คงเปนเจา้ ฟา้ . ถา้ มารดาเปนแตห่ มอ่ มเจา้ แลราชนิ กิ ลู
แลธดิ าเมอื งนอ้ ยรอบคอบ, กค็ งเปนแตพ่ ระเจา้ ลกู เธอพระองคเ์ จา้ . ตอ่ พระเจา้ แผน่ ดนิ ใหญโ่ ปรดใหเ้ ปนเจา้ ฟา้ จง่ึ เปนได.้
๏ ในกรมพระราชวังหลัง, บุตร บุตรี ประสูตรแต่อรรคชายามียศเปนเจ้าก็เปนได้เพียงพระองค์เจ้า.
ต่อมารดาเปนเจ้าฟา้ จ่ึงเปนเจา้ ฟ้าตามพระมารดา. บตุ ร บตุ รี กรมพระราชวงั หลงั , ที่เกดิ แตพ่ ระสนม, ก็คงเปน
หม่อมเจ้าเหมือนกับบุตร บุตรี ของพระองค์เจ้าชายทั้งปวง, ท่ีต้ังกรมแล้วแลยังไม่มีกรม หม่อมเจ้าท้ังปวง.
ที่ได้ราชการฝ่ายน่าฝ่ายใน, โปรดเล่ือนให้เปนพระองค์เจ้าโดยความชอบก็เปนได้. การก�ำหนดท่ีว่ามานี้, ตาม
แบบแผน ซ่งึ มีสืบมาแต่โบราณหลายชัว่ แผน่ ดินแต่ครั้งกรุงเกา่ มา.
๏ เมอื่ ครง้ั แผ่นดินกรงุ ธนบุรี, แรกตั้งแผน่ ดินบางกอกกอ่ นพระวงษน้,ี มพี ระเจ้าลูกเธอชายเปนเจ้าฟา้
สามพระองค์. พระองค์หนึ่งเกิดแต่พระอรรคชายาเดิม, อีกพระองค์หนึ่งเกิดแต่มารดาท่ีเปนพระญาติวงษของ
พระเจ้าแผน่ ดินในเวลาน้นั . อกี พระองค์หน่ึง, เกิดแตม่ ารดาทีเ่ ปนพระบุตรขี องพระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา้
จุฬาโลกย์, ซ่ึงเวลาน้ันพระเจ้าแผ่นดินโปรด, ให้ถืออาญาสิทธเหมือนพระเจ้าแผ่นดินในการสงคราม. ในเจ้าฟ้า
ท้ังสามน้ัน, องค์ที่สองสิ้นชีพเสียแต่ยังเยาว์. องค์ที่หน่ึงส้ินชีพเม่ือล่วงแผ่นดินนั้นไป. แต่องค์ที่สามสืบมาเปน
สมเด็จพระเจ้าหลานเธอเจ้าฟ้า, ในแผ่นดนิ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลกย.์ เมื่อตั้งพระวงษใหม่ข้ึน,
สมเดจ็ พระเจา้ พนี่ างเธอสองพระองคก์ เ็ ปนเจา้ ฟา้ . สมเดจ็ พระเจา้ พน่ี างเธอพระองคใ์ หญม่ พี ระบตุ ร ๓ พระบตุ รี ๑
แต่พระบิดาส้ินชีพเสียนานแล้ว, สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอพระองค์น้อยมีพระบุตร ๓ พระบุตรี ๒ พระบิดาก็
สิ้นชีพเสยี นานแลว้ เหมือนกัน. ก็ท้งั ๙ พระองค์นน้ั , พระเจา้ อยู่หวั โปรดให้เปนสมเด็จพระเจ้าหลานเธอเจา้ ฟ้า
ทั้งส้ิน. ภายหลังมาพระบุตรของสมเด็จพระเจ้าพ่ีนางเธอพระองค์ใหญ่นั้น, โปรดให้เปนกรมพระราชวังหลัง
เปนล�ำดบั สมเด็จพระเจ้านอ้ งยาเธอ, ทีโ่ ปรดใหเ้ ปนกรมพระราชวังบวรในแผน่ ดนิ น้นั .

_____________________________
* หนงั สือจดหมายเหตุ (THE BANGKOK RECORDER) เล่ม ๑ จุลศักราช ๑๒๒๗ ใบที่ ๒๒ น่า ๒๗๗ - ๒๗๙.

188

๏ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ในแผน่ ดนิ นนั้ , มพี ระราชโอรศสองพระองค,์ พระราชธดิ าสองพระองค์
แตพ่ ระอรรคชายาเดมิ , โปรดใหเ้ ปนสมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอเจา้ ฟา้ ทงั้ ๔ พระองค.์ แตก่ รมพระราชวงั มพี ระราชธดิ า
ประสูตรแต่พระมารดาเปนเชื้อเจ้าเมืองเชียงใหม่, โปรดให้เปนสมเด็จพระเจ้าหลานเธอเจ้าฟ้าด้วย. ร่วมเจ้าฟ้า
ในตน้ แผน่ ดินพระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกย,์ คือสมเด็จพระเจา้ พี่นางเธอ ๒. ถ้านับสมเด็จพระเจ้า
นอ้ งยาเธอ, ทเ่ี ปนกรมพระราชวงั ดว้ ยกเ็ ปน ๓ เปนชนั้ ศกั ดส์ิ งู อยา่ งเอก. สมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอเจา้ ฟา้ ๔ พระองค์
เปนอย่างโท. สมเด็จพระเจ้าหลานเธอเจ้าฟ้า, นับกรมพระราชวังหลังด้วยเป็น ๑๑ พระองค์เปนอย่างตรี.
ร่วมเจ้าฟ้าทั้ง ๓ อย่างเปน ๑๘ พระองค์. คือนับเจ้าฟ้าหลานเธอที่เปนราชบุตรเจ้ากรุงธนบุรีด้วยนั้น. อน่ึงมี
เจ้าฟ้าหญิงแก่อีกพระองค์หน่ึง, เปนพระราชธิดาสมเด็จพระเจ้าแผ่นดินพระวงษเก่ากรุงศรีอยุทธยา, ยังคงยศ
บนั ดาศกั ดเิ์ ปนเจา้ ฟ้าอยดู่ ว้ ย, จึ่งรวมเปน ๑๙ พระองคด์ ้วยกัน.
๏ ก็ในเจา้ ฟา้ เหล่าน,ี้ เมือ่ แรกต้ังแผ่นดินยังไม่ไดโ้ สกนั ต์ ๗ พระองค์, คอื สมเดจ็ พระเจ้าลูกเธอเจา้ ฟ้า
๓ พระองค์, ยกแต่พระองค์ใหญ่. สมเด็จพระเจ้าหลานเธอเจ้าฟ้าในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอพระองค์น้อย
๒ พระองค์, สมเด็จพระเจ้าหลานเธอเจ้าฟ้าในกรมพระราชวังพระองค์หนึ่ง, สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ, ท่ีเปน
ราชบุตรเจา้ กรงุ ธนบุรีพระองคห์ นึ่ง, จงึ่ รวมเปน ๗ พระองค.์ ในเจ้าฟ้า ๗ พระองค์น้,ี เมอื่ ถงึ ปีมกี ำ� หนดควรจะ
โสกันต์, ก็มรี าชการทัพศึกกับพม่าวู่นวายอย,ู่ เพราะเปนการตน้ แผน่ ดนิ ไม่มีช่องมีเวลาทจ่ี ะไดท้ ำ� พระราชพธิ ใี ห้
เตมตามต�ำรา. คือสองพระองคถ์ ึงก�ำหนดโสกนั ตใ์ นปีแรกต้ังแผน่ ดินใหม่, คอื ปฃี าน จัตวาศก ศักราช ๑๑๔๔,
ตรงกับปมี ีคฤสตศกั ราช ๑๗๘๒. อกี สองพระองค์ถึงก�ำหนดในปีมเสงสปั ตศก ศกั ราช ๑๑๔๗, ตรงกบั ปมี คี ฤสต
ศกั ราช ๑๗๘๕. อกี สองพระองค.์ ถงึ กำ� หนดโสกนั ตใ์ นปรี กาเอกศก ศกั ราช ๑๑๕๑, ตรงกบั ปมี คี ฤสตศกั ราช ๑๗๘๙.
สมเด็จพระเจ้าหลานเธอเจ้าฟ้าท่ีเปนราชบุตรเจ้ากรุงธนบุรีนั้น, ถึงก�ำหนดโสกันต์ในปีกุนตรีศกศักราช ๑๑๕๓,
ตรงกับปีมีคฤสตศักราช ๑๗๙๑. ในสิบปีนี้พม่ายกมารบแทบทุกปี, มีราชการทัพศึกมาก, ไม่มีช่องที่จะได้คิด
ท�ำการลงสรงโสกันต์เลย, เปนแต่ท�ำโดยสังเขปภอเปนแล้วไป. แต่เจ้าฟ้าพินทวดีซึ่งเปนพระราชธิดาพระเจ้า
แผ่นดินกรุงศรีอยุทธยาโบราณนั้น, ท่านเคยลงสรงโสกันต์ด้วยพระองค์เอง. แลเหนการงานต่าง ๆ เม่ือเวลา
ลงสรงโสกันต์เจ้าพี่เจ้าน้องของท่าน, ท่านทราบการทุกอย่าง. เปนผู้แนะอย่างธรรมเนียมโบราณอ่ืน ๆ ต่าง ๆ
หลายอย่างหลายประการในกรุงเทพฯ นี้. เม่ือท่านเหนว่าเจ้าฟ้า ๗ พระองค์ที่โสกันต์, ไม่ได้ท�ำเตมตามต�ำรา
พระราชพิธีแตส่ ักพระองค์หนงึ่ , จนหมดเจ้าฟ้าไปแลว้ , ท่านกบ็ ่นนกั วา่ การอยา่ งธรรมเนยี ม, พระราชพธิ ีลงสรง
โสกนั ตเ์ จา้ ฟา้ จะสาบสูญไปเสยี แลว้ . ท่านก็ทรงพระชราแล้ว. เม่ือไมม่ พี ระชนมท์ ่าน ถ้าการสืบไปมีเวลาท่ีจะได้
ท�ำขึ้น, ไครจะมาแนะชี้การให้ถูกต้องตามแบบแผนได้เล่า. ท่านจ่ึงคิดอ่านจดหมายการงานลงสรงโสกันต์ต่าง ๆ
ลงไว.้ แลว้ ชแี้ จงใหผ้ ใู้ หญผ่ นู้ อ้ ยขา้ งนา่ ขา้ งใน, เรยี นดรู ไู้ วด้ ว้ ยกนั มาก, เพอ่ื จะไมใ่ หก้ ารสาบสญู ไป. ความทเ่ี จา้ ฟา้
พนิ ทวดที รงพระวติ กนน้ั , กรมพระราชวงั ในแผน่ ดนิ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกยท์ รงเหนชอบดว้ ย.
จง่ึ ทรงสร้างเฃาไกรลาศมีพระมณฑปบนยอด, แลมีสระอโนดาตแลทอ่ ไฃน้�ำจากปากสัตวท์ ัง้ ๔ ตามอย่างเจ้าฟ้า
พินทวดีชี้การให้ท�ำ. คร้ันการเฃาไกรลาศเสรจ์แล้ว, ก็กราบทูลฃอแด่พระเจ้าอยู่หัว, ให้โปรดให้ท�ำการโสกันต์
พระราชบุตรแลพระราชบุตรีของท่าน, ท่ีเปนแต่พระองค์เจ้าสมมุตให้เปนดังเจ้าฟ้า. ท�ำการทั้งน้ีแม้นผิดอย่าง
ธรรมเนยี มกเ็ พอ่ื วา่ จะใหเ้ หนเปนอยา่ งทนั เวลา, เมอ่ื เจา้ ฟา้ พนิ ทวดยี งั ทรงพระชนมอ์ ย,ู่ จะใหม้ ผี ไู้ ดร้ ไู้ ดเ้ หนไวเ้ ปน
อันมาก, มิใหก้ ารสาบสูญไป. พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั , กโ็ ปรดให้การเปนไปตามพระไทยกรมพระราชวัง.
แตส่ ว่ นพระองคไ์ ม่ชอบพระราชหฤไทย, จะทำ� ให้ผิดอยา่ งธรรมเนยี มไป. กรมพระราชวงั เมื่อได้ช่องโปรดอำ� นวย
ให้ท�ำ, ก็ไดท้ �ำการโสกันต์ในพระบวรราชวงั ถึง ๓ ครั้ง. คือ ปเี ถาะสปั ตศก, ศกั ราช ๑๑๕๗, ตรงกับปมี ีคฤสต
ศกั ราช ๑๗๙๕ ครั้งหนง่ึ . คอื ปีมเมยี สัมฤทธศิ ก, ศกั ราช ๑๑๖๐, ตรงกับปมี ีคฤสตศกั ราช ๑๗๙๘ ครง้ั หนึ่ง. คอื
ปีรกาตรีศก, ศกั ราช ๑๑๖๓, ตรงกับปีมีคฤสตศักราช ๑๘๐๑ ครัง้ หน่ึง

189

๏ หนงั สือหลวง ๚*



๏ แลในแผน่ ดนิ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกยน์ น้ั , สมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอเจา้ ฟา้ พระองคใ์ หญ,่
ไดเ้ สดจ็ อยกู่ บั สมเดจ็ พระเจา้ หลานเธอเจา้ ฟา้ หญงิ . ในสมเดจ็ พระเจา้ พน่ี างเธอพระองคน์ อ้ ย, ประสตู พระราชโอรศ
๓ พระองค.์ พระองคท์ ห่ี นง่ึ ประสตู รใ์ นปรี กาตรศี ก, ศกั ราช ๑๑๖๓, ตรงกบั ปมี คี ฤษตศกั ราช ๑๘๐๑ ไดเ้ ปนเจา้ ฟา้
ตามพระมารดาแต่สิ้นพระชนม์เสียในปีน้ัน. พระองค์ท่ี ๒ ประสูตร์ในปีชวดฉศก, ศักราช ๑๑๖๖, ตรงกับปีมี
คฤษตศกั ราช ๑๘๐๔. พระองคท์ ่ี ๓ ประสตู รใ์ นปมี โรงสมั ฤทธศิ ก, ศกั ราช ๑๑๗๐, ตรงกบั ปมี คี ฤษตศกั ราช ๑๘๐๘.
สองพระองค์น้ีเปนเจ้าฟ้าตามพระมารดา. แลมีกรมพระราชวังบวรในแผ่นดินนั้น, สวรรคตในปีกูนเบญจศก,
ศักราช ๑๑๖๕ ตรงกับปีมคี ฤษตศกั ราช ๑๘๐๓. แล้วลว่ งมาถงึ ปเี ถาะนพศก, ศักราช ๑๑๖๙ โปรดให้สมเด็จ
พระเจา้ ลกู เธอเจ้าฟ้าพระองค์ใหญ,่ เลือ่ นท่ีเปน กรมพระราชวงั บวร. เม่อื นัน้ เจ้าฟ้าพระโอรศทา่ นสองพระองค,์
องค์หนึ่งประสูติก่อนเล่ือนท่ี. พระองค์ประสูตรเม่ือเล่ือนท่ีแล้วน้ัน, ก็เปนสมเด็จพระเจ้าหลานเธอเจา้ ฟา้ .
๏ ก็พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกย์, ได้มีพระราชธิดาพระองค์หนึ่ง, มารดาเปนบุตรี
เจ้าเมืองเวียงจัน, โปรดให้เปนแต่เพียงพระองค์เจ้าเหมือนกันกับพระราชบุตร์. แลพระราชบุตรีพระองค์อื่น
ท่ีประสูตรแต่พระสนม, เจ้าจอมมารดาของพระองค์เจ้าน้ัน, สิ้นชีบในปีกุนเบญจศก. เมื่อกรมพระราชวังบวร
สวรรคตแล้วนนั้ , พระองค์เจา้ นั้นมีพระชนมายไุ ด้ ๕ ขวบ, เปนก�ำพรา้ ไม่มีเจ้าจอมมารดา. ทรงพระกรุณามาก.
ภายหลงั ลว่ งมาปหี นงึ่ , พระองคเ์ จา้ นน้ั ตามเสดจ็ ลงไปลอยกระทง, วง่ิ เลน่ ตกน�้ำหายไป. คนทง้ั ปวงตกใจเทย่ี วหา
อยู่ครู่หนึ่ง, จึ่งภบพระองค์เจ้าไปเกาะทุ่นหยวกอยู่หาจมน�้ำไม่. ผู้ภบเชิญเสด็จกลับมาได้, จึ่งทรงพระกรุณา
โปรดมากข้ึน. มีพระราชโองการด�ำรัสว่า, พระองค์เจ้าน้ีเจ้าจอมมารดาก็เปนเจ้าฝ่ายลาว. ไอยกาธิบดีคือ
ตวั เจ้าเวียงจันกย็ ังอยู่. ควรจะใหเ้ ล่อื นท่เี ปนสมเด็จพระเจา้ ลูกเธอเจา้ ฟ้า. การพิธีโสกนั ตใ์ นพระบรมมหาราชวงั ,
แต่ต้ังแผ่นดินมาก็ยังหาได้ท�ำไม่. ถ้าถึงคราวโสกันต์จะได้ท�ำให้เปนแบบอย่างในแผ่นดิน. จ่ึงโปรดพระราชทาน
พระสพุ รรณบัต, ใหเ้ ปนสมเด็จพระเจา้ ลกู เธอเจา้ ฟ้ากณุ ฑลทพิ ยวดี. เจา้ ฟา้ นนั้ เมื่อถึงปีมโรงสมั ฤทธศิ ก, ศักราช
๑๑๗๐, ตรงกับปีมีคฤษตศกั ราช ๑๘๐๘ พระชนมายคุ รบ ๑๑ ป,ี ถึงก�ำหนดทจี่ ะโสกันต์เม่ือน้นั , เจ้าฟ้าพนิ ทวดี
ทีเ่ ปนผู้ช้กี ารมา, ก็สิน้ พระชนม์ไปแล้วถงึ ๗ ปี. ถงึ กระนั้นแบบแผนตัวอย่างการตา่ ง ๆ ทีเ่ จา้ ฟา้ พนิ ทวดีได้ทรง
จัดไว้, มีผู้ได้เรียนรู้เหนอยู่เปนอันมาก. แลได้ดูอย่างการที่ท�ำแต่ก่อนในพระบวรราชวังสามคร้ังน้ันด้วย. จึ่งได้
จดั การพระราชพธิ โี สกนั ตเ์ ปนการใหญเ่ ตมตามตำ� รา. คอื ตงั้ พระราชพธิ บี นพระมหาปราสาทคลา้ ยกบั พระราชพธิ ี
ตรศุ , แลมีเฃาไกรลาศราชวัด, ฉตั รทอง, ฉตั รเงิน, แลฉตั รรายทาง, นั่งกระละบาด, แลการเลน่ ต่าง ๆ อย่างสูง.
แลแห่มีมยุรฉัตร, นางเชิญเคร่ือง, นางสระแห่เคร่ืองขาว. เสด็จมาทรงฟังพระสงฆ์สวดพระพุทธมนต์สามวัน.
แลว้ แหม่ าเวลาเช้าโสกันต์ในวนั ที่ ๔ แลว้ เสดจ์ขึน้ เขาไกรลาศ. ครอบเครือ่ งต้นแลว้ แห่เวยี นเขาไกรลาศสามรอบ,
แลว้ แหก่ ลบั ในเวลาเชา้ . ครน้ั เวลาบา่ ยแหเ่ ครอื่ งแดงมาสมโภชวนั นนั้ แลว้ ตอ่ ไปอกี สองวนั . วนั ที่ ๗ จง่ึ แหพ่ ระเกสา
ไปลอย. การเปนเสรจโ์ สกนั ตเ์ จ้าฟา้ กุณฑลทพิ ยวด,ี ในเดอื น ๔ ปีมโรงสัมฤทธศิ ก, ศักราช ๑๑๗๐, ตรงเดอื น
มารช์ , ในปีมคี ฤษตศกั ราช ๑๘๐๙
๏ ครน้ั ลว่ งมาอกี ๖ เดอื น, พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกยเ์ สดจ็ สวรรคต. สมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ
กรมพระราชวังบวร, ได้เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ, เปนแผ่นดินที่สอง. เจ้าฟ้าพระราชโอรศสองพระองค์นั้น,

_____________________________
* หนังสือจดหมายเหตุ (THE BANGKOK RECORDER) เลม่ ๑ จุลศกั ราช ๑๒๒๗ ใบท่ี ๒๓ น่า ๒๘๙ - ๒๙๑.

190

ก็เปนสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้า. พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาไลยพระเจ้าแผ่นดินพระองค์น้ัน.
ทรงปฤกษาด้วยข้าราชการผู้ใหญ่ผู้น้อยฝ่ายน่าฝ่ายใน, ว่าการพระราชพิธีโสกันต์เจ้าฟ้า, ได้ท�ำลงเปนอย่างมี
แบบแผนเปนจดหมายเหตุอยู่แล้ว. แต่การพระราชพิธีลงสรงตั้งพระนามเจ้าฟ้า, โดยอย่างเตมตามต�ำราคร้ัง
กรุงศรีอยุทธยาเก่า, ยังหาได้ท�ำเปนแบบอย่างไม่. ผู้หลักผู้ใหญ่ที่เคยเหนก็แก่ชราเกือบจะหมดไปแล้วจะ
สาบสญู เสยี . จะใครท่ ำ� ไวใ้ หเ้ ปนเกรยี ตยิ ศเยย่ี งอยา่ งสกั ครงั้ หนงึ่ . ขา้ ราชการเหนพรอ้ มตามกระแสพระราชดำ� รหิ .์
ครั้นถึงปีรกาเบญจศก, ศักราช ๑๑๗๕, ตรงกับปีมีคฤษสตศักราช ๑๘๑๓, จ่ึงได้ต้ังการพระราชพิธีลงสรง,
สมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอเจา้ ฟา้ พระองคใ์ หญ,่ ผกู แพไมไ้ ผท่ ที่ า่ ราชวรดฐิ , มกี รงทสี่ รงอยกู่ ลางลอ้ มดว้ ยซก่ี รงชน้ั หนงึ่ ,
ตารางไม้ไผ่อีกช้ันหน่ึง, ร่างแหอีกชั้นหนึ่ง, ผ้าขาวอีกช้ันหน่ึง. มีบันใดเงินบันใดทองลงสองข้าง, บันใดกลาง
เปนเตยี งหลนั่ หมุ้ ผา้ ขาว, เรยี กวา่ บนั ใดแกว้ . ในกรงมมี พรา้ วคปู่ ดิ เงนิ ปดิ ทอง. แลปลาทองปลาเงนิ , กงุ้ ทองกงุ้ เงนิ ,
ลอยอยทู่ ง้ั ๔ ทศิ . กรงนน้ั มพี ระมลฑปสรวมมรี าชวดั . ฉดั ทอง, ฉดั นาก, ฉดั เงนิ , ลอ้ ม ๓ ชน้ั , มที หารนง่ั รายรอบ.
แลมีเรือจุกช่องล้อมวง, แพที่สรงแทนเขาไกรลาศในการโสกันต์. การพระราชพิธีนอกนั้น, คือการบนพระมหา
ปราสาท, แลการแห่ทางแห่การเล่นต่าง ๆ ก็เหมือนกับโสกันต์. แห่เคร่ืองขาวเสด็จไปทรงฟังพระสงฆ์สวด
พระพุทธมลต์บนพระมหาปราสาทสามวัน, วันท่ี ๔ จ่ึงแห่เสด็จลงไปท่าราชวรดิฐ. สรงในแพท่ีสรงแล้วแห่
กลบั แลว้ , จึ่งเสด็จมารับพระสพุ รรณบัตรบนพระมหาปราสาท, พระราชทานพระสพุ รรณบัตรจาฤกพระนามวา่ ,
สมเด็จพระเจา้ ลูกเธอ, เจา้ ฟา้ มงกฎุ สมมตวิ งษ พงษอิศวรกระษัติย ขัติยราชกุมาร. คร้นั เวลาบา่ ยแห่เคร่อื งแดง
ทรงเครือ่ งตน้ , มาสมโพชทีพ่ ระทีน่ ่งั อมรนิ ทรวินจิ ฉัย. ครั้นน้นั เรยี กวา่ พระทีน่ ่งั จักพรรดิพมิ านในวนั น้นั . แลต่อไป
อีกสองวันเปนสามเวลาเสรจ์การพระราชพิธีลงสรง.
๏ ครน้ั เสรจ็ การแลว้ มพี ระราชโองการดำ� รศั , วา่ การลงสรงเชน่ นท้ี ำ� แตค่ รงั้ เดยี วนเี้ ถดิ . ภอเปนตวั อยา่ ง
ไว้ไมใ่ ห้สญู พธิ ีโบราณ. เพราะการโสกนั ตเ์ ปนอันจ�ำจะต้องท�ำส�ำรับยศเจ้าฟา้ ทุก ๆ พระองค.์ การลงสรงท�ำเปน
สองซ�้ำก็หาต้องการไม่. ไพร่ ๆ ที่เขาลงท่าลูกเขาน้ัน, เพราะเขาร้อนรนจะเร่งเอาของขวันเกบเอาเงินคนอื่น
มาใช้. เขาจึ่งรีบด่วนท�ำการลงท่าก่อนเวลาโกนจุก, เพราะเขาเหนว่าการโกนจุกน้ันยังช้าอยู่. ก็ในหลวงไม่ได้
ร้อนรน, อะไรไม่ จะท�ำเปน็ สองซ้�ำสามซ้ำ� , ท�ำแต่โสกนั ต์เถิด, ดว้ ยเปนของตอ้ งจ�ำใจทำ� ตามธรรมเนียม. คร้ันมา
เดอื น ๔ ปีชวดอฐั ศก, ศกั ราช ๑๑๗๘ เปนเดือนมารช์ , ในปีมคี ฤษตศกั ราช ๑๘๑๗. ได้มีการพระราชพธิ ีโสกนั ต์
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้ามงกุฎนั้น, เปนการใหญ่เหมือนกันกับครั้งโสกันต์เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี. คร้ันมา
เดอื น ๔ ปีมโรงอฐั ศก, ศกั ราช ๑๑๘๒, ตรงกบั เดือนมาร์ช, ในปมี ีคฤษตศกั ราช ๑๘๒๑, ไดม้ กี ารพระราชพิธี
โสกันต์สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าอิศวเรศจุฒามณีอีกครั้งหนึ่ง. มีเขาไกรลาศแลการอ่ืน ๆ เหมือนกันกับการ
สองคร้ังก่อน. เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดีนั้นได้ท�ำราชการ, ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาไลย,
มีพระโอรศ ๓ พระธิดา ๑ เปนสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าท้ัง ๔ พระองค์. พระองค์ใหญ่ประสูตรในปีชวด
อัฐศก, ศักราช ๑๑๗๘, ตรงกับปมี ีคฤสตศักราช ๑๘๑๖, พระนามวา่ เจา้ ฟ้าอาภรรณ์. พระองคท์ ี่ ๒ ประสูตร
ในปีเถาะเอกศก, ศักราช ๑๑๘๑ ตรงกันกับปีมีคฤสตศักราช ๑๘๑๙. พระนามว่าเจ้าฟ้ามหามาลา. พระองค์
ท่ี ๓ เปนเจา้ ฟา้ หญิงประสูตรในเดอื น ๔ ปีมโรงโทศก, ศกั ราช ๑๑๘๒, ตรงกบั เดือนมารช์ ในปมี ีคฤสตศกั ราช
๑๘๒๑ สิ้นพระชนม์เสียในวันประสูตร. พระองค์ที่ ๔ ประสูตรในปีมเมียจัตวาศก, ศักราช ๑๑๘๔, ตรงกับปี
มีคฤสตศักราช ๑๘๒๒ พระนามว่าเจ้าฟ้าปิ๋ว. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าสามพระองค์น้ี, พระบาทสมเด็จ
พระพุทธเลิดหล้านภาไลยก็ทรงพระราชด�ำริห์ไว้, ว่าจะท�ำการโสกันต์ให้เตมตามต�ำราเหมือนกัน, ก็แต่เมื่อยัง
ไม่ถึงเวลาโสกันต์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิดหล้านภาไลย, ก็เสด็จสวรรคตในปีวอกฉศก, ศักราช ๑๑๘๖,
ตรงกับปีมคี ฤสตศกั ราช ๑๘๒๔ พระบาทสมเดจ็ พระนัง่ เกลา้ เจา้ อยูห่ ัว, ไดเ้ สด็จเถลิงถวลั ยราชสมบัติ.

191

ประกาศ
ว่าดว้ ยเรยี กนามขา้ ราชการฝา่ ยใน*



มพี ระบรมราชโองการโปรดเกลา้ ฯ ใหป้ ระกาศใหท้ ราบทวั่ กนั วา่ แตน่ ต้ี อ่ ไปใหเ้ จา้ จอมอยงู่ านแลขา้ ราชการ
ฝา่ ยในประพฤติ์ใหต้ อ้ งตามพระราชบัญญัตติ ่อไปนี้ทกุ ประการ
ขอ้ ๑ บันดาเจ้าจอมที่ได้รับพระราชทานหีบลงยาหีบทอง ห้ามไม่ให้เรียกใคร ๆ ว่าคุณพ่ี นอกจาก
ท่ีก�ำหนดตอ่ ไปน้คี ือ พรี่ ว่ มบิดามารดา ๑ พีร่ ว่ มบดิ า ๑ เปนลกู ป้าลูกน้าลกู อาลูกลุง ฤๅเปนญาติห่างหน่อยหนึง่
แต่นับถือกันอยู่ ๑ เปนเจ้าจอมอยู่งานยังไม่ตกเปนพนักงานฤๅออกจากราชการ ๑ คน ๔ พวกน้ี จึงให้เรียก
คุณพไ่ี ด้ นอกจากทวี่ า่ มา ๔ จ�ำพวกนี้ ผ้ใู ดเรียกวา่ คณุ พ่ีจะคืนหบี ลงยาหบี ทองเสยี
ขอ้ ๒ ห้ามมิให้ใคร ๆ เรียกเจ้าจอมอยู่งานท่ีได้หีบลงยาหีบทอง ว่าแม่น่ันแม่นี่ เว้นไว้แต่ผู้ที่จะ
ก�ำหนดต่อไปน้ีเรียกได้ คือเจ้านายพระองค์เจ้าฤๅหม่อมเจ้าที่ไม่ได้เปนหนี้เปนทาษใครพวก ๑ เจ้าจอมอยู่งาน
ด้วยกนั พวก ๑ เจา้ คุณเท้านางเถา้ แก่พนักงาน แลผมู้ บี นั ดาศกั ด์นิ อกวังในวงั ที่มอี ายุแก่กว่าผูท้ ี่ตวั จะเรียกแม่
ตงั้ แต่ ๑๒ ปขี น้ึ ไปพวก ๑ คนเปนพนี่ อ้ งญาตขิ องตวั ผทู้ จี่ ะเรยี กพวก ๑ คน ๔ พวกนจ้ี งึ ใหเ้ รยี กเจา้ จอมวา่ แมไ่ ด้
นอกจากนหี้ า้ มไม่ให้ใครเรยี กแม่เปนอันขาด ถ้าเรยี กจะปรบั ไหมมีโทษ
ข้อ ๓ ห้ามไม่ให้ผู้ใหญ่ผู้ใดผู้หนึ่งเรียกเจ้าจอมที่ได้หีบลงยาหีบทอง ว่าอีว่าหนู ว่านาง ฤๅเรียกช่ือ
ลอย ๆ เว้นไวแ้ ตผ่ ู้ท่จี ะก�ำหนดต่อไปน้ี จึงจะยอมให้เรียก คือบดิ ามารดา ๑ ปยู่ าตายายป้าน้าอาท่ีเลีย้ งผ้ทู จ่ี ะถกู
เรยี กมา ๑ เจา้ นายมสี มเดจ็ พระนางเจา้ พระนางเจา้ จนเสมอพระองคเ์ จา้ ทเี่ ปนผใู้ หญ่ มพี ระชนมพ์ รรษามากกวา่
ผู้ท่ีจะต้องเรียกตั้งแต่ ๑๒ ปีขึ้นไป ๑ นอกจากน้ีห้ามไม่ให้ใครเรียก ว่าอีหนูนางฤๅเรียกช่ือลอย ๆ เปนอันขาด
ถา้ ใครเรียกจะปรับไหมมีโทศ ให้เจา้ จอมอยู่งาน แลผู้อน่ื ประพฤติใ์ หถ้ กู ต้องตามพระราชก�ำหนดน้ีทุกประการ
ค�ำอธิบายพระราชประสงค์ ท่ีออกประกาศนี้ ข้อ ๑ ซ่ึงห้ามไม่ให้เจ้าจอมเรียกผู้ใดที่ไม่ได้อนุญาตใน
พระราชบัญญัติว่าคุณพ่ีน้ัน ถ้าผู้ท่ีตัวจะเรียกเปนผู้ใหญ่ฤๅเปนที่เกรงใจ จะเรียกคุณย่าคุณป้าคุณอาวคุณน้า
ฤๅอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงเรียกไดห้ มด เวน้ แตค่ ณุ พ่หี ้ามไม่ใหเ้ รยี ก
ข้อ ๒ ท่ีมีก�ำหนดให้เรียกแม่ได้แต่ท่ีอนุญาต ในพระราชบัญญัตินอกนั้นไม่ให้เรียกนั้น ใช่ว่าจะ
บังคับให้เรียกคุณอย่างเดียว เมื่อไม่สมรรคเรียกคุณก็ให้เรียกว่าเจ้าจอมมารดาฤๅเจ้าจอมตามต�ำแหน่งยศ
บรรดาศกั ดิเ์ ถดิ
ข้อ ๓ หา้ มไมใ่ ห้คนทไี่ ม่ไดอ้ นุญาตในพระราชบัญญัติเรยี กเจ้าจอมว่าอีนาง หนู ฤๅเรยี กชอ่ื ลอย ๆ น้ัน
กเ็ หมือนกนั ถา้ ไม่สมรรคเรยี กแมจ่ งเรยี กวา่ เจ้าจอมมารดา เจ้าจอมตามยศบรรดาศักด์ิเถดิ

_____________________________
* กฎหมายไทย เล่ม ๒, พิมพ์ครั้งท่ี ๒ (กรุงเทพฯ ; อมรินทร์พร้ินติ้งแอนด์พับลิชช่ิง, ๒๕๔๑), หน้า ๖๗๐.
(ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้พิมพ์พระราชทานในงานพระราชทานเพลิงศพนายจิตติ ติงศภัทย์ิ ณ เมรุหลวง
หนา้ พลบั พลาอิศรยิ าภรณว์ ดั เทพศริ ินทราวาส วนั เสารท์ ่ี ๒๓ สงิ หาคม พุทธศกั ราช ๒๕๔๐).

192

การที่ห้ามท้ังนี้เพราะเห็นว่าข้าราชการฝ่ายน่า ถ้าทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ชุบเล้ียงแล้ว เจ้านาย
ข้าราชการก็ต้องประพฤติต่อตามยศบรรดาศักด์ิท่ีใครจะคงเรียกอ้ายเรียกเจ้าอยู่ตามเคยเรียก ฤๅแกล้งเรียก
ขนึ้ ใหมน่ นั้ ไมม่ ี สว่ นขา้ ราชการฝา่ ยในนไี้ มไ่ ดเ้ ปนดงั นนั้ ผทู้ เ่ี คยเปนเดก็ อยแู่ ตก่ อ่ น โตขนึ้ มาทรงพระกรณุ าชบุ เลย้ี ง
มียศบรรดาศักดิ คนที่เคยเรียกแม่เรียกนางอยู่แต่ก่อน ก็ยังเรียกเสมออยู่บางทีเคยเรียกแม่กลับเรียกลอยๆ
ฤๅไม่เคยเรียกแกล้งเรียกเปนการไว้ยศ ไม่ว่าผู้ที่ต้องเรียกจะเปนคนดีมีตระกูลมียศปานใด ผู้เรียกจะเปนไพร่
เปนทาษปานใด มักจะถือเอาว่ามีอายุมากกว่าเปนประมาณดังน้ี เห็นว่าเปนที่เส่ือมเสียพระเกียรติยศที่ได้ทรง
ชุบเลี้ยงจึงไดห้ ้าม
ให้เจ้านายรับส่ังห้ามปรามข้าหลวง แลให้ผู้เปนนายห้ามปรามญาติพี่น้องบ่าวไพร่ให้ทั่ว ถ้าข้าเจ้าบ่าว
นายองคใ์ ดคนใดมาเรยี กเจ้าจอมผดิ พระราชบญั ญัตินจ้ี ะเอาเจา้ นายเปนผิดดว้ ย
ให้คนท้ังปวงประพฤติตามพระราชบัญญัติน้ีทุกประการ ถ้าผู้ใดไม่ท�ำตามจะลงพระราชอาญาตาม
โทษานโุ ทษ
ประกาศมาณวันพุธ เดือนแปด แรมสิบสามค�่ำ ปีจออัฐศก ศักราช ๑๒๔๘* เปนวันที่ ๖๔๖๙ ใน
รชั กาลปัตยบุ ันน้ี

_____________________________
* ตรงกบั วนั ท่ี ๒๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๒๙

193

ค�ำประกาศเฉลิมพระปรมาพิไธย*



ศภุ มศั ดุ พระพทุ ธสาสนกาล เปนอดตี ภาคลว่ งแลว้ ๒๔๒๙ พรรษา ปตั ยบุ นั กาลโสณสงั วจั ฉระบศุ ยมาศ
กาลปักฉัฐมดี ิถศี ุกรวาร ปรเิ ฉทกาลกำ� หนด
พระบาทสมเดจพระปรมนิ ทรมหาจฬุ าลงกรณ บดนิ ทรเทพยมหามงกฎุ บรุ ศุ ยรตั นราชรววิ งษ วรตุ มพงษ
บรพิ ตั ร วรขตั ยิ ราชนกิ โรดม จาตรุ นั ตบรมมหาจกั รพรรดริ าชสงั กาศ อภุ โตสชุ าตสิ งั สทุ ธเคราหณจี กั รกรบี รมนารถ
มหามกุฎราชวรางกูร สุจริตมูลสุสาธิตอรรคอุกฤฐไพบูลย์ บุรพาดูลย์กฤษฎาภินิหาร สุภาธิการรังสฤษด์ิ
ธัญญลักษณวิจิตรโสภาคยสรรพางค์ มหาชโนตมางคประนต บาทบงกชยุคลประสิทธิสรรพศุภผลอุดมบรม
สขุ มุ าล ทพิ ยเทพาวตารไพศาลเกยี รตคิ ณุ อดลุ ยพเิ ศษ สรรพเทเวศรานรุ กั ษ วสิ ทิ ธศิ กั ดสิ มญาพนิ ติ ประชานารถ
เปรมกมลขัตยิ ราชประยูร มลู มขุ มาตยาภริ มย์ อุดมเดชาธิการ บริบรู ณคณุ สารสยามาทนิ คร วรุตเมกราชดิลก
มหาปรวิ ารนายก อนันตมหนั ตวรฤทธเิ ดช สรรพวิเสศสิรนิ ทร อเนกชนนกิ รสโมสรสมมต ประสิทธิโรยศมโหดม
บรมราชสมบัติ นพปดลเสวตรฉัตราดิฉัตร ศิริรัตโนปลันณ์มหาบรมราชาภิเสกาภิสิต สรรพทศดิศวิชิตไชย
สกลมหัยสวรยิ มหาสวามนิ ทร์ มเหศวรมหินทรมหารามาธิราชวโรดม บรมนารถชาติอาชาไศรย พทุ ธาทไิ ตรย
รัตนสรณารกั ษ อดุลยศกั ดิอคั นเรศราธบิ ดี เมตตากรุณาสตี ลหฤไทย อโนปมยั บญุ การ สกลไพศาลมหารษั ฎา-
ธบิ ดนิ ทร ปรมินทรธรรมิกมหาราชาธริ าช บรมนารถบพิตร พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ทรงพระราชด�ำริห์ว่า ตามพระราชก�ำหนดกฎหมาย ซ่ึงปรากฎมาว่ากฎมณเฑียรบาล อันพระบาท
สมเดจพระรามาธิบดีที่ ๑ อู่ทอง ซ่ึงประดิษฐานแลด�ำรงกรุงทวารวดีศรีอยุทธยา ได้ทรงต้ังขึ้นไว้เม่ือปีชวด
โทศก จุลศักราช ๗๒๒ ซ่ึงเปนคร้ังเร่ิมแรกที่จะได้จัดล�ำดับยศพระบรมวงษานุวงษ แลข้าราชการท่ัวไป
ในพระราชกำ� หนดนน้ั ยกพระบรมราชโอรศอนั เกดิ ดว้ ยพระอรรคมเหษี เปนสมเดจหนอ่ พทุ ธเจา้ มพี ระเกยี รตยิ ศ
ใหญ่ยงิ่ กว่าพระบรมวงษานวุ งษ ซงึ่ ปรากฎตำ� แหน่งยศเปนลำ� ดับลงมา ในพระราชกำ� หนดนัน้ หาได้มตี �ำแหนง่
กรมพระราชวงั บวรสถานมงคลมหาอปุ ราชฝา่ ยนา่ ไม่ เมอ่ื พเิ คราะดตู ามจดหมาย พระราชพงษาวดารในเบอื้ งตน้
กไ็ ม่มปี รากฎวา่ ได้ตั้งพระมหาอปุ ราชฝา่ ยน่าตลอดมาหลายแผ่นดิน จนถึงแผน่ ดินพระบาทสมเดจพระบรมไตร
โลกนารถ ซง่ึ ไดท้ รงตงั้ พระราชกำ� หนดศกั ดนิ าพลเรอื น ในจลุ ศกั ราช ๘๒๘ ปจี ออฐั ศก จง่ึ ไดม้ ปี รากฎในพระราช
พงษาวดาร ว่าได้ทรงประดษิ ฐาน พระราชโอรสไว้ในทพ่ี ระมหาอุปราช ความบง่ ตรงกันกับต�ำแหนง่ นาพลเรือน
ซึ่งได้ตัง้ ขึ้นในคร้ังนัน้ เปนช้ันหลงั มกี �ำหนดวา่ สมเดจพระเจา้ ลกู เธอซึง่ ไดเ้ ฉลมิ พระราชมณเฑยี ร เปนพระมหา
อุปราช ทรงศักดินาแสนหน่ึง เปนต้นต�ำแหน่งพระมหาอุปราชเกิดข้ึน แต่คร้ันเมื่อรัชกาลต่อ ๆ มาก็หาได้ต้ัง
ทุกแผ่นดินทุกครั้งทุกคราวไม่ เว้นหว่างอยู่หลาย ๆ สิบปีก็มี ครั้นภายหลังเมื่อประดิษฐานกรุงรัตนโกสินทร
มหินทรายทุ ธยาน้ีแล้ว ตำ� แหนง่ ที่พระมหาอุปราช จึ่งเปนต�ำแหนง่ ซ่ึงได้ตัง้ ทุกรัชกาล แต่มไิ ด้มีคงทอี่ ยูส่ ำ� หรบั
แผ่นดิน เปนต�ำแหน่งท่ีส�ำหรับพระราชทานบ�ำเหนจความชอบแก่พระบรมวงษผู้มีความชอบยิ่งใหญ่เฉพาะ
พระองค คร้ันเมื่อพระมหาอุปราชผู้มีความชอบนั้นล่วงไปแล้ว ไม่มีพระบรมวงษพระองคใดซึ่งจะมีความชอบ
เสมอเหมอื นพระมหาอปุ ราชที่ลว่ งไป จง่ึ ไม่ไดท้ รงต้งั ตำ� แหน่งนั้นตอ่ ไปอีก เว้นหวา่ งอยู่นาน ๆ จนตลอดรัชกาล
ทุก ๆ แผ่นดินมา
แต่ต�ำแหน่งพระมหาอุปราชในครั้งแผ่นดินพระบาทสมเดจพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวน้ัน พระราชทาน
เกยี รตยิ ศใหญย่ งิ่ ขนึ้ กวา่ แตก่ อ่ น มพี ระนามเปนตน้ ลมา้ ยคลา้ ยคลงึ กบั พระเจา้ แผน่ ดนิ ภอประจวบกนั กบั ทก่ี รงุ สยาม
ไดม้ ีทางพระราชไมตรีกบั นานาประเทศ ซ่งึ มธี รรมเนียมต�ำแหน่งยศพระบรมวงษานุวงษ แปลกเปลี่ยนกันกบั

_____________________________
* ราชกจิ จานเุ บกษา เล่ม ๓ จ.ศ. ๑๒๔๘, หน้า ๓๖๘ - ๓๗๐.

194

กรุงสยามยากท่ีจะเข้าใจได้ จึงได้แปลต�ำแหน่งพระมหาอุปราชออกเปนพระเจ้าแผ่นดินท่ี ๒ เพ่ือจะให้เข้าใจ
ไดง้ า่ ย ๆ แตน่ น้ั มาความเขา้ ใจของคนต่างประเทศ ก็แปลกเปล่ียนไปตา่ ง ๆ ยากท่ีจะชี้แจงใหเ้ ข้าใจได้
คร้ันเมื่อวนั สกุ ร เดือนเกา้ แรมสบิ ค�ำ่ ปรี กาสัปตศก ศักราช ๑๒๔๗ ได้ทรงพระราชดำ� รหิ พร้อมดว้ ย
พระบรมวงษานุวงษ กบั เสนาบดแี ลข้าราชการผใู้ หญผ่ นู้ ้อยเหนพรอ้ มกันวา่ ตำ� แหนง่ ท่ีพระมหาอุปราชน้ี ควร
จะยกเลิกเสียดว้ ยเหตุท้งั ปวงอนั ไดก้ ล่าวแล้วในประกาศฉบบั นนั้
บัดน้ีทรงพระด�ำริหพร้อมด้วยพระบรมวงษานุวงษกับเสนาบดี แลข้าราชการผู้ใหญ่ผู้น้อยเหน
พร้อมกันวา่ ตำ� แหน่งยศสมเดจพระบรมโอรสาธริ าชซ่งึ เรยี กว่าสมเดจหนอ่ พุทธเจ้า อนั ได้ต้งั ข้นึ ไว้แตค่ รงั้ สมเดจ
พระรามาธบิ ดีท่ี ๑ ในจุลศกั ราช ๗๒๒ นนั้ เปนต�ำแหนง่ อันสมควรซ่ึงจะใชเ้ ปนแบบอยา่ งสืบไปภายนา่ แลเปน
ตำ� แหนง่ อันถูกต้องกนั กบั นานาประเทศท้ังปวง ซ่งึ จะเปนอันเขา้ ใจได้โดยชัดเจน
จงึ โปรดเกลา้ ฯ ใหเ้ ลิกธรรมเนยี มตง้ั พระมหาอปุ ราชฝา่ ยนา่ ซึง่ มีมาในพระราชก�ำหนดตำ� แหน่งศักดินา
พลเรอื นนน้ั เสยี คงใชต้ ามพระราชกำ� หนดซ่ึงปรากฎชอื่ วา่ กฎมณเฑยี รบาล อันได้ตง้ั ไว้ในจุลศกั ราช ๗๒๒ น้นั
อน่ึงราชประเพณีแต่ก่อนมา เมื่อสมเดจพระเจ้าลูกเธอ พระราชกุมารพระองคใหญ่มีพระชนมายุได้
เกา้ พรรษา กไ็ ดเ้ คยมกี ารลงสรงสนาน รบั พระปรมาพไิ ธยดำ� รงพระเกยี รตยิ ศเปนสมเดจพระบรมโอรสาธริ าชบา้ ง
ยกการลงสรงเสยี มแี ตก่ ารพระราชพธิ เี ฉลมิ ปรมาพไิ ธยบา้ ง เปนแบบอยา่ งมาแตโ่ บราณ จนถงึ กรงุ รตั นโกสนิ ทร
มหินทรายุทธยาน้ี ในแผ่นดินพระบาทสมเดจพระพุทธเลิศหล้านภาไลยได้มีการพระราชพิธีลงสรงสนานรับ
พระปรมาพิไธย ในพระบาทสมเดจพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวครั้งหน่ึง คร้ันในแผ่นดินพระบาทสมเดจพระจอม
เกลา้ เจา้ อยหู่ วั กไ็ ดม้ กี ารพระราชพธิ รี บั พระปรมาพไิ ธย ในพระบาทสมเดจพระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั อกี ครง้ั หนงึ่
เปนแบบอย่างมา
ในบัดน้ีสมเดจพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าราชกุมารพระองค์ใหญ่ มีพระชนมายุได้เก้าพรรษา สมควรท่ีจะ
ได้มีการพระราชพิธีลงสรงสนาน แลรับพระปรมาพิไธยตามโบราณราชประเพณี จึ่งทรงพระราชด�ำริห์พร้อม
ด้วยพระบรมวงษานุวงษ แลทา่ นเสนาบดี ใหจ้ ัดการพระราชพิธลี งสรงตามแบบอยา่ งแตก่ อ่ น แล้วจง่ึ มพี ระบรม
ราชโองการมารพระบัณฑูรสุรสิงหนาท ให้สถาปนาสมเดจพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าราชกุมารพระองค์ใหญ่
ข้ึนเปนสมเดจพระบรมโอรสาธิราช มีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัตรว่า สมเดจพระบรมโอรสาธิราช
เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ อดิศวรมหาจุฬาลงกรณ์ บดินทรเทพยวรางกูร บรมมกุฎนเรนทรสูริย์ขัตติยสันตติวงษ
อุกฤษฐพงษวโรภโตสุชาติ ธัญญลักษณวิลาศวิบุลยสวัสดิ ศิริวัฒนวิสุทธิสยามมกุฎราชกุมาร มุสิกนามตาม
ต�ำแหน่งยศสมเดจหน่อพุทธเจ้า ซึ่งมีมาในพระราชก�ำหนดกฎมณเฑียรบาล ซ่ึงได้ตั้งไว้ในจุลศักราช ๗๒๒
แลใหท้ รงศกั ดนิ าแสนหนงึ่ เสมอสมเดจพระเจา้ ลกู เธอ อนั ไดเ้ ฉลมิ พระราชมณเฑยี ร เปนพระมหาอปุ ราชฝา่ ยนา่
ซึ่งมมี าในพระราชกำ� หนดต�ำแหนง่ นาพลเรือน ซง่ึ ไดต้ ง้ั ไวใ้ นจลุ ศกั ราช ๘๒๘ น้ัน
ขออาราธนาเทพยดาผมู้ มี เหศวรศกั ดอิ นั ประเสรฐิ ซง่ึ สถติ ยด์ ำ� รงอยใู่ นภมู พิ ฤกษอากาศ กาญจนรตั นพมิ าน
ทว่ั ทุกแหล่งหล้าเปนอาทิ คือเทพยอันทรงนามสยามเทวาธริ าช ซ่งึ เปนอธิบดไี ดบ้ รีรกั ษบ�ำรุงกรุงเทพมหานคร
อมรรัตนโกสินทรมหินทรายุทธยานี้ แลเทพยเจ้าผู้อภิบาลรักษานพปดลมหาเสวตรฉัตร ศิริรัตนราไชยสวริย์
แลเทพยอันรักษารัตนบัลลังก์พระท่ีนั่งบรมราชอาศน์ใหญ่น้อย ในพระราชนีเวศน์บรมมหาสฐานทุกต�ำบล
ท้ังเทพยเจ้าอื่น ๆ ผู้มีทิพยานุภาพมหิทธิฤทธิศักด์ิสิทธิ สิงสถิตย์ในภูมิ์ล�ำเนาแนวพฤกษบรรพตากาศพิมาน
ทกุ สฐานท่ัวพระราชอาณาจักร บนั ดาซ่ึงมไี มตรีจตี รได้ผดงุ บรริ กั ษพระบรมราชวงษน้ี สบื มาจนกาลบดั น้ี จงได้
ท�ำนุบ�ำรุงรักษาสมเดจพระบรมโอรสาธิราชพระองค์น้ี ให้ทรงพระเจริญทฤฆชนมายุ พรรณ ศุข พล ปฎิภาณ
ศิรสิ วัสดิพิพัฒนมงคล เกยี รตยิ ศอศิ ริยยศศักดิเดชานุภาพทกุ ประการ ขอใหพ้ ระเกยี รติคณุ อดลุ ยยศปรากฎไป
สน้ิ กาลนานเทอญ

195

ประกาศเล่ือนพระนาม
พระอรรคชายาเธอ แลสมเด็จพระเจา้ ลูกเธอ พระเจา้ ลกู เธอ เจ้าฟา้ *



ศภุ มสั ดุ พระพทุ ธสาสนกาลเปนอดตี ภาคลว่ งแลว้ ๒๔๓๑ พรรษา ปตั ยบุ นั กาล มสุ กิ สงั วจั ฉรพสิ าขมาศ
กาฬปักษทศมีดิถี โสรวารบริจเฉทกาลก�ำหนด พระบาทสมเดจพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ บดินทรเทพย
มหามงกฎุ บรุ ศุ ยรตั นราชรววิ งษ วรตุ มพงษบรพิ ตั ร วรขตั ยิ ราชนกิ โรดม จาตรุ นั ตบรมมหาจกั รพรรดริ าชสงั กาศ
อุภโตสุชาติสังสุทธเคราหณี จักรกรีบรมนารถ มหามกุฎราชวรังกูร สุจริตมูลสุสาธิต อรรคอุกฤษฐไพบูลย์
บุรพาดูลยกฤษฎาพินิหาร สุภาธิการรังสฤษดิ ธัญลักษณวิจิตรโสภาคยสรรพางค์ มหาชโนตมางคประณต
บาทบงกชยคุ ล ประสทิ ธสิ รรพศุภผล อุดมบรมศขุ ุมาลย์ ทพิ ยเทพาวตาร ไพศาลเกียรตคิ ณุ อดลุ ยพิเศศ สรรพ
เทเวศรานรุ กั ษ วสิ ฐิ ศกั ดสิ มยาพนิ จิ ประชานารถ เปรมกระมลขตั ยิ ราชประยรู มลู มขุ มาตยภริ มย์ อดุ มเดชาธกิ าร
บริบูรณคุณสารสยามาธินคร วรุตเมกราชดิลก มหาปริวารนายก อนันตมหันตวรฤทธิเดช สรรพวิเศศศิรินธร
อเนกชนนกิ รสโมสรสมมติ ประสิทธิวรยศมโหดม บรมราชสมบตั ิ นพปดลเสวตรฉตั ราดฉิ ตั ร ศริ ริ ัตโนปลกั ษณ
มหาบรมราชาภเิ ศกาภสิ ติ สรรพทศทศิ พชิ ติ ไชย สกลมหยั สวรยิ มหาสวามนิ ทร มเหศวรมหนิ ทร มหารามาธริ าช
วโรดม บรมนารถชาตอิ าชาวไศรย พทุ ธาธไิ ตรรตั นสรณารกั ษ อดลุ ยศกั ดอิ คั นเรศราธบิ ดี เมดตากรณุ าสตี ลหฤทยั
อโนปมัยบุญการ สกลไพศาลมหารัษฎาธิบดินทร ปรมินทรธรรมกิ มหาราชาธริ าช บรมนารถบพิตรพระจลุ จอม
เกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชด�ำริห์ว่า พระอรรคชายาเธอ หม่อมเจ้าอุบลรัตนนารีนาค แลพระอรรคชายาเธอ
หม่อมเจ้าสาย ได้รับราชการฉลองพระเดชพระคุณมาช้านานโดยความซ่ือสัตยสุจริตจงรักภักดี เปนอันมาก
มิได้มีรแวงผิดให้เปนท่ีขุ่นเคืองพระราชหฤทัย แลเส่ือมเสียพระเกียรติยศ แต่สักคร้ังหน่ึงเลย ได้ด�ำรงพระยศ
เปนพระอรรคชายามพี ระเจา้ ลูกเธอหลายพระองค์ มิไดม้ ีความกำ� เริบวุ่นวายดว้ ยยศศกั ดิ ประพฤดิพระองค์เปน
สุภาพเรียบร้อย เหมือนพระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน ซึ่งส้ินพระชนม์ไปแล้วนั้น เพราะ
เหตุท้ังปวงอันได้กล่าวในค�ำประกาศเลื่อนพระนามพระอรรคชายาพระองค์ก่อนก็เหมือนกันกับพระอรรคชายา
ท้ัง ๒ พระองค์น้ี จึ่งเปนการสมควรท่ีจะทรงยกย่องพระเกียรต์ิยศไว้ ให้ต้ังอยู่ในต�ำแหน่งอันสูงศักดิเตมตามท่ี
สมควรนนั้
จ่ึงมีพระบรมราขโองการ มารพระบัณฑูรสุรสิงหนาทด�ำรัสสั่งให้สฐาปนา พระอรรคชายาเธอ
หม่อมเจา้ อบุ ลรตั นนารนี าค แลพระอรรคชายาเธอ หมอ่ มเจ้าสาย ขน้ึ เปนพระองค์เจา้ มพี ระนามตามจาฤกใน
พระสุพรรณบตั ร พระองค์ใหญ่วา่ พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจา้ อบุ ลรตั นนารีนาค พระองค์นอ้ ยว่าพระอรรค
ชายาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ ให้ทรงศักด์ินาพระองค์ละ ๒๐๐๐๐ ตามต�ำแหน่งพระอรรคชายาเธอ
มีกรมในพระราชก�ำหนดใหม่

_____________________________
* ราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๕ จ.ศ. ๑๒๕๐, หนา้ ๖๐ - ๖๓.

196

ให้พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าอุบลรัตนนารีนาค ทรงตั้งเจ้ากรมเปนขุนอรรควรราชกัลยา
ถอื ศกั ดินา ๖๐๐
ปลัดกรมเปนหม่ืนยุพภักดี ถือศักดินา ๕๐๐
สมุห์บาญชีเปนหม่ืนวาทีพลากร ถือศักดินา ๓๐๐
ใหพ้ ระอรรคชายาเธอ พระองคเ์ จา้ สายสวลภี ริ มย์ ทรงตง้ั เจา้ กรมเปนขนุ สทุ ธาสนิ นี าฎ ถอื ศกั ดนิ า ๖๐๐
ปลดั กรม เปนหมื่นอาจอ�ำนวยกิจ ถอื ศกั ดนิ า ๕๐๐
สมุห์บาญชี เปนหมนื่ สนิทนรารกั ษ ถือศกั ดนิ า ๓๐๐
อนึ่งทรงพระราชด�ำริห์ว่า พระเจ้าลูกเธอ ซึ่งเปนพระราชโอรสพระราชธิดา อันพระมารดาได้ด�ำรง
พระยศเปนพระอรรคชายาเธอ แล้วสมควรท่ีจะได้เล่ือนพระเกียรต์ิยศ เปนเจ้าฟ้าตามโบราณราชประเพณี
จึ่งมีพระบรมราชโองการมารพระบัณฑูรสุรสิงหนาท ด�ำรัสให้เล่ือนพระยศพระเจ้าลูกเธอ อันประสูตรแต่
พระอรรคชายาเธอทั้ง ๖ พระองค์ ขึ้นเปนพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้า ให้ทรงศักดินาพระองค์ละ ๑๕๐๐๐ ตาม
พระราชกำ� หนดใหม่ แลถา้ จะมีสบื ไปภายน่า ก็ให้เปนพระเจา้ ลกู เธอ เจ้าฟา้ แตแ่ รกประสตู รไป
อนง่ึ ทรงพระราชด�ำรหิ ว์ ่า พระเจ้าลกู เธอ เจา้ ฟ้าจันทราสรัทวาร แลพระเจ้าลกู เธอ เจา้ ฟา้ เยาวมาลย์
นฤมล เปนพระราชธิดา ทรงพระเจรญิ ไวยควรทจ่ี ะได้รบั พระสพุ รรณบตั ร ตามราชประเพณี จ่ึงมีพระบรมราช
โองการใหส้ ฐาปนาเล่ือนข้ึนเปนสมเดจพระเจ้าลกู เธอ เจ้าฟา้ ท้งั ๒ พระองค์
พระองค์ใหญ่ มพี ระนามตามจาฤกในพระสพุ รรณบตั รวา่ สมเดจพระเจา้ ลูกเธอ เจา้ ฟ้าจันทราสรทั วาร
วโรฬารลกั ษณสมบตั ริ ัตนกมุ ารี วรรคบริวาร
พระองคน์ อ้ ยมพี ระนามตามจาฤกในพระสพุ รรณบตั รวา่ สมเดจพระเจา้ ลกู เธอ เจา้ ฟา้ เยาวมาลยน์ ฤมล
สรรพสกนธ์กัลยานี วรรคบริวาร ให้ทรงศักดินา พระองค์ละ ๒๐๐๐๐ ตามอย่างสมเดจพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้า
ในพระราชก�ำหนดใหม่
ขอให้พระอรรคชายาเธอทั้งสองพระองค์ แลสมเดจพระเจ้าลูกเธอ พระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าท้ัง
๖ พระองค์ ทรงเจริญพระชนมายุพรรณศุขพลปฏภิ าณคุณสารสมบัติ สรรพศิริสวัสดพิ์ ิพฒั นมงคล วบิ ลุ ยศภุ ผล
อดุลย์เกียรตยิ ศมโหฬารทกุ ประการ
แลให้ผู้ที่ได้รับต�ำแหน่งยศ เปนเจา้ กรมปลัดกรม สมุหบาญชที �ำราชการในหลวง แลในกรมตามอย่าง
ธรรมเนยี มเจา้ กรม ปลัดกรม สมุห์บาญชีในพระองค์เจา้ ตา่ งกรมทั้งปวงสืบไป ขอใหม้ ศี ขุ สวสั ดิเ์ จรญิ เทอญ

197

ประกาศการสมโภชในงานรบั พระสุพรรณบตั ร*



มีพระบรมราชโองการมารพระบัณฑูรสุรสีหนาท ให้ประกาศแก่พระบรมวงษานุวงษ์แลข้าราชการ
ฝา่ ยน่าฝ่ายใน ให้ทราบท่วั กันวา่ ราชประเพณีแตก่ ่อนมาถ้าเปนสมเด็จพระเจา้ ลูกเธอเจา้ ฟา้ ยังมไิ ด้มีพระนาม
จนพระชนมายุล่วงได้ ๘ พรรษา ๙ พรรษา จ่ึงได้พระราชทานพระนาม แลเม่ือจะพระราชทานพระนามนั้น
ย่อมพระราชทานโดยพระสุพรรณบัตรในเวลาสรงสนานบ้างมีการแห่ซ่ึงเรียกว่าการเฉลิมพระสุพรรณบัตรบ้าง
พระราชทานโดยการตามธรรมเนียมคือมีสวดมนต์เล้ียงพระสรงอย่างตั้งกรมบ้าง มีตัวอย่างต่าง ๆ สืบมาเปน
อันมาก แต่ในการบางคร้ังบางคราวซ่ึงมีเหตุขัดข้องเริดค้างไป มิได้รับพระสุพรรณบัตรเฉลิมพระนาม จนเปน
เจ้าฟ้าไม่มีพระนาม เรียกกันแต่ตามชนสามัญเรียกจนพระชนมายุมาก จ่ึงได้รับพระสุพรรณบัตรเปนต่างกรม
ทีเดียวก็มี ท่ีได้รับพระสุพรรณบัตรพระนามเจ้าฟ้าก็มี ท่ีเลยไม่ได้รับจนส้ินพระชนม์ไปเสียทีเดียวก็มี ถ้าจะ
นับเจ้าฟ้าแต่ที่มีในกรุงเทพฯ นี้ ยกที่สิ้นพระชนม์เสียแต่ยังทรงพระเยาว์ยังไม่ทันถึงก�ำหนดซ่ึงสมควรจะรับ
พระสพุ รรณบตั รออกเสยี กม็ ที ไี่ มไ่ ดร้ บั พระสพุ รรณบตั รอยพู่ ระองคเ์ ดยี ว แตพ่ ระเจา้ บรมวงษเ์ ธอซงึ่ เรยี กพระนาม
ตามชนสามญั เรยี กวา่ เจา้ ฟา้ ปว๋ิ แตถ่ งึ ดงั่ นนั้ ถา้ ยงั ดำ� รงพระชนมอ์ ยจู่ นถงึ มทั ยมไวย กค็ งจะไดร้ บั พระสพุ รรณบตั ร
ในรัชกาลที่ ๔ เปนแน่ ซ่ึงนับมาว่าเจ้าฟ้าไม่มีพระสุพรรณบัตร มีพระองค์เดียวแต่เจ้าฟ้าปิ๋วน้ีนับแต่ที่เปน
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ แลท่ีเปนพระราชกุมาร ส่วนเจ้าฟ้าหญิงซึ่งเปนสมเด็จพระเจ้าหลานเธอ ในรัชกาลที่ ๑
สองพระองค์ มไิ ดน้ บั เพราะไมค่ วรจะตอ้ งยกมากลา่ ว สว่ นเจา้ ฟา้ ซงึ่ ไดร้ บั พระสพุ รรณบตั รนน้ั ไดร้ บั ในคราวสมยั
ตา่ ง ๆ กนั ในรชั กาลที่ ๑ พระราชทานพระสพุ รรณบตั รเปนสมเด็จพระเจา้ ลูกเธอ แลสมเด็จพระเจ้าหลานเธอ
เจา้ ฟา้ ต่างกรมเสยี ทเี ดียว โดยมากด้วยเหตุว่าในเวลาเมื่อเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัตปิ ราบดาภเิ ศกน้ัน สมเด็จ
พระเจา้ ลกู เธอแลสมเด็จพระเจา้ หลานเธอเหลา่ น้นั ทรงพระเจรญิ ไวยเปนผ้ใู หญแ่ ลว้ โดยมาก ไมค่ วรทจี่ ะต้อง
เปลย่ี นพระนามเดมิ อกี ชน้ั หนง่ึ ไดพ้ ระราชทานพระสพุ รรณบตั รเฉลมิ พระนามแตส่ มเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอเจา้ ฟา้ หญงิ
ซ่ึงยงั ทรงพระเยาวอ์ ยพู่ ระองค์หนงึ่ กับยกพระองค์เจา้ ขน้ึ เปนสมเดจ็ พระเจ้าลกู เธอเจ้าฟ้าพระองค์หน่ึง ครัน้
มาถงึ ในรัชกาลที่ ๒ ไดพ้ ระราชทานพระสุพรรณบัตร แด่พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั พระองค์เดียว
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ ซ่ึงยังเหลืออยู่อีก มีเหตุขัดข้องบ้าง ยังทรงพระเยาว์อยู่บ้างยังหาได้พระราชทาน
พระสพุ รรณบตั รไมก่ ็พอเสด็จสวรรค์คตเสีย ครนั้ ล่วงมาในรชั กาลท่ี ๓ จ่ึงไดพ้ ระราชทานพระสพุ รรณบตั ร
พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจา้ อย่หู วั เล่ือนข้นึ เปนเจ้าฟา้ ตา่ งกรมเสยี ทเี ดียวตามแบบอยา่ งรชั กาลท่ี ๑ ด้วย
ทรงเหน็ วา่ ทรงเจรญิ พระชนมายมุ ากแลว้ คงไดร้ บั พระสพุ รรณบตั รพระนามเจา้ ฟา้ แตส่ มเดจ็ พระเจา้ บรมวงษเ์ ธอ
เจา้ ฟ้าอาภรณ์ ยงั เหลือไมม่ พี ระนามอกี สองพระองค์ เม่ือมาถึงในรชั กาลที่ ๔ ทรงพระราชด�ำริห์ว่าพระบาท
สมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไมไ่ ดร้ บั พระสพุ รรณบตั รตงั้ พระนาม เปนอนั ไมม่ พี ระนามเดมิ ดเู ปนการตำ่� ทรามไป
จ่ึงไดพ้ ระราชทานพระสพุ รรณบตั รต้ังพระนามเปน สมเด็จพระเจ้านอ้ งยาเธอ เจา้ ฟ้าอศิ เรศจธุ ามณีเสียชน้ั หนงึ่

_____________________________
* ราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๘ ร.ศ. ๑๑๐, หน้า ๓๔๙ - ๓๕๒.

198

ก่อน แล้วจ่งึ ไดพ้ ระราชทานพระสพุ รรณบัตร เปนพระบาทสมเดจ็ พระป่นิ เกล้าเจา้ อยูห่ ัว อีกชนั้ หนึ่งแล้วแล
พระราชทานพระสุพรรณบัตรตัง้ พระนามสมเด็จพระเจา้ บรมวงษเ์ ธอ กรมสมเดจ็ พระบำ� ราบปรปกั ษ์ อยา่ งต้ัง
พระนามเจ้าฟ้า ภายหลังจ่ึงได้เลื่อนขึ้นเปนกรมขุน แล้วได้มีการแห่เฉลิมพระสุพรรณบัตรในพระบาทสมเด็จ
พระเจา้ อยหู่ วั อกี ครง้ั หนงึ่ สมเดจ็ พระเจา้ นอ้ งนางเธอ เจา้ ฟา้ จนั ทรมณฑลโสภณภควดี กรมหลวงวสิ ทุ ธกิ ระษตั รยิ
อกี ครง้ั หนึง่ แตส่ มเด็จพระเจา้ นอ้ งยาเธออกี ๒ พระองคน์ นั้ ยังทรงพระเยาวอ์ ยู่จ่ึงไดต้ กคา้ งมาจนถงึ แผ่นดนิ
ปัตยบุ ันนี้ จงึ่ ได้พระราชทานพระสพุ รรณบัตรเฉลิมพระนาม โดยมกี ระบวนแห่ตามแบบอย่าง เหตุฉนน้ั จง่ึ มี
สมเดจ็ พระเจา้ ลูกเธอ เจ้าฟา้ ซงึ่ มไิ ดร้ บั พระสพุ รรณบตั รเฉลมิ พระนามแตพ่ ระองค์เดียว ดงั เชน่ กลา่ วมาแลว้
ในส่วนสมเด็จพระเจ้าลูกเธอในรัชกาลปัตยุบันน้ี ได้พระราชทานพระสุพรรณบัตรสมเด็จพระบรม
โอรสาธิราช แลสมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอทง้ั ฝา่ ยนา่ ฝา่ ยในแล้ว ๔ พระองค์
บัดนี้ทรงพระราชด�ำริห์ว่า สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ
เจ้าฟ้าสมมตวิ งษว์ โรทยั สมเดจ็ พระเจา้ ลกู ยาเธอเจ้าฟ้าจักรพงษภ์ ูวนารถ พระเจ้าลกู ยาเธอเจา้ ฟา้ ยุคลทฆิ มั พร
มีพระชนมายสุ มควรทจ่ี ะได้รบั พระสพุ รรณบัตร เฉลมิ พระนามตามอย่างแตก่ ่อน ล่วงก�ำหนดมาด้วยเหตวุ ่าติด
การโสกนั ตส์ มเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช เหน็ ว่าในรหวา่ งนี้มชี ่องวา่ งสมควรท่ีจะพระราชทานพระสุพรรณบัตรได้
แต่ครนั้ จะทำ� ใหพ้ รอ้ มกันในครง้ั เดยี ว เครอ่ื งแห่แหนก็จะไม่มพี รักพร้อมได้ จงึ่ โปรดเกล้าฯ ใหแ้ บ่งออกเปน
สองคราว คอื ในเดอื นมกราคม จะพระราชทานพระสพุ รรณบตั ร สมเดจ็ พระเจา้ ลกู ยาเธอเจา้ ฟา้ บรพิ ตั รสขุ มุ พนั ธ์ุ
สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถ ในเดือนมีนาคมจะพระราชทานพระสุพรรณบัตร สมเด็จ
พระเจา้ ลกู ยาเธอเจา้ ฟา้ สมมตวิ งษว์ โรทยั พระเจา้ ลกู ยาเธอเจา้ ฟา้ ยคุ ลทฆิ มั พร ซง่ึ โปรดเกลา้ ฯ ใหท้ ำ� การในปเี ดยี ว
สองคราวเชน่ นี้ เหตุวา่ ปีน่าจะพ้องกับการโสกันตส์ มเด็จพระเจา้ ลูกยาเธอเจา้ ฟา้ มหาวชิราวุธ
การซ่ึงเฉลิมพระนามเช่นนี้ดูก็เปนท่ีน่าสงไสยอยู่หน่อยหนึ่งว่าพระนามก็มีเรียกร้องกันอยู่แล้ว เหตุใด
จึง่ ตอ้ งเฉลิมพระนามใหม่ ก็ไม่ผลัดเปลย่ี นอยา่ งไรจากพระนามเดมิ การเร่ืองน้ขี ออธบิ ายใหเ้ ข้าใจว่า เกดิ ขึน้ ด้วย
พระราชด�ำริห์ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงรังเกียจพระนามเจ้าฟ้าซ่ึงข้าไทยตั้ง ได้ทรงยก
ตัวอย่างรับส่ังอยู่ว่ากลัวมันจะเรียกว่าเจ้าฟ้ากุ้ง ซ่ึงภายหลังได้รับพระสุพรรณบัตร มีพระนามแล้วแลเฉลิม
พระราชมณเฑียร เปนกรมพระราชวังก็ยงั เรียกกันวา่ เจา้ ฟ้ากุ้ง วังนา่ กุ้งเปนต้น จ่ึงได้พระราชทานพระนามไว้
เสยี กอ่ น ใหเ้ รยี กไปพลาง ๆ เมอ่ื ถงึ กำ� หนดจะรบั พระสพุ รรณบตั รในบาดหมายอยา่ ใหใ้ ชพ้ ระนาม ซงึ่ ตงั้ ไวพ้ ลาง ๆ
น้ันให้ใช้แต่ว่าจะพระราชทานพระสุพรรณบัตร สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าชาย สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ
เจ้าฟา้ หญิง ใหม้ ีพระนามเช่นนน้ั  ๆ เปนการป้องกนั ค�ำไพร่เรียกตามชอบใจ แล้วแกภ้ ายหลังไมไ่ หวดงั นี้
กใ็ นการรบั พระสพุ รรณบตั รเชน่ นี้ ธรรมเนยี มแตก่ อ่ นเคยมกี ารสมโภช พระบรมวงษานวุ งษ์ ขา้ ราชการ
จัดสิ่งของมาสมโภชทุกครั้งทุกคราว ไม่แต่เฉภาะเฉลิมพระสุพรรณบัตรเจ้าฟ้า การรับพระสุพรรณบัตรของ
พระองค์เจ้าเปนพระองค์เจ้ามีสร้อยพระนาม ฤๅหม่อมเจ้ายกข้ึนเปนพระองค์เจ้า ซ่ึงเปนท่ีสลักส�ำคัญด่ังเช่น
พระเจ้าหลานเธอพระองค์เจ้าโสมนัศวัฒนาวดีในรัชกาลท่ี ๓ ก็มี เจ้านายข้าราชการสมโภชด้วยเหมือนกัน
การสมโภชเปนการส�ำหรับเจ้านายซ่ึงรับพระสุพรรณบัตรน้ันยังทรงพระเยาว์ ส่วนซ่ึงทรงพระเจริญแล้วรับ
พระสุพรรณบัตรกเ็ ปนการถวายของชว่ ยเหลือกนั ตามอย่างตง้ั กรมตามใจผู้ใดจะถวายฤๅมถิ วาย เปนธรรมเนยี ม
มมี าดงั นี้

199

แต่ในครั้งน้ีทรงพระราชด�ำริห์ว่าสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ ซึ่งจะได้รับพระสุพรรณบัตรในปีเดียวกันถึง
๔ พระองค์ พระบรมวงษานวุ งษ์ ขา้ ราชการจะตอ้ งสมโภชตามธรรมเนยี มรายพระองคไ์ ป ไมเ่ หมอื นอยา่ งชว่ ยงาน
ครง้ั การตัง้ กรมในพระอรรคชายาแลรับพระสุพรรณบัตรของสมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอสองพระองค์ครง้ั ก่อน ซง่ึ พอ
รวมเปนการเหมาไดไ้ มต่ อ้ งรายสงิ่ รายพระองค์ เมอ่ื จะตอ้ งสมโภชรายพระองคเ์ ชน่ น้ี กจ็ ะตอ้ งเสยี ทรพั ยส์ นิ เงนิ ทอง
เปนอันมาก ในการคร้งั นจี้ ่งึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ใหป้ ระกาศใหท้ ราบทั่วกันวา่ อยา่ ให้พระบรมวงษานุวงษ์
แลข้าราชการท้ังปวงต้องสมโภชตามอยา่ งแต่ก่อนนนั้ เลย ถ้าผใู้ ดมีนำ�้ ใจจะใคร่สมโภชก็ให้รอไวต้ ่อเวลาโสกนั ต์
จง่ึ คอ่ ยสมโภชใหเ้ ปนครัง้ หนง่ึ คราวเดียวทเี ดยี วเถิด การซึง่ จะพระราชทานพระสพุ รรณบัตร แด่สมเด็จพระเจา้
ลูกเธอครั้งน้ีด้วยมีพระราชประสงค์ แต่จะให้สมเด็จพระเจ้าลูกเธอได้รับพระเกียรติยศ ตามซึ่งสมควรจะได้
เพราะเหตวุ า่ ถา้ มไิ ดพ้ ระเกยี รตยิ ศตามแบบอยา่ งเชน่ นี้ ไมเ่ ปนแตเ่ ฉภาะสว่ นทไ่ี มไ่ ดก้ ลบั จะเงยี่ ไปขา้ งเปนการเสยี
ตดิ อยใู่ นสมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอเหมอื นหนงึ่ มเี หตอุ ยา่ งหนง่ึ อยา่ งใด ซงึ่ เปนการไมส่ มควรทจ่ี ะไดร้ บั จง่ึ ตอ้ งลดหยอ่ น
เสยี ตามตวั อยา่ งซงึ่ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เคยทรงรงั เกยี จถอื มาแตก่ อ่ นเชน่ ไดก้ ลา่ วแลว้ ในเรอ่ื ง
พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั นนั้ มไิ ดม้ พี ระราชดำ� รหิ ป์ ระสงคจ์ ะใหเ้ กดิ ผลประโยชน์ แดส่ มเดจ็ พระเจา้
ลูกเธอในทางทรัพย์สมบัติซ่ึงจะได้มาจากของสมโภชนั้นอย่างหนึ่งอย่างใดเลย ส่วนผลประโยชน์ซึ่งสมเด็จ
พระเจา้ ลูกเธอแตก่ ่อนๆ เคยไดร้ บั มาในเวลาเช่นน้ี กจ็ ะพระราชทานเงินพระคลงั ข้างทีแ่ ทนมใิ ห้เสอื่ มประโยชน์
แลส่วนซ่ึงสมโภชใช้แรงกันในส่วนเฉภาะพระองค์ ๆ ก็คงจะมีกันอยู่ได้เปนการเหมือนลงแขกลงขันกันในส่วน
พระองค ์ ๆ ของพระมารดาแหง่ สมเด็จพระเจา้ ลกู เธอน้ันคงที่อยู่ เปนการนอกจากการหลวง เพราะฉนน้ั อย่าให้
ผใู้ ดคดิ วติ กสงไสยวา่ การซง่ึ โปรดเกลา้ ฯ หา้ มมามใิ หส้ มโภชนจ้ี ะเปนแตก่ ารลองใจ ฤๅพระบรมราโชบายอยา่ งหนงึ่
อย่างใดเลย ให้เข้าใจตามความตรง ๆ ว่ามีพระราชประสงค์แต่จะให้เปนที่ชื่นชมยินดีในพระราชหฤไทยแล
ไมเ่ ปนท่ีเดือดรอ้ นท่ัวไปน้นั อย่างเดียว
ประกาศมาณวนั ที่ ๒๒ ธนั วาคม รตั นโกสินทรศ๒ก๔ ๑๑๐ เปนวันที่ ๘๔๔๒ ในรัชกาลประจุบันน้ี

200

เลือ่ นพระเกยี รตยิ ศหมอ่ มเจา้ ขึน้ เปนพระองค์เจ้า*



ด้วยพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ ัวทรงพระราชดำ� ริห์ว่า แตก่ ่อนได้ทรงกรณุ าโปรดเกล้าฯ ใหพ้ ระโอรส
ซง่ึ เปนสำ� คญั ในสมเดจ็ พระเจา้ นอ้ งยาเธอ ทง้ั ๒ พระองค์ ดำ� รงพระยศเปนพระองคเ์ จา้ แลว้ คอื พระวรวงษเ์ ธอ
พระองค์เจ้านิพัทธ์พิสิฐพงษ์ พระองค์เจ้าเสฐวงษ์วราวัตร ในสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี
กรมพระจักรพรรดิพงษ์ พระองค์เจ้านิพันธ์ภาณุพงษ์ ในสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงษ์
กรมพระภาณุพันธวุ งษ์วรเดช บัดนที้ รงพระราชด�ำรหิ ์เหน็ ว่า หมอ่ มเจ้าในสมเด็จพระเจ้านอ้ งยาเธอทง้ั ๒ พระองค์
ทรี่ ว่ มมารดากบั พระวรวงษเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ เสฐวงษว์ ราวตั ร แลพระองคเ์ จา้ นพิ นั ธภ์ าณพุ งษน์ นั้ ควรจะดำ� รงพระยศ
เปนพระองค์เจ้าทุกพระองค์ จะได้เปนที่เชิดชูพระเกียรติยศให้ทวีย่ิงขึ้น จึ่งมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ
ใหส้ ถาปนาพระเกยี รตยิ ศหมอ่ มเจา้ ในสมเดจ็ พระเจา้ นอ้ งยาเธอทง้ั ๒ พระองค์ ซงึ่ รว่ มมารดากบั พระวรวงษเ์ ธอ
ท้งั ๒ พระองคน์ น้ั ทงั้ ท่ปี ระสูตรแลว้ แลจะประสูตรต่อไป ขน้ึ เปนพระวรวงษ์เธอ พระองคเ์ จ้าทุกพระองค์
ตง้ั แต่วันท่ี ๒๖ พฤศจกิ ายน รตั นโกสนิ ทรศ๒๖ก ๑๑๒ น้ไี ป

ประกาศในการสถาปนาพระเกยี รตยิ ศ**



พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาจฬุ าลงกรณ์ บดนิ ทรเทพยมหามงกฎุ บรุ ศุ ยรตั นราชรววิ งษ วรตุ มพงษ
บรพิ ตั ร วรขตั ตยิ ราชนกิ โรดม จาตรุ นั ตบรมมหาจกั รพรรดริ าชสงั กาศ บรมธรรมกิ มหาราชาธริ าช บรมนารถบพติ ร
พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั
ทรงพระราชรำ� พงึ ถงึ พระคุณ แหง่ พระเจ้าบรมมหัยยกิ าเธอ กรมสมเด็จพระสุดารตั นร์ าชประยูร ซ่งึ
ไดท้ รงอปุ ถมั ภบ์ ำ� รุงพระองค์มา จำ� เดมิ แต่พระบรมประสตู กิ าลจนได้เสด็จเถลิงถวลั ยราชสมบตั ิ โดยพระหฤทยั
ม่ันคงจงรักตลอดมา จนถึงเวลาส้ินพระชนม์เหมือนอย่างสมเด็จพระบรมราชชนนี ก็ได้ทรงยกย่องข้ึนไว้
ให้มีพระเกียรติยศใหญ่ อย่างสมเด็จพระบรมราชชนนี มีเว้นว่างอยู่บ้าง บัดนี้เสด็จส้ินพระชนม์ไป เปนท่ี
ทรงพระอาไลยระลึกถึงพระคุณเปนอันมาก พระองค์เปนผู้สมควรท่ีจะได้รับพระเกียรติยศใหญ่ เสมอด้วย
สมเดจ็ พระบรมราชชนนีโดยแท้
จึ่งมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพนักงาน จัดเสวตรฉัตร ๗ ช้ันถวายเปนเคร่ืองเพิ่มเติม
พระเกยี รติยศ แลการสิ้นพระชนมน์ ัน้ ใหเ้ รียกว่าเสดจ็ สวรรคค์ ตเหมอื นอย่างสมเด็จพระบรมราชชนนี คำ� ที่จะ
ใชใ้ นบาตรหมายราชการท้งั ปวง ใหใ้ ชด้ งั ที่ไดป้ ระกาศมานที้ กุ ประการ
ประกาศมาณวนั องั คาร ท่ี ๒๕ สงิ หาคม รตั นโกสนิ ทรศ๒๙ก ๑๑๕ เปนวนั ที่ ๑๐๑๕๐ ในรชั กาลปตั ยบุ นั น้ี

_____________________________
* ราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๑๐ ร.ศ. ๑๑๒, หนา้ ๓๙๔.
** ราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๑๓ ร.ศ. ๑๑๕, หนา้ ๒๒๕ - ๒๒๖.

201

ประกาศใช้พระนามเจ้าฟา้ มีกรม*



มพี ระบรมราชโองการดำ� รสั เหนอื เกลา้ ฯ ใหป้ ระกาศใหท้ ราบทวั่ กนั วา่ ธรรมเนยี มแตก่ อ่ นมาเจา้ ฟา้ ทไ่ี ดร้ บั
พระราชทานพระสุพรรณบัฏมีกรม ใชเ้ รยี กพระนามเดิมด้วย พระนามกรมด้วย เจ้าฟ้าท่ีไม่ไดร้ ับพระราชทาน
พระสุพรรณบัฏใช้แต่พระนามกรม บัดนี้สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ ซ่ึงได้ทรงรับพระสุพรรณบัฏ มีกรมมีหลาย
พระองค์ จะมีการใช้พระนามมากข้ึนจะออกพระนามทัง้ พระนามเดมิ แลพระนามกรมอยา่ งแต่ก่อนทว่ั ไปในที่
ทงั้ ปวงกเ็ ปนการยดื ยาว แตน่ ต้ี อ่ ไปเจา้ ฟา้ ทม่ี พี ระสพุ รรณบฏั ใหใ้ ชพ้ ระนามเดมิ ดว้ ยพระนามกรมดว้ ย แตใ่ นการ
ท่ีสำ� คัญ เช่น ในประกาศฤๅในหนงั สือส�ำคญั ต่าง ๆ ถ้าเปนแต่การท่ีจะออกพระนามโดยปรกติ ให้ใชแ้ ต่พระนาม
กรม ไม่ต้องออกพระนามเดิมด้วย แต่จะลงพระนามเองให้ใช้พระนามเดิม ส่วนเจ้าฟ้าท่ีไม่ได้รับพระนาม
พระสพุ รรณบัฏนนั้ ถ้ามกี รมให้คงใช้แตพ่ ระนามกรมในท่ีท้ังปวงทั่วไป
ประกาศมาณวนั ที่ ๑๕ มกราคม รตั นโกสินทรศก ๑๑๗ เปนวันท่ี ๑๑๐๒๓ ในรัชกาลปตั ยุบนั น้ี

ประกาศเพ่ิมเติม เรอื่ งใชพ้ ระนามเจา้ ฟา้ มีกรม**



มพี ระบรมราชโองการดำ� รสั เหนอื เกล้าฯ ใหป้ ระกาศวา่ เมอื่ วนั ท่ี ๑๕ มกราคม รัตนโกสินทรศก ๑๑๗
ได้โปรดเกล้าฯ ให้ประกาศเรื่องใชพ้ ระนามเจา้ ฟา้ มีกรมนนั้ ขอ้ ความยังไมช่ ดั เจน จึงโปรดเกลา้ ฯ ให้ประกาศ
เพิ่มเติมว่า เจ้าฟ้ามีกรมที่รับพระสุพรรณบัฏ ซ่ึงให้ใช้พระนามเดิมแลพระนามกรมต่อนั้น ให้ใช้แต่ที่เจ้ากรม
เปนขุนข้ึนไป ส่วนท่ีเจ้ากรมเปนหมื่นน้นั ให้ใช้แต่พระนามเดมิ ไมต่ ้องออกนามกรมด้วยในทีท่ ัง้ ปวงท่วั ไป
ประกาศมาณวนั ที่ ๒๐ สงิ หาคม รัตนโกสนิ ทรศก ๑๑๘ เปนวนั ที่ ๑๑๒๔๐ ในรชั กาลปัตยบุ นั น้ี

ประกาศค�ำน�ำพระนามพระเจ้าวรวงษเธอ***



มพี ระบรมราชโองการในพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาจฬุ าลงกรณ์ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ดำ� รสั
เหนอื เกลา้ ฯ ใหป้ ระกาศใหท้ ราบทว่ั กนั วา่ พระวรวงษเ์ ธอ พระองคเจา้ ซง่ึ เปนพระโอรสธดิ าในสมเดจ็ พระเจา้ นอ้ งยาเธอ
ทง้ั สองพระองคน์ น้ั เปนพระราชภาคไิ นยอนั สนทิ สมควรจะมพี ระยศสงู กวา่ พระวรวงษเธอสามญั จงึ่ ทรงพระกรณุ า
โปรดเกลา้ ฯ ใหใ้ ชค้ ำ� นำ� พระนามวา่ พระเจา้ วรวงษเธอ ใหท้ รงศกั ดนิ า ๔๐๐๐ ถา้ มกี รมทรงศกั ดนิ า ๑๑๐๐๐
ประกาศมาณวันที่ ๑๒ เมษายน รัตนโกสินทรศก ๑๑๙ เปนวันท่ี ๑๑๔๗๕ ในรัชกาลปัตยุบนั นี้

_____________________________
* ราชกิจจานเุ บกษา เล่ม ๑๕ ร.ศ. ๑๑๗, หน้า ๔๓๖.
** ราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๑๖ ร.ศ. ๑๑๘, หน้า ๒๖๔, ๒๙๐ (บอกแกไ้ ข).
*** ราชกจิ จานเุ บกษา เล่ม ๑๗ ร.ศ. ๑๑๙, หนา้ ๑๗.

202

ประกาศค�ำน�ำพระนามพระบรมวงษานุวงษ์*



สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระราชด�ำรัสเหนือเกล้าฯ ให้ประกาศให้ทราบท่ัวกันว่า ค�ำน�ำพระนาม
พระบรมวงษานวุ งษ์ ซ่งึ ใชม้ าแต่กอ่ นน้ัน บดั น้ีสมควรท่ีจะเปลีย่ นแปลงตามรชั กาล เพราะฉน้ัน ต้ังแต่บัดน้ไี ป
ใหเ้ ปลยี่ นค�ำน�ำพระนามพระบรมวงษานุวงษ์ดังตอ่ ไปนี้

ฝา่ ยน่า
สมเดจ็ พระเจา้ นอ้ งยาเธอ เปลี่ยนเปนสมเด็จพระเจา้ บรมวงษ์เธอ
สมเดจ็ พระเจ้าลูกยาเธอ เปลย่ี นเปนสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ
พระเจ้านอ้ งยาเธอ เปลย่ี นเปนพระเจา้ บรมวงษเ์ ธอ
พระเจา้ ลูกยาเธอ ทมี่ พี ระชนมพ์ รรษาแกก่ ว่าสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั เปล่ียนเปนพระเจ้าพยี่ าเธอ
พระเจ้าลกู ยาเธอ ท่มี พี ระชนม์พรรษาออ่ นกวา่ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เปลย่ี นเปนพระเจ้าน้องยาเธอ
พระหลานเธอ เปล่ียนเปนพระวรวงษเ์ ธอ

ฝ่ายใน
สมเดจ็ พระเจ้าลกู เธอ ทม่ี ีพระชนมพ์ รรษาแก่กวา่ สมเด็จพระเจ้าอย่หู วั เปลี่ยนเปนสมเด็จพระเจ้า
พนี่ างเธอ
สมเด็จพระเจ้าลกู เธอ ที่มพี ระชนม์พรรษาอ่อนกว่าสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั เปล่ียนเปนสมเด็จพระเจ้า
น้องนางเธอ
พระเจา้ บรมวงษ์เธอ เปลี่ยนเปนพระเจ้าไอยิกาเธอ
พระเจ้าพ่นี างเธอ พระเจ้าน้องนางเธอ เปลย่ี นเปนพระเจ้าบรมวงษเ์ ธอ
พระเจ้าลกู เธอ ทมี่ ีพระชนมพ์ รรษาแก่กวา่ สมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั เปลี่ยนเปนพระเจา้ พ่นี างเธอ
พระเจ้าลกู เธอ ที่มีพระชนม์พรรษาอ่อนกว่าสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั เปล่ียนเปนพระเจ้านอ้ งนางเธอ
พระหลานเธอ เปลยี่ นเปนพระวรวงษเ์ ธอ
ค�ำนำ� พระนามพระบรมวงษานวุ งษน์ อกจากที่กล่าวมาน้ี ใหค้ งอยตู่ ามเดิม
ประกาศมาณวนั ท่ี ๒๓ ตุลาคม รตั นโกสนิ ทรศ์ ก ๑๒๙

_____________________________
* ราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๒๗ ร.ศ. ๑๒๙, วนั ที่ ๓๐ ตุลาคม ร.ศ. ๑๒๙ หนา้ ๑ - ๒.

203

ประกาศยกพระวรวงศเ์ ธอ เป็นพระเจา้ วรวงศเ์ ธอ*



มพี ระบรมราชโองการ ในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวธุ พระมงกุฎเกล้าเจา้ อยู่หวั ดำ� รสั
เหนือเกล้าฯ ให้ประกาศให้ทราบท่ัวกันว่า ทรงพระราชด�ำริว่า พระโอรสธิดาในสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ ซึ่ง
มารดาเปน็ พระองคเ์ จา้ แลหมอ่ มเจา้ ทมี่ อี ยใู่ นเวลาน้ี สมควรจะมพี ระยศสงู กวา่ พระวรวงศเ์ ธอ จงึ ทรงพระกรณุ า
โปรดเกล้าฯ ให้ยกพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุมภฎพงศ์บริพัตร ในสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุน
นครสวรรคว์ รพนิ ิต กบั ทัง้ หมอ่ มเจ้าทร่ี ว่ มครรภ์อนั มอี ยแู่ ลจะมีต่อไป แลพระโอรสในสมเด็จพระเจา้ น้องยาเธอ
เจา้ ฟ้ากรมขุนลพบุรีราเมศวร์ ทป่ี ระสตู ิใหมแ่ ลที่จะมรี ว่ มครรภต์ ่อไป ให้มคี ำ� น�ำพระนามวา่ พระเจา้ วรวงศ์เธอ
ใหท้ รงศักดินา ๔๐๐๐ มีกรมทรงศักดนิ า ๑๑๐๐๐ มบี ุตร มบี รรดาศกั ดเ์ิ ปน็ หมอ่ มเจ้า
ประกาศมา ณ วันที่ ๖ มกราคม รัตนโกสินทรศ๑ก ๑๒๙

ประกาศค�ำนำ� พระนามพระบรมวงษานุวงษ์**



มีพระบรมราชโองการด�ำรัสเหนือเกล้าฯ ให้ประกาศให้ทราบทั่วกันว่า เมื่อวันที่ ๒๓ ตุลาคม
รัตนโกสินทรศก ๑๒๙ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศใชค้ ำ� นำ� พระนามพระบรมวงษานุวงษ์ เปล่ยี น
ตามรชั กาล ความแจง้ อยู่แล้ว บดั น้ที รงพระราชดำ� รหิ ์เห็นควรจะแก้ไขตอ่ ไปให้เปนการเรียบรอ้ ยเปนที่กำ� หนด
สงั เกตง่าย จึงทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหแ้ กไ้ ขค�ำน�ำพระนามพระบรมวงษานวุ งษบ์ างหมู่ ดงั น้ี
พระบรมวงษานวุ งษ์ ซง่ึ เปนพระราชโอรสพระราชธดิ าในพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลกอ่ น ๆ
มาใหใ้ ชค้ �ำน�ำว่า สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงษ์เธอ พระเจา้ บรมวงษ์เธอ ตามพระเกยี รติยศ แลให้หมายชนั้ ตามรชั กาล
เปนสมเดจ็ พระเจา้ บรมวงษ์เธอ ฤๅพระเจ้าบรมวงษ์เธอ ชน้ั ๑ ช้ัน ๒ ชน้ั ๓ ชน้ั ๔ ตามลำ� ดับ
ส่วนค�ำน�ำพระนามพระเจ้าบวรวงษ์เธอ ท้ัง ๔ ช้ัน แลพระบวรวงษ์เธอนั้น เปนค�ำคล้ายคลึงกับ
คำ� น�ำพระนามพระเจา้ บรมวงษเ์ ธอ จะพาให้ปะปนกนั ไป ใหเ้ ปลี่ยนใชว้ ่าพระเจ้าราชวรวงษเ์ ธอ ช้นั ๑ ชั้น ๒
ช้ัน ๓ ชั้น ๔ ตามที่ก�ำหนดชั้นพระเจ้าบวรวงษ์เธอมาแต่เดิม ส่วนพระบวรวงษ์เธอน้ันให้ใช้ค�ำน�ำพระนามว่า
พระราชวรวงษ์เธอ
การทใี่ ช้ลำ� ดบั ชนั้ น้นั ใหใ้ ชแ้ ต่ในทจ่ี �ำเปน ทจ่ี ะใหท้ ราบวา่ รชั กาลใด ถ้าเปนการทใี่ ช้อยูเ่ สมอ ทราบกนั
อยแู่ ล้ว เชน่ พระเจ้าบรมวงษเ์ ธอช้ัน ๔ กไ็ ม่ต้องบอกชั้นในค�ำน�ำพระนามเสมอไป
ประกาศมาณวนั เสารท์ ่ี ๑๕ กรกฎาคม รตั นโกสินทร ศ๒ก ๑๓๐ เปนวนั ที่ ๒๔๗ ในรัชกาลปัตยุบนั นี้

_____________________________
* ราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ๒๗ ร.ศ. ๑๒๙, วนั ที่ ๘ มกราคม ร.ศ. ๑๒๙ หนา้ ๙๙.
** ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๒๘ ร.ศ. ๑๓๐, หน้า ๑๕๔ - ๑๕๕.

204

ประกาศต้งั พระวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ *



มีพระบรมราชโองการ ในพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจา้ อยู่หวั ดำ� รสั
เหนือเกล้าฯ ให้ประกาศให้ทราบท่ัวกันว่า ทรงพระราชด�ำริห์ว่าในเวลาน้ี พระราชวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ก็มีน้อยแล้ว
และหม่อมเจ้าในสมเด็จเจา้ ฟา้ ซ่งึ มารดาเปนพระองค์เจ้า และหม่อมเจา้ กไ็ ด้สถาปนาขน้ึ เปน็ พระเจ้าวรวงศเ์ ธอ
พระองค์เจ้า ให้บุตรมีบรรดาศักดิ์เปนหม่อมเจ้า ดั่งแจ้งอยู่ในประกาศแต่ก่อนแล้ว บัดนี้ทรงพระราชด�ำริเห็น
สมควรจะยกยอ่ งหมอ่ มเจ้า อนั เปนพระโอรสธิดาในสมเดจ็ เจา้ ฟ้าซง่ึ พระชนนีทรงศกั ดิ์ชน้ั สมเด็จ คือในสมเดจ็
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข
เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช สมเด็จพระเจ้าพี่ยาเธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์
กรมพระนครสวรรค์วรพินิต สมเด็จพระเจ้าพี่ยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ สมเด็จ
พระเจ้าพี่ยาเธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณอินทราไชย ซึ่งมารดามิได้เปนเจ้าขึ้นด�ำรงพระยศ
เปนพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยกหม่อมเจ้าในกรมท่ีออกพระนามมาแล้วน้ัน ขึ้นเปนพระองค์เจ้า
ใช้คำ� นำ� พระนามวา่ พระวรวงศ์เธอ ให้ทรงศักดนิ า ๓๐๐๐ ทกุ พระองคส์ ืบไป
ประกาศมาณวนั ท่ี ๘ พฤศจิกายน พทุ ธศกั ราช ๒๔๗๐ เปนปีที่ ๓ ในรชั กาลปัจจบุ นั

ประกาศใหห้ มอ่ มเจ้าใชน้ ามสกลุ **



มพี ระบรมราชโองการ ในพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจา้ อย่หู วั ดำ� รสั
เหนือเกล้าฯ ว่า ประเพณีออกพระนามหม่อมเจ้าที่ใช้มาแต่ก่อน ย่อมใช้นามพระบิดาต่อให้ปรากฏว่าเป็น
หม่อมเจ้าในกรมใดหรือพระองค์ใด ทรงพระราชด�ำริว่า บัดนี้ได้พระราชทานนามสกุลส�ำหรับต่างกรมและ
พระองค์เจ้าแล้ว ให้ใช้นามสกุลต่อนามหม่อมเจ้าแทนใช้นามกรมอย่างแต่ก่อน แต่หม่อมเจ้าซ่ึงทรงสถาปนา
ใหม้ พี ระเกยี รติยศเป็นพระองค์เจา้ นนั้ ไม่ตอ้ งใชน้ ามสกลุ ต่อทา้ ยพระนาม
อนงึ่ สร้อย ณอยุธยา นั้น ถา้ เปน็ หมอ่ มเจ้า หม่อมราชวงศ์ หมอ่ มหลวง ไม่ตอ้ งใช้ เพราะมีคำ� แสดงศกั ดิ์
ในราชตระกลู ปรากฏอยแู่ ลว้
ประกาศมาณวนั ท่ี ๕ มถิ ุนายน พุทธศักราช ๒๔๗๒ เปนปที ่ี ๕ ในรชั ชกาลปัจจบุ นั

_____________________________
* ราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๔๔ พ.ศ. ๒๔๗๐, หน้า ๒๕๓ - ๒๕๔.
** ราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๔๖ พ.ศ. ๒๔๗๒, วนั ที่ ๙ มิถนุ ายน ๒๔๗๒ หน้า ๑๙ - ๒๐.

205

ประกาศคำ� น�ำพระนามพระบรมวงศานุวงศ์*



โดยที่ค�ำน�ำพระนามพระบรมวงศานุวงศ์ ซ่ึงได้**มาแต่ก่อนนั้น บัดน้ีสมควรท่ีจะเปลี่ยนแปลงตาม
รัชชกาล
คณะผู้ส�ำเร็จราชการแทนพระองค์ ในพระปรมาภิไธย สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึ่งประกาศให้เปล่ียน
คำ� นำ� พระนามพระบรมวงศานุวงศ์ ดงั ต่อไปนี้
สมเด็จพระเจ้าพี่ยาเธอ สมเด็จพระเจ้าพ่ีนางเธอ พระเจ้าพี่ยาเธอ และพระเจ้าพ่ีนางเธอ เปลี่ยนเป็น
สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ และพระเจา้ บรมวงศ์เธอ ตามพระเกียรติยศ
พระราชธิดาในพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอย่หู วั เปลี่ยนเปน็ สมเดจ็ พระเจ้าภคินีเธอ
คำ� น�ำพระนามพระบรมวงศานวุ งศน์ อกจากทกี่ ล่าวมานี้ ใหค้ งอยตู่ ามเดิม
ประกาศมาณวันท่ี ๑๐ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๔๗๘
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ

นายพันเอก พระยาพหลพลพยหุ เสนา
นายกรัฐมนตรี

_____________________________
* ราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๕๒ พ.ศ. ๒๔๗๘, วนั ที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๔๗๘ หนา้ ๑๑๗๙ - ๑๑๘๐.
** เร่อื งเดียวกนั , วนั ที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๔๗๘ หนา้ ๑๓๒๔ บอกแก้คำ� วา่ “ได้” เปน็ “ใช”้

206

วนิ ิจฉยั พระยศเจ้านายทีเ่ รียกว่า
“กรมสมเด็จ” หรือ “สมเดจ็ กรม”*



จะต้องต้งั ต้นดว้ ยวินิจฉยั ค�ำทวี่ ่า “สมเด็จ” คำ� วา่ “เจา้ ฟา้ และคำ� ว่า “กรม” ๓ คำ� นกี้ ่อน ค�ำทั้ง ๓ นี้
มีหลักฐานพอจะช้ไี ดว้ า่ เกิดแต่แหล่งต่างกัน ไทยเราเอามาใช้เปน็ ยศเจา้ นายในสมยั ต่างกนั
คำ� ว่า “สมเดจ็ ” ดใู ช้ในที่หมายความว่า “เป็นอย่างยอด” ใชป้ ระกอบกับยศบุคคลชนั้ สูงสุดหลายชนิด
เช่นว่า สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระชนนี สมเด็จพระอัครมเหสี สมเด็จพระเจ้าพี่นาง (และน้องนาง) เธอ
สมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ สมเดจ็ เจา้ พระยา และสมเดจ็ พระราชาคณะ ลว้ นหมายความวา่ เปน็ ยอดในบคุ คลชนดิ นน้ั
คำ� “สมเด็จ” มใิ ชภ่ าษาไทย และไม่ปรากฏว่าไทยพวกอน่ื ใชน้ อกจากไทยกรงุ ศรีอยธุ ยา จึงสันนษิ ฐานว่าไดค้ ำ�
สมเด็จมาจากเขมร ปรากฏใช้ นำ� หน้าพระนามพระเจา้ แผ่นดินในกฎหมายมาตั้งแต่รชั กาลพระเจ้าอู่ทอง
ค�ำวา่ “เจา้ ฟา้ ” ความหมายวา่ “เทวดาจุตลิ งมาเกดิ ” เปน็ คำ� ภาษาไทย และชนชาติไทยใช้มาตงั้ แต่
ยังอยู่บ้านเมืองเดิมอันอยู่ในแดนจีนบัดนี้ เดิมเรียกแต่เจ้าครองเมืองว่า “เจ้าฟ้า” เม่ือพวกไทยใหญ่อพยพ
ไปตั้งบ้านเมืองต่อแผ่นดินพม่า ก็เรียกเจ้าครองเมืองของตนว่า “เจ้าฟ้า” เมื่อตกเป็นประเทศราชขึ้นพม่า ๆ ก็
เรียกว่า “เจ้าฟ้า” สืบมาอย่างเดิม แต่ประหลาดอยู่ที่พวกไทยน้อยซ่ึงลงมาตั้งบ้านเมืองต่างอาณาเขต เช่น
ประเทศลานชา้ งกด็ ี ลานนาก็ดี กรงุ สโุ ขทยั กด็ ี กรงุ ศรีอยธุ ยาก็ดี ไม่ใชค้ �ำเจ้าฟ้ามาแตเ่ ดิมเหมอื นพวกไทยใหญ่
อาณาเขตไทยน้อยพวกอื่นจะยกไว้ กล่าวแต่เฉพาะกรุงศรีอยุธยา แต่เดิมมาเช่นในกฎมณเฑียรบาลเป็นต้น
ก็หามียศเจา้ ฟา้ ปรากฏไม่ แรกปรากฏไปพบในหนังสือพงศาวดารพม่าวา่ พระเจ้าหงสาวดีบเุ รงนองตงั้ พระมหา
ธรรมราชา ซึง่ ครองเมอื งพิษณโุ ลก (พระชนกของสมเด็จพระนเรศวร) เมอ่ื ยอมอ่อนนอ้ มตอ่ พระเจา้ หงสาวดี
ให้เปน็ “เจา้ ฟา้ สองแคว” (สองแควเป็นชอ่ื เดิมของเมอื งพิษณโุ ลก) อยา่ งเดียวกบั เจ้าฟ้าประเทศราชไทยใหญ่
เป็นแรกท่ีจะใช้ยศ “เจ้าฟ้า” ในไทยกรุงศรีอยุธยา ข้อน้ีมีหลักฐานทางฝ่ายไทยรับรองอยู่ในกฎหมายลักษณะ
กบฏศึกบท ๑ ซึ่งสมเด็จพระเอกาทศรถทรงตั้ง ในบานแพนกเรียกพระนามสมเด็จพระนเรศวรมหาราชว่า
“สมเด็จบรมบาทบงกชลกั ษณอัครบรุ โิ สดม บรมหน่อนรา เจา้ ฟ้านเรศ เชษฐาธบิ ดี” ดังน้ี คงเปน็ เพราะเคยมีคำ�
“เจ้าฟา้ ” อยู่ในพระสพุ รรณบฏั ตามสรอ้ ยพระนามสมเด็จพระบรมชนกนาถ และยังปรากฏต่อไปอีกอย่างหน่ึง
ว่า สมเด็จพระเอกาทศรถทรงเลิกค�ำเจา้ ฟ้าไม่ใช้ ในสรอ้ ยพระนามพระเจ้าแผน่ ดนิ ตอ่ มา เอาค�ำเจ้าฟ้าลดลงมา
ใชเ้ ปน็ ยศเจา้ นายชนั้ สงู ดว้ ยทรงตง้ั พระราชโอรส ผจู้ ะรบั รชั ทายาทใหเ้ ปน็ เจา้ ฟา้ ทรงพระนามวา่ “เจา้ ฟา้ สทุ ศั น”์
เป็นพระองค์แรก แต่น้ันค�ำเจ้าฟ้าก็ใช้เป็นยศของพระเจ้าลูกเธอท่ีพระมารดาเป็นเจ้า ถ้าเป็นลูกพระมเหสี
เรียกวา่ “สมเดจ็ เจา้ ฟ้า” ถ้ามใิ ช่ลกู พระมเหสีเรยี กแต่วา่ “เจ้าฟ้า” และขยายตอ่ ลงไปอกี ชั้นหนง่ึ ถึงหลานเธอท่ี
พระบดิ ามารดาเปน็ เจา้ ฟา้ ด้วยกันทั้งสองฝ่ายก็เป็นเจ้าฟา้

_____________________________
* สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดำ� รงราชานุภาพ, ชมุ นุมพระนพิ นธ์ พระนพิ นธ์สมเด็จกรมพระยาด�ำรง
ราชานภุ าพ (พระนคร : ส�ำนักพิมพค์ ลงั วทิ ยา, ๒๔๙๔), หน้า ๑๖๗ - ๒๐๓.
เร่อื งน้รี วมพมิ พค์ รงั้ แรกในสาสน์ สมเดจ็ ท้ายลายพระหัตถ์สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ
ฉบบั วนั ที่ ๒๓ มกราคม พุทธศกั ราช ๒๔๘๒.

207

คำ� ว่า “กรม” นน้ั เปน็ แต่ชอื่ สังกัดคนพวกหน่งึ ซงึ่ จัดเป็นพนักงานทำ� ราชการอยา่ งใดอย่างหนึ่ง มชี อื่
กรมต่าง ๆ ปรากฏอยู่ในกฎหมายท�ำเนียบศักดินาเป็นอันมาก ถ้าสังเกตในท�ำเนียบน้ันจะเห็นได้ว่าชื่อกรมกับ
ช่ือเจ้ากรมต่างกัน ยกตัวอย่างดังเช่นกรมช่ือ “สรรพากรนอก” เจ้ากรมช่ือ “หลวงอินทรมนตรี” ดังน้ี ถึงตัว
เจา้ กรมจะได้เลอื่ นยศเปน็ พระหรือเปน็ พระยา ชอื่ กรมกค็ งเรียกว่ากรมสรรพากรอยเู่ ปน็ นจิ
การตั้งกรมเจ้านายแรกเกิดข้ึนเมื่อรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช มูลเหตุที่จะตั้งกรมพบใน
หนังสือฝร่ังแต่งในสมัยน้ันเรื่อง ๑ (จะเรียกว่าเรื่องอะไร เวลาท่ีเขียนนี้นึกไม่ออก) กล่าวว่า เม่ือพระอัครมเหสี
ของสมเด็จพระนารายณ์ทิวงคต โปรดให้แบ่งพวกข้าคนของพระอัครมเหสีเป็น ๒ ภาค พระราชทานสมเด็จ
พระเจา้ นอ้ งนางเธอ (เจา้ ฟา้ ศรสี พุ รรณ) ภาค ๑ พระราชทานสมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ (เจา้ ฟา้ หญงิ สดุ าวด)ี ภาค ๑
พิเคราะห์ดูสมกับความท่ีกล่าวในหนังสือพระราชพงศาวดาร ว่าสมเด็จพระนารายณ์ทรงตั้งสมเด็จพระเจ้า
น้องนางเธอเป็นกรมหลวงโยธาทิพ และทรงต้ังสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเป็นกรมหลวงโยธาเทพ แต่พึงเห็นได้ว่า
กรมท้ัง ๒ น้ีไม่มีชื่อกรมเช่นว่ากรมสรรพากร มีแต่ชื่อเจ้ากรม คือหลวงโยธาทิพและหลวงโยธาเทพ เช่นช่ือ
หลวงอินทรมนตรีเจ้ากรมสรรพากร เพราะกรมท้ัง ๒ เป็น “ขอเฝ้า” ส�ำหรับเจ้านาย ๒ พระองค์ทรงใช้สอย
ช่ัวพระชนมายุ ถ้าส้ินพระองค์เจ้านายเม่ือใดกรมนั้นก็เลิก คือเป็นกรมที่มีช่ัวคราว มิใช่กรมประจ�ำราชการ
อนั นเ้ี ปน็ มลู เหตทุ เี่ รยี กชอื่ เจา้ กรมเปน็ ชอื่ กรมดว้ ย เพราะไมม่ ชี อ่ื อนื่ จะเรยี กกรมทง้ั ๒ นน้ั แลว้ เลยออกนามกรม
เรียกเจ้านายผ้เู ป็นเจ้าของกรมว่า “เจา้ ฟ้า (ของ) กรมหลวงโยธาทิพ” และ “เจา้ ฟ้า (ของ) กรมหลวงโยธาเทพ”
เป็นการเฉลิมพระยศว่าวิเศษกว่าเจ้านายท่ีไม่มีกรม เช่นเจ้าฟ้าอภัยทสเป็นต้น มูลเดิมของการตั้งกรมเจ้านาย
มมี าอยา่ งนี้ หาไดต้ ัง้ นามกรมเป็นพระนามของเจ้านายไม่
กรมเจ้านายช้ันแรกในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราชมีแต่ “กรมหลวง” ต่อมาถึงรัชกาลสมเด็จ
พระเพทราชามี “กรมพระ” กับ “กรมขุน” เพ่มิ ขน้ึ ถึงรัชกาลพระเจ้าบรมโกศมี “กรมหมืน่ ” เพิม่ ขึ้น กรมของ
เจา้ นายจงึ ยตุ ิเป็น ๔ ชนั้
กรมพระ ส�ำหรบั แต่ พระมหาอุปราช กรมพระราชวังหลงั และสมเด็จพระชนนพี ันปีหลวง
กรมหลวง สำ� หรบั พระมเหสี พระบัณฑรู น้อย สมเด็จพระเจา้ น้องเธอ และสมเดจ็ พระเจ้าลกู เธอ
กรมขุน สำ� หรับ สมเดจ็ พระเจา้ ลูกเธอ สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ
กรมหมืน่ ส�ำหรับพระองค์เจ้าลกู เธอ และเจ้าพระญาติต้งั เป็นพเิ ศษ
แบบอย่างคร้งั กรงุ ศรีอยธุ ยามมี าดงั น้ี
ถงึ รชั กาลที่ ๑ กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ เมอื่ ประดษิ ฐานพระบรมราชจกั รวี งศ์ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้
จุฬาโลก ทรงต้ังยศศกั ด์เิ จา้ นายอนุโลมตามแบบอย่างคร้งั กรุงศรีอยธุ ยา เปน็ แตแ่ ก้ไขบ้างตามพฤติการณ์ จะว่า
แตพ่ ระยศชั้นกรมพระอนั เปน็ ทอ้ งเร่อื งวนิ ิจฉัยนี้
๑) ชน้ั กรมพระ ทรงตงั้ สมเดจ็ พระอนชุ าธริ าชเปน็ กรมพระราชวงั บวรสถานมงคล และสมเดจ็ พระเจา้
หลานเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอนุรักษ์เทเวศ เป็นกรมพระราชวังบวรสถานพิมุขตรงตามแบบเดิม แต่ครั้งนั้น
ไม่มีองค์สมเด็จพระชนนี และตามแบบเดิมก็ไม่เคยมีสมเด็จพระเจ้าพ่ีนาง จึงทรงตั้งสมเด็จพระเจ้าพ่ีนางเธอ
๒ พระองค์เป็นกรมพระ เทียบเสมอศักด์ิสมเด็จกรมพระเทพามาตย์พระราชชนนีตามต�ำรา ทรงพระนามว่า
สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากรมพระเทพสุดาวดี พระองค์ ๑ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรี
208

สุดารักษ์ พระองค์ ๑ เรียกโดยย่อว่า สมเด็จกรมพระเทพสุดาวดี และสมเด็จกรมพระศรีสุดารักษ์ ค�ำสมเด็จ
หมายความวา่ เป็นเจา้ ฟ้า มิได้เก่ียวกบั นามกรม
มคี วามในหนงั สอื พงศาวดารรชั กาลท่ี ๑ แห่งหนึ่งวา่ เมื่อศึกพม่าคร้งั ปีมะเสง พ.ศ. ๒๓๒๘ “พระยา
เทพสดุ าวด”ี เจา้ กรมของสมเดจ็ พระพน่ี างพระองคใ์ หญ่ เปน็ ผเู้ ชญิ พระกระแสรบั สง่ั ขน้ึ ไปเรง่ กรมพระราชวงั หลงั
ซึง่ เปน็ พระโอรสของสมเด็จพระพ่นี างพระองคน์ นั้ ให้รีบตที ัพพม่าท่ยี กเข้ามาในมณฑลนครสวรรค์ ช่อื พระยา
เทพสุดาวดีท่ีปรากฏในหนังสือพงศาวดารนั้น เป็นมูลเหตุที่พาให้คนภายหลังเข้าใจไปว่า สมเด็จพระพ่ีนาง
พระองคใ์ หญเ่ ปน็ กรมชนั้ สงู กวา่ สมเดจ็ พระพนี่ างพระองคน์ อ้ ย เพราะเจา้ กรมเปน็ พระยาถงึ เกดิ เรยี กพระนามกนั
ในสมยั นวี้ า่ “สมเดจ็ กรมพระยาเทพสดุ าวด”ี เปน็ การเขา้ ใจผดิ เพราะรชั กาลที่ ๑ และรชั กาลอนื่ ตอ่ มาจนตลอด
รชั กาลท่ี ๓ พระยศเจา้ นายต่างกรม “กรมพระ” ยังเปน็ ชัน้ สงู สุดเหมอื นอย่างคร้ังกรงุ ศรีอยุธยา ท่เี จา้ กรมเป็น
พระยาเป็นส่วนตัวบุคคลต่างหาก เช่นว่านาย “ก” ผู้เป็นท่ีพระเทพสุดาวดีเจ้ากรมมีความชอบพิเศษ อาจจะ
โปรดให้เล่ือนยศเป็นพระยา แต่เม่ือสิ้นตัวนาย “ก” แล้วนาย “ข” ได้เป็นเจ้ากรมก็ต้องเป็นพระเทพสุดาวดี
การทเี่ จ้ากรมไดเ้ ป็นพระยาหาไดเ้ ลอ่ื นชนั้ กรมด้วยไม่ ข้อนพ้ี งึ เห็นได้ในหนังสือราชการแตก่ ่อนเรยี ก พระนามวา่
“สมเด็จกรมพระ” พระยศเสมอกนั ทงั้ ๒ พระองค์
การตงั้ กรมเจา้ นายในรชั กาลที่ ๑ ผดิ กบั ครงั้ กรงุ ศรอี ยธุ ยาอยา่ ง ๑ ทไ่ี มไ่ ดท้ รงตงั้ พระมเหสเี ปน็ กรมหลวง
เหมือนแต่ก่อน จึงเลยเป็นเย่ียงอย่างมาในรัชกาลภายหลัง แต่ก็คงเรียกพระนามว่า สมเด็จพระพันวัสสา
เหมือนอย่างครง้ั กรุงศรอี ยธุ ยา
ถึงรัชกาลท่ี ๒ เจ้านายที่เป็นกรมพระในรัชกาลท่ี ๑ ล่วงลับไปแล้วทั้ง ๔ พระองค์ พระบาทสมเด็จ
พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั ทรงสถาปนาสมเดจ็ พระชนนเี ปน็ กรมพระอมรนิ ทรามาตย์ เทยี บกบั กรมพระเทพามาตย์
แต่ปางก่อน แต่เห็นจะเรียกกันในรัชกาลท่ี ๒ แต่โดยย่อว่า “สมเด็จพระพันปีหลวง” เพราะเรียกสมเด็จ
พระอคั รมเหสีวา่ “สมเดจ็ พระวสั สา”
ทรงสถาปนาสมเดจ็ พระเจา้ นอ้ งยาเธอ เจา้ ฟา้ กรมหลวงเสนานรุ กั ษ์ พระบณั ฑรู นอ้ ย เปน็ กรมพระราชวงั
บวรสถานมงคล
ในรชั กาลท่ี ๒ มกี รมพระ ๒ พระองค์ดว้ ยกนั
ถึงรัชกาลท่ี ๓ ทรงสถาปนาสมเด็จพระชนนีเป็นกรมพระศรีสุราลัย เทียบอย่างกรมพระเทพามาตย์
พระองค์ ๑ เม่ือต้นรชั กาลท่ี ๓ มีสมเด็จขัติยนารี ๓ พระองค์ เห็นจะเรยี กวา่ สมเด็จพระอมรนิ ทรฯ พระองค์ ๑
สมเดจ็ พระพันปีพระองค์ ๑ เพราะพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าฯ ไมม่ พี ระมเหสี สมเด็จพระพันวัสสาในรัชกาล
ท่ี ๒ จึงคงด�ำรงพระยศเรยี กกนั ว่าสมเด็จพระพนั วัสสาตามเดิมมาตลอดรชั กาลท่ี ๓ พระองค์ ๑
ในรัชกาลที่ ๓ พระราชวงศ์มีเพิ่มขึ้นอีกชั้นหน่ึงคือ “พระเจ้าลูกเธอในรัชกาลที่ ๑ ถึงรัชกาลที่ ๓
ฐานะเป็นพระเจ้าอาว์เธอ” ซึ่งไม่เคยมีมาแต่ก่อน แต่เจ้านายช้ันพระเจ้าอาว์เธอพระชันษาอ่อนกว่าพระบาท
สมเด็จพระน่ังเกล้าฯ โดยมาก มีแก่กว่าไม่ก่ีพระองค์ ถึงท่ีแก่กว่าก็เป็นอย่างรุ่นราวคราวเดียวกัน จึงไม่ทรง
บัญญัติค�ำน�ำพระนามเจ้านายชั้นพระเจ้าอาว์เธอข้ึนใหม่ ให้คงใช้ว่าพระเจ้าน้องยาเธอเหมือนเม่ือรัชกาลท่ี ๒
มาจนตลอดรชั กาลท่ี ๓

209

ทรงสถาปนาพระเจ้านอ้ งยาเธอ (ชั้นพระเจา้ อาว์) กรมหม่นื ศกั ดิพลเสพ เปน็ กรมพระราชวงั บวรสถาน
มงคล พระองค์ ๑
ในรัชกาลท่ี ๓ จึงมกี รมพระ ๒ พระองค์เหมอื นอยา่ งในรัชกาลที่ ๒
ถึงรัชกาลท่ี ๔ มีกรณีย์หลายอย่างท่ีพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจะต้องทรงจัดระเบียบ
ยศศักดเิ์ จา้ นาย เปน็ ต้นแตท่ รงพระราชดำ� รวิ ่า สมเด็จพระเจ้านอ้ งยาเธอ เจา้ ฟา้ กรมขนุ อศิ เรศรงั สรรค์ ซึ่งอยใู่ น
ฐานะจะเป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล มดี วงพระชาตาต้องต�ำราว่า “จะต้องไดเ้ ป็นพระเจา้ แผ่นดิน” และ
องคส์ มเด็จพระชนนนี าถ ซ่งึ เป็นอัครมเหสใี นรชั กาลท่ี ๒ แต่เสดจ็ สวรรคตเมอื่ รชั กาลที่ ๓ คนทั้งหลายยังเรยี ก
พระนามวา่ สมเดจ็ พระพนั วสั สาอยอู่ ยา่ งเดมิ นอกจากนน้ั เจา้ นายชน้ั พระเจา้ อาวม์ หี ลายพระองค์ ลว้ นพระชนั ษา
แก่กว่าพระองค์มาก ไม่เหมือนเมื่อรัชกาลที่ ๓ แม้ช้ันพระเจ้าพ่ีเธออันไม่เคยมีท้ังในรัชกาลที่ ๒ และท่ี ๓ ก็มี
หลายพระองค์ ยังเจ้านายที่เป็นพระเจ้าลูกเธอในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นพระราชภาคิไนย์
กม็ ีข้นึ อกี ชั้นหนงึ่ ดว้ ยเหตุเหล่าน้ีเปน็ ต้น พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั จึงทรงบัญญตั แิ กไ้ ขระเบียบ
พระยศเจา้ นายหลายอย่าง คือ
พระราชทานบวรราชาภิเษกสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนอิศเรศรังสรรค์เป็นพระบาท
สมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ด�ำรงพระยศเหมือนอย่างพระเจ้าแผ่นดินอีกพระองค์ ๑ แทนที่กรมพระราชวัง
บวรสถานมงคลเป็นพิเศษเฉพาะพระองค์เดียว อย่าง ๑ ทรงบัญญัตินามช้ันต่าง ๆ ในพระญาติวงศ์เช่นช้ัน
พระเจ้าอาว์ให้เรียกว่า “พระเจ้าบรมวงศ์เธอ” และพระเจ้าลูกเธอในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
เป็นพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ เป็นต้น และยังมีช้ันอ่ืน ๆ อีก อย่าง ๑ ทรงบัญญัติพระนามส�ำหรับเรียกพระอัฐิ
กรมพระราชวังบวรสถานมงคล รัชกาลที่ ๑ ที่ ๒ ที่ ๓ และพระนามเรียกพระอัฐิสมเด็จพระบรมราชชนนี
ท้ังพระนามเรียกพระอัฐิพระบรมวงศ์ซึ่งยังไม่มีบัญญัติในขัติยยศมาแต่ก่อน เช่นพระชนนีของสมเด็จกรมพระ
อมรนิ ทรามาตย์ ถวายพระนามวา่ สมเดจ็ พระรปู ศิรโิ สภาคมหานาคนารี เป็นต้น บางพระองค์กถ็ วายพระนาม
อยา่ งตา่ งกรม เช่นพระองคเ์ จ้าหญงิ กุพระเจ้าน้องนางเธอเม่ือรชั กาลที่ ๑ ซง่ึ คนทั้งหลายเรียกกันว่า “เจ้าครอก
วดั โพธ์”ิ ถวายพระนามวา่ กรมหลวงนรินทรเทวี ดงั นีเ้ ป็นต้น การตงั้ กรมพระอฐั มิ ขี ้นึ ในรชั กาลท่ี ๔ เป็นตน้ มา
อย่าง ๑
พระยศเจา้ นายตา่ งกรมอันกรมพระเป็นชั้นสูงทส่ี ุดมาแต่กอ่ น พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อยู่หัว
ทรงบญั ญตั ยิ ศกรมพระพเิ ศษขน้ึ อกี ชน้ั หนง่ึ เรยี กวา่ “กรมสมเดจ็ พระ” (มพี ระบรมราชาธบิ ายทรงพระราชนพิ นธ์
ไวว้ า่ ถา้ เอาคำ� สมเดจ็ นำ� หนา้ จะไปเหมอื นอยา่ งพระราชาคณะ จงึ เพม่ิ คำ� สมเดจ็ ลงขา้ งหลงั คำ� กรม) ในรชั กาลที่ ๔
ทรงสถาปนาเจา้ นายเป็นกรมสมเดจ็ พระ ๓ พระองค์ คอื
ถวายพระนามพระอฐั ิสมเด็จพระบรมราชชนนเี ปน็ “กรมสมเด็จพระศรสี ุรเิ ยนทรามาตย”์ พระองค์ ๑
ถวายมหาสมณุตมาภิเษกเลื่อนพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นนุชิตชิโนรส ซ่ึงทรงผนวชอยู่เป็น “พระเจ้าบรม
วงศเ์ ธอ กรมสมเดจ็ พระปรมานชุ ิตชิโนรส” พระองค์ ๑
เล่ือนพระเจ้าพี่ยาเธอ กรมขุนเดชอดิศร เป็นพระเจ้าพ่ียาเธอกรมสมเด็จพระเดชาดิศรพระองค์ ๑
มีในประกาศเลื่อนกรมเฉพาะพระองค์นี้พระองค์เดียวว่าให้ตั้งเจ้ากรมเป็นพระยา อีก ๒ พระองค์เจ้ากรม
เป็นพระ แต่ในพระสุพรรณบัฏที่ทรงต้ังส่วนพระองค์เจ้านายทรงพระยศเป็น “กรมสมเด็จพระ” เหมือนกัน
210

ท้ัง ๓ พระองค์ คือกรมพระชน้ั พเิ ศษ มิใชก่ รมพระยา ยศพระยาเปน็ แตส่ �ำหรบั ตัวเจา้ กรมบางคน อยา่ งเดียวกับ
พระยาเทพสดุ าวดใี นรัชกาลที่ ๑
รองจากกรมสมเด็จพระ ทรงตงั้ เจา้ นายเป็น “กรมพระ” ชน้ั สามัญ ๓ พระองค์ คือ
เลื่อนพระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมขนุ รามอิศเรศ เปน็ กรมพระรามอิศเรศ พระองค์ ๑
เล่ือนพระเจ้าพ่ียาเธอ กรมขุนพิพิธภูเบนทรเป็นกรมพระพิพิธโภคภูเบนทร พระองค์ ๑ ในประกาศ
เลอ่ื นกรมเฉพาะพระองคน์ ใ้ี หท้ รงตงั้ เจา้ กรมเปน็ พระยา (ไดย้ นิ วา่ เพราะตวั ผเู้ ปน็ เจา้ กรมในเวลานนั้ เปน็ ราชนิ กิ ลู
สายบางช้าง) พึงเห็นไดช้ ัดว่าท่เี จา้ กรมเปน็ พระยามิได้พาให้กรมเจ้านายเปน็ กรมพระยาไปดว้ ย
เลอ่ื นพระเจ้าพ่ียาเธอ กรมหมน่ื พทิ กั ษ์เทเวศ เปน็ กรมพระพิทักษเ์ ทเวศ พระองค์ ๑
การตงั้ กรมเจา้ นายตามระเบยี บ ซงึ่ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงบญั ญตั ผิ ดิ กบั ระเบยี บเกา่
เป็นข้อสำ� คญั บางอยา่ ง คอื
๑) กรมพระแต่ก่อนมีแต่ พระมหาอุปราชกับสมเด็จพระพันปีหลวง และกรมพระราชวังหลัง
ถงึ รชั กาลท่ี ๔ ทรงบญั ญัติวา่ พระบรมวงศผ์ ูใ้ หญ่ท่ีพระชันษาแก่กวา่ พระเจ้าแผ่นดินอาจเปน็ กรมพระได้ แต่ท่ี
พระชนั ษาออ่ นกวา่ พระเจา้ แผน่ ดนิ เปน็ ไดแ้ ตก่ รมหลวง จึงมจี ำ� นวนกรมพระมากข้นึ ตงั้ แตร่ ชั กาลที่ ๔ มา
๒) คำ� “สมเดจ็ ” ที่ใช้ในพระนามเจ้านายแตเ่ ดิมมา หมายความอยา่ งเดยี วว่าเป็นเจา้ ฟา้ เช่น สมเดจ็
พระเจา้ พ่นี างเธอ เจ้าฟ้ากรมพระเทพสดุ าวดี หรือเรียกโดยยอ่ วา่ “สมเด็จกรมพระเทพสุดาวดี” ตั้งแต่รชั กาล
ที่ ๔ มา คำ� “สมเด็จ” ในพระนามเจ้านายหมายความตา่ งกนั ได้ ๓ อย่าง หมายว่าเป็นเจา้ ฟ้าอยา่ ง ๑ หมายว่า
เป็นกรมพระช้ันพิเศษซึ่งไม่จ�ำต้องเป็นเจ้าฟ้าอย่าง ๑ และหมายเป็นยศในพระญาติวงศ์ช้ันสูงไม่จ�ำต้องเป็น
เจ้าฟ้าอย่าง ๑ เขียนต่างกันเช่นว่าสมเด็จกรมพระเทพสุดาวดี กรมสมเด็จพระเดชาดิศร และสมเด็จพระรูป
ศิริโสภาค ดังน้ี แต่ค�ำเรียกด้วยวาจา คนพูดหมายแต่สะดวกปาก จึงเรียกสมเด็จเป็นอย่างเดียวกันว่า สมเด็จ
พระเทพสุดาวดี สมเด็จพระเดชาดิศร สมเดจ็ พระรูปฯ ดงั นี้
ถึงรัชกาลที่ ๕ เมื่อแรกเสวยราชยพ์ ระราชทานอปุ ราชาภเิ ษกพระบวรวงศ์เธอ กรมหมน่ื บวรวชิ ัยชาญ
เปน็ กรมพระราชวังบวรสถานมงคล พระองค์ ๑
สถาปนาพระนามพระอัฐิสมเด็จพระชนนี ซ่ึงเสด็จสวรรคตล่วงไปก่อนแล้ว เป็นกรมสมเด็จพระเทพ
สริ นิ ทรามาตย์ มีเจ้ากรมขอเฝ้าเปน็ พระ พระองค์ ๑
ตั้งกรมพระเจ้าราชวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าหญิงละม่อม เป็นกรมพระสุดารัตนราชประยูร (เทียบท่ี
กรมพระเทพามาตย)์ พระองค์ ๑
ถึงปีระกา พ.ศ. ๒๔๑๖ เมอ่ื บรมราชาภิเษกคร้งั ท่ี ๒ แล้ว
เล่ือนพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ กรมพระสุดารัตนราชประยูรเป็นพระบรมมไหยิกาเธอ กรมสมเด็จ
พระสุดารตั นราชประยรู เจา้ กรมเป็นพระยา พระองค์ ๑
เลอ่ื นสมเด็จพระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ เจ้าฟา้ มหามาลา กรมขนุ บำ� ราบปรปักษ์ เปน็ กรมพระ พระองค์ ๑
เลอ่ื นพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมหลวงเทเวศวัชรินทร เปน็ กรมพระ พระองค์ ๑
เลือ่ นพระเจ้าวรวงศเ์ ธอ กรมหมนื่ บวรรงั ษีสรุ ยิ พนั ธ์ุ ซง่ึ ทรงผนวช เป็นพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ
ปวเรศวริยาลงกรณ์ พระองค์ ๑

211

ต่อมาเลื่อนเจ้าฟ้ากรมพระบำ� ราบปรปักษ์ เปน็ กรมสมเดจ็ พระ เจา้ กรมเป็นพระยา พระองค์ ๑
ถวายมหาสมณุตมาภิเษกกรมพระปวเรศวริยาลงกรณ์ เป็นกรมสมเด็จพระ เจ้ากรมเป็นพระยา
พระองค์ ๑
บรรดาศักดิ์เจ้ากรมของกรมสมเด็จพระเป็นพระยาทุกคนต้ังแต่เล่ือนกรมครั้งนี้เป็นต้นมา อนึ่งที่
พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงบญั ญตั ไิ วว้ า่ พระเจา้ นอ้ งยาเธอเปน็ ไดเ้ พยี งกรมหลวงเปน็ อยา่ งสงู นน้ั
ในรัชกาลที่ ๕ ทรงอนุโลมตามแบบอย่างพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกเคยทรงสถาปนาสมเด็จ
พระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอนุรกั ษเ์ ทเวศ เป็นกรมพระราชวังบวรสถานพมิ ขุ เปน็ พเิ ศษ จึงทรง
เลอื่ นสมเดจ็ พระเจา้ น้องยาเธอ เจา้ ฟา้ กรมหลวงจกั รพรรดิพงศ์ เป็นกรมพระ พระองค์ ๑
เล่อื นสมเด็จพระเจา้ นอ้ งยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงภาณุพันธวุ งศ์วรเดช เปน็ กรมพระ พระองค์ ๑
ในรัชกาลท่ี ๕ (ถ้าไม่นับกรมพระราชวังบวรสถานมงคล) มีกรมสมเด็จพระ ๔ พระองค์ กรมพระ
๓ พระองค์
อน่ึงในรัชกาลท่ี ๕ ทรงแก้ไขระเบียบพระยศสมเด็จพระมเหสีตั้งเป็นแบบใหม่ แบบเดิมแต่คร้ัง
กรุงศรีอยุธยา พระมเหสีเป็นกรมหลวง แต่คนท้ังหลายเรียกว่าสมเด็จพระพันวัสสา ถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์
ทรงงดการตั้งกรมสำ� หรับพระมเหสี คงแต่เรยี กกันวา่ สมเด็จพระพันวัสสามาตัง้ แตร่ ัชกาลที่ ๑ พระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงอนุโลมตามแบบในกฎมณเฑียรบาลคร้ังกรุงศรีอยุธยา ซึ่งก�ำหนดศักด์ิ
“พระภรรยาเจ้า” (พระมเหสี) เป็น ๔ ชั้น คือ พระอัครมเหสี พระมเหสี พระราชเทวี และพระอัครชายา
ทรงสถาปนา
สมเดจ็ พระนางเจา้ เสาวภาผอ่ งศรี พระวรราชเทวี แลว้ เลอ่ื นเปน็ สมเดจ็ พระบรมราชนิ ี เปน็ พระอคั รมเหสี
เจา้ กรมเปน็ พระยาพระองค์ ๑ สมเดจ็ พระนางเจา้ สวา่ งวฒั นา พระบรมราชเทวี เทยี บเทา่ พระมเหสี พระองค์ ๑
สมเด็จทัง้ ๒ พระองคน์ ม้ี ีกรมแตไ่ มใ่ ชค้ �ำ “กรม” ในพระนาม ดเู หมอื นจะเปน็ แรก
ในรชั กาลท่ี ๕ เปลยี่ นพระยศเจ้านายจากประเพณที ม่ี ีมาแต่ก่อนอกี อยา่ งหนง่ึ คือเลกิ กรมพระราชวัง
บวรสถานมงคล ทรงต้ังสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช มกุฎราชกุมาร อนุโลมตาม “สมเด็จหน่อพุทธเจ้า”
ในกฎมณเฑยี รบาลครั้งกรุงศรอี ยธุ ยา แทนที่พระมหาอปุ ราช ไม่ตั้งกรมตา่ งหาก
มูลเดิมของ “กรม” เจ้านายมามีการเปล่ียนแปลงเป็นข้อส�ำคัญในรัชกาลที่ ๕ ด้วยตั้งแต่โบราณมา
เจ้านายย่อมมีข้าคนเป็นบริวารทุกพระองค์ บริวารของเจ้านายที่ยังไม่ได้รับกรมมีจางวางเป็นหัวหน้าควบคุม
ขึ้นอยู่ในกรมสนมพลเรือน เมื่อเจ้านายพระองค์ใดรับกรมก็แยกข้าคนของพระองค์น้ันออกไปตั้งเป็นกรม ๑
ตา่ งหาก มเี จา้ กรม ปลดั กรม และสมหุ บ์ ญั ชคี วบคมุ ลดศกั ดจิ์ างวางลงมาควบคมุ หมวดในกรมนนั้ ในรชั กาลท่ี ๕
เมอื่ ตงั้ พระราชบญั ญตั ลิ กั ษณะเกณฑท์ หาร ปลอ่ ยพลเมอื งจากสงั กดั กรมตา่ ง ๆ ไปอยใู่ นปกครองของเทศาภบิ าล
ตามท้องที่ และให้บรรดาชายฉกรรจ์ต้องรับราชการทหารชั่วคราวเสมอหน้ากันทุกคน แทนขึ้นทะเบียนเป็น
“เลก” สงั กดั อยใู่ นกรมตา่ งๆ อยา่ งแตก่ อ่ น ตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี เลกิ กรมของเจา้ นายหมด แตน่ นั้ มาคำ� “กรม”
ก็เป็นแต่ติดอยู่กับพระนามเจ้านาย ไม่มีตัวตนเจ้ากรม ปลัดกรม สมุห์บัญชี ก็กลายเป็นคนรับใช้เหมือนอย่าง
ฐานานุกรมของพระราชาคณะ จึงนบั วา่ เลิก “กรม” เจ้านายมาแตเ่ ม่อื พ.ศ. ๒๔๔๓
212

ถึงรัชกาลท่ี ๖ ทรงแก้ไขระเบียบพระเกียรติยศเจ้านายหลายอย่าง เป็นต้นแต่แก้พระนามพระอัฐิ
เจ้านายตา่ งกรม คอื
๑) กรมพระราชวงั บวรสถานมงคล รชั กาลที่ ๑ ท่ี ๒ ท่ี ๓ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั
ได้ทรงบัญญัติให้เรียกว่ากรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท พระองค์ ๑ กรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์
พระองค์ ๑ และกรมพระราชวังบวรมหาศักดิพลเสพ พระองค์ ๑ นั้น ให้เปลี่ยนค�ำ “กรมพระราชวังบวร”
ทีน่ ำ� พระนามเป็น “สมเด็จพระบวรราชเจา้ ”
๒) สมเดจ็ พระชนนพี นั ปหี ลวงซง่ึ เปน็ “กรมสมเดจ็ พระ” แตก่ อ่ นมา เปลย่ี นเปน็ สมเดจ็ พระอมรนิ ทรา
บรมราชินี พระองค์ ๑ สมเด็จพระศรีสุริเยนทรา บรมราชินี พระองค์ ๑ สมเด็จพระเทพสิรินทรา บรมราชินี
พระองค์ ๑
๓) ถวายพระนามสมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระบรมราชินีนาถ องค์พระบรมราชชนนี
เป็นสมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงตั้งต�ำแหน่งต่าง ๆ ในราชเสวก
เป็นท�ำเนียบข้าราชการในสมเด็จพระพันปีหลวง แทนเจ้ากรม ปลัดกรม สมุห์บัญชีอย่างแต่ก่อน พึงเห็นได้ใน
บรรดาพระนามที่แก้ไขดงั กล่าวมา พระนามใดท่เี คยมีค�ำ “กรม” เปลอื้ งเอาคำ� “กรม” ออกจากพระนามทัง้ น้นั
เอาแต่ค�ำ “สมเด็จพระ” เปน็ ประธาน แต่คำ� “กรม” แม้ไม่มีแก่นสารแลว้ ก็ยังทิง้ จากพระยศเจ้านายไม่ได้หมด
ยังคงใช้ต่อมา เป็นแต่แก้ไขช้ัน “กรมสมเด็จพระ” เป็น “สมเด็จฯ กรมพระยา” กรมช้ันอ่ืนนอกน้ันคงอยู่
ตามเดิม
การท่ีแก้ยศกรมสมเด็จพระ เป็นสมเด็จฯ กรมพระยานั้นเกิดแต่ต้นรัชกาลท่ี ๖ เมื่อพระบาทสมเด็จ
พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั จะถวายมหาสมณตุ มาภเิ ษกพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมหลวงวชริ ญาณวโรรส พระอปุ ชั ฌาย์
เป็นสมเดจ็ พระมหาสงั ฆปรินายก ตวั อย่างเจา้ นายทไี่ ด้รับมหาสมณตุ มาภเิ ษกมาแต่ก่อนเป็น “กรมสมเด็จพระ”
เหมือนกันทั้ง ๒ พระองค์ แต่ผิดกันท่ียศเจ้ากรมของกรมสมเด็จพระปรมานุชิตฯ เป็นพระ เจ้ากรมของ
กรมสมเด็จพระปวเรศวริยาลงกรณ์เป็นพระยา ปัญหาเร่ืองกรมพระกับกรมพระยาเกิดขึ้นด้วยยศเจ้ากรมเป็น
พระยาไม่ตรงกับกรมสมเด็จพระ เหมือนเช่น กรมพระ กรมหลวง เป็นต้น พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า
เจา้ อยหู่ ัว ตรสั ปรึกษากบั กรมหลวงวชิรญาณฯ ทรงก�ำหนดช้นั กรมเจ้านายให้เป็นระเบยี บตรงกบั ชน้ั ยศขุนนาง
ซงึ่ เปน็ เจ้ากรม คงตามแบบเดมิ ต้ังแต่กรมหมนื่ ข้นึ ไปจนกรมพระ ตอ่ นน้ั ทรงพระราชดำ� ริจะให้มี “กรมพระยา”
(ไม่มีค�ำสมเด็จ) ขึ้นอีกช้ันหนึ่ง และแก้ยศกรมสมเด็จแบบเดิมเป็น “สมเด็จกรมพระยา” เทียบเท่าชั้นสมเด็จ
เจา้ พระยาทางยศขุนนาง อนั นเ้ี ป็นเคา้ พระราชด�ำริ มปี ญั หาตอ่ ไปว่าค�ำ “สมเด็จ” จะเอาเขา้ พระนามตรงไหน
จะเป็น “พระเจ้าบรมวงศเธอ สมเด็จกรมพระยา” หรือ “สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา” สมเด็จ
พระมหาสมณะทรงเห็นควรเป็นอย่างข้างหลัง และทรงพระด�ำริต่อไปว่า สมเด็จเจ้าพระยาได้เคร่ืองยศและ
มีกรมทนายเหมือนอย่างเจ้าต่างกรมฉันใด สมเด็จกรมพระยา (ที่มิได้เป็นเจ้าฟ้า) ก็ควรจะมีศักดิ์คล้ายเจ้าฟ้า
(เคยได้ยนิ ค�ำตรสั ว่าเป็น “เจ้าฟา้ ยก” เปรยี บเช่นพระราชาคณะยก) เพราะฉะน้ันตามประเพณเี ดมิ พระองคเ์ จา้
ต่างกรมทรงศักดินา ๑๕๐๐๐ เท่ากันทุกชั้น จึงเพ่ิมศักดินาสมเด็จกรมพระยาเป็น ๓๕๐๐๐ ต�่ำกว่าศักดินา
เจ้าฟ้าต่างกรม ๕๐๐๐ และได้พระราชทานเครื่องยศลงยาราชาวดีเหมือนเจ้าฟ้า เม่ือเอาค�ำ “สมเด็จ” มาตั้ง
หนา้ พระนามกรมพระยาเหมอื นอย่างเจ้าฟ้าก็ต้องแก้ทางระเบยี บพระนามเจา้ ฟา้ ให้ผิดกัน จึงเอาคำ� “เจา้ ฟ้า”

213

ลงไวข้ า้ งหนา้ นามกรม เชน่ วา่ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ เจา้ ฟา้ กรมพระยาภาณพุ นั ธวุ งศว์ รเดช ฉะน้ี ใหผ้ ดิ กบั
สมเด็จกรมพระยาที่มไิ ด้เป็นเจ้าฟ้า
ในรัชกาลท่ี ๖ ทรงต้ังสมเด็จกรมพระยา นอกจากสมเด็จพระมหาสมณะอีก ๒ พระองค์ กรมพระ
๘ พระองค์ คอื
เลื่อนสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระภาณุพันธุวงศ์วรเดช เป็นสมเด็จกรมพระยา
พระองค์ ๑
เลื่อนพระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมพระเทววงศ์วโรประการ เปน็ สมเดจ็ กรมพระยา พระองค์ ๑
เล่อื นสมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ เจา้ ฟา้ กรมหลวงนรศิ รานวุ ดั ติวงศ์ เปน็ กรมพระ พระองค์ ๑
เฉลิมพระนามพระอัฐิสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้าพาหุรัตนมณีมัย เป็นกรมพระเทพนารีรัตน
พระองค์ ๑
เลอ่ื นพระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมหลวงนเรศวรฤทธิ เป็นกรมพระ พระองค์ ๑
เลื่อนพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนสมมตอมรพนั ธ์ุ เป็นกรมพระ พระองค์ ๑
เลอ่ื นพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมหม่นื นราธิปประพนั ธพงศ์ เปน็ กรมพระ พระองค์ ๑
เลือ่ นพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงด�ำรงราชานภุ าพ เปน็ กรมพระ พระองค์ ๑
เลื่อนพระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมหลวงสวัสดิวัดนวศิ ิษฏ์ เป็นกรมพระ พระองค์ ๑
เลื่อนพระเจา้ พยี่ าเธอ กรมหลวงจนั ทบุรนี ฤนาถ เปน็ กรมพระ พระองค์ ๑
ในรัชกาลท่ี ๖ ทรงเปลี่ยนค�ำน�ำพระนามตามชั้นพระราชวงศ์ซ่ึงบัญญัติขึ้นในรัชกาลท่ี ๔ ด้วย
อีกอย่าง ๑ เพราะตามแบบเก่าต้องแก้ทกุ ชัว่ บรุ ษุ ทรงบัญญตั ิใหม่เพือ่ มิให้ตอ้ งแก้ คอื
๑) บรรดาพระราชบุตรธิดาแตช่ น้ั พระเจ้าอาวข์ ้ึนไป รวมทงั้ พระเจ้าลกู เธอในรชั กาลที่ ๓ ใหใ้ ชค้ ำ� นำ�
พระนามวา่ “พระเจา้ บรมวงศ์เธอ” เหมอื นกนั ทกุ ช้นั
๒) พระราชบตุ รและธดิ าสมเดจ็ พระบวรราชเจา้ และพระเจา้ ลกู เธอของพระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ ฯ
ให้ใช้ค�ำน�ำพระนามว่า “พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ” แต่ลูกเธอของกรมพระราชวังบวรวิชัยชาญเป็น “พระราช
วรวงศเ์ ธอ”
เจ้านายชั้น พระเจ้าพี่ยาเธอ พระเจ้าน้องยาเธอ พระสัมพันธวงศ์เธอ พระวรวงศ์เธอ พระวงศ์เธอ
คงอยู่ตามแบบเดมิ
ถงึ รชั กาลท่ี ๗ ทรงสถาปนาหมอ่ มเจ้าร�ำไพพรรณี พระชายา เปน็ สมเดจ็ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี
แต่การตั้งกรมเจ้านายพฤติการณ์ผิดกับรัชกาลท่ี ๖ ด้วยได้เฉลิมพระยศสมเด็จพระบรมราชชนนีแต่ในรัชกาล
นั้นแล้ว พระอปุ ชั ฌาย์ก็ได้เฉลิมพระยศและส้ินพระองค์ไปแล้ว แตม่ กี รณเี ปน็ เหตทุ ่ีทรงพระราชด�ำริเห็นสมควร
แก้ไขแบบเดิมบ้าง การตั้งกรมเจ้านายในรัชกาลที่ ๗ จึงทรงเพ่ิมพระยศสมเด็จพระภรรยาเจ้าในรัชกาลท่ี ๕
ซึง่ ยงั อยู่ ๓ พระองค์ คือ
ทรงสถาปนาสมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเทวีพระมเหสีในรัชกาลที่ ๕ เป็นสมเด็จ
พระศรีสวรินทิรา บรมราชเทวี พระพันวัสสามาตุจฉาเจ้า เจ้ากรมเป็นพระยา เทียบท่ีกรมพระเทพามาตย์
แตโ่ บราณ พระองค์ ๑
214

ทรงสถาปนาพระนางเจ้าสุขุมาลมารศรี พระราชเทวี เป็นสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้า สุขุมาลมารศรี
พระอัครราชเทวี เจา้ กรมเป็นพระ พระองค์ ๑
เลื่อนพระยศพระอคั รชายาเธอ กรมขุนสทุ ธาสนิ นี าฏ เป็นพระวิมาดาเธอ กรมพระ พระองค์ ๑
เพมิ่ พระยศสมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ เจา้ ฟา้ กรมพระยาภาณพุ นั ธวุ งศว์ รเดช เปน็ สมเดจ็ พระราชปติ ลุ า
บรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้ากรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ทรงศักดินา ๑๐๐๐๐๐ เสมอกับกรมพระราชวังบวร
สถานมงคลแตก่ ่อน พระองค์ ๑
เล่ือนสมเดจ็ พระเจา้ พ่ียาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงนครสวรรคว์ รพนิ ิต เป็นกรมพระ พระองค์ ๑
เลื่อนพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระดำ� รงราชานุภาพ เปน็ สมเดจ็ กรมพระยา พระองค์ ๑
เพิ่มพระยศพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฏ์ เป็นสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ
พระองค์ ๑ (นา่ จะนับวา่ เป็นกรมพระพิเศษ เพราะมไิ ดเ้ พม่ิ ศักดินาและเคร่ืองยศอย่างสมเด็จกรมพระยา)
เลอ่ื นพระเจ้าพี่ยาเธอ กรมหลวงก�ำแพงเพชรอัครโยธนิ เป็นกรมพระ พระองค์ ๑
นอกจากสมเด็จพระพันวัสสา สมเด็จพระปิตุจฉา และสมเด็จพระราชปิตุลา ในรัชกาลที่ ๗ ทรงตั้ง
สมเด็จกรมพระยา พระองค์ ๑ สมเด็จกรมพระและกรมพระ ๔ พระองค์
เรื่องตำ� นานการต้งั กรมสมเดจ็ และกรมพระมมี าดังนี ้
ท่ีจะเรยี กวา่ “สมเด็จกรม” หรือ “กรมสมเด็จ” น้ันหมอ่ มฉันเห็นวา่ ท่มี ไิ ด้มีพระราชบัญญัตใิ ห้เปลี่ยน
เปน็ อยา่ งอน่ื ควรเรยี กตามพระสพุ รรณบฏั เปน็ หลกั ชนั้ กอ่ นรชั กาลท่ี ๖ คงเรยี กพระนามดงั น้ี จะยกเปน็ ตวั อยา่ ง
เชน่
สมเดจ็ (พระเจา้ พ่นี างเธอ เจ้าฟา้ ) กรมพระเทพสดุ าวดี
กรมสมเด็จพระเดชาดิศร
สมเดจ็ (พระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจา้ ฟา้ ) กรมสมเด็จพระบำ� ราบปรปักษ์
เจา้ นายพระองคใ์ ดท่ีไดเ้ ปน็ สมเดจ็ กรมพระยาต้ังแตร่ ชั กาลท่ี ๖ มา จงึ ควรเรียกวา่ สมเด็จกรมพระยา
ที่เรยี กกรมพระยาเลยข้นึ ไปถึงก่อนรชั กาลท่ี ๖ ไมม่ ีมลู และทำ� ใหเ้ กิดยุ่งดว้ ย เพราะกลายเป็นสมเด็จพระพน่ี าง
พระองคน์ อ้ ยในรชั กาลที่ ๑ ดเู หมอื นทรงพระยศตำ่� กวา่ พระองคใ์ หญ่ และทำ� ใหด้ เู หมอื นกรมสมเดจ็ พระปรมานชุ ติ ฯ
ทรงพระยศต่ำ� กวา่ กรมสมเด็จพระเดชาดศิ ร หม่อมฉนั คดิ เห็นดงั นีฯ้

215

เจ้าฟา้ *



แตโ่ บราณมา ประเทศไทยมีพระมหากษัตริยเ์ ป็นประมขุ สูงสุดของประเทศทท่ี รงเปน็ ท้งั พระเจา้ อยูห่ ัว
พระเจ้าแผ่นดิน และพระเจ้าชีวิต พระบรมราชวงศ์ของพระองค์จึงประกอบด้วยราชตระกูลหลายช้ันคือ
พระบรมวงศ์ พระอนวุ งศ์ และราชนกิ ลู อนั เป็นเคร่อื งเชดิ ชใู หพ้ ระราชวงศเ์ จริญงอกงามแผไ่ พศาล ได้รับการ
ยกย่องนบั ถอื ตลอดมาท้งั ในประเทศและต่างประเทศ
ในธรรมเนียมราชตระกูลของไทยที่ถือปฏิบัติติดต่อกันมาจนถึงปัจจุบันนี้ เจ้านายช้ันพระบรมวงศ์มี
๒ ชนั้ สกลุ ยศ คอื เจา้ ฟา้ และพระองคเ์ จา้ สว่ นพระองคเ์ จา้ ตงั้ ทเ่ี ลอื่ นมาจากชนั้ หมอ่ มเจา้ และหมอ่ มเจา้ โดยทว่ั ไป
นับเป็นช้ันพระอนุวงศ์ ส�ำหรับหม่อมราชวงศ์และหม่อมหลวง ซึ่งเป็นสกุลยศท่ีต่�ำลงมามิได้นับว่าเป็นเจ้า
คงถือว่าเนื่องอยใู่ นพระราชวงศเ์ ทา่ นน้ั เรยี กว่า ราชนิกูล ดงั น้ันในแต่ละสกุลยศยอ่ มจะมีสิทธติ ามพระอิสรยิ ยศ
และฐานนั ดรศักดแ์ิ ตกต่างกันไป ในทน่ี ี้จะขอกลา่ วเฉพาะสกลุ ยศช้ันเจา้ ฟา้ เทา่ น้นั
คำ� ว่า “เจ้าฟ้า” แตเ่ ดมิ ใช้สำ� หรบั เรยี กพระเจ้าแผ่นดนิ หรอื เจ้าเมืองท�ำนองเดยี วกับค�ำว่า “ขุน” หรอื
“พ่อขุน” มิได้ใช้เป็นค�ำส�ำหรับเรียกเจ้านายในต�ำแหน่งอื่น ปรากฏมีใช้แพร่หลายอยู่ในรัฐฉานหรือไทยใหญ่
ตลอดจนในเขตแว่นแคว้นสิบสองปันนา ส่วนในประเทศไทยตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์ คือ กฎหมาย
ตราสามดวง ลักษณะขบถศึก ได้กล่าวถึงพระนามสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภายหลังสงครามยุทธหัตถีกับ
พระมหาอปุ ราชาเมือ่ พ.ศ. ๒๑๓๖ ว่า “สมเด็จบรมบาทบงกชลักษณ์อคั รบรุ ิโสดม บรมหนอ่ นรา เจ้าฟ้านเรศ
เชษฐาธิบดี” และในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา เริ่มเห็นชัดเจนในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าเอกาทศรถ
(พ.ศ. ๒๑๔๘-๒๑๕๓) เรียกสมเดจ็ พระราชโอรสท่ที รงสถาปนาในตำ� แหนง่ พระมหาอุปราชว่า “เจ้าฟา้ สุทศั น”์
เป็นต้น และพระอิสริยยศของเจ้าฟ้าที่จะได้รับพระราชทานเพิ่มเติมจากสกุลยศเดิม คือ เป็นเจ้าฟ้าทรงกรม
หรือเจ้าฟ้ามีกรม หรือต่างกรม เริ่มเป็นแบบแผนในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ซึ่งทรงสถาปนา
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสุดาวดี ขึ้นเป็นเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงโยธาเทพ เป็นต้น และมีพัฒนาการเพ่ิมเติม
ต่อมาเป็น กรมหมื่น กรมขุน กรมหลวง กรมพระ และกรมพระยาเป็นท่ีสุด อิสริยยศเจ้านายท่ีให้ทรงกรมนี้
เป็นแบบแผนธรรมเนียมราชตระกูลของไทยโดยเฉพาะ ในรัฐไทยใหญ่ก็เป็นเพียงเจ้าฟ้าเมืองน้ันเมืองนี้เท่าน้ัน
เชน่ เจ้าฟา้ เชียงตงุ สว่ นประเทศกัมพชู ากไ็ ดเ้ ลียนแบบธรรมเนียมอสิ รยิ ยศเจา้ นายจากไทยไปใชเ้ ช่นเดียวกนั
สกลุ ยศของราชตระกลู ไทยแมจ้ ะมหี ลายชน้ั เพยี งไร แตก่ ม็ เี วลาลดลงสสู่ ามญั ชนไดร้ วดเรว็ กวา่ ในทแ่ี หง่ อน่ื
เชน่ ในล้านนา ถงึ ขนาดบางรชั กาลพระยศเจา้ ฟา้ ของพระราชวงศไ์ ทยก็เกือบจะไมม่ อี ยู่เลย ดงั พระราชนพิ นธ์
ในพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงไวใ้ นเรอ่ื งประกาศการพระราชพธิ ลี งสรงโสกนั ตพ์ ระเจา้ ลกู เธอ วา่

...พระเจา้ ลกู เธอ ๔ พระองค์ ซง่ึ ประสตู แิ ตพ่ ระนางเธอพระองคเ์ จา้ รำ� เพยภมราภริ มย์
สมเด็จเจ้าพระยาองค์ใหญ่พร้อมใจกับเสนาบดี กราบทูลพระกรุณาขอพระราชบรรดาศักดิ์
ให้เป็นเจ้าฟ้า เพราะเห็นว่าถ้าไม่ให้เป็นเจ้าฟ้าขึ้นแล้ว ฐานันดรต�ำแหน่งเจ้าฟ้าก็จะสาบสูญ
ไปไม่มีในแผ่นดิน...

_____________________________
* พลตรี หมอ่ มราชวงศ์ศุภวัฒย์ เกษมศรี เรียบเรียง

216

ประเภทของเจา้ ฟ้า

เจา้ ฟา้ ตามทป่ี รากฏในธรรมเนยี มราชตระกลู ของไทย ตง้ั แตต่ น้ กรงุ รตั นโกสนิ ทรจ์ นถงึ ปจั จบุ นั นน้ั มที มี่ า
๒ ประการคอื เจ้าฟา้ โดยกำ� เนดิ ประการหนง่ึ และเจ้าฟ้าท่ีพระมหากษัตรยิ ท์ รงสถาปนาข้นึ ไว้อีกประการหนง่ึ
โดยอยู่ภายในหลักการใหญ่ที่วา่ สมเด็จเจ้าฟา้ ชายหญงิ ทงั้ หลาย พึงต้องมพี ระบิดาพระมารดาเปน็ ราชตระกูล
ดว้ ยกนั ทั้ง ๒ ฝ่ายเสมอกนั อันเรียกว่า อุภโตสุชาติ แปลว่า “เกิดดีแต่ฝกั ฝา่ ยทัง้ สอง” หรือ “มีพระราชสมภพ
อนั ประเสรฐิ ทงั้ สองฝา่ ย” คำ� วา่ ราชตระกลู ฝา่ ยพระมารดานนั้ สามารถขยายไปถงึ ราชตระกลู ของเจา้ ประเทศราช
ของไทย หรือในกรณีที่เป็นบุตรีของอัครเสนาบดีผู้มีความชอบพิเศษ หรือบุตรีสามัญชนใด ก็ต้องได้รับการ
สถาปนาให้ขึ้นเป็นเจา้ อยา่ งน้อยชน้ั พระองคเ์ จ้าหรือเทียบเท่าขนึ้ ไปเสียกอ่ น โดยผา่ นทางต�ำแหนง่ ทพี่ ระมเหสี
พระราชเทวี หรือพระอัครชายา เป็นต้น พระราชโอรสธิดาจึงจะมีสิทธิเป็นเจ้าฟ้าได้ อย่างไรก็ดี หากจะรวม
เจ้าฟ้าจากที่มาทัง้ ๒ ประการ สามารถจำ� แนกไดด้ งั น้ี
ประการที่ ๑ เมอื่ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช ทรงตง้ั พระบรมราชวงศจ์ กั รขี น้ึ ใน
พ.ศ. ๒๓๒๕ น้ัน มีพระราชอ�ำนาจที่จะสถาปนาพระประยูรญาติข้ึนเป็นเจ้าฟ้าได้ตามพระราชอัธยาศัย คือ
ทรงสถาปนาสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ พระราชนัดดาและ
พระราชภาคิไนย ให้ด�ำรงพระยศเป็นเจา้ ฟา้ ท้ังส้ิน ๑๙ พระองค์ นับเปน็ เจา้ ฟ้าพิเศษชดุ แรกในกรงุ รตั นโกสนิ ทร์
ประการท่ี ๒ พระเจ้าลูกเธอชายหญิง ท่ีประสูติแต่พระอัครมเหสี พระราชเทวี พระอัครชายา
เป็นเจา้ ฟา้ โดยกำ� เนิดแต่แรกสมภพ
ประการที่ ๓ พระเจ้าลูกเธอชายหญิง ที่ประสูติแต่พระมารดาเป็นพระราชธิดาของพระมหากษัตริย์
เป็นเจา้ ฟ้าลูกหลวงเอก และทรงเป็นเจ้าฟ้าโดยก�ำเนิดมาแต่แรกประสตู ิ
ประการท่ี ๔ พระเจา้ ลกู เธอชายหญิง ทีป่ ระสตู แิ ตพ่ ระมารดาเป็นพระราชนดั ดาช้ันพระองคเ์ จ้าของ
พระมหากษัตรยิ ์ เป็นเจ้าฟ้าลกู หลวงชน้ั โท และเปน็ เจา้ ฟ้าโดยกำ� เนดิ มาแตแ่ รกประสูติ
ประการท่ี ๕ พระราชโอรสธดิ าในกรมพระราชวงั บวรสถานมงคลหรอื วงั หนา้ หากประสตู แิ ตพ่ ระมารดา
เป็นเจ้าฟ้า หรือพระองค์เจ้า ก็เป็นเจ้าฟ้า ดังเช่นเจ้าฟ้ากรมขุนอิศเรศรรังสรรค์ และเจ้าฟ้าอิศราพงศ์ ซ่ึงเป็น
เจ้าฟา้ โดยก�ำเนดิ เชน่ กัน
ประการที่ ๖ เจา้ ฟา้ ชายเสกสมรสกบั เจา้ ฟา้ หญงิ พระโอรสธดิ าเปน็ เจา้ ฟา้ โดยกำ� เนดิ ตามศกั ดพ์ิ ระมารดา
เชน่ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เสดจ็ พระราชสมภพเมอื่ ครงั้ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั
ทรงดำ� รงพระยศเจา้ ฟา้ อศิ รสนุ ทร และสมเดจ็ พระศรสี รุ เิ ยนทรา บรมราชนิ ี ทรงดำ� รงพระยศเจา้ ฟา้ หญงิ บญุ รอด
พระองค์จึงทรงด�ำรงพระยศเปน็ เจา้ ฟ้ามงกุฎ อยูใ่ นกฎเกณฑเ์ ปน็ เจ้าฟ้าโดยกำ� เนดิ เหมอื นกนั
ประการที่ ๗ พระเจ้าลูกเธอชายหญิง ท่ีประสูติแต่พระมารดามีพระยศเดิมเป็นพระธิดาของ
เจา้ ประเทศราช
ประการท่ี ๘ พระเจ้าลูกเธอชายหญิง ที่ประสูติแต่พระมารดาเป็นบุตรีของอัครมหาเสนาบดีที่มี
ความชอบพิเศษ หรือเป็นสตรสี ามญั ชนทไี่ ดร้ บั การสถาปนาข้นึ เป็นเจา้
พระเจ้าลูกเธอที่มีพระมารดาเป็นพระธิดาเจ้าประเทศราช หรือบุตรีเสนาบดีผู้มีความชอบ ตลอดจน
สตรสี ามญั ชนท่ีไดร้ บั สถาปนาใหเ้ ป็นเจ้าแล้วนัน้ หากพระเจ้าอยู่หวั โปรดใหเ้ ปน็ เจ้าฟา้ จึงจะเปน็ ได้

217


Click to View FlipBook Version