The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

23-12-2021 แก้เลขสารบัญล่าสุด เอกสารประกอบการสอน VID115 CRAFT DESIGN

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by da.suchitra, 2021-12-26 23:29:24

23-12-2021 แก้เลขสารบัญล่าสุด เอกสารประกอบการสอน VID115 CRAFT DESIGN

23-12-2021 แก้เลขสารบัญล่าสุด เอกสารประกอบการสอน VID115 CRAFT DESIGN

-ดินสอเปลือกไม้ ดินสอชนิดนีม้ ีเปลอื กไม้หุ้มไส้ดนิ สอ เม่ือตอ้ งการใช้งานก็จะต้องเหลา
เปลือกไม้ออก เพื่อให้ไส้ดินสอยื่นยาวออกมาจากเปลือกไม้แล้วจึงเหลาไส้ให้แหลมต่อไป ดินสอเปลือกไม้แบ่ง
ออกเป�น 3 กลุ่มใหญ่ ๆ คือกลุ่มดินสอเกรดไส้แข็ง (Hard) กลุ่มดินสอเกรด ไส้แข็งปานกลาง (Medium) และ
กลุ่มดินสอเกรดไส้อ่อน (Soft) โดยเรียงลำดับจากดนิ สอเกรดไส้แข็งทีส่ ดุ (9H) ถงึ ดินสอเกรดไส้ออ่ นที่สดุ (7B)

หากสังเกตทีภ่ าคตดั ของดินสอจะเห็นว่าดินสอเกรดไส้ที่แข็งทีส่ ุด (9H) มีขนาดเล็กที่สดุ
ส่วนดินสอเกรดไส้อ่อนที่สุด (7B) มีขนาดโตที่สุด ในการเลือกใช้ดินสอเปลือกไม้ควรให้เหมาะสมกับลักษณะ
ของงาน เช่น กลุ่มดินสอเกรดไส้แข็งเหมาะสำหรบั งานร่างแบบ กลมุ่ ดินสอเกรดไสแ้ ข็งปานกลางใชใ้ นงานเขียน
แบบทั่วไป และกลุ่มดนิ สอเกรดไสอ้ อ่ นใช้กับงานวาดเขียน เป�นตน้

ภาพประกอบ 97 ภาพแสดงลักษณะของดนิ สอเปลือกไม้
ท่ีมา : อชิรญา วฒั นะ. (2560). วิวฒั นาการ และวสั ดุอปุ กรณท์ ่ใี ช้ในการเขียนแบบ.

สบื ค้นจาก https://www.pntc.ac.th/Download/t263.pdf

-ดินสอเปลี่ยนไส้ ดินสอชนิดนี้เป�นดินสอที่มีแต่ไส้ เมื่อต้องการใช้งานก็จะต้องมีโครง
ดินสอเพื่อใส่ไส้ดินสอเข้าไปด้านใน ดินสอเปลี่ยนไส้แบ่งออกเป�น 2 ชนิดได้แก่ ดินสอเขียนแบบเครื่องกล
(Mechanical Pencil) ดินสอชนิดนี้ทำจากพลาสติก ภายในจะมีระบบกลไกในการจับยึดและเลื่อนไส้ดินสอ
โดยเมอื่ กดปลายดินสออีกดา้ นกจ็ ะทำให้ไส้ดินสอเล่ือนออกมาได้ และดนิ สอแบบไส้กด ดินสอชนิดนี้มีหลักการ
ทำงานคล้ายกันกับดินสอเขียนแบบเครื่องกล แต่ไส้ดินสอมีขนาดเล็กและมีหลายขนาดให้เลือกใช้เช่น 0.25,
0.35, 0.50 และ 0.70 มิลลิเมตร การใช้งานดินสอชนิดนี้ให้กดที่ปลายดินสอเพื่อให้ไส้ดินสอเลื่อนออกมาจาก
ดา้ มดินสอเลก็ น้อย ใช้สำหรับเขียนเส้นตามขนาดของไส้ดินสอ

225

ภาพประกอบ 98 ภาพแสดงลักษณะของดินสอเปลย่ี นไส้
ท่ีมา : อชริ ญา วฒั นะ. (2560). วิวฒั นาการ และวสั ดุอุปกรณ์ทีใ่ ช้ในการเขียนแบบ.

สบื ค้นจาก https://www.pntc.ac.th/Download/t263.pdf

6. วงเวียน (Drafting compass) เป�นเครื่องมือที่มีความสำคัญอย่างหนึ่งในการเขียน
วงกลมและสว่ นโค้ง รปู รา่ งของขาวงเวียนด้านหนึ่งใช้จบั ยึดเข็มปลายแหลมทสี่ ามารถปรับเล่ือนข้ึน-ลงได้ ส่วน
ปลายของขาวงเวียนอีกด้านสามารถถอดเปลี่ยนเพื่อใช้กับไส้ดินสอ ในการปรับรัศมีของขาวงเวียนให้ใช้มือกด
ขาทัง้ สองใหม้ ีขนาดใกลเ้ คียงกบั รัศมีทตี่ อ้ งการแล้วปรบั นัต (Nut) เพือ่ ใหไ้ ด้รัศมที ต่ี ้องการอกี ครั้ง

ภาพประกอบ 99 ภาพแสดงลกั ษณะของวงเวียน (Drafting compass)
ทม่ี า : อชริ ญา วัฒนะ. (2560). วิวัฒนาการ และวสั ดอุ ปุ กรณท์ ใี่ ช้ในการเขยี นแบบ.

สบื ค้นจาก https://www.pntc.ac.th/Download/t263.pdf

7. บรรทัดเขียนส่วนโค้ง (French Curve) เป�นเครื่องมือเขียนแบบที่ใช้เขียนส่วนโค้ง
ลักษณะตา่ ง ๆ ที่วงเวยี นไม่สามารถจะเขยี นได้ รปู ร่างของบรรทดั เขยี นส่วนโค้งมหี ลายแบบ

226

ภาพประกอบ 100 ภาพแสดงลักษณะของบรรทัดเขยี นส่วนโค้ง (French Curve)

ทมี่ า : อชริ ญา วัฒนะ. (2560). วิวัฒนาการ และวสั ดอุ ปุ กรณ์ที่ใช้ในการเขียนแบบ.
สบื คน้ จาก https://www.pntc.ac.th/Download/t263.pdf

8. เทมเพลต (Templates) เป�นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรบั เขียนรปู ทรงทางเรขาคณิตแบบต่าง
ๆ ตามวัตถุประสงคข์ องการใชง้ านไดแ้ ก่ เทมเพลตเขียนวงกลม และเทมเพลตเขียนวงรแี บบต่าง ๆ

ภาพประกอบ 101 ภาพแสดงลกั ษณะของเทมเพลต (Templates)
ทีม่ า : อชริ ญา วฒั นะ. (2560). วิวัฒนาการ และวสั ดุอุปกรณท์ ใ่ี ช้ในการเขียนแบบ.

สืบค้นจาก https://www.pntc.ac.th/Download/t263.pdf

9. อุปกรณ์เบ็ดเตล็ด อุปกรณ์เบ็ดเตล็ดที่จำเป�นในงานเขียนแบบด้วยมือได้แก่ ยางลบ
แผ่นกนั้ ลบ แปรงทำความสะอาดสำหรบั ป�ดเศษยางลบ เปน� ตน้

ภาพประกอบ 102 ภาพแสดงอุปกรณเ์ บด็ เตล็ด
ท่มี า : อชริ ญา วัฒนะ. (2560). วิวัฒนาการ และวสั ดอุ ปุ กรณ์ท่ใี ช้ในการเขียนแบบ.

สืบคน้ จาก https://www.pntc.ac.th/Download/t263.pdf

227

1.4 วิธกี ารใชอ้ ปุ กรณ์ในการเขียนแบบเบอ้ื งตน้
การใช้ไม้ทีกับฉากสามเหลี่ยม การใช้งานของฉากสามเหลี่ยมส่วนใหญ่จะใช้คู่กันกับไม้ทีเพอื่

เขียนเส้นเอียงทำมุมในลักษณะต่าง ๆ หรือการเขียนเส้นตรงให้ตั้งฉากกันและการเขียนเส้นตรงให้ขนานกัน
เป�นตน้

-การเขยี นเส้นตรงในระดับ มีขนั้ ตอนดังนี้
1. วางหวั ไม้ทีแนบชดิ กบั ขอบดา้ นซ้ายของกระดานเขยี นแบบ
2. ใชม้ อื ซ้ายกดทีใ่ บของไมท้ ีโดยวางตำแหน่งของมือซ้าย (รปู ที่ ก)
3. จบั ดินสอโดยให้ปลายดินสอทำมมุ กับกระดาษประมาณ 60° (รูปท่ี ข) ซึง่ ถา้ มองด้านข้าง
ตำแหน่งของปลายดินสอมีออกเป�น 2 ลักษณะคือ วางตั้งฉากกับกระดาษเขียนแบบ (รูปที่ ค) ซึ่งในกรณีนี้จะ
ทำให้เกิดช่องว่างขนาดเล็กระหว่างปลายดินสอกับขอบของไม้ทีทำให้ขาดความเที่ยงตรงในการเขียนเส้นตรง
หรือเอียงปลายดินสอชิดกับขอบของไม้ทีไม่ให้มีช่องว่าง (รูปที่ ง) แล้วเขียนเส้นตรงโดยเขียนตรงเสน้ จากซ้าย
ไปขวา ในขณะทเ่ี ขียนเส้นตรงให้หมุนดนิ สอชา้ ๆ เพอ่ื ใหป้ ลายดนิ สอสกึ หรอเท่ากนั

ภาพประกอบ 103 ภาพแสดงลกั ษณะของการเขียนเสน้ ตรงในระดบั
ท่มี า : อชิรญา วฒั นะ. (2560). วิวฒั นาการ และวสั ดอุ ปุ กรณท์ ่ใี ช้ในการเขียนแบบ.

สืบค้นจาก https://www.pntc.ac.th/Download/t263.pdf

228

-การเขียนเสน้ ตรงในแนวด่งิ มีขั้นตอน ดงั นี้
1. วางหวั ไมท้ แี นบชิดกบั ขอบด้านซา้ ยของกระดานเขยี นแบบ
2. วางฉากสามเหล่ียมทบั ลงบนกระดาษเขียนแบบโดยให้ฐานของฉากสามเหลีย่ มชิดกับขอบ
ของไมท้ ี
3. เลื่อนฉากสามเหลี่ยมไปยังตำแหน่งที่ต้องการ โดยใช้มือซ้ายกดไม้ทีและฉากสามเหลี่ยม
พรอ้ มกัน (รปู ที่ ก)
4. วางตำแหนง่ ของปลายดนิ สอทำมุม 90° และมมุ 60° กับกระดาษ (รูปท่ี ข)
5. เขียนเส้นตรงจากด้านล่างขึน้ บน ขณะเขียนเส้นตรงให้บิดลำตวั ตามไปดว้ ยพร้อมกับหมุน
ดินสออยา่ งชา้ ๆ และสม่ำเสมอ

ภาพประกอบ 104 ภาพแสดงลกั ษณะการเขยี นเสน้ ตรงในแนวดง่ิ
ทม่ี า : อชริ ญา วัฒนะ. (2560). วิวฒั นาการ และวสั ดุอุปกรณ์ทใี่ ช้ในการเขียนแบบ.

สบื คน้ จาก https://www.pntc.ac.th/Download/t263.pdf

- การใช้ไม้ทแี ละฉากสามเหลยี่ มเขยี นเสน้ ตรงเอยี งทำมุมตา่ ง ๆ กับแนวระดับ

ภาพประกอบ 105 ภาพแสดงลกั ษณะการใช้ไม้ทแี ละฉากสามเหลย่ี มเขยี นเสน้ ตรงเอยี งทำมมุ ตา่ งๆ
ท่มี า : อชริ ญา วฒั นะ. (2560). วิวฒั นาการ และวสั ดุอปุ กรณ์ท่ใี ชใ้ นการเขียนแบบ.
สบื คน้ จาก https://www.pntc.ac.th/Download/t263.pdf

229

1.3.2 ประเภทของการเขียนแบบสำหรับงานออกแบบผลิตภัณฑ์ ในการเขียนแบบเพื่องาน
ออกแบบผลิตภัณฑ์นั้น จะมีการเขียนแบบในหลายรูปแบบจำเป�นที่นิสิตนักศึกษาจะต้องรู้จักการเขียนแบบ
ประเภทต่าง ๆ ให้ดีเสียก่อน เพื่อที่จะได้ทราบว่าในงานออกแบบของเรามีความเหมาะสมในต่อการเขียนแบบ
เพื่อสื่อสารแบบกับผู้อื่นโดยเลอื กการเขียนแบบประเภทไหนที่มีความเหมาะสมและส่ือสารแบบใหเ้ ข้าใจได้มาก
ที่สดุ

1. การเขยี นภาพฉายหรือภาพไอโซเมตริก (Isometric Projection) เปน� ภาพสามมิติ
ที่นิยมใช้กับงานเขียนแบบมากที่สดุ สามารถเขียนได้ง่ายเพราะจะเปน� ภาพที่มีแกน 3 แกนยาวเท่ากัน และมุม
ทั้ง 3 ก็เท่ากันด้วย เป�นวิธีเขียนอีกแบบหนึ่งที่เขียนแล้วสามารถมองเห็นลักษณะและรูปทรงของสิ่งนั้น ๆ ได้
ง่ายตามความเป�นจริง เพราะแบบงานที่จะนำไปใช้ผลิตจะต้องเป�นแบบที่มีรายละเอียดครบถ้วน วิธีการเขียน
ภาพฉายนั้นจะต้องเขียนลักษณะรูปทรงครบทุกด้าน คือด้านบน ด้านล่าง ด้านข้างซา้ ย ด้านข้างขวา ด้านหน้า
และด้านหลัง แต่ถ้าเป�นรูปทรงที่มีลักษณะด้านตรงข้ามเหมือนกันก็นิยมเขียนเพียง 3 ด้าน คือ ด้านบน
ดา้ นหนา้ และดา้ นขา้ ง

ภาพประกอบ 106 ภาพแสดงผลิตภณั ฑท์ จ่ี ะเขยี นแบบภาพฉาย
ท่มี า : Theerapong Srikow. (2017). เขยี นแบบเทคนิคเบือ้ งต้น.

สืบคน้ จาก http://therapongman.blogspot.com/

1. ใหภ้ าพทีม่ ีรายละเอียดมากที่สุดเปน� ด้านหนา้

ภาพประกอบ 107 ภาพแสดงภาพด้านหนา้ ของผลติ ภณั ฑ์
ท่มี า : Theerapong Srikow. (2017). เขียนแบบเทคนิคเบอ้ื งต้น.

สืบค้นจาก http://therapongman.blogspot.com/

230

2. ร่างเสน้ ฉายภาพด้วยเส้นบาง (เส้นสฟี ้า) ไปยังดา้ นบนเพ่ือท่ีตอ้ งการทรา
ระยะวา่ มีขนาดความยาวเท่ากับด้านหน้า

ภาพประกอบ 108 ภาพแสดงผลิตภณั ฑ์ที่จะเขยี นแบบภาพฉาย
ท่ีมา : Theerapong Srikow. (2017). เขยี นแบบเทคนคิ เบ้อื งต้น.

สืบค้นจาก http://therapongman.blogspot.com/

3. เขียนภาพดา้ นบนให้อยทู่ างด้านบนของภาพดา้ นหนา้

ภาพประกอบ 109 ภาพแสดงผลิตภณั ฑ์ทจ่ี ะเขยี นแบบภาพฉาย
ท่ีมา : Theerapong Srikow. (2017). เขยี นแบบเทคนคิ เบอื้ งต้น.

สืบคน้ จาก http://therapongman.blogspot.com/

4. รา่ งเส้นฉาย (เส้นสีฟ้า) จากภาพดา้ นหนา้ ไปยงั ด้านขา้ งโดยให้มีความสงู
231

เท่ากับภาพด้านหน้าส่วนความกว้างของภาพด้านข้าง ให้ร่างเส้นฉายลงมาตัดกับเส้นที่เอียงทำมุม 45 องศา
จากจดุ ตัดกบั เสน้ 45 องศาให้รา่ งฉายมายังภาพดา้ นบน (เส้นสีแดง)

ภาพประกอบ 110 ภาพแสดงการเขียนแบบภาพฉาย
ทีม่ า : Theerapong Srikow. (2017). เขยี นแบบเทคนิคเบ้อื งต้น.

สบื คน้ จาก http://therapongman.blogspot.com/

5. ลบเสน้ ร่าง(เสน้ สฟี ้าและสีแดง) ออกให้หมดเติมรายละเอยี ดโดยการเขยี น
เส้นบอกขนาดของภาพ ด้วยเสน้ บอกขนาดและเขยี นกำกบั ใตภ้ าพวา่ เป�นภาพฉายดา้ นไหน

232

ภาพประกอบ 111 ภาพแสดงการเขียนแบบภาพฉายขน้ั สดุ ท้าย
ที่มา : Theerapong Srikow. (2017). เขยี นแบบเทคนคิ เบอ้ื งตน้ .

สบื ค้นจาก http://therapongman.blogspot.com/

2. การเขียนแบบภาพออบลิค รูปออบลิคเป�นแบบภาพสามมิติอีกชนิดหนึ่ง มี
ลักษณะคล้ายกับรปู ไอโซเมตริก ส่วนที่แตกต่างกันคือภาพออบลิคจะแสดงด้านหน้าตรง ๆ ส่วนด้านขา้ งจะทำ
มมุ 45 องศาเพียงดา้ นเดยี ว คอื ด้านขวามอื เนื่องจากภาพออบลคิ แสดงด้านหน้าไดช้ ัดเจนดจี ึงนยิ มเขียนภาพ
ทีม่ รี ายละเอียดด้านหนา้ มาก ๆ ข้นั ตอนการเขียน มดี ังนี้

1. ให้เขียนภาพด้านหนา้ ก่อน

ภาพประกอบ 112 ภาพแสดงการเขียนแบบภาพดา้ นหนา้ ของการเขยี นแบบภาพออบลิค
ทม่ี า : Theerapong Srikow. (2017). เขยี นแบบเทคนคิ เบ้อื งตน้ .
สบื ค้นจาก http://therapongman.blogspot.com/

233

2. ขดี เส้นดา้ นขา้ ง 45 องศา

ภาพประกอบ 113 ภาพแสดงการเขียนแบบภาพขีดเส้นด้านขา้ ง 45 องศาของการเขียนแบบภาพออบลิค
ท่ีมา : Theerapong Srikow. (2017). เขยี นแบบเทคนิคเบ้อื งต้น.
สืบคน้ จาก http://therapongman.blogspot.com/

3. ขีดเสน้ ตัง้ ฉากและเส้นระนาบใหค้ รบ

ภาพประกอบ 114 ภาพแสดงการเขียนแบบขดี เส้นตง้ั ฉากและเส้นระนาบใหค้ รบของการเขยี นแบบภาพออบลิค
ทม่ี า : Theerapong Srikow. (2017). เขียนแบบเทคนิคเบือ้ งตน้ .
สบื ค้นจาก http://therapongman.blogspot.com/

234

4. จะไดภ้ าพออบลคิ

ภาพประกอบ 115 ภาพแสดงการเขียนแบบภาพสุดทา้ ยของการเขยี นแบบภาพออบลิค
ทม่ี า : Theerapong Srikow. (2017). เขยี นแบบเทคนคิ เบอ้ื งตน้ .
สืบค้นจาก http://therapongman.blogspot.com/

ขอ้ สงั เกตในการเขียนแบบภาพออบลิค
1. มุมที่ใช้ในการเขยี นแบบภาพออบลิคจะมีเพยี ง 2 มุมเทา่ น้นั คือ 45, 90 เส้นท่ี
ขีดทำมุมด้านขวามอื จะเป�นมุม 45 องศา ส่วนเสน้ ท่ลี ากข้ึนหรือลากลงจะเป�นมุม 90 องศา
2. เส้นทขี่ ดี จะเป�นเสน้ ขนานกันโดยตลอดคือ เส้นที่ลากทำมมุ ด้านขวาก็จะขนาน
กนั กบั ดา้ นขวา เสน้ ทล่ี ากดา้ นซ้ายเป�นเสน้ ระนาบ และเสน้ ท่ลี ากขึ้นหรือลงก็จะขนานกัน
3. การเขียนเส้นระนาบเส้นแรกควรให้อยู่ดา้ นล่างเพราะภาพทีเ่ ขียนจะอยู่ดา้ นบน
และควรคำนงึ ถึงความสูงของภาพด้วย
4. กอ่ นที่จะเขยี นเสน้ ตั้งฉากจะต้องคำนึงถึงความยาวด้านหนา้ ของภาพด้วย
3. การเขียนภาพไอโซเมตริก การเขียนแบบภาพไอโซเมตริกเป�นภาพลกั ษณะสาม
มิติอีกแบบหนึ่งของการเขียนแบบ มีลักษณะเป�นภาพที่มองเห็นจากมุมที่กำหนดเปน� จุดเริม่ ต้น การสร้างภาพ
ไอโซเมตริกน้จี ึงเปน� การวดั เอาขนาดกว้าง ยาว ของดา้ นตา่ ง ๆ มาเปน� ขนาดในภาพนน้ั เอง การเขียนแบบภาพ
ไอโซเมตริกนจี้ ะแสดงการเขียนโดยใชม้ ุมทง้ั สองข้างเทา่ กนั คอื เปน� มุม 30 องศา โดยวัดจากเสน้ ระนาบ
4. การเขียนแบบภาพเพอร์สเพกทิฟ (Perspective Projection) หรือภาพ
ทัศนียภาพเป�นภาพที่เหมือนจริงตามสายตาที่มองเห็น ชิ้นงานที่อยู่ไกลจะมองเห็นภาพมขีนาดเล็กลงเรื่อย ๆ
เรียกว่าเป�นส่วนลึกของภาพ การเขียนภาพแบบนี้จะได้ภาพที่มีความสวยงามในมุมมองแบบต่าง ๆ แต่ข้อเสีย
คือไม่สามารถจะวัดระยะในความเป�นจริงได้อย่างถูกต้องแม่นยำ ภาพเพอร์สเพกทิฟแบ่งออกได้เป�น 3 ชนิด
คอื

235

- แบบจดุ รวมสายตาจุดเดยี ว หรอื มีแกนเดยี ว

ภาพประกอบ 116 ภาพแสดงการเขียนแบบภาพเพอร์สเพกทฟิ แบบจุดรวมสายตาจุดเดียว

ทม่ี า :Student Art Guide. (2021). One Point Perspective Drawing : The Ultimate Guide.

Retrieved from https://www.studentartguide.com/articles/one-point-perspective-drawing

- แบบจดุ รวมสายตา 2 จุด หรอื มีแกนเอยี ง 2 แกน

ภาพประกอบ 117 ภาพแสดงการเขียนแบบภาพเพอรส์ เพกทิฟแบบจดุ รวมสายตา 2 จดุ

ท่มี า :Student Art Guide. (2021). One Point Perspective Drawing : The Ultimate Guide.

Retrieved from https://www.studentartguide.com/articles/one-point-perspective-drawing

236

- แบบจดุ รวมสายตา 3 จุด หรอื มแี กนเอียง 3 แกน

ภาพประกอบ 118 ภาพแสดงการเขียนแบบภาพเพอรส์ เพกทิฟแบบจุดรวมสายตา 3 จดุ

ทม่ี า :Student Art Guide. (2021). One Point Perspective Drawing : The Ultimate Guide.

Retrieved from https://www.studentartguide.com/articles/one-point-perspective-drawing

วธิ กี ารเขียนแบบภาพเพอร์สเพกทิฟแบบจุดรวมสายตาจุดเดยี ว สามารถศีกษา
ได้จากคลปิ ด้านลา่ ง ตามนี้

ภาพประกอบ 119 ภาพแสดงคลปิ วธิ ีการเขยี นแบบภาพเพอรส์ เพกทฟิ สำหรบั งานออกแบบผลติ ภัณฑ์

ทมี่ า :Kiss R. (2018). Industrial Design Fundamental 01 Perspective.

Retrieved from https://www.youtube.com/watch?v=flVR6FqTYKc

237

2. การเขียนแบบเพอ่ื การผลติ ผลติ ภัณฑห์ ัตถกรรมไทยรว่ มสมยั

เมื่อนสิ ิตได้รูจ้ ักประเภทการเขยี นแบบตา่ ง ๆ ในงานออกแบบผลติ ภัณฑ์แลว้ ในการเขียนแบบเพ่ือ
การผลิตผลิตภัณฑ์หัตถกรรมไทยร่วมสมัยเป�นการเขียนแบบเพื่อไว้สื่อสารถ่ายทอดกับช่างหรือทีมงานผู้ผลิตท่ี
เกย่ี วขอ้ ง เพือ่ จะได้ทำความเขา้ ใจใหต้ รงกันกบั งานออกแบบท่ีนกั ออกแบบได้ตั้งใจไว้ โดยการเขียนแบบเพื่อการผลิต
นัน้ จำเปน� ตอ้ งมีรายละเอยี ดเพ่มิ เตมิ ต่างๆ ที่สมบูรณแ์ ละครบถว้ น ดงั ภาพตัวอยา่ งของการเขยี นแบบงานเพอ่ื การผลติ
ผลติ ภณั ฑด์ ังภาพตัวอย่างขา้ งลา่ ง โดยเฉพาะในงานออกแบบผลิตภัณฑ์หตั ถกรรมไทยร่วมสมัยซึ่งจะมีลักษณะสำคัญ
หลาย ๆ รายละเอียดที่มีความแตกต่างกับการเขียนแบบเพื่อการผลิตผลิตภัณฑ์ทั่ว ๆ ไปที่ต้องคำนึงถึง เช่น ด้าน
ลวดลาย พื้นผิว โครงสร้าง รายละเอียดเล็ก ๆ น้อย ๆ ต่าง ๆ ฯลฯ เป�นต้น ทำให้การเขียนแบบงานประเภทน้ี
จำเป�นตอ้ งใช้ความละเอยี ดครบถ้วนในการถา่ ยทอดแบบมากกวา่ การเขยี นแบบงานผลติ ภณั ฑท์ ว่ั ๆ ไป

238

ภาพประกอบ 120 ภาพแสดงตวั อยา่ งของการเขยี นแบบงานเพ่อื การผลิตผลติ ภณั ฑห์ ตั ถกรรมไทยร่วมสมยั
ท่ีมา : นักศึกษาชั้นปท� ่ี 1 , (2564). เอกการออกแบบผลติ ภณั ฑ์ สาขาวิชาการออกแบบทศั นศลิ ป.์
กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ.

239

3. การทดลองสรา้ งต้นแบบผลิตภณั ฑไ์ มม่ กี ลไก

ภายหลังจากที่เราได้เขียนแบบเพื่อการผลิตเสร็จสมบูรณ์แล้ว ในขั้นตอนต่อไปเพื่อการ
ถ่ายทอดความคิดในการออกแบบที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้น หรือในบางครั้งงานออกแบบมีความยากซับซ้อนต่อการ
ถา่ ยทอดลงไปในงานเขียนแบบได้ครบถว้ น จงึ จำเปน� ตอ้ งทำผลิตภัณฑต์ ้นแบบขน้ึ ประกอบดว้ ยเพ่ือสร้างความ
เข้าใจที่ตรงกนั

แนวการพัฒนาต้นแบบผลิตภัณฑ์ (Prototype Model) นั้น เป�นการพัฒนาต้นแบบขึ้นมา
เพ่อื ทดสอบความคิดของงานออกแบบวา่ เปน� ไปได้หรือไม่ หรือเพื่อทดสอบกบั กลมุ่ เป้าหมายว่าสนใจหรือไม่ ยัง
ไม่ได้ทำออกมาจำหน่ายเพราะต้องรับกระแสตอบกลับจากกลุ่มเป้าหมายหรือลูกค้าก่อน เมื่อรับคำตอบกลับ
แล้วนำมาปรับปรุงต้นแบบจนสมบูรณ์ประมาณ 70-80 % ที่ใช้งานได้มี Functionหรือส่วนที่สำคัญ ๆ และ
จำเป�นแล้วจึงทำออกมาเป�น MVP หรือ Minimum Viable Products เพื่อผลิตมาทดลองตลาดให้
กลุ่มเป้าหมายแรกก่อน (Early Adopters) MVP ไม่ต้องดีมาก 100% แต่ต้องดีพอจนลูกค้าชอบและซื้อไป
ใช้ และทำการพัฒนาปรับปรุงต่อไปอีกให้ได้ต้นแบบที่สมบูรณ์และตรงใจลูกค้าที่สุด แล้วค่อยผลิตออกมาใน
ปรมิ าณมากหรือแนะนำออกตลาดให้เป�นทร่ี จู้ กั กันดใี นขนั้ ตอนต่อไป

ประเภทของต้นแบบผลติ ภณั ฑ์ ( Kagan, 2018) แบง่ ออกเป�น 4 ประเภทใหญ่ ดังนี้
1. ต้นแบบที่มีความเป�นไปได้สูง (Feasibility Prototypes) สำหรับการสร้างต้นแบบเสมือน
จริงที่มีเทคโนโลยีใหม่เข้ามาร่วมด้วย บางครั้งอาจใช้วิศวกรเขียนโค้ดให้เพียงพอเพื่อดูว่าเป�นไปได้หรือไม่ช่วย
ใหเ้ ขา้ ใจความเสีย่ งทางเทคนิค ซ่ึงมักเกีย่ วขอ้ งกับประสิทธิภาพทเี่ กดิ ขน้ึ กับการใช้งานของผลติ ภณั ฑ์
2. ต้นแบบที่มีความเที่ยงตรงต่ำ (Low- Fidelity Users Prototypes) โดยพื้นฐานแล้วรูปแบบ
ของต้นแบบจะดูไม่เหมือนจรงิ สรา้ งขึน้ เพอื่ จำลองกระบวนการเพ่ือระบุป�ญหาการใช้งานในชว่ งต้นเท่านั้น
3. ต้นแบบผใู้ ช้ท่มี คี วามเท่ียงตรงสงู (High- Fidelity Users Prototypes) เป�นต้นแบบที่
ดูสมจริงเหมาะสำหรับการส่ือสารผลติ ภณั ฑท์ ค่ี รบถ้วนสมบูรณ์เหมาะสมในการนำไปทดลองตลาด
4. ต้นแบบเพื่อทดสอบข้อมูลต่าง ๆ (Live – Data Prototypes) สร้างขึ้นเพื่อการใช้งานที่
จำกัดมาก เพ่ือทดสอบและพสิ จู นว์ า่ ใชง้ านได้จริงในบางเร่ือง

240

ภาพประกอบ 121 ภาพแสดงประเภทของต้นแบบผลิตภณั ฑ์

ท่มี า :Kagan M. (2018). The 4 different types of products prototypes.

Retrieved from https://www.reforge.com/brief/the-4-different-types-of-product-
prototypes#bmgaxJAhXuu2VEhIQrBaYA

ในการสร้างต้นแบบผลิตภัณฑ์สำหรับผลิตภัณฑ์หัตถกรรมไทยร่วมสมัย หรือตัวอย่างชิ้นงาน
ผลิตภัณฑ์หรือโมเดลจำลองก่อนการผลิตจริงนั้นมีหลากหลายวิธี ในที่นี้ได้รวบรวมวิธีการสร้างสรรค์โมเดล
ต้นแบบผลิตภัณฑ์จากผลงานของนิสิต ซึ่งส่วนมากแล้วผลงานต้นแบบส่วนใหญ่จะไม่มีกลไกภายในและเป�น
ผลิตภัณฑร์ ว่ มสมัยทไี่ ม่มคี วามซบั ซ้อนในการใชง้ านท่ีได้เรียนวิชาน้ีและรวบรวมไว้ในหลาย ๆ รปู แบบไวต้ ามภาพ

241

ภาพประกอบ 122 ภาพแสดงตัวอยา่ งของการทดลองสร้างต้นแบบผลติ ภณั ฑ์ไมม่ ีกลไก
ผลิตภณั ฑห์ ัตถกรรมไทยรว่ มสมัย

ทม่ี า : นกั ศกึ ษาชน้ั ปท� ี่ 1 , (2564). เอกการออกแบบผลติ ภณั ฑ์ สาขาวิชาการออกแบบทศั นศลิ ป.์
กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ.

4. การนำเสนอผลงานการออกแบบผลติ ภัณฑห์ ัตถกรรมไทยร่วมสมัย

ในการเรียนการสอนวิชานี้จะมีการนำเสนอผลงานโครงการสุดท้ายก่อนป�ดภาคเรียน (Final
Project) ซึ่งเปน� การทดสอบความรู้เนื้อหาการเรียนทงั้ หมดท่ีไดเ้ รยี นมา และเตรียมความพรอ้ มของนสิ ิตในการ
นำเสนอผลงานที่ได้ออกแบบมา โดยรายละเอียดของเนื้อหาของการนำเสนอผลงานน้ัน เสมือนนิสิตได้ทำงาน
เป�นนักออกแบบที่มีกระบวนการทำงานออกแบบ นำเสนองานเพื่อขายงานแก่ลูกค้าได้ถูกต้องครบถ้วน
รายละเอียดของเน้ือหาของการนำเสนอในเลม่ ผลงานการออกแบบ ประกอบด้วย

1. หน้าปกเล่มโครงการ (ประกอบดว้ ย ชือ่ โครงการ ชอ่ื ผู้ออกแบบ+เลขประจำตัวนิสติ สาขา
คณะ มหาวิทยาลัย และชื่อผลงานที่ออกแบบ หน้าปกควรออกแบบสวยงามมีความเชื่อมโยงกับผลงานที่
ออกแบบ)

2. รายละเอียดโครงการออกแบบ (ประกอบด้วย ชือ่ โครงการ ชอ่ื ผ้อู อกแบบ+เลขประจำตัว
นิสิต สาขา คณะ มหาวิทยาลัย และชื่อผลงานที่ออกแบบ แนวความคิดในการออกแบบ (Concept) โครงสี

242

โดยรวม วัสดทุ ใี่ ช้ในการออกแบบ และขอ้ มลู หน้าน้เี ป�นลักษณะการเขียนอธิบายแบบสรุป พรอ้ มภาพประกอบ
เลก็ น้อยในแตล่ ะข้อ

3. การวิเคราะห์ข้อมูลงานหัตถกรรมพื้นบ้านที่เลือกมาใชเ้ ป�นแรงบันดาลใจท้ัง 2 ชิ้น พร้อม
การวิเคราะหง์ านออกแบบหัตถกรรม + เทคนิคและทฤษฎีการออกแบบของท่ีระลึกตามทไี่ ดเ้ รียนมา

4. ภาพกลุ่มเปา้ หมายของสินคา้ ของท่รี ะลึกตามที่ออกแบบ การวเิ คราะห์พฤติกรรมผูบ้ รโิ ภค
5. ภาพ CONCEPT & MOOD BOARD
6. ภาพผลงานการออกแบบ ภาพผลงาน PERSPECTIVE หรือ ISOMETRIC ที่เห็นภาพรวม
ผลงานท้ังเซ็ตคอลเลกชน่ั และลักษณะการใช้งานของสินคา้
7. ภาพผลงานการออกแบบเขียนแบบ สินค้าของที่ระลึกแต่ละชิ้น พร้อมขนาด
(Dimension) และรายละเอยี ดอืน่ ๆ
8. ภาพผลงานการออกแบบ ต้นแบบผลิตภัณฑ์ (Prototype) บรรจุภัณฑ์ (Packaging
Design)

5. กรณีศกึ ษา

เพื่อให้เข้าใจในวิธีการทำงานออกแบบผลิตภัณฑ์ศิลปหัตถกรรมไทยในวิชานี้มากขึ้น และ
เขา้ ใจถงึ รายละเอียดของเน้ือหาของการนำเสนอในเล่มผลงานการออกแบบ นิสิตสามารถศกึ ษาไดจ้ ากตัวอย่าง
ผลงานการออกแบบของนิสิตหลาย ๆ คน ตามภาพขา้ งล่างนี้

243

244

245

246

247

248

249

250

251

252

253

254

255

256

257

ภาพประกอบ 123 ภาพแสดงตัวอย่างของการทดลองสร้างต้นแบบผลิตภณั ฑ์ไมม่ ีกลไก
ผลติ ภณั ฑห์ ัตถกรรมไทยร่วมสมยั

ท่มี า : นกั ศึกษาช้นั ปท� ่ี 1 , (2564). เอกการออกแบบผลติ ภณั ฑ์ สาขาวชิ าการออกแบบทศั นศลิ ป์.
กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ.

6. สรุป

การเขียนแบบเป�นสิ่งจำเป�นเพื่อแสดงให้เห็นภาพต้นแบบของผลิตภัณฑ์ การเขียนแบบเป�น
การถ่ายทอดความคิดของผู้คิดออกแบบผลิตภัณฑ์ลงบนกระดาษอย่างเป�นระบบแบบแผนเพื่อให้บุคคลอื่นได้
เข้าใจ “แบบงาน” สามารถใช้สื่อความหมายให้ผู้เกี่ยวข้องได้เห็นรูปร่าง ขนาด ลักษณะของผิวงานชนิดของ
วัสดุ เข้าใจวิธีการและขั้นตอนในการสร้างหรือการผลิต สามารถนำแบบงานมาคำนวณหาปริมาณของวัสดุ
ประมาณราคาและระยะเวลาในการสรา้ งหรือผลิตงานนัน้ ได้ การเขียนแบบได้มวี ิวัฒนาการมีมาอย่างยาวนาน
และมีพัฒนาการในการเขียนแบบตลอดเวลา ปจ� จบุ นั มีการใช้คอมพวิ เตอร์ช่วยในการเขียนแบบออกแบบ ช่วย
ใหก้ ารเขียนแบบมีประสิทธิภาพมากขนึ้ สามารถมองรปู แบบได้โดยละเอยี ด การแก้ไขทำได้สะดวกและรวดเร็ว
โดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่นักออกแบบสามารถเลือกใช้ได้ตามความถนัดและความเหมาะสม แต่ก่อนที่นิสิต
จะใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ควรมีความรู้ความเข้าใจในการเขียนแบบด้วยมือและรู้จักการใช้อุปกรณ์ในการ
เขยี นแบบทีเ่ หมาะสม เพอ่ื ให้การใชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอรน์ ั้นมีความรวดเรว็ และมีความเขา้ ใจไดง้ ่ายข้ึน

258

ประเภทของการเขยี นแบบสำหรบั งานออกแบบผลติ ภณั ฑน์ ้นั หลกั ๆ มีอยดู่ ้วยกนั
3 ประเภท คือ การเขียนภาพฉายหรือภาพไอโซเมตริก การเขียนแบบภาพออบลิค และการเขียนแบบภาพ
เพอร์สเพกทิฟ การจะเลือกเขียนแบบประเภทไหนขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของผู้ออกแบบที่ต้องการจะสื่อสาร
แบบกับผอู้ ื่น

การเขียนแบบสำหรับงานออกแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรมไทยร่วมสมัยจะมีความแตกต่างกับ
การเขียนแบบเพื่อการผลิตผลิตภัณฑ์ทั่ว ๆ ไปในหลายๆ ด้านที่ต้องใช้ความละเอียดที่ต้องคำนึงถึงมากกว่า
ไดแ้ ก่ ด้านลวดลาย พน้ื ผิว โครงสรา้ ง รายละเอียดเลก็ ๆ น้อย ๆ ตา่ ง ๆ ฯลฯ เป�นต้น

แนวการพัฒนาต้นแบบผลิตภัณฑ์ (Prototype Model) สำหรับผลิตภัณฑ์หัตถกรรมไทยร่วม
สมยั หรือตวั อย่างชิ้นงานผลติ ภัณฑห์ รือโมเดลจำลองก่อนการผลิตจริงนน้ั มีหลากหลายวธิ ี ซ่ึงส่วนมากแล้วผลงาน
ตน้ แบบสว่ นใหญจ่ ะไมม่ กี ลไกภายในและเป�นผลิตภัณฑร์ ว่ มสมัยที่ไม่มคี วามซับซ้อนในการใชง้ านมากนัก

การนำเสนอผลงานการออกแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรมไทยร่วมสมัยนั้นประกอบด้วย
กระบวนการออกแบบในหลาย ๆ ขั้นตอนตั้งแต่หน้าปกเล่มโครงการ รายละเอียดโครงการออกแบบ การ
วิเคราะห์ข้อมูลงานหัตถกรรม ภาพกลุ่มเป้าหมาย ภาพ CONCEPT & MOOD BOARD ภาพผลงานการ
ออกแบบ ภาพผลงาน PERSPECTIVE หรือ ISOMETRIC ภาพผลงานการออกแบบเขียนแบบ การทำต้นแบบ
ผลติ ภัณฑ์ (Prototype) และการออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ (Packaging Design)

7. แบบฝ�กหัดปฏบิ ัติงานออกแบบท้ายบท

จากการเรียนวิชา อบท115 การออกแบบศิลปหัตถกรรม ในภาคการศึกษาน้ี เนื้อหาการ
เรียนทง้ั หมดท่เี รียน ทำรายงาน และฝก� ปฏิบตั ิ SKETCH DESIGN มดี งั น้ี

1. ศลิ ปหตั ถกรรมไทย
2. ศิลปหตั ถกรรมไทย - ภาคเหนอื
3. ศลิ ปหัตถกรรมไทย - ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื
4. ศลิ ปหตั ถกรรมไทย - ภาคกลาง
5. ศลิ ปหตั ถกรรมไทย - ภาคใต้
6. ศลิ ปหตั ถกรรมร่วมสมัย
7. เทคนิคการวิเคราะหก์ ารออกแบบงานหัตถกรรม
8. เทคนคิ การออกแบบงานหตั ถกรรม
9. กรณีศกึ ษางานออกแบบหัตถกรรมรว่ มสมัย
10.การเขยี นแบบและการสรา้ งผลงานต้นแบบผลิตภณั ฑ์หตั ถกรรมไทยร่วมสมยั
ให้นิสิตทบทวน ศึกษา หาข้อมูลเพิ่มเติมเนื้อหาวิชาทั้งหมดและจัดทำผลงานการออกแบบ
FINAL PROJECT โครงการ - “SWU SOUVENIRS DESIGN COLLECTION” คำอธิบายโครงการมดี ังนี้
ในการออกแบบโปรเจคนเี้ ปน� การทดสอบ วดั ผล และประเมินผลการเรียนทั้งหมดผ่านความรู้
ความเขา้ ใจและการฝ�กปฏบิ ัตกิ ารออกแบบผลงานของนิสติ โพรเจกตน์ ้เี ป�นการออกแบบสรา้ งสรรค์คอลเลกชั่น

259

ของทรี่ ะลึกหตั ถกรรมรว่ มสมัยของมหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒประจำป� โดยให้นิสิตออกแบบผลิตภัณฑ์เป�น
รูปแบบงานหัตถกรรมร่วมสมัยที่มาจากการเลือกแรงบันดาลใจและวิเคราะห์ข้อมูลผลิตภัณฑ์จากงาน
หัตถกรรมพน้ื บา้ นของไทยภาคใดก็ไดค้ นละ 1 ภาค ภาคละ 2 ประเภทงานหัตถกรรม เชน่ เลือกงานหัตถกรรม
ภาคเหนือ ประเภทงานไม้กับงานจักสาน เป�นต้น ผสมการใช้เทคนิคการออกแบบงานหัตถกรรมร่วมสมัยกับ
ทฤษฎีแนวทางการออกแบบของที่ระลึก (ตามที่ได้สอน) ออกมาเปน� เซ็ตคอลเลกชน่ั สินค้ารว่ มสมัยจำนวนไม่ต่ำ
กวา่ 4 ชน้ิ ท่สี ือ่ ถงึ ภาพลกั ษณ์ของมหาวิทยาลยั ในปจ� จบุ ันได้

เกณฑก์ ารให้คะแนน :
ความคดิ สร้างสรรค์ (Creativity) 50%
ความสวยงาม (Aesthetic) & การใช้งาน (Functionality) 20%
ความถกู ต้องจากเนอ้ื หาการเรียน 15%
ความสามารถในการผลติ ไดจ้ ริง (Fabricability) 15%

ผลงานการออกแบบFINAL PROJECT - “SWU SOUVENIRS DESIGN COLLECTION” ที่
ต้องมี (ให้ส่งเป�นไฟล์ pdf แต่ละหน้าเป�น A3 ทุกคนต้องมีจำนวนหน้าตามที่กำหนดและเรียงลำดับแต่ละหน้า
ตามนี้ ส่งงานใน GOOGLE CLASSROOM)

1. หนา้ ปกเล่มโครงการ (ประกอบด้วย ชื่อโครงการ ชอ่ื ผอู้ อกแบบ+เลขประจำตวั นิสิต สาขา
คณะ มหาวิทยาลัย และชื่อผลงานที่ออกแบบ หน้าปกควรออกแบบสวยงามและมีความเชื่อมโยงกับผลงานท่ี
ออกแบบ)

2. รายละเอียดโครงการออกแบบ (ประกอบด้วย ชื่อโครงการ ชื่อผู้ออกแบบ+เลขประจำตัว
นิสิต สาขา คณะ มหาวิทยาลัย และชื่อผลงานที่ออกแบบ แนวความคิดในการออกแบบ (Concept) โครงสี
โดยรวม วัสดุที่ใช้ในการออกแบบ ข้อมูลหน้านี้เป�นลักษณะการเขียนอธิบายแบบสรุป พร้อมภาพประกอบ
เล็กน้อยในแต่ละขอ้ )

3. การวิเคราะห์ข้อมูลงานหัตถกรรมพื้นบ้านที่เลือกมาใช้เป�นแรงบันดาลใจทั้ง 2 ชิ้น พร้อม
การวิเคราะหง์ านออกแบบหตั ถกรรม + เทคนคิ และทฤษฎีการออกแบบของที่ระลึกตามที่ได้เรียนมา

4. ภาพกลมุ่ เปา้ หมายของสนิ คา้ ของทีร่ ะลกึ ตามที่ออกแบบ การวเิ คราะหพ์ ฤตกิ รรมผบู้ ริโภค
5. ภาพ CONCEPT & MOOD BOARD
6. ภาพผลงานการออกแบบ ภาพผลงาน PERSPECTIVE หรือ ISOMETRIC ที่เห็นภาพรวม
ผลงานทั้งเซ็ตคอลเลกชัน่ และลกั ษณะการใชง้ านของสินคา้
7. ภาพผลงานการออกแบบ สินค้าของที่ระลึกแต่ละชิ้น พร้อมขนาด (Dimension) และ
รายละเอยี ดอื่น ๆ
8. ภาพผลงานการออกแบบ บรรจุภัณฑ์ (Packaging Design)

260

บรรณานุกรม

กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม. (2561). มรดกภูมิป�ญญาอีสาน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุม
สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

กองทุนส่งเสริมศิลปะร่วมสมัย สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม. (2560). นโยบาย
และยุทธศาสตร์สง่ เสริมศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔). กรุงเทพฯ : สำนักงาน
กจิ การโรงพมิ พ์ องคก์ ารสงเคราะห์ทหารผา่ นศึกในพระบรมราชปู ถมั ภ์ศูนย์มานษุ ยวิทยาสริ นิ ธร.

กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม. (2543). รูปแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรมไทย. กรุงเทพฯ :
กรมสง่ เสรมิ อุตสาหกรรม.

กัมพล แสงเอี้ยม. (2559). วัฒนธรรมร่วมสมัยสู่การปรับเปลี่ยนรูปแบบ งานศิลปหัตถกรรมผ้าทอท้องถิ่น.
ศิลปกรรมสาร วารสารวิชาการคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 11(1), น. 1-
12.

กิตติพงษ์ เกียรติวิภาค. (2559). พัฒนาด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์โดยใช้กรอบแนวคิดการออกแบบหัตถ
อุตสาหกรรม Industrial Crafts Design Framework (Grow - Reborn).วารสารศิลปกรรม
ศาสตร์มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น, 9(2), น. 333-366.

กุลนิษก์ สอนวิทย.์ (2017). ทฤษฎกี ารออกแบบ. สืบคน้ จาก http://identity.bsru.ac.th/archives/5017
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (2559). วิถีชาติพันธุ์ในอีสาน : “ภาวการณ์

กลายเป�น” ในกระแสการเปลี่ยนแปลงสู่เสรีนิยมใหม่. ในรวมบทความการประชุมวิชาการ
ระดับชาติ. 7-8 เมษายน 2559. ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น.
จรูญ แดนนาเลิศ. (2562). ประเพณี ความเชื่อ ของวิถีชุมชนล้านนา Traditions, Beliefs of Lanna
community. การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 2
“การเมอื ง การบรหิ ารและสงั คมในยุคดจิ ิทัลกบั การพัฒนาท่ีย่งั ยืน”, เชยี งราย : มหาวทิ ยาลัยราช
ภัฏจงั หวัดเชยี งราย.
ชลวุฒิ พรหมสาขา ณ สกลนคร. (2547). วัฒนธรรมนำการออกแบบ Designthnologie. วารสารวิชาการ
คณะสถาป�ตยกรรมศาสตร์. ขอนแก่น : มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ . 3(1),
น. 1-7.
ณัฏฐวุฒิ ทรัพย์อุปถัมภ์. (2558). ภูมิป�ญญาในแต่ละภูมิภาคของประเทศไทย. [เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา ภูมิป�ญญาเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต]. จันทบุรี : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลยั ราชภัฏรำไพพรรณี, น. 33-56.
ณัฐพล อัสสะรัตน และอภิรดี วงศ์กิจรุ่งเรือง. (2559). วิจิตรศิลป์: กลยุทธ์ทางการตลาดใหม่ของร้านค้า
ปลกี . วารสารจุฬาลงกรณ์ธรุ กจิ ปริทศั น์, 39(1), น. 94-118.

261

ณัฐสภุ า เจริญยงิ่ วัฒนา. (2555). การคน้ หาและถ่ายทอดแรงบนั ดาลใจในงานออกแบบแฟช่นั .
วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศลิ ปะ. มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ. 14(1),
น. 21-31.

ทัศนัย ดํารงหัด และรัฐไท พรเจริญ. (2558). ภูมิป�ญญาล้านนาในการพัฒนาหัตถกรรมของแต่งบ้านจาก
เศษใบไม้แห้ง. วารสารวิชาการ AJNU ศลิ ปะสถาปต� ยกรรมศาสตร์มหาวิทยาลยั นเรศวร. 6(2). น.
101-119.

ธีติ พฤกษ์อุดม และโสมฉาย บุญญานันต์. (2563). การพัฒนากิจกรรมศิลปะเพื่อส่งเสริมการเห็นคุณค่า
ของอัตลักษณ์ในงานศิลปหัตถกรรมภาคใต้ สำหรับเยาวชน. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั , 48(1), น. 103-121.

ธีรพงษ์ กันทำ, อลงกรณ์ อรรคแสง และวิทยา สุจริตธนารักษ์. (2559). อีสานและการเมืองเรื่องพื้นท่ี:
พรมแดนแห่งความร.ู้ วารสารการเมืองการปกครอง มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม, 6(2),
น.309-330.

ธีรารัตน์ ทิพย์จรสั เมธา. (2563). การปฏวิ ัติทางวทิ ยาศาสตร.์ [เอกสารประกอบการสอน วิชาประวัตศิ าสตร์
ยุโรปเรื่องการปฏวิ ัตวิ ิทยาศาสตร]์ , สบื ค้นจาก
http://www.eledu.ssru.ac.th/teerarat_ti/pluginfile.php/347/course/summary/
เอกสารประกอบการสอนปวศยโุ รปเรื่องการปฏิวตั ทิ างวิทยาศาสตร์.pdf

นงคราญ ศรีชาย และวรวิทย์ หัศภาค. (2543). โบราณคดีศรีวิชัย มุมมองใหม่การศึกษาวิเคราะห์แหล่ง
โบราณคดีรอบอ่าวบ้านดอน. สำนักงานโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติที่ 11 กรม
ศิลปากร. นครศรธี รรมราช: สำนักพมิ พ์เมด็ ทราย.

นภาพร อติวานิชยพงศ์. (2557). คนชนบทอีสานกับการทำมาหากิน: ความเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย.
วารสารสังคมวทิ ยามานุษยวิทยา, 33(2), น.103-127.

นวลลออ ทินานนท์. (2543). ศิลปะพื้นบ้านไทย. [เอกสารประกอบการสอน]. กรุงเทพฯ : คณะศิลปกรรม
ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ, น. 75-82.

พรสนอง วงศ์สิงห์ทอง. (2550). การออกแบบและพัฒนาแฟชั่นและมัณฑนภัณฑ์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์
วสิ คอมเซน็ เตอร์.

พรนารี ชัยดิเรก. (2560). แนวทางการออกแบบแฟชั่นเครื่องหนงั สง่ ออกประเทศญี่ป่นุ : การสร้างสรรค์อัต
ลักษณ์หัตถกรรมไทย ในรูปแบบอาวองท์-การ์ด หลังยุคสมัยใหม่. (วิทยานิพนธ์ศิลปกรรมศาสตร
ดษุ ฎีบณั ฑติ ). จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย, กรุงเทพมหานคร.

พิสฐิ คลงั กูล, กฤษณ์ วิไลโอฬาร, และกัลยกร จันทรสาขา. (2556). ศกึ ษาวิจัยหัตถกรรมพืน้ ถ่ิน : เพื่อการ
พฒั นาผลติ ภณั ฑช์ มุ ชน. สบื คน้ จาก
http://narinet.sut.ac.th:8080/xmlui/handle/123456789/169

ภริตพร แก้วแกมเสอื . (2562). การอนุรกั ษ์ สบื สานและพฒั นางานศลิ ปหตั ถกรรมพ้ืนบา้ นเครื่องจักสานโดย
แนวคดิ ทางการออกแบบผลติ ภณั ฑ.์ สารอาศรมวัฒนธรรมวลยั ลกั ษณ์, 19(2), น. 68-96.

262

มหาวิทยาลัยราชภฏั จนั ทรเกษม. (2563). การแตง่ กายของไทย. สบื คน้ จาก
https://culture.chandra.ac.th/images/63/KM/Dresssectors.pdf

ราชบัณฑิตยสถาน. (2542). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์
พบั ลิเคชนั่ ส.์ น. 619.

รัชพงศ์ จารุสินธุพงศ.์ (2560). ปญ� หากฎหมายการหา้ มโฆษณาเกี่ยวกบั สรุ า : กรณีศึกษาสุราพ้นื บ้าน.
(วิทยานิพนธม์ หาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรปี ทุม. สบื ค้นจาก
http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/5494.

วรเทพ อรรคบุตร. (2557). แล้วค่อยรู้สึกร่วมสมัย. [สูจิบัตรนิทรรศการศิลปนิพนธ์ นักศึกษาคณะ
ศลิ ปกรรมศาสตร์]. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั กรงุ เทพ.

วัศรนันทน์ ชูทัพ. (2558). ภูมิป�ญญาในวรรณกรรมเยาวชนของนักเขียนภาคใต้ของประเทศไทย. วารสาร
มนษุ ยศาสตร์ ฉบบั บณั ฑติ ศกึ ษา. มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 4(1), น. 78-87.

วิชญ์ จอมวิญญาณ์. (2560). ภูมิศาสตร์ประเทศไทย. อุดรธานี : คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอดุ รธาน.ี

วิบลู พร วุฒคิ ุณ และรชั นกิ ร กุสลานนท.์ (2563). การออกแบบผลิตภัณฑร์ ่วมสมยั ตามแนวคิดทุนทาง
วฒั นธรรม จากภูมิปญ� ญานวดแผนไทย. วารสารศลิ ปกรรมศาสตร์วิชาการ วิจยั และงาน
สรา้ งสรรค์. มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ,ี 7(1), น. 46-59.

วบิ ูลย์ ลีส้ วุ รรณ. (2538). ศิลปหัตถกรรมพื้นบา้ น. กรุงเทพฯ : สำนักพมิ พค์ อมแพคทพ์ ริน้ ท.์
วิบูลย์ ลส้ี ุวรรณ. (2544). มรดกทางวัฒนธรรมพน้ื บ้าน. กรุงเทพฯ : สำนกั พมิ พ์ตน้ ออ้ 1999.
วิบูลย์ ลี้สุวรรณ. (2553). ศิลปหัตถกรรมพื้นบ้าน : เอกลักษณ์เฉพาะถิ่น Folk Handicrafts : Local

Identity. วารสารมหาวทิ ยาลยั ศิลปากร, 30(1), น. 163-182.
วิลาวณั ย์ วิเศษวงษา. (2018) ). วัฒนธรรม 4 ภาค วัฒนธรรมต่าง ๆ ในภมู ิภาคของไทย. สืบคน้ จาก

https://std145.wordpress.com/
ศนู ย์มานษุ ยวิทยาสิรินธร. (2560). “กล่มุ ชาติพนั ธ”์ุ . สบื คน้ จาก

http://www.sac.or.th/databases/ethnic-groups/site/index.
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน). (2555). ทะเบียนช่างหัตถศิลป์ไทย. กรุงเทพฯ :

บรษิ ทั มวิ ท์ จำกัด.
สมเชาว์ บำรุงชัย. (2559). รูปแบบการพัฒนาชุมชนยั่งยืนภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศ

ไทย. วารสารวชิ าการสมาคมสถาบนั อุดมศึกษาแหง่ ประเทศไทย, 22(1), น. 70-78.
สมศกั ดิ์ ศรีสนั ตสิ ุข. (2558). โสวฒั นธรรมอสี านในงานวิจยั . เชยี งใหม่: บลมู ม่ิง ครีเอชน่ั .
สามารถ จนั ทรส์ รู ย์. (2542). ภมู ปิ ญ� ญาชาวบา้ นกับการพฒั นาชนบท.

กรุงเทพฯ : บริษทั อมรนิ ทรพ์ ริ้นทต์ ง้ิ กรปุ๊ . น. 65.

263

สิปปนันท์ นวลละออง และป�ยตา สุนทรป�ยะพันธ์. (2561). วิถีทางประวัติศาสตร์วัฒนธรรมศรีวิชัยเพ่ือ
ส่งเสริมการท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมบนคาบสมุทรภาคใต้ของไทย. วารสาร
อิเล็กทรอนิกสก์ ารเรยี นรูท้ างไกลเชงิ นวตั กรรม. 8(2), น. 84-111.

สืบพงศ์ ธรรมชาติ. (2561). “ศิลปหัตถกรรมอาเซียน” ใน การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ
สานสัมพันธ์วัฒนธรรมอาเซียน ครั้งที่ 3, 2561. นครศรีธรรมราช : อาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์
มหาวทิ ยาลัยวลยั ลักษณ์.

สุชาติ สุขนา. (2563). ศิลปะแบบประเพณีอีสาน – ศิลปหัตถกรรมอีสาน. [เอกสารประกอบการบรรยาย
รายวชิ า ศลิ ปะไทย 1]. มหาสารคาม : คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม.

สชุ าติ เถาทอง. (2543). การสำรวจและศึกษาแหล่งข้อมลู พน้ื ฐานทางศลิ ปวฒั นธรรมและภมู ิปญ� ญาพ้ืนถ่นิ
ในภาคตะวันออก (ศิลปกรรม-ศลิ ปหัตถกรรม). สืบคน้ จาก
https://www.mculture.go.th/chanthaburi/ewt_news.php?

สรุ พล ดำรหิ ์กุล. (2539). แผน่ ดนิ ล้านนา. กรุงเทพฯ : สำนกั พิมพเ์ มืองโบราณ.
แสงอรุณ รัตกสิกร และคณะ. (2551). ลักษณะไทย วัฒนธรรมพื้นบ้าน. (พิมพ์ครั้งที่2). กรุงเทพฯ: บริษัท

อมรนิ ทพ์ ริ้นตงิ้ แอนดพ์ ับลิชช่งิ .
สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. (2557). ยุทธศาสตร์การวิจัย (พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙) : ภาคเหนือ

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ง
ประเทศไทย จำกัด.
สำนักงานอุทยานแห่งชาติ กรมอทุ ยานแห่งชาติสัตว์ปา่ และพันธ์ุพชื . (2557). อุทยานแหง่ ชาต.ิ สืบค้น จาก
www.nps.dnp.go.th/parks.php.
สำนักอนุรักษ์สตั วป์ า่ . (2560). เขตรกั ษาพันธุ์สตั ว์ป่า. สบื ค้นจาก
http://www.dnp.go.th/wildlifednp/index.php?option=com_content&view=arti
cle&id=28&Itemid=.
อรญั วานิชกร. (2555). การศกึ ษากระบวนการเขยี นภาพร่าง ทัศนียภาพเพ่อื การออกแบบผลิตภัณฑ์ชุมชน.
กรงุ เทพ : มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ.
อรัญ วานิชกร. (2559). การออกแบบผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลัย.
อรัญญา แสนสระ. (2560). ภูมิป�ญญาท้องถิ่นในภาษาและวัฒนธรรมอีสาน. วารสารศิลปศาสตร์ มทร.
ธญั บรุ ,ี 1(1), น. 1-16.
อญั ชญั ฉิมมาฉยุ . (2562). วฒั นธรรมเเละประเพณีไทยThai culture and traditions. เอกสาร
ประกอบการสอน E-book Library กศน.ตำบลทรงคนอง, สืบค้นจาก
https://pubhtml5.com/slre/bndk/basic
อาชัญ นักสอน. (2558). กระบวนการ สร้างงานศิลปหัตถกรรม กับฝ้ายทอมือ “แสงดา บันสิทธิ์”.
วารสารวชิ าการคณะศลิ ปกรรมศาสตรม์ หาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 10(1), น. 215-234.

264

เอกวิทย์ ณ ถลาง. (2544). ภูมิปญ� ญาอสี าน. กรุงเทพ ฯ : อมรนิ ทร์.
Frank, S., and Robert, H., (2009). The Impact of Intangible Value on the Design and Marketing

of New Products and Services: An Exploratory Approach. In Proceedings of PICMET
2009. August 2-6, Portland, Oregon USA.
Geography Thailand 57. (2021). ลักษณะสังคมและวัฒนธรรมของไทย. สบื ค้นจาก
https://sites.google.com/site/geographythailand57/laksna-sangkhm-laea-
wathnthrrm-khxng-thiy
Paul, S., (2021). What Is the Definition of Contemporary Design? . Retrieved from
https://www.hunker.com/13411166/what-is-the-definition-of-contemporary-
design
Petcharanonda, B. , Tantinipankul, W. , & Wongreun, W. , ( 2017) . From Local Handicraft to
Creative Art and Design: A Case Study of Palm Waving in Kay Noi Village, Mae Taeng
District, Chiang Mai Province. In Proceedings of 13Th International Conference on
Thai Studies Globalized Thailand Connectivity, Conflict and Conundrums of Thai
Studies 15-18 July 2017, Chiang Mai, Thailand.
Vongthong, (2559). Mood board สำคัญอย่างไรกับการออกแบบผลิตภัณฑ์. Retrieved from
http://vongthong.blogspot.com/2016/09/mood-board_2.html

265

ประวตั ผิ ูเ้ ขียน

ชื่อ-นามสกุล (ภาษาไทย) นางสาวพรนารี ชยั ดิเรก

ชือ่ -นามสกุล (ภาษาองั กฤษ) Miss Pornnaree Chaidirek

ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์

ทีท่ ำงาน คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ

เบอร์โทรศัพท์ 08-1863-2113

Email [email protected]

ประวตั ิการศึกษา

ประถมศึกษา โรงเรยี นอนุบาลระยอง จ.ระยอง

มธั ยมศึกษาตอนต้น โรงเรยี นชลกนั ยานุกลู จ.ชลบรุ ี

มธั ยมศกึ ษาตอนปลายโรงเรยี นเตรียมอดุ มศกึ ษา

ปริญญาตรี ออกแบบอุตสาหกรรมบัณฑติ สาขาการออกแบบอุตสาหกรรม

คณะสถาป�ตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ปริญญาโท ศลิ ปกรรมศาสตรมหาบณั ฑติ สาขานฤมิตศิลป์

คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั

ปรญิ ญาเอก ศลิ ปกรรมศาสตรดษุ ฎีบัณฑิต สาขานฤมิตศลิ ป์

คณะศิลปกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย

คุณวุฒิ สาขาวิชา และสถาบนั ที่สำเร็จการศึกษา (เรยี งจากระดับปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท และปริญญาเอก)

วฒุ กิ ารศึกษา คุณวุฒ/ิ สาขาวิชา สถาบนั ปท� ีส่ ำเรจ็

ออ.บ. การออกแบบอุตสาหกรรม จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั 2543

ศป.ม. นฤมติ ศิลป์ สาขาแฟชัน่ และสงิ่ ทอ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั 2552

ศป.ด. ศิลปกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั 2561

266

ความเช่ียวชาญ
การออกแบบผลติ ภัณฑ์ ผลติ ภัณฑ์ทุนวัฒนธรรม การออกแบบตกแต่งภายใน สถาปต� ยกรรมภายใน

การออกแบบแฟช่นั การออกแบบเครื่องหนัง
1. งานวิจัย

1.1 บทความวจิ ัยตีพิมพ์ในวารสารวชิ าการระดับชาตแิ ละนานาชาติ
พรนารี ชัยดิเรก. แนวทางการออกแบบแฟชั่นเครื่องหนังส่งออกประเทศญี่ปุ่น: การสร้างสรรค์อัตลักษณ์

หัตถกรรมไทยในรูปแบบอาวองท์-การ์ดหลังยุคสมัยใหม่. วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ
มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ, 20. น. 80-92.
1.2 บทความวิจยั ที่ไดร้ ับการตพี ิมพ์ฉบับเตม็ จากการประชุมวิชาการระดบั ชาติหรือนานาชาติ
Bunnag, P., Chaidirek, P., Imsomang, T., Jotikasthira, T., Pornmuttawarong, T., Songcharoen, V.

& Surasawadee, W. Seniorpolis. In: Art access and advocacy: promoting creativity
and innovation in urban communication for the development of participatory and
happy communities proceeding of The 12th Urban Research Plaza’ s Forum
Thailand 7-8 March 2013. Chulalongkorn University, Thailand. 112-117.

267


Click to View FlipBook Version