The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิทยาการคำนวณ ป.6

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nuengcomputer, 2021-09-29 13:08:26

วิทยาการคำนวณ ป.6

วิทยาการคำนวณ ป.6

10. บันทกึ ผลหลงั การสอน
 ดา้ นความรู้

 ดา้ นสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

 ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

 ด้านความสามารถทางวิทยาศาสตร์

 ด้านอืน่ ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤติกรรมที่มีปญั หาของนกั เรยี นเป็นรายบคุ คล (ถา้ ม)ี )

 ปัญหา/อปุ สรรค

 แนวทางการแกไ้ ข

ลงชอื่ ..................................................ครผู ู้สอน
(.................................................)

ตำแหนง่ ............................................

ข้อเสนอแนะ
1. ครอู าจจดั กิจกรรมบรู ณาการกับการทำรายงานในวิชาอนื่ ๆ ได้ โดยเฉพาะกบั วชิ าภาษาไทยในเร่ือง

ของการเขียนรายงาน การเขยี นเรยี งความ
2. ในเรือ่ งการค้นหาข้อมลู จากหลายแหล่งท่ีพบข้อมลู แตกตา่ งกัน ครูอาจยกตวั อย่างข้อมลู อนื่ ๆ ใน

ปจั จบุ ันมาให้นกั เรียนพจิ ารณา และตัง้ คาํ ถามเพ่ือให้ นักเรียนรว่ มกนั วเิ คราะหว์ ่า ข้อมูลจากเว็บไซต์ใดท่ี
น่าเช่อื ถอื มากกว่า เพราะเหตุใดและหากมผี อู้ ่ืนเช่ือตามข้อมลู ทไี่ มจ่ ริงเหลา่ นจี้ ะส่งผลเสียหรอื ไม่อยา่ งไร

3. ในหนังสอื เรียนได้ยกตวั อย่างโปรแกรมคน้ หาของ Google ซงึ่ ครูอาจใหน้ ักเรยี นฝกึ ปฏิบตั เิ ก่ียวกบั
การค้นหาข้นั สงู โดยใช้โปรแกรมค้นหาอ่ืน เช่น Bing, Duck Duck Go, Yahoo แลว้ เปรียบเทียบผลการค้นหา
ว่าเหมือนหรือแตกต่างกนั หรือไม่อยา่ งไร

4 ครอู าจให้นักเรียนสง่ คำตอบในแบบฝกึ หัดท้ายบทผ่านทางอีเมล หรือแชรไ์ ฟลโ์ ดยให้นักเรยี นจับ
ภาพ (capture) หนา้ จอท่ีมีคําค้นและผลการคน้ หาวางไว้ในไฟล์ทสี่ ่งให้ครู

แนวคำตอบแบบฝกึ หดั ท้ายบท
ขอ้ 1. พมิ พค์ ำค้น “ชอื่ สตั ว์ทเี่ ลือกตามดว้ ย site:ac.th” เชน่ “มา้ น้ำ site:ac.th” สว่ นคำตอบท่ีเป็น

เวบ็ ไซต์ใหค้ ุณครูพจิ ารณาความเหมาะสม
ขอ้ 2. พมิ พค์ ําคน้ เชน่ “ม้าน้ำ filetype:pptx”
ข้อ 3. พมิ พ์คำค้น “สวนสัตวเ์ ชยี งใหม”่ แลว้ เลือกเมนู “เครอ่ื งมือ” คลกิ ท่ี “เวลาใดกไ็ ด้” เลือก

“ระบุวันท”่ี แล้วเลือกวันทจ่ี ากปฏิทนิ ต้งั แต่ 27 พฤษภาคม 2009 ถงึ วันท่ี 27 พฤษภาคม 2009 จะได้ผลการ
ค้นหาทีน่ ่าสนใจ คือ หลินฮยุ คลอดลูก ผลการคน้ หามดี งั นี้

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 28

กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (เทคโนโลยี)

ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ปีการศกึ ษา ..........

เร่ือง นำ้ นองเต็มตลิ่ง ค้นความจริงใหก้ ระจ่าง ตอน วัตถปุ รศิ นา เวลา 1 ชวั่ โมง

ครผู สู้ อน.........................................

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชีว้ ดั
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน
และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน
และการแกป้ ัญหาไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ รเู้ ทา่ ทนั และมจี ริยธรรม
ตัวช้ีวดั ป.6/3 ใชอ้ ินเทอร์เน็ตในการค้นหาข้อมูลอย่างมปี ระสิทธิภาพ

2. จุดประสงค์การเรียนรู้ (ความรู้, ทักษะ, เจตคต)ิ
1. นกั เรียนมีความรูค้ วามเข้าใจเก่ยี วกบั การประเมินความนา่ เช่ือถือของข้อมลู
2. นกั เรียนสามารถค้นหาขอ้ มูลข้นั สูง เรียบเรยี งและสรุปขอ้ ความจากแหล่งข้อมูลหลายแหล่งได้
3. นักเรยี นมีเจตคตทิ ่ีดตี ่อวชิ าวทิ ยาศาสตร์และสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวนั ได้

3. สาระสำคญั
ตัวอย่างเว็บไซต์ที่น่าเชื่อถือ เช่น เว็บไซต์ของหน่วยงานทางด้านการศึกษา เว็บไซต์ของหน่วยงาน

ราชการ
การค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตแบบเฉพาะเจาะจง เช่น การค้นหาโดยระบุ เว็บไซต์ทำได้โดยพิมพ์

คําค้นที่ต้องการ ตามด้วย site: แล้วตามด้วยเว็บไซต์ที่ต้องการ ค้นหา การค้นหาตามชนิดไฟล์ทำได้โดยพิมพ์
คําค้นทต่ี ้องการ ตามด้วย filetype: แล้วตามดว้ ยชนิดของไฟลท์ ีต่ ้องการ

การคน้ หาโดยระบุชว่ งเวลาทำได้โดยคลิกทีป่ ุ่มเครื่องมือ (Tools) จากน้ันคลกิ ทปี่ มุ่ เวลาใดกไ็ ด้ (Any
time) แล้วคลิกทคี่ ำสง่ั ระบวุ ันท่ี (Custom range) เพ่ือระบุ ช่วงเวลาท่ีต้องการคน้ หา

หลังจากพิมพ์คำค้นและได้ผลการค้นหาแล้วในกรณีที่ต้องการดูภาพที่เกี่ยวข้อง สามารถคลิกที่คำว่า
“ค้นรูป” (Images) หากต้องการค้นหาวิดีโอให้คลิกที่คำว่า “วิดีโอ” (Videos) นอกจากนี้ ยังสามารถค้นหา
ขอ้ มลู ชนิดอื่น ๆ เชน่ ข่าวสาร (News) แผนที่ (Maps)

การค้นหาข้อมูลเพื่อทำรายงานควรค้นหาจากหลายแหล่งและค้นหาให้ รอบด้าน แล้วสรุปข้อมูลดว้ ย
ภาษาของตนเอง หรือหากคน้ หาขอ้ มลู จากหลายแหล่งแลว้ ไม่พบข้อสรุปให้เขยี นแสดงขอ้ มูลท่ีแตกต่างกัน และ

อ้างอิงแหล่งที่มาเพื่อให้ผู้อ่าน ได้ศึกษาเพิ่มเติมและหาข้อสรุปได้เอง บรรณานุกรมเป็นการอ้างอิงแหล่งที่มา
ของข้อมูล ในทา้ ยเลม่ เพอื่ ใหเ้ กยี รติเจา้ ของผลงานและประโยชนต์ อ่ ผอู้ ่านในการศึกษาขอ้ มูลเพิ่มเติม

4. สาระการเรียนรู้
1. การค้นหาขอ้ มลู ขั้นสงู
2. การประเมินความน่าเช่อื ถือของข้อมลู
3. การเรยี บเรียงและสรุปความจากแหล่งขอ้ มลู หลายแหล่ง

5. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่เรยี นรู้
2. อยู่อย่างพอเพียง
3. มุ่งมัน่ ในการทำงาน

5. ชน้ิ งานหรอื ภาระงาน
ใบกิจกรรมที่ 8.3 วตั ถปุ รศิ นา

6. กจิ กรรมการเรยี นรู้
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)

โดยเน้นผูเ้ รยี นเป็นสำคญั ดำเนนิ การเรยี นการสอนดังต่อไปนี้

1. ขั้นสร้างความสนใจ (engagement)
1. ครูทบทวนความรู้เรอ่ื งการสืบคน้ ขอ้ มูลบนอินเทอรเ์ น็ตโดยตั้งคําถามกบั นักเรยี น ดงั น้ี
- ในชว่ งนนี้ ักเรยี นใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ ค้นหาขอ้ มลู เร่ืองอะไร และใช้คําคน้ วา่ อะไร
- คำค้นที่ใช้ในการสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต ควรมีลักษณะ อย่างไร (ชัดเจน ตรง

ประเด็น)
- ถ้าคน้ หาแล้วยงั ไม่ไดผ้ ลลัพธห์ รือข้อมูลทตี่ ้องการ ควรทำอยา่ งไร (ปรับปรุงคาํ คน้ เปล่ียน

แหลง่ ขอ้ มลู )
- นอกจากการใช้โปรแกรมค้นหาในการหาข้อมูลแล้ว เรายังใช้ โปรแกรมค้นหาเป็น

เครอื่ งมอื ในการทำส่งิ ใดได้อีก (แปลภาษา สอบถามอุณหภูมิ แปลงค่าหน่วยวดั สอบถามขอ้ มูลพยากรณอ์ ากาศ
คาํ นวณ)

2. ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยใช้คําถามจากหัวข้อสำรวจความรู้ก่อนเรียนในหนังสือเรียนบทที่ 8
น้ำนองเตม็ ตล่ิง คน้ ความจริงให้กระจา่ ง หน้า 197 และอาจใชค้ าํ ถามเพ่มิ เติม เชน่

- ถ้านักเรียนได้รับมอบหมายให้ทำรายงาน นักเรียนจะค้นหาข้อมูลเพื่อทำรายงานอย่างไร
(คน้ หาจากหนังสือท่เี กีย่ วข้อง กบั รายงานน้ัน สอบถามผ้ทู เ่ี ก่ยี วข้องกับเรอื่ งนนั้ ค้นหาจากอินเทอรเ์ นต็ )

- ในการคน้ หาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตเพื่อทำรายงาน นกั เรียนจะเลือกใชข้ ้อมูลจากเว็บไซต์
ก่แี ห่ง เพราะเหตุใด

- ในการทำรายงาน นกั เรียนเคยเขยี นอ้างองิ แหลง่ ที่มาของขอ้ มูลหรือไม่ เขียนอย่างไร
2. ข้นั สำรวจและค้นหา (exploration)

1. ครูนำนกั เรียนศกึ ษาเนือ้ หาในหนังสือเรียนหนา้ 204-213 จากนน้ั ครูตั้งคาํ ถาม เช่น
- โป้งและกอ้ ยเลอื กทำรายงานเกย่ี วกบั ประเพณีอะไร (ประเพณลี อยกระทง)
- หลังจากโป้งและก้อยค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับนางนพมาศจากหลายแหล่งแล้วโป้งและก้อย

พบข้อมูลว่าอย่างไร (โป้งพบว่า นางนพมาศ คือ ท้าวศรีจุฬาลักษณ์เป็นผู้ประดิษฐ์กระทงในสมัยสุโขทัย ส่วน
ก้อยพบวา่ นางนพมาศ คอื ตัวละครใน วรรณคดี สมัยรัชกาลที่ 3)

- เมื่อโป้งและกอ้ ยคน้ ขอ้ มูลจากหลายแหลง่ แล้วพบว่าข้อมลู ท่ไี ด้ไม่ตรงกนั จงึ ปรึกษาคุณครู
คุณครูแนะนำว่าอย่างไร (ครูแนะนำให้เขียนประวัติของนางนพมาศทั้งสองแบบลงไป ในรายงานและเขียน
อา้ งองิ แหล่งท่ีมาของข้อมูลเพ่ือให้ผู้อ่าน สามารถศกึ ษาเพ่ิมเตมิ และหาข้อสรุปไดเ้ อง)

- ถ้าต้องการค้นหาข้อมูลโดยระบุชนิดของไฟล์ต้องระบุในคำค้น อย่างไร (พิมพ์คำค้นตาม
ด้วย filetype: นามสกุลของไฟล์) ถ้าต้องการค้นหาข้อมูลโดยระบุช่วงเวลา ต้องกำหนดใน โปรแกรมค้นหา
อยา่ งไร (ไปท่ีเครื่องมือ เลือกเวลาใดกไ็ ด้ เปลย่ี นเป็นระบวุ นั ท่ี เลือกวันท่ีเริม่ ต้นและสน้ิ สดุ จากปฏทิ นิ )

- ถ้านกั เรียนต้องทำรายงานเรือ่ งประเพณีลอยกระทง จะมี หัวขอ้ อะไรเพมิ่ เติมจากรายงาน
ของโป้งและก้อยบ้าง (ประเพณีลอยกระทงในประเทศอื่น ๆ ผลกระทบจากการใช้ กระทงที่ประดิษฐ์จากวัสดุ
ตา่ ง ๆ)

- การเขียนอ้างองิ ท้ายเล่ม เรยี กวา่ อะไร (บรรณานุกรม)
- การเขียนบรรณานุกรม มีข้อมูลอะไรบ้าง (ชื่อผู้เขียนหรือ หน่วยงาน ปีที่เผยแพร่ ชื่อ
เอกสาร วนั ที่สืบคน้ URL ของเวบ็ ไซต์หรอื เอกสาร)
- นักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใดจึงต้องเขียนอ้างอิงแหล่งที่มา ของข้อมูลที่นำมาประกอบ
รายงาน (เป็นการให้เกียรตเิ จา้ ของ ผลงานและเพือ่ ประโยชน์ต่อผู้อ่านใหส้ ามารถศกึ ษาเพมิ่ เตมิ ได้)
- นักเรียนเคยลอยกระทงออนไลน์หรือไม่ นักเรียนคิดว่าการลอยกระทงออนไลน์กับการ
ลอยกระทง ในสถานท่ีจริงมีขอ้ ดีข้อเสียอยา่ งไร และนักเรยี นเลือกท่ีจะ ลอยกระทงในรูปแบบใด เพราะเหตใุ ด
3. ขั้นอธิบายและลงขอ้ สรุป (explanation)
1. ครูชี้แจงและให้นักเรียนทำใบกิจกรรมที่ 8.3 วัตถุปริศนา ข้อ 1. โดยให้นักเรียนอ่าน
สถานการณ์และแหล่งข่าวทัง้ สองแหลง่ จากน้ันสอบถามนกั เรียนว่าข่าวจากแหลง่ ใดน่าเช่อื ถือมากกวา่ จากนั้น
ให้แบ่งนักเรียนออกเป็น 2 กลุ่มตามแหล่งข่าวที่เลือกและให้สมาชิกในกลุ่มอภิปรายเหตุ ผล (หรืออาจจัด
โตว้ าที) ว่าเหตุใดแหลง่ ข้อมลู นั้นจึงน่าเชื่อถือ และหากนกั เรยี นมีความเห็น เหมือนกนั ทงั้ ห้องให้ครูนําอภิปราย
เกยี่ วกับประเด็นที่ควรพิจารณาความนา่ เชอ่ื ถือของแตล่ ะแหลง่

2. ครูให้นักเรียนทำใบกิจกรรมที่ 8.3 วัตถุปริศนา ข้อ 2. จากนั้นสุ่มนักเรียนนำเสนอคำตอบ
พร้อมทงั้ อธิบายเหตผุ ลวา่ ข้อสรปุ แตล่ ะขอ้ นา่ เชือ่ ถอื หรอื ไม่ โดยครูนำอภิปรายวา่ คำตอบของนักเรยี นคนอน่ื ๆ
เหมอื นหรอื แตกตา่ งจากคำตอบของเพื่อนหรือไม่ เพราะเหตุใด

4. ขั้นขยายความรู้ (elaboration)
1. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเก่ียวกับความร้ทู ่ไี ด้รับ โดยใชป้ ระเดน็ คําถามต่อไปน้ี
- นักเรียนใช้เกณฑ์อะไรในการพิจารณาความน่าเชื่อถือของข้อมูล(ผู้เขียนเว็บไซต์ทาง

ราชการวนั ทีเ่ ผยแพรก่ ารอา้ งองิ แหลง่ ทีม่ า)
- นักเรียนได้รับความรู้อะไรบ้างจากกิจกรรมนี้ (การค้นหาข้อมูล โดยระบุชนิดไฟล์ ระบุ

ช่วงเวลา ระบุชนิดของเวบ็ ไซต์ การเลอื กแหลง่ ข้อมลู การประเมินความน่าเช่อื ถอื ของข้อมูล)
- หากนักเรียนค้นหาข้อมูลจากเว็บไซต์ 2 แห่ง แล้วได้ข้อมูล ไม่สอดคล้องกัน นักเรียนจะ

ทำอย่างไร (คน้ หาข้อมลู เพ่ิมเตมิ จากแหลง่ อ่นื ๆ แล้วสรูป)
- หากค้นหาข้อมูลจากหลายแหล่งแล้วพบว่ามีข้อมูลที่แตกต่างกัน แล้วยังหาข้อสรุปไม่ได้

นักเรียนคิดว่าจะเชื่อถือข้อมูลจาก แหล่งใดเพราะอะไร (อาจเลือกเชื่อถือข้อมูลจากเว็บไซต์ของ หน่วยงาน
ราชการ หน่วยงานดา้ นการศึกษาจากแหล่งทีศ่ ึกษา เรื่องนั้นโดยตรง หรืออาจเลือกทีจ่ ะไม่เชือ่ ถือใครและสรุป
เร่อื งนน้ั วา่ ยงั หาขอ้ สรปุ ไม่ได้)

- นกั เรยี นสามารถนำความรู้เกี่ยวกับการคน้ หาขอ้ มูลไปใช้ ในชีวติ ประจำวันได้อยา่ งไร
5. ขน้ั ประเมิน (evaluation)

1. ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุด
ใดบา้ งท่ียังไมเ่ ข้าใจหรอื ยงั มขี ้อสงสัย ถ้ามี ครูชว่ ยอธบิ ายเพมิ่ เติมใหน้ ักเรียนเขา้ ใจ

2. นักเรียนรว่ มกันประเมินการปฏบิ ัติกจิ กรรมกลุ่มว่ามีปญั หาหรืออุปสรรคใด และได้มีการ
แกไ้ ขอย่างไรบา้ ง

3. ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติ
กิจกรรม และการนำความรู้ทไี่ ดไ้ ปใช้ประโยชน์

7. กระบวนการวัดและประเมินผล
การประเมนิ การเรียนรู้ของนกั เรยี นทำได้ ดงั นี้
1. ประเมินความรเู้ ดิมจากการอภิปรายในชั้นเรียน
2. ประเมินการเรียนรู้จากคำตอบของนักเรียนระหว่างการจัดการเรียนรู้และจากแบบบันทึก

กิจกรรม
3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จากการทำกิจกรรม

ของนักเรียน

การประเมนิ จากการทำกิจกรรม

ระดบั คะแนน

3 คะแนน หมายถึง ดี 2 คะแนน หมายถงึ พอใช้ 1 คะแนน หมายถึง ควรปรบั ปรงุ

รหัส ส่ิงท่ีประเมนิ ระดบั คะแนน

ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

S1 การสงั เกต

S8 การลงความเห็นจากข้อมลู

S13 การตคี วามหมายข้อมลู และลงข้อสรุป

ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21

C4 การส่ือสาร

C5 ความร่วมมือ

8. สือ่ และแหลง่ การเรยี นรู้
- หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สสวท.
- แบบฝึกทักษะรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สสวท.
- เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ที่เชือ่ มต่ออินเทอรเ์ น็ต

9. ความเหน็ ของหัวหน้าสถานศกึ ษา/ผทู้ ไ่ี ด้รบั มอบหมาย

ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ.......................................................... แลว้ มีความเหน็ ดังนี้
1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี
 ดีมาก
 ดี
 พอใช้
 ควรปรับปรงุ
2. การจัดกจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรยี นรู้
 เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั มาใช้ในการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
 ยงั ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ ควรปรับปรงุ พัฒนาตอ่ ไป
3. เปน็ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่
 นำไปใช้ได้จริง
 ควรปรับปรงุ กอ่ นนำไปใช้
4. ขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ..................................................
(.................................................)

วันท่ี........เดือน...............พ.ศ. ...........

10. บันทกึ ผลหลงั การสอน
 ดา้ นความรู้

 ดา้ นสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

 ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

 ด้านความสามารถทางวิทยาศาสตร์

 ด้านอืน่ ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤติกรรมที่มีปญั หาของนกั เรยี นเป็นรายบคุ คล (ถา้ ม)ี )

 ปัญหา/อปุ สรรค

 แนวทางการแกไ้ ข

ลงชอื่ ..................................................ครผู ู้สอน
(.................................................)

ตำแหนง่ ............................................

ข้อเสนอแนะ
1. ครอู าจจดั กิจกรรมบรู ณาการกับการทำรายงานในวิชาอนื่ ๆ ได้ โดยเฉพาะกบั วชิ าภาษาไทยในเร่ือง

ของการเขียนรายงาน การเขยี นเรยี งความ
2. ในเรือ่ งการค้นหาข้อมลู จากหลายแหล่งท่ีพบข้อมลู แตกตา่ งกัน ครูอาจยกตวั อย่างข้อมลู อนื่ ๆ ใน

ปจั จบุ ันมาให้นกั เรียนพจิ ารณา และตัง้ คาํ ถามเพ่ือให้ นักเรียนรว่ มกนั วเิ คราะหว์ ่า ข้อมูลจากเว็บไซต์ใดท่ี
น่าเช่อื ถอื มากกว่า เพราะเหตุใดและหากมผี อู้ ่ืนเช่ือตามข้อมลู ทไี่ มจ่ ริงเหลา่ นจี้ ะส่งผลเสียหรอื ไม่อยา่ งไร

3. ในหนังสอื เรียนได้ยกตวั อย่างโปรแกรมคน้ หาของ Google ซงึ่ ครูอาจใหน้ ักเรยี นฝกึ ปฏิบตั เิ ก่ียวกบั
การค้นหาข้นั สงู โดยใช้โปรแกรมค้นหาอ่ืน เช่น Bing, Duck Duck Go, Yahoo แลว้ เปรียบเทียบผลการค้นหา
ว่าเหมือนหรือแตกต่างกนั หรือไม่อยา่ งไร

4 ครอู าจให้นักเรียนสง่ คำตอบในแบบฝกึ หัดท้ายบทผ่านทางอีเมล หรือแชรไ์ ฟลโ์ ดยให้นักเรยี นจับ
ภาพ (capture) หนา้ จอท่ีมีคําค้นและผลการคน้ หาวางไว้ในไฟล์ทสี่ ่งให้ครู

แนวคำตอบแบบฝกึ หดั ท้ายบท
ขอ้ 1. พมิ พค์ ำค้น “ชอื่ สตั ว์ทเี่ ลือกตามดว้ ย site:ac.th” เชน่ “มา้ น้ำ site:ac.th” สว่ นคำตอบท่ีเป็น

เวบ็ ไซต์ใหค้ ุณครูพจิ ารณาความเหมาะสม
ขอ้ 2. พมิ พค์ ําคน้ เชน่ “ม้าน้ำ filetype:pptx”
ข้อ 3. พมิ พ์คำค้น “สวนสัตวเ์ ชยี งใหม”่ แลว้ เลือกเมนู “เครอ่ื งมือ” คลกิ ท่ี “เวลาใดกไ็ ด้” เลือก

“ระบุวันท”่ี แล้วเลือกวันทจ่ี ากปฏิทนิ ต้งั แต่ 27 พฤษภาคม 2009 ถงึ วันท่ี 27 พฤษภาคม 2009 จะได้ผลการ
ค้นหาทีน่ ่าสนใจ คือ หลินฮยุ คลอดลูก ผลการคน้ หามดี งั นี้

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 29

กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (เทคโนโลยี)
ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ปกี ารศกึ ษา ..........
เรอ่ื ง ลงเรอื ลำใหญ่ ทอ่ งไปในโลกกวา้ ง เวลา 1 ชั่วโมง
ครผู สู้ อน.........................................

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชว้ี ัด
สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน
และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน
และการแกป้ ัญหาได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ รู้เทา่ ทันและมจี รยิ ธรรม
ตัวชี้วัด ป.6/4 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทำงานร่วมกันอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิ์ และหน้าที่ของตน
เคารพในสิทธิของผอู้ น่ื แจ้งผเู้ ก่ียวขอ้ งเมื่อพบข้อมลู หรอื บคุ คล ทีไ่ มเ่ หมาะสม

2. จุดประสงค์การเรยี นรู้ (ความร,ู้ ทักษะ, เจตคต)ิ
1. นักเรยี นมีความร้คู วามเข้าใจเกยี่ วกบั การปกป้องข้อมลู สว่ นตวั
2. นักเรยี นสามารถใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภยั ได้
3. นักเรยี นมีเจตคตทิ ี่ดตี อ่ วชิ าวิทยาศาสตร์และสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจำวันได้

3. สาระสำคญั
การเขียนข้อความให้ร้ายหรือด่าว่าผู้อื่นผ่านสื่อสังคม ทำให้ผู้อื่นได้รับความเสียหาย ถือว่าเป็นการ

ระรานทางไซเบอร์ (cyberbullying) นอกจากน้กี ารเผยแพร่ ขอ้ มูลผา่ นส่ือสงั คมยังมีความผิดตามกฎหมายอีก
ด้วยวิธีการรบั มือกับการระรานทางไซเบอร์เบ้ืองต้น คือแจ้งให้ผู้ปกครองหรือครูทราบเพื่อปกป้องตนเองไม่ให้
ถกู กลน่ั แกล้ง นอกจากนีไ้ ม่ควรตอบโต้ดว้ ยวาจาหรอื พิมพ์ขอ้ ความท่รี ุนแรงหรือไมส่ ภุ าพ

วธิ ีปฏบิ ัติในการใช้งานระบบเทคโนโลยีสนเทศอย่างปลอดภัย เช่น ต้งั รหัสผ่านทีม่ ีความยาวเหมาะสม
คาดเดาไดย้ าก เปลี่ยนรหสั ผา่ นตามระยะเวลาท่ีเหมาะสม ปรับปรงุ ระบบปฏบิ ตั กิ ารของอปุ กรณเ์ ทคโนโลยีท่ีใช้
ให้ทันสมัยอยูเ่ สมอ ไม่คลิก URL ที่น่าสงสยั ที่สง่ มากับอีเมลหรือข้อความหากพบปัญหาให้แจง้ ผู้ใหญ่ และควร
ออกจากระบบทุกครง้ั เม่ือเลิกใช้งาน โดยเฉพาะการใช้อปุ กรณ์คอมพวิ เตอร์สาธารณะหรือของผอู้ ่นื

สมาร์ตโฟนมีระบบติดตามตำแหน่ง (location) โดยใช้สัญญาณจีพีเอส (GPS) หรือสัญญาณไวไฟ
(Wi-Fi) เราสามารถปิดระบบนไี้ ด้จากเมนูของอุปกรณแ์ ตล่ ะชนิด ซึ่งอาจมวี ิธกี ารทแ่ี ตกตา่ งกัน

4. สาระการเรยี นรู้
1. การปกป้องข้อมลู ส่วนตัว
2. การใชง้ านเทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภยั

5. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์
1. ใฝเ่ รียนรู้
2. อยอู่ ย่างพอเพียง
3. ม่งุ มน่ั ในการทำงาน

5. ช้นิ งานหรอื ภาระงาน
ใบกิจกรรมท่ี 9.1 รหัสจดั ว่ายาก

6. กจิ กรรมการเรียนรู้
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)

โดยเน้นผเู้ รียนเป็นสำคญั ดำเนินการเรยี นการสอนดังตอ่ ไปน้ี

1. ข้ันสร้างความสนใจ (engagement)
1. ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยให้นักเรียนดูคลิปวิดีโอ เรื่องจอมโจรโลกไซเบอร์ จากลิงก์

oho.ipst.ac.th/im/6991 โดยให้นักเรียน ดูเพียง 3 นาทีแรก ซึ่งในช่วงนาทที ี่ 0.10 - 0.17 อาจจะ หยุดภาพ
ไว้สักครู่ เพื่ออ่านข้อความบนเว็บไซต์ที่กล่าวถึงใน คลิปวิดีโอ พร้อมทั้งอธิบายคำว่า “แฮกเกอร์” ให้นักเรียน
เข้าใจ เพิ่มเติมว่าหมายถึง บุคคลที่แอบเข้าสู่ระบบคอมพวิ เตอร์ของผูอ้ ืน่ เพื่อจุดประสงค์บางอย่าง เช่น ขโมย
ข้อมลู กลั่นแกล้ง หลังจากนน้ั ครูต้งั คำถามใหน้ กั เรียนอภปิ รายรว่ มกัน เชน่

- เพราะเหตุใดเงินในบัญชีของแม่จึงหายไป (มะโหน่งนําเลขบัญชีธนาคารของแม่ไป
เผยแพร่ในเว็บไซต์เกม)

- พฤตกิ รรมของมะโหน่งเหมาะสมหรอื ไม่ (ไม่เหมาะสม)
- นกั เรยี นเคยบอกเลขบญั ชีธนาคารกบั ผู้อ่ืนหรอื ไม่
2. ครนู ำอภิปรายจากคาํ ถามในสำรวจความรู้ก่อนเรยี นและต้งั คำถามเพม่ิ เติม เชน่
- นักเรยี นเคยใช้เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ในสถานท่เี หล่านห้ี รือไม่ เช่น ร้านเกม ร้านอินเทอร์เน็ต
ห้องสมุด ห้องคอมพิวเตอร์ของโรงเรียน นักเรียนคิดว่าการใช้คอมพิวเตอร์จากสถานที่ เหล่านี้มีข้อควรปฏิบตั ิ
แตกต่างจากการใช้คอมพิวเตอร์ส่วนตัวอย่างไร (ไม่ควรบันทึกข้อมูลส่วนตัวบนเครื่องคอมพิวเตอร์ สาธารณะ
เมื่อเข้าสู่ระบบใด ๆ บนเครื่องสาธารณะแล้วควร ออกจากระบบ เพื่อยกเลิกการใช้งานในเครื่องคอมพิวเตอร์
สาธารณะนน้ั ดว้ ย)

- นักเรียนเคยพบเหตุการณ์ที่มีผู้เข้าใช้งานโปรแกรมหรือสื่อสังคมออนไลน์ทิ้งไว้ในเครื่อง
คอมพิวเตอร์สาธารณะโดยไม่ได้ออกจากระบบหรือไม่ หากพบนักเรียนจะปฏิบตั ิอย่างไร (แจ้งผู้ใช้เข้าใช้ระบบ
นัน้ แจง้ เจ้าของร้าน แจ้งครผู สู้ อน หรอื ออกจากระบบ)

- หากนักเรียนลืมออกจากระบบ หรือโปรแกรมต่าง ๆ บนเครื่อง คอมพิวเตอร์สาธารณะ
อาจเกิดผลกระทบใดบ้าง (ผู้ไม่หวังดีอาจสวมรอยเข้าใช้งานระบบสร้างความเสียหายให้กับเราได้ เช่น พิมพ์
ข้อความหลอกลวงผู้อื่น ส่งข้อมูลที่ไม่ถูกต้องโดยใช้ชื่อเรา เปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อมูลส่วนตัว ถอนเงินหรือ โอน
เงนิ ไปยังบัญชอี ื่น)

2. ข้นั สำรวจและคน้ หา (exploration)
1. ครูทบทวนเนื้อหาในหนังสือเรียนเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 บทที่ 8 อย่าไว้ใจทาง

อยา่ วางใจขา่ ว ซ่ึงมกี ารสง่ ต่อขา่ ว คลนื่ ความร้อนท่จี ะเข้ามาในประเทศไทย และต้ังคำถามว่าเมื่อ ข่าวน้ีถูกแชร์
ไปแลว้ สง่ ผลอยา่ งไรบา้ ง (โป้ง กอ้ ย และอิม่ รบี ชว่ ยกัน ถอดกระเบ้อื งหลงั คาออกทำให้หลงั คาเสยี หาย) จากนนั้
ครู ทบทวนประเภทของข่าวลวงในหน้า 136 และอาจยกตัวอย่าง ข่าวลวงอื่น ๆ ที่พบในปัจจุบัน หรือให้
นักเรียนรว่ มกนั ยกตัวอย่าง ข่าวลวงที่เคยพบ และตั้งคําถามให้ร่วมกันอภิปราย เช่น หาก ข่าวเหล่านี้ถูกสง่ ต่อ
หรอื เผยแพร่ออกไป จะสง่ ผลกระทบหรือผลเสียอย่างไรบ้าง

2. ครูนำนักเรียนศึกษาเนื้อหาในหนังสือเรียนบทที่ 9 ลงเรือลำใหญ่ ท่องไปในโลกกว้าง หน้า
220-222 และต้ังคำถามใหน้ กั เรียน รว่ มกันอภปิ รายจากเนื้อเร่อื ง ตวั อย่างประเด็นการอภิปราย เชน่

- ขา่ วปลอมทแ่ี ชร์ในหน้า 220 กล่าวถึงอ่ิมว่าอย่างไร (เปน็ หุ่นยนต์แอบถ่าย)
- เมอื่ ขา่ วน้ีถูกแชร์ออกไปสง่ ผลอยา่ งไรกับอิ่ม (อิ่มถูกผู้อน่ื เกลยี ดชงั และถกู ทำร้าย)
- นักเรียนเคยพบการระรานทางไซเบอร์ (cyberbullying) ในรูปแบบอื่นหรือไม่ อย่างไร
การใช้ถ้อยคำหยาบคายด่าทอผู้อื่น การแอบอ้างตัวตนของผู้อื่น การกล่าวถึงปมด้อยของ ผู้อื่น การกลั่นแกล้ง
ผู้อน่ื )
- ลงุ มะนาวแนะนำวธิ รี บั มือกับการระรานทางไซเบอรใ์ ห้กบั โป้งก้อยอยา่ งไร (แจง้ ให้ผู้ใหญ่
ทราบ)
- นักเรยี นคิดวา่ มวี ธิ รี บั มือกับการระรานทางไซเบอร์แบบอนื่ อีกหรือไม่นักเรียนคิดว่าวิธีการ
นี้เหมาะสมหรอื ไมเ่ หมาะสม เพราะอะไร
3. ครูให้นักเรียนดูคลิปวิดีโอเกี่ยวกับการระรานทางไซเบอร์รูปแบบต่าง ๆ จากลิงก์
oho.ipst.ac.th/im/6992 และต้งั คาํ ถามว่า นกั เรยี นคดิ ว่าผู้ที่ถกู นำภาพไปโพสต์ในทางเสียหายจะรูส้ ึกอย่างไร
เหตใุ ดจงึ ไมค่ วรโพสต์
4. ครูนำนักเรียนศึกษาเนื้อหาในหนังสือเรียนหน้า 223-231 และตั้งคำถามให้นักเรียนร่วมกัน
อภิปรายจากเนือ้ เรอื่ ง ตวั อย่างประเดน็ การอภปิ ราย เช่น
- รหัสผ่านกับแปรงสีฟันเหมือนกันอย่างไรบ้าง (ควรเปลี่ยนตามเวลาที่เหมาะสม ไม่ใช้
รว่ มกับผูอ้ ่นื )

- เพราะเหตุใดคุณแม่จึงสามารถเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ ของเรือได้โดยใช้เวลาไม่นาน
(เพราะคุณแม่ค้นหาขอ้ มูล ในอินเทอร์เน็ตเก่ียวกับรหัสผ่านยอดแยป่ ลี า่ สุด แล้วทดลอง ใช้รหัสดังกลา่ วในการ
เข้าระบบ ซึ่งรหัสผ่านยอดแย่จะ เป็นรหัสที่คนนิยมใช้และถูกเจาะระบบได้ง่าย) รหัสผ่านที่ดีควรเป็นอย่างไร
(มีความยาวเหมาะสม ผสมท้งั ตัวเลข ตัวอักษรและสัญลกั ษณ์พิเศษ และเจ้าของสามารถ จดจาํ ได้ง่าย)

- ระบบอะไรบ้างที่ต้องใช้รหัสผ่าน (สื่อสังคม ธนาคาร ลงทะเบียนเรียนออนไลน์ อีเมล
ระบบคอมพิวเตอร์ ของโรงเรยี น)

- เพราะเหตุใดไต้ก๋งจึงคลิกยูอาร์แอล (URL) ที่แนบมากับอีเมลแล้วรีบติดตั้งโปรแกรม
(เพราะ อีเมลแจ้งเตือนให้ระวังมัลแวร์ และส่งลิงก์โปรแกรมป้องกันมาให้ ไต้ก๋งได้ยินว่ามัลแวร์ คือโปรแกรม
อนั ตราย จงึ รีบคลกิ แลว้ ตดิ ตง้ั โปรแกรม)

- การใช้งานอินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย มีข้อควรปฏิบัติอย่างไรบ้าง (ตั้งรหัสผ่านให้
ปลอดภัย อปั เดตระบบปฏิบตั ิการ ไมค่ ลกิ ลิงกน์ ่าสงสัย ติดต้ังโปรแกรมจากเวบ็ ไซต์ทนี่ ่าเชอ่ื ถอื )

- หากเกิดปัญหาในการใช้งานระบบอินเทอร์เน็ต ควรปฏิบัติอย่างไร (แจ้งคุณครู หรือ
ผปู้ กครอง)

3. ข้ันอธิบายและลงขอ้ สรุป (explanation)
1. ครูชี้แจงและให้นักเรียนทำใบกิจกรรมที่ 9.1 รหัสจัดว่ายาก ข้อ 1. จากนั้นครูนํานักเรียน

อภิปรายคําตอบร่วมกัน โดยพิจารณา ว่ารหัสผ่านในแต่ละข้อคาดเดาได้งา่ ยหรอื ยาก เพราะเหตุใด (ข้อที่ตอบ
ว่าคาดเดาได้ง่ายอาจเป็นเพราะมีตัวอักษรจำนวน ไม่มาก หรือมีการใช้ตัวอักษร ตัวเลข หรือสัญลักษณ์พิเศษ
เพียง อย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น ส่วนข้อที่ตอบว่าคาดเดายากจะมี ตัวอักษรจำนวนมาก และมีทั้งตัวอักษร
ตวั เลข และสญั ลักษณ์พิเศษรวมกันอย)ู่

2. ครูชี้แจงและให้นักเรียนทำใบกิจกรรมที่ 9.1 รหัสจัดว่ายาก ข้อ 2. โดยครูให้นักเรียนแต่ละ
คนตั้งรหัสผ่านทีค่ ิดว่าปลอดภัยท่ีสุด โดยไม่ซ้ำกับรหัสที่ใช้อยู่จริง แล้วเขียนลงในกระดาษแผน่ เล็ก จากนั้นให้
นักเรียนจับคู่กัน สลับกันบอกรหัสของตนเองโดยให้ เพื่อนตรวจสอบว่าเจ้าของรหัสสามารถจดจำรหัสได้
ถูกต้องหรือไม่ ให้นักเรียนนำรหัสที่ตั้งขึ้นไปตรวจสอบระยะเวลาที่ใช้ในการ เข้าถึงผ่านเว็บไซต์
www.howsecureismypassword.net/ ถ้ารหัสของนักเรียนคนใดใช้เวลาเข้าถึงนานที่สุด ถือเป็นรหัส ที่
ปลอดภัยทส่ี ุด ครเู น้นย้ำวา่ รหัสที่ดนี อกจากจะปลอดภัยแลว้ เจ้าของรหสั จะต้องจดจำรหัสนั้นได้ด้วย ครูเขียน
รหสั ทปี่ ลอดภัยทีส่ ุดบนกระดาน ใหน้ กั เรียนทั้งช้ันชว่ ยกนั วเิ คราะห์ว่าเพราะเหตใุ ดรหสั ดังกลา่ วจึงเป็นรหัสที่ใช้
เวลาเขา้ ถงึ นานที่สดุ

3. ครตู ง้ั คำถามวา่ รหัสผ่านทีป่ ลอดภยั ควรมีลักษณะอย่างไร (มจี ำนวน 8 ตวั ข้ึนไป มีการผสม
ทั้งตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์พิเศษ ตัวอักษรมีทั้งตัวพิมพ์เล็กและพิมพ์ใหญ่) ข้อมูลใดบ้างที่ไม่ควรนำมาตั้ง
เป็นรหสั ผา่ น (ขอ้ มลู ท่ีใชใ้ นการระบตุ ัวตนทวั่ ไป เช่น ช่ือ-นามสกุล เลขบตั รประจาํ ตัว วนั เดอื นปเี กิด ข้อมลู การ
ติดต่อ เช่น หมายเลขโทรศัพท์ ชื่อบุคคลรอบข้างหรือ สัตว์เลี้ยงคําที่พบในพจนานุกรม คําทั่วไปที่มีการสะกด
จาก หลังไปหน้า เช่น password -> drowssap, admin -> nimda, root -> toor ใช้รูปแบบตัวอักษรหรือ
ตัวเลขที่ซ้ำหรือเรียงลำดับ เชน่ aaabbb, qwerty, 12345, 123321)

4. ข้นั ขยายความรู้ (elaboration)
1. ครูนำนักเรียนอภิปรายเกี่ยวกับการนำความรู้ จากการเรียนรายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการ

คาํ นวณ) ตลอด 6 ช้ันปี ไปใช้ในชวี ิตประจำวนั โดยอาจแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 กลมุ่ ไดแ้ ก่
1) การร้เู ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร (การเลือกใช้ซอฟต์แวร์ในการแก้ปัญหาหรือ

ทำงานร่วมกัน การสร้างทางเลือกเพ่อื ตัดสินใจ การเลอื กคาํ คน้ ที่เหมาะสมการเลอื กแหลง่ ข้อมลู ท่ีน่าเชื่อถือ)
2) การรู้ดิจิทัล (พิจารณาความน่าเชื่อถือของข่าวบนอินเทอร์เน็ต และในสื่อสังคม วิธีการ

ปกปอ้ งตวั เองจากอันตรายท่ีมากับอินเทอร์เนต็ และไมท่ ำให้ผูอ้ น่ื เดือดร้อน)
3) วิทยาการคอมพิวเตอร์ (ออกแบบวิธีการแก้ปัญหาโดยใช้รหัสลำลอง เขียนผังงานเพ่ือ

วางแผนการทำงาน ออกแบบ ขั้นตอนในการแก้ปัญหาเพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่พบในชีวิต ประจำวัน เขียน
โปรแกรมสร้างเกมหรอื ควบคุมห่นุ ยนต์ ใหช้ ่วยงาน)

5. ขั้นประเมิน (evaluation)
1. ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุด

ใดบ้างที่ยังไมเ่ ขา้ ใจหรอื ยงั มีข้อสงสัย ถ้ามี ครูชว่ ยอธบิ ายเพ่มิ เตมิ ให้นักเรียนเข้าใจ
2. นกั เรยี นรว่ มกนั ประเมนิ การปฏบิ ตั ิกจิ กรรมกลุ่มวา่ มีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการ

แกไ้ ขอยา่ งไรบา้ ง
3. ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติ

กิจกรรม และการนำความรทู้ ี่ได้ไปใช้ประโยชน์

7. กระบวนการวดั และประเมนิ ผล
การประเมนิ การเรยี นรขู้ องนกั เรียนทำได้ ดงั นี้
1. ประเมนิ ความรูเ้ ดมิ จากการอภปิ รายในช้นั เรียน
2. ประเมินการเรียนรู้จากคำตอบของนักเรียนระหว่างการจัดการเรียนรู้และจากแบบบันทึก

กจิ กรรม
3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จากการทำกิจกรรม

ของนักเรยี น

การประเมินจากการทำกจิ กรรม

ระดับคะแนน

3 คะแนน หมายถึง ดี 2 คะแนน หมายถงึ พอใช้ 1 คะแนน หมายถงึ ควรปรับปรุง

รหัส สิ่งทปี่ ระเมิน ระดับคะแนน

ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

S1 การสังเกต

S8 การลงความเห็นจากขอ้ มูล

S13 การตคี วามหมายข้อมลู และลงขอ้ สรปุ

ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21

C4 การสอ่ื สาร

C5 ความรว่ มมอื

8. ส่ือและแหลง่ การเรียนรู้
- หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สสวท.
- แบบฝึกทักษะรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สสวท.
- เครอื่ งคอมพิวเตอร์ทเ่ี ชื่อมตอ่ อนิ เทอร์เน็ต
- คลปิ วดิ โี อ เร่ือง จอมโจรโลกไซเบอร์ oho.ipst.ac.th/im/6991
- คลิปวดิ ีโอ เร่อื ง การระรานทางไซเบอร์ oho.ipst.ac.th/im/6992
- คลปิ วดิ ีโอ เรอ่ื ง จบั ตายวายร้ายไวรัส oho.ipst.ac.th/im/6993
- คลปิ วิดโี อ เรื่อง ผลรา้ ยของ Cyberbullying oho.ipst.ac.th/im/6994
- คลิปวิดโี อ เรือ่ ง Cyberbullying oho.ipst.ac.th/im/6995
- การใชส้ อ่ื สังคมออนไลน์อยา่ งปลอดภยั oho.ipst.ac.th/im/6996
- กำหนดรหัสผา่ น (Password) ต้งั คา่ อย่างไรให้ปลอดภยั oho.ipst.ac.th/im/6997

9. ความเหน็ ของหัวหน้าสถานศกึ ษา/ผู้ทไี่ ด้รบั มอบหมาย

ไดท้ ำการตรวจแผนการจดั การเรียนรูข้ อง.......................................................... แล้วมคี วามเหน็ ดงั น้ี
1. เปน็ แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่
 ดีมาก
 ดี
 พอใช้
 ควรปรับปรุง
2. การจดั กิจกรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้
 เน้นผู้เรียนเป็นสำคญั มาใชใ้ นการสอนได้อย่างเหมาะสม
 ยงั ไมเ่ นน้ ผู้เรยี นเป็นสำคญั ควรปรับปรงุ พัฒนาต่อไป
3. เป็นแผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี
 นำไปใช้ได้จริง
 ควรปรับปรุงก่อนนำไปใช้
4. ข้อเสนอแนะอ่นื ๆ

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงช่อื ..................................................
(.................................................)

วันที่........เดือน...............พ.ศ. ...........

10. บันทกึ ผลหลงั การสอน
 ดา้ นความรู้

 ดา้ นสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

 ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

 ด้านความสามารถทางวิทยาศาสตร์

 ด้านอืน่ ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤติกรรมที่มีปญั หาของนกั เรยี นเป็นรายบคุ คล (ถา้ ม)ี )

 ปัญหา/อปุ สรรค

 แนวทางการแกไ้ ข

ลงชอื่ ..................................................ครผู ู้สอน
(.................................................)

ตำแหนง่ ............................................

ขอ้ เสนอแนะ
1. ในขนั้ นำเข้าสูบ่ ทเรียนถ้ามีเวลามากพอให้นักเรยี นดูคลปิ วดิ ีโอ เรอ่ื งจอมโจรโลกไซเบอรใ์ หจ้ บ

เพราะนักเรยี นจะไดร้ ับความรู้เพิ่มเติม เก่ยี วกับแฮกเกอร์ จากนัน้ ครูนำนักเรยี นอภิปรายสรปุ ร่วมกันในประเดน็
ต่อไปน้ี เช่น

- แฮกเกอร์คืออะไร มผี ลกระทบอย่างไรต่อการใช้งานคอมพิวเตอร์และอินเทอรเ์ น็ต
- แฮกเกอร์มกี ่แี บบ แตล่ ะแบบแตกตา่ งกนั อยา่ งไร
2. ครอู าจแนะนาํ ใหน้ ักเรยี นรู้จกั คำวา่ ไต้ก๋ง ซึ่งหมายถึง ผู้ควบคุมเรือในภาษาองั กฤษ เรียกว่า กปั ตนั
(captain)
3. หากนกั เรยี นไม่รจู้ ักหนังตะลงุ ครอู าจเปดิ คลิปวดิ ีโอหนังตะลงุ ให้นักเรยี นดูเปน็ ตัวอย่าง จากลงิ ก์
oho.ipst.ac.th/im/6998 โดยใหด้ ูบางชว่ งทัง้ ชว่ งทม่ี ีการร้องบทกลอน และช่วงสนทนา
4. ครอู าจเลือกเปดิ คลปิ วิดีโอจากหัวขอ้ สื่อและแหลง่ เรียนรขู้ อ้ 8.4 และ 8.5 ให้นักเรยี นดูเพิม่ เติม
และตัง้ คำถามให้อภปิ รายร่วมกนั
5. ครอู าจศึกษาเรื่องการใช้ส่อื สังคมออนไลน์อย่างปลอดภัย และการกำหนดรหสั ผ่าน จากคลิปวิดีโอ
และเว็บไซต์จากหัวข้อสอ่ื และแหลง่ เรียนรู้ ข้อ 8.6-8.8

แนวคำตอบแบบฝึกหดั ทา้ ยบท
ข้อ 1. รหัสท่ปี ลอดภยั ท่สี ุด คือข้อ ง. 93#5H-v9tyK แต่อาจไม่ใชร่ หัสท่ีดีท่ีสดุ เนื่องจากจดจาํ ได้ยาก

รหสั ท่ดี ีทสี่ ดุ คอื ข้อ ข. Pong$2562 เนื่องจาก มีการผสมท้งั ตวั อกั ษร ตวั เลข สญั ลักษณ์ มีท้ังตัวพมิ พ์เลก็ พิมพ์
ใหญ่และสามารถจดจำไดเ้ นื่องจากผสมเปน็ คำ

ข้อ 2. การกระทำที่เปน็ การใชง้ านสอ่ื สังคมอยา่ งปลอดภยั และเหมาะสม คือข้อ ค. คนไมร่ ้จู ักส่ง
ข้อความชวนไปเทย่ี วหลายครั้งจงึ กดบลอ็ ก (black) เพื่อปิดกั้นไม่ให้เห็นข้อความจากคนนี้อีก

ข้อ 3. ควรแนะนำเพ่ือนวา่ ควรดาวนโ์ หลดโปรแกรมตัดตอ่ วิดโี อจากเวบ็ ไซตท์ ี่นา่ เชอ่ื ถือเท่านนั้ เชน่
เว็บไซตท์ างการของโปรแกรมตดั ตอ่ วิดโี อ

ข้อ 4. แนะนำให้เพ่ือนแจง้ ผู้ดูแลระบบและขอรหัสผ่านเขา้ ระบบใหมเ่ พื่อให้สามารถใชอ้ ีเมลของ
ตนเองในการสง่ งาน เพราะเราไมค่ วรใหผ้ ู้อ่ืนใช้บญั ชีอเี มลของเราเน่ืองจากมขี ้อมลู ส่วนตัวและป้องกนั การ
นําไปใชใ้ นทางท่ไี ม่เหมาะสม

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 30

กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (เทคโนโลยี)

ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6 ปกี ารศึกษา ..........

เรอื่ ง ลงเรอื ลำใหญ่ ทอ่ งไปในโลกกว้าง ตอน ปลอดภยั ไว้ก่อน เวลา 1 ชว่ั โมง

ครผู ู้สอน.........................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชวี้ ดั
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน
และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน
และการแกป้ ญั หาได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ รเู้ ทา่ ทนั และมจี ริยธรรม
ตัวชี้วัด ป.6/4 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทำงานร่วมกันอย่างปลอดภยั เข้าใจสิทธิ์ และหน้าที่ของตน
เคารพในสทิ ธขิ องผอู้ ืน่ แจง้ ผู้เกีย่ วข้องเม่ือพบข้อมลู หรอื บคุ คล ท่ไี ม่เหมาะสม

2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ (ความรู้, ทักษะ, เจตคต)ิ
1. นกั เรียนมีความรคู้ วามเขา้ ใจเก่ยี วกบั การปกป้องข้อมูลส่วนตัว
2. นักเรียนสามารถใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภัยได้
3. นกั เรยี นมีเจตคตทิ ด่ี ตี ่อวิชาวทิ ยาศาสตร์และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวนั ได้

3. สาระสำคญั
การเขียนข้อความให้ร้ายหรือด่าว่าผู้อื่นผ่านสื่อสังคม ทำให้ผู้อื่นได้รับความเสียหาย ถือว่าเป็นการ

ระรานทางไซเบอร์ (cyberbullying) นอกจากนีก้ ารเผยแพร่ ข้อมูลผา่ นส่อื สงั คมยังมีความผิดตามกฎหมายอีก
ด้วยวิธีการรบั มือกับการระรานทางไซเบอร์เบ้ืองต้น คือแจ้งให้ผู้ปกครองหรือครูทราบเพื่อปกป้องตนเองไม่ให้
ถกู กลนั่ แกลง้ นอกจากนไี้ ม่ควรตอบโตด้ ้วยวาจาหรือพมิ พข์ อ้ ความท่ีรุนแรงหรือไมส่ ภุ าพ

วธิ ีปฏิบตั ใิ นการใช้งานระบบเทคโนโลยสี นเทศอย่างปลอดภัย เช่น ตั้งรหสั ผา่ นท่มี ีความยาวเหมาะสม
คาดเดาได้ยาก เปลี่ยนรหัสผ่านตามระยะเวลาที่เหมาะสม ปรบั ปรุงระบบปฏิบตั กิ ารของอปุ กรณเ์ ทคโนโลยีท่ีใช้
ให้ทันสมัยอยู่เสมอ ไม่คลิก URL ที่น่าสงสยั ทีส่ ่งมากับอีเมลหรือข้อความหากพบปัญหาให้แจ้งผู้ใหญ่ และควร
ออกจากระบบทกุ คร้งั เม่อื เลิกใชง้ าน โดยเฉพาะการใช้อปุ กรณค์ อมพวิ เตอรส์ าธารณะหรอื ของผ้อู น่ื

สมาร์ตโฟนมีระบบติดตามตำแหน่ง (location) โดยใช้สัญญาณจีพีเอส (GPS) หรือสัญญาณไวไฟ
(Wi-Fi) เราสามารถปดิ ระบบนีไ้ ด้จากเมนขู องอปุ กรณ์แต่ละชนิด ซงึ่ อาจมีวิธีการทแี่ ตกต่างกัน

4. สาระการเรียนรู้
1. การปกป้องข้อมลู ส่วนตัว
2. การใชง้ านเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย

5. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์
1. ใฝเ่ รยี นรู้
2. อยู่อย่างพอเพยี ง
3. ม่งุ มัน่ ในการทำงาน

5. ชนิ้ งานหรือภาระงาน
ใบกิจกรรมท่ี 9.2 ปลอดภยั ไว้กอ่ น

6. กจิ กรรมการเรียนรู้
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)

โดยเน้นผ้เู รยี นเป็นสำคัญ ดำเนินการเรยี นการสอนดงั ตอ่ ไปนี้

1. ข้นั สรา้ งความสนใจ (engagement)
1. ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยให้นักเรียนดูคลิปวิดีโอ เรื่องจอมโจรโลกไซเบอร์ จากลิงก์

oho.ipst.ac.th/im/6991 โดยให้นักเรยี น ดูเพียง 3 นาทีแรก ซึ่งในช่วงนาทที ี่ 0.10 - 0.17 อาจจะ หยุดภาพ
ไว้สักครู่ เพื่ออ่านข้อความบนเว็บไซต์ที่กล่าวถึงใน คลิปวิดีโอ พร้อมทั้งอธิบายคำว่า “แฮกเกอร์” ให้นักเรียน
เข้าใจ เพิ่มเติมว่าหมายถงึ บุคคลที่แอบเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ของผูอ้ ืน่ เพื่อจุดประสงค์บางอย่าง เช่น ขโมย
ขอ้ มลู กลั่นแกล้ง หลังจากนน้ั ครูตัง้ คำถามให้นกั เรยี นอภิปรายร่วมกัน เชน่

- เพราะเหตุใดเงินในบัญชีของแม่จึงหายไป (มะโหน่งนําเลขบัญชีธนาคารของแม่ไป
เผยแพรใ่ นเวบ็ ไซตเ์ กม)

- พฤตกิ รรมของมะโหน่งเหมาะสมหรือไม่ (ไมเ่ หมาะสม)
- นักเรยี นเคยบอกเลขบญั ชธี นาคารกบั ผูอ้ นื่ หรอื ไม่
2. ครูนำอภปิ รายจากคําถามในสำรวจความรูก้ อ่ นเรยี นและต้งั คำถามเพม่ิ เติม เชน่
- นักเรยี นเคยใชเ้ คร่อื งคอมพิวเตอร์ในสถานท่ีเหลา่ นห้ี รือไม่ เช่น ร้านเกม ร้านอินเทอร์เน็ต
ห้องสมุด ห้องคอมพิวเตอร์ของโรงเรียน นักเรียนคิดว่าการใช้คอมพิวเตอร์จากสถานที่ เหล่านี้มีข้อควรปฏิบตั ิ
แตกต่างจากการใช้คอมพิวเตอร์ส่วนตัวอย่างไร (ไม่ควรบันทึกข้อมูลส่วนตัวบนเครื่องคอมพิวเตอร์ สาธารณะ
เมื่อเข้าสู่ระบบใด ๆ บนเครื่องสาธารณะแล้วควร ออกจากระบบ เพื่อยกเลิกการใช้งานในเครื่องคอมพิวเตอร์
สาธารณะนัน้ ด้วย)

- นักเรียนเคยพบเหตุการณ์ที่มีผู้เข้าใช้งานโปรแกรมหรือสื่อสังคมออนไลน์ทิ้งไว้ในเครื่อง
คอมพิวเตอร์สาธารณะโดยไม่ได้ออกจากระบบหรือไม่ หากพบนักเรียนจะปฏิบตั ิอย่างไร (แจ้งผู้ใช้เข้าใช้ระบบ
นัน้ แจง้ เจ้าของร้าน แจ้งครผู สู้ อน หรอื ออกจากระบบ)

- หากนักเรียนลืมออกจากระบบ หรือโปรแกรมต่าง ๆ บนเครื่อง คอมพิวเตอร์สาธารณะ
อาจเกิดผลกระทบใดบ้าง (ผู้ไม่หวังดีอาจสวมรอยเข้าใช้งานระบบสร้างความเสียหายให้กับเราได้ เช่น พิมพ์
ข้อความหลอกลวงผู้อื่น ส่งข้อมูลที่ไม่ถูกต้องโดยใช้ชื่อเรา เปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อมูลส่วนตัว ถอนเงินหรือ โอน
เงนิ ไปยังบัญชอี ื่น)

2. ข้นั สำรวจและคน้ หา (exploration)
1. ครูทบทวนเนื้อหาในหนังสือเรียนเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 บทที่ 8 อย่าไว้ใจทาง

อยา่ วางใจขา่ ว ซ่ึงมกี ารสง่ ต่อขา่ ว คลนื่ ความร้อนท่จี ะเข้ามาในประเทศไทย และต้ังคำถามว่าเมื่อ ข่าวน้ีถูกแชร์
ไปแลว้ สง่ ผลอยา่ งไรบา้ ง (โป้ง กอ้ ย และอิม่ รบี ชว่ ยกัน ถอดกระเบ้อื งหลงั คาออกทำให้หลงั คาเสยี หาย) จากนนั้
ครู ทบทวนประเภทของข่าวลวงในหน้า 136 และอาจยกตัวอย่าง ข่าวลวงอื่น ๆ ที่พบในปัจจุบัน หรือให้
นักเรียนรว่ มกนั ยกตัวอย่าง ข่าวลวงที่เคยพบ และตั้งคําถามให้ร่วมกันอภิปราย เช่น หาก ข่าวเหล่านี้ถูกสง่ ต่อ
หรอื เผยแพร่ออกไป จะสง่ ผลกระทบหรือผลเสียอย่างไรบ้าง

2. ครูนำนักเรียนศึกษาเนื้อหาในหนังสือเรียนบทที่ 9 ลงเรือลำใหญ่ ท่องไปในโลกกว้าง หน้า
220-222 และต้ังคำถามใหน้ กั เรียน รว่ มกันอภปิ รายจากเนื้อเร่อื ง ตวั อย่างประเด็นการอภิปราย เชน่

- ขา่ วปลอมทแ่ี ชร์ในหน้า 220 กล่าวถึงอ่ิมว่าอย่างไร (เปน็ หุ่นยนต์แอบถ่าย)
- เมอื่ ขา่ วน้ีถูกแชร์ออกไปสง่ ผลอยา่ งไรกับอิ่ม (อิ่มถูกผู้อน่ื เกลยี ดชงั และถกู ทำร้าย)
- นักเรียนเคยพบการระรานทางไซเบอร์ (cyberbullying) ในรูปแบบอื่นหรือไม่ อย่างไร
การใช้ถ้อยคำหยาบคายด่าทอผู้อื่น การแอบอ้างตัวตนของผู้อื่น การกล่าวถึงปมด้อยของ ผู้อื่น การกลั่นแกล้ง
ผู้อน่ื )
- ลงุ มะนาวแนะนำวธิ รี บั มือกับการระรานทางไซเบอรใ์ ห้กบั โป้งก้อยอยา่ งไร (แจง้ ให้ผู้ใหญ่
ทราบ)
- นักเรยี นคิดวา่ มวี ธิ รี บั มือกับการระรานทางไซเบอร์แบบอนื่ อีกหรือไม่นักเรียนคิดว่าวิธีการ
นี้เหมาะสมหรอื ไมเ่ หมาะสม เพราะอะไร
3. ครูให้นักเรียนดูคลิปวิดีโอเกี่ยวกับการระรานทางไซเบอร์รูปแบบต่าง ๆ จากลิงก์
oho.ipst.ac.th/im/6992 และต้งั คาํ ถามว่า นกั เรยี นคดิ ว่าผู้ที่ถกู นำภาพไปโพสต์ในทางเสียหายจะรูส้ ึกอย่างไร
เหตใุ ดจงึ ไมค่ วรโพสต์
4. ครูนำนักเรียนศึกษาเนื้อหาในหนังสือเรียนหน้า 223-231 และตั้งคำถามให้นักเรียนร่วมกัน
อภิปรายจากเนือ้ เรอื่ ง ตวั อย่างประเดน็ การอภปิ ราย เช่น
- รหัสผ่านกับแปรงสีฟันเหมือนกันอย่างไรบ้าง (ควรเปลี่ยนตามเวลาที่เหมาะสม ไม่ใช้
รว่ มกับผูอ้ ่นื )

- เพราะเหตุใดคุณแม่จึงสามารถเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ ของเรือได้โดยใช้เวลาไม่นาน
(เพราะคุณแม่ค้นหาขอ้ มูล ในอินเทอร์เน็ตเกี่ยวกับรหสั ผ่านยอดแยป่ ีล่าสุด แล้วทดลอง ใช้รหัสดังกล่าวในการ
เข้าระบบ ซึ่งรหัสผ่านยอดแย่จะ เป็นรหัสที่คนนิยมใช้และถูกเจาะระบบได้ง่าย) รหัสผ่านที่ดีควรเป็นอย่างไร
(มคี วามยาวเหมาะสม ผสมทง้ั ตัวเลข ตัวอักษรและสญั ลกั ษณพ์ เิ ศษ และเจ้าของสามารถ จดจําได้ง่าย)

- ระบบอะไรบ้างที่ต้องใช้รหัสผ่าน (สื่อสังคม ธนาคาร ลงทะเบียนเรียนออนไลน์ อีเมล
ระบบคอมพวิ เตอร์ ของโรงเรียน)

- เพราะเหตุใดไต้ก๋งจึงคลิกยูอาร์แอล (URL) ที่แนบมากับอีเมลแล้วรีบติดตั้งโปรแกรม
(เพราะ อีเมลแจ้งเตือนให้ระวังมัลแวร์ และส่งลิงก์โปรแกรมป้องกันมาให้ ไต้ก๋งได้ยินว่ามัลแวร์ คือโปรแกรม
อันตราย จึงรีบคลิกแล้วติดตงั้ โปรแกรม)

- การใช้งานอินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย มีข้อควรปฏิบัติอย่างไรบ้าง (ตั้งรหัสผ่านให้
ปลอดภัย อัปเดตระบบปฏบิ ตั ิการ ไมค่ ลกิ ลิงก์น่าสงสยั ตดิ ต้งั โปรแกรมจากเวบ็ ไซตท์ ี่นา่ เชอ่ื ถือ)

- หากเกิดปัญหาในการใช้งานระบบอินเทอร์เน็ต ควรปฏิบัติอย่างไร (แจ้งคุณครู หรือ
ผปู้ กครอง)

3. ขนั้ อธบิ ายและลงขอ้ สรุป (explanation)
1. ครูชี้แจงและให้นักเรียนทำใบกิจกรรมที่ 9.2 ปลอดภัยไว้ก่อน โดยครูอธิบายเพิ่มเติมวา่ ใน

แต่ละสถานการณ์อาจตอบได้มากกว่า 1 ข้อ จากนั้นครูนำนักเรียนอภิปรายคําตอบร่วมกัน โดยมีประเด็นใน
การอภปิ ราย เช่น

- ในแต่ละสถานการณ์ นักเรียนเลือกทจี่ ะปฏิบัตอิ ย่างไรเพราะเหตุใด
- คาํ ตอบของนักเรียนเหมือนกับเพอ่ื นหรือไม่ อยา่ งไร
- จากสถานการณ์ที่ 1 นักเรียนคิดว่าถ้าคลิกไฟล์ที่ได้รับมา จะเกิดอะไรขึ้น (เครื่อง
คอมพวิ เตอร์ของเราอาจติดไวรัสหรอื มัลแวร์)
- จากสถานการณ์ที่ 2 นักเรียนคิดว่าถ้านักเรียนกดหมายเลขโทรศัพท์แล้วโทรออกตามที่
ไดร้ ับขอ้ ความมา จะเกดิ อะไรขนึ้ (อาจเป็นการสมคั รบรกิ ารบางอยา่ งทตี่ ้องจา่ ยเงินรายเดือน)
- จากสถานการณ์ที่ 3 นักเรียนคิดว่าผู้โพสต์ข้อความนั้น มีวัตถุประสงค์อะไร (ประชด
ประชนั เสยี ดสีกล่าวหาด้วย ข้อความทไี่ ม่สภุ าพ)
- จากสถานการณ์ที่ 4 หากนักเรียนเข้าสู่ระบบทิ้งไว้โดยไม่ได้ ออกจากระบบ อาจจะเกิด
อะไรขึ้น (มจิ ฉาชีพอาจนำขอ้ มลู ของเราไปใช้ ทำให้เกิดความเสียหายได้)
2. ครูนำนักเรียนศึกษาเนื้อหาในหนงั สือเรยี นหนา้ 232-241 และตั้งคำถามให้นักเรียนร่วมกนั
อภิปรายจากเนอ้ื เรือ่ ง ตวั อย่าง ประเดน็ การอภิปราย เช่น
- เพราะเหตุใด โป้งจึงโพสต์ภาพและข้อความแปลก ๆ บน สื่อสังคม โป้งไม่ได้เป็นผู้โพสต์
แตล่ ืมออกจากระบบ สื่อสังคมในแทบ็ เล็ตของไตก้ ๋ง)

- ข้อควรปฏิบัติในการใช้งานสื่อสังคมอย่างปลอดภัย มีอะไรบ้าง (ออกจากระบบทุกครั้ง
เมื่อใช้งานบนคอมพิวเตอร์ ของผู้อื่นหรือเครื่องสาธารณะ ตรวจสอบชื่อบัญชีว่า เป็นของเราหรือไม่ ปิดการ
แสดงตำแหน่งหากไม่ตอ้ งการใหผ้ อู้ ืน่ ทราบ)

4. ข้นั ขยายความรู้ (elaboration)
1. ครูนำนักเรียนอภิปรายเกี่ยวกับการนำความรู้ จากการเรียนรายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการ

คํานวณ) ตลอด 6 ชนั้ ปี ไปใช้ในชีวติ ประจำวนั โดยอาจแบง่ เน้ือหาออกเปน็ 3 กลมุ่ ได้แก่
1) การร้เู ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร (การเลอื กใช้ซอฟต์แวร์ในการแก้ปัญหาหรือ

ทำงานร่วมกนั การสรา้ งทางเลอื กเพ่ือตดั สนิ ใจ การเลอื กคําค้นท่เี หมาะสมการเลอื กแหล่งข้อมูลท่ีน่าเช่ือถือ)
2) การรู้ดิจิทัล (พิจารณาความน่าเชื่อถือของข่าวบนอินเทอร์เน็ต และในสื่อสังคม วิธีการ

ปกป้องตัวเองจากอนั ตรายทม่ี ากบั อินเทอร์เน็ตและไมท่ ำให้ผ้อู ื่นเดือดรอ้ น)
3) วิทยาการคอมพิวเตอร์ (ออกแบบวิธีการแก้ปัญหาโดยใช้รหัสลำลอง เขียนผังงานเพ่ือ

วางแผนการทำงาน ออกแบบ ขั้นตอนในการแก้ปัญหาเพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่พบในชีวิต ประจำวัน เขียน
โปรแกรมสร้างเกมหรอื ควบคมุ หนุ่ ยนต์ ใหช้ ่วยงาน)

5. ขัน้ ประเมนิ (evaluation)
1. ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุด

ใดบ้างทย่ี ังไม่เขา้ ใจหรอื ยังมขี อ้ สงสยั ถา้ มี ครูช่วยอธบิ ายเพ่มิ เติมให้นักเรยี นเขา้ ใจ
2. นกั เรียนร่วมกันประเมินการปฏบิ ัติกจิ กรรมกลุ่มวา่ มีปญั หาหรืออุปสรรคใด และได้มีการ

แกไ้ ขอยา่ งไรบา้ ง
3. ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติ

กิจกรรม และการนำความรทู้ ีไ่ ด้ไปใช้ประโยชน์

7. กระบวนการวดั และประเมินผล
การประเมินการเรียนรู้ของนกั เรียนทำได้ ดงั นี้
1. ประเมนิ ความรเู้ ดิมจากการอภปิ รายในช้นั เรียน
2. ประเมินการเรียนรู้จากคำตอบของนักเรียนระหว่างการจัดการเรียนรู้และจากแบบบันทึก

กิจกรรม
3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จากการทำกิจกรรม

ของนักเรยี น

การประเมินจากการทำกจิ กรรม

ระดับคะแนน

3 คะแนน หมายถึง ดี 2 คะแนน หมายถงึ พอใช้ 1 คะแนน หมายถงึ ควรปรับปรุง

รหสั สิ่งทป่ี ระเมิน ระดับคะแนน

ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

S1 การสงั เกต

S8 การลงความเห็นจากขอ้ มูล

S13 การตคี วามหมายข้อมลู และลงขอ้ สรปุ

ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21

C4 การสือ่ สาร

C5 ความร่วมมือ

8. ส่อื และแหลง่ การเรียนรู้
- หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สสวท.
- แบบฝึกทักษะรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สสวท.
- เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ทีเ่ ชอื่ มตอ่ อนิ เทอร์เน็ต
- คลิปวดิ ีโอ เรอ่ื ง จอมโจรโลกไซเบอร์ oho.ipst.ac.th/im/6991
- คลปิ วิดีโอ เรื่อง การระรานทางไซเบอร์ oho.ipst.ac.th/im/6992
- คลิปวดิ โี อ เรอื่ ง จบั ตายวายร้ายไวรัส oho.ipst.ac.th/im/6993
- คลิปวิดโี อ เรอ่ื ง ผลรา้ ยของ Cyberbullying oho.ipst.ac.th/im/6994
- คลิปวิดโี อ เรื่อง Cyberbullying oho.ipst.ac.th/im/6995
- การใช้ส่ือสังคมออนไลน์อยา่ งปลอดภยั oho.ipst.ac.th/im/6996
- กำหนดรหสั ผา่ น (Password) ต้งั คา่ อย่างไรให้ปลอดภยั oho.ipst.ac.th/im/6997

9. ความเหน็ ของหัวหน้าสถานศกึ ษา/ผทู้ ไ่ี ด้รบั มอบหมาย

ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ.......................................................... แลว้ มีความเหน็ ดังนี้
1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี
 ดีมาก
 ดี
 พอใช้
 ควรปรับปรงุ
2. การจัดกจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรยี นรู้
 เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั มาใช้ในการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
 ยงั ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ ควรปรับปรงุ พัฒนาตอ่ ไป
3. เปน็ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่
 นำไปใช้ได้จริง
 ควรปรับปรงุ กอ่ นนำไปใช้
4. ขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ..................................................
(.................................................)

วันท่ี........เดือน...............พ.ศ. ...........

10. บันทกึ ผลหลงั การสอน
 ดา้ นความรู้

 ดา้ นสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

 ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

 ด้านความสามารถทางวิทยาศาสตร์

 ด้านอืน่ ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤติกรรมที่มีปญั หาของนกั เรยี นเป็นรายบคุ คล (ถา้ ม)ี )

 ปัญหา/อปุ สรรค

 แนวทางการแกไ้ ข

ลงชอื่ ..................................................ครผู ู้สอน
(.................................................)

ตำแหนง่ ............................................

ขอ้ เสนอแนะ
1. ในขนั้ นำเข้าสูบ่ ทเรียนถ้ามีเวลามากพอให้นักเรียนดูคลปิ วดิ ีโอ เร่อื งจอมโจรโลกไซเบอร์ให้จบ

เพราะนักเรยี นจะไดร้ ับความรู้เพิ่มเติม เกย่ี วกับแฮกเกอร์ จากน้นั ครนู ำนักเรียนอภปิ รายสรปุ ร่วมกันในประเด็น
ต่อไปน้ี เช่น

- แฮกเกอร์คืออะไร มผี ลกระทบอย่างไรต่อการใช้งานคอมพวิ เตอรแ์ ละอินเทอร์เนต็
- แฮกเกอร์มกี ่แี บบ แตล่ ะแบบแตกตา่ งกันอย่างไร
2. ครอู าจแนะนาํ ใหน้ ักเรยี นรู้จักคำวา่ ไต้ก๋ง ซ่ึงหมายถึง ผู้ควบคุมเรือในภาษาองั กฤษ เรียกวา่ กัปตัน
(captain)
3. หากนกั เรยี นไม่รจู้ ักหนังตะลงุ ครอู าจเปดิ คลปิ วดิ ีโอหนังตะลงุ ใหน้ กั เรยี นดูเปน็ ตัวอยา่ ง จากลงิ ก์
oho.ipst.ac.th/im/6998 โดยใหด้ ูบางชว่ งทง้ั ช่วงทมี่ ีการร้องบทกลอน และช่วงสนทนา
4. ครอู าจเลือกเปดิ คลปิ วิดีโอจากหัวข้อส่ือและแหลง่ เรียนรขู้ อ้ 8.4 และ 8.5 ให้นักเรียนดเู พ่ิมเติม
และตัง้ คำถามให้อภปิ รายร่วมกนั
5. ครอู าจศึกษาเร่ืองการใช้ส่อื สังคมออนไลน์อย่างปลอดภัย และการกำหนดรหัสผา่ น จากคลปิ วิดีโอ
และเว็บไซต์จากหัวข้อสอ่ื และแหลง่ เรียนรู้ ขอ้ 8.6-8.8

แนวคำตอบแบบฝึกหดั ทา้ ยบท
ข้อ 1. รหัสท่ปี ลอดภยั ท่สี ุด คือข้อ ง. 93#5H-v9tyK แต่อาจไมใ่ ชร่ หสั ทดี่ ีทีส่ ดุ เนื่องจากจดจาํ ไดย้ าก

รหสั ท่ดี ีทสี่ ดุ คอื ข้อ ข. Pong$2562 เนื่องจาก มีการผสมท้ังตัวอกั ษร ตวั เลข สญั ลักษณ์ มีทงั้ ตวั พิมพ์เล็กพมิ พ์
ใหญ่และสามารถจดจำไดเ้ นื่องจากผสมเปน็ คำ

ข้อ 2. การกระทำท่ีเปน็ การใชง้ านส่อื สงั คมอย่างปลอดภัยและเหมาะสม คือข้อ ค. คนไมร่ ู้จกั ส่ง
ข้อความชวนไปเทย่ี วหลายครั้งจงึ กดบล็อก (black) เพื่อปดิ ก้ันไม่ใหเ้ หน็ ข้อความจากคนนี้อกี

ข้อ 3. ควรแนะนำเพ่ือนวา่ ควรดาวน์โหลดโปรแกรมตดั ต่อวิดีโอจากเวบ็ ไซต์ที่นา่ เชื่อถอื เท่านน้ั เช่น
เว็บไซตท์ างการของโปรแกรมตัดตอ่ วิดโี อ

ข้อ 4. แนะนำให้เพ่ือนแจง้ ผู้ดูแลระบบและขอรหสั ผา่ นเขา้ ระบบใหม่เพื่อใหส้ ามารถใชอ้ ีเมลของ
ตนเองในการสง่ งาน เพราะเราไมค่ วรให้ผู้อน่ื ใชบ้ ัญชอี เี มลของเราเน่ืองจากมีข้อมลู สว่ นตัวและปอ้ งกนั การ
นําไปใชใ้ นทางท่ไี ม่เหมาะสม

แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 31

กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (เทคโนโลยี)

ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ปกี ารศกึ ษา ..........

เร่ือง ลงเรอื ลำใหญ่ ทอ่ งไปในโลกกว้าง ตอน ใชง้ านสอ่ื สังคมอยา่ งปลอดภยั เวลา 2 ชว่ั โมง

ครูผู้สอน.........................................

1. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตวั ชวี้ ัด
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน
และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน
และการแก้ปญั หาไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ รเู้ ท่าทันและมีจรยิ ธรรม
ตัวชี้วัด ป.6/4 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทำงานร่วมกันอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิ์ และหน้าที่ของตน
เคารพในสิทธขิ องผ้อู น่ื แจง้ ผ้เู กย่ี วข้องเมื่อพบขอ้ มลู หรอื บุคคล ทไ่ี ม่เหมาะสม

2. จุดประสงค์การเรยี นรู้ (ความร,ู้ ทกั ษะ, เจตคติ)
1. นกั เรยี นมคี วามรูค้ วามเขา้ ใจเกีย่ วกับการปกป้องข้อมลู สว่ นตัว
2. นักเรยี นสามารถใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภัยได้
3. นักเรยี นมีเจตคตทิ ด่ี ตี อ่ วชิ าวทิ ยาศาสตร์และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจำวันได้

3. สาระสำคัญ
การเขียนข้อความให้ร้ายหรือด่าว่าผู้อื่นผ่านสื่อสังคม ทำให้ผู้อื่นได้รับความเสียหาย ถือว่าเป็นการ

ระรานทางไซเบอร์ (cyberbullying) นอกจากนีก้ ารเผยแพร่ ขอ้ มลู ผ่านสอ่ื สงั คมยังมีความผิดตามกฎหมายอีก
ด้วยวิธีการรับมือกับการระรานทางไซเบอร์เบื้องต้น คือแจ้งให้ผู้ปกครองหรือครูทราบเพื่อปกป้องตนเองไม่ให้
ถกู กลนั่ แกลง้ นอกจากน้ีไมค่ วรตอบโตด้ ้วยวาจาหรือพมิ พ์ข้อความทรี่ นุ แรงหรือไม่สุภาพ

วธิ ปี ฏบิ ตั ิในการใชง้ านระบบเทคโนโลยสี นเทศอย่างปลอดภัย เชน่ ตั้งรหสั ผ่านท่มี ีความยาวเหมาะสม
คาดเดาได้ยาก เปล่ียนรหัสผ่านตามระยะเวลาทเี่ หมาะสม ปรบั ปรงุ ระบบปฏบิ ัตกิ ารของอุปกรณ์เทคโนโลยีท่ีใช้
ให้ทันสมัยอยู่เสมอ ไม่คลิก URL ที่น่าสงสัยทีส่ ่งมากับอีเมลหรือข้อความหากพบปัญหาให้แจ้งผู้ใหญ่ และควร
ออกจากระบบทกุ คร้ังเม่ือเลิกใช้งาน โดยเฉพาะการใชอ้ ปุ กรณค์ อมพวิ เตอร์สาธารณะหรือของผูอ้ ่ืน

สมาร์ตโฟนมีระบบติดตามตำแหน่ง (location) โดยใช้สัญญาณจีพีเอส (GPS) หรือสัญญาณไวไฟ
(Wi-Fi) เราสามารถปดิ ระบบนีไ้ ด้จากเมนขู องอปุ กรณแ์ ต่ละชนดิ ซึ่งอาจมีวธิ ีการที่แตกต่างกนั

4. สาระการเรียนรู้
1. การปกปอ้ งข้อมลู ส่วนตัว
2. การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภยั

5. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
1. ใฝเ่ รยี นรู้
2. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง
3. มุ่งมัน่ ในการทำงาน

5. ช้ินงานหรือภาระงาน
ใบกิจกรรมที่ 9.3 ใชง้ านส่ือสังคมอย่างปลอดภยั

6. กจิ กรรมการเรยี นรู้
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)

โดยเน้นผเู้ รยี นเป็นสำคญั ดำเนินการเรยี นการสอนดังต่อไปนี้

1. ขนั้ สรา้ งความสนใจ (engagement)
1. ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยให้นักเรียนดูคลิปวิดีโอ เรื่องจอมโจรโลกไซเบอร์ จากลิงก์

oho.ipst.ac.th/im/6991 โดยให้นักเรียน ดูเพียง 3 นาทีแรก ซึ่งในช่วงนาทที ี่ 0.10 - 0.17 อาจจะ หยุดภาพ
ไว้สักครู่ เพื่ออ่านข้อความบนเว็บไซต์ที่กล่าวถึงใน คลิปวิดีโอ พร้อมทั้งอธิบายคำว่า “แฮกเกอร์” ให้นักเรียน
เข้าใจ เพิ่มเติมว่าหมายถึง บุคคลที่แอบเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อืน่ เพื่อจุดประสงค์บางอยา่ ง เช่น ขโมย
ข้อมลู กลั่นแกลง้ หลงั จากนน้ั ครตู ั้งคำถามให้นกั เรียนอภิปรายรว่ มกนั เชน่

- เพราะเหตุใดเงินในบัญชีของแม่จึงหายไป (มะโหน่งนําเลขบัญชีธนาคารของแม่ไป
เผยแพรใ่ นเว็บไซต์เกม)

- พฤตกิ รรมของมะโหนง่ เหมาะสมหรอื ไม่ (ไม่เหมาะสม)
- นักเรยี นเคยบอกเลขบัญชีธนาคารกับผ้อู นื่ หรอื ไม่
2. ครนู ำอภิปรายจากคาํ ถามในสำรวจความรูก้ อ่ นเรยี นและต้งั คำถามเพ่ิมเติม เช่น
- นกั เรยี นเคยใชเ้ คร่ืองคอมพิวเตอร์ในสถานทเ่ี หล่านีห้ รือไม่ เช่น ร้านเกม รา้ นอนิ เทอร์เน็ต
ห้องสมุด ห้องคอมพิวเตอร์ของโรงเรียน นักเรียนคิดว่าการใช้คอมพิวเตอร์จากสถานที่ เหล่านี้มีข้อควรปฏิบตั ิ
แตกต่างจากการใช้คอมพิวเตอร์ส่วนตัวอย่างไร (ไม่ควรบันทึกข้อมูลส่วนตัวบนเครื่องคอมพิวเตอร์ สาธารณะ
เมื่อเข้าสู่ระบบใด ๆ บนเครื่องสาธารณะแล้วควร ออกจากระบบ เพื่อยกเลิกการใช้งานในเครื่องคอมพิวเตอร์
สาธารณะน้ันดว้ ย)

- นักเรียนเคยพบเหตุการณ์ที่มีผู้เข้าใช้งานโปรแกรมหรือสื่อสังคมออนไลน์ทิ้งไว้ในเครื่อง
คอมพิวเตอร์สาธารณะโดยไม่ได้ออกจากระบบหรือไม่ หากพบนักเรียนจะปฏิบตั ิอย่างไร (แจ้งผู้ใช้เข้าใช้ระบบ
นัน้ แจง้ เจ้าของร้าน แจ้งครผู สู้ อน หรอื ออกจากระบบ)

- หากนักเรียนลืมออกจากระบบ หรือโปรแกรมต่าง ๆ บนเคร่ือง คอมพิวเตอร์สาธารณะ
อาจเกิดผลกระทบใดบ้าง (ผู้ไม่หวังดีอาจสวมรอยเข้าใช้งานระบบสร้างความเสียหายให้กับเราได้ เช่น พิมพ์
ข้อความหลอกลวงผู้อื่น ส่งข้อมูลที่ไม่ถูกต้องโดยใช้ชื่อเรา เปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อมูลส่วนตัว ถอนเงินหรือ โอน
เงนิ ไปยังบัญชอี ื่น)

2. ข้นั สำรวจและค้นหา (exploration)
1. ครูทบทวนเนื้อหาในหนังสือเรียนเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 บทที่ 8 อย่าไว้ใจทาง

อยา่ วางใจขา่ ว ซ่ึงมกี ารสง่ ต่อขา่ ว คลนื่ ความร้อนท่จี ะเข้ามาในประเทศไทย และต้งั คำถามว่าเมื่อ ข่าวน้ีถูกแชร์
ไปแลว้ สง่ ผลอยา่ งไรบา้ ง (โป้ง กอ้ ย และอิม่ รบี ชว่ ยกัน ถอดกระเบอ้ื งหลังคาออกทำให้หลังคาเสียหาย) จากนั้น
ครู ทบทวนประเภทของข่าวลวงในหน้า 136 และอาจยกตัวอย่าง ข่าวลวงอื่น ๆ ที่พบในปัจจุบัน หรือให้
นักเรียนรว่ มกนั ยกตัวอย่าง ข่าวลวงที่เคยพบ และตั้งคําถามให้ร่วมกนั อภิปราย เช่น หาก ข่าวเหล่านี้ถูกส่งต่อ
หรอื เผยแพร่ออกไป จะสง่ ผลกระทบหรือผลเสียอย่างไรบ้าง

2. ครูนำนักเรียนศึกษาเนื้อหาในหนังสือเรียนบทที่ 9 ลงเรือลำใหญ่ ท่องไปในโลกกว้าง หน้า
220-222 และต้ังคำถามใหน้ กั เรียน รว่ มกันอภปิ รายจากเนื้อเร่อื ง ตวั อยา่ งประเด็นการอภิปราย เช่น

- ขา่ วปลอมทแ่ี ชร์ในหน้า 220 กล่าวถึงอ่ิมว่าอย่างไร (เป็นหนุ่ ยนต์แอบถา่ ย)
- เมอื่ ขา่ วน้ีถกู แชร์ออกไปสง่ ผลอยา่ งไรกับอิ่ม (อม่ิ ถกู ผูอ้ ืน่ เกลยี ดชงั และถกู ทำร้าย)
- นักเรียนเคยพบการระรานทางไซเบอร์ (cyberbullying) ในรูปแบบอื่นหรือไม่ อย่างไร
การใช้ถ้อยคำหยาบคายด่าทอผู้อื่น การแอบอ้างตัวตนของผู้อื่น การกล่าวถึงปมด้อยของ ผู้อื่น การกลั่นแกล้ง
ผู้อน่ื )
- ลงุ มะนาวแนะนำวธิ รี บั มือกับการระรานทางไซเบอร์ให้กบั โปง้ กอ้ ยอย่างไร (แจง้ ให้ผู้ใหญ่
ทราบ)
- นักเรยี นคิดวา่ มวี ธิ รี บั มือกับการระรานทางไซเบอร์แบบอ่นื อีกหรือไม่นักเรียนคิดว่าวิธีการ
นี้เหมาะสมหรอื ไมเ่ หมาะสม เพราะอะไร
3. ครูให้นักเรียนดูคลิปวิดีโอเกี่ยวกับการระรานทางไซเบอร์รูปแบบต่าง ๆ จากลิงก์
oho.ipst.ac.th/im/6992 และต้งั คาํ ถามว่า นกั เรยี นคดิ ว่าผู้ที่ถกู นำภาพไปโพสต์ในทางเสียหายจะรสู้ ึกอย่างไร
เหตใุ ดจงึ ไมค่ วรโพสต์
4. ครูนำนักเรียนศึกษาเนื้อหาในหนังสือเรียนหน้า 223-231 และตั้งคำถามให้นักเรียนร่วมกัน
อภิปรายจากเนือ้ เรอื่ ง ตวั อย่างประเดน็ การอภปิ ราย เช่น
- รหัสผ่านกับแปรงสีฟันเหมือนกันอย่างไรบ้าง (ควรเปลี่ยนตามเวลาที่เหมาะสม ไม่ใช้
รว่ มกับผูอ้ ่นื )

- เพราะเหตุใดคุณแม่จึงสามารถเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ ของเรือได้โดยใช้เวลาไม่นาน
(เพราะคุณแม่ค้นหาข้อมูล ในอินเทอร์เน็ตเก่ียวกบั รหสั ผ่านยอดแย่ปีล่าสุด แล้วทดลอง ใช้รหัสดังกลา่ วในการ
เข้าระบบ ซึ่งรหัสผ่านยอดแย่จะ เป็นรหัสที่คนนิยมใช้และถูกเจาะระบบได้ง่าย) รหัสผ่านที่ดีควรเป็นอย่างไร
(มีความยาวเหมาะสม ผสมทง้ั ตัวเลข ตวั อกั ษรและสัญลกั ษณ์พเิ ศษ และเจ้าของสามารถ จดจาํ ไดง้ ่าย)

- ระบบอะไรบ้างที่ต้องใช้รหัสผ่าน (สื่อสังคม ธนาคาร ลงทะเบียนเรียนออนไลน์ อีเมล
ระบบคอมพิวเตอร์ ของโรงเรียน)

- เพราะเหตุใดไต้ก๋งจึงคลิกยูอาร์แอล (URL) ที่แนบมากับอีเมลแล้วรีบติดตั้งโปรแกรม
(เพราะ อีเมลแจ้งเตือนให้ระวังมัลแวร์ และส่งลิงก์โปรแกรมป้องกันมาให้ ไต้ก๋งได้ยินว่ามัลแวร์ คือโปรแกรม
อันตราย จงึ รบี คลกิ แลว้ ติดตั้งโปรแกรม)

- การใช้งานอินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย มีข้อควรปฏิบัติอย่างไรบ้าง (ตั้งรหัสผ่านให้
ปลอดภยั อปั เดตระบบปฏิบัตกิ าร ไม่คลิกลิงก์น่าสงสัย ตดิ ตัง้ โปรแกรมจากเว็บไซตท์ ่ีน่าเชอ่ื ถือ)

- หากเกิดปัญหาในการใช้งานระบบอินเทอร์เน็ต ควรปฏิบัติอย่างไร (แจ้งคุณครู หรือ
ผู้ปกครอง)

3. ข้ันอธิบายและลงขอ้ สรุป (explanation)
1. ครูชี้แจงและให้นักเรียนทำใบกิจกรรมที่ 9.3 ใช้งานสื่อสังคมอย่างปลอดภัย ครูนำนักเรียน

อภิปรายคำตอบร่วมกนั โดยมปี ระเด็นในการอภปิ ราย เชน่
- ขอ้ 1. สง่ิ ท่นี อตควรทำคืออะไร เพราะเหตใุ ดจึงควรทำเช่นน้ัน
- ข้อ 2. ภาพและข้อความในแต่ละโพสต์ เหมาะสมที่จะเผยแพร่หรือไม่ และเมื่อเผยแพร่

บนสื่อสังคมแล้ว จะเกิดผลอย่างไรบ้าง หากนักเรียนพบเพื่อนหรือคนรู้จักที่โพสต์ข้อความหรือรูปภาพไม่
เหมาะสมในสือ่ สังคมออนไลน์ นกั เรียนจะทำอย่างไร

2. ครูนำนกั เรยี นร่วมกนั สรปุ ความรูท้ ่ไี ด้รบั โดยใชป้ ระเด็นตา่ ง ๆ เชน่
- ความรู้ที่ได้รับจากการทำกิจกรรม (การใช้งานอินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย การตั้ง

รหสั ผ่านท่ปี ลอดภัย การใช้งาน สื่อสังคมอย่างปลอดภยั )
- การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน (การปกป้องข้อมูลส่วนตัว การใช้งานอินเทอร์เน็ตอย่าง

ปลอดภยั และไม่ทำใหผ้ ้อู ืน่ เดอื ดรอ้ น)
- ครูนำนักเรียนศึกษาเนื้อหาในหนังสือเรียนหน้า 242-249 และตั้งคำถามให้นักเรียน

อภิปรายร่วมกนั ว่า มีความรู้อะไรอกี บ้างนอกจากท่ี โป้ง ก้อย กุ้ง และปอ้ มช่วยกันยกตัวอยา่ ง
4. ขนั้ ขยายความรู้ (elaboration)
1. ครูนำนักเรียนอภิปรายเกี่ยวกับการนำความรู้ จากการเรียนรายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการ

คาํ นวณ) ตลอด 6 ชัน้ ปี ไปใช้ในชีวิตประจำวนั โดยอาจแบง่ เนอ้ื หาออกเป็น 3 กล่มุ ไดแ้ ก่
1) การรเู้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (การเลอื กใช้ซอฟต์แวร์ในการแก้ปัญหาหรือ

ทำงานร่วมกนั การสรา้ งทางเลอื กเพอ่ื ตดั สินใจ การเลือกคําคน้ ที่เหมาะสมการเลือกแหล่งข้อมลู ท่ีนา่ เชอ่ื ถือ)

2) การรู้ดิจิทัล (พิจารณาความน่าเชื่อถือของข่าวบนอินเทอร์เน็ต และในสื่อสังคม วิธีการ
ปกปอ้ งตัวเองจากอันตรายที่มากับอินเทอร์เน็ตและไม่ทำให้ผอู้ ่นื เดือดร้อน)

3) วิทยาการคอมพิวเตอร์ (ออกแบบวิธีการแก้ปัญหาโดยใช้รหัสลำลอง เขียนผังงานเพ่ือ
วางแผนการทำงาน ออกแบบ ขั้นตอนในการแก้ปัญหาเพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่พบในชีวิต ประจำวัน เขียน
โปรแกรมสร้างเกมหรอื ควบคุมห่นุ ยนต์ ใหช้ ว่ ยงาน)

5. ขั้นประเมิน (evaluation)
1. ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุด

ใดบ้างท่ยี งั ไม่เขา้ ใจหรือยังมีขอ้ สงสัย ถ้ามี ครชู ่วยอธบิ ายเพม่ิ เติมให้นักเรียนเขา้ ใจ
2. นักเรยี นร่วมกันประเมนิ การปฏบิ ัติกจิ กรรมกลุ่มว่ามีปญั หาหรืออุปสรรคใด และได้มีการ

แก้ไขอย่างไรบ้าง
3. ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติ

กจิ กรรม และการนำความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์

7. กระบวนการวดั และประเมนิ ผล
การประเมนิ การเรียนรู้ของนกั เรยี นทำได้ ดงั น้ี
1. ประเมินความรู้เดมิ จากการอภิปรายในชั้นเรียน
2. ประเมินการเรียนรู้จากคำตอบของนักเรียนระหว่างการจัดการเรียนรู้และจากแบบบันทึก

กิจกรรม
3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จากการทำกิจกรรม

ของนักเรยี น

การประเมินจากการทำกิจกรรม

ระดับคะแนน

3 คะแนน หมายถึง ดี 2 คะแนน หมายถงึ พอใช้ 1 คะแนน หมายถงึ ควรปรับปรงุ

รหัส สิ่งทปี่ ระเมิน ระดบั คะแนน

ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

S1 การสงั เกต

S8 การลงความเหน็ จากข้อมูล

S13 การตคี วามหมายขอ้ มลู และลงข้อสรุป

ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21

C4 การส่ือสาร

C5 ความร่วมมอื

8. สื่อและแหลง่ การเรียนรู้
- หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สสวท.
- แบบฝึกทักษะรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สสวท.
- เคร่อื งคอมพิวเตอร์ทีเ่ ช่อื มตอ่ อนิ เทอรเ์ น็ต
- คลปิ วดิ ีโอ เรื่อง จอมโจรโลกไซเบอร์ oho.ipst.ac.th/im/6991
- คลปิ วิดโี อ เรอ่ื ง การระรานทางไซเบอร์ oho.ipst.ac.th/im/6992
- คลปิ วิดีโอ เรื่อง จับตายวายรา้ ยไวรสั oho.ipst.ac.th/im/6993
- คลิปวดิ ีโอ เรอื่ ง ผลรา้ ยของ Cyberbullying oho.ipst.ac.th/im/6994
- คลิปวิดโี อ เรอ่ื ง Cyberbullying oho.ipst.ac.th/im/6995
- การใชส้ อ่ื สงั คมออนไลนอ์ ย่างปลอดภัย oho.ipst.ac.th/im/6996
- กำหนดรหสั ผ่าน (Password) ตั้งค่าอยา่ งไรใหป้ ลอดภยั oho.ipst.ac.th/im/6997

9. ความเหน็ ของหัวหน้าสถานศกึ ษา/ผทู้ ไ่ี ด้รบั มอบหมาย

ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ.......................................................... แลว้ มีความเหน็ ดังนี้
1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี
 ดีมาก
 ดี
 พอใช้
 ควรปรับปรงุ
2. การจัดกจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรยี นรู้
 เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั มาใช้ในการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
 ยงั ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ ควรปรับปรงุ พัฒนาตอ่ ไป
3. เปน็ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่
 นำไปใช้ได้จริง
 ควรปรับปรงุ กอ่ นนำไปใช้
4. ขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ..................................................
(.................................................)

วันท่ี........เดือน...............พ.ศ. ...........

10. บันทกึ ผลหลงั การสอน
 ดา้ นความรู้

 ดา้ นสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

 ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

 ด้านความสามารถทางวิทยาศาสตร์

 ด้านอืน่ ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤติกรรมที่มีปญั หาของนกั เรยี นเป็นรายบคุ คล (ถา้ ม)ี )

 ปัญหา/อปุ สรรค

 แนวทางการแกไ้ ข

ลงชอื่ ..................................................ครผู ู้สอน
(.................................................)

ตำแหนง่ ............................................

ขอ้ เสนอแนะ
1. ในขนั้ นำเข้าสูบ่ ทเรียนถ้ามีเวลามากพอให้นักเรียนดูคลปิ วดิ ีโอ เร่อื งจอมโจรโลกไซเบอร์ใหจ้ บ

เพราะนักเรยี นจะไดร้ ับความรู้เพิ่มเติม เกย่ี วกับแฮกเกอร์ จากน้นั ครนู ำนักเรียนอภปิ รายสรปุ ร่วมกันในประเดน็
ต่อไปน้ี เช่น

- แฮกเกอร์คืออะไร มผี ลกระทบอย่างไรต่อการใช้งานคอมพวิ เตอรแ์ ละอินเทอรเ์ น็ต
- แฮกเกอร์มกี ่แี บบ แตล่ ะแบบแตกตา่ งกันอย่างไร
2. ครอู าจแนะนาํ ใหน้ ักเรยี นรู้จักคำวา่ ไต้ก๋ง ซ่ึงหมายถึง ผู้ควบคุมเรือในภาษาองั กฤษ เรียกว่า กปั ตนั
(captain)
3. หากนกั เรยี นไม่รจู้ ักหนังตะลงุ ครูอาจเปดิ คลปิ วดิ ีโอหนังตะลงุ ให้นกั เรยี นดเู ปน็ ตวั อย่าง จากลงิ ก์
oho.ipst.ac.th/im/6998 โดยใหด้ ูบางชว่ งทง้ั ช่วงทมี่ ีการร้องบทกลอน และช่วงสนทนา
4. ครอู าจเลือกเปดิ คลปิ วิดีโอจากหัวขอ้ ส่ือและแหล่งเรียนรขู้ อ้ 8.4 และ 8.5 ให้นักเรยี นดูเพิม่ เติม
และตัง้ คำถามให้อภปิ รายร่วมกนั
5. ครอู าจศึกษาเร่ืองการใช้ส่อื สังคมออนไลน์อย่างปลอดภัย และการกำหนดรหัสผา่ น จากคลิปวิดีโอ
และเว็บไซตจ์ ากหัวข้อสอ่ื และแหลง่ เรียนรู้ ข้อ 8.6-8.8

แนวคำตอบแบบฝึกหดั ทา้ ยบท
ข้อ 1. รหัสท่ปี ลอดภยั ท่สี ุด คือข้อ ง. 93#5H-v9tyK แต่อาจไมใ่ ชร่ หสั ทดี่ ที สี่ ดุ เนื่องจากจดจาํ ได้ยาก

รหสั ท่ดี ีทสี่ ดุ คอื ข้อ ข. Pong$2562 เนื่องจาก มีการผสมท้ังตัวอกั ษร ตวั เลข สญั ลักษณ์ มีท้ังตัวพมิ พ์เลก็ พิมพ์
ใหญ่และสามารถจดจำไดเ้ นื่องจากผสมเปน็ คำ

ข้อ 2. การกระทำที่เปน็ การใชง้ านส่อื สงั คมอย่างปลอดภัยและเหมาะสม คือข้อ ค. คนไมร่ ู้จักส่ง
ข้อความชวนไปเทย่ี วหลายครั้งจงึ กดบล็อก (black) เพื่อปดิ ก้ันไม่ใหเ้ ห็นข้อความจากคนนี้อกี

ข้อ 3. ควรแนะนำเพ่ือนวา่ ควรดาวนโ์ หลดโปรแกรมตดั ต่อวิดีโอจากเวบ็ ไซต์ทีน่ า่ เช่ือถือเท่านนั้ เชน่
เว็บไซตท์ างการของโปรแกรมตดั ตอ่ วิดโี อ

ข้อ 4. แนะนำให้เพ่ือนแจง้ ผู้ดูแลระบบและขอรหสั ผา่ นเขา้ ระบบใหม่เพื่อให้สามารถใชอ้ ีเมลของ
ตนเองในการสง่ งาน เพราะเราไมค่ วรให้ผู้อน่ื ใชบ้ ัญชอี ีเมลของเราเน่ืองจากมีข้อมลู สว่ นตัวและป้องกนั การ
นําไปใชใ้ นทางท่ไี ม่เหมาะสม


Click to View FlipBook Version