แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔–๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ นางสาวปวิณา เครือศรี โรงเรียนบริบาลภูมิเขตต์ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๔
1 แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔–๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ นางสาวปวิณา เครือศรี โรงเรียนบริบาลภูมิเขตต์ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๔
2
ก ค าน า แผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนในรายวิชา ภาษาไทย ท๑๓๑๐๑ ภาษาไทยระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ที่มุ่งเน้น นักเรียนเป็นสำคัญ มีการจัดกิจกรรมและการวัดประเมินผลที่หลากหลาย สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้และผล การเรียนรู้กลุ่มสาระวิชาภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางพุทธศักราช ๒๕๕๑ ผู้จัดทำหวังว่า แผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ คงมีประโยชน์ต่อครูในกลุ่มสาระภาษาไทยไม่มากก็น้อย ในการใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนและการจัดทำ แผนการเรียนรู้ นอกจากนี้อาจจะทำให้ การศึกษาของชาติมีการพัฒนามากขึ้น ขอขอบพระคุณผู้ที่เกี่ยวข้องทุกท่านที่มีส่วนทำให้แผนการจัดการเรียนรู้นี้สำเร็จไปด้วยดี ปวิณา เครือศรี ผู้จัดทำ
ข สารบัญ เรื่อง หน้า คำนำ…………………………………………………………………………………………………………………………………………………ก สารบัญ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..ข คำอธิบายรายวิชา……………………………………………………………………………………………………………………………….๑ โครงสร้างรายวิชาพื้นฐาน……………………………………………………………………………………………………………………๒ กำหนดการสอน…………………………………………………………………………………………………………………………….…๑๐ ตารางสอน………………………………………………………………………………………………………………………………………๑๕ บันทกข้อความขออนุญาตใช้แผน………………………………………………………………………………………………………. ๑๖ แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔ – ๖ .………………………………………………………………………………………………๑๗
๑ ค าอธิบายรายวิชา ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง อ่านออกเสียงคำ ข้อความ เรื่องสั้น ๆ และบทร้อยกรองง่าย ๆ ได้ถูกต้อง คล่องแคล่ว จากชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ และ ๒ ไม่น้อยกว่า ๑,๒๐๐ คำ อธิบายความหมายของคำและข้อความที่อ่าน ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน ลำดับเหตุการณ์และคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่อง ที่อ่าน โดยระบุเหตุผลประกอบสรุปความรู้ และข้อคิดจากเรื่องที่อ่านเพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน อ่านหนังสือ ตาม ความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่าน อ่านข้อเขียนเชิงอธิบายและปฏิบัติตามคำสั่งหรือ ข้อแนะนำ อ่านข้อเขียนเชิงอธิบายและปฏิบัติตามคำสั่งหรือข้อแนะนำ บอกสาระสำคัญจากการฟังและการดู เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำชนิดของคำภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถิ่น ระบุข้อคิดที่ได้ จากการอ่านวรรณคดี วรรณกรรม และเพลงพื้นบ้าน นิทานหรือเรื่องในท้องถิ่น เรื่องสั้นง่าย ๆ ปริศนาคำทาย บทร้อยกรอง เพลงพื้นบ้าน เพลงกล่อมเด็ก คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนบรรยายเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เขียนบันทึกประจำวัน จดหมายลาครู เรื่องตามจินตนาการเล่ารายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดูทั้งที่เป็น ความรู้และความบันเทิง ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู พูดแสดงความคิดเห็นและ ความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู พูดสื่อสารได้ชัดเจน แต่งประโยคเพื่อการสื่อสารแต่งคำคล้องจองและคำขวัญ ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจรักภาษาไทย สร้างความรู้และ ความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิตและมีมารยาทและนิสัยรักการอ่าน การเขียน การฟัง การดูและการพูด ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ป. ๓/๑ ป. ๓/๒ ป. ๓/๓ ป. ๓/๔ ป. ๓/๕ ป. ๓/๖ ป. ๓/๗ ป. ๓/๘ ป. ๓/๙ ท ๒.๑ ป. ๓/๑ ป. ๓/๒ ป. ๓/๓ ป ๓/๔ ป. ๓/๕ ป. ๓/๖ ท ๓.๓ ป. ๓/๑ ป. ๓/๒ ป. ๓/๓ ป ๓/๔ ป. ๓/๕ ป. ๓/๖ ท ๔.๑ ป. ๓/๑ ป. ๓/๒ ป. ๓/๓ ป ๓/๔ ป. ๓/๕ ป. ๓/๖ ท ๕.๑ ป. ๓/๑ ป. ๓/๒ ป. ๓/๓ ป. ๓/๔ รวม ๓๑ ตัวชี้วัด
๒ โครงสร้างรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓โรงเรียน บริบาลภูมิเขตต์ จ านวน ๒๐๐ ชั่วโมง ที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานและ ตัวชี้วัด สาระส าคัญ ชั่วโมง ปฐมนิเทศ ท ๓.๑ ป.๓/๕ - ปฐมนิเทศและสร้างข้อตกลงร่วมกัน ๑ ๑ ปฏิบัติการสายลับจิ๋ว ท ๑.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ป.๓/๙ ท ๔.๑ ป.๓/๑ ท ๕.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๓ - อ่านเขียนคำควรรู้คู่ความหมาย - การอ่านออกเสียง - การอ่านคิด วิเคราะห์ - การอ่านเสริมบทเรียน - พยัญชนะไทย - อ่านสังเกตสระ - อ่านสังเกตวรรณยุกต์ - พยัญชนะ ฑ - การใช้ถ้อยคำสุภาพ ๙ ๒ แต่เด็กซื่อไว้ ท ๑.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ท ๒.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๖ ท ๔.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๖ - รู้คำนำไปใช้ - อ่านออกเสียง - การอ่านจับใจความ - ทบทวนตัวสะกด - สระเปลี่ยนรูป - สระลดรูป (สระโอะ,สระอัว) - อ่านเสริมเพิ่มความรู้ ๙ ๓ ป่านี้มีคุณ ท ๑.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ท ๔.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๖ - อธิบายความหมายของคำข้อความที่อ่าน - ลำดับเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน - สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน - เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ - ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค - มาตราตัวสะกด ๑๓ ๔ อาหารดี ชีวีมีสุข ท ๑.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ป.๓/๖ ท ๔.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๖ - อธิบายความหมายของคำ ข้อความที่อ่าน - ลำดับเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน - สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน - บอกสาระสำคัญจากการฟังและการดู - ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค - การผันวรรณยุกต์ - คำที่ประวิสรรชนีย์และไม่ประวิสรรชนีย์ ๙
๓ โครงสร้างรายวิชา (ต่อ) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนบริบาลภูมิเขตต์ จ านวน ๒๐๐ ชั่วโมง ที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานและ ตัวชี้วัด สาระส าคัญ ชั่วโมง ๕ ทำดี อย่าหวั่นไหว ท ๑.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ท ๒.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๕ ท ๔.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๕ ป.๓/๖ - อธิบายความหมายของคำ ข้อความ บทร้อยกรองได้ถูกต้อง คล่องแคล่ว - ลำดับเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน - สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน - เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ - ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค - แต่งคำคล้องจองและคำขวัญ ๘ ๖ พลังงาน คือชีวิต ท ๑.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ป.๓/๙ ท ๔.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๕ ป.๓/๖ - อธิบายความหมายของคำ ข้อความได้ถูกต้อง - การอ่านคำแบบเรียงพยางค์ - ลำดับเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน - สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน - คำควบกล้ำแท้ - คำควบกล้ำไม่แท้ - อักษร นำ (ห นำ) (อ นำ) - แต่งคำคล้องจองและคำขวัญ - คำขวัญ ๑๓ ๗ ความฝันเป็นจริงได้ ท ๑.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ท ๔.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๖ - อธิบายความหมายของคำ ข้อความ ได้ถูกต้อง - ลำดับเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน - สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน - พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึก จากเรื่องที่ฟังและดู - เขียนบรรยายเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ได้อย่างชัดเจน - การแต่งประโยค - คำที่มี ฤ ฤๅ - คำที่ใช้ บัน บรร รร ๑๐
๔ โครงสร้างรายวิชา (ต่อ) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนบริบาลภูมิเขตต์ จ านวน ๒๐๐ ชั่วโมง ที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานและ ตัวชี้วัด สาระส าคัญ ชั่วโมง ๘ ภูมิใจภาษาไทย ของเรา ท ๑.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ท ๒.๑ ป.๓/๕ ท ๔.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๖ - อธิบายความหมายของคำ ข้อความได้ถูกต้อง - ลำดับเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน - สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน - พูดแสดงความคิดเห็นและ ความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู - เขียนบรรยายเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง - ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค - คำพ้อง - ภาษาไทยถิ่น - คำที่มีตัวอักษรไม่ออกเสียง ๙ ๙ กระต่ายไม่ตื่นตูม ท ๑.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ป.๓/๙ ท ๕.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๓ - อธิบายความหมายของคำ ข้อความ ได้ถูกต้อง - ลำดับเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน - พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึก จากเรื่องที่ฟังและดู - ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่านวรรณกรรม เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ๖ ๑๐ แม่ไก่อยู่ในตะกร้า ท ๑.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ป.๓/๙ ท ๕.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๓ - อธิบายความหมายของคำ ข้อความ ได้ถูกต้อง - พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึก จากเรื่องที่ฟังและดู - ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่านวรรณกรรม เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน - ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและ บทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ ๖
๕ โครงสร้างรายวิชา (ต่อ) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนบริบาลภูมิเขตต์ จ านวน ๒๐๐ ชั่วโมง ที่ ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานและ ตัวชี้วัด สาระส าคัญ ชั่วโมง ๑๑ เด็กเอ๋ยเด็กน้อย ท ๑.๑ ป.๓/๑ ป. ๓/๒ ป.๓/๔ ป. ๓/๕ ป.๓/๙ ท ๕.๑ ป.๓/๑ ป. ๓/๓ - อ่านออกเสียงคำ ข้อความ เรื่องสั้น ๆ และบทร้อยกรองง่าย ๆ ได้ถูกต้อง - พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึก จากเรื่องที่ฟังและดู - ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่านวรรณกรรม เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน - ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและ บทร้อยกรองที่มีคุณค่าตาม ความสนใจ ๗ รวม ๑๐๐
๖ โครงสร้างรายวิชา (ต่อ) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนบริบาลภูมิเขตต์ จ านวน ๒๐๐ ชั่วโมง ที่ ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานและ ตัวชี้วัด สาระส าคัญ ชั่วโมง ภาคเรียนที่ ๒ ๑๒ ลูกแกะ ของซาฟียะห์ ท ๑.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ท ๒.๑ ป.๓/๑ป.๓/๖ ท ๕.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๓ - อ่านออกเสียงคำ ข้อความ เรื่องสั้น ๆ ได้ถูกต้อง - อธิบายความหมายของคำ ข้อความที่อ่าน - ลำดับเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน - ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่านวรรณกรรม เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน - แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณคดี ๘ ๑๓ กาเหว่าที่กลาง กรุง ท ๑.๑ ป.๓/๑ป.๓/๒ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ป.๓/๙ ท ๓.๑ ป.๓/๒ป.๓/๔ ป.๓/๕ท ๕.๑ ป.๓/๑ - อ่านออกเสียงคำ ข้อความ เรื่องสั้น ๆ ได้ถูกต้อง - อธิบายความหมายของคำ ข้อความ ที่อ่าน - ลำดับเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน - ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่านวรรณกรรม ๗ ๑๔ คิดไป รู้ไป ท ๑.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ป.๓/๗ ท ๒.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๖ ท ๔.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๔ ป.๓/๖ - อ่านออกเสียงคำ ข้อความ เรื่องสั้น ๆ ได้ถูกต้อง - อธิบายความหมายของคำ ข้อความที่อ่าน - ลำดับเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน - สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน - เล่าเรื่องจากการฟังและอ่าน - เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ -ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค - คำที่มีเครื่องหมายทัณฑฆาต ๙ ๑๕ นอกเมือง ในกรุง ท ๑.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ท ๒.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๕ ป.๓/๖ ท ๓.๑ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ท ๔.๑ ป.๓/๔ - อ่านออกเสียงคำ ข้อความ เรื่องสั้น ๆ ได้ถูกต้อง - อธิบายความหมายของคำ ข้อความที่อ่าน - ลำดับเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน - สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่านเพื่อนำไปใช้ ในชีวิตประจำวัน - เขียนบรรยายเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง - เล่าเรื่องจากการฟังและอ่าน - ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค - คำนาม - การพูดและเขียนบรรยาย ๑๑
๗ โครงสร้างรายวิชา (ต่อ) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนบริบาลภูมิเขตต์ จ านวน ๒๐๐ ชั่วโมง ที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานและ ตัวชี้วัด สาระส าคัญ ชั่วโมง ๑๖ ส่งข่าว เล่าเรื่อง ท ๑.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ท ๒.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๔ ป.๓/๖ ท ๔.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๔ - อ่านออกเสียงคำ ข้อความ เรื่องสั้น ๆ - อธิบายความหมายของคำ ข้อความที่อ่าน - ลำดับเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน - สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน - เขียนจดหมายลาป่วย ลากิจ - เล่าเรื่องจากการฟังและอ่าน - เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ - ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค - คำสรรพนาม ๑๐ ๑๗ ประชาธิปไตยใบเล็ก ท ๑.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ท ๒.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๖ ท ๔.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๔ ป.๓/๖ - อ่านออกเสียงคำ ข้อความ เรื่องสั้น ๆ ได้ถูกต้อง - อธิบายความหมายของคำ ข้อความที่อ่าน - ลำดับเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน - สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน - เล่าเรื่องจากการฟังและอ่าน - เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ - คำกริยา - คำที่ใช้ อำ และ อัม ใ – ไ- ไ-ย และ อัย ๑๐ ๑๘ ของดีในตำบล ท ๑.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ป.๓/๘ ป.๓/๙ ท ๒.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๖ ท ๓.๑ ป.๓/๕ ป.๓/๖ ท ๔.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๖ - อ่านออกเสียงคำ ข้อความ เรื่องสั้น ๆ ได้ถูกต้อง - อธิบายความหมายของคำ ข้อความที่อ่าน - สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน - ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับ เรื่องที่ฟังและดู - การอ่านข้อมูลจากแผนที่ - คำวิเศษณ์ ๑๑
๘ โครงสร้างรายวิชา (ต่อ) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนบริบาลภูมิเขตต์ จ านวน ๒๐๐ ชั่วโมง ที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานและ ตัวชี้วัด สาระส าคัญ ชั่วโมง ๑๙ ธรรมชาติเจ้าเอย ท ๑.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ท ๒.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๖ ท ๓.๑ ป.๓/๕ ท ๔.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๔ ป.๓/๖ - อ่านออกเสียงคำ ข้อความ เรื่องสั้น ๆ ได้ถูกต้อง - อธิบายความหมายของคำ ข้อความที่อ่าน - สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน - เขียนแสดงความรู้สึก - การแต่งประโยค ๘ ๒๐ เล่นคำทาย ท ๑.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ท ๒.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๖ ท ๔.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๖ - อ่านออกเสียงคำ ข้อความ เรื่องสั้น ๆ ได้ถูกต้อง - อธิบายความหมายของคำ ข้อความที่อ่าน - ลำดับเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน - สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน - สำนวน - การใช้พจนานุกรม ๑๐ ๒๑ บันทึกความหลัง ท ๑.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ท ๒.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๓ ป.๓/๖ ท ๓.๑ ป.๓/๑ ท ๔.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๖ - อ่านออกเสียงคำ ข้อความ เรื่องสั้น ๆ ได้ถูกต้อง - อธิบายความหมายของคำ ข้อความ ที่อ่าน - ลำดับเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน - สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน - การเขียนบันทึกเหตุการณ์ประจำวัน - การใช้เครื่องหมายต่าง ๆ ๘
๙ โครงสร้างรายวิชา (ต่อ) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนบริบาลภูมิเขตต์ จ านวน ๒๐๐ ชั่วโมง ที่ ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานและ ตัวชี้วัด สาระส าคัญ ชั่วโมง ๒๒ บันทึกความหลัง ท ๑.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ท ๒.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๓ ป.๓/๖ ท ๓.๑ ป.๓/๑ ท ๔.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๖ - อ่านออกเสียงคำ ข้อความ เรื่องสั้น ๆ ได้ถูกต้อง - อธิบายความหมายของคำ ข้อความที่อ่าน - ลำดับเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน - สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน - การเขียนบันทึกเหตุการณ์ประจำวัน - การใช้เครื่องหมายต่าง ๆ ๘ ๒๒ ธนูดอกไม้กับ เจ้าชายน้อย ท ๑.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๔ ป.๓/๕ป.๓/๙ ท ๓.๑ ป.๓/๒ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ท ๕.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๓ - อ่านออกเสียงคำ ข้อความ บทร้อยกรอง - อธิบายความหมายของคำ ข้อความที่อ่าน - ลำดับเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน - ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่านวรรณกรรม - แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณคดี - ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อย กรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ ๘ รวม ๑๐๐ ตารางที่ ๒ ตารางแสดงโครงสร้างรายวิชาภาษาไทย
๑๐ ก าหนดการสอน โรงเรียนบริบาลภูมิเขตต์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ จ านวน ๑๑ หน่วยการเรียนรู้ เวลา ๑๐๐ ชั่วโมง วัน / เดือน /ปี ชื่อหน่วยการเรียนรู้ / หน่วยย่อย จ านวน ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๒ ลูกแกะของซาเฟียะห์ ๘ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ คำศัพท์และความหมาย ๑ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ จับใจความบทเรียน ๑ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ นิทานหมาป่ากับลูกแกะ ๑ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ วิเคราะห์นิทานหมาป่ากับลูกแกะ ๑ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ นิทานเด็กเลี้ยงแกะ ๑ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ การแสดงความคิดเห็น ๑ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ อ่านเสริมเพิ่มความรู้(ดาวประกายพรึก) ๑ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ คัดลายมือ สื่อภาษา ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๓ กาเหว่าที่กลางกรุง ๖ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ คำศัพท์และความหมาย ๑ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ การอ่านจับใจความสำคัญ ๑ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ เพลงกล่อมเด็ก เรื่อง กาเหว่า ๑ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ สรุปความรู้เพลงกล่อมเด็ก เรื่อง กาเหว่า ๑ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ เพลงกล่อมเด็ก ๑ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ อ่านเสริมเพิ่มความรู้ ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๔ คิดไป รู้ไป ๙ ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ อ่านรู้คำ นำไปใช้ ๑ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ อ่านออกเสียงบทเรียน ๑ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ ลักษณะคำที่มีเครื่องหมายทัณฑฆาต ๑ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ คำที่มีเครื่องหมายทัณฑฆาต ๑ ตัว ๑ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ คำที่มีเครื่องหมายทัณฑฆาต ๒ ตัว ๑ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ เขียนคำที่มีเครื่องหมายทัณฑฆาต ๑ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ สนุกกับคำที่มีเครื่องหมายทัณฑฆาต ๑ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ หลักการเล่าเรื่องจากการฟังและอ่าน ๑ ๑ ธันวาคม ๒๕๖๖ การเล่าเรื่องจากการฟังและอ่าน ๑
๑๑ ก าหนดการสอน โรงเรียนบริบาลภูมิเขตต์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ จ านวน ๑๑ หน่วยการเรียนรู้ เวลา ๑๐๐ ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๕ นอกเมืองในกรุง ๑๑ ๔ ธันวาคม ๒๕๖๖ คำศัพท์และความหมาย ๑ ๖ ธันวาคม ๒๕๖๖ จับใจความสำคัญบทเรียน ๑ ๗ ธันวาคม ๒๕๖๖ ลักษณะของคำนาม ๑ ๘ ธันวาคม ๒๕๖๖ หน้าที่ของคำนาม ๑ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๖ คำนามชี้เฉพาะคำนามไม่ชี้เฉพาะ ๑ ๑๓ ธันวาคม ๒๕๖๖ หลักการพูดที่ดี ๑ ๑๔ ธันวาคม ๒๕๖๖ การพูดแนะนำเชิญชวน ๑ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๖๖ การเล่าประสบการณ์ ๑ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๖๖ การเขียนบรรยายเหตุการณ์ ๑ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๖๖ การเขียนบรรยายสิ่งที่พบเห็น ๑ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๖๖ การเขียนเรื่องจากภาพตามจินตนาการ ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๖ ส่งข่าว เล่าเรื่อง ๑๐ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๖๖ อ่านรู้คำ นำไปใช้ ๑ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๖๖ จับใจความสำคัญบทเรียน ๑ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๖ ลักษณะของคำสรรพนาม ๑ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๖๖ หน้าที่ของคำสรรพนาม ๑ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๖๖ ประโยคคำสรรพนาม ๑ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๖๖ คำสรรพนามในชีวิตประจำวัน ๑ ๒ มกราคม ๒๕๖๗ รูปแบบการเขียนจดหมายลาครู ๑ ๓ มกราคม ๒๕๖๗ เนื้อความของจดหมายลาครู ๑ ๔ มกราคม ๒๕๖๗ เขียนจดหมายลาครู ๑ ๕ มกราคม ๒๕๖๗ อ่านเสริมเพิ่มความรู้ (กิริยา วาจาดี) ๑
๑๒ ก าหนดการสอน โรงเรียนบริบาลภูมิเขตต์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ จ านวน ๑๑ หน่วยการเรียนรู้ เวลา ๑๐๐ ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๗ ประชาธิปไตยใบเล็ก ๑๐ ๘ มกราคม ๒๕๖๗ อ่านรู้คำ นำไปใช้ ๑ ๙ มกราคม ๒๕๖๗ จับใจความสำคัญบทเรียน ๑ ๑๐ มกราคม ๒๕๖๗ ลักษณะของคำกริยา ๑ ๑๑ มกราคม ๒๕๖๗ คำกริยาสื่ออาการ ๑ ๑๒ มกราคม ๒๕๖๗ ประโยคคำกริยา ๑ ๑๕ มกราคม ๒๕๖๗ จำแนกคำนาม คำสรรพนาม คำกริยา ๑ ๑๖ มกราคม ๒๕๖๗ คำที่ใช้ _ำ _ัม ๑ ๑๗ มกราคม ๒๕๖๗ คำที่ใช้ ใ_ ไ_๑ ๑๘ มกราคม ๒๕๖๗ คำที่ใช้ ไ-ย -ัย ๑ ๑๙ มกราคม ๒๕๖๗ จำแนกคำที่ใช้ _ำ _ัม ใ_ ไ_ ไ-ย _ัย ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๘ ของดีในต าบล ๑๑ ๒๒ มกราคม ๒๕๖๗ อ่านรู้คำ นำไปใช้ ๑ ๒๓ มกราคม ๒๕๖๗ จับใจความสำคัญบทเรียน ๑ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๗ ลักษณะของคำวิเศษณ์ ๑ ๒๕ มกราคม ๒๕๖๗ หน้าที่ของคำวิเศษณ์ ๑ ๒๖ มกราคม ๒๕๖๗ ประเภทของคำวิเศษณ์ ๑ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๗ หลักการตั้งคำถามและตอบคำถาม ๑ ๓๐ มกราคม ๒๕๖๗ การตั้งคำถามและตอบคำถาม ๑ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ การอวยพร ๑ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ ความหมายของแผนที่ ๑ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ การอ่านแผนภาพและแผนที่ ๑ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ การอ่านแผนภูมิ ๑
๑๓ ก าหนดการสอน โรงเรียนบริบาลภูมิเขตต์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ จ านวน ๑๑ หน่วยการเรียนรู้ เวลา ๑๐๐ ชั่วโมง วัน / เดือน /ปี ชื่อหน่วยการเรียนรู้ / หน่วยย่อย จ านวน ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๙ ธรรมชาติเจ้าเอย ๙ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ อ่านรู้คำ นำไปใช้ ๑ ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ จับใจความสำคัญบทเรียน ๑ ๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ ประโยคบอกเล่า ๑ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ ประโยคปฏิเสธ ๑ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ ประโยคคำถาม ๑ ๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ ประโยคคำสั่ง ๑ ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ ประโยคขอร้อง ๑ ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ จำแนกประโยคเพื่อการสื่อสาร ๑ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ การเขียนแสดงความรู้สึกนึกคิด ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒๐ เล่นค าทาย ๑๑ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ อ่านรู้คำ นำไปใช้ ๑ ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ จับใจความสำคัญบทเรียน ๑ ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ ลักษณะของสำนวน ๑ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ สำนวนและความหมายของสำนวน ๑ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ สำนวนและความหมายของสำนวน (ต่อ) ๑ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ ลักษณะการใช้พจนานุกรม ๑ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ หลักการใช้พจนานุกรมเรียงตามพยัญชนะ ๑ ๒๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ หลักการใช้พจนานุกรมเรียงตามสระ ๑ ๑ มีนาคม ๒๕๖๗ หลักการใช้พจนานุกรมเรียงตามวรรณยุกต์ ๑ ๔ มีนาคม ๒๕๖๗ การใช้พจนานุกรมในชีวิตประจำวัน ๑ ๕ มีนาคม ๒๕๖๗ สรุปผลการเรียนรู้การใช้พจนานุกรม ๑
๑๔ ก าหนดการสอน โรงเรียนบริบาลภูมิเขตต์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ จ านวน ๑๑ หน่วยการเรียนรู้ เวลา ๑๐๐ ชั่วโมง วัน / เดือน /ปี ชื่อหน่วยการเรียนรู้ / หน่วยย่อย จ านวน ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒๑ บันทึกความหลัง ๘ ๖ มีนาคม ๒๕๖๗ อ่านรู้คำ นำไปใช้ ๑ ๗ มีนาคม ๒๕๖๗ การจับใจความสำคัญ ๑ ๘ มีนาคม ๒๕๖๗ ลักษณะของเครื่องหมายวรรคตอน ๑ ๑๑ มีนาคม ๒๕๖๗ การใช้เครื่องหมายวรรคตอน ๑ ๑๒ มีนาคม ๒๕๖๗ การใช้เครื่องหมายวรรคตอนในประโยค ๑ ๑๓ มีนาคม ๒๕๖๗ การบันทึกเหตุการณ์ประจำวัน ๑ ๑๔ มีนาคม ๒๕๖๗ การบันทึกเหตุการณ์ประจำวัน (ต่อ) ๑ ๑๕ มีนาคม ๒๕๖๗ อ่านเสริม เพิ่มความรู้ ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒๒ ธนูดอกไม้กับเจ้าชายน้อย ๗ ๑๘ มีนาคม ๒๕๖๗ คำศัพท์และความหมาย ๑ ๑๙ มีนาคม ๒๕๖๗ การอ่านจับใจความสำคัญ ๑ ๒๐ มีนาคม ๒๕๖๗ ลำนำบทละครนอก ๑ ๒๑ มีนาคม ๒๕๖๗ แสดงความคิดเห็นเรื่อง ไชยเชษฐ์ ตอนนารายณ์ธิเบศร์พบพ่อ ๑ ๒๒ มีนาคม ๒๕๖๗ สรุปความรู้บทเรียน ๑ ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๗ จดจำ นำไปใช้ ๑ ๒๖ มีนาคม ๒๕๖๗ อ่านเสริมเพิ่มความรู้ ๑ **หมายเหตุ กำหนดการสอนอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม
๑๕ โรงเรียนบริบาลภูมิเขตต์ ตารางสอนภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ นางสาวปวิณา เครือศรี เวลา วัน ชั่วโมงที่ ๑ ชั่วโมงที่ ๒ ชั่วโมงที่ ๓ ชั่วโมงที่ ๔ ชั่วโมงที่ ๕ ชั่วโมงที่ ๖ ชั่วโมงที่ ๗ ๐๘.๓๐-๐๙.๓๐ ๐๙.๓๐-๑๐.๓๐ ๑๐.๓๐-๑๑.๓๐ ๑๑.๓๐-๑๓.๐๐ ๑๓.๐๐-๑๔.๐๐ ๑๔.๐๐-๑๕.๐๐ ๑๕.๐๐-๑๖.๐๐ จันทร์ ภาษาไทย ๓/๒ ภาษาไทย ๓/๓ พักรับประทานอาหารกลางวัน เวทีคนเก่ง ๓/๓ อังคาร ภาษาไทย ๓/๒ ภาษาไทย ๓/๓ เวทีคนเก่ง ๓/๓ พุธ ภาษาไทย ๓/๓ ภาษาไทย ๓/๒ ลูกเสือ เวทีคนเก่ง ๓/๓ พฤหัสบดี ภาษาไทย ๓/๓ ภาษาไทย ๓/๒ เวทีคนเก่ง ๓/๓ ศุกร์ ภาษาไทย ๓/๓ ภาษาไทย ๓/๒ ชุมนุม ๓/๓ เวทีคนเก่ง ๓/๓ ตารางที่ ๑ ตารางสอนภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๖
๑๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ปีการศึกษา ๒๕๖๖ หน่วยการเรียนรู้ นอกเมืองในกรุง ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ เรื่อง อ่านรู้คำ นำไปใช้ เวลา ๑ ชั่วโมง ครูผู้สอน นางสาวปวิณา เครือศรี วันที่สอน ๔ ธ.ค. ๒๕๖๖ ๑.มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา และพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ป๓/๑ อ่านออกเสียงคำ ข้อความ เรื่องสั้น ๆ และบทร้อยกรองง่าย ๆ ได้ถูกต้อง คล่องแคล่ว ท ๑.๑ ป๓/๒ อธิบายความหมายของคำและข้อความที่อ่าน ท ๔.๑ ป๓/๑ เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ ๒. สาระส าคัญ การอ่านเป็นการสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และช่วย ให้นักเรียนมีนิสัยรักการอ่าน ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ นักเรียนอ่านและบอกความหมายของคำในเรื่องได้ถูกต้อง (K) ๓.๒ นักเรียนเขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำได้(P) ๓.๓ นักเรียนมีความมุ่งมั่นใจการทำงาน (A) ๔. สาระการเรียนรู้ ๔.๑ การอ่านและเขียนสะกดคำศัพท์จากบทเรียน ๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๕.๑ มุ่งมั่นในการทำงาน ๕.๒ ใฝ่เรียนรู้ ๕.๓ มีวินัย ๖. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน ๖.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๖.๒ ความสามารถในการคิด ๗. ชิ้นงานหรือภาระงาน ๗.๑ ใบงาน เรื่อง ความหมายคำจากบทเรียนเรื่อง นอกเมืองในกรุง ๘. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๘.๑ ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน นักเรียนร่วมกันตอบคำถาม การอ่านและเขียนคำศัพท์ที่ถูกต้องมีประโยชน์อย่างไร ครูให้นักเรียนทดสอบเขียนตามคำบอกคำศัพท์จากบทเรียน เรื่อง นอกเมืองในกรุง ๑๐ คำ (เขียนลงในสมุด) ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง ๘.๒ ขั้นสอน นักเรียนอ่านคำและความหมายของคำจากหนังสือเรียนภาษาพาทีชั้น ป.๓ เรื่อง นอกเมืองในกรุง หน้า ๒๕– ๒๖ นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๒ กลุ่ม ทายความหมายของคำ จากหนังสือเรียนภาษาพาทีชั้นป.๓ หน้า ๑๓๐ – ๑๓๑ ดังนี้ กลุ่มที่ ๑ พูดคำว่า กองกลาง กลุ่มที่ ๒ บอกความหมายของคำ หมายถึง สิ่งที่กันไว้ เป็นส่วนรวม กลุ่มที่ ๒ พูดคำว่า หิวข้าวจนตาลาย กลุ่มที่ ๑ บอกความหมายของคำ หมายถึง หิวข้าวมาก จนคล้ายจะเป็นลม นักเรียนกลุ่มใดตอบได้ถูกต้องมากที่สุดเป็นฝ่ายชนะ ๘.๓ ขั้นสรุป นักเรียนทำใบงาน เรื่อง ความหมายคำจากบทเรียนเรื่อง นอกเมืองในกรุง ครูสรุปบทเรียน การเรียนรู้คำศัพท์และความหมายของคำเป็นการสร้างความรู้ เพื่อนำไปใช้ ในการเรียนวิชาต่าง ๆ ๙. สื่อการสอน/แหล่งเรียนรู้ ๙.๑ สื่อการสอน ๙.๑.๑ หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานภาษาไทย ชุดภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้น ป. ๓
๑๐. การวัดและประเมินผล ประเด็นการประเมิน วิธีการวัด เครื่องมือที่ใช้ใน การประเมิน เกณฑ์ ประเมิน ๑. นักเรียนอ่านและบอกความหมายของคำใน เรื่องได้ถูกต้อง (K) นักเรียนตอบคำถาม คำถามในชั้นเรียน ผ่าน/ไม่ผ่าน ๒.นักเรียนเขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำได้ (P) นักเรียนทำใบงาน แบบประเมินผล การทำใบงาน/ ชิ้นงาน ผ่าน/ไม่ผ่าน ๓. นักเรียนมีความมุ่งมั่นใจการทำงาน (A) สังเกตพฤติกรรม แบบประเมิน พฤติกรรมผู้เรียน รายบุคคล ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป
แบบประเมินการตอบค าถาม ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนโรงเรียนบริบาลภูมิเขตต์ ค าชี้แจง : ให้ผู้ประเมินทำเครื่องหมาย √ ลงในช่องรายการที่นักเรียนปฏิบัติ ลำดับ ที่ ชื่อ – สกุล พฤติกรรม / ระดับคะแนน ความถูกต้อง ความตรง ประเด็น ความชัดถ้อยชัดคำ รวม ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน ระดับ ๔ หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ดีมาก ระดับ ๓ หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ดี ระดับ ๒ หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ พอใช้ ระดับ ๑ หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ปรับปรุง ลงชื่อ .............................................. ( นางสาวปวิณา เครือศรี ) ครูผู้สอน วันที่........เดือน.............พ.ศ..............
เกณฑ์การให้คะแนนการตอบค าถาม ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑. ความถูกต้อง ตอบคำถาม ถูกต้องครบถ้วน ตอบคำถามแต่ ไม่ครบถ้วน ตอบคำถามผิด ไม่ต้อบคำถาม ๒. ความตรงประเด็น ตอบคำถามได้ตรง ประเด็น ตอบคำถามได้ ขาดตกเล็กน้อย ตอบคำถามไม่ตรง ประเด็น ไม่ตอบคำถาม ๓. ความชัดถ้อยชัดคำ ตอบคำถาม ชัดเจน ตอบคำถาม ติดขัดเล็กน้อย ตอบคำถามติดขัด ไม่ตอบคำถาม เกณฑ์การตัดสิน : เกณฑ์การผ่านตั้งแต่ระดับ ดีขึ้นไป ช่องคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๐ – ๑๒ ดีมาก ๗ - ๙ ดี ๔ - ๖ พอใช้ ๐ – ๓ ปรับปรุง เกณฑ์การผ่านร้อยละ ๗๐ ( ๑๐ คะแนน )
แบบประเมินผลการท าใบงาน/ชิ้นงาน/สมุดรายบุคคล ค าชี้แจง :ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน เลขที่ ชื่อ-สกุล รายการประเมิน รวม ผลงานมีข้อมูล ถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ ตามคำชี้แจง มุ่งมั่นในการ ทำงาน ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย (การส่งงาน ตรงเวลา) ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔. ๑๕. ลงชื่อ ครูผู้สอน ( ) เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ ๓ คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ ๒ คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ ๑ คะแนน เกณฑ์การผ่าน ผ่านเกณฑ์การประเมินตั้งแต่ระดับ พอใช้ ขึ้นไป เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ๙ – ๑๒ ดี ๕ – ๘ พอใช้ ๑ – ๔ ปรับปรุง
เกณฑ์การประเมินการท าใบงาน/ชิ้นงาน/สมุดรายบุคคล ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง) ๑. ผลงานมีข้อมูลถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ ตาม คำชี้แจง นักเรียนตอบคำถาม ได้อย่างถูกต้องครบถ้วน สมบูรณ์ ตามคำชี้แจง นักเรียนตอบคำถามได้อย่าง ถูกต้องครบถ้วน สมบูรณ์ ตามคำชี้แจงในบางส่วน นักเรียนตอบคำถามได้ ไม่ถูกต้องและไม่ครบถ้วน สมบูรณ์ ตามคำชี้แจง ๒. มุ่งมั่นในการทำงาน - นักเรียนมีความมุ่งมั่นใน การทำงานในการเรียนวิชา ภาษาไทย - นักเรียนไม่ค่อยมุ่งมั่นใน การทำงานในการเรียนวิชา ภาษาไทย - นักเรียนไม่สนใจและไม่มี ความมุ่งมั่นในการทำงานใน การเรียนวิชาภาษาไทย ๓. ซื่อสัตย์สุจริต -ให้ข้อมูลที่ถูกต้องและเป็น จริง -ไม่นำสิ่งของและผลงาน ผู้อื่นมาเป็นของตนเอง -ปฏิบัติตนต่อผู้อื่นด้วย ความซื่อตรง -เป็นแบบอย่างที่ดีด้าน ความซื่อสัตย์ -ให้ข้อมูลที่ถูกต้องและเป็น จริง -ไม่นำสิ่งของและผลงาน ผู้อื่นมาเป็นของตนเอง -ปฏิบัติต่อผู้อื่นด้วยความ ซื่อตรง -ให้ข้อมูลที่ถูกต้องและเป็น จริง -ไม่นำสิ่งของและผลงาน ผู้อื่นมาเป็นของตนเอง ๔. มีวินัย (การส่งงานตรงเวลา) นักเรียนส่งงานตรงเวลา ตามที่ครูกำหนด นักเรียนส่งงานไม่ตรงเวลา ตามที่ครูกำหนด มีความ ล่าช้ากว่าเวลาปกติ แต่ไม่ เกิน ๒ ชั่วโมงหลังจากเวลา ที่ครูกำหนด นักเรียนส่งงานไม่ตรงเวลา ตามที่ครูกำหนด มีความ ล่าช้ากว่าเวลาปกติ เป็น เวลามากกว่า ๒ ชั่วโมง หลังจากเวลาที่ครูกำหนด
แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ค าชี้แจง :ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน รายการประเมิน เลขที่ ชื่อ-สกุล รวม มีส่วนร่วม ในกิจกกรม ชั้นเรียน มี ความสามารถ ในการสื่อสาร มีความใฝ่ เรียนรู้ มีจิตสาธารณะ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔. ๑๕. ลงชื่อ ครูผู้สอน ( ) เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ ๓ คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ ๒ คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ ๑ คะแนน เกณฑ์การผ่าน ผ่านเกณฑ์การประเมินตั้งแต่ระดับ พอใช้ ขึ้นไป เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ๙ – ๑๒ ดี ๕ – ๘ พอใช้ ๑ – ๔ ปรับปรุง
เกณฑ์การประเมินพฤติกรรมรายบุคคล คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง) ๑. มีส่วนร่วมในกิจกรรม ชั้นเรียน นักเรียนมีส่วนร่วมใน กิจกรรมชั้นเรียนอย่าง สม่ำเสมอ นักเรียน มีส่ว นร่ว มใน กิจกรรมชั้นเรียนบางครั้ง นักเรียนมีส่ว นร่ว มใน กิจกรรมชั้นเรียนน้อยครั้ง ๒. มีความสามารถในการ สื่อสาร นักเรียนมีการสื่อสารกับ สมาชิกในชั้นเรียนอย่าง สม่ำเสมอ นักเรียนมีการสื่อสารกับ สมาชิกในชั้นเรียนบางครั้ง นักเรียนมีการสื่อสารกับ สมาชิกในชั้นเรียนน้อยครั้ง ๓. มีความใฝ่เรียนรู้ -เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจ เรียน เอาใจใส่ในการเรียน วิชาภาษาไทย -มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมการ เรียนรู้ต่าง ๆ เป็นประจำ -เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจ เรียน เอาใจใส่ในการเรียน วิชาภาษาไทย -มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมการ เรียนรู้ต่าง ๆ บ่อยครั้ง -เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจ เรียน เอาใจใส่ในการเรียน วิชาภาษาไทย -มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมการ เรียนรู้ต่าง ๆ เป็นบางครั้ง ๔. มีจิตสาธารณะ เข้าร่วมกิจกรรมดูแลรักษา ความสะอาดห้องเรียน สม่ำเสมอ เข้าร่วมกิจกรรมดูแลรักษา ความสะอาดห้องเรียน บางครั้ง เข้าร่วมกิจกรรมไม่ดูแล รักษาความสะอาดห้องเรียน
ค าชี้แจง ให้นักเรียนเขียนความหมายของคำศัพท์ต่อไปนี้ ใบงาน เรื่อง ความหมายค าจากบทเรียนเรื่อง นอกเมืองในกรุง ชื่อ ชั้น เลขที่ คะแนน รสชาติ หมายถึง หิวข้าวจนตาลาย หมายถึง กองกลาง เมารถ เงอะงะ หน้าซีดเป็นไก่ต้ม หัวแข็ง สถานีรถไฟฟ้า ลางเนื้อชอบลางยา เมาคน หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง
ค าชี้แจง ให้นักเรียนเขียนความหมายของคำศัพท์ต่อไปนี้ เฉลยใบงาน เรื่อง ความหมายค าจากบทเรียนเรื่อง นอกเมืองในกรุง ชื่อ ชั้น เลขที่ คะแนน รสชาติ หมายถึง รส เช่น อาหารรสชาติแตกต่างกัน หิวข้าวจนตาลาย หมายถึง อาการหิวข้าวมากจนคล้ายจะเป็นลม กองกลาง เมารถ เงอะงะ หน้าซีดเป็นไก่ต้ม หัวแข็ง สถานีรถไฟฟ้า ลางเนื้อชอบลางยา เมาคน หมายถึง สิ่งที่กันไว้เป็นส่วนรวม หมายถึง อาการวิงเวียน อยากอาเจียนเพราะโดยสารรถ หมายถึง แสดงกิริยาอาการเคอะเขินไม่แนบเนียน หมายถึง หน้าขาวซีดไม่มีเลือด เหมือนสีของไก่ที่ต้มสุก หมายถึง แข็งแรง ทนทาน ไม่เจ็บป่วย (เป็นสำนวน) หมายถึง ที่ทำการของรถไฟฟ้า หมายถึง ของสิ่งเดียวกันถูกกับคนหนึ่ง แต่ไม่ถูกกับอีกคน หมายถึง อาการวิงเวียน เพราะอยู่ในหมู่คนมาก ๆ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ปีการศึกษา ๒๕๖๖ หน่วยการเรียนรู้ นอกเมืองในกรุง ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ เรื่อง จับใจความสำคัญบทเรียน เวลา ๑ ชั่วโมง ครูผู้สอน นางสาวปวิณา เครือศรี วันที่สอน ๖ ธ.ค. ๒๕๖๖ ๑.มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ป ๓/๑ อ่านออกเสียงคำ ข้อความ เรื่องสั้นๆ และบทร้อยกรองง่ายๆ ได้ถูกต้อง คล่องแคล่ว ท ๑.๑ ป ๓/๓ ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน ท ๑.๑ ป ๓/๔ ลำดับเหตุการณ์และคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านโดยระบุเหตุผล ประกอบ ท ๑.๑ ป ๓/๕ สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่านเพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ๒. สาระส าคัญ การอ่านจับใจความและระบุความสำคัญของเรื่องต้องมีสมาธิปฏิบัติตนในการอ่านถูกต้อง และรูจัก ความหมายของคำจะสามารถสรุปและแสดงความคิดเห็นในเรื่องที่อ่านได้ ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ นักเรียนบอกหลักการอ่านจับใจความสำคัญได้(K) ๓.๒ นักเรียนอ่านและจับใจความสำคัญจากบทเรียนได้(P) ๓.๓ นักเรียนมีความมุ่งมั่นใจการทำงาน (A) ๔. สาระการเรียนรู้ ๔.๑ การจับใจความสำคัญบทเรียน ๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๕.๑ มุ่งมั่นในการทำงาน ๕.๒ ใฝ่เรียนรู้ ๕.๓ มีวินัย ๖. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน ๖.๑ ความสามารถในการสื่อสาร ๖.๒ ความสามารถในการคิด
๗. ชิ้นงานหรือภาระงาน ๗.๑ กิจกรรมการจับใจความสำคัญบทเรียน ๘. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๘.๑ ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ครูให้นักเรียนดูวีดิทัศน์ หรือสื่อต่าง ๆ เกี่ยวกับชุมชนนอกเมืองและชุมชนในกรุง ครูถามคำถามนักเรียน ดังนี้“หลักการอ่านจับใจความสำคัญมีอะไรบ้าง” ๘.๒ ขั้นสอน นักเรียนร่วมกันอ่านออกเสียงบทเรียน เรื่อง นอกเมืองในกรุง จากหนังสือเรียนภาษาพาที ชั้นป.๓ หน้า ๑๒๔ – ๑๒๘ นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๕ กลุ่ม โดยแต่ละกลุ่มร่วมกันตอบคำถาม ดังนี้ กลุ่มที่ ๑ ตัวละครในเรื่องมีใครบ้าง กลุ่มที่ ๔ เหตุการณ์ในเรื่องเป็นอย่างไร กลุ่มที่ ๒ ตัวละครในเรื่องทำอะไร กลุ่มที่ ๕ ผลของเหตุการณ์ในเรื่องเป็นอย่างไร กลุ่มที่ ๓ สถานที่ในเรื่องมีที่ไหนบ้าง ครูให้ตัวแทนกลุ่มแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอหัวข้อที่ได้รับมอบหมาย ครูคอยให้ความรู้ เพิ่มเติมจาก การนำเสนองานของนักเรียน ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ การพูดเล่าเรื่อง คือ การถ่ายทอดเรื่องราวต่าง ๆ ให้ผู้อื่น ได้รับทราบเกิดความเข้าใจเรื่องราว เป็นการพูดที่ใช้กันมากในชีวิตประจำวัน เช่นการเล่าเหตุการณ์ต่าง ๆ เป็นการถ่ายทอดเรื่องราวที่ตนเองประสบพบเห็นให้ผู้อื่นได้ฟัง การเล่าเรื่องอาจช่วยให้ผู้ฟังสนุกสนานหรือ เป็นคติเตือนใจ ที่เป็นประโยชน์ในการดำเนินชีวิตประจำวันของผู้ฟัง นักเรียนร่วมกันสรุปบทเรียนโดยตอบคำถาม ดังนี้ - ลักษณะบริเวณบ้านของไก่แจ้เป็นอย่างไร - จากเรื่อง นอกเมืองในกรุง “รั้วกินได้” หมายความว่าอย่างไร พร้อม ยกตัวอย่าง ชื่อพืชผักที่ปรากฏในเรื่อง - นักเรียนบอกข้อดีของนอกเมืองและในกรุงแล้วช่วยกันตัดสินใจแทนไก่แจ้ว่าจะ เลือกอยู่ที่ใด - นอกจากพืชผักที่ปรากฎในเรื่องนักเรียนรู้จักพืชผักใดบ้างยกตัวอย่างประกอบ ๘.๓ ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปบทเรียน การอ่านจับใจความและระบุความสำคัญของเรื่อง ต้องมีสมาธิปฏิบัติตนในการอ่านถูกต้อง และรูจักความหมายของคำจะสามารถสรุปและแสดงความคิดเห็น ในเรื่องที่อ่านได้
๙. สื่อการสอน/แหล่งเรียนรู้ ๙.๑ สื่อการสอน ๙.๑.๑ หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานภาษาไทย ชุดภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้น ป. ๓ ๑๐. การวัดและประเมินผล ประเด็นการประเมิน วิธีการวัด เครื่องมือที่ใช้ใน การประเมิน เกณฑ์ ประเมิน ๑. นักเรียนบอกหลักการอ่านจับใจความสำคัญ ได้ (K) นักเรียนตอบคำถาม คำถามในชั้นเรียน ผ่าน/ไม่ผ่าน ๒.นักเรียนอ่านและจับใจความสำคัญจาก บทเรียนได้ (P) นักเรียนทำกิจกรรม แบบประเมิน พฤติกรรมผู้เรียน รายบุคคล ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป ๓. นักเรียนมีความมุ่งมั่นใจการทำงาน (A) สังเกตพฤติกรรม แบบประเมิน พฤติกรรมผู้เรียน รายบุคคล ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป
แบบประเมินการตอบค าถาม ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนโรงเรียนบริบาลภูมิเขตต์ ค าชี้แจง : ให้ผู้ประเมินทำเครื่องหมาย √ ลงในช่องรายการที่นักเรียนปฏิบัติ ลำดับ ที่ ชื่อ – สกุล พฤติกรรม / ระดับคะแนน ความถูกต้อง ความตรง ประเด็น ความชัดถ้อยชัดคำ รวม ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน ระดับ ๔ หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ดีมาก ระดับ ๓ หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ดี ระดับ ๒ หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ พอใช้ ระดับ ๑ หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ปรับปรุง ลงชื่อ .............................................. ( นางสาวปวิณา เครือศรี ) ครูผู้สอน วันที่........เดือน.............พ.ศ..............
เกณฑ์การให้คะแนนการตอบค าถาม ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑. ความถูกต้อง ตอบคำถาม ถูกต้องครบถ้วน ตอบคำถามแต่ ไม่ครบถ้วน ตอบคำถามผิด ไม่ต้อบคำถาม ๒. ความตรงประเด็น ตอบคำถามได้ตรง ประเด็น ตอบคำถามได้ ขาดตกเล็กน้อย ตอบคำถามไม่ตรง ประเด็น ไม่ตอบคำถาม ๓. ความชัดถ้อยชัดคำ ตอบคำถาม ชัดเจน ตอบคำถาม ติดขัดเล็กน้อย ตอบคำถามติดขัด ไม่ตอบคำถาม เกณฑ์การตัดสิน : เกณฑ์การผ่านตั้งแต่ระดับ ดีขึ้นไป ช่องคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๐ – ๑๒ ดีมาก ๗ - ๙ ดี ๔ - ๖ พอใช้ ๐ – ๓ ปรับปรุง เกณฑ์การผ่านร้อยละ ๗๐ ( ๑๐ คะแนน )
แบบประเมินพฤติกรรมรายบคคล คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ค าชี้แจง :ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน รายการประเมิน เลขที่ ชื่อ-สกุล รวม มีส่วนร่วม ในกิจกกรม ชั้นเรียน มี ความสามารถ ในการสื่อสาร มีความใฝ่ เรียนรู้ มีจิตสาธารณะ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔. ๑๕. ลงชื่อ ครูผู้สอน ( ) เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ ๓ คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ ๒ คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ ๑ คะแนน เกณฑ์การผ่าน ผ่านเกณฑ์การประเมินตั้งแต่ระดับ พอใช้ ขึ้นไป เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ๙ – ๑๒ ดี ๕ – ๘ พอใช้ ๑ – ๔ ปรับปรุง
เกณฑ์การประเมินพฤติกรรมรายบุคคล คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง) ๑. มีส่วนร่วมในกิจกรรม ชั้นเรียน นักเรียนมีส่วนร่วมใน กิจกรรมชั้นเรียนอย่าง สม่ำเสมอ นักเรียน มีส่ว นร่ว มใน กิจกรรมชั้นเรียนบางครั้ง นักเรียน มีส่ว นร่ว มใน กิจกรรมชั้นเรียนน้อยครั้ง ๒. มีความสามารถในการ สื่อสาร นักเรียนมีการสื่อสารกับ สมาชิกในชั้นเรียนอย่าง สม่ำเสมอ นักเรียนมีการสื่อสารกับ สมาชิกในชั้นเรียนบางครั้ง นักเรียนมีการสื่อสารกับ สมาชิกในชั้นเรียนน้อยครั้ง ๓. มีความใฝ่เรียนรู้ -เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจ เรียน เอาใจใส่ในการเรียน วิชาภาษาไทย -มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมการ เรียนรู้ต่าง ๆ เป็นประจำ -เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจ เรียน เอาใจใส่ในการเรียน วิชาภาษาไทย -มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมการ เรียนรู้ต่าง ๆ บ่อยครั้ง -เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจ เรียน เอาใจใส่ในการเรียน วิชาภาษาไทย -มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมการ เรียนรู้ต่าง ๆ เป็นบางครั้ง ๔. มีจิตสาธารณะ เข้าร่วมกิจกรรมดูแลรักษา ความสะอาดห้องเรียน สม่ำเสมอ เข้าร่วมกิจกรรมดูแลรักษา ความสะอาดห้องเรียน บางครั้ง เข้าร่วมกิจกรรมไม่ดูแล รักษาความสะอาดห้องเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒๖ (ยังไม่ได้ใส่สื่อ) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ปีการศึกษา ๒๕๖๖ หน่วยการเรียนรู้ นอกเมืองในกรุง ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ เรื่อง ลักษณะของคำนาม เวลา ๑ ชั่วโมง ครูผู้สอน นางสาวปวิณา เครือศรี วันที่สอน ๗ ธ.ค. ๒๕๖๖ ๑.มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา และพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ป๓/๑ อ่านออกเสียงคำ ข้อความ เรื่องสั้น ๆ และบทร้อยกรองง่าย ๆ ได้ถูกต้อง คล่องแคล่ว ท ๔.๑ ป๓/๑ เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ ท ๔.๑ ป๓/๒ ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค ๒. สาระส าคัญ คำนาม คือ คำที่ใช้เรียกคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ สภาพแวดล้อม อาการ หรือลักษณะของสิ่งมีชีวิต และไม่มีชีวิต ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ นักเรียนบอกลักษณะของคำนามได้(K) ๓.๒ นักเรียนเขียนสะกดคำคำที่เป็นคำนามได้(P) ๓.๓ นักเรียนมีความมุ่งมั่นใจการทำงาน (A) ๔. สาระการเรียนรู้ ๔.๑ ลักษณะของคำนาม ๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๕.๑ มุ่งมั่นในการทำงาน ๕.๒ ใฝ่เรียนรู้ ๕.๓ มีวินัย ๖. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน ๖.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๖.๒ ความสามารถในการคิด ๗. ชิ้นงานหรือภาระงาน ๗.๑ ใบงาน เรื่อง คำนาม ๘. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๘.๑ ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ครูชูภาพขึ้นมาแล้วถามนักเรียนว่าภาพที่เห็นคือภาพอะไร ๘.๒ ขั้นสอน นักเรียนอ่านความรู้เรื่องคำนาม จากหนังสือเรียนภาษาพาทีชั้นป.๓ หน้า ๑๓๒ แล้วร่วมกัน บอกลักษณะของคำนามตามความเข้าใจของนักเรียน ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า คำนามคือคำที่ใช้เรียกชื่อ คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ จากนั้นครูพา นักเรียนทำกิจกรรม แยกคำนามตามหมวดหมู่ วิธีการคือ ครูแจกบัตรคำให้นักเรียนคนละ ๑ คำ เมื่อครูบอกให้ผู้ที่ได้คำหมวด ชื่อคนให้ยืน ขึ้น หมวดชื่อสัตว์ หมวดชื่อสิ่งของและหมวดชื่อสถานที่ จากนั้นให้นักเรียนแบ่งตามหมวดที่ตนเองได้จะแบ่ง ออกเป็น ๔ กลุ่ม จากนั้นนักเรียนในกลุ่มร่วมกันแต่งประโยคจากคำที่สมาชิกของกลุ่มที่ตัวเองได้รับภายใน ๓ นาที กลุ่มใดได้ประโยคมากที่สุดและถูกต้องที่สุด กลุ่มนั้นเป็นผู้ชนะ ๘.๓ ขั้นสรุป ครูสรุปบทเรียน คำนาม คือ คำที่ใช้เรียกคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ นักเรียนทำใบงาน เรื่อง คำนาม ๙. สื่อการสอน/แหล่งเรียนรู้ ๙.๑ สื่อการสอน ๙.๑.๑ หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานภาษาไทย ชุดภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้น ป. ๓
๑๐. การวัดและประเมินผล ประเด็นการประเมิน วิธีการวัด เครื่องมือที่ใช้ใน การประเมิน เกณฑ์ ประเมิน ๑. นักเรียนบอกลักษณะของคำนามได้ (K) นักเรียนตอบคำถาม คำถามในชั้นเรียน ผ่าน/ไม่ผ่าน ๒. นักเรียนเขียนสะกดคำคำที่เป็นคำนามได้ (P) นักเรียนทำใบงาน แบบประเมินผล การทำใบงาน/ ชิ้นงาน ผ่าน/ไม่ผ่าน ๓. นักเรียนมีความมุ่งมั่นใจการทำงาน (A) สังเกตพฤติกรรม แบบประเมิน พฤติกรรมผู้เรียน รายบุคคล ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป
แบบประเมินการตอบค าถาม ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนโรงเรียนบริบาลภูมิเขตต์ ค าชี้แจง : ให้ผู้ประเมินทำเครื่องหมาย √ ลงในช่องรายการที่นักเรียนปฏิบัติ ลำดับ ที่ ชื่อ – สกุล พฤติกรรม / ระดับคะแนน ความถูกต้อง ความตรง ประเด็น ความชัดถ้อยชัดคำ รวม ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน ระดับ ๔ หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ดีมาก ระดับ ๓ หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ดี ระดับ ๒ หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ พอใช้ ระดับ ๑ หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ปรับปรุง ลงชื่อ .............................................. ( นางสาวปวิณา เครือศรี ) ครูผู้สอน วันที่........เดือน.............พ.ศ..............
เกณฑ์การให้คะแนนการตอบค าถาม ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑. ความถูกต้อง ตอบคำถาม ถูกต้องครบถ้วน ตอบคำถามแต่ ไม่ครบถ้วน ตอบคำถามผิด ไม่ต้อบคำถาม ๒. ความตรงประเด็น ตอบคำถามได้ตรง ประเด็น ตอบคำถามได้ ขาดตกเล็กน้อย ตอบคำถามไม่ตรง ประเด็น ไม่ตอบคำถาม ๓. ความชัดถ้อยชัดคำ ตอบคำถาม ชัดเจน ตอบคำถาม ติดขัดเล็กน้อย ตอบคำถามติดขัด ไม่ตอบคำถาม เกณฑ์การตัดสิน : เกณฑ์การผ่านตั้งแต่ระดับ ดีขึ้นไป ช่องคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๐ – ๑๒ ดีมาก ๗ - ๙ ดี ๔ - ๖ พอใช้ ๐ – ๓ ปรับปรุง เกณฑ์การผ่านร้อยละ ๗๐ ( ๑๐ คะแนน )