The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

23-12-2021 แก้เลขสารบัญล่าสุด เอกสารประกอบการสอน VID115 CRAFT DESIGN

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by da.suchitra, 2021-12-26 23:29:24

23-12-2021 แก้เลขสารบัญล่าสุด เอกสารประกอบการสอน VID115 CRAFT DESIGN

23-12-2021 แก้เลขสารบัญล่าสุด เอกสารประกอบการสอน VID115 CRAFT DESIGN

บทที่ 4
ศิลปหัตถกรรมไทยภาคกลาง

1. กำเนิดงานหตั ถกรรมไทยภาคกลาง

1.1 ป�จจัยที่เกี่ยวข้องในการผลิตผลงานศลิ ปหตั ถกรรมไทยภาคกลาง ประกอบด้วยด้านต่าง ๆ
ดังนี้

-การศกึ ษาด้านประวตั ศิ าสตร์ทอ้ งถิ่น
ภาคกลางเป�นศูนย์กลางแห่งราชธานีทุกยุคทุกสมัย และเป�นศูนย์รวมอำนาจรัฐ
เศรษฐกิจ คมนาคมและศาสนามาไม่น้อยกว่า 7 ศตวรรษแล้ว เพราะมีลักษณะทางยุทธศาสตร์ที่ดี นอกจากนี้
ยังประกอบด้วยกลุ่มชนหลากหลายชาติพันธุ์ ได้แก่ ลาว เขมร มอญ มาเลย์ หรือในสมัยอยุธยาที่มีการติดต่อ
คา้ ขายกบั ชาวต่างชาติ เช่น จนี ญี่ปุน อาหรับ โปรตเุ กส ฮอลันดา ฝรั่งเศส องั กฤษ เปน� ต้น จากพฒั นาการทาง
ประวัติศาสตร์ พบว่าอิทธิพลของราชธานีจะแผ่ขยายปกคลุม หัวเมืองต่าง ๆ ไปถึงดินแดนประเทศราช เช่น
ลา้ นนา ลาว กัมพชู า ไปจนถึงคาบสมุทรมาลายูและมีการเรียกหวั เมืองต่างๆ วา่ หัวเมอื งชัน้ ใน หัวเมืองชั้นนอก
โดยในอดีตภาคกลางมีระบบความสัมพันธ์ของกลุ่มคนในสังคมตามที่กำหนดไว้ในกฎหมายตราสามดวงว่ามี
ความสัมพันธเ์ ชงิ อำนาจแบบนายกับบ่าว หลวงกับราษฎร
-สภาพภมู ิศาสตร์
ภาคกลางมีลักษณะทั่วไป คือ เป�นพื้นท่ีลุ่มน้ำขนาดใหญ่ มีแม่น้ำป�ง วัง ยม น่าน ไหลมา
รวมกันจนเกิดเป�นแม่น้ำเจ้าพระยา แล้วจากนั้นจึงไหลลงสู่ที่ราบภาคกลางตอนล่างและยังมีแม่น้ำแม่กลอง
แม่น้ำท่าจีน แม่น้ำบางปะกงไหลผ่านภาคกลางอีกด้วย จึงทำให้เกิดเป�นพื้นที่ชุ่มน้ำ ขนาดใหญ่ มีความชุ่มช้ืน
เหมาะสมแก่การทำการเกษตรกรรม รวมไปถงึ การตั้งบ้านเรอื นขนาดใหญ่ การเดนิ ทางไปมาหาสู่ทำได้ง่ายและ
สะดวก จึงทำให้มีคนหลากหลายชาติพันธุ์และภาษาเข้ามา ตั้งหลักแหล่งทำมาหากินและมีการแลกเปลี่ยน
วัฒนธรรมซึ่งกันและกัน โดยอาศัยน้ำเป�นป�จจัยสำคัญในการสร้างสรรค์และพัฒนาอารยธรรมขึ้นมา ซึ่งภาค
กลางประกอบดว้ ย 34 จงั หวัด แบง่ ออกได้ดงั น้ี
1. พื้นที่ลุ่มเขตภาคกลาง ประกอบไปด้วย 14 จังหวัด คือ กรุงเทพมหานคร นครปฐม
สมุทรสาคร สมุทรสงคราม สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา สุพรรณบุรี นครนายก
อา่ งทอง สระบรุ ี สิงหบ์ ุรี และลพบุรี
2. ภาคกลางตอนบน ประกอบไปด้วย 8 จังหวัด คือ ชัยนาท นครสวรรค์ กำแพงเพชร
พิจติ ร พิษณโุ ลก เพชรบรู ณ์ ตาก และสุโขทัย
3. ภาคกลางด้านตะวันตก ประกอบไปด้วย 5 จังหวัด คือ กาญจนบุรี อุทัยธานี ราชบุรี
เพชรบุรี และประจวบคีรขี นั ธ์
4. ภาคกลางด้านตะวันออก ประกอบไปด้วย 7 จังหวัด คือ ปราจีนบุรี สระแก้ว
ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง จันทบุรี และตราด

75

ลักษณะทั่วไป ภาคกลางมีลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป�นที่ราบลุ่มมีเทือกเขาป�ดล้อม
สามด้าน ทางด้านทิศใต้ติดกับทะเล ส่งผลให้ภูมิอากาศของภาคกลางเย็นสบาย มีฝนตกชุก เนื่องจากได้รับ
อิทธิพลจากลมมรสุม ในช่วงป� 2557 เป�นต้นมา ในฤดูหนาวอากาศหนาวจัดเนื่องจาก ได้รับอิทธิพลความกด
อากาศจากประเทศจีนแผ่ปกคลุมลงมาและอิทธิพลจากปรากฏการณ์เอลนีโญ และลานีญาทำให้ลักษณะ
อากาศแปรปรวนไปจากเดิม อุณหภูมิเฉลี่ยของภาคกลางอยู่ที่ประมาณ 28 - 29 องศาเซลเซียส สาเหตุที่ภาค
กลางมีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงทั้งที่เป�นพื้นที่ราบลุ่มแม่น้ำนั้นมีสาเหตุหลายประการ เช่น เป�นพื้นที่ราบว่างเปล่าหรือ
พน้ื ทเี่ กษตรกรรมหรือพืน้ ท่เี มอื ง ไม่มีพชื พรรณหรือปา่ ไมด้ ูดกรอง ความร้อนจากดวงอาทิตยร์ วมไปถึงพ้ืนท่ีภาค
กลางนนั้ เปน� พนื้ ราบท่ที ำแนวระนาบกับรงั สจี ากดวงอาทิตย์โดยไม่มีมุมหรือเหลี่ยมของเทือกเขามาบดบงั (วิชญ์
จอมวญิ ญาณ์, 2560)

ภาพประกอบ 22 ภาพแสดงสภาพภูมศิ าสตรภ์ าคกลาง
ทมี่ า : ภูมิศาสตรใ์ นประเทศไทย. (2018). ภาคกลาง.
สบื ค้นจาก https://sites.google.com/site/geographicinthailand/home/phakh-klang

-ทรัพยากรธรรมชาติ วิชญ์ จอมวิญญาณ์. (2560) กล่าวว่า ทรัพยากรในภาคกลางที่มี
ลักษณะภูมิประเทศเป�นที่ราบลุ่มแม่น้ำดินตะกอนสะสม ทรัพยากรส่วนใหญ่จึงจะเป�นทรัพยากรดินที่มีความ
อุดมสมบูรณ์มากที่สุดแห่งหนึ่งในเขตเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ นอกเหนือจากลุ่มแม่น้ำอิระวดี แม่น้ำโขงและ
แมน่ ำ้ แดง ควบคู่กันไปด้วยทรัพยากร น้ำและทรัพยากรแร่ธาตุท่ีมปี ระปรายตามบริเวณเทือกเขาแนวขอบของ
ภาคกลาง ทรัพยากรส่วนใหญท่ พ่ี บ มดี งั น้ี

1. ทรัพยากรดิน คือ สสารที่เกิดขึ้นเองตามวัฏจักรธรรมชาติมีป�จจัยการเกิดคือ
ธรรมชาติและเวลา ดินเป�นทรัพยากรที่กล่าวได้ว่าเป�นจุดเริ่มต้นของสังคมมนุษย์ ทรัพยากรดินจึงควร ได้รับ
การดแู ลและรักษาเปน� อย่างดีเพ่ือท่จี ะได้ใช้ไปอยา่ งยาวนานในอนาคต ในภาคกลางเปน� พื้นทท่ี มี่ ีการตกตะกอน

76

ของดินตามลุ่มแม่น้ำมากที่สุดในประเทศไทย จึงทำให้พบดินประเภทต่าง ๆ มากมาย เช่น ดินเหนียวกรุงเทพ
ดนิ เหนยี วองครักษ์ ดินร่วนกำแพงแสน ดินเหนียวลพบุรี เป�นตน้

2. ทรพั ยากรนำ้ ทรัพยากรนำ้ ของภาคกลางมเี ปน� จำนวนมาก สังเกตไดจ้ ากบริเวณน้ีเป�นที่
ราบลุ่มแม่น้ำสาย สำคัญต่าง ๆ แม่น้ำสายที่สำคัญท่ีสุด คือ แม่น้ำเจ้าพระยาที่เป�นแม่น้ำสายสำคัญขนาดใหญ่มี
ปริมาณ น้ำในลำน้ำมากจึงมีความสำคญั ตอ่ ระบบเศรษฐกิจของภูมภิ าคและประเทศเป�นอย่างมาก เขื่อนกักเก็บ
นำ้ ทสี่ ำคญั ไดแ้ ก่ เขอื่ นเจ้าพระยา เข่ือนกระเสยี ว เข่ือนป่าสักชลสิทธ์ิ และเขอื่ นขุนด่านปราการชล เป�นต้น

3. ทรพั ยากรแรธ่ าตุ เป�นสสารทีเ่ กดิ ขึน้ เองตามธรรมชาติประกอบไปด้วยแร่โลหะและแร่
อโลหะ ทรัพยากรแร่ส่วนใหญ่จะต้องผ่านกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ก่อนการใช้งานเสมอ ในประเทศไทยมี
หลายพื้นที่มีความสำคัญในด้านการผลิตและขุดเจาะแร่ธาตุ บางพื้นทีม่ ีความสำคัญในการถลุงและสกัดแรธ่ าตุ
แร่ธาตุเป�นทรัพยากรประเภทใช้แล้วหมดไป (Non-renewable Resources) แร่ธาตุต่าง ๆ ที่สำคัญที่พบใน
ภาคกลาง เชน่ ทองคำ ซลิ ิกา ทองแดง ดบี ุก ฯลฯ

4. ทรัพยากรป่าไม้ คือ ปริมาณต้นไม้ที่รวมกันเป�นกลุ่มขนาดใหญ่มีความซับซ้อนและ
หนาทึบ จัดได้ว่าเป�นสังคมของพืชพรรณธรรมชาติ ที่มีความสำคัญต่อโลก ป่าไม้ในภาคกลางพบทั้งป่าผลัดใบ
และไม่ผลัดใบ ประเภทของป่าที่พบได้แก่ ป่าดงดิบ ป่าดิบหรือป่าดิบชื้น (Tropical Rain Forest, Tropical
Evergreen Forest or Tropical Wet Green Forest ) ป่าดงดิบแล้ง (Dry Evergreen Forest) ป่าชายเลน
(Mangrove Forest) ป่าเบญจพรรณ (Mixed Deciduous Forest) และป่าแดง ป่าแพะ ป่าโคกหรือป่าเต็งรงั
(Dry Deciduous Forest)

5. อทุ ยานแห่งชาติ ในภาคกลางอุทยานแห่งชาติมักจะต้ังอยู่บริเวณขอบนอกของ ภูมิภาค
ตามหลักการแล้วพื้นที่เหลา่ นีจ้ ะถูกจัดเป�นสัดส่วนไม่ให้มีการบุกรุกเข้าไปเพื่อความสะดวกใน การอนุรักษ์ ภาค
กลางมีอทุ ยานแห่งชาติทสี่ า้ คญั หลายแห่ง ประกอบไปด้วย (สำนักงานอุทยานแห่งชาติ กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์
ป่าและพนั ธุ์พืช, 2557) เช่น แม่วงก์ นำ้ ตกชาติตระการ ภูหนิ รอ่ งกล้า เขาคอ้ และน้ำตกเจด็ สาวน้อย

6. เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คือ พื้นที่ที่ถูกกำหนดขึ้นมาเพื่อให้เป�นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า
อย่างปลอดภัยในการดำรงชีวิตและขยายพันธุ์ต่อไปในอนาคต แต่ละเขตนั้นจะต้องมีความเหมาะสมในการ
ดำรงชีพดว้ ยป�จจัยตา่ ง ๆ เช่น แหลง่ น้ำ แหล่งอาหาร ป่าไม้ พ้นื ทส่ี ูง เปน� ตน้ (สำนักอนุรกั ษส์ ตั ว์ป่า, 2560) ใน
ภาคกลางเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่าทีม่ ีขนาดใหญท่ ่ีสุดในภูมิภาคน้ี คอื เขต รกั ษาพนั ธุส์ ัตว์ป่าห้วยขาแข้งเนื่องจาก
มีอาณาเขตที่ติดต่อกับอุทยานและเขตรักษาพันธุ์สัตว์ต่าง ๆ ใน ภาคตะวันตกทำให้เปรียบเสมอื นเป�นพื้นท่ปี า่
ขนาดใหญ่อยู่ในพื้นที่ตอนกลางของประเทศอยู่ในเขตจังหวัดอุทัยธานีและจังหวัดตาก เนื้อที่ประมาณ
1,608,750 ไร่

7. ทรพั ยากรสตั วป์ า่ และประมง ในภาคกลางแตด่ ั้งเดิมน้นั อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากร
สตั วป์ า่ เนอ่ื งจากพ้ืนท่ปี า่ ไมท้ มี่ ีมากจากความอดุ มสมบูรณข์ องดนิ ตะกอนท่ีราบลุม่ แม่นำ้ ทรัพยากรสตั วป์ า่ ท่ีพบ
จึงอาจจะประกอบไปด้วย เสือขนาดต่าง ๆ กวาง ควายป่า เป�นต้นทรัพยากรประมงในภาคกลางนั้นโดยเป�น
การประมงน้ำจดื เป�นส่วนใหญ่ แมน่ ำ้ สายหลกั คือ แมน่ ำ้ เจ้าพระยา

77

แมน่ ำ้ ป่าสัก แมน่ ้ำทา่ จีน แม่นำ้ แม่กลองทเี่ ปน� พืน้ ท่ที ่มี ีการประมงทส่ี ำคญั อาทิ ปลามา้ ปลาชอ่ น ปลาเนอ้ื อ่อน
เปน� ต้น การประมงน้ำเคม็ พบมากตามเขตจังหวดั ชายทะเล เช่น สมทุ รสงคราม สมทุ รสาคร และสมุทรปราการ
สัตว์น้ำที่พบเป�นการประมงชายฝ�งและการประมงแบบเพาะเลี้ยงพวกหอย และกระชังปลา เป�นต้น พื้นท่ีการ
ประมงท่ีสำคัญคือ พื้นที่การประมงในภาคกลางมีความหลากหลาย เริ่มต้นที่การประมงน้ำจืด น้ำกร่อยไป
จนถึงน้ำเค็มเนื่องจากภูมิภาคของภาคกลางดั้งเดิมนั้น เป�นดินตะกอนที่งอกมาจากแผ่นดินหลัก แม่น้ำสาย
สำคัญในภาคกลางมีเป�นจำนวนมากได้แก่ แม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำป่าสัก แม่น้ำลพบุรี แม่น้ำท่าจีน แม่น้ำ
นครนายก ส่วนของหนองบึงและอ่างเก็บนั้นมี มาก เช่น บึงบอระเพ็ด บึงสีไฟ และเขื่อนเจ้าพระยา เขื่อนเขา
แหลมและเขื่อนแก่งกระจาน และในส่วนของการประมงน้ำเค็มและน้ำกร่อยนั้นแบ่งได้เป�นส่วนของอ่าวไทย
ตอนใน ได้แก่ จงั หวดั สมทุ รปราการ สมุทรสงคราม สมทุ รสาครและกรุงเทพมหานคร

-วฒั นธรรมประจำท้องถน่ิ และสภาพทางสังคม
ด้านสงั คม พน้ื ที่สว่ นใหญ่ในภาคกลางเป�นทร่ี าบลุ่มและเปน� แหลง่ ผลติ การเกษตรท่ีสำคัญ
ของประเทศ แต่เมื่อพื้นที่ปรับเปลี่ยนไปสู่ภาคอุตสาหกรรมมากขึ้น นอกจากคนในพื้นที่จะปรับเปลี่ยนไปเป�น
แรงงานในภาคอุตสาหกรรมด้วยแล้ว ยังมีแรงงานที่ย้ายถิ่นเข้ามาในแหล่งอุตสาหกรรมด้วย เช่น ปทุมธานี
พระนครศรีอยุธยา ระยอง ชลบุรี จึงทำให้มีการขยายตัวในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ เช่น อพาร์ตเมนท์ บ้านเช่า
หอพัก รวมไปถึงหา้ งสรรพสินคา้ เพื่อรองรับการอุปโภคบริโภคของคนในพ้ืนท่ี แต่ยงั ไม่มปี �ญหาแรงงานต่างด้าว
มากนัก ยกเว้นในกลมุ่ จงั หวดั ภาคกลางตอนล่าง เชน่ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร ทเ่ี น้นการประกอบธุรกิจการ
ประมง ซึ่งจะมีแรงงานต่างด้าวเป�นจำนวนมาก เนื่องจากแรงงานไทยมักไม่ทำงานนี้ เพราะเป�นงานหนัก ต้อง
อาศยั ความอดทนสูง และตอ้ งอยใู่ นทะเลเป�นเวลานาน จงึ กลายเป�นผลกระทบทางสังคมทางหน่ึง หากยังไม่ได้
รับการบริหารจัดการที่ดี การขยายตัวในภาคอุตสาหกรรมของหลายพื้นที่ นอกจากดึงดูดแรงงานทางตรงใน
ภาคอุตสาหกรรมเข้ามาในพ้ืนทีแ่ ลว้ ยังทำใหเ้ กิดธุรกจิ การค้าและบริการท่ีต่อเน่ืองอีกมากมายด้วย เช่น ธุรกิจ
ซ่อมบำรุง รับเหมาก่อสร้าง ติดตั้งอุปกรณ์เครื่องจักร ธุรกิจรับส่งคนงาน รักษาความปลอดภัย ตัวแทน
จำหนา่ ยต่าง ๆ ฯลฯ ซง่ึ ทำให้มเี จ้าของธุรกิจและแรงงานเข้ามาอีกมากด้วย และทำใหโ้ ครงสร้างทางสังคมของ
พนื้ ทป่ี รับเปล่ียนไป ตามโครงสรา้ งประชากรท้ังทเ่ี ข้าไปตง้ั ภมู ลิ ำเนา และทเี่ ปน� ประชากรแฝงในพ้นื ที่
-ด้านวัฒนธรรมประจำท้องถิ่น โครงสร้างทางวัฒนธรรมที่สำคัญและโดดเด่นในพื้นที่
ภาคกลาง ได้แก่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งเป�นราชธานีเก่าเป�นระยะเวลายาวนาน ทำให้เป�นแหล่งมรดก
ทางวัฒนธรรมที่สำคัญของประเทศ ในอดีตนั้นได้สืบทอดเอกลักษณ์ศิลปวัฒนธรรมเอาไว้มากมาย เช่น
โบราณสถาน วัด วัง ทีม่ คี วามสำคัญต่อท้งั คนไทยในอดีต จวบจนป�จจบุ นั ไดท้ ง้ิ เป�นมรดกไว้สำหรับคนร่นุ หลงั ได้
ศึกษาหาความรู้ รวมถึงเป�นแหล่งท่องเทีย่ วทางประวัติศาสตร์ทีส่ ำคัญของไทย นอกจากนี้ ยังเป�นแหล่งศิลปะ
หัตถกรรม สถาป�ตยกรรม ซึ่งนำไปสู่การประกอบธุรกิจของ SMEs จำนวนมากในป�จจุบัน ทั้งในด้านการ
ท่องเทยี่ ว การบริการต่าง ๆ ทีเ่ กี่ยวเน่อื ง การทำของฝากของทรี่ ะลึกต่าง ๆ นอกจากนี้ ยังมจี งั หวัดเพชรบุรี ซึง่
มีเขาวังเป�นสถานที่สำคัญแห่งหนึ่งในสมัยรัชกาลที่ 4 และเป�นต้นแบบของแรงบันดาลใจในสถาป�ตยกรรม
หลายแห่งในจงั หวดั เปน� อีกหนง่ึ เอกลกั ษณ์ที่นำเสนอเปน� จดุ ขายในการประกอบธุรกจิ อีกด้วย

78

ในดา้ นของวัฒนธรรมการละเล่นพน้ื บ้านทเ่ี ช่ือมโยงกบั สภาพแวดล้อม และความเป�นอยู่
ของคนในพื้นที่ภาคกลาง เช่น การละเล่นเพลงเกี่ยวข้าวเพลงอีแซว เพลงยาว ซึ่งในเขตพื้นที่นี้เองได้มีการ
อนุรักษ์การละเล่นและจัดเป�นวิชาให้นักเรียน นักศึกษาได้เรียน ส่วนในด้านสถาป�ตยกรรม เช่น วัด บ้านทรง
ไทยคนในพื้นที่เองได้มีการให้ความรู้และปลูกจิตสำนึกแก่เยาวชนเพื่อให้ภาคภูมิใจ และมีการส่งเสริมให้
สถาป�ตยกรรมเหล่านี้เป�นแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม อย่างไรก็ดี ศิลป�นพื้นบ้านหรือผู้ท่ี
สืบทอดความชำนาญในการละเล่นเพลงพน้ื บ้านและสามารถนำมาใช้ในการประกอบอาชีพหรือทำเป�นธุรกิจได้
นั้น ลดน้อยลงเรื่อย ๆ เพราะขาดการสนับสนุนที่เหมาะสมจากหน่วยงานต่าง ๆ และเกิดการขาดช่วงในการ
นำเสนอให้เกดิ ความรับรู้หรือความภมู ใิ จในศิลปะพืน้ บ้านในคนร่นุ ใหม่

ในพื้นที่ภาคกลางทั้งตอนบนและตอนล่างเป�นที่ราบลุ่มแม่น้ำหลายสาย ทำให้เป�นพื้นฐาน
สำคัญของสังคมวิถีเกษตร การทำเกษตรแปรรูป การประมงน้ำจืดตามแหล่งน้ำต่าง ๆ เป�นแหล่งผลิตอาหาร-
อาหารแปรรูป และวิถีชีวิตริมแม่น้ำ ซึ่งป�จจุบันแม้ว่าสภาพแวดล้อมหรือสภาพสังคมจะมีการปรับเปลี่ยนไป
มาก แต่จากกระแสความนิยมในป�จจุบัน ได้มีผู้ประกอบการ SMEs จำนวนมากที่ได้นำทุนทางวัฒนธรรมใน
การใช้ชีวิตเหล่านี้ มาต่อยอดในด้านการท่องเท่ียวเชงิ วัฒนธรรม เชงิ นิเวศน์ และเชิงสขุ ภาพตามเส้นทางแม่น้ำ
ต่างๆ ทั้งในรูปแบบของตลาดน้ำ เช่น ตลาดน้ำอัมพวา ตลาดน้ำดำเนินสะดวก ตลาดน้ำบางคล้าที่ฉะเชงิ เทรา
ตลาดน้ำดอนหวายและตลาดน้ำลำพญาทีน่ ครปฐม หรือในรปู แบบตลาดโบราณ เชน่ ตลาดสามชุกทส่ี ุพรรณบุรี
ตลาดร้อยป�ที่เจ็ดเสมียนจังหวัดราชบุรี เกาะเกร็ดที่นนทบุรี เป�นต้น และในหลายพื้นที่ ซึ่งมีความหลากหลาย
ของเชื้อชาติที่อพยพเข้ามาอาศัยในสมัยต่าง ๆ เช่น มอญ ทำให้มีทุนทางวัฒนธรรมในการต่อยอดภูมิป�ญญา
ด้ังเดมิ ทมี่ ีเอกลกั ษณ์ เชน่ อาหาร ศิลปะ ประเพณี และสถาปต� ยกรรมต่างๆ ซึง่ นอกจากจะเปน� การสร้างรายได้
ให้ชาวบ้านหรือชุมชนหรือผู้ประกอบการ SMEs แล้ว ยังเป�นโอกาสในการที่ SMEs หรือชุมชนจะได้นำเสนอ
สินคา้ เชิงวฒั นธรรมทัง้ ในด้านศิลปะหรือวถิ ชี ีวติ และรปู แบบการให้บรกิ ารที่เป�นวฒั นธรรมดั้งเดมิ ของพ้ืนท่ีด้วย
(Geography Thailand 57, 2021)

วิลาวัณย์ วิเศษวงษา (2018) กล่าวว่า วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคกลางส่วนใหญ่เป�น
วัฒนธรรมที่เกีย่ วเนือ่ งกับพระพุทธศาสนาเช่นเดียวกันกับวัฒนธรรมท้องถ่ินภาคเหนือ แต่มีลักษณะทีแ่ ตกต่าง
กันออกไปบ้าง เนื่องจากสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ สังคม และค่านิยมในท้องถิ่นที่แตกต่างกัน ลักษณะ
วฒั นธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีโดยรวมมีความเกีย่ วเนื่องกบั พธิ ีกรรมในพระพุทธศาสนา และพิธีกรรม
เกี่ยวกับคามเชื่อในการดำเนินชีวิต ซึ่งถือว่าเป�นเอกลักษณ์ที่สำคัญของวัฒนธรรมไทย ตัวอย่างของวัฒนธรรม
ทางภาคกลางท่สี ำคญั มดี งั นี้

1. ด้านศาสนาและลัทธิความเชื่อ เช่น ประเพณีการรับบัวโยนบัว การบูชารอยพระพุทธ
บาท เปน� ตน้

-ประเพณีรบั บวั โยนบัวมีข้ึนที่อำเภอบางพลี จังหวดั สมุทรปราการ เป�นประเพณีที่ปฏิบัติสืบ
ทอดกันมากว่า 80 ป� โดยชาวบา้ นเชื่อตามตำนานวา่ หลวงพ่อโตลอยตามแม่น้ำเจ้าพระยามาหยุดที่ปากคลอง
สำโรงเป�นการแสดงเจตจำนงอันแน่วแน่ว่าจะจำพรรษาอยู่ในละแวกนั้นอย่างแน่นอน ชาวบ้านจึงช่วยกันรั้ง
นิมนต์เข้ามาจนถึงวดั บางพลีใหญ่ใน ซึ่งเป�นที่ประดิษฐานในป�จจุบัน แล้วอัญเชิญขึ้นไว้ในโบสถ์ หลวงพ่อโตจงึ

79

เป�นหลวงพอ่ ของชาวบางพลีตั้งแตน่ นั้ มาหลังจากนั้นในวันข้ึน 14 ค่ำ เดอื น 11 ของทุกป� ชาวบางพลีจะนิมนต์
หลวงพ่อขึ้นเรือแล่นไปให้ชาวบ้านได้มนัสการ ชาวบ้านจะพากันมาคอยมนัสการหลวงพ่ออยู่ริมคลองและเดด็
ดอกบัวริมน้ำโยนเบา ๆ ขึ้นไปบนเรือของหลวงพ่อ ต่อมางานรับบัวและโยนบัวจึงกลายเป�นประเพณีสืบทอด
มาจนถึงป�จจุบัน

ภาพประกอบ 23 ภาพแสดงประเพณีรบั บัวโยนบวั มขี ึ้นทอ่ี ำเภอบางพลี จังหวดั สมุทรปราการ
ท่ีมา : travel.kapook. (2563). ประเพณีรบั บัว 2563 สืบสานประเพณีหนงึ่ เดยี วในโลก.
สืบค้นจาก https://travel.kapook.com/view231786.html

-การบูชารอยพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี โดยรอยพระพุทธบาทเป�นปูชนียสถานที่สำคัญ
ยิ่งแห่งหนึ่งเพราะเป�นมรดกชิ้นเอกของชาติและศาสนา เป�นที่รู้จักแพร่หลายของประชาชน และเป�นที่เคารพ
สักการะของพุทธศาสนิกชนทั่วไป โดยเฉพาะอย่างย่ิงในเทศกาลบูชาพระพุทธบาท คือ ช่วงวันขึ้น 1 ค่ำ เดือน
3 ถึงวันแรม 1 ค่ำ เดือน 3 กับช่วง วันขึ้น 1 ค่ำเดือน 4 ถึงวันแรม 1 ค่ำ เดือน 4 ประชาชนทั่วทุกสารทิศทั้ง
ในเพศบรรพชิตและคฤหัสถ์ต่างหลั่งไหลมามนัสการรอยพระพุทธบาทในพระมณฑป อันเป�นการเชื่อมโยง
ความรู้สึกนึกคิดของพุทธบรษิ ัททั้งหลายให้รู้สึกผูกพันต่อพระสัมมาสมั พุทธเจ้า ผู้เป�นศาสดาอย่างเหนียวแนน่
ตลอดมา

2. ด้านทเี่ ก่ยี วกับการดำรงชีวติ ทางการเกษตร ไดแ้ ก่
-การทำขวัญข้าวเป�นประเพณีที่ยังคงทำกันอย่างกว้างขวางในหมู่ของคนไทยภาคกลาง ไทย
พวน และไทยอีสานทั่วไป โดยจะนิยมทำกันเป�นระยะ คือ ก่อนข้าวออกรวง หลังจากนวดข้าว และขนข้าวขึ้น
ยุ้ง สำหรับการเรียกขวัญก่อนข้าวออกรวงจะนิยมทำกันตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 เป�นต้นไป ผู้ที่จะเรียก
ขวัญจะเป�นผู้หญิงซึ่งจะแต่งกายให้สวยงามกว่าธรรมดา พอถึงที่นาของตนก็จะป�กเรือนขวัญข้าวลงใน
นา จากนั้นก็นำผ้าซิ่นไปพาดกับต้นข้าว เอาขนมนมเนย ของเปรี้ยว ของเค็ม เครื่องประดับ ของหอม
ต่าง ๆ หมาก พลู และบุหรี่ ใส่ลงไปในเรือขวัญข้าว จากนั้นก็จุดธูป 8 ดอก เทียน 1 เล่ม และนั่งพนมมือเรียก
ขวัญข้าว พอเสร็จพิธีเรียกขวัญแล้วผู้ทำพิธีเรียกขวัญก็จะเก็บข้าวของที่มีค่าบางส่วนกลับบ้าน ส่วนเครื่อง

80

สังเวยอื่น ๆ ก็จะทิ้งไว้ในเรือนขวัญข้าวนั้นต่อไป การทำขวัญข้าวเป�นความเชือ่ ของชาวนาว่าจะทำให้ข้าวออก
รวงมาก ซง่ึ เป�นธรรมเนียมปฏิบตั ิที่ทำกันมาแตด่ ง้ั เดมิ

3.ดา้ นยาและการรักษาพื้นบ้าน จากการศกึ ษาค้นควา้ และรวบรวมตำรายาพ้ืนบ้านในจังหวัด
ชลบุรี โดยได้มีการสัมภาษณแ์ พทยแ์ ผนโบราณ และค้นคว้าจากตำราที่บันทึกอยู่ในใบลาน สมุดข่อยขาว สมุด
ข่อยดำ พบว่ามีตำรายาไทยแผนโบราณทั้งหมด 318 ขนาน ที่ยังใช้อยู่ในป�จจุบันมี 138 ขนาน จำแนกตาม
คุณสมบัติ เช่น ยาแก้ไข้ 12 ขนาน ยาแก้ท้องเสีย 6 ขนาน ยาขับโลหิต 29 ขนาน ยาแก้ไอ 1 ขนาน ยาแก้
ท้องข้ึนทอ้ งเฟ้อ 2 ขนาน ยาแก้ลม 11 ขนาน เปน� ตน้ ยาส่วนใหญ่เปน� พืชสมุนไพร และแรธ่ าตุ

นอกจากน้ี ยังมีตัวอยา่ งประเพณวี ฒั นธรรมของคนในภาคกลางอีกจำนวนมาก ทถ่ี ือปฏิบตั ิกัน
มาช้านาน เช่น งานพิธีการทิ้งกระจาดของจังหวัดสุพรรณบุรี งานประเพณีแห่เจ้าพ่อเจ้าแม่ปากน้ำโพ จังหวัด
นครสวรรค์ งานประเพณีตักบาตรเทโวของจังหวัดอุทัยธานี ประเพณีตักบาตรน้ำผึ้ง จังหวัดฉะเชิงเทรา
ประเพณีก่อเจดีย์ทราย จังหวัดฉะเชิงเทรา ประเพณีกวนข้าวทิพย์หรือข้าวมธุปายาส จังหวัดชัยนาท และ
ประเพณีสขู่ วัญส่ขู ้าว จงั หวัดนครนายก เปน� ตน้

- คติความเชื่อ สังคมไทยภาคกลางส่วนใหญ่มีความเชื่อในทางพุทธศาสนาในเรื่องของกฎแห่ง
กรรม ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว จากหลักคำสอนทางพุทธศาสนา เชื่อหลักการเวียนว่ายตายเกิด เชื่ออิทธิพลของ
ดวงดาวจักราศรี แม้ว่าในสังคมยุคใหม่จะเชื่อในเรื่องวิทยาศาสตร์มากขึ้นแต่ความเชื่อเก่า ๆ ก็ยังคงมีอิทธิพล
อยู่ โดยสงั คมไทยยังมีความคิดความเช่อื ในเรอ่ื งเหล่าน้ี คอื

-ความคดิ ความเชอื่ เกย่ี วกับวนั เกิด คนไทยมคี วามเช่ือเร่อื ง วนั เดอื น ป�เกิดและเวลา
ตกฟากจะมีอิทธพิ ลตอ่ การดำเนนิ ชีวติ ของคน

-ความเชือ่ เรื่องการตั้งชื่อ หลักเกณฑ์การต้ังช่ือโดยทั่วไปมักนำวัน เดือน ป�และเวลา
ตกฟากไปตงั้ ช่ือ นอกจากนยี้ ังนำไปให้พระภิกษุทมี่ ีความรู้เกยี่ วกับการผูกดวงชะตาและตั้งช่ือให้เพราะมี ความ
เชื่อว่าชื่อมีอทิ ธิพลต่อการดำเนินชีวิต ชื่อที่ดีไมม่ ลี ักษณะกาลกิณีจะทำให้มีชีวติ ที่ดี ในทางตรงกันขา้ มถ้าชื่อไม่
เป�นมงคลกับวัน เดือน ป�เกิด ก็จะทำใหช้ ีวิตมอี ุปสรรคหรือพบกับความไม่ดีอัปมงคล

-ความเชื่อเรอื่ งต้นไม้มงคล ประเทศไทยมีต้นไม้หลายชนดิ ทมี่ ชี ่ือและความหมายเป�น
มงคล คนไทยส่วนใหญจ่ ึงมีความเช่ือว่าถา้ นำมาปลูกไว้ในบริเวณบ้านเรือนของตนเองกจ็ ะก่อให้เกิด ความเป�น
สิรมิ งคลและความเจรญิ รุง่ เรอื ง

-ความเชือ่ เกีย่ วกับเรื่องของการทำนายทายทักและความเชื่ออื่น ๆ เช่น ห้ามใส่ชุดสี
ดำเยยี่ มคนป่วย เพราะสดี ำเปน� สที ค่ี นโบราณถอื ว่าเป�นสญั ลักษณข์ องความทุกข์โศก การใสช่ ดุ ดำไปเยย่ี มผู้ป่วย
นั้นเป�นการแช่งให้ผู้ป่วยตายเร็วขึ้น หรือจิ้งจกร้องทัก ห้ามออกจากบ้านเด็ดขาด โดยถ้าเสียงนั้นอยู่ด้านหลัง
หรอื ตรงศีรษะ ให้เลือ่ นการเดนิ ทางแต่หากเสียงร้องทักอยู่ด้านหน้าหรือซา้ ย ใหเ้ ดนิ ทางไดจ้ ะทำให้การเดินทาง
เป�นไปอยา่ งราบรื่นสะดวกสบาย เปน� ต้น (ณฏั ฐวฒุ ิ ทรัพยอ์ ปุ ถัมภ,์ 2558)

81

2. ภูมปิ ญ� ญาในการสรา้ งสรรคง์ าน

2.1 การสรา้ งสรรค์ผลงานจากภูมิป�ญญา
ลักษณะของภูมิป�ญญาภาคกลางนั้นจะมีเอกลักษณ์เฉพาะที่แสดงถึงวิถีการดำรงอยู่ของ

คนภาคกลางได้เป�นอย่างดี โดยภูมิป�ญญาและวัฒนธรรมประเพณีบางอย่างจะมีความใกล้เคียง คล้ายคลึงกับ
วฒั นธรรมประเพณีของภาคอนื่ ๆ ซงึ่ ณัฏฐวฒุ ิ ทรพั ยอ์ ปุ ถัมภ์ (2558) ไดอ้ ธิบายเก่ียวกับภูมิป�ญญาภาคกลางไว้
ในรายงานวิจัยเรื่อง ภูมิป�ญญาชาวบ้านสี่ภูมิภาค : วิถีชีวิตและกระบวนการเรียนรู้ของชาวบ้านไทย สามารถ
สรุปได้ 4 ดา้ น ดงั นี้

1. ภูมปิ �ญญาในการดำรงชพี ตามสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและสังคมวฒั นธรรม ได้แก่
ภูมิป�ญญาในวัฒนธรรมขา้ ว เช่น การสู่ขวัญขา้ ว ภูมิป�ญญาในการตั้งถ่ินฐานบ้านเรือนและชุมชน ภูมิป�ญญาใน
การปรบั ตัวและหลอมรวมร่วมกนั ระหวา่ งคนหลายชาติพนั ธ์ุ เช่น งานวันไหลในประเพณี สงกรานต์เปน� ต้น

2. ภูมิป�ญญาในการโต้ตอบ และการปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลง เช่น การนับถือ
พระพทุ ธศาสนาควบคกู่ ันไปกบั การนับถือผีตามความเช่ือดัง้ เดมิ เป�นตน้

3. ภูมิป�ญญาในด้านการประดิษฐ์และหัตถศิลป์ เช่น การประดิษฐ์สิ่งของจากส่วนต่าง ๆ
ของพืช เช่น ต้นกล้วย ต้นไผ่ ต้นจาก การประดิษฐ์เครื่องมือดักจับสัตว์การใช้ของพื้นบ้านเพื่อการทำมาหากิน
และเคร่อื งมือการทำการเกษตร เปน� ต้น

4. ภูมิป�ญญาในการแสวงหาทางเลือก และการผลิตแบบซ้ำ ๆ เช่น ภูมิป�ญญาทางด้าน
กระบวนการเรียนรู้และการปรับตัวของชุมชนในการทำนา ภูมิป�ญญาทางด้านการละเล่นพื้นบ้านแบบ
นาฏศิลป์ ลเิ ก ลำตดั เป�นตน้

ณัฏฐวุฒิ ทรัพย์อุปถัมภ์ (2558) กล่าวว่า ภูมิป�ญญาภาคกลางสามารถแสดงออกมาใน
ลักษณะของประเพณีที่สำคัญ ได้แก่ ประเพณี สู่ขวัญข้าว-ขวัญควาย ประเพณีตักบาตรน้ำผึ้ง ประเพณีตัก
บาตรดอกไม้ ประเพณีวิ่งควาย ประเพณี สงกรานต์ประเพณีบุญกลางบ้าน ประเพณีวันไหลและประเพณีกวน
ข้าวทิพยเ์ ป�นตน้ ส่วนภูมิปญ� ญา ท่ีเก่ยี วขอ้ งกบั การละเลน่ กม็ ีมากมาย เช่น ลเิ ก ลำตดั การแสดงโขน มอญซ่อน
ผ้า งูกินหาง การแข่ง ว่าวป�กเป้าและจุฬา เป�นต้น ซึ่งภูมิป�ญญาดังกล่าวแสดงให้เห็นความสามารถในการ
ปรับตัวและการส่งเสรมิ การเรียนรขู้ องผคู้ นในท้องถิน่

นอกจากนี้ยังมีภูมิป�ญญากบั ปจ� จัยในการดำรงชีวิตถือว่าเป�นภูมิป�ญญาที่ก่อให้เกิดความ
เจริญและเป�นพื้นฐานในการปรับตัวของมนุษย์อย่างต่อเนื่อง ซึ่งภูมิป�ญญาที่มนุษย์ปรับตัวให้เข้า กับความ
ต้องการขั้นพื้นฐานนั้นประกอบด้วย อาหาร ที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่มและยารักษาโรคล้วนแต่เป�นสิ่งที่มี
ความสำคัญและมคี วามจำเปน� ต่อการดำรงชีวิต ภูมิป�ญญากบั ป�จจัยในการดำรงชีวิตของมนุษย์ไว้ ดังน้ี

1. ภูมิป�ญญาด้านอาหารและเครื่องดื่ม ในภาคกลาง อาหารในภาคกลาง เช่น น้ำพริก
ปลาทูแกงเลียง ตม้ โคล้ง ตม้ ส้ม แกงสม้ ต้มยำ ผัดผัก แกงเผ็ดตา่ ง ๆ เปน� ต้น

2. ภูมิป�ญญาด้านการแต่งกาย สำหรับภาคกลางผ้าที่มีลักษณะเด่น คือ ผ้าทอหาดเสี้ยว
ผา้ ซน่ิ ตีนจก ผ้าทอลับแล ผ้าไหม มดั หม่ี ผา้ หม่ บา้ นไร่ เปน� ตน้

82

3. ภูมิป�ญญาด้านที่อยู่อาศัย สำหรับบ้านเรือนไทยในภาคกลางแบ่งได้เป�น 2 ลักษณะ
คือเรือนเครื่องผูก และเรือนเครื่องสับ เรือนเครื่องผูกเป�นเรือนที่ใช้วัสดุก่อสร้างที่มาจากธรรมชาติ เช่น ไม้ไผ่
ใบต้นจาก ต้นหญ้าคา ยึดโครงด้วยตอกหรือเส้นหวาย ซึ่งมีอายุใช้งานไม่มากนัก ส่วนเรือนเครื่องสับ จะสร้าง
ดว้ ยวสั ดไุ ม้เนอื้ แขง็ ยึดโครงดว้ ยการเขา้ เดือยบางสว่ น บางส่วนอาจยึดดว้ ยโลหะ โดยโครงสรา้ งและส่ิงแวดล้อม
ของการปลูกเรือนไทยภาคกลาง มดี งั นี้

-มกั เป�นชุมชนท่อี ยูร่ ิมน้ำและทรี่ าบ บา้ นมลี ักษณะใต้ถุนสงู เพ่ือป้องกนั น้ำทว่ ม
-หลังคาจั่วสูง ชายคายื่นยาว สำหรับลมพัดผ่าน อากาศถ่ายเทสะดวก จะช่วย
บรรเทาความร้อน ทำให้บา้ นเรือนมอี ากาศเย็นสบาย
-วสั ดุทใ่ี ชม้ ุงหลังคา มักจะใช้จากวสั ดทุ ่ีได้จากธรรมชาติ เช่น แผ่นไมใ้ บหญา้ คา ใบ
ตน้ จาก กระเบอื้ งดนิ เผา เพือ่ ปูองกันและบรรเทาความรอ้ น
-ลักษณะบา้ นจะอย่ใู นบรเิ วณพืน้ ที่เดียวกนั อยู่รวมกันเปน� ครอบครวั ใหญ่

ภาพประกอบ 24 ภาพแสดงเรอื นไทยในภาคกลาง
ทีม่ า : ณ สทั ธา อทุ ยานไทย. (2563). เรอื นภาคกลาง.
สบื ค้นจาก http://www.nasatta.com/th/attractions-sattatinthai/centralhouse/

4. ภูมปิ �ญญาด้านการแพทย์และสุขอนามัย ประวัติการแพทยแ์ ผนไทยพอสรุปเป�นลำดับ
ได้ ดังนี้ สมัยกรุงศรีอยุธยา การแพทย์แผนไทยเริ่มในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช โดยให้มี การรวบรวม
ตำรับยาขึ้นเป�นคร้ังแรก สมัยกรุงรัตนโกสนิ ทร์เริ่มตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬา
โลกมหาราช ทรงให้มีการรวบรวมและจารึกตำรายา ตำราการนวดตามศาลารายมีรูป�ษีดัดตนในบริเวณ วัด
โพธิ์หรือวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามวรวิหาร กรุงเทพมหานคร พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
ทรงมีพระบรมราชโองการให้ผู้มีความรู้เกี่ยวกับ เรื่องสรรพคุณยา ผู้ชำนาญเกี่ยวกับการรักษาและผูม้ ีตำรายา
เข้ามาถวายรายงานตวั โดยให้หมอหลวง เปน� ผูพ้ ิจารณาคัดเลอื กเพื่อทำหนา้ ท่ีในวังและแต่งตั้งเป�นแพทย์โอสถ
หลวง พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้มีการจัดตั้งโรงเรียนแพทย์แผน
โบราณแห่งแรกขน้ึ คอื โรงเรียนแพทยแ์ ผนโบราณวัดโพธ์ซิ ง่ึ ภูมิป�ญญาด้านสขุ อนามยั มแี นวทางทศี่ ึกษา

83

3 แนวทาง คือ ภูมิป�ญญาด้านเภสชั ภมู ปิ �ญญาดา้ นเวชกรรมไทย และภมู ปิ ญ� ญาดา้ นการนวดแผนโบราณ
การบำบัดโรคตามการแพทย์แผนไทยมักใช้วิธกี ารหลายวธิ ีเพอ่ื ใหผ้ ลรักษาท้งั ทางร่างกาย

และจิตใจ เชน่ การใช้ธรรมชาตบิ ำบดั กายภาพบำบัด จติ บำบัดและการใชย้ า ดังน้ี
1. การใช้สมุนไพร
2. การนวดและการบรหิ ารรา่ งกาย
3. การใชพ้ ิธกี รรมความเช่ือ

ความรู้ดังกล่าวจัดวา่ เป�นหลักในการปฏิบัติการวิเคราะห์และบำบัดรกั ษาโรคของคนไทย
ในแต่ละภูมิภาคซึ่งก่อให้เกิดคุณค่าทางภูมิป�ญญาที่มีความครอบคลุมองค์ความรู้อย่างครบถ้วนทั้งในการ
ป้องกัน การวินจิ ฉัยและบำบดั รกั ษา

3. แนวทางการศึกษาผลงานศิลปหัตถกรรมไทยภาคกลาง

ภาคกลางถอื ไดว้ า่ เป�นจุดศนู ย์กลางของประเทศไทยท่ีครอบคลุมพ้ืนท่รี าบลมุ่ แม่นำ้ เจ้าพระยา ซ่ึง
อยูก่ ่ึงกลางระหว่างภาคเหนือ ภาคอีสาน และภาคใต้ ส่วนใหญป่ ระกอบไปด้วยทร่ี าบซึ่งเกิดจากการท่ีแม่น้ำพัด
พาเอาเศษหิน เศษดิน กรวดทราย และตะกอนมาทับถมพอกพูนมานับเป�นเวลาล้าน ๆ ป� บริเวณที่ราบของ
ภาคนี้กินอาณาบริเวณตั้งแต่ทางใต้ของจังหวัดอุตรดิตถ์ลงไปจนจรดอ่าวไทย นับเป�นพื้นที่ราบที่มีขนาดกว้าง
ใหญ่กว่าภมู ิภาคอื่น ๆ ของประเทศ งานศิลปหัตถกรรมไทยพืน้ บ้านภาคกลางจงึ มคี วามสวยงาม โดดเด่น และ
มเี อกลกั ษณ์เฉพาะเหมือนเป�นท่รี วมศูนย์กลางความหลากหลายท่ีมีอตั ลักษณ์เฉพาะ ซึง่ เป�นไปตามสภาพความ
เป�นอยู่ วถิ ีชีวติ และวัฒนธรรมประเพณขี องคนในแต่ละทอ้ งถิน่

3.1 แนวทางการศึกษาผลงานศิลปหัตถกรรมไทยภาคกลาง
การศึกษาผลงานศิลปหัตถกรรมไทยภาคกลางนั้นไม่ได้แตกต่างจากภาคอื่น นักศึกษา

ควรรู้จักวัสดุพื้นบ้านของภาคกลางและกระบวนการผลิตงานหตั ถกรรมท่ีสำคญั และควรให้ความสำคญั กบั ภูมิ
ป�ญญาของช่างในการผลิต การสร้างความเข้าใจในเรื่องราว ทัศนคติ ความเชื่อและบริบทของงาน
ศิลปหัตถกรรมไทยภาคกลางด้วย

3.2 ตวั อย่างการศกึ ษาผลงานศิลปหัตถกรรมไทยภาคกลาง
เมื่อนิสิตได้เรียนรู้แนวทางการศึกษาผลงานศิลปหัตถกรรมไทยภาคกลางแล้ว จำเป�นที่

จะต้องศึกษาวิเคราะห์ผลงานศิลปหัตถกรรมไทยภาคกลาง เพื่อทำให้เกิดการตระหนักรู้และสร้างความเข้าใจ
มากยิ่งขึ้น ซึ่งตัวอย่างงานหัตถกรรมพื้นบ้านภาคกลางที่ควรค่าแก่การศึกษาจากการรวบรวมข้อมูลช่างฝ�มือ
งานหัตถกรรมในหนังสือ ทะเบียนช่างหัตถศิลป์ไทย ของศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ หรือ ศ.ศ.ป.
ศูนย์ส่งเสรมิ ศลิ ปาชพี ระหวา่ งประเทศ (องคก์ ารมหาชน) (2555) ไดแ้ ก่

84

3.2.1 หมอ้ น้ําลายวจิ ติ ร จ.นนทบรุ ี

ภาพประกอบ 25 ภาพแสดงหมอ้ นา้ํ ลายวจิ ติ ร จ.นนทบุรี
ท่มี า : ศนู ยส์ ่งเสริมศลิ ปาชีพระหวา่ งประเทศ (องคก์ ารมหาชน). (2553). Handicraft.
สืบคน้ จาก https://www.sacict.or.th/uploads/items/attachments/1a3d6a5affbc4a3a84214366730c4a80/

_18bedffb584d9742893d6e34471251fa.pdf

-การศึกษาทางด้านรูปธรรม (Tangible) ได้แก่ เส้นสาย ลวดลาย รูปลักษณ์ รูปทรง สีสัน ตลอดจน
พ้นื ผิวและวสั ดุ

(ใหน้ ิสิตเขยี นอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านนามธรรม (Intangible) ไดแ้ ก่ ความซาบซ้ึงในเร่ืองราว คุณค่าและความหมาย จิต
วญิ ญาณท่แี ฝงอยู่ในภูมิป�ญญา ปรัชญาแนวคดิ

(ใหน้ ิสิตเขียนอธบิ าย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านวัสดุ กระบวนวิธีการผลิต ได้แก่ ประเภทของวัตถุดิบในการผลิต ลักษณะการใช้
สอย และประเภทของกรรมวธิ ใี นการผลติ

(ให้นิสติ เขยี นอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-คณุ ค่าทเี่ ปน� ท่ตี อ้ งการในงานหัตถกรรม ได้แก่ คุณค่าทางความงามที่ได้รบั ด้านจติ ใจ คณุ ค่าจากงานที่
ทำดว้ ยมือใชค้ วามชำนาญเป�นพเิ ศษ และคณุ คา่ จากการคิดคน้ นวัตกรรมใหม่ ๆ

(ให้นสิ ิตเขยี นอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

85

3.2.2 โถเบญจรงค์ จ.อยธุ ยา

ภาพประกอบ 26 ภาพแสดงโถเบญจรงค์ จ.อยุธยา
ที่มา : ศนู ย์ส่งเสริมศลิ ปาชพี ระหวา่ งประเทศ (องค์การมหาชน). (2553). Handicraft.

สืบค้นจาก https://www.sac.or.th/databases/thaiarts/artwork/264

-การศึกษาทางด้านรูปธรรม (Tangible) ได้แก่ เส้นสาย ลวดลาย รูปลักษณ์ รูปทรง สีสัน ตลอดจน
พนื้ ผวิ และวัสดุ

(ใหน้ สิ ิตเขียนอธบิ าย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านนามธรรม (Intangible) ไดแ้ ก่ ความซาบซง้ึ ในเร่ืองราว คณุ คา่ และความหมาย จิต
วิญญาณท่แี ฝงอยู่ในภมู ิปญ� ญา ปรชั ญาแนวคิด

(ใหน้ ิสิตเขียนอธบิ าย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านวัสดุ กระบวนวิธีการผลิต ได้แก่ ประเภทของวัตถุดิบในการผลิต ลักษณะการใช้
สอย และประเภทของกรรมวิธใี นการผลิต

(ใหน้ สิ ติ เขียนอธบิ าย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-คณุ คา่ ที่เป�นทีต่ ้องการในงานหัตถกรรม ไดแ้ ก่ คุณคา่ ทางความงามที่ไดร้ ับด้านจิตใจ คุณคา่ จากงานท่ี
ทำด้วยมอื ใชค้ วามชำนาญเปน� พิเศษ และคุณคา่ จากการคิดคน้ นวตั กรรมใหม่ ๆ

(ให้นสิ ติ เขียนอธบิ าย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

86

3.2.3 ผา้ ซ่นิ ตนี จก จ.ราชบุรี

ภาพประกอบ 27 ภาพแสดงผ้าซนิ่ ตีนจก จ.ราชบรุ ี
ทีม่ า : ศูนยส์ ืบทอดศลิ ปะผ้าตีนจกราชบุร.ี (2553). ข้อมลู ทั่วไปผ้าซน่ิ ตีนจก จ.ราชบรุ .ี

สบื ค้นจาก https://welovetogo.com/ratchaburi-top15-check-point/

-การศึกษาทางด้านรูปธรรม (Tangible) ได้แก่ เส้นสาย ลวดลาย รูปลักษณ์ รูปทรง สีสัน ตลอดจน
พื้นผิวและวัสดุ

(ใหน้ สิ ติ เขยี นอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านนามธรรม (Intangible) ได้แก่ ความซาบซึง้ ในเร่ืองราว คุณค่าและความหมาย จิต
วญิ ญาณทีแ่ ฝงอย่ใู นภมู ิป�ญญา ปรชั ญาแนวคิด

(ใหน้ สิ ิตเขียนอธบิ าย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านวัสดุ กระบวนวิธีการผลิต ได้แก่ ประเภทของวัตถุดิบในการผลิต ลักษณะการใช้
สอย และประเภทของกรรมวิธีในการผลติ

(ให้นสิ ิตเขียนอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-คณุ ค่าท่ีเป�นท่ีตอ้ งการในงานหัตถกรรม ไดแ้ ก่ คุณคา่ ทางความงามที่ได้รับด้านจติ ใจ คณุ คา่ จากงานท่ี
ทำด้วยมอื ใช้ความชำนาญเปน� พิเศษ และคณุ ค่าจากการคดิ คน้ นวตั กรรมใหม่ ๆ

(ใหน้ สิ ติ เขยี นอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

87

3.2.4 งานบาตรโบราณ (ตีมือแปดตะเขบ็ ) จ.กรุงเทพมหานคร

ภาพประกอบ 28 ภาพแสดงบาตรโบราณ (ตมี อื แปดตะเขบ็ ) จ.กรงุ เทพมหานคร
ท่มี า : ศูนยส์ ่งเสริมศลิ ปาชพี ระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน). (2553). Handicraft.

สบื ค้นจาก https://www.sacict.or.th/th/detail/2021-02-09-10-56-47

-การศึกษาทางด้านรูปธรรม (Tangible) ได้แก่ เส้นสาย ลวดลาย รูปลักษณ์ รูปทรง สีสัน ตลอดจน
พื้นผิวและวัสดุ

(ให้นิสิตเขยี นอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศกึ ษาทางด้านนามธรรม (Intangible) ไดแ้ ก่ ความซาบซง้ึ ในเรื่องราว คุณค่าและความหมาย จิต
วิญญาณทีแ่ ฝงอยูใ่ นภมู ิปญ� ญา ปรชั ญาแนวคดิ

(ใหน้ สิ ติ เขียนอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านวัสดุ กระบวนวิธีการผลิต ได้แก่ ประเภทของวัตถุดิบในการผลิต ลักษณะการใช้
สอย และประเภทของกรรมวธิ ใี นการผลติ

(ใหน้ ิสติ เขียนอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-คณุ คา่ ท่ีเป�นที่ตอ้ งการในงานหตั ถกรรม ไดแ้ ก่ คุณค่าทางความงามที่ได้รบั ด้านจติ ใจ คุณคา่ จากงานท่ี
ทำด้วยมือใชค้ วามชำนาญเปน� พิเศษ และคุณค่าจากการคดิ คน้ นวตั กรรมใหม่ ๆ

(ให้นิสติ เขยี นอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

88

3.2.5 งานหัตถกรรมหัวโขน จ.อ่างทอง

ภาพประกอบ 29 งานหตั ถกรรมหัวโขน จ.อ่างทอง
ทม่ี า : ศนู ย์ส่งเสริมศลิ ปาชีพระหว่างประเทศ (องคก์ ารมหาชน). (2553). Handicraft.

สบื คน้ จาก https://www.sacict.or.th/th/detail/2021-01-07-15-09-18

-การศึกษาทางด้านรูปธรรม (Tangible) ได้แก่ เส้นสาย ลวดลาย รูปลักษณ์ รูปทรง สีสัน ตลอดจน
พื้นผิวและวสั ดุ

(ให้นิสิตเขยี นอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านนามธรรม (Intangible) ได้แก่ ความซาบซ้งึ ในเรื่องราว คุณคา่ และความหมาย จิต
วิญญาณที่แฝงอยใู่ นภมู ิป�ญญา ปรัชญาแนวคดิ

(ใหน้ สิ ิตเขียนอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านวัสดุ กระบวนวิธีการผลิต ได้แก่ ประเภทของวัตถุดิบในการผลิต ลักษณะการใช้
สอย และประเภทของกรรมวิธีในการผลิต

(ใหน้ ิสติ เขียนอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-คุณคา่ ทเี่ ปน� ทีต่ ้องการในงานหตั ถกรรม ไดแ้ ก่ คณุ คา่ ทางความงามที่ไดร้ บั ด้านจติ ใจ คณุ คา่ จากงานท่ี
ทำดว้ ยมอื ใชค้ วามชำนาญเป�นพเิ ศษ และคุณค่าจากการคดิ ค้นนวตั กรรมใหม่ ๆ

(ใหน้ สิ ิตเขยี นอธบิ าย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

89

4. สรปุ

ภาคกลางเป�นศูนย์กลางและเป�นศูนย์รวมอำนาจรัฐ เศรษฐกิจ คมนาคมและศาสนา ยัง
ประกอบด้วยกลุ่มชนหลากหลายชาติพันธุ์ ได้แก่ ลาว เขมร มอญ มาเลย์ ภาคกลางมีลักษณะภูมิศาสตร์ท่ี
สำคัญ คือ เป�นพื้นที่ลุ่มน้ำขนาดใหญ่ มีแม่น้ำเจ้าพระยาเป�นที่รวมของแม่น้ำทุกสาย ทำให้เกิดเป�นพื้นที่ชุ่มน้ำ
ขนาดใหญ่ มีความชุ่มชื้นเหมาะสมแก่การทำการเกษตรกรรม รวมไปถึงการตั้งบ้านเรือนขนาดใหญ่ การ
เดินทางไปมาหาสู่ทำได้ง่ายและสะดวก จึงทำให้มีคนหลากหลายชาติพันธ์ุและภาษาเข้ามาตั้งหลักแหล่งทำมา
หากินและมีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมซึ่งกันและกัน สามารถแบ่งพื้นท่ีออกได้ ดังน้ี พื้นที่ลุ่มเขตภาคกลาง
พื้นท่ภี าคกลางตอนบน พืน้ ที่ภาคกลางด้านตะวันตก และพนื้ ท่ีภาคกลางด้านตะวนั ออก

ทรัพยากรในภาคกลางที่มีลักษณะภูมิประเทศเป�นที่ราบลุ่มแม่น้ำดินตะกอนสะสม ทรัพยากร
สว่ นใหญ่จึงมีความอุดมสมบูรณ์มากท่ีสุดแห่งหน่งึ ในเขตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทรพั ยากรดิน น้ำ แร่ธาตุ ป่า
ไม้ อุทยานแหง่ ชาติ เขตรักษาพนั ธ์ุสตั วป์ า่ และทรพั ยากรสตั ว์ป่าและประมง

ด้านสังคมพื้นที่ส่วนใหญ่ในภาคกลางเป�นที่ราบลุ่มและเป�นแหล่งผลิตการเกษตรที่สำคัญของ
ประเทศ จะมีบางพื้นที่ที่เป�นภาคอุตสาหกรรมและทำการประมงที่ตอ้ งอาศัยแรงงานต่างด้าว ทำให้โครงสร้าง
ทางสังคมมีความหลากหลายของประชากรมากขึ้น ด้านวัฒนธรรมที่สำคัญและโดดเด่นในพื้นที่ภาคกลางมี
แหล่งมรดกทางวัฒนธรรมที่สำคัญของประเทศมากมายที่ได้สืบทอดเอกลักษณ์ศิลปวัฒนธรรมเอาไว้ เช่น
โบราณสถาน วัด วัง แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญของไทยที่ยังเป�นแหล่งศิลปะ หัตถกรรม
สถาป�ตยกรรมซึ่งนำไปสู่การประกอบธุรกิจของ SMEs จำนวนมากในป�จจุบัน ทั้งในด้านการท่องเที่ยว การ
บริการต่าง ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง การทำของฝากของที่ระลึกแสดงถึงการที่ผู้ประกอบการได้นำทุนทางวัฒนธรรมใน
การใช้ชีวิตมาต่อยอดในด้านการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เชิงนิเวศน์ และเชิงสุขภาพ และเป�นโอกาสในการที่
ชมุ ชนจะไดน้ ำเสนอสินคา้ เชิงวัฒนธรรมทั้งในดา้ นศิลปะหรือวิถีชีวติ และรปู แบบการใหบ้ รกิ ารท่เี ป�นวัฒนธรรม
ดัง้ เดิมของพนื้ ทดี่ ้วย

วัฒนธรรมทอ้ งถ่ินภาคกลางสว่ นใหญ่เปน� วัฒนธรรมท่เี ก่ยี วเนื่องกบั พระพุทธศาสนา แตม่ ีลักษณะ
ที่แตกต่างกันออกไปบ้าง เนื่องจากสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ สังคม และค่านิยมในท้องถิ่นที่แตกต่าง
กัน ลักษณะวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีโดยรวมมีความเกี่ยวเนื่องกับพิธีกรรมใน
พระพุทธศาสนา และพิธีกรรมเกี่ยวกับความเชื่อในการดำเนินชีวิต ซึ่งถือว่าเป�นเอกลักษณ์ที่สำคัญของ
วัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมของภาคกลางมีความเกี่ยวข้องกับด้านศาสนาและลัทธิความเชื่อ การดำรงชีวิตทาง
การเกษตร ยาและการรกั ษาพ้นื บา้ น

คตคิ วามเช่อื สงั คมไทยภาคกลางส่วนใหญ่มคี วามเชื่อในทางพทุ ธศาสนา เชน่ ความคิดความเชื่อ
เกย่ี วกับวันเกิด ความเช่อื เร่อื งการตงั้ ช่ือ ความเช่อื เร่อื งตน้ ไม้มงคล ความเชื่อเก่ียวกบั เร่ืองของการทำนายทาย
ทกั และความเช่ืออื่น ๆ อีกมากมาย

ภูมิป�ญญาภาคกลางสามารถแสดงออกมาในลักษณะของประเพณที ี่สำคัญต่าง ๆ ส่วนภูมิปญ� ญา
ที่เกี่ยวข้องกบั การละเล่นก็มีมากมาย ซึ่งภูมิปญ� ญาดังกลา่ วน้ีแสดงให้เห็นความสามารถในการปรับตัวและการ
ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้คนในท้องถิ่น ภูมิป�ญญากับป�จจัยในการดำรงชีวิต เช่น ด้านอาหาร ที่อยู่อาศัย

90

เครื่องนุ่งห่มและยารักษาโรคล้วน ภูมิป�ญญาที่สำคัญของภาคกลางได้แก่ ด้านอาหารและเครื่องดื่ม ด้านการ
แต่งกาย ด้านที่อยอู่ าศยั และด้านการแพทย์และสขุ อนามยั

แนวทางการศึกษาผลงานศิลปหัตถกรรมไทยภาคกลาง ศิลปหัตถกรรมไทยพื้นบ้านภาคกลางมี
ความสวยงาม โดดเด่น และมีเอกลักษณ์เฉพาะเสมือนเป�นที่รวมศูนย์กลางความหลากหลายที่มีอัตลักษณ์
เฉพาะ ซึ่งเป�นไปตามสภาพความเป�นอยู่ วิถีชีวิต และวัฒนธรรมประเพณีของคนในแต่ละท้องถิ่น เนื่องจาก
ภาคกลางถอื ได้วา่ เป�นจุดศนู ย์กลางของประเทศไทย

5. คำถามทา้ ยบท

1. ใหน้ สิ ิตทำขอ้ 3.2 ตวั อยา่ งการศึกษาผลงานศิลปหัตถกรรมไทยภาคกลางให้สมบรู ณ์
2. ให้นสิ ติ อธบิ ายถงึ ตำแหนง่ ทต่ี ั้งทางภมู ศิ าสตร์ของภาคกลางวา่ มีความเช่อื มโยงและสง่ ผลให้เกิด
ขอ้ ดอี ยา่ งไรเกี่ยวกบั ดา้ นตา่ ง ๆ บา้ ง ตามความเข้าใจของตนเอง
3. ให้นิสิตเลือกผลิตภัณฑ์ศิลปหัตถกรรมไทยพื้นบ้านภาคกลางที่มาจากภูมิป�ญญาท้องถิ่นที่
ประทับใจมากท่ีสดุ มา 1 ช้ิน พร้อมอธิบายเหตุผลและยกตัวอยา่ ง
4. ใหน้ ิสิตเลอื กผลงานศลิ ปหตั ถกรรมไทยภาคกลางท่สี ะท้อนถึงเอกลักษณ์และภูมิป�ญญาท้องถิ่น
ในด้านตา่ ง ๆ มา 3 ผลติ ภณั ฑ์ แลว้ ทำการศึกษาวิเคราะหผ์ ลงานและอธิบายข้ันตอนการสร้างสรรค์ผลงานจาก
ภูมิป�ญญาท้องถิน่ ตามท่ไี ด้เรียน

6. แบบฝ�กหัดปฏิบัตงิ านออกแบบท้ายบท

1. ใหน้ ิสิตจัดทำเล่มรายงานรวบรวมผลงานหัตถกรรมพื้นบ้านของภาคกลางโดยแบ่งภาพผลงาน
ตามประเภทของวัสดุและกรรมวธิ ีการผลติ ดังน้ี

1. การปน� และการหลอ่
2. การทอและเย็บป�กถักร้อย
3. การแกะสลกั
4. การกอ่ สร้าง
5. การเขียนหรือวาด
6. การจักสาน
7. การทำเคร่ืองกระดาษ
8. กรรมวิธีอน่ื ๆ
โดยมีรูปแบบเล่มรายงานหน้ากระดาษ A 4 / หน้าละ 1 ผลงาน ให้นิสิตอธิบายภาพงาน
หัตถกรรมที่หามาได้ ในด้านต่างๆ ดังนี้ ชื่องาน / แหล่งผลิต / วัสดุ / กรรมวิธีการผลิต / ลักษณะเฉพาะ /
คุณค่าของผลงาน
2. ให้นิสิตออกแบบผลิตภัณฑ์ 1 ชิ้น โดยได้รับแรงบันดาลใจมาจากผลงานหัตถกรรมพื้นบ้าน
ของภาคกลางจำนวน 3 ชน้ิ ตามทไ่ี ดท้ ำรายงานเมอื่ สปั ดาห์ทีแ่ ล้ว

91

92

บทท่ี 5
ศลิ ปหัตถกรรมไทยภาคตะวนั ออก

แผนการสอนครั้งท่ี 9 - 10

หวั ขอ้ ศลิ ปหตั ถกรรมของไทยภาคตะวนั ออก

ผ้สู อน อาจารย์ ดร.พรนารี ชยั ดเิ รก
เวลา 480 นาที

วตั ถปุ ระสงค์
ครั้งที่ 9
1. เพอื่ ใหน้ ิสติ เขา้ ใจความหมาย ความสำคัญ และประเภทของงานศิลปหตั ถกรรมของไทย
ภาคตะวนั ออก

2. เพื่อใหน้ สิ ิตเขา้ ใจและเรยี นร้ผู ลงานศลิ ปหตั ถกรรมไทยภาคตะวนั ออก
ครัง้ ที่ 10
1. เพือ่ ให้นสิ ติ เข้าใจตัวอย่างผลงานศิลปหัตถกรรมไทยภาคตะวนั ออก
2. เพอ่ื ให้นิสติ เรยี นรูจ้ ากผลงานการออกแบบผลิตภัณฑ์ศลิ ปหัตถกรรมไทยภาคตะวันออก

เน้อื หา
ครัง้ ท่ี 9
1. กำเนิดงานหัตถกรรมไทยภาคตะวันออก
1.1 ป�จจัยทเ่ี กย่ี วขอ้ งในการผลิตผลงานศิลปหตั ถกรรมไทยภาคตะวนั ออก

2. ภมู ปิ �ญญาในการสรา้ งสรรคง์ าน

2.1 การสร้างสรรค์ผลงานจากภมู ปิ �ญญา
ครง้ั ที่ 10
1. แนวทางการศึกษาผลงานศิลปหัตถกรรมไทยภาคตะวันออก

1.1 แนวทางการศกึ ษาผลงานศลิ ปหตั ถกรรมไทยภาคตะวันออก
1.2 ตวั อย่างการศึกษาผลงานการออกแบบผลติ ภณั ฑ์ศิลปหัตถกรรมไทยภาคตะวันออก

2. สรปุ ศิลปหตั ถกรรมไทยภาคตะวนั ออก

การจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ 15 นาที
ครั้งท่ี 9 60 นาที
1. อธบิ ายวัตถุประสงค์และเน้ือหาโดยรวม 150 นาที
15 นาที
2. บรรยายเนอ้ื หาและหวั ข้อต่าง ๆ

3. ศึกษาเรียนรู้ผลงานศิลปหัตถกรรมไทยภาคตะวันออก

4. นสิ ิตซกั ถามปรึกษาเน้ือหาการเรยี น

94

ครง้ั ท่ี 10 15 นาที
1. อธบิ ายวตั ถปุ ระสงค์และเน้ือหาโดยรวม 60 นาที
150 นาที
2. บรรยายเนอ้ื หาและหวั ข้อต่าง ๆ 15 นาที

3. ศกึ ษาเรียนรผู้ ลงานการออกแบบผลิตภัณฑภ์ าคตะวันออก
4. นสิ ติ ซกั ถามปรึกษาเน้ือหาการเรยี น

ส่อื การสอน
คร้ังที่ 9
1. เอกสารประกอบการสอนรายวชิ า การออกแบบศลิ ปหัตถกรรม
2. ไฟล์นำเสนอภาพนิง่ ผา่ นโปรแกรมคอมพิวเตอร์
3. หนงั สือ ตำรา วารสารตา่ ง ๆ ท้ังในประเทศและต่างประเทศ ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับการออกแบบ
ศลิ ปหตั ถกรรมไทย
4. ตวั อยา่ งผลิตภณั ฑ์ ผลงานหัตถกรรมสำหรบั การเรียนการสอนท่ีเกีย่ วขอ้ ง
(ตามความเหมาะสมของเนอ้ื หาการเรยี น)

ครัง้ ที่ 10
1. เอกสารประกอบการสอนรายวชิ า การออกแบบศิลปหัตถกรรม
2. ไฟล์นำเสนอภาพนิง่ ผ่านโปรแกรมคอมพวิ เตอร์
3. หนงั สอื ตำรา วารสารต่าง ๆ ทั้งในประเทศและตา่ งประเทศ ทเี่ กย่ี วข้องกบั การออกแบบ

ศลิ ปหตั ถกรรมไทย
4. ตวั อยา่ งผลิตภณั ฑ์ ผลงานหตั ถกรรมสำหรับการเรยี นการสอนที่เกยี่ วขอ้ ง

(ตามความเหมาะสมของเนอื้ หาการเรยี น)

การประเมนิ ผล
คร้งั ท่ี 9
1. สังเกตจากพฤติกรรมของผู้เรียน

2. ประเมนิ ผลจากกจิ กรรมในการชั้นเรียน

3. ประเมินผลจากคำถามท้ายบทที่ 5
4. ประเมนิ ผลจากแบบฝ�กหดั ปฏบิ ตั ิงานออกแบบทา้ ยบท
ครัง้ ที่ 10
1. สังเกตจากพฤติกรรมของผู้เรียน
2. ประเมนิ ผลจากกิจกรรมในการชนั้ เรียน

3. ประเมินผลจากคำถามทา้ ยบทที่ 5

4. ประเมนิ ผลจากแบบฝ�กหดั ปฏบิ ตั ิงานออกแบบท้ายบท

95

หนังสืออ้างองิ
สำนักบรหิ ารยทุ ธศาสตร์กลมุ่ จังหวัดภาคตะวันออก. (2561). แผนพัฒนากล่มุ จังหวัดภาคตะวนั ออก(ชลบรุ ี
ระยอง จันทบรุ ี ตราด) พ.ศ.2561-พ.ศ.2564. สบื คน้ จาก
http://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTER3/DRAWER080/GENERAL/DATA0000
/00000023.PDF
บรู พาอีเวนท.์ (2012). ประเพณีภาคตะวนั ออก หนึ่งใน ประเพณี ของประเทศไทยทน่ี า่ สนใจและดัง ไกลไป
ท่วั โลก. สืบค้นจาก https://buraphaevent.com/2021/02/13
สำนักงานวฒั นธรรมจังหวดั จันทบรุ ี. (2561). ความเชอ่ื ท้องถน่ิ ของจันทบุรี. สืบคน้ จาก
https://www.mculture.go.th/chanthaburi/ewt_news.php?
สุชาติ เถาทอง. (2543). การสำรวจและศึกษาแหล่งข้อมูลพืน้ ฐานทางศิลปวัฒนธรรมและภูมิป�ญญาพืน้ ถ่นิ
ในภาคตะวันออก (ศลิ ปกรรม-ศิลปหตั ถกรรม). สืบค้นจาก
https://www.mculture.go.th/chanthaburi/ewt_news.php?

96

บทที่ 5
ศลิ ปหัตถกรรมไทยภาคตะวันออก

1. กำเนิดงานหัตถกรรมไทยภาคตะวนั ออก

1.1 ป�จจัยทเี่ กี่ยวข้องในการผลติ ผลงานศิลปหตั ถกรรมไทยภาคตะวันออก ประกอบด้วยดา้ น
ต่าง ๆ ดงั นี้

-การศกึ ษาดา้ นประวตั ิศาสตร์ท้องถ่ิน
ภาคตะวันออกนนั้ มีความโดดเดน่ ในด้านประวัติศาสตร์ทีเ่ ป�นทรี่ วมของชนหลายเช้ือชาติ
เผ่าพันธุ์ คือ นอกจะมีกลุ่มใหญ่ที่เปน� คนไทยมาแต่เดิมแล้ว ยังเป�นถ่ินที่อยู่ของคนหลายเชือ้ ชาติ เช่น ชาวชอง
ซึ่งเป�นชนเผ่าตระกูลมอญ-เขมรที่อยู่ในเขตป่าเขา ใช้ชีวิตตามธรรมชาติ ประดิษฐ์เครื่องมือเครื่องใช้ที่ทำจาก
วัสดุในท้องถิน่ เช่น เครื่องจักสาน มีกระบุง ตะกร้า และของป่าเอามาแลกเปล่ียนเสื้อผ้า และอาหารกับคนใน
เมอื ง สว่ นชาวญวนอพยพเข้ามาต้ังถิ่นฐานสมยั ใดไม่ปรากฏชัดเจน เปน� ญวนทีน่ บั ถือศาสนาคริสต์ ชาวจีนเป�น
กลุ่มที่มีจำนวนมากที่สุดมีบทบาทด้านการค้า เริ่มจากการค้าทางเรือสำเภามาตั้งแต่ในอดีต ชาวไทยมุสลิม
อพยพเขา้ มาต้ังถ่นิ ฐาน ในรชั สมยั พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจา้ อยู่หวั อันสบื เน่อื งมาจากป�ญหาการยึดครอง
อินโดจีนของฝรั่งเศส กลุ่มชนดังกล่าวมีวิถีชีวิตประสมประสานกับคนไทยพื้นถิ่น สื่อสารกันด้วยภาษา
วัฒนธรรม และความเชือ่ ไปในแนวเดยี วกนั ผสมกลมกลืน ไม่มีป�ญหาขัดแย้งกันแต่อย่างใด ใช้ภาษาไทยอย่าง
เดียวกนั สำเนยี งไทยภาคกลาง แต่จะมีเสียงเพีย้ นไปบา้ ง ประชากรสว่ นใหญ่นบั ถอื พุทธศาสนา
พื้นที่ของภาคตะวันออกมีขนาดเล็กกว่าภาคอื่น เดิมที่ภาคนี้เรียกรวมกับภาคกลาง แต่
เนือ่ งจากลักษณะภูมปิ ระเทศซึง่ ต่างไปจากภาคกลาง คอื ผลติ ผลและภมู อิ ากาศคล้ายคลึงกับภาคใต้ มีลักษณะ
เดน่ เฉพาะ อาชีพในภาคน้ีสว่ นใหญ่เป�นพชื สวนพชื ไร่ การประมง พชื สวนท่สี ำคัญได้แก่ เงาะ สว่ นพืชไร่ มี ออ้ ย
มนั สำปะหลัง และสับปะรด
การประมงทำกนั ตามชายฝ�งโดยทว่ั ไป และมกี ารเลีย้ งกุ้งกนั ในบางจังหวัด สว่ นการทำนา
มีในจงั หวดั ฉะเชิงเทราและปราจีนบุรี นอกจากอาชีพดงั กล่าว ในจงั หวดั จันทบุรปี �จจุบนั แม้วา่ จำนวนพลอยดิบ
จะลดลงไปมาก แต่ก็ยังเป�นศูนย์กลางของการเจียระไนพลอยที่สำคัญโดยการนำเอาพลอยต่างประเทศเข้ามา
เจยี ระไน
ด้านเศรษฐกิจในภาคนี้เศรษฐกิจก้าวหน้าไปอย่างมาก เพราะได้มีการสร้างท่าเรือน้ำลึก
ขึ้นที่แหลมฉบัง ซึ่งขณะนี้มีโรงงานกลั่นน้ำมันขนาดใหญ่อยู่แล้ว พร้อมกันนั้นยังมีนิคมอุตสาหกรรม สำหรับ
ผลิตสินค้าออกยังต่างประเทศ และที่บรเิ วณมาบตาพุด จังหวัดระยอง ได้เน้นด้านอุตสาหกรรมเปโตรเคมี โดย
การนำเอากา๊ ซธรรมชาติทพี่ บในอา่ วไทย มาแปรสภาพเปน� สารท่ีใช้ในการทำพลาสติก ทำวัสดพุ วี ซี ี
ชายฝ�งทะเลด้านนี้มีสถานที่ท่องเท่ียวและหาดทราย ซึ่งอยู่ใกล้กรุงเทพฯ จึงเป�นแหล่งที่
ผู้คนทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ นิยมมาพกั ผ่อนทอ่ งเท่ียว โดยเฉพาะทพ่ี ทั ยา จงั หวัดชลบรุ ี
-สภาพภมู ศิ าสตร์

97

ภาคตะวนั ออกเดิมถือเป�นส่วนหนง่ึ ของภาคกลาง อยู่ตดิ ชายฝ�งอา่ วไทยดา้ นตะวันออกมี
ทิศเหนือจรดกับภาคกลางเเละภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทิศตะวันออกจรดราชอาณาจักรกัมพูชา ทิศใต้จรด
อา่ วไทย ทศิ ตะวนั ตกจรดอ่าวไทย ภาคตะวนั ออกประกอบไปดว้ ย 7 จังหวดั ไดแ้ ก่ จนั ทบุรี ฉะเชงิ เทรา ชลบุรี
ตราด ปราจีนบุรี สระแกว้ และระยอง มีพ้นื ทปี่ ระมาณ 34,380 ตารางกิโลเมตร

ภาคตะวันออก มีลักษณะภูมิประเทศเป�นที่ราบสลับภูเขาลูกเตี้ย ๆ บริเวณชายฝ�งทะเล
ตะวันออกมีเทือกเขาจันทบุรีทอดตัวไปทางตะวันตกจนจดกับเทือกเขาพนมดงรัก ซึ่งทอดยาวจากเหนือถึงใต้
เป�นเส้นแบ่งอาณาเขต ระหว่างไทยกับประเทศกัมพูชาประชาธิปไตย มีแม่น้ำสายสำคัญ ได้แก่ แม่น้ำจันทบุรี
แม่น้ำตราด แม่น้ำระยอง และแม่น้ำประแสร์ ซึ่งไหลลงสู่ทะเลอ่าวไทย ชายฝ�งทะเลที่เรียบยาว โค้งเว้า ท้อง
ทะเลตะวันออกเต็มไปด้วยกลุ่มเกาะน้อยใหญ่หลายแห่งที่สำคัญ ได้แก่ เกาะช้าง เกาะหมาก เกาะกูด ใน
จังหวัดตราด เกาะเสม็ด เกาะมัน จังหวัดระยอง เกาะล้าน เกาะสีชัง ในจังหวัดชลบุรี ส่วนบริเวณปากแม่น้ำ
เปน� พนื้ ที่ป่าชายเลนท่ีอดุ มสมบูรณ์ ซ่งึ เกดิ จากการทับถมของตะกอนโคลนตมท่ีแม่น้ำสายตา่ ง ๆ พดั พามา เป�น
บรเิ วณที่มีความสำคญั ต่อระบบนเิ วศของสงิ่ มีชีวิตเลก็ ๆ ในภมู ิภาคตะวนั ออก

ภาพประกอบ 30 ภาพแสดงสภาพภูมศิ าสตรภ์ าคตะวันออก
ที่มา : ภูมศิ าสตร์ในประเทศไทย. (2553). ภาคตะวนั ออก
สืบคน้ จาก https://sites.google.com/site/geographicinthailand/home/phakh-tawan-ook

ลักษณะภูมิอากาศของภาคตะวันออก ลักษณะภูมิอากาศของภาคตะวันออกคล้ายคลึง
กบั ภาคใต้ คอื ทางตอนบนของภาคจากปราจีนบรุ ี สระแกว้ ชลบุรี ระยอง ฉะเชงิ เทราจะมลี ักษณะอากาศแบบ
สะวันนา ส่วนทางตอนล่าง คือ จันทบุรีและตราด จะมีลักษณะอากาศแบบร้อนชื้นแบบมรสุม คือ มีฝนตกชุก
อากาศรอ้ นชน้ื จงั หวดั ทีม่ ปี รมิ าณฝนมากที่สดุ คอื ตราด และจังหวัดท่ีมฝี นตกน้อยทส่ี ุด คอื ชลบรุ ี

98

-ทรัพยากรธรรมชาติของภาคตะวันออก
สำนกั บริหารยุทธศาสตร์กลมุ่ จังหวัดภาคตะวันออก (2561) อ้างวา่ พืน้ ท่ีกลุ่มจังหวดั ภาค
ตะวันออกมีทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่หลากหลาย มีเอกลักษณ์โดดเด่นเฉพาะตัว และศักยภาพ
เป�นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติทีม่ ีคุณค่าแก่การอนรุ กั ษ์และการพัฒนาโดยเฉพาะแหล่งทรัพยากรธรรมชาติท่ีมี
ศักยภาพเพื่อการท่องเที่ยว อาทิ น้ำตก ชายหาด ป่าบก ป่าชายเลน แหล่งปะการัง และเกาะต่าง ๆ สามารถ
ดึงดูดนกั ท่องเทีย่ วท้งั ในและนอกประเทศ สร้างรายได้แกป่ ระชาชนในพืน้ ทีแ่ ละประเทศ
1. ทรพั ยากรดิน
ดนิ ส่วนใหญข่ องภาคตะวันออกเปน� ดินปนทราย ระบายน้ำไดด้ ี ไม่อุดมสมบูรณ์ บรเิ วณท่ี
มีน้ำทะเลท่วมถึงจะเป�นดินโคลนหรือดินเหนียว ส่วนดินที่เกิดจากการสลายตัวของหินบะซอลต์ หินปูนใน
บริเวณที่สูงเหมาะแก่การปลูกพืชสวน เช่น เงาะ ทุเรียน มังคุด เป�นต้น ส่วนบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำมีดินอัลลู
เวียนทเ่ี หมาะใช้ทำนา
2. ทรัพยากรน้ำ
ภาคตะวนั ออกมีฝนตกชุกยาวนานและมแี ม่นำ้ สายส้ัน ๆ หลายสายค่อนข้างอุดมสมบูรณ์
แตย่ ังมีการขาดแคลนนำ้ จดื ในเขตอุตสาหกรรมและแหล่งท่องเท่ียว เชน่ จังหวัดชลบรุ ี
3. ทรพั ยากรป่าไม้
พื้นที่ป่าไม้ส่วนใหญ่ของภาคตะวนั ออกจะเปน� ปา่ ดงดิบ ป่าดิบเขา ป่าสนเขา ป่าชายเลน
และป่าเบญจพรรณ จังหวัดที่มีพื้นที่ป่าไม้มากที่สุด คือ จังหวัดปราจีนบุรี ส่วนจังหวัดที่มีป่าไม้น้อยที่สุด คือ
จังหวดั ชลบรุ ี
4. ทรัพยากรแรธ่ าตุ
ภาคตะวันออกมีแร่หลายชนดิ ได้แก่

- เหล็ก พบท่ีจงั หวดั ปราจนี บุรี ชลบุรี ฉะเชงิ เทรา
- พลวง พบทจี่ ังหวัดชลบรุ ี ระยอง จันทบรุ ี
- แรร่ ตั นชาติ เชน่ คอรันตัม (พลอยสีนำ้ เงนิ ,ไพลนิ ) บษุ ราคมั พบมากทจี่ งั หวดั
จนั ทบรุ ี และตราด ทับทิมพบทจี่ ังหวัดตราด
- แรเ่ ชือ้ เพลงิ พบท่บี ริเวณอ่าวไทย บริเวณมาบตาพุดจังหวดั ระยอง
5.ทรพั ยากรทางทะเลและชายฝ�งทะเล
ป�จจุบันทรัพยากรทางทะเลและชายฝ�งทะเลของพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกมีท้ัง
ระบบนิเวศปา่ ชายเลน แนวปะการัง และแหล่งหญ้าทะเล
1. ป่าชายเลน พนั ธุไ์ ม้ปา่ ชายเลนส่วนใหญ่เริม่ จากริมฝง� ทะเลซงึ่ เป�นบริเวณ
ดินเลนอ่อนน้ำทะเลท่วมถึงอย่างสม่ำเสมอ เป�นเขตของไม้โกงกาง ถัดเข้ามาเป�นเลนตื้นน้ำท่วมถึงสม่ำเสมอ

เปน� กล่มุ ไม้ถวั่ และแสม ถัดเขา้ มาอีกเป�นเลนแข็งน้ำท่วมถึงครงั้ คราว เปน� เขตของไม้ตะบูน โปรง และฝาด เขต

สุดท้ายบริเวณดินแข็งติดกับแนวป่าบกมีน้ำทะเลท่วมถึงบางครั้งในรอบเดือนหนึ่ง ๆ เป�นเขตของไม้เสม็ด

จังหวดั ตราดมีพืน้ ท่ีป่าชายเลนมากทส่ี ุด รองลงมา ไดแ้ ก่ จงั หวัดจันทบรุ ี ระยอง และชลบุรี

99

2. แนวปะการัง ลักษณะปะการังที่ค้นพบบริเวณชายฝ�งอ่าวไทยตั้งแต่เกาะสีชัง
จังหวัดชลบุรีจนถึงหมู่เกาะกูด จังหวัดตราด ได้แก่ ปะการังกิ่งน้ำตาลเขียว (Tree coral) ปะการังอ่อน (Soft
coral) กลั ปง� หา (Sea fan) ปะการังสมอง (Brain coral) และปะการงั เขากวาง (Table coral)

3. แหล่งหญ้าทะเล เจริญเติบโตในบริเวณอ่าวและหมู่เกาะที่คลื่นลมสงบ ราวเดือน
ธันวาคมถึงเดือนมีนาคม และบางพื้นที่พบได้ตลอดทั้งป� หญ้าทะเลที่พบ ได้แก่ Halophila decipiens,
Halophila minor, Halodule pinfolia และ Ruppia maritima ฯลฯ พบมากในบรเิ วณเกาะคราม เกาะพระ
ในพืน้ ท่อี า่ วสตั หีบ จังหวัดชลบุรบี รเิ วณชายฝ�งทะเลเขตอำเภอเมืองระยอง และอำเภอบา้ นฉาง บริเวณหมู่บ้าน
อ่าวมะขามป้อมจนถึงปากแม่น้ำประแสร์ อำเภอแกลง บริเวณปากคลองหัวหิน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง
จนถงึ บริเวณปากแมน่ ้ำพงั ราด อำเภอนายายอาม และอำเภอทา่ ใหม่ จังหวัดจนั ทบุรี และหมเู่ กาะต่าง ๆ

6. ทรัพยากรด้านการท่องเทย่ี ว
พืน้ ทีก่ ลุ่มจงั หวดั ภาคตะวนั ออกมีทรพั ยากรธรรมชาติที่หลากหลายทง้ั ชายฝ�งทะเล หมู่

เกาะ ปา่ เขา แมน่ ำ้ พน้ื ท่ีปา่ ชายเลน ซึ่งเอ้ือต่อการประกอบอาชีพเกษตรกรรม ประมง และผลิต สินค้าแปรรูป
เกิดเป�นวถิ ีชีวติ ที่นา่ สนใจ นอกจากนย้ี ังมคี วามสำคัญดา้ นประวัติศาสตร์ในสมัยอยธุ ยา ตอนปลายที่สมเด็จพระ
เจ้าตากสินมหาราชทรงกอบกู้อิสรภาพ และสมัยรัชกาลท่ี 5 ในยุคล่าอาณานิคมของฝรั่งเศส แหล่งท่องเที่ยว
ต่างๆ แบง่ ได้ ดังน้ี

1. เมอื งทอ่ งเทยี่ วชายทะเล (เมอื งพทั ยา)
2. พนื้ ท่ีรองรับกจิ กรรมชายหาด (หาดบางแสน พทั ยา จอมเทียน ตาแหวน
(หม่เู กาะลา้ น) จังหวดั ชลบรุ ี หาดแม่รำพงึ แหลมแม่พิมพ์ ทรายแก้ว (เกาะเสม็ด) จงั หวดั ระยอง หาดเจ้าหลาว
จงั หวดั จนั ทบรุ ี และหาดทางฝ�งตะวนั ตกของเกาะช้าง จังหวัดตราด)

3. พืน้ ทีป่ ระกอบกจิ กรรมกฬี าทางนำ้ (หาดจอมเทียน และตาแหวน หมเู่ กาะลา้ น)
4. แหล่งดำน้ำ หมู่เกาะสีชัง (เกาะท้ายค้างคาว เกาะท้ายตาหมื่น) หมู่เกาะล้าน หมู่
เกาะไผ่ หมู่เกาะคราม หมู่เกาะแสมสาร จังหวัดชลบรุ ี หมู่เกาะเสมด็ หมู่เกาะมนั จงั หวดั ระยอง
เกาะนมสาวและกองหนิ ตา่ ง ๆ นอกฝ�งจงั หวัดจันทบรุ ี หมูเ่ กาะช้าง และหมู่เกาะรัง จงั หวัดตราด

5. แหล่งตกปลา แหลมแท่น หมเู่ กาะสีชัง (เกาะขามใหญ่ และเกาะอน่ื ๆ โดยรอบ)
หาดบางเสร่ จังหวัดชลบรุ ี หาดอำเภอบา้ นฉาง (หาดน้ำรนิ สะพานปลาพลา) ปากแมน่ ำ้ ระยอง หมู่เกาะเสม็ด
ปากแม่นำ้ ประแสร์ จงั หวัดระยอง ปากน้ำแขมหนู ปากแม่นำ้ จนั ทบุรจี งั หวดั จันทบุรี

6. แหลง่ ทอ่ งเที่ยวเชิงนเิ วศ ศูนยศ์ กึ ษาธรรมชาติและอนุรกั ษ์ปา่ ชายเลน ตำบล
เสม็ดศูนยอ์ นุรกั ษพ์ ันธเ์ ตา่ ทะเล (เกาะคราม เกาะจาน) และอทุ ยานใตท้ ะเลเกาะขาม จงั หวัดชลบรุ ี

หมู่เกาะมัน ชุมชนปากแม่น้ำประแสร์จังหวัดระยอง ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเนื่องมาจาก
พระราชดำริ ปากน้ำแหลมสิงห์ ป่าชายเลนปากน้ำเวฬุ จังหวัดจันทบุรี ป่าชายเลนบ้าน เปร็ดใน – แหลมศอก
เกาะชา้ งและเกาะกูด จงั หวดั ตราด

100

7. พ้นื ทที่ อ่ งเทยี่ วเชงิ ประวัติศาสตรแ์ ละวถิ ีชีวิต พระจุฑาธุชราชฐานทเ่ี กาะสีชงั
หมู่บ้านชาวประมงที่ช่องแสมสาร โบราณสถานบริเวณชายหาดแหลมสิงห์ อนุสรณ์สถานยุทธนาวีที่แหลม
งอบ หมู่บ้านชาวประมงที่เกาะช้างและเกาะกดู ศนู ย์ราชการุณย์สภากาชาดไทย เขาล้าน จงั หวดั ตราด

8. พ้ืนทีท่ อ่ งเท่ียวเชงิ เกษตร อำเภอบ้านคา่ ย อำเภอเมืองระยอง อำเภอวังจนั ทร์
และอำเภอแกลง จังหวัดระยอง อำเภอท่าใหม่ อำเภอเมืองจันทบุรี และอำเภอมะขาม จังหวัดจันทบุรี เกาะ
ช้างฝ�งตะวันออก เขาสมงิ ตำบลหว้ งนำ้ ขาว จังหวดั ตราด

9. แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วเชิงนิเวศ อทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาชะเมา-เขาวง จังหวดั ระยอง
อุทยานแหง่ ชาติเขาสิบห้าชั้น เขาคชิ ฌกฏู นำ้ ตกพลิ้ว จงั หวดั จนั ทบรุ ี อุทยานแหง่ ชาติน้ำตกคลองแก้ว จังหวัด
ตราด

10. พ้นื ท่ที อ่ งเทย่ี วเชิงกฬี าและกจิ กรรมร่วมสมยั อำเภอศรรี าชา พน้ื ที่ตอนใน
เมอื งพทั ยาจงั หวัดชลบรุ ี อำเภอบ้านฉาง อำเภอพฒั นานคิ ม และอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง

11. พ้นื ที่ทอ่ งเทยี่ วเชงิ ประวัติศาสตรแ์ ละวิถีชวี ติ โบราณสถานในอำเภอ
พนัสนิคม บ่อทอง บ้านบึง และวัดต่าง ๆ ในอำเภอเมืองชลบุรี อำเภอศรีราชา เมืองพัทยา อำเภอสัตหีบ
จังหวัดชลบุรีวัดต่างๆ ในตัวเมืองระยอง อำเภอแกลง อำเภอบ้านค่าย และอำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง
โบราณสถานในตัวเมืองจันทบุรีและอำเภอท่าใหม่ ศูนย์วัฒนธรรมชาวชองที่อำเภอเขาคิชฌกูฏ แหล่ง
โบราณคดีอำเภอแก่งหางแมวและอำเภอโปง่ น้ำร้อน จังหวัดจันทบุรี และโบราณสถาน เขาโต๊ะโมะ อำเภอเขา
สมิง วัดในเมอื งตราด จงั หวัดตราด

12. พน้ื ทีก่ ารค้าชายแดน จุดผ่านแดนบ้านแหลม บ้านผักกาด อำเภอโปง่ นำ้ ร้อน
จังหวดั จนั ทบุรี จุดผ่านแดนบ้านหาดเลก็ อำเภอคลองใหญ่ จงั หวัดตราด

-วฒั นธรรมประจำท้องถ่นิ และสภาพทางสงั คม
-ด้านวฒั นธรรมประจำท้องถนิ่
วฒั นธรรมทางด้านภาษา กลุม่ จงั หวดั ภาคตะวันออกมีกลุม่ ชาติพันธ์ชุ อง คนชองเป�นคน
ดั้งเดิมกลุ่มหนึ่งอาศัยอยู่ใน จังหวัดฉะเชิงเทรา ระยอง จันทบุรี และตราด มีภาษาพูดที่เป�นเอกลักษณ์ คือ
ภาษาชอง ซึ่งเป�นภาษาในตระกูลออสโตรเอเชียติก กลุ่มมอญ-เขมร สาขาเป�ยริก ป�จจุบันพบภาษาชองพูดกนั
มากที่สุดในเขต อำเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี ซึ่งแต่เดิมนั้นมีคนพูดภาษาชองมากในอำเภอโป่งน้ำร้อน
และอำเภอมะขาม จังหวัดจันทบุรีชาวชองมีภาษาและวัฒนธรรมเป�นเอกลักษณ์เฉพาะตัว แต่ทว่าในป�จจุบัน
ภาษา และวัฒนธรรมชาวชองกำลังอยู่ในภาวะวิกฤตเนื่องจากมีคนพูดภาษาชองเพียง 4,000-5,000 คน
เท่านน้ั รวมทง้ั การขาดการสบื ทอดจากคนรุ่นหลงั (สำนักบริหารยทุ ธศาสตร์กลุ่มจังหวดั ภาคตะวันออก, 2561)

101

งานประเพณที ่สี ำคัญในภาคตะวนั ออก สามารถแบ่งไดต้ ามแต่ละจงั หวัด (บรู พา
อเี วนท์, 2012) ดงั นี้

1. จังหวัดจนั ทบรุ ี
งานชักพระบาท ของชาวหมู่บ้านตะปอนพระบาทจำลองของวดั ตะปอนน้อยโดยงานนี้
จะถูกจัดขึ้นหลังวันสงกรานต์ 1 วันประมาณวันที่ 15 เมษายนของทุกป� เป�นการชักเย่อระหว่างชายและหญิง
โดยจะใช้เชือกผูกติดเกวียนโดยมีคนตีกลองอยู่บนเกวียนถือเป�นตัวแทยของพาหนะที่ขนพระบาทไปทำพิธี
อย่างเช่นในโบราณ เมื่อการชักเย่อเริ่มข้ึน ผู้ตีกลองจะตีรัวจนกว่าจะมีฝ่ายใดฝา่ ยหนึง่ ชนะ ฝ่ายชนะถือว่าเปน�
สริ มิ งคลเพราะสามารถลากพระบาทได้

ภาพประกอบ 31 ภาพแสดงประเพณีงานชักพระบาท จังหวัดจนั ทบรุ ี
ทีม่ า : วฒั นธรรม. (2553). ชกั เย่อเกวยี นพระบาท สบื สานวิถีชวี ิต วัฒนธรรม
สืบค้นจาก http://article.culture.go.th/index.php/layouts-modules-positions/3-column-layout-6/201-2020-04-15-08-53-14

2. จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา
งานขึ้นเขาเผาข้าวหลาม ของอำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา โดยประเพณีน้ี
สืบทอดมาจากชาวลาวที่อพยพมาอยู่ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 3 ที่ทุกคนเรียกว่า “ชาวลาวเวียง” เป�นการทำบุญ
ถวายขา้ วหลาม ขนมจนี นำ้ ยาปา่ แด่พระภิกษุสงฆ์ วดั หนองบวั วดั หนองแหน ซึง่ อยู่ในเขตอำเภอโดยจะจัดงาน
ทุกป�ในเดือนมีนาคมขึ้น 15 ค่ำเนื่องจากเป�นช่วงเวลาแห่ง ประเพณี การเก็บเกี่ยวข้าว เพื่อเป�นสิริมงคลแก่
ชาวบ้านที่มีอาชีพทำนา พิธีนี้จึงจัดขึ้นและสืบทอดมาหลายชั่วอายุคนจนถึงป�จจุบัน “บุญข้าวหลาม” เป�น
ประเพณีการทำบุญถวายข้าวหลาม ขนมจีนน้ำยาป่าแด่พระภิกษุสงฆ์ วัดหนองบัว วัดหนองแหน ซึ่งอยู่ในเขต
อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา ประเพณีนี้มีในวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 3 ของทุกป� เหตุที่ถวายข้าวหลามนั้น อาจ
เป�นเพราะเดือน 3 เป�นฤดูกาลเก็บเกี่ยวข้าว ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำนา จึงนำข้าวอันเป�นพืชหลัก
ของตนทไ่ี ด้จากการเก็บเกี่ยวครั้งแรก ซงึ่ เรยี กวา่ ข้าวใหม่ จะมีกลนิ่ หอมนา่ รับประทานมาก นำมาทำเป�นอาหาร
โดยใชไ้ มไ้ ผ่สีสกุ เปน� วสั ดุประกอบในการเผา เพอ่ื ทำให้ขา้ วสกุ เรยี กว่า “ขา้ วหลาม” เพอื่ นำไปถวายพระภกิ ษุ

102

ภาพประกอบ 32 ภาพแสดงประเพณีงานข้ึนเขาเผาขา้ วหลาม ของอำเภอพนมสารคาม จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา
ท่มี า : Phukhao Post. (2563). งานประเพณีขึ้นเขาเผาขา้ วหลาม
สบื ค้นจาก https://www.phukhaopost.com/news/28-35-6038

3. จังหวดั ชลบรุ ี
งานกองข้าว เป�นงานเก่าแก่ของชาวเมืองชลบุรี อำเภอศรีราชา จัดขึ้นในช่วงเทศกาล
สงกรานต์ประมาณวันที่ 19-21 เมษายนของทุกป�เพื่อเป�นการบวงสรวงและเซ่นสังเวยผี การสาธิต ประเพณี
กองข้าว การละเลน่ พน้ื บา้ น การสาธิต มีการออกรา้ นจำหนา่ ยขนมพ้นื บ้าน อาหารพ้นื เมอื ง ภายในงานจะมีร้ิว
ขบวนแต่งตัวด้วยชุดไทยเดินบริเวณบริเวณหน้าสำนักงานเทศบาลตำบลศรีราชา และที่บริเวณเกาะลอยศรี
ราชา จังหวัดชลบรุ ี กจิ กรรมของงานจะประกอบไปดว้ ย การจดั ขบวนแห่ท่ีนำโดยกลุ่มผูเ้ ฒา่ ผูแ้ ก่และหน่วยงาน
ต่าง ๆ ที่แต่งกายด้วยชุดไทยประจำบ้านเข้าร่วมขบวนพิธีบวงสรวง และเซ่นสังเวยผี การสาธิต ประเพณีกอง
ขา้ ว การละเล่นพ้ืนบา้ น การสาธิตและจำหน่ายขนมพืน้ บา้ น อาหารพืน้ เมอื ง

ภาพประกอบ 33 ภาพแสดงประเพณีงานกองข้าว อำเภอศรีราชา จงั หวัดชลบรุ ี
ท่มี า : บรษิ ัท สุวลี จำกัด. (2560). ประเพณีกองขา้ ว
สืบค้นจาก http://www.suvalee.com

4. จังหวัดตราด
งานวนั วรี กรรมทหารเรือไทยใน ยุทธนาวที ่เี กาะช้าง จดั ข้ึนในชว่ งเดือนมกราคมของทุก
ป�ช่วงวันที่ 17-23 ณ บริเวณอนุสรณ์สถานยุทธนาวีที่เกาะช้าง ฝ�งอำเภอแหลมงอบ โดยทางจังหวัด อำเภอ

103

แหลมงอบและกองทัพเรือ จังหวัดตราดร่วมกันจัดงานเพื่อน้อมรำลึกถึงเกียรติคุณของนายทหารเรือไทยท่ี
เสียชวี ติ ในการทำยทุ ธนาวีทเี่ กาะช้างหรือการสรู้ บทางนำ้ ระหวา่ งกองทัพเรือไทยกับกองทัพเรือฝร่ังเศส โดยใน
งานจะมีการทำบญุ อุทิศส่วนกุศลและลอยมาลาสักการะดวงวิญญาณทหารเรอื ทีเ่ สยี ชวี ติ พร้อมทัง้ การออกร้าน
ตา่ ง ๆ นิทรรศการของส่วนราชการพร้อมกบั การแข่งขนั กีฬาพื้นบ้าน

ภาพประกอบ 34 ภาพแสดงประเพณีงานวนั วรี กรรมทหารเรือไทยใน ยุทธนาวที ่ีเกาะชา้ ง จ.ตราด
ท่ีมา : เนติพงษ์ โอภาอตุ ตบล. (2560). จงั หวดั ตราด

สบื ค้นจาก https://sites.google.com/site/canghwadtraddd/prapheni-canghwad-trad/ngan-wan-wirkrrm-thhar-
reux-thiy-ni-yuththna-wi-thi-keaa-chang

5. จังหวดั ปราจีนบรุ ี
งานแห่บั้งไฟ เป�นงานที่ไม่คิดว่าจะมีการจัดขึ้นในภาคตะวันออกแต่ก็มีการจัดซึ่งงานนี้จะ
จัดขึ้นในวันที่ตรงกับวันสำคัญทางพุทธศาสนาคือวันวิสาขบูชาของทุกป�ที่วัดมหาโพธิ อำเภอศรีมโหสถ จังหวัด
ปราจนี บุรี มกี ารจุดบง้ั ไฟขึ้นสูง ประกวดลำเซ้ิงของขบวนแห่บัง้ ไฟ และงานมหรสพสมโภชออกร้านมากมาย

ภาพประกอบ 35 ภาพแสดงประเพณีงานแห่บ้งั ไฟ จงั หวัดปราจนี บรุ ี
ทีม่ า : MGR Online. (2554). ปราจนี บุรจี ดั ประเพณบี ญุ บงั้ ไฟ - นมัสการตน้ พระศรีมหาโพธ์ใิ นวนั วิสาขบูชา

สืบคน้ จาก https://mgronline.com/local/detail/9540000060200

104

6. จงั หวัดระยอง
งานทอดผ้าปา่ กลางนำ้ เป�นงานท่มี อี ายุมากกว่า 100 ป� โดยประชาชนจะนำพุม่ ผ้าป่าท่ี
ต้นฝาดหรือต้นโปรงพืชที่ขึ้นกลางน้ำพร้อมประดับตกแต่งให้สวยงาม ไปป�กไว้กลางแม่น้ำประแสร์ จากน้ัน
นิมนต์พระสงฆ์มาชักผ้าป่าตามพิธีกรรม ประเพณีในทางพระพุทธศาสนา โดยพระสงฆ์ต้องถูกนิมนต์ลงเรือไป
ยังพุ่มผ้าป่ากลางลำน้ำประแสร์ ส่วนประชาชนท่ีร่วมประกอบพิธีก็จะพายเรือ แจวเรือเข้าร่วมพิธีกลางลำน้ำ
นั้น หลังเสร็จจากพิธีสงฆ์ ชาวบ้านจะมีการแข่งขันและเล่นกีฬาทางน้ำกันมากมายไม่ว่าจะเป�น การแข่งเรือ
พาย แขง่ พายกะโล่ แข่งพายเรือขา้ มลำไมไ้ ผ่ แข่งชกมวยทะเล เป�นตน้

ภาพประกอบ 36 ภาพแสดงประเพณีงานทอดผ้าปา่ กลางนำ้ จงั หวัดระยอง
ทม่ี า : Rayonghip. (2018). งานประเพณที อดผ้าปา่ กลางนำ้
สืบค้นจาก https://www.rayonghip.com

7. จังหวดั สระแกว้
งานบวงสรวงศาลหลักเมือง และรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ จัดขึ้นในช่วงเทศกาลสงกรานต์
ของทุกป� มีการออกร้าน ทำพิธีบวงสรวงศาลหลักเมือง มีการแสดงของเยาวชนภายในจังหวัดสระแก้ว สาธิต
การละเล่นและกฬี าพืน้ เมอื ง และพธิ ีรดน้ำดำหวั ผสู้ งู อายใุ นพ้นื ท่ี

ภาพประกอบ 37 ภาพแสดงประเพณีงานบวงสรวงศาลหลกั เมือง และรดน้ำดำหวั ผสู้ งู อายุ จงั หวดั สระแกว้
ที่มา : 77 ข่าวเดด็ . (2018). สระแกว้

สืบคน้ จาก https://www.77kaoded.com/news/thanapat/78877

105

- คติความเชื่อโดยรวมของสังคมไทยภาคตะวันออก (สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด
จันทบรุ ี, 2561) มีดงั นี้

1. ความเชื่อเกี่ยวกับเครื่องรางของขลังและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เป�นความเชื่อที่เกี่ยวข้องกับ
ของหรอื วัสดุทีน่ ับถือ วา่ จะชว่ ยในการป้องกันอนั ตรายจากเภทภัยหรืออาวธุ ตา่ ง ๆ เชน่ เหลก็ ไหล เพชรตาแมว
เขย้ี วหมูตนั เขยี้ วเสือ ปูหนิ ไขห่ นิ ปทู องแดง เม็ดขนุนทองแดง เมด็ มะขามทองแดง เม็ดสะบ้าทองแดง คดปลา
หมอ คดปลาวาฬ และพระเครื่องหลวงพ่อคง วัดวังสรรพรส อ.ขลุง จ.จันทบุรี พระยอดธงวัดบางกะจะ อ.ท่า
ใหม่ จ.จันทบรุ ี พระหลวงพอ่ เจมิ วดั วันยาวล่าง อ.ขลุง จ.จันทบรุ ี

2. ความเชื่อเกี่ยวกบั รูปลักษณ์ คนผมหยิกหน้ากล้อ คอเอียง พูดจาสองเสยี ง คบไม่ได้
คนหวั ลา้ นมกั ใจน้อย คนหยู านมกั อายุยืน ช้างดีต้องมลี ักษณะ 8 ประการ คือ ตาขาว เพดานขาว เล็บขาว พ้ืน
หน้ายาว ขนหางยาวขนขาวอวยั วะเพศขาวหรือสีคลา้ ยหมอ้ ใหม่ ต้นมะพร้าวดเี ปน� มงคล มี 5 ยอดี

3. ความเชื่อเก่ียวกบั ขวัญ เช่อื วา่ มสี งิ่ หน่ึงสิงอยู่ในรา่ งกายคน สตั ว์ ต้นไม้ มาตั้งแต่เริ่ม
เกิด ถ้าส่งิ นน้ั อยจู่ ะทำใหม้ ีความสุขสบาย ถ้าเกดิ หายไปจะทำใหเ้ กิดโรคภยั ไข้เจ็บ หรอื มที กุ ข์ จนอาจถงึ แก่ชีวิต
ได้ สิ่งนี้เรียกว่าขวัญ จากความเชื่อนี้ทำให้เกิดพิธีกรรมทำขวัญ เช่น ทำขวัญเด็ก ทำขวัญนาค ทำขวัญช้าง ม้า
วัว ควาย ทำขวัญข้าว และทำขวัญสิง่ ของท่ีทำดว้ ยไม้ เช่น ทำขวญั เรอื น ทำขวัญเสาเรอื น ทำขวัญเรือ ทำขวัญ
เกวียน

4. ความเชื่อเกี่ยวกับการกระเหม่น ซึ่งหมายถึงอาการสั่นกระตุกที่อวัยวะส่วนใดส่วน
หนึง่ อันมิไดเ้ กดิ จากโรคภัยไข้เจ็บ เปน� อยู่สักครู่ก็จะหายไป ถา้ กระเหมน่ หซู า้ ยจะไดล้ าภภายใน 3 วัน 7 วัน ถ้า
กระเหม่นหขู วาจะได้ขา่ วร้าย ถา้ กระเหมน่ ตาซา้ ยผู้หญงิ จะบน่ ถึง ถา้ กระเหม่นตาขวา จะมีคนนำลาภมาให้

5. ความเชื่อเกี่ยวกับลางบอกเหตุ เช่น แมงมุมตีอกในเรือน จะเกิดการทะเลาะวิวาท
ขา้ วของจะหาย แมงมมุ ตีอกในที่นอน อาจจะตอ้ งตาย ถา้ ไม่ตายตอ้ งบาดเจบ็ แมงมุมตอี กกรอบฝา เดนิ ทางไกล
จะบาดเจ็บ

6. ความเช่อื เกี่ยวกับสิ่งอบุ าทว์ ความเช่อื เกี่ยวกับสงิ่ อบุ าทว์ ถา้ แร้ง งปู า่ นกเค้าแมว
นกยาง เหี้ย ตะกวด สนุ ขั จ้ิงจอก ปลวก ผึง้ เตา่ เหลา่ สตั ว์ป่ามาจับเรือนขึน้ เรอื นเข้าในเรือน

ทางทิศตะวันออก ทรพั ยส์ มบตั ิและบตุ รจะฉิบหาย
ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ไฟจะไหม้บา้ น
ทางทศิ ใต้ ตัวจะตายหรือเจ็บหนัก
ทางทศิ ตะวันตกเฉียงใต้ โจรจะปลน้ บ้าน
7. ยาแผนโบราณ ตะขาบกัดให้เอาน้ำลายไก่นาทาที่แผล เชื่อว่าจะหาย แมงป่องต่อย
พอกด้วยหัวหอมตำละเอียดเชื่อว่าจะหายปวดไก่ขาหักใช้ใบตระไคร้พันเชื่อว่าจะหาย ใบมะกาต้มน้ำกินเชื่อว่า
จะเป�นยาถ่าย ใบพลับพลึงนำมาลนไฟห่อตรงที่ เคล็ดเชื่อว่าจะหาย รากหมาก รากพลู แช่น้ำแล้วนำมาอาบ
หรือกิน เชื่อว่าแก้อีสุกอีใสได้ รากมะเฟ�องนำมาต้มกิน เช่ือว่าแก้ปวดหลังปวดเอว ปูนแดงผสมน้ำมะนาว เช่ือ
ว่าทาแก้สวิ ได้ ใบเหงือกปลาหมอนำมาตำพอกฝ� ตำบดให้ละเอียดผสมกบั นำผ้ึงกิน เชื่อว่าแก้โรคทุกชนิด ยอด
ตำลงึ บีบใหก้ ้านแตกเหมือนปลายพกู่ ันทากุ้งยิง เชือ่ ว่าจะหายเป�นโรคเก่ียวกับลำไส้ใหก้ นิ ใบฝรงั่ ถ่ายพยาธิให้กิน

106

ผลมะเกลือตำหรือเม็ดมะขามคั่ว กินผักบุ้งตาจะหวาน คนเป�นกามโรคห้ามกินหูปลาฉลามปลากระเบน สาเก
คนเป�นเอดส์ใหก้ นิ มะระข้ีนก ปวดเมอ่ื ยให้บีบนวดและจบั เส้น

8. ความเชื่อปรากฎการณ์ธรรมชาติ มดขนไข่ฝนจะตก เวลาเดินกรำฝนห้ามเอาขัน
ครอบหวั ฟ้าจะผ่า หา้ มช้รี ้งุ กินนำ้ นวิ้ จะกุด เห็นดาวตกหา้ มทักจะ ทำใหว้ ญิ ญาณไปเขา้ ท้องหมา ป�ไหนดาวหาง
ขึ้นจะเกิดเหตุร้าย ที่ต้นไม้ใหญ่จะมีเทวดารักษาอยู่ ควรปลูกต้นมะยมไว้หน้าบ้าน ปลูกต้นขนุนไว้หลังบ้าน
ตน้ ไมไ้ มอ่ อกลกู ให้เอาสากไปตำทีล่ ำต้นตอนเกดิ สุริยคราส ปลูกว่านางกวักจะทำใหเ้ กิดคณุ ทางเมตตา

2. ภูมปิ ญ� ญาในการสร้างสรรค์งาน

2.1 การสร้างสรรคผ์ ลงานจากภูมปิ ญ� ญา
สุชาติ เถาทอง (2543) สรุปว่า แหล่งภูมิป�ญญาพื้นถิ่นงานศิลปหัตถกรรมในภาค

ตะวันออก พบมากที่สุดในจังหวัดชลบุรี โดยรูปแบบที่พบมากที่สุดคืองานจักสานไม้ไผ่ และการทอเสื่อกกใน
จงั หวดั จันทบรุ ี นอกจากน้ีจะเปน� ผลติ ภณั ฑ์จากหนิ การทอผ้า การผลิตของทีร่ ะลึกตา่ ง ๆ

ภูมิป�ญญาพื้นถิ่นในภาคตะวันออกเกิดจากความรู้ความสามารถของชาวบ้านที่คิดค้นหา
วิธีการในการดำเนินชีวิต และได้รับการสั่งสมถ่ายทอดจากบรรพบุรุษ โดยในแต่ละพื้นท่ีชุมชนจะมีความ
แตกต่างกันไปตามสภาพของภูมิประเทศ สิ่งแวดล้อม และวิถีชีวิตของคนในพื้นถิ่นที่สืบทอดต่อ ๆ กันมา
ประเภทของภมู ิป�ญญาพนื้ ถิ่นในภาคตะวันออกแบ่งออกได้ ดงั นี้

1. การแกะสลักหิน
การแกะสลักหินของภาคตะวันออกเป�นภูมิป�ญญาพื้นถิ่นที่ได้รับการถ่ายทอดมา
ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 จนถึงสมัยรัชกาลที่ 2 มีการแกะสลักประติมากรรมหินจากคนจีนที่อพยพมาตั้งหลัก
แหล่งตั้งแต่สมัยพระเจ้าตากสิน โดยเริ่มจากการแกะสลักป้ายฮวงซุ้ย และต่อมาเป�นการทำลูกนิมิต ป้ายเสมา
สงิ โต และพระพุทธรปู ขนาดใหญ่ โดยแหล่งทพ่ี บมาก คือ ตำบลอา่ งศลิ า และตำบลเสม็ด โดยใช้หินแกรนิตที่มี
เนอ้ื หินสขี าวและเหมาะแก่การทำครกและโม่
2. การตอ่ เรือ
การต่อเรอื เปน� ภูมิปญ� ญาท้องถ่นิ ท่สี ำคัญสำหรับพื้นทีช่ ายทะเลตะวันออกตอนล่าง
ตัง้ แต่ ชลบุรี ระยอง จนั ทบุรี และตราด โดยคน้ พบหลักฐานการต่อเรือ เปน� ซากเรอื สำเภาท้องแบน ต้ังแต่สมัย
พระเจ้าตากสิน ซึ่งแหล่งต่อเรือโบราณที่สำคัญคือบ้านเสม็ดงาม จังหวัดจันทบุรี การต่อเรือเป�นอาชีพที่ทำ
ควบคู่กับอาชีพประมงซึ่งในตอนแรกเป�นเรือใบและต่อมาเป�นเรือติดเครื่องยนต์ ซึ่งแหล่งต่อเรือที่สำคัญใน
ปจ� จุบนั อยทู่ ี่จงั หวดั ชลบรุ ี และจงั หวดั ตราด เรอื ทตี่ อ่ ส่วนใหญ่เปน� เรือไม้ ไม่มีแบบพมิ พ์เขียว รปู แบบแคบเรียว
ตดิ เครอื่ งยนต์แรงม้าต่ำ ไม้ทใ่ี ช้สว่ นมากใชไ้ มป้ ระดู่ ตะเคยี น เตง็ รัง และมะค่าโมง
3. การทอเส่อื
พบว่าจังหวัดจันทบุรีเป�นแหล่งต้นกำเนิดในการทอเสื่อกก เพราะมีต้นกกขึ้นอยู่
ทั่วไปตามคันนาในพื้นที่ โดยผู้ที่ริเริ่มคิดการทอเสื่อเกิดจากแม่ชีและพระคริสต์ในโบสถ์วัดคาทอลิก แต่เดิม
เรียกว่า เสื่อญวนหลังวัดหรือเสื่อชี เพราะคนญวนเป�นคนทอขึ้นเป�นพวกแรกและเปน� ต้นแบบของเสือ่ กกจันท

107

บูรในป�จจุบัน ต่อมามีการพัฒนาครั้งใหญ่ในสมัยรัชกาลที่ 7 โดยสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี ได้มาพัฒนา
เรื่องการย้อมสีกกและการออกแบบ และพัฒนาเป�นผลิตภัณฑ์อื่น ๆ อีกมากมายจากวัสดุนี้ เสื่อที่ทอปกติทอ
เป�นลายสอง คือ ยกสอง ข่มสอง เป�นลายดอกและรูปสัตว์ต่าง ๆ ลวดลายเฉพาะของเสื่อจะมีชื่อเรียกต่าง ๆ
กันไป เช่น เสอ่ื เขลียง เสอื่ ห้อง

4. การจักสาน
การจักสานในภาคตะวันออกพบว่ามีการสืบทอดต่อ ๆ กันมาแต่ไม่ปรากฎว่าเริ่ม
เมื่อใด ส่วนใหญ่เป�นการผลิตเป�นเครื่องใช้ในชีวิตประจำวัน โดยแหล่งผลิตเครื่องจักสานส่วนมากอยู่ที่จังหวัด
ชลบุรี ฉะเชงิ เทรา และปราจีนบรุ ี ซง่ึ ส่วนใหญ่พืน้ ท่ที ่มี กี ารผลิตเครอื่ งจกั สานจะเปน� แหล่งท่ีมชี นชาติลาวอพยพ
มาตง้ั แตส่ มัยรตั นโกสินทร์ตอนต้น เครือ่ งจกั สานทผี่ ลติ ได้แก่ พ้อม เคร่อื งสีขา้ วดว้ ยมือ กะชัง สมุ่ ปลาออ และ
กระจาด หมวกกุ้ยเล้ง ซ่งึ ส่วนใหญท่ ำจากไมไ้ ผ่เปน� สำคญั นอกจากน้ียงั พบว่ามีเครือ่ งจักสานที่ผลิตจากวัสดุ
อื่น ๆ อีกเช่น คลุ้มโดยฝ�มือของชาวชองที่นำมาทำเป�นสมุก แหล่งผลิตเครื่องจักสานที่มีชื่อเสียงมากที่สุดใน
ภาคตะวันออก คือ อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรีที่มีการผลิตกระเป๋าถือสตรีที่สวยงามมีความละเอียดมาก
ป�จจบุ นั เครอื่ งจักสานท่ีผลติ นอกจากเป�นเคร่ืองมือเคร่ืองใช้แล้วยังเป�นของชำร่วยและของประดับตกแต่งอ่ืน ๆ
อีกมากมาย
5. การทำพลอย
พบมากในจังหวัดจันทบุรีและจังหวัดตราด เนื่องจากเป�นพื้นที่ที่มีแร่ธาตุและ
อัญมณีค่อนข้างมากและมีความพร้อมด้านแรงงานฝ�มือในการเจียระไนอัญมณีและการประกอบตัวเรือนที่มี
ความสวยงามละเอียดอ่อนเป�นที่ยอมรับของโลก สร้างรายได้จากการส่งออกไปจำหน่ายต่างประเทศมากมาย
พลอยที่พบส่วนมากในภาคตะวันออก คือ พลอยแดง บุษราคัม พลอยสาแหรก มรกต ไพลิน โกเมน และ
เพทาย วฒั นธรรมการเจียระไนพลอยมมี าไมต่ ำ่ กวา่ 100 ป�
6. การทำของท่ีระลึก
มีการผลิตขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ให้ชิ้นงานเป�นตัวแทนของฝาก ของขวัญ และของ
ชำร่วยหรือของสะสม โดยมีการนิยมทำกันมากขึ้นในช่วงที่มีการพัฒนาพื้นที่หาดบางแสนให้เป�นแหล่ง
ท่องเที่ยวและพักผ่อนตากอากาศ ซึ่งส่วนใหญ่วัตถุดิบในการผลิตหาได้จากท้องทะเล เช่น เปลือกหอยขนาด
ตา่ งๆ หิน ปะการงั โดยกลายเป�นของทร่ี ะลึกจากทอ้ งทะเล เชน่ กรอบรูป พวงกญุ แจ เครอ่ื งประดบั ฯลฯ และ
เปน� สนิ คา้ หัตถกรรมพื้นถน่ิ ที่สำคัญ หรือบางครัง้ มกี ารผสมผสานวัสดสุ ังเคราะหต์ ่าง ๆ เช่น พลาสตกิ เรซิน มา
ใชร้ ่วมดว้ ย รูปแบบของของทร่ี ะลกึ ส่วนใหญจ่ ะมขี นาดกะทัดรดั สวยงาม ราคาไม่แพง

108

ภาพประกอบ 38 ภาพแสดงแผนทภี่ าคตะวนั ออกแสดงแหล่งที่พบภมู ปิ �ญญาพื้นถน่ิ

ท่ีมา : สชุ าติ เถาทอง. (2543). การสำรวจและศกึ ษาแหล่งขอ้ มูลพนื้ ฐานทางศลิ ปวัฒนธรรมและภูมปิ ญ� ญาพื้นถิ่นในภาค

ตะวนั ออก (ศิลปกรรม - หตั ถกรรม).
สืบค้นจาก http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/73

3. แนวทางการศึกษาผลงานศลิ ปหตั ถกรรมไทยภาคตะวันออก

3.1 แนวทางการศึกษาผลงานศลิ ปหตั ถกรรมไทยภาคตะวันออก
การศกึ ษาผลงานศลิ ปหัตถกรรมไทยภาคตะวันออกนั้น ตอ้ งทำความเข้าใจถึงบริบท

ตา่ ง ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง ได้แก่ ภูมปิ ระเทศ สภาพแวดลอ้ ม วฒั นธรรมสังคม ประเพณีของแตล่ ะพนื้ ที่ ตลอดจนความ
แตกต่างของแต่ละชนชาติ ประวัติศาสตร์การเข้ามาพำนักอาศัย รูปแบบการดำรงชีวิตที่มีความแตกต่างกันไป
ในแตล่ ะพน้ื ทอ่ี ีกด้วย

3.2 ตัวอย่างการศกึ ษาผลงานศลิ ปหัตถกรรมไทยภาคตะวันออก
เมื่อนิสิตได้เรียนรู้ข้อมูลพื้นฐาน สังคมและวัฒนธรรม ภูมิป�ญญาพื้นถิ่น และแนวทาง

การศึกษาผลงานศลิ ปหัตถกรรมไทยภาคตะวนั ออกแลว้ จำเป�นที่จะต้องศึกษาวเิ คราะห์ผลงานศิลปหัตถกรรม
ไทยภาคตะวันออก เพื่อทำให้เกิดการตระหนักรู้และสร้างความเข้าใจมากยิ่งขึ้น ซึ่งตัวอย่างงานหัตถกรรม
พืน้ บา้ นภาคตะวนั ออกที่ควรคา่ แก่การศึกษาจากการรวบรวมข้อมูลช่างฝ�มืองานหตั ถกรรมในหนังสือ ทะเบียน
ช่างหัตถศิลป์ไทย ของศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ หรือ ศ.ศ.ป. ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่าง
ประเทศ (องค์การมหาชน) (2555) ไดแ้ ก่

109

3.2.1 เสื่อกกจนั ทบูรณ์ จ.จนั ทบรุ ี

ภาพประกอบ 39 ภาพแสดงเส่ือกกจนั ทบูรณ์ จ.จันทบรุ ี
ท่ีมา : kong. (2012). เส่อื เมืองจนั ท์แท้ ต้องเสื่อจนั ทบรู ณ์.
สืบคน้ จาก http://xn--82c4aff9bye6aw.blogspot.com/2012/05/blog-post_20.html

-การศึกษาทางด้านรูปธรรม (Tangible) ได้แก่ เส้นสาย ลวดลาย รูปลักษณ์ รูปทรง สีสัน ตลอดจน
พืน้ ผิวและวสั ดุ

(ให้นิสติ เขยี นอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศกึ ษาทางด้านนามธรรม (Intangible) ไดแ้ ก่ ความซาบซึง้ ในเรื่องราว คุณค่าและความหมาย จิต
วญิ ญาณทแี่ ฝงอยูใ่ นภมู ิป�ญญา ปรชั ญาแนวคิด

(ให้นสิ ติ เขียนอธบิ าย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านวัสดุ กระบวนวิธีการผลิต ได้แก่ ประเภทของวัตถุดิบในการผลิต ลักษณะการใช้
สอย และประเภทของกรรมวธิ ีในการผลติ

(ใหน้ ิสิตเขยี นอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-คณุ ค่าทีเ่ ป�นทต่ี อ้ งการในงานหัตถกรรม ไดแ้ ก่ คุณค่าทางความงามที่ไดร้ บั ด้านจิตใจ คณุ ค่าจากงานที่
ทำดว้ ยมือใช้ความชำนาญเปน� พิเศษ และคุณคา่ จากการคดิ คน้ นวตั กรรมใหม่ ๆ

(ให้นิสติ เขียนอธบิ าย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

110

3.2.2 กระเป๋าดอกพิกลุ รูปไข่ จ.ชลบรุ ี

ภาพประกอบ 40 ภาพแสดงกระเปา๋ ดอกพกิ ลุ รปู ไข่ จ.ชลบรุ ี
ทม่ี า : ศูนยส์ ่งเสรมิ ศลิ ปาชีพระหวา่ งประเทศ (องค์การมหาชน). (2553). Handicraft.

สืบคน้ จาก https://archive.sacict.or.th/handicraft/2603

-การศึกษาทางด้านรูปธรรม (Tangible) ได้แก่ เส้นสาย ลวดลาย รูปลักษณ์ รูปทรง สีสัน ตลอดจน
พื้นผิวและวัสดุ

(ให้นิสิตเขียนอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านนามธรรม (Intangible) ได้แก่ ความซาบซ้งึ ในเร่ืองราว คณุ คา่ และความหมาย จิต
วิญญาณท่ีแฝงอยู่ในภูมปิ �ญญา ปรชั ญาแนวคดิ

(ให้นสิ ิตเขียนอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านวัสดุ กระบวนวิธีการผลิต ได้แก่ ประเภทของวัตถุดิบในการผลิต ลักษณะการใช้
สอย และประเภทของกรรมวิธีในการผลิต

(ใหน้ สิ ติ เขียนอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-คุณค่าท่เี ปน� ทต่ี อ้ งการในงานหตั ถกรรม ได้แก่ คณุ ค่าทางความงามท่ีไดร้ ับด้านจติ ใจ คณุ คา่ จากงานที่
ทำด้วยมอื ใชค้ วามชำนาญเป�นพเิ ศษ และคุณคา่ จากการคดิ คน้ นวตั กรรมใหม่ ๆ

(ใหน้ สิ ติ เขียนอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

111

3.2.3 กระบุงจักสานคลมุ้ จ.ตราด

ภาพประกอบ 41 ภาพแสดงกระบงุ จกั สานคลมุ้ จ.ตราด
ท่ีมา : beeonc. (2015). งานจกั สานชาวชอง.
สืบคน้ จาก https://beeonc.wordpress.com/

-การศึกษาทางด้านรูปธรรม (Tangible) ได้แก่ เส้นสาย ลวดลาย รูปลักษณ์ รูปทรง สีสัน ตลอดจน
พ้ืนผิวและวสั ดุ

(ให้นิสิตเขยี นอธบิ าย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านนามธรรม (Intangible) ได้แก่ ความซาบซึง้ ในเร่ืองราว คุณคา่ และความหมาย จิต
วญิ ญาณทแ่ี ฝงอยู่ในภมู ปิ ญ� ญา ปรัชญาแนวคดิ

(ให้นิสติ เขียนอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านวัสดุ กระบวนวิธีการผลิต ได้แก่ ประเภทของวัตถุดิบในการผลิต ลักษณะการใช้
สอย และประเภทของกรรมวธิ ีในการผลติ

(ให้นิสติ เขียนอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-คุณค่าทเี่ ปน� ทต่ี ้องการในงานหตั ถกรรม ได้แก่ คณุ คา่ ทางความงามท่ีไดร้ ับด้านจติ ใจ คุณคา่ จากงานท่ี
ทำด้วยมอื ใช้ความชำนาญเป�นพิเศษ และคุณคา่ จากการคดิ คน้ นวตั กรรมใหม่ ๆ

(ใหน้ สิ ิตเขยี นอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

112

3.2.4 การทำแหวนกล จ.จนั ทบุรี

ภาพประกอบ 42 ภาพแสดงการทำแหวนกล จ.จนั ทบุรี
ที่มา : The Cloud. (2561). แหวนของเราแตเ่ พยี งผเู้ ดยี ว

สืบค้นจาก https://readthecloud.co/master-9/

-การศึกษาทางด้านรูปธรรม (Tangible) ได้แก่ เส้นสาย ลวดลาย รูปลักษณ์ รูปทรง สีสัน ตลอดจน
พืน้ ผิวและวสั ดุ

(ใหน้ สิ ิตเขยี นอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านนามธรรม (Intangible) ไดแ้ ก่ ความซาบซ้งึ ในเร่ืองราว คณุ ค่าและความหมาย จิต
วญิ ญาณทแ่ี ฝงอย่ใู นภูมปิ ญ� ญา ปรัชญาแนวคิด

(ใหน้ สิ ิตเขยี นอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านวัสดุ กระบวนวิธีการผลิต ได้แก่ ประเภทของวัตถุดิบในการผลิต ลักษณะการใช้
สอย และประเภทของกรรมวิธีในการผลติ

(ใหน้ สิ ติ เขียนอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-คุณค่าทเ่ี ป�นท่ตี อ้ งการในงานหตั ถกรรม ไดแ้ ก่ คณุ คา่ ทางความงามที่ได้รบั ด้านจิตใจ คุณค่าจากงานท่ี
ทำดว้ ยมอื ใชค้ วามชำนาญเปน� พิเศษ และคุณคา่ จากการคดิ ค้นนวัตกรรมใหม่ ๆ

(ให้นิสิตเขยี นอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

113

3.2.3 ครกหนิ อา่ งศิลา จ.ชลบุรี

ภาพประกอบ 43 ภาพแสดงครกหนิ อ่างศลิ า จ.ชลบรุ ี
ทม่ี า : ศนู ยส์ ง่ เสริมศลิ ปาชพี ระหวา่ งประเทศ(องค์การมหาชน), (2553). Handicraft.

สบื ค้นจาก http://www.cpot.in.th/np/v/

-การศึกษาทางด้านรูปธรรม (Tangible) ได้แก่ เส้นสาย ลวดลาย รูปลักษณ์ รูปทรง สีสัน ตลอดจน
พืน้ ผิวและวสั ดุ

(ให้นิสิตเขียนอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านนามธรรม (Intangible) ได้แก่ ความซาบซ้งึ ในเร่ืองราว คุณคา่ และความหมาย จิต
วิญญาณทแี่ ฝงอย่ใู นภมู ิปญ� ญา ปรัชญาแนวคิด

(ให้นิสิตเขียนอธบิ าย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-การศึกษาทางด้านวัสดุ กระบวนวิธีการผลิต ได้แก่ ประเภทของวัตถุดิบในการผลิต ลักษณะการใช้
สอย และประเภทของกรรมวิธใี นการผลติ

(ให้นสิ ิตเขียนอธบิ าย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

-คุณคา่ ท่เี ปน� ท่ตี ้องการในงานหัตถกรรม ได้แก่ คณุ คา่ ทางความงามท่ีได้รับด้านจติ ใจ คณุ ค่าจากงานที่
ทำด้วยมือใชค้ วามชำนาญเป�นพิเศษ และคุณคา่ จากการคดิ คน้ นวัตกรรมใหม่ ๆ

(ให้นสิ ติ เขียนอธิบาย) ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

114

4. สรปุ

ภาคตะวันออกน้ันมีความโดดเด่นในด้านประวตั ิศาสตร์ท่ีเป�นที่รวมของชนหลายเช้ือชาติเผ่าพันธ์ุ
ของคนหลายเชื้อชาติหลายศาสนา เช่น ชาวซอง ซึ่งเป�นชนเผ่าตระกูลมอญ-เขมร ชาวญวน ชาวจีน คนไทย
พทุ ธ ครสิ ต์ มุสลิม พ้นื ที่ของภาคตะวนั ออกมีขนาดเล็กกว่าภาคอื่นแต่ภูมิอากาศคล้ายคลึงกบั ภาคใต้ เป�นพื้นที่
ของการทำการเกษตร ประมง และแหล่งอุตสาหกรรมขนาดเล็กไปจนถึงใหญ่ ทรัพยากรธรรมชาติท่ี
หลากหลายท้งั บนพ้นื ดนิ ปา่ ไม้ แม่นำ้ และทะเล

มีวัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่นที่หลากหลายแตกต่างกันไปในแต่ละจังหวัด มีคติความเชื่อใน
พ้ืนถ่นิ ท่ีแตกต่างจากภาคอื่น ๆ ภมู ิปญ� ญาพน้ื ถน่ิ ในภาคตะวันออกเกิดจากความรู้ความสามารถของชาวบ้านที่
คิดค้นหาวิธีการในการดำเนินชีวิต และได้รับการสั่งสมถ่ายทอดจากบรรพบุรุษ โดยในแต่ละพื้นที่ชุมชนจะมี
ความแตกต่างกันไปตามสภาพของภมู ปิ ระเทศ สิ่งแวดล้อม และวถิ ชี ีวิตของคนในพื้นถน่ิ ท่ีสบื ทอดต่อ ๆ กันมา

แนวทางการศึกษาผลงานศลิ ปหัตถกรรมไทยภาคตะวันออก การศึกษาผลงานศิลปหตั ถกรรมไทย
ภาคตะวันออกนั้น ตอ้ งทำความเข้าใจถึงบรบิ ทตา่ ง ๆ ท่ีเก่ียวขอ้ งได้แก่ ภมู ปิ ระเทศ สภาพแวดล้อม วัฒนธรรม
สงั คม ประเพณีของแตล่ ะพ้ืนท่ี ตลอดจนความแตกต่างของแต่ละชนชาติ ประวตั ิศาสตรก์ ารเข้ามาพำนักอาศัย
รปู แบบการดำรงชีวติ ทมี่ คี วามแตกต่างกันไปในแต่ละพน้ื ที่อีกด้วย

5. คำถามท้ายบท

1. ให้นสิ ิตทำข้อ 3.2 ตวั อย่างการศกึ ษาผลงานศลิ ปหัตถกรรมไทยภาคตะวันออกใหส้ มบรู ณ์
2. ใหน้ ิสติ อธบิ ายถึงตำแหนง่ ท่ีต้ังทางภมู ิศาสตรข์ องภาคตะวนั ออก ว่ามคี วามเชอื่ มโยงและส่งผล
ใหเ้ กดิ ขอ้ ดีอย่างไรเกยี่ วกบั ดา้ นต่าง ๆ บ้าง ตามความเขา้ ใจของตนเอง
3. ให้นิสิตเลือกผลิตภณั ฑ์ศิลปหัตถกรรมไทยพน้ื บา้ นภาคตะวนั ออกท่มี าจากภูมิป�ญญาท้องถ่ินที่
ประทบั ใจมากที่สุดมา 1 ชนิ้ พรอ้ มอธิบายเหตุผลและยกตวั อยา่ ง
4. ให้นิสิตเลือกผลงานศิลปหัตถกรรมไทยภาคตะวันออกที่สะท้อนถึงเอกลักษณ์และภูมิป�ญญา
ท้องถิ่นในด้านต่าง ๆ มา 3 ผลิตภัณฑ์ แล้วทำการศึกษาวิเคราะห์ผลงานและอธิบายขั้นตอนการสร้างสรรค์
ผลงานจากภมู ิปญ� ญาทอ้ งถนิ่ ตามทีไ่ ดเ้ รยี น

6. แบบฝ�กหัดปฏิบตั ิงานออกแบบท้ายบท

1. ให้นิสติ จดั ทำเล่มรายงานรวบรวมผลงานหตั ถกรรมพื้นบ้านของภาคตะวนั ออกโดยแบ่งภาพ
ผลงานตามประเภทของวสั ดแุ ละกรรมวิธกี ารผลิต ดังนี้

1. การปน� และการหลอ่
2. การทอและเยบ็ ป�กถักร้อย
3. การแกะสลกั
4. การก่อสร้าง

115

5. การเขยี นหรือวาด
6. การจกั สาน
7. การทำเคร่ืองกระดาษ
8. กรรมวิธอี ่นื ๆ
โดยมีรูปแบบเล่มรายงานหน้ากระดาษ A 4 / หน้าละ 1 ผลงาน ให้นิสิตอธิบายภาพงาน
หตั ถกรรมที่หามาได้ ในด้านต่าง ๆ ดังน้ี ชื่องาน / แหล่งผลติ / วสั ดุ / กรรมวิธีการผลิต /
ลกั ษณะเฉพาะ / คณุ คา่ ของผลงาน
2. ให้นิสิตออกแบบผลิตภัณฑ์ 1 ชิ้น โดยได้รับแรงบันดาลใจมาจากผลงานหัตถกรรมพื้นบ้าน
ของภาคภาคตะวันออกจำนวน 3 ชิน้ ตามท่ไี ดท้ ำรายงานเมือ่ สัปดาหท์ ีแ่ ลว้

116

บทท่ี 6
ศิลปหัตถกรรมไทยภาคใต้

แผนการสอนครั้งที่ 11 - 12

หวั ขอ้ ศิลปหตั ถกรรมของไทยภาคใต้
ผสู้ อน อาจารย์ ดร.พรนารี ชัยดเิ รก

เวลา 480 นาที

วตั ถปุ ระสงค์
คร้งั ที่ 11
1. เพอื่ ให้นสิ ติ เขา้ ใจความหมาย ความสำคญั และประเภทของงานศิลปหตั ถกรรมของไทย
ภาคใต้

2. เพื่อให้นสิ ติ เข้าใจและเรียนรู้ผลงานศิลปหัตถกรรมไทยภาคใต้
ครง้ั ที่ 12
1. เพ่ือใหน้ ิสิตเข้าใจตวั อยา่ งผลงานศิลปหตั ถกรรมไทยภาคใต้
2. เพือ่ ให้นิสิตเรยี นร้จู ากผลงานการออกแบบผลติ ภัณฑ์ศิลปหัตถกรรมไทยภาคใต้

เนอ้ื หา
ครง้ั ท่ี 11
1. กำเนดิ งานหัตถกรรมไทยภาคใต้

1.1 ปจ� จัยทเี่ กีย่ วข้องในการผลิตผลงานศลิ ปหตั ถกรรมไทยภาคใต้
2. ภูมิปญ� ญาในการสรา้ งสรรค์งาน

2.1 การสร้างสรรค์ผลงานจากภูมิป�ญญา
คร้งั ที่ 12
1. แนวทางการศึกษาผลงานศิลปหัตถกรรมไทยภาคใต้

1.1 แนวทางการศกึ ษาผลงานศิลปหัตถกรรมไทยภาคใต้

1.2 ตัวอย่างการศกึ ษาผลงานการออกแบบผลติ ภัณฑศ์ ลิ ปหัตถกรรมไทยภาคใต้
2. สรุปศิลปหตั ถกรรมไทยภาคใต้

การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ 15 นาที
ครงั้ ท่ี 11 60 นาที
1. อธบิ ายวตั ถปุ ระสงค์และเน้ือหาโดยรวม 150 นาที
15 นาที
2. บรรยายเน้ือหาและหัวข้อต่าง ๆ

3. ศกึ ษาเรยี นร้ผู ลงานศิลปหัตถกรรมไทยภาคใต้

4. นสิ ิตซักถามปรึกษาเนื้อหาการเรียน

118

ครง้ั ที่ 12 15 นาที
1. อธิบายวตั ถุประสงค์และเน้ือหาโดยรวม 60 นาที
150 นาที
2. บรรยายเนอื้ หาและหัวข้อต่าง ๆ 15 นาที

3. ศึกษาเรยี นรผู้ ลงานการออกแบบผลิตภัณฑภ์ าคใต้
4. นสิ ิตซักถามปรึกษาเน้ือหาการเรยี น

สอื่ การสอน
ครัง้ ที่ 11
1. เอกสารประกอบการสอนรายวชิ า การออกแบบศิลปหัตถกรรม

2. ไฟลน์ ำเสนอภาพนิ่งผา่ นโปรแกรมคอมพิวเตอร์

3. หนังสือ ตำรา วารสารต่าง ๆ ทงั้ ในประเทศและต่างประเทศ ท่เี ก่ียวขอ้ งกับการออกแบบ
ศิลปหัตถกรรมไทย

4. ตัวอยา่ งผลติ ภณั ฑ์ ผลงานหตั ถกรรมสำหรับการเรียนการสอนท่ีเกีย่ วข้อง

(ตามความเหมาะสมของเน้ือหาการเรียน)
ครงั้ ที่ 12
1. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา การออกแบบศิลปหัตถกรรม

2. ไฟล์นำเสนอภาพนง่ิ ผ่านโปรแกรมคอมพวิ เตอร์
3. หนังสอื ตำรา วารสารตา่ ง ๆ ทั้งในประเทศและตา่ งประเทศ ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั การออกแบบ

ศิลปหัตถกรรมไทย

4. ตัวอยา่ งผลิตภัณฑ์ ผลงานหัตถกรรมสำหรบั การเรยี นการสอนทเ่ี กีย่ วขอ้ ง
(ตามความเหมาะสมของเนอื้ หาการเรยี น)

การประเมินผล
คร้ังท่ี 11
1. สังเกตจากพฤติกรรมของผู้เรียน

2. ประเมินผลจากกิจกรรมในการช้ันเรยี น
3. ประเมนิ ผลจากคำถามท้ายบทท่ี 6

4. ประเมินผลจากแบบฝ�กหดั ปฏบิ ัตงิ านออกแบบท้ายบท
ครั้งที่ 12
1. สงั เกตจากพฤติกรรมของผู้เรยี น

2. ประเมนิ ผลจากกิจกรรมในการช้นั เรยี น

3. ประเมินผลจากคำถามท้ายบทที่ 6
4. ประเมินผลจากแบบฝ�กหดั ปฏิบตั ิงานออกแบบทา้ ยบท

119

หนังสอื อ้างอิง
ธีติ พฤกษ์อุดม และ โสมฉาย บุญญานันต์. (2563). การพัฒนากิจกรรมศิลปะเพื่อส่งเสริมการเห็นคุณค
ของอัตลักษณ์ในงานศิลปหัตถกรรมภาคใต้ สำหรับเยาวชน. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลยั , 48(1), น. 103-121.
นงคราญ ศรีชาย และวรวิทย์ หัศภาค. (2543). โบราณคดีศรีวิชัย มุมมองใหม่การศึกษาวิเคราะห์แหล่ง
โบราณคดรี อบอ่าวบา้ นดอน. นครศรีธรรมราช : สำนกั พมิ พ์เม็ดทราย.
มหาวิทยาลัยราชภฏั จนั ทรเกษม. (2563). การแตง่ กายของไทย. สบื คน้ จาก
https://culture.chandra.ac.th/images/63/KM/Dresssectors.pdf
วัศรนันทน์ ชูทัพ. (2558). ภูมิป�ญญาในวรรณกรรมเยาวชนของนักเขียนภาคใต้ของประเทศไทย. วารสาร
มนษุ ยศาสตร์ ฉบบั บณั ฑติ ศึกษา. มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 4(1), น. 78-87.
วิชญ์ จอมวิญญาณ์. (2560). ภูมิศาสตร์ประเทศไทย. อุดรธานี : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุดรธานี.
วิบลู ย์ ลีส้ วุ รรณ. (2538). ศลิ ปหตั ถกรรมพนื้ บ้าน. สำนกั พมิ พ์ : คอมแพคท์พร้นิ ท.์
วบิ ูลย์ ลีส้ วุ รรณ. (2544). มรดกทางวัฒนธรรมพ้ืนบ้าน. สำนกั พิมพ์ : ตน้ ออ้ 1999.
สิปปนันท์ นวลละออง และป�ยตา สุนทรป�ยะพันธ์. (2561). วิถีทางประวัติศาสตร์วัฒนธรรมศรีวิชัยเพ่ือ
ส่งเสริมการท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมบนคาบสมุทรภาคใต้ของไทย. วารสาร
อเิ ล็กทรอนิกส์การเรียนรทู้ างไกลเชงิ นวตั กรรม. 8(2), น. 84-111.
สำนกั งานอุทยานแห่งชาติ กรมอุทยานแหง่ ชาติสัตว์ ป่าและพนั ธ์ุพืช. (2557). อทุ ยานแห่งชาติ. สืบค้นจาก
http:// dnp.go.th/
ศนู ย์มานุษยวทิ ยาสริ ินธร. (2560). กลมุ่ ชาติพนั ธุ.์ สบื ค้นจาก
http://www.sac.or.th/databases/ethnic-groups/site/index.
เอกวิทย์ ณ ถลาง. (2544). ภูมิป�ญญาชาวบ้านกับกระบวนการเรียนรู้และการปรับตัวของชาวบ้านไทย.
สำนักพมิ พ์ : อมรนิ ทร์พริน้ ท์.

120

บทที่ 6
ศิลปหตั ถกรรมไทยภาคใต้

ศิลปหัตถกรรมภาคใต้ถือเป�นศิลปะอย่างหนึ่งของไทยที่มีคุณค่า มีอัตลักษณ์ที่ควรแก่การศึกษา
หาความรู้ เพราะแสดงใหเ้ หน็ ถึงสภาพการดำรงชวี ิต ขนบประเพณี ความเชือ่ ความศรัทธาในศาสนา ตลอดจน
สิง่ ท่เี คารพนบั ถอื ของผู้คนได้อยา่ งดี และแสดงถึงการสรา้ งสรรค์สง่ิ ทสี่ วยงามให้กับเครื่องมือเคร่ืองใช้ของแต่ละ
อย่างในท้องถิ่นด้วย (เอกวิทย์ ณ ถลาง, 2544) ศิลปหัตถกรรมภาคใต้มีความโดดเด่นในหลายด้านโดยเฉพาะ
รูปแบบของสีสัน ที่มีความสดใส เนื่องจากคนใต้เป�นคนที่มีบุคลิกลักษณะนิสัยที่ร่าเริงจึงส่งผลต่อสีสันภายใน
งานศิลปะหัตถกรรม วัสดุที่ใช้มีลักษณะเฉพาะเนื่องจากใช้วัสดุที่มีเฉพาะในท้องถิ่น ศิลปหัตถกรรมภาคใต้มี
การผนวกเรื่องความเชื่อและศาสนาทั้งศาสนาพุทธและศาสนาอิสลามที่มีกลิ่นอายของวัฒนธรรมจีนเข้ามา
ผสมผสานกันเป�นรูปแบบและลวดลายเฉพาะที่สามารถพบได้ทั่วไปในผลงานของศิลปหัตถกรรมภาคใต้ ถือ
เป�นอัตลักษณ์ทางด้านศิลปวัฒนธรรมที่มคี ุณค่า (วิบูลย์ ลี้สุวรรณ, 2544) คุณสมบัติเฉพาะหรืออัตลักษณ์ของ
ศิลปหัตถกรรมภาคใต้เป�นสิ่งสำคัญและมีคุณค่าอย่างยิ่งสะท้อนให้เห็นถึงประวัติ ความเป�นมาของท้องถ่ิน
ประวตั ิศาสตร์การดำรงชวี ิตของท้องถ่ิน สะทอ้ นถงึ ลักษณะวฒั นธรรม และสภาพแวดล้อมทเ่ี ป�นต้นกำเนิดของ
วัสดุ ที่เป�นส่วนสำคัญในการแสดงถึงอัตลักษณ์ของศิลปหัตกรรมภาคใต้ถ้าศิลปะแขนงใดก็ตามขาดซึ่งอัต
ลกั ษณ์และลักษณะเฉพาะถ่นิ แล้ว จะทำให้ดอ้ ยคณุ คา่ ขาดความน่าสนใจ และสญู สลายไปในท่สี ดุ (วิบลู ย์
ลี้สุวรรณ, 2538)

1. กำเนดิ งานหัตถกรรมไทยภาคใต้

1.1 ปจ� จัยที่เก่ียวข้องในการผลติ ผลงานศลิ ปหัตถกรรมไทยภาคใต้ ประกอบด้วยด้านตา่ ง ๆ
ดงั น้ี

-การศึกษาดา้ นประวัตศิ าสตร์ทอ้ งถิ่น
สิปปนันท์ นวลละออง และป�ยตา สุนทรป�ยะพันธ์ (2561) สรุปว่า อิทธิพลของวิถี
วัฒนธรรมบนคาบสมุทรภาคใต้ของไทย โดยเฉพาะบริเวณภาคใต้ตอนบนผ่านทางหลักฐานการจดบันทึกและ
ร่องรอยทางประวัติศาสตรแ์ ละโบราณคดี ทำใหส้ ามารถเข้าใจสภาพสังคมและความเป�นอยู่ของคนป�กษ์ใต้ตาม
วถิ วี ฒั นธรรมแบบศรวี ชิ ัยและตามคตเิ มืองสิบสองนักษัตร (ตามพรลิงค์) เพ่ิมมากข้ึน ซง่ึ หลังจากยุคศรีวิชัยเมื่อ
แควน้ ตามพรลงิ ค์เขม้ แขง็ ขน้ึ ก็ร่วมมอื กบั โจฬะโจมตีศรีวชิ ยั จนเป�นอสิ ระจาก
ศรีวิชัยได้ในราวพุทธศตวรรษที่ 17-18 นั้นเอง ต่อมาตามพรลิงค์ต้องทำศึกกับพวกชวา โดยตามพรลิงค์ได้ต้ัง
เมืองขึ้น 12 นักษัตรสำเร็จทำให้เมืองนครศรีธรรมราชมีอำนาจสูงสุด จ.นครศรีธรรมราช ได้นำสัญลักษณ์ของ
องคพ์ ระบรมธาตุเจดยี ์เป�นศนู ย์กลางเปล่งรศั มี และมีเมือง 12 นักกษตั รล้อมรอบมาเป�นตราประจำจังหวัด ซึ่ง
เมือง 12 นักษัตร ได้แก่ เมืองสายบุรี เมืองป�ตตานี ป�ฉลู เมืองกะลันตัน เมืองปะหัง เมืองไทรบุรี เมืองพัทลุง
เมอื งตรัง เมอื งชมุ พร เมอื งไชยา เมืองท่าทอง (สะอเุ ลา) เมอื งตะกว่ั ป่า และเมืองกระบุรี

121

วัฒนธรรมทั้งสองแบบนี้อิทธิพลและมีความเจริญรุ่งเรื่องอย่างยาวนาน และมีความ
เก่ยี วข้องตั้งแต่ “ยคุ สวุ รรณปุระ” จนกระทง้ั ถึง “ยคุ ตน้ ของกรุงอยธุ ยา” โดยต้ังอย่บู นพื้นฐานของพุทธศาสนา
และพราหมณ์ฮินดู ร่วมกับวัฒนธรรมชนชาวน้ำ และมีการพบหลักฐานเกี่ยวกับพระโพธิสัตว์ เทวรูปพระ
นารายณ์ และพระเจดีย์เป�นจำนวนมาก นอกจากนี้วัฒนธรรมป�กษ์ใต้ยังได้รับอิทธิพลจากความเจริญรุ่งเรือง
ของวัฒนธรรมสังคมอินเดียและจีนจากการแผ่อิทธิพลทางการค้า การที่ภาคใต้ตอนบนเป�นศูนย์กลางการค้า
ข้ามทวีปและศนู ย์กลางการเผยแผศ่ าสนาทำให้เกิดการหลอมรวมทางวัฒนธรรมหลายยคุ หลายสมัยด้วยกนั

ในป�พ.ศ. 1200-1300 เมืองไชยาเป�นศูนย์กลางของอาณาจักรศรีวิชัย และต่อมาช่วง
ปลายยุคศรีวิชัยย้ายไปอยู่บริเวณพื้นที่จ.นครศรีธรรมราชแทน ซึ่งในอดีตนั้นมีราชวงศ์ไศเลนทร์อยู่ตอนเหนือ
ของมาลายเู รยี กวา่ “ชวกะ” ตอ่ จากนัน้ ไปพิชิต “รฐั ศรวี ิชัย” ในสุมาตราและราชวงศ์ไศเลนทรช์ อบความหมาย
ของชื่อนี้เพราะแปลว่า “ผู้ชนะ” ซึ่งเป�นความหมายที่ดีจึงนำชื่อนี้มาเป�นชื่ออาณาจักรเรื่อยมา อย่างไรก็ตาม
ยุคร่วมสมัยสยาม-ไทยนั้นยุคสุโขทัยราวพุทธศตวรรษที่ 19 มีหลักฐานยืนยันว่าไชยาถูกปกครองโดย
นครศรีธรรมราช (ตามพรลิงค์) ราวพุทธศตวรรษ ที่ 18 ก่อนที่สุโขทัยจะปกครองโดยส่วนใหญ่ในแหลมมลายู
ราวต้นพุทธศตวรรษที่ 19 โดยกรมศิลปากร กล่าวว่าระหว่างนครศรีธรรมราชและสุโขทัยเป�นมิตรในลักษณะ
เพือ่ นบา้ น ไมใ่ ชค่ วามสัมพันธ์ลักษณะผู้ปกครองกับผู้ถกู ปกครอง นอกจากน้ี นงคราญ ศรชี าย และวรวิทย์ หัศ
ภาค (2543) เสนอข้อสังเกตว่ามีบางเหตุการณ์ทีเ่ กดิ ข้ึนกบั นครศรีธรรมราชสมั พันธถ์ ึงการแบ่งดนิ แดนท่ี บาง
สะพาน (จ.ประจวบคีรีขันธ์) ระหว่างท้าวอู่ทองกับพระเจ้าศรีธรรมโศกราชในสมัยอยุธยา พ.ศ.1893 สิ่งน้ี
ชี้ให้เห็นว่านครศรีธรรมราชไม่ได้ถูกปกครองโดยอยุธยาในยุคแรก ๆ หรือแม้แต่สุโขทัย ทำให้สามารถสรุปได้
เช่นกนั ว่าไชยาและพืน้ ท่ีบรเิ วณอา่ วบา้ นดอนกไ็ ม่ได้ถกู ปกครองโดยสโุ ขทยั และอยธุ ยาในยคุ แรก ๆ

ศรีวิชัยมีอิทธิพลด้านเศรษฐกิจและวัฒนธรรมที่แข็งแกร่งอย่างมาก ที่นี่มีความเชื่อ และ
ศาสนาที่หลากหลายจากวัฒนธรรมอินเดีย เช่น ศาสนาพุทธ (มหายาน) ฮินดู (นิกายไวษณพ และไศวะ)
นอกจากนั้นพระราชาและประชาชนของศรีวิชัยนับถือปฏิบัติตามอย่างพุทธมหายานเป�นหลัก ซึ่งมีหลักฐาน
สนับสนุนวา่ ศรีวชิ ัยได้สญู เสยี อำนาจ หลังป�พ.ศ. 1773 จากการที่พระเจ้าธรรมราชา จันทรภานุแหง่ ตามพรลิงค์
ผู้รับใช้ศรีวิชัยได้โจมตี เกาะลังกา 2 ครั้งและได้เสียชีวิตจากการปะทะครั้งที่ 2 หลังจากนั้นตามพรลิงค์ก็มี
สัมพนั ธภาพทีด่ กี บั สโุ ขทยั เนอ่ื งจากไม่พอใจศรวี ิชยั

ภาคใต้มีประวัติศาสตร์ความเป�นมาที่ยาวนาน มีมรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติที่มี
ความสำคัญและมีคุณค่ามากมาย ไม่ว่าจะเป�นมรดกทางวัฒนธรรมที่ไม่สามารถจับต้องได้ (Intangible
Cultural Heritage) อาทิ ความเชื่อทางพุทธศาสนามหายาน วัฒนธรรมชาวน้ำ ประเพณีการขึ้นผ้าพระธาตุ
และมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องได้ (Tangible Cultural Heritage) อาทิ เจดีย์วัดพระบรมธาตุไชยา
โบราณวัตถุสำริด เครื่องถม และผ้าทอ ล้วนแล้วแต่เป�นสิ่งที่มีลักษณะโดดเด่น สามารถเป�นตัวแทนที่แสดงให้
เห็นถึงความเป�นเอกลักษณ์ด้านศิลปกรรมหรือตัวแทนของความงดงาม และเป�นผลงานชิ้นเอกที่จัดทำขึ้นด้วย
การสรา้ งสรรคจ์ ากภูมปิ �ญญาของบรรพบุรษุ

122

ภาพประกอบ 44 ภาพแสดงอาณาเขตศรวี ชิ ัยในพทุ ธศตวรรษท่ี 15
ท่มี า : วิกิพเี ดยี สารานกุ รมเสรี. (2018). อาณาจักรศรวี ชิ ยั .
สบื ค้นจาก https://www.wikiwand.com/th/

-สภาพภูมศิ าสตร์
วิชญ์ จอมวิญญาณ์ (2560) กล่าวว่า ภาคใต้ของประเทศไทยมีลักษณะแตกต่างจากภาค
อน่ื ๆ ของประเทศไทยเนื่องจากมี ลักษณะเปน� คาบสมทุ รย่นื ออกจากภาคพ้นื ทวีปในส่วนนเี้ องที่ทำให้ประเทศ
ไทยมี ลักษณะรปู ร่างเปน� แบบขยายออกเป�นแนวยาว พ้ืนทีภ่ าคใตข้ องประเทศไทยมีความแตกต่างจากภูมิภาค
อื่น ๆ ของประเทศไทยเนื่องจากตั้งอยู่ระหว่างพื้นที่น้ำ 2 แห่งคือ อ่าวไทยและทะเลอันดามัน จึงส่งผลต่อ
สภาวะภูมอิ ากาศและลมฟา้ อากาศในพ้ืนที่มีความแตกตา่ งอยา่ งสน้ิ เชิงกับภมู ิภาคอน่ื ๆ ของไทย
พื้นที่ส่วนใหญ่ของภาคใต้ตดิ กับทะเล ลักษณะภูมิอากาศเป�นแบบร้อนชื้นแถบมรสุม คือ
มีฝนตกชุกสลับกับฤดูแล้งสั้น ๆ ภาคใต้ไม่มีฤดูหนาวเนื่องจากอยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตร และได้รับอิทธิพลจากลม
มรสุมตะวันออก เฉยี งใต้และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือทำใหฝ้ นตกชกุ ตลอดทง้ั ป� จงั หวัดท่ีมีฝนตกชุกท่ีสุด
คอื ระนอง และจงั หวดั ทม่ี ฝี นตกน้อย คอื สรุ าษฎรธ์ านี
ภาคใต้มพี ื้นท่โี ดยรวมประมาณ 70,715 ตารางกิโลเมตร ตามการแบง่ ภาคทางภูมิศาสตร์
นั้นสามารถจำแนกออกได้ทั้งหมด 14 จังหวัด ได้แก่ นครศรีธรรมราช กระบี่ ชุมพร ตรัง นราธิวาส ป�ตตานี
พงั งา พัทลุง ภเู กต็ ยะลา ระนอง สงขลา สตูล และสรุ าษฎรธ์ านี โดยจังหวดั ที่มขี นาดใหญ่ ทส่ี ุด คือ จังหวัด
สุราษฎร์ธานี มีพื้นที่รวมประมาณ 12,891.46 ตารางกิโลเมตร จังหวัดที่เล็กที่สุดคือ จังหวัดภูเก็ตมีพื้นที่รวม
ประมาณ 543.03 ตารางกิโลเมตร
ชายฝ�งและกลุ่มเกาะ สามารถแยกได้เป�น 2 ส่วน คือ ภาคใต้ฝ�งตะวันออกหรืออ่าวไทย
และฝ�งตะวันตกหรือทะเลอันดามัน ฝ�งตะวันออกหรือฝ�งอ่าวไทย ประกอบด้วยกลุ่มจังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี

123

นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ป�ตตานี ยะลาและนราธิวาส มีพื้นที่ชายฝ�งมากเนื่องจากเป�นชายฝ�งที่ เกิดจาก
การยกตวั ของและทับถมของดนิ ตะกอนและทราย เกาะในภาคใต้ฝ�งตะวนั ออก ไดแ้ ก่ หม่เู กาะ อา่ งทอง เกาะเต่า
เกาะสมุย รวมไปถึงเกาะขนาดเล็กในทะเลสาบสงขลาอีกจำนวนหนึ่ง ฝ�งตะวันตกหรือฝ�งทะเลอันดามัน
ประกอบด้วยกลุ่มจังหวัดระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง และสตูล มีพื้นที่ชายฝ�งน้อยเนื่องจากภูมิประเทศฝ�งนี้
เกดิ จากการยุบตวั และเป�นแนวเทือกเขา ภูเก็ต นอกจากชายฝ�งที่แคบแลว้ ยังมีลักษณะชายฝง� ที่เว้าแหว่งอีกด้วย
เกาะในภาคใตฝ้ ง� ตะวันตก ได้แก่ หมู่เกาะสุรินทร์ หมเู่ กาะสิมลิ ัน เกาะตะรเุ ตา เกาะพีพี เกาะลนั ตา เป�นต้น

ลกั ษณะท่ัวไปภาคใต้ของประเทศไทยมลี ักษณะเป�นคาบสมุทรย่นื เข้าไปในภาคพื้นสมุทร
พื้นที่ส่วนใหญ่เป�นชายฝ�งรับลมมรสุม ลักษณะเช่นนี้ทำให้ภาคใต้มีลักษณะอากาศร้อนชื้นและฝนตกชุกมาก
คลา้ ยคลงึ กับอากาศแบบมรสมุ ภาคใตจ้ งึ ไมม่ ฤี ดกู าลดงั เชน่ ภมู ิภาคอ่ืน ๆ ของประเทศไทย

ภาพประกอบ 45 ภาพแสดงสภาพภูมศิ าสตรภ์ าคใต้
ที่มา : ภมู ศิ าสตร์ในประเทศไทย, (2018). ภาคใต้.
สืบค้นจาก http://www.dmr.go.th/ThailandGeopark/

-ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรในภาคใต้อาจกล่าวได้ว่ามีน้อยแต่เมื่อเทียบกับพื้นที่ของคาบสมุทรนั้นแล้ว
ทรัพยากรของภาคใต้น้ันมีเป�นจำนวนมาก ทั้งในส่วนของทรพั ยากรปา่ ไม้ ทรัพยากรแร่ธาตแุ ละทรพั ยากรสัตว์
ป่า แนวเทือกเขาภูเก็ตและเทือกเขานครศรีธรรมราชเป�นพื้นที่ที่ทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่าอยู่อย่างหนาแนน่
ในส่วนของพื้นที่ราบก็มีการจัดสรรเพื่อการเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมอยา่ งเหมาะสม (วิชญ์ จอมวิญญาณ,์
2560) ทรัพยากรธรรมชาตทิ ่ีสำคญั ไดแ้ ก่

124


Click to View FlipBook Version