The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

23-12-2021 แก้เลขสารบัญล่าสุด เอกสารประกอบการสอน VID115 CRAFT DESIGN

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by da.suchitra, 2021-12-26 23:29:24

23-12-2021 แก้เลขสารบัญล่าสุด เอกสารประกอบการสอน VID115 CRAFT DESIGN

23-12-2021 แก้เลขสารบัญล่าสุด เอกสารประกอบการสอน VID115 CRAFT DESIGN

1. ทรัพยากรดิน เช่น ดินร่วนปนทรายและดินเหนียวป�ตตานี ดินร่วนปนทรายและปน
ทรายหยาบนครศรธี รรมราช

2. ทรัพยากรน้ำ มีทั้งน้ำจืดและน้ำเค็ม ลักษณะภูมิประเทศที่เป�นคาบสมุทรนั้นทำให้
พน้ื ท่ขี องภาคใตน้ ั้นขาดแคลนน้ำจืด ท้ังทมี่ ีแมน่ ้ำหลายสายทั้งท่ีไหลออกอ่าวไทยและทะเลอนั ดามัน ในภาคใต้
จงึ มกี ารสรา้ งเขอ่ื นเพ่ือการกกั เกบ็ น้ำจืด ไว้เพอื่ ในทง้ั การอปุ โภคและบรโิ ภคของประชากร

3. ทรัพยากรแร่ธาตุ ภาคใต้ถือเป�นทรัพยากรสำคัญของประเทศ ในด้านการส่งออก
ทรัพยากรแร่ธาตจุ ำพวก ดีบุก สังกะสี แมงกานีส คล้ายคลึงกับประเทศมาเลเซีย ทรัพยากรแร่ธาตุของภาคใต้
นั้นมีมากจนทำใหเ้ กดิ ปรากฏการณก์ ารจา้ งแรงงานสงู มากในกลุม่ อุตสาหกรรมเหมืองแร่

4. ทรัพยากรป่าไม้ ป่าไม้ในภาคใต้ส่วนใหญ่เป�นป่าไม้ไม่ผลัดใบเป�นป่าที่ต้นไม้มีใบเขียว
ชอุ่มตลอดทั้งป� มีการผลัดใบบ้างในบางฤดูกาลแต่ไม่ถึงกับผลัดใบจนหมดทั้งต้น ประเภทของป่าไม้ในภาคใต้
ไดแ้ ก่ ป่าดงดิบ ปา่ ดิบหรอื ป่าดิบช้นื ป่าดงดบิ แลง้ ปา่ ดบิ เขาหรอื ปา่ ดงดิบเขา ป่าชายหาด ปา่ ชายเลน และป่า
พรุ

5. อุทยานแห่งชาติ ในภาคใตม้ คี วามแตกตา่ งตา่ งภมู ิภาคอื่น ๆ เนอ่ื งจากภาคใตม้ อี ุทยาน
แห่งชาติทางทะเลท่ีเป�นพ้นื ท่ีอนุรักษ์บนพ้ืนน้ำที่มีความสำคัญท้ังในเชิงการอนุรักษ์และในเชิงเศรษฐกิจสำหรับ
ประเทศไทย ประกอบไปด้วย (สำนักงานอุทยานแห่งชาติ กรมอทุ ยานแห่งชาติสตั ว์ ปา่ และพันธุ์พืช, 2557)
ตะรุเตา หมเู่ กาะสิมิลัน หมู่เกาะสรุ นิ ทร์ หมู่เกาะอา่ งทอง ฯลฯ เปน� ตน้

6. ทรัพยากรสัตว์ป่าและประมง ป่าของภาคใต้โดยมากเป�นสัตว์ในเขตร้อนชื้น อาทิ
กระทิง จระเข้น้ำเค็ม เสือขนาดต่าง ๆ ทรัพยากรประมงในภาคใต้นั้นก็มีเป�นจำนวนมากเช่นกัน ลักษณะการ
เชน่ นสี้ ่งผลใหม้ ีการทำการประมงชายฝ�งในปริมาณมากโดยเฉพาะในเขตพื้นท่ีอา่ วไทยพ้ืนที่การประมงท่ีสำคัญ
ประกอบไปด้วยแม่น้ำสายต่าง ๆ ในภาคใต้ส่วนใหญ่เป�นการประมงน้ำกร่อยและน้ำเค็ม แต่ก็มีแม่น้ำและอ่าง
เก็บน้ำเป�นจำนวนมาก ได้แก่ ทะเลสาบสงขลาที่เป�นทะเลสาบขนาดใหญ่กินพื้นที่เป�นบริเวณกว้าง และเป�น
แหล่งเพาะพันธุ์สัตว์น้ำที่สำคัญมากมาย แม่น้ำชุมพร แม่น้ำตาป� แม่น้ำสายบุรี แม่น้ำกระบุรี แม่น้ำปากพนัง
และอา่ งเก็บนำ้ ต่างๆ อาทิ เขอ่ื นบางลาง เขอ่ื นเช่ียวหลาน เปน� ตน้ และในส่วนของการประมงน้ำเค็มน้ันแบ่งได้
เป�นส่วนของทะเลฝ�งอ่าวไทยตอนบนได้แก่ จังหวัดชุมพรและสุราษฎร์ธานีและอ่าวไทยตอนล่าง ได้แก่ จังหวัด
นครศรีธรรมราช สงขลา ป�ตตานีและนราธิวาส ส่วนฝ�งทะเลอันดามันตอนบนได้แก่ จังหวัด ระนอง พังงา
ภูเกต็ และทะเลอนั ดามนั ตอนล่าง ไดแ้ ก่ จงั หวัดกระบี่ ตรงั และสตลู

-วฒั นธรรมประจำท้องถน่ิ และสภาพทางสังคม
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (2559) สรุปวา่ เนื่องจากภาคใตม้ ีลักษณะเป�นคาบสมุทรยื่นไป
ในทะเลทำให้มีกลุ่มชนชาติต่าง ๆ เข้ามาเพื่อการค้าขายในยุคสมัยโบราณ และประกอบกับมีกลุ่มชาติพันธ์ุ
ด้งั เดิมอาศยั อยู่ กลุ่มเหล่าน้จี ึงอาศัยอยรู่ ่วมกับธรรมชาตบิ นคาบสมุทรนีด้ ว้ ยกัน ซง่ึ ส่วนใหญแ่ ล้วประกอบด้วย
1. ไทยเชื้อสายมลายู (Malayu) ชาวไทยที่มีเชื้อสายมลายูหรือมาเลย์ อาศัยอยู่ทาง
ภาคใต้ ของประเทศไทย ใช้ภาษาตระกูลมาลายู - โปลินีเชียน นับถือศาสนาอิสลามเป�นหลัก มีประชากรเช้ือ
สายมลายูนับเปน� รอ้ ยละ 3 ของประเทศไทย ในภูมิภาคนี้มีชุมชนเช้ือสายมลายูกระจายอยู่ท่ัวไป อาทิ จังหวดั

125

สตูล จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดระนอง จังหวัดภูเก็ต จังหวัดพังงา จังหวัดกระบี่
จงั หวัดตรัง และจังหวดั ชุมพร

2. ซาไก (Sakai) หรือ เซมัง (Samang) เป�นกลุ่มคนที่ใช้ชีวิตเร่ร่อนอยู่ในป่าเทือกเขา
บรรทัด ในพื้นที่ 3 จังหวัด คือ จังหวัดพัทลุง จังหวัดตรัง และจังหวัดสตูล มีลักษณะการใช้ชีวิต เหมือนกับคน
ในยคุ หนิ คอื มที ีพ่ ักชัว่ คราวเรยี กว่า “ทับ” คล้ายกับมลาบรใี นภาคเหนือมกั จะอาศัยอยู่ เป�นกลุม่ ประมาณ 30
คน

3. ชาวเล หรือชาวทะเล เป�นกลุ่มคนที่อาศัยอยู่ตามชายทะเล ประกอบอาชีพเกี่ยวกับ
การประมงหรือทำมาหาเลี้ยงชีพโดยอาศัยทะเลเป�นหลัก อาศัยอยู่ไม่เป�นหลักแหล่งตามพื้นที่ชายฝ�งทะเล
อนั ดามนั ของประเทศไทยและประเทศมาเลเซีย ประกอบไปด้วย 3 กลุ่มหลัก ไดแ้ ก่ มอแกลน (Moklen) มีถิ่น
ฐานอยู่ที่เกาะพระทอง อำเภอคุระบุรี และชายฝ�งทะเล จังหวัดพังงา อำเภอตะกั่วป่า, บ้านลำป� อำเภอท้าย
เหมอื ง อำเภอถลาง จงั หวดั ภเู ก็ต มอแกน (Moken) มถี ่ินฐานอย่ทู ี่เกาะพระทองและหมูเ่ กาะสุรินทร์ อ.คุระบุรี
จังหวัดพังงา เกาะสินไห่และเกาะเหลา จังหวัดระนอง และที่หาดราไวย์ จังหวัดภูเก็ต และเกาะพีพี จังหวัด
กระบี่ ในกลุ่มหมบู่ า้ นของชาวอรู ักลาโวย้ อกี ด้วย

4. อูรักลาโว้ย (Urak lawoi) เรียกตนเองว่ากลุ่ม “ไทยใหม่” เป�นชนกลุ่มใหญ่มีถิ่นฐาน
บนเกาะสิเหร่ และที่หาดราไวย์ จังหวัดภูเก็ต ไปจนถึงทางใต้ของเกาะพีพีดอน เกาะลันตาใหญ่ จังหวัดกระบ่ี
เกาะอาดัง เกาะหลีเป๊ะ เกาะราวี จังหวัดสตูล พบบางส่วนอยู่บนเกาะลิบง จังหวัดตรัง ป�จจุบันกลุ่มชาวเล
เหล่านี้ได้ปรับเปล่ียนวิถีชีวิตใหม่ มีการต้งั ฐานถาวร ประกอบอาชีพเปน� หลักแหล่ง อาทิ ประมงชายฝ�ง ทำสวน
รบั จ้าง เปน� ต้น

-วฒั นธรรมประจำท้องถิน่ วิถวี ัฒนธรรมหรือวิถชี ีวติ แบง่ เป�นมรดกท่จี ับต้องได้ เช่น ท่ีอยู่
อาศัย ศิลปะ ท้องถิ่น อาชีพ การแต่งกาย และอาหาร และที่จับต้องไม่ได้ เช่น ที่อยู่อาศัย ประเพณีภาษา
ศลิ ปะท้องถิ่น ความเช่ือ (สปิ ปนันท์ นวลละออง และปย� ตา สุนทรป�ยะพันธ,์ 2561) ดงั นี้

1. อาหาร
เอกลักษณ์ของ อาหารป�กษใ์ ต้และอาหารชาวศรวี ชิ ัยอยา่ งแท้จรงิ ที่จะต้องมีการปรงุ

ด้วยเครื่องเทศ อาหารป�กษ์ใต้นั้นมี“เครื่องเทศ” ส่วนประกอบสำคัญซึ่งทำจากสมุนไพรนานาชนิดและมีมา
อย่างช้านานแล้ว เนื่องจากดินแดนภาคใต้ของไทยตั้งอยู่ในเขตร้อนชื้น ซึ่งมีฝนตกทั้งป�จึงมีความอุดมสมบูรณ์
และความหลากหลายด้านทรัพยากรธรรมชาตเิ ป�นอย่าง มคี ำกลา่ วถึงอาหารป�กษใ์ ตว้ า่ “อาหารปก� ษ์ใตม้ ีคุณค่า
และมคี ุณสมบัตขิ องยาบำรุงรกั ษาร่างกาย และป้องกันการเจ็บป่วยได”้ เนื่องจากผู้คนทอี่ าศยั อยใู่ นพน้ื ทีภ่ าคใต้
อันมีลักษณะภูมิอากาศแบบร้อนชื้น จะทำให้ป่วยเป�นโรคเกี่ยวกับไข้หวัดหรือภมู ิแพ้ได้ง่าย ดังนั้นอาหารป�กษ์
ใต้จะมีการปรุงด้วยสมุนไพรที่มีสรรพคุณทางยาและมีรสชาติที่เข้มข้นจึงสามารถช่วยป้องกัน บรรเทา และ
รกั ษาโรคได้ดว้ ยน้ันเอง นอกจากนี้ในงานบญุ วนั สารทเดือนสบิ เปน� ประเพณสี ำคญั ของชาวใต้อนั แสดงถึงความ
กตัญ�ูกตเวทีของลูกหลานที่มีต่อ บรรพบุรุษ โดยอาหารจะบรรจุเสบียงอาหารเชน่ พืชผักพื้นถิ่น อาหารแห้ง
และเครอ่ื งปรงุ นอกจากนย้ี ังบรรจุเคร่ืองใชจ้ ำเป�นในชวี ิตประจำวนั ไวใ้ นภาชนะที่ เรยี กว่า “หมฺรบั ”ด้วย (นิยม
ใส่ในถังกาละมัง ถัง ถาด) อย่างไรก็ตามขนมที่ใช้ในประเพณี (หมฺรับ) มีอยู่ 5 อย่าง ได้แก่ ขนมพอง เป�น

126

สัญลักษณ์แทนเรือนแพที่บรรพบุรุษใช้ข้ามห้วงมหรรณพ ขนมลา เป�นสัญลักษณ์แทนแพรพรรณเครื่องนุ่งห่ม
ขนมบ้าเป�นสัญลักษณ์แทนลูกสะบ้า การละเล่นที่เป�นทีน่ ิยมในช่วงวนั สงกรานต์ ขนมดีซำ เป�นสัญลักษณ์แทน
เงินเบี้ยสำหรับใช้จ่าย และขนมกง หรือ ขนมไข่ ปลา เป�นสัญลักษณ์แทนเครื่องประดับ อย่างไรก็ตามจากคำ
บอกเล่าเรื่องราวในอดีตนั้นกล่าวว่า “ขนมลาลอยมัน” เป�นขนมหัวใจ (หมฺรับ) ที่เพิ่มเติมเป�นอย่างที่ 6 อันมี
ความหมายถึงสญั ลกั ษณแ์ ทนฟกู หมอน

2. การแต่งกาย
เนื่องจากภาคใต้ตั้งอยู่แถบศูนย์สูตร มีผลให้อุณหภูมิไม่แตกต่างกันนัก ชาวใต้นิยม

แต่งกายแบบเรียบง่ายหลวม ๆ ส่วนมากใช้ผ้าฝ้าย รูปแบบเครื่องนุ่งห่มส่วนใหญ่คล้ายกับของมาเลเซียและ
อินโดนีเซีย เพราะอยู่ในลักษณะอากาศแบบเดียวกนั ผ้าพื้นเมืองที่มชี ่ือเสยี งของภาคใต้ คือ ผ้ายก ผ้าจวน ผ้า
ไหมพุมเรียง และผ้าปาเต๊ะ ซึ่งเป�นผ้าที่นิยมกันในภาคใต้ตอนล่าง ภาคใต้ของประเทศไทยประกอบด้วย 14
จังหวัด นั้น แต่เดิมมีผู้คนอาศัยอยู่ตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์จนต่อมาได้พัฒนาเกิดเป�นชุมชนและกลายเปน�
เมืองท่าที่สำคัญ อันเป�นจุดเชื่อมโยงระหวา่ งดินแดนตะวันออกและตะวันตกของโลก ซึ่งเป�นแหล่งแลกเปล่ียน
วัฒนธรรมที่สำคัญโดยเฉพาะประเทศจีน อินเดีย และหมู่เกาะสุมาตรา เรียกดินแดนแห่งนี้กันว่าอาณาจักร
ศรีวิชัย อิทธิพลในการทอผ้าจากอินเดีย ที่มีการสอดผสมดิ้นเงินดิ้นทอง ลงในผืนผ้าสร้างรูปแบบแก่ผ้าใน
ภาคใตโ้ ดยซือ้ หาวสั ดสุ ่วนใหญ่จากอนิ เดีย ต่อมาเนือ่ งจากศึกสงครามบ้านเมือง ลม่ สลายลง การทอผา้ อันวิจิตร
ก็สูญหายไปด้วย โดยต่อมาภายหลังหันมานำเข้าผ้าพิมพ์และผ้าแพรจากจีนรวมถึงผ้าบาติกจากเกาะชวาและ
ผ้ายุโรปมาสวมใส่ จากการที่ชาวใต้มไิ ด้มกี ารปลกู ฝ้ายหรือไหมขึ้นใชเ้ อง เนื่องจากข้อจำกัดของพื้นที่จึงทำการ
สั่งซื้อผ้าสำเร็จรูปโดยเฉพาะผ้าบาติกหรอื ปาเต๊ะมาใช้กันจนภายหลังเป�นเครื่องแต่งกายประจำภาคไปในที่สุด
ป�จจุบันแหล่งทำผ้าแบบดั้งเดิมนั้นเกือบจะสูญหายไป คงพบได้ เฉพาะ 4 แหล่งเท่านั้น คือ ที่ตำบลพุมเรียง
จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี อำเภอเมอื ง จังหวัดนครศรีธรรมราช เกาะยอ จังหวัดสงขลา และตำบลนาหมืน่ ศรี จงั หวัด
ตรัง การแต่งกายของคนภาคใต้นนั้ เป�นการแต่งกายที่ไม่เหมือนกับภาคอืน่ ในด้านการแต่งกายชาวภาคใต้ใช้ผ้า
หลายรปู แบบ ท้ังผ้าฝ้าย ผา้ แพร ผา้ เขียนลายเทยี น ผ้ามัดยอ้ ม แตผ่ ้าที่มชี ่อื ท่สี ดุ ของภาคใต้กลบั เป�นผ้ายก ท่ีมี
ช่อื เสียงเป�นอยา่ งมากแตช่ าวบ้านป�กษ์ใต้ทว่ั ไปแบบเดิมนิยมนุ่งผา้ คล้ายผ้าขาวม้ามีสแี ดง การนุ่งผ้าปาเต๊ะหรือ
บาติกท่ีมีลวดลายสีสนั หลากหลายเป�นความนยิ มในช่วงหลงั จากการรบั อทิ ธิพลของผา้ มาเลเซียและอนิ โดนีเซีย
ชาวไทยมุสลิมภาคใต้นิยมนุ่งโสร่งทีม่ ีความคล้ายกับ ผ้าข้าวม้าของทางภาคอีสาน ผู้ชายส่วนใหญ่จะนิยมน่งุ ผา้
โสร่งแต่ผู้หญิงจะนุ่งผ้าปาเต๊ะหรือผ้าบาติก แต่ในป�จจุบันคนใต้ส่วนใหญ่ก็จะนุ่งเสื้อผ้าตามแฟชั่นที่มีขายอยู่
ตามทอ้ งตลาดทั่วไป แตผ่ า้ ทมี่ ีช่อื เสยี งของทางภาคใต้ คอื ผ้ายกเมืองนครศรธี รรมราช ผ้าทอเกาะยอ ผ้าทอนา
หมื่นสี ผ้าทอพุมเรียง ผ้าหางกระรอก ผ้าปาเต๊ะผ้าทอป�ตตานี เป�นต้น การแต่งกายนั้นแตกต่างกันในการใช้
วัสดุ และรูปแบบโดยมีเอกลักษณ์ตามเชื้อชาติของผู้คน อันหลากหลายที่เข้ามาอยู่อาศัยในดินแดน อันเก่าแก่
แห่งน้ี สามารถจำแนกเปน� กลุ่มใหญ่ ๆ ได้ ดงั นี้

- กล่มุ เชอ้ื สายจีนมาลายู เรยี กชนกลมุ่ นว้ี ่ายะหยาหรือยอนย่า เปน� กลุ่มชาว
จีน เชื้อสายฮกเกี๊ยนที่มาสมรสกับชนพื้นเมืองเชื้อสายมาลายู ชาวยะหยาจึงมีการแต่งกายอันสวยงามที่

127

ผสมผสานรูปแบบของชาวจีนและมาลายูเข้าด้วยกันอย่างงดงาม ฝ่ายหญิงใส่เสื้อฉลุลายดอกไม้ รอบคอ เอว
และปลายแขนอยา่ งงดงาม นิยมนุ่งผ้าซน่ิ ปาเตะ๊ ฝ่ายชายยงั คง แตง่ กาย คลา้ ยรปู แบบจีนดง้ั เดิมอยู่

- กลุ่มชาวไทยมุสลิมชนดั้งเดิม ของดินแดนนี้นับถือศาสนา อิสลาม และมี
เช้อื สายมาลายู ยงั คงแต่งกายตามประเพณีอันเกา่ แก่ ฝา่ ยหญิงมีผา้ คลุมศีรษะใสเ่ สื้อผ้ามัสลนิ หรอื ลูกไม้ตัวยาว
แบบมลายนู ุ่งซน่ิ ปาเต๊ะหรือซน่ิ ทอแบบมาลายู ฝ่ายชายใสเ่ สอ้ื คอต้ัง สวมกางเกงขายาวและ มผี ้าโสร่งผืนส้ันที่
เรียกวา่ ผ้าซองเกต็ พันรอบเอว ถ้าอยูบ่ า้ นหรอื ลำลอง จะใสโ่ สรง่ ลายตารางทอดว้ ยฝา้ ย และสวมหมวกถักหรือ
เยบ็ ด้วยผ้ากำมะหย่ี

- กลุ่มชาวไทยพุทธชนพื้นบ้าน แต่งกายคล้ายชาวไทยภาคกลาง ฝ่ายหญิง
นิยมนุ่งโจงกระเบน หรือ ผ้าซิ่นด้วยผ้ายกอันสวยงาม ใส่เสื้อ สีอ่อนคอกลม แขนสามส่วน ส่วนฝ่ายชายนุ่ง
กางเกงชาวเลหรือโจงกระเบน เช่นกัน สวมเสื้อผ้าฝ้ายและมีผ้าขาวม้าผูกเอว หรือพาดบ่าเวลาออกนอกบ้าน
หรอื ไปงานพธิ ี

- กลุ่มราชสำนักสยาม เนื่องจากผ้าทอทางภาคใต้นั้นมีชื่อเสียงในความ
งดงามและประณีตดั้งนั้นกลุ่มเจ้านาย ในราชสำนักตั้งแต่อดีตของไทยจึงนิยมนำผ้าทอจากภาคใต้ โดยเฉพาะ
ผ้ายกเอามาสวมใส่เป�นผ้าซิ่น และผ้าโจงกระเบน โดยใส่เสื้อหลากหลายแบบ ส่วนใหญ่จะนิยมแบบยุโรป
(มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏจนั ทรเกษม, 2563)

ภาพประกอบ 46 ภาพแสดงการแต่งกายของภาคใต้
ทม่ี า : อาภาภรณ์ วงเวยี น, (2015). การแตง่ กายภาคใต.้
สบื ค้นจาก https://identitydressing.wordpress.com/

128

3. ที่อยู่อาศัยและสถาป�ตยกรรม
สถาปต� ยกรรมแบบศรีวชิ ยั ที่สำคัญ ไดแ้ ก่ เจดีย์วัดพระบรมธาตุไชยา จ. สุราษฎร์ธานี

และเจดีย์วัดพระมหาธาตุ จ.นครศรีธรรมราช รวมถึง สถาป�ตยกรรมพื้นถิ่นบ้านลอยน้ำและบ้านศรียาภัย เจดีย์
วัดพระบรมธาตไุ ชยา จ.สุราษฎร์ธานี เปน� เจดยี ์ศิลปะศรวี ิชยั ยคุ ศรีวิชัยองค์เดยี วในประเทศไทยท่มี ีความสมบูรณ์
และเป�นหลักฐานสำคัญที่แสดงความเป�นศูนย์กลางของอาณาจักรศรีวิชัยบนคาบสมุทรภาคใต้ของไทย บ้าน
ศรียาภัยอยู่ที่ตลาดบ้านพุมเรียงเป�นตลาดโบราณที่ยังมีชีวิตชีวาอยู่กระทั่งป�จจุบัน บ้านหลังนี้เคยเป�นบ้านของ
เจา้ เมืองและ ไดร้ บั การดูแลรักษาและใชป้ ระโยชนจ์ ากคนหลาย ๆ รุ่น ภมู ิทัศนว์ ฒั นธรรมบริเวณนี้มีความสำคัญ
ในการเรียนรู้ศลิ ปวฒั นธรรม สังคม ประวัติศาสตร์และวิวัฒนาการของไชยาและศรีวิชัยอย่างยิ่ง และชุมชนบ้าน
ลอยน้ำซึ่งเป�นมรดกทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณใน จ.สุราษฎร์ธานี ตั้งอยู่ติดกับแม่น้ำพุมดวง ซึ่งเป�นส่วน
หน่งึ ของ เส้นทางตะกวั่ ป่า-อ่าวบ้านดอน โดยมกี ารขนส่งสินคา้ นบั จากอดตี ต้งั แต่สมยั ยุคก่อนประวตั ิศาสตร์ สมยั
พนม ทวาราวดี ศรีวิชยั โดยเฉพาะในสมัยอยุธยาจนกระทัง่ รตั นโกสินทร์ ตอนต้นเคยเป�นท่าเก็บภาษีอากร จึงมี
ชื่อว่า “ท่าขนอน” มีอัตลักษณ์ด้านสถาป�ตยกรรมพื้นถิ่นแบบสะเทินน้ำสะเทินบกซึ่งสืบทอดภูมิป�ญญา จาก
บรรพบรุ ุษท่ีมีสญั ชาตญาณแห่งชนชาวน้ำและเรยี นรู้อย่กู บั ธรรมชาติอยา่ งกลมกลนื

ภาพประกอบ 47 ภาพแสดงเจดยี ว์ ัดพระบรมธาตไุ ชยา จ.สรุ าษฎร์ธานี
ที่มา : Anurak Lodge, (2020). วัดพระบรมราชไชยาราชวรวหิ าร.

สบื คน้ จาก https://sites.google.com/site/aboutsuratthani/home/wad-phrabrm-thatu-chiya-rachwrwihar

4. ประเพณีที่สืบทอดต่อกันมานับจากอดีตของภาคใต้แสดงถึงแนวคิด ความเชื่อ
โดยนยั แหง่ ผลงานศิลปะและวรรณกรรมทมี่ ีความโดดเด่น ไดแ้ ก่ การเชื่อวา่ พระธาตุเจดยี ์เป�นสถานท่ีศักดิ์สิทธ์ิ
ท่ีตอ้ งมาบชู าและบำรุงรกั ษา ซง่ึ มีผลก่อให้เกิดมุขปาฐะและวรรณกรรม บทกวี บทกล่อมเด็กมากมายที่มีความ
เกี่ยวเนื่องมาจากการทำบุญพระธาตุเจดีย์หรือการทำบุญเพื่อสร้าง หรือเพื่อบูรณะ นำมาสู่การเกิดประเพณี
การแห่ผา้ ข้ึนธาตอุ ันสง่ ผลอิทธพิ ลต่อไปยังที่อ่นื ๆ เชน่ เจดยี ์พระบรมธาตุ จ.ชัยนาท และยงั กอ่ ให้เกดิ ประเพณี
ทำบุญเดือนสบิ มีการทำขนมท้องถ่ินที่มที ัง้ ความสวยงามและแสดงออกถึงฝ�มือทางศิลปะ นอกจากนี้ประเพณี
เดือนสบิ ยังก่อใหเ้ กดิ การอนุรักษ์การละเล่นพ้นื บ้าน อาทิ หนังตะลุง มโนราห์ เปน� ตน้ การชักพระหรือการแห่

129

พระนั้นเปน� การเลียนแบบหรอื การแข่งขันกับการนำเทวรปู ออกแห่ของฝ่ายพราหมณ์นัน้ เอง โดยพุทธบริษัทได้
จัดการตกแต่งเรือพระให้เข้ากันกับข้อความในพระคัมภีร์ เช่น เรื่องพระพุทธเจ้าเสด็จจากดาวดึงส์เพื่อเยี่ยม
และเทศน์แก่พระมารดา พิธีนี้มีตั้งแต่สมัยศรีวิชัยมากกว่า 1,200 ป�มาแล้ว โดยมโนราห์เป�นเจ้าหญิงที่มี
ลักษณะคล้ายนกเนื่องจากมีป�ก เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย และเครื่องดนตรีที่ใช้ส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลมาจาก
วัฒนธรรมอินเดีย เช่น ป� และกลองโดย ผทู้ ่จี ะแสดงการร้องและร่ายรำมโนราหจ์ ะต้องมที ักษะสงู ทง้ั ในการร้อง
กลอนสด และตอ้ งมีทา่ รำที่ออ่ นช้อย หนังตะลุง เปน� การแสดงพน้ื ถ่ินของภาคใตท้ ่ีได้รบั ความนยิ มอย่างมากนับ
จากอดีต จนกระทั่งป�จจุบันซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากหนังใหญ่ของภาคกลางด้วย ตัวละครแสดงออกมีลักษณะ
รูปแบบของพราหมณ์ �ษี พระศวิ ะ และพระนารายณ์ เป�นต้น

5. ภาษา นับตั้งแต่โบราณคนใต้ใช้ภาษาป�กษ์ใต้เป�นภาษาพูดที่คนจีนเรียกว่าภาษาคุน
หลุน (ขุนหลวง) ส่วนภาษาเขียนใช้อักษรอินเดีย เช่น อักษรบาลีและสันสกฤต รวมถึงอักษรขอม และอักษร
มอญ โบราณซึ่งมีการพบหลักฐานศิลาจารึกและบันทึกต่าง ๆ เช่น จารึกศรีวิชัย ได้แก่ ศิลาจารึกหลักที่ 23
และหลกั ที่ 24 ซงึ่ พบที่ บริเวณรอบอา่ วบา้ นดอน จ.สุราษฎร์ธานี และนครศรธี รรมราช

6. อาชีพ อาชีพเกษตรกรรมและการประมงเป�นอาชีพหลักของคนป�กษ์ใต้นับจากอดีต
จนกระทั่งป�จจุบัน โดยมีการนำเอาความรู้เกี่ยวกับคน ธรรมชาติ และสิ่งเหนือธรรมชาติมาผสมผสานกับ
ประสบการณ์และความชำนาญท่ีมีมาทำให้เกิดความกลมกลนื เชน่ การไหวแ้ มย่ า่ นางเรือ และขนบธรรมเนียม
ประเพณเี กี่ยวกบั การทำนา มหี ลกั ฐานและร่องรอยของเส้นทางการค้าทางทะเลในยุคศรวี ิชัย บริเวณรอบอ่าว
บา้ นดอนพบวา่ คนศรวี ิชยั และคนใต้มีความชำนาญด้านการประมงนับจากอดีต จนกระทง่ั ปจ� จุบนั น้ี นอกจากนี้
ยังมีความชำนาญในการทำลูกป�ดและการค้าขายในฐานะพ่อค้าคนกลางด้วย เช่นตัวอย่างการพบควนลูกป�ดที่
กระบ่ี เขาศรวี ิชยั หรอื แหลมโพธิ์ทส่ี ุราษฎร์ธานี ซงึ่ เปน� แหล่งผลติ ลูกป�ดขนาดใหญ่มากและมีการค้าขายลูกป�ด
หลากหลายชนิด และมาจากหลากหลายที่มาทั่งจากที่ผลิตในท้องถิ่นเองและมาจากต่างชุมชนต่างดินแดนที่
ไกลออกไปขา้ มประเทศ และมกี ารแลกเปลี่ยนสนิ ค้าระหวา่ งคนท้องถิ่นและคนตา่ งประเทศ และที่น่ียังมีสินค้า
เครื่องเทศและของป่าเป�นสินค้าหลัก อาทิ เครื่องเทศ ยาสมุนไพร งาช้าง รังนก และเขาสัตว์ เป�นต้น ซ่ึง
ป�จจุบันก็ยังมีการค้าขายกันอยู่ นอกจากนี้พื้นที่รอบอ่าวบา้ นดอนยังมีพืน้ ท่ี เหมาะสมในการทำนาเพื่อเลี้ยงทงั้
คนในพน้ื ที่ และนักเดินทางจำนวนมากดว้ ย จะเหน็ ได้วา่ ปจ� จุบนั การทำนาในภาคใต้ไม่ไดท้ ำเพื่อขายเป�นสินค้า
อยา่ งเดียวแต่เพื่อรบั ประทานในครอบครัวเป�นหลัก ดังนั้นจะคำนึงถงึ สขุ ภาพค่อนข้างมาก จึงใชป้ ยุ๋ อินทรีย์เป�น
สว่ นใหญ่และ ไม่นิยมใชส้ ารเคมีในนาขา้ ว แต่การทำนาในภาคใต้ยังขาดความรูเ้ ทคนิคสมยั ใหม่ อุปกรณ์ท่ีใช้ใน
การทำนาได้แก่ ไถ คราด แอก แกะ เคียว ครูด ครกสี ครกสากตำข้าว แสกหาบข้าว กระด้ง ฝ�ดข้าว กระด้ง
มอญ สอบจูดใช้สำหรับนั่งใส่ข้าวเปลือก หล้อ (เกราะ) ใช้แขวนคอวัวควาย เสียงหล้อดังเป�นเป�นการแสดง
ตำแหน่งที่อยู่ นอกจากนี้คนใต้ส่วนใหญ่ยังประกอบอาชีพการประมงทางทะเลด้วยอุปกรณ์ท้องถิ่นที่มีแต่อดีต
เชน่ สวงิ ไซ ไมพ้ าย และจะออกหาปลาโดยใช้ ฉมวกแทงปลา สว่ นบรเิ วณปา่ ชายเลนจะใช้แร้วดักปลาและจับ
กุ้งด้วยฉมวก ซึ่งการทำการประมงดว้ ยอุปกรณ์ท้องถิ่นมีมาต้ังแตอ่ ดีต เช่น ไซ ส้อน ยอ โหม่ ไปจับกุ้ง ส่วนแห
เบด็ ราว ตะขอ้ ง สุ่ม เจ้ย ใชจ้ ับปลาทแ่ี ม่น้ำ ลำคลอง

130

-คตคิ วามเชอื่
สิปปนันท์ นวลละออง และป�ยตา สุนทรป�ยะพันธ์ (2561) อ้างว่า ความเชื่อและ
วัฒนธรรมของคนใต้ ประกอบด้วยพื้นฐานความเชื่อทางศาสนา การประกอบอาชีพ สภาพแวดล้อมรอบตัว
และการศกึ ษา โดยมีลกั ษณะดงั นี้

1. คนใต้ได้รับอิทธิพลพราหมณ์และศาสนาพุทธมาจากอินเดีย และรับอิทธิพล
อสิ ลามมาจากตะวันออกกลาง โดยความเช่อื และความศรัทธาทางศาสนาน้ีก่อใหเ้ กดิ วิถีชีวิตและนำมาสู่ความรู้
ด้านต่าง ๆ เชน่ ศลิ ปะ หลัก จรยิ ธรรม แนวทางของทอ้ งถน่ิ หรอื แม้แต่กฎเกณฑ์บรรทัดฐาน
ต่าง ๆ รวมถึงกฎหมายและประเพณพี ธิ ีกรรมต่าง ๆ

2. คนทางใต้นี้มักประกอบอาชีพในรูปแบบเกษตรกรรมและการประมง ประชาชน
รู้จักการนำเอาความรู้เกี่ยวกับคน ธรรมชาติ และสิ่งเหนือธรรมชาติ มาผสมผสานกับประสบการณ์และความ
ชำนาญทมี่ ีมาทำใหเ้ กดิ ความกลมกลนื เช่น การไหว้แม่ย่านางเรอื ของชาวประมง และขนบธรรมเนียมประเพณี
เกี่ยวกับการทำนา เช่น การทำขวัญข้าว การทำขวัญควาย การแรกนาขวัญ และประเพณีเกี่ยวกับเทพยดา
และเทวดาอารักษ์

3. ความเชอื่ และวัฒนธรรมของคนป�กษ์ใต้นนั้ จะอยู่ร่วมกนั กบั สิ่งแวดลอ้ มอย่างสงบ
สุข โดยพยายามผสมกลมกลืนระหว่างกิจกรรมของคนและสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัว โดยนำมาประยุกต์อย่าง
เหมาะสมและมปี ระสิทธิภาพกบั ธรรมชาติทางภมู ิศาสตรห์ รือสภาพภมู ิอากาศ เปน� ตน้

4. การศึกษาและการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ จากผู้ใหญ่ในครอบครัวหรือจากบรรพบุรุษ
เป�น สิ่งที่ช่วยเชื่อมโยงศาสตร์ต่าง ๆ ที่มีตั้งแต่อดีต จนกระทั่งป�จจุบันโดยเฉพาะอย่างยิ่ง “หลักธรรมในพุทธ
ศาสนา” จดั เป�นหลักสำคัญท่นี ำมาซ่ึงปรชั ญาในการดำเนินชวี ิตตามวิถขี องคนใต้นนั่ เอง

ภาพประกอบ 48 ภาพแสดงการไหว้แม่ย่านางเรือของชาวประมง
ท่ีมา : กฤติกา ชูผล, (2560). แมย่ า่ นางความศรัทธาของชาวเรอื .

สืบค้นจาก https://www.hatyaifocus.com/

131

2. ภมู ปิ �ญญาในการสรา้ งสรรค์งาน

2.1 การสรา้ งสรรคผ์ ลงานจากภมู ิป�ญญา
วศั รนนั ทน์ ชูทพั (2558) สรปุ ดา้ นภูมิป�ญญาของภาคใต้ที่เก่ียวขอ้ งกับงานศลิ ปหัตถกรรม

ไทยไว้ ดังนี้
ภูมิป�ญญาด้านสถาป�ตยกรรมพื้นบ้าน เกี่ยวกับเรื่องเรือนไทยภาคใต้กับศาลากลางหน

สถาปต� ยกรรมพ้ืนบ้านน้ีแสดงให้เห็น ภมู ิปญ� ญาในการจัดสภาพแวดล้อมบริเวณบา้ นให้สอดคล้องกับสภาพ
ภูมิศาสตร์การเลือกทำเลที่ตั้งของ ศาลากลางหนให้รองรับการใช้ประโยชน์ร่วมกันอย่างแท้จริง การ
ออกแบบรูปทรงของสถาป�ตยกรรมพ้ืนบ้านให้เข้ากับสภาพภูมปิ ระเทศ การแบ่งสัดส่วนของสถาป�ตยกรรม
บา้ นให้สอดคลอ้ งกับค่านิยมของสังคม และประโยชน์ใช้สอย

ภูมิป�ญญาด้านการประกอบอาชีพในภาคใต้ส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพเกษตรกรรม เชน่
การทำนาว่า กระบวนการทำนาได้แสดงให้เห็นถึงภูมิป�ญญาในการฝ�กสัตวข์ ึ้นมาใช้งาน การนำไม้พ้ืนเมือง
มาประดิษฐ์เป�นเครื่องมือเครื่องใช้ เช่น แกะ เคร่อื งไถไมส้ ัก สาแหรก ฯลฯ การนำการออกปากกินแรงวาน
เข้ามาช่วยในกระบวนการทำนาเพื่อผ่อนแรงและให้งานเสร็จทัน นอกจากนี้ยังมีภูมิป�ญญาที่เป�นองค์
ความรู้ของชาวบ้าน อาทิ การเลือกวิธีปลูกขา้ วและสายพันธ์ุข้าวมาปลูกให้สอดคล้องกับสภาพพื้นที่การปก�
ดำ โดยเว้นระยะห่างเพอื่ ให้ต้นขา้ วแตกกอสมบูรณ์ การทำขวัญข้าวกอ่ นลงมือเกบ็ เกยี่ ว เพื่อเสรมิ สร้างขวัญ
กำลังใจและทำให้รู้สึกปลอดภยัตลอดช่วงฤดูเก็บเกี่ยวการเก็บข้าวด้วยการโดยเลือกเก็บเฉพาะรวงข้าว
เพอื่ ให้เขา้ กบั สภาพภูมิศาสตร์ การขนยา้ ยและการนำมาจดั เรียงบนลอมขา้ ว

ภูมิป�ญญาด้านประเพณีพื้นบ้าน ที่สำคัญมี 5 ประเภท คือ ประเพณีให้ทานไฟ ประเพณี
สงกรานต์ ประเพณีสารทเดือนสิบ ประเพณีลากพระ และประเพณีรวบขวัญข้าว ประเพณีพ้ืนบ้านนี้แสดง
ให้เห็นภูมิป�ญญาของคนภาคใต้ในการประยุกต์วิธีทำบุญให้เข้ากับฤดูกาล การปรับเปลี่ยนวิถีปฏิบัติของ
ประเพณีให้สอดคล้องเข้ากับ สภาพภูมิศาสตร์การนำพิธีกรรมความเชื่อมาเป�นกุศโลบายในการปลูกฝ�งให้
คนทำความดีละเว้นความชั่ว มีคุณธรรมจริยธรรม รักในถิ่นฐานบ้านเกิด และเห็นคุณค่าของการพักผ่อน
ประเพณีพื้นบ้านจึงมีความสัมพันธ์กับสังคม ชีวิต มีบทบาทเป�นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ เป�นเครื่องควบคุม
พฤตกิ รรม เป�นเครอื่ งผกู พนั ความเป�นพวกเดียวกนั เป�นเครื่องมือผสมผสานความเชือ่ ต่าง ๆ เขา้ ไวด้ ้วยกนั

ภูมปิ �ญญาด้านหตั ถกรรมพ้ืนบา้ น ประกอบด้วยด้านตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ ประเภทเคร่อื งแต่งกาย
เครื่องใช้ในครัวเรือน เครื่องมือกสิกรรม และสิ่งของเบ็ดเตล็ด หัตถกรรมพื้นบ้านน้ีแสดงให้เห็นภูมิป�ญญา
ในการนำไม้พื้นเมืองมาประดิษฐ์เป�นสิ่งของต่าง ๆ เพื่อใช้สอยประโยชน์และอำนวยความสะดวกในการ
ดำรงชีวิต การพัฒนาด้านรูปแบบให้รองรับการใช้งานที่หลากหลายความคิดสร้างสรรค์ อยู่บนพื้นฐานของ
ความเรยี บง่าย สอดคล้องเขา้ กับสภาพภูมิศาสตร์ ทรพั ยากรธรรมชาติ สภาพการดำรงชวี ิต เศรษฐกิจ และ
สังคม หตั ถกรรมพืน้ บ้านจงึ สะทอ้ นความรสู้ กึ นึกคดิ ของคนพนื้ ถ่ินดว้ ย

132

ภาพประกอบ 49 ภาพแสดงภมู ปิ ญ� ญาดา้ นการประกอบอาชพี ของชาวประมง
ท่มี า : ทัศนี ทองสมบุญ , (2560). ภูมิป�ญญาไทย.

สืบค้นจาก https://yala-patani-naratiwat.blogspot.com/2017/03/blog-post_45.html

3. แนวทางการศึกษาผลงานศลิ ปหตั ถกรรมไทยภาคใต้

อัตลักษณ์ของศิลปหัตถกรรมภาคใต้ได้แสดงให้เห็นถึงสภาพภูมิศาสตร์ของแต่ละท้องถิ่น สภาพ
การดำรงชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณีความเชื่อความศรัทธาในศาสนา ทั้งยังแสดงให้เห็นลักษณะนิสัยการ
สร้างสิ่งที่สวยงามให้กับเคร่ืองมือเครื่องใช้ ของแต่ละอย่างในท้องถิ่นด้วย ลวดลายที่ปรากฏในศิลปหัตถกรรม
ภาคใต้ เปน� การนำเอาทรพั ยากรท้องถนิ่ มาเป�นแรงบนั ดาลใจทำให้เกิดลวดลาย รวมท้งั ลายไทยเดิม โดยนำมา
ตัดทอนเป�นรูปร่างเรขาคณิต หรือการนำมาผนวกเข้ากับความเชื่อ ทางศาสนาโดยเฉพาะศาสนาอิสลาม
รูปแบบอัตลักษณ์ของศิลปหัตถกรรมของภาคใต้ แบ่งตามประเภทวิธีการสร้างสรรค์ผลงานและการใชว้ ัสดทุ ี่มี
เฉพาะในท้องถน่ิ ภาคใต้ ซงึ่ ประกอบด้วย 6 ประเภท ไดแ้ ก่

1. งานแกะสลัก
2. งานสาน
3. งานทอ
4. งานหตั ถกรรมโลหะ
5. งานเครอ่ื งป�นดินเผา
6. งานประดษิ ฐ์ดว้ ยวสั ดอุ ืน่ ๆ
3.1 แนวทางการศึกษาผลงานศิลปหัตถกรรมไทยภาคใต้
การศึกษาผลงานศิลปหัตถกรรมไทยภาคใต้นั้นไม่ได้แตกต่างจากภาคอื่น นิสิตควรรู้จัก
วัสดุพื้นบ้านของภาคกลางและกระบวนการผลิตงานหัตถกรรมที่สำคัญ และควรให้ความสำคัญกับภูมิป�ญญา
ของช่างในการผลิต การสร้างความเขา้ ใจในเรื่องราว ทัศนคติ ความเชื่อและบรบิ ทของงานศิลปหัตถกรรมไทย
ภาคใตด้ ว้ ย

133

3.2 ตวั อยา่ งการศกึ ษาผลงานศลิ ปหัตถกรรมไทยภาคใต้
ศิลปหัตถกรรมภาคใต้สามารถแบ่งได้เป�น 6 ประเภท โดยตัวอย่างที่เลือกมาเป�นงาน

ศลิ ปหตั ถกรรมที่แสดงถงึ อัตลกั ษณ์ของภาคใต้ในประเภทน้ัน ๆ (ธตี ิ พฤกษอ์ ุดม และ โสมฉาย บุญญานันต์, 2563) ไดแ้ ก่
3.2.1 งานแกะสลกั หนงั ตะลุง

ภาพประกอบ 50 ภาพแสดงงานแกะสลัก หนังตะลงุ
ท่ีมา :Jampen. (2018). ศิลปหัตถกรรมการแกะหนงั ตะลงุ .
สบื คน้ จาก http://jampenculture.blogspot.com/2009/10/blog-post_5478.html

-การศึกษาทางด้านรูปธรรม (Tangible) ได้แก่ เส้นสาย ลวดลาย รูปลักษณ์ รูปทรง สีสัน ตลอดจน
พื้นผิวและวสั ดุ

(ให้นสิ ิตเขยี นอธบิ าย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านนามธรรม (Intangible) ได้แก่ ความซาบซง้ึ ในเร่ืองราว คุณคา่ และความหมาย จิต
วิญญาณที่แฝงอยใู่ นภูมปิ ญ� ญา ปรัชญาแนวคิด

(ให้นิสิตเขยี นอธบิ าย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านวัสดุ กระบวนวิธีการผลิต ได้แก่ ประเภทของวัตถุดิบในการผลิต ลักษณะการใช้
สอย และประเภทของกรรมวิธใี นการผลติ

(ให้นิสิตเขียนอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-คุณค่าทเี่ ป�นที่ต้องการในงานหตั ถกรรม ได้แก่ คุณค่าทางความงามที่ได้รบั ด้านจิตใจ คณุ คา่ จากงานท่ี
ทำดว้ ยมอื ใชค้ วามชำนาญเปน� พเิ ศษ และคุณคา่ จากการคิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆ

(ให้นิสติ เขียนอธบิ าย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

134

3.2.2 งานทอ ผา้ ยกเมืองนคร

ภาพประกอบ 51 ภาพแสดงผา้ ยกเมืองนคร
ท่มี า : วลญั ช์ สภุ ากร. (2558). ผา้ ยกเมอื งนคร.
สบื คน้ จาก https://www.bangkoklifenews.com/

-การศึกษาทางด้านรูปธรรม (Tangible) ได้แก่ เส้นสาย ลวดลาย รูปลักษณ์ รูปทรง สีสัน ตลอดจน
พื้นผิวและวัสดุ

(ใหน้ ิสติ เขียนอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านนามธรรม (Intangible) ได้แก่ ความซาบซงึ้ ในเรื่องราว คุณคา่ และความหมาย จิต
วิญญาณท่ีแฝงอยใู่ นภมู ิปญ� ญา ปรชั ญาแนวคิด

(ให้นสิ ิตเขียนอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านวัสดุ กระบวนวิธีการผลิต ได้แก่ ประเภทของวัตถุดิบในการผลิต ลักษณะการใช้
สอย และประเภทของกรรมวิธีในการผลิต

(ให้นสิ ิตเขยี นอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-คณุ ค่าทเี่ ปน� ท่ตี ้องการในงานหัตถกรรม ได้แก่ คณุ ค่าทางความงามท่ีไดร้ บั ด้านจิตใจ คุณค่าจากงานท่ี
ทำดว้ ยมอื ใช้ความชำนาญเป�นพเิ ศษ และคุณค่าจากการคดิ ค้นนวตั กรรมใหม่ ๆ

(ใหน้ ิสิตเขยี นอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

135

3.2.3 งานเครื่องป�นดินเผา เครอื่ งป�นดินเผาสทิงหม้อ

ภาพประกอบ 52 ภาพแสดงเครือ่ งปน� ดินเผาสทงิ หมอ้
ทมี่ า : OKnation. (2553). ส ทิ ง ห ม้ อ......... ห รื อ วั น น้ี .......จ ะ ท้ิ ง ห ม้ อ.

สบื ค้นจาก http://oknation.nationtv.tv/blog/print.php?id=574907

-การศึกษาทางด้านรูปธรรม (Tangible) ได้แก่ เส้นสาย ลวดลาย รูปลักษณ์ รูปทรง สีสัน ตลอดจน
พื้นผิวและวสั ดุ

(ใหน้ สิ ิตเขยี นอธบิ าย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านนามธรรม (Intangible) ไดแ้ ก่ ความซาบซ้ึงในเร่ืองราว คุณค่าและความหมาย จิต
วิญญาณทแ่ี ฝงอยใู่ นภมู ปิ �ญญา ปรชั ญาแนวคิด

(ให้นสิ ติ เขียนอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านวัสดุ กระบวนวิธีการผลิต ได้แก่ ประเภทของวัตถุดิบในการผลิต ลักษณะการใช้
สอย และประเภทของกรรมวธิ ใี นการผลิต

(ใหน้ สิ ิตเขยี นอธบิ าย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-คุณค่าท่ีเป�นที่ต้องการในงานหตั ถกรรม ไดแ้ ก่ คณุ คา่ ทางความงามท่ีไดร้ ับด้านจิตใจ คุณค่าจากงานท่ี
ทำดว้ ยมอื ใชค้ วามชำนาญเปน� พิเศษ และคณุ คา่ จากการคิดคน้ นวตั กรรมใหม่ ๆ

(ให้นิสิตเขียนอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

136

3.2.4 งานหตั ถกรรมโลหะ เครือ่ งถมเมืองนคร

ภาพประกอบ 53 ภาพแสดงเครือ่ งถมเมืองนคร
ท่มี า : MuseumThailand. (2020). เคร่ืองถมเมอื งนคร ความงามผา่ นลวดลายขา้ มกาลเวลา.

สบื ค้นจาก https://www.museumthailand.com/th/3274/storytelling/

-การศึกษาทางด้านรูปธรรม (Tangible) ได้แก่ เส้นสาย ลวดลาย รูปลักษณ์ รูปทรง สีสัน ตลอดจน
พ้ืนผิวและวัสดุ

(ให้นิสิตเขียนอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศกึ ษาทางด้านนามธรรม (Intangible) ไดแ้ ก่ ความซาบซง้ึ ในเร่ืองราว คุณค่าและความหมาย จิต
วญิ ญาณทีแ่ ฝงอย่ใู นภูมิปญ� ญา ปรัชญาแนวคดิ

(ใหน้ สิ ติ เขยี นอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านวัสดุ กระบวนวิธีการผลิต ได้แก่ ประเภทของวัตถุดิบในการผลิต ลักษณะการใช้
สอย และประเภทของกรรมวิธใี นการผลิต

(ใหน้ ิสิตเขยี นอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-คณุ คา่ ท่เี ปน� ท่ตี อ้ งการในงานหัตถกรรม ไดแ้ ก่ คุณค่าทางความงามท่ีได้รบั ด้านจติ ใจ คณุ ค่าจากงานท่ี
ทำดว้ ยมอื ใชค้ วามชำนาญเปน� พเิ ศษ และคุณค่าจากการคิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆ

(ใหน้ สิ ิตเขียนอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

137

3.2.5 งานจักสาน เคร่อื งจกั สานย่านลิเภา

ภาพประกอบ 54 ภาพแสดงเคร่ืองจักสานยา่ นลเิ ภา
ทมี่ า : MuseumThailand. (2020). จกั สานยา่ นลเิ ภา เครือ่ งจกั สานย่านลิเภา

ภมู ปิ �ญญาทอ้ งถ่ินระดบั แบรนดเ์ นม.
สบื ค้นจาก https://www.creativethailand.net/en/article/detail/374

-การศึกษาทางด้านรูปธรรม (Tangible) ได้แก่ เส้นสาย ลวดลาย รูปลักษณ์ รูปทรง สีสัน ตลอดจน
พื้นผวิ และวัสดุ

(ให้นสิ ิตเขยี นอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศกึ ษาทางด้านนามธรรม (Intangible) ได้แก่ ความซาบซึ้งในเร่ืองราว คุณคา่ และความหมาย จิต
วญิ ญาณทีแ่ ฝงอยใู่ นภมู ิป�ญญา ปรชั ญาแนวคิด

(ให้นสิ ติ เขยี นอธบิ าย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านวัสดุ กระบวนวิธีการผลิต ได้แก่ ประเภทของวัตถุดิบในการผลิต ลักษณะการใช้
สอย และประเภทของกรรมวิธใี นการผลติ

(ใหน้ สิ ิตเขียนอธบิ าย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-คุณคา่ ทเ่ี ปน� ทต่ี ้องการในงานหตั ถกรรม ได้แก่ คณุ คา่ ทางความงามที่ไดร้ ับด้านจติ ใจ คณุ คา่ จากงานท่ี
ทำด้วยมอื ใช้ความชำนาญเปน� พิเศษ และคุณค่าจากการคิดค้นนวตั กรรมใหม่ ๆ

(ให้นสิ ติ เขียนอธบิ าย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

138

3.2.6 งานประดษิ ฐ์ด้วยวสั ดุอ่นื ๆ เชน่ วา่ วเบอร์อามสั

ภาพประกอบ 55 ภาพแสดงวา่ วเบอรอ์ ามัส
ทม่ี า : ศูนย์ศลิ ปาชพี ระหวา่ งประเทศ. (2021). ว่าวเบอรอ์ ามสั (ใกลส้ ูญหาย).

สบื คน้ จาก https://www.sacict.or.th/listitem/1113

-การศึกษาทางด้านรูปธรรม (Tangible) ได้แก่ เส้นสาย ลวดลาย รูปลักษณ์ รูปทรง สีสัน ตลอดจน
พืน้ ผิวและวัสดุ

(ใหน้ ิสิตเขยี นอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านนามธรรม (Intangible) ไดแ้ ก่ ความซาบซงึ้ ในเรื่องราว คุณคา่ และความหมาย จิต
วิญญาณท่ีแฝงอยใู่ นภมู ปิ �ญญา ปรชั ญาแนวคดิ

(ใหน้ ิสิตเขยี นอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

139

-การศึกษาทางด้านวัสดุ กระบวนวิธีการผลิต ได้แก่ ประเภทของวัตถุดิบในการผลิต ลักษณะการใช้
สอย และประเภทของกรรมวิธใี นการผลิต

(ให้นสิ ติ เขียนอธบิ าย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-คณุ คา่ ที่เป�นที่ตอ้ งการในงานหตั ถกรรม ได้แก่ คณุ ค่าทางความงามท่ีได้รับด้านจติ ใจ คณุ ค่าจากงานที่
ทำดว้ ยมอื ใช้ความชำนาญเปน� พเิ ศษ และคุณคา่ จากการคดิ ค้นนวตั กรรมใหม่ ๆ

(ใหน้ ิสิตเขียนอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

4. สรุป

วัฒนธรรมทัง้ ศรวี ิชัยและตามพรลิงค์มีอิทธพิ ลและมคี วามเจริญรุ่งเรอื งมายาวนานจนถึงสมัยกรุง
ศรีอยุธยา โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของพุทธศาสนาและพราหมณ์ฮินดูร่วมกับวัฒนธรรมชนชาวน้ำ นอกจากนี้
วฒั นธรรมป�กษ์ใตย้ ังไดร้ บั อิทธิพลจากความเจริญรุ่งเรืองของวฒั นธรรมสงั คมอนิ เดียและจีนจากการแผ่อิทธิพล
ทางการค้า การที่ภาคใต้ตอนบนเป�นศูนย์กลางการค้าข้ามทวีปและศูนย์กลางการเผยแผ่ศาสนาทำให้เกิดการ
หลอมรวมทางวฒั นธรรมหลายยุคหลายสมัยดว้ ยกัน ภาคใตม้ ปี ระวัติศาสตรค์ วามเปน� มาท่ียาวนานและมีมรดก
ทางวัฒนธรรมและธรรมชาติที่มีความสำคัญและมีคุณค่า ทั้งเป�นมรดกทางวัฒนธรรมที่ไม่สามารถจับต้องได้
และมรดกทางวัฒนธรรมทจี่ ับตอ้ งได้

เนื่องจากมีลักษณะเป�นคาบสมุทรยื่นออกจากภาคพื้นทวีปในส่วนนี้เองที่ทำให้ประเทศไทยมี
ลักษณะรูปร่างเป�นแบบขยายออกเป�นแนวยาว พื้นที่ภาคใต้ของประเทศไทยมีความแตกต่างจากภูมิภาค
อ่ืน ๆ ของประเทศไทยเน่ืองจากต้ังอยู่ระหวา่ งพื้นทีน่ ้ำ 2 แห่งคือ อ่าวไทยและทะเลอันดามัน มีลักษณะอากาศ
ร้อนชื้นและฝนตกชุกมาก คล้ายคลึงกับอากาศแบบมรสุม จากลักษณะภูมิประเทศดังกล่าวจึงสง่ ผลต่อสภาวะ
ภูมอิ ากาศ และลมฟ้าอากาศในพนื้ ที่มีความแตกตา่ งอยา่ งสิ้นเชิงกับภมู ิภาคอ่ืน ๆ ของไทย

ทรัพยากรในภาคใต้มีเป�นจำนวนมาก ทั้งในส่วนของทรัพยากรป่าไม้ ทรัพยากรแร่ธาตุและ
ทรัพยากรสัตว์ป่า แนวเทือกเขาภูเก็ตและเทือกเขานครศรีธรรมราชเป�นพื้นที่ที่ทรัพยากรปา่ ไม้และสัตว์ป่าอยู่
อย่างหนาแน่น ในส่วนของพื้นที่ราบก็มีการจัดสรรเพื่อการเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมอย่างเหมาะสม
ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญที่โดดเด่นแตกต่างจากภาคอื่น คือ ทรัพยากรแร่ธาตุ ซึ่งภาคใต้ถือเป�นทรัพยากร
สำคญั ของประเทศในด้านการสง่ ออก ไดแ้ ก่ ทรพั ยากรแร่ธาตจุ ำพวก ดีบกุ สงั กะสี แมงกานีส

ภาคใต้ประกอบด้วยกลุ่มชนชาติพันธุ์ที่หลากหลายตั้งแต่โบราณ ได้แก่ ไทยเชื้อสายมลายู ซาไก
หรือเซมัง ชาวเล อูรักลาโว้ย ทำให้รูปแบบศิลปวัฒนธรรมของภาคใต้มีความหลากหลายและเป�นเอกลักษณ์ที่
แตกต่างจากภาคอ่นื ๆ

140

ดา้ นวิถีวัฒนธรรมของภาคใต้ทน่ี ่าสนใจท่เี กย่ี วข้องกับศลิ ปหัตถกรรมไทย ได้แก่ ด้านการแต่งกาย
ท่อี ยอู่ าศัยและสถาป�ตยกรรม ประเพณี เคร่ืองมือเครือ่ งไมใ้ นการประกอบอาชีพ เป�นต้น

ด้านคติความเชื่อ ความเชื่อและวัฒนธรรมของคนใต้ประกอบด้วยพื้นฐานความเชื่อทางศาสนา
ได้รับอิทธิพลพราหมณ์และศาสนาพุทธมาจากอินเดีย การประกอบอาชีพเกษตรกรรมและการประมง ความ
เชื่อและวัฒนธรรมทีจ่ ะอย่รู ว่ มกันกับส่ิงแวดลอ้ มอย่างสงบสุข สภาพแวดลอ้ มรอบตัวและการศึกษา

ภูมิป�ญญาในการสร้างสรรค์งานของภาคใต้ที่น่าสนใจ ได้แก่ ภูมิป�ญญาด้านสถาป�ตยกรรม
พื้นบ้านเก่ียวกับเรือ่ งเรือนไทยภาคใต้กับศาลากลางหน ภูมิป�ญญาด้านการประกอบอาชีพท่ีส่วนใหญป่ ระกอบ
อาชีพเกษตรกรรม ภมู ปิ �ญญาดา้ นประเพณพี ื้นบา้ นและภมู ิปญ� ญาด้านหตั ถกรรมพน้ื บ้าน

อัตลักษณ์ของศิลปหัตถกรรมภาคใต้ส่วนมากแสดงให้เห็นถึงสภาพภูมิศาสตร์ของแต่ละท้องถ่ิน
สภาพการดำรงชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณีความเชื่อความศรัทธาในศาสนา และเป�นการนำเอาทรัพยากร
ท้องถิ่นมาเป�นแรงบันดาลใจทำให้เกิดลวดลายต่าง ๆ และการนำมาผนวกเข้ากับความเชื่อทางศาสนา
โดยเฉพาะศาสนาอิสลาม และอทิ ธพิ ลจากชาตพิ ันธทุ์ ่มี ีเอกลกั ษณแ์ ละความหลากหลาย

5. คำถามท้ายบท

1. ให้นิสิตทำขอ้ 3.2 ตวั อยา่ งการศึกษาผลงานศลิ ปหัตถกรรมไทยภาคใต้ให้สมบรู ณ์
2. ให้นิสิตอธิบายถึงตำแหน่งที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของภาคใต้ ว่ามีความเชื่อมโยงและส่งผลให้เกิด
ขอ้ ดอี ยา่ งไรเกยี่ วกบั ดา้ นศิลปหัตถกรรมไทย ตามความเข้าใจของตนเอง
3. ให้นิสิตเลือกผลิตภัณฑ์ศิลปหัตถกรรมไทยพื้นบ้านภาคใต้ที่มาจากภูมิป�ญญาท้องถิ่นที่
ประทบั ใจมากท่ีสุดมา 1 ชน้ิ พรอ้ มอธบิ ายเหตผุ ลและยกตวั อย่าง
4. ให้นิสติ เลือกผลงานศลิ ปหตั ถกรรมไทยภาคใต้ท่ีสะท้อนถึงเอกลักษณ์และภมู ิป�ญญาท้องถ่ินใน
ด้านตา่ ง ๆ มา 3 ผลติ ภณั ฑ์ แล้วทำการศึกษาวเิ คราะห์ผลงานและอธบิ ายขัน้ ตอนการสร้างสรรคผ์ ลงานจากภูมิ
ป�ญญาทอ้ งถ่นิ ตามท่ีไดเ้ รยี น

6.แบบฝก� หัดปฏบิ ัติงานออกแบบท้ายบท

1. ใหน้ สิ ิตจัดทำเล่มรายงานรวบรวมผลงานหตั ถกรรมพน้ื บ้านของภาคใต้ โดยแบง่ ภาพผลงาน
ตามประเภทของวัสดุและกรรมวธิ กี ารผลิต ดังนี้

1. การป�นและการหล่อ
2. การทอและเยบ็ ป�กถกั ร้อย
3. การแกะสลกั
4. การกอ่ สร้าง
5. การเขียนหรือวาด
6. การจกั สาน

141

7. การทำเคร่ืองกระดาษ
8. กรรมวธิ อี ่นื ๆ
โดยมีรูปแบบเล่มรายงานหน้ากระดาษ A 4 / หน้าละ 1 ผลงาน ให้นิสิตอธิบายภาพงาน
หัตถกรรมที่หามาได้ ในดา้ นตา่ งๆ ดังนี้ ช่ืองาน / แหล่งผลิต / วสั ดุ / กรรมวธิ กี ารผลติ /
ลกั ษณะเฉพาะ / คณุ ค่าของผลงาน
2. ให้นิสิตออกแบบผลิตภัณฑ์ 1 ชิ้น โดยได้รับแรงบันดาลใจมาจากผลงานหัตถกรรมพื้นบ้าน
ของภาคใตจ้ ำนวน 2 ชิ้นตามที่ไดท้ ำรายงานเมื่อสปั ดาห์ท่ีแลว้

142

บทที่ 7
ผลติ ภัณฑศ์ ลิ ปหตั ถกรรมไทยร่วมสมยั

แผนการสอนคร้งั ท่ี 13

หวั ข้อ ผลติ ภณั ฑ์ศลิ ปหตั ถกรรมไทยรว่ มสมัย
ผู้สอน อาจารย์ ดร.พรนารี ชัยดเิ รก
เวลา 240 นาที

วตั ถุประสงค์
1. เพ่ือให้นสิ ิตเข้าใจ ที่มา วิธีการออกแบบสร้างสรรค์และกรรมวธิ กี ารผลิตงานศิลปหัตถกรรมไทยรว่ มสมัย
2. เพื่อใหน้ สิ ติ เข้าใจและเรยี นร้จู ากตวั อย่างผลงานศิลปหตั ถกรรมไทยรว่ มสมยั

เนื้อหา
1. คำจำกัดความของศลิ ปหัตถกรรมไทยร่วมสมัย
1.1 ความหมายและนิยามของศิลปหัตถกรรมไทยรว่ มสมัย
1.2 วัฒนธรรมโลกและความหลากหลายทางวัฒนธรรม
2. แนวคิดการออกแบบรว่ มสมยั
2.1 แนวคดิ การออกแบบรว่ มสมัย
2.2 แนวทางการออกแบบผลิตภัณฑ์หตั ถกรรมร่วมสมยั
3. แนวทางการศึกษาผลงานศิลปหัตถกรรมไทยรว่ มสมยั
3.1 แนวทางการศึกษาผลงานศลิ ปหตั ถกรรมไทยรว่ มสมยั
3.2 ตัวอย่างการศกึ ษาผลงานศิลปหตั ถกรรมไทยร่วมสมยั

การจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้

1. อธิบายวตั ถปุ ระสงค์และเน้ือหาโดยรวม 15 นาที

2. บรรยายเนือ้ หาและหวั ข้อต่าง ๆ 60 นาที

3. ศึกษาเรียนรผู้ ลงานตัวอย่างผลงานศิลปหตั ถกรรมไทยรว่ มสมัย 150 นาที

4. นิสติ ซกั ถามปรึกษาเน้ือหาการเรยี น 15 นาที

สอื่ การสอน
1. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา การออกแบบศิลปหัตถกรรม
2. ไฟลน์ ำเสนอภาพนิ่งผ่านโปรแกรมคอมพวิ เตอร์
3. หนังสอื ตำรา วารสารตา่ ง ๆ ท้ังในประเทศและตา่ งประเทศ ทเ่ี กย่ี วข้องกบั การออกแบบ
ศลิ ปหตั ถกรรมไทย
4. ตัวอย่างผลติ ภณั ฑ์ ผลงานหตั ถกรรมสำหรบั การเรียนการสอนทเี่ กี่ยวข้อง
(ตามความเหมาะสมของเนื้อหาการเรยี น)

144

การประเมนิ ผล
1. สังเกตจากพฤติกรรมของผู้เรียน
2. ประเมนิ ผลจากกจิ กรรมในการชั้นเรยี น
3. ประเมินผลจากคำถามท้ายบทที่ 7
4. ประเมินผลจากแบบฝ�กหดั ปฏิบัติงานออกแบบทา้ ยบท

หนงั สอื อา้ งองิ
กองทุนส่งเสริมศิลปะร่วมสมัย สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม. (2560). นโยบาย
และยุทธศาสตรส์ ่งเสรมิ ศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔). กรุงเทพฯ : สำนักงาน
กจิ การโรงพิมพ์ องคก์ ารสงเคราะหท์ หารผ่านศกึ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ศนู ย์มานษุ ยวทิ ยาสริ ินธร.
กัมพล แสงเอี้ยม. (2559). วัฒนธรรมร่วมสมัยสู่การปรับเปลี่ยนรูปแบบ งานศิลปหัตถกรรมผ้าทอท้องถิ่น.
ศิลปกรรมสาร วารสารวิชาการคณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 11(1), น. 1-12.
กิตติพงษ์ เกียรติวิภาค. (2563). แนวคิดการนำมิติทางวัฒนธรรมสู่การออกแบบสร้างสรรค์ที่สับสน.
วารสารสถาบนั วฒั นธรรมและศลิ ปะ มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ, 21(2), น. 20-41.
ชลวุฒิ พรหมสาขา ณ สกลนคร. (2547). วัฒนธรรมนำการออกแบบ Designthnologie. วารสารวิชาการ
คณะสถาปต� ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น. 3(1), น. 1-7.
พรนารี ชยั ดิเรก. (2560). แนวทางการออกแบบแฟชนั่ เคร่ืองหนังสง่ ออกประเทศญี่ปุน่ : การสร้างสรรค์อัต
ลักษณ์หัตถกรรมไทย ในรูปแบบอาวองท์-การ์ด หลังยุคสมยั ใหม่. (วิทยานิพนธ์ศิลปกรรมศาสตร
ดษุ ฎบี ณั ฑติ ). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั , กรุงเทพมหานคร.
วรเทพ อรรคบุตร. (2557). แล้วค่อยรู้สึกร่วมสมัย. [สูจิบัตรนิทรรศการศิลปนิพนธ์ นักศึกษาคณะ
ศิลปกรรมศาสตร์]. กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลยั กรุงเทพ.
วิบลู พร วุฒคิ ุณ และรัชนกิ ร กุสลานนท.์ (2563).การออกแบบผลิตภณั ฑ์ร่วมสมัยตามแนวคดิ ทุนทาง
วัฒนธรรม จากภูมิป�ญญานวดแผนไทย. วารสารศิลปกรรมศาสตร์วชิ าการ วิจยั และงาน
สร้างสรรค์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ,ี 7(1), น. 46-59.
แสงอรณุ รตั กสกิ ร และคณะ. (2551). ลกั ษณะไทย วฒั นธรรมพื้นบา้ น. (พมิ พ์คร้งั ท่2ี ). กรงุ เทพฯ :
อมรินท์พรน้ิ ตง้ิ แอนด์พบั ลิชช่ิง.
อรัญ วานิชกร. (2559). การออกแบบผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
Paul, S. (2021). What Is the Definition of Contemporary Design? . Retrieved from
https://www.hunker.com/13411166/what-is-the-definition-of-contemporary-
design

145

บทท่ี 7
ผลิตภณั ฑ์ศลิ ปหตั ถกรรมไทยรว่ มสมยั

วิถีชีวิตสมัยใหม่ในป�จจุบันไม่จำเป�นจะต้องแยกขาดออกจากคุณค่าดั้งเดิมที่เราเคยมีมา เพราะ
ไอเดยี ดี ๆ ท้ังหลายของเราลว้ นดำเนนิ ตามกันมาบนสายธารของภมู ปิ �ญญาท่ีประยุกต์และต่อยอดอยา่ งต่อเน่ือง
ไม่ขาดสายจากรุ่นสู่รุ่น ศิลปหัตถกรรมไทยที่มีความวิจิตรบรรจงงดงามก็สามารถประยุกต์ให้สอดคล้องกับวิถี
ชีวิตสมัยใหม่ได้เสมอ เพราะมีท้ังความคิดสร้างสรรค์ ภูมิป�ญญาอันทรงคุณค่า สอดคล้องกับบริบททางสังคม
และวิถีชีวิตของเราอย่างลึกซ้ึง อีกท้ังยังสามารถต่อยอดไปเพื่อเพิ่มคุณค่าและมูลค่าให้กับงานศิลปหัตถกรรม
ไทยในเชงิ ธุรกจิ สู่สากลไดอ้ กี ดว้ ย

1. คำจำกดั ความของศลิ ปหัตถกรรมไทยร่วมสมยั

1.1 ความหมายและนยิ ามของศลิ ปหตั ถกรรมไทยร่วมสมยั
ศิลปหัตถกรรมไทยร่วมสมัย ประกอบด้วยคำสำคัญ 2 คำ ซึ่งมีความหมายและนิยาม

ดงั น้ี
ศิลปหัตถกรรมไทย หมายถึง งานหัตถกรรมที่มีความงามทางศิลปะ มีคุณลักษณะของ

ความงามที่แฝงภูมปิ �ญญาและค่านยิ มของชุมชนและทักษะเฉพาะตัวใช้ฝม� ือระดับสูง สะทอ้ นคา่ นยิ มของชุมชน
ท้องถิน่ ความรูส้ กึ นกึ คดิ จินตนาการ ซงึ่ อาจจะเป�นไดท้ ั้งศลิ ปะแบบวิจติ รศิลป์และประยกุ ต์ศลิ ป์

“ร่วมสมัย” หมายถึง การเกิดขึ้นร่วมยุคสมัยเดียวกัน หรือสร้างขึ้นในยุคป�จจุบันในช่วง
ระยะเวลาย้อนไปประมาณ 20 ป� หรือสร้างขึ้นในอดีตที่อยู่ในยุคเดียวกัน สมัยเดียวกัน มีความสัมพันธ์ กับ
สังคมเดียวกัน ประเทศเดียวกัน หรือเป�นความสัมพันธ์กับระดับนานาชาติก็ตาม ความร่วมสมัยได้รับอิทธิพล
จากความเป�นโลกาภิวัตน์ ความหลากหลายทางวัฒนธรรม และการพัฒนาอย่างก้าวไกลในด้านเทคโนโลยี
ซึ่งอาจเป�นการรวมตัวกันของความอยากหลากหลายของวัสดุ วิธีการ แนวความคิด และหัวข้อที่ทำให้เกิด
การท้าทายต่อขอบเขตของงานรูปแบบเดิม ๆ ที่เป�นท่ีนิยมในช่วงศตวรรษที่ 20 ความร่วมสมัยเป�นส่วนหนึ่ง
ของบทสนทนาทางวัฒนธรรมที่ซึ่งเกี่ยวข้องกับบริบทขอบข่ายที่กว้างขึ้น ได้แก่ อัตลักษณ์เฉพาะตัวและ
อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม ครอบครัว สังคม รวมไปถึงประเทศชาติ (วรเทพ อรรคบุตร, 2557)

กองทุนส่งเสริมศิลปะร่วมสมัย สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
(2560) อา้ งว่า คำว่า ร่วมสมยั นนั้ ดไู ด้จากองคป์ ระกอบทเี่ รียกว่า “3 ร่วม” คือ

1. ร่วมชีวิต อย่างที่เข้าใจกันคือหมายถึง “คนทำงานศิลปวัฒนธรรมที่ยังมีชีวิตอยู่”ซึง่ ก็
จะมีรายละเอียดของมัน เพราะศิลป�นบางคนที่ยังมีชีวิตอยู่ บางทีก็อาจจะไม่มีอะไร “ร่วมสมัย” เลยก็ได้
กลา่ วคอื เคล่อื นตัวเองไปสู่ความ “ล้าสมัย” หรือ “ร่วงสมัย”

2. รว่ มเหตกุ ารณ์ เช่น อย่ใู นเหตุการณท์ างประวัติศาสตร์หรืออยู่ในเหตุการณ์สำคัญของ
ยุคสมัยเดยี วกนั เช่น เหตกุ ารณ์เปลีย่ นแปลงการปกครอง 2475 เหตกุ ารณ์ “14 ตลุ า 2516” แตล่ ะเหตุการณ์

146

แต่ละยุคสมัยก็จะมีข้อปลีกย่อยของมัน ซึ่งอาจมีจุดร่วมบางอย่างทำให้เกิดลักษณะ “ร่วมสมัย” ในยุคนั้น ๆ
ขึ้นมา

3. ร่วมความคดิ เช่น ความคดิ เร่ืองประชาธิปไตย สงั คมนิยม ชาตินยิ ม เพศนยิ ม ความคิด
เรื่องต่อต้านเผด็จการความคิดเรื่องต่อต้านสงคราม ความคิดเรื่อง ประชานิยมฯลฯ ลักษณะของการ “ร่วม
ความคิด” ทว่ี า่ นอ้ี าจดูไดจ้ ากการขับเคล่อื นของเหตุการณ์ต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึ้นประกอบดว้ ย

ศิลปหัตถกรรมไทยร่วมสมัย จึงหมายถึง งานหัตถกรรมที่มีคุณลักษณะของความงามที่
แฝงภูมิป�ญญาและค่านิยมของชุมชนและทักษะเฉพาะตัวใช้ฝ�มือระดับสูงที่สร้างขึ้นในยุคป�จจุบันหรือสมัย
เดียวกัน และได้รับอิทธิพลจากความเป�นโลกาภิวัตน์ ความหลากหลายทางวัฒนธรรมอาจสะท้อนภาพของ
ผลงานในเรื่องของความหลากหลายของวัสดุ วิธีการ แนวความคิด และทำให้เกิดการท้าทายแปลก แหวก
กรอบจากงานรูปแบบเดิม ๆ

1.2 วัฒนธรรมโลกความหลากหลายทางวฒั นธรรมและวัฒนธรรมร่วมสมัย
วัฒนธรรม หมายถึง วิถีการดำเนินชวี ิตของคนส่วนใหญข่ องสังคมแต่ละท้องถิ่นซึง่ มีแนว

ประพฤติปฏิบัติ ร่วมกันมาอย่างยาวนานนับแต่อดีตจนถึงป�จจุบัน เช่น วัฒนธรรมพื้นบ้านทางภาคเหนือ
วฒั นธรรมพ้ืนบ้านทางภาคอีสานและวฒั นธรรมพน้ื บ้านทางภาคใตเ้ ปน� ต้น วัฒนธรรมพน้ื บา้ นของแตล่ ะภาคจึง
เป�นแนวประพฤติปฏิบัติของคนในภาคนั้น ๆ ที่สืบทอดกันมาอย่างยาวนานทำให้มีชีวิตอยู่ได้จนถึงป�จจุบัน
(กติ ตพิ งษ์ เกียรติวิภาค, 2563)

วัฒนธรรม คอื ลกั ษณะท่แี สดงถึงความเจริญงอกงาม ความเป�นระเบียบเรียบร้อย ความ
กลมเกลยี วกา้ วหน้า และศีลธรรมอนั ดีของประชาชน วฒั นธรรมจงึ เปน� ลักษณะพฤติกรรมตา่ ง ๆ ของมนุษย์ซ่ึง
เป�นวิถีชีวิตของมนุษย์ ทั้งตัวบุคคลและสังคมที่ได้วิวัฒนาการตอ่ เน่ืองมาอย่างมีแบบแผน แต่อย่างไรก็ดีมนษุ ย์
นั้นไม่ได้เกาะกลุ่มอยู่เฉพาะในสังคมของตนเอง ได้มีความสัมพันธ์ ติดต่อกับสังคมต่าง ๆ ซึ่งอาจอยู่ใกล้ชิดมี
พรมแดนตดิ ต่อกัน หรือยปู่ ะปนในสถานท่ีเดียวกันหรือการทช่ี นชาติหน่ึงตกอยู่ใต้การปกครองของชนชาติหน่ึง
ป�จจุบันในยุคโลกาภิวัตน์ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในทุกมิติ ทั้งทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และ
เทคโนโลยีอันเป�นผลมาจากการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางด้านเศรษฐกจิ
ด้านการเมืองและด้านสังคม ส่งผลทำให้ประเทศต่าง ๆ ในโลกต้องพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน มีความเชื่อมโยง
ระหว่างกันมากขึ้น ในบริบทด้านสังคมโลกาภิวัตน์จึงก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมระหว่างประเทศ
และระหว่างชาติพนั ธ์ุ รวมถงึ การแพร่กระจายแนวคิดพหลุ ักษณ์ทางสังคมและความหลากหลายทางวัฒนธรรม
เป�นไปอย่างกว้างขวาง มนุษย์เป�นผู้รู้จักเปลี่ยนแปลงปรับปรุงสิ่งต่าง ๆ จึงนำเอาวัฒนธรรมที่เห็นจากการได้
สัมพันธ์ติดต่อมาใช้ โดยอาจรับมาเพิ่มเติมเป�นวัฒนธรรมของตนเองโดยตรงหรือนำเอามาดัดแปลง แก้ไขให้
สอดคล้องเหมาะสมกับสภาพบริบททางวัฒนธรรมที่มีอยู่เดิม แต่จะมีวัฒนธรรมที่มีพื้นฐานมาจากความรู้
ประสบการณ์ที่สังคมตกทอดมาโดยเฉพาะของสังคมนั้นที่แสดงออกในรูปแบบการดำรงชีวิตของคนในชุมชน
นนั้ ผสมร่วมอยูด่ ว้ ย (กัมพล แสงเอยี้ ม, 2559).

147

1.2.1 วัฒนธรรมโลก
กระบวนการโลกาภิวัตน์ หมายถึง การแพร่กระจายทางวัฒนธรรมสากลโลกนั้น ไม่ได้
หมายความว่าคนทั้งโลกจะมีวัฒนธรรมเพียงชุดเดียว มนุษย์เราต้องการเอกลักษณ์และความเฉพาะตัว มี
รากเหง้า
1.2.1.1 แนวคิดเกี่ยวกับการแพรก่ ระจายทางวฒั นธรรมสากลในยุคโลกาภิวตั น์
“โลกาภิวัตน์” หมายถึง การแพร่กระจายไปทั่วโลกในแง่ของข่าวสารต่าง ๆ การที่
ประชาคมโลกไม่ว่าจะอยู่ ณ จุดใดสามารถรับรู้สัมผัสหรือรับผลกระทบจากสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว
กว้างขวางสืบเนื่องมาจากการพัฒนาระบบสารสนเทศ ดังนั้นยุคโลกาภิวัตน์จึงเป�นยุคข้อมูลข่าวสาร
(Information Age) ที่ไร้พรมแดน อันเป�นยุคที่มีพัฒนาการและการเปล่ียนแปลงอย่างมากทางด้านเทคโนโลยี
สื่อสารและคมนาคมทำให้ประเทศต่าง ๆ ได้เข้ามาใกล้ชิดกันมากขึ้น กระแสโลกทั้งในรูปของทุนและข้อมูล
รวมทั้งค่านิยมบางประการได้ขยายตัวครอบคลุมไปทัว่ โลก กล่าวได้วา่ ผลกระทบของโลกาภิวัตนต์ ่อสังคมโลก
การครอบโลกทางวัฒนธรรม เน่อื งจากระบบสอ่ื สารไรพ้ รมแดน ทำใหเ้ กดิ การครอบโลกทางวฒั นธรรม อิทธพิ ล
ของวัฒนธรรมและอำนาจของเศรษฐกิจจากประเทศที่พัฒนาแล้วได้ไหลบ่าเข้าสู่ประเทศอื่นอย่างรุนแรง
ก่อใหเ้ กดิ กระแสวัฒนธรรมโลก (Neo-Westernization) ครอบงำทาง ความคดิ การมองโลก การแตง่ กาย การ
บริโภคนิยม แพร่หลายเขา้ ครอบคลุมเหนือวัฒนธรรมประจำชาติของแต่ละประเทศ ผลทีต่ ามมา คือ เกิดระบบ
ผูกขาดและการค้าแบบไร้พรมแดน
วัฒนธรรมในป�จจุบันมีความหมายกว้างมากขึ้นกว่าในอดีตมากวัฒนธรรมไม่ใช่เรื่อง
ของการสืบสานขนบธรรมเนียมประเพณีเพียงอย่างเดียวและไม่ใช่เป�นเรื่องของการจัดงานประเพณีตาม
เทศกาลเท่านั้น ดังนั้นโลกาภิวัตน์ทำให้เกิดกระแสการเคลื่อนย้ายถ่ายเทของวัฒนธรรม และสิ่งที่เข้ามากับ
กระแสโลกาภิวัตน์คือ บริโภคนิยมและวัตถุนิยม ถ้ากระแสโลกาภิวัตน์ผนวกเข้ากับเงินทุนก็ยิ่งสามารถสร้าง
สินค้าที่ทรงอิทธิพลในการสร้างค่านิยมแบบใหม่ ๆ ให้กับคนมากได้ยิ่งขึ้น การเกิดต้นแบบหรือแม่พิมพ์ทาง
วฒั นธรรมในโลกยุคใหม่ กระแสแฟชัน่ กางเกงลวี ายสใ์ นกลุ่มวยั รุ่น ท่ผี ผู้ ลิตสามารถทำเงินได้มากมาย นี่อาจจะ
เรียกว่าการสร้างต้นแบบวัฒนธรรมใหม่ขึ้นมา และทำให้คนรุ่นใหม่มีกระแสความนิยมในเรื่องแฟชั่น หรือ
รูปแบบการใช้ชีวิตท่ีเหมือนกัน ในทางตรงกันข้ามมีการเกิดกระแสการพยายามปกป้องอัตลักษณ์หรือ
ผลประโยชน์ของชาตเิ พิ่มมากข้ึน และเกดิ เป�นการผลิตสินคา้ ทางวัฒนธรรมขึน้ มาต่อสู้กับสินค้าวัฒนธรรมจาก
ตะวนั ตกมากขนึ้ เชน่ รัฐบาลเกาหลี ทม่ี องเรอ่ื งการพัฒนาประเทศจากรากฐานวฒั นธรรมของตัวเอง (Culture
Based Development) และพัฒนามาเป�นสินค้าวัฒนธรรมเกาหลีเพื่อส่งออกไปขายในประเทศแถบเอเชีย
และได้รับการตอบรับเป�นอย่างดี เป�นต้น (กองทุนส่งเสริมศิลปะร่วมสมัย สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย
กระทรวงวัฒนธรรม, 2560)
1.2.2 ความหลากหลายทางวฒั นธรรม
กัมพล แสงเอี้ยม (2559) กล่าวว่า แนวความคิดในเรื่องพหุนิยม (Pluralism) ปรากฏอยู่
อย่างเด่นชัดในสังคมที่มีความหลากหลายของกลุ่มชาติพันธุ์และวัฒนธรรม ซึ่งมีความตระหนักถึงสภาพของ
ความหลากหลายนั้นและพยายามท่ีทำให้ความหลากหลายนั้นดำรงอยู่ได้ ร่วมกันในสังคมอย่างเป�นปกติ ซึ่ง

148

ก่อนที่จะมีมนุษย์เกิดขึ้นก็มี ความหลากหลายในธรรมชาติเป�นพืน้ ฐานมากอ่ น มนุษย์ก็เกิดขึ้นในสิง่ แวดล้อมที่
แตกต่างกนั ในท่แี ต่ละแห่งแตม่ นษุ ย์กย็ ่อมเรียนรู้ที่จะอยรู่ ว่ มกนั และอย่รู ว่ มอย่างสอดคล้องกับธรรมชาติและมี
วิถีชีวติ ท่ีแตกตา่ งกนั ไป ซึง่ เรียกวา่ เป�นความหลากหลายทางชีวภาพกบั ความหลากหลายทางวฒั นธรรมและทั้ง
สองเรื่องเป�นเร่ืองท่ีเชื่อมโยงกนั และการแพร่กระจายทางวัฒนธรรมส่งผลให้เกิดความสัมพันธ์ทางวฒั นธรรม
ในรปู แบบตา่ ง ๆ อกี ดว้ ย

วัฒนธรรมมีศูนยก์ ลางและการแพรก่ ระจายสูช่ ายขอบและสังคมอืน่ ๆ การปะทะสังสรรค์
ทางวัฒนธรรมทำให้เกดิ การยอมรับซึง่ วัฒนธรรมที่แตกตา่ งของกันและกัน ความหลากหลายทางวฒั นธรรมจงึ
เป�นผลจากการที่วัฒนธรรมมีการผสมผสานเอาบางส่วนของวัฒนธรรมอื่นเข้ามาด้วย และมีการปรับรับ
วฒั นธรรมซึ่งกันและกนั ทำให้เกิดพฒั นาการทางวัฒนธรรมทีแ่ ตกต่างกันและมีรูปแบบตา่ ง ๆ

1.2.3 วัฒนธรรมร่วมสมัย
ภายใตบ้ รบิ ทโลกของความทนั สมยั ทีเ่ ต็มไปดว้ ยวัฒนธรรมท่มี ชี ีวิตเปน� เสมือนกระแสหรือ
พลงั ท่ีเรามองไม่เห็นแต่รสู้ ึกได้ บรโิ ภคไดแ้ ละใช้ชวี ิตได้ วฒั นธรรมรว่ มสมัย คือ การผสมผสานทางความคิดรำ
หว่างวัฒนธรรมภายนอกกับวัฒนธรรมของตนเอง และเกิดการคัดสรร และรังสรรค์วัฒนธรรมต่าง ๆ เข้า
ด้วยกันหล่อหลอมเป�นวัฒนธรรมใหม่ที่สอดคล้องกับบริบททางสังคมนั้น ๆ จากวัฒนธรรมเดิมรวมเข้ากับ
วัฒนธรรมใหม่สู่วัฒนธรรมร่วมสมัย จะเห็นได้ชัดจากการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมการแต่งตัวของผู้คนใน
สังคมต่างๆทเ่ี ปล่ียนไปตามกระแสภายนอกและมคี วามเปน� สากลมากข้นึ (กัมพล แสงเอยี้ ม, 2559)
วัฒนธรรมร่วมสมัย หมายถึง วัฒนธรรมที่สะท้อนความเป�นป�จจุบันที่ยังคงปรากฏ
รากเหงา้ ทางประวัตศิ าสตร์ของกลุ่มชนนั้น ๆ และถูกนำมาปรบั แต่งต่อยอด มีกรอบการพัฒนาอย่างไม่หยุดนิ่ง
โดยผ่านกระบวนการประยุกต์ ผสมผสานองค์ประกอบต่าง ๆ ทั้งเก่าและใหม่ มีการสร้างการเช่ือมโยงระหว่าง
มิตขิ องเวลา สถานท่ีและความสัมพันธ์ของสมาชิกในสังคม ผา่ นการใชเ้ ทคนิคและเทคโนโลยีใหม่ ๆ มีการตีแผ่
ความคิดเกี่ยวกับสภาพแห่งป�จจุบันสมัยใหส้ ังคมรับรู้ ซึ่งวัฒนธรรมร่วมสมัยส่วนใหญ่เกิดจากจินตนาการ การ
ต่อยอดภูมิป�ญญาผนวกดว้ ยความคิดสร้างสรรค์ (กองทนุ ส่งเสริมศลิ ปะร่วมสมัย สำนกั งานศิลปวัฒนธรรมร่วม
สมัย กระทรวงวัฒนธรรม, 2560)
คำว่า “วัฒนธรรมรว่ มสมัย” แบง่ ความหมาย ออกเป�น 2 มิติ คือ
1. วัฒนธรรมร่วมสมัยเกิดขึ้นจากโลกของความทันสมัยเป�นปริมณฑลที่เต็มไปด้วย
วัฒนธรรมที่มีชีวิต เป�นเสมือนกระแสหรือพลังที่เรามองไม่เห็นแต่รู้สึกได้ บริโภคได้และใช้ชีวิตส่วนใหญ่ใน
ขณะท่เี ราต่นื นอน ทำงาน พกั ผ่อน หยอ่ นใจ รวมทั้งกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวติ ประจำวัน
2. วัฒนธรรมร่วมสมยั ในมิติของเวลาป�จจุบัน เป�นวัฒนธรรมท่ีสร้างสรรค์ แบบข้ามแดน
ข้ามประเทศ ข้ามชุมชน อยู่คนละที่ละทางก็ยังสามารถสัมพันธ์กบั วัฒนธรรมตา่ งแดนไดว้ ฒั นธรรมข้ามยุคข้าม
สมยั ก็ยังสามารถจะกลับมามีความสำคัญได้ในยุคสมัยปจ� จุบนั

149

2. แนวคิดการออกแบบร่วมสมยั

2.1 แนวคิดการออกแบบรว่ มสมัย
Paul (2021) สรุปว่า แนวคิดการออกแบบร่วมสมัยได้รับอิทธิพลอย่างมากจากการ
ออกแบบสมัยใหม่ (Modern Design) แต่มีลกั ษณะท่ีแตกต่างกัน คอื

1.การออกแบบสมัยใหม่นั้นมีช่วงเวลาการออกแบบทางประวัติศาสตร์ท่ี
เฉพาะเจาะจง โดยมีปรัชญาชี้นำและมีลักษณะที่สามารถระบุตัวตนได้ แต่การออกแบบร่วมสมัยไม่มีลักษณะ
ดังกล่าวทช่ี ัดเจนและไม่เฉพาะเจาะจงเท่าสมยั ใหม่

2. การออกแบบสมัยใหม่มีภาพสะท้อนของการตกแต่งท่ีชัดเจน โดดเด่นและมี
พัฒนาการทางสถาป�ตยกรรมทางประวัติศาสตร์ที่เป�นที่รับรู้กันโดยทั่ว แต่การออกแบบร่วมสมัยไม่มีลักษณะ
และประวัติศาสตรท์ ่เี ปน� ทบี่ ง่ ชัด

“ร่วมสมัย” เป�นคำคุณศัพท์ไม่ใช่รูปแบบหรือสไตล์ แต่เป�นคำที่สะท้อนถึง รูปแบบของการ
สร้างสรรค์ที่ผ่านการคิดทำมาอย่างดี มีความสวยงาม มีประสิทธิภาพและมีช่วงเวลา เนื่องจากความร่วมสมัย
คือ "ช่วงเวลาหนึ่ง" การออกแบบจึงมีความลื่นไหลเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา มีความผสมผสาน ไม่ซับซ้อนและ
เปด� กว้างมาก ไม่มีกำแพงกั้นระหว่างความหลากหลายรูปแบบที่เอาเข้ามาใช้ดว้ ยกัน เช่น ผลงานการออกแบบ
สถาป�ตยกรรมของสถาปนิกซาฮา ฮาดิด (Zaha Hadid) ที่ออกแบบสร้างอาคารโค้งยาวที่ผสมผสานรูปแบบ
และมุมที่แตกหักซึ่งสะท้อนถึงความสับสนวุ่นวายของชีวิตสมยั ใหม่ มีการใช้ประตูกระจกที่เป�นทั้งกำแพงที่อยู่
อาศัยสามารถเป�ดออกไปดา้ นนอกได้ การออกแบบหลังคาที่ทำจากพชื หรือหญ้าทท่ี นแลง้ เป�นตน้

2.2 แนวคิดการปรบั เปลี่ยนเพ่ือการออกแบบร่วมสมัย
ในภาวะที่บ้านเมืองเปลี่ยนแปลงไปตามกระแสของโลกนั้น ศิลปหัตถกรรมไทยพื้นบ้าน
จากเดิมที่เคยเป�นส่วนหนึ่งในวิถีชีวิตของชาวบ้านในชนบทก็ไม่อาจหยุดนิ่งหรือต้านทานมิให้เกิดการ
ปรับเปลี่ยนไปตามสภาวการณ์ที่เกิดขึ้นได้ ความเปลี่ยนแปลงเช่นนี้ก่อให้เกิดรูปแบบการปรับเปลี่ยนแบบ
ตา่ ง ๆ และทำใหเ้ กิดการออกแบบผลิตภัณฑร์ ว่ มสมัยขึ้นได้ รปู แบบการปรับเปลยี่ นต่าง ๆ (แสงอรุณ รตั กสิกร
และคณะ, 2551) มดี ังน้ี

1. การปรับเปลี่ยนวัสดุ ด้วยการนำเอาวัสดุสมัยใหม่ส่วนใหญ่เป�นวัสดุสังเคราะห์
เข้ามาใช้ในงานศิลปหัตถกรรมเป�นการเปลี่ยนจากวัสดุธรรมชาติมาเป�นวัสดุสังเคราะห์ การเปลี่ยนจากวัสดุ
ธรรมชาติมาเป�นวัสดุสังเคราะห์นี้ขยายความไปถึงการเคลื่อนจากสังคมเกษตรกรรมเข้าสู่สังคมอุตสาหกรรม
และเทคโนโลยีจะเห็นได้ชัดในงานสานตะกร้าจากวัสดุไม้ไผ่ หวายผักตบชวา ปรับเปลี่ยนมาเป�นวัสดุเส้น
พลาสติกมากขึ้น

2. การปรับเปลี่ยนผู้ใช้ บ้านเรือนไทยที่เคยเป�นเหย้าเรือนสำหรับอยู่อาศัยของ
ชาวบ้านในชนบททั่วทุกภูมิภาคได้กลายมาเป�นที่อยู่ของผู้มีอันจะกินในเมืองซึ่งนิยมที่จะซื้อเรือนไทยเก่าจาก
ชนบท หรือสร้างขึ้นมาใหม่ตามแบบฉบับเรือนไทยเดิม จากแหล่งผลิตบางแห่งเช่น อำเภอบางปะหัน จังหวัด
พระนครศรีอยุธยา

150

3. การปรับเปลี่ยนสถานที่ ศิลปหัตถกรรมพื้นบ้านจากเดิมที่เคยมีใช้อยู่เฉพาะ
ชาวนาและชาวบา้ นในชนบทก็นำไปใชใ้ นเมือง ผ้าทอมดั หม่ขี องชาวบา้ นในภาคอสี านได้รบั ความนยิ มมาใช้เป�น
ผ้าผ่อน แพรพรรณของชาวเมือง ยิ่งกว่านั้นยังเป�นที่ชื่นชมของชาวต่างประเทศด้วย หรือบ้านเรือนไทยที่เคย
ปลกู อยตู่ ามหมู่บา้ นในชนบทถกู ยา้ ยเปลยี่ นท่ีมาอยู่ในเมือง

4. ปรับเปลี่ยนหน้าที่ ไหปลาร้าบ้านด่านเกวียนจังหวัดนครราชสีมาเคยเป�น
ภาชนะสำหรับใส่ปลาร้า ในป�จจุบันดัดแปลงให้โปร่งด้วยลายฉลุให้ใช้เป�นโคมไฟ สำหรับประดับในสวน หรือ
เครื่องจักสานจำพวกกระบุงตะกร้าที่เคยใช้ใส่ข้าวเปลือกใส่ผักใส่ฟ�นถูกนำมาใช้รองรับกระถางต้นไม้ประดับ
อาคารสถานท่ีกันอย่างแพร่หลาย

5. การปรบั เปลยี่ นรปู แบบ งานศิลปหตั ถกรรมทไ่ี ด้รับผลกระทบในด้าน
การเปลีย่ นรปู แบบน้ันเป�นผลสบื เนื่องมาจากการท่ถี ูกเปล่ียนหนา้ ทใ่ี ชส้ อยไปใชป้ ระโยชน์อย่างหลากหลายต่าง
ไปจากทีเ่ คยใช้เฉพาะอย่างเฉพาะที่เพื่อความเหมาะสมกบั สภาพสังคม

2.3 แนวทางการออกแบบผลติ ภัณฑ์หตั ถกรรมร่วมสมัย
ชลวุฒิ พรหมสาขา ณ สกลนคร (2547) ได้เขยี นบทความในวารสารวิชาการ เรอื่ งการใช้
วฒั นธรรมนำการออกแบบ Designethnogie (Design+ethnology) โดยกลา่ วไว้ว่า วฒั นธรรมท้องถ่ินเกิดข้ึน
เพราะการรวมตัวของคนตั้งแต่ยุคสังคมเกษตร เมื่อลักษณะสังคมเปลี่ยนองค์ประกอบสำคัญของวัฒนธรรม
ท้องถิ่นเจือจางและบิดเบือน ประเทศไทยน่าจะยังมีวัตถุดิบทางวัฒนธรรมคงเหลืออยู่ ในการนำวัตถุดิบทาง
วัฒนธรรมมาใช้มิได้ขึ้นอยู่กับป�จจัยด้านปริมาณ หากแต่ต้องอาศัยการวิเคราะห์และพิจารณาอย่างเหมาะสม
การฟ�นฟูทั้งวัฒนธรรมและผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นจงึ จำเป�นต้องปรับพัฒนารปู แบบให้เหมาะสมกับบรบิ ททางสังคม
วฒั นธรรมที่เปล่ียนไปทส่ี ำคัญ คอื การวเิ คราะหค์ วามหมายทางนามธรรมท่ซี ่อนอยู่ในในรปู แบบของผลิตภัณฑ์
ต่าง ๆ แล้วประยุกต์ส่วน อันเป�นนามธรรมให้เข้ากับวิถีชีวิตของคนท้องถิ่นและสภาพแวดล้อมป�จจุบัน
เครื่องใช้ไม้สอยพื้นถิ่นการออกแบบเพื่อตอบสนองความต้องการของกลุ่มชนในสถานที่และเวลาหนึ่งในอดีต
การลอกแบบผลิตภัณฑ์ ขึ้นมาใหม่โดยไม่มีการปรับปรงุ พัฒนาย่อมไม่อาจตอบสนองความต้องการของอีกกลุ่ม
ชนหนึ่งที่มีชีวิตอยู่ต่างสถานที่หรือช่วงเวลาได้ เส้นทางอยู่รอดของวัฒนธรรมท้องถิ่นต้องอยู่ในกรอบความ
ยดื หย่นุ ของอัตลกั ษณ์เดมิ ซ่ึงในดา้ นการออกแบบอาจเปน� ไปไดส้ องแนวทางใหญ่ ๆ คอื
1. การพัฒนาปรับปรุงผลิตภัณฑ์เดิมด้วยการรักษาอัตลักษณ์ท้องถิ่นด้านรูปธรรมไว้ใน
ระดบั ค่อนข้างสูง
2. การออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ที่ไม่เคยมีมาก่อนเพื่อตอบสนองความต้องการของสังคม
ป�จจุบัน โดยใช้อัตลักษณ์และภูมิป�ญญาส่วนที่เป�นนามธรรมในวัฒนธรรมเดิมมาเป�นป�จจัยในการกำหนด
รปู แบบเพือ่ การดำรงอย่ขู ององคป์ ระกอบน้นั ๆ
ในป�จจุบันการออกแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรมร่วมสมัยเป�นที่ได้รับความนิยมอย่างมาก
และมีผู้เชี่ยวชาญและนักออกแบบหลายท่านได้นำเสนอแนวทางการออกแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรมร่วมสมัยไว้
หลายแนวทาง ดังน้ี

151

อรญั วานิชกร (2559) ไดส้ รุป กระบวนการออกแบบผลิตภณั ฑจ์ ากภูมปิ ญ� ญาทอ้ งถ่ินเชิง
ทดลอง (Experimental Design) ประกอบดว้ ย 7 กระบวนการ ดังน้ี

ภาพประกอบ 56 ภาพแสดงกระบวนการออกแบบผลติ ภณั ฑ์จากภมู ิป�ญญาไทย
ทมี่ า : อรญั วานชิ กร. (2559). การออกแบบผลติ ภณั ฑ์ทอ้ งถนิ่ .
กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั .

กระบวนการที่ 1 – การสร้างแรงบนั ดาลใจจากภูมิปญ� ญาทอ้ งถิ่น
กระบวนการท่ี 2 – การร่างภาพเพ่ือศึกษารปู ทรงของผลติ ภัณฑจ์ ากมุมมองด้านต่าง ๆ
กระบวนการที่ 3 – ทำการตัดทอนรายละเอียด พื้นผิว ลวดลายของรูปทรง ให้เป�น
เหลอื แต่รูปทรงหรือโครงสร้างทเ่ี รยี บง่าย
กระบวนการที่ 4 – การถอดรายละเอียดด้วยการวิเคราะห์ด้านองค์ประกอบเพื่อ
การออกแบบต่าง ๆ เช่น รปู ทรง เส้นสาย สสี นั พื้นผิว ลวดลาย ฯลฯ มาจัดวางเรยี บเรียงองคป์ ระกอบขน้ึ ใหม่
กระบวนการที่ 5 – การวางแผนด้านการออกแบบเพื่อให้เกิดประโยชน์ใช้สอยและ
พฤติกรรมในรูปแบบใหม่
กระบวนการที่ 6 – กระบวนการออกแบบเพื่อให้เกิดผลิตภัณฑ์ ด้วยการใช้เทคนิค
การกระตุ้นความคิดเพื่อให้เกิดนวัตกรรมในการออกแบบผลิตภัณฑ์ของออสบอร์นด้วยก็ได้(Osborn’s
Checklists)
กระบวนการท่ี 7 – กระบวนการผลติ ผลงานต้นแบบ

152

พรนารี ชัยดิเรก (2560) ได้กล่าวถึง “ITSME Model” ซึ่งเป�นแนวทางการออกแบบ
สินค้าเพ่ือสะท้อนตัวตนที่เป�นเอกลักษณ์ของตราสินคา้ ทส่ี ามารถนำมาใช้กับการออกแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรม
ร่วมสมัย และสามารถนำสินค้าหัตถกรรมร่วมสมัยที่ออกแบบส่งออกไปต่างประเทศได้ด้วย ประกอบด้วย
องคป์ ระกอบหลกั 5 ประการ คอื

I (Identity) - ด้านอตั ลกั ษณ์ของตราสนิ คา้
T (Target) - ด้านกลุ่มเป้าหมายผ้บู ริโภค
S (Style & Design) - ด้านรปู แบบของผลติ ภณั ฑ์และการออกแบบสนิ คา้
M (Marketing & Trends) - ด้านการตลาดและแนวโน้มกระแสแฟช่ัน
E (Export) – ด้านการสง่ ออกไปต่างประเทศ

ภาพประกอบ 57 แนวทางการออกแบบแฟช่นั สินค้าเครอื่ งหนังส่งออก “ITSME Model”
ทมี่ า : พรนารี ชยั ดิเรก. (2560). แนวทางการออกแบบแฟชนั่ เครือ่ งหนังส่งออกประเทศญีป่ นุ่ : การสร้างสรรค์อัตลักษณ์

หัตถกรรมไทย ในรูปแบบอาวองท์-การด์ หลังยุคสมัยใหม.่ (วทิ ยานพิ นธ์ศลิ ปกรรมศาสตรดุษฎบี ณั ฑิต).
กรงุ เทพมหานคร : จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั . .

153

วิบูลพร วฒุ ิคณุ และรัชนิกร กสุ ลานนท์ (2563) ไดส้ รุปถึง หลกั การออกแบบและปจ� จัยที่
มอี ทิ ธิพลต่อการกำหนดองค์ประกอบของงานออกแบบผลิตภณั ฑ์ ไดแ้ ก่

1. หน้าทใี่ ช้สอย (Function)
2. ความสวยงามน่าใช้ (Aesthetics or sales appeal)
3. ความสะดวกสบายในการใช้ (Ergonomics)
4. ความปลอดภัย (Safety)
5. ความแข็งแรง (Construction)
6. ราคา (Cost)
7. วสั ดุ (Materials)
8. กรรมวธิ ีการผลิต (Production)
9. การบำรงุ รกั ษาและซอ่ มแซม (Maintenance)
10. การขนสง่ (Transportation)

3. แนวทางการศกึ ษาผลงานศิลปหัตถกรรมไทยร่วมสมยั

ในป�จจุบันจะเห็นได้ว่าความหลากหลายทางวัฒนธรรมในยุคโลกาภิวตั น์มีการเปล่ียนแปลงอยา่ ง
รวดเร็วในทุกมิติรวมถึงมิติของเวลาท่ามกลางโลกาภิวัตน์ในป�จจุบัน ซึ่งเป�นวัฒนธรรมที่สร้างสรรค์แบบข้าม
แดน รวมการผสมผสานทางด้านการรับรู้ ด้านแนวคิด ด้านรูปแบบ และด้านรสนิยม ซึ่งส่งผลต่อการ
ปรับเปลี่ยนรูปแบบของงานศิลปหัตถกรรมต่าง ๆ เพื่อให้สอดคล้องกันกับบริบทภายนอกชุมชนและบริบท
ภายในชุมชน จากการผสมผสานทางวัฒนธรรมสู่แนวทางของรูปแบบงานศิลปหัตถกรรมพื้นถิ่นภายใต้บริบท
ทางวฒั นธรรมร่วมสมยั

3.1 แนวทางการศึกษาผลงานศิลปหัตถกรรมไทยรว่ มสมัย
การศึกษาผลงานศิลปหัตถกรรมไทยร่วมสมัยนั้นไม่ได้แตกต่างจากการศึกษาผลงาน
ศิลปหตั ถกรรมของภาคอ่ืน ๆ นักศึกษาควรทำความเข้าใจและรู้จักทง้ั การศึกษาคุณคา่ เชิงรูปธรรม (Tangible)
ได้แก่ องค์ประกอบด้านการออกแบบ (Design Elements) เช่น เส้นสาย ลวดลาย รูปทรง สีสัน พื้นผิว และ
วัสดุ และการศึกษาคุณค่าเชิงนามธรรม (Intangible) ได้แก่ ความซาบซึ้งในเรื่องราว คุณค่าและความหมาย
ด้านต่าง ๆ จติ วญิ ญาณท่ีแฝงไว้ ปรัชญาแนวคิดและภูมปิ �ญญา
3.2 ตวั อยา่ งการศกึ ษาผลงานศิลปหัตถกรรมไทยร่วมสมัย
3.2.1 ขันแก้วทั้งสาม หมายถึง พานที่ใช้ใส่ดอกไม้ธูปเทียน บูชาสักการะพระรัตนตรัย
ซง่ึ ทางลา้ นนาเรียกว่า ขันแก้วทง้ั สาม แทนพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆก์ ารทำขันแกว้ ท้ังสามขึ้นมาสำหรับวัด
ต่าง ๆ นั้น สมัยโบราณต้องการให้ประชาชนนำดอกไม้ ธูปเทียนมารวมกันเป�นจุดเดียวเป�นเครื่องเตือนใจให้
เห็นวา่ เป�นอันหนึง่ อันเดียวกนั ตรงกบั คำวา่ เอกฉันท์พรอ้ มใจเป�นหนงึ่

154

ภาพประกอบ 58 ภาพแสดงการศึกษาและตดั ทอนรปู ทรงสญั ญะ“ขันแกว้ ท้ังสาม”
ท่มี า : อรญั วานิชกร, (2559). การออกแบบผลติ ภณั ฑท์ ้องถน่ิ . สำนักพิมพแ์ หง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย.

การวิเคราะห์ขันแก้วทั้งสามจากการศึกษาลักษณะของรูปทรง มีโครงสร้างหลักที่มี
ลกั ษณะเรขาคณิตท่ีมีความโดดเด่นของรูปทรงเป�นอย่างมาก โดยหากเปล่ียนทจ่ี ัดวางสัญญะของรูปทรงน้ีจากวัด
สูโ่ ตะ๊ ทำงานหรือโต๊ะหวั เตยี ง (Table Lamp) ความหมายแฝง (Intangible) ยังคงปรชั ญาเดิมทใี่ ช้ในพุทธศาสนา
สู่การสร้างป�ญญาบนโต๊ะทำงาน คือ การเตือนสติในระหว่างการทำงานให้มีสมาธิโดยระวัง กาย วาจาและใจ
ลกั ษณะของสามเหล่ียมที่ฐาน สามารถหมุนให้เข้ามมุ เพือ่ ความสะดวก ไม่เกะกะ ช่วยเพ่ิมพ้ืนท่ีในการทำงานได้
ในขณะทำงาน สำหรับประโยชน์ใช้สอยใหม่ของผลิตภัณฑ์คือ โคมไฟและที่วางของอยู่ด้วยกัน โดยยังคงใช้
โครงสร้างไมแ้ ละการสานวัสดุในทอ้ งถ่นิ สามารถสร้างความอบอุ่นใหก้ ับบรรยากาศในสถานทตี่ กแต่งได้

ภาพประกอบ 59 ภาพแสดงการออกแบบโคมไฟต้ังโตะ๊ จาก “ขันแก้วทง้ั สาม”
ท่มี า : อรัญ วานิชกร (2559). การออกแบบผลติ ภณั ฑ์ท้องถนิ่ .
กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .

3.2.2 หม้อนำ้ ลายวิจติ ร หมายถึง หมอ้ น้ำที่มีช่ือเสียงของจงั หวัดนนทบุรีมีสว่ นประกอบ
ทีแ่ ตกตา่ งจากท่อี ืน่ คอื

-ส่วนฝาปด� เป�นดินเผาแกะสลกั อย่างสวยงามเป�นเหมอื นทรงกรวยครอบปากหม้อ
-ส่วนตัวหม้อเป�นหมอ้ ดินเผาทผี่ ่านการแกะสลกั อย่างประณตี
-สว่ นฐานเป�นส่วนทแี่ ตกตา่ งจากเคร่ืองป�นดนิ เผาของทอี่ ่นื คอื จะมฐี านของหม้อตง้ั ไวก้ บั
พืน้ อีกทีหนงึ่

155

ภาพประกอบ 60 ภาพแสดงการศึกษาและตดั ทอนรูปทรงสญั ญะ“หม้อลายวจิ ติ ร”
ท่ีมา : อรญั วานชิ กร (2559). การออกแบบผลติ ภณั ฑ์ทอ้ งถนิ่ .
กรงุ เทพฯ : สำนกั พิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.

การวิเคราะห์หม้อน้ำลายวิจิตรของเกาะเกร็ดในป�จจุบันมีความสวยงามและวิจิตรเป�น
อย่างมาก แต่ไม่ประสบความสำเร็จทางการขายเท่าที่ควรเนื่องจากขาดการเชื่อมโยงกับการใช้สอยและการ
ตกแต่งสถานที่ในป�จจุบัน ด้วยเรื่องของขนาดที่ใหญ่โตและลวดลายที่ซับซ้อน ไม่เหมาะกับการตกแต่งอาคาร
สถานที่ในรปู แบบทันสมัย (Modern) ดังนั้นการแก้ป�ญหาโดยปรับให้ขนาดเล็กลง คงไว้เพียงรูปลักษณร์ ูปทรง
ที่ยังคงคลับคล้ายคลับคลาว่ามาจากภูมิป�ญญาเครื่องป�นดินเผาเกาะเกร็ด โดยการจัดการตัดทอน เรียบเรียง
พฤติกรรมและประโยชน์ใช้สอยเสียใหม่ให้ตั้งบนโต๊ะทำงานได้ สัมผัสได้ ใกล้มือผ่อนคลายความตึงเครียดใน
ระหว่างการทำงาน เนื่องจากดินเป�นวัสดุธรรมชาติที่มีอุณหภูมิเย็น เพื่อการอยู่ร่วมกันและเกิดปฏิสัมพันธ์ใน
รปู แบบใหมท่ ี่ใกลต้ าใกล้มอื และใกลใ้ จมากยิ่งข้นึ

ภาพประกอบ 61 ภาพแสดงการออกแบบปรบั เปลย่ี นประโยชน์ใชส้ อยของหมอ้ น้ำลายวจิ ิตร
ท่มี า : อรัญ วานชิ กร (2559). การออกแบบผลติ ภณั ฑ์ท้องถน่ิ .
กรุงเทพฯ : สำนักพมิ พแ์ หง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั .

3.2.3 งอบ หมายถึง เครื่องสวมศีรษะป้องกันแดดและฝน รูปร่างคล้ายจานคว่ำมีโครง
สานด้วยตอกไม้ไผ่เป�นลายเฉลวหรือตาชะลอมเป�นโครง กรุด้านนอกด้วยใบลานโดยเรียงเย็บเรียงเกยกันแผ่
ออกไปโดยรอบ ตรงกลางมรี กู ลม ๆ เรียกกระหมอ่ มงอบ ขอบป�กงอบใชไ้ มป้ ระกับขอบงอบไม่ให้ขอบชำรุดง่าย

156

ภายในมี รังงอบสานด้วยตอกไม้ไผ่รูปทรงกระบอกโปร่ง ๆ ขยายขนาดตามศีรษะของผู้สวม ทำมากในภาค
กลางบริเวณอำเภอบางปะหัน จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา

ภาพประกอบ 62 ภาพแสดงการศกึ ษาและตดั ทอนรูปทรงสญั ญะ “งอบ”
ที่มา : อรญั วานิชกร, (2559). การออกแบบผลติ ภัณฑ์ทอ้ งถนิ่ . สำนกั พมิ พ์แห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั .

การวิเคราะห์งอบ ด้วยตำแหน่งของผลิตภัณฑ์จากภูมิป�ญญาที่มีคุณค่าเป�นอย่างมาก
และเป�นของสูงที่คอยรับใช้ปกป้องศีรษะ ของชาวไร่ ชาวนาซึ่งเป�นประชากรกลุ่มใหญ่ของประเทศ ที่เป�น
กระดูกสันหลังของประเทศชาติมายาวนานถือได้ว่าเป�นเครื่องใช้ไม้สอยที่มีบุญคุณต่อคนไทยต่อประเทศชาติ
แนวทางการออกแบบในส่วนนามธรรม (Intangible) และทางจิตวิญญาณ (Spirit) เพื่อต้องการเชิดชูคุณค่า
ของรูปทรงผลิตภัณฑ์นี้โดยวางตำแหน่งของประโยชน์ใช้สอยเสียใหม่ให้ทำหน้าที่ใหม่โดยใช้ตั้งโชว์เป�นสื่อใน
การเชิดชูคุณค่าของความสำเร็จต่าง ๆ ของผู้ใช้ที่ได้รับ เพื่อใช้วางไว้ในตู้โชว์ประจำบ้านและมีการประสาน
ประโยชน์ ใช้สอยเพิ่มเติมเพื่อให้แสงสว่าง และเป�นการตอกย้ำในจิตใจถึงคุณค่าความสำเรจ็ ทีไ่ ด้สู่ความมุ่งมนั่
ตอ่ ยอดความสำเร็จในกา้ วถดั ไปตลอดจนเป�นการสรา้ งบรรยากาศให้กับการตกแตง่ ภายในตู้โชว์อีกดว้ ย

ภาพประกอบ 63 ภาพแสดงแนวคดิ โลร่ างวัลอเนกประสงค์เปน� โคมไฟและที่ วางของในตัวจากรูปทรงสัญญะ “งอบ”
ทีม่ า : อรญั วานิชกร (2559). การออกแบบผลติ ภณั ฑ์ทอ้ งถ่นิ .
กรงุ เทพฯ : สำนกั พิมพแ์ หง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย.

157

3.2.4 นาง หมายถึง เครื่องมือจับปลาตามแหล่งน้ำตื้น ๆ สานด้วยไม้ไผ่หรือหวาย ใน
ภาคใตอ้ าจใชย้ ่านลเิ ภาถักแทนหวาย

ภาพประกอบ 64 ภาพแสดงการศกึ ษาและตดั ทอนรปู ทรงสญั ญะ “นาง”
ทมี่ า : อรญั วานิชกร (2559). การออกแบบผลติ ภณั ฑ์ท้องถ่ิน.
กรุงเทพฯ : สำนักพมิ พแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั .

การวิเคราะห์นางรูปทรงสัญญะของนางเครอ่ื งมือจับสัตวน์ ำ้ ช้นิ นี้มีความเรียบง่าย และให้
ความรู้สึกสงบ ผ่อนคลายในตัว รูปทรงที่เรียบง่ายนี้สามารถออกแบบเป�นสิ่งของได้หลายอย่าง เช่น เก้าอ้ี
Stool กระเป๋า ฯลฯ ในที่นี้ได้ออกแบบเป�นโคมไฟที่สามารถเก็บของได้ตั้งวางบนโต๊ะหัวเตียง หรือโต๊ะทำงาน
โดยแสงสว่างที่ลอดผ่านเส้นหวายออกมา จะให้บรรยากาศที่อบอุ่นสงบและเกิดความผอ่ นคลายแก่ผู้พักอาศยั
สร้างความสวยงามใหก้ ับอาคารสถานท่ี

ภาพประกอบ 65 ภาพแสดงการออกแบบโคมไฟตั้งโต๊ะจาก “นาง”
ท่ีมา : อรัญ วานชิ กร (2559). การออกแบบผลติ ภณั ฑ์ท้องถ่ิน.
กรงุ เทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

3.2.5 เปลกระบอก หมายถึง กระบอกไม้ไผ่ลำเดียวผ่าเป�นซีก ๆ จากนั้นสานให้คงรูป
เปน� เปลด้วยวธิ กี ารเดยี วกนั อาจมีการทำสุ่มไก่กระบอก ใชเ้ พื่อเล้ียงสัตว์บางชนดิ ใหอ้ ยใู่ นบริเวณจำกดั

158

ภาพประกอบ 66 ภาพแสดงการศกึ ษาและตดั ทอนรูปทรงสญั ญะ“เปลกระบอก”
ทมี่ า : อรัญ วานชิ กร (2559). การออกแบบผลติ ภณั ฑ์ทอ้ งถนิ่ .
กรุงเทพฯ : สำนกั พมิ พ์แหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั .

การวิเคราะห์เปลกระบอก ภูมิป�ญญาการใช้กระบอกทั้งลำมาผ่าซีก และสานให้เกิดเป�น
ผลิตภัณฑต์ ่าง ๆ นี้ มีความสวยงามและสร้างความตื่นเต้นใหก้ ับงานหตั ถกรรมได้เป�นอย่างดีผู้เขียนจงึ ตอ้ งการ
คงความเปน� หตั ถกรรมชนดิ นไี้ ว้ หากแตป่ รับเปลี่ยนประโยชนใ์ ชส้ อยใหม่ใหเ้ ข้ากบั บริบทของงานตกแต่งภายใน
บ้านอาคารตา่ ง ๆ โดยไดอ้ อกแบบเป�นเกา้ อี้ที่มีความแปลกตา วสั ดแุ ละการผลติ ท่นี ่าทึ่ง จะชว่ ยสร้างความสง่า
งามให้กับอาคารสถานที่และหากลดขนาดลงสามารถออกแบบใหม่เพ่ือเปน� โคมไฟ สำหรับการตกแต่งท่ีสวยงาม
และสร้างความฉงนสงสยั ถึงรูปแบบของการผลติ และวัสดุแกผ่ ูพ้ บเหน็ ได้

ภาพประกอบ 67 ภาพแสดงแนวคดิ การออกแบบปรบั เปลยี่ นประโยชน์ ใชส้ อย
เก้าอแี้ ละโคมไฟจาก “เปลกระบอก”และ ” สุ่มไก”่

ที่มา : อรญั วานชิ กร (2559). การออกแบบผลติ ภณั ฑ์ท้องถิ่น.
กรุงเทพฯ : สำนักพมิ พแ์ ห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.

3.2.6 กร้อวิดนำ้ หมายถึง เครอื่ งจักรสานยาด้วยชนั และนำ้ มนั ยางรปู ร่างคล้ายบุ้งกี๋แต่มี
ขนาดเลก็ กว่าใชว้ ดิ นำ้ ออกจากทอ้ งเรอื

159

ภาพประกอบ 68 ภาพแสดงการศกึ ษาและตดั ทอนรปู ทรงสญั ญะ“กร้อวิดนำ้ ”
ทมี่ า : อรญั วานชิ กร (2559). การออกแบบผลติ ภณั ฑ์ท้องถ่ิน.
กรงุ เทพฯ : สำนักพิมพ์แหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

การวิเคราะห์กร้อวิดน้ำ ด้วยรูปทรงที่เรียบง่ายและมีสัญญะที่จินตนาการได้ถึงเก้าอ้ี
จึงออกแบบเพียงแค่ใสโ่ ครงสร้างเพิ่มให้เป�นขาเพื่อทำหน้าทร่ี องรับโดยร้อยเรียงเชื่อมโยงกับโครงสร้าง สัญญะ
ของกรอ้ วิดน้ำไปในตัว เม่อื นำเสนอภาพรา่ งออกมาให้ผลของงานออกแบบเปน� ไปในลกั ษณะท่เี รยี บงา่ ย มีความ
อ่อนน้อม ถ่อมตัวของรูปทรง จะทำให้งานออกแบบชิ้นนี้อยู่ได้อย่างยาวนานไม่เบื่อ โดยสามารถใช้ในการ
ตกแต่งรสี อร์ท ที่พัก หรอื ร้านอาหารไดอ้ ย่างสวยงามและเป�นกันเอง

ภาพประกอบ 69 ภาพแสดงแนวคดิ การออกแบบปรบั เปลยี่ นประโยชน์ ใชส้ อยเก้าอจ้ี าก “เกา้ อ้กี ร้อวดิ น้ำ”
ที่มา : อรัญ วานิชกร (2559). การออกแบบผลติ ภณั ฑ์ท้องถิน่ .
กรงุ เทพฯ : สำนกั พิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .

4. สรุป

ศิลปหัตถกรรมไทยร่วมสมัย หมายถึง งานหัตถกรรมที่มีคุณลักษณะของความงามที่แฝงภูมิ
ป�ญญาและค่านิยมของชุมชนและทักษะเฉพาะตัว ใช้ฝ�มือระดับสูงที่สร้างขึ้นในยุคป�จจุบันหรือสมัยเดียวกัน
และได้รับอิทธิพลจากความเป�นโลกาภิวัตน์ ความหลากหลายทางวัฒนธรรมผ่านความหลากหลายของการ
เลือกใช้วัสดุ หลากหลายวิธีการและแนวความคิด และทำให้เกิดรูปแบบของผลงานการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่
มีลักษณะผสมผสาน แปลกแหวกกรอบจากงานรูปแบบของศลิ ปหัตถกรรมไทยพืน้ ถ่นิ ท่วั ไป

160

วัฒนธรรมร่วมสมัย หมายถึง วัฒนธรรมที่สะท้อนความเป�นป�จจุบันที่ยังคงปรากฏรากเหง้าทาง
ประวัติศาสตร์ของกลุ่มชนนั้น ๆ และถูกนำมาปรับแต่งต่อยอด มีกรอบการพัฒนาอย่างไม่หยุดนิ่ง โดยผ่าน
กระบวนการประยุกต์ ผสมผสานองค์ประกอบต่าง ๆ ทั้งเก่าและใหม่ มีการสร้างการเชื่อมโยงระหว่างมิติของ
เวลา สถานที่และความสัมพันธ์ของสมาชิกในสังคม ผ่านการใช้เทคนิคและเทคโนโลยีใหม่ ๆ มีการตีแผ่
ความคิดเกี่ยวกับสภาพแห่งป�จจุบนั สมัยให้สังคมรับรู้ ซึ่งวัฒนธรรมร่วมสมัยส่วนใหญ่เกิดจากจินตนาการ การ
ต่อยอดภมู ิป�ญญาผนวกด้วยความคิดสรา้ งสรรค์

แนวคิดการออกแบบร่วมสมัยเป�นรูปแบบของการสร้างสรรค์ที่ผ่านการคิดทำมาอย่างดี มีความ
สวยงาม มปี ระสทิ ธภิ าพและมีช่วงเวลา เนอ่ื งจากความร่วมสมยั คอื "ช่วงเวลาหน่ึง" การออกแบบจงึ มีความล่ืน
ไหลเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา มีความผสมผสาน ไม่ซับซ้อนและเป�ดกว้างมาก ไม่มีกำแพงกั้นระหว่างความ
หลากหลายรูปแบบท่ีเอาเข้ามาใช้ด้วยกัน เช่น ผลงานการออกแบบสถาป�ตยกรรมของสถาปนิกซาฮา ฮาดิด
(Zaha Hadid) ที่ออกแบบสร้างอาคารโค้งยาวที่ผสมผสานรูปแบบและมุมที่แตกหักซึ่งสะท้อนถึงความสับสน
วุ่นวายของชีวิตสมัยใหม่ มีการใช้ประตูกระจกที่เป�นทั้งกำแพงที่อยู่อาศัยสามารถเป�ดออกไปด้านนอกได้ การ
ออกแบบหลังคาท่ีทำจากพชื หรือหญ้าท่ีทนแล้ง เป�นต้น

แนวคิดการปรับเปลี่ยนเพื่อการออกแบบร่วมสมัย มีรูปแบบการปรับเปลีย่ นด้วยการใช้วิธตี ่าง ๆ
ดังนี้ การปรับเปลี่ยนวัสดุ การปรับเปลี่ยนผู้ใช้ การปรับเปลี่ยนสถานท่ี การปรับเปลี่ยนหน้าที่ การปรับเปลี่ยน
รูปแบบ

แนวทางการออกแบบผลิตภัณฑห์ ัตถกรรมรว่ มสมยั ด้วยการออกแบบผลติ ภัณฑใ์ หมท่ ่ีไม่เคยมีมา
ก่อนเพื่อตอบสนองความต้องการของสังคมป�จจุบัน โดยใช้อัตลักษณ์และภูมิป�ญญาส่วนที่เป�นนามธรรมใน
วัฒนธรรมเดิมมาเป�นป�จจัยในการกำหนดรูปแบบ และการใช้กระบวนการออกแบบผลิตภัณฑ์จากภูมิป�ญญา
ท้องถ่ินของอาจารย์อรญั วานิชกร ประกอบดว้ ยกระบวนการตา่ ง ๆ ดงั น้ี การสร้างแรงบันดาลใจจากภูมปิ �ญญา
ท้องถิ่น การร่างภาพเพื่อศึกษารูปทรงของผลิตภัณฑ์ การตัดทอนรายละเอียด พื้นผิว ลวดลายของรูปทรง ให้
เปน� เหลอื แต่รูปทรงหรือโครงสร้างทเี่ รียบง่าย การถอดรายละเอยี ดดว้ ยการวิเคราะหด์ ้านองคป์ ระกอบเพื่อการ
ออกแบบต่าง ๆ แล้วนำมาจัดวางเรียบเรียงองค์ประกอบขึ้นใหม่ การวางแผนด้านการออกแบบเพื่อให้เกิด
ประโยชน์ใช้สอยและพฤติกรรมในรูปแบบใหม่ กระบวนการออกแบบเพื่อให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ และ
กระบวนการผลิตผลงานตน้ แบบ

แนวทางการศึกษาผลงานศิลปหัตถกรรมไทยร่วมสมัยนั้นไม่ได้แตกต่างจากการศึกษาผลงาน
ศิลปหัตถกรรมของภาคอน่ื ๆ นักศึกษาควรทำความเข้าใจและรจู้ ักทงั้ การศึกษาคุณคา่ เชิงรูปธรรม (Tangible)
ไดแ้ ก่ องคป์ ระกอบด้านการออกแบบ (Design Elements)

5. คำถามท้ายบท

1. ใหน้ สิ ิตหาภาพผลงานผลิตภัณฑ์ศิลปหัตถกรรมไทยร่วมสมัย ทส่ี ะทอ้ นถงึ นิยามคำจำกัดความ
“ศิลปหัตถกรรมไทยรว่ มสมยั ” ตามท่ไี ดเ้ รียนมาคนละ 5 ภาพ พรอ้ มคำอธบิ ายแตล่ ะภาพประกอบ

161

2. ให้นิสิตหาภาพผลงานผลิตภัณฑ์ศิลปหัตถกรรมไทยร่วมสมัย ที่สะท้อนถึง“แนวคิดการ
ปรับเปล่ยี น เพอื่ การออกแบบรว่ มสมัย” ตามทไี่ ด้เรยี นมาคนละ 3 ภาพ พร้อมคำอธบิ ายแต่ละภาพประกอบ

3. ให้นิสิตเลือกผลิตภัณฑ์ศิลปหัตถกรรมไทยจากภาคต่าง ๆ ภาคละ 1 ชิ้นงาน แล้วศึกษาตาม
กระบวนการออกแบบผลติ ภัณฑจ์ ากภูมปิ ญ� ญาท้องถิ่นของอาจารย์อรัญ วานิชกร เพื่อออกแบบเป�นผลิตภัณฑ์
ใหม่ จำนวนภาคละ 1 ชิน้ งาน

6. แบบฝ�กหดั ปฏิบตั งิ านออกแบบทา้ ยบท

1. ให้นิสิตออกแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรมไทยร่วมสมัย 1 ชิ้น โดยใช้กระบวนการออกแบบ
ผลติ ภณั ฑ์จากภมู ปิ �ญญาไทยตามทไ่ี ด้เรียนมาตามเน้ือหาในบทที่ 7

162

บทท่ี 8
แนวทางการสร้างแรงบนั ดาลใจและการกำหนดทศิ ทางในการออกแบบ

จากงานศิลปหตั ถกรรมไทย

แผนการสอนครั้งที่ 14

หวั ข้อ แนวทางการสร้างแรงบนั ดาลใจและการกำหนดทิศทางในการออกแบบ
จากงานศลิ ปหตั ถกรรมไทย

ผสู้ อน อาจารย์ ดร.พรนารี ชัยดิเรก
เวลา 240 นาที

วัตถปุ ระสงค์
1. เพือ่ ใหน้ สิ ติ เข้าใจ แนวทางการสรา้ งแรงบันดาลใจและการกำหนดทศิ ทางในการออกแบบเพ่อื
การออกแบบผลติ ภณั ฑ์ศลิ ปหตั ถกรรมไทยร่วมสมยั
2. เพอื่ ให้นสิ ิตเรยี นรูแ้ ละฝ�กปฏิบัติจริงดว้ ยการสร้างแรงบันดาลใจและการกำหนดทศิ ทางในการ
ออกแบบเพ่ือการออกแบบผลติ ภณั ฑ์ศิลปหัตถกรรมไทยรว่ มสมัย

เนอ้ื หา
1. การค้นหาแรงบันดาลใจจากงานศลิ ปหตั ถกรรมไทย
2. การวิเคราะห์องค์ประกอบด้านการออกแบบ และหลักการออกแบบผลิตภณั ฑ์ศลิ ปหัตถกรรม
ไทยรว่ มสมัย
3. การออกแบบด้านรปู ธรรม
4. การออกแบบด้านนามธรรม
5. การสรา้ งกระดานบรรยายอารมณ์และรปู แบบของผลติ ภณั ฑ์ (Mood Board)
6. การกำหนดทิศทางในการออกแบบผลิตภัณฑศ์ ลิ ปหตั ถกรรมไทยร่วมสมยั

การจัดประสบการณ์การเรยี นรู้

1. อธิบายวัตถุประสงค์และเน้ือหาโดยรวม 15 นาที

2. บรรยายเน้ือหาและหวั ข้อต่าง ๆ 60 นาที

3. ศึกษาเรยี นรู้ผลงานตัวอย่างการสร้างแรงบันดาลใจและ 150 นาที

การกำหนดทศิ ทางในการออกแบบเพื่อการออกแบบผลติ ภัณฑ์

ศิลปหตั ถกรรมไทยรว่ มสมัย

4. นสิ ิตซกั ถามปรึกษาเน้ือหาการเรยี น 15 นาที

164

สื่อการสอน
1. เอกสารประกอบการสอนรายวชิ า การออกแบบศลิ ปหตั ถกรรม
2. ไฟล์นำเสนอภาพนิง่ ผา่ นโปรแกรมคอมพิวเตอร์
3. หนังสอื ตำรา วารสารต่าง ๆ ท้งั ในประเทศและตา่ งประเทศ ที่เก่ยี วขอ้ งกบั การออกแบบ
ศิลปหตั ถกรรมไทย
4. ตวั อย่างผลิตภณั ฑ์ ผลงานหัตถกรรมสำหรบั การเรียนการสอนท่ีเกย่ี วข้อง
(ตามความเหมาะสมของเน้อื หาการเรยี น)

การประเมนิ ผล
1. สงั เกตจากพฤติกรรมของผู้เรียน
2. ประเมนิ ผลจากกิจกรรมในการช้นั เรียน
3. ประเมินผลจากคำถามทา้ ยบทท่ี 8
4. ประเมนิ ผลจากแบบฝ�กหดั ปฏิบตั ิงานออกแบบท้ายบท

หนงั สืออ้างอิง
กุลนิษก์ สอนวิทย์. (2017). ทฤษฎีการออกแบบ. สืบคน้ จาก http://identity.bsru.ac.th/archives/5017
กติ ติพงษ์ เกยี รติวิภาค. (2017). พฒั นาดา้ นการออกแบบผลติ ภณั ฑ์ โดยใช้กรอบแนวคิดการออกแบบหัตถ
อตุ สาหกรรม. วารสารศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ , 9(2),
น. 333-366.
ณัฐสภุ า เจรญิ ยง่ิ วฒั นา. (2555). การค้นหาและถ่ายทอดแรงบนั ดาลใจในงานออกแบบแฟชน่ั . วารสาร
สถาบันวัฒนธรรมและศลิ ปะ มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ. 14(1), น. 21-31.
พรสนอง วงศส์ ิงหท์ อง. (2550). การออกแบบและพัฒนาแฟชั่นและมัณฑนภัณฑ.์
กรงุ เทพฯ : วิสคอมเซ็นเตอร์.
อรัญ วานิชกร. (2559). การออกแบบผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลัย.
Steiner, F. , and Harmon, R. , ( 2009) . The Impact of Intangible Value on the Design and
Marketing of New Products and Services: An Exploratory Approach. In the
Proceedings of PICMET 2009, August 2-6, Portland, Oregon USA.
Vongthong. (2559). Mood board สำคญั อยา่ งไรกบั การออกแบบผลติ ภัณฑ.์ Retrieved from
http://vongthong.blogspot.com/2016/09/mood-board_2.html

165

บทท่ี 8
แนวทางการสร้างแรงบันดาลใจและการกำหนดทศิ ทางในการออกแบบ

จากงานศิลปหัตถกรรมไทย

1. การคน้ หาแรงบนั ดาลใจจากงานศิลปหตั ถกรรมไทย

แรงบันดาลใจ (Inspiration) ถือเป�นกุญแจสําคญั ท่ีจะนํามนุษย์ไปสูค่ วามสําเร็จในหลาย ๆ ด้าน
ของชีวิต กลไกสำคัญในการขับเคลื่อนผลงานและนวัตกรรมใหม่ๆให้ประสบความสําเร็จได้ล้วนมีรากฐานมา
จากแรงบันดาลใจและจนิ ตนาการของมนุษย์ เพียงแตม่ นุษย์เองตอ้ งเป�นผแู้ สวงหาแรงบนั ดาลใจ รวมถงึ มคี วาม
มงุ่ มั่นทจ่ี ะแปรเปลีย่ นแรงบนั ดาลใจและแนวความคิดท่ีเป�นนามธรรมเหล่าน้ัน ไปสกู่ ารปฏิบัติเพ่ือสร้างผลงาน
ท่ีมคี วามเป�นรปู ธรรม สามารถนําไปใช้ให้เกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ (ณัฐสุภา เจรญิ ยิ่งวฒั นา, 2555)

การสร้างแรงบันดาลใจจากภูมิป�ญญาท้องถิ่น (Inspiration&Appreciation) เป�นการศึกษา
คุณค่าด้านรูปธรรม (Tangible) ได้แก่ เส้นสาย ลวดลาย รูปลักษณ์ รูปทรง สีสัน พื้นผิวและวัสดุ และคุณค่า
ด้านนามธรรมของผลติ ภัณฑ์ (Intangible) ได้แก่ ความซาบซึ้งในเรื่องราว คุณค่าและความหมาย จิตวิญญาณ
ที่แฝงอยู่ในภูมิปญ� ญา ปรัชญาแนวคดิ การแกป้ �ญหาเชงิ ความคดิ และเชิงช่าง อาจจัดรวบรวมอยใู่ นลักษณะของ
ผงั ภาพแสดงอารมณ์ (Moodboard) ได้ (อรัญ วานชิ กร, 2559)

1.1 วิธีการคน้ หาแรงบันดาลใจในการออกแบบ สว่ นใหญไ่ ดม้ าจาก
- แรงบันดาลใจทมี่ าจากภายในทไี่ ด้มาจากจินตนาการหรอื ประสบการณ์สว่ นบคุ คลที่สงั่ สมมา
- แรงบันดาลใจที่มาจากสิ่งแวดล้อมภายนอกที่อยู่รอบตัวมนุษย์ บ่อยครั้งได้มาจากการ

ค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่น หนังสือ นิตยสาร ห้องสมุด งานศิลปะ ดนตรี ภาพยนตร์ นิทรรศการ
พิพิธภัณฑ์ ภาพถ่าย ข้าวของเครื่องใช้ในชีวิตประจําวัน ธรรมชาติและสภาพแวดล้อม การท่องเที่ยว
สถาปต� ยกรรม เฟอร์นิเจอร์ รวมถงึ เหตกุ ารณท์ ี่สะทอ้ นเรือ่ งราวต่าง ๆ ทเ่ี กดิ ข้นึ ในชว่ งเวลาหนึ่งหรือ Zeitgeist
(Spirit of the times : จิตวญิ ญาณแหง่ ยคุ สมัย)

- แรงบันดาลใจอาจจะมาจากความประทับใจที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรืออาจจะมาจากการ

ผสมผสานกันของหลาย ๆ สิ่งก็ได้ ดังนั้นแรงบันดาลใจในการออกแบบจึงสามารถหาได้จากทุกสิ่งขึ้นอยู่กับ
การสังเกตและนาํ ส่งิ ท่ีพบเหน็ รวมถึงการนาํ ประสบการณส์ ่วนตัวมาสรา้ งเป�นแรงบนั ดาลใจได้ทั้งสิ้น

การค้นหาแรงบันดาลใจเบื้องต้นสามารถค้นหาได้จากทุกสิ่งที่อยู่รอบตัว ขึ้นอยู่กับ
ประสบการณ์รวมถึงกระบวนการคิดอย่างสร้างสรรค์ของแต่ละบุคคล เพื่อนําไปตั้งประเด็นในการออกแบบท่ี
น่าสนใจ แรงบันดาลใจจึงอาจมีได้มากกว่าหนึ่งเรื่องราว อย่างไรก็ดีหากนักออกแบบมีแรงบันดาลใจหลาย ๆ
เรื่องที่ต้องการนํามาสร้างเป�นผลงานออกแบบ ควรจะต้องมีการเชื่อมโยงข้อมูลของแรงบันดาลใจต่าง ๆ เพ่ือ
กําหนดแนวคดิ หลักในการออกแบบ ซ่งึ จะช่วยทาํ ให้เกิดความเป�นเอกภาพและสามารถสื่อสารผลงานไปสู่ผู้ชม
หรือลูกค้าได้อย่างตรงประเด็น นอกจากนั้นแล้วนักออกแบบยังสามารถถ่ายทอดแนวความคิดดังกล่าวลงบน
ผลงานผ่านทางองคป์ ระกอบด้านการออกแบบและรายละเอยี ด

166

ต่าง ๆ เช่น รูปทรง ลวดลาย สีสัน พื้นผิว ฯลฯ ที่เหมาะสมจะช่วยสื่อถึงแนวคิดและแรงบันดาลใจในการ
ออกแบบไดอ้ ยา่ งชัดเจนมากย่ิงข้ึน

1.2 ตัวอย่างการนำแรงบันดาลใจมาใชใ้ นการออกแบบงานศิลปหัตถกรรมไทย

ภาพประกอบ 70 ภาพการนำแรงบันดาลใจมาใช้ในการออกแบบงานศลิ ปหัตถกรรมไทย
ทีม่ า : นักศกึ ษาช้นั ป�ท่ี 1. (2563). เอกการออกแบบผลติ ภณั ฑ์ สาขาวิชาการออกแบบทศั นศิลป.์

กรงุ ทพฯ : มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ.

2. การวิเคราะห์องค์ประกอบด้านการออกแบบ และหลักการออกแบบผลิตภัณฑ์
ศลิ ปหัตถกรรมไทยรว่ มสมยั

2.1 องคป์ ระกอบด้านการออกแบบ
องค์ประกอบด้านการออกแบบถือเป�นองค์ประกอบมูลฐานของงานออกแบบที่นักศึกษาต้อง

เรียนรเู้ ปน� พ้นื ฐาน เพื่อการนำไปใชใ้ นการออกแบบได้อย่างสร้างสรรค์ ส่วนประกอบขององคป์ ระกอบด้านการ
ออกแบบ มีดังนี้

1. จดุ (Point) เป�นองค์ประกอบที่สามารถสัมผสั และรบั รู้ได้นอ้ ย แตใ่ นทางศิลปะ
จุด ๆ หนึ่งที่ปรากฏในภาพอาจจะค่อย ๆ ขยายใหญ่ในความรู้สึกแปรเปลี่ยนเป�นรูปสัญลักษณ์สิ่งต่าง ๆ เช่น
การนำเอาจุดมาแทนสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่ในระยะหนทางที่ห่างไกล เช่น ดวงดาว แสงไฟ ฯลฯ การตีความใน
จนิ ตนาการอาจขยายกวา้ งใหญ่กว่าการรบั รหู้ ลายเท่า และมีรูปแบบที่เปลย่ี นไปได้อยา่ งไมส่ ้ินสดุ

167

2. เส้น (Line) เส้นตรง เส้นโค้ง เส้นซิกแซก เส้นขยุกขยิก เป�นต้น ซึ่งเส้นที่ปรากฏใน
ลกั ษณะทต่ี ่างกันกจ็ ะมอี ทิ ธิพลทส่ี ามารถกระตุ้นเร้าความรูส้ กึ จากการรับรู้ใหแ้ ตกต่างกันออกไป

3. รปู รา่ งและรปู ทรง (Shape & Form) ได้แก่
-รปู ร่าง (Shape) คือ รปู แบน ๆ มี 2 มิติ มีความกว้างกบั ความยาวไม่มีความหนาเกิดจาก
เสน้ รอบนอกทแ่ี สดงพน้ื ที่ขอบเขตของรปู ตา่ ง ๆ เช่น รูปวงกลม รปู สามเหลี่ยม หรือ รูปอิสระที่แสดงเน้ือทขี่ อง
ผวิ ทเ่ี ป�นระนาบมากกวา่ แสดงปรมิ าตรหรอื มวล
-รูปทรง (Form) คอื รูปท่ลี กั ษณะเปน� 3 มิติ โดยนอกจากจะแสดงความกว้าง ความยาว
แล้วยงั มีความลึกหรือความหนา นูน ด้วย เชน่ รูปทรงกลม รูปทรงสามเหล่ยี ม ทรงกระบอก ให้ความรู้สึกมี
ปริมาตร ความหนาแน่น มมี วลสารที่เกดิ จากการใช้ค่าน้ำหนักหรือการจัดองค์ประกอบของรูปทรงหลายรูป
รวมกนั
ความสัมพันธ์ระหว่างรูปทรงเมื่อนำรูปทรงหลาย ๆ รูปมาวางใกล้กันรูปเหล่านั้นจะมี
ความสัมพันธ์ดึงดูดหรือผลักไสซึ่งกันและกัน การประกอบกันของรูปทรงทำได้โดยใช้การนำรูปเรขาคณิต รูป
อินทรีย์ และรูปอสิ ระมาซ้อนทับกัน ผนกึ เข้าด้วยกัน แทรกเขา้ หากันหรอื รูปทรงที่บิดพันกัน นำมาประกอบเข้า
ดว้ ยกันจะได้รูปลกั ษณะใหม่ ๆ อย่างไม่สนิ้ สดุ
4. โครงสร้าง (Structure) ในผลิตภัณฑ์ชิ้นหนึ่งจะประกอบด้วยโครงสร้างภายในที่
เปรียบเสมือนโครงกระดูกที่ช่วยทำให้รูปทรงของผลิตภัณฑ์คงรูปอยู่ได้มีความเป�น 3 มิติ และมีลักษณะ
เดียวกับโครงสร้างของอาคารทางวิศวกรรมทั่วไป ที่ประกอบด้วย เสา คาน เปลือกนอก หรือเป�นรูปแบบ
โครงสรา้ งโค้ง (Arch) ท่ีแบกรับแรงกดทบั บีบอัดในทิศทางเดียวเท่านั้น
5. สี (Color) สีเป�นคุณลักษณะที่สามารถรับรู้ได้ด้วยประสาทตา โดยอาศัยแสงเป�นตัว
ส่องสว่าง สีแต่ละสีมีสมบัติเฉพาะตัวที่สามารถกระตุ้นเร้าให้เกิดความรู้สึกที่แตกต่างกันอกไป เช่น สีแดงย่อม
กระตุน้ เรา้ ความร้สู ึกใหเ้ กิดแตกต่างไปจากสีขาวหรอื สดี ำทำใหค้ วามรูจ้ ากการรบั รู้ไมเ่ หมือนสเี ขยี ว เปน� ต้น
6. พื้นผิว (Texture) พื้นผิวอาจเป�นเนื้อหยาบหรือเนื้อละเอียด แข็งหรือหยาบ นิ่มหรือ
เรยี บ พน้ื ผิวจะทำใหผ้ ู้ดเู กิดความร้สู ึกไมว่ ่าดว้ ยสายตาหรือรา่ งกาย พนื้ ผวิ เปรียบเสมือนตวั แทนของมวลภายใน
ของวตั ถนุ น้ั จากลกั ษณะพืน้ ผิวที่ทำใหค้ วามร้สู ึกที่แตกต่างกัน ทำให้มีการนำเอาลักษณะต่าง ๆ ของพ้ืนผิวเข้า
มามสี ว่ นรว่ มในการสรา้ งงานศิลปะ เพ่ือกระต้นุ เรา้ ผดู้ ูเกดิ ความรูส้ ึกทตี่ ่างกัน เม่อื ไดส้ ัมผัสภาพผลงานทม่ี ีพื้นผิว
ทีต่ ่างกนั

168

ภาพประกอบ 71 ภาพองค์ประกอบด้านการออกแบบ
ที่มา : Opus Web Design. (2016). ELEMENTS OF DESIGN.
Retrieved from https://www.onlinedesignteacher.com/2015/11/design-elements_91.html

2.2 ทฤษฎกี ารออกแบบผลติ ภัณฑ์ (Product Design Theory)
กุลนิษก์ สอนวิทย์ (2017) สรุปเรื่องนี้ไว้ว่า ทฤษฎีการออกแบบผลิตภัณฑ์ประกอบด้วย

แนวคดิ และทฤษฎียอ่ ยอื่น ๆ ทจี่ ำเป�นสำหรบั การออกแบบผลติ ภณั ฑศ์ ลิ ปหัตถกรรมรว่ มสมัยไว้ ดงั นี้
2.2.1 การสร้างดุลยภาพในงานศิลปะและงานออกแบบ เป�นหลักในการจัดองค์ประกอบใน

ภาพให้เกดิ เอกภาพ ดลุ ยภาพมี 4 ลกั ษณะ ดงั น้ี
1. ดุลยภาพแบบสมมาตร (Symmetrical Balance)
2. ดุลยภาพแบบอสมมาตร (Asymmetrical Balance)
3. ดลุ ยภาพแบบคลา้ ยคลงึ กนั (Approximate Symmetry Balance)
4. ดุลยภาพแบบรศั มี (Radial Balance)

2.2.2 ทฤษฎีสัดส่วน (Proportion) เป�นองค์ประกอบที่สำคัญสำหรับงานออกแบบทุก
ประเภท เพราะสัดส่วนมีความเกี่ยวข้องกับขนาด และระยะที่สัมพันธ์กันอย่างเหมาะสม เพื่อให้มีความ
ใกล้เคียงกับความจริงหรือสภาพแวดล้อม มีความเหมาะสมในการใช้งานและเกิดความสวยงาม ดังนั้นทฤษฎี
สัดส่วน หมายถงึ ความสมั พันธ์ขององค์ประกอบมลู ฐานของการออกแบบทป่ี รากฏในผลงาน ซึง่ มีขนาด รปู รา่ ง
รูปทรง ที่เหมาะสมกลมกลืนกันทั้งในตัววัตถุเองและสภาพแวดล้อม รวมทั้งมีความสัมพันธ์กับการใช้งาน
สัดส่วนมีลักษณะ 3 ประการ คือ สัดส่วนที่เหมือนกันเท่ากันไม่แสดงความแตกต่างขององค์ประกอบในภาพ
หรือที่เรียกว่า การซ้ำกัน (Repetition) ให้ความรู้สึกสงบเงียบ สัดส่วนที่แตกต่างกันซึ่งอาจเป�นไปตามกฎของ
สัดส่วนหรือแตกต่างในลักษณะอื่น ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหวนำสายตาไปยังจุดสนใจและสัดส่วนที่ตัดกัน โดย
แสดงความแตกตา่ งกนั ขององคป์ ระกอบในภาพอยา่ งชัดเจน สรา้ งความนา่ สนใจได้เปน� อย่างดี

2.2.3 ทฤษฎีความกลมกลืนและความขัดแย้ง ความกลมกลืน หมายถึง การนำองค์ประกอบ
มูลฐานของการออกแบบที่มลี กั ษณะคลา้ ยคลึงกนั ไม่ว่าเปน� เสน้ สี รปู ร่าง ลักษณะพนื้ ผวิ บริเวณวา่ ง แสง และ
เงา มาใชใ้ นการออกแบบได้อย่างเหมาะสมลงตัว เกดิ ความประสานสอดคลอ้ งกนั อยา่ งพอเหมาะพอดี

169

2.2.4 ทฤษฎีจังหวะ จังหวะ หมายถึง การซ้ำกันอย่างต่อเนื่องขององค์ประกอบมูลฐานของ
การออกแบบ ได้แก่ เส้น รูปร่างและรูปทรง สี ลักษณะพื้นผิว บริเวณว่าง แสง และเงาที่มีลักษณะเหมือนกัน
หรือการสลับไปมาขององค์ประกอบที่แตกต่างกันตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปอย่างต่อเนื่องเป�นระเบียบ เกิดเป�น
ลวดลายใหค้ วามรสู้ กึ เคล่อื นไหวอย่างเปน� จงั หวะ

2.2.5 ทฤษฎกี ารเนน้ การเนน้ หมายถึง การทำให้สว่ นหน่ึงส่วนใดของผลงานมีความโดดเด่น
กวา่ ส่วนประกอบอื่น ๆ ซึง่ สามารถรบั รู้ไดจ้ ากการมอง เพื่อสร้างจุดสนใจให้เกิดขนึ้ ในผลงาน จุดเด่นที่เน้นควร
มีเพียงจุดเดียว โดยพิจารณาจากเนื้อหาเรื่องราวหรือความหมายที่ต้องการสื่อสารไปยังผู้ดูและการจัดวางใน
ตำแหน่งทีเ่ หมาะสม รูปแบบของการเน้น คือ การเนน้ ดว้ ยความแตกต่าง ด้วยความโดดเดน่ และดว้ ยการจัดวาง

2.2.6 ทฤษฎีเอกภาพ เอกภาพ หมายถึง การนำองค์ประกอบมูลฐานของการออกแบบไม่ว่า
จะเป�นเส้น รูปร่าง รูปทรง สี ลักษณะพื้นผิว บริเวณว่าง แสงและเงา มาจัดวางลงบนพื้นภาพอย่างเป�นระบบ
เพื่อให้เกิดความประสานกลมกลืนเป�นอันหนึ่งอันเดยี วกัน ซึ่งสอดคล้องกับการรับรู้ของมนุษยใ์ นการมองภาพ
แลว้ เชือ่ มโยงองคป์ ระกอบต่าง ๆ ใหส้ ัมพันธ์กนั อย่างเปน� ระบบ

ภาพประกอบ 72 ภาพองค์ประกอบดา้ นการออกแบบและทฤษฎกี ารออกแบบ
ทมี่ า : Pinterest, (2018). THE PRINCIPLES OF DESIGN.

Retrieved from https://www.pinterest.com/pin/268527196515402563/

2.3 การวิเคราะหอ์ งคป์ ระกอบดา้ นการออกแบบ
ในการวเิ คราะห์องค์ประกอบด้านการออกแบบ นิสิตควรวเิ คราะห์ถงึ องค์ประกอบแต่ละด้าน

ของผลติ ภัณฑ์แต่ละชิ้นอยา่ งละเอียดแล้วนำมาวิเคราะห์เช่ือมโยงกับด้านทฤษฎีการออกแบบ แล้วนำมาจัดทำ
เป�นภาพตารางการวเิ คราะหอ์ งค์ประกอบด้านการออกแบบ (Design Matrix) ขึ้นเพื่อให้ดูง่าย และสะดวกต่อ
การนำไปใช้ในข้ันต่อไป การทำเป�นภาพตารางยงั สามารถใช้กบั การวเิ คราะหผ์ ลิตภณั ฑ์ไดท้ ีละหลายชิน้ จะทำ

170

ให้เห็นภาพรวมของหลาย ๆ ผลิตภัณฑ์ในการวิเคราะห์องค์ประกอบด้านการออกแบบ และทำให้เห็นว่า
องค์ประกอบด้านการออกแบบเรื่องใดที่ผลิตภัณฑ์มีการใช้มาก-น้อยที่สุดได้ ดังภาพตัวอย่าง ตารางการ
วิเคราะหอ์ งคป์ ระกอบด้านการออกแบบ (Design Matrix) ดังน้ี

171

ภาพประกอบ 73 ภาพตัวอย่างตารางการวเิ คราะห์องค์ประกอบด้านการออกแบบ(Design Matrix)
ท่ีมา : กันตชิ า เกิดอยู่, (2564). เอกการออกแบบผลติ ภณั ฑ์ สาขาวิชาการออกแบบทศั นศิลป์.
กรุงทพฯ : มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ.

2.4 กรอบแนวคิดการออกแบบผลติ ภณั ฑ์ศิลปหตั ถกรรมไทยร่วมสมัย
กติ ตพิ งษ์ เกียรตวิ ิภาค (2017) เสนอว่า กรอบแนวคิดการออกแบบผลิตภัณฑศ์ ิลปหัตถกรรม

ไทยร่วมสมัย มขี ัน้ ตอนตา่ ง ๆ ดงั นี้
1. ทำความเข้าใจในงานออกแบบสากล (สไตลแ์ ละความต้องการในสงั คม) การทำความเขา้ ใจ

ในงานออกแบบและงานออกแบบสากล ถือเป�นเรื่องแรกที่ผู้ออกแบบต้องคำนึงถึง เพราะนักออกแบบต้อง
เข้าใจและทราบถึงสิ่งที่ตนเองมีความประสงค์จะศึกษาและออกแบบว่าสิ่งที่ต้องการออกแบบนั้นทำอะไร ทำ
เพื่อใคร ที่ไหน และทำทำไม ขั้นตอนนี้เป�นขั้นตอนการวางแผนในการออกแบบ การทำความเข้าใจในงาน
ออกแบบ จึงเป�นจุดเริ่มต้นของทุกสิ่งในการดำเนินงานเพื่อให้ได้แนวทางการพัฒนาและผลงานออกแบบ
สร้างสรรค์ท่ตี ้องการ

2. การรู้สึกและศรัทธาในรากเหง้าภูมิป�ญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรม ผู้ออกแบบต้องศึกษา
ที่มา คติรากเหง้า บริบททางสังคมและวัฒนธรรมให้ถ่องแท้เสียก่อน ก่อนนำไปพัฒนาในทิศทางที่ถูกต้อง
เหมาะสม การศึกษาในทางมติ ิวฒั นธรรม ยังขน้ึ อยกู่ ับฐานของการคิดของชาวบ้านท่ีออกมาจากตวั ชาวบ้านเอง
การมองให้เห็นถึงบริบทของปรากฏการณ์การมองโดยไม่มีความคิดอคติใด ๆ ครอบงำ รวมทั้งการมองว่า
ปรากฏการณท์ ศ่ี กึ ษานั้น มเี ง่อื นไขอะไรบ้างมขี ้อจำกดั หรือ ทัศนคติ ความเชอ่ื อะไรบา้ ง

3. การศึกษาเรียนรู้บริบททางวัฒนธรรมและภูมิป�ญญาของคนในชุมชน (ความชำนาญ
เทคนคิ ความสามารถของคนในชุมชน) ในการศกึ ษาเรียนรู้บริบททางวัฒนธรรมและภูมปิ �ญญาของคนในชุมชน
เป�นการเรียนรู้ข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับลักษณะของวัสดุ (จากธรรมชาติหรือวัสดุดั้งเดิม) วิธีการ
รูปแบบงานหัตถกรรมไทยและขั้นตอนต่าง ๆ ในการสร้างสรรค์ ศิลปหัตถกรรมนั้น ๆ ให้ถ่องแท้ การเข้าใจ
คุณสมบัติและลักษณะเฉพาะของวัสดุ การนำวัสดุไปแปรรูปและนำไปใช้ การเข้าใจวิธีคิด การเข้าใจกรรมวิธี

172

การสร้างสรรค์ ตั้งแต่ขั้นเริ่มต้นจนได้ผลงานหัตถกรรม สิ่งนั้นจะเป�นตัวแปรของแนวคิดให้สามารถต่อยอดใน
การออกแบบได้ การเรียนรู้เทคนิคและภูมิป�ญญางานศิลปหัตถกรรมจะ สามารถทำให้เราแทรกซึมไปใน
กระบวนความคดิ ในทกุ ชว่ งของการสรา้ งสรรค์ สามารถคัดเลอื กเทคนคิ เฉพาะสว่ นหรือเปน� ภาพรวมนำมาใช้ต่อ
ยอด ตราบใดทเี่ ราเข้าใจกระบวนการ กจ็ ะสามารถนำขอ้ มลู หรอื องค์ความรู้น้ันมาใช้ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

3. การออกแบบด้านรปู ธรรม (Tangible)

ด้านรูปธรรมของผลิตภณั ฑ์ถอื เป�นรูปลักษณ์ภายนอกของผลติ ภัณฑ์ หรือลักษณะทางกายภาพที่
ผู้บริโภคสัมผัสหรือรับรู้ได้ เป�นส่วนที่ทำหน้าที่หลัก สร้างความน่าสนใจแก่ตัวผลิตภัณฑ์ ส่วนมากแล้วจะเป�น
องค์ประกอบด้านการออกแบบ (Design Elements) ที่เห็นได้จากภายนอก เช่น เส้นสาย ลวดลาย รูปทรง
สีสัน พืน้ ผิว วสั ดุ และรายละเอียดตา่ ง ๆ ซงึ่ เป�นคุณสมบัตขิ องความเปน� รปู ธรรม

4. การออกแบบดา้ นนามธรรม (Intangible)

คณุ คา่ เชิงนามธรรมเป�นส่ิงทจ่ี ับต้องไม่ได้ ไมส่ ามารถมองเห็นไดจ้ ากภายนอก ไดแ้ ก่ ความซาบซ้ึง
ในเรื่องราว อารมณ์ในการใช้งานผลิตภัณฑ์ มีคุณค่าและความหมายด้านต่าง ๆ จิตวิญญาณที่แฝงไว้ ปรัชญา
แนวคิดและภมู ปิ ญ� ญา รวมถึงระดบั หรอื การแบง่ คลาสของผลติ ภัณฑ์ การสร้างประสบการณ์ในการบริโภคหรือ
การใช้งาน คุณค่าเชิงนามธรรมเป�นสิ่งที่เข้าใจตรงกันได้ยาก บางครั้งไม่สามารถกำหนดให้เข้าใจได้ตรงกัน ซ่ึง
เป�นคุณสมบัติของความเปน� นามธรรม (Steiner and Harmon, 2009) มดี ังนี้

1. การดำรงอยู่ของรปู รา่ ง ไม่ถกู สร้างข้นึ จากสสารทางกายภาพและไมใ่ ช้พืน้ ทีท่ างกายภาพ
2. เป�นนามธรรม มีความจับต้องไม่ได้ในแง่ต่าง ๆ เช่น ความสุขกาย สบายใจ เบิกบานใจ
และความมัน่ คงทางการเงนิ เปน� ตวั อย่างสินคา้ หรือบริการประโยชน์
3. มีความเฉพาะเจาะจงในสิ่งนั้น ๆ เช่น ระบุประเภทของสิ่งของ บุคคล เหตุการณ์
คุณสมบัติ หรือสง่ิ ทคี่ ล้ายคลงึ กนั
4. มีคุณลกั ษณะ 3 ประเภทท่เี กี่ยวข้องกบั การค้นหา ประสบการณ์ และความเชอ่ื
5. การไม่สามารถเข้าใจ ด้วยการจับต้องไม่ได้ของผลิตภัณฑ์ หรือบริการ เพราะซับซ้อน
เกินไป เปน� นามธรรม หรือไม่เคยมีประสบการณม์ าก่อน

5. การสร้างกระดานบรรยายอารมณแ์ ละรปู แบบของผลติ ภัณฑ(์ Mood Board)

พรสนอง วงศ์สิงห์ทอง (2550) สรุปไว้ว่า มูดบอร์ด(Mood Board) เป�นกระดานที่ใช้บรรยาย
บรรยากาศหรอื อารมณ์ ซงึ่ บรรยากาศของผลิตภัณฑ์หน่ึงเป�นสง่ิ ท่ีกระตุ้นความรู้สึก ความยั่วอารมณ์ ซ่ึงเวลาที่
เราเห็นจะรับรู้ถึงความรู้สึกนั้น ๆ จากกระดานได้ เช่น ภาพที่ดูนุ่มนวลเย็นสบายตา ภาพไฟคุกรุ่น ภาพความ
สมบุกสมบัน มูดบอร์ดมีบทบาทหน้าที่สำคัญที่ใช้ในการสือ่ สาร เป�นสิ่งที่ไว้ใช้บอกถึงเป้าหมายในการทำสไตล์
และสามารถสง่ ตอ่ ไปถึงลูกคา้ ได้ มดู บอรด์ ทลี่ ม้ เหลวคอื ไมส่ ามารถสอื่ สารอะไรไดเ้ ลย

มูดบอร์ด คือ สื่อกลางเป�นตัวรวบรวมความคิดและแรงบันดาลใจก่อนที่จะเริ่มต้นลงมือทำงาน
ซึ่งมันจะประหยัดเวลา โดยเฉพาะเวลาที่คิดอะไรไม่ออก ช่วยในการนำเสนองานให้ลูกค้าดู ช่วยให้ลูกค้าของ

173

คณุ รับรถู้ งึ อารมณ์ของงานและแนวทางท่คี วรจะเป�น หลีกเลี่ยงการเข้าใจไม่ตรงกนั ระหว่างคนทำงานกับลูกค้า
บางทกี ารพยายามอธบิ ายแนวคิดการออกแบบดว้ ยคำพูด (Vongthong, 2559)

5.1 หน้าท่ขี องกระดานบรรยายอารมณ์หรอื มดู บอรด์ มีดงั น้ี
มูดบอร์ดช่วยในการนำเสนองานได้อย่างชัดเจนเห็นภาพเป�นรูปธรรม ช่วยให้ลูกค้าของคุณ

รับรถู้ งึ อารมณ์ของงานและแนวทางในการออกแบบ เพือ่ หลกี เล่ียงการสื่อสารทส่ี ับสนระหว่างผู้สื่อสารกับผู้รับ
สาร ข้อดี คือ หลีกเลี่ยงการเข้าใจไม่ตรงกันระหว่างนักออกแบบกับลูกค้า บางทีการพยายามอธิบายแนวคิด
การออกแบบด้วยคำพูด ลกู คา้ อาจจะยงั มองภาพไม่ออกซึ่งมูดบอร์ดจะช่วยคุณได้มาก

5.2 เทคนิคการทำ Mood board
1. ใส่แรงบันดาลใจมูดบอร์ด เป�นสิ่งที่ไม่ได้นำไปใช้งานจริงเพียงแค่เอาไว้รวบรวม

ไอเดียเท่านั้น เราสามารถใส่แรงบันดาลใจเข้าไปได้ บางทีแต่ละงานที่ออกแบบอาจจะไม่เหมือนกัน ทำให้
องคป์ ระกอบในงานออกแบบทใ่ี ส่ลงไปไม่เหมอื นกนั

2. สื่อสารอารมณ์ให้ได้ บางทีมูดบอร์ดอาจจะมีองค์ประกอบของอะไรบางอย่างท่ี
ไม่ได้ใช้ในงานออกแบบ แต่เพียงมันสามารถสื่ออารมณ์ของงานออกแบบของได้มากขึ้น ยกตัวอย่างเช่น ถ้า
กำลังจะออกแบบงานที่ดูอบอุ่น ก็ลองหาภาพที่ให้ความรู้สึกอบอุ่นอย่าง ภาพถ่ายในช่วงฤดูร้อน ภาพผู้คนใน
เทศกาลหนา้ ร้อน ภาพเบียร์ ซง่ึ เมอื่ เรามองมูดบอรด์ โดยรวมเราจะรบั รูถ้ งึ “ความรูส้ กึ ของงานออกแบบ”

3. หลายตัวเลือกหลายครั้งที่เราออกแบบงานแล้วมีแนวคิดอันหลากหลายออกมา
เพราะฉะน้ันทำมันออกมาให้หมดก็เป�นอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยให้งานสำเร็จออกมาได้อย่างดี การทำมูดบอร์ด
ออกมาหลายอนั ใหล้ ูกค้าได้เลือกก็เป�นวธิ ีทด่ี เี ยย่ี มอย่างหนึง่

4. สร้างจากงานออกแบบที่มีอยู่ บางที่เราอาจจะได้แรงบันดาลใจจากสิ่งของที่มีอยู่
จริง ภาพเรขศิลป์ของจริง ตัวอย่าง William Yarbrough นักออกแบบคนหนึ่งสนใจงานออกแบบในช่วงยุค
1950-60 ซึ่งเป�นยุคทองของการเดินทางทางอากาศ เขาจึงนำป้ายแท็ก ติดกระเป๋าและโปสการ์ดในช่วงเวลา
นน้ั มาใช้ทำมูดบอร์ด โดยไดท้ งั้ ไอเดีย ตวั อกั ษรและคู่ สีมาใชง้ านจรงิ

5. มองหาส่งิ ใหม่เสมอ การจะหาอะไรมาสื่ออารมณ์ของมูดบอร์ด ไม่จำเป�นจะต้องมี
ความเก่ียวข้องกับงานทเ่ี ราจะทำอยา่ งตรงไปตรงมา จึงนับวา่ เปน� มูดบอรด์ ทีด่ ี อยา่ งเชน่ นักออกแบบ Carolyn
Farino กำลังออกแบบงานงานหนึ่งโดยกำหนดไว้ว่ามันจะต้องดูสดและสว่าง ซึ่งเธอก็ได้นำแรงบันดาลใจจาก
บรรจุภัณฑ์อาหาร งานศิลปะ ซึ่งเธอบอกว่าเราจะใช้อะไรมาทำมูดบอร์ดก็ได้ขอแค่ให้มันช่วยสร้างทิศทางของ
การออกแบบของคณุ ไม่มีอะไรผดิ อะไรถูกเสมอไป

6. นำสิ่งที่ต้องการออกแบบมาจัดวางองค์ประกอบมูดบอร์ด คือ สิ่งที่คุณต้องการจะ
ใหม้ ันเปน� หลงั จากที่ผ่านการวางแผนการออกแบบกันมาแล้ว วิธหี น่งึ ท่ีคณุ จะสร้างมูดบอร์ดข้ึนมาคือการลองนำ
องคป์ ระกอบของงานมาใสใ่ นมดู บอร์ด ซ่ึงคุณจะมองเห็นเลยว่าอะไรทีด่ ูแปลกแยกออกมา อะไรท่ดี ไู มเ่ ขา้ กัน

7. ใส่องค์ประกอบให้ครอบคลุม วิธีที่ทำให้มูดบอร์ดของคุณสมบูรณ์แบบก็คือ ใส่
องคป์ ระกอบ ช้นิ ส่วนท้ังหมดในงานออกแบบลงไปในมดู บอร์ด เพอื่ ทำให้ลกู ค้าของคุณคิดว่าคุณมีการวางแผน

174


Click to View FlipBook Version