The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

23-12-2021 แก้เลขสารบัญล่าสุด เอกสารประกอบการสอน VID115 CRAFT DESIGN

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by da.suchitra, 2021-12-26 23:29:24

23-12-2021 แก้เลขสารบัญล่าสุด เอกสารประกอบการสอน VID115 CRAFT DESIGN

23-12-2021 แก้เลขสารบัญล่าสุด เอกสารประกอบการสอน VID115 CRAFT DESIGN

คร้ังที่ 4 15 นาที
1. อธบิ ายวัตถุประสงค์และเน้ือหาโดยรวม 60 นาที
150 นาที
2. บรรยายเนือ้ หาและหัวข้อต่าง ๆ
15 นาที
3. ศึกษาเรียนรผู้ ลงานการออกแบบผลติ ภัณฑ์
ศลิ ปหตั ถกรรมไทยภาคเหนอื

4. นิสิตซักถามปรึกษาเน้ือหาการเรยี น

สื่อการสอน
คร้งั ที่ 3
1. เอกสารประกอบการสอนรายวชิ า การออกแบบศลิ ปหตั ถกรรม

2. ไฟลน์ ำเสนอภาพนงิ่ ผ่านโปรแกรมคอมพิวเตอร์
3. หนังสือ ตำรา วารสารตา่ ง ๆ ท้งั ในประเทศและตา่ งประเทศ ทีเ่ กย่ี วข้องกับการออกแบบ

ศลิ ปหตั ถกรรมไทย

4. ตัวอย่างผลติ ภัณฑ์ ผลงานหตั ถกรรมสำหรบั การเรียนการสอนทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง
(ตามความเหมาะสมของเนอื้ หาการเรียน)

ครง้ั ที่ 4
1. เอกสารประกอบการสอนรายวชิ า การออกแบบศลิ ปหัตถกรรม
2. ไฟลน์ ำเสนอภาพนิง่ ผา่ นโปรแกรมคอมพิวเตอร์

3. หนังสอื ตำรา วารสารต่าง ๆ ทง้ั ในประเทศและต่างประเทศ ที่เก่ยี วขอ้ งกับการออกแบบ

ศลิ ปหัตถกรรมไทย
4. ตวั อยา่ งผลติ ภัณฑ์ ผลงานหัตถกรรมสำหรับการเรยี นการสอนที่เกย่ี วข้อง

การประเมนิ ผล
ครั้งท่ี 3
1. สงั เกตจากพฤติกรรมของผู้เรียน

2. ประเมนิ ผลจากกิจกรรมในการช้ันเรียน
3. ประเมนิ ผลจากคำถามทา้ ยบทที่ 2

4. ประเมินผลจากแบบฝ�กหัดปฏิบัติงานออกแบบทา้ ยบท
ครง้ั ที่ 4
1. สงั เกตจากพฤติกรรมของผู้เรียน

2. ประเมนิ ผลจากกิจกรรมในการชนั้ เรยี น

3. ประเมนิ ผลจากคำถามทา้ ยบทท่ี 2
4. ประเมนิ ผลจากแบบฝ�กหดั ปฏิบัติงานออกแบบท้ายบท

25

หนงั สืออ้างองิ
จรูญ แดนนาเลิศ. (2562). ประเพณี ความเชื่อ ของวิถีชุมชนล้านนา Traditions, Beliefs of Lanna
community. การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 2
“การเมือง การบรหิ ารและสงั คมในยุคดิจิทลั กบั การพฒั นาที่ยง่ั ยืน”. เชียงราย : มหาวทิ ยาลัยราช
ภัฏจงั หวดั เชยี งราย.
ทัศนัย ดํารงหัด และ รัฐไท พรเจริญ (2558). ภูมิป�ญญาล้านนาในการพัฒนาหัตถกรรมของแต่งบ้านจาก
เศษใบไม้แห้ง. วารสารวิชาการ AJNU ศลิ ปะสถาป�ตยกรรมศาสตร์มหาวิทยาลยั นเรศวร. 6(2). น.
101-119.
นวลลออ ทินานนท์. (2543). ศิลปะพื้นบ้านไทย. เอกสารประกอบการสอน คณะศิลปกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ. กรุงเทพมหานคร, น. 75-82.
ภริตพร แก้วแกมเสือ. (2562). การอนรุ กั ษ์ สืบสานและพฒั นางานศิลปหัตถกรรมพนื้ บา้ นเครื่องจักสานโดย
แนวคดิ ทางการออกแบบผลิตภัณฑ์. สารอาศรมวฒั นธรรมวลัยลักษณ์. 19(2), น.68-96.
รชั พงศ์ จารุสินธุพงศ.์ (2560). ป�ญหากฎหมายการหา้ มโฆษณาเก่ยี วกับสรุ า : กรณีศึกษาสุราพนื้ บา้ น
(วิทยานพิ นธ์ปรญิ ญามหาบณั ฑติ ). สบื คน้ จาก
http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/5494.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2542). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์
พบั ลิเคช่นั ส์. หนา้ 619.
สามารถ จันทร์สรู ย์. (2542). ภูมิป�ญญาชาวบ้านกับการพัฒนาชนบท. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั อมรนิ ทร์
พรนิ้ ทต์ ้ิงกรปุ๊ . หน้า 65.
สรุ พล ดำริหก์ ลุ , (2539). แผ่นดนิ ล้านนา. กรงุ เทพฯ : สำนกั พมิ พเ์ มืองโบราณ.
สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. (2557). ยุทธศาสตร์การวิจัย (พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙) : ภาคเหนือ
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ง
ประเทศไทย จำกัด.
อรญั วานชิ กร. (2555). การศึกษากระบวนการเขยี นภาพร่าง ทศั นยี ภาพเพอ่ื การออกแบบผลติ ภัณฑ์ชุมชน.
กรุงเทพ : มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ.
อญั ชัญ ฉมิ มาฉุย. (2562). วัฒนธรรมเเละประเพณีไทยThai culture and traditions. [เอกสาร
ประกอบการสอน E-book Library กศน.ตำบลทรงคนอง], สบื ค้นจาก
https://pubhtml5.com/slre/bndk/basic.

26

บทท่ี 2
ศิลปหัตถกรรมไทยภาคเหนือ

ในการศึกษาศิลปหัตถกรรมไทยพื้นบ้านนั้น นวลลออ ทินานนท์ (2544) กล่าวว่า สิ่งที่ควรให้
ความสำคญั ในการศึกษา คอื

1. ด้านป�จจัยสภาพแวดล้อม ได้แก่ การศึกษาด้านประวัติศาสตร์ท้องถิ่น สภาพภูมิศาสตร์
ทรัพยากรธรรมชาติ สภาพทางสังคมและวฒั นธรรมประจำทอ้ งถิน่ คติความเชอ่ื

2. ด้านชิ้นงานตัวผลิตภัณฑ์หัตถกรรมโดยตรง ได้แก่ ด้านความมุ่งหมายของการสร้างชิ้นงาน
แหล่งต้นกำเนิดและแหล่งผลิตชิ้นงาน ด้านวัสดุและเครื่องมือในการผลิต กระบวนการสร้างงาน ลักษณะทาง
กายภาพของชิ้นงานที่ประกอบด้วยด้านรูปร่าง รูปทรง ขนาด ลวดลาย และโครงสร้างหรือด้านองค์ประกอบ
ศลิ ปข์ องชิน้ งาน

เพราะฉะนั้นเนื้อหาการเรยี นศิลปหตั ถกรรมไทยในแตล่ ะภาคตามเอกสารประกอบการสอนเล่มนี้
ผู้สอนจงึ กำหนดหวั ขอ้ ในการเรยี นการสอนเก่ยี วกบั ศลิ ปหัตถกรรมในแต่ละภาคได้ ดงั น้ี

1. กำเนิดงานหัตถกรรมไทยภาคเหนือ

1.1 ปจ� จัยทเี่ ก่ียวข้องในการผลิตผลงานศิลปหตั ถกรรมไทยภาคเหนือ ประกอบดว้ ยด้านตา่ ง ๆ
ดงั นี้

-การศึกษาด้านประวตั ศิ าสตร์ท้องถ่ิน
“ลา้ นนา” เป�นชื่อกลุม่ บา้ นเมืองท่ีมีความสัมพันธ์กันทัง้ ในทางการเมือง เชือ้ ชาติ ศาสนา
ประเพณีและวัฒนธรรมซึ่งมีการปกครองเป�นแคว้นอิสระอยู่บริเวณภาคเหนือตอนบนครอบคลุมพื้นที่ดินแดน
บางส่วนของประเทศพม่า จีน และลาวในช่วงพุทธศตวรรษที่ 19 โดยมีเมืองเชียงใหม่เป�นศูนย์กลางการ
ปกครอง และมคี วามเจริญรงุ่ เรืองมากทส่ี ดุ ในชว่ งพทุ ธศตวรรษท่ี 20-21 และไดเ้ สื่อมสลายลงและตกอยู่ภายใต้
อิทธิพลของพม่าในช่วงพุทธศตวรรษที่ 22 จนถึงพุทธศตวรรษที่ 24 จึงได้ตกเป�นเมืองขึ้นต่อกรุงรัตนโกสินทร์
ในพุทธศตวรรษที่ 25 ล้านนาได้ถูกรวมเป�นส่วนหนึ่งของประเทศสยาม จะเห็นได้ว่าจากประวัติศาสตร์อัน
ยาวนานของล้านนา ไดห้ ล่อหลอมทำใหผ้ คู้ นในพืน้ ที่ภูมภิ าคนมี้ แี บบแผนทางศลิ ปวัฒนธรรม ประเพณตี า่ ง ๆ ที่
มีความเป�นของตัวของตนเองมีเอกลักษณ์ที่แตกต่างไปจากผู้คนในภาคอื่น ๆ อาณาจักรล้านนาเกิดขึ้นโดย
พญามังราย ซึ่งถือได้ว่าเป�นปฐมกษัตริย์ของอาณาจักรล้านนา ผู้รวบรวมหัวเมืองแคว้นต่างๆเข้าไว้เป�น
อาณาจักรเดยี วกนั อาณาจกั รล้านนาประกอบไปดว้ ยแควน้ สำคัญต่าง ๆ ดังน้ี
-แคว้นหริภุญไชย เป�นกลุ่มบ้านเมืองที่ตั้งอยูใ่ นเขตที่ราบลุ่มแม่น้ำป�งกับที่ราบลุ่มแม่น้ำวัง มี
เมืองหริภุญไชยเป�นศูนย์กลางแคว้นซึ่งเป�นจังหวัดลำพูนในป�จจุบัน มีการพบหลักฐานของเมืองโบราณท่ี อยู่
รอบ ๆ แคว้นหริภุญไชยอิกหลายแห่ง เช่น เวียงมโน (อยู่ในเขตตำบล หนองตองอำเภอหางดง) เวียงท่ากาน
(อยู่ไนเขตตำบลบ้านกลาง อำเภอสันป่าตอง) เวียงเถาะ (บ้านสองแคว อำเภอจอมทอง) และพบโบราณวัตถุ
แบบหริภุญไชย อีกหลายแห่งในแถบที่ราบเชงิ ดอยสุเทพ ที่ถ้ำ�ษี วัดดอยคำ บรเิ วณกลางป่าเขตตำบลสันโป่ง

27

อำเภอแม่ริม และที่เวียงกุมกาม เขตอำเภอสารภี จังหวัดเชยี งใหม่ แสดงให้เห็นว่า แคว้นหริภุญไชยเป�นแคว้น
ทใ่ี หญ่และมีความเจริญในยุคนั้น

-แคว้นโยนก เป�นดินแดนที่ตั้งอยู่บริเวณที่ราบลุ่มของแม่น้ำกก แม่น้ำลาว แม่น้ำสาย และ
แมน่ ้ำโขง หรือเรยี กกันวา่ ทร่ี าบลุม่ เชียงราย ซึง่ เปน� ทีร่ าบล่มุ ทใี่ หญ่และอดุ มสมบูรณ์มาก มรี อ่ งรอยมนษุ ย์อาศัย
อยู่มาตั้งแต่ก่อนประวัติศาสตร์ และมีร่องรอยของคูน้ำคันดินที่เป�นลักษณะของชุมชนโบราณกระจายอยู่
โดยทั่วไป ถึง 105 แหง่

-แคว้นพะเยา เป�นเมืองสำคัญตั้งอยู่ที่ราบปลายภูเขา มีเรียกว่าภูกามยาว แคว้นพะเยาอาจ
เป�นสว่ นหนึง่ ของแควน้ โยนก เพราะมอี าณาเขตเช่ือมต่อกับที่ราบลุ่มเชยี งราย และมีเจ้าผคู้ รองเมืองจากแคว้น
โยนกได้ออกมาสรา้ งเมืองพะเยาขึ้น

-แคว้นน่าน เป�นกลุ่มบ้านเมืองเขตลุ่มแม่น้ำน่าน เดิมเป�นแคว้นอิสระ มีเมืองป�ว หรือพล่ัว
หรือวรนครเป�นจุดศูนย์กลาง ซึ่งมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับเมืองหลวงพระบางและเมืองสุโขทัย
ความสำคญั ของแควน้ น่านนา่ จะเป�นเพราะพ้ืนที่ราบลมุ่ น้ำสาขาสายเล็ก ๆ ของแม่น้ำนา่ นนัน้ อดุ มไปด้วยแหล่ง
เกลือธรรมชาติ ซึ่งเป�นที่ต้องการสำหรับมนุษย์ที่อยู่ห่างไกลทะเล ดังได้พบมีบ่อเกลือทั้งที่เลิกผลิตแล้วและ
ยังคงมีการผลิตอยู่หลายแห่งเช่นที่บ้านบ่อหลวง ตำบลบ่อเกลือใต้ อำเภอป�ว จังหวัดน่าน รวมทั้งเส้นทางตาม
ลำน้ำยังเป�นเส้นทางการค้า ที่สามารถติดต่อกับกลุ่มบ้านเมืองในแถบลุ่มแม่น้ำโขงและดินแดนในประเทศลาว
ในช่วงพทุ ธศตวรรษท่ี 19 แคว้นน่านได้ถูกผนวกเข้าไปอยู่ภายใต้อิทธิพลของแคว้นพะเยา และในเวลาไม่นานก็
ไดต้ ่อสจู้ นหลุดพ้นจากอำนาจของเมืองพะเยา ตอ่ มาอาจจะเนอื่ งจากการขยายตวั ของประชากรมากขน้ึ รวมทั้ง
คงมีการติดต่อค้าขายกับดินแดนตอนใต้เช่น แควันสุโขทัยมากขึ้น จึงได้มีการเคลื่อนย้ายถิ่นฐานลงมาตั้งเมือง
แห่งใหม่ขึ้นใน พ.ศ.1911 ซึ่งก็คือที่ตั้งในจังหวัดน่านในป�จจุบัน ในช่วงเวลาตอนต้นของอาณาจักรล้านนา
แมว้ า่ เมอื งพะเยาจะถูกรวมเข้ากบั อาณาจักรล้านนา แตเ่ มอื งน่านยังคงเป�นแคว้นอิสระ และมีความสัมพันธ์กับ
แควน้ สุโขทยั อย่างใกล้ชิด จนกระทง่ั ตอนต้น พทุ ธศตวรรษที่ 21 แล้ว แควน้ น่านจึงได้ถูกผนวกเข้ามาเป�นส่วน
หนง่ึ ของอาณาจักรลา้ นนา (สุรพล ดำรหิ ์กุล, 2539)

การก่อตัง้ อาณาจักรล้านนาเร่ิมในต้นพุทธศตวรรษที่ 19 และสถาปนานครเชียงใหม่เป�นเมือง
หลวงเม่อื ป� พ.ศ.1839 การศึกษาพัฒนาการของประวตั ศิ าสตร์ลา้ นนา สามารถแบง่ เป�นยุคได้ ดังนี้

1. สมัยแว่นแคว้น-นครรัฐ เป�นศูนย์กลางพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมมาตั้งแต่พุทธ
ศตรรษท่ี 14 มีแควน้ หรภิ ญุ ไชยเป�นเมืองทเี่ จรญิ ที่สดุ และประกอบดว้ ยชนเผ่า 2 กลุ่ม คือ ลัวะและเม็ง

2. สมัยรัฐอาณาจักร ตรงกับสมัยราชวงศ์มังรายในพุทธศตวรรษที่ 19 ซึ่งในสมัยนี้จะ
ประกอบด้วย 3 อาณาจักรใหญ่ ไดแ้ ก่ ล้านนา สุโขทัย และอยธุ ยา ซึง่ ได้พฒั นาจากสมยั แว่นแคว้น-นครรัฐมาสู่
รัฐแบบอาณาจกั ร โดยมเี ชยี งใหมเ่ ป�นศนู ย์กลางรัฐแบบอาณาจกั ร

3. สมัยพม่าปกครอง ล้านนาตกเปน� เมอื งขึน้ พมา่ ต้ังแต่สมยั พระเจ้าบเุ รงนอง (พ.ศ.2101) ใน
และต่อมาล้านนาจึงตกเป�นเมืองประเทศราชของสยามในสมัยพระเจ้าตากสิน พ.ศ.2317 ล้านนาในสมัยพมา่
ปกครองถือเปน� ชว่ งเวลาท่ียาวนานถงึ 216 ป�

28

4. สมัยเปน� เมอื งประเทศราช และรวมเขา้ เป�นจงั หวัดตา่ ง ๆ ในประเทศไทย พระบาทสมเด็จ
พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งพระเจ้ากาวิละเป�นเจ้าเมืองเชียงใหม่
แทน อิทธิพลของพม่าในล้านนาถือว่าได้สิ้นสุดลงในสงครามขับไล่พม่าในพ.ศ.2347 โดยกองทัพชาวล้านนา
ร่วมกับกองทัพไทยยกไปตีเมืองเชียงแสนที่มั่นของพม่าได้สำเร็จ ผลมาจากการที่ล้านนาเคยอยู่ภายใต้การ
ปกครองของพม่าถึงสองร้อยกว่าป�ย่อมมีความใกล้ชิดกับพม่ามาก รัฐบาลกลางที่กรุงเทพฯ เกรงว่าล้านนาจะ
หันกลับไปหาพม่าอีก รัฐบาลกลางจึงปกครองล้านนาด้วยการใช้วิธีการปกครองแบบผูกใจเจ้านายเมืองเหนือ
โดยยอมผ่อนผันให้มีอิสระในการปกครองภายใน เศรษฐกิจ การศาล การต่างประเทศ และขนบธรรมเนียม
ประเพณี จนกระทั่งในที่สุดจึงผนวกเอาล้านนาเข้าเป�นดินแดนส่วนหนึ่งของไทยในสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งเป�นยุค
แห่งการปรบั ปรงุ ประเทศตามแบบตะวนั ตก มกี ารยกเลกิ ระบบการปกครองแบบเมืองประเทศราช และจดั ตั้ง
การปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาลขึ้นแทน มีข้าหลวงเทศาภิบาลซึ่งรัฐบาลกรุงเทพฯส่งไปปกครองและข้ึน
สังกัดกระทรวงมหาดไทย ในลักษณะที่ร่วมกันปกครองกับเจ้าเมืองและเจ้านายบุตรหลาน ซึ่งผลจากการ
เปลี่ยนแปลงการปกครองน้ี ตั้งแต่ประมาณ พ.ศ.2530 เป�นต้นมาเมืองเชียงใหม่มีการเตบิ โตอย่างมากในทุก ๆ
ด้านรวมถึงดา้ นศลิ ปวฒั นธรรมและงานหัตถกรรมทม่ี คี วามหลากหลายผสมผสานหลายลักษณะ

ภาพประกอบ 4 ภาพแสดงอาณาเขตล้านนาในป� พ.ศ. 2083
ท่มี า : วกิ พี ีเดีย สารานกุ รมเสร.ี อาณาจกั รลา้ นนา. สืบค้นจาก https://www.wikiwand.com/th

29

-สภาพภูมิศาสตร์ ถือเป�นป�จจัยหนึ่งที่กำหนดลักษณะเฉพาะทางวัฒนธรรมให้เกิดความ
แตกต่างกนั ในแต่ละพน้ื ท่ี ลักษณะทางภมู ิศาสตรม์ ีความสำคัญต่อเอกลักษณ์ของแต่ละภูมภิ าค และเปน� ตวั แปร
สำคญั ท่ีจะกำหนดรากเหง้าทางวัฒนธรรมของแตล่ ะภูมภิ าคได้

ลกั ษณะภมู ิประเทศของภาคเหนือ เป�นภูเขาสงู สลับแนวเทือกเขาและท่ีราบสูงเชิงเขาซ่ึง
มีการทอดตัวแนวเหนือไปใต้ โดยมีภูเขาที่สำคัญ คือ เทือกเขาแดนลาวซึง่ กั้นระหว่างไทยกบั พม่าโดยมีดอยผา้
หม่ ปกเปน� เทอื กเขาที่สูงทส่ี ดุ ตง้ั อยู่ใน อ.แม่อาย จ.เชยี งใหม่ เทือกเขาถนนธงชัย ซงึ่ เรียงตวั แนวเหนือไปใต้และ
มีขนาดใหญ่และยาวที่สุดเป�นที่ตั้งของดอยที่มีชื่อเสียงและสูงที่สุดของประเทศไทย คือ ดอยอินทนนท์
อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ ถัดจากเทือกเขาดังกล่าว คือ เทือกเขาผีป�นน้ำมีดอยลังกาเป�นเทือกเขาที่สูงที่สุด
สุดท้ายคือเทือกเขาหลวงพระบางซึ่งกั้นพรมแดนระหว่างประเทศไทยและลาวและมีดอยโลเป�นยอดเขาสูงสุด
อีกทั้งบริเวณระหว่างเทือกเขามีแม่น้ำไหลผ่านจำนวนมากและยังเป�นแหล่งกำเนิดของแม่น้ำสำคัญหลายสาย
ได้แก่ แม่น้ำเจา้ พระยา แมน่ ้ำโขง เปน� ตน้ โดยแมน่ ้ำสำคัญของภาคเหนอื ประกอบดว้ ย แมน่ ้ำ ป�ง วงั ยม น่าน
องิ เมย ยวม และปาย ภาคเหนือแบ่งพืน้ ทอ่ี อกเป�น

1. ภาคเหนือตอนบน ประกอบดว้ ยจังหวดั เชียงใหม่ เชียงราย แมฮ่ ่องสอน ลาํ พนู ลาํ ปาง
พะเยา แพร่ และน่าน รวม 8 จังหวัด มพี ้ืนที่รวม 54.1 ลา้ นไร่ หรือประมาณร้อยละ 51 ของพนื้ ที่ภาคเหนือ

2. ภาคเหนือตอนล่าง ประกอบด้วย จังหวัดพิษณุโลก อุตรดิตถ์ สุโขทัย ตาก
กําแพงเพชร พิจิตร นครสวรรค์ เพชรบูรณ์ และอุทัยธานีรวม 9 จังหวัด โดยมีพื้นที่รวม 51.9 ล้านไร่ ซ่ึง
ประมาณร้อยละ 49 ของพื้นที่ภาคเหนือเป�นที่ราบลุ่มของแม่น้ำป�ง วัง ยม น่าน สะแกกรัง และป่าสัก ซ่ึงเป�น
แหล่งทาํ การเกษตรท่สี ําคัญ

ภาพประกอบ 5 ภาพแสดงภมู ิประเทศภาคเหนือ
ทมี่ า : อุทยานธรณี ประเทศไทย. (2013). ภาคเหนือ. สบื ค้นจาก http://www.dmr.go.th/ThailandGeopark/.html

30

-ลักษณะภูมิอากาศของภาคเหนือขึ้นอยู่กับอิทธิพลของลมมรสุมที่พัดประจําฤดูกาล 2
ชนิด คือ ลมมรสุมตะวนั ออกเฉียงเหนือ ซึ่งพัดพามวลอากาศเย็นและแห่งจากประเทศจีนปกคลุมประเทศไทย
ในชว่ งฤดหู นาว ทําให้ภาคเหนอื อากาศหนาวเย็นและแห้ง กบั ลมมรสมุ ตะวนั ตกเฉียงใตซ้ ่ึงพัดพามวลอากาศชื้น
จากทะเลและมหาสมทุ รปกคลุมประเทศไทยในชว่ งฤดูฝนทาํ ให้ภาคเหนือมฝี นตกท่วั ไป

-ทรัพยากรธรรมชาติของภาคเหนือ ส่วนมากเป�นพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์ของ
ทรัพยากรธรรมชาติและมีความหลากหลายทางชีวภาพ อีกทั้งยังมีความหลากหลายทางวัฒนธรรมของกลุ่ม
ชาติพันธุ์ที่เชื่อมโยงสู่ประเทศเพื่อนบ้าน จากสภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศประกอบกับการมีทรัพยากรดิน
ป่าไม้ นำ้ ทอ่ี ุดมสมบูรณ์ทำใหม้ ีศักยภาพในการผลิตสินคา้ เกษตรแบบกึ่งหนาวมากกวา่ ภาคอ่ืน ๆ การทำเกษตร
ส่วนมาก คือ การปลูกข้าว ข้าวโพด ผักเมืองหนาว ผลไม้ ภาคเหนือเป�นภูมิภาคท่ีมีความหลากหลายของ
ทรัพยากรธรรมชาติเป�นแหล่งต้นน้ำที่สําคัญของแม่น้ำเจ้าพระยา ทรัพยากรธรรมชาติภาคเหนือที่สําคัญ คือ
ทรัพยากรนำ้ และแหล่งน้ำ ทรัพยากรดินและป่าไม้ และทรัพยากรแร่ ไดแ้ ก่ ลิกไนต์ สงั กะสี ดนิ ขาว ยปิ ซ่ัม หิน
ออ่ น ทองคํา และปโ� ตรเลียม (สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาต,ิ 2557)

-วัฒนธรรมประจำท้องถนิ่ และสภาพทางสงั คม
วัฒนธรรมคนเมือง หรือ คนล้านนาเป�นวิถีชีวิตของชาวไทยภาคเหนือที่เป�นวัฒนธรรม
ประจำท้องถ่นิ ซ่งึ สว่ นมากเปน� การดำเนนิ ชวี ติ แบบเกษตรกร การแสดงความรสู้ ึกนึกคดิ และอารมณ์โดยผ่านภาษา
วรรณกรรม ดนตรี และงานฝ�มือ การนับถือสิ่งศักดิ์สิทธิ์และวิญญาณของบรรพบุรุษที่เรียกว่า ผี ความเสื่อมใสใน
พระพุทธศาสนาแบบเถรวาท การใช้ภาษาคำเมืองที่มีคำพูดจาอ่อนหวาน การฟ้อนเล็บที่อ่อนช้อยงดงาม การกิน
อาหารโดยจัดแบบขันโตกท่ีเป�นวัฒนธรรมการต้อนรับแขกบ้านแขกเมือง (จรูญ แดนนาเลศิ , 2562)
วัฒนธรรมภาคเหนือมีลักษณะที่หลากหลาย สามารถแบ่งออกได้ตามสภาพภูมิศาสตร์
เช่น กลุม่ จังหวดั พษิ ณโุ ลก พจิ ติ ร สโุ ขทยั กำแพงเพชร เป�นกลุ่มจงั หวดั ภาคเหนอื ตอนล่างทีว่ ฒั นธรรมคล้ายกับ
ภาคกลาง จังหวัดแม่ฮ่องสอนมีวัฒนธรรมที่มีลักษณะเป�นกลุ่มไทยใหญ่ผสมกับพม่า จังหวัดเพชรบูรณ์มี
ลักษณะโน้มไปทางภาคอีสาน ส่วนที่เป�นกลุ่มวัฒนธรรมภาคเหนือจริงๆ คือ จังหวัดลำปาง ลำพูน เชียงใหม่
เชียงราย พะเยา กลุม่ จังหวดั ดงั กลา่ วนีเ้ รียกวา่ คนเมอื งหรือไทยยวนซ่งึ หมายถงึ โยนก
ชาวเหนือส่วนใหญ่มีอาชีพทำไร่ ทำนา เพราะบริโภคข้าวเหนียวจึงปลูกข้าวเหนียวกัน
เป�นส่วนใหญ่ ข้าวพันธุ์ที่มีชื่อเสียง คือ ข้าวสันป่าตอง และยังปลูกพืชไร่อื่นๆ เช่น หอม กระเทียม ถั่ว ยาสูบ
เป�นต้น อาชีพการเกษตรอื่น ๆ เช่น การทำสวนก็เป�นที่นิยมกัน เช่น สวนลำไย ลิ้นจี่ คนล้านนาทั้งหญิงและ
ชายนยิ มสูบบุหร่ที ี่มวนดว้ ยใบตองกลว้ ย มวนหนึ่งขนาดเท่าน้วิ มือและยาวเกือบคบื เรียกบหุ รชี่ นิดน้ีว่า “ขี้โย”
ทีน่ ยิ มสบู เนอ่ื งมาจากอากาศหนาวเย็น การสูบบุหรจ่ี ะทำให้รา่ งกายอบอุ่นขึ้น และชาวเหนอื ยังประกอบอาชีพ
หัตถกรรมในครัวเรือน เช่น ผู้หญิงจะทอผ้าเมื่อเสร็จจากการทำนา นอกจากนั้นยังมีการแกะสลัก การทำ
เครื่องเงิน เครื่องเขิน และการทำเครื่องเหล็ก ฯลฯ ซึ่งจะพบงานหัตถกรรมพื้นถ่ินประเภทต่าง ๆ ตามหมู่บ้าน
ท่ัวไปในภาคเหนือ (อญั ชัญ ฉิมมาฉยุ , 2562)
-คติความเชอื่

31

ชาวไทยภาคเหนือส่วนใหญ่มีวิถีชีวิตแบบเกษตรกร การนับถือสิ่งศักดิ์สิทธิ์และวิญญาณ
ของบรรพบุรุษท่ีเรียกว่า ผี มีความเสือ่ มใสในพระพุทธศาสนาแบบเถรวาท และการแสดงความรู้สึกนึกคิดและ
อารมณ์โดยผ่านภาษา วรรณกรรม ดนตรี และ งานฝ�มือ ชาวเหนือมีความศรัทธาต่อพุทธศาสนา คำพูดคำจา
อ่อนหวานดว้ ยภาษาคำเมือง กิริยาอ่อนชอ้ ยงดงาม เช่น การฟ้อนเล็บ หรอื การแสดงทคี่ ึกคัก เข้มแข็ง น่าตน่ื ตา
เช่นการตีกลองสะบัดชัย ส่วนด้านสถาป�ตยกรรมแบบ ล้านนา มีเอกลักษณ์ กาแล ที่หลังคาเรือนไทย การจัด
อาหารเป�นชดุ แบบขันโตก ยังคงเปน� วฒั นธรรมทอ้ งถ่นิ สำคญั ผสมผสานกบั การต้อนรบั ซ่ึงแสดงถงึ ลักษณะนิสัย
ในการผูกมิตรผู้มาเยือน ผู้คนยิ้มแย้ม คติความเชื่อทางภาคเหนือที่เชื่อมโยงชีวิตกับสิ่งแวดล้อมไว้มาจากเรื่อง
ต่าง ๆ ดงั น้ี

1. ความเชื่อเกี่ยวกับต้นกำเนิดของมนุษย์และชนชาติ ส่วนใหญ่มาจากนิทาน ตำนาน
ปรัมปราต่าง ๆ เช่น นทิ านปรมั ปราเร่ืองมนุษย์เกิดจากนำ้ เต้า นทิ านปรมั ปราท่ีให้ความสำคัญกับกำเนิดมนุษย์
ค่แู รก “ปแู่ สงสยี ่าแสงไส้” และนิทานปรมั ปราท่ีมีพลังเหนือธรรมชาติเปน� ผสู้ รา้ ง”พญาแถน” เปน� ต้น

2. ความเชื่อเกี่ยวกับอำนาจความสมบูรณ์ โดยเฉพาะพิธีขอฝนจึงขุดพบกลองกบ และ
สญั ลักษณร์ ูปอวยั วะเพศชายและหญิงซึ่งล้วนเป�นสัญลกั ษณท์ างความเชือ่ ที่แสดงถึงความอุดมสมบูรณ์

3. ความเชื่อเกี่ยวกับการนับถือผี ชาวล้านนาเชื่อว่า “ผี”เป�นตัวแทนอำนาจเหนือ
ธรรมชาติที่มีอิทธิพลต่อชีวิตโดยเชื่อว่าสถานที่แทบทุกแห่งมีผีให้ความคุ้มครองรักษาอยู่ ความเชื่อนี้จึงมี
อิทธิพลต่อการดำเนินชีวิตประจำวันเห็นได้จากขนบธรรมเนียม ประเพณี และพิธีกรรมต่าง ๆ การนับถือผีมี
ความสัมพันธ์กับการนบั ถอื บรรพบุรษุ เช่น ผคี ้ำ ผีอารกั ษ์ ผเี จา้ ปา่ เจา้ เขา

4. ความเชื่อเกี่ยวกับขวญั ซึ่งเชื่อว่าทุกสิง่ ทุกอย่างทั้งคน สัตว์ พืช สิ่งของต่าง ๆ ล้วนมี
ขวัญเป�นพลังชีวิต เป�นแก่นชีวิต ขวัญมีความสำคัญต่อระบบคดิ และระบบความเชื่อเป�นอย่างมากจึงกอ่ ให้เกดิ
พิธกี รรมต่าง ๆ ทจี่ ะทำให้ขวัญอยู่กับตัวตลอดไปเห็นไดจ้ ากการท่ีกลมุ่ คนไทมีพิธีกรรมทเี่ ก่ียวข้องกับขวัญในทุก
ช่วงของชวี ติ ต้ังแตเ่ กดิ จนตาย

จรญู แดนนาเลศิ . (2562) สรุปไวว้ ่า ความเชอื่ ของคนลา้ นนามาจากความเช่อื
ตา่ ง ๆ ดังน้ี

1. ความเชื่อทางพุทธศาสนา มีพื้นฐานมาจากไสยศาสตร์และศาสนาพราหมณ์ เช่น
ความเชอ่ื เร่อื งกฎแหง่ กรรม ความเชื่อในเรอื่ งบพุ เพสันนิวาส ความเชอ่ื เรื่องอานิสงส์ผลบุญ

2. ความเชื่อทางไสยศาสตร์ การใช้ไสยศาสตร์ ความนิยมไสยศาสตร์ของคนล้านนาไทย
มอี ยู่เป�นอันมาก ท้ังทีป่ รากฏในวรรณกรรมและความเป�นอยู่ของชาวบ้าน การใชเ้ วทมนตรค์ าถาคนล้านนาไทย
ในสมัยโบราณมีความเชื่อเรื่องคาถาอาคมอันเป�นส่วนหนึ่งของไสยศาสตร์ปรากฏในวรรณกรรมหลายเรื่อง
ความเชื่อต่อสิ่งที่มีอำนาจลึกลับเหนือมนุษย์ธรรมดา เช่น การบนบานสารกล่าว การอ้อนวอนขอพรจากส่ิง
ศกั ดส์ิ ิทธ์มิ อี ยู่เสมอ

3. ความเชื่อทางโหราศาสตร์ ในวิถีของชาวล้านนาไทยคนสว่ นมากเช่ือโหราศาสตร์ เชื่อ
การทำนายทายทักวา่ อนาคตของตนจะเป�นอย่างไร เช่น ความเช่อื ในเรื่องฤกษ์ยาม ความเชอื่ ในเร่ืองโชคชะตา
ความเชอ่ื เรอื่ งความฝน�

32

จากคติความเชื่อพื้นฐานเหล่านี้จึงก่อให้เกิดพิธีกรรม ประเพณีทางภาคเหนือต่าง ๆ
มากมายและทำให้เกิดผลงานหัตถกรรมต่าง ๆ หลายผลงานอีกด้วย เช่น ประเพณีบูชาอินทขิล ประเพณีสืบ
ชะตา ประเพณีปอยนอ้ ย เปน� ตน้

ภาพประกอบ 6 ภาพแสดงการเลยี้ งผปี ู่แสะยา่ แสะ ตามคติความเชอ่ื ทางภาคเหนอื
ที่มา : สำนกั ส่งเสรมิ ศลิ ปวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม.่ (2562). ศาสนาและความเช่อื ของชาวลา้ นนา.

สืบค้นจาก https://art-culture.cmu.ac.th/Lanna/articleDetail/857

2. ภมู ปิ ญ� ญาในการสร้างสรรคง์ าน

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ความหมายว่า “ภูมิป�ญญา”หมายถึง พื้น
ฐานความรู้ความสามารถ ซ่ึงนักวิชาการหลายท่านได้ให้ความหมายดังนี้ “ภูมิป�ญญาท้องถิ่น” เกิดจากการ
สะสมการเรียนรู้มาเป�นระยะเวลายาวนานมีลกั ษณะเช่ือมโยงกันไปหมดทุกสาขาวชิ าไมแ่ ยกเป�นวชิ าแบบท่ีเรา
เรยี นผสมกลมกลืนเชือ่ มโยงกนั หมด (ราชบณั ฑิตยสถาน, 2542).

สามารถ จันทร์สรู ย์ (2542) กลา่ วว่า ภมู ปิ �ญญาชาวบา้ น หมายถึง ทุกสงิ่ ทกุ อยา่ งทีช่ าวบ้านคิดได้
เอง ที่นำมาใช้ในการแก้ไขป�ญหา เป�นสติป�ญญา เป�นองค์ความรู้ทั้งหมด ภูมิป�ญญาชาวบ้านทั้งกว้าง ทั้งลึกท่ี
ชาวบา้ นสามารถคิดเองทำเองโดยอาศัยศกั ยภาพทีม่ อี ยู่แก้ปญ� หาการดำเนินชีวิตในท้องถ่นิ อย่างสมสมัย

รัชพงศ์ จารุสินธพุ งศ์ (2560) กลา่ วว่า ภูมปิ ญ� ญาเปน� เรื่องของการสืบทอดประสบการณ์จากอดีต
ถึงป�จจุบันอย่างต่อเนื่องและไม่ขาดสายเป�นธรรมชาติของชาวบ้านที่เช่ือมโยงประวัตศิ าสตร์สืบต่อกนั มา เป�น
ลักษณะของความสัมพันธ์ภายในของชาวบ้านเอง ภูมิป�ญญาจึงนับเป�นความคิดทางสังคม (Social Thought)
ทสี่ ำคัญอยา่ งหนงึ่ ทัง้ ในลักษณะที่เป�นนามธรรมดว้ ยการเป�นปรชั ญาแนวทางในการดำเนินชวี ิต และรูปธรรมท่ี
เป�นเรื่องเฉพาะด้าน เช่น การทำมาหากิน ศิลปะ ดนตรีหัตถกรรมและสิ่งอื่นๆ สังคมที่มีการดำรงอยู่มาอย่าง
ยาวนานย่อมจะต้องมภี ูมปิ ญ� ญาด้วยกันทุกสงั คม ซ่ึงระบบดังกลา่ วจะประกอบด้วยลักษณะสำคัญ 4 ประการ คอื

-ความรแู้ ละระบบ
-ความรู้การส่งั สมและการเขา้ ถึงความรู้

33

-การถ่ายทอดความรแู้ ละระบบความรู้
-การสรา้ งสรรค์ และปรบั ปรงุ ภมู ปิ ญ� ญาความรู้
นอกจากนี้ภูมิป�ญญาท้องถิ่นที่เกิดจากการสั่งสมระบบความรู้ของชาวบ้านจะสะท้อนออกมาใน
ลักษณะความสัมพันธ์แบบใกล้ชิดในหลายรูปแบบ ได้แก่ ความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดระหว่างคนกับโลก
สิ่งแวดลอ้ ม ธรรมชาติสัตวแ์ ละพืช ความสัมพันธ์กับคนอืน่ ๆ ที่ร่วมกันอยู่ในสังคมหรือในชุมชน ความสัมพนั ธ์
กบั ส่ิงศักดิ์สิทธเิ์ หนือธรรมชาติและสิง่ ท่ีไม่สามารถสมั ผสั ได้ เปน� ต้น
ภูมิป�ญญาท้องถิ่นในการสร้างสรรค์งานหัตถกรรมภาคเหนือหรือผลงานหัตถกรรมภูมิป�ญญา
ล้านนานั้น บางประเภทได้รับอิทธิพลจากพม่าซึ่งต่อมาช่างเชียงใหม่ก็ได้พัฒนารูปแบบและลวดลายงาน
ศิลปหัตถกรรมจนเกิดเอกลักษณ์เฉพาะตัวขึ้นกลายเป�นงานศิลปะแบบล้านนา งานหัตถกรรมของเมือง
เชียงใหม่ที่สําคัญ ได้แก่ งานแกะสลักไม้ งานจักสาน เครื่องป�นดินเผา เครื่องเขิน เครื่องเงิน กระดาษสา และ
ผ้าทอ ทัศนัย ดํารงหัด และรัฐไท พรเจริญ (2558) อ้างว่า งานหัตถกรรมภูมปิ ญ� ญาท้องถิน่ ที่สามารถสะท้อน
ถึงเอกลักษณล์ ้านนา ไดแ้ ก่
1. การทําร่ม (บ้านบ่อสร้าง)
2. การแกะสลกั (บา้ นถวาย)
3. การทำเครอ่ื งเงนิ (บ้านววั ลาย)
4. กระดาษสา (บา้ นต้นเปา สนั กาํ แพง)
5. การทำเคร่อื งเขนิ (บา้ นนนั ทราม)
6. การทำเคร่ืองป�นดินเผาศิลาดล (บา้ นศลิ าดล)

ภาพประกอบ 7 ภาพแสดงเครอ่ื งจักสานพนื้ บ้านในภาคเหนือ
ทมี่ า : Chiang Mai City of Crafts and Folk Art. (2019). เครื่องจักสาน.
สบื คน้ จาก http://demo.serverext.com/crafts/bamboo-weaving/

34

2.1 การสร้างสรรคผ์ ลงานจากภมู ิป�ญญา
ในการออกแบบผลติ ภัณฑด์ ว้ ยแรงบนั ดาลใจจากภมู ปิ ญ� ญาไทยนัน้ สามารถทำการศึกษา

ได้ทั้งทางรูปธรรม (Tangible) ได้แก่ เส้นสาย ลวดลาย รูปลักษณ์ รูปทรง สีสัน ตลอดจนพื้นผิวและวัสดุ และ
นามธรรม (Intangible) ซึ่งได้แก่ ความซาบซึ้งในเรื่องราว คุณค่าและความหมาย จิตวิญญาณที่แฝงอยู่ในภูมิ
ป�ญญา ปรัชญาแนวคิด การแก้ป�ญญาเชิงความคิดและเชิงช่างอาจจัดรวบรวมอยู่ในลักษณะของผังภาพแสดง
อารมณ์ (Mood board) ก็ได้ (อรัญ วานิชกร, 2555) โดยขั้นตอนของการสร้างสรรค์ผลงานจากภูมิป�ญญา มี
ดังนี้

1. การรวบรวมแรงบนั ดาลใจดว้ ยการจัดทำผังภาพแสดงอารมณ์
2. การร่างภาพเพื่อศึกษาลักษณะของรูปทรงจากมุมมองต่าง ๆ (Study &Sketch) ซ่ึง
ข้นั ตอนนีถ้ ือเปน� การมุ่งเน้นการศึกษาด้านรูปธรรมของผลิตภณั ฑ์ (Tangible) เป�นสำคญั
3. การทำให้โครงสร้างรูปทรงมีความเรียบง่าย (Simplicity Form) ด้วยการตัดทอน
รายละเอียด พน้ื ผิว ลวดลายของรปู ทรง โดยใช้โครงสร้างเรขาคณติ (Geometry Form) เปน� พ้ืนฐาน เบอื้ งต้น
ก่อนจะใช้รูปทรงอิสระ (Abstract Form) ในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อสร้างทางเลือก (Solution) ให้รูปทรง ใน
ขั้นตอนนี้ย่ิงลดทอนรูปทรงให้มีความเรียบง่ายมากข้ึนเท่าไหร่ จะเป�นการเพิม่ ให้ผลิตภณั ฑ์ใหมม่ ีความโดดเดน่
มากขึน้ เทา่ นัน้
4. การเรยี บเรยี ง จัดวางองค์ประกอบเสียใหม่ ปรับสัดส่วนใหม่ ประกอบสร้างรูปลักษณ์
รูปทรงขึ้นใหม่ ให้เกิดความรู้สึกใหม่ ๆ บรรยากาศใหม่ เพื่อสร้างความแตกต่างด้วยการจัดการรูปทรงองค์
ประกอบต่าง ๆ (Elements Design and Principles) ขึ้นใหม่ เพื่อช่วยให้ขยายกรอบการออกแบบจากงาน
ออกแบบผลิตภณั ฑ์สงู่ านออกแบบประเภทอ่นื ๆที่มคี วามหลากหลายมากย่งิ ขึน้
5. การออกแบบเพื่อสร้างให้เกิดประโยชน์ ใช้สอยในรูปแบบใหม่ (Functional) ด้วยการ
วิเคราะห์จากความสอดคล้องของรูปทรงกับการใช้สอย โดยขั้นตอนนี้อาจใช้แนวคิดของออสบอร์นเช็กลิสต์
(Osborn’s checklist) มาชว่ ย เพ่ือกระตนุ้ ใหเ้ กดิ นวัตกรรมในการออกแบบผลิตภัณฑ์ในหลายลักษณะได้มากขึ้น
6. ออกแบบใสร่ ายละเอียดขอ้ มลู ที่เกีย่ วข้องกับผลิตภณั ฑใ์ ห้สมบรู ณ์
7. การผลิตต้นแบบ (Prototype) เพื่อตรวจประเมินและดูผลลัพธ์ของการออกแบบใน
ด้านต่าง ๆ ได้แก่ รูปลักษณ์ ความสวยงาม ความสอดคล้องกับพฤติกรรม ความเหมาะสมของวัสดุ รวมไปถึง
การลดตน้ ทนุ การผลิต เป�นต้น

3. แนวทางการศึกษาผลงานศิลปหตั ถกรรมไทยภาคเหนือ

3.1 แนวทางการศกึ ษาผลงานศลิ ปหัตถกรรมไทยภาคเหนอื
ในการศึกษาผลงานศิลปหัตถกรรมไทย ภรติ พร แกว้ แกมเสือ (2562) กล่าวว่า นักศึกษา

ควรรู้จักวัสดุพื้นบ้าน และกระบวนการผลิตงานหัตถกรรมรวมทั้งความรู้ด้านวัสดุอื่นๆ ที่อาจนำมาใช้ร่วมกัน
สามารถสร้างความเชื่อมโยงระหวา่ งงาน หัตถกรรม แฟชั่น การใช้ชีวิตและสื่อต่างๆเข้าด้วยกันให้ได้ ด้านการ
ผลติ จะเป�นการผนวกกนั ระหวา่ งเทคนิคการผลติ แบบด้งั เดมิ กับกรรมวธิ ีการผลิตแบบสมัยใหม่ จึงจำเป�นต้องมี

35

การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันอย่างใกล้ชิดระหว่างนักออกแบบและช่างฝ�มือรวมถึงผู้ผลิตในกระบวนการ
หัตถกรรมและอตุ สาหกรรมด้วย

แนวคิดในการศึกษาพัฒนาผลงานศิลปหัตถกรรมไทยไม่ว่าภาคอะไร ควรเริ่มจากการ
สร้างความเขา้ ใจในคุณค่าของงานหตั ถกรรมนั้นๆทั้งทางรปู ธรรม (Tangible) และนามธรรม(Intangible) รวม
ไปถึงความร้ใู นเร่อื งวสั ดุ กระบวนวิธกี ารผลติ ทักษะทต่ี ้องใช้ รว่ มกับความเขา้ ใจในเรื่องราว ทศั นคติ ความเชื่อ
และบรบิ ทของกลุม่ ช่างงานหตั ถกรรม การศึกษาถงึ คุณค่าท่ีเปน� ทตี่ อ้ งการในงานหัตถกรรม 3 ประการ คอื

1. คุณค่าทางความงามที่ได้รับด้านจิตใจ ประสบการณ์ด้านความรู้สึกทีผ่ ู้ใช้จะได้รับจาก
การสัมผสั กับความเป�นธรรมชาติ

2. คุณค่าจากงานที่ทำด้วยมือใช้ความชำนาญเป�นพิเศษเทคนิคที่ใช้ในการทำงาน
หัตถกรรมร่วมกบั ประโยชนใ์ ช้สอยทีเ่ หมาะสมกับป�จจุบนั ในรูปแบบทหี่ ลากหลาย

3. การคิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆ เช่น การนำเสนอด้านลวดลาย เทคนิคการผลิตงานที่
หลากหลายน่าสนใจ การผสมผสานกับวัสดุอ่ืน ๆ การผสมผสานการผลติ ด้งั เดิมกบั เทคโนโลยีการผลิตสมัยใหม่
เพื่อลดภาระการผลิตด้านงานฝ�มือลงในบางส่วน การเผยแพร่ความรู้ด้านงานหัตถกรรมให้กับอุตสาหกรรม
ตา่ งๆ เพอ่ื คน้ หาแนวคิดผลติ ภัณฑ์ใหม่ ๆ ที่สามารถเป�นไปได้ หรือการนำเสนอผลิตภัณฑ์ในแง่ของผลิตภัณฑ์ที่
เป�นมติ รตอ่ สงิ่ แวดล้อม (Eco-Friendly) เปน� ต้น

เพราะฉะนั้นในการศึกษาผลงานศิลปหัตถกรรมไทยภาคเหนือนั้น นักศึกษาควรรู้จักว่า
แต่ละผลงานหัตถกรรมอยู่ในประเภทของศิลปหัตถกรรมพื้นบ้านประเภทใด เช่น ประเภทของวัตถุดิบในการ
ผลิตประเภทไหน มีลักษณะการใช้สอยแบบใด มีกรรมวิธีในการผลิตจัดอยู่ในประเภทใด และควรให้
ความสำคัญกับภูมิป�ญญาของช่างในการผลิต การสร้างความเข้าใจในเรื่องราว ทัศนคติ ความเชื่อและบริบท
ของงานศิลปหตั ถกรรมไทยภาคเหนอื ดว้ ย

3.2 ตัวอยา่ งการศึกษาผลงานศลิ ปหัตถกรรมไทยภาคเหนือ
เมื่อนิสิตได้เรียนรู้แนวทางการศึกษาผลงานศิลปหัตถกรรมไทยภาคเหนือแล้ว จำเป�นที่

จะต้องศึกษาวิเคราะห์ผลงานศิลปหัตถกรรมไทยภาคเหนือ เพื่อทำให้เกิดการตระหนักรู้และสร้างความเข้าใจ
มากยิ่งขึ้น ทัศนัย ดํารงหัด และรัฐไท พรเจริญ (2558) อ้างว่า ผลงานศิลปหัตถกรรมไทยภาคเหนือที่สะท้อน
ถึงเอกลกั ษณ์ลา้ นนาและภูมิป�ญญาทอ้ งถน่ิ ได้แก่

36

3.2.1 การทาํ ร่ม (บา้ นบ่อสรา้ ง)

ภาพประกอบ 8 ภาพแสดงการสาธติ วิธีการทำรม่ การจำหน่ายร่มบอ่ สร้าง จ.เชยี งใหม่
ทม่ี า : Ministry of Tourism and Sports. (2564). หมู่บ้านร่มบ่อสร้าง. สบื ค้นจาก

http://culture.mome.co/bosanghandicraftcenter

-การศกึ ษาทางด้านรูปธรรม (Tangible) ได้แก่ เสน้ สาย ลวดลาย รูปลักษณ์ รูปทรง สีสนั ตลอดจน
พ้นื ผวิ และวัสดุ

(ให้นิสิตเขียนอธบิ าย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านนามธรรม (Intangible) ได้แก่ ความซาบซึ้งในเรื่องราว คุณค่า และความหมาย
จิตวิญญาณที่แฝงอยู่ในภมู ปิ �ญญา ปรัชญาแนวคิด

(ให้นิสิตเขยี นอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านวัสดุ กระบวนวิธีการผลิต ได้แก่ ประเภทของวัตถุดิบในการผลิต ลักษณะการใช้
สอย และประเภทของกรรมวธิ ใี นการผลติ

(ให้นสิ ติ เขยี นอธบิ าย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-คณุ คา่ ทเี่ ป�นทตี่ อ้ งการในงานหตั ถกรรม ได้แก่ คุณค่าทางความงามที่ไดร้ ับด้านจิตใจ คุณคา่ จากงานท่ี
ทำด้วยมือใชค้ วามชำนาญเป�นพิเศษ และคุณคา่ จากการคิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆ

(ให้นิสติ เขยี นอธบิ าย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

37

3.2.2 การแกะสลัก (บา้ นถวาย)

ภาพประกอบ 9 ภาพแสดงหมู่บา้ นหตั ถกรรมไมแ้ กะสลัก จ.เชยี งใหม่
ท่มี า : Ministry of Tourism and Sports, (2564). ศนู ย์หตั ถกรรม ไมแ้ กะสลกั บ้านถวาย. (Online)

-การศึกษาทางด้านรูปธรรม (Tangible) ได้แก่ เส้นสาย ลวดลาย รูปลักษณ์ รูปทรง สีสัน ตลอดจน
พื้นผิวและวัสดุ

(ใหน้ ิสติ เขียนอธบิ าย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านนามธรรม (Intangible) ได้แก่ ความซาบซึ้งในเรื่องราว คุณค่า และความหมาย
จิตวิญญาณทีแ่ ฝงอยใู่ นภมู ิปญ� ญา ปรชั ญาแนวคดิ

(ใหน้ ิสิตเขยี นอธบิ าย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านวัสดุ กระบวนวิธีการผลิต ได้แก่ ประเภทของวัตถุดิบในการผลิต ลักษณะการใช้
สอย และประเภทของกรรมวธิ ีในการผลิต

(ใหน้ ิสิตเขยี นอธบิ าย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-คุณคา่ ทเี่ ปน� ที่ต้องการในงานหตั ถกรรม ไดแ้ ก่ คุณค่าทางความงามท่ีได้รบั ด้านจติ ใจ คุณคา่ จากงานท่ี
ทำด้วยมือใช้ความชำนาญเป�นพเิ ศษ และคณุ ค่าจากการคิดคน้ นวัตกรรมใหม่ ๆ

(ให้นสิ ิตเขียนอธบิ าย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

38

3.2.3 การทำเครอ่ื งเงิน (บา้ นววั ลาย)

ภาพประกอบ 10 ภาพแสดงเคร่ืองเงนิ ของบา้ นววั ลาย จ.เชียงใหม่
ท่มี า : Ministry of Tourism and Sports. (2564). ชมุ ชนวัวลาย หมูบ่ า้ นเครือ่ งเงนิ เชียงใหม่.

สืบค้นจาก https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/996019/

-การศึกษาทางด้านรูปธรรม (Tangible) ได้แก่ เส้นสาย ลวดลาย รูปลักษณ์ รูปทรง สีสัน ตลอดจน
พืน้ ผวิ และวสั ดุ

(ให้นสิ ติ เขยี นอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านนามธรรม(Intangible) ได้แก่ ความซาบซึ้งในเรื่องราว คุณค่าและความหมาย จิต
วญิ ญาณท่แี ฝงอยู่ในภมู ิป�ญญา ปรัชญาแนวคดิ

(ให้นิสติ เขียนอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านวัสดุ กระบวนวิธีการผลิต ได้แก่ ประเภทของวัตถุดิบในการผลิต ลักษณะการใช้
สอย และประเภทของกรรมวธิ ใี นการผลติ

(ให้นิสิตเขียนอธบิ าย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-คณุ คา่ ทเ่ี ปน� ทีต่ ้องการในงานหตั ถกรรม ไดแ้ ก่ คุณค่าทางความงามท่ีไดร้ ับด้านจิตใจ คุณคา่ จากงานท่ี
ทำดว้ ยมอื ใชค้ วามชำนาญเปน� พิเศษ และคณุ คา่ จากการคดิ คน้ นวตั กรรมใหม่ ๆ

(ให้นิสิตเขยี นอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

39

3.2.4 กระดาษสา (บ้านต้นเปา สนั กาํ แพง)

ภาพประกอบ 11 ภาพแสดงสนิ คา้ หัตถกรรมที่ทำจากกระดาษสา จ.เชยี งใหม่
ท่ีมา : Ministry of Tourism and Sports. (2564). บ้านหตั ถกรรมต้นเปา.
สบื ค้นจาก https://thailandtourismdirectory.go.th/th/attraction/2694

-การศึกษาทางด้านรูปธรรม (Tangible) ได้แก่ เส้นสาย ลวดลาย รูปลักษณ์ รูปทรง สีสัน ตลอดจน
พน้ื ผวิ และวัสดุ

(ให้นสิ ติ เขยี นอธบิ าย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านนามธรรม (Intangible) ได้แก่ ความซาบซึง้ ในเรื่องราว คุณคา่ และความหมาย จิต
วิญญาณทีแ่ ฝงอยู่ในภมู ปิ �ญญา ปรัชญาแนวคิด

(ให้นสิ ติ เขยี นอธบิ าย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านวัสดุ กระบวนวิธีการผลิต ได้แก่ ประเภทของวัตถุดิบในการผลิต ลักษณะการใช้
สอย และประเภทของกรรมวิธใี นการผลติ

(ให้นสิ ิตเขยี นอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-คุณคา่ ทเ่ี ป�นท่ีต้องการในงานหัตถกรรม ไดแ้ ก่ คณุ คา่ ทางความงามท่ีได้รับด้านจิตใจ คุณค่าจากงานท่ี
ทำดว้ ยมือใชค้ วามชำนาญเปน� พเิ ศษ และคุณคา่ จากการคิดค้นนวตั กรรมใหม่ ๆ

(ใหน้ ิสิตเขยี นอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

40

3.2.5 การทำเครื่องเขิน (บ้านนันทาราม)

ภาพประกอบ 12 ภาพแสดงแมค่ รู ดวงกมล ใจคำป�น ผมู้ ีความชำนาญในงานหัตถกรรมเครื่องเขนิ จ.เชยี งใหม่
ทีม่ า : เชยี งใหม่นวิ ส.์ (2562). เครือ่ งเขนิ งานหัตถศิลปแ์ ผน่ ดนิ ลา้ นนา.

สบื คน้ จาก https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/1041454/

-การศึกษาทางด้านรูปธรรม (Tangible) ได้แก่ เส้นสาย ลวดลาย รูปลักษณ์ รูปทรง สีสัน ตลอดจน
พ้ืนผิวและวสั ดุ

(ให้นิสิตเขียนอธบิ าย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศกึ ษาทางด้านนามธรรม (Intangible) ได้แก่ ความซาบซง้ึ ในเร่ืองราว คณุ คา่ และความหมาย จิต
วิญญาณทแ่ี ฝงอยู่ในภูมิปญ� ญา ปรชั ญาแนวคดิ

(ให้นิสติ เขียนอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านวัสดุ กระบวนวิธีการผลิต ได้แก่ ประเภทของวัตถุดิบในการผลิต ลักษณะการใช้
สอย และประเภทของกรรมวธิ ีในการผลติ

(ใหน้ ิสิตเขียนอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-คุณค่าท่ีเป�นที่ตอ้ งการในงานหัตถกรรม ไดแ้ ก่ คุณคา่ ทางความงามท่ีไดร้ ับด้านจติ ใจ คุณค่าจากงานที่
ทำด้วยมือใชค้ วามชำนาญเปน� พเิ ศษ และคุณคา่ จากการคดิ คน้ นวัตกรรมใหม่ ๆ

(ให้นสิ ิตเขียนอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

41

3.2.6 การทำเคร่อื งป�นดินเผาศิลาดล (บ้านศลิ าดล)

ภาพประกอบ 13 ภาพแสดงเครื่องเคลือบศลิ าดล จ.เชียงใหม่
ท่มี า : MGR Online. (2558). พลิกแบรนด์ “เชยี งใหม่ศิลาดล” ตวั จรงิ เซรามิกสีเขยี วมรดกแหง่ ลา้ นนา.

สบื ค้นจาก https://mgronline.com/smes/detail/9580000100393

-การศึกษาทางด้านรูปธรรม (Tangible) ได้แก่ เส้นสาย ลวดลาย รูปลักษณ์ รูปทรง สีสัน ตลอดจน
พ้นื ผิวและวสั ดุ

(ใหน้ ิสติ เขียนอธบิ าย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านนามธรรม (Intangible) ได้แก่ ความซาบซง้ึ ในเร่ืองราว คณุ คา่ และความหมาย จิต
วิญญาณทีแ่ ฝงอยูใ่ นภมู ิปญ� ญา ปรชั ญาแนวคดิ

(ใหน้ ิสติ เขียนอธบิ าย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านวัสดุ กระบวนวิธีการผลิต ได้แก่ ประเภทของวัตถุดิบในการผลิต ลักษณะการใช้
สอย และประเภทของกรรมวธิ ใี นการผลติ

(ใหน้ สิ ติ เขียนอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-คณุ ค่าท่ีเป�นทตี่ ้องการในงานหตั ถกรรม ไดแ้ ก่ คณุ ค่าทางความงามท่ีได้รบั ด้านจติ ใจ คุณคา่ จากงานท่ี
ทำดว้ ยมือใช้ความชำนาญเปน� พิเศษ และคณุ ค่าจากการคดิ คน้ นวตั กรรมใหม่ ๆ

(ใหน้ ิสิตเขยี นอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

42

4. สรปุ

การกำเนิดงานหัตถกรรมไทยภาคเหนือมีป�จจัยที่เกี่ยวข้องในการผลิตผลงานศิลปหัตถกรรม
ประกอบด้วยการศึกษาด้านประวัติศาสตร์ท้องถิ่นล้านนาที่มีประวัติศาสตร์อันยาวนานทำให้ผู้คนในพื้นท่ี
ภูมิภาคนี้มีแบบแผนทางศิลปวัฒนธรรม ประเพณีต่าง ๆ มีความเป�นของตัวของตนเองมีเอกลักษณ์ที่แตกต่าง
ไปจากผู้คนในภาคอื่น ๆ ประกอบไปด้วย 4 แคว้นใหญ่ ได้แก่ แคว้นพะเยา แคว้นหริภุญไชย แคว้นโยนก
แคว้นน่าน พัฒนาการของประวัติศาสตรล์ ้านนา สามารถแบง่ ได้เป�น 4 ยุค คอื สมัยแว่นแควน้ -นครรัฐ สมัยรัฐ
อาณาจักร สมัยพม่าปกครอง สมัยเป�นเมืองประเทศราช ด้านศิลปวัฒนธรรมและงานหัตถกรรมที่มีความ
หลากหลายผสมผสานหลายลกั ษณะ

สภาพภูมิศาสตร์ของภาคเหนือประกอบไปด้วยลักษณะภูมิประเทศลักษณะภูมิอากาศและ
ทรพั ยากรธรรมชาติ ถือเป�นป�จจัยหน่งึ ที่กำหนดลักษณะเฉพาะทางวฒั นธรรมให้เกิดความแตกต่างกันในแต่ละ
พ้ืนที่ ลักษณะทางภูมิศาสตร์มีความสำคัญต่อเอกลักษณ์ของแตล่ ะภูมิภาค และเป�นตัวแปรสำคัญที่จะกำหนด
รากเหง้าทางวัฒนธรรมของแต่ละภมู ภิ าคได้

สภาพทางสังคมและวัฒนธรรมของภาคเหนือมีลักษณะที่หลากหลาย ชาวไทยภาคเหนือส่วน
ใหญ่มีวิถีชีวิตแบบเกษตรกร มีคติความเชื่อและการนับถือสิ่งศักดิ์สทิ ธิ์และวญิ ญาณของบรรพบรุ ษุ ที่เรียกว่า ผี
และเสอ่ื มใสในพระพุทธศาสนาแบบเถรวาท นอกจากน้ยี งั มีความเช่ือในเรื่องอ่นื ๆ ได้แก่ ความเชื่อเก่ียวกับต้น
กำเนิดของมนุษย์และชนชาติ ความเชื่อเกี่ยวกับอำนาจความสมบูรณ์ ความเชื่อเกี่ยวกับขวัญ ความเชื่อทาง
ไสยศาสตร์และโหราศาสตร์

ภูมิป�ญญาในการสร้างสรรค์งานผลงานศิลปหัตถกรรมภาคเหนือจัดเป�นภูมิป�ญญาท้องถิ่นที่เกิด
จากการสั่งสมระบบความรู้ของชาวบ้าน และสะท้อนออกมาในลักษณะความสัมพันธ์แบบใกล้ชิดในหลาย
รปู แบบ ไดแ้ ก่ ความสัมพนั ธอ์ ย่างใกล้ชดิ ระหวา่ งคนกับโลกสง่ิ แวดลอ้ ม ธรรมชาติสตั ว์และพืช ความสมั พนั ธก์ ับ
คนอื่น ๆ ที่ร่วมกันอยู่ในสังคมหรือในชุมชน ความสัมพันธ์กับสิ่งศักดิ์สิทธิ์เหนือธรรมชาติและสิ่งที่ไม่สามารถ
สัมผัสได้ และผลงานศิลปหัตถกรรมภาคเหนือบางส่วนได้รับอิทธิพลจากพม่าจนเกิดเอกลักษณ์เฉพาะตัวข้ึน
กลายเป�นงานศิลปะแบบล้านนา งานหตั ถกรรมภมู ปิ ญ� ญาท้องถ่นิ ท่ีสำคัญ ไดแ้ ก่ การทาํ ร่ม (บา้ นบอ่ สร้าง) การ
แกะสลัก (บ้านถวาย) การทำเครื่องเงิน (บ้านวัวลาย) กระดาษสา (บ้านต้นเปา สันกําแพง)การทำเครื่องเขิน
(บา้ นนนั ทราม) และการทำเครอ่ื งป�นดินเผาศลิ าดล (บา้ นศิลาดล)

การสร้างสรรค์ผลงานจากภูมิป�ญญาสามารถทำการศึกษาได้ทั้งทางรูปธรรม (Tangible) ได้แก่
เส้นสาย ลวดลาย รูปลักษณ์ รูปทรง สีสัน ตลอดจนพื้นผิวและวัสดุ และนามธรรม(Intangible) ได้แก่ ความ
ซาบซึ้งในเรื่องราว คุณค่าและความหมาย จิตวิญญาณที่แฝงอยู่ในภูมิป�ญญา ปรัชญาแนวคิด ในการออกแบบ
ผลิตภัณฑ์ด้วยแรงบันดาลใจจากภูมิป�ญญาไทยนั้น อาจจัดรวบรวมตัวอย่างภาพแนวทางสร้างสรรค์ผลงานจาก
ภูมปิ ญ� ญาอยูใ่ นลกั ษณะของผังภาพแสดงอารมณ์ (Mood board)

แนวทางการศึกษาผลงานศิลปหัตถกรรมไทยภาคเหนือควรเน้นเรื่องวัสดุพื้นบ้าน และ
กระบวนการผลิตงานหัตถกรรมนำมาใช้ร่วมกัน และความเข้าใจในคุณค่าของงานหัตถกรรมนั้น ๆ ทั้งทาง

43

รูปธรรม (Tangible) และนามธรรม (Intangible) ได้แก่ คุณค่าทางความงามที่ได้รบั ด้านจติ ใจ คุณค่าจากงาน
ท่ที ำดว้ ยมือใชค้ วามชำนาญเป�นพเิ ศษ คุณคา่ การคิดคน้ นวตั กรรมใหม่ ๆ

5. คำถามทา้ ยบท

1. ให้นิสติ ทำข้อ 3.2 ตวั อยา่ งการศกึ ษาผลงานศลิ ปหัตถกรรมไทยภาคเหนือใหส้ มบรู ณ์
2. ให้นิสิตอธิบายความหมายของคำว่า “การกำเนิดงานหัตถกรรมไทยภาคเหนือ” ตามความ
เข้าใจของตนเอง
3. ให้นิสิตเลือกผลิตภัณฑ์ศิลปหัตถกรรมไทยพื้นบ้านภาคเหนือที่มาจากภูมิป�ญญาท้องถึ่นที่
ประทับใจมากที่สดุ พร้อมอธบิ ายเหตผุ ลและยกตวั อยา่ ง
4. ให้นิสิตเลือกผลงานศลิ ปหตั ถกรรมไทยภาคเหนอื ทส่ี ะทอ้ นถงึ เอกลักษณ์ล้านนาและ
ภมู ิปญ� ญาท้องถิ่นมา 3 ผลติ ภณั ฑ์ แลว้ ศึกษาวเิ คราะหผ์ ลงานและอธบิ ายข้ันตอนการสร้างสรรค์ผลงานจากภูมิ
ปญ� ญาทอ้ งถิ่นตามที่ไดเ้ รียน

6. แบบฝ�กหัดปฏิบัตจิ ดั ทำรายงานทา้ ยบท

1. ให้นิสติ จดั ทำเล่มรายงานรวบรวมผลงานหตั ถกรรมพ้ืนบ้านของภาคเหนือโดยแบ่งภาพผลงาน
ตามประเภทของวัสดแุ ละกรรมวธิ ีการผลิต ดงั น้ี

1. การป�นและการหลอ่
2. การทอและเย็บป�กถกั ร้อย
3. การแกะสลัก
4. การก่อสรา้ ง
5. การเขยี นหรือวาด
6. การจักสาน
7. การทำเคร่ืองกระดาษ
8. กรรมวิธีอืน่ ๆ
โดยมีรูปแบบเล่มรายงานหน้ากระดาษ A 4 / หน้าละ 1 ผลงาน ให้นิสิตอธิบายภาพงาน
หัตถกรรมที่หามาได้ ในด้านต่าง ๆ ดังนี้ ชื่องาน / แหล่งผลิต / วัสดุ / กรรมวิธีการผลิต / ลักษณะเฉพาะ /
คณุ ค่าของผลงาน
2. ให้นิสิตออกแบบผลิตภัณฑ์ 1 ชิ้น โดยได้รับแรงบันดาลใจมาจากผลงานหัตถกรรมพื้นบ้าน
ของภาคเหนอื จำนวน 2 ชนิ้ ตามทไ่ี ด้ทำรายงานเม่ือสปั ดาหท์ ่ีแลว้

44

บทท่ี 3
ศิลปหตั ถกรรมไทยภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื

แผนการสอนคร้ังท่ี 5 - 6

หัวข้อ ศิลปหตั ถกรรมของไทยภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ

ผสู้ อน อาจารย์ ดร.พรนารี ชยั ดิเรก
เวลา 480 นาที

วัตถปุ ระสงค์
ครั้งที่ 5
1.เพอ่ื ใหน้ สิ ติ เขา้ ใจความหมาย ความสำคัญ และประเภทของงานศลิ ปหัตถกรรมของไทย
ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื

2. เพื่อให้นิสิตเข้าใจและเรียนรูผ้ ลงานศิลปหตั ถกรรมไทยภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ

ครงั้ ท่ี 6
1. เพอ่ื ให้นิสิตเข้าใจตวั อยา่ งผลงานศลิ ปหตั ถกรรมไทยภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ
2. เพื่อให้นิสิตเรียนรจู้ ากผลงานการออกแบบผลติ ภัณฑ์ศลิ ปหัตถกรรมไทย

ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ

เน้ือหา
ครั้งที่ 5
1. กำเนดิ งานหตั ถกรรมไทยภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ

1.1 ปจ� จยั ท่ีเก่ยี วข้องในการผลติ ผลงานศิลปหัตถกรรมไทยภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื
2. ภูมิป�ญญาในการสร้างสรรค์งาน

2.1 การสร้างสรรค์ผลงานจากภูมปิ ญ� ญา
คร้ังที่ 6
1. แนวทางการศึกษาผลงานศิลปหตั ถกรรมไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนอื

1.1 แนวทางการศกึ ษาผลงานศลิ ปหตั ถกรรมไทยภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ

1.2 ตัวอยา่ งการศึกษาผลงานการออกแบบผลิตภัณฑศ์ ิลปหัตถกรรมไทยภาค
ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื

2. สรปุ ศลิ ปหตั ถกรรมไทยภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ

การจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ 15 นาที
ครง้ั ท่ี 5

1. อธบิ ายวัตถุประสงค์และเน้ือหาโดยรวม

46

2. บรรยายเนื้อหาและหวั ข้อต่าง ๆ 60 นาที
3. ศึกษาเรยี นรู้ผลงานศิลปหัตถกรรมไทย 150 นาที

ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 15 นาที
4. นิสติ ซกั ถามปรึกษาเน้ือหาการเรียน
คร้ังท่ี 6 15 นาที
1. อธบิ ายวัตถุประสงค์และเน้ือหาโดยรวม 60 นาที
2. บรรยายเนอ้ื หาและหัวข้อต่าง ๆ 150 นาที
3. ศกึ ษาเรยี นรู้ผลงานการออกแบบผลติ ภัณฑ์
15 นาที
ศิลปหตั ถกรรมไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
4. นิสิตซกั ถามปรึกษาเนื้อหาการเรียน

สอ่ื การสอน
ครัง้ ที่ 5
1. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา การออกแบบศลิ ปหตั ถกรรม

2. ไฟลน์ ำเสนอภาพนิง่ ผ่านโปรแกรมคอมพวิ เตอร์

3. หนงั สือ ตำรา วารสารตา่ ง ๆ ทง้ั ในประเทศและตา่ งประเทศ ท่ีเกย่ี วขอ้ งกับการออกแบบ
ศิลปหตั ถกรรมไทย

4. ตวั อยา่ งผลติ ภัณฑ์ ผลงานหตั ถกรรมสำหรับการเรียนการสอนที่เกี่ยวข้อง

(ตามความเหมาะสมของเนื้อหาการเรยี น)
ครง้ั ท่ี 6
1. เอกสารประกอบการสอนรายวชิ า การออกแบบศลิ ปหัตถกรรม

2. ไฟล์นำเสนอภาพน่ิงผ่านโปรแกรมคอมพวิ เตอร์
3. หนังสอื ตำรา วารสารตา่ ง ๆ ทงั้ ในประเทศและต่างประเทศ ทีเ่ กยี่ วข้องกับการออกแบบ

ศิลปหัตถกรรมไทย

4. ตัวอย่างผลิตภณั ฑ์ ผลงานหัตถกรรมสำหรับการเรียนการสอนทีเ่ ก่ียวข้อง
(ตามความเหมาะสมของเนอ้ื หาการเรยี น)

การประเมนิ ผล
ครั้งท่ี 5
1. สงั เกตจากพฤติกรรมของผู้เรยี น

2. ประเมินผลจากกิจกรรมในการชน้ั เรียน

3. ประเมนิ ผลจากคำถามทา้ ยบทที่ 3

4. ประเมินผลจากแบบฝ�กหัดปฏิบตั งิ านออกแบบทา้ ยบท

47

คร้ังที่ 6
1. สงั เกตจากพฤติกรรมของผู้เรยี น
2. ประเมนิ ผลจากกิจกรรมในการชนั้ เรยี น
3. ประเมินผลจากคำถามทา้ ยบทที่ 3
4. ประเมนิ ผลจากแบบฝ�กหดั ปฏิบัติงานออกแบบทา้ ยบท

หนังสืออ้างอิง
กรมส่งเสริมวฒั นธรรม กระทรวงวฒั นธรรม. (2561). มรดกภูมปิ �ญญาอสี าน. (หนังสือชดุ “มรดกวัฒนธรรม
อสี าน). กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกดั .

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (2559). วิถีชาติพันธุ์ในอีสาน : “ภาวการณ์
กลายเป�น” ในกระแสการเปลี่ยนแปลงสู่เสรีนิยมใหม่ใน รวมบทความการประชุมวิชาการ
ระดับชาติ. 7-8 เมษายน 2559. จ.ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลยั ขอนแก่น.

นภาพร อติวานิชยพงศ์. (2557). คนชนบทอีสานกับการทำมาหากิน: ความเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย.
วารสารสงั คมวทิ ยามานุษยวิทยา. 33(2), น. 103-127.

ธีรพงษ์ กันทำ, อลงกรณ์ อรรคแสง และวิทยา สุจริตธนารักษ์. (2559). อีสานและการเมืองเรื่องพื้นที่:
พรมแดนแหง่ ความรู้. วารสารการเมืองการปกครอง มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม, 6(2),
น. 309-330.

วิชญ์ จอมวิญญาณ์. (2560). ภูมิศาสตร์ประเทศไทย. อุดรธานี : คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุดรธานี.

ศูนย์มานุษยวทิ ยาสิรนิ ธร. (2560). “กลุม่ ชาติพันธ์ุ”. สบื ค้นจาก
http://www.sac.or.th/databases/ethnic-groups/site/index.

สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2558). โสวัฒนธรรมอีสานในงานวิจัย. [หนังสือชุดการประเมินและสังเคราะห์
สถานภาพองค์ความรู้จากการวจิ ยั วฒั นธรรม เล่ม 3. ภาควิชาสังคมวทิ ยาและมานุษยวิทยา คณะ
สงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่], เชียงใหม่: บลูมม่ิง ครเี อชน่ั .

สุชาติ สุขนา. (2563). ศิลปะแบบประเพณีอีสาน – ศิลปหัตถกรรมอีสาน. [เอกสารประกอบการบรรยาย
รายวิชา ศลิ ปะไทย 1]. มหาสารคาม : คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม.

สมเชาว์ บำรุงชัย. (2559). รูปแบบการพัฒนาชุมชนยั่งยืนภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ตอนบนของประเทศไทย.
วารสารวชิ าการสมาคมสถาบันอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย, 22(1), น. 70-78.

อรัญญา แสนสระ. (2560). ภูมิป�ญญาท้องถิ่นในภาษาและวัฒนธรรมอีสาน. วารสารศิลปศาสตร์ มทร.
ธญั บุร,ี 1(1), น. 1-16.

เอกวทิ ย์ ณ ถลาง. (2544). ภูมปิ ญ� ญาอสี าน. กรุงเทพ ฯ : อมรินทร์.

48

บทท่ี 3
ศลิ ปหัตถกรรมไทยภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื

1. กำเนดิ งานหัตถกรรมไทยภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ

1.1 ป�จจัยที่เก่ยี วข้องในการผลติ ผลงานศิลปหตั ถกรรมไทยภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
ประกอบด้วยดา้ นต่าง ๆ ดังน้ี

-การศกึ ษาดา้ นประวัติศาสตร์ทอ้ งถนิ่
วิถีชีวิตของประชาชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือในอดีตก่อนที่อาณาจักรล้านช้างจะมี
อำนาจในบรเิ วณภาคตะวันออกเฉียงเหนือนี้มีหลักฐานการมคี นอยอู่ าศัยก่อนประวัติศาสตร์ คอื วฒั นธรรมเจน
ละ วัฒนธรรมทวาราวดี และวัฒนธรรมของเขมรพระนครได้มีอิทธิพลต่อวิถีชีวิตความเป�นอยู่ไม่น้อย และ
อทิ ธพิ ลของอาณาจกั รล้านชา้ งนัน้ มีอิทธิพลต่อภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือตอนบนค่อนข้างมาก (สมศักดิ์ ศรีสันติ
สุข, 2558) จรงิ ๆ แล้วอาณาจักรเจนละก็คือตน้ ประวัตศิ าสตร์กัมพชู าที่นำไปสู่การสรา้ งอาณาจักรขอมท่ีเมือง
พระนคร ซึ่งหมายความว่าอีสานก็คือต้นกำเนิดของอาณาจักรขอมโบราณนั่นเอง ในตอนต้นศตวรรษที่ 13
อาณาจักรเขมรหรือขอมเหนือบนดินแดนอีสานโบราณเริ่มลงลด เน่อื งจากการเสื่อมอำนาจของอาณาจักรขอม
ที่เมืองพระนคร ส่งผลให้ต้องเคลือ่ นยา้ ยศูนย์กลางการปกครองและเศรษฐกิจไปยงั ที่ราบลุ่มแม่นำ้ โขงตอนล่าง
ทำให้เมืองต่าง ๆ ในอีสานถูกทิ้งให้เป�นเมืองร้าง และทำให้อำนาจทางการเมืองของกรุงเทพฯในลุ่มแม่น้ำ
เจ้าพระยาและลาวในลุ่มแม่น้ำโขงขยายตัวข้ึนกลุ่มคนที่เข้ามาแทนที่ขอมในอีสานก็คือลาว ซึ่งตรงกับรัชกาล
ของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ที่จะสร้างความสัมพันธ์ทางการค้าและเศรษฐกิจกับกลุ่มบ้านเมืองในอีสานเหนือ
มากกว่าการแผ่ขยายอทิ ธพิ ลทางการเมือง
ธีรพงษ์ กันทำ, อลงกรณ์ อรรคแสง และวิทยา สุจริตธนารักษ์ (2559) อ้างว่า ในอดีต
บรรดาหัวเมืองในอีสานมีสถานะกึ่งอิสระในการปกครองตนเองภายใต้การควบคุมกำกับอย่างหละหลวมโดย
ศูนย์กลางอำนาจ รัฐไทยไม่ได้ปกครองอีสานโดยตรงหากแต่ปล่อยให้ชนชั้นปกครองซึ่งเป�นเจ้าเมืองเดิม
ปกครองต่อไป แต่ต้องส่งเครื่องบรรณาการเพื่อแสดงความจงรักภักดีเป�นประจำทุกป� ถึงแม้ว่าอีสานจะตกอยู่
ภายใต้อิทธิพลของรฐั ไทยและไม่ไดถ้ ูกผนวกรวมเข้ากบั รฐั ไทย การควบคุมดินแดนหวั เมืองอีสานโดยตรงของรัฐ
ไทยก่อนสมัยรัตนโกสินทร์ส่วนใหญ่จะครอบคลุมถึงเขตเมืองนครราชสีมาและเมืองใกล้เคียงเท่านั้น ที่ราบสูง
โคราชหรือฝ�งขวาแมน่ ำ้ โขงก่อนการปฏริ ูปการปกครอง พ.ศ. 2435 ถอื วา่ เป�นหัวเมืองลาวทงั้ ฝ�งขวาและฝ�งซ้าย
ของแม่น้ำโขงตกอยภู่ ายใต้อทิ ธิพลของรฐั ไทยหลงั เหตุการณเ์ วียงจันทน์พา่ ยแพ้สงครามแก่กองทัพไทยในปลาย
สมัยพระเจ้ากรุงธนบุรีและสมัยรัชกาลที่ 3 แต่อีสานถูกผนวกรวมเข้าเป�นส่วนหนึ่งของรัฐไทยเมื่อสมัย
พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั รชั กาลท่ี 5 ทำการปฏิรปู การปกครองเพ่ือรวบอำนาจเขา้ สู่ส่วนกลาง
ในปพ� .ศ. 2435
ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 5 แห่งราชวงศ์จักรี ได้มีการ
ปฏริ ปู หวั เมอื งประเทศราช คอื “การสถาปนาอำนาจควบคมุ จากรัฐไทย” (Consolidation of Thai Control)

49

เหนือพื้นที่หัวเมืองลาว ได้มีการผนวกรวมอีสานเข้ากับรัฐไทยพร้อมกับการทำให้คนลาวเขมร ส่วยและกลุ่ม
ชาติพันธุ์อื่น ๆ ในหัวเมืองลาวให้เป�น“คนไทย”และในป� พ.ศ. 2465 รัฐไทยได้เริ่มเรียกภูมิภาคนี้โดยรวมว่า
“ภาคอีสาน” ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือหรืออีสานของกรุงเทพฯโดยถือว่ากรุงเทพฯเป�นศูนย์กลาง
(Bangkok-centrism) ของการเรยี กช่อื ทศิ

การผนวกรวมภาคตะวันออกเฉียงเหนือให้เป�นส่วนหนึ่งของรัฐไทย ได้สร้างนิยามตัวตน
ของผู้คนที่อาศัยอยู่ในภาคตะวันเฉียงเหนือจาก“ลาว”เป�น“คนไทยอีสาน” ที่มีสถานะเป�นพลเมืองของสยาม
หรือประเทศไทยในเวลาต่อมา การสร้างเอกภาพของรัฐชาติและกระแสชาตินิยมที่เน้นความเป�นไทยท่ี
พัฒนาขึ้นในระยะหลังได้บดบังลักษณะทางชาติพันธุ์ของคนไทยอีสานจนทำให้คนส่วนใหญ่เข้าใจว่าคนอีสาน
เป�นคนท่มี าจากพ้ืนฐานทางชาติพันธเุ์ ดยี วกัน ซ่งึ จรงิ ๆ แลว้ จากงานวิจยั พบว่าในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ มี
กลุ่มชาติพันธ์ุอาศัยอยู่หลากหลายเป�นจำนวนมาก เช่น ผู่ไท ญ้อ ไทดํา กะเลิง แสก โซ่ โซ่ทะวึง บรู ญัฮกูร
หรอื ชาวบน กยุ หรือส่วย เขมร ไทยวน ไทยเบง้ิ ญวน จนี ฯลฯ อตั ลกั ษณ์ของกลุม่ ชาติพันธ์หลายกลุ่มถูกกลืน
ไม่มีอัตลักษณ์ของตนเองที่ชัดเจน นอกจากการใช้ภาษาของตนเองในการสื่อสารในกลุ่มชาติพันธุ์เดียวกัน
อย่างไรก็ดีกลุ่มชาติพันธ์ุบางกลุ่มก็ยังรักษาประเพณีพีธิกรรมบางอย่างไว้อย่างเข้มแข็งเพ่ือความมีตัวตนทาง
ชาติพันธุ์และเพื่อรักษาภูมิป�ญญาความรู้ปกป้องในทรัพยากรท้องถิ่นเอาไว้ (คณะมนุษยศาสตร์และ
สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ , 2559)

ชาติพันธุ์หรือชนเผ่าพื้นเมืองในภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือภาคอีสานเป�นภูมิภาคที่มี
ความหลากหลาย ทางศิลปวัฒนธรรมและประเพณีที่แตกต่างกันไปในแต่ละท้องถิ่นแต่ละจังหวัด
ศิลปวัฒนธรรมเหล่านี้เป�นตัวบ่งบอกถึงความหลากหลายทางด้านชนพื้นเมืองและชนเผ่าด้วยเช่นกัน (ศูนย์
มานุษยวิทยาสิรินธร, 2560) ไดแ้ ก่

1. ไทยลาว หรือ ไทอีสาน (Laotian) หรือเรียกว่า “ชาวอีสาน” เป�นกลุ่มประชากรท่ี
ใหญ่ ที่สุดและมีจำนวนมากที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนมากมีวัฒนธรรมและภาษาคล้ายคลึงกับ
ประเทศลาว เนื่องจากคนกลุม่ น้ีดง้ั เดมิ นนั้ มที ง้ั อพยพย้ายถ่ินหรือลี้ภัยสงครามมาจากฝ�งซ้ายของแม่นำ้ โขง

2. ผู้ไท หรือ ภูไท (Phutai) เดิมอาศัยอยู่ในแคว้นสิบสองจุไทย และแคว้นสิบสองป�นนา
ป�จจุบันอยู่ในประเทศเวียดนามและประเทศจีน ป�จจุบันมีถิ่นฐานอยู่ในจังหวัดนครพนม จังหวัด กาฬสินธ์ุ
จังหวัดมุกดาหาร จังหวัดสกลนคร จังหวัดอำนาจเจริญ จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดอุดรธานี จังหวัดร้อยเอ็ด
จงั หวัดยโสธรและบางส่วนอยูใ่ นเขตจังหวัดหนองคาย มีภาษาพูดทมี่ เี อกลักษณ์เปน� ของตนเอง

3. ไทดำ หรือ ไทยทรงดำ หรือ ลาวโซ่ง (Tai Dam) เป�นคนพื้นเมืองดั้งเดิม อาศัยอยู่ใน
อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย มาเป�นเวลานาน บางส่วนอพยพมาจากแคว้นพวน ประเทศลาว นอกจากนั้นยัง
พบชาวไทดำในจังหวัดเพชรบรุ อี ีกดว้ ย

4. ไทกุลา หรือ กูลา (Kula) คอื กล่มุ พอ่ คา้ เรร่ ่อนชนชาติตองสูและไทยใหญท่ ่เี ดินทางมา
ค้าขายอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมาเป�นระยะเวลานาน ป�จจุบันพบได้ในจังหวัดอุบลราชธานีและจังหวดั
ยโสธร

50

5. ชาวกูย หรอื กวย-สว่ ย (Kui or Kuoy or Suai) มีถ่ินฐานเดิมอยู่บริเวณตอนเหนือของ
เมืองกำปงธม ประเทศกัมพูชา ป�จจุบันพบได้ในจังหวัดบุรีรัมย์ อุบลราชธานี นครราชสีมา มหาสารคาม
ร้อยเอ็ด สุรินทร์ ศรีสะเกษ รวมไปถึงสุพรรณบุรี แต่เนื่องจากอยู่อาศัยปะปนกับชาวเขมรจึงมีความคล้ายคลึง
กนั ทางวัฒนธรรมและความเปน� อยู่ทำให้มีความเหลื่อมซ้อนกันในการจำแนก

4. กลุ่มชาติพันธุ์ ชาวเยอ (Nyeu) เป�นส่วนหนึ่งของเผ่ากูยแต่มีความแตกต่างทางด้าน
ภาษา ป�จจุบัน สามารถพบไดใ้ นจงั หวดั ศรสี ะเกษ

5. ชาวเขมร (Khmer) ชื่อทางวิชาการ คือ “เขมรถิ่นไทย” เป�นกลุ่มคนที่พูดภาษาเขมร
อาศัยอยู่ในประเทศไทยมาเป�นเวลานานแล้ว เรียกตัวเองว่า "ขแมร์" ป�จจุบันพบว่าอาศัยอยู่ในพื้นที่ จังหวัด
สุรินทร์ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัด ร้อยเอ็ด จังหวัด
มหาสารคาม จังหวดั ปราจีนบุรี จงั หวดั ตราด จังหวัดจนั ทบุรี จังหวัดฉะเชิงเทราและ จังหวัดสระแกว้

6. ไทญ้อ หรือ ย้อ – เงี้ยว (Nyaw) มีถิ่นฐานเดิมอยู่ที่เมืองหงสา แขวงไชยบุรี ประเทศ
ลาว มีภาษาพูดเหมือนภาษาไทยลาวแต่แตกต่างกันที่สำเนียง อาศัยอยู่กระจายทั่วไปในแถบภาคอีสาน ใน
ป�จจุบันพื้นที่ที่มีชาวไทย้ออาศัยอยู่อย่างหนาแน่น ได้แก่ จังหวัดนครพนม จังหวัดมุกดาหาร จังหวัดสกลนคร
จังหวัดบึงกาฬ จังหวดั หนองคาย จังหวดั กาฬสนิ ธุ์ จังหวดั มหาสารคาม และทจี่ ังหวัด ปราจนี บุรี

7. ไทโส้ หรือ กะโซ่ (Kaso) หรือ “ข่าโซ่” เป�นกลุ่มชาวข่าพวกหนึ่งที่มีถ่ินฐานดัง้ เดิมอยู่
ทีเ่ มืองมหาชัย แขวงคำม่วนและแขวงสะหวนั เขต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ต่อมาจึงได้อพยพมา
อยู่ในเขตจงั หวดั สกลนคร จังหวดั นครพนมและจงั หวดั มุกดาหาร

8. ไทแสก (The Sack) เป�นชนกลุ่มน้อยตั้งถิ่นฐานอาศัยอยู่ในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื
ของประเทศไทย ในท้องที่จังหวัดนครพนมและจังหวัดมุกดาหาร มีภูมิลำเนาดั้งเดิมอยู่ในตอนกลางของ
สาธารณรฐั สังคมนยิ มเวยี ดนาม จากเอกสารหลักฐานพบวา่ มีชาวแสกอยใู่ นพ้ืนทีจ่ งั หวัด สมุทรปราการอีกดว้ ย

9. ไทข่า หรือ บรู (Kha) ไทข่ามีถิ่นกำเนิดอยู่ในแขวงสะหวันเขต แขวงสาละวันและ
แขวงอัตปอ� สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว ตอ่ มาอพยพย้ายถิ่นมาอยู่ในท้องท่จี ังหวดั มกุ ดาหาร เป�น
ชนเผ่าดัง้ เดมิ ในลุ่มแมน่ ้ำโขงท่ีอาจจะสบื เชื้อสายมาจากขอมโบราณ เรยี กตนเองวา่ “บรู” ในป�จจุบันมีถิ่นที่อยู่
ใน 4 จังหวดั คือ จงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ จงั หวัดสกลนคร จังหวดั นครพนมและ จงั หวดั มุกดาหาร

10. ไทกะเลิง (Kaleang) กล่มุ ชาตพิ ันธุ์หน่งึ ที่อาศัยอยู่ในจงั หวดั สกลนคร มกั จะอาศัยอยู่
ในพื้นที่ราบสูงและตามพื้นที่ไหล่เขา จากหลักฐานอพยพมาจากดินแดนฝ�งซ้ายของแม่น้ำโขง ป�จจุบันมีการตง้ั
ถ่ินฐานบนเทือกเขาภพู านและอำเภอกุดบาก จงั หวัดสกลนคร

51

ภาพประกอบ 14 ภาพแสดงกลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ใุ นภาคอีสาน
ทีม่ า : ประตสู ู่อีสาน. (2564). ชาติพนั ธุช์ นเผ่าไทยในอสี าน.
สืบค้นจาก https://www.isangate.com/new/isan-ethnos.html

-สภาพภูมศิ าสตร์
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือภาคอีสาน มีพื้นที่การปกครองครอบคลุม 20 จังหวัดเป�น
ภาคที่มีพื้นที่ขนาดใหญ่ที่สุด มีพื้นที่ประมาณ 170,218 ตารางกิโลเมตร (ประมาณ 105 ล้านไร่) และมี
ประชากรมากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับภาคอื่น ๆ คือ มีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 3 ของประเทศ และ มีประชากร
มากเป�นสัดส่วน 1 ใน 3 ของประเทศหรือประมาณ 23 ล้านคน เป�นภาคที่มีพื้นที่เกษตรกรรมมากที่สุด คือ
ประมาณร้อยละ 44 ของประเทศ อีกทั้งยังเป�นพื้นที่ที่มีความสำคัญทางด้านประวัติศาสตร์ การตั้งถิ่นฐานที่มี
ประเพณแี ละวฒั นธรรมเปน� เอกลกั ษณ์เฉพาะถนิ่ สบื มาช้านาน (สมเชาว์ บำรุงชยั , 2559)
ลักษณะภูมิประเทศของภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป�นที่ราบสูง ทิศตะวันตก มีเทือกเขา
เพชรบูรณ์ เทือกเขาดงพญาเย็น ทิศใตม้ ีเทือกเขาสันกำแพงและเทือกเขาพนมดงรัก ตอนกลางเทือกเขาภูพาน
จึงมีแอ่ง 2 แอ่ง คือ แอ่งสกลนครมี ลุ่มน้ำสงคราม กับแอ่งโคราชมีลุ่มน้ำชี ลุ่มน้ำมูล พื้นที่ที่ราบสูง
ประกอบดว้ ย
1. ที่ราบสูงนครราชสีมา - อุบลราชธานีเป�นที่ราบสูงใจกลางของภาค เป�นพื้นที่ที่เข้าใจ
ว่าเปน� ปากปล่องภเู ขาไฟ เป�นท่ีราบกว้างใหญบ่ นลุ่มลำนำ้ มลู
2. ที่ราบสูงอุดร - นครพนม เป�นที่ราบสูงส่วนเหนือของภาคในแถบลุ่มน้ำโขง มีพื้นที่อยู่
ใน เขต 4 จงั หวดั คอื หนองคาย อุดรธานี สกลนคร และนครพนม
3. ท่ีราบสูงเลย เปน� ทร่ี าบซ่งึ มสี ภาพเป�นอา่ งเลก็ บรเิ วณจงั หวัดเลยและหนองบัวลำภู
ลักษณะภมู ิอากาศท่ัวไปของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึง่ ต้ังอย่ทู างทิศตะวันออกค่อนไป
ตอนบนของประเทศมีลักษณะเป�นเทือกเขาจึงมีลักษณะภูมิอากาศเย็นและมีอากาศที่หนาวในบางพื้นท่ีใน
ตอนบนพื้นที่ตอนกลางมีอากาศหนาวจัดไปจนถึงแห้งแล้ง ตอนล่างมีฝนตกชุกในฤดูมรสุม ปรากฏการณ์ทาง
ภูมิอากาศ คือ ลักษณะอากาศที่แล้งเป�นเรื่องปกติของภูมิภาคนี้ ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นนั้นมีผลกระทบต่อ
ลักษณะอากาศในฤดูฝนและฤดูหนาว ในฤดูหนาวนั้นกล่าวไว้ว่าภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะเริ่มหนาวเย็นเรว็

52

กว่าภูมภิ าคใด ๆ ในประเทศ คือ เรมิ่ จากประมาณเดือนตุลาคมและยาวนานไปจนถึงเดือนกมุ ภาพันธ์ ลมมรสุม
ตะวันออกเฉียงเหนือพัดมาจากมหาสมุทรแปซิฟ�กผ่านเวียดนาม เทือกเขาอันนัม ประเทศลาวและเข้าสู่ภาค
ตะวันออกเฉียงเหนอื ก่อนภูมภิ าคอื่น ๆ ลักษณะภูมิอากาศของภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีความแตกต่างอย่าง
สุดขั้วในแต่ละฤดูกาล ในป�จจุบันลักษณะภูมิอากาศของภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้รับผลกระทบจาก
ปรากฏการณ์เปลี่ยนแปลงทางภูมอิ ากาศ (Climate Change) ทำให้เกิดสภาวะที่มีความรุนแรงต่างไปจากเดิม
อาทิ พายฝุ นฟา้ คะนองในฤดูร้อน ฝนตกหนกั ในฤดูหนาว รวมไปถงึ สภาวะการเปลี่ยนแปลงทางด้านภูมิอากาศ
ในรายวนั (วชิ ญ์ จอมวิญญาณ์, 2560)

ภาพประกอบ 15 ภาพแสดงภมู ปิ ระเทศภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
ทมี่ า : อุทยานธรณี ประเทศไทย. (2013). ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื . สืบค้นจาก

http://www.dmr.go.th/ThailandGeopark/ AD.html

-ทรัพยากรธรรมชาติ วิชญ์ จอมวิญญาณ์ (2560) กล่าวว่า ภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้
ชอื่ วา่ เป�นภมู ิภาคทมี่ พี ื้นทีก่ ว้างใหญ่ไพศาลทีส่ ุดในประเทศไทย จำนวนของทรัพยากรย่อมทจี่ ะมากกว่าภูมิภาค
ใด ๆ ในประเทศไทย ประกอบด้วยทรัพยากรต่าง ๆ ได้แก่ ทรัพยากรดิน ทรัพยากรน้ำทรัพยากรแร่ธาตุ
ทรัพยากรป่าไม้ อุทยานแห่งชาติต่าง ๆ เช่น เขาใหญ่ ภูกระดึง ทุ่งแสลงหลวง น้ำหนาว ฯลฯ เขตรักษาพันธุ์
สตั ว์ป่าตา่ ง ๆ และทรัพยากรสัตว์การทำประมง ทรัพยากรธรรมชาติในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือมีเกลอื หินและ
โพแตชเปน� หลัก เนอ่ื งจากลกั ษณะทางด้านภูมิประเทศและลักษณะทางธรณวี ิทยาท่ีเป�นหินทรายและมีช้ันของ
เกลือหินแทรกอยใู่ นช้ันหนิ เป�นจำนวนมากเเละแพร่กระจายทว่ั พนื้ ทีภ่ าคตะวนั ออกเฉียงเหนือ

-วฒั นธรรมประจำท้องถ่นิ และสภาพทางสังคม
นภาพร อติวานชิ ยพงศ์ (2557) กล่าววา่ ภาพของอสี านหรือภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือใน
อดีตคือดินแดนที่เป�นสัญลักษณ์ของความแห้งแล้งและยากจน ในด้านการทำมาหากินนั้น ชุมชนหมู่บ้านใน
ภาคอีสานสามารถรักษาการผลิตแบบพอยังชีพไว้ได้ยาวนานที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับภาคอื่น ๆ ของประเทศ

53

ในปจ� จุบันสังคมอีสานมีความเปล่ียนแปลงไปอย่างมาก พื้นทีซ่ ึง่ เคยเปน� ดินแดนแห่งความแห้งแล้งกันดารกลับ
กลายเป�นแหล่งเพาะปลูกพืชผลทางการเกษตรที่ในอดีตเคยปลูกได้เฉพาะในภาคอื่น ๆ เช่น ยางพารา สะตอ
และผลไม้นานาชนิด แรงงานภาคอีสานมีอยู่อย่างล้นเหลือ และเป�นแรงงานอพยพที่ไปทำงานขายแรงงาน
หรือประกอบการค้าอยู่ในกรุงเทพฯ และภาคอื่น ๆ จำนวนมากที่ประสบความสำเร็จ ซึ่งส่งผลให้ฐานะทาง
เศรษฐกิจของคนอีสานทีอ่ าศยั อยใู่ นดินแดนยากจนทีส่ ดุ ของประเทศเปลย่ี นแปลงไป

อาชีพหลักของชาวบ้าน คือ การทำนา แม้ว่าชาวบ้านในหมู่บ้านจะผลิตข้าวได้เพียงพอ
ต่อการบรโิ ภคหรือมีเหลือขายเพียงเล็กน้อย ในขณะที่รายได้สว่ นใหญ่มาจากการทำงานรับจ้างหรือการค้าขาย
ทั้งภายในและภายนอกหมู่บ้านของ สมาชิกในครอบครัว ในทำนองเดียวกับงานอาชีพอื่น ๆ ในหมู่บ้าน เช่น
การขายผา้ ทอมือ ผลติ ภณั ฑอ์ าหารแปรรูป การเปน� แรงงานรบั จา้ งนอกระบบ ซงึ่ ถกู ระบุว่าเป�น “อาชีพเสริม”
กลับเปน� งานท่ีสร้างรายได้หลกั ใหแ้ ก่ครอบครัว การทำงานอาชีพเพ่ือหารายได้ในชมุ ชนมี 3 ลกั ษณะ คือ

1. การทำนาและปลูกพชื เชิงพาณิชย์อื่น ๆ กระบวนการทำนาที่เปลีย่ นแปลงไปจากอดีต
และมคี วามเปน� สมัยใหม่คือ มีการใชเ้ คร่ืองจักรในการไถนา ทง้ั รถไถเดินตามและรถแทรกเตอร์เปลี่ยนจากการ
ดำนามาเป�นการทำนาหว่าน ใช้รถเกย่ี วขา้ ว และมกี ารจ้างแรงงานในทุกขน้ั ตอนของการทำนา ภาพของชาวนา
สมยั ใหม่ จึงไม่ใช่ชาวชนบทที่ใชช้ ีวติ เรยี บง่ายอย่างชา้ ๆ แตเ่ ป�นผู้ทีป่ รับตัวให้เข้ากับเทคโนโลยีต่าง ๆ ท่ีตนเอง
มีศักยภาพในการเขา้ ถงึ ซงึ่ ทำให้ชาวนามโี อกาสเข้าถึงรายได้มากขน้ึ

2. การเป�นแรงงานนอกระบบ เมื่อการทำนาข้าวหรือปลูกพืชเชิงพาณิชย์อื่น ๆ ไม่
สามารถเป�นรายได้หลักที่เพียงพอต่อการยังชีพ คนอีสานในหลายหมู่บ้านที่ยังไม่ต้องการอพยพไปทำงานต่าง
ถิ่น จึงต้องหันเหไปสู่การทำมาหากินโดยการเป�นแรงงานรับจ้างในชุมชนในลักษณะของการเป�นแรงงานนอก
ระบบ ด้วยการรับจ้างผลิตสิ่งต่าง ๆ เช่น การทำมอง ทำตาข่ายดักปลา รับจ้างปลูกข้าวโพดฝ�กอ่อน มัน
สำปะหลัง และเลี้ยงสัตว์ ฯลฯ

3. การขายสินค้าที่ผลิตจากอัตลกั ษณ์ของชุมชน ในสังคมชนบทอีสานสมัยใหม่ชาวบา้ น
ต้องดิ้นรนหารายได้ โดยการนำเอาอัตลักษณ์ของชุมชนที่มีอยู่ดั้งเดิมมาทำให้เป�นสินค้า เช่น การทอผ้าใช้เอง
ของชาวบ้านในภาคอีสานถือเป�นสัญลักษณ์หนึ่งของการผลิตแบบพอยังชีพ ซึ่งพบว่าในหมู่บ้านแทบทุก
ครัวเรือนในหลายจังหวัดภาคอีสานยงั เข็นฝ้ายและทอผ้าใช้เอง แต่ป�จจุบันพบว่า วัฒนธรรมการทอผ้าด้วยมือ
ได้เปลีย่ นจากลักษณะการผลิตแบบพอยงั ชีพ เพ่ือใช้เองในครัวเรือนไปสกู่ ารผลิตเพ่อื ตอบสนองธุรกจิ ชมุ ชนตาม
ยคุ สมยั ที่เปลี่ยนไปดว้ ย

-ประเพณีและวัฒนธรรมประจำท้องถ่นิ ท่ีสำคัญท่มี ีอทิ ธิพลต่อการใชช้ วี ิต และความเช่ือท่ี
พบในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ได้แก่

1. ประเพณฮี ตี สบิ สองคองสิบสี่ ฮตี หมายถงึ จารีตประเพณี คอง หมายถึง แนวทาง รอย
ทาง คำว่า ฮีตคอง จึงหมายถึงจารตี ประเพณีหรือวิถีปฏบิ ตั ิของชาวบา้ นในการรักษาขนมธรรมเนียม ประเพณี
ของท้องถิ่นเอาไวอ้ ย่างยั่งยืน ฮีตสบิ สอง คอื ประเพณี 12 เดือนของไทยอสี าน ไดแ้ ก่

ฮีตท่ี 1 เดอื นเจียงหรอื เดอื นอา้ ย ให้พระภิกษุสงฆ์เขา้ ปรวิ าสกรรม
ฮตี ท่ี 2 เดอื นย่ี ใหท้ ำบญุ คูนลาน

54

ฮตี ที่ 3 เดอื นสาม ใหท้ ำบญุ ขา้ วจี่
ฮตี ท่ี 4 เดอื นส่ี ให้ทำบญุ ผะเหวด
ฮตี ที่ 5 เดอื นหา้ ใหท้ ำบุญสรงน้ำและขน้ึ ป�ใหม่ (สงกรานต์)
ฮีตที่ 6 เดือนหก ให้ทำบญุ บัง้ ไฟ
ฮีตท่ี 7 เดือนเจด็ ใหท้ ำบุญซำฮะ
ฮตี ที่ 8 เดอื นแปด ใหท้ ำบญุ เขา้ วัดสา (เขา้ พรรษา)
ฮีตท่ี 9 เดอื นเก้า ใหท้ ำบญุ ขา้ วประดับดนิ
ฮีตที่ 10 เดอื นสิบ ให้ทำบุญขา้ วสาก (กระยาสารท)
ฮีตที่ 11 เดือนสบิ เอ็ด ให้ทำบุญออกวดั สา (ออกพรรษา)
ฮีตที่ 12 เดือนสบิ สอง ให้ทำบุญกฐนิ
2. คองสบิ สี่ เปน� แนวปฏบิ ัตติ นให้ดงี าม ดงั น้ี
คองท่ี 1 เม่ือไดข้ ้าวใหม่ หรือผลผลิตใหม่ ผู้เปน� เจา้ ของอย่าเพ่งิ กนิ ตอ้ งนำไปทำทานให้ผู้
มีศีลกอ่ น แล้วตนเองค่อยกินภายหลัง และใหน้ ำผลผลิตนั้นไป แจกจา่ ยญาตพิ ่ีนอ้ งดว้ ย
คองที่ 2 อย่าโกงตาชั่ง อย่าปล่อยเงินกู้ อย่าปลอมแปลงเงินตรา และอย่ากล่าววาจา
หยาบช้ากล้าแข็งต่อกัน
คองที่ 3 ให้พร้อมกันทำรั้วหรือกำแพงล้อมวัดวาอารามและบ้านเรือนของตน แล้วปลูก
หอเทวดาไว้ 4 มุมของหมู่บา้ น และ 4ด้านของเรอื นตน
คองท่ี 4 ใหล้ า้ งเทา้ ก่อนขนึ้ เรือนทุกคร้งั
คองที่ 5 เมื่อถึงวันพระ 7 ค่ำ 8 ค่ำ 14 ค่ำ 15 ค่ำ ไม่ว่าข้างขึน้ หรือขา้ งแรม ให้สมา (ขอ
ขมา) ก้อนเสา้ เรอื นไฟ แม่บนั ได และประตูเรือน
คองท่ี 6 ให้ล้างเทา้ กอ่ นเข้านอนตอนกลางคืนทกุ คร้ัง
คองที่ 7เมื่อถึงวันพระวันศีลให้ภรรยาจัดดอกไม้ขอขมาสามี และให้ นำดอกไม้ธูปเทียน
ไปถวายพระสงฆ์
คองที่ 8 เมือ่ ถงึ วันศีลดบั (วนั แรม 14 ค่ำเดอื นคี่ หรือ 15 คำ่ เดือน ค)ู่ ศลี เพง็ (วนั ข้ึน 15
ค่ำของทกุ เดอื น) ให้นมิ นต์พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนตท์ ่ี บ้านเรอื นของตน แลว้ ทำบญุ เลย้ี งพระ
คองที่ 9 เมอ่ื ภิกษุมาบณิ ฑบาตอย่าปลอ่ ยให้ทา่ นยนื คอย เวลาใส่บาตร (ตักบาตร) อย่าให้
มือถูกบาตรและถูกตัวภิกษุสามเณร ขณะใส่บาตรนั้นอย่าสวมรองเท้า กางร่ม เอาผ้าคลุมศีรษะ อุ้มหลานหรือ
ถอื อาวุธต่าง ๆ
คองที่ 10 เมื่อภิกษุเข้ามาอยู่ปริวาสกรรม ให้จัดดอกไม้ ธูป เทียน และเครื่องอัฐบริขาร
ไปถวายท่าน
คองที่ 11 เม่อื เหน็ ภกิ ษสุ งฆเ์ ดินผ่านมา ให้น่ังลงยกมอื ไหวก้ ่อนแล้ว จึงเจรจา
คองที่ 12 อย่าเหยยี บเงาภกิ ษผุ มู้ ีศีลบริสุทธ์ิ
คองท่ี 13 อยา่ นำอาหารท่ีตนหรือผ้อู น่ื กินแลว้ ไปถวายพระสงฆ์หรือเอาไวใ้ ห้สามกี นิ

55

คองที่ 14 อย่าเสพกามคุณในวันศีลหรือวันพระ วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา วัน
มหาสงกรานต์ และวนั เกดิ ตน

ฮตี สบิ สองคองสบิ สนี่ ับว่าเปน� จารีตประเพณีที่ชาวอีสานให้ความสำคัญในการปฏิบัติตาม
ทั้งการทำบุญตามประเพณี และการยึดวิถีปฏิบัติเพื่อให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมอันดีงามของสังคมที่ได้สั่งสม
และสัง่ สอนสืบต่อกนั มาเป�นเวลาชา้ นาน

3. เรือนสามนำ้ ส่ี เป�นแนวทางการอบรมสงั่ สอนกลุ สตรีไทย ชาวอสี านได้สืบทอดคำสอน
นไ้ี ว้สอนลกู สาว โดยถือวา่ หญิงดีต้องมเี รือนสามนำ้ ส่ี จึงจะเป�นแมศ่ รเี รอื นเป�นภรรยาและแม่ท่ดี ี

เรอื นสาม ไดแ้ ก่ เรอื นผม เรอื นกาย เรือนนอน ดังน้ี
- เรือนผม หมายถงึ ผมสะอาดงดงาม
- เรอื นกาย หมายถึง รา่ งกายสะอาดการแต่งกายดี
- เรอื นนอน หมายถึง ทอี่ ยอู่ าศัย เปน� ผดู้ แู ลรกั ษาบ้านเรือนสะอาด สวยงาม
น้ำสี่ ไดแ้ ก่ น้ำมอื นำ้ ใช้ นำ้ ใจ น้ำคำ ดงั นี้
- นำ้ มอื หมายถงึ มีฝม� อื ในการทำอาหาร และการเย็บป�กถกั รอ้ ย
- น้ำใช้ หมายถึง น้ำดื่มน้ำใช้ ดูแลให้มีพร้อมอยู่เสมอ โอ่งต้องไม่แห้ง โบราณหมายถึง
“น้ำเต้าปูน” ด้วย น้ำเต้าปูนคือน้ำหล่อเต้าปูนที่ ใช้กินกับหมาก ประเพณีเดิมของไทย เวลาแขกไปใครมา
จะต้องต้อนรับด้วยการเชิญ กินหมาก น้ำในข้อนี้จึงมีความหมายครอบคลุมถึงการมีกิริยามารยาทในการ
ตอ้ นรับแขกได้เปน� อย่างดเี ป�นแมบ่ า้ นท่ีมีความรอบคอบดูแลทกุ สง่ิ ทุกอยา่ งไดด้ ี
- น้ำใจ หมายถงึ เป�นผู้มีจิตใจอนั ประเสริฐ
- น้ำคำ หมายถึง เป�นผู้มีวาจาอันไพเราะ ทั้งเรือนสามและน้ำสี่ เป�นคำสอนที่ปลูกฝ�งลกู
สาวชาวอีสานให้มคี ุณสมบัติของแม่ศรีเรอื น รักษาความงามทั้งภายนอกและภายใน จึงกล่าวได้ว่า “เรือนสาม
น้ำส”่ี เป�นคำสอนกุลสตรีอีสานจากรุ่นป่ยู ่าตายายสบื ทอดมาจนถงึ ป�จจบุ ัน (อรัญญา แสนสระ, 2560)

56

ภาพประกอบ 16 ภาพแสดงประเพณีฮตี สิบสองคองสบิ ส่ี ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื
ที่มา : ศลิ ปวฒั นธรรมอีสาน, (2013). ฮีตสิบสองคองสบิ ส่.ี

สืบค้นจาก https://www.m-culture.go.th/mahasarakham/ewt_news.php?nid=2266&filename=index

57

-คติความเชือ่
คติความเชื่อของชาวอีสานได้รับการสืบทอดมาจากบรรพบุรุษ เป�นการผสาน ความเช่ือ
ทางพระพุทธศาสนาเข้ากับความเชื่อเรื่องผีและพิธีกรรมของพราหมณ์ สังเกตได้จากการทำพิธีบายศรีสู่ขวัญ
เพื่อความเป�นสิริมงคลแก่ชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งผีบรรพบุรุษ ซึ่งเชื่อว่าจะช่วยปกป�กรักษา ปกป้องคุ้มครอง
ลูกหลานให้อยู่อย่าง ร่มเย็นเป�นสุขตลอดไป นอกจากผีบรรพบุรุษแล้ว ยังมีความเชื่อเรื่องชนิดต่าง ๆ อีก
มากมาย เช่น ความเชื่อที่มักจะปรากฏในพิธีกรรมของชาวอีสานอีกอย่างหนึ่งคือ ความเชื่อเรื่องการขอฝน
เนื่องจากสภาพภูมิอากาศอีสานมีความแห้งแล้ง การทำพิธีขอฝนจากพญาแถน (เทวดา) จึงเกิดขึ้นในรูปแบบ
ของ“บุญบั้งไฟ” และ “การแห่นางแมว” เชื่อว่าการทำเช่นนี้จะทำให้พญาแถนปล่อยให้ฝนตกลงมายังโลก
มนุษย์เมื่อฝนตกตามฤดูกาลแล้วชาวบ้านจะได้เตรียมหว่านไถทำนาได้ นอกจากนี้คนอีสานยังมีความเชื่อเร่ือง
“ขวัญ” ซง่ึ หมายถงึ “วญิ ญาณ” รวมกบั คำวา่ “มิ่ง” ซงึ่ หมายถงึ “ชวี ิต” มง่ิ ขวญั จงึ หมายถึงชีวิตและวิญญาณ
เมือ่ ใดที่ขวญั หาย แสดงวา่ วิญญาณออกจากร่างจะทำให้เจ้าของร่างไมส่ บายหรือเกิดอันตรายถึงแก่ชวี ติ วิธีการ
แก้ไขคือการทำพิธี “ช้อนขวัญ”โดยนำเอาสวิงและข้องเป�นเคร่ืองมือประกอบพิธีกรรม หมอขวัญจะนำสวิงไป
ชอ้ นขวัญบรเิ วณท่ีมคี นประสบอุบัติเหตุแล้วเทขวัญใส่ข้องเอาผ้าขาวคลุมไว้ไมใ่ ห้ขวัญหายไปอีก ความเช่ือและ
พธิ กี รรมเช่นน้จี ะทำใหผ้ ทู้ ่เี สยี ขวัญมกี ำลงั ใจและหายปว่ ยในเรว็ วนั

2. ภมู ปิ �ญญาในการสรา้ งสรรคง์ าน

“มรดก ภูมิป�ญญาทางวัฒนธรรม” หมายถึง ความรู้ การแสดงออก การประพฤติปฏิบัติหรือ
ทักษะทางวัฒนธรรมที่แสดงออกผา่ นบุคคล เครื่องมือ หรือวัตถุ ซึ่งบุคคล กลุ่มบุคคล หรือชุมชน ยอมรับและ
รู้สึกเป�นเจ้าของร่วมกัน และมีการสืบทอดกันมาจากคนรุ่นหนึ่งไปยังคนอีกรุ่นหนึ่ง โดยอาจมีการปรับเปลี่ยน
เพื่อตอบสนองต่อสภาพแวดล้อมของตน ทั้งนี้จะสังเกตได้ว่ามรดกภูมิป�ญญาทางวัฒนธรรม มุ่งเน้นการ
ถ่ายทอดจากคนรุ่นหนึ่งไปยังคนอีกรุ่นหนึ่ง โดยเป�นสิ่งซึ่งชุมชนและกลุ่มชนสร้างขึ้นมาอย่างสม่ำเสมอเพื่อ
ตอบสนองต่อสภาพแวดล้อมของตน และเป�นปฏิสัมพันธ์ของพวกเขาที่มีต่อธรรมชาติและประวัติศาสตร์ของ
ตน และทำให้คนเหล่านั้นเกิดความภาคภูมิใจในตัวตนและความรู้สึกสืบเนื่อง ก่อให้เกิดความเคารพต่อความ
หลากหลายทางวัฒนธรรมและการคิด สร้างสรรค์ของมนุษย์ (กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม,
2561)

ภูมิป�ญญาท้องถิ่นอีสานเป�นผลของพัฒนาการการปรับตัวและปรับวิถีชีวิตของคนไท ลาวและ
กลุ่มชาติพันธุ์อื่นๆที่อยู่ร่วมกันในธรรมชาติแวดล้อมรายรอบอาณาบริเวณที่ราบสูงกว้างใหญ่ เนื่องจาก
วัฒนธรรมอีสานกับวัฒนธรรมลาวทางฝ�งตะวันออกของแม่น้ำโขงมีความสัมพันธ์เชิงชาติพันธุ์และเชิงอำนาจ
ใกลช้ ดิ กนั มาก อกี ท้งั มกี ารอพยพเคล่ือนยา้ ยประชากรต่อเนื่องไม่ขาดสาย โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ จากฝ�งตะวันออก
มาสู่ฝ�งตะวันตกในสมัยรัตนโกสินทร์ วิถีชีวิตของสองฝ�งจึงคล้ายคลึงกันมาก โดยเฉพาะบริเวณแอ่งสกลนคร
และอีสานตอนบนนั้นมีรากฐานร่วมกันมากับอาณาจักรล้านช้างเช่นเดียวกับล้านนา ในขณะเดียวกันบริเวณ
อีสานใต้ก็ได้รับอิทธิพลอารยธรรมขอม ส่วนแอ่งโคราชก็ได้รับอิทธิพลอารยธรรมกรุงศรีอยุธยาและกรุง
รัตนโกสินทร์ตลอดมา ดังนั้นสังคม วัฒนธรรมและภูมิป�ญญาอีสานจึงมีความเหมือนและความแตกต่างท่ี
หลากหลายมากตามเหตุป�จจัยทางภูมิประเทศและเงื่อนไขทางประวัติศาสตร์ดังกล่าว อย่างไรก็ตาม

58

ลักษณะร่วมของภูมอิ ากาศ ระบบนิเวศ อิทธิพล ของพุทธศาสนา วัฒนธรรมข้าวและสายสัมพันธ์ทางชาติพนั ธุ์
ล้วนเป�นองค์ประกอบสำคัญที่มีอิทธิพลในการหล่อหลอมวิถีชีวิตของชาวอีสาน โดยรวม และเกื้อกูลให้เกิด
พัฒนาการทางภูมิป�ญญาที่มีลักษณะเด่นเป�นแบบอย่างเฉพาะของอีสาน ซึ่งอาจนำมาสืบสานหรือประยุกต์ให้
เกดิ ประโยชนใ์ นบรบิ ทใหม่แห่งป�จจุบนั และอนาคตได้ (เอกวิทย์ ณ ถลาง, 2544)

กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม, (2561) อ้างถึง ตัวอย่างงานหัตถกรรมภูมิป�ญญา
ท้องถิ่นที่สามารถสะท้อนถึงเอกลักษณ์ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และได้รับการขึ้นทะเบียนเป�นมรดกภูมิ
ป�ญญาทางวฒั นธรรมของชาติ ประจำปพ� ทุ ธศกั ราช 2561 ไดแ้ ก่

1. ผ้าและผลิตภัณฑ์จากผ้า ได้แก่ ผ้าขาวม้า, ผ้าทอไทพวน, ผ้าทอไทยวน, ผ้าทอผู้ไทย,
ผา้ ทอเมอื งอบุ ลฯ, ผ้าแพรวา, ผา้ มดั หม่ี และผา้ ย้อมคราม

2. เคร่ืองจกั สาน ได้แก่ เคร่อื งจักสานไมไ้ ผ่
3. เครื่องโลหะ ได้แก่ เครื่องเงินไทย, เครื่องทองเหลืองบ้านปะอาว, ฆ้องบ้านทรายมูล
และประเกอื มสรุ นิ ทร์
4. เครื่องไม้ ได้แก่ เกวียนสลักลาย, เรอื นไทยพ้นื บ้านดง้ั เดมิ และเรือนโคราช
5. งานศิลปกรรมพ้ืนบ้าน ไดแ้ ก่ งานชา่ งตอกกระดาษ, บายศรี และปราสาทผึง้
6. ผลิตภัณฑ์อยา่ งอนื่ ไดแ้ ก่ เครอ่ื งบชู าอยา่ งไทย
2.1 การสรา้ งสรรคผ์ ลงานจากภมู ิป�ญญา
ในด้านวัสดุและเครื่องมือในการสร้างสรรค์งานศิลปหัตถกรรมพื้นบ้านของภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ สุชาติ สุขนา (2563) สรุปว่า งานศิลปหัตถกรรมพื้นบ้านของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
น้นั มีหลากหลายทัง้ รปู แบบและกรรมวิธีการผลิต ส่วนมากเปน� เครื่องมือเครื่องใช้ทจี่ ำเป�นต่อการดำรงชีพ เพื่อ
ตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐาน และเพื่อตอบสนองความต้องการด้านจิตใจ ความเชื่อ และประเพณี ซึ่ง
หัตถกรรมและศิลปหัตถกรรม ศิลปหัตถกรรมท้องถิ่นอีสานสามารถจำแนกออกเป�นหมวดหมู่ โดยคำนึงถึง
ลักษณะและวัสดเุ ป�น เกณฑ์ได้ 9 ประเภท คือ
1. ผา้ และผลิตภณั ฑ์จากผ้า หมายความวา่ งานทส่ี ร้างสรรคข์ ึน้ จากเส้นใย ด้วยกรรมวิธี

ในการผลิต เช่น ทอ ถัก ป�ก ตีเกลียว มัดหมี่ ขิด ยก จก เกาะล้วง พิมพ์ลาย ย้อม
หรอื กรรมวธิ ีอ่ืน ทีเ่ กย่ี วขอ้ งกับการผลติ ผา้ และผลิตภณั ฑ์จากผา้
2. เครื่องจักสาน หมายความว่า งานที่สร้างสรรค์จากวัตถุดิบ ด้วยกรรมวิธีในการผลิต
เช่น จักตอก สาน ถัก ผูกรัด มัด ร้อย หรือกรรมวิธีอ่ืนท่ีเกี่ยวข้องกับการผลติ เครื่อง
จักสาน
3. เครือ่ งรัก หมายความว่า งานทใ่ี ชย้ างรกั เปน� วัสดุสำคัญ ด้วยกรรมวิธีในการผลิต เช่น
ถม ทับ ป�ดทองรดน้ำ กำมะลอ ประดับมุก ประดับกระจกสี ประดับกระดูก ป�น
กระแหนะ หรือกรรมวิธีอ่ืนท่เี กย่ี วข้องกับการผลติ เครือ่ งรัก
4. เครื่องป�นดินเผา หมายความว่า งานที่สร้างจากดินเป�นวัสดุหลัก ด้วยวิธีการป�น ผึ่ง
แหง้ เผาเคลอื บ หรือวิธีการอืน่ ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับการผลิตเครอ่ื งป�นดินเผา

59

5. เคร่อื งโลหะ หมายความวา่ งานทีส่ รา้ งสรรคจ์ ากโลหะเป�นวัสดุหลัก ดว้ ยกรรมวิธี ใน
การผลิต เช่น หลอม เผา ตี หล่อ ตัด ตดิ ขดั เจยี ร เชอื่ ม หรอื กรรมวิธีอืน่ ทีเ่ กยี่ วข้อง
กบั การผลติ เครอ่ื งโลหะ

6. เครื่องไม้ หมายความว่า งานที่สร้างสรรค์จากไม้เป�นวัสดุหลัก ด้วยกรรมวิธี ในการ
ผลิต เช่น แปรรูป ตัด เลื่อย แกะ สลัก สับ ขุด เจาะ ถาก กลึง ขูด ขัด ตกแต่งผิว
หรอื กรรมวธิ อี ่นื ทีเ่ ก่ียวข้องกบั การผลติ เครอ่ื งไม้

7. เครื่องหนัง หมายความว่า งานที่สร้างสรรค์จากหนังสตั ว์เปน� วัสดุหลัก ด้วยกรรมวธิ ี
ในการผลิต เช่น หมัก ฟอก ตากแห้ง ตัด เจาะ ฉลุ ลงสี หรือกรรมวิธอี ื่นที่เกี่ยวข้อง
กบั การผลติ เคร่อื งหนงั

8. เคร่อื งประดับ หมายความว่า งานที่ประดิษฐ์จากวัสดุ เช่น หิน เปลือกหอย โลหะ มี
คา่ และอัญมณี ด้วยกรรมวิธใี นการผลติ เช่น หลอม หล่อ ดึง ตี ทุบ บุ ดุน เล่ียม แกะ
สลกั ร้อย เชอ่ื ม ติด หรอื กรรมวธิ อี ่ืนทเี่ กี่ยวขอ้ งกับการผลิตเครอ่ื งประดับ

9. งานช่างฝ�มอื ด้ังเดิมที่ไม่สามารถจดั อยู่ใน 8 ประเภทที่กลา่ วมาข้างตน้ เช่น ปราสาท
ศพ งานชา่ งแทงหยวก หรอื งานอ่นื ทเ่ี กีย่ วข้องกับงานชา่ งฝม� อื ด้ังเดมิ

ในด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ด้วยแรงบันดาลใจจากภูมิป�ญญาไทยนั้น สามารถศึกษา
เช่นเดียวกับเนื้อหาที่ได้เรียนในบทที่ 2 ภาคเหนือ ซึ่งประกอบด้วย ทางรูปธรรม (Tangible) ได้แก่ เส้นสาย
ลวดลาย รูปลักษณ์ รูปทรง สีสัน ตลอดจนพื้นผิวและวัสดุ และนามธรรม (Intangible) ซึ่งได้แก่ ความซาบซ้ึง
ในเรื่องราว คุณค่าและความหมาย จิตวิญญาณที่แฝงอยู่ในภูมิป�ญญา ปรัชญาแนวคิด การแก้ป�ญญาเชิง
ความคิดและเชิงช่าง โดยตัวอย่างของขั้นตอนของการสร้างสรรค์ผลงานจากภูมิป�ญญางานศิลปหัตถกรรม
พน้ื บ้านของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ มีดังนี้

3. แนวทางการศึกษาผลงานศิลปหัตถกรรมไทยภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื

สุชาติ สุขนา (2563) กล่าวว่า ศิลปะพื้นบ้านของภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรืออีสานมีลักษณะ
ดังนี้ มีความงามในความพอเหมาะพอดี มีความเรียบง่ายไม่รกรุงรัง ดูดิบ ๆ หยาบ ๆ มีความคิดสร้างสรรค์ที่
เป�นอิสระ ไม่ยึดติดกรอบกฎเกณฑ์ มีความสนุกสนานและมีสุนทรียภาพในการสร้างสรรค์แบบไร้เดียงสา ยัง
แสดงให้เหน็ ถึงความสมถะพอเพยี ง อ่อนน้อมถ่อมตน นอกจากนร้ี ูปทรงทใ่ี ช้จะดูมีพลังในลักษณะไม่อ่อนหวาน
นุ่มนวล เป�นรูปแบบพื้นบ้านที่บริสุทธิ์ รูปแบบผลงานของกลุ่มชนในท้องถิ่นในแต่ละท้องถิ่นจะแสดงถึงความ
เป�นเอกลักษณ์เฉพาะตนให้ปรากฏคุณค่าเด่นชัดเกี่ยวกับวิวัฒนาการทางวัฒนธรรม ขนบประเพณีของสังคม
รูปแบบดงั กลา่ วไม่ว่าจะเปน� รปู ธรรมและนามธรรม จะเกดิ ขนึ้ จากอิทธิพลของสิง่ แวดล้อมและสภาวะทางสังคม
ซึ่งมีความสัมพันธ์กับความงามและความเป�นอยู่ของคนในสังคมในด้านต่างๆ ตั้งแต่สมัยบรรพบุรุษสืบทอดมา
จนถึงป�จจุบันและรูปแบบนั้นก็ยังถูกดำเนินการตอ่ ไปในอนาคตอย่างไม่หยุดยั้ง ส่วนมากศิลปะอีสานจะจัดอยู่
ในรูปศิลปประยุกต์ (Applied Art) เพราะมีความสัมพันธ์กับงานช่างหรือการฝ�มือ (Craft) รวมทั้งความเชื่อท่ี
สัมพนั ธ์กบั ความเปน� อยู่ของกลมุ่ ชนในท้องถน่ิ อีสาน ซึ่งมศี ลิ ปะท่ีปรากฏให้เห็นอยู่หลายประการ

60

3.1 แนวทางการศึกษาผลงานศิลปหตั ถกรรมไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
แนวคิดในการศึกษาพัฒนาผลงานศิลปหัตถกรรมไทยไม่ว่าภาคอะไร ควรเริ่มจากการ

สรา้ งความเขา้ ใจในคณุ ค่าของงานหตั ถกรรมน้นั ๆท้ังทางรปู ธรรม (Tangible) และนามธรรม (Intangible) รวม
ไปถึงความรใู้ นเร่อื งวัสดุ กระบวนวิธกี ารผลิต ทักษะท่ีตอ้ งใช้ ร่วมกบั ความเข้าใจในเรื่องราว ทศั นคติ ความเช่ือ
และบรบิ ทของกลุ่มชา่ งงานหัตถกรรม การศึกษาถงึ คุณคา่ ท่ีเป�นที่ตอ้ งการในงานหตั ถกรรม 3 ประการ คือ

1. คุณค่าทางความงามที่ได้รับด้านจิตใจ ประสบการณ์ด้านความรู้สึกที่ผู้ใช้จะได้รับจาก
การสัมผสั กับความเปน� ธรรมชาติ

2. คุณค่าจากงานที่ทำด้วยมือใช้ความชำนาญเป�นพิเศษเทคนิคที่ใช้ในการทำงาน
หัตถกรรมรว่ มกบั ประโยชน์ใช้สอยท่ีเหมาะสมกับปจ� จุบนั ในรปู แบบทห่ี ลากหลาย

3. การคิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆ เช่น การนำเสนอด้านลวดลาย เทคนิคการผลิตงานที่
หลากหลายนา่ สนใจ การผสมผสานกบั วัสดอุ ืน่ ๆ การผสมผสานการผลิตดัง้ เดมิ กับเทคโนโลยกี ารผลิตสมยั ใหม่

เพราะฉะนั้นในการศึกษาผลงานศิลปหัตถกรรมไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนือนั้นไม่ได้
แตกต่างจากภาคอ่ืน นิสิตควรรู้จักวัสดุพื้นบ้านของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและกระบวนการผลิตงาน
หัตถกรรมที่สำคัญ และควรให้ความสำคัญกับภูมิป�ญญาของช่างในการผลิต การสร้างความเข้าใจในเรื่องราว
ทศั นคติ ความเชอื่ และบรบิ ทของงานศิลปหัตถกรรมไทยภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ด้วย

3.2 ตวั อย่างการศึกษาผลงานศลิ ปหตั ถกรรมไทยภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
เมื่อนิสิตได้เรียนรูแ้ นวทางการศึกษาผลงานศิลปหัตถกรรมไทยภาคตะวันออกเฉียง เหนือ

แล้ว จำเป�นที่จะต้องศึกษาวิเคราะห์ผลงานศิลปหัตถกรรมไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อทำให้เกิดการ
ตระหนกั รู้และสร้างความเขา้ ใจมากยิ่งขึ้น ซึง่ ตวั อย่างงานหัตถกรรมภมู ิป�ญญาท้องถิ่นที่ควรค่าแก่การศึกษา จาก
ข้อมูลของกรมสง่ เสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม (2561) ไดแ้ ก่

3.2.1 ผา้ แพรวา, ผา้ มดั หมี่ และผ้ายอ้ มคราม

61

ภาพประกอบ 17 ภาพแสดงผา้ แพรวา ผ้ามดั หม่ี และผา้ ย้อมคราม ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ
ทีม่ า : www.เทยี่ วอสี าน.com (2563). ผา้ ทออสี าน.
สืบคน้ จาก http://i-san.tourismthailand.org/6893/

-การศึกษาทางด้านรูปธรรม (Tangible) ได้แก่ เส้นสาย ลวดลาย รูปลักษณ์ รูปทรง สีสัน ตลอดจน
พ้นื ผิวและวสั ดุ

(ให้นิสติ เขียนอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศกึ ษาทางด้านนามธรรม (Intangible) ไดแ้ ก่ ความซาบซ้งึ ในเรื่องราว คณุ ค่าและความหมาย จิต
วิญญาณท่แี ฝงอยู่ในภมู ิป�ญญา ปรชั ญาแนวคิด

(ใหน้ ิสิตเขยี นอธบิ าย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านวัสดุ กระบวนวิธีการผลิต ได้แก่ ประเภทของวัตถุดิบในการผลิต ลักษณะการใช้
สอย และประเภทของกรรมวิธีในการผลิต

(ให้นสิ ิตเขยี นอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-คณุ ค่าที่เป�นที่ตอ้ งการในงานหตั ถกรรม ได้แก่ คุณค่าทางความงามท่ีไดร้ บั ด้านจติ ใจ คณุ คา่ จากงานที่
ทำด้วยมือใชค้ วามชำนาญเป�นพเิ ศษ และคุณคา่ จากการคิดคน้ นวัตกรรมใหม่ ๆ

(ใหน้ ิสติ เขียนอธบิ าย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

62

3.2.2 เครอ่ื งจักสาน ได้แก่ เครอ่ื งจักสานไมไ้ ผ่

ภาพประกอบ 18 ภาพแสดงเครื่องจักสานไมไ้ ผ่ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ
ทมี่ า : ประตสู อู่ ีสาน. (2564). เครอ่ื งจักสาน ท่เี ป�นเครื่องใชใ้ นชวี ิตประจำวนั .
สืบค้นจาก https://www.isangate.com/new/32-art-culture/knowledge/559-jak-san-isan.html

-การศึกษาทางด้านรูปธรรม (Tangible) ได้แก่ เส้นสาย ลวดลาย รูปลักษณ์ รูปทรง สีสัน ตลอดจน
พน้ื ผวิ และวสั ดุ

(ใหน้ ิสิตเขียนอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านนามธรรม (Intangible) ได้แก่ ความซาบซึง้ ในเร่ืองราว คุณค่าและความหมาย จิต
วญิ ญาณทีแ่ ฝงอยใู่ นภูมิปญ� ญา ปรัชญาแนวคดิ

(ใหน้ สิ ิตเขียนอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านวัสดุ กระบวนวิธีการผลิต ได้แก่ ประเภทของวัตถุดิบในการผลิต ลักษณะการใช้
สอย และประเภทของกรรมวธิ ีในการผลิต

(ให้นิสติ เขยี นอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-คณุ คา่ ท่ีเปน� ท่ีต้องการในงานหตั ถกรรม ได้แก่ คณุ คา่ ทางความงามที่ได้รับด้านจติ ใจ คุณคา่ จากงานท่ี
ทำดว้ ยมือใช้ความชำนาญเป�นพิเศษ และคุณคา่ จากการคดิ คน้ นวตั กรรมใหม่ ๆ

(ให้นสิ ิตเขยี นอธบิ าย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

63

3.2.3 เครื่องโลหะ ได้แก่ เครื่องเงินไทย, เครื่องทองเหลืองบ้านปะอาว, ฆ้องบ้านทราย
มลู และประเกือมสุรนิ ทร์

ภาพประกอบ 19 ภาพแสดงเคร่อื งทองเหลืองบา้ นปะอาว, ฆอ้ งบ้านทรายมลู และประเกือมสรุ ินทร์
ทม่ี า : ประตสู ู่อีสาน. (2564). เครอ่ื งเงนิ .

สืบค้นจาก https://woodychannel.com/ban-pa-ao.html

-การศกึ ษาทางดา้ นรปู ธรรม (Tangible) ได้แก่ เส้นสาย ลวดลาย รปู ลักษณ์ รปู ทรง สสี ัน ตลอดจนพน้ื ผวิ
และวัสดุ

(ใหน้ ิสิตเขยี นอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศกึ ษาทางด้านนามธรรม (Intangible) ได้แก่ ความซาบซ้งึ ในเรื่องราว คุณค่าและความหมาย จิต
วญิ ญาณทแี่ ฝงอยใู่ นภมู ปิ �ญญา ปรัชญาแนวคดิ

(ให้นสิ ิตเขยี นอธบิ าย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านวัสดุ กระบวนวิธีการผลิต ได้แก่ ประเภทของวัตถุดิบในการผลิต ลักษณะการใช้
สอย และประเภทของกรรมวธิ ใี นการผลิต

(ให้นสิ ิตเขียนอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-คุณค่าทเ่ี ปน� ท่ีตอ้ งการในงานหัตถกรรม ได้แก่ คณุ คา่ ทางความงามที่ไดร้ ับด้านจิตใจ คณุ ค่าจากงานท่ี
ทำด้วยมือใชค้ วามชำนาญเป�นพเิ ศษ และคณุ ค่าจากการคิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆ

64

(ให้นสิ ิตเขียนอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

3.2.4 เครอ่ื งไม้ ไดแ้ ก่ เกวียนสลกั ลาย, เรือนไทยพืน้ บ้านดั้งเดมิ และเรอื นโคราช

ภาพประกอบ 20 ภาพแสดงเกวียนสลกั ลาย, เรอื นไทยพ้นื บา้ นดัง้ เดมิ และเรอื นโคราช
ทมี่ า : พพิ ิธภณั ฑใ์ นประเทศไทย ศนู ยม์ านษุ ยวทิ ยาสริ ินธร (องคก์ ารมหาชน). (2555). เฮือนอสี าน (บ้านคนอสี าน).

สืบค้นจาก https://db.sac.or.th/museum/museum-detail/589

-การศึกษาทางด้านรปู ธรรม (Tangible) ไดแ้ ก่ เส้นสาย ลวดลาย รูปลกั ษณ์ รูปทรง สสี ัน ตลอดจนพ้นื ผวิ
และวัสดุ

(ใหน้ ิสติ เขียนอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านนามธรรม (Intangible) ไดแ้ ก่ ความซาบซ้งึ ในเรื่องราว คุณคา่ และความหมาย จิต
วญิ ญาณที่แฝงอยใู่ นภูมปิ �ญญา ปรัชญาแนวคดิ

(ใหน้ สิ ิตเขียนอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

65

-การศึกษาทางด้านวัสดุ กระบวนวิธีการผลิต ได้แก่ ประเภทของวัตถุดิบในการผลิต ลักษณะการใช้
สอย และประเภทของกรรมวิธใี นการผลติ

(ใหน้ สิ ติ เขยี นอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-คณุ คา่ ที่เป�นทีต่ ้องการในงานหัตถกรรม ไดแ้ ก่ คุณคา่ ทางความงามท่ีไดร้ บั ด้านจิตใจ คุณคา่ จากงานท่ี
ทำดว้ ยมือใชค้ วามชำนาญเป�นพิเศษ และคุณค่าจากการคิดคน้ นวัตกรรมใหม่ ๆ

(ใหน้ สิ ติ เขยี นอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

3.2.5.งานศลิ ปกรรมพื้นบา้ น ได้แก่ งานชา่ งตอกกระดาษ, บายศรี และปราสาทผ้งึ

ภาพประกอบ 21 ภาพแสดงบายศรี และปราสาทผ้ึง
ที่มา : เทศกาลตา่ ง ๆ ในประเทศไทย. (2564). พานบายศร.ี
สืบค้นจาก https://sites.google.com/site/thukkhphukhuphphkhiphuu/prapheni-hae-prasath-phung-laea-ngan-

khaengkhan-reux-yaw-canghwad-sklnkhr

-การศึกษาทางด้านรูปธรรม (Tangible) ได้แก่ เส้นสาย ลวดลาย รูปลักษณ์ รูปทรง สีสัน ตลอดจน
พน้ื ผิวและวัสดุ

(ใหน้ ิสิตเขียนอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

66

.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านนามธรรม (Intangible) ได้แก่ ความซาบซ้ึงในเร่ืองราว คุณคา่ และความหมาย จิต
วิญญาณท่ีแฝงอยใู่ นภูมปิ �ญญา ปรัชญาแนวคิด

(ให้นสิ ติ เขียนอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านวัสดุ กระบวนวิธีการผลิต ได้แก่ ประเภทของวัตถุดิบในการผลิต ลักษณะการใช้
สอย และประเภทของกรรมวธิ ีในการผลติ

(ใหน้ สิ ติ เขียนอธบิ าย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-คณุ คา่ ท่ีเปน� ที่ต้องการในงานหัตถกรรม ได้แก่ คณุ ค่าทางความงามท่ีไดร้ ับด้านจติ ใจ คุณค่าจากงานท่ี
ทำดว้ ยมือใช้ความชำนาญเป�นพิเศษ และคุณค่าจากการคดิ คน้ นวัตกรรมใหม่ ๆ

(ให้นสิ ิตเขียนอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

4. สรุป

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นของภาคตะวันออกเฉียงเหนือจากอดีตตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ มา
จนถึงในป�จจุบนั ประกอบด้วยหลากหลายวัฒนธรรม ชาติพันธุ์หรือชนเผ่าพ้ืนเมอื งในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ
มีความหลากหลายทางศิลปวัฒนธรรมและประเพณีที่แตกต่างกันไปในแต่ละท้องถิ่น แต่ละชาติพันธุ์อาศัยอยู่
ในแต่ละพ้นื ทีภ่ ายในภมู ภิ าคสง่ ผลใหม้ ีการสร้างขา้ วของเครื่องใชอ้ ุปกรณท์ สี่ ะท้อนถงึ ความแตกตา่ งหลายหลาย
ทางวฒั นธรรมเชน่ กัน

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือภาคอีสาน เป�นภาคท่ีมีพื้นท่ีขนาดใหญท่ ่ีสุดประมาณ 1 ใน 3 ของ
ประเทศ และมีประชากรมากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับภาคอื่น ๆ นอกจากนี้ยังเป�นภาคที่มีพื้นที่เกษตรกรรม
มากที่สุดและเป�นพื้นที่ที่มีความสำคัญทางด้านประวัติศาสตร์ การต้ังถิ่นฐานที่มีประเพณีและวัฒนธรรมเป�น
เอกลักษณ์เฉพาะถิ่นสืบมาช้านาน ลักษณะภูมิประเทศที่โดดเด่นของภาคตะวันออกเฉียงเหนือประกอบด้วยท่ี
ราบสูงใหญ่ ๆ 3 ที่ ได้แก่ ที่ราบสูงนครราชสีมา ที่ราบสูงอุดรและที่ราบสูงเลย ลักษณะภูมิอากาศทั่วไปของ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมลี ักษณะภมู ิอากาศเย็นและมีอากาศที่หนาวในบางพืน้ ท่ใี นตอนบน พ้ืนที่ตอนกลางมี
อากาศหนาวจัดไปจนถึงแห้งแลง้ ตอนลา่ งมีฝนตกชุกในฤดูมรสุม ลักษณะปรากฏการณท์ างภูมิอากาศที่สำคัญ
คืออากาศท่ีแห้งแล้งเปน� เรื่องปกติของภมู ิภาค

ทรัพยากรธรรมชาติของภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีมากกว่าภูมิภาคอื่น ๆ ได้แก่ ทรัพยากรดิน
ทรัพยากรน้ำ ทรัพยากรแร่ธาตุ ทรัพยากรป่าไม้ อุทยานแห่งชาติต่าง ๆ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าต่าง ๆ และ
ทรัพยากรสัตว์การทำประมง

67

สภาพทางสังคมและวัฒนธรรมประจำท้องถิ่น การทำงานอาชีพเพื่อหารายได้ในชุมชน
มี 3 ลักษณะ คือ การทำนาและปลูกพืชเชิงพาณชิ ย์อ่ืน ๆ การเป�นแรงงานนอกระบบและการขายสินคา้ ทีผ่ ลติ
จากอัตลักษณ์ของชุมชน ประเพณีและวัฒนธรรมท้องถิ่นที่สำคัญที่มีอิทธิพลต่อการใช้ชีวิต
และความเชื่อท่พี บในภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ได้แก่ ประเพณฮี ีตสบิ สองคองสบิ สี่และเรือนสามน้ำสี่

คติความเชื่อของชาวอีสานได้รับการสืบทอดมาจากบรรพบุรุษ เป�นการผสานความเชื่อทาง
พระพทุ ธศาสนาเขา้ กับความเชื่อเรื่องผีและพิธีกรรมของพราหมณ์ เช่น พธิ บี ายศรสี ขู่ วญั เพอ่ื ความเป�นสิริมงคล
แก่ชวี ิต การไหวผ้ บี รรพบรุ ุษ และพธิ ที ่เี ก่ยี วข้องกับการทำงานประกอบอาชพี เช่น พธิ ีแหน่ างแมวขอฝน

ภูมิป�ญญาท้องถิ่นอีสานเป�นผลของพัฒนาการการปรับตัวและปรับวิถีชีวิตของคนไท ลาวและ
กลุ่มชาติพันธุอ์ ื่น ๆ ที่อยู่ร่วมกัน เนื่องจากวัฒนธรรมอีสานกับวัฒนธรรมลาวทางฝ�งตะวันออกของแม่น้ำโขงมี
ความสัมพนั ธเ์ ชิงชาติพันธ์ุและเชิงอำนาจใกล้ชดิ กนั มาก อีกท้ังมีการอพยพเคลื่อนย้ายประชากรต่อเนื่องไม่ขาด
สาย วัฒนธรรมและภูมิป�ญญาอีสานจึงมีความเหมือนและความแตกต่างที่หลากหลายมากตามเหตุป�จจัยทาง
ภูมิประเทศและเงื่อนไขทางประวัติศาสตร์ดังกล่าว อย่างไรก็ตามลักษณะร่วมของภูมิอากาศ ระบบนิเวศ
อิทธพิ ล ของพทุ ธศาสนา วฒั นธรรมข้าวและสายสัมพันธ์ทางชาติพนั ธุ์ ล้วนเปน� องคป์ ระกอบสำคัญท่ีมีอิทธิพล
ในการหล่อหลอมวิถีชีวิตของชาวอีสาน โดยรวม และเกื้อกูลให้เกิดพัฒนาการทางภูมิป�ญญาที่มีลักษณะเด่น
เปน� แบบอยา่ งเฉพาะของอสี าน

การสร้างสรรค์ผลงานจากภูมิป�ญญาในด้านวัสดุและเครื่องมือในการสร้างสรรค์งาน
ศิลปหัตถกรรมพ้ืนบ้านของภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีหลากหลายทั้งรูปแบบและกรรมวิธีการผลิต ส่วนมาก
เป�นเครื่องมือเครื่องใช้ที่จำเป�นต่อการดำรงชีพ เพื่อตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐาน และเพื่อตอบสนอง
ความต้องการดา้ นจติ ใจ ความเชื่อ และประเพณี

แนวทางการศึกษาผลงานศลิ ปหัตถกรรมไทยภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือมลี ักษณะ คอื มีความงาม
ในความพอเหมาะพอดี มีความเรียบงา่ ยไมร่ กรงุ รงั ดดู บิ ๆ หยาบ ๆ มีความคดิ สร้างสรรค์ท่ีเป�นอิสระ ไม่ยดึ ติด
กรอบกฎเกณฑ์ มีความสนุกสนานและมีสุนทรยี ภาพในการสร้างสรรค์แบบไร้เดียงสา ยังแสดงให้เห็นถึงความ
สมถะพอเพียง อ่อนนอ้ มถ่อมตน นอกจากนร้ี ปู ทรงท่ใี ช้จะดูมีพลงั ในลกั ษณะไม่อ่อนหวานนุ่มนวล เป�นรูปแบบ
พื้นบ้านที่บริสทุ ธ์ิ รูปแบบผลงานของกลุม่ ชนในทอ้ งถิน่ ในแต่ละทอ้ งถิ่นจะแสดงถึงความเป�นเอกลักษณ์เฉพาะ
ตนใหป้ รากฏคุณคา่ เดน่ ชดั เกยี่ วกบั ววิ ฒั นาการทางวัฒนธรรม ขนบประเพณขี องสงั คม

5. คำถามทา้ ยบท

1. ให้นสิ ิตทำข้อ 3.2 ตวั อยา่ งการศกึ ษาผลงานศิลปหตั ถกรรมไทยภาคเหนือให้สมบรู ณ์
2. ให้นิสิตอธิบายถึงความหลากหลายของวัฒนธรรม ชาติพันธุ์หรือชนเผ่าพื้นเมืองในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือที่ทำให้เกิดความหลากหลายทางศิลปวัฒนธรรมและประเพณีที่แตกต่างกันไปในแต่ละ
ทอ้ งถิ่น ตามความเขา้ ใจของตนเอง
3. ให้นิสิตเลือกผลิตภัณฑ์ศิลปหัตถกรรมไทยพื้นบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มาจากภูมิ
ปญ� ญาท้องถนึ่ ที่ประทับใจมากทส่ี ุด พร้อมอธิบายเหตผุ ลและยกตวั อย่าง

68

4. ให้นิสิตเลือกผลงานศิลปหัตถกรรมไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่สะท้อนถึงเอกลักษณ์และ
ภมู ปิ �ญญาท้องถิ่นมา 3 ผลติ ภัณฑ์ แลว้ ทำการศึกษาวิเคราะห์ผลงานและอธบิ ายข้ันตอนการสร้างสรรค์ผลงาน
จากภมู ปิ �ญญาท้องถ่ินตามทไี่ ด้เรยี น

6. แบบฝก� หดั ปฏิบัติงานออกแบบทา้ ยบท

1. ใหน้ สิ ิตจัดทำเล่มรายงานรวบรวมผลงานหตั ถกรรมพน้ื บ้านของภาคตะวันออกเฉียงเหนอื โดย
แบง่ ภาพผลงานตามประเภทของวสั ดุและกรรมวิธกี ารผลติ ดังนี้

1. การปน� และการหล่อ
2. การทอและเยบ็ ป�กถกั ร้อย
3. การแกะสลัก
4. การก่อสรา้ ง
5. การเขยี นหรือวาด
6. การจกั สาน
7. การทำเคร่ืองกระดาษ
8. กรรมวิธีอ่นื ๆ
โดยมีรูปแบบเล่มรายงานหน้ากระดาษ A 4 / หน้าละ 1 ผลงาน ให้นิสิตอธิบายภาพงาน
หัตถกรรมทห่ี ามาได้ ในด้านตา่ ง ๆ ดังนี้ ช่อื งาน / แหลง่ ผลิต / วสั ดุ / กรรมวิธกี ารผลิต /
ลกั ษณะเฉพาะ / คณุ คา่ ของผลงาน

2. ให้นิสิตออกแบบผลิตภัณฑ์ 1 ชิ้น โดยได้รับแรงบันดาลใจมาจากผลงานหัตถกรรมพื้นบ้าน
ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือจำนวน 2 ชน้ิ ตามที่ไดท้ ำรายงานเมอื่ สปั ดาหท์ แ่ี ล้ว

69

70

บทท่ี 4
ศิลปหตั ถกรรมไทยภาคกลาง

แผนการสอนครัง้ ท่ี 7 - 8

หวั ข้อ ศิลปหตั ถกรรมของไทยภาคกลาง

ผู้สอน อาจารย์ ดร.พรนารี ชยั ดิเรก
เวลา 480 นาที

วตั ถปุ ระสงค์
ครั้งท่ี 7
1.เพอ่ื ให้นสิ ิตเขา้ ใจความหมาย ความสำคัญ และประเภทของงานศลิ ปหตั ถกรรมของไทย
ภาคกลาง

2. เพื่อให้นิสติ เขา้ ใจและเรยี นร้ผู ลงานศิลปหัตถกรรมไทยภาคกลาง
ครัง้ ที่ 8
1. เพอื่ ใหน้ ิสิตเข้าใจตวั อย่างผลงานศลิ ปหัตถกรรมไทยภาคกลาง
2. เพอ่ื ให้นิสิตเรยี นรจู้ ากผลงานการออกแบบผลติ ภัณฑ์ศลิ ปหัตถกรรมไทยภาคกลาง

เนื้อหา
ครั้งที่ 7
1. กำเนดิ งานหัตถกรรมไทยภาคกลาง

1.1 ป�จจยั ทเ่ี กีย่ วขอ้ งในการผลติ ผลงานศลิ ปหตั ถกรรมไทยภาคกลาง
2. ภมู ปิ �ญญาในการสร้างสรรค์งาน

2.1 การสรา้ งสรรคผ์ ลงานจากภมู ิป�ญญา
ครง้ั ท่ี 8
1. แนวทางการศึกษาผลงานศิลปหัตถกรรมไทยภาคกลาง

1.1 แนวทางการศกึ ษาผลงานศิลปหตั ถกรรมไทยภาคกลาง

1.2 ตัวอย่างการศึกษาผลงานการออกแบบผลติ ภัณฑศ์ ิลปหัตถกรรมไทยภาคกลาง
2. สรปุ ศลิ ปหตั ถกรรมไทยภาคกลาง

การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ 15 นาที
ครั้งที่ 7 60 นาที
1. อธบิ ายวตั ถุประสงค์และเน้ือหาโดยรวม 150 นาที
15 นาที
2. บรรยายเนื้อหาและหัวข้อต่าง ๆ

3 .ศึกษาเรยี นรู้ผลงานศิลปหัตถกรรมไทยภาคกลาง

4. นิสติ ซักถามปรึกษาเน้ือหาการเรยี น

72

คร้งั ท่ี 8 15 นาที
1. อธบิ ายวัตถุประสงค์และเน้ือหาโดยรวม 60 นาที
150 นาที
2. บรรยายเน้อื หาและหัวข้อต่างๆ 15 นาที

3. ศึกษาเรยี นรผู้ ลงานการออกแบบผลติ ภัณฑภ์ าคกลาง
4. นิสิตซกั ถามปรึกษาเนื้อหาการเรยี น

สื่อการสอน
ครง้ั ที่ 7
1. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา การออกแบบศิลปหัตถกรรม

2. ไฟลน์ ำเสนอภาพนิ่งผา่ นโปรแกรมคอมพวิ เตอร์

3. หนังสือ ตำรา วารสารตา่ ง ๆ ทัง้ ในประเทศและตา่ งประเทศ ท่ีเก่ียวข้องกบั การออกแบบ
ศลิ ปหัตถกรรมไทย

4. ตวั อย่างผลติ ภณั ฑ์ ผลงานหตั ถกรรมสำหรับการเรยี นการสอนทีเ่ ก่ยี วข้อง

(ตามความเหมาะสมของเนอ้ื หาการเรียน)
ครั้งที่ 8
1. เอกสารประกอบการสอนรายวชิ า การออกแบบศลิ ปหัตถกรรม

2. ไฟลน์ ำเสนอภาพนิง่ ผ่านโปรแกรมคอมพวิ เตอร์
3. หนงั สือ ตำรา วารสารตา่ ง ๆ ทงั้ ในประเทศและต่างประเทศ ทเี่ กีย่ วขอ้ งกับการออกแบบ

ศลิ ปหัตถกรรมไทย

4. ตัวอยา่ งผลติ ภณั ฑ์ ผลงานหตั ถกรรมสำหรบั การเรียนการสอนท่เี กีย่ วข้อง
(ตามความเหมาะสมของเน้อื หาการเรยี น)

การประเมนิ ผล
ครงั้ ท่ี 7
1. สงั เกตจากพฤติกรรมของผู้เรียน

2. ประเมนิ ผลจากกจิ กรรมในการชัน้ เรียน
3. ประเมินผลจากคำถามทา้ ยบทท่ี 4

4. ประเมินผลจากแบบฝ�กหดั ปฏบิ ัติงานออกแบบทา้ ยบท
ครง้ั ที่ 8
1. สงั เกตจากพฤติกรรมของผู้เรียน

2. ประเมินผลจากกิจกรรมในการชั้นเรยี น

3. ประเมินผลจากคำถามท้ายบทท่ี 4
4.ประเมนิ ผลจากแบบฝ�กหดั ปฏิบตั งิ านออกแบบทา้ ยบท

73

หนงั สืออ้างอิง
ณัฏฐวุฒิ ทรัพย์อุปถัมภ์. (2558). ภูมิป�ญญาในแต่ละภูมิภาคของประเทศไทย. [เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา ภูมิป�ญญาเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต]. จันทบุรี : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี. น. 33-56.
วิชญ์ จอมวิญญาณ์. (2560). ภูมิศาสตร์ประเทศไทย. อุดรธานี : คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอดุ รธานี.
วิลาวณั ย์ วเิ ศษวงษา. (2018) ). วฒั นธรรม 4 ภาค วฒั นธรรมต่างๆในภูมิภาคของไทย. สบื ค้นจาก
https://std145.wordpress.com/
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน). (2555). ทะเบียนช่างหัตถศิลป์ไทย. กรุงเทพฯ :
บริษัท มิวท์ จำกดั .
สำนักงานอุทยานแห่งชาติ กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช. (2557). อุทยานแห่งชาติ. สืบค้นจาก
www.nps.dnp.go.th/parks.php.
สำนกั อนุรักษ์สัตว์ป่า. (2560). เขตรกั ษาพนั ธุส์ ัตว์ปา่ . สบื คน้ จาก
http://www.dnp.go.th/wildlifednp/index.php?option=com_content&view=arti
cle&id=28&Itemid=.
Geography Thailand 5 7 . ( 2 0 2 1 ) . ล ั ก ษ ณ ะ ส ั ง ค ม แ ล ะ ว ั ฒ น ธ ร ร ม ข อ ง ไ ท ย . ส ื บ ค ้ น จ าก
https: / / sites. google. com/ site/ geographythailand5 7 / laksna- sangkhm- laea-
wathnthrrm-khxng-thiy

74


Click to View FlipBook Version